Policy Brief No.18 (June 2016)

Page 1

ความเชื่อมโยงระหว่างการบิน การท่องเที่ยว และ

เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย (The Linkage of Aviation, Tourism and Economy of Chiang Rai)

โดย วราวุฒิ เรือนค�ำ

OBELS POLICY BRIEF NO. 18, JUNE 2016

การเติบโตผู้โดยสารสนามบินเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง “จ�ำนวนผูโ้ ดยสารผ่านสนามบินแม่ฟา้ หลวงเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง ในปี 2559 โดยจ�ำนวนผูโ้ ดยสารมีกเ่ี ติบโตถึง 20 % เมือ่ เทียบกับสถิตจิ ำ� นวนผูโ้ ดยสาร ของปีกอ่ น ในขณะที่ เดือนกุมภาพันธ์ 2559 มีผโู้ ดยสารมากถึง 172,450 คน และมีแนวโน้มที่จะขยายตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง”

ปัจจัยทีท่ ำ� ให้ผโู้ ดยสารเติบโต ได้แก่ 1. จ�ำนวนสายการบินเพิม่ ขึน้ 2. ราคาตัว๋ ต�ำ่ ลง 3. โปรโมชัน่ จากสายการบินในช่วง Happy Hour 4. อุปสงค์การ ท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นจากวัฒนธรรมล้านนาและเทศกาลต่างๆ 5. การเตรียมการ ขยายเส้นทางการบินจาก ภูมภิ าคสูภ่ มู ภิ าค เช่น เชียงราย-อุดร เชียงราย-กระบี่ ที่จะท�ำให้ผู้โดยสารเดินทางท่องเที่ยวได้สะดวกสบายมากขึ้น ผนวกกับแผน พัฒนาสนามบินในระยะสั้นและระยาวของสนามบินโดยเร่งเตรียมพร้อมเพื่อ รองรับจ�ำนวนผู้โดยสารที่เพิ่มขึ้น โดยได้มีแผนการปรับปรุงอาคารผู้โดยสาร ใหม่ เช่น การเพิ่มจ�ำนวนเค้าเตอร์ให้บริการ เพิ่มหลุมจอด และอื่นๆ จากโอกาสการเติบโตนี้ ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมว่ากลุ่มผู้โดยสารที่ เข้ามาเชียงรายได้มกี ารกระจายตัวไปสูภ่ าคเศรษฐกิจอะไรเป็นส่วนใหญ่ หาก เราทราบอัตราส่วนการมีส่วนร่วมในภาคเศรษฐกิจต่างๆของผู้โดยสาร ท�ำให้ สามารถก�ำหนดกลุ่มเป้าหมายได้มากขึ้น เช่น กลุ่มที่เดินทางมาเชียงรายเพื่อ การท่องเทีย่ ว รักษาพยาบาล ปฏิบตั ธิ รรม เขตเศรษฐกิจพิเศษ หรือแม้แต่ผา่ น หน้า 1

“การท�ำงาน ไม่ควรมองว่าจะได้ ผลงาน อะไร แต่ควรมองว่า สังคมจะได้อะไร” นายอิทธิพล บุญอารีย์ ผู้อ�ำนวยการท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง (2559)


เข้ามาเพือ่ ไปเทีย่ วต่อทีค่ งิ โรมันส์ สปป.ลาวมีจำ� นวนกีค่ น โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งภาคการท่องเที่ยวและบริการ ควรมีการศึกษาเชิงประจักษ์ว่าภาพการ เติบโตของผู้โดยสารเป็นภาพลวงตาหรือไม่ นักท่องเที่ยวเข้ามาแล้วมีการ ใช้จา่ ยต่อหัวเท่าไหร่ เขามาแล้วไปทานอะไร พักทีโ่ รงแรมไหน เข้าไปสูห่ ว่ ง โซ่อุปทาน (supply chain) ไหนบ้าง อีกทั้งระดับความพึงพอใจมากน้อย แค่ไหน และทีส่ ำ� คัญในอนาคตผูโ้ ดยสารหรือนักท่องเทีย่ วมีความต้องการ ที่จะกลับมาเที่ยวเชียงรายอีกหรือไม่ โจทย์ที่ส�ำคัญคือเราจะท�ำอย่างไรให้ นักท่องเทีย่ วกลับมาเทีย่ วอีก ไม่เพียงแค่มาครัง้ เดียวแล้วไม่กลับมาอีกเลย ปัจจัยหนึง่ ทีท่ ำ� ให้เศรษฐกิจเชียงรายเติบโตจึงหนีไม่พน้ รายได้จากการท่อง เที่ยว

ที่จะเดินทางมาเที่ยวในครั้งต่อไป เหมือนกับโครงการ 12 เมืองต้องห้าม ของกระทรวงท่องเทีย่ วฯ หลังจากนัน้ เราสามารถก�ำหนดได้วา่ ควรจะไปรับประทานอาหารอะไร พัก ที่ไหน เป็นแผนภูมิ pareto chart และแผนภูมิก้างปลา ที่ท�ำให้มองเห็น ความเชื่อมโยงระหว่างการใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวที่น�ำไปสู่การ เติบโตของเศรษฐกิจเชียงรายได้ ทั้งนี้ การจัดสรรคลัสเตอร์การท่องเที่ยว อย่างชัดเจน ท�ำให้จังหวัดสามารถที่จะสนับสนุนงบประมาณแก่สถานที่ ท่องเที่ยวในแต่ละคลัสเตอร์ได้ ที่มา: painaidii.com

การจัดคลัสเตอร์ด้านการท่องเที่ยว CLUSTERIZE TOURISM

เชียงรายเป็นจังหวัดที่มีความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว มี วัฒนธรรมหลากหลาย มีธรรมชาติทสี่ วยงาม และสภาพอากาศดีจนได้ขนึ้ ชือ่ ว่าเป็น สวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย เรามีสถานทีทอ่ งเทีย่ วหลายแห่งทีเ่ ป็น จุดหมายปลายทาง (Destination) ของนักท่องเทีย่ ว ดังนัน้ จังหวัดควรจะ ประกาศ คลัสเตอร์ ด้านการท่องเทีย่ วว่าหากมาเชียงรายแล้วต้องไปทีไ่ หน บ้าง เช่น A B

ที่มา: painaidii.com

ต้องไป (Must Go) ควรไป (Should Go)

C

น่าไป (Likely to Go)

1. Class A (Must Go)

เป็นสถานที่ “ต้องไป” หากมาถึงเชียงราย เช่น วัดร่องขุ่น บ้านด�ำ แม่สาย สามเหลี่ยมทองค�ำ เป็นต้น ซึ่งเป็นสถานที่ได้รับความนิยมจากนักท่อง เที่ยวอย่างมาก 2. Class B (Should Go)

สถานทีท่ นี่ กั ท่องเทีย่ วต่างถิน่ มาแล้ว “ควรไป” เนือ่ งจากนักท่องเทีย่ วอาจ ไม่ทราบว่ามีสถานที่นี้อยู่ ฉะนั้นควรที่จะมีการสร้างเรื่องราว (Story) เพื่อ ต่อยอดความสนใจให้นักท่องเที่ยว 2. Class C (Likely to Go)

เป็นสถานที่ที่ไม่ควรพลาดหากมีการเดินทางเข้ามาเที่ยวในครั้งนี้ หรือน่า

จัดการสถานที่ท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐานโลก STANDARDIZE TOURISM

เรามีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ หากแต่ยังขาดการพัฒนาให้ ได้มาตรฐานระดับโลก อย่างเช่น สามเหลี่ยมทองท�ำ จริงๆแล้วมีประวัติ เรื่องราวที่น่าสนใจ แต่เรายังไม่มีการสร้างเรื่องราวให้นักท่องเที่ยวเข้าใจ ว่าท�ำไมถึงเรียกว่า “สามเหลี่ยมทองค�ำ” การท่องเที่ยวจะให้ความรู้สึก ทีม่ ากกว่า หากเราใส่ประวัตศิ าสตร์หรือเรือ่ งราว (Story) ของสถานทีท่ อ่ ง เที่ยวนั้นๆลงไป แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ เรายังขาด Museum of Golden Triangle ที่ตั้งอยู่ใกล้บริเวณนั้น ที่จะเล่าเรื่องราว ประวัติความเป็นมาให้ น่าสนใจ ทันยุคสมัย ก่อนที่นักท่องเที่ยวจะไปเช็คอินถ่ายรูป และซื้อของ ฝาก ตามล�ำดับ เราควรจะมีการจัดล�ำดับกิจกรรมของการเที่ยวชมให้เป็น หน้า 2


ระบบเหมือนสถานที่ท่องเที่ยวหลายๆแห่งในยุโรป เช่น การจัดให้เข้าชม พิพิธภัณฑ์ให้เห็นเรื่องราวความเป็นมาของเพื่อท�ำให้เกิดการสร้างมูลค่า เพิม่ จากนัน้ พาไปชมหรือท�ำกิจกรรมนันทนาการ ณ สถานทีจ่ ริงเพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วมีความรูส้ กึ ว่าเป็นมากกว่าการมาเทีย่ วชมสถานทีเ่ ฉยๆ จากนัน้ ควรมีท�ำการถ่ายภาพที่ระลึก และ Check in ผ่านสื่อโซเชียลมีเดียต่างๆ สุดท้ายคือพาไปซือ้ ของฝากและของทีร่ ะลึก เป็นการแปรสภาพจากสถาน ทีท่ อ่ งเทีย่ วธรรมดาให้กลายเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ ทัง้ ทางด้าน ธุรกิจและด้านจิตใจ

พิพิธภัณฑ์ เรียนรู้เรื่องราว

กิจกรรมและ สันทนาการ

ถ่ายรูปและ เช็คอินสถานที่

ซื้อของฝากหรือ ของที่ระลึก

ที่หลากหลาย บ้างชอบฤดูร้อน บ้างชอบฤดูหนาว บ้างก็ชอบฤดูฝน เพราะชุ่มฉ�่ำมองทางไหนเขียวขจี เพราะฉะนั้นจะรอฤดูหนาวอย่างเดียว ไม่ได้ ฉะนั้นควรเปลี่ยนมุมมองให้มองหน้าฝนจาก low season ให้เป็น green season แล้วส่งเสริมการท่องเที่ยวตามฤดูจะดีกว่า ดังนั้นเราควร จะมองว่าในฤดูฝนเรามีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวอะไรที่จะเป็นจุดขาย ให้เชียงรายได้ เชียงรายมีที่พักที่เป็นโรงแรมและรีสอร์ทที่อยู่ท่ามกลาง ธรรมชาติมากมาย เช่น ดอยแม่สลอง ดอยตุง เชียงของ แม่สรวยหรือที่ อืน่ ๆ ซึง่ สามารถเป็นเป้าหมายของนักท่องเทียวทีอ่ ยากจะมาพักผ่อนสัมผัส ธรรมชาติและสงบเงียบ หรืออาจจะมีกิจกรรมการส่งเสริมการท่องเที่ยว ฤดูฝนเพื่อกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวมาเที่ยวเชียงรายมากขึ้น

สร้างอุปสงค์แฝงด้านการท่องเที่ยว CREATE LATENT DEMAND

อุปสงค์แฝงหรืออุปสงค์ซ่อนเร้น (Latent Demand) คือความ ต้องการต่อสินค้าที่แอบแฝงจากความต้องการจริง รวมถึงการต้องการ สินค้าทีแ่ ปลกใหม่โดยผูบ้ ริโภคไม่มคี วามตัง้ ใจอยากได้ตงั้ แต่แรก แต่มแี รง จูงใจให้เกิดแรงจูงในนัน้ ขึน้ มา เช่น ตัวอย่างของกลยุทธ์ดา้ นการตลาดของ ห้างสรรพสินค้าต่างๆ ในการสร้างแรงจูงใจให้ลูกค้ามีเที่ยวซื้อสินค้าจาก การน�ำท�ำโปรโมชั่นต่างๆ ตอนแรกลูกค้าอาจจะไม่อยากมาซื้อสินค้า แต่ ห้างสรรพสินค้ามีเทศกาลอาหารหรือของฝากหรือกิจกรรมต่างๆจูงใจให้ ลูกค้ามาเที่ยวชม ผลลัพธ์คือลูกค้าเกิดความต้องการแฝงต่อสินค้าอื่นๆ ของห้างสรรพสินค้าไปด้วย เช่นเดียวกับการท่องเทีย่ ว ควรมีการสร้างอุปสงค์แฝงให้นกั ท่อง เที่ยวเข้ามาเที่ยวเชียงรายให้มากขึ้น จากการโปรโมทเทศกาลท่องเที่ยว ให้เข้ามาในเชียงรายก่อน แล้วค่อยชักจูงให้เกิดความต้องการท่องเที่ยว ในที่ต่างๆ หรืออาจเป็นสถาบันการศึกษา เพิ่มบุคลากรในด้านการท่อง เที่ยว ให้เป็นยุวทูตด้านการท่องเที่ยว (Tourist Ambassador) หรือเป็น ไกด์นำ� เสนอการท่องเทีย่ วเชียงราย ผนวกกับการทีเ่ ชียงรายก�ำลังจะมีเขต เศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone: CRSEZ) ใน 3 อ�ำเภอ คือ เชียงแสน เชียงของ และแม่สาย ท�ำให้นกั ลงทุนหรือผูป้ ระกอบการทีส่ นใจ อยากจะมาท�ำธุรกิจในเชียงรายเดินทางมาเที่ยวชมพื้นที่เขตเศรษฐกิจ พิเศษมากขึ้น เราอาจใช้โอกาสนี้ส่งเสริมให้นักลงทุนให้กลายเป็นนักท่อง เที่ยวไปในเวลาเดียวกัน

เปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับ Low Season (CHANGE ATTITUDE)

ทฤษฎีเชิงโครงสร้างในการสร้างผลลัพธ์ขั้นสุดท้าย INCREASE ULTIMATE OUTCOME

“หากทฤษฎีบอกว่าคนจะซื้ออาหารวันละสามเวลา ป่านนี้ร้านสะดวก ซื้อคงจะหยุดกิจการไปแล้ว จงอย่าเชื่อว่าทุกคนชอบหน้าหนาว ดังนั้น เราควรเลิกมองหน้าฝนว่าเป็นหน้า low season เนื่องจากผู้บริโภคมี รสนิยมต่อการเลือกบริโภคที่แตกต่าง นักท่องเที่ยวเช่นกัน ย่อมมีรสนิยม

ทฤษฎีเชิงโครงสร้างในการสร้างผลลัพธ์ขั้นสุดท้าย (Ultimate Outcome) สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กบั การพัฒนาการท่องเทีย่ วได้ โดย วัตถุประสงค์หลักคือเน้นการเพิ่มผลลัพธ์ขั้นสุดท้ายเข้ามาแทนที่การเพิ่ม ผลลัพธ์ (Output) เท่านัน้ หากประยุกต์การใช้ทฤษฎีเชิงโครงสร้างในการ หน้า 3


สร้างผลลัพธ์ขั้นสุดท้ายกับการท่องเที่ยว จะได้กระบวนการสร้างผลลัพธ์ ขั้นสุดท้ายดังนี้

ULTIMATE OUTCOME

INPUT

สากล (Standardization) ซึ่งหาก Process ของอุตสาหกรรมการท่อง เที่ยวและบริการได้มาตรฐาน จะท�ำให้เกิด Output หรือ จ�ำนวนนักท่อง เที่ยวที่เราคาดหวังไว้ในแต่ละปี จากนี้คือกระบวนการส�ำคัญที่สุด คือจะท�ำอย่างไรให้ Output ที่เกิดขึ้นให้กลายเป็นผลลัพธ์ขั้นสุดท้าย (Ultimate Outcome) ซึ่งก็คือ จ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่อยากกลับมาเที่ยวเชียงรายอีกอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น ควรมีการเปลีย่ นจาก Output ให้เป็น Outcome ก่อน โดยการมุง่ เน้นการ ส่งเสริมการศึกษาวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วในมิตติ า่ งๆ (Tourism Research) เพือ่ เป็นการศึกษาสถานการณ์ ปัญหา/อุปสรรค โอกาส รวมถึงระดับความ พึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว (Preferences) ทีจ่ ะเป็นตัวกลางในการท�ำให้นกั ท่องกลับมาเที่ยวเชียงรายอีก ซึ่งสุดท้ายแล้วหากกระบวนการทฤษฎีเชิง โครงสร้างท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพก็จะท�ำให้เกิดวัฎจักรการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืนสู่จังหวัดเชียงราย

ผู้ให้สัมภาษณ์ OUTCOME

PROCESS

1. คุณอิทธิพล บุญอารีย์ (ผู้อ�ำนวยการท่าอากาศยานนานาชาติแม่ฟ้า หลวง)

ติดต่อเรา ส�ำนักงานเศรษฐกิจชายแดนและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ชั้น 4 ตึก E1 333 หมู่ 1 ต�ำบลท่าสุด อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100

วัฎจักรการท่องเที่ยวเชิงโครงสร้าง (TOURISM STRUCTURAL CYCLE)

mfuobels@gmail.com

ค�ำอธิบายตัวแปร 1. Input - นักท่องเที่ยว 2. Process - อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ 3. Output - จ�ำนวนนักท่องเที่ยวที่คาดหวังไว้ 4. Outcome - ระดับความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว 5. Ultimate outcome - นักท่องเที่ยวที่อยากกลับมาเที่ยว

Office of border Economy and Logistics Study

เมื่อก�ำหนดให้ Input คือ นักท่องเที่ยวที่มาเชียงราย ซึ่งเป็น ปัจจัยน�ำเข้าที่ขึ้นอยู่กับการส่งเสริม เทศกาล ฤดูกาล หรือปัจจัยอื่นๆของ นักท่องเที่ยว Process คือ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ ที่ให้ บริการนักท่องเทีย่ วตัง้ แต่ออกจากสนามบิน เข้าทีพ่ กั น�ำเทีย่ ว ร้านอาหาร ร้านของฝาก จนถึงการเดินทางกลับ ซึ่งปัจจัยนี้สามารถควบคุมได้จาก ความร่วมมือของภาครัฐบาล เอกชน ประชาชน และภาคการศึกษา ในการ มุ่งพัฒนามาตรฐานอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการให้ได้มาตรฐาน หน้า 4


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.