องค์กรคณะบริหารสงฆ์ 2559

Page 1

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

P.1


P.2

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

P.3


อนุโมทนากถา คณะผูบ้ ริหารหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ ได้จดั ท�ำหนังสือ “องค์กรคณะบริหารสงฆ์ 2558” ซึง่ มีสาระส�ำคัญเกีย่ วกับ ความเป็นมาของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย โครงสร้างการบริหารงานคณะสงฆ์ ประกอบด้วยคณะกรรมการ มหาเถรสมาคม เจ้าคณะใหญ่ และเจ้าคณะภาค พร้อมทั้งอ�ำนาจหน้าที่ในการบริหารงาน นอกจากนี้ยังได้รวบรวม ชีวิตและผลงานเจ้าคณะภาคต่างๆ ทั้งฝ่ายมหานิกายและธรรมยุต รวม 28 รูป มาไว้ในเล่มเดียวกัน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็นการส่งเสริมสนับสนุน การเผยแผ่หลักค�ำสอนในพระพุทธศาสนา และการบริหารงาน คณะสงฆ์ระดับต่างๆ ให้พทุ ธศาสนิกชนและบุคคลทัว่ ๆ ไปได้ทราบ อันจะเป็นการศึกษาเรียนรูห้ ลักธรรมค�ำสอนทาง พระพุทธศาสนา และเป็นการประชาสัมพันธ์การบริหารงานคณะสงฆ์สู่ประชาชน เพื่อให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ด้วยกุศลเจตนาของคณะผูบ้ ริหารหนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ ข้างต้น อาตมาภาพจึงขออนุโมทนายินดีเป็นอย่างยิง่ ในการจัดท�ำหนังสือ “องค์กรคณะบริหารสงฆ์ 2558” ในครั้งนี้ และขออ�ำนวยพรให้คณะผู้บริหารและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในการจัดท�ำหนังสือเล่มนี้ จงประสบความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทุกประการเทอญ

P.4

(สมเด็จพระวันรัต) รักษาการเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม และรักษาการแทนเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

P.5


สาร นายพนม ศรศิลป์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เนื่องในการจัดพิมพ์หนังสือ “องค์กรคณะบริหารสงฆ์ ๒๕๕๘”

P.6

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

P.7


บทน�ำ หลังจากทีพ่ ระพุทธเจ้าตรัสรู้ ได้แสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เป็นปฐมเทศนา แก่ “พระปัญจวัคคีย์” ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ทำ�ให้พระโกณฑัญญะ บรรลุพระโสดาบัน และกราบทูลขออุปสมบท ใน วันขึน้ 15 ค�่ำ เดือน 8 เกิดพระสงฆ์องค์แรกขึน้ ในโลก จึงเป็นวันทีพ่ ระรัตนตรัย (พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์) เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในโลกด้วยเช่นกัน ต่อมาพระปัญจวัคคีย์ที่เหลือ ได้บรรลุพระโสดาบัน และเป็นพระอรหันต์ ด้วยกันทั้งสิ้น ก่อนเสด็จปรินพิ พาน พระพุทธเจ้าได้ตรัสทำ�นองสัง่ เสียกับพระอานนท์วา่ เมือ่ พระองค์ปรินพิ พานล่วงลับ ไปแล้ว จะไม่ทรงตัง้ ภิกษุรปู ใดแทนพระองค์ หากแต่ให้ชาวพุทธทัง้ หลายยึดพระธรรมวินยั เป็นศาสดาแทนพระองค์ ตามพระพุทธพจน์ว่า "โย โว อานนฺท มยาธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา" แปลว่า “ดูกอ่ น อานนท์ ธรรมและวินยั ใดทีเ่ ราได้แสดงแล้วและบัญญัตแิ ล้วแก่เธอทัง้ หลาย ธรรมและวินยั นัน้ จะ เป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย โดยกาลที่เราล่วงลับไป” หลังจากทีพ่ ระพุทธเจ้าปรินพิ พาน บรรดาพระภิกษุสงฆ์จงึ ได้น�ำ หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้าออก เผยแผ่ เพื่อชี้ทางสว่างให้กับชาวโลก โดยได้มีการนำ�หลักธรรมต่างๆ รวบรวมไว้ใน พระไตรปิฎก ซึ่งประกอบ ด้วย 1. พระวินัยปิฎก 2. พระสุตตันตปิฎก และ 3. พระอภิธรรมปิฎก แม้จะมีการสังคายนาพระไตรปิฎกขึ้นใน ภายหลัง แต่หลักการสำ�คัญยังไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง เพือ่ ความเข้าใจอย่างถูกต้องตรงกัน ในหมูข่ องพระภิกษุสงฆ์ และญาติโยมชาวพุทธ ปัจจุบันมีผู้นับถือพระพุทธศาสนา มากกว่า 700 ล้านคน ศาสนาพุทธได้กลายเป็นศาสนาสากลที่ก�ำ ลัง แผ่ขยายออกไป อย่างไม่มีวันสิ้นสุด ด้วยตระหนักถึงความสำ�คัญของพระพุทธศาสนาและเห็นถึงความสำ�คัญของ มหาเถรสมาคม (Sangha Supreme Council of Thailand) ซึ่งมีบทบาทในการปกครอง บังคับบัญชาวัดและพระภิกษุ สามเณรในนิกาย ต่างๆ หนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ จึงได้จัดทำ�หนังสือ “องค์กรคณะบริหารสงฆ์ 2559” โดยปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาจาก หนังสือ “องค์กรคณะบริหารสงฆ์ 2558” ซึง่ ได้รวบรวมเรือ่ งราวความเป็นมาของพระพุทธศาสนา โครงสร้างของ คณะสงฆ์ไทย ชีวประวัติเจ้าคณะภาค ทั้งฝ่ายมหานิกายและธรรมยุต ให้มีความทันสมัยเป็นปัจจุบัน นอกจากนี้ คณะผู้จัดทำ�ยังได้เพิ่มเติมเนื้อหา คติธรรมคำ�สอน ของ สมเด็จพระญาณสังวร สกลมหาสังฆ ปริณายก สมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และ พระพรหมวชิรญาณ กรรมการมหาเถร สมาคม เจ้าอาวาสวัดยานนาวา มาเผยแผ่เป็นธรรมทาน ในหนังสือฉบับนีด้ ว้ ย เพือ่ มอบเป็นอภินนั ทนาการให้กบั พุทธบริษัท หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ที่สนใจ ในโอกาสนี้ คณะผู้จัดทำ�ขอกราบขอบพระคุณ มายังผู้มีอุปการคุณที่มีจิตกุศลธรรมทั้งหลาย ซึ่งมี ส่วนร่วมทำ�ให้การจัดทำ�หนังสือเล่มนี้ สำ�เร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอได้โปรดร่วมรับผลบุญกุศลในครั้งนี้ โดยถ้วนทั่ว ทุกท่าน... เทอญ

คณะผู้จัดทำ� กองบรรณาธิการ อปท.นิวส์

หนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์

เจ้าของ : บริษัท อปท.นิวส์ จำ�กัด ประธานบริหาร : กำ�พล มหานุกูล บรรณาธิการบริหาร : ชาญวิทยา ชัยกูล บรรณาธิการข่าวศาสนาและวัฒนธรรม : ทองพิศิฏ จันทร์ภาโรจนะ บรรณาธิการข่าวภูมิภาค : ธนพล ปิยสิรานนท์ ผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา : จารึก รัตนบูรณ์ สำ�นักงาน : 315/576 ชั้ย 13 อาคารฟอร์จูนทาวน์ 5 ถนนสาธุประดิษฐ์ แขวง ช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2674-0084 โทรสาร 0-2674-0085 พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์ ส.พิจิตร โทรศัพท์ 0-2910-2900 โทรสาร 0-2587-5758

P.8

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


สารบัญ อนุโมทนากถา สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เจ้าอาวาสวัดปากน�ำ้ ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช หน้า 3 อนุโมทนากถา สมเด็จพระวันรัต รักษาการเจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคมและรักษาการ แทนเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต หน้า 4 อนุโมทนากถา พระพรหมวชิรญาณ เจ้าอาวาสวัดยานนาวา กรรมการมหาเถรสมาคม หน้า 5 สารจาก ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ นายพนม ศรศิลป์ ผู้อำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ หน้า 6

ก�ำเนิด “พระพุทธเจ้า” สู่หลักธรรมค�ำสอนในพุทธศาสนา หน้า 10-11

ความเป็นมา มหานิกาย และธรรมยุติกนิกาย หน้า 18

มหาเถรสมาคม กรรมการมหาเถรสมาคม หน้า 20-23

ท�ำเนียบ เจ้าคณะภาค (มหานิกาย) หน้า 25-61

ท�ำเนียบ เจ้าคณะภาค (ธรรมยุติกนิกาย) หน้า 63-79

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ รายชื่อผู้บริหาร หน้า 81-85

ความเป็นมาของศาสนาพุทธ องค์ประกอบและหลักธรรมค�ำสอน หน้า 12-14

คติธรรมค�ำสอน สมเด็จพระญาณสังวร สกลมหาสังฆปริณายก หน้า 92-93

ความเป็นมา พุทธศาสนาในประเทศไทย หน้า 15-17

คติธรรมค�ำสอน พระพรหมวชิรญาณ (ประสิทธิ์ เขมงฺกโร) หน้า 94-95

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

P.9


กำ�เนิด “พระพุทธเจ้�” • สู่หลักธรรมค�าสอนในพุทธศาสนา

พระโคตมพุทธเจ้า หรือ พระพุทธเจ้าองค์ปจั จุบนั มีพระนาม เดิมว่า “เจ้าชายสิทธัตถะ” เป็นพระโอรสของ “พระเจ้าสุทโธทนะ” และ “พระนางสิริมหามายา” ประสูติในราชตระกูลศากยวงศ์ แห่ง กรุงกบิลพัสดุ์ พระองค์ทรงออกผนวชเมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา บ�าเพ็ญเพียรอยู่ 6 ปี จึงตรัสรู้เมื่อพระชนมายุ 35 พรรษา และทรง ประกาศพระศาสนาอยู่ 45 ปี จึงเสด็จปรินิพพานเมื่อพระชนมายุได้ 80 พรรษา ซึ่งเป็นการเริ่มต้นของการนับปีพุทธศักราช หลั ง จากพระพุ ท ธเจ้ า ตรั ส รู ้ แ ล้ ว ได้ เ สด็ จ ไปโปรด “พระ ปัญจวัคคีย”์ ณ ป่าอิสปิ ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี พระองค์ ตรัสธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เป็นปฐมเทศนาแก่พระปัญจวัคคีย์ เมือ่ จบ พระธรรมเทศนา ดวงตาเห็นธรรมอันปราศจากธุลมี ลทิน จึงเกิดขึน้ แก่ พระโกณฑัญญะ จนท�าให้บรรลุเป็นพระโสดาบัน พระโกณฑัญญะจึง กราบทูลขออุปสมบทในวัน ขึ้น 15 ค�่า เดือน 8 ซึ่งนับเป็นพระสงฆ์ องค์แรกในโลก และพระรัตนตรัยจึงเกิดขึ้นในโลกในวันนั้นเช่นกัน ต่อมา พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมอืน่ ๆ เพือ่ โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่เหลืออีก 4 องค์ จนบรรลุเป็นพระโสดาบันทั้งหมด หลังจาก พระปัญจวัคคีย์บรรลุเป็นพระโสดาบันหมดแล้ว พระองค์ทรงแสดง ธรรมอนัตตลักขณสูตร ซึง่ ท�าให้พระปัญจวัคคียบ์ รรลุเป็นพระอรหันต์ ทั้งสิ้น ต่อจากนั้น พระองค์ได้เสด็จไปแสดงธรรมโปรดพระยสะและ พวกอีก 54 ท่าน จนบรรลุเป็นพระอรหันต์ทั้งหมด ในครั้งนั้นจึงมี พระอรหันต์รวมทั้งพระองค์ด้วย ทั้งสิ้น 61 พระองค์ พระพุทธเจ้า จึงพระด�าริให้พระสาวกออกประกาศศาสนา โดยมีพระปฐมวาจาใน การส่งพระสาวกออกประกาศศาสนาว่า

“ดูกรพระภิกษุทั้งหลาย เราหลุดพ้นจากบ่วงทั้งปวง ทั้งที่เป็น ของทิพย์ และของมนุษย์ แม้พวกเธอได้หลุดพ้นจากบ่วงทั้งปวงทั้ง ของทิพย์และของมนุษย์เช่นกัน พวกเธอจงเที่ยวไปเพื่อประโยชน์ และความสุขแก่มหาชน เพือ่ อนุเคราะห์ชาวโลก เพือ่ ประโยชน์เกือ้ กูล และความสุขแก่ทวยเทพและมนุษย์ พวกเธออย่าไปทางเดียวกัน 2 รูป จงแสดงธรรมให้งามในเบือ้ งต้น ในท่ามกลางและในทีส่ ดุ จงประกาศ พรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถและพยัญชนะให้ครบถ้วนบริบูรณ์ สัตว์ ทั้งหลายผู้มีธุลี คือ กิเลส ในจักษุเพียงเล็กน้อยมีอยู่ แต่เพราะโทษที่ ยังไม่ได้สดับธรรม จึงต้องเสื่อมจากคุณที่พึงจะได้รับ ดูก่อนภิกษุทั้ง หลาย ผู้รู้ทั่วถึงธรรมมีอยู่ แม้เราก็จักไปยังต�าบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรม” จึงท�าให้พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรือง และแผ่ขยายไป ในชมพูทวีปอย่างรวดเร็ว ชาวชมพูทวีปพากันละทิ้งลัทธิเดิม แล้ว หันมานับถือเลือ่ มใสศรัทธาในพระพุทธศาสนามากขึน้ โดยล�าดับและ เผยแผ่ต่อมาจนถึงปัจจุบัน

P.10

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


พุทธศ�สน�หลังพระพุทธเจ้�เสด็จปรินพิ พ�น

เมื่อพระพุทธองค์เสด็จปรินิพพานแล้ว พระพุทธศาสนายังเจริญใน อินเดียสืบมา ความเจริญของพุทธศาสนาขึ้นกับว่าได้รับการส่งเสริมจากผู้มี อ�านาจในสมัยนั้นหรือไม่ ถ้ามีก็มีความรุ่งเรืองมาก อย่างไรก็ตาม เมื่อเวลา กาลล่วงไป ความขัดแย้งอันเกิดจากการตีความพระธรรมค�าสอนและพระวินยั ไม่ตรงกันได้เกิดขึน้ ในหมูพ่ ระสงฆ์ จึงมีการแก้ไขโดยมีการจัดท�าสังคายนาร้อย กรองพระธรรมวินยั ทีถ่ กู ต้องไว้เป็นหลักฐานส�าหรับยึดถือเป็นแบบแผนต่อไป

ก�รสังค�ยน�ครั้งที่ 1

กระท�าขึ้น หลังจากพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานได้ 3 เดือน ณ ถ�้า สัตบรรณคูหา กรุงราชคฤห์ โดย พระมหากัสสปะ เป็นประธาน พระเจ้าอชาต ศัตรู เป็นองค์อุปถัมภ์ พระอานนท์ เป็นผู้ให้คา� ตอบเกี่ยวกับพระธรรม และ พระอุบาลี เป็นผู้ให้ค�าตอบเกี่ยวกับพระวินัย มีพระอรหันต์เข้าร่วมในการ สังคายนา 500 รูป กระท�า 7 เดือนจึงแล้วเสร็จ

ก�รสังค�ยน�ครั้งที่ 2

เมื่อพุทธปรินิพพานล่วงไป 100 ปี ภิกษุชาววัชชี เมืองเวสาลี ได้ตั้ง วัตถุ 10 ประการ ซึ่งผิดไปจากพระวินัย ท�าให้มีทั้งภิกษุที่เห็นด้วยและไม่ เห็นด้วย จนเกิดการแตกแยกในหมู่สงฆ์ “พระยสกากัณฑบุตร” ได้จาริกมา เมืองเวสาลี และทราบเรื่องนี้ ได้พยายามคัดค้าน แต่ภิกษุชาววัชชีไม่เชื่อฟัง ภิกษุที่สนับสนุนพระยสกากัณฑบุตรจึงน�าเรื่องไปปรึกษาพระเถระผู้ใหญ่ใน ขณะนัน้ ได้แก่ “พระเรวตะ” “พระสัพกามีเถระ” เป็นต้น จึงตกลงให้ทา� การ สังคายนาขึ้นอีกครั้ง ภิกษุชาววัชชีไม่ยอมรับและไม่เข้าร่วมการสังคายนานี้ แต่ไปรวบรวม ภิกษุฝ่ายตนประชุมท�าสังคายนาต่างหาก เรียกว่า “มหาสังคีติ” และเรียก พวกของตนว่า “มหาสังฆิกะ” ท�าให้พทุ ธศาสนาในขณะนัน้ แตกเป็น 2 นิกาย คือ ฝ่ายที่นับถือมติของพระเถระครั้งปฐมสังคายนาเรียก เถรวาท ฝ่ายที่ถือ ตามมติของอาจารย์ของตนเรียก อาจาริยวาท อีกราว 100 ปีต่อมา สงฆ์ทั้ง 2 ฝ่ายมีการแตกนิกายออกไปอีก หลัก ฐานฝ่ายภาษาบาลีว่าแตกไป 18 นิกาย หลักฐานฝ่ายภาษาสันสกฤตว่า แตก ไป 20 นิกาย

ก�รสังค�ยน�ครั้งที่ 3

เกิดขึ้นในสมัย พระเจ้าอโศกมหาราช เพื่อก�าจัดพวกเดียรถีย์ปลอม บวชในพระพุทธศาสนา มี พระโมคคัลลีบุตรติสสะ เป็นประธาน ใช้เวลา 9 เดือนจึงส�าเร็จ ในการสังคายนาครัง้ นี้ พระโมคคัลลีบตุ รติสสะ ได้แต่งกถาวัตถุ ขึ้น เพื่ออธิบายธรรมให้แจ่มแจ้ง หลังจากการสังคายนาสิ้นสุดลง พระเจ้าอโศกฯได้ส่งสมณทูต 9 สาย ออกเผยแผ่พระพุทธศาสนา คือ 1.คณะพระมัชฌันติกเถระ ไปแคว้นแคชเมียร์และแคว้นคันธาระ 2.คณะพระมหาเทวะ ไปมหิสกมณฑล ซึง่ คือ แคว้นไมซอร์และดินแดน ลุ่มแม่น�้าโคธาวารี ในอินเดียใต้ปัจจุบัน 3.คณะพระรักขิตะ ไปวนวาสีประเทศ ได้แก่ แคว้นบอมเบย์ในปัจจุบนั 4.คณะพระธรรมรักขิตะ ไปอปรันตกชนบท แถบทะเลอาหรับทาง เหนือของบอมเบย์ 5.คณะพระมหาธรรมรักขิตะ ไปแคว้นมหาราษฎร์ 6.คณะพระมหารักขิตะ ไปโยนกประเทศ ได้แก่แคว้นกรีกในเอเชีย กลาง อิหร่าน และเตอร์กิสถาน 7.คณะพระมัชฌิมเถระ ไปแถบเทือกเขาหิมาลัย คือ เนปาลปัจจุบัน 8.คณะพระโสณะ และพระอุตตระ ไปสุวรรณภูมิ ได้แก่ ไทย พม่า มอญ 9.คณะพระมหินทะ ไปลังกา

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.11


คว�มเป็นม�ของศ�สน�พุทธ • องค์ประกอบและหลักธรรมค�าสอน

พระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ คือศาสนาที่ มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระบรมศาสดา ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เองตรัสสอนไว้เป็นหลักค�าสอน ส�าคัญ มีพระสงฆ์หรือพุทธบริษัท 4 เป็นชุมชนของผู้ นับถือศาสนาและศึกษาปฏิบัติตนตามค�าสั่งสอนของ พระบรมศาสดา เพื่อสืบทอดไว้ซึ่งค�าสอนของพระบรม ศาสดา รวมเรียกว่า “พระรัตนตรัย” ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ ของพระเป็นเจ้า หรือ พระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพ ของมนุษย์ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธสอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วย ผลแห่งการกระท�าของตน ตามกฎแห่งกรรม มิได้มาจาก การอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอก กาย คือ ให้พึ่งตนเอง เพื่อพาตัวเองออกจากกองทุกข์ มี จุดมุ่งหมายคือการสอนให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ ทัง้ ปวงในโลกด้วยวิธกี ารสร้างปัญญา ในการอยูก่ บั ความ ทุกข์อย่างรูเ้ ท่าทันตามความเป็นจริง วัตถุประสงค์สงู สุด ของศาสนา คือ การหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวงและ วัฏจักรการเวียนว่ายตายเกิด เช่นเดียวกับที่พระศาสดา ทรงหลุดพ้นได้ด้วยก�าลังสติปัญญาและความเพียรของ พระองค์เอง ในฐานะที่พระองค์ก็ทรงเป็นมนุษย์ มิใช่ เทพเจ้าหรือทูตของพระเจ้าองค์ใด พระศาสดาพระองค์ปจั จุบนั คือ พระโคตมพุทธเจ้า มีพระนามเดิมว่า เจ้าชายสิทธัตถะ ได้ทรงเริ่มออก เผยแผ่ค�าสอนในชมพูทวีป ตั้งแต่สมัยพุทธกาล แต่หลัง ปรินพิ พานของพระพุทธเจ้า พระธรรมวินยั ทีพ่ ระองค์ทรง สั่งสอน ได้ถูกรวบรวมเป็นหมวดหมู่ ด้วยการสังคายนา พระธรรมวินัยครั้งแรก จนมีการรวบรวมขึ้นเป็น พระ ไตรปิฎก ซึ่งเป็นหลักการส�าคัญที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง มาตลอดของฝ่าย เถรวาท ทีย่ ดึ หลักไม่ยอมเปลีย่ นแปลง ค�าสั่งสอนของพระพุทธเจ้า แต่ในการสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่สอง ได้เกิด แนวคิดที่เห็นต่างออกไปว่าธรรมวินัยสามารถปรับปรุง เปลีย่ นแปลงได้ตามเวลาและสถานการณ์ เพือ่ ความอยูร่ อด แห่งศาสนาพุทธ แนวคิดดังกล่าวจึงได้เริ่มก่อตัวและแตก สายออกเป็นนิกายใหม่ในชือ่ ของ มหายาน ทัง้ สองนิกายได้ แตกนิกายย่อยไปอีกและเผยแพร่ออกไปทัว่ ดินแดนเอเชีย และใกล้เคียง บ้างก็จัดว่า วัชรยาน เป็นอีกนิกายหนึ่ง แต่ บ้างว่าเป็นส่วนหนึง่ ของนิกายมหายาน แต่การจัดมากกว่า นัน้ ก็มหี ลักพืน้ ฐานส�าคัญของปฏิจสมุปบาท เป็นเพียงหลัก เดียวที่เป็นค�าสอนร่วมกันของคติพุทธ ปัจจุบนั ศาสนาพุทธได้เผยแผ่ไปทัว่ โลก โดยมีจา� นวน ผูน้ บั ถือส่วนใหญ่อยูใ่ นทวีปเอเชีย โดยผูน้ บั ถือศาสนาพุทธ กระจายไปทัว่ โลก ประมาณ 700 ล้านคน ด้วยมีผนู้ บั ถือใน หลายประเทศ ศาสนาพุทธจึงเป็นศาสนาสากล

P.12

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


สามารถหลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง จวบจนได้ทรงบรรลุ พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ คือ การตรัสรู้ อริยสัจ 4 ขณะมีพระชนมายุได้ 35 ชันษา ทีใ่ ต้ตน้ ศรีมหาโพธิ์ ต�าบล อุรุเวลาเสนานิคม จากนั้นมา พระองค์ได้ออกประกาศสิ่งที่พระองค์ ตรัสรู้ ตลอดพระชนมชีพ เป็นเวลากว่า 45 พรรษา ท�าให้ ศาสนาพุทธด�ารงมั่นคงในฐานะศาสนาอันดับหนึ่งอยู่ใน ชมพูทวีปตอนเหนือ จวบจนพระองค์ได้เสด็จปรินิพพาน เมื่อพระชนมายุได้ 80 พระชันษา ณ สาลวโนทยาน (ใน วันขึ้น 15 ค�่าเดือน 6)

• คัมภีร์ของพุทธศ�สน�

องค์ประกอบส��คัญของศ�สน�พุทธ • สิ่งเค�รพสูงสุดในพุทธศ�สน�

หลักธรรมค�าสอนทางพุทธศาสนา ในยุคก่อนจะ บันทึกเป็นลายลักษณ์อกั ษร ใช้วธิ ที อ่ งจ�า (มุขปาฐะ) โดย ใช้วิธีการแบ่งให้สงฆ์หลาย ๆ กลุ่มรับผิดชอบท่องจ�าใน แต่ละเล่ม เป็นเครื่องมือช่วยในการรักษาความถูกต้อง ของหลักค�าสอน จวบจนได้ถือก�าเนิดอักษรเขียนขึ้นมา ซึ่งสามารถรักษาความถูกต้องของค�าสอนเอาไว้ได้แทน อักษรภาพแบบเก่าที่รักษาความถูกต้องไม่ได้ โดยได้มี การบันทึกพระธรรมและพระวินัยเป็นลายลักษณ์อักษร เป็นภาษาบาลี รักษาไว้ในคัมภีรเ์ รียกว่า “พระไตรปิฎก” ซึ่งสามารถแยกออกได้เป็น 3 หมวดหลัก ได้แก่ 1. พระวินัยปิฎก ว่าด้วยวินัยหรือศีลของภิกษุ ภิกษุณี 2. พระสุตตันตปิฎก ว่าด้วยพระธรรมทั่วไป และ เรื่องราวต่าง ๆ 3. พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยธรรมะที่เป็นปรมัตถ์ ธรรม หรือธรรมะที่แสดงถึงสภาวะล้วนๆ ไม่มีการสมมุติ

พระรัตนตรัย คือ “สรณะ” ที่พึ่งอันประเสริฐใน ศาสนาพุทธ สรณะ หมายถึง สิง่ ทีใ่ ห้ศาสนิกชนถือเอาเป็น แบบอย่าง หรือให้เอาเป็นตัวอย่าง แต่มิได้หมายความ ว่าเมื่อเคารพแล้วจะดลบันดาลสิ่งต่างๆ ตามต้องการได้ พระรัตนตรัยนัน้ ประกอบด้วยองค์สาม (ไตรสรณะ) ได้แก่ 1. พระพุทธเจ้า ผู้ที่บ�าเพ็ญสั่งสมบารมีมาหลาย ภพชาติ จนชาติสุดท้ายเกิดเป็นมนุษย์ แล้วอาศัยความ เพียรพยายามและสติปัญญาปฏิบัติ จนได้บรรลุสิ่งที่ ต้องการ คือ “ธรรม” อันเป็นเครื่องออกจากทุกข์ แล้ว จึงทรงชี้แนะหรือชี้ทางให้คนอื่นท�าตาม • ผู้สืบทอดพุทธศ�สน� 2. พระธรรม คื อ ค� า สอนว่ า ด้ ว ยธรรมชาติ ที่ ผู้สืบทอดในทางศาสนาพุทธ ได้แก่ พุทธบริษัท 4 พระพุทธเจ้าทรงค้นพบแล้วว่าท�าให้พ้นจากทุกข์ อันหมายถึง พุทธศาสนิกชน พุทธมามกะ พุทธสาวก อัน 3. พระสงฆ์ คือหมูช่ นหรือชุมชนของพระสาวก ไม่ เป็นกลุม่ ผูร้ ว่ มกันนับถือ ร่วมกันศึกษา และร่วมกันรักษา ว่ามนุษย์หรือเทวดา ทีท่ า� ตามค�าแนะน�าของพระพุทธเจ้า พุทธศาสนาไว้ แล้ว ประสบผลส�าเร็จ “พ้นทุกข์” ตามพระพุทธเจ้า ผูน้ บั ถือศาสนาพุทธทีไ่ ด้บวชเพือ่ ศึกษา ปฏิบตั ติ าม ค�าสอน (ธรรม) และค�าสัง่ (วินยั ) และมีหน้าทีเ่ ผยแผ่พระ • องค์พระศ�สด� ธรรมของพระพุทธเจ้า เรียกว่า “ภิกษุ” ในกรณีทเี่ ป็นเพศ ศาสดาของศาสนาพุทธ คือ พระโคตมพุทธเจ้า ชาย และ “ภิกษุณี” ในกรณีที่เป็นเพศหญิง มีพระนามเดิมว่า เจ้าชายสิทธัตถะ ประสูติในดินแดน ชมพูทวีป ตรงกับวันขึ้น 15 ค�า่ เดือน 6 เมื่อ80 ปีก่อน พุทธศักราช ณ สวนลุมพินีวัน เจ้าชายสิทธัตถะเป็นพระ ราชโอรสของ พระเจ้าสุทโธทนะ และ พระนางสิริมหา มายา ทรงด�ารงต�าแหน่งรัชทายาท ผูส้ บื ทอดราชบัลลังก์ กรุงกบิลพัสดุ์ แห่งแคว้นสักกะ และเมื่อพระชนมายุ 16 ชันษา ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงยโสธรา แห่งเมือง เทวทหะ เมื่อพระชนมายุ 29 ชันษา มีพระโอรส 1 พระองค์พระนามว่า ราหุล ในปีเดียวกัน หลังจากที่พระองค์ได้ทอดพระเนตร เทวทูตทั้งสี่ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ จึง ทรงตัดสินพระทัยออกผนวชเป็นสมณะ ณ ริมฝั่งแม่น�้า อโนมานที เพือ่ แสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ คือ ความ แก่ เจ็บ และตาย และหลังจากออกผนวชมา 6 พรรษา ทรงค้นพบว่า การหลุดพ้นจากทุกข์ ท�าได้ด้วยการฝึกจิต ด้วยการเจริญสติ ประกอบด้วยศีล สมาธิ และปัญญา

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

ส�าหรับผู้บวชที่ตั้งแต่อายุยังไม่ถึงเกณฑ์ 20 ปี จะ เรียกว่าเป็น “สามเณร” ส�าหรับเด็กชาย และ “สาม เณรี” และ “สิกขมานา” (สามเณรีที่ต้องไม่ผิดศีล 6 ข้อตลอด 2 ปี) ส�าหรับเด็กหญิง ลักษณะการบวชส�าหรับภิกษุหรือภิกษุณี จะเรียก ว่า “อุปสมบท” การบวชส�าหรับสามเณรหรือสามเณรี และสิกขมานา จะเรียกว่า “บรรพชา” คฤหัสถ์ชาย-หญิง ที่นับถือพระพุทธศาสนา เรียก ว่า “อุบาสก อุบาสิกา” ตามล�าดับ

• ก�รขย�ยตัวของพุทธศ�สน�

หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว ได้เสด็จไปโปรด พระปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมือง พาราณสี พระองค์ได้ทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แก่ปัญจวัคคีย์ โดย “พระโกณฑัญญะ” บรรลุเป็นพระ โสดาบัน และกราบทูลขอบวช นับเป็นพระสงฆ์องค์แรก ในโลก ก่อนจะเสด็จไปเผยแผ่พทุ ธศาสนาตามทีต่ า่ งๆ ใน

ชมพูทวีป จนกระทั่งปรินิพพาน ต่อมาได้เกิดความขัดแย้งอันเกิดจากการตีความ พระธรรมค�าสอนและพระวินัยไม่ตรงกัน จึงมีการแก้ไข โดยมีการจัดท�าสังคายนาร้อยกรองพระธรรมวินัยที่ ถูกต้องไว้เป็นหลักฐาน ส�าหรับยึดถือเป็นแบบแผน ต่อไป การท�าสังคายนาพระไตรปิฎกในครั้งที่ 2 ท�าให้ พระพุทธศาสนาแตกออกไปกว่า 20 นิกายและในการ ท�าสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 3 ในรัชสมัยพระเจ้า อโศกมหาราช พระองค์ได้ทรงแต่งสมณทูต 9 สายออก ไปเผยแผ่พทุ ธศาสนา จนกระทัง่ พุทธศาสนาแผ่ขยายไป อย่างกว้างขวาง ศาสนาพุทธมีความเจริญรุ่งเรืองและความเสื่อม ถอยสลับกัน พุทธศาสนาในอินเดียเริ่มอ่อนแอลงหลัง พุทธศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา โดยศาสนาฮินดูได้เข้า มาแทนที่ เช่นเดียวกับการเสื่อมถอยของพุทธศาสนาใน เอเชียกลาง จีน เกาหลี ในขณะที่ศาสนาพุทธได้เข้าไป ตัง้ มัน่ อยูใ่ นญีป่ นุ่ และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาในพุทธศตวรรษที่ 25 ช่วงหลังสงครามโลก ครั้งที่สองเป็นต้นมา ศาสนาพุทธเริ่มเป็นที่ดึงดูดใจของ ชาวตะวันตกมากขึ้น พ.ศ. 2493 ได้มีการตั้งองค์กรทาง พุทธศาสนาระดับโลกที่ศรีลังกา ในชื่อ “องค์กรพุทธ ศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก”

P.13


• หลักธรรมส��คัญในพุทธศ�สน�

ปรมัตถธรรม : หรือสรรพสิ่ง มี 4 อย่าง คือ จิต, เจตสิก, รูป, นิพพาน และเชื่อว่าโลกนี้เกิดขึ้นเองจากกฎ แห่งธรรมชาติหรือนิยาม 5 ประการ คือ อุตุนิยาม พีช นิยาม จิตนิยาม กรรมนิยาม ธรรมนิยาม วัฏสงสาร : หรือ สังสารวัฏ หรือ สงสารวัฏ คือ ภพภูมิที่มนุษย์ทุกคนต้องเวียนว่ายตายเกิด ซึ่งตามหลัก ของพุทธศาสนาซึ่งบัญญัติไว้ว่ามีทั้งสิ้น 31 ภูมิด้วยกัน ประกอบด้วย 1.โลกเบื้องต�่า ได้แก่ นรกภูมิ/เดรัจฉานภูมิ/เปรต ภูมิ/อสุรกายภูมิ 2.โลกเบื้องกลาง ได้แก่ โลกมนุษย์และเทวภูมิ (ชั้น1-6) 3.โลกเบือ้ งสูง ได้แก่ ปฐมฌานภูมิ /ทุตยิ ฌานภูมิ / ตติยฌานภูมิ และ พรหมภูมิ (ชั้นที่ 10 – 20) กฎแห่งกรรม : คือกฎธรรมชาติที่ว่าด้วยการกระ ท�าและผลของการกระท�า ซึ่งการกระท�ากับผลนั้นย่อม มีความสัมพันธ์กัน เช่น ท�าดีได้ดี ท�าชั่วได้ชั่ว อริยสัจ : หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4 แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ หรือความจริงทีท่ า� ให้ผเู้ ข้าถึงกลาย เป็นอริยะ มีอยู่สี่ประการ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค

• หลักปฏิบัติในพุทธศ�สน�

ศาสนาพุทธมุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์ สอนให้รู้จัก ทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ให้พ้นจากความไม่รู้ความจริง ในธรรมชาติ อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลสทั้งปวง คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง รวมทั้งเน้นการศึกษา ท�าความเข้าใจ การโยนิโสมนสิการด้วยปัญญา และพิสจู น์ ทราบข้อเท็จจริง เห็นเหตุผลว่าสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี จนเห็น ตามความเป็นจริงว่าสรรพสิ่งในธรรมชาติเป็นไปตามกฎ พระไตรลักษณ์ และเป็นไปตามกฎแห่งกรรม แล้วเลือก

P.14

ใช้หลักธรรมในพุทธศาสนาที่เหมาะกับผลที่จะได้สิ่งที่ ปรารถนาอย่างถูกต้อง ด้วยความไม่ประมาทในชีวติ เพือ่ ให้มคี วามสุขในทัง้ ชาตินแี้ ละชาติตอ่ ๆ ไป ตลอดจนพระ นิพพานของผู้มีปัญญา หนึ่งในแนวทางปฏิบัติที่ส�าคัญ เพื่อหาทางออก ไปจากสังสารวัฏ คือ “มัชฌิมาปฏิปทา” หมายถึงการ ยึดหลักทางสายกลาง อันเป็นอริยมรรค โดยการฝึกฝน จิตเพื่อให้ถึงซึ่งความดับทุกข์หรือมหาสติปัฏฐาน โดย การปฏิบัติหน้าที่ทุกชนิดอย่างมีสติ ด้วยจิตว่าง ตาม ครรลองแห่งธรรมชาติ มีสติอยู่กับตัวเอง รู้ว่าเวลาและ สถานการณ์ปัจจุบันว่าควรท�ากิจใด เช่นไรจึงเหมาะสม จนบรรลุญานตลอดจน มรรคผล ล� า ดั บ ขั้ น ตอนของการบ� า เพ็ ญ เพี ย รฝึ ก ฝนทาง จิต คือ 1. ศี ล (ฝึ ก กายและวาจาให้ ล ะเว้ น จากการ เบียดเบียนตนเองและผูอ้ นื่ รวมถึงการควบคุมจิตใจไม่ให้ ตกอยู่ในอ�านาจฝ่ายต�่าด้วยการเลี้ยงชีวิตอย่างพอเพียง) 2. สมาธิ (ฝึกความตั้ง ใจมั่นจนเกิดความสงบ (สมถะ) และท�าสติให้รับรู้สิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง) (วิปัสสนา) ด้วยความพยายาม 3. ปัญญา (ให้จิตพิจารณาธรรมชาติจนรู้ว่าสิ่งทั้ง ปวงเป็นเช่นนัน้ เอง (ตถตา) และตืน่ จากมายาทีห่ ลอกลวง จิตเดิมแท้ (ฐิติภูตัง)

จะเป็นไปตามพระไตรปิฎ ก ผู้นับถือส่วนใหญ่อยู่ใน ประเทศไทย, ศรีลังกา, พม่า, ลาว, กัมพูชา , เวียดนาม (ตอนใต้), บังกลาเทศ(บางชนเผ่า) และมาเลเซีย(ตอน บน) มหายาน (แปลว่า ยานใหญ่) หรือ อาจาริยวาท แพร่หลายในสาธารณรัฐประชาชนจีน, ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, เกาหลีเหนือ, เกาหลีใต้, เวียดนาม, สิงคโปร์ และบาง ส่วนของประเทศเนปาล, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, บรูไน และฟิลิปปินส์ ซึ่งส่วนใหญ่มีเชื้อสายจีน วัชรยาน หรือ มหายานพิเศษ พบมากในเขต ปกครองตนเองทิเบตของจีน, ประเทศภูฏาน, มองโกเลีย และดินแดนในการปกครองรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐตูวา และคัลมืยคียา นอกจากนี้เป็นประชากรส่วนน้อยในดิน แดนลาดัก รัฐชัมมูและกัษมีร์ ประเทศอินเดีย, เนปาล, ปากีสถาน (ในเขตบัลติสถาน)

• นิก�ยในพุทธศ�สน�

ศาสนาพุทธ แบ่งออกเป็นนิกายใหญ่ได้ 2 นิกาย คือ เถรวาท และ มหายาน นอกจากนี้ ยังมีการแบ่งที่ แตกต่างออกไปเป็น 3 นิกาย เนื่องจาก วัชรยาน ถือว่า ตนเป็นยานพิเศษโดยเฉพาะ ต่างจากมหายาน เถรวาท หรือ หีนยาน (แปลว่า ยานเล็ก) หมายถึง ค�าสัง่ สอนของพระพุทธเจ้า ซึง่ ค�าสัง่ สอนและหลักปฏิบตั ิ

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


พุทธศ�สน�ในประเทศไทย

เมือ่ ประมาณ พ.ศ. 236 พระพุทธศาสนาได้ขยาย เข้ามาสู่แผ่นดินสุวรรณภูมิ (ปัจจุบันได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว และมาเลเซีย) เนื่องจาก ในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ได้มีการ ส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศ ต่ า งๆ จ� านวน 9 สาย สั น นิ ษ ฐานว่ า ใจกลางการ เผยแผ่ศาสนาในประเทศไทยอยู่ที่จังหวัดนครปฐม เนื่ อ งจากได้ พ บโบราณวั ต ถุ ท่ี ส� า คั ญ ต่ า งๆ เช่ น พระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบ แต่พม่า ก็สันนิษฐานด้วยว่ามีใจกลางการเผยแผ่พุทธศาสนา ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า เชื่ อ กั น ว่ า พระเถระที่ น� า พุ ท ธศาสนาเข้ า มาสู ่ สุวรรณภูมิในยุคนี้ คือ พระโสณะ และ พระอุตตระ พระ เถระชาวอินเดีย ซึ่งได้เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาใน บริเวณสุวรรณภูมิ จนเจริญรุ่งเรืองมาเป็นล�าดับ ตามยุค สมัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. สมัยทวารวดี : พระพุทธศาสนาที่เข้ามาในสมัย ทวารวดี เป็นนิกายเถรวาทดั้งเดิม โดยพุทธศาสนิกชนมี ความศรัทธาเลื่อมใสบวชเป็นพระภิกษุจ�านวนมาก และ

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

ได้สร้างสถูปเจดีย์ไว้สักการบูชา เรียกว่า สถูปรูปฟองน�้า เหมื อ นสถู ป สาญจี ในประเทศอิ น เดี ย ที่ พ ระเจ้ า อโศก มหาราชทรงสร้างขึน้ ศิลปะในยุคนี้ เรียกว่า ศิลปะทวารวดี 2. สมัยอาณาจักรอ้ายลาว : พระพุทธศาสนาใน ยุคนีค้ าดว่าเป็นแบบมหายาน โดยเข้ามาในสมัยขุนหลวง ม้าว กษัตริยข์ องอาณาจักรอ้ายลาว โดยพระสมณทูตชาว อินเดียน�าเข้ามาเผยแผ่ในเอเชียกลาง เมือ่ คราวทีพ่ ระเจ้า กนิษกะมหาราชทรงอุปถัมภ์การสังคายนาครั้งที่ 4 ของ ฝ่ายมหายาน เป็นผลให้ประชากรจ�านวนมากเปลี่ยนมา นับถือพระพุทธศาสนาแบบมหายานแทนเถรวาท 3. สมัยอาณาจักรศรีวิชัย : ในช่วงพุทธศตวรรษ ที่ 12-13 กษัตริยศ์ รีวชิ ยั มีพระราชศรัทธาในพุทธศาสนา อย่ า งแน่ น แฟ้ น ดั ง หลั ก ฐานที่ ป รากฏ ได้ แ ก่ เจดี ย ์ พระบรมธาตุไชยา เจดียโ์ บโรพุทโธ รูปหล่อพระโพธิสตั ว์ อวโลกิเตศวร รวมถึงหลักฐานทางโบราณคดีอนื่ ๆ อีกเป็น จ�านวนมาก ซึง่ พบกระจายอยูท่ วั่ ไปในดินแดนสุวรรณภูมิ 4. สมัยลพบุรี : ในสมัยกษัตริย์กัมพูชาราชวงศ์ สุริยวรมันเรืองอ�านาจ ในราว พ.ศ. 1540 ได้ตั้งราชธานี ขึ้ น มาปกครองเมื อ งต่ า ง ๆ หลายแห่ ง เช่ น เมื อ ง

ลพบุรี เมืองสุโขทัย เมืองศรีเทพ หัวเมืองที่อยู่ตาม ลุ่มแม่น�้าป่าสัก และ เมืองพิมาย โดยมีเมืองลพบุรีหรือ ละโว้ เป็นเมืองส�าคัญ ที่สุด กษัตริย์กัมพูชาราชวงศ์ สุริยวรมัน ทรงนับถือพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ซึ่ง ผสมกับศาสนาพราหมณ์มาก ประชาชนในอาณาเขต ต่าง ๆ จึงได้รับพระพุทธศาสนาทั้งแบบเถรวาทที่สืบ มาแต่เดิม กับแบบมหายานและศาสนาพราหมณ์ที่เข้า มาใหม่ด้วย โดยมีพระสงฆ์ทั้งสองฝ่าย คือ ฝ่ายเถรวาท และฝ่ายมหายาน ส�าหรับศาสนสถานที่ส�าคัญในครั้งนั้น ได้แก่พระปรางค์สามยอด จ.ลพบุรี ปราสาทหินพิมาย จ.นครราชสีมา และปราสาทหินเขาพนมรุ้ง จ.บุรีรัมย์ เป็นต้น 5. สมัยเถรวาทแบบพุกาม : ในสมัยที่พระเจ้า อนุรุทธิ์มหาราช กษัตริย์พุกามเรืองอ�านาจ ทรงรวบรวม เอาพม่ากับมอญเข้าเป็นอาณาจักรเดียวกัน แล้วแผ่ อาณาเขตเข้ามาถึงอาณาจักรล้านนา อาณาจักรล้านช้าง ละโว้ และทวารวดี พระเจ้าอนุรุทธทรงนับถือพระพุทธ ศาสนาฝ่ายเถรวาท ทรงส่งเสริมท�านุบ�ารุงพระพุทธ ศาสนาอย่างจริงจัง และต่อมาขุนท้าวกวาโอรสขุนบรม

P.15


แห่งอาณาจักรน่านเจ้า ได้สถาปนาแคว้นโยนกเชียงแสน ขึ้น ครั้นอาณาจักรน่านเจ้าได้ถูกจีนเข้าท�าลาย ผู้คนก็ได้ แตกกระสานซ่านเซ็น กระจัดกระจายไปอยู่ในที่ต่างๆ เมื่อกษัตริย์ขอมเรืองอ�านาจ คนไทยที่อยู่ในเขตอ�านาจ ของขอม ก็ได้รับทั้งศาสนาและวัฒนธรรมของเขมรไว้ ด้วย ส่วนทางล้านนาก็ได้รบั อิทธิพลจากพม่าเช่นเดียวกัน จนถึงอาณาจักรพุกาม 6. สมัยกรุงสุโขทัย : หลังจากอาณาจักรพุกาม และกัมพูชาเสื่อมอ�านาจลง คนไทยจึงได้ตั้งตัวเป็นอิสระ ได้ก่อตั้งอาณาจักรขึ้นเอง 2 อาณาจักร ได้แก่ อาณาจักร ล้ า นนาทางภาคเหนื อ ของไทย ซึ่ ง มี ศู น ย์ ก ลางอยู ่ ที่ จังหวัดเชียงใหม่และอาณาจักรสุโขทัย ซึ่งมีศูนย์กลาง อยู่ที่จังหวัดสุโขทัยในปัจจุบัน เมื่อพ่อขุนรามค�าแหง มหาราชเสด็จขึ้นครองราชย์ ได้ทรงอาราธนาพระมหา เถระสังฆราช ซึ่งเป็นพระเถระชาวลังกาที่มาเผยแผ่อยู่ที่ นครศรีธรรมราช มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในกรุงสุโขทัย โดยพระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ได้เข้ามาเผยแผ่ใน ประเทศไทย ถึง 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ในสมัยพ่อขุน รามค�าแหงมหาราช และครั้งที่ 2 ในสมัยพระยาลิไท

พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก 7. สมัยล้านนา : พ.ศ. 1839 พระญามังราย ทรง สร้างราชธานี ชื่อว่า “นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่” ณ ลุ่มแม่น�้าปิง ทรงท�านุบ�ารุงพระพุทธศาสนาและสร้างวัด ต่างๆ มากมาย ทัง้ ทีเ่ ป็นฝ่ายคามวาสี และอรัญญวาสี จน พุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองขึ้นในเมืองต่างๆ เช่น เชียงราย ล�าพูน ล�าปาง แพร่ น่าน พะเยา และ ศรีนพวงศ์ ต่อมา ในรัชสมัยของพระเจ้าติโลกราชแห่งเชียงใหม่ ได้ท�าการ สังคายนาพระไตรปิฎกครั้งแรก ณ วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) เมื่อ ปี พ.ศ. 2020 มีพระเถระนักปราชญ์

P.16

ชาวล้านนาหลายรูป ได้รจนาคัมภีร์ส�าคัญทางพระพุทธ ศาสนาไว้เป็นจ�านวนมาก ได้แก่ พระสิรมิ งั คลาจารย์ พระ ญาณกิตติเถระ พระรัตนปัญญา พระโพธิรงั ษี พระนันทา จารย์ และพระสุวรรณรังสี 8. สมัยอยุธยา : พระพุทธศาสนามีความเป็น ฮินดูปนอยู่ค่อนข้างมาก พิธีกรรมต่างๆ ได้ปะปนพิธีของ พราหมณ์มากกว่าทีใ่ ดๆ ราษฎรอยุธยามุง่ ในเรือ่ งการบุญ การกุศล สร้างวัดวาอาราม สร้างปูชนียวัตถุ บ�ารุงศาสนา เป็นส่วนมาก ต่อมาเมือ่ พ.ศ. 2275 สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ เสวยราช การบวชเรียน กลายเป็นประเพณีที่ ปฏิบตั สิ บื ต่อกันมาถึงยุคหลัง ถึงกับก�าหนดให้ผทู้ จี่ ะเป็น ขุนนาง จะต้องเป็นผูท้ ผี่ า่ นการบวชเรียนมาเท่านัน้ จึงจะ ทรงแต่งตัง้ ต�าแหน่งหน้าทีใ่ ห้ และยังได้สง่ พระภิกษุเถระ ชาวไทยไปฟื้นฟูพุทธศาสนาในประเทศลังกา ตามค�า ทูลขอของกษัตริย์ลังกา เมื่อ พ.ศ. 2296 จนท�าให้พุทธ ศาสนากลับเจริญรุ่งเรืองในลังกาอีกครั้ง จนถึงปัจจุบัน และเกิดนิกายของคณะสงฆ์ไทยขึน้ ในลังกา ชือ่ ว่า นิกาย สยามวงศ์ 9. สมั ย กรุ ง ธนบุ รี : หลั ง จากที่ พระยาตาก (สิน) ได้ชักน�าคนไทย ตีฝ่าทัพพม่าออกจากก�าแพง พระนครศรีอยุธยา และกรุงศรีอยุธยาถูกพม่าตีแตกในปี พ.ศ. 2310 พม่าได้ทา� ลายบ้านเมืองจนเสียหายย่อยยับ มี การกวาดต้อนประชาชนและพระสงฆ์ไปเป็นเชลยจ�านวน มาก วัดวาอารามต่างๆ ถูกเผาท�าลาย ครั้นต่อมาพระยา ตาก(สิน)ได้สถาปนาขึ้นเป็นกษัตริย์ (พระเจ้าตากสิน มหาราช) และตั้ง กรุงธนบุรีขึ้นเป็นราชธานีใหม่ ทรงได้

ท�านุบา� รุงพระศาสนา และช�าระวงการศาสนาใหม่ มีการ ลงโทษสมณะที่กระท�าความชั่ว ด้วยวิธีการต่าง ๆ จน กระทั่ง ในปี พ.ศ. 2322 เจ้าพระยาจักรี ได้อัญเชิญพระ แก้วมรกตจากเวียงจันทน์มาไว้ยังประเทศไทย 10. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ : พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลก มหาราช (รั ช กาลที่ 1) เสด็ จ ขึ้ น ครองราชย์ เมื่ อ ปี พ.ศ. 2325 ได้ทรงย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรี มา ตั้งราชธานีใหม่ชื่อ ว่า กรุงเทพมหานครฯ ทรงสร้าง และปฏิสังขรณ์วัดต่างๆ มากมาย เช่น การสร้าง วัด พระศรี รั ต นศาสดาราม วั ด สุ ทั ศ นเทพวราราม วั ด สระเกศ และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เป็นต้น พร้อมทัง้ โปรดให้มกี ารสังคายนาพระไตรปิฎก ครัง้ ที่ 9 ณ วัดมหาธาตุ ทรงตรากฎหมายคณะสงฆ์ขนึ้ มาจัดระเบียบ การปกครองของสงฆ์ให้เรียบร้อย ทรงจัดให้มีการสอบ พระปริยัติธรรม ทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราชองค์ แรกของกรุงรัตนโกสินทร์ โดยสถาปนาพระสังฆราช (ศรี) เป็นสมเด็จพระสังฆราช เมื่อปี พ.ศ. 2352 พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย (รัชกาลที่ 2) เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อ พ.ศ. 2352 ใน รัชสมัยของพระองค์ได้ทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช ถึง 3 พระองค์ คือ สมเด็จพระสังฆราช (มี), สมเด็จ พระสังฆราช (สุก), และสมเด็จพระสังฆราช (สอน) และ ได้โปรดให้มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขวิธีการสอบไล่ปริยัติ ธรรมขึ้นใหม่ ได้ขยายหลักสูตร 3 ชั้น คือ เปรียญตรี-โทเอก เป็น 9 ชั้น คือ ชั้นประโยค 1 - 9 พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 3) ได้โปรดให้มีการสร้างพระไตรปิฎกฉบับหลวงเพิ่มขึ้น หลายฉบับ โปรดให้แปลพระไตรปิฎกเป็นภาษาไทย ทรง บูรณปฏิสงั ขรณ์วดั วาอารามหลายแห่ง และสร้างวัดใหม่ คือ วัดเทพธิดาราม วัดราชนัดดาและวัดเฉลิมพระเกียรติ โดยในรัชสมัยนี้ พระวชิรญาณเถระ (เจ้าฟ้ามงกุฎ) ขณะ ที่ผนวชอยู่ ได้เกิดนิกายธรรมยุติขึ้น ในปี พ.ศ. 2376 และเสด็จมาประทับที่วัดบวรนิเวศวิหาร ซึ่งต่อมาเป็น

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ศูนย์กลางของคณะธรรมยุติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) เมื่อทรงเป็นเจ้าฟ้ามงกุฎ ได้ผนวช 27 พรรษาแล้วได้ลาสิกขาขึ้นครองราชย์ เมื่อพระชนมายุ 57 พรรษา ใน พ.ศ. 2394 ด้านการ พระศาสนา ทรงพระราชศรัทธาสร้างวัดใหม่ขึ้นหลายวัด เช่น วัดปทุมวนาราม วัดโสมนัสวิหาร วัดมกุฏกษัตริยาราม วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม และวัดราชบพิธ และ โปรดให้มีพระราช พิธี “มาฆบูชา” ขึ้นเป็นครั้งแรก ใน พ.ศ. 2394 ณ ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ทรงสร้างวัดใหม่ขึ้น คือ วัด ราชบพิตร วัดเทพศิรินทราวาส วัดเบญจมบพิตร วัดอัษฎางนิมิตร วัดจุฑาทิศราชธรรมสภา และ วัดนิเวศน์ธรรมประวัติ ทรงบูรณะวัดมหาธาตุ และวัดอืน่ ๆ ทรงนิพนธ์วรรณกรรมทางพุทธศาสนา จ�านวนมาก โปรดให้มกี ารเริม่ ต้นการศึกษาแบบสมัยใหม่ในประเทศไทย โดยให้พระสงฆ์รบั ภาระ ช่วยการศึกษาของชาติ และในปี พ.ศ. 2436 สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงจัดตัง้ “มหามกุฏราชวิทยาลัย” ขึน้ เพือ่ เป็นแหล่งศึกษาพระพุทธศาสนาแก่พระภิกษุสามเณร ฝ่ายธรรมยุตินิกาย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 6) ทรงพระปรีชาปราดเปรือ่ งในความ รู้ทางพระศาสนามาก ทรงนิพนธ์หนังสือแสดงค�าสอนในพระพุทธศาสนาหลายเรื่อง เช่น เทศนา เสือป่า พระพุทธเจ้าตรัสรูอ้ ะไร เป็นต้น ถึงกับทรงอบรมสัง่ สอนอบรมข้าราชการด้วยพระองค์เอง โปรดให้ใช้ พุทธศักราช (พ.ศ.) แทน ร.ศ. เมื่อ พ.ศ. 2456 ให้เปลี่ยนกระทรวงธรรมการเป็น กระทรวงศึกษาธิการ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) โปรดให้มีการท� าสังคายนา พระไตรปิฎกขึ้น ตั้งแต่ พ.ศ. 2468 - 2473 เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 แล้วทรงจัดให้พิมพ์พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ ชุดละ 45 เล่ม จ�านวน 1,500 ชุด และพระราชทานแก่ประเทศต่าง ๆ ประมาณ 500 ชุด โปรดให้ย้ายกรมธรรมการกลับ เข้ามารวมกับกระทรวงศึกษาธิการ และเปลี่ยนชื่อกระทรวงศึกษาธิการเป็นกระทรวงธรรมการ อย่างเดิม โดยมีพระราชด�าริว่า “การศึกษาไม่ควรแยกออกจากวัด” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล (รัชกาลที่ 8) เสด็จขึ้นครองราชย์ในขณะ พระชนมายุ เพียง 9 พรรษาเท่า ในด้านการศาสนาได้มีการแปลพระไตรปิฎกเป็นภาษาไทย แบ่ง เป็น 2 ประเภท คือ พระไตรปิฎกภาษาไทย และ พระไตรปิฎกฉบับหลวง โดยเมื่อ พ.ศ. 2484 ได้เปลี่ยนชื่อกระทรวงธรรมการเป็นกระทรวงศึกษาธิการ และกรมธรรมการเปลี่ยนเป็นกรมการ ศาสนา และรัฐบาลได้ออก พ.ร.บ. คณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 เพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์มีความ สอดคล้องเหมาะสมกับการปกครองแบบใหม่ ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2488 มหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่ง ตั้งขึ้น และเมื่อ พ.ศ. 2436 ได้ประกาศตั้งเป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ ชื่อ “สภาการศึกษามหามกุฏ ราชวิทยาลัย” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ทรงมีพระราชศรัทธาใน พระพุทธศาสนา และทรงเป็นศาสนูปถัมภก ทรงให้การอุปถัมภ์แก่ทุกศาสนา ทรงปกครองบ้าน เมืองโดยสงบร่มเย็น ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในรัชสมัย รัชกาลปัจจุบันได้มีการส่งเสริมพุทธศาสนาด้านต่าง ๆ มากมาย ในปี พ.ศ. 2500 ซึ่งเป็นปีครบรอบ 2,500 ปีที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน วันที่ 12-18 พฤษภาคม 2500 รัฐบาลได้จดั งานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ขึน้ อย่างยิง่ ใหญ่ ซึง่ อินเดียและ ลังกาเรียกว่า “พุทธชยันตี” โดยตัง้ ศาลาพิธอี ยูก่ ลางท้องสนามหลวง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้เสด็จฯ เป็นองค์ประธานเปิดงาน มีผู้แทนจาก 13 ประเทศเข้าร่วม พระสงฆ์ 2,500 รูป เจริญ พระพุทธมนต์พร้อมกัน ดังกังวานก้องไปทั่วทุกทิศ และมีการเชิญชวนพุทธศาสนิกชนรักษาศีล ห้าหรือศีลแปด ตลอด 7 วัน 7 คืน โดยรัฐบาลได้กา� หนดพิธเี ฉลิมฉลองทัว่ ประเทศ มีการจัดสร้างพุทธมณฑล ขึน้ ณ ทีด่ นิ 2,500 ไร่ ระหว่างกรุงเทพฯ-นครปฐม พร้อมสร้างพระมหาพุทธปฏิมาปางประทับยืนลีลา สูง 2,500 นิ้ว ภาย ในบริเวณรอบองค์พระมีภาพจ�าลองพระพุทธประวัติ และมีพิพิธภัณฑ์ทางพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ ยังมีสร้างพระพิมพ์ปางลีลา เป็นเนื้อชินและเนื้อผง จ�านวน 4,842,500 องค์ พิมพ์พระไตรปิฎกแปลจากภาษาบาลีเป็นภาษาไทยออกเผยแพร่ และบูรณะปูชนียสถานวัดวา อารามทั่วพระราชอาณาจักร อุปสมบทพระภิกษุจ�านวน 2,500 รูป และนิรโทษกรรมแก่นักโทษ ประกวด วรรณกรรม ศิลปะทางพระพุทธศาสนา โดยเชิญผู้แทนพุทธศาสนิกชนทั่วโลกมาร่วม อนุโมทนา ในปัจจุบันประมาณว่า มีประชากรไทยนับถือพุทธศาสนามากกว่าร้อยละ 94 และมี พุทธศาสนิกชนมากเป็นอันดับ 4 ของโลก รองจากประเทศจีน ญีป่ นุ่ และเวียดนาม ตามล�าดับ

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.17


มห�นิก�ย และ ธรรมยุติกนิก�ย

มห�นิก�ย

มหานิกาย เป็นค�าเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ มหานิกาย หรือเรียก อีกอย่างหนึ่งว่า คามวาสี เดิมนั้น ค�าเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทใน ประเทศไทยออกเป็น มหานิกาย และ ธรรมยุติกนิกาย ยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อน หน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 นั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่างๆ โดยส่วน ใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ ทั้งสิ้น จนเมื่ อ พระวชิ ร ญาณเถระ หรื อ เจ้ า ฟ้ า มงกุ ฎ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้น ในปี พ.ศ. 2376 โดยแยกออก จากคณะพระสงฆ์ไทยทีม่ มี าแต่เดิม ซึง่ เป็นพระสงฆ์สว่ น ใหญ่ในสมัยนัน้ จึงท�าให้พระองค์คดิ ค�าเรียกพระสงฆ์สว่ น ใหญ่ในประเทศไทยที่เป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ มหานิกาย ต่อมาใน รัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชการที่5) มีพระบรม ราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการ ปกครองคณะสงฆ์ ขึน้ เป็นครัง้ แรกในประเทศไทย พระราช บัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า “พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ รศ. 121” มีสาระส�าคัญคือ ได้ยกสถานะคณะธรรมยุตให้เป็น

P.18

นิกายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ท�าให้มีการแบ่งแยกเรียกนิกายของคณะสงฆ์ใหม่ ตามศัพท์บัญญัติของพระวชิรญาณเถระ ว่า “ธรรมยุติ กนิกาย” และเรียกกลุ่มพระสงฆ์เถรวาทลังกาวงศ์พื้น เมือง ทีม่ มี าอยูแ่ ต่เดิมว่า “มหานิกาย” สืบมาจนปัจจุบนั นี้ ซึง่ ค�า “มหานิกาย” นัน้ มาจากธาตุศพั ท์ภาษาบาลี “มหนฺต + นิกาย” แปลว่า “พวกมาก” กล่าวโดยสรุป มหานิกายก็คือ พระสงฆ์สายเถรวาทลังกาวงศ์ดั้งเดิม ใน ประเทศไทยส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พระสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย

ธรรมยุตกิ นิก�ย

คณะสงฆ์ธรรมยุต ก่อก�าเนิดขึน้ ในรัชสมัย พระบาท สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ผู้ก่อตั้งคือ พระวชิรญาณภิกขุ ต่อมาได้ลาผนวชแล้วขึ้นครองราชย์ เป็น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 4) เหตุการณ์ช่วงธรรมยุติกนิกายถือก�าเนิดขึ้น เป็นดังนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั สมัยด�ารง พระยศเป็นเจ้าฟ้ามงกุฎ ได้ผนวชเป็นพระภิกษุ ใน พ.ศ. 2367 ในรัชสมัยรัชกาลที่ 2 ได้ฉายานามในศาสนาว่า “พระวชิรญาณ” ประทับอยู่ ณ วัดมหาธาตุ อันเป็นที่ สถิตของสมเด็จพระสังฆราชผู้เป็นอุปัชฌาย์ เมื่อทรง ผนวชได้ 15 วัน สมเด็จพระบรมชนกนาถ คือ พระบาท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จสวรรคต โดยไม่ได้ ด�ารัสสั่งมอบราชสมบัติแก่ผู้ใด ว่ากันตามนิตินัยแล้ว ผู้มี สิทธิขนึ้ ครองราชย์ตอ่ จากรัชกาลที่ 2 ก็คอื พระวชิรญาณ

เพราะเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าราชโอรสองค์ใหญ่ อันเกิดแต่พระ อัครมเหสี แต่เนื่องจากพระวชิรญาณทรงตัดสินพระทัย ที่จะผนวชต่อไป ที่ประชุมพระราชวงค์และเสนาบดีจึง ถวายราชสมบัติแก่ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ พระองค์ เจ้าลูกยาเธอพระองค์ใหญ่ ขึ้นครองราชย์เป็นพระบาท สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ขณะประทับอยู่ท่ีวัดมหาธาตุนั้น พระวชิรญาณ ทรงสอบได้เปรียญธรรม 5 ประโยค ต่อมาได้ทรงเลือ่ มใส ในความเคร่งครัดวินัยของพระเถระชาวมอญรูปหนึ่ง ชือ่ ชาย พุทธวังโส (ขณะนัน้ เป็นพระราชา คณะที่ พระสุเมธ มุน)ี วัดบวรมงคล มีพระประสงค์จะปฏิบตั ิวนิ ยั เคร่งครัด ตามแบบอย่างพระมอญ จึงเสด็จย้ายจากวัดมหาธาตุไป ประทับ ณ วัดสมอราย (วัดราชาธิราช) เมื่อ พ.ศ.2372 ทรงเข้ารับการอุปสมบทซ�้า โดยมีพระสุเมธมุนี เป็นพระ อุปัชฌาย์ ได้ศึกษาพระธรรมวินัยและข้อวัตรปฏิบัติจาก พระสุเมธมุนี แล้วเผยแพร่การปฏิบัติเคร่งครัดวินัยแบบ มอญ ต่อมา ทรงประกาศตั้งคณะสงฆ์ใหม่ขึ้น เรียกว่า คณะธรรมยุติกนิกาย โดยก�าหนดเอาการผูกพัทธสีมา ใหม่ในวัดสมอราย เมื่อ พ.ศ. 2376 ให้เป็นการก่อตั้ง คณะธรรมยุต ในปี พ.ศ.2379 ได้เสด็จไปเป็นเจ้าอาวาส ครองวัดบวรนิเวศวิหาร อยู่ 14 ปี แล้วจึงลาผนวชและ เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) รวมเวลาที่ทรงผนวชเป็นพระ ภิกษุได้ 27 พรรษา

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


อตฺตโนปิปเรสญฺจอตฺถ�วโหวขนฺติโก สคฺคโมกฺขคมำมคฺคำอ�รุฬฺโหโหติขนฺติโก. “ผู้มีขันติชื่อว่�นำ�ประโยชน์ม�ให้ ทั้งแก่ตนทั้งแก่ผู้อื่น, ผู้มีขันติชื่อว่�เป็นผู้ขึ้นสู่ท�งไปสวรรค์และนิพพ�น” • ส.ม.๒๒๒. องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.19


มหาเถรสมาคม มหาเถรสมาคม (Sangha Supreme Council of Thailand) เป็นองค์กรปกครองคณะสงฆ์ แห่งราชอาณาจักรไทยมีอา� นาจหน้าทีป่ กครองคณะสงฆ์ไทย ตาม พ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 และ พ.ร.บ.คณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 ซึ่งประกอบด้วย สมเด็จพระสังฆราช หรือผู้ปฏิบัติหน้าที่ สมเด็จพระสังฆราช ทรงเป็นประธานกรรมการโดยต�าแหน่ง และมีสมเด็จพระราชาคณะทุกรูป เป็นกรรมการโดยต�าแหน่ง นอกจากนีย้ งั มีพระราชาคณะซึง่ สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตัง้ ไม่เกิน 12 รูป เป็นกรรมการโดยการแต่งตั้ง

ความเป็นมาในการจัดตั้งมหาเถรสมาคม

พ.ร.บ.ลักษณะปกครองคณะสงฆ์ (ร.ศ. 121) ในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา จุฬาลงกรณ์ ค�าว่า “เถระ” หมายถึง “พระผูใ้ หญ่” ตามพระวินยั ก�าหนดว่า พระมีพรรษาตัง้ แต่ 10 พรรษา ขึ้นไป เรียกว่า “พระเถระ” โดยตาม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองคณะสงฆ์ (ร.ศ. 121) มาตรา 4 ให้เรียกสมเด็จเจ้าคณะใหญ่ และพระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ต�าแหน่งต่างๆ ว่า “มหาเถระ” ซึ่งมหาเถระ เหล่านี้จะประชุมกันเพื่อถวายความเห็นแก่พระมหากษัตริย์ในเรื่องพุทธศาสนาตามที่ทรงปรึกษา ทีป่ ระชุมนีเ้ รียกว่า “มหาเถรสมาคม” โดยต้องมีมหาเถระอย่างน้อย 5 รูปมาประชุม จึงจะเป็นองค์ ประชุม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองคณะสงฆ์ (ร.ศ. 121) ไม่ได้ใช้บงั คับทันที แต่จะมีประกาศให้ใช้บงั คับ ในมณฑลต่างๆ เป็นรายมณฑลเรื่อยไป จนทั่วประเทศสยาม (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทย)

• ยุคสังฆสภา

ใน พ.ศ. 2484 สภาผูแ้ ทนราษฎรไทย ชุดที่ 3 ได้ยกเลิก พ.ร.บ.ลักษณะปกครองคณะสงฆ์ (ร.ศ. 121) แล้วตรา พ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 ขึ้นมาใช้แทน มีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ 14 ตุลาคม 2484 พระราชบัญญัติใหม่นี้เปลี่ยนชื่อ “มหาเถรสมาคม” เป็น “สังฆสภา” โดยให้ประกอบด้วย กรรมการทีเ่ รียก “สังฆสภาสมาชิก” จ�านวนไม่เกิน 45 รูป และประธานสังฆสภา มาจากการแต่งตัง้ ของสมเด็จพระสังฆราช ตามค�าแนะน�าของสังฆสภา พ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 เป็นแนวคิดของ จอมพลแปลก พิบูลสงคราม ที่จะเลียนการ ปกครองฝ่ายอาณาจักรมาใช้แก่ฝ่ายศาสนจักร โดยเรียก “สังฆสภา” ให้เป็นท�านองเดียวกับ “รัฐสภา” และมีอ�านาจหน้าที่ท�านองเดียวกันด้วย คือ ตราสังฆาณัติ แล้วถวายให้สมเด็จพระ สังฆราชลงพระนาม จะเห็นได้วา่ บทบัญญัตหิ ลายๆ บท เลียนมาจากกฎหมายฝ่ายอาณาจักร หมวด หมูก่ ฎหมายปกครองและกฎหมายรัฐธรรมนูญ อาทิ ให้สงั ฆสภามีอา� นาจตราสังฆาณัตไิ ด้ ถ้าสมเด็จ พระสังฆราชไม่ทรงเห็นด้วยหรือไม่ทรงลงพระนามตามก�าหนด และสังฆสภาลงมติเห็นชอบตามเดิม ท�านองเดียวกับรัฐสภาซึง่ มีอา� นาจตรา พ.ร.บ.ทีพ่ ระมหากษัตริยไ์ ม่ทรงเห็นด้วยหรือไม่ทรงลงพระ ปรมาภิไธยตามก�าหนด และรัฐสภามีมติเห็นชอบตามเดิม

• พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505

พ.ร.บ.ฉบับนี้ มหาเถรสมาคม มีอ�านาจและหน้าที่ ตาม พ.ร.บ.คณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไข เพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.คณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535

• หน่วยงานในปกครองมหาเถรสมาคม

- เจ้าคณะใหญ่ธรรมยุติกนิกาย สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต) วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นผู้รักษาการ - เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ พระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ) วัดปากน�้าภาษีเจริญ - เจ้าคณะใหญ่หนกลาง สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม) วัดพิชยญาติการาม - เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) วัดไตรมิตรวิทยาราม - เจ้าคณะใหญ่หนใต้ พระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ) วัดกะพังสุรินทร์ จังหวัดตรัง - เจ้าคณะภาค - เจ้าคณะจังหวัด - เจ้าคณะอ�าเภอ

P.20

- เจ้าคณะต�าบล - เจ้าอาวาส - วัดในพระพุทธศาสนาทุกวัด (ธรรมยุต, มหานิกาย) - แม่กองธรรมสนามหลวง สังกัดมหาเถรสมาคม - แม่กองบาลีสนามหลวง สังกัดมหาเถรสมาคม

• หน่วยงานในการบัญชาสมเด็จพระสังฆราช

- เจ้าคณะใหญ่จีนนิกาย พระมหาคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตร (เย็นเต็ก) ประธานกรรมการสงฆ์จีนนิกาย เจ้าอาวาสวัดโพธิ์แมน คุณาราม - เจ้าคณะใหญ่อนัมนิกาย พระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวัตร (เจริญ กิ๊นเจี๊ยว) ประธานกรรมการสงฆ์อนัมนิกาย เจ้าอาวาสวัดกุศล สมาคร

• หน่วยงานรับสนองงานของมหาเถรสมาคม

ส�านักเลขาธิการมหาเถรสมาคม สังกัดส�านักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ

• อำานาจหน้าที่มหาเถรสมาคม

1. ปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปโดยเรียบร้อยดีงาม 2. ปกครองและก�าหนดการบรรพชาสามเณร 3. ควบคุมและส่งเสริมการศาสนศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การ เผยแผ่ การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์ 4. รักษาหลักพระธรรมวินัยของพระพุทธศาสนา 5. ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่บัญญัติไว้

• การปกครองคณะสงฆ์ไทย

มหาเถรสมาคม ได้วางกฎ ระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ไว้เป็น ล�าดับขัน้ โดยมีเจ้าคณะมหานิกายและเจ้าคณะธรรมยุต ปกครองบังคับ บัญชาวัดและพระภิกษุสามเณรในนิกายนั้นๆ เช่น คณะธรรมยุต มี เจ้าคณะใหญ่ธรรมยุตปกครอง ส่วน คณะมหานิกาย แบ่งการปกครอง ออกเป็น 4 หน คือ เจ้าคณะใหญ่หนกลาง เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก และเจ้าคณะใหญ่หนใต้ ระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วน กลาง และส่วนภูมิภาค เพื่อการปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปตาม พระธรรมวินัย กฎหมาย กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบ ค�าสั่ง มติ ประกาศ พระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช โดยได้กระจายอ�านาจ การปกครองออกไป ดังนี้ ส่วนที่ 1 ภาค มีเจ้าคณะภาคด�าเนินการปกครองคณะสงฆ์ใน เขตภาคของตน ส่ ว นที่ 2 จั ง หวั ด มี เ จ้ า คณะจั ง หวั ด ปกครอง (เจ้ า คณะ กรุงเทพมหานคร และเจ้าคณะจังหวัดทั่วประเทศ) ส่วนที่ 3 อ�าเภอ มีเจ้าคณะอ�าเภอปกครอง (เจ้าคณะเขตใน กรุงเทพมหานครและเจ้าคณะอ�าเภอทั่วประเทศ) ส่วนที่ 4 ต�าบล มีเจ้าคณะต�าบลปกครอง (เจ้าคณะแขวงใน กรุงเทพมหานครและเจ้าคณะต�าบลทั่วประเทศ)

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


กรรมการมหาเถรสมาคม ที่

01

02

03

04

ว่าง

ชื่อ-ฉายา-นามสกุล

วัด

ดำ�รงตำ�แหน่ง

สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.9) มหานิกาย (โดยต�ำแหน่ง) ชาตกาล 26 สิงหาคม พ.ศ. 2468

วัดปากน�้ำ วรวิหาร แขวงปากคลองภาษีเจริญ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160

พ.ศ. 2538

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (มานิต ถาวโร ป.ธ.9) ธรรมยุต (โดยตำ�แหน่ง) ชาตกาล 29 ธันวาคม พ.ศ. 2460

วัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100

พ.ศ. 2544

สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ (อัมพร อมฺพโร ป.ธ.6) ธรรมยุต (โดยตำ�แหน่ง) ชาตกาล 26 มิถุนายน พ.ศ. 2470

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

พ.ศ. 2552

สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต ป.ธ.9) ธรรมยุต (โดยตำ�แหน่ง) ชาตกาล 17 กันยายน พ.ศ. 2479

วัดบวรนิเวศ ราชวรมหาวิหาร แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

พ.ศ. 2552

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (วีระ ภทฺทจารี) เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวราราม (ฝ่ายมหานิกายโดยตำ�แหน่ง) ท่านอยู่ใน ตำ�แหน่งนี้ มาตั้งแต่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2553 และได้มรณภาพ เมื่อ วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2559 ขณะนี้ยังไม่ได้มีการ แต่งตั้งพระรูปใดมาดำ�รงค์ตำ�แหน่งแทน

05

06

07

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย ป.ธ.8) ธรรมยุต (โดยตำ�แหน่ง) ชาตกาล 22 ตุลาคม พ.ศ. 2490

วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100

พ.ศ. 2553

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.9) มหานิกาย (โดยตำ�แหน่ง) ชาตกาล 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484

วัดพิชยญาติการาม วรวิหาร แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600

พ.ศ. 2554

P.21


มหาเถรสมาคม

ที่

08

09

10

11

12

13

14

P.22

ชื่อ-ฉายา-นามสกุล

วัด

ด�ารงต�าแหน่ง

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ ป.ธ.9) มหานิกาย (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485

วัดไตรมิตรวิทยาราม วรวิหาร แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100

พ.ศ. 2557

พระพรหมวชิรญาณ (ประสิทธิ์ เขมงฺกโร ป.ธ.3) มหานิกาย (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2480

วัดยานนาวา วรวิหาร แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

พ.ศ. 2556

พระพรหมเมธาจารย์ (คณิสร์ เขมว�โส ป.ธ.9) ธรรมยุต (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 22 ตุลาคม พ.ศ.2471

วัดบุรณศิริมาตยาราม วรวิหาร แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

พ.ศ. 2555

พระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ ป.ธ.9) มหานิกาย (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480

วัดปากน�้า วรวิหาร แขวงปากคลองภาษีเจริญ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160

พ.ศ. 2556

พระพรหมเมธี (จ�านงค์ ธมฺมจารี น.ธ.เอก) ธรรมยุต (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484

วัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100

พ.ศ. 2555

พระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน ประโยค 1-2) ธรรมยุต (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 22 มกราคม พ.ศ. 2493

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

พ.ศ. 2556

พระพรหมดิลก (เอื้อน หาสธมฺโม ป.ธ.9) มหานิกาย (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2488

วัดสามพระยา วรวิหาร แขวงวัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200

พ.ศ. 2555

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ที่

15

16

17

18

19

20

ชื่อ-ฉายา-นามสกุล

วัด

ด�ารงต�าแหน่ง

พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต ป.ธ.9) มหานิกาย (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 17 กันยายน พ.ศ. 2498

วัดประยุรวงศาวาส แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600

พ.ศ. 2555

พระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร ป.ธ.5) ธรรมยุต (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484

วัดเครือวัลย์ วรวิหาร แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700

พ.ศ. 2555

พระธรรมธัชมุนี (อมร ญาโณทโย ป.ธ.7) ธรรมยุต (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 23 เมษายน พ.ศ. 2483

วัดปทุมวนาราม ราชวรวิหาร แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

พ.ศ. 2555

พระธรรมบัณฑิต (อภิพล อภิพโล ป.ธ.5) ธรรมยุต (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 13 มีนาคม พ.ศ. 2480

วัดพระรามเก้ากาญจนาภิเษก แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320

พ.ศ. 2555

พระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน ป.ธ.9) มหานิกาย (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 23 ตุลาคม พ.ศ. 2497

วัดปากน�้า วรวิหาร แขวงปากคลองภาษีเจริญ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160

พ.ศ. 2557

พระพรหมสิทธิ (ธงชัย สุขญาโณ น.ธ.เอก) มหานิกาย (โดยแต่งตั้ง) ชาตกาล 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499

วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร แขวงบ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100

พ.ศ. 2558

หมายเหตุ

สมเด็จพระสังฆราช และสมเด็จพระราชาคณะทุกรูป ด�ารงต�าแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคมโดยต�าแหน่ง คือไม่ต้องแต่งตั้ง และจะหมดวาระเมื่อ 1. ลาสิกขา 2. มรณภาพ และ 3. มีพระบรมราชโองการถอดยศ เท่านั้น พระราชาคณะ ด�ารงต�าแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคมโดยแต่งตั้ง มีอายุครั้งละ 2 ปี และอาจจะได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการมหาเถรสมาคมอีกต่อไปก็ได้ โดยจะสิ้นสุดสถานภาพลงก็ต่อเมื่อ 1. มรณภาพ 2. ลาออก 3. มีพระบัญชาสมเด็จพระสังฆราชให้ออก 4. ถูกถอดยศจากพระราชาคณะ และ 5. ลาสิกขา ในกรณีที่พระราชาคณะ ได้รับแต่งตั้งทดแทนพระราชาคณะรูปอื่นที่พ้นหน้าที่ไปก่อนครบเทอม ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระราชาคณะรูปนั้นจะด�ารงต�าแหน่งไปเท่ากับ วาระการด�ารงต�าแหน่งของกรรมการมหาเถรสมาคมรูปที่พ้นต�าแหน่งไปนั้น แต่ถ้าหากได้รับแต่งตั้งตามวาระปกติ ก็จะด�ารงต�าแหน่งจนครบก�าหนด 2 ปี • ปรับปรุงข้อมูลครั้งล่าสุด 20 มกราคม 2558

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.23


สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ ป.ธ.9) • ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช (3 มกราคม 2557 - ปัจจุบัน) • ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม • เจ้าอาวาสวัดปากน�้า ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

เจ้าคณะใหญ่ มหานิกาย เจ้าคณะใหญ่หนกลาง

เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.9)

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺญ ป.ธ.9)

• วัดพิชยญาติการาม แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท์ 0-2861-4530, 0-2861-5425 • ปกครองคณะสงฆ์ในฝ่ายมหานิกาย (รวม 6 ภาค) ได้แก่ : ภาค 1 / ภาค 2 / ภาค 3 / ภาค 13 / ภาค 14 / ภาค 15

• วัดไตรมิตรวิทยาราม วรวิหาร แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ 10100 โทรศัพท์ 0-2623-1281 • ปกครองคณะสงฆ์ในฝ่ายมหานิกาย (รวม 5 ภาค) ได้แก่ : ภาค 8 / ภาค 9 / ภาค 10 / ภาค 11 / ภาค 12

เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ

เจ้าคณะใหญ่หนใต้

พระวิสุทธิวงศาจารย์ (วิเชียร อโนมคุโณ)

• วัดปากน�้า แขวงปากคลองภาษีเจริญ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 โทรศัพท์ 0-2467-0550 • ปกครองคณะสงฆ์ในฝ่ายมหานิกาย (รวม 4 ภาค) ได้แก่ : ภาค 4 / ภาค 5 / ภาค 6 / ภาค 7

P.24

พระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ ป.ธ.7)

• วัดกะพังสุรินทร์ ต�าบลทับเที่ยง อ�าเภอเมือง จังหวัดตรัง 92000 โทรศัพท์ 0-7521-8478 • ปกครองคณะสงฆ์ในฝ่ายมหานิกาย (รวม 3 ภาค) ได้แก่ : ภาค 16 / ภาค 17 / ภาค 18

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ทำ�เนียบ : เจ้าคณะภาค มหานิกาย เจ้าคณะภาค 1 (มหานิกาย) พระราชวิสุทธิเวที (สายชล ฐานวุฑฺโฒ ป.ธ.๙)

เจ้าคณะภาค 10 (มหานิกาย) พระพรหมสิทธิ (ธงชัย สุขญาโณ)

เจ้าคณะภาค 2 (มหานิกาย) พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต ป.ธ.9)

เจ้าคณะภาค 11 (มหานิกาย) พระธรรมธีรราชมหามุนี (เที่ยง อคฺคธมฺโม ป.ธ.9)

เจ้าคณะภาค 3 (มหานิกาย) พระธรรมปริยัติโมลี (อาทร อินฺทปญฺโญ)

รักษาการ เจ้าคณะภาค 12 (มหานิกาย) พระเทพรัตนมุนี (สุรชัย สุรชโย ป.ธ.7)

เจ้าคณะภาค 4 (มหานิกาย) พระธรรมรัตนดิลก (เชิด จิตฺตคุตฺโต ป.ธ.9)

เจ้าคณะภาค 13 (มหานิกาย) พระพรหมกวี (ประกอบ ธมฺมเส ฎฐ ป.ธ.9)

เจ้าคณะภาค 5 (มหานิกาย) พระพรหมโมลี (สุชาติ ธมฺมรตโน ป.ธ.9)

เจ้าคณะภาค 14 (มหานิกาย) พระเทพสุธี (สมควร ปิยสีโล ป.ธ. 9)

เจ้าคณะภาค 6 (มหานิกาย) พระธรรมราชานุวัตร (สุทัศน์ สุทสฺสโน ป.ธ.6)

เจ้าคณะภาค 15 (มหานิกาย) พระพรหมเวที (สุเทพ ผุสฺสธมฺโม ป.ธ.9)

เจ้าคณะภาค 7 (มหานิกาย) พระพรหมเสนาบดี (พิมพ์ ญาณวีโร ป.ธ.7)

เจ้าคณะภาค 16 (มหานิกาย) พระธรรมวิมลโมลี (สงคราม อสิญาโณ ป.ธ.9)

เจ้าคณะภาค 8 (มหานิกาย) พระเทพมุนี (เก็ง อาสโภ ป.ธ.9)

เจ้าคณะภาค 17 (มหานิกาย) พระเทพกิตติเวที (ฉ�่ำ ปุญฺญชโย ป.ธ.9)

เจ้าคณะภาค 9 (มหานิกาย) พระเทพเมธี (สมเกียรติ โกวิโท ป.ธ.9)

เจ้าคณะภาค 18 (มหานิกาย) พระเทพสิทธิมุนี (บุญสิน อุตฺตมชาโต ป.ธ.9)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 1 จ�ำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 2 จ�ำนวน 3 จังหวัด ได้แก่ พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สระบุรี

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 3 จ�ำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อุทัยธานี

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 4 จ�ำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ นครสวรรค์ ก�ำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 5 จ�ำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ พิษณุโลก สุโขทัย อุตรดิตถ์ ตาก

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 6 จ�ำนวน 5 จังหวัด ได้แก่ ล�ำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 7 จ�ำนวน 3 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ล�ำพูน แม่ฮ่องสอน

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 8 จ�ำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ อุดรธานี หนองคาย เลย สกลนคร หนองบัวล�ำภู บึงกาฬ

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 9 จ�ำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 10 จ�ำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ นครพนม ยโสธร มุกดาหาร อ�ำนาจเจริญ

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 11 จ�ำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ชัยภูมิ สุรินทร์

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 12 รวมจ�ำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ ปราจีนบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา สระแก้ว

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 13 จ�ำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 14 จ�ำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 15 จ�ำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ์

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 16 จ�ำนวน 3 จังหวัด ได้แก่ นครศรีธรรมราช ชุมพร สุราษฎร์ธานี

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 17 จ�ำนวน 5 จังหวัด ได้แก่ ภูเก็ต ตรัง กระบี่ พังงา ระนอง

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 18 จ�ำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ สงขลา พัทลุง สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

P.25


เจ้ำคณะภำค 1 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 1 จำานวน 4 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ

พระรำชวิสุทธิเวที (สำยชล ฐำนวุฑฺโฒ ป.ธ.9)

ทีอ่ ยู่ วัดชนะสงครำม รำชวรมหำวิหำร เลขที่ 77 ถนนจักรพงษ์ แขวงชนะสงครำม เขตพระนคร กรุงเทพมหำนคร 10200 โทรศัพท์ 0-2629-0603, 08-1294-0406 ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์ • • • • •

พ.ศ. 2549 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดชนะสงคราม พ.ศ. 2551 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็น รองเจ้าคณะภาค 1 พ.ศ. 2553 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็น รักษาการเจ้าคณะภาค 1 พ.ศ. 2554 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็น พระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2554 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็น เจ้าคณะภาค 1

ล�ำดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2546 ได้รับแต่งตั้งเป็น พระครูปลัดสัมพิพัฒนธีราจารย์ ญาณโสภณ วิมลศีลขันธสุนทร บวรมหาคณาธิการนายก ตรีปฎิ กธรรมรักขิต ฐานานุกรม ในเจ้าประคุณสมเด็จพระมหาธีราจารย์ • พ.ศ. 2550 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระโสภณปริยัติเวที • พ.ศ. 2554 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชวิสุทธิเวที ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

• ประวัต ิ / ชำติภมู ิ

นามเดิม : สายชล คงสมโอษฐ์ เกิดวันพุธที่ 24 เดือน มีนาคม พ.ศ.2508 ณ บ้านข่อยโทน ต�าบลเสนา อ�าเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

P.26

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


อุปสมบท

อุปสมบทเมือ่ วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2529 ณ พัทธสีมาวัดไทรงาม ต�าบล เสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมี พระครูเขมาภิรมย์ วัดไทรงาม ต�าบลเสนา อ�าเภออุทยั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระอุปชั ฌาย์, พระครูวโรทัยวิฑติ วัดอุทัย ต�าบลเสนา อ�าเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระกรรม วาจาจารย์, พระครูสังฆรักษ์ เฉลิม เขมทสฺสี วัดพระญาติการาม ต�าบลไผ่ลิง อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระอนุสาวนาจารย์

กำรศึกษำสำยสำมัญ

จบการศึกษาชัน้ ประถมปีที่ 7 ณ โรงเรียนวัดกะสังข์ ต�าบลธนู อ�าเภออุทยั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในปี พ.ศ.2521

กำรศึกษำพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม

• พ.ศ. 2529 สอบได้นักธรรม ชั้นตรี ส�านักเรียนวัดพระญาติการาม ต�าบลไผ่ลิง อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • พ.ศ. 2530 สอบได้นกั ธรรม ชัน้ โท ส�านักเรียนวัดพระญาติการาม ต�าบล ไผ่ลิง อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • พ.ศ. 2537 สอบได้นกั ธรรม ชัน้ เอก ส�านักเรียนวัดป้อมวิเชียรโชติการาม อ�าเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

กำรศึกษำพระปริยตั ธิ รรมแผนกบำลี

• พ.ศ. 2532 สอบได้ประโยค 1-2 วัดพระญาติการาม ส�านักเรียนคณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • พ.ศ. 2533 สอบได้ประโยค ป.ธ.3 วัดพระญาติการาม ส�านักเรียนคณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • พ.ศ. 2534 สอบได้ประโยค ป.ธ.4 วัดพระญาติการาม ส�านักเรียนคณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • พ.ศ. 2537 สอบได้ประโยค ป.ธ.5 ส�านักเรียนวัดชนะสงคราม เขต พระนคร กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2538 สอบได้ประโยค ป.ธ.6 ส�านักเรียนวัดชนะสงคราม เขต พระนคร กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2540 สอบได้ประโยค ป.ธ.7 ส�านักเรียนวัดชนะสงคราม เขต พระนคร กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2545 สอบได้ประโยค ป.ธ.8 ส�านักเรียนวัดชนะสงคราม เขต พระนคร กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2550 สอบได้ประโยค ป.ธ.9 ส�านักเรียนวัดชนะสงคราม เขต พระนคร กรุงเทพมหานคร

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

งำนกำรศึกษำ • • • •

พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน เป็นกรรมการตรวจธรรมสนามหลวง พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน เป็นกรรมการคุมสอบบาลีสนามหลวง เป็นกรรมการตรวจบาลีสนามหลวง เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี ส�านักเรียนวัดชนะสงคราม

P.27


เจ้ำคณะภำค 2 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 2 จำานวน 3 จังหวัด ได้แก่ พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สระบุรี

พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต ป.ธ.9)

ทีอ่ ยู่ วัดประยุรวงศำวำส วรวิหำร เลขที่ 24/1 ถนนประชำธิปก แขวงวัดกัลยำณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหำนคร 10600 โทรศัพท์ 0-2472-1008, 0-2465-4009, 0-24652860 ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์ • • • • • • •

เจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร เจ้าคณะภาค 2 (มหานิกาย) กรรมการมหาเถรสมาคม อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คณะเลขานุการคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานสภาสากลวันวิสาขบูชาโลก (ICDV) ประธานสมาคมมหาวิทยาลัยพุทธศาสนานานาชาติ (IABU)

ล�ำดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2532 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระเมธีธรรมาภรณ์ • พ.ศ. 2539 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชัน้ ราช ที่ พระราชวรมุนี ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2543 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้น เทพ ที่ พระเทพโสภณ วิมลปริยัติกิจ ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวร สังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2548 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้น ธรรม ที่ พระธรรมโกศาจารย์ สุนทรญาณดิลก สาธกธรรมวิจติ ร ตรีปฎิ ก บัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2555 ได้รบั พระราชทานสถาปนาสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะเจ้า คณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ที่ พระพรหมบัณฑิต สิทธิวรธรรมประยุต วิสุทธิ ศีลาจารนิวิฐ ไพศาลวิเทศศาสนกิจดิลก ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

P.28

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ประวัต ิ / ชำติภมู ิ

นามเดิม : ประยูร มีฤกษ์ เกิดวันเสาร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2458 ณ ต�าบลโพธิพ์ ระยา อ�าเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรบี รรพชา บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2509 ณ วัดสามจุ่น อ�าเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี โดยมี พระครูศรีคณานุรักษ์ วัดดอนบุบผาราม เป็นพระอุปัชฌาย์

อุปสมบท

วันที่ 4 กรกฎาคม 2519 เข้ารับการอุปสมบท ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุ ง เทพมหานคร โดยมี สมเด็ จ พระพุ ท ธโฆษาจารย์ (ฟื ้ น ชุ ติ นฺ ธ รมหาเถร) วัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร เป็นพระอุปัชฌาย์ พระธรรมปิฎก (นิยม ฐานิสฺสร มหาเถร ต่อมาเป็นที่สมเด็จพระมหาธีราจารย์) วัดชนะสงคราม กรุงเทพมหานคร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระธรรมธีรราชมหามุนี (ช่วง วรปุญญฺ มหาเถร ปัจจุบนั คือ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์) วัดปากน�า้ กรุงเทพมหานคร เป็นพระอนุสาวนาจารย์

วุฒกิ ำรศึกษำ

• พ.ศ. 2512 สอบได้ น.ธ.เอก ส�านักเรียนวัดสุวรรณภูมิ จังหวัดสุพรรณบุรี • พ.ศ. 2513 สอบได้ ป.ธ. 3 ส�านักเรียนวัดสุวรรณภูมิ จังหวัดสุพรรณบุรี • พ.ศ. 2519 สอบได้ ป.ธ.9 (ขณะเป็นสามเณร) ส�านักเรียนวัดประยุรวงศาวาส วรวิหาร กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2520 สอบได้ประโยคครูพิเศษมัธยม (พ.ม.) • พ.ศ. 2521 ปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ. เกียรตินยิ มอันดับหนึง่ ) สาขา ปรัชญา จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • พ.ศ. 2523 ปริญญาโท สาขาปรัชญา จากมหาวิทยาลัยเดลี (University of Delhi) อินเดีย • พ.ศ. 2525 เตรียมปริญญาเอก (M.Phil.) สาขาปรัชญา จากมหาวิทยาลัยเดลี (University of Delhi) • พ.ศ. 2527 ประกาศนียบัตรภาษาฝรั่งเศส (Diploma in French) จากมหา วิทยาลัยเดลี (University of Delhi) • พ.ศ. 2529 ปริญญาเอก (Ph.D.) สาขาปรัชญา จากมหาวิทยาลัยเดลี (University of Delhi)

ต�ำแหน่งทีเ่ คยปฏิบตั หิ น้ำที่

• พ.ศ. 2531 ประธานองค์การเผยแผ่วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร • พ.ศ. 2533 เจ้าคณะ 9 วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร • พ.ศ. 2548 รักษาการเจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

ต�ำแหน่งบริหำรในมหำวิทยำลัยจุฬำลงกรณรำช วิทยำลัย • • • • •

พ.ศ. 2531-2536 คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย พ.ศ. 2533-2538 รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวางแผน พ.ศ. 2535-2540 รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ พ.ศ. 2540 - ปัจจุบนั เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2546 เป็นศาสตราจารย์ สาขาวิชาปรัชญา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย

เกียรติคณ ุ และรำงวัล

• พ.ศ. 2540 รับรางวัลมหิดลวรานุสรณ์ • พ.ศ. 2541 รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญาการศึกษา จาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ • พ.ศ. 2544 รับปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญาและศาสนา จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

• พ.ศ. 2547 รับปริญญาศาสนศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาพระพุทธ ศาสนา จากมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย / ได้รบั ปริญญาศิลปะศาสตร์ ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการบริหารองค์การ จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม • พ.ศ. 2548 รับรางวัลกิตติคุณ “เสมาคุณูปการ” จากกระทรวงศึกษาธิการ / รับพระราชทานรางวัล “ศาสตรเมธี” สาขาศึกษาศาสตร์ฯ จากมูลนิธิ ศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ • พ.ศ. 2550 รับสมณศักดิ์ ที่ อัคคมหาสัทธัมมโชติกธชะ จากคณะสงฆ์และ รัฐบาลสหภาพพม่า / รับปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาภาษาอังกฤษ จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • พ.ศ. 2551 รั บ ปริ ญ ญาศึ ก ษาศาสตร์ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ จาก มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล • พ.ศ. 2552 รับพระบรมราชโองการโปรดแต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประเภทวิชาปรัชญา • พ.ศ. 2553 รับประกาศเกียรติคุณเป็นนักจิตวิทยาดีเด่น สาขาวิชาพุทธ จิตวิทยา จากสมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย • พ.ศ. 2554 รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขามนุษยศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยพุทธศาสนาเวียดนาม / รับการเชิดชูเกียรติเป็นปูชนียบุคคล ด้านภาษาไทย จากกระทรวงวัฒนธรรม / ฯลฯ • พ.ศ. 2555 รับปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญา จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • พ.ศ. 2556 รับรางวัลบุคคลคุณภาพแห่งปี จากมูลนิธิสภาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (มสวท.) / รับรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 จาก องค์การยูเนสโก

P.29


เจ้ำคณะภำค 3 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 3 จำานวน 4 จังหวัด ได้แก่ ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อุทัยธานี

พระธรรมปริยัติโมลี (อำทร อินฺทปญฺโญ ป.ธ.9)

ทีอ่ ยู่ วัดบพิตรพิมุข วรวิหำร เลขที่ 266 ถนนจักรวรรดิ แขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหำนคร 10100 โทรศัพท์ 0-2226-6420 ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์

• เจ้าอาวาสวัดบพิตรพิมุข วรวิหาร กรุงเทพมหานคร • เจ้าคณะภาค 3 (มหานิกาย)

ล�ำดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2533 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระศรีสุทธิพงศ์ • พ.ศ. 2538 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชปริยัติดิลก • พ.ศ. 2545 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพปริยัติสุธี • พ.ศ. 2552 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ที่ พระธรรมปริยัติโมลี

ประวัต ิ / ชำติภมู ิ

นามเดิม : อาทร จีนอ่วม เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2494 ณ บ้านเลขที่ 48 หมู่ที่ 5 ต.ไม้ดัด อ.บางระจัน จ.สิงห์บุรี บิดา-มารดา ชื่อ นายเรือง และ นางเกลื่อน จีนอ่วม จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่โรงเรียนประชาบาล ในจังหวัดสิงห์บุรี

P.30

บรรพชำ

เมือ่ วันที่ 30 มีนาคม 2510 ณ วัดน้อยนางหงษ์ ต�าบลสิงห์ อ�าเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี โดยมี พระเกศิวิกรม (สังวาล) วัดโพธิ์ชัย อ.เมือง จ.สิงห์บุรี เป็น พระอุปัชฌาย์ ในระหว่างบวชเณรได้มุ่งมั่นศึกษาพระปริยัติธรรม พ.ศ.2513 สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี-โท-เอก ในส�านักเรียนคณะจังหวัดสิงห์บุรี

อุปสมบท

เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2515 ณ วัดแจ้งพรหมนคร อ�าเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี โดยมี พระครูวิจิตรธรรมศาสตร์ (ระนาม) วัด แจ้งพรหมนคร เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์จุน วัดแจ้งพรหมนคร เป็น พระกรรมวาจารย์ และ พระศรีวราภรณ์ (อ�าพา) วัดแจ้งพรหมนคร เป็น พระอนุสาวนาจารย์

กำรศึกษำ

• หลังจากส�าเร็จชั้นเปรียญธรรม 5 ประโยค ได้เดินทางมาศึกษาต่อ โดย จ�าพรรษาที่วัดรวกบางบ�าหรุ ฝั่งธนบุรี • พ.ศ. 2526 ได้รบั ปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • พ.ศ. 2529 สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค ในนามวัดรวกบางบ�าหรุ ส�านักเรียนวัดมหาธาตุฯ กรุงเทพฯ

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ประวัตกิ ำรท�ำงำน

• เป็นครูสอนพระปริยตั ธิ รรมแผนกบาลี ประจ�าส�านักเรียนวัดบพิตรพิมขุ วรวิหาร • เป็นอาจารย์ใหญ่ส�านักเรียนวัดบพิตรพิมุข วรวิหาร • เป็นเจ้าส�านักเรียนวัดบพิตรพิมุข วรวิหาร • อาจารย์ประจ�า รร.บาลีเตรียม มจร. • รองผู้อ�านวยการ รร.บาลีเตรียมอุดมศึกษา มจร. • ครูใหญ่ รร.บาลีเตรียมอุดมศึกษา มจร. • คณบดีคณะพุทธศาสตร์ • ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ • เป็นรักษาการรองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต

ล�ำดับงำนปกครอง • • • • • •

พ.ศ. 2530 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบพิตรพิมุข วรวิหาร พ.ศ. 2537 เป็นเจ้าอาวาสวัดบพิตรพิมุข วรวิหาร พ.ศ. 2541 เป็นรองเจ้าคณะภาค 3 พ.ศ. 2545 เป็นเจ้าคณะภาค 3 เป็นรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย ฝ่ายกิจการนิสติ เป็นกรรมการคณะกรรมการควบคุมการเดินทางไปต่างประเทศของ พระภิกษุสามเณร (ศตภ.)

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

ผลงำน

• ออกตรวจเยี่ยมและให้ค�าแนะน�าส�านักศาสนาศึกษาแผนกธรรม-บาลี และปริยัติสามัญในเขตปกครองคณะสงฆ์เป็นประจ�าทุกเดือน อีกทั้ง จัดของถวายภิกษุผสู้ อบเปรียญธรรม 9 ประโยค ในนามส�านักเรียนคณะ จังหวัดในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 3 เป็นประจ�าทุกปี • สนับสนุนให้มีการเปิดโรงเรียนสหบาลีศึกษา ประจ�าจังหวัดลพบุรี วัดเสาธงทอง อ.เมือง จ.ลพบุรี (พ.ศ. 2545) • ร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตบพิตรพิมุข จักรวรรดิ จัดโครงการ “นักศึกษาใหม่ใฝ่ธรรมะ” • สนับสนุนการศึกษาสงเคราะห์ของวัดบพิตรพิมุข โดยจัดตั้งทุนการ ศึกษาสงเคราะห์พระภิกษุสามเณร และนักเรียน นิสิต นักศึกษา ใน สถาบันการศึกษาทั่วไปตามมติมหาเถรสมาคม • จัดโครงการอบรมบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ก�าหนดวันที่ 6-20 เมษายนของทุกปี

P.31


เจ้ำคณะภำค 4 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 4 จำานวน 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ กำาแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์

พระธรรมรัตนดิลก (เชิด จิตฺตคุตฺโต ป.ธ.9) ทีอ่ ยู่ วัดสุทัศนเทพวรำรำม เลขที่ 146 ถนนตีทองและถนนบ�ำรุงเมือง แขวง รำชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหำนคร 10200 โทรศัพท์ 0-2225-1395, 0-2221-9889, 0-2226-4168 ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์ • • • • • •

เป็นพระอุปัชฌาย์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวราราม เจ้าคณะ 1 และ รักษาการเจ้าคณะ 6 วัดสุทัศนเทพวราราม ประธานกรรมการบริหาร วัดสุทัศนเทพวราราม รองแม่กองธรรมสนามหลวง ฝ่ายธรรมศึกษา เจ้าคณะภาค 4 (มหานิกาย)

P.32

ล�ำดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2518 ได้รบั แต่งตัง้ เป็น พระครูปลัดสุวฒ ั นวิสทุ ธิคณ ุ ฐานานุกรม ในพระวิสุทธิวงศาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริมหาเถร) อดีตเจ้าอาวาสวัด สุทัศนเทพวราราม • พ.ศ. 2518 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น พระครู ป ลั ด สั ม พิ พั ฒ นธุ ต าจารย์ ฐานานุกรมในสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริมหาเถร) อดีต เจ้าอาวาสวัดสุทัศนเทพวราราม • พ.ศ. 2523 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนาม พระศรีวราภรณ์ • พ.ศ. 2537 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชัน้ ราช ในราชทินนาม พระราชวิสุทธิดิลก • พ.ศ. 2543 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชัน้ เทพ ในราชทินนาม พระเทพวิมลโมลี • พ.ศ. 2548 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชัน้ ธรรม ในราชทินนาม พระธรรมรัตนดิลก

ประวัต ิ / ชำติภมู ิ

นามเดิม : เชิด ฤกษ์ภาชนี เกิดวัน ๓ ฯ๓ ๔ ค�่า ปีมะเส็ง วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 ณ บ้านเลขที่ 13 หมูท่ ี่ 2 ต�าบลรางจระเข้ อ�าเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นามบิดา : ซื่อ นามมารดา : ชั้น

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


อุปสมบท

เข้ารับการอุปสมบท เมื่อ วัน ๕ ฯ๑ ๕ ค�่า ปีขาล (วันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2505) ณ วัดรางจระเข้ ต�าบลบ้านโพธิ์ อ�าเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมี พระครูพิศิษฐ์สังฆการ (สมบูรณ์ อิสิญาโณ) วัดบางกระทิง ต�าบล หัวเวียง อ�าเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระอุปัชฌาย์, พระ สุเมธมุนี (มังกร กสฺสโป ป.ธ.7) วัดบางหลวง ต�าบลบางหลวง อ�าเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระอธิการกุหลาบ ธมฺมสุทโฺ ธ วัดรางจระเข้ ต�าบลบ้านโพธิ์ อ�าเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็น พระอนุสาวนาจารย์

วิทยฐำนะ

• พ.ศ. 2497 ส�าเร็จชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดรางจระเข้ ต�าบล บ้านโพธิ์ อ�าเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • พ.ศ. 2504 สอบไล่ได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�านักเรียนคณะจังหวัดปทุมธานี วัดบางหลวง ต�าบลบางหลวง อ�าเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี • พ.ศ. 2523 สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค (ป.ธ. 9) ส�านักเรียนวัด สุทศั นเทพวราราม วัดสุทศั นเทพวราราม แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

งำนกำรศึกษำ

• พ.ศ. 2507-ปัจจุบัน เป็นกรรมการตรวจใบตอบบาลีสนามหลวง • พ.ศ. 2510 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประจ�าวัดสุทัศนเทพ วราราม • พ.ศ. 2520 เป็นอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์วดั สุทศั นเทพ วราราม • พ.ศ. 2521 เป็นเลขานุการเจ้าส�านักเรียนวัดสุทัศนเทพวราราม • พ.ศ. 2531 เป็นประธานกรรมการบริหารโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดสุทัศนเทพวราราม

งำนด้ำนกำรเผยแผ่ธรรมะ

• พ.ศ. 2554 แสดงพระธรรมเทศนา ถวายในการทรงบ�าเพ็ญพระราช กุศล คล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมราชาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 ณ ห้องประชุมอาคารเฉลิมพระเกียรติ ชั้น 14 โรงพยาบาลศิริราช • พ.ศ. 2555 แสดงพระธรรมเทศนา ถวายในการทรงบ�าเพ็ญพระราชกุศล พระราชทานพระศพ ครบสตมวาร (ครบ 7 วัน) สมเด็จพระเจ้าภคินเี ธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิรโิ สภาพัณณวดี ณ พระทีน่ งั่ ดุสติ มหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง • พ.ศ. 2557 แสดงพระธรรมเทศนา ถวายในการทรงบ�าเพ็ญพระราชกุศล คล้ า ยวั น สวรรคตพระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรมหาอานั น ทมหิ ด ล พระอัฐมราชาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ใน พระบรมมหาราชวัง • พ.ศ. 2558 แสดงพระธรรมเทศนา ถวายในการทรงบ�าเพ็ญพระราช กุศล คล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมราชาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ใน พระบรมมหาราชวัง

งำนด้ำนสำธำรณูปกำร

• พ.ศ. 2556-ปัจจุบนั ได้รบั แต่งตัง้ เป็นประธานด�าเนินการโครงการบูรณะ ต�าหนักสมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทวมหาเถร) คณะ 6 เพื่อจัดท�า เป็นพิพธิ ภัณฑ์ สมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ • ฯลฯ

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

งำนในต่ำงประเทศ

• พ.ศ. 2557 เป็นผู้แทนแม่กองธรรมสนามหลวง น�าข้อสอบธรรมศึกษา ไปเปิดสอบ วัดไทยพุทธอาภาวัฒนาราม ประเทศเยอรมนี วัดไทย ไอซ์แลนด์ ประเทศไอซ์แลนด์ และได้เยี่ยมเยือนวัดป่าโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก วัดสังฆบารมี ประเทศสวีเดน วัดพระธรรมกาย นอร์เวย์ ประเทศนอร์เวย์ • ฯลฯ

งำนด้ำนกำรปกครองตัง้ แต่อดีต-ปัจจุบนั • • • • • • • • • • • •

พ.ศ. 2511 เลขานุการเจ้าคณะภาค 2 พ.ศ. 2512 เลขานุการเจ้าคณะภาค 1 พ.ศ. 2519 เลขานุการวัด วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2520-ปั จ จุ บั น ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาส วั ด สุ ทั ศ นเทพวราราม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2521 เจ้าคณะ 2 วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2533 เจ้าคณะ 7 วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2534 รองเจ้าคณะภาค 4 ฝ่ายการศึกษา พ.ศ. 2536 พระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2544-ปัจจุบัน รองแม่กองธรรมสนามหลวง ฝ่ายธรรมศึกษา พ.ศ. 2550-ปัจจุบนั เจ้าคณะ 1 วัดสุทศั นเทพวราราม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553-ปัจจุบัน เจ้าคณะภาค 4 พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน รักษาการเจ้าคณะ 6 วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานคร

เกียรติคณ ุ ทีไ่ ด้รบั

• พ.ศ. 2554 ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • พ.ศ. 2555 ได้รับรางวัลตาราอวอร์ด จากเสถียรธรรมสถาน • พ.ศ. 2558 เข้ารับพระราชทานเข็มเกียรติคณ ุ วันอนุรกั ษ์มรดกไทย จาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

P.33


เจ้ำคณะภำค 5 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 5 จำานวน 4 จังหวัด ได้แก่ พิษณุโลก สุโขทัย อุตรดิตถ์ ตาก

พระพรหมโมลี (สุชำติ ธมฺมรตโน ป.ธ.9)

ทีอ่ ยู่ วัดปำกน�้ำ เลขที ่ 300 ถนนรัชมงคลประสำธน์ แขวงปำกคลอง ภำษีเจริญ เขตภำษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 โทรศัพท์ 0-2467-0811, 0-2457-5112

ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์ • • • • •

พ.ศ. 2530 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปากน�้า ภาษีเจริญ พ.ศ. 2538 เป็นรองเจ้าคณะภาค 7 (มหานิกาย) พ.ศ. 2539 เป็นพระอุปัชฌาย์ ประเภทวิสามัญ พ.ศ. 2540 เป็นเจ้าคณะภาค 5 (มหานิกาย) พ.ศ. 2557 เป็นกรรมการมหาเถรสมาคม

ล�ำดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2530 เป็นพระราชาคณะ ชั้นสามัญ ที่ พระศรีศาสนวงศ์ • พ.ศ. 2535 เป็นพระราชาคณะ ชั้นราช ที่ พระราชพุทธิญาณวงศ์ ตรีปิฎกวราลงกรณ์ ธรรมิกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2542 เป็นพระราชาคณะ ชั้นเทพ ที่ พระเทพมุนี ศรีปริยัติวรกิจ ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2547 เป็นพระราชาคณะ ชัน้ ธรรม ที่ พระธรรมปัญญาภรณ์ สุนทร ธรรมปฏิบตั ิ ปริยตั วิ ธิ านวิศษิ ฐ์ ตรีปฎิ กบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2554 เป็นพระราชาคณะ เจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ที่ พระพรหม โมลี ศรีสังฆโสภณ วิมลศีลาจารนิวิฐ ปริยัติกิจดิลก ตรีปิฎกบัณฑิต มหา คณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

P.34

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ประวัติ / ชำติภูมิ

นามเดิม : สุชาติ สอดสี เกิดเมื่อ วันเสาร์ที่ 23 ตุลาคม 2497 ปีมะเมีย ณ ต�าบลวังหว้า อ�าเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี

บรรพชำ

รับการบรรพชา เมือ่ วันที่ 5 เมษายน 2508 ณ วัดเกาะ ต�าบลวังหว้า อ�าเภอ ศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี โดย พระครูวรนาถรังษี วัดเกาะ อ�าเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่า “ธมฺมรตโน”

อุปสมบท

เมื่ อ วั น ที่ 4 กรกฎาคม 2519 ณ วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม แขวง พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดย สมเด็จพระพุทธ โฆษาจารย์ วัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นพระอุปัชฌาย์

วิทยฐำนะ

• พ.ศ. 2507 ส�าเร็จชั้นประถมปีที่ 4 โรงเรียนวัดเกาะ ต�าบลวังหว้า อ�าเภอ ศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี • พ.ศ. 2510 สอบได้ น.ธ.เอก ส�านักเรียนศาสนศึกษาวัดดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี • พ.ศ. 2519 สอบได้ ป.ธ.9 ส�านักเรียนวัดปากน�า้ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร (สอบได้ตั้งแต่เป็นสามเณร) • พ.ศ. 2527 ส�าเร็จพุทธศาสตร์บณ ั ฑิต (พธ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย • พ.ศ. - จบการศึกษาปริญญาตรี ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช

งำนกำรศึกษำ • • • • • • • • • • •

พ.ศ. 2519 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม ส�านักเรียนวัดปากน�้า พ.ศ. 2519 เป็นกรรมการตรวจประโยคธรรมสนามหลวง พ.ศ. 2520 เป็นกรรมการตรวจประโยคบาลีสนามหลวง พ.ศ. 2520 เป็นพระอนุจร น�าข้อสอบบาลีสนามหลวงไปเปิดสอบ วัดกะพังสุรินทร์ จังหวัดตรัง พ.ศ. 2521 เป็นพระอนุจร น�าข้อสอบบาลีสนามหลวงไปเปิดสอบ วัดวิชิตสังฆาราม จังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2529 เป็นผูน้ า� ข้อสอบบาลีสนามหลวงไปเปิดสอบ วัดพระธาตุหริภญ ุ ชัย จังหวัดล�าพูน พ.ศ. 2530-2532 เป็นผู้น�าข้อสอบบาลีสนามหลวงไปเปิดสอบ วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2533 เป็นกรรมการควบคุมการสอบบาลีสนามหลวง ป.ธ.5 วัดปากน�้า พ.ศ. 2537 เป็นครูสอนโรงเรียนพระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ ป.ธ.7, 8, 9 วัดสามพระยา พ.ศ. 2537 เป็นเลขานุการแม่กองบาลีสนามหลวง พ.ศ. 2557 เป็นแม่กองบาลีสนามหลวง

งำนพิเศษ

• พ.ศ. 2548 เป็นคณะกรรมการศูนย์ควบคุมการไปต่างประเทศส�าหรับพระ ภิกษุสามเณร (ศ.ต.ภ.) • พ.ศ. 2557 ประธานคณะเลขานุการผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช

งำนเผยแผ่

พ.ศ. 2531 เป็นเลขานุการแม่กองงานพระธรรมทูต พ.ศ. 2535 เป็นรองหัวหน้าฝึกอบรมพระธรรมทูต พ.ศ. 2546 เป็นหัวหน้าพระธรรมทูต สายที่ 3 พ.ศ. 2551 เป็นรองประธานคณะพระธรรมจาริก

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.35


เจ้ำคณะภำค 6 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 6 จำานวน 5 จังหวัด (รวม 65 อำาเภอ 400 ตำาบล) ได้แก่ ลำาปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน

พระธรรมรำชำนุวัตร (สุทัศน์ สุทสฺสโน ป.ธ.6)

ทีอ่ ยู่ วัดพระแก้ว เลขที่ 19 ถนนไตรรัตน์ หมู่ 1 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงรำย 57000 โทรศัพท์ 05-4715-5875 ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์

• พ.ศ. 2513 - 2518 เป็นเลขานุการเจ้าคณะภาค 6 ในพระพุทธิวงศ์ มุนี (สุวรรณ) • พ.ศ. 2521 - 2529 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดพระแก้ว พระอารามหลวง • พ.ศ. 2523 – 2529 เป็นรองเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย • พ.ศ. 2527 – ปัจจุบัน เป็นพระอุปัชฌาย์ • พ.ศ. 2530 – 2541 เป็นเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย • พ.ศ. 2530 - ปัจจุบัน เป็นเจ้าอาวาสวัดพระแก้ว พระอารามหลวง • พ.ศ. 2537 - ปัจจุบนั เป็นผูต้ รวจการพระธรรมทูตภาคเหนือ (16 จังหวัด) • พ.ศ. 2541 - 2550 เป็นรองเจ้าคณะภาค 6 (มหานิกาย) • พ.ศ. 2550 เป็นเจ้าคณะภาค 6 (มหานิกาย)

ล�ำดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2527 ได้รับแต่งตั้งเป็น พระครูปลัดฐานานุกรม ในท่านเจ้าคุณ พระพุทธิวงศ์มุนี (สุวรรณ สุวณฺณโชโต) ที่ พระครูปลัดสุวัฒนพุทธิคุณ • พ.ศ. 2528 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระอุดมปัญญาภรณ์ • พ.ศ. 2533 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชรัตนากร

P.36

• พ.ศ. 2539 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพรัตนมุนี • พ.ศ. 2546 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ที่ พระธรรมราชานุวัตร

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ประวัต ิ / ชำติภมู ิ

นามเดิม : สุทัศน์ หลักแน่น โยมบิดาชื่อ นายหลาน โยมมารดาชื่อ นางค�า หลักแน่น เกิดเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2488 ที่บ้านสันมะเค็ด ต�าบลเวียงกาหลง อ�าเภอ เวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย

บรรพชำ

เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 ขณะที่อายุได้ 14 ปี ได้บรรพชา เป็นสามเณร ณ วัดสันมะเค็ด ต�าบลเวียงกาหลง อ�าเภอเวียงป่าเป้า จังหวัด เชียงราย โดยมี ท่านพระครูยติวตั รวิมล (บุญเป็ง มหาวณฺโณ) อดีตเจ้าคณะอ�าเภอ เวียงป่าเป้า เจ้าอาวาสวัดหนองบัว ต�าบลแม่เจดีย์ อ�าเภอเวียงป่าเป้า จังหวัด เชียงราย เป็นพระอุปัชฌาย์

อุปสมบท

เข้ารับการอุปสมบท เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 ณ พระอุโบสถ วัดพระแก้ว ต�าบลเวียง อ�าเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย โดยมี ท่าน เจ้าคุณพระพุทธิวงศ์ววิ ฒ ั น์ (วงศ์ ทานว�โส) อดีตเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย เป็นพระ อุปชั ฌาย์ พระครูเมธังกรญาณ (สมเพชร อนาลโย) วัดเชียงยืน เป็นพระกรรมวาจา จารย์ เจ้าอธิการบุญทิน กิตฺติสาโร วัดดอยพระบาท เป็นพระอนุสาวนาจารย์

ควำมเชี่ยวชำญ

พระธรรมราชานุวัตร มีความเชี่ยวชาญหลายด้าน ได้แก่ การสอนเจริญ สมาธิภาวนา การเทศน์ธรรม บรรยายธรรม การอ่านและเขียนภาษาล้านนา (ตั๋ว เมือง) และท่านได้จัดให้มีการเรียนการสอนภาษาล้านนา (ตั๋วเมือง) แก่พระภิกษุ สามเณรและประชาชนทั่วไป และเป็นผู้ที่ให้การช่วยเหลือทางด้านการศึกษาแก่ โรงเรียนต่างๆ ของจังหวัดเชียงราย ล�าปาง พะเยา แพร่ น่าน

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

กำรศึกษำ

• พ.ศ. 2500 จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสันมะเค็ด ต�าบลเวียงกาหลง อ�าเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย • พ.ศ. 2503 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นโท ส�านักเรียนคณะจังหวัดเชียงราย • พ.ศ. 2504 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก ส�านักเรียนคณะจังหวัดเชียงราย • พ.ศ. 2520 สอบไล่ได้เปรียญธรรม 6 ประโยค ส�านักเรียนวัดเบญจมบพิตร กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2536 ครุศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย • พ.ศ. 2543 พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย • พ.ศ. 2545 ครุศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ผลงำนส�ำคัญ

1. เป็นผู้บริหารระดับสูงของโรงเรียนพุทธิวงศ์วิทยา (พระปริยัติธรรม แผนก สามัญศึกษา) โรงเรียนในโครงการพระราชด�าริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งก่อตั้งขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2515 2. การจัดตั้งวิทยาลัยสงฆ์เชียงราย เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาของพระ เณรในระดับอุดมศึกษา ทางพระพุทธศาสนา โดยทางราชการมอบศาลา กลางหลังเดิมให้ใช้ประโยชน์ เปิดการศึกษาเมื่อปีการศึกษา 2547 3. สร้างพุทธมณฑลเชียงราย ในพื้นที่ 185 ไร่ ที่บ้านต้นง้าว ต.บัวสลี อ.แม่ ลาว เพือ่ เป็นสถานทีจ่ ดั กิจกรรมทางศาสนาก�าลังอยูใ่ นกระบวนการก่อสร้าง 4. ตั้งพิพิธภัณฑ์โฮงหลวงแสงแก้ว เพื่อเก็บรักษาพระพุทธรูปปางต่างๆ และ เครื่องบูชา ฯลฯ อันเป็นงานศิลปะชั้นสูงของล้านนา เพื่อให้ผู้มาชมและ คนรุ่นหลังได้เข้าใจ ภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์อันเจริญรุ่งเรืองของล้านนา

P.37


เจ้ำคณะภำค 7 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 7 จำานวน 3 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ลำาพูน แม่ฮ่องสอน

พระพรหมเสนำบดี (พิมพ์ ญำณวีโร ป.ธ.7)

ทีอ่ ยู ่ วัดปทุมคงคำ รำชวรวิหำร เลขที่ 1620 ถนนทรงวำด แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหำนคร 10110 โทรศัพท์ 0-2639-1952

ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์ • • • • • •

เจ้าอาวาสวัดปทุมคงคา ราชวรวิหาร เมื่อ พ.ศ. 2536 พระอุปัชฌาย์ วิสามัญ เจ้าคณะเขตสัมพันธวงศ์ เจ้าส�านักเรียนวัดปทุมคงคา รองเจ้าคณะภาค 7 เจ้าคณะภาค 7 เมื่อ 31 มีนาคม พ.ศ. 2558

ล�ำดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2530 เป็นพระครูสัญญาบัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก ที่ พระครูศรีปริยัตยาภรณ์ • พ.ศ. 2532 เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระสุธีปริยัตยาภรณ์ • พ.ศ. 2537 เป็นพระราชาคณะชั้นราชที่ พระราชรัตนดิลก ตรีปิฎก วราลงกรณ์ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2545 เป็นพระราชาคณะชัน้ เทพที่ พระเทพรัตนสุธี ศรีธรรมสาธก ตรีปิฎกวราลงกรณ์ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

P.38

• พ.ศ. 2553 เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมคุณาภรณ์ บวรศีล สมาจารวินิฐ วรกิจจานุกิจดิลก ตรีปิฎกวราลงกรณ์ มหาคณิสสร บวร สังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2557 เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองที่ พระพรหมเสนาบดี ศรี สังฆโสภณ วิมลศีลาจาร ศาสนภารธุราทร ตรีปิฎกวราลงกรณ์ มหา คณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

ประวัต ิ / ชำติภมู ิ

นามเดิม : พิมพ์ บุญรัตนาภรณ์ เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2488 ตรงกับวันขึ้น 1 ค�่า เดือน 10 ปีระกา ณ บ้านเลขที่ 106 หมู่ที่ 3 ต�าบลโรงเข้ อ�าเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร บิดาชื่อ นายบุญ บุญรัตนาภรณ์ มารดาชื่อ นางสวย บุญรัตนาภรณ์

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


บรรพชำ/ อุปสมบท

อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2509 ตรงกับวันขึ้น 9 ค�่า เดือน 8-8 ปีมะเมีย ณ วัดนาสาร ต�าบลนาสาร อ�าเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมี พระเทพรัตนกวี (เกตุ ธมฺมวโร) อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี วัดไตรธรรมาราม อ�าเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นพระ อุปัชฌายาจารย์ พระครูโสภิตคุณานันท์ อดีตเจ้าคณะอ�าเภอบ้านนาสาร วัด นาสาร อ�าเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระครูพิศาลคุณาภรณ์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�าเภอบ้านนาสาร วัดอภัย เขตตาราม อ�าเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า “ญาณวีโร”

วิทยฐำนะ

• พ.ศ. 2500 ส�าเร็จประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนบางห้าต�าลึง (สาย บุญเรืองราษฎร์รังสรรค์) อ�าเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสาคร • พ.ศ. 2512 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก วัดคลองวาฬ ส�านักเรียนคณะจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ • พ.ศ. 2520 ส�าเร็จปริญญาตรี (ฺB.A.) จากมหาวิทยาลัยนาลันทา ประเทศ อินเดีย • พ.ศ. 2522 ส�าเร็จปริญญาโท (M.A.) จากมหาวิทยาลัยมคธ ประเทศอินเดีย • พ.ศ. 2532 สอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค ส�านักเรียนวัดปทุมคงคา กรุงเทพมหานคร

ควำมรูพ้ เิ ศษ

• มีความช�านาญพิมพ์ดีดไฟฟ้าภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ • ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมส�าเร็จรูป • เป็ น ผู ้ อ อกแบบโปรแกรมสมณศั ก ดิ์ ที่ ค ณะสงฆ์ ใ ช้ ห าข้ อ มู ล ในการ พิจารณาสมณศักดิ์ในปัจจุบันนี้ • เป็นผู้ทรงจ�าพระปาติโมกข์และสวดพระปาติโมกข์ประจ�า

งำนกำรศึกษำ

• เป็นเจ้าส�านักเรียนวัดปทุมคงคา จัดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม ทั้งแผนกบาลีนักธรรม และธรรมศึกษาตรี โท เอก • จัดนิตยภัตถวายครูสอนบาลี นักธรรม ธรรมศึกษา ครูสอนศีลธรรม ประจ� า วั ด ปทุ ม คงคาตลอดปี จั ด อุ ป กรณ์ ก ารเรี ย น การสอน ทั้ ง คอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร และมอบรางวัลแก่นักเรียนผู้สอบบาลี นักธรรมได้ในสนามหลวงเป็นประจ�าทุกปี • นับตั้งแต่เป็นเจ้าส�านักเรียนวัดปทุมคงคา พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา มีนักเรียนบาลีสอบได้ ป.ธ.9 จ�านวน 9 รูป • จั ด สอนธรรมศึ ก ษาโรงเรี ย นวั ด ปทุ ม คงคา โรงเรี ย นมั ธ ยมวั ด สิ ง ห์ โรงเรียนปทุมคงคา (เอกมัย) และโรงเรียนศึกษานารีวิทยา บางเขน

เกียรติคณ ุ / รำงวัลทีไ่ ด้รบั

• พ.ศ. 2531 ได้รับรางวัลเสาเสมาธรรมจักร ด้านเผยแผ่หลักธรรม • พ.ศ. 2554 ได้รับถวายรางวัลพุทธคุณูปการ กาญจนเกียรติคุณ • พ.ศ. 2554 ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาจัดการเชิงพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.39


เจ้ำคณะภำค 8 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 8 จำานวน 6 จังหวัด ได้แก่ อุดรธานี หนองคาย เลย สกลนคร หนองบัวลำาภู บึงกาฬ

พระเทพมุนี (เก็ง อำสโภ ป.ธ.9)

ทีอ่ ยู่ วัดไตรมิตรวิทยำรำม วรวิหำร เลขที่ 661 ถนนเจริญกรุง แขวงตลำดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหำนคร 10100 โทรศัพท์ 0-2225-9773, 08-1638-7762 อีเมล Pratepmunee@gmail.com ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์

• • • • •

เป็นอาจารย์ใหญ่ ส�านักเรียนวัดไตรมิตรวิทยาราม พ.ศ. 2530 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยาราม พ.ศ. 2541 รองเจ้าคณะภาค 8 (มหานิกาย) พ.ศ. 2557 เจ้าคณะภาค 8 (มหานิกาย) รองหัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 5

ล�ำดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2530 พระศรีปริยัติโมลี • พ.ศ. 2540 พระราชปัญญาเมธี • พ.ศ. 2548 พระเทพมุนี

ประวัต ิ / ชำติภมู ิ

นามเดิม : เก็ง อาสโภ ภูมิล�าเนาเดิม บ้านเนินหอม ต�าบลเนินหอม อ�าเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี

P.40

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


อุปสมบท

เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2504 ณ วัดนาปรือ ต�าบลเนินหอม อ�าเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี โดยมี พระครูวจิ ติ รสุตาลังการ วัดหลวงปรีชากูล ต�าบลหน้าเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี เป็นพระ อุปัชฌาย์ พระครูอุทัยธรรมจารี วัดหลวงปรีชากูล ต�าบลหน้าเมือง อ�าเภอ เมือง จังหวัดปราจีนบุรี เป็นกรรมวาจาจารย์ และ พระครูจ�าปา อุตฺตโม วัดเนินไม้หอม ต�าบลเนินหอม อ�าเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี เป็นพระอนุ สาวนาจารย์

วิทยำฐำนะ

• น.ธ.เอก • พ.ศ. 2528 เปรียญธรรม 9 ประโยค • ศษ.บ. สุโขทัยธรรมาธิราช

คติธรรมค�ำสอน

อ�ำนำจ หน้ำทีเ่ จ้ำคณะภำค 8 (มหำนิกำย)

1. ด�าเนินการปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบ ค�าสั่ง มติ ประกาศ พระบัญชา สมเด็จพระสังฆราช 2. ควบคุมและส่งเสริมการรักษาความเรียบร้อย ดีงาม การศาสนศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ ให้เป็นไปด้วยดี 3. วินิจฉัยการลงนิคหกรรม วินิจฉัยข้ออุทธรณ์ค�าสั่งหรือค�าวินิจฉัยชั้น จังหวัด 4. แก้ไขข้อขัดข้องของเจ้าคณะจังหวัดให้เป็นไปโดยชอบ 5. ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าคณะและเจ้าอาวาสตลอดถึงพระภิกษุสามเณร ผู้อยู่ในบังคับบัญชาหรืออยู่ในเขตปกครองของตน และชี้แจงแนะน�า การปฏิบัติหน้าที่ของผู้อยู่ในบังคับบัญชาให้เป็นไปโดยความเรียบร้อย 6. ตรวจการและประชุมพระสังฆาธิการในเขตปกครองของตน

“เมื่อได้ท�าเต็มความสามารถและโอกาสแล้ว จงยินดีเท่าที่ได้ พอใจเท่าที่มี”

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.41


เจ้ำคณะภำค 9 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 9 จำานวน 4 จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด

พระเทพเมธี (สมเกียรติ โกวิโท ป.ธ.9)

ทีอ่ ยู่ วัดอรุณรำชวรำรำม แขวงวัดอรุณ เขตบำงกอกใหญ่ กรุงเทพมหำนคร 10600 โทรศัพท์ 0-2466-9007 ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์

• ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดอรุณราชวราราม พระอารามหลวง • เจ้าคณะภาค 9 (มหานิกาย)

ล�ำดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2539 ได้รบั พระราชทานตัง้ สมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชัน้ สามัญ ในราชทินนามที่ “พระเมธีวราภรณ์” (10 มิถุนายน 2539) • พ.ศ.2544 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้น ราชในราชทินนามที่ “พระราชรัตนสุธี ตรีปิฎกบัญฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี” • พ.ศ.2549 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ เทพ ในราชทินนามที่ “พระเทพเมธี ศรีศาสนกิจ ตรีปฎิ กบัญฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี” (10 มิถุนายน 2549)

ประวัต ิ / ชำติภมู ิ

นามเดิม : สมเกียรติ พัตตพักตร์ เกิดเมื่อ วัน ๒ฯ ๑๐ ค�่า ปีมะแม ตรงกับวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2486 บิดาชื่อ นายทองสี มารดาชื่อ นางอุ่ย ณ บ้านเลขที่ 93 หมู่ที่ 4 ต�าบลเลิงแฝก อ�าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม

บรรพชำ

เข้ารับการบรรพชา เมือ่ วันที่ ๓ฯ ๑๕ ค�า่ ปีวอก วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2499 ณ วัดอัมพวันห้วยแคน ต�าบลเลิงแฝก อ�าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม โดยมี พระครูพิพัฒน์ศีลคุณ วัดบ้านกุดรัง ต�าบลกุดรัง อ�าเภอบรบือ จังหวัด มหาสารคาม เป็นพระอุปัชฌาย์

P.42

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


อุปสมบท

เมื่อวันที่ ๒ฯ๑๐ ค�่า ปีมะเส็ง วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2508 ณ วัดนาโพธิ์ ต�าบลกุดรัง อ�าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม โดยมี พระครูชย ธรรมานันท์ วัดนาโพธิ์ ต�าบลกุดรัง อ�าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม เป็น พระอุปัชฌาย์

วิทยฐำนะ

• พ.ศ. 2498 ส�าเร็จการศึกษาชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประชาบาล ห้วยแคนราษฎรสามัคคี • พ.ศ. 2514 ส�าเร็จบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • พ.ศ. 2516 ส�าเร็จชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสมัครสอบ กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2519 สอบได้ประโยคครูพิเศษมัธยม (พ.ม.) กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2501 สอบได้ น.ธ.เอก สนามหลวง ส�านักเรียนคณะจังหวัดมหาสารคาม • พ.ศ. 2525 สอบได้ ป.ธ.9 สนามหลวง ส�านักเรียนวัดราชสิทธาราม กทม. • พ.ศ. 2549 ได้ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาบริหาร การศึกษา จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • พ.ศ. 2555 ได้ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขา พระพุทธศาสนา จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ล�ำดับงำนปกครอง

• พ.ศ. 2521 เป็นเจ้าคณะ 11 วัดราชสิทธาราม เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ถึงวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2525 • พ.ศ. 2526 ได้รบั พระบัญชาแต่งตัง้ เป็นผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง • พ.ศ. 2534 เป็นเจ้าคณะ 4 วัดอรุณราชวราราม • พ.ศ. 2537 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะแขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2539 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์วิสามัญ • พ.ศ. 2541 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะภาค 10 (21 ม.ค.4 ต.ค.2541) • พ.ศ. 2541-2556 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะภาค 9 • พ.ศ. 2547 ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานคณะผู้ท�าหน้าที่แทนเจ้าอาวาส วัดอรุณราชวราราม • พ.ศ. 2551 ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส วัดอรุณ ราชวราราม • พ.ศ. 2553 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะ 1 วัดอรุณราชวราราม • พ.ศ. 2557 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะภาค 9

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

งำนศึกษำ

• พ.ศ. 2509 เป็นกรรมการตรวจข้อสอบธรรมและบาลีสนามหลวง ถึง ปัจจุบัน • พ.ศ. 2525 เป็นครูสอนพระปริยตั ธิ รรมแผนกบาลี ทีส่ า� นักเรียนวัดอรุณ ราชวราราม จนถึงปัจจุบัน • พ.ศ. 2533 เป็นอาจารย์ใหญ่ส�านักเรียนวัดอรุณราชวราราม • ฯลฯ

งำนเผยแพร่

• เป็นผู้แสดงธรรมอบรมประชาชนวันธรรมสวนะ ในเทศกาลเข้าพรรษา และนอกพรรษาตามเวลาและโอกาส • เป็นผู้อบรมข้าราชการทหารเรือตามหน่วยต่างๆ ที่กรุงเทพมหานคร • เป็นผู้อบรมข้าราชการทหารบก ณ กรมแผนที่ทหารบก • เป็นผู้อบรมข้าราชการทหารเรือ ณ ฐานทัพเรือสัตหีบ จังหวัดชลบุรี • เป็นผู้อบรมผู้ต้องขัง ณ เรือนจ�ากลางบางขวาง จังหวัดนนทบุรี • เป็นผู้อบรมผู้ต้องขัง ณ เรือนจ�าจังหวัดศรีษะเกษ • ฯลฯ

เกียรติคณ ุ พิเศษ

• พ.ศ. 2548 ได้รับโล่เกียรติคุณจากกองบังคับการต�ารวจท่องเที่ยว โดย พล.ต.ต.ปัญญา มาเม่น ในฐานะให้การช่วยเหลือกิจกรรมของกอง บังคับการต�ารวจท่องเที่ยวและส่งเสริมการท่องเที่ยว • พ.ศ.2548 ได้รับโล่เกียรติคุณจากส�านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะเป็นบุคคลดีเด่นด้านการศึกษา โดยนายชินภัทร ภูมิรัตน ปลัด กระทรวงศึกษาธิการ

คติธรรมค�ำสอน

“แท้จริง การณ์ทั้งมวลย่อมส�าเร็จด้วยความเพียรพยายาม มิใช่ด้วยความ คิดนึก”

P.43


เจ้ำคณะภำค 10 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 10 จำานวน 6 จังหวัด

ได้แก่ อุบลราชธานี ศรีสะเกษ นครพนม ยโสธร มุกดาหาร อำานาจเจริญ

พระพรหมสิทธิ (ธงชัย สุขญำโณ น.ธ.เอก)

ทีอ่ ยู่ วัดสระเกศ รำชวรมหำวิหำร เลขที่ 1334 ถนนบริพัตร แขวงบ้ำนบำตร เขตป้อมปรำบศัตรูพ่ำย กรุงเทพมหำนคร 10100 โทรศัพท์ 0-2621-2280 ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์

• • • • • • •

เจ้าอาวาสวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะภาค 10 (มหานิกาย) กรรมการมหาเถรสมาคม พระอุปัชฌาย์ วิสามัญ หัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 6 ประธานส�านักงานก�ากับดูแลพระธรรมทูตไปต่างประเทศ ที่ปรึกษาโครงการหมู่บ้านศีล 5 คณะสงฆ์หนตะวันออก

P.44

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ล�ำดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2523 รับฐานานุศักดิ์ที่ พระครูสังฆรักษ์ ฐานานุกรมใน พระธรรมกิตติโสภณ (หนู อโนมปญฺโญ) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร ครั้งด�ารงสมณศักดิ์ ที่ พระเทพสุธี • พ.ศ. 2523 รับฐานานุศักดิ์ที่ พระครูปลัด ฐานานุกรมใน พระธรรมกิตติ โสภณ (หนู อโนมปญฺโญ) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร ครั้งด�ารงสมณศักดิ์ ที่ พระเทพสุธี • พ.ศ. 2530 รับฐานานุศักดิ์ที่ พระครูประสิทธิสรคุณ ฐานานุกรมในครั้ง ด�ารงสมณศักดิ์ ที่ พระพรหมคุณาภรณ์ (เกี่ยว อุปเสโณ) • พ.ศ. 2532 ได้รบั พระราชทานตัง้ สมณศักดิพ์ ระครูสญ ั ญาบัตร ที่ พระครู พิทักษ์สุวรรณบรรพต • 12 สิงหาคม พ.ศ. 2535 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะ ชั้นสามัญ ที่ พระสุวรรณเจติยาภิบาล • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2544 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชา คณะชั้นราช ที่ พระราชธรรมสาร วิธานสุวรรณเจติยกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • 12 สิงหาคม พ.ศ. 2547 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระ ราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพสิริภิมณฑ์ โสภณศาสนการ พิพัฒนวิธาน สุวรรณเจติยกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • 9 มิถนุ ายน พ.ศ. 2549 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชา คณะชั้นธรรม ที่ พระธรรมสิทธินายก ดิลกธรรมานุยุต ประสุตสุวรรณ เจติยกิจ วิสิฐวิเทศศาสนวราทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ได้รับพระราชทานสถาปนาสมณศักดิ์เป็นพระ ราชาคณะเจ้าคณะรองชัน้ หิรญ ั บัฏ ที่ พระพรหมสิทธิ กิตติธรรมประยุต วิสทุ ธิศลี าจาร สุวธิ านวรกิจจานุกจิ วิสฐิ วิเทศศาสนวราทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

ประวัต ิ / ชำติภมู ิ

นามเดิม : ธงชัย สุขโข เกิดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2499 ปีมะแม ณ บ้านเลขที่ 19 หมู่ 5 ต�าบลเขาวง อ�าเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี บิดาชื่อ นายเสงี่ยม มารดาชื่อ นางตัน สุขโข

บรรพชำ

หลังเรียนจบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ได้เข้ารับการบรรพชา ณ วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร โดยมี สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) ครั้งด�ารง สมณศักดิ์ ที่ พระธรรมคุณาภรณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

อุปสมบท

เข้าพิธอี ปุ สมบท เมือ่ วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2419 ณ พระอุโบสถ วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร โดยมี สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) เมื่อครั้งด�ารง สมณศักดิ์ ที่ พระพรหมคุณาภรณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่า “สุข ญาโณ” หลังจากอุปสมบทก็ได้รับมอบหมายให้ด�ารงต�าแหน่งเลขานุการเจ้า อาวาส วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ดูแลงานปกครอง ในขณะเดียวกันยังเป็น ครูสอนพระปริยัติธรรม ส�านักเรียนวัดสระเกศ เป็นกรรมการตรวจนักธรรม สนามหลวง จนกระทั่งเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 พระบัญชาสมเด็จพระ สังฆราช แต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งกรรมการมหาเถรสมาคม

ปริญญำทีร่ บั กำรถวำย

• พุทธศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการจัดการเชิงพุทธ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย • สังคมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัย รามค�าแหง • สังคมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขางานพัฒนา มหาวิทยาลัยมหา มกุฏราชวิทยาลัย • ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยสยาม

หน้ำทีพ่ เิ ศษ • • • • • •

ผู้ดูแลพระบรมบรรพต (ภูเขาทอง)วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร เลขานุการ ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ที่ปรึกษาโครงการสามเณรปลูกปัญญาธรรม กรรมการมูลนิธิพระราชปัญญาสุธี (ถาวร ติสฺสานุกโร) กรรมการมูลนิธิภูมิพโล วัดสระเกศฯ เลขานุการ พระธรรมกิตติโสภณ (หนู อโนมปญฺโญ) ครั้งด�ารงสมณศักดิ์ พระจุลคณานุศิษย์ • รองประธานที่ปรึกษางานพระราชทานเพลิงศพ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช

P.45


เจ้ำคณะภำค 11 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 11 จำานวน 4 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ชัยภูมิ สุรินทร์

พระธรรมธีรรำชมหำมุนี (เที่ยง อคฺคธมฺโม ป.ธ.9)

ทีอ่ ยู่ วัดระฆังโฆสิตำรำม วรมหำวิหำร เลขที่ 250 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงศิริรำช เขต บำงกอกน้อย กรุงเทพมหำนคร 10700 โทรศัพท์ 0-2411-1981 ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์

• พ.ศ. 2519 - ปัจจุบัน เป็นพระอุปัชฌาย์ • พ.ศ. 2536 - ปัจจุบัน เป็นเจ้าคณะภาค 11 (มหานิกาย) • พ.ศ. 2539 - ปัจจุบนั เป็นประธานกรรมการ มูลนิธอิ ภิธรรมมหาวิทยาลัย แห่งประเทศไทย วัดระฆังโฆสิตาราม • พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน เป็นผู้อ�านวยการอภิธรรมมหาวิทยาลัยแห่ง ประเทศไทย วัดระฆังโฆสิตาราม • พ.ศ. 2550 - ปัจจุบัน เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม วรมหาวิหาร

ล�ำดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2516 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้น สามัญที่ พระศรีวิสุทธิโสภณ • พ.ศ. 2526 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้น ราช ที่ พระราชวิสุทธิเวที • พ.ศ. 2538 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้น เทพ ที่ พระเทพวิสุทธิเมธี • พ.ศ. 2551 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้น ธรรม ที่ พระธรรมธีรราชมหามุนี

P.46

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ต�ำแหน่งในอดีต • • • • • • • •

พ.ศ. 2505 พระครูสอนปริยัติธรรม ส�านักเรียนวัดระฆังโฆสิตาราม พ.ศ. 2506 กรรมการตรวจบาลีสนามหลวง พ.ศ. 2507-2516 เลขานุการเจ้าส�านักวัดระฆังโฆสิตาราม พ.ศ. 2515 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม วรมหาวิหาร พ.ศ. 2517 รองเจ้าคณะภาค 11 (มหานิกาย) พ.ศ. 2519 - ปัจจุบัน เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2530 - 2532 เป็นผู้รักษาการแทน เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆสิตาราม พ.ศ. 2539 - ปั จ จุ บั น เป็ น ประธานกรรมการมู ล นิ ธิ ส หอภิ ธ รรม มหาวิทยาลัย วัดระฆังโฆสิตาราม วรมหาวิหาร • พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน เป็นผู้อ�านวยการอภิธรรมมหาวิทยาลัยแห่ง ประเทศไทย วัดระฆังโฆสิตาราม วรมหาวิหาร

ประวัติ / ชำติภูมิ

นามเดิม : เที่ยง ชูกระโทก บิดาชื่อ นายโปรย ชูกระโทก มารดาชื่อ นางสี ชูกระโทก เกิดเมื่อ วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2478 (ปีกุล) ณ บ้านดอนชมพู ต�าบลบิง อ�าเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา

บรรพชำ

บรรพชาเป็นสามเณร ที่ วัดสมอราย ต�าบลหนองจะบก อ�าเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2494 (วัน ๔ ฯ ๖ ปีเถาะ) โดยมี พระครูพรหมวิหารี (รอด) เป็นพระอุปัชฌาย์ ต่อมา เจ้าอารามวัดสมอราย เห็นว่าท่านมีนิสัยมุทะลุ เลือดร้อน จึงได้ น�าตัวส่งไปฝากเรียนทีว่ ดั ระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร กรุงเทพฯได้มโี อกาสมา ศึกษาพระปริยัติธรรมเพิ่มเติม กระทั่งวันหนึ่งได้มีโอกาสท่องคาถาชินบัญชร เกิดความปีตสิ ขุ จิตใจเป็นสมาธิยงิ่ จนมีคนมาบอกเล่าให้ฟงั ว่าผูใ้ ดได้สวดภาวนา พระคาถาชินบัญชรนี้ เป็นประจ�าอยู่สม�่าเสมอ จะท�าให้เกิดความสิริมงคล สมบูรณ์พูนผล ศัตรูหมู่พาลไม่กล�้ากราย ไปทางใด ย่อมเกิดเมตตามหานิยม ท่านจึงตั้งจิตอธิษฐานจะขอท่องคาถาชินบัญชรให้ส�าเร็จทุกถ้วนความ หากท�าได้จะขอเลิกนิสยั เกเร จะตัง้ ใจเรียนศึกษาพระปริยตั ธิ รรมอย่างจริงจัง เพื่อตอบแทนพระคุณบุพการีและสืบทอดพระพุทธศาสนาตลอดไป ตัง้ แต่นนั้ มาจึงมุง่ มัน่ ศึกษาพระปริยตั ธิ รรม สามารถสอบได้นกั ธรรมชัน้ ตรี-โท-เอก ตามล�าดับ ที่ส�านักเรียนวัดระฆังโฆสิตาราม อ�าเภอบางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

อุปสมบท

เมื่ออายุครบบวช ได้เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 (๕ ฯ ๖ ปีมะเมีย) ณ วัดบ้านดอนชมพู ต�าบลบิง อ�าเภอโนนสูง จังหวัด นครราชสีมา มี พระครูพินิจยติกรรม (แจ้ง) วัดใหม่สุนทร อ�าเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา เป็นพระอุปัชฌาย์

วิทยฐำนะ

• พ.ศ. 2492 ส�าเร็จการศึกษาสามัญชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน ประชาบาลวัดดอนชมพู ต�าบลบิง อ�าเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา • พ.ศ. 2499 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ณ ส�านักเรียนวัดระฆังโฆสิตาราม อ�าเภอบางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี (ปัจจุบันคือ แขวงศิริราช เขต บางกอกน้อย กรุงเทพฯ) • พ.ศ. 2514 สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค ณ ส�านักเรียนวัดระฆัง โฆสิตาราม อ�าเภอบางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี (ปัจจุบนั คือ แขวงศิรริ าช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ) เป็นเปรียญธรรม 9 ประโยครูปแรกของ วัดระฆังโฆสิตาราม

เกียรติคุณอื่นๆ

ท่านได้สร้างผลงานเป็นคุณปู การมากมายหลากหลายด้าน ทัง้ ด้านงาน ปกครองคณะสงฆ์ การศึกษาพระปริยตั ธิ รรม การสาธารณประโยชน์ ด้านการ พัฒนา และอื่นๆ อีกมากมาย และยังมีความสามารถในการเขียนกวีธรรม สาธก หรือกลอนธรรมะจ�านวนมากมาย อาทิ บทกลอนเพื่อชีวิต ท�าดีเริ่มต้น ทีต่ นก่อน ซึง่ นอกจากเป็นพระนักปกครองแล้ว ยังเป็นพระเกจิอาจารย์ชอื่ ดัง แห่งวัดระฆังฯ มักได้รบั นิมนต์ให้รว่ มพิธพี ทุ ธาภิเษกและอธิษฐานจิตปลุกเสก วัตถุมงคลชื่อดังอยู่เป็นประจ�า

หลักธรรมค�ำสอน

“การสวดมนต์ไหว้พระ ระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ท�าให้จิตใจเกิดความสงบ เมื่อเกิดความสงบแล้ว สมาธิและปัญญาจะเกิด ตามมา คนเราขอเพียงมีสมาธิและปัญญา การท�างานให้ส�าเร็จ ย่อมไม่ใช่ เรื่องยาก”

P.47


รักษำกำร เจ้ำคณะภำค 12 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 12 รวมจำานวน 4 จังหวัด ได้แก่ ปราจีนบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา สระแก้ว

พระเทพรัตนมุนี (สุรชัย สุรชโย ป.ธ.7)

ทีอ่ ยู่ วัดสระเกศ รำชวรมหำวิหำร 1334 ถนนบริพัตร แขวงบ้ำนบำตร เขตป้อมปรำบศัตรูพ่ำย กรุงเทพมหำนคร 10100 โทรศัพท์ 0-2225-8300 ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์

• ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร • รองเจ้าคณะภาค 12 (มหานิกาย) • รักษาการแทนเจ้าคณะภาค 12 (มหานิกาย)

ล�ำดับสมณศักดิ์

• ได้รับฐานานุศักดิ์ในราชทินนาม ที่ พระครูปลัดสัมพิพัฒนธุตาจารย์ พระครูฐานานุกรมในสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) • ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชัน้ สามัญ ที่ พระปัญญา วชิราภรณ์ • ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราช ปัญญาโสภณ • วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชา คณะชั้นเทพ ที่ พระเทพรัตนมุนี ศรีศาสนกิจสุนทร ตรีปิฎกวราลงกรณ์ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

P.48

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ประวัติ / ชำติภูมิ

เกิด : พ.ศ. 2507 นามเดิม : สุรชัย วิชชุกิจมงคล

บรรพชำ

ได้เข้ารับการบรรพชา ณ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร โดยมี สมเด็จพระ พุฒาจารย์ (เกีย่ ว อุปเสโณ) ครัง้ ด�ารงสมณศักดิ์ พระพรหมคุณาภรณ์ เป็นพระ อุปชั ฌาย์ จากนัน้ สามเณรสุรชัยได้คอยปรนนิบตั ริ บั ใช้ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) และศึกษาพระธรรมวินัยควบคู่กันไปด้วย

อุปสมบท

เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2521 ได้เข้าพิธีอุปสมบท ณ พระอุโบสถ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร โดยมี สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) เมื่อครั้งด�ารงสมณศักดิ์ ที่ พระพรหมคุณาภรณ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับ ฉายาว่า “สุรชโย” หลังจากอุปสมบทก็ได้รับมอบหมายให้ด�ารงต�าแหน่ง ผู้ช่วยเจ้าอาวาส เจ้าอาวาส วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ดูแลงานปกครอง ในขณะเดียวกันยัง เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม ส�านักเรียนวัดสระเกศ และเป็นกรรมการตรวจ นักธรรมสนามหลวง วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ประชุมมหาเถรสมาคม แต่งตั้งให้เป็น พระอุปัชฌาย์ ประเภทวิสามัญ ในเขตปกครองคณะสงฆ์หนตะวันออก ต่อมา สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) เจ้าคณะใหญ่หนตะวัน ออก ได้มีค�าสั่งแต่งตั้งให้ พระเทพรัตนมุนี (สุรชัย สุรชโย) รองเจ้าคณะภาค 12 รักษาการเจ้าคณะภาค 12 แทน พระพรหมสุธี ซึ่งพักการปฏิบัติหน้าที่ เจ้าคณะภาค 12

ปริญญำที่ได้รับกำรถวำย

• พ.ศ. 2534 พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • พ.ศ 2545 ศิลปศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาปรัชญาและศาสนา จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.49


เจ้ำคณะภำค 13 (มหำนิกำย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 13 จำานวน 4 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด

พระพรหมกวี (ประกอบ ธมฺมเสฏโฐ ป.ธ.9)

ทีอ่ ยู่ วัดกัลยำณมิตร วรมหำวิหำร เลขที ่ 371 ถนนอรุณอมรินทร์ตดั ใหม่ ซอย 6 แขวง วัดกัลยำณ์ เขตธนบุรี กรุงเทพมหำนคร 10600 โทรศัพท์ 0-2466-4643 ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์

• เจ้าคณะภาค 13 (มหานิกาย) • เจ้าอาวาส วัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร

ล�ำดับสมณศักดิ์

• 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานสมณศักดิเ์ ป็น พระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนาม ที่ พระเมธีวราลังการ • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2535 ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนาม ที่ พระราชปริยัติเมธี • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนาม ที่ พระเทพเวที • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2546 ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานเลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนาม ที่ พระธรรมเจดีย์ • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ทรงพระกรุณาโปรดสถาปนาเลือ่ นสมณศักดิข์ นึ้ เป็น พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ในราชทินนาม ที่ พระพรหมกวี

ประวัติ / ชำติภูมิ

นามเดิม : ประกอบ วงศ์พรนิมิตร เกิดเมื่อวันเสาร์ แรม 15 ค�่า เดือน 6 ปีมะแม ตรงกับวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2498 ณ บ้านเลขที่ 8 หมู่ที่ 2 ต�าบลท่าไม้ อ�าเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร บิดาชื่อ : วงษ์ วงศ์พรนิมิตร มารดาชื่อ : กิมล้วน วงศ์พรนิมิตร

P.50

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


บรรพชำ

บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดดอนไก่ดี ต�าบลตลาด อ�าเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 โดยมี พระสมุทร คุณาจารย์ (ฮะ จนฺทสโร) เป็นพระอุปัชฌาย์

อุปสมบท

เข้ า รั บ การอุ ป สมบทในพระบรมราชานุ เ คราะห์ (นาคหลวง) ใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระอุโบสถ วัดพระ ศรีรัตนศาสดาราม แขวงพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 โดยมี สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) วัดสามพระยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นพระอุปัชฌาย์ พระ ธรรมปิฎก (นิยม ฐานิสฺสโร) วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระธรรมธีรราชมหามุนี (ช่วง วรปุญโฺ ญ) วัดปากน�า้ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้นามฉายาว่า “ธมฺมเสฏฺโฐ”

วิทยฐำนะ

• พ.ศ. 2509 ส�าเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนบ้าน ปล่องเหลี่ยม อ�าเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร • พ.ศ. 2510 ย้ายมาศึกษาเล่าเรียน ณ ส�านักเรียนวัดไร่ขิง อ�าเภอ สามพราน จังหวัดนครปฐม จนสอบได้นักธรรมชั้นโท พ.ศ. 2512 เข้า สอบพระปริยตั ธิ รรม แผนกบาลี สอบได้ประโยค 1-2 ส�านักเรียนวัดไร่ขงิ อ�าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม • พ.ศ. 2513 ย้ายมาศึกษาเล่าเรียน ณ ส�านักเรียนวัดชนะสงคราม เขต พระนคร กรุงเทพมหานคร สอบได้นักธรรมชั้นเอกและสอบได้เปรียญ ธรรม 3 ประโยค • พ.ศ. 2519 สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค (ขณะเป็นสามเณร เมื่อ อายุ 20 ปี) ส�านักเรียนวัดชนะสงคราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2529 สอบได้ ป ริ ญ ญาเอก (สาขาประวั ติ ศ าสตร์ เ อเชี ย โบราณ) มหาวิทยาลัยมคธ รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย • พ.ศ. 2552 ได้รับปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชา พุทธศาสนา จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

งำนปกครอง

• พ.ศ. 2529 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดชนะสงคราม • พ.ศ. 2531 - 2540 เป็นเลขานุการเจ้าคณะภาค 13 (สมเด็จพระมหา ธีราจารย์) • พ.ศ. 2540 ได้รับแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะภาค 13 • พ.ศ. 2540 – ปัจจุบัน เป็นเจ้าคณะภาค 13 • พ.ศ. 2540 - ปัจจุบนั จัดประชุมเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอ�าเภอ พร้อม

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

• • • • • • •

เลขานุการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 13 ปีละ 2 ครั้ง และร่วมกับ เจ้าคณะจังหวัดและเจ้าคณะอ�าเภอ ประชุมพระสังฆาธิการระดับจังหวัด ตามมติมหาเถรสมาคม ทุกปี พ.ศ. 2542 ได้รับตราตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2544 กรรมการประสานงานศูนย์สงเคราะห์และฟื้นฟูผู้ติดยา เสพติด พ.ศ. 2544 กรรมการความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนา พ.ศ. 2545 กรรมการฝ่ายปกครองของมหาเถรสมาคม พ.ศ. 2545 กรรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติและอุบัติภัย 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545 เจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตร วรมหาวิหาร พ.ศ. 2551 กรรมการเผยแพร่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ. 2553 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นกรรมการพิจารณาศาสนสมบัตกิ ลางประจ�า (พศป.)

งำนศึกษำ

• พ.ศ. 2519 - 2542 ครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี ประจ�าส�านัก เรียนวัดชนะสงคราม • พ.ศ. 2519 - ปัจจุบนั กรรมการตรวจประโยคนักธรรมและบาลีสนามหลวง • พ.ศ. 2535 - ปัจจุบัน กรรมการยกร่างเฉลยประโยคบาลีสนามหลวง • พ.ศ. 2546 เจ้าส�านักเรียนวัดกัลยาณมิตร จัดการศึกษาพระปริยัติ ธรรม ทั้งแผนกธรรมและแผนกบาลี แผนกบาลีเรียนภาคเช้า แผนก ธรรมเรียนภาคค�่า • พ.ศ. 2535 - ปัจจุบัน ครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประโยค ป.ธ. 8 ประจ�าโรงเรียนพระปริยัติธรรม คณะสงฆ์ส่วนกลาง (วัดสามพระยา) กรุงเทพมหานคร

P.51


เจ้าคณะภาค 14 (มหานิกาย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 14 จำานวน 4 จังหวัด ได้แก่ นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร

พระเทพสุธี (สมควร ปิยสีโล ป.ธ.9)

ที่อยู่ วัดนิมมานรดี เลขที่ 845 ถนนเพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 10160 โทรศัพท์ 0-2455-8486, 081-734-9978 ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์

• • • • • •

พ.ศ. 2530 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี พ.ศ. 2531 รองเจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี พระอารามหลวง พ.ศ. 2545 เจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี พระอารามหลวง พ.ศ. 2546 พระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2549 รองเจ้าคณะภาค 2 (มหานิกาย) พ.ศ. 2556 เจ้าคณะภาค 14 (มหานิกาย)

P.52

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ล�าดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2536 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนาม ที่ “พระศรีปริยัติเวท” • พ.ศ. 2549 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนาม ที่ “พระราชสุตาลังการ” • พ.ศ. 2556 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสถาปนา เลื่อนและแต่งตั้งสมณศักดิ์ เป็น พระเทพสุธี

ประวัติ / ชาติภูมิ

นามเดิม : สมควร อุบลไทรงาม เกิดเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2492 ณ บ้านเลขที่ 16 หมู่ที่ 11 ต.ไทรงาม อ.บางเลน จ.นครปฐม บิดาชื่อ นายเทียม อุบลไทรงาม มารดาชื่อ นางมณี อุบลไทรงาม

อุปสมบท

เมือ่ เรียนจบชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ทีโ่ รงเรียนวัดบึงลาดสวาย อ�าเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม จนกระทั้งอายุครบ 22 ปี ได้เข้ารับพิธีอุปสมบท เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2514 ณ พัทธสีมาวัด สโมสร ต�าบลไทรใหญ่ อ�าเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี โดย พระครูปัญญานนทคุณ วัดสโมสร ต�าบลไทรใหญ่ อ�าเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี เป็นพระอุปัชฌาย์ พระหวัง เขมิโย วัดเกษตราราม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระบก อุสสาโห วัดสโมสร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ เมื่อเป็นพระภิกษุ ได้มุ่งมั่นใฝ่หาความรู้ด้านพระพุทธศาสนาและศึกษาพระปริยัติธรรม ตลอดจนฝึกวิปัสสนากรรมฐานควบคู่กันไปจนเกิดปัญญาแตกฉาน เข้าใจในหลักธรรมได้อย่าง ลึกซึ้ง พ.ศ. 2516 สอบได้นักธรรม ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ณ ส�านักเรียนคณะจังหวัดนครปฐม พ.ศ. 2528 สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค ณ ส�านักเรียนวัดสุวรรณาราม เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2555 สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา

ด้านการส่งเสริมพุทธศาสนา

• เป็นประธานกรรมการศูนย์การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี เปรียญธรรม 6-9 ประโยค วัดพระพุทธบาทวรมหาวิหาร จังหวัดสระบุรี • เป็นประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนวัดนิมมานรดี • เป็นประธานกรรมการสถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน โรงเรียนวัดบึงลาดสวาย อ�าเภอบางเลน จังหวัด นครปฐม • มอบทุนทรัพย์แก่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพิธปี ระสาทปริญญาบัตรเป็น ประจ�าเสมอมา • ส่งเสริมให้พระภิกษุสามเณรในวัดนิมมานรดีให้ได้รับการศึกษาและมอบทุนการศึกษาเพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของบุคลากรให้มีความรู้ทั้งสายปริยัติและทางโลกอย่างต่อเนื่อง • มอบทุนการศึกษาและวัสดุอุปกรณ์สนับสนุนการเรียนการให้กับโรงเรียนต่างๆ เช่น โรงเรียน วัดนิมานรดี โรงเรียนราชวินิตประถมบางแค • จัดนิตยภัต(ค่าตอบแทน) ถวายแก่ครูสอนพระปริยตั ธิ รรมและแผนกบาลี เป็นประจ�าทุกเดือน • ร่วมกับคณะสงฆ์กรุงเทพมหานคร จัดกิจกรรมงานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาเนื่องใน เทศกาลวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา อย่างต่อเนื่องทุกปี • เทศนาอบรมสั่งสอนประชาชนในวันธรรมสวนะ ณ วัดนิมมานรดีอย่างสม�่าเสมอ • จัดเทศมหาชาติ เป็นประจ�าทุกปี • เป็นประธานอ�านวยการโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอ้ นเป็นประจ�าทุกปี มีนกั เรียนและ เยาวชนสมัครเข้าร่วมโครงการจ�านวนมาก • จัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานในเทศกาลเข้าพรรษาเป็นประจ�าทุกปี

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

อื่นๆ

เมื่อคราวเหตุการณ์น�้าท่วมใหญ่ ปี 2554 พระเทพสุธีได้เปลี่ยนวัด นิมมานรดีให้เป็นศูนย์ที่พักพิงของชาวบ้านที่ประสบปัญฆาอุทกภัย จ�านวนกว่า 600 คน โดยเมตตาต่อผู้ประสบเคราะห์กรรม ด้วยการ ให้ทพี่ กั พิงทีอ่ ยูอ่ าศัย ด้วยความเอือ้ อาทร อันเป็นค�าสอนของพระพุทธ ศาสนา นอกจากท่านให้ความช่วยเหลือทางด้านอาหารและที่อยู่ อาศัยแล้ว ยังให้ข้อธรรมแก่ชาวบ้าน เพื่อให้เขาเหล่านั้นมีก�าลังใจ ลุกขึ้นสู้ ไม่ท้อแท้ ไม่ยอมแพ้ต่อสิ่งที่เกิดขึ้น ให้ยอมรับความจริง ยอมรับธรรมชาติ วางแผนชีแ้ นะเพือ่ ต่อสูก้ บั วิถใี หม่หลังน�า้ ท่วม ไม่ใช่ ปล่อยตัวปล่อยใจ “น�า้ ท่วมได้ อย่าให้นา�้ ท่วมใจ ช่วยเหลือตัวเองให้ได้”

P.53


เจ้าคณะภาค 15 (มหานิกาย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 15 จำานวน 4 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ์

พระพรหมเวที (สุเทพ ผุสฺสธมฺโม ป.ธ.9)

ที่อยู่ วัดพระปฐมเจดีย์ ต�าบลพระปฐมเจดีย์ อ�าเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000 โทรศัพท์ 034-210-338 ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์

• เจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร • เจ้าคณะภาค 15

P.54

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ล�าดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2526 รับพระราชทานตัง้ สมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ สามัญ ในราชทินนาม ที่ พระศรีสุธรรมเมธี • พ.ศ. 2537 รับพระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ ราช ในราชทินนาม ที่ พระราชสุธรรมเมธี ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2542 รับพระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ เทพ ในราชทินนาม ที่ พระเทพปริยัติมุนี พุทธมหาเจดีย์วรกิจดิลก ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2547 รั บ พระราชทานเลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระราชาคณะชั้ น ธรรม ใน ราชทินนามที่ พระธรรมปริยตั เิ วที ศีลาจารวิสทุ ธิ์ พุทธมหาเจติยปูชติ ตรีปฎิ กบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2557 โปรดเกล้าฯ สถาปนาสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชัน้ หิรญ ั บัฎ ในราชทินนามที่ พระพรหมเวที ศีลาจารโสภณ วิมลปริยัติกิจประยุต พุทธมหา เจติยปูชิต ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

ประวัติ / ชาติภูมิ

นามเดิม : สุเทพ บุษบก เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 ณ บ้านเลขที่ 32 หมู่ที่ 5 ต�าบลบ้านปราโมทย์ อ�าเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

อุปสมบท

เข้าพิธอี ปุ สมบท เมือ่ วันที่ 24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2504 ณ วัดปราโมทย์ อ�าเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม โดยมี พระวิกรมมุนี (ผล อุปติสฺโส) เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดปราสาททอง เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์เล้ง ปทีโป วัดปราโมทย์ เป็นพระกรรม วาจาจารย์ พระครูสมุห์วรินทร์ วัดปราโมทย์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับนามฉายา ว่า “ผุสฺสธมฺโม” ภายหลังจากอุปสมบทแล้ว ได้ไปจ�าพรรษาที่วัดปราสาททอง จังหวัดสุพรรณบุรี เพือ่ รับการศึษาพระธรรมวินยั จากพระอุปชั ฌาย์ พรรษาแรกได้ศกึ ษาหลักสูตรธรรมวินยั แบบนวกะภูมิ ศึกษาพระอภิธรรม และเรียนวิปัสสนากัมมัฏฐาน จนสอบไล่ได้อภิธรรม ชั้นมัชฌิมตรี เรียนจบอภิธรรม 9 ปริเฉท และสอบไล่ได้นักธรรมชั้นโท ในส�านัก วัดปราสาททอง อยู่จ�าพรรษาที่วัดปราสาททอง เป็นเวลา 4 พรรษา ต่อมาปี พ.ศ. 2508 ได้ย้ายมา ศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลี ณ วัดพระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม

วิทยฐานะ

• พ.ศ. 2495 จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดปราโมทย์พิศอาด ราษฎร์อ�ารุง • พ.ศ. 2508 สอบไล่ได้อภิธรรม ชั้นอภิธรรมิกะโท ในส�านักเรียนวัดปราสาททอง • พ.ศ. 2509 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก ส�านักเรียนวัดพระปฐมเจดีย์ • พ.ศ. 2525 สอบไล่ได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค ส�านักเรียนวัดพระปฐมเจดีย์ • พ.ศ. 2536 จบการศึกษาปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา จากมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

เกียรติคุณพิเศษ

• พ.ศ. 2540 ได้รับถวายปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ศศ.บ.) จากสถาบัน ราชภัฎนครปฐม • พ.ศ. 2541 ได้รับถวายปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (พธ.ด.) จาก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • พ.ศ. 2555 ได้รบั ถวายปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการศึกษา ตลอดชีวิต และการพัฒนามนุษย์ (ศษ.ด.) จากมหาวิทยาลัยศิลปากร

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

งานปกครอง

• พ.ศ. 2518 เป็นพระกรรมวาจาจารย์ • พ.ศ. 2520 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ ตามพระบัญชาฯ ที่ 28/2520 • พ.ศ. 2527 เป็นเลขานุการวัดพระปฐมเจดีย์ • พ.ศ. 2530 เป็นพระอุปัชฌาย์ • พ.ศ. 2536 เป็นเจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ ตามพระบัญชาฯ ที่ 1/2536 • พ.ศ. 2544 เป็นรองเจ้าคณะภาค 15 ตามพระบัญชาฯ ที่ 1/2544 • พ.ศ. 2544 เป็นเจ้าคณะภาค 15 (จังหวัดราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ์) ตามพระบัญชาฯ ที่ 2/254

P.55


เจ้าคณะภาค 16 (มหานิกาย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 16 จำานวน 3 จังหวัด ได้แก่ นครศรีธรรมราช ชุมพร สุราษฎร์ธานี

พระธรรมวิมลโมลี (สงคราม อสิญาโณ ป.ธ.9)

ที่อยู่ วัดไตรธรรมาราม เลขที่ 246/1 ต�าบลตลาด อ�าเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000 โทรศัพท์ 077-283-458 ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์

• เจ้าอาวาสวัดไตรธรรมาราม • เจ้าคณะภาค 16 (มหานิกาย)

P.56

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ล�าดับสมณศักดิ์ • • • •

พ.ศ. 2537 พระศรีธรรมนาถมุนี พ.ศ. 2544 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ ที่ พระราชปริยัติบดี พ.ศ. 2547 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ ที่ พระเทพสุธี พ.ศ. 2556 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็น พระธรรมวิมลโมลี ศรีศาสนกิจ โกศล โสภณธรรมานุสิฐ ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสรบวรสังฆาราม คามวาสี

ประวัติ / ชาติภูมิ

นามเดิม : สงคราม มีพวกมาก เกิดวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2497 ณ บ้านเลขที่ 89 หมู่ที่ 4 ต�าบลไทยบุรี อ�าเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช

อุปสมบท

เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อ วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2517 ณ วัดพระอาสน์ ต�าบลไทยบุรี อ�าเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมี พระครูชิณวงศาทร เจ้าคณะอ�าเภอท่าศาลา เป็นพระอุปัชฌาย์

วิทยฐานะ

• น.ธ.เอก • ป.ธ.9 • ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย สาขา รัฐประศาสนศาสตร์

พระธรรมวิมลโมลี (สงคราม อสิญาโณ ป.ธ.9) วัดไตรธรรมาราม

ตัง้ อยูเ่ ลขที ่ 246/1 ตำาบลตลาด อำาเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ทีด่ นิ 6 ไร่ 2 งาน โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 1776 และ 17756 อาณาเขต ทิศเหนือจดถนนปรีดาราษฎร์และบ้านราษฎร ทิศใต้จดหมู่บ้าน ทิศตะวันออกจด ถนนตลาดใหม่ ทิศตะวันตก จดถนนหน้าเมือง อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ.2502 เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กทรงปั้นหยา กุฏิสงฆ์ จ�านวน 12 หลัง เป็นอาคารไม้ 3 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 7 หลัง และตึก 2 หลัง ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 15 เมตร ยาว 32 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2498 เป็น อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ นอกจากนีย้ งั มีหอประชุมสงฆ์ และหอระฆัง ปูชนียะวัตถุ มีพระพุทธรูป ปางมาร วิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 33 นิ้ว 1 องค์ พระพุทธรูปปางตรัสรู้ สร้างด้วยคอนกรีต ขนาดหน้าตักกว้าง 3 วา 2 ศอก สูง 4 วา ศอก 8 นิว้ ภายในบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ ประดิษฐานใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ นามว่า “พระโพธิพุทธคยานุสรณ์”

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.57


เจ้าคณะภาค 17 (มหานิกาย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 17 จำานวน 5 จังหวัด ได้แก่ ภูเก็ต ตรัง กระบี่ พังงา ระนอง

พระเทพกิตติเวที (ฉ�่า ปุญฺญชโย ป.ธ.9)

ที่อยู่ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ราชวรวิหาร เลขที่ 69 ถนนพระราม 5 แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 โทรศัพท์ 0-2280-3626 ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์

• พ.ศ. 2556 – ปัจจุบัน เจ้าคณะภาค 17 (มหานิกาย) • พ.ศ.2557 – ปัจจุบนั เจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสติ วนาราม ราชวรวิหาร • พ.ศ. 2558 ประธานคณะพระธรรมจาริก

P.58

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ล�าดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2537 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระครู ปลัดสัมพิพัฒนปัญญาจารย์ • พ.ศ. 2538 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระศรี ธรรมบัณฑิต • พ.ศ. 2547 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระราช กิตติโสภณ • พ.ศ. 2552 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระเทพ กิตติเวที ศีลาจารโสภิต ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

ต�าแหน่งที่เคยได้รับ

• ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม • รองเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม • ผูช้ ่วยแม่กองบาลีสนามหลวง

พระเทพกิตติเวที (ฉ�่า ปุญฺญชโย ป.ธ.9) วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม

ในปี พ.ศ. 2441 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ซื้อที่ดินระหว่างคลองผดุงกรุงเกษมจนถึงคลองสามเสน เพื่อสร้าง ที่ประทับพักผ่อนพระอิริยาบถส่วนพระองค์ โดยพระราชทานนามว่า “สวนดุสิต” (พระราชวังดุสิต ในปัจจุบัน) บริเวณที่ดินที่ทรงซื้อนั้น มีวัดโบราณ 2 แห่ง คือ วัดดุสิต ซึ่งอยู่ในสภาพทรุด โทรมโดยถูกใช้เป็นที่สร้างพลับพลาและวัดร้างอีกแห่ง ซึ่งจ�าเป็นต้องใช้ที่ดินของวัด ส�าหรับตัดเป็นถนน พระองค์จึงทรงกระท�าผาติกรรม สร้างวัดแห่งใหม่เพื่อเป็นการ ทดแทนตามประเพณี โดยทรงเลือกวัดเบญจมบพิตรเป็นวัดทีท่ รงสถาปนาตามพระ ราชด�าริวา่ การสร้างวัดใหม่หลายวัดยากต่อการบ�ารุงรักษา ถ้ารวมเงินสร้างวัดเดียว ให้เป็นวัดใหญ่ และท�าโดยฝีมือประณีตจะดีกว่า จึงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรา นุวดั ติวงศ์ เป็นผูท้ รงออกแบบก่อสร้างพระอุโบสถและถาวรวัตถุอนื่ ๆ และมีพระยา ราชสงคราม (กร หงสกุล) เป็นนายช่างก่อสร้าง เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2441 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จ เสด็จพระราชด�าเนินมายังวัด ในการนีม้ พี ระบรมราชโองการประกาศพระบรม ราชูทิศถวายที่ดินให้เป็นเขตวิสุงคามสีมาของวัด พร้อมทั้งพระราชทานนามวัดใหม่ ว่า วัดเบญจมบพิตร อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ 5 และเพื่อแสดง ล�าดับรัชกาลในมหาจักรีบรมราชวงศ์ ต่อมา พระองค์ได้ถวายที่ดินซึ่งพระองค์ขนานนามว่า ดุสิตวนาราม ให้เป็น ที่วิสุงคามสีมาเพิ่มเติมแก่วัดเบญจมบพิตร และโปรดฯ ให้เรียกนามรวมกันว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เมือ่ มีการจัดระเบียบพระอารามหลวงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ. 2458 วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามจัดเป็นพระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ดังนั้น ชื่อวัดจึงมีสร้อยนามต่อท้ายด้วย “ราชวรวิหาร” ดังเช่นในปัจจุบัน

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

• รองเจ้าคณะภาค 16 (มหานิกาย) • รองเจ้าคณะภาค 17 (มหานิกาย)

ประวัติ / ชาติภูมิ

นามเดิม : ฉ�่า เกิดวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2503 ณ บ้านเลขที่ 11 หมู่ที่ 11 บ้านป่าอ้อดอนไชย อ�าเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

อุปสมบท

ได้รับการอุปสมบท เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2524 ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพฯ โดยมี พระพุทธิวงศมุนี วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพฯ เป็น พระอุปัชฌาย์

วิทยฐานะ

• น.ธ.เอก • ป.ธ.9 • ปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) จากมหาวิทยาลัยสงฆ์ มหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย (มจร) • ศศ.บ.

P.59


เจ้าคณะภาค 18 (มหานิกาย)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร มหานิกาย ในภาค 18 จำานวน 6 จังหวัด ได้แก่ สงขลา พัทลุง สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

พระเทพสิทธิมุนี (บุญสิน อุตฺตมชาโต ป.ธ.9) ที่อยู่ วัดดุสิดาราม แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700 โทรศัพท์ 0-2433-9854

P.60

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์ • • • • • •

พ.ศ. 2530 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดดุสิดารามวรวิหาร พ.ศ. 2541 รองเจ้าคณะภาค 17 พ.ศ. 2543 พระอุปัชฌาย์ วิสามัญ พ.ศ. 2550 รองเจ้าคณะภาค 16 16 พฤศจิกายน 2552 – ปัจจุบัน เจ้าอาวาสวัดดุสิดารามวรวิหาร 30 กันยายน 2557 – ปัจจุบัน เจ้าคณะภาค 18

ล�าดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2539 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ สามัญ ที่ “พระศรีสทิ ธิเมธี” • พ.ศ. 2545 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ ราช ที่ “พระราชวรมุน”ี • พ.ศ. 2553 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ เทพ ที่ “พระเทพสิทธิมนุ ”ี

ประวัติ / ชาติภูมิ

นามเดิม : บุญสิน ขุนอุดม เกิดวันอาทิตย์ที่ 29 เมษายน 2494 ตรงกับแรม 8 ค�่า เดือน 5 ปีเถาะ ณ บ้านเลขที่ 41 หมู่ที่ 3 ต�าบลหงษ์เจริญ อ�าเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร บิดาชื่อ สาย ขุนอุดม มารดาชื่อ นิจ ขุนอุดม

บรรพชา

บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 18 เดือนเมษายน พ.ศ. 2508 ณ วัดหงษ์ปิยาราม ต�าบล หงษ์เจริญ อ�าเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร โดยมี พระครูสุพรตประสาธน์ วัดเขาแก้ว จังหวัด ชุมพร เป็นพระอุปัชฌาย์

อุปสมบท

ได้รบั การอุปสมบท เมือ่ วันที่ 16 เมษายน 2517 ณ วัดดุสดิ ารามวรวิหาร แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร โดยมี พระวิสุทธิโสภณ (ปัจจุบันคือพระธรรมญาณมุนี) วัดดุสิดารามวรวิหาร เป็นพระอุปัชฌาย์

ปริญญาที่ได้รับการถวาย

พ.ศ. 2523 สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค ส�านักเรียนวัดชนะสงคราม พ.ศ. 2540 ส�าเร็จปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิต (Ph.D.) สาขาบาลีพระพุทธศาสนา จากมหาวิทยาลัย พาราณสี ประเทศอินเดีย พ.ศ. 2543 ปริญญาโท (M.A.) จากมหาวิทยาลัยมคธ ประเทศอินเดีย

งานสอนและบรรยายพิเศษ

• อาจารย์ใหญ่ ฝ่ายการศึกษาทั้งแผนกธรรมและบาลี ส�านักเรียนวัดดุสิดาราม วรวิหาร • ครูสอนปริยัติธรรมแผนกบาลี ส�านักเรียนวัดดาวดึงษาราม กรุงเทพมหานคร, ส�านัก ศาสนศึกษาวัดใหญ่อินทาราม ชลบุรี • วิทยากรในการอบรมครูสอนพระปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรมและบาลี ณ วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บุรี และ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต • ประธานวิทยากร ในการฝึกอบรมบาลีก่อนสอบสนามหลวง ในเขตปกครองภาค 17 ณ วัดวิชิตสังฆาราม จังหวัดภูเก็ต • วิทยากรประจ�าในการปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานของยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์/ กองบัญชาการทหารสูงสุด • วิทยากรในการปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานของคณะสงฆ์ภาค 15 ณ วัดกษัตราธิราช จังหวัด พระนครศรีอยุธยา และของคณะสงฆ์จงั หวัดสระบุรี ณ วัดพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี วิทยากรในการปฏิบัติวปิ สั สนากรรมฐาน ส�าหรับเจ้าอาวาสแต่งตัง้ ใหม่ในเขตปกครอง หนใต้ ณ วัดชัยมงคล จังหวัดสงขลา • วิทยากรในการถวายความรู้เรื่อง “จิตตภาวนา” ให้คณะสงฆ์จังหวัดปทุมธานี ณ วัด เขียนเขต จังหวัดปทุมธานี

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

• วิ ท ยากรในการปฏิ บั ติ วิ ป ั ส สนากรรมฐานของคณะสงฆ์ ภ าค 1 ณ วัดอินทรวิหาร กรุงเทพมหานคร • วิ ท ยากรในการปฏิ บั ติ วิ ป ั ส สนากรรมฐาน ส� า หรั บ พระสั ง ฆาธิ ก าร ณ สถาบันส่งเสริมและพัฒนาการพระศาสนา จังหวัดราชบุรี • วิทยากรในการบรรยายธรรมน�าพระนวกะ ในเขตพระโขนง-สวนหลวงคลองเตย-ประเวศ กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2557 เข้ารับพัดและเกียรติบัตรจากส�านักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ โดยประกาศให้วัดดุสิดารามวรวิหาร เป็นส�านักวิปัสสนาดีเด่น ประจ�าปี 2557

งานการศึกษาและเผยแผ่

• อาจารย์ประจ�าวิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส จังหวัดนครปฐม • ผู้อ�านวยการวิทยาลัยสงฆ์บาฬีศึกษาพุทธโฆส จังหวัดนครปฐม • ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส จังหวัดนครปฐม • วิ ท ยากรประจ� า โครงการปฏิ บั ติ วิ ป ั ส สนากรรมฐานของพระนิ สิ ต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธ โฆษ จังหวัดนครปฐม • เป็ น ผู ้ แ สดงธรรมเทศนาประจ� า วั น พระ วั ด ดุ สิ ด ารามวรวิ ห าร กรุงเทพมหานคร • เป็นผู้แสดงพระธรรมเทศนาในวันพระและวันอาทิตย์ ณ วัดพระศรีรัตน ศาสดาราม ปีละ 2 ครั้ง

งานพิเศษอื่นๆ

• กรรมการตรวจช�าระพระไตรปิฎกฉบับเฉลิมพระเกียรติ ในมหามงคลสมัย เฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว • กรรมการตรวจช�าระหนังสืออรรถกถาภาษาบาลีฉบับสยามรัฐ เนื่องใน วโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ • กรรมการแปลพระไตรปิฎกภาษาบาลีฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นภาษาไทย • กรรมการประสานงานศูนย์สงเคราะห์และฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด • กรรมการตรวจช�าระพระไตรปิฎกฉบับเฉลิมพระเกียรติ ในมหามงคลสมัย ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

P.61


ยาทิสํวปเตพีชํตาทิสํลภเตผล� กลฺยาณการีกลฺยาณ�ปาปการีจปาปก�. “บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น ผู้ท�ากรรมดีย่อมได้ผลดี ผู้ท�ากรรมชั่วย่อมได้ผลชั่ว” (พุทฺธ)สํ.ส.๑๕/๓๓๓. P.62

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


ทำ�เนียบ : เจ้าคณะภาค ธรรมยุติกนิกาย รักษาการแทน เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต สมเด็จพระวันรัต (จุณฑ์ พฺรหฺมคุตฺโต ป.ธ.9)

• วัดบวรนิเวศ ราชวรวิหาร แขวงวัดบวร เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 • ปกครองคณะสงฆ์ นิ ก ายธรรมยุ ต ทั่ ว ประเทศ ทั้ ง หมดรวม 18 ภาค 76 จังหวัด

เจ้าคณะภาค 1-2-3-12-13 (ธรรมยุต) สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย ป.ธ.8)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุตกิ นิกาย ในภาค 1-2-3-12-13 รวม 5 ภาค จำ�นวน 19 จังหวัด 24 เขต/อำ�เภอ 49 แขวง/ตำ�บล ได้แก่ ภาค 1 (กรุงเทพมหานครสมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี) ภาค 2 (พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สระบุรีลพบุรี) ภาค 3 (สิงห์บุรี-อุทัยธานี-ชัยนาท) ภาค 12 (ปราจีนบุรี-สระแก้ว นครนายก-ฉะเชิงเทรา) ภาค 13 (ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด)

เจ้าคณะภาค 4-5-6-7 (ธรรมยุต) พระพรหมเมธี (จำ�นงค์ ธมฺมจารี)

• ปกครองพระภิ ก ษุ - สามเณร ธรรมยุ ติ ก นิ ก าย ในภาค 4-5-6-7 รวม 4 ภาค จำ�นวน 17 จังหวัด 15 อำ�เภอ 60 ตำ�บล ได้แก่ ภาค 4 (นครสวรรค์, เพชรบูรณ์, กำ�แพงเพชร-พิจิตร) ภาค 5 (พิษณุโลก-อุตรดิตถ์, สุโขทัย-ตาก) ภาค 6 (ลำ�ปาง-แพร่, พะเยา-น่าน, เชียงราย) ภาค 7 (เชียงใหม่-ลำ�พูน-แม่ฮ่องสอน)

เจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) พระธรรมเจติยาจารย์ (บุญเรือง ปุญฺญโชโต)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 8 จำ�นวน 5 จังหวัด 44 อำ�เภอ 165 ตำ�บล ได้แก่ อุดรธานี เลย หนองคาย สกลนคร หนองบัวลำ�ภู

เจ้าคณะภาค 9 (ธรรมยุต) พระธรรมดิลก (สมาน สุเมโธ ป.ธ.9)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 9 จำ�นวน 4 จังหวัด 33 อำ�เภอ 119 ตำ�บล ได้แก่ ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

เจ้าคณะภาค 10 (ธรรมยุต) พระธรรมฐิติญาณ (ศรีจันทร์ ปุญฺญรโต น.ธ.เอก)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 10 จำ�นวน 6 จังหวัด 55 อำ�เภอ 87 ตำ�บล ได้แก่ อุบลราชธานี ยโสธร นครพนม มุกดาหาร อำ�นาจเจริญ ศรีสะเกษ

เจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต) พระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 11 จำ�นวน 4 จังหวัด 29 อำ�เภอ 51 ตำ�บล ได้แก่ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์

เจ้าคณะภาค 14-15 (ธรรมยุต) พระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุตกิ นิกาย ในภาค 14-15 รวม 2 ภาค จำ�นวน 8 จังหวัด 9 อำ�เภอ 13 ตำ�บล ได้แก่ ภาค 14 (นครปฐม-สุพรรณบุรี –กาญจนบุรี สมุทรสาคร) ภาค 15 (สมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์)

เจ้าคณะภาค 16, 17, 18 (ธรรมยุต) พระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ ป.ธ.9)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 17-18-19 รวม 3 ภาค จำ�นวน 13 จังหวัด 36 อำ�เภอ 30 ตำ�บล ได้แก่ ภาค 16 (นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ชุมพร) ภาค 17 (ภูเก็ต ตรัง พังงา กระบี่ ระนอง) ภาค 18 (สงขลาสตูล, พัทลุง, ปัตตานี-ยะลา-นราธิวาส)

P.63


เจ้าคณะภาค 1-2-3-12-13 (ธรรมยุต)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 1-2-3-12-13 รวม 5 ภาค

จ�านวน 19 จังหวัด 24 เขต/อ�าเภอ 49 แขวง/ต�าบล ได้แก่ ภาค 1 (กรุงเทพมหานคร-สมุทรปราการ-นนทบุร-ี ปทุมธานี) ภาค 2 (พระนครศรีอยุธยา-อ่างทอง-สระบุร-ี ลพบุร)ี ภาค 3 (สิงห์บรุ -ี อุทยั ธานี-ชัยนาท) ภาค 12 (ปราจีนบุร-ี สระแก้ว-นครนายกฉะเชิงเทรา) ภาค 13 (ชลบุ-ระยอง-จันทบุรี-ตราด)

สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย ป.ธ.8)

ที่อยู่ วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร แขวงวัดเทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100 โทรศัพท์ 08-9135-6079 ตำาแหน่งทางคณะสงฆ์ • • • • • •

สมเด็จพระราชาคณะฝ่ายธรรมยุติกนิกาย เคยด�ารงต�าแหน่ง คณะผู้ปฏิบัติหน้าที่ในสมเด็จพระสังฆราช เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร เจ้าคณะภาค 1-2-3-12 และ 13 (ธรรมยุต) กรรมการมหาเถรสมาคม รองแม่กองธรรมสนามหลวง

P.64

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ลำาดับสมณศักดิ์ • • • • • • •

พ.ศ. 2521 เป็น พระครูปลัดอรรถจริยานุกจิ ฐานานุกรมในพระสาสนโสภณ (นิรน.ตเถร) พ.ศ. 2524 รับสถาปนาสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระอมราภิรักขิต พ.ศ. 2532 รับสถาปนาสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชธรรมสุธี พ.ศ. 2537 รับสถาปนาสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพวรเมธี พ.ศ. 2538 รับสถาปนาสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ที่ พระธรรมวรเมธี พ.ศ. 2543 รับสถาปนาสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ที่ พระพรหมเมธี พ.ศ. 2553 รับสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาคณะ ที่ สมเด็จพระธีรญาณมุนี ศรีชิน ทัตตวรางกูร วิบูลสีลาจารวิมล คณโสภณเลขาธิกร สุนทรปริยัติดิลก ตรีปิฎกวิภูษิต ธรรมยุตติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัญวาสี

ประวัติ / ชาติภมู ิ

นามเดิม : สมชาย พุกพุ่มพวง เกิดเมื่อวันพุธที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2490 เป็นชาวจังหวัดนครปฐม

บรรพชา

บรรพชาเป็นสามเณรครั้งแรก ณ วัดท่าต�าหนัก อ�าเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เมื่อ พ.ศ. 2501 โดยมี พระวินัยวงศาจารย์ เจ้าอาวาสวัดท่าต�าหนัก เป็นพระอุปัชฌาย์ บรรพชาเป็นสามเณรครั้งที่สอง ที่ วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2509 โดยมี พระธรรมธัชมุนี (เอือ้ น ชินทตฺโต) เจ้าอาวาสวัดเทพศิรนิ ทราวาส ในขณะนั้น เป็นพระอุปัชฌาย์

อุปสมบท

เข้าอุปสมบทเป็นภิกษุ ณ พัทธสีมาวัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2510 โดยมี พระธรรมธัชมุนี (เอือ้ น ชินทัตโต) เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระวินยั วงศาจารย์ เป็นพระกรรม วาจาจารย์ และพระครูวมิ ลญาณโสภณ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ จากนัน้ ได้ศกึ ษาพระปริยตั ธิ รรม จนส�าเร็จนักธรรมชั้นเอกและเปรียญธรรม 8 ประโยค

ตำาแหน่งงานปกครองคณะสงฆ์ • • • • • • • • • • •

พ.ศ. 2521 เป็นเลขานุการรองเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต) พ.ศ. 2521 - 2531 เป็นเลขานุการเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต) พ.ศ. 2521 เป็นกรรมการและเลขานุการ วัดเทพศิรินทราวาส พ.ศ. 2531 - 2541 เป็นรองเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต) พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน เป็นเจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12 - 13 (ธรรมยุต) พ.ศ. 2533 เป็นกรรมการมหาเถรสมาคม พ.ศ. 2538 เป็นกรรมการคณะสงฆ์ธรรมยุต พ.ศ. 2543 เป็นเลขาธิการคณะสงฆ์ธรรมยุต พ.ศ. 2538 เป็นพระอุปัชฌายะวิสามัญ พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน เป็นเจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส พ.ศ. 2556 เป็นคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช

หน้าทีพ่ เิ ศษ

• นอกเหนือจากต�าแหน่งหน้าที่ในการปกครองคณะสงฆ์ ตามที่ได้รับมอบหมายจากมหาเถรสมาคมแล้ว สมเด็จพระธีรญาณมุนี ยังได้บ�าเพ็ญคุณประโยชน์ไว้มากมาย เช่น การบูรณะถาวรวัตถุและเสนาสนะต่างๆ ของวัดเทพศิรินทราวาส เป็นจ�านวนมาก อีกทั้งยังได้ส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในต่างประเทศ โดยเป็นผู้ร่วมก่อตั้ง วัดพุทธดัลลัส สหรัฐอเมริกา • นอกจากนี้ ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 83 พรรษา ในปี พ.ศ. 2553 สมเด็จพระธีรญาณมุนี ได้จัดตั้ง กองทุนช่วยเหลือผู้ป่วยโรคหัวใจที่ยากไร้และขาดโอกาสเข้าถึงยา ให้แก่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลอีกด้วย • เป็นกรรมการบริหารมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ • เป็นประธานกรรมการอ�านวยการวัดพุทธดัลลัส ประเทศสหรัฐอเมริกา • เป็นผู้อุปถัมภ์โครงการเพชรยอดมงกุฎ • เป็นประธานกรรมการบริหาร ส�านักฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศ (ธรรมยุต)

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.65


เจ้�คณะภ�ค 4-5-6-7 (ธรรมยุต)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 4-5-6-7 รวม 4 ภาค

จ�านวน 17 จังหวัด 15 อ�าเภอ 60 ต�าบล ได้แก่ ภาค 4 (นครสวรรค์, เพชรบูรณ์, ก�าแพงเพชร-พิจิตร) ภาค 5 (พิษณุโลก-อุตรดิตถ์, สุโขทัย-ตาก) ภาค 6 (ล�าปาง-แพร่, พะเยา-น่าน, เชียงราย) ภาค 7 (เชียงใหม่-ล�าพูน-แม่ฮ่องสอน)

พระพรหมเมธี (จำ�นงค์ ธมฺมจ�รี)

ที่อยู่ วัดสัมพันธวงศ�ร�ม วรวิห�ร เลขที่ 579 ซอยว�นิช 1 ถนนทรงสวัสดิ์ แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมห�นคร 10100 โทรศัพท์ 0-2222-5840, 0-2622-5210 ตำ�แหน่งท�งคณะสงฆ์ • • • • •

ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศาราม วรวิหาร เจ้าคณะภาค 4-5-6-7 (ธรรมยุต) กรรมการมหาเถรสมาคม โฆษกมหาเถรสมาคม ผู้ช่วยแม่กองธรรมสนามหลวง

P.66

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ลำ�ดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2509 เป็น พระครูสงั ฆบริหาร ฐานานุกรมในพระมหารัชชมังคลาจารย์ (เทศ นิทเฺ ทสโก) • พ.ศ. 2513 เป็น พระครูปลัด ฐานานุกรมในพระเทพปัญญามุนี (เฉย ยโส) • พ.ศ. 2519 เป็นพระครูสัญญาบัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชั้นเอกในราชทินนาม พระครูวิบูลศีลวงศ์ • พ.ศ. 2524 เป็นพระครูสญั ญาบัตร ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชัน้ พิเศษในราชทินนามเดิม • พ.ศ. 2528 รับพระราชทานตัง้ สมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ สามัญ ที่ พระวิบลู ธรรมาภรณ์ • พ.ศ. 2535 รับพระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ ราช ที่ พระราชธรรมาภรณ์ สุนทรกิจสาธิต ธรรมิกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2539 รับพระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ เทพ ที่ พระเทพรัชมงคลเวที ญาณวาทีธรรมวินิต วิศิษฐกาญจนาภิเษกสาทร ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2544 รับพระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ ธรรม ที่ พระธรรมกิตติเมธี ศรีปริยตั โิ สภณ วิมลสีลาจารวราภรณ์ สุนทรอรรถสาธิต ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2553 รับพระราชทานสถาปนาสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ที่ พระพรหม เมธี สีลาจารวัตรวิมล โสภณปริยัติดิลก สาธกธรรมวิจิตร พิพิธศาสนกิจจาทร ธรรมยุตติก คณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

ประวัติ / ช�ติภมู ิ

นามเดิม : จ�านงค์ เอี่ยมอินทรา เกิดเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484 ปีมะเส็ง ณ บ้านริมน�้านครชัยศรี ปากคลองบางระทึก ต�าบลบางระทึก อ�าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

บรรพช�

อายุ 11 ขวบ โยมบิดา และโยมมารดา ได้น�าไปบรรพชา เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2495 ณ วัดราษฎร์บ�ารุง เขตบางแค กรุงเทพฯ มี พระครูวิศาลปริยัติคุณ (งาม จันทเทโว) วัดสามัคคยาราม จังหวัดปทุมธานี เป็นพระอุปัชฌาย์

อุปสมบท

ได้เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2504 ณ วัดสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ มี พระมหารัช ชมังคลาจารย์ (เทศ นิทฺเทสโก) เจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระเทพปัญญามุนี เป็นพระกรรมวาจารย์ และ พระเนกขัมมมุนี เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับ “ฉายาธมฺมจารี” มีความหมายว่า “ผู้ประพฤติธรรม”

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

ผลง�น

นอกเหนือไปจากงานคณะสงฆ์ที่ได้รับมอบหมายแล้ว พระพรหมเมธี ยังมีงานพิเศษอีกหลายอย่าง อาทิ เป็นกรรมการอ�า นวยการอนุรักษ์และ พัฒนาพุทธมณฑลฝ่ายสงฆ์ เป็นกรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการ ด�าเนินการจัดงานปฏิบตั ธิ รรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ณ พุทธมณฑล อีกทั้งได้รับแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการพิพิธภัณฑ์ ทางพระพุทธศาสนา นอกจากการท�างานด้านพระศาสนาแล้ว งานทางด้านสาธารณประโยชน์ ก็ไม่ละทิ้ง เช่น ได้จัดหาทุนเพื่ออบรมลูกเสือชาวบ้านค่ายสัมพันธวงศ์ 2 รุ่น จัดหาทุนและออกแบบสร้างเหรียญของหลวงปูแ่ หวน สุจณ ิ โณ วัดดอยแม่ปง๋ั ให้แก่ทหาร ต�ารวจ พลเรือน ที่ปฏิบัติภารกิจเพื่อชาติ โดยเฉพาะเหรียญรุ่น เราสู้ ได้รับความนิยมอย่างสูงในแวดวงนักนิยมสะสมพระเครื่อง สนองงานพระพุทธศาสนามากมาย อาทิ เป็นกรรมการสนามหลวง แผนกธรรม เป็นเลขานุการวัดสัมพันธวงศ์ เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม ประจ�าส�านักเรียนวัดสัมพันธวงศ์ เป็นผูช้ ว่ ยวัดสัมพันธวงศ์และกรรมการสงฆ์ ดูแลผลประโยชน์ของวัด เป็นเจ้าหน้าที่ส�านักงานคณะธรรมยุต อีกทั้งยังเป็นเลขานุการพิจารณาสมณศักดิ์คณะธรรมยุต เป็นเลขานุการ เจ้าคณะภาค 1-2-3 และ 12-13 (ธรรมยุต) ด้วย พระพรหมเมธี เป็นพระมหาเถระผู้มีน�้าใจงดงาม เป็นแบบอย่างของผู้มี ความกตัญญูกตเวทิตาอันประเสริฐ ในโอกาสส�าคัญของทุกปี จะต้องจัดงาน บ�าเพ็ญกุศลขึ้นเป็นประจ�า เพื่ออุทิศให้แก่ผู้แรกเริ่มสถาปนาพระอารามวัด สัมพันธวงศ์ผู้บูรณปฏิสังขรณ์พระอาราม ผู้มีพระคุณและสรรพสัตว์ทั่วไป โดยถือปฏิบัติมามิได้ขาด นอกจากนี้ ยังมีความรูใ้ นวิชาโหราศาสตร์ สามารถชักน�าประชาชนทัว่ ไป ให้เข้ามาสูว่ ดั วา เป็นโอกาสให้ได้แนะน�าหลักธรรมค�าสอนในพระพุทธศาสนา มาแก้ปัญหาชีวิตและให้เข้าใจหลักธรรมมะ ด�ารงชีวิตอย่างมีคุณค่าสาระ แสดงให้ประจักษ์ถึงผลงานและคุณสมบัติต่างๆ เป็นที่ได้รับการยกย่องเชิดชู ทั้งในด้านการบริหารและด้านวิชาการ

P.67


เจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 8 จ�านวน 5 จังหวัด 44 อ�าเภอ 165 ต�าบล ได้แก่ อุดรธานี เลย หนองคาย สกลนคร หนองบัวล�าภู

พระธรรมเจติยาจารย์ (บุญเรือง ปุญฺญโชโต)

ที่อยู่ วัดพระศรีมหาธาตุ วรมหาวิหาร เลขที่ 149 ถนนพหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 โทรศัพท์ 0-2986-0832 ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์

• เจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) • เจ้าอาวาสวัดพระศรีมหาธาตุ วรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพมหานคร

ล�าดับสมณศักดิ์ • • • • •

พ.ศ. 2510 ด�ารงสมณศักดิ์ ที่ พระครูปลัดสัมพิพัฒน์วิริยาจารย์ พ.ศ. 2514 ด�ารงสมณศักดิ์ ที่ พระสุวีรญาณ พ.ศ. 2535 ด�ารงสมณศักดิ์ ที่ พระราชวิสุทธิมุนี พ.ศ. 2543 ด�ารงสมณศักดิ์ ที่ พระเทพญาณกวี พ.ศ. 2550 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ ที่ พระธรรมเจติยาจารย์

P.68

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ประวัติ / ชาติภมู ิ

เกิดเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2478 บิดาชื่อ นายสิงค์ วรคามวิชัย (เนื่องลี) มารดาชื่อ นางบุญมี วรคามวิชัย (เนื่องลี)

บรรพชา

รับการบรรพชา เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ณ วัดสว่างป่อแดง ต�าบลอุ่มเม่า อ�าเภอ ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยมี พระครูปฏิภาณธรรมคุณ วัดขวัญเมือง ต�าบลอุ่มเม่า อ�าเภอ ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระอุปัชฌาย์

อุปสมบท

เข้าพิธีอุปสมบท เมื่อ วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2498 โดยมี พระธรรมปิฏก วัดพระศรีมหาธาตุ วรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพมหานคร เป็นพระอุปัชฌาย์

การศึกษาฝ่ายสามัญ

พ.ศ. 2510 ส�าเร็จการศึกษา ศาสนศาสตรบัณฑิต วิชาเอกจิตวิทยา (ศน.บ.) จาก มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2512 สอบไล่ได้ประกาศนียบัตรประโยคครูพิเศษมัธยม ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2517 ได้รับ Diplorma in English จาก Banaras Hindu University พ.ศ. 2517 ส�าเร็จการศึกษาระดับมหาบัณฑิต สาขาปรัชญา จาก Banaras Hindu University

การศึกษาฝ่ายปริยตั ธิ รรม

พ.ศ. 2490 สอบได้นักธรรมชั้นตรี ส�านักเรียนวัดสุทธจินดา อ.เมือง จ.นครราชสีมา พ.ศ. 2492 สอบได้นักธรรมชั้นโท ส�านักเรียนวัดสุทธจินดา อ.เมือง จ.นครราชสีมา พ.ศ. 2495 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�านักเรียนวัดสุทธจินดา อ.เมือง จ.นครราชสีมา พ.ศ. 2498 สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ส�านักเรียนวัดสุทธจินดา อ.เมือง จ.นครราชสีมา พ.ศ. 2499 สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค ส�านักเรียนวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ

ประวัตใิ นทางสงฆ์

พ.ศ. 2505 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมประจ�า ส�านักเรียนวัดพระศรีมหาธาตุ กรุงเทพฯ พ.ศ. 2511 เป็นเลขานุการเจ้าคณะภาค 9-11 (ธรรมยุต) พ.ศ. 2512 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระศรีมหาธาตุ กรุงเทพฯ พ.ศ. 2515 เป็นเลขานุการผู้ปฏิบัติหน้าที่พระสังฆราช พ.ศ. 2520 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งพระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2533 ประธานกรรมการคณะพระธรรมยุตในประเทศออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ พ.ศ. 2539 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดพระศรีมหาธาตุ พ.ศ. 2540 ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดพระศรีมหาธาตุ กรุงเทพฯ

งานเผยแผ่พทุ ธศาสนาในต่างประเทศ

• เป็นพระธรรมทูตรุน่ แรกทีเ่ ข้ารับการฝึกอบรมและออกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในต่างประเทศ หลายประเทศ เช่น ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย และมีส่วนส�าคัญในการน�าเอา พระพุทธศาสนาไปเผยแผ่ จนกระทั่งสามารถตั้งมั่นในอินโดนีเซียในปัจจุบัน • พ.ศ. 2510 ได้รบั วุฒบิ ตั รผูจ้ บหลักสูตรพระธรรมทูตสายต่างประเทศวัดบวรนิเวศ กรุงเทพมหานคร • พ.ศ. 2512 ได้เดินทางไปเป็นพระธรรมทูต ทีป่ ระเทศอินโดนีเซีย โดยการนิมนต์ของพุทธสมาคม ในประเทศอินโดนีเซีย

หลักการปฏิบตั งิ าน / บริหารงาน

พระธรรมเจติยาจารย์ ยึดหลักการปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้การปฏิบตั เิ ป็นไปด้วยความเรียบร้อยปราศจาก อุปสรรค ได้รบั ความร่วมมือจากเพือ่ นร่วมงาน จากผูบ้ งั คับบัญชาและจากผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ท่าน ยึดหลัก 3 ประการ คือ หลักความอดทน หลักความเพียรพยายาม และหลักเมตตา

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.69


เจ้าคณะภาค 9 (ธรรมยุต)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 9 จ�านวน 4 จังหวัด 33 อ�าเภอ 119 ต�าบล ได้แก่ ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด

พระธรรมดิลก (สมาน สุเมโธ ป.ธ.9)

ที่อยู่ วัดป่าแสงอรุณ หมู่ 9 ต�าบลพระลับ บ้านเลิงเปือย ต�าบลพระลับ อ�าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 โทรศัพท์ 0-4322-1132, 0-4346-6192, 08-4796-7366 ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์ • • • •

เจ้าคณะภาค 9 (ธรรมยุต) เจ้าอาวาสวัดป่าแสงอรุณ (วัดพัฒนาตัวอย่าง) ที่ปรึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน เจ้าส�านักศาสนศึกษาวัดป่าแสงอรุณ

P.70

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ล�าดับสมณศักดิ์ • • • •

พ.ศ. 2524 พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2550

พระราชาคณะ ชั้น สามัญ ที่ พระศรีปริยัติเวที พระราชาคณะ ชั้น ราช ที่ พระราชวรานุวัตร พระราชาคณะ ชั้น เทพ ที่ พระเทพวรคุณ พระราชาคณะ ชั้น ธรรม ที่ พระธรรมดิลก

ประวัติ / ชาติภมู ิ

ชื่อเดิม : สมาน อุบลพิทักษ์ เกิดวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 ณ บ้านเลขที่ 105 หมู่ที่ 9 บ้านเลิงเปือย ต�าบลพระลับ อ�าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น บิดาชื่อ ไหล มารดาชื่อ อ่อน

บรรพชา

เข้าบรรพชา เมื่อ วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2502 ณ วัดศรีจันทราวาส ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยมี พระวินัยสุนทรเมธี วัดศรีจันทราวาส ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น เป็นพระอุปัชฌาย์

อุปสมบท

เข้ารับการอุปสมบท เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 ณ วัดศรีจันทราวาส ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยมี พระพิศาลสารคุณ วัดศรีจนั ทราวาส ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เป็นพระอุปัชฌาย์

วิทยฐานะ

พ.ศ. 2500 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พ.ศ. 2510 ประโยคพิเศษครูมูล พ.ศ. 2504 นักธรรมชั้นเอก พ.ศ. 2507 เปรียญธรรม 3 ประโยค พ.ศ. 2510 เปรียญธรรม 6 ประโยค พ.ศ. 2517 เปรียญธรรม 9 ประโยค พ.ศ. 2550 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาบริหารการศึกษา จากมหาวิทยาลัยภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2550 ดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพุทธศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย

ต�าแหน่งหน้าทีก่ ารงาน

พ.ศ. 2510 ก่อตั้งส�านักเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม-บาลี วัดป่าชัยวัน ขอนแก่น พ.ศ. 2513 ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดป่าชัยวัน จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2518-2521 ครูสอนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี ศูนย์ศึกษาบาลีอีสาน ธรรมยุต วัดโพธิสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2521 กรรมการประชุมตรวจประโยคนักธรรมชั้นตรี สนามหลวง คณะสงฆ์ ภาค 8-9-10-11 (ธรรมยุต) พ.ศ. 2522 รองเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น (ธรรมยุต) พ.ศ. 2526 ครูสอนพระปริยัติธรรม ส�านักศาสนศึกษาวัดป่าแสงอรุณ ขอนแก่น พ.ศ. 2528 เจ้าส�านักศาสนศึกษาดีเด่นวัดป่าแสงอรุณ ขอนแก่น พ.ศ. 2529 รักษาการแทนเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น (ธรรมยุต) พ.ศ. 2530-2537 เจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น (ธรรมยุต) พ.ศ. 2532 เป็นพระอุปัชฌาย์วิสามัญ พ.ศ. 2537 รองเจ้าคณะภาค 9 (ธรรมยุต) พ.ศ. 2538-2541 รองอธิการบดี สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน พ.ศ. 2541-2549 รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน พ.ศ. 2542 กรรมการ ฝ่ายศาสนศึกษา ของมหาเถรสมาคม/ผู้อ�านวยการศูนย์พัฒนาจิต เฉลิมพระเกียรติวัดป่าแสงอรุณ ขอนแก่น พ.ศ. 2547 กรรมการบริหารกองทุน “90 พรรษา สมเด็จพระญาณสังวร สุวัฒนมหาเถร” พ.ศ. 2549 ที่ปรึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

ต�าแหน่งงานพิเศษ

• มนตรีบวร โครงการหมู่บ้านบวร จังหวัดขอนแก่น • อาจารย์พเิ ศษ บรรยายหลักสูตรพระพุทธศาสนา ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท มหาวิทยาลัยขอนแก่น • รองประธาน มูลนิธิคณะสงฆ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • ประธาน กองทุนผู้ปฏิบัติธรรมวัดป่าแสงอรุณ ขอนแก่น • กรรมการศึกษา การศาสนาและวัฒนธรรม จังหวัดขอนแก่น • กรรมการพิเศษ วินิจฉัยอธิกรณ์แก้ปัญหาการปกครองคณะสงฆ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ธรรมยุต) • ประธาน มูลนิธิวัดป่าแสงอรุณ • ประธาน ทุนนิธพิ ฒั นาชาวไร่ชาวนาราชวรานุวตั ร วัดป่าแสงอรุณ ขอนแก่น

รางวัลทีไ่ ด้รบั

• พ.ศ. 2535, 2538 ได้รบั ประทานเกียรติบตั ร การปฏิบตั ศิ าสนกิจทีด่ มี าก ด้านการปกครอง จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ • พ.ศ. 2544 ได้รบั ประทานเกียรติบตั ร ในการปฏิบตั ภิ ารกิจพระพุทธ ศาสนาดีเด่นในด้านการศึกษา จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราชฯ • พ.ศ. 2547 ได้รับเกียรติบัตร ในการเป็นผู้อุปถัมภ์การก่อสร้าง อาคารเรียน 100 ปี สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) จากพระธรรมปริยัติโมลี เจ้าคณะภาค 9 • พ.ศ. 2543 ได้รบั ประทานเกียรติบตั ร การสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริม การเผยแผ่พระพุทธศาสนา จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราชฯ • พ.ศ. 2543 ได้รบั รางวัลดีเด่น เป็นผูส้ นับสนุนงานประชาสงเคราะห์ ดีเด่น กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม จาก นายกรัฐมนตรี • พ.ศ. 2545 ได้รับเกียรติบัตร ในฐานะผู้ร่วมเชิดชูคุณค่าและ สืบสานมรดกวัฒนธรรมไทยให้ยงั่ ยืน จากส�านักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม • พ.ศ. 2547 ได้รบั เกียรติบตั ร ในฐานะผูใ้ ห้การสนับสนุนการจัดงาน ส่งเสริมพระพุทธศาสนา เนือ่ งในเทศกาลวันวิสาขบูชาเฉลิมพระเกียรติ 12 พรรษา มหาราชินี จังหวัดขอนแก่น จา อธิบดีกรมการศาสนา • พ.ศ. 2549 ได้รบั ยกย่องเชิดชูเกียรติ จากส�านักงานเลขาธิการสภา การศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็น ครูภมู ปิ ญ ั ญาไทย ด้านปรัชญา ศาสนา และประเพณี

P.71


เจ้าคณะภาค 10 (ธรรมยุต)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 10 จ�านวน 6 จังหวัด 55 อ�าเภอ 87 ต�าบล ได้แก่ อุบลราชธานี ยโสธร นครพนม มุกดาหาร อ�านาจเจริญ ศรีสะเกษ

พระธรรมฐิติญาณ (ศรีจันทร์ ปุญฺญรโต น.ธ.เอก)

ที่อยู่ วัดบึงพระลานชัย เลขที่ 116 ถนนประชาธรรมรักษ์ ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด 45000 โทรศัพท์ 0-4351-1190

ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์ • • • • • • • • • • • • •

เจ้าคณะภาค 10 (ธรรมยุต) เจ้าอาวาสวัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด เจ้าส�านักเรียนธรรม - บาลี ตัวอย่างกรมการศาสนา เจ้าส�านักเรียนธรรม - บาลี ดีเด่นกรมการศาสนา เจ้าส�านักเรียนธรรม - บาลี ระดับจังหวัดร้อยเอ็ด ประธานกรรมการบริหารศูนย์ฝึกอบรมพระธรรมกถึกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ศ.ธ.ภ.) กรรมการคณะธรรมยุตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรรมการเถรสมาคมธรรมยุต ผู้อ�านวยการศูนย์อบรมจังหวัดร้อยเอ็ด วิทยากรประจ�าเขตการศึกษา 10 และ 11 ผู้อ�านวยการโรงเรียนเทพบัณฑิตวิทยาลัย (พระปริยัติธรรมแผนกสามัญ) อาจารย์พิเศษประจ�ามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

P.72

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ล�าดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2511 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นพระครูฐานานุกรมของพระศีลาวิสทุ ธาจารย์ (จัน่ เขโม) วัดเหนือ ต.เหนือเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ที่ พระครูวินัยธรศรีจันร์ ปุญฺญรโต • พ.ศ. 2511 ได้รบั พระราชทานตัง้ สมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญั ญาบัตรนาราชทินนาม ที่ พระครูสริ ธิ รรมโสภิต • พ.ศ. 2513 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น พระครูสญ ั ญาบัตร จอ.ชพ. ในราชทินนามเดิม • พ.ศ. 2526 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น พระครูสญ ั ญาบัตร จจ.ชพ. ในราชทินนามเดิม • พ.ศ. 2526 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนาม ที่ พระศีลวิสุทธาจารย์ • พ.ศ. 2533 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนาม ที่ พระราชสารสุธี • พ.ศ. 2538 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนาม ที่ พระเทพบัณฑิต • พ.ศ. 2546 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนาม ที่ พระธรรมฐิติญาณ

ประวัติ / ชาติภมู ิ

นามเดิม : ศรีจันทร์ ลาวะลี เกิดเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2480 ณ บ้านเลขที่ 25 หมูท่ ี่ 5 (ปัจจุบนั หมู่ 9) บ้านหนองหน่อง ต�าบลอีงอ่ ง อ�าเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัด ร้อยเอ็ด บิดาชื่อ สุวรรณ ลาวะลี มารดาชื่อ ไกร ลาวะลี

บรรพชา

เข้าพิธีบรรพชา วันที่ 15 มีนาคม 2495 ณ วัดสว่างอารมณ์ ต�าบลอีง่อง อ�าเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยมี เจ้าอธิการอ�า (พระครูจนั ทรังษีสกุ จิ ) วัดสระทอง ต�าบลอีงอ่ ง อ�าเภอจตุรพักตร พิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นพระอุปัชฌาย์

อุปสมบท

เข้ารับการอุปสมบท ณ วัดบึงพระลานชัย ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2500 โดยมี พระครูคุณสารพินิจ (แก้ว อุปติสฺโส) เจ้าอาวาสวัดบึงพระลานชัย ต่อมาเลื่อนสมณศักดิ์ เป็น พระศีลคุณวิสุทธิ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระปลัดผาด อุตฺตโม สมณศักดิ์ในภายหลังคือพระครู วิจิตรคุณาธาร วัดบึงพระลานชัย เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระมหาชาลีอาภารโณ วัดบึง • พ.ศ. 2537 คุรุสภาจังหวัดมหาสารคาม ถวายประกาศเกียรติคุณ พระลานชัย เป็นพระอนุสาวนาจารย์ บัตรเชิดชูเกียรติคุณ “ครูดีของสังคม” • พ.ศ. 2538 ได้รบั เกียรติบตั ร ปฏิบตั ศิ าสนกิจดีมากในด้านการศึกษา วิทยฐานะ จากสมเด็จพระญาณสังวร เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต / ได้รบั ปริญญา • พ.ศ. 2499 ได้ น.ธ. เอก และ ว.ก. ส�านักเรียนวัดบึงพระลานชัย จังหวัดร้อยเอ็ด ครุศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ โปรแกรมการบริหารการศึกษา จาก • พ.ศ. 2499 วุฒิบัตรภาษาอังกฤษ โรงเรียนอ�าเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด สถาบันราชภัฏบุรีรัมย์ • พ.ศ. 2500 วุฒิบัตรวาทศิลป์ โรงเรียนอ�าเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด • พ.ศ. 2539 ได้รบั เกียรติบตั รปฏิบตั ศิ าสนกิจดีมากในด้านการเผยแผ่ • พ.ศ. 2501 วุฒิบัตรสารบรรณ โรงเรียนอ�าเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด จากสมเด็จพระญาณสังวร เจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต • พ.ศ. 2503 ครู พ. โรงเรียนอ�าเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด • พ.ศ. 2540 ได้รบั เกียรติบตั รปฏิบตั ศิ าสนกิจดีมากในด้านการเผยแผ่ • พ.ศ. 2508 วุฒิบัตร โรงเรียนพระสังฆาธิการคณะธรรมยุตชั้นเจ้าคณะอ�าเภอ จากสมเด็จพระญาณสังวร เจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต • พ.ศ. 2506 ครูพเิ ศษ สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา • พ.ศ. 2541 ได้รบั เกียรติบตั รปฏิบตั ศิ าสนกิจดีมากในด้านการเผยแผ่ จากสมเด็จพระญาณสังวร เจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต เกียรติประวัติ • พ.ศ. 2542 ได้รบั เกียรติบตั รปฏิบตั ศิ าสนกิจดีมากในด้านการเผยแผ่ • พ.ศ. 2533 ได้รบั พระราชทานเสมาทองค�า จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในด้านการเผยแผ่ จากสมเด็จพระญาณสังวร เจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต ธรรมในประเทศ / ได้รับประธานเกียรติบัตร จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ • พ.ศ. 2543 ได้รบั เกียรติบตั รปฏิบตั ศิ าสนกิจดีมากในด้านการเผยแผ่ ในด้านการส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศ จากสมเด็จพระญาณสังวร เจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต • พ.ศ. 2534 ได้รับเกียรติบัตรจากสมเด็จญาณสังวร เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต ในด้านการ • พ.ศ. 2544 ได้รบั เกียรติบตั ร ปฏิบตั ศิ าสนกิจดีเด่นในด้านการบริหาร สาธารณูปการดีมาก การคณะสงฆ์ จากสมเด็จพระญาณสังวร เจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต และโล่ • พ.ศ. 2536 ได้รบั เกียรติบตั รจากสมเด็จพระญาณสังวรเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต ในด้านการศึกษา / เกียรติคณ ุ จากศูนย์เนติไทยในพระสังฆราชูปถัมภ์ (สมเด็จพระญาณสังวร ได้รบั ประกาศเกียรติคณ ุ ผูใ้ ห้การสนับสนุนช่วยเหลือการศึกษาดีเด่น จากส�านักงานประถมศึกษา สมเด็จพระสังฆราชฯ) ผูส้ นับสนุนโครงการเฉลิมพระเกียรติ ญสส.๘๘ จังหวัดร้อยเอ็ด / การจัดการศึกษาแผนกบาลี ผลการสอบได้อนั ดับที่ 1 ของจังหวัดร้อยเอ็ด (ธรรมยุต - • พ.ศ. 2545 ได้รบั เกียรติบตั รสนับสนุนส่งเสริมวัฒนธรรมวันอนุรกั ษ์ มหานิกาย) / การจัดการศึกษาแผนกบาลี ผลการสอบ ได้อันดับที่ 1 ของภาคตะวันออกเฉียง มรดกไทยจากจังหวัดร้อยเอ็ด และปริญญาศาสนศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต เหนือ (เฉพาะธรรมยุต) และอันดับที่ 3 ของประเทศ กิตติมศักดิ์ สาขาพุทธศาสตร์จากมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.73


เจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 11 จ�านวน 4 จังหวัด 29 อ�าเภอ 51 ต�าบล ได้แก่ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์

พระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร)

ที่อยู่ วัดเครือวัลย์ วรวิหาร เลขที่ 36 ถนนอรุณอัมรินทร์ แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร 10600 โทรศัพท์ 0-2891-1576

ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์

• กรรมการมหาเถรสมาคม • เจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต) • เจ้าอาวาสวัดเครือวัลย์ วรวิหาร เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร

P.74

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ล�าดับสมณศักดิ์

• พัดยศพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ พระพรหมวิสุทธาจารย์ • พ.ศ. 2518 - ได้รับแต่งตั้งให้ด�ารงฐานานุศักดิ์ ที่ พระครูวินยาภิวุฒิ ฐานานุกรมในสมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) สกลมหาสังฆปริณายก • พ.ศ. 2525 - ได้รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ พระสิริรัตนสุธี • พ.ศ. 2535 - ได้รบั พระราชทานสมณศักดิเ์ ป็นพระราชาคณะชัน้ ราช ในราชทินนามที่ พระราชกวี ศรีธรรมวิภูษิต ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2541 - ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ พระเทพกวี ศรีวิสุทธินายก ตรีปิฎกประสาธนกิจ ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2544 - ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนามที่ พระธรรมวราภรณ์ สุนทรธรรมภาณี ตรีปฎิ กวจนาลังการ ศาสนภารธุราทร ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2556 - ได้รับการสถาปนาสมณศักดิ์ขึ้นเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ในราชทินนามที่ พระพรหมวิสทุ ธาจารย์ วาสนภิธานวรางกูร วิบลู สีลาจารวัตรวิมล โสภณปริยตั ดิ ลิ ก ตรีปิฎกคุณาภรณ์ ธรรมยุติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

ประวัติ / ชาติภมู ิ

นามเดิม : มนตรี บุญถม เกิดเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484 (วันเสาร์ ขึ้น 5 ค�่า เดือน 3 ปีมะโรง) ณ บ้านเลขที่ 36 หมู่ 4 ต�าบลโคกสลุด อ�าเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี

บรรพชา

เข้ารับการบรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2502 ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมา รามราชวรวิหาร ถนนเฟื่องนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

อุปสมบท

อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมือ่ วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2504 ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ถนนเฟื่องนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยมี พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ต่อมาได้รับพระมหากรุณาโปรดสถาปนาเป็นสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ และ พระธรรมสิริวัฒน์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์)

วิทยฐานะสายสามัญ

พ.ศ. 2516 ส�าเร็จการศึกษาศาสนศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2518 ส�าเร็จการศึกษาปริญญามหาบัณฑิต สาขาวรรณคดีอังกฤษ มหาวิทยาลัยพนารัสฮินดู ประเทศอินเดีย

วิทยฐานะพระปริยตั ธิ รรม

พ.ศ. 2501 สอบประโยค ป.ธ.5 ได้ ส�านักเรียนวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร

ต�าแหน่งการปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2553

ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร รองเจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต) เจ้าอาวาสวัดเครือวัลย์ วรวิหาร กรุงเทพมหานคร กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค 11 (ธรรมยุต)

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

P.75


เจ้ำคณะภำค 14-15 (ธรรมยุต)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 14-15 รวม 2 ภาค จ�านวน 8 จังหวัด 9 อ�าเภอ 13 ต�าบล

ได้แก่ ภาค 14 (นครปฐม-สุพรรณบุรี-กาญจนบุรี สมุทรสาคร) ภาค 15 (สมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์)

พระพรหมมุนี (สุชิน อคฺคชิโน)

ที่อยู่ วัดรำชบพิธสถิตมหำสีมำรำม รำชวรวิหำร เลขที่ 2 ถนนเฟื่องนคร แขวงวัดรำชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหำนคร 10200 โทรศัพท์ 0-2222-3930 ต�ำแหน่งทำงคณะสงฆ์ • • • • • •

ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค 14-15 (ธรรมยุต) รองแม่กองธรรมสนามหลวง พระอุปัชฌาย์ ประเภทวิสามัญ หัวหน้าพระธรรมทูต สายที่ 7

P.76

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ต�ำแหน่งอืน่ ๆ • • • • • • • •

กรรมการความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนา ประธานกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนมหาวิชาลงกรณราชวิทยาลัย ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนวัดราชบพิธ กรรมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยสถาบันพระพุทธศาสนา กรรมการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรมและบาลี กรรมการเผยแผ่พระธรรมในพระพุทธศาสนาตามพระราชประสงค์ กรรมการศูนย์ควบคุมการไปต่างประเทศส�าหรับพระภิกษุสามเณร (ศ.ต.ภ.) กรรมการบริหาร และกรรมการกองอ�านวยการมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ • กรรมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ

ล�ำดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2516 - ได้รับแต่งตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตร ฐานานุกรมในสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (วาสน์ วาสโน) ที่ พระครูเมธังกร • พ.ศ. 2518 - ได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร ฐานานุกรมในสมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) ที่ พระครูโฆษิตสุทธสร • พ.ศ. 2519 - ได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร ฐานานุกรมในสมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) ที่ พระครูวิจารณ์ภารกิจ • พ.ศ. 2523 - ได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร ฐานานุกรมในสมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) ที่ พระครูสุตตาภิรมย์ • พ.ศ. 2528 - ได้รับแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระชินวงศเวที • พ.ศ. 2535 - ได้รับแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นราชที่ พระราชปฏิภาณโกศล วิมลกิจจาทร ธรรมิกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2540 - ได้รับแต่งตั้งเป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพวรเมธี ศรีปฏิภาณโกศล สุวิมลคณาทรยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2544 - ได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระราชาคณะชัน้ ธรรมที่ พระธรรมวรเมธี ศรีปริยตั นิ ายก ดิลกศาสนกิจ วิจิตรธรรมคุณาภรณ์ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2553 - ได้รับสถาปนาเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองที่ พระพรหมมุนี ศรีวาสนวรากูร วิบลู สีลาจารโสภณ โกศลปริยตั วิ ธิ าน บริหารศาสนกิจ ธรรมยุตติกคณิสสรบวรสังฆาราม คามวาสี

ประวัติ / ชำติภมู ิ

นามเดิม : สุชิน มงคลแถลง เกิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2493 ณ ต�าบลปลายกลัด อ�าเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

บรรพชำ

บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันจันทร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2504 ณ มหาพัทธสีมาวัดราชบพิธสถิต มหาสีมาราม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระนามพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสนมหาเถร) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เมือ่ ด�ารง สมณศักดิ์ที่ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์

อุปสมบท

เมื่อวันอาทิตย์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2513 ณ มหาพัทธสีมาวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร พระนามพระอุปชั ฌาย์ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสนมหาเถร) สมเด็จพระ สังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม เมือ่ ด�ารงสมณศักดิท์ ี่ สมเด็จพระพุทธ โฆษาจารย์ นามพระกรรมวาจารย์ พระธรรมสิรวิ ฒ ั น์ (กมฺพวุ ณฺโณ) เมือ่ ด�ารงสมณศักดิท์ ี่ พระสิรวิ ฒ ั น เวที และ พระราชภัทราจาร (กุวโม) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม นามพระอนุสาวนาจารย์ พระราช รัชมงคลเมธี (เขมาจาโร) เมือ่ ด�ารงสมณศักดิท์ ี่ พระครูวจิ ติ รธรรมคุณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

วิทยฐำนะ

• พ.ศ. 2510 - สอบประโยค 1-2 นักธรรมชั้นเอก • นักธรรมชั้นเอก • พุ ท ธศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาขาบริ ห ารการศึ ก ษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • ศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพุทธศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

P.77


เจ้าคณะภาค 16-17-18 (ธรรมยุต)

• ปกครองพระภิกษุ-สามเณร ธรรมยุติกนิกาย ในภาค 17-18-19 รวม 3 ภาค จ�านวน 13 จังหวัด 36 อ�าเภอ 30 ต�าบล ได้แก่ ภาค 16 (นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ชุมพร) ภาค 17 (ภูเก็ต ตรัง พังงา กระบี่ ระนอง) ภาค 18 (สงขลา-สตูล, พัทลุง, ปัตตานี-ยะลา-นราธิวาส)

พระสาสนโสภณ (พิจิตร ฐิตวณฺโณ ป.ธ.9)

ที่อยู่ วัดโสมนัส ราชวรวิหาร เลขที่ 646 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย กรุงเทพมหานคร 10100 โทรศัพท์ 0-2629-9912 ต�าแหน่งทางคณะสงฆ์

• เจ้าคณะภาค 16, 17, 18 (ธรรมยุต) • รองอธิการบดีฝ่ายกิจการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย • เจ้าอาวาสวัดโสมนัสราชวรวิหาร (พ.ศ. 2539 - ปัจจุบัน)

P.78

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ล�าดับสมณศักดิ์

• พ.ศ. 2519 - ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระศรีวิสุทธิกวี • พ.ศ. 2531 - ได้ รั บ พระราชทานสั ญ ญาบั ต รตั้ ง สมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระราชาคณะชั้ น ราชที่ พระราชวิสุทธิกวี ตรีปิฎกธรธรรมานุสิฏฐ์ ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2536 - ได้ รั บ พระราชทานสั ญ ญาบั ต รตั้ง สมณศักดิ์เ ป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพวิสุทธิกวี ศรีปริยัติดิลก ตรีปิฎกบัณฑิต ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2543 - ได้ รั บ พระราชทานสั ญ ญาบั ต รตั้ ง สมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระราชาคณะชั้ น ธรรม ที่ พระธรรมวิสุทธิกวี ศรีพุทธศาสน์โกศล โสภณธรรมวรนายก ตรีปิฎกบัณฑิต ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2552 - ได้รับพระบรมราชโองการสถาปนาสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชัน้ หิรญ ั บัฏที่ พระสาสนโสภณ วิมลญาณอดุล สุนทรศาสนดิลก สาธกธรรมวิจติ ร ตรีปฎิ กบัณฑิต ธรรมยุตติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

ชาติภมู ิ

นามเดิม : พิจิตร ถาวรสุวรรณ เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2479 ณ หมู่บ้านพังขาม อ�าเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เป็นบุตรคนโต ในจ�านวนบุตร 9 คน ของนายแก้ว และนางโผ้เลี่ยน ถาวรสุวรรณ จบชั้นประถมศึกษา ที่ โรงเรียนลือสิทธิ์วิทยา วัดธรรมประดิษฐ์ จากนั้นได้ช่วยบิดามารดาท�างาน อย่างขยันขันแข็ง ยามว่างก็จะเข้าไปฝึกวัตรปฏิบัติที่วัดธรรมประดิษฐ์ เมื่อมีอายุ 17 ปี พระอุดมศีลคุณ (เริ่ม นนฺทิโย) วัดบุรณศิริมาตุยาราม ผู้เป็นหลวงอา ในสมัยที่เป็น พระครูปลัดเถรธรรมวัฒน์ ได้นา� ไปฝากให้บวชทีว่ ดั โสมนัสวิหาร โดยถวายตัวเป็นศิษย์ของพระวินยั วงศ์เทวี (พวง ธมฺมธโร)

บรรพชา

เข้ารับการบรรพชาเป็นสามเณร เมือ่ วันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 โดย สมเด็จพระวันรัต (จับ ฐิตธมฺโม) และศึกษาเล่าเรียนจนสอบได้เปรียญ 3 ประโยค

อุปสมบท

ได้เข้ารับการอุปสมบท ณ วัดโสมนัสวิหาร เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2499 โดยมี สมเด็จพระ วันรัต (จับ ฐิตธมฺโม) ในสมัยที่ยังเป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระอมรมุนี เจ้าอาวาสวัดโสมนัส ราชวรวิหาร เป็นพระอุปัชฌาย์

การศึกษา

พ.ศ. 2499 - สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค และนักธรรมชั้นเอก (น.ธ.เอก) พ.ศ. 2500 - สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค และทรงจ�าปาฏิโมกข์ได้ พ.ศ. 2501 - สอบได้เปรียญธรรม 5 ประโยค พ.ศ. 2503 - สอบได้เปรียญธรรม 6 ประโยค พ.ศ. 2505 - สอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค พ.ศ. 2509 - สอบได้เปรียญธรรม 8 ประโยค และจบปริญญาศาสนศาสตรบัณฑิต (ศน.บ.) เกียรตินิยมอันดับ 2 จากมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. 2511 - ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูง จากส�านักฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศ (พ.ธ.ต.) พ.ศ. 2512 - สอบชิงทุนการศึกษาของสภามหามกุฏราชวิทยาลัย เพื่อไปศึกษาระดับปริญญาโทใน ประเทศอินเดีย และได้ทนุ ศึกษาขัน้ ปริญญาโท สาขาวรรณคดีสนั สกฤต แล้วได้เดินทางไปศึกษาต่อ ที่มหาวิทยาลัยพาราณสี (B.H.U.) เมืองพาราณสี รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย เป็นเวลา 2 ปี และได้ศึกษาภาษาฮินดี จนสามารถพูดภาษาฮินดีได้ พ.ศ. 2514 - สอบได้ปริญญาโท (M.A.) ทางวรรณคดีสันสกฤต และสอบได้อนุปริญญาทางภาษา ฮินดี (Dip. in Hindi) จากมหาวิทยาลัยพาราณสี ประเทศอินเดีย พ.ศ. 2517 - สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค (ป.ธ.9)

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

หน้าทีก่ ารงาน

• เขียนหนังสือพระพุทธศาสนาออกมาแล้ว 63 เรื่อง และมอบให้ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยพิมพ์ออกเผยแพร่ • เป็ น อาจารย์ ส อนกั ม มั ฏ ฐานประจ� า วั ด โสมนั ส วิ ห าร และ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เปิดสอนกรรมฐานให้แก่ภิกษุ สามเณร และประชาชนทั่วไป ทั้งในและต่างประเทศ • เป็นวิทยากรบรรยายวิชาการทางพระพุทธศาสนาตามสถาบันและ สถานที่ต่างๆ ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด • มีประสบการณ์จากการเดินทางไปดูงานพระศาสนาในต่างประเทศ มากกว่า 20 ประเทศ • เป็นอาจารย์บรรยายวิชาการทางพระพุทธศาสนาใน มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัยทั้งระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท

P.79


ขออนุโมทนารวมกุศลบุญ ในการจัดทำหนังสือ “องคกรคณะบริหารสงฆ ๒๕๕๙”

พระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลำพูน

P.80

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


ความเป็นมาของสำานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจ�าชาติไทย ด้วยคนไทยส่วนใหญ่ได้เคารพ นับถือพระพุทธศาสนาเป็นสรณะแห่งชีวิต สืบต่อกันมาเป็นเวลาช้านาน นับแต่ โบราณกาลจวบจนปัจจุบันที่ชาติไทยเรามีความมั่นคง ด�ารงเอกราช มีอธิปไตย เป็นอิสระเสรีอยูไ่ ด้ตราบเท่าทุกวันนี้ ก็ดว้ ยคนในชาติยดึ มัน่ อยูใ่ นสามัคคีตามหลัก ธรรมทางพระพุทธศาสนา ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีอนั ดีงาม ซึง่ เป็นปัจจัย เสริมสร้างสามัคคีธรรมระหว่างคนในชาติ ส่วนใหญ่มีพื้นฐานมาจากพระพุทธ ศาสนา ดังนัน้ หลักธรรมค�าสัง่ สอนทางศาสนาจึงมีบทบาทส�าคัญยิง่ ต่อการพัฒนา และความมั่นคงของประเทศชาติ การบริหารกิจการพระศาสนานั้น เป็นหน้าที่ของคณะสงฆ์ตามพุทธบัญญัติ แต่ เนือ่ งจากอาณาจักรและศาสนจักรต้องประสานกันเพือ่ ความมัน่ คงของประเทศชาติ รัฐบาลในฐานะผู้รับสนองพระราชภาระของพระมหากษัตริย์ จึงเข้าไปมีส่วนร่วม ในการด�าเนินงานกิจการทางศาสนา ตามประวัตแิ ละพัฒนาการตัง้ แต่สมัยกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา จนถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มีหน่วยงานรับผิดชอบ ๓ หน่วยงานคือ กรมธรรมการ กรมสังฆการี และกรมราชบัณฑิต พ.ศ. ๒๔๓๐ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าให้ตั้ง กรมศึกษาธิการ ขึ้นดูแลโรงเรียนต่างๆ ในขณะนั้น พ.ศ. ๒๔๔๕ ประกาศใช้ “พระราชบัญญัตลิ กั ษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑” ซึ่งมีบัญญัติให้พระสงฆ์ทุกระดับ มีหน้าที่บ�ารุงการศึกษาในวัดอีกด้วย พ.ศ. ๒๔๖๒ ได้มีการเปลี่ยนชื่อ กระทรวงธรรมการ เป็น กระทรวงศึกษาธิการ และโปรดให้ย้ายกรมธรรมการ ไปรวมอยู่ในพระราชส�านักตามประเพณีเดิม ซึ่ง รวมกรมสังฆการีอยู่ด้วยกันไปสังกัดอยู่ในกระทรวงธรรมการ ทั้งนี้ “โดยที่ทรง พระราชด�าริว่า การศึกษาไม่ควรจะแยกจากวัด” พ.ศ. ๒๔๖๙ เปลี่ยนชื่อเป็น กระทรวงธรรมการ อีกครั้งหนึ่ง และย้ายกรม ธรรมการ ซึ่งรวมกรมสังฆการีอยู่ด้วยกัน ไปสังกัดอยู่ในกระทรวงธรรมการ ทั้งนี้ “โดยที่ทรงพระราชด�าริว่า การศึกษาไม่ควรจะแยกจากวัด” พ.ศ. ๒๔๘๔ ได้มปี ระกาศพระราชบัญญัตปิ รับปรุงกระทรวง ทบวง กรม เปลีย่ น ชื่อ กระทรวงธรรมการ เป็น กระทรวงศึกษาธิการ และเปลี่ยนชื่อ กรมธรรมการ เป็น กรมการศาสนา พ.ศ. ๒๕๔๕ ในวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๕ ได้มีการแบ่งส่วนราชการกรมการ ศาสนาเดิม ออกเป็น ๒ หน่วยงาน คือ กรมการศาสนา สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม และส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นหน่วยงานที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ดังปรากฏอยู่ทุกวันนี้

มหาเถรสมาคม ร่วมกับ ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จัดประชุมพระสังฆาธิการ ระดับเจ้าคณะภาค เจ้าคณะจังหวัดและผู้เกี่ยวข้อง ประจ�าปี ๒๕๕๘ ระหว่างวันที่ ๑๗ - ๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ณ หอประชุมพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

ถวายผ้าพระกฐินพระราชทานและผ้าป่า : นายพนม ศรศิลป์ ผูอ้ า� นวยการส�านักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ ถวายผ้าพระกฐินพระราชทานและผ้าป่า วัดจังหวัดชายแดนภาคใต้ ณ ศูนย์ ประชุมนานาชาติฉลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ ๖๐ ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ�าเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ตราสัญลักษณ์ ใช้ดวงตราธรรมจักรบนฐานดอกบัว เรียกว่า “ไตรรัตนจักร” (กงล้อ คือ พระรัตนตรัย) เป็น สัญลักษณ์แทนพระรัตนตรัย

• วิสัยทัศน์

“ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นองค์กร หลักในการขับเคลื่อนพระพุทธศาสนาให้มีความมั่นคง ยั่งยืน และสังคมมีความสุขด้วยหลักพุทธธรรม”

• พันธกิจ

๑. เสริมสร้างให้สถาบันและกิจการทางพระพุทธศาสนามีความมั่นคงยั่งยืน ๒. สนับสนุนส่งเสริมและจัดการการศึกษาสงฆ์ และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เพื่อพัฒนาให้มีความรู้คู่คุณธรรม ๓. จัดการศึกษาสงฆ์เพื่อผลิต และพัฒนาศาสนทายาทที่เปี่ยมปัญญาพุทธธรรม เผยแผ่ทา� นุบา� รุงพระพุทธศาสนาให้เจริญงอกงาม และร่วมสร้างสังคมพุทธธรรมทีม่ ี ความเข้มแข็ง ๔. ด�าเนินการให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาโลก

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

โครงการข้าราชการไทยไร้ทุจริต : ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ร่วมกับส�านักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) และ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ จัดกิจกรรมในโครงการข้าราชการไทยไร้ทุจริต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง เครือข่ายภาครัฐต่อต้านการทุจริตให้เข้มแข็ง ปลุกจิตส�านึกและสร้างค่านิยมต่อต้านการทุจริต แก่ขา้ ราชการและเจ้าหน้าทีข่ องรัฐจ�านวน ๖๐ คน ในการนีส้ า� นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้รบั มอบเกียรติบตั รและเข็มสัญลักษณ์เครือข่ายต่อต้านการทุจริต จากพลเอกไพบูลย์ คุม้ ฉายา รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงยุตธิ รรม ประธานในพิธมี อบเกียรติบตั รและเข็มสัญลักษณ์เครือข่ายต่อ ต้านการทุจริต ณ ตึกสันติไมตรีหลังนอก ท�าเนียบรัฐบาล

P.81


ความเป็นมาของสำานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ๕. พัฒนาการดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติให้เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธ ศาสนาและสังคม

• ยุทธศาสตร์

เพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ จึงได้ก�าหนดยุทธศาสตร์ ๖ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การเสริมสร้างเอกภาพให้กับสถาบันและกิจการทางพระพุทธ ศาสนาอย่างเป็นระบบ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การส่งเสริมการพัฒนาระบบการศึกษาสงฆ์ และการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาอย่างเป็นระบบและครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับศาสนทายาท ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การเสริมสร้างศักยภาพให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทาง พระพุทธศาสนาโลก ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การพัฒนานโยบายและเสริมสร้างศักยภาพระบบบริหารจัดการ ศาสนสมบัติ ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั ข้าราชการส�านักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติให้เป็นมืออาชีพ

• ค่านิยมหลักขององค์กร

“ส่งเสริมพุทธธรรมน�าชีวิต มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน มีจิตบริการ ประสาน สามัคคี” ส่งเสริมพุทธธรรมน�าชีวติ หมายถึง การสนับสนุน ส่งเสริมการน�าหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวันอย่างมีความสุข ชุมชนเข้มแข็ง ก่อให้ เกิดสังคมคุณธรรม มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน หมายถึง ปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ด�าเนินงานให้แล้วเสร็จตามวัตถุประสงค์และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีจติ บริการ หมายถึง เข้าใจความต้องการของผูร้ บั บริการอย่างถูกต้องและรวดเร็ว ให้บริการและช่วยเหลือผูร้ บั บริการด้วยความยิม้ แย้มแจ่มใส และกระตือรือร้นต่อการ ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ ประสานสามัคคี หมายถึง เคารพผูร้ ว่ มงาน ช่วยเหลือเกือ้ กูลกันไม่แบ่งพรรคพวก และเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

• หน้าที่ความรับผิดชอบ

ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๗ อาศัยอ�านาจตามความในมาตรา ๘ ฉ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ แผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ แผ่นดิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๓ นายกรัฐมนตรีออกกฎกระทรวงไว้ ซึ่งมีสาระหลัก ส�าคัญ ดังนี้ ๑. ให้ยกเลิก (๑) กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๙ (๒) กฎกระทรวงแบ่ ง ส่ ว นราชการส� า นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒. ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มีภารกิจเกีย่ วกับการด�าเนินงานสนองงาน คณะสงฆ์และรัฐ โดยการท�านุบ�ารุง ส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ให้การอุปถัมภ์ คุ้มครองและส่งเสริมพัฒนางานพระพุทธศาสนา ดูแล รักษา จัดการศาสนสมบัติ พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งให้การสนับสนุน ส่งเสริมพัฒนาบุคลากรทางศาสนา โดยให้มีอ�านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ด�าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยคณะสงฆ์ และกฎหมายว่าด้วยการก�าหนด วิทยฐานะผู้ส�าเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา รวมทั้งกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง

P.82

โครงการฝึกอบรม : “การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพื่อเสริมสร้างพลังแผ่นดิน” รุ่นที่ 3 ส�าหรับข้าราชการประเภททั่วไป ระดับช�านาญงาน และประเภทวิชาการ ระดับช�านาญการ ณ วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร ต�าบลบ้านหลวง อ�าเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ โดย นายพนม ศรศิลป์ ผูอ้ า� นวยการส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นประธานกล่าวรายงาน พิธีเปิด และ นางสาวประนอม คงพิกุล รองผู้อ�านวยการส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นประธานกล่าวรายงานพิธีปิดโครงการ

(๒) รับสนองงาน ประสานงาน และถวายการสนับสนุนกิจการและการบริหาร การปกครองคณะสงฆ์ (๓) เสนอแนวทางการก�าหนดนโยบายและมาตรการในการคุ้มครองพระพุทธ ศาสนา (๔) ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�านุบ�ารุงศาสนสถานและศาสนวัตถุทางพระพุทธ ศาสนา (๕) ดูแล รักษา และจัดการวัดร้างและศาสนสมบัติกลาง (๖) พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา (๗) ท�านุบ�ารุงพุทธศาสนศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม (๘) สนั บ สนุ น และส่ ง เสริ ม การเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนาทั้ ง ในประเทศและ ต่างประเทศ รวมทั้งการเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาโลก (๙) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก�าหนดให้เป็นอ�านาจหน้าที่ของส�านักงาน หรือตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ๓. ให้แบ่งส่วนราชการส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ ก. ราชการบริหารส่วนกลาง (๑) ส�านักงานเลขานุการกรม (๒) กองพุทธศาสนศึกษา (๓) กองพุทธศาสนสถาน (๔) กองส่งเสริมงานเผยแผ่พระพุทธศาสนา (๕) ส�านักงานพุทธมณฑล (๖) ส�านักงานศาสนสมบัติ (๗) ส�านักเลขาธิการมหาเถรสมาคม ข. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค (๑) ส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด ค.กลุ่มงานขึ้นตรงต่อผู้อ�านวยการส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (๑) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


(๒) กลุ่มตรวจสอบภายใน (๓) ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต ๔. อ�านาจหน้าที่ของแต่ละส�านัก/ส�านักงาน/กอง ที่ส�าคัญ (๑) ส�านักงานเลขานุการกรม - ด�าเนินการเกี่ยวกับงานบริหารทั่วไปและปฏิบัติงานสารบรรณของส�านักงาน - ด�าเนินการเกี่ยวกับงานช่วยอ�านวยการและงานเลขานุการของส�านักงาน - ประชาสัมพันธ์การปฏิบัติราชการของส�านักงาน และเผยแพร่กิจกรรมความ ก้าวหน้าในงานด้านต่างๆ ของส�านักงาน - ด�าเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การงบประมาณ การพัสดุ อาคารสถาน ที่และยานพาหนะของส�านักงาน - จัดระบบงานและบริหารงานทรัพยากรบุคคลของส�านักงาน - ด�าเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและระเบียบ งานนิติกรรมและสัญญา งาน เกีย่ วกับความรับผิดในทางแพ่ง อาญา งานคดีปกครอง และงานคดีอนื่ ทีอ่ ยูใ่ นอ�านาจ หน้าที่ของส�านักงาน - จัดท�าและประสานแผนปฏิบัติงานของส�านักงานให้สอดคล้องกับนโยบายและ แผนแม่บทการส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ตั้งและจัดสรรงบประมาณศาสน สมบัติกลาง ด�าเนินการเกี่ยวกับงานโครงการพิเศษ งานความร่วมมือกับต่างประเทศ รวมทั้งเร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนงานและโครงการของ หน่วยงานในสังกัด - จัดระบบการจัดเก็บ การประมวล และการใช้ประโยชน์ข้อมูลของหน่วยงานใน สังกัดและเป็นศูนย์ข้อมูลของส�านักงาน - ด�าเนินการงานรับเรื่องราวร้องทุกข์และงานประสานราชการ (๒) กองพุทธศาสนศึกษา - ส่งเสริม สนับสนุน และด�าเนินการเกี่ยวกับการควบคุม ดูแล จัดการศึกษา วิชาการพระพุทธศาสนา การจัดการศึกษาพระปริยัติธรรม และรับผิดชอบงานการ ศึกษาของคณะสงฆ์ และการศึกษาอื่นที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา - ด� า เนิ น การเกี่ ย วกั บ การจั ด ท� า สื่ อ การเรี ย นการสอนด้ า นพระพุ ท ธศาสนา วิเคราะห์ทางวิชาการเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นแหล่งความรู้ที่เป็นระบบและ อ้างอิงได้ - ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดท�าระบบการประกันคุณภาพการศึกษาพระปริยตั ิ ธรรม - สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาทุกระดับ รวมทัง้ การนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศึกษาทุกประเภท (๓) กองพุทธศาสนสถาน - ด�าเนินการเกี่ยวกับการสร้าง การตั้ง การรวม การย้าย การยุบเลิก และการ ขอเปลี่ยนแปลงชื่อวัด การขอรับพระราชทานวิสุงคามสีมา การยกวัดร้างให้เป็นวัด ที่มีพระภิกษุอยู่จ�าพรรษาการขอพระราชทานยกวัดราษฎร์ขึ้นเป็นพระอารามหลวง และการจัดท�าทะเบียนวัด - ส่งเสริมและพัฒนาวัดให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ แหล่งภูมิปัญญา และแหล่ง ท่องเที่ยวของชุมชน - ด�าเนินการเกี่ยวกับการออกแบบก่อสร้างอาคารศาสนสถาน และอาคารศาสน สมบัติทางพระพุทธศาสนาตามที่ได้รับมอบหมาย การบูรณปฏิสังขรณ์ และการ จัดระเบียบของวัดและศาสนสถานทางพระพุทธศาสนา ให้รักษาไว้ซึ่งคุณค่าทาง ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมทางศาสนา - ด�าเนินการส�ารวจรังวัดทีด่ นิ การขอออกหนังสือส�าคัญทีด่ นิ และการตรวจสอบ ค้นคว้าหลักฐานที่ดินของวัด วัดร้าง และศาสนสมบัติกลาง - ด�าเนินการสงเคราะห์วัดที่ประสบวินาศภัย การยกเว้นภาษีอากรเพื่อการบูรณ ปฏิสังขรณ์วัดที่ยกฐานะ และส่งเสริมฐานะเป็นวัดที่มีพระภิกษุอยู่จ�าพรรษา (๔) กองส่งเสริมงานเผยแผ่พระพุทธศาสนา - เสนอแนะนโยบาย แผนแม่บท และยุทธศาสตร์การเผยแผ่พระพุทธศาสนา รวม ทั้งติดตามประเมินผล

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558

ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จัดประชุมสัมมนาขับเคลื่อนโครงการสร้างความ ปรองดองสมานฉั น ท์ โ ดยใช้ ห ลั ก ธรรมทางพุ ท ธศาสนา “หมู ่ บ ้ า นรั ก ษาศี ล 5” โดยมี เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เจ้าอาวาส วัดปากน�้า ภาษีเจริญ เป็นประธานในพิธี ณ วัดปากน�้า ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2558

- ศึกษาและพัฒนารูปแบบและวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ส่งเสริมและ สนับสนุนคณะสงฆ์ องค์กรภาคเอกชน และองค์กรภาคประชาชนในการด�าเนินงาน ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา - ด�าเนินการเกีย่ วกับงานพุทธศาสนสัมพันธ์และประสานงานกับองค์การหรือหน่วย งานต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศด้านพระพุทธศาสนา - ส่งเสริมสนับสนุน และประสานงานเกี่ยวกับการด�าเนินการให้ประเทศไทยเป็น ศูนย์กลางพระพุทธศาสนาโลก

P.83


ความเป็นมาของสำานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

การจัดประโยชน์ที่ดินวัดร้างฯ : ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จัดประชุมเชิงปฏิบัติ การ เรือ่ ง “การจัดประโยชน์ทดี่ นิ วัดร้างและศาสนสมบัตกิ ลาง ประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๕๘” โดย นายพนม ศรศิลป์ ผู้อ�านวยการส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ถวายสักการะและ กล่าวรายงานต่อ พระพรหมดิลก ประธานในพิธี มีผู้เข้าร่วมประชุม ๑๕๘ คน ประกอบด้วย ผู้อ�านวยการส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด ๗๖ จังหวัด และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้าน การจัดประโยชน์ของแต่ละจังหวัด

- ส่งเสริมและสนับสนุนเกี่ยวกับการสรรหาการปฏิบัติศาสนกิจ และการพัฒนา บุคลากรในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในประเทศและต่างประเทศ - ส่งเสริมและสนับสนุนการด�าเนินงานของหน่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนา - ประสานงานและสนับสนุนวัดไทยในต่างประเทศและคณะสงฆ์ไทยที่ไปปฏิบัติ ศาสนกิจในต่างประเทศ รวมทั้งถวายการสนับสนุนพระภิกษุชาวต่างประเทศที่มา ศึกษาและปฏิบัติธรรมในประเทศไทย (๕) ส�านักงานพุทธมณฑล - ด�าเนินการเกีย่ วกับการก่อสร้าง ดูแล บ�ารุง รักษา และบริหารกิจการพุทธมณฑล - ด�าเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการอ�านวยการจัดสร้าง พุทธมณฑลและคณะอนุกรรมการ หรือคณะท�างานที่คณะกรรมการอ�านวยการจัด สร้างพุทธมณฑลแต่งตั้ง - จัดส่งเสริม และสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ เพือ่ พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลาง ทางพระพุทธศาสนา - ด� า เนิ น การบริ ห ารจั ด การหอสมุ ด พระพุ ท ธศาสนาและพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ท าง พระพุทธศาสนา (๖) ส�านักงานศาสนสมบัติ - ศึกษา วิเคราะห์ วางระบบ ก�าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติในการจัด ประโยชน์และพัฒนารายได้ให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม - ดูแล รักษา และจัดการวัดร้างและศาสนสมบัติกลาง - ควบคุม แนะน�า และให้ความช่วยเหลือในการจัดการศาสนสมบัติของวัด - ด�าเนินการจัดเก็บรายได้และรักษาผลประโยชน์ของศาสนสมบัติตามที่ได้รับ มอบหมาย - รวบรวมข้อมูลในการจัดท�างบประมาณและจัดหารายได้ ให้เป็นไปตามงบ ประมาณศาสนสมบัติกลางประจ�าปี - เป็นส�านักงานนายทะเบียนทรัพย์สินของวัดร้างและศาสนสมบัติกลาง (๗) ส�านักเลขาธิการมหาเถรสมาคม - รับสนองงานตามพระบัญชาและพระกรณียกิจของสมเด็จพระสังฆราช

P.84

- รับสนองงานการบริหารของมหาเถรสมาคมและคณะกรรมการที่มหาเถร สมาคมแต่งตั้ง - รับสนองงานเกี่ยวกับการบริหารการปกครองคณะสงฆ์ การขอพระราชทาน สมณศักดิ์การถวายนิตยภัต และการจัดท�าทะเบียนประวัติพระสมณศักดิ์ และ พระสังฆาธิการ - ด�าเนินการและประสานงานกับคณะสงฆ์ในการลงนิคหกรรม และตรวจตรา ถวายค�าแนะน�าแก่พระภิกษุ สามเณร ที่มีอาจารไม่สมควรแก่สมณวิสัย - ด�าเนินการและประสานงานเกี่ยวกับการคุ้มครองพระพุทธศาสนา - เสนอแนวทางการก�าหนดนโยบายและมาตรการในการคุ้มครองพระพุทธ ศาสนา - จัดและสนับสนุนการศึกษาอบรมพระสังฆาธิการ - บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับความรู้ ผลงานวิจัย และวิชาการทางพระพุทธ ศาสนาแก่พระสังฆาธิการ (๘) ส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด - ศึกษา วิเคราะห์ และรายงานข้อมูลสารสนเทศด้านพระพุทธศาสนา เพื่อ ก�าหนดนโยบายในระดับจังหวัด รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไข - ติดตามและประเมินผลการด�าเนินงานตามนโยบาย แผนงาน และโครงการของ หน่วยงานในความดูแลของส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด รวมทัง้ รายงานผลการ ด�าเนินงาน ปัญหา และอุปสรรคให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ - ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�านุบ�ารุงศาสนสถานและศาสนวัตถุทางพระพุทธ ศาสนารวมทั้งดูแล รักษา และจัดการวัดร้างและศาสนสมบัติกลางในจังหวัด - ส่งเสริมและสนับสนุนให้วัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และแหล่งภูมิปัญญาของ ชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้มีศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาของ จังหวัด - ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และด้าน พุทธศาสนศึกษา รวมทั้งดูแลและควบคุมมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถาน ศึกษาในสังกัดภายในจังหวัดให้ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม และพัฒนาบุคลากรทาง พระพุทธศาสนา - รับสนองงาน ประสานงาน และสนับสนุนกิจการและการบริหารการปกครอง คณะสงฆ์ตลอดจนการด�าเนินการตามนโยบายและมาตรการในการคุม้ ครองพระพุทธ ศาสนา - ส่งเสริมและประสานการด�าเนินงานในการปฏิบัติศาสนพิธีและกิจกรรมในวัน ส�าคัญทางพระพุทธศาสนา - ปฏิบัติงานตามกฎหมายในความรับผิดชอบของส�านักงาน ซึ่งก�าหนดให้เป็น อ�านาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัดหรือตามที่ได้รับมอบหมาย

• สถานที่ติดต่อ

ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ อาคารหลวงพ่อวัดปากน�้า ต�าบลศาลายา อ�าเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๗๐ www.onab.go.th

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


ผู้บริหารสำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

นายพนม ศรศิลป์ ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

นายกนก แสนประเสริฐ รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

นางสาวประนอม คงพิกุล รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

นายชยพล พงษ์สีดา รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

นายวิโรจน์ อุ่นทรัพย์ ผู้ตรวจราชการ สนง.พระพุทธศาสนาแห่งชาติ

นายสมชาย สุรชาตรี ผู้ตรวจราชการ สนง.พระพุทธศาสนาแห่งชาติ

นายสนธยา เสนเอี่ยม ผู้ตรวจราชการ สนง.พระพุทธศาสนาแห่งชาติ

นายประสงค์ จักรค�ำ ผู้ตรวจราชการ สนง.พระพุทธศาสนาแห่งชาติ

นายสมเกียรติ ธงศรี ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม

นายวรเดช ช่างบุ ผู้อำ� นวยการ ส�ำนักงานพุทธมณฑล

นายอินทพร จั่นเอี่ยม ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานศาสนสมบัติ

นางสาวจันทนา สุทธิเรืองวงศ์ เลขานุการกรม

ฉัตรชัย ชูเชื้อ ผู้อำ� นวยการ กองพุทธศาสนสถาน

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

นายบุญเลิศ โสภา ผู้อ�ำนวยการ กองพุทธศาสนศึกษา

นายพิศาลเมธ แช่มโสภา ผู้อ�ำนวยการ สถาบันพัฒนาพระสังฆาธิการ

P.85


P.86

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

P.87


ธอส. จัดงานครบรอบวันสถาปนา 63 ปี

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) จัดงานครบรอบวันสถาปนา 63 ปี ธนาคารอาคารสงเคราะห์ วันที่ 24 กันยายน 2559 โดย คุณสุรชัย ดนัยตัง้ ตระกูล ประธานกรรมการ คุณฉัตรชัย ศิรไิ ล กรรมการผูจ้ ดั การ พร้อมด้วย คณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูงร่วมงาน ซึ่งมีกิจกรรมส�ำคัญ อาทิ พิธี ท�ำบุญตักบาตรพระสงฆ์-สามเณร 64 รูป จากวัดโบสถ์วรดิตถ์ จ.อ่างทอง และวัดพระรามเก้ากาญจนาภิเษก พร้อมจัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์ โดยมี สมเด็จพระชินวงศ์ วัดพิชยั ญาติ แทน เจ้าพระคุณสมเด็จพระ มหารัชมังคลาจารย์ ผูป้ ฏิบตั หิ น้าทีส่ มเด็จพระสังฆราช เป็นประธานสงฆ์ใน พิธี พร้อมราชาคณะและพระสงฆ์ จ�ำนวน 10 รูป เพื่อความเป็นสิริมงคล และเป็นขวัญก�ำลังใจในการท�ำงานของพนักงานและลูกจ้างธนาคาร ขณะ เดียวกัน ธอส. ยังเชิญชวนบรรดาแขกผู้มีเกียรติที่มาร่วมแสดงความยินดี ในโอกาสครบรอบวันสถาปนาร่วมท�ำบุญบริจาคเงินมอบให้แก่ วัดศรีธาตุ จ.ยโสธร เพื่อสมทบทุนบูรณะวิหารและท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา นอกจากนีธ้ นาคารยังได้จดั พิธเี ปิด สาขาสมาร์ท : GH Bank Smart Branch อย่างเป็นทางการ ซึ่งเป็นสาขารูปแบบใหม่ที่จะให้บริการด้วย อุปกรณ์เทคโนโลยีทันสมัย สอดรับกับนโยบายเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล (Digital Economy) และเป็นส่วนหนึง่ ทีจ่ ะตอกย�ำ้ ภาพลักษณ์องค์กรสูก่ าร เป็น Smart Organization โดยสาขาสมาร์ทจะเป็นเหมือนหนึ่งสาขาของธนาคารที่ให้บริการทั้ง ทางด้านการเงินและสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย พร้อมเป็นศูนย์อบรมพนักงาน ใหม่อย่างครบวงจรทุกต�ำแหน่ง และจะเปิดให้บริการในวันจันทร์ - ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 7.30 - 19.00 น. ส่วนในระยะต่อไปจะเปิดให้บริการลูกค้าใน วันเสาร์ -อาทิตย์ ซึ่งลูกค้าสามารถนัดเวลาเพื่อใช้บริการล่วงหน้าได้ ทัง้ นี้ กิจกรรมดังกล่าวจัดขึน้ ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ส�ำนักงาน ใหญ่ พระราม 9 กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2559 ที่ผ่านมา

• คณะกรรมการ, ผู้บริหาร, พนักงาน ธอส. และแขกผู้มีเกียรติ ร่วมพิธีท�ำบุญตักบาตรพระสงฆ์และสามเณร

P.88

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


• สมเด็จพระชินวงศ์ วัดพิชยั ญาติ เป็นประธานสงฆ์ ในพิธี

• ส่วนหนึ่งของแขกผู้มีเกียรติที่มาร่วมแสดงความยินดีเนื่องในโอกาส ครบรอบวันสถาปนา 63 ปี ธอส.

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

• พิธีเปิดสาขาสมาร์ท : GH Bank Smart Branch อย่างเป็นทางการ

P.89


P.90

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

P.91


คติธรรมคำ�สอน

สมเด็จพระญาณสังวร สกลมหาสังฆปริณายก สมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

กรรมของผู้ใด ผลย่อมเป็นของผู้นั้น “ในชีวิตมนุษย์.... ความเจริญรุ่งเรือง ร่มเย็นเป็นสุขก็ตาม ความตกตำ�่ ทุกข์ร้อนก็ตาม ย่อมเกิดจากกรรม ย่อมมีกรรมเป็นเหตุให้เกิด อย่างแน่นอน เสมอไป ผลดีทั้งปวง ย่อมเกิดจากกรรมดี มีกรรมดีเป็นเหตุ ผลไม่ดีทั้งปวง ย่อมเกิดจากกรรมไม่ดี มีกรรมไม่ดีเป็นเหตุ กรรมของผู้ใด ผลย่อมเป็นของผู้นั้น ผลจักไม่เป็นของผู้อื่น ผู้ใดทำ�กรรมดี ผู้นั้นย่อมจักได้รับผลดี เป็นความเจริญรุ่งเรือง ร่มเย็นเป็นสุข ผู้ใดทำ�กรรมไม่ดี ผู้นั้นย่อมได้รับผลไม่ดี เป็นความตกต่ำ� และเป็นความทุกข์ร้อน”

ความเข้าใจเรือ่ งชีวติ (ตอน) “จุดหมาย เป็นต้น แต่คนที่มีความอยากอย่างนี้จะประสบ ชีวติ ขึน้ สูงนัน้ กับมีชวี ติ ทีไ่ ม่เป็นสุข ต้องเป็นทุกข์มาก ของชีวิต” ความส�ำเร็จอย่างทีอ่ ยากได้สกั กีค่ น ต�ำแหน่งต่างๆ เสียอีกบางคนอาจจะไม่ต้องการต�ำแหน่งอะไรสูงนัก

“ชีวิตอันอุดม” เป็นจุดหมายที่พระพุทธเจ้า สอนให้ทุกคนปฏิบัติให้ถึง ถ้าจะตั้งปัญหาว่า อะไร คือชีวติ อันอุดม ก็นา่ จะต้องพิจารณากัน ค�ำว่า อุดม แปลว่า สูงสุด ชีวิตอันอุดมคือชีวิตที่สูงสุด ผลที่ ปรารถนาจะได้อย่างสูงสุดในชีวิตใช่ไหม เป็นชีวิต อย่างอุดม ถ้าเราเอาความปรารถนาเป็นเกณฑ์ อย่างนี้ก็ตอบได้ว่าไม่ใช่เกณฑ์จัดระดับชีวิตของ พระพุทธเจ้าแน่นอน เพราะแต่ละคนย่อมมีความ ปรารถนาต่างๆ กัน ทั้งเพิ่มความปรารถนาขึ้นได้ เสมอ จนถึงมีพระพุทธภาษิตตรัสไว้ว่า “แม่น�้ำ เสมอด้วยตัณหา (ความอยาก) ไม่มี” เช่นบางคนอยากเรียนให้สำ� เร็จปริญญาขัน้ นัน้ ขั้นนี้ บางคนอยากเป็นเศรษฐี บางคนอยากเป็น เจ้าเมือง อยากเป็นอธิบดี อยากเป็นผู้แทนราษฎร อยากเป็ น รั ฐ มนตรี อยากเป็ น นายกรั ฐ มนตรี

P.92

เหล่านีย้ อ่ มมีจำ� นวนจ�ำกัดจะเป็นด้วยกันทุกคนหา ได้ไหม บางทีคนทีไ่ ม่ได้คดิ ปรารถนาว่าจะเป็นก็ได้ เป็น บางคนคิดอยากและขนขวายต่างๆ มากมาย ก็ไม่ได้เป็น ต้องไปเป็นอย่างที่ไม่อยากก็มีอยู่มาก ฉะนัน้ ผลทีไ่ ด้ดว้ ยความอยากมันเป็นตัณหา จึงมิใช่เป็นเกณฑ์จัดว่าเป็นชีวิตอันอุดม เช่น ว่า เมื่อได้เป็นอย่างนั้นๆ แล้วก็เป็นอันได้ถึงขีดชีวิต อันอุดม ในทางโลกอาจจะเข้าใจกันเช่นนั้น เช่น ที่พูดว่าก�ำลังรุ่งเรือง หมายถึงอยู่ในต�ำแหน่งสูง มี ทรัพย์ มีบริวารมาก ก็วา่ ชีวติ ขึน้ ถึงขีดสูง แต่ละคน ย่อมมีขีดสูงสุดต่างกัน ขีดสูงสุดของผู้ใดก็เป็นชีวิต อันอุดมของผู้นั้น แต่ความขึ้นถึงขีดสูงสุดของชีวิต แบบนี้ ตามสายตาของท่านผู้รู้ย่อมว่าเป็นเหมือน อย่างความขึ้นของพลุ หรือความขึ้นของปรอทคน เป็นไข้ คือเป็นของชั่วคราว บางทีในขณะที่ชะตา

แต่อยากเรียนให้รมู้ ากๆ ให้สำ� เร็จขัน้ สูงๆ สิง่ อืน่ ๆ ไม่ ส�ำคัญ แต่ความมีวชิ าสูง (ทางโลก) จะหมายความว่า ชีวิตสูงขึ้นด้วยหรือไม่ อันวิชาย่อมเป็นปัจจัยอุดหนุนชีวิตขึ้นอย่าง หนึ่ง แต่จะต้องมีปัจจัยอื่นร่วมสนับสนุนอีกหลาย อย่ า ง ดั ง จะเห็ น ตั ว อย่ า ง คนที่ เ รี ย นมามี วิ ช าสู ง ๆ แต่รกั ษาตัวไม่รอด หรือ รักษาตัวให้ดตี ามสมควรไม่ได้ ทัง้ เมือ่ ได้รบั ความนับถือจากคนทัง้ หลายก็มอี ยูไ่ ม่นอ้ ย เพราะฉะนั้ น พระพุ ท ธเจ้ า ผู ้ ต รั ส รู ้ จึ ง ได้ ท รงวาง เกณฑ์ของชีวิตไว้ว่า ชีวิตมี 3 อย่างก่อน คือ ทุชีวิต ชีวติ ชัว่ ร้าย หมายถึงคนทีใ่ ช้ชวี ติ ท�ำกรรมชัว่ ร้ายต่างๆ โมฆชีวติ ชีวติ เปล่า หมายถึงคนทีป่ ล่อยให้ชวี ติ ล่วงไป เปล่าปราศจากประโยชน์ และ สุชวี ติ ชีวติ ดี หมายถึง คนทีใ่ ช้ชวี ติ ประกอบกรรมทีด่ ที ชี่ อบต่างๆ และชีวติ นี้ นี่เอง เมื่อมีมากๆ ขึ้น จะกลายเป็นชีวิตอุดมในที่สุด

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


ที่ เ ขาได้ ท� ำ ให้ ป รากฏเป็ น การงานที่ ในชาตินี้แหละ กรรมที่ทำ� ไปแล้วตั้งแต่เกิดมาเป็น ส�ำคัญในทางดีก็ได้ในทางเสียทางร้าย กรรมเก่า ส่วนกลางที่เพิ่งท�ำเสร็จลงไปใหม่ๆ เป็น ก็ได้ ในทางดี เช่น คนทีไ่ ด้ทำ� อะไรเป็นสิง่ กรรมใหม่ และกรรมที่ก�ำลังท�ำหรือที่จะท�ำก็เป็น เกื้อกูลมาก ในทางชั่ว เช่น คนที่ทำ� อะไร กรรมใหม่ ที่เลวร้ายเป็นข้อฉกรรจ์ เหล่านี้เกี่ยวแก่ ความมีชีวิตดีหรือชั่วย่อมขึ้นอยู่แก่กรรมที่ กรรมทั้งนั้น ท�ำแล้วนี้ กล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า ความขึ้นหรือลง ไม่ ต ้ อ งคิ ด ออกไปให้ ไ กลตั ว คิ ด แห่งชีวติ ย่อมแล้วแต่กรรม แต่อาจจะกล่าวว่าย่อม เข้ามาที่ตนเองก็จะเห็นว่า การงานของ แล้วแต่บุคคลด้วย เพราะบุคคลเป็นผู้ท�ำกรรมเป็น ตนเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของชีวิต คน เจ้าของกรรม สามารถทีจ่ ะละอกุศลกรรมด้วยกุศล เราทุ ก คนจะเป็ น อะไรขึ้ น มาก็ เ พราะ กรรมได้ คือสร้างกุศลกรรมขึ้นอยู่เสมอ เมื่อกุศล การงานของตน เช่น จะเป็นชาวนาก็ กรรมมีกำ� ลังแรงกว่าอกุศลกรรมจะตามไม่ทนั หรือ เพราะท�ำนา กสิกรรมเป็นการงานของ จะเป็นอโหสิกรรมไป ตนของผู้ที่เป็นชาวนา จะเป็นพ่อค้าก็ แต่ในการสร้างกุศลกรรมนั้น ย่อมขึ้นอยู่แก่ เพราะท�ำพาณิชยการคือ การค้า จะ จิตใจเป็นประการส�ำคัญ คือจะต้องมีจติ ใจประกอบ เป็นหมอก็เพราะประกอบเวชกรรม จะ ด้วยสัมมาทิฏฐิ คือความเห็นชอบ ตั้งต้นแต่เห็นว่า เป็นนักเรียนนักศึกษาก็เพราะท�ำการ อะไรเป็นบาปอกุศล อะไรเป็นบุญกุศล ตลอดถึง เรียนการศึกษา จะเป็นโจรก็เพราะท�ำ เห็นในเหตุผลแห่งทุกข์และความดับทุกข์ตามเป็น โจรกรรม ดังนี้ เป็นต้น จริง ความเห็นชอบดังนี้จะมีขึ้นก็ต้องอาศัยวิชาที่ กรรมทั้งปวงนี้ไม่ว่าดีหรือชั่วย่อม แปลว่า ความรู้ เกิดจากการท�ำ อยู่เฉยๆ จะเป็นกรรม อันค�ำที่หมายถึงความรู้ มีอยู่หลายค�ำ เช่น http://wachalife.com/blog/16537.html อะไรขึ้นมาหาได้ไม่ วิชา ปัญญา ญาณ เฉพาะค�ำว่า วิชา หมายถึงความรู้ จะเป็ น กรรมชั่ ว ก็ เ พราะท� ำ อยู ่ ดังกล่าวก็ได้ หมายถึงวิชาที่เรียนรู้ ดังที่พูดกันว่า เฉยๆ กรรมชั่วไม่เกิดขึ้นมาเองได้ แต่ เรียนวิชานั้นวิชานี้ก็ได้ ในที่นี้หมายถึงรวมๆ กันไป ท�ำกรรมชั่วรู้สึกว่าท�ำได้ง่าย เพราะมี จะเป็นความรู้โดยตรงก็ได้ จะเป็นความรู้ที่เรียน ความอยากจะท�ำ มีแรงกระตุ้นให้ท�ำ ดังที่เรียกว่าเรียนวิชาก็ได้ เมื่อหมายถึงตัวความรู้ ในเรื่องนี้พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “กรรม โดยตรงก็เป็นอย่างเดียวกับปัญญา ชั่วคนชั่วท�ำง่าย แต่คนดีทำ� ยาก” วิ ช าเป็ น องค์ ป ระกอบส� ำ คั ญ แห่ ง ชี วิ ต อี ก ฉะนัน้ ใครทีร่ สู้ กึ ว่าตนท�ำชัว่ ได้งา่ ย ข้อหนึ่ง และเมื่อพิจารณาดูแล้ว จะเห็นว่ากรรม ก็ตอ้ งเข้าใจว่า ตนเองยังเป็นคนชัว่ อยูใ่ น ทุกๆ อย่างย่อมต้องอาศัยวิชา ถ้าขาดวิชาเสียจะ เครื่องนั้น ถ้าตนเองเป็นคนดีขึ้นแล้วจะ ท�ำกรรมอะไรหาได้ไม่ คือจะต้องมีวิชาความรู้จึง ท�ำชัว่ ในเรือ่ งนัน้ ได้ยากหรือท�ำไม่ได้ ชีวติ จะท�ำอะไรได้ ทุกคนจึงต้องเรียนวิชาส�ำหรับใช้ใน ชั่วต้องเกิดจากการท�ำชั่วนี้แหละ การประกอบกรรมตามทีป่ ระสงค์ เช่น ผูท้ ปี่ ระสงค์ ส่วนกรรมดีก็เหมือนกัน อยู่เฉยๆ จะประกอบกสิกรรมก็ต้องเรียนวิชาทางกสิกรรม จะเกิ ด เป็ น กรรมดี ขึ้ น มาเองหาได้ ไ ม่ จะประกอบอาชีพทางตุลาการ หรือ ทนายความ แต่อาจรู้สึกว่าท�ำกรรมดียากจะต้องใช้ ก็ต้องเรียนวิชากฎหมาย ดังนี้เป็นต้นนี้เป็นวิชา สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ความตั้งใจความเพียรมาก แม้ในเรื่อง ความรู้ทั่วไป เมื่อครั้งดำ�รงสมณศักดิ์ที่ สมเด็จพระญาณสังวร และท่านพุทธทาส ภิกขุ ของกรรมดีพระพุทธเจ้าก็ได้ตรัสไว้ว่า วิชาอีกอย่างหนึ่ง คือ วิชาที่จะท�ำให้เป็น http://www.dhammajak.net/ “กรรมดีคนดีทำ� ง่าย แต่คนชั่วท�ำยาก” สัมมาทิฏฐิดังกล่าวมาข้างต้น ซึ่งจะเป็นเหตุให้ละ ฉะนั้ น ใครที่ ท� ำ ดี ย ากในข้ อ ใดก็ พึ ง ทราบ อกุศลกรรมด้วยกุศลกรรม และที่จะเป็นเหตุให้ละ ชีวติ อันอุดมคือชีวติ อันสูงสุดในแง่ของพระพุทธ ศาสนา คือชีวติ ทีด่ ี อันเรียกว่า สุชวี ติ หมายถึงความดี ว่าตนเองยังไม่ดีพอ ต้องส่งเสริมต้นให้ดีขึ้นขี่ด้วย ความทุกข์ที่เกิดขึ้นทางใจได้ ที่อาศัยชีวิตท�ำขึ้น ชีวิตของผู้ที่ท�ำดีจึงเรียกว่าชีวิต ความพากเพียร ท�ำกรรมดีนแี่ หละ ถ้าเกียจคร้านไม่ วิชาละอกุศลธรรมและวิชาละความทุกข์ใจนี้ ดี เมื่อท�ำดีมากชีวิตก็สูงขึ้นมากท�ำดีที่สุดชีวิตก็สูงสุด ท�ำกรรมดีอะไร ชีวิตก็เป็นโมฆะชีวิต คือชีวิตเปล่า เป็นวิชาส�ำคัญทีจ่ ะต้องเรียนให้รู้ และเป็นวิชาของ ที่เรียกว่าชีวิตอุดมนั้น องค์ประกอบของสิ่งที่ ประโยชน์ ค่าของชีวติ จึงมีได้ดว้ ยกรรมดี ท�ำกรรม พระพุทธเจ้าโดยตรง ถึงจะรูว้ ชิ าอืน่ ท่วมท้น แต่ขาด เรียกว่าความดีในชีวิตมี 4 ประการ คือ กรรม วิชา ดีมากค่าของชีวิตก็สูงมาก วิชาหลังนี้ ก็จะรักตัวรอดได้โดยยาก ชีวิตของทุกคนเกี่ยวข้องกับกรรม ทั้งที่เป็น ศี ล และ ธรรม อธิ บ ายสั้ น ๆ กรรม คื อ การงานที่ • พระนิ พ นธ์ ข องสมเด็ จ พระญาณสั ง วร ท�ำ หมายถึงการงานที่เป็นประโยชน์ต่างๆ วิชา คือ กรรมเก่า ทั้งที่เป็นกรรมใหม่ จะกล่าวว่าชีวิตเป็น สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (เจริญ ความรู้ในศิลปวิทยา ศีล คือความประพฤติที่ดี ธรรม ผลของกรรมก็ได้ สุวฑฺฒโน) สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 แห่ง ค�ำว่า กรรมเก่า กรรมใหม่ นี้ อธิบายได้หลาย กรุงรัตนโกสินทร์ คือคุณสมบัตทิ ดี่ ใี นจิตใจ ชีวติ ทีด่ จี ะต้องมีองคคุณทัง้ 4 ประการนี้ ชีวิตจะสูงขึ้นเพียงไรก็สุดแต่องคคุณทั้ง ระยะ เช่น ระยะไกล กรรมที่ท�ำแล้วในอดีตชาติ เรียกว่ากรรมเก่า กรรมที่ท�ำแล้วในปัจจุบันชาติ ******************************** สี่นี้จะสูงขึ้นเท่าไร นึกดูถงึ บุคคลในโลกทีค่ นเป็นอันมากรูจ้ กั เรียกว่า เรียกว่ากรรมใหม่ อธิบายอย่างนี้ อาจจะไกลมากไป คนมี ชื่ อ เสี ย ง ลองตรวจดู ว ่ า อะไรท� ำ ให้ เ ขาเป็ น จนคนที่ ไ ม่ เ ชื่ อ อดี ต ชาติ เ กิ ด ความคลางแคลง คนส�ำคัญขึน้ ก็จะเห็นในว่า ข้อแรกคือ กรรม การงาน ไม่เชือ่ จึงเปลีย่ นมาอธิบายระยะใกล้วา่ ในปัจจุบนั

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

P.93


คติธรรมคำ�สอน

พระพรหมวชิรญาณ กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดยานนาวา

ประเทศไทย พระพุทธ “ศาสน์” “กษัตริย์” คือ รวมเป็นทอง

P.94

คือปวงชน คือใจ เศียรเกล้า แผ่นงาม

คนใน “ชาติ” ไทยทั้งผอง เราเทิดปอง สามไตรรงค์.

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


โลกมืดมน อนธการ สังสารวัฏฏ์ ยังมีแสง ธรรมสวัสดิ์ ส่องรัศมี ในสังคม พาลชน มีคนดี อย่าท้อใจ โลกใบนี้ มีรุ่งอรุณ. พระพรหมวชิรญาณ กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดยานนาวา

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

P.95


เสาหลักเพื่อแผ่นดิน

โครงการหลักสูตรเสาหลักเพื่อแผ่นดิน ด้วยความส�ำคัญของสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ จาก การแถลงนโยบายต่อสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ ของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติและนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ ในประเด็นส�ำคัญ ๒ ประเด็นแรก ก็คือ การปกป้องและ เชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์และการรักษาความมั่นคงของรัฐ

ศุภพสิษฐ์ นวลปานวรชาติ ผู้อำ�นวยการหลักสูตรเสาหลักเพื่อแผ่นดิน

“ คนไทยทุกคนย่อมมีหน้าที่ผูกพันต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์โดยทั่วถึง โครงการเสาหลักเพื่อ แผ่นดินเป็นเพียงกิจกรรมหนึ่ง ในจำ�นวนกิจกรรมมากมาย ที่พสกนิกรชาวไทยกระทำ�ไว้ เพื่อแผ่นดินของเรา เป็นการ เสริมสร้างความร่วมมือร่วมใจ เพื่อดำ�รงไว้ซึ่งความมั่นคงแห่ง ชาติบนรากฐานความเข้มแข็งของสถาบันทั้ง 3 นั่นเอง ”

P.96

อันสืบเนือ่ งมาจากประเทศไทยในขณะนัน้ มีความขัดแย้งทางความคิด ด้านการเมืองอย่างรุนแรง เกิดความแตกแยกทางความคิดและหยั่งลึก จาก ระดับประเทศไปถึงระดับครอบครัวคนไทย รวมทั้งยังมีคนบางกลุ่มบังอาจล่วง ละเมิดสถาบันพระมหากษัตริย์ ตามมาตรา ๑๑๒ ทั้งทางลับและเปิดเผย มีการ ด�ำเนินงานต่างๆ เพือ่ บ่อนท�ำลายความมัน่ คงของสถาบันชาติ ด้วยการปลุกระดม มวลชนที่มุ่งเอาชนะฝ่ายตรงข้าม โดยไม่ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ ท�ำให้ความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง นอกจากนีภ้ ยั คุกคามซึง่ มีตอ่ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง สร้างความไม่พอใจให้แก่ประชาชนโดยรวมที่มีความ จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ดังนัน้ การสร้างความตระหนักรูใ้ ห้กบั ประชาชนทุกหมูเ่ หล่า ให้เห็นถึง ความส�ำคัญของสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ เพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็งของสถาบันทั้ง ๓ รวมทั้งการเผยแพร่พระราชกรณียกิจของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ สู่สังคมทั้งภายใน ประเทศและต่างประเทศ จึงมีความส�ำคัญยิ่ง ด้วยเหตุผลเหล่านี้ จึงเป็นที่มาของ โครงการเสาหลักเพื่อแผ่นดิน ซึ่ง เป็นโครงการทีอ่ อกแบบหลักสูตรการอบรมเพือ่ เสริมสร้างความตระหนักและเผย แพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นหลักของ ความมั่นคงแห่งชาติโดยรวม และได้ก�ำหนดกลุ่มเป้าหมายไว้หลากหลาย แต่ละ หลักสูตรจะมีเนื้อหาแตกต่างกันไป โดยมี ๓ หลักสูตร คือ ๑.หลักสูตรเสาหลักเพื่อแผ่นดิน เกียรติยศ (สกพ.) ๒.หลักสูตรเสาหลักเพื่อแผ่นดิน ผู้น�ำระดับสูงด้านการเมืองการปกครอง (สมพ.) ๓.หลักสูตรเสาหลักเพือ่ แผ่นดิน ผูน้ ำ� ระดับสูงเพือ่ ศึกษาโครงการตามแนว พระราชด�ำริ ทัง้ ๓ หลักสูตรจะเน้นการศึกษา เรียนรู้ เผยแพร่ และต่อยอด โครงการเกีย่ ว กับชาติ ศาสนา และตามแนวพระราชด�ำริ โดยก�ำหนดยุทธศาสตร์การเสริมสร้าง ความภักดีต่อสถาบันหลักด้วยการส่งเสริมภาคประชาสังคมให้มีความตระหนัก และเข้าใจในความส�ำคัญของสถาบันหลักของชาติ มุ่งการพัฒนาบุคลากรด้วย การเผยแพร่องค์ความรู้ให้แก่ผู้บริหารระดับต่างๆ จัดกิจกรรมด้านวิชาการและ การสร้างพันธมิตรด้วยการเปิดให้หน่วยงาน/องค์กรทีเ่ กีย่ วข้องเข้ามามีสว่ นร่วม ในการศึกษา เรียนรู้ เผยแพร่ และต่อยอดโครงการอันเกิดประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม การอบรมหลักสูตรเสาหลักเพือ่ แผ่นดิน มีจดุ ประสงค์ทสี่ ำ� คัญในการ เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของประเทศไทยให้มีความเข้มแข็ง ทั้งในปัจจุบันและสืบต่อไปในอนาคตอย่างถาวร

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


กิจกรรมของหลักสูตรเสาหลักเพื่อแผ่นดินเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา

• ผู้อ�ำนวยการ ผู้บริหาร คณาจารย์ และผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรเสา หลักเพือ่ แผ่นดิน เข้ากราบสักการะ พระพรหมวชิรญาณ เนือ่ งในวันวันฉลองอายุ วัฒนมงคล อายุครบ ๗๙ ปี ณ วัดยานนาวา กรุงเทพฯ

• ผูอ้ ำ� นวยการ ผูบ้ ริหาร คณาจารย์ และผูเ้ ข้ารับการอบรมหลักสูตรเสาหลัก เพือ่ แผ่นดิน ศึกษาดูงานส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กราบสักการะถวาย ผ้าไตรจีวร แด่พระมหาเถรสมาคม ทุกรูป พร้อมฟังบรรยายจากรองผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๙ ณ พุทธมณฑล จ.นครปฐม

• ผู้อำ� นวยการ ผู้บริหาร คณาจารย์ และผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรเสา หลักเพื่อแผ่นดิน ถวายภัตตาหารเพลพระภิกษุ – สามเณรอาพาธ ๑๕๐ รูป วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๙ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ กรุงเทพมหานคร

• ผู้อำ� นวยการ ผู้บริหาร คณาจารย์ และผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรเสา หลักเพื่อแผ่นดิน ฟังบรรยาย หัวข้อ “สถาบันศาสนากับความมั่นคงแห่งชาติ” โดย ศ.ดร.พระพรหมบัณฑิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย วันที่ ๘ เมษายน ๒๕๕๙ ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

• ผู้อำ� นวยการ ผู้บริหาร คณาจารย์ และผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรเสา หลักเพือ่ แผ่นดิน โครงการอบรมนักเรียนแกนน�ำรักษาศีล ๕ วันที่ ๘ มิถนุ ายน – ๙ กันยายน ๒๕๕๙ ณ วัดอมรคีรี แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร

P.97


ท้ายเล่ม

ผู้ร่วมกุศลบุญ ความสำาเร็จในการจัดทำาหนังสือ “องค์กรคณะบริหารสงฆ์ 2558” ครั้งนี้ นอกจากจะได้ รับการสนับสนุนจากผู้มีอุปการคุณทั้งหลายแล้ว หนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ ต้องขอขอบคุณ ข้อมูลอ้างอิง และภาพประกอบ จาก .http://www.alittlebuddha.com http://www.ebooks.in.th http://www.baanruenthai.com http://www.coj.go.th http://www.dhammaweekly.worldpress.com http://www.dhammavariety.com http://www.dhamma-gateway.com http://www.dhammajak.net http://www.dhammathai.org http://www.kalyanamitra.org http://www.madchima.org http://www.m-culture.go.th http://www.mcu.ac.th http://www.onab.go.th http://www.phitsanulokhotnews.com http://www.posttoday.com http://www.thainews.prd.go.th http://www.travelfortoday.com http://wikimediafoundation.org http://www.watpa.com หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน จะได้รับผลบุญกุศลร่วมกัน หนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ P.98

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์ 2558


องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์

P.99


P.100

องค์ ก รคณะบริ ห ารสงฆ์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.