สุดยอดผู้นำ 2558

Page 1

ฉบ ับพ ิเศษ

สุผู้นด�ำท้อยอด งถิ่นแห่งปี

2558

THE LEADERS OF THE YEARS

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

P. 1


P. 2

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


บทน�ำ

สารบัญ ผู้นำ� อปท. ด้านส่งเสริมเขตเศรษฐกิจพิเศษดีเด่น มลัยรัก ทองผา นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร ทรงยศ เทียนทอง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว ดร.เทอดเกียรติ ชินสรนันท์ นายกเทศมนตรีนครแม่สอด

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่นแห่งปี 2558 6 8 10

ผู้น�ำ อปท. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมดีเด่น มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก สมใจ สุวรรณศุภพนา นายกเทศมนตรีนครภูเก็ต ทัศนัย บูรณุปกรณ์ นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ สมศักดิ์ ตันติเศรณี นายกเทศมนตรีนครสงขลา เกรียงไกร ภูมิเหล่าแจ้ง นายกเทศมนตรีต�ำบลยางตลาด สเกน จันทร์ผดุงสุข นายกเทศมนตรีต�ำบลภาชี

22

ผู้น�ำ อปท. ด้านการบริหารจัดการดีเด่น ดร.กิตติ เป้าเปี่ยมทรัพย์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา

24

ผู้น�ำ อปท. ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวดีเด่น อิทธิพล คุณปลื้ม นายกเมืองพัทยา นพพร วุฒิกุล นายกเทศมนตรีเมืองหัวหิน นุกูล พรสมบูรณ์ศิริ นายกเทศมนตรีเมืองชะอ�ำ ผู้น�ำ อปท. ด้านการส่งเสริมวัฒนธรรมดีเด่น วันชัย จงสุทธานามณี นายกเทศมนตรีนครเชียงราย บังอร วิลาวัลย์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี

12 14 16 18 20

26 28 30

32 34

ประเทศไทยแบ่งโครงสร้างการบริหารราชการออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น โดยทัง้ 3 ส่วนนี้ ล้วนอยูใ่ นการควบคุมดูแลของคณะรัฐมนตรี ซึง่ หน้าทีร่ บั ผิดชอบบริหารราชการแผ่นดิน อันครอบคลุมไปถึง การก�ำหนดนโยบายเพือ่ ให้ขา้ ราชการทุกภาคส่วนน�ำไปปฏิบตั ิ เพือ่ การอ�ำนวยความสะดวกและการให้บริการสาธารณะแก่ ประชาชนตามกฎหมาย นโยบาย และค�ำสั่งของคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชา ภายใต้โครงสร้างการบริหารราชการเช่นนี้ รัฐบาลกลางได้มอบอ�ำนาจการตัดสินใจในทางการปกครอง การบริหาร การพัฒนา การดูแลทุกข์สุขของประชาชนในท้องถิ่นให้กับ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” ในรูปแบบการกระจายอ�ำนาจ มุ่งประโยชน์ ไปที่การพัฒนาศักยภาพของประชาชน และเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการบริหาร โดยมีการกระจายภารกิจ หน้าที่การงานพื้นฐานจากรัฐบาลกลางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้กระท�ำการแทนในหลายๆ ด้านด้วยกัน ดังนัน้ บทบาทของผูน้ ำ� องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ไม่วา่ จะเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกเทศมนตรีเทศบาลฯ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล หรือผูว้ า่ การท้องถิน่ รูปแบบพิเศษ จึงมีความส�ำคัญยิง่ เพราะหากผูบ้ ริหารท้องถิน่ มีวสิ ยั ทัศน์ มีความรู้ความสามารถ มีความซื่อสัตย์ สุจริต และตั้งใจท�ำงานเพื่อประชาชนอย่างแท้จริง ท้องถิ่นและประเทศชาติ ก็มีความเจริญก้าวหน้า ประชาชนอยู่กันอย่างมีความสุข ด้วยตระหนักถึงความส�ำคัญของผูน้ ำ� ท้องถิน่ เหล่านี้ “หนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์” จึงได้จดั ท�ำฉบับพิเศษ “สุดยอดผูน้ ำ� ท้องถิน่ แห่งปี 2558” เพื่อยกย่องเกียรติคุณและเผยแพร่คุณงามความดีของผู้น�ำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้คัดสรร แล้วว่ามีความโดดเด่นในแต่ละด้าน รวมจ�ำนวน 15 ท่าน ดังนี้

1. ผู้น�ำ อปท. ด้านการส่งเสริมเขตเศรษฐกิจพิเศษดีเด่น 2. ผู้น�ำ อปท. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมดีเด่น 3. ผู้น�ำ อปท. ด้านการบริหารจัดการดีเด่น 4. ผู้น�ำ อปท. ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวดีเด่น 5. ผู้น�ำ อปท. ด้านการส่งเสริมวัฒนธรรมดีเด่น

จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน

3 6 1 3 2

ท่าน ท่าน ท่าน ท่าน ท่าน

ทัง้ นี้ เพือ่ เป็นขวัญและก�ำลังใจให้กบั ผูน้ ำ� ท้องถิน่ ซึง่ มีผลงานโดดเด่นในด้านต่างๆ ได้ทำ� หน้าทีพ่ ฒ ั นาท้องถิน่ อย่างเข้มแข็ง และเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับคนรุ่นหลังต่อไป

กองบรรณาธิการ อปท.นิวส์ หนังสือพิมพ์ อปท.นิวส์ ส�ำนักงาน : เลขที่ 315/576 ชั้น 13 อาคารฟอร์จูนทาวน์ 5 ถนนสาธุประดิษฐ์ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0-2674-0084 โทรสาร 0-2674-0085 เว็บไซต์ www.opt-news.com ประธานบริหาร : ก�ำพล มหานุกูล บรรณาธิการบริหาร : ชาญวิทยา ชัยกูล บรรณาธิการข่าวภูมิภาค : ธนพล ปิยสิรานนท์ บรรณาธิการผู้พิมพ์/ผู้โฆษณา : จารึก รัตนบูรณ์ พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์ ส.พิจิตร โทรศัพท์ 0-2910-2900 โทรสาร 0-2587-5758

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

P. 3


เอไอเอสก้าวล�้ำไปอีกขั้น เปิดตัว

4.5G เชิงพาณิชย์

ใช้งานได้จริง เป็นรายแรกของโลก

“เอไอเอส” โชว์ศักยภาพ ผู้น�ำตัวจริง ด้ า นเครื อ ข่ า ยดิ จิ ทั ล อั น ดั บ หนึ่ ง ของประเทศ เปิดให้บริการ 4.5 G เชิงพาณิชย์ รายแรกของโลก ใช้งานได้จริงแล้ว บนนวัตกรรมเครือข่ายที่ดีที่สุด ด้วยความเร็วสูงสุดถึง 1 Gbps ด้วยผลส�ำเร็จจาก ความร่วมมืออันเหนียวแน่นกับพันธมิตรระดับโลก “หั ว เว่ ย ” ที่ ร ่ ว มคิ ด ค้ น และผสมผสานนวั ต กรรม เครือข่ายอัจฉริยะเข้าด้วยกัน เพือ่ มอบประสบการณ์ ชีวิตดิจิทัลเหนือชั้นยิ่งกว่า ให้กับผู้บริโภคชาวไทย ได้ ส นุ ก กั บ บริ ก าร HD วิ ดี โ อ และแอพพลิ เ คชั่ น

P. 4

โมบายอินเทอร์เน็ตล�้ำสมัย อาทิ VR, Drone, IoT พร้อมเดินหน้าสร้างมาตรฐานใหม่ให้กบั อุตสาหกรรม โทรคมนาคมของไทยยกระดับความแข็งแกร่ง ทางด้านเทคโนโลยีให้กบั ประเทศชาติ และมุง่ สนับสนุน การเติบโตของเศรษฐกิจดิจิทัล ก้าวสู่ Smart Cities เต็มตัว เอไอเอสประกาศให้บริการเครือข่าย 4.5 G เชิงพาณิชย์ อย่างเป็นทางการแล้วตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป เพื่อตอบสนองไลฟ์สไตล์คนเมืองที่นิยมเชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ส�ำหรับลูกค้าเอไอเอสที่ใช้ อุปกรณ์รองรับเทคโนโลยี LTE-U/LAA สามารถ ใช้ ง านเครื อ ข่ า ย 4.5 G ได้ โ ดยอั ต โนมั ติ ทั น ที โดยไม่ต้องท�ำการสมัคร หรือตั้งค่าใดๆ เพิ่มด้วย ค่าบริการเช่นเดียวกับแพ็กเกจปัจจุบันที่ใช้งาน

ด้วยจุดเด่นด้าน Innovative Technology ทีแ่ ตกต่าง และเหนือชั้นกว่าบนเอไอเอส 4.5 G ประกอบด้วย MIMO 4x4, Carrier Aggregation บนคลื่น 1800 MHz และ 2100 MHz รวมถึง เทคโนโลยี LTE-U/LAA (ย่อมาจาก LTE-Unlicensed/ License Assisted Access) ซึ่ ง เป็ น การรวมช่ อ งสั ญ ญาณบนคลื่น ที่ มี อ ยู ่ เข้ า กั บ คลื่ น ความถี่ ส าธารณะ ที่ ไ ม่ ต ้ อ ง ขอใบอนุญาต ส่งผลให้เอไอเอส 4.5 G สามารถ รับส่งข้อมูลได้ปริมาณมากขึ้น เร็วกว่าเครือข่าย 4G ถึง 2.3 เท่า

เผยเป็นผลงานความส�ำเร็จอีกขัน้ จากศูนย์นวัตกรรม ความร่วมมือ Joint Innovation Center หรือ JIC ระหว่างเอไอเอสและหัวเว่ย ที่ร่วมคิดค้นออกแบบ และผสมผสานนวัตกรรมเครือข่ายไร้สายอัจฉริยะ ที่ดีที่สุด มาประยุกต์ใช้ได้จริงเป็นรายแรกของโลก

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


พร้อมกันนี้ ยังประกาศให้บริการ AIS 4G ครอบคลุม ทั้ ง 77 จั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศไทยแล้ ว วั น นี้ โดย ใช้ เ วลาขยายเครื อ ข่ า ยสั้ น ที่ สุ ด เพี ย ง 3 เดื อ น หลังจากได้รบั ใบอนุญาต เมือ่ เดือน ธ.ค. 58 ทีผ่ า่ นมา นับเป็นประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของอุตสาหกรรม โทรคมนาคมของไทยและโลก ทีใ่ ช้เวลาในการขยาย เครือข่ายเร็วทีส่ ดุ เท่าทีเ่ คยมีมา เหล่านี้ สะท้อนให้เห็นถึง หัวใจทีม่ งุ่ มัน่ ของชาวเอไอเอส ในการส่งมอบบริการ 4G ที่มีคุณภาพดีที่สุดให้แก่คนไทยเสมอมา นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เอไอเอส กล่าวว่า “เครือข่ายที่ดีที่สุดจากเทคโนโลยีที่ดี ทีส่ ดุ เป็นสิง่ ทีเ่ อไอเอสยึดเป็นเป้าหมายและพันธกิจ ในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพเครื อ ข่ า ยมาโดยตลอด นับตัง้ แต่วั น แรกของการให้ บ ริ ก าร ส� ำ หรั บ การเปิ ด ตั ว เครือข่าย 4.5 G ครัง้ นีน้ บั เป็นความส�ำเร็จครัง้ ยิง่ ใหญ่ จากความร่ ว มมื อ ต่ อ เนื่ อ งกั บ “บริ ษั ท หั ว เว่ ย เทคโนโลยี” ซึ่งเป็นพันธมิตรหลักด้านเครือข่าย ผ่านศูนย์นวัตกรรมความร่วมมือ Joint Innovation Center หรือ JIC ระหว่างเอไอเอสและหัวเว่ย ที่ได้ ร่วมคิดค้นออกแบบและผสมผสานนวัตกรรมเครือข่าย ไร้สายอัจฉริยะทีด่ ที สี่ ดุ ซึง่ เอไอเอสมีความภาคภูมใิ จ เป็นอย่างยิ่ง ที่เป็นโอเปอร์เรเตอร์ไทยรายแรก ของโลก ในการน�ำเทคโนโลยีระดับโลกนี้ มามอบให้กบั ลูกค้าและประชาชนชาวไทยได้ใช้ประโยชน์เป็น ประเทศแรกก่อนใคร ทั้งนี้ เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ให้แก่ลกู ค้าเอไอเอสว่า แม้เทคโนโลยีจะมีการพัฒนา ไปอย่างไร จาก 2G สู่ 3G และ 4G เอไอเอสจะน�ำ เทคโนโลยีที่ดีที่สุด ใหม่ล่าสุด และมีคุณภาพดีที่สุด มามอบให้แก่ลกู ค้าและคนไทยเสมอ เช่นการเปิดตัว 4.5 G ในครั้งนี้” ด้ า น นายฮุย เวง ชอง หั ว หน้ า คณะผู ้ บ ริ ห าร ด้านปฏิบตั กิ าร เอไอเอส กล่าวว่า “เอไอเอส 4.5 G ถือเป็นการเปิดมิติใหม่ของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ไร้สายบนคลื่นความถี่ ด้วยความเร็วสูงสุด เท่าที่ เคยมีมาให้ประเทศไทย และในโลก ให้ลูกค้าและ ประชาชนชาวไทยได้ใช้งานอย่างเป็นทางการแล้ว โดยปัจจุบัน ประเทศไทยก�ำลังอยู่ในยุคของการ มีหลายคลื่นให้บริการ จึงต้องมีการน�ำเทคโนโลยี เครื อ ข่ า ยที่ ก ้ า วล�้ ำ มากขึ้ น อย่ า ง CA (Carrier Aggregation) เทคโนโลยีการรวมคลื่นความถี่ ตลอดจน LTE-U/LAA หรือการรวม คลื่นความถี่ปัจจุบันเข้ากับคลื่น ความถี่สาธารณะ ดังเช่น เอไอเอส 4.5G เพื่ อ พัฒนาเครือข่าย ให้มีขีด

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

ความสามารถและศักยภาพ มากยิง่ ขึน้ รวมถึงออกแบบเครือข่าย 4.5 G ให้รองรับเทคโนโลยี เครือข่ายขั้นสูง ไม่ว่าจะเป็น Upload Carrier Aggregation (CA), Download MIMO 4x4 และ Download Modulation 256QAM / Upload Download 64QAM เพื่ อ ต่ อ ยอดเครื อ ข่ า ยอั จ ฉริ ย ะ ให้ทวีคณ ู ความสามารถในการ รับส่งข้อมูลได้ในจ�ำนวนมหาศาล พร้อมๆ กัน และรับส่งข้อมูล ต่อครัง้ ได้ในปริมาณทีม่ ากขึน้ “เบื้ อ งต้ น วางแผนขยาย พื้ น ที่ ใ ห้ บ ริ ก าร 4.5 G ใน กรุงเทพฯ และหัวเมืองใหญ่ บริ เ วณพื้ น ที่ ที่ มี ก ารใช้ ง าน หนาแน่ น ภายในอาคาร และศู น ย์ ก ารค้ า อาทิ ย่ า น สยามสแควร์, ราชประสงค์ โดยมีเป้าหมายหลัก เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการใช้งาน ดาต้าให้กับลูกค้า และเสริ ม ความแข็ ง แกร่ ง ให้ กั บ เครื อ ข่ า ย 4G ของเอไอเอส ส่วนดีไวซ์ที่ รองรับเทคโนโลยี LTE-U/LAA นั้น ผู้ผลิตอุปกรณ์ ทั่ ว โลกต่ า งเริ่ ม บรรจุ เ ทคโนโลยี LTE-U/LAA เข้าไปในตัวเครื่องแล้ว และจะทยอยออกสู่ตลาด ในเร็วๆ นี้ อย่างแน่นอน “เราเชื่อมั่นว่า การมาถึงของเครือข่าย เอไอเอส 4.5 G จะเป็นตัวหลักทีช่ ว่ ยผลักดันเทรนด์แห่งอนาคต

อาทิ Internet of Things (IoT), Virtual Reality, Drone ในเมืองไทย ให้เกิดเป็นรูปธรรมได้เร็วขึน้ ทัง้ นี้ ในฐานะผูป้ ระกอบการ เราจะไม่หยุดพัฒนาเครือข่าย และบริการดิจทิ ลั ให้ลำ�้ หน้าและดียง่ิ ขึน้ เสมอ จึงอยาก ขอให้คนไทยเชื่อมั่นว่า เอไอเอสพร้อมเต็มที่ใน การร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาประเทศ และ คุณภาพชีวติ ของคนไทยในทุกๆ ด้าน จากโครงสร้าง พื้นฐานดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจดิจิทัลที่แข็งแกร่งของ ประเทศไทยต่อไป”

นายสมชัย เลิศสุทธิวงค์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เอไอเอส (กลาง) นายฮุย เวง ชอง หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านปฏิบัติการ เอไอเอส (ขวา) “บริษัทหัวเว่ยเทคโนโลยี” ซึ่งเป็นพันธมิตรหลักด้านเครือข่าย ทดสอบความแรงดีเยี่ยม

P. 5


ผู้น�ำ อปท. ด้านส่งเสริมเขตเศรษฐกิจพิเศษดีเด่น

มลัยรัก ทองผา

นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร

“ ”

สังคมน่าอยู่ การศึกษาก้าวไกล เสริมสร้างเศรษฐกิจการเกษตร และการท่องเที่ยวชายโขงเชื่อมโยงสู่อาเซียน

ที่อยู่ส�ำนักงาน

องค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร บริเวณศูนย์ราชการ ถ.วิวิธสุรการ ต.มุกดาหาร อ.เมือง จ.มุกดาหาร 49000 โทรศัพท์ 0-4261-1423

ประวัติการศึกษา

ประถมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนนาแกพิทยาคม จังหวัดนครพนม (ป.7) มัธยมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนนาแกสามัคคีวิทยา จังหวัดนครพนม ( ม.ศ. 5) ระดับปริญญาตรี : วิทยาลัยครูสกลนคร จังหวัดสกลนคร (วิทยาศาสตร์ทั่วไป/ค.บ.) ระดับปริญญาโท : มหาวิทยาลัยอีสาน จังหวัดขอนแก่น (บริหารการศึกษา)

ประวัติการท�ำงาน

อดีต : รับราชการครู ปัจจุบัน : นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด มุกดาหาร (สมัยที่ 1 ปี 2552 – 2556 และ สมัยที่ 2 ปี 2556 – ปัจจุบัน)

ประสบการณ์ / อบรม •

อบรมหลักสูตร ประกาศนียบัตรกฎหมายท้องถิ่น (รุ่นที่ 5)

P. 6

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดมุกดาหาร ผลงาน / รางวัลที่ได้รับ

ผลงานดีเด่น : โครงการทดลองให้ความร่วมมือพัฒนาการศึกษากับสถานศึกษา ในระบบ/นอกระบบทุกสังกัดในจังหวัดมุกดาหารทีไ่ ด้ทำ� บันทึกข้อตกลงความเข้าใจ (MOU)การจัดการศึกษาร่วมกับ อบจ.มุกดาหาร : โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้และพัฒนาทักษะทางด้านภาษาด้วย หนังสือมัลติมเี ดีย เพือ่ การเรียนรูเ้ รือ่ งอาเซียนและโครงการศูนย์วทิ ยาศาสตร์ประจ�ำ โรงเรียน : โครงการพัฒนาสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดและอบรมเจ้าหน้าที่ เฝ้าระวังการค้ายาเสพติดตามแนวชายแดน : โครงการส่งเสริมประเพณีและวัฒนธรรม เช่น ประกวดแข่งขันแชมป์ กลองยาวพื้นเมือง ประกวดหมอล�ำผญา ประเพณีลอยกระทงอาเซียนที่ริมฝั่งโขง มุกดาหาร • รางวัลที่ภาคภูมิใจ : ได้รับการคัดเลือกให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น ทางด้าน วัฒนธรรมระดับจังหวัด ประจ�ำปี 2556 : ได้รบั โล่ยกย่องให้เป็นองค์กรระดับประเทศทีส่ นับสนุนการจัดการศึกษา แก่โรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจ�ำ ปี 2553 •

นโยบายในการบริหาร

เดินหน้าสานต่อนโยบายเดิมที่ท�ำไว้ ทั้งการส่งเสริมการศึกษา การกีฬา พัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิตประชาชนให้อยู่ดีกินดี โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมของ ประชาชนชาวมุกดาหาร ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งจะต้องยกระดับการศึกษาภายในจังหวัดให้ได้มาตรฐาน อันจะเป็นการวางรากฐานในการพัฒนาการศึกษาในระยะยาว โดยจัดจ้างครูตา่ งประเทศเพือ่ ท�ำการสอนให้กบั นักเรียนโรงเรียนน�ำร่องทีไ่ ด้ลงนาม MOU ร่วมกันระหว่างส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามุกดาหาร กับองค์การบริหารส่วนจังหวัด มุกดาหาร และจัดสร้างศูนย์เรียนรู้วิทยาศาสตร์ให้ครบทุกอ�ำเภอ ด้านการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน ได้แก่ การซ่อมบ�ำรุงถนน ในความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้ใช้การได้ดแี ละปรับปรุงถนนลูกรังให้เป็นถนนลาดยาง ให้ได้มากที่สุด ซึ่งในการนี้ จะต้องจัดซื้อเครื่องจักรกลให้ครบตามความจ�ำเป็นในการใช้งาน เพื่อความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งก่อสร้างถนน แหล่งน�ำ้ ที่เกี่ยวเนื่องและเชื่อมกับหลายพื้นที่ ให้ประชาชนได้รับความสะดวกในการคมนาคม การขนส่งสินค้า และมีแหล่งน�ำ้ ไว้ใช้เพื่ออุปโภค-บริโภค อย่างบริบูรณ์ ส่วนทางด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวและกีฬา ปรับปรุงสนามกีฬากลางให้ได้มาตรฐาน เช่น สร้างเสาไฟสนามฟุตบอลทั้ง 4 มุม สร้างสนามฟุตซอล สนามเทนนิส พร้อมทั้งปรับปรุงภูมิทัศน์ ลานกีฬา สร้างถนนคอนกรีต หรือลาดยางให้ได้มาตรฐานโดยรอบสนามกีฬา และพร้อมร่วมมือกับหน่วยงานราชการทุกหน่วยงานเพื่อขับเคลื่อน จังหวัดมุกดาหารให้ก้าวหน้าอย่างยั่งยืน และให้ความส�ำคัญกับการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่เป็นปัญหาเร่งด่วน ซึ่งส่งผลกระทบต่อสังคมและความมั่นคงของประเทศ โดยร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมการแก้ไขปัญหาในระยะเวลาอันสั้นและรวดเร็ว ซึ่งถือว่าเป็นภารกิจส�ำคัญอย่างยิ่งที่จะพาประชาชนในจังหวัดรอดพ้นจากวิกฤติต่างๆ ที่เกิดขึ้นไปสู่การเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน มีความมั่นคง ด้านบริหารจัดการ จะจัดระบบองค์กรภายในให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ พร้อมทัง้ เสริมสร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่ขา้ ราชการ พนักงาน และลูกจ้าง เพือ่ สร้างมาตรฐานให้องค์กร อีกทัง้ จะพัฒนาบุคลากรให้มคี วามรูค้ วามสามารถ พร้อมให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ เพิม่ ศักยภาพในการบริหารจัดการด้านทรัพยากรบุคคล และจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาระบบบริการสาธารณะภายในเขตความรับผิดชอบ ตามจ�ำนวนประชากร โดยยึดเขตเลือกตั้งของสมาชิกสภาฯ เป็นเกณฑ์อย่างสมดุล เพื่อ สร้างโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมกับสมาชิกสภาฯ ในการพัฒนาทุกๆ ด้าน และจะให้การช่วยเหลือสนับสนุน อปท. และหน่วยงานอื่นๆ ที่ร้องขอรับการสนับสนุน ด้านต่างๆ เช่น งบประมาณ บุคลากร หรือวัสดุ อุปกรณ์ อาทิ เครื่องจักรกล

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

P. 7


ผู้น�ำ อปท. ด้านการส่งเสริมเขตเศรษฐกิจพิเศษดีเด่น

ทรงยศ เทียนทอง

นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว

“ ”

สานงานต่อ ก่องานใหม่ สระแก้วก้าวไกล ประวัติการท�ำงาน

พ.ศ.2540 – 2547 สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว และ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว พ.ศ.2547 – ปัจจุบัน นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว

การฝึกอบรม/ดูงาน ที่อยู่ส�ำนักงาน

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว เลขที่ 8888 หมู่ที่ 2 ต�ำบลท่าเกษม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว 27000 โทรศัพท์ 0-3724-0999

ประวัติการศึกษา

มัธยมศึกษา : โรงเรียนวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว พ.ศ.2540 ปวส. : โรงเรียนเทคโนโลยีสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว พ.ศ.2543 ปริญญาตรี : ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) สาขาการปกครอง มหาวิทยาลัย รามค�ำแหง พ.ศ.2545 ปริญญาโท : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัย ปทุมธานี พ.ศ.2553 รัฐศาสตรมหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี พ.ศ.2556

P. 8

พ.ศ.2541 พ.ศ.2547 พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555

หลักสูตรสมาชิกสภาจังหวัด รุ่นที่ 1/2541 อบรมหลักสูตร “นายกองค์การบริหารส่วน จังหวัด” สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น ศึกษาดูงานโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาจัดท�ำ แผนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว ณ ประเทศญี่ปุ่น ศึกษาดูงานโครงการพัฒนาศักยภาพและวิสัย ทัศน์ของผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด บุคลากร ข้าราชการครูและ ผูบ้ ริหารสถาน ศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ ประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน อบรมหลักสูตร “วีดิทัศน์และสื่อสารสนเทศ (Video Production Training)” สถาบันพัฒนา บุคลากรท้องถิ่น

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดสระแก้ว

ผลงานที่ผ่านมา

1. โครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนของจังหวัด สระแก้ว เพือ่ สอนเสริมการเรียนให้กบั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย เพือ่ ขยาย ศักยภาพและมุ่งสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการศึกษาแก่นักเรียน ให้มีโอกาสได้รับ การเรียน การสอนเสริมในสาขาวิชาต่าง ๆ ทีจ่ ะใช้ในการสอบคัดเลือกแข่งขันเข้าศึกษา ต่อในระดับอุดมศึกษา และลดภาระค่าใช้จา่ ยของผูป้ กครองได้อกี ทางหนึง่ ซึง่ ด�ำเนินการ มาแล้ว 8 ปี โดยนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ สามารถสอบเข้าสถาบันอุดมศึกษา ของรัฐและเอกชนที่มีชื่อเสียงได้เป็นจ�ำนวนมาก 2. โครงการให้ทุนการศึกษาแก่เด็กนักเรียน นักศึกษา และผู้ด้อยโอกาส ในจังหวัดสระแก้ว ทีส่ อบผ่านการคัดเลือกเข้าเรียนในสถาบันการศึกษาต่างๆ ของรัฐ โดยได้ด�ำเนินการมาเป็นปีที่ 5 แล้ว เริ่มจัดท�ำต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2551 ถึงปัจจุบัน จ�ำนวน 94 ราย ประกอบด้วย ทุนพยาบาลศาสตรบัณฑิต 36 ราย, ทุนสาธารณสุข 3 ราย, ทุนวิศวกรรมศาสตร์ 1 ราย, ทุนครุศาสตร์ 50 ราย และทุนสาขาด้านอื่น ๆ 4 ราย 3. โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุ, โครงการ จัดงาน “มหกรรมรวมพลังเป็น 1 สู่จังหวัด TO BE NUMBER ONE ต้นแบบ” , โครงการค่ายพัฒนาความรู้ความสามารถด้านดนตรีวงโยธวาธิต รวมใจต้านภัย ยาเสพติด, โครงการประกวดวงดนตรีนกั เรียน “สระแก้ว เดอะ แบนด์ ไอดอล 2011” เทิดไท้องค์ราชัน, โครงการอบรมแกนน�ำเยาวชนต้านยาเสพติด และเพิ่มศักยภาพ มัคคุเทศก์ตลาดโรงเกลือ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว, โครงการแข่งขันรถยนต์ นานาชาติ “เอเชีย ครอสคันทรีแรลลี่” เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว, โครงการค่าย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์รากแก้ว, โครงการอบรมค่ายวิทยาศาสตร์อากาศยาน, โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเด็กพิการและผูด้ อ้ ยโอกาส, โครงการสนับสนุน ปัจจัยพื้นฐานให้กับเด็กนักเรียนยากจน, โครงการ อบจ.เคลื่อนที่พบประชาชน และ อปท.อื่น ในจังหวัดสระแก้ว, โครงการเพิม่ ศักยภาพให้แก่ประชาชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, โครงการฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอล หลักสูตร T-Licence, โครงการ “เที่ยว กิน คลองหาดคุ้มค่า 5555”, โครงการ “กิจกรรมการแข่งขันรถยนต์อ๊อฟโรด โทรฟี่”ชิงแชมป์ประเทศไทย ถ้วยประทาน พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ, โครงการอบรมความรู้ด้านกฎหมายให้กับประชาชน, โครงการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน, โครงการอบรมกีฬา เปตองต้านยาเสพติด, โครงการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคไต, โครงการรณรงค์การ ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก, โครงการ “รวมใจ ช่วยเหลือผู้ยากไร้ ปลอดคน ตาบอด จากต้อกระจก”, โครงการจัดงานรณรงค์เพื่อยุติความรุนแรงต่อผู้หญิง ในประเทศไทย, โครงการแข่งขันกีฬานักเรียนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่ง ประเทศไทย ครัง้ ที่ 31 ประจ�ำปี 2556, โครงการจัดกิจกรรมสร้างความปรองดองและ คืนความสุขสู่ชาวสระแก้ว, โครงการแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, โครงการอบรมวิชาการเรือ่ งการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น, โครงการ “แข่งขันฟุตบอลอาวุโส ชิงแชมป์โลก” ครั้งที่ 9 โครงการลูกเสือชาวบ้านจังหวัดสระแก้ว ร่วมงานเดินเทิดพระเกียรติลูก เสือชาวบ้านภาคตะวันออก ฯลฯ

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

นโยบายในการบริหาร

1. นโยบายการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาเส้นทางคมนาคม เชือ่ มโยงอย่างเป็นระบบให้ได้มาตรฐาน สะดวก ปลอดภัย เพือ่ รองรับการพัฒนาโครง ข่ายด้านโลจิสติกส์ 2. นโยบายด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและการกีฬา พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ให้ทันสมัย ส่งเสริมการเรียน การสอนภาษาต่างประเทศ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ของโลก และการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ฯลฯ 3. นโยบายด้านการส่งเสริมและพัฒนาด้านความปลอดภัยและคุณภาพชีวติ ส่งเสริมการจัดระเบียบสังคม การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรเครือข่าย เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นนโยบายเร่งด่วน “วาระแห่งชาติ”, ส่งเสริมสนับสนุนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ เพือ่ ช่วย เหลือประชาชนได้ทันท่วงที ฯลฯ 4. นโยบายด้านการเกษตร ส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น รองรับการเป็นแหล่งพืชพลังงานทดแทน รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุนการเพิม่ ผลผลิตทางการเกษตร การแปรรูป การพัฒนาคุณภาพ และส่งเสริม ปลูกพืชทางการเกษตรปลอดสารพิษ เกษตรทฤษฎีใหม่ ฯลฯ 5. นโยบายด้านการแก้ไขปัญหาความยากจนและการกระจายรายได้ สนับสนุนให้เกิดกระบวนการสร้างรายได้ ในระดับครัวเรือน ตั้งแต่กระบวนการผลิต เพื่อบริโภค จนถึงการจ�ำหน่ายผลผลิต เพื่อให้ประชาชนสามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้อย่าง มั่นคงและยั่งยืน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมทั้งสนับสนุนประสานร่วม มือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ส่งเสริมอาชีพ พัฒนาทักษะ และฝีมือแรงงาน เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ฯลฯ 6. นโยบายด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนา แหล่งน�้ำและระบบชลประทาน ตลอดจนฟื้นฟูอนุรักษ์บริหารจัดการทรัพยากรน�้ำ อีก ทัง้ จะส่งเสริมสนับสนุนการจัดการปลูกป่าเพือ่ ลดปัญหาโลกร้อน รณรงค์ปลูกจิตส�ำนึก ให้ประชาชนในจังหวัดสระแก้ว อนุรักษ์และหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ 7. นโยบายด้านส่งเสริมการท่องเที่ยว ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนา ฟื้นฟูการ ท่องเที่ยว สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เสริมสร้างสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการ เป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงนิเวศทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ และพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วให้เป็น ศูนย์กลางทางด้านการท่องเที่ยว แหล่งเรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของ ชุมชน ฯลฯ 8. นโยบายด้านการพัฒนาตลาดการค้าชายแดน (ตลาดโรงเกลือ) พัฒนา ตลาดการค้าตามแนวชายแดนไทย – กัมพูชา (ตลาดโรงเกลือ) ให้มีความสะอาด สะดวกและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น รวมทั้งสนับสนุนการจัดระบบโลจิสติกส์ ให้สามารถ ขนส่งและกระจายสินค้าได้อย่างสะดวกรวดเร็ว, สนับสนุนการค้าให้เป็นศูนย์กลาง โลจิสติกส์ของภูมิภาคอินโดจีน ฯลฯ 9. นโยบายด้านการบริหารจัดการ บริหารจัดการ อบจ. สระแก้วให้เป็นองค์กร ที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ ตามหลักธรรมาภิบาล ตลอดจนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ให้เกิดความสุจริตและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งจะส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ บริหารงาน โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของ ประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ

P. 9


ผู้น�ำ อปท. ด้านการส่งเสริมเขตเศรษฐกิจพิเศษดีเด่น

ดร.เทอดเกียรติ ชินสรนันท์ นายกเทศมนตรีนครแม่สอด

“ ”

มองให้ไกล ไปให้ถึง

ที่อยู่ส�ำนักงาน

เทศบาลนครแม่สอด เลขที่ 99/99 ถนนสายเอเชีย อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63110 โทรศัพท์ 0-5554-7449, 0-5553-1113 โทรสาร 0-5553-1434

ประวัติการศึกษา

ประถมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนวัดท่าแพ อ�ำเภอทุง่ สง จังหวัดนครศรีธรรมราช มัธยมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนวัดสังเวช กรุงเทพมหานคร ปริญญาตรี : ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ปริญญาโท : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขายุทธศาสตร์ การพัฒนา มหาวิทยาลัย ราชภัฎก�ำแพงเพชร ปริญญาเอก : รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันเทคโนโลยี แห่งอโยธยา

ประวัติการท�ำงาน

: เป็นผู้ผลักดันเปลี่ยนแปลงฐานะเทศบาลต�ำบลแม่สอด เป็นเทศบาล เมืองแม่สอด : ได้ผลักดันเปลี่ยนแปลงฐานะเทศบาลเมืองแม่สอดเป็นเทศบาลนคร แม่สอด รวมถึงได้รบั เลือกตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีโดยตรงจากประชาชน ถึง 2 สมัย โดยมีประสบการณ์ด้านการเมืองและการเป็นผู้บริหารกว่า 25 ปี พ.ศ.2533 สมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลแม่สอดและรองประธานสภาเทศบาล พ.ศ.2533-2535 รองประธานสภาเทศบาลต�ำบลแม่สอด พ.ศ.2535-2537 เทศมนตรีต�ำบลแม่สอด (ฝ่ายการศึกษา) พ.ศ.2537 - 2544 นายกเทศมนตรีต�ำบลแม่สอด พ.ศ.2544 – 2548 นายกเทศมนตรีเมืองแม่สอด พ.ศ.2545 เป็นคณะกรรมการสมาคมสันนิบาตเทศบาลภาคเหนือ

P. 10

พ.ศ.2545 เป็นประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัดตาก พ.ศ.2547 - 2549 เป็นที่ปรึกษาสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย พ.ศ.2549 – 2552 นายกเทศมนตรีเมืองแม่สอด • ที่ปรึกษากรรมาธิการสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย • ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัดตาก • คณะกรรมการการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ประจ�ำคณะกรรมาธิการการปกครองส่วนท้องถิ่นสภา ผู้แทนราษฎร • ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก • ที่ปรึกษาหอการค้า จังหวัดตาก • ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ แม่สอดมูลนิธิสามัคคีการกุศล • คณะกรรมการการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานต�ำรวจ สถานีต�ำรวจ ภูธรแม่สอด พ.ศ.2553 – วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ.2557 • ที่ปรึกษากรรมาธิการบริหารสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย • ประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัดตาก • ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สภาอุตสาหกรรม จังหวัดตาก • ที่ปรึกษาหอการค้า จังหวัดตาก • ประธานคณะกรรมการ กต.ตร. สถานีต�ำรวจภูธรแม่สอด • ผู้จัดการทีมฟุตบอล “นครแม่สอด FC” • กรรมการการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • อนุกรรมการเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2558 - ปัจจุบัน • นายกเทศมนตรีนครแม่สอด • คณะอนุกรรมาธิการการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ในคณะกรรมาธิการ ขับเคลือ่ นการปฏิรปู ประเทศด้านการปกครองท้องถิน่ สภาขับเคลือ่ นการปฏิรปู ประเทศ • คณะกรรมการชายแดนส่วนท้องถิ่นไทย-พม่า (ฝ่ายไทย) • อดีตอนุกรรมการเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการกระจายอ�ำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • อดีตคณะอนุกรรมาธิการการจัดระบบการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงมหาดไทย • สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) • อดีตคณะอนุกรรมาธิการการมีส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ประจ�ำจังหวัดตาก

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดตาก

นโยบายและเป้าหมาย

“ มั่นคง มั่งคั่ง ประชาชนมีความสุข ”

จุดมุ่งหมาย

ผลักดันให้นครแม่สอดให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ รูปแบบพิเศษและ เป็นศูนย์กลางของเขตเศรษฐกิจพิเศษ เนื่องจากนครแม่สอดเป็นพื้นที่ที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ มีความส�ำคัญเป็น เมืองศูนย์กลางการค้าชายแดน และเติบโตทางด้านเศรษฐกิจสูง มีมูลค่าการค้าชายแดน ของด่านแม่สอด กว่า 80,000 ล้านบาท ประกอบกับประกาศคณะกรรมการนโยบายเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ที่ 1/2558 ลงวันที่ 19 มกราคม 2558 เรื่อง ก�ำหนดพื้นที่เขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งก�ำหนดให้ท้องที่ตำ� บลท่าสายลวด ต�ำบลพระธาตุผาแดง ต�ำบล แม่กาษา ต�ำบลแม่กุ ต�ำบลแม่ตาว ต�ำบลแม่ปะ ต�ำบลแม่สอด และต�ำบลมหาวัน อ�ำเภอ แม่สอด, ต�ำบลช่องแคบ ต�ำบลพบพระ ต�ำบลวาเล่ย์ อ�ำเภอพบพระ, ต�ำบลขะเนจื้อ ต�ำบล แม่จะเรา และต�ำบลแม่ระมาด อ�ำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก เป็น “เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษตาก” นอกจากนี้ในการประชุมร่วมระหว่างคณะรักษา คสช. และ ครม. เมื่อ 20 ม.ค. 2558 ได้มีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงพาณิชย์เสนอ เรื่องการสถาปนาความสัมพันธ์ บ้านพี่เมืองน้อง (Sister City) ระหว่างแม่สอดและเมียวดี ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความ ใกล้ชดิ ระหว่างสองเมืองเพิม่ มากขึน้ อันจะเป็นส่วนส�ำคัญในการขยายตัวทางการค้าชายแดน และการลงทุนระหว่างกัน ก่อประโยชน์ต่อทั้งสองประเทศ สอดคล้องกับนโยบายการจัดตัง้ นครแม่สอดเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ รูปแบบพิเศษ ทีต่ อ้ งมาดูแลสังคมและการจัดบริการสาธารณะรองรับการเป็นเมืองเศรษฐกิจ พิเศษ ตามร่าง พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พ.ศ. .... และในการประชุมคณะ ท�ำงาน/ส่วนราชการจังหวัดตาก เมื่อ 22 ม.ค. 2558 ได้เห็นชอบและสนับสนุนการจัดตั้ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด ตามร่าง พ.ร.บ. ดังกล่าว ท�ำให้มี นักลงทุนให้ความสนใจมาลงทุนในพื้นที่นครแม่สอด กว่า 10,200 ล้านบาท หากมีการพัฒนาเรื่องโครงสร้างพื้นฐานและระบบการขนส่ง จะท�ำให้ทางฝั่ง แม่สอดสามารถขยายตลาดสินค้าของไทยไปยังอินเดียและยุโรปได้ในอนาคตอันใกล้ ซึ่ง สอดคล้องกับการที่ประเทศอินเดียมีนโยบายที่จะเดินหน้าโครงการสร้างถนน 3,200 กิโลเมตร เชื่อมเมืองโมเรห์ในรัฐมณีปุระของอินเดียเข้ากับอ�ำเภอแม่สอดด้วย ท�ำให้มี นักลงทุนไทยและนักลงทุนต่างประเทศจ�ำนวนมาก สนใจเข้ามาลงทุนในพื้นที่ของเขต เศรษฐกิจพิเศษตาก ดังนี้ โรงงาน 424โรงงาน เงินลงทุนทั้งหมด 7,233,509,148 บาท ซึ่งผลการด�ำเนินงานศูนย์ OSS (ณ วันที่ 10 มิ.ย. 2558) มีนักลงทุนสนใจจะเข้ามาตั้ง โรงงานแล้วทั้งหมด 40 โรงงาน เงินลงทุน 4,540,000,000 บาท

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

ความสนใจของนักลงทุนในเขตพื้นที่เขตเทศบาลนครแม่สอด ได้แก่ นักลงทุนจากประเทศจีน (คอนโด) 5,000 ล้านบาท, คอนโด (CP Land, Rize Condo, เบส-อเวนิว) 1,000 ล้านบาท, โรงแรม (Hop Inn, CP Land) 500 ล้ า นบาท, ห้ า งสรรพสิ น ค้ า (Lotus, Makro, Robinson, MBK) 3,000 ล้านบาท, โครงการอาคารพาณิชย์ (Best Groove,Theme) 500 ล้านบาท, โรงพยาบาลแม่สอดราม 200 ล้านบาท รวม 10,200 ล้านบาท ความสนใจของนักลงทุนในพื้นที่ SEZ ตาก แม่สอด แม่ระมาด พบพระ ได้แก่ Vee Condo 200 ล้านบาท, Best Condo 200 ล้านบาท, หมู่บ้าน วีรยา 50 ล้านบาท, มามา โฮมมาร์ท 500 ล้านบาท, Mega Home 500 ล้านบาท, โรงพยาบาลแม่สอดอินเตอร์ (เครือวิชัยเวศ) 500 ล้านบาท, The Rich Condo 500 ล้านบาท รวม 2,150 ล้านบาท จากข้อมูลข้างต้น ชี้ให้เห็นว่าเศรษฐกิจของนครแม่สอดได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ในส่วนของอุตสาหกรรมมีความได้เปรียบด้านต้นทุนการผลิต แรงงาน และมีทำ� เลและโอกาส ขยายความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน กลุ่ม GMS และกลุ่มเอเชียใต้ เชื่อมโยงเส้นทาง ระเบียงเศรษฐกิจ EWEC เป็นเมืองศูนย์กลาง 2 ทวีป ACMECS และ BIMST-EC แต่ หากว่าท้องถิ่นไม่สามารถจัดการปัญหาในพื้นที่ได้ด้วยตัวตนเอง ต้องรอการด�ำเนินการจาก หน่วยราชการส่วนกลางหรือส่วนภูมิภาค ก็จะท�ำให้เกิดปัญหาด้านสังคม/ประชากรแฝง/ แรงงาน ด้านสาธารณูปโภค สิ่งแวดล้อม การศึกษา การสาธารณสุข และอื่นๆ ติดตามมา ในโอกาสต่อไปจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้อง ยกฐานะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ที่ เป็นศูนย์กลางของเขตเศรษฐกิจพิเศษ อย่างนครแม่สอด ให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ รูปแบบพิเศษ เพื่อให้มีอ�ำนาจหน้าที่และมีศักยภาพเพียงพอในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา พืน้ ทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และสามารถสนับสนุนการท�ำงานของเขตเศรษฐกิจ พิเศษ ในด้านการค้าและการลงทุนชายแดน การเป็นศูนย์กลางระบบการขนส่งโลจิสติกส์ที่ เชือ่ มโยงกับประเทศเพือ่ นบ้านและภูมภิ าค รวมทัง้ ด้านการท่องเทีย่ ว ให้มคี วามพิเศษทีแ่ ท้จริง

P. 11


ผู้น�ำ อปท. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมดีเด่น

มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก

“ ”

ท�ำวันนี้ให้ดีที่สุด เพื่อวันข้างหน้า

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

1. ประถมาภรณ์มงกฏไทย (ป.ม.) 2. ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.)

ผลงาน / รางวัลที่ได้รับ • •

ที่อยู่ส�ำนักงาน

องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก เลขที่ 206 หมู่ที่ 4 ถนนพิษณุโลก – วังทอง ต�ำบลสมอแข อ�ำเภอเมือง จังหวัด พิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 0-5522-3718 โทรสาร 0-5522-3718 ต่อ 400

ประวัติการศึกษา / การอบรม

ระดับประถมศึกษา : โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก ระดับมัธยมศึกษา : โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ระดับปริญญาตรี : นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับปริญญาโท : รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นิด้า 4) พิษณุโลก หลักสูตรการอบรม : การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ส�ำหรับผูบ้ ริหาร ระดับสูง (ปปร. 14) สถาบันพระปกเกล้า

รางวัลเชิดชูเกียรติ “วัฒนคุณาธร” องค์กรด้านส่งเสริมศาสนา ศิลปะและ วัฒนธรรม ปี 2558 จากกระทรวงวัฒนธรรม รับมอบโล่ประกาศเกียรติคณ ุ ผูท้ ำ� คุณประโยชน์ให้กบั ต�ำรวจภูธรภาค 6 เนือ่ งใน วันต�ำรวจ ประจ�ำปี 2558 จากกองบัญชาการต�ำรวจภูธรภาค 6 รับมอบโล่รางวัล “องค์กรผู้สนับสนุนอาสาสมัครสาธารณสุขดีเด่น” รางวัล “The Giver” ประจ�ำปี 2558 ระดับองค์การบริหารส่วนจังหวัด จากสมาคม อาสาสมัครสาธารณสุขภาคเหนือ รั บ ประกาศนี ย บั ต รหน่ ว ยงานที่ มี ส ่ ว นร่ ว มในการส่ ง เสริ ม การป้ อ งกั น และ ปราบ ปราบการทุจริต เนื่องในงานวันต่อต้านคอร์รัปชันสากล (ประเทศไทย) ประจ�ำปี 2558 จากส�ำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประจ�ำจังหวัดพิษณุโลก รางวัลเป็นต้นแบบคนดีศรีพิบูล ด้านผู้สนับสนุนงบประมาณการจัดแสดง แสง สี เสียง งานแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวร ปี 2556 จากส�ำนักศิลปะและ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

วิสัยทัศน์

“องค์กรแห่งการพัฒนา เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน” “The Developing Organization Preparing for Asean Community”

ประวัติการท�ำงาน / การด�ำรงต�ำแหน่งอื่นๆ • • • • • • •

ก�ำนันต�ำบลสมอแข ปี พ.ศ.2539 - 2543 ประธานกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนต�ำบลสมอแข ปี พ.ศ.2539 - 2543 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก 2 สมัย ปี พ.ศ. 2548 และ พ.ศ.2550 กรรมาธิการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สภาผู้แทนราษฎร ปี พ.ศ.2548 กรรมาธิการปกครอง สภาผู้แทนราษฎร ปี พ.ศ.2550 – 2554 ประธานสมาพันธ์องค์การบริหารส่วนจังหวัดภาคเหนือ อุปนายกสมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย

P. 12

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดพิษณุโลก นโยบาย

1. นโยบายด้านการเมืองการบริหารจัดการที่ดี โดยให้การสนับสนุน และส่งเสริม การปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเ์ ป็นประมุข /มุง่ เน้นการพัฒนา และ สนับสนุนให้จงั หวัดพิษณุโลกเป็นเมืองศูนย์กลางการให้บริการ สีแ่ ยกอินโดจีน และเป็นเมือง น่าอยู่อย่างยั่งยืน ตลอดจนเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2. นโยบายด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และการสาธารณสุข โดยสนับสนุนและส่งเสริมให้มีครูสอนภาษาต่างประเทศ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน / จัดสรรและสนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษา แก่สถาบันทางการศึกษาและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง / อนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น และส่งเสริมให้ ประชาชน ได้รับบริการด้านสาธารณสุขอย่างมีคุณภาพและทั่วถึง 3. นโยบายด้านเศรษฐกิจ โดยพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง โดยยึดหลัก การบริหารตามแนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั / ส่งเสริมอาชีพและพัฒนา ฝีมือแรงงาน เพื่อเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายให้กับประชาชน / สนับสนุนและส่งเสริมสินค้า หนึ่งผลิตภัณฑ์หนึ่งต�ำบล (OTOP) ทั้ง 9 อ�ำเภอ รวมถึงส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มอาชีพ สตรี ส่งเสริมการรวมกลุ่มและการจัดตั้งกลุ่มอาชีพต่างๆ 4. นโยบายด้านสังคม กีฬา และส่งเสริมคุณภาพชีวิต โดยสนับสนุนนโยบาย รัฐบาลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด / ติดตั้งกล้องวงจรปิดในจุดเสี่ยงภัย เพื่อ สร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน / ส่งเสริมและสนับสนุน เพื่อสร้าง ความเป็นเลิศในด้านกีฬาของจังหวัดพิษณุโลก โดยมุ่งพัฒนานักกีฬาของจังหวัดไปสู่ความ เป็นนักกีฬาอาชีพ และดูแล ให้ความช่วยเหลือผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุให้มีชีวิต อยู่อย่างมีคุณค่า มีสุขภาพดี และมีความสุข 5. นโยบายด้านสิง่ แวดล้อม และส่งเสริมการท่องเทีย่ ว โดยสนับสนุนและส่งเสริม ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ และดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่งเสริม การสร้างศูนย์บริหารจัดการขยะแบบองค์รวม และปรับปรุงพัฒนาพื้นที่ที่มีศักยภาพด้านการ ท่องเที่ยวให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถสร้างรายได้ให้กับประชาชน 6. นโยบายด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน โดยด�ำเนินการก่อสร้าง ปรับปรุง และบ�ำรุงรักษา แหล่งสาธารณูปโภคสาธารณูปการ ให้ประชาชนใช้ประโยชน์ได้ตลอดปี และจะด�ำเนินการ ติดตัง้ จุดให้บริการสัญญาณอินเทอร์เน็ตไร้สาย หรือ WIFI ให้ครอบคลุมทุกหมูบ่ า้ นและชุมชน

ประวัติจังหวัดพิษณุโลก

จังหวัดพิษณุโลก อยู่ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง มีพื้นที่ ประมาณ 10,815.854 ตารางกิโลเมตร หรือ 6.75 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.1 ของพื้นที่ทั้งประเทศ ห่างจากกรุงเทพฯ โดยทางรถยนต์ประมาณ 377 กิโลเมตร และโดยทางรถไฟ ประมาณ 389 กิโลเมตร แบ่งการปกครองออกเป็น 9 อ�ำเภอ 93 ต�ำบล 1,048 หมู่บ้าน จ�ำนวนครัวเรือน 321,635 หลังคา เรือน ประชากรประมาณ 860,000 คน โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ�ำนวน 103 แห่ง ประกอบ ด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด จ�ำนวน 1 แห่ง, เทศบาลนคร จ�ำนวน 1 แห่ง, เทศบาลเมือง จ�ำนวน 1 แห่ง, เทศบาลต�ำบล จ�ำนวน 22 แห่ง และองค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 81 แห่ง

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

P. 13


ผู้น�ำ อปท. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมดีเด่น

สมใจ สุวรรณศุภพนา นายกเทศมนตรีนครภูเก็ต

“ ”

นครภูเก็ต เป็นนครแห่งการสร้างสรรค์ และน่าอยู่อย่างยั่งยืน ประวัติการเข้ารับการอบรม

พ.ศ.2558 การบริหารจัดการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า พ.ศ.2557 ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 1 สถาบัน พระปกเกล้า พ.ศ.2553 การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ส�ำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 13 สถาบันพระปกเกล้า

ที่อยู่ส�ำนักงาน

เทศบาลนครภูเก็ต เลขที่ 52/1 ถนนนริศร ต�ำบลตลาดใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 โทรศัพท์ 0-7621-4812 โทรสาร 0-7621-1174

ประวัติส่วนตัว

วัน / เดือน / ปีเกิด : 15 พฤศจิกายน 2495 ที่อยู่ปัจจุบัน : เลขที่ 76-77 ถนนถลาง ต�ำบลตลาดใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต 83000 มือถือ 08-1397-7233 , 08-1536-2255 E-Mail : Somjai_ss@hotmail.com

ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี : คณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ พ.ศ.2519 ปริญญาโท : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2546

ประวัติการท�ำงาน

พ.ศ.2523 – 2528 สมาชิกสภาเมืองภูเก็ต เทศบาลเมืองภูเก็ต พ.ศ.2528 – 2547 เทศมนตรี (รองนายก) เทศบาลเมืองภูเก็ต พ.ศ.2547 – ปัจจุบัน นายกเทศมนตรีนครภูเก็ต (สมัยที่ 3) เทศบาลนครภูเก็ต

ต�ำแหน่งอื่นในปัจจุบัน

1. ประธานสันนิบาตเทศบาล จังหวัดภูเก็ต 2. ประธานคณะกรรมาธิการด้านพัฒนาสตรี เด็ก และเยาวชน สมาคม สันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย

P. 14

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดภูเก็ต การบริหารเทศบาลนครภูเก็ต

จังหวัดภูเก็ตมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยว ปีละกว่า 12 ล้านคน และ มีประชากรแฝงมากกว่า 3 แสนคน ขณะที่เขตเทศบาลนครภูเก็ตมีประชากรกว่า 7 หมื่นคน การทีค่ นจ�ำนวนมากเข้ามายังเมืองภูเก็ต แม้จะสร้างโอกาสให้พนื้ ทีต่ า่ งๆ มีเศรษฐกิจที่ดี แต่ก็สร้างปัญหาให้กับท้องถิ่นที่ต้องแก้ไขมากมาย ขณะที่เทศบาล นครภูเก็ตขาดแคลนทั้งงบประมาณ เทคโนโลยี ความรู้ทางวิชาการและบุคลากร ผู้เชี่ยวชาญ แต่กลับต้องรับมือกับปัญหาที่เกิดขึ้น อาทิ ปัญหาขยะล้นเมือง การซบเซาของเศรษฐกิจย่านการค้าเมืองเก่า การระบาดของโรคติดต่อ เทศบาลนครภูเก็ต จึงแบ่งปัญหาออกเป็น 3 มิติ ได้แก่ 1. มิติ เศรษฐกิจ ท�ำอย่างไรให้เขตการค้าย่านเมืองเก่า มีการอนุรักษ์ อาคาร และสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ เทศบาลนครภูเก็ตได้รว่ มอนุรกั ษ์อาคารทีม่ สี ถาปัตยกรรมชิโนโปรตุกสี ให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ วเพือ่ ฟืน้ ฟูเศรษฐกิจ โดยได้สร้างความเป็นเจ้าของให้เกิดขึน้ ในชุมชน เพือ่ ให้สามารถอนุรกั ษ์อาคารเอาไว้ได้อย่างยัง่ ยืน และในภาวะทีข่ าดแคลน งบประมาณ แต่ตอ้ งพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วให้สวยงาม จึงได้รว่ มกับ การไฟฟ้าฯ และ กรมการท่องเที่ยว ท�ำการปรับปรุงภูมิทัศน์เมือง ที่จะสามารถต่อยอดในธุรกิจรูป แบบใหม่ เช่น เปลื่ยนบ้านสไตล์ชิโนเป็นเกสต์เฮ้าส์ อาคารบ้านและที่ดินเมืองเก่า เพิ่มมูลค่าสูงขึ้น ในช่ ว งแรก เป็ น การพั ฒ นาด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐานและการอนุ รั ก ษ์ สถาปัตยกรรม เริ่มจากการบ�ำรุงรักษาอาคารโดยเจ้าของอาคารรุ่นหลัง ซึ่งสืบทอด มรดกทางวัฒนธรรมของบรรพบุรุษ และการรวบรวมข้อมูล หลักฐาน ประวัติของ อาคารที่มีคุณค่า โดยกลุ่มผู้สนใจประวัติศาสตร์เมืองภูเก็ต วัฒนธรรมจังหวัด ภูเก็ต มูลนิธเิ มืองเก่าภูเก็ต ฯลฯ รวมทัง้ เสนอแผนการอนุรกั ษ์การจัดการต่อองค์กร ความร่วมมือระหว่างประเทศ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย และองค์กรความ ร่วมมือทางด้านเทคนิคแห่งประเทศเยอรมนี (GTZ) ซึ่งร่วมกับเทศบาลนครภูเก็ต และจังหวัดภูเก็ต จัดตั้งโครงการพัฒนาและอนุรักษ์ย่านการค้าเมืองภูเก็ตขึ้น โดย ร่วมมือกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหาร ลาดกระบัง ส�ำรวจความคิดเห็นต่อการอนุรักษ์ และน�ำผลการศึกษามาก�ำหนด แผนงาน เพื่อพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ย่านการค้าเมืองเก่า ทั้งการพัฒนาอาคาร ระบบ สาธารณูปโภค การประชาสัมพันธ์และจัดประชุมร่วมกับชุมชน เพื่อปลูกจิตส�ำนึก อย่างต่อเนื่อง โดยความร่วมมือในลักษณะเครือข่าย 2 ด้าน คือ เครือข่ายด้าน โครงสร้างพื้นฐานและการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม และเครือข่ายด้านการอนุรักษ์ วัฒนธรรมและวิถีชีวิต 2. มิติ สิ่งแวดล้อม ท�ำอย่างไรให้มีการจัดการที่ยั่งยืน ปัญหาขยะล้นเมือง เป็นปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมอันดับต้นๆ ของ จังหวัดภูเก็ต การด�ำเนินการแก้ไขปัญหามีจดุ เริม่ ต้นจากเทศบาลนครภูเก็ต ร่วมกับ ท้องถิ่นทั้งจังหวัดในการจัดการขยะ โดยจัดตั้งศูนย์ก�ำจัดขยะมูลฝอยรวมจังหวัด ภูเก็ต ซึง่ ทุกหน่วยงานร่วมกันรับผิดชอบค่าก�ำจัดในการบริหารจัดการ ร่วมกันในการ รณรงค์ลดปริมาณขยะ โดยได้ขยายเครือข่ายสู่ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม จนสามารถจัดตัง้ เป็นศูนย์การเรียนรูด้ า้ นสิง่ แวดล้อม และเป็นต้นแบบให้กบั หน่วยงาน อื่นๆ มาศึกษาดูงานโดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาค เอกชน และภาคประชาสังคม โดยได้ด�ำเนินงานร่วมกันใน 2 รูปแบบเครือข่าย ที่ชัดเจน คือ 2.1 การบริหารจัดการศูนย์ก�ำจัดขยะแบบศูนย์รวม เป็นการบูรณาการ ระบบก� ำ จั ด ขยะที่ ผ สมผสาน โดยอาศั ย เครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ จากภาครั ฐ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาชนมีส่วนร่วม จนเป็นศูนย์ก�ำจัดขยะที่มีเทคโนโลยีผสมผสานสามารถก�ำจัดขยะชุมชนและ น�ำความร้อนจากการเผาไปใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า ซึ่งเป็นแห่งเดียวของประเทศไทย ที่จัดศูนย์ก�ำจัดขยะรวมระดับจังหวัด และมีการร่วมด�ำเนินการจากภาคส่วนต่างๆ โดยไม่มีความขัดแย้ง สามารถแก้ไขปัญหาการก�ำจัดขยะได้ในระยะยาว

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

2.2 การลดและใช้ประโยชน์ขยะอินทรีย์ แนวทางการจัดการขยะอินทรีย์ โดยวิธใี ช้ถงั หมักปุย๋ อินทรียแ์ บบใช้อากาศ (ถังไม่มวี นั เต็ม) ไปใช้กบั ครัวเรือน สถาน ประกอบการที่มีเศษอาหารเหลือใช้ โดยไม่มีกลิ่น ปัจจุบันมีการแจกจ่ายถัง ลงไปในพื้นที่ต่างๆ คิดเป็นร้อยละ 70 ของจ�ำนวนถังทั้งหมดที่ได้ทำ� การผลิต ซึ่งถัง ไม่มีวันเต็มนี้ เป็นนวัตกรรมจากการคิดร่วมกันโดยภาคีเครือข่ายในศูนย์ถ่ายทอด เทคโนโลยีจดั การขยะอย่างยัง่ ยืน โดยมีการลงนามบันทึกข้อตกลงร่วมกัน ระหว่าง ผูว้ า่ ราชการจังหวัดภูเก็ต กับองค์กรปกครองท้องถิน่ 19 ท้องถิน่ และลงนามบันทึก ข้อตกลงร่วมกันระหว่างนายกเทศมนตรีนครภูเก็ตกับเครือข่ายภาคประชาสังคม ชุมชน และประชาชน จ�ำนวน 69 ครัวเรือน ซึ่งในปัจจุบันมีผู้เข้ามาศึกษาดูงาน เป็นจ�ำนวนมาก และรัฐบาลได้ใช้เป็นต้นแบบการจัดการขยะของประเทศ 3. มิติคน ท�ำอย่างไรให้สุขภาพแข็งแรง มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการจัดตัง้ เครือข่ายสุขภาพเฝ้าระวังโรคในเขตเมืองของเทศบาลนคร ภูเก็ต ด้วยมีประชากรมาก จึงเป็นสาเหตุของโรคระบาดต่างๆ ทั้งโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซำ�้ ไม่ว่าจะเป็นโรคซาร์ ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ โรคคอตืบ รวมทั้งการ ระบาดอย่างหนักของโรคไข้เลือดออก ซึง่ ล�ำพังทีมงานกองการแพทย์เทศบาลนคร ภูเก็ต ไม่สามารถเฝ้าระวังได้อย่างทั่วถึง ทันเหตุการณ์ จากการใช้เครือข่ายในการ เฝ้าระวังและแลกเปลื่ยนข้อมูลระหว่างกัน ท�ำให้สามารถรับมือกับปัญหาที่เกิดขึ้น ได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ได้มีนวัตกรรมพิชิตไข้เลือดออก “สร้างเครือข่ายแตกหน่อ ต่ อ ยอด ต้ า นภั ย ไข้ เ ลื อ ดออก” โดยเริ่ ม จากการปลุ ก พลั ง และจั ด อบรมเด็ ก ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครภูเก็ต มอบหมายให้เด็ก 1 คนเป็นสายสืบลูกน�้ำ ส�ำรวจบ้านตนเอง 1 หลัง และบ้านที่อยู่ข้างเคียงอีก 2 หลัง และขยายผลไปสู่ ผูป้ กครอง อาสาสมัครสาธารณสุขและชุมชน เริม่ จากการดูแลบ้านตัวเอง และบ้าน ข้างเคียง จากนั้นขยายต่อไปยังชุมชน ขณะเดียวกันได้จัดท�ำโครงการ “แปลงร่าง ยางรถ ประชดยุง” เพือ่ ลดแหล่งเพาะพันธุย์ งุ ลายในชุมชน โดยดัดแปลงยางรถยนต์ เก่าให้เป็นภาชนะปลูกสมุนไพร แปลงสภาพเป็นสนามเด็กเล่น และลานออกก�ำลัง กายผู้สูงอายุ และดึงผู้ประกอบการร้านเปลื่ยนยางเข้ามาเป็นเครือข่าย ท�ำให้โรค ไข้เลือดออกลดลงมาก

P. 15


ผู้น�ำ อปท. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมดีเด่น

ทัศนัย บูรณุปกรณ์ นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่

“ ”

ท�ำทุกอย่างให้เป็นไปได้และ มีค�ำตอบที่มีเหตุผลให้กับทุกคน

ประวัติการท�ำงาน พ.ศ.2544-2547 พ.ศ.2548-2551 พ.ศ.2548-2549 พ.ศ.2551-2552 ปัจจุบัน

ผู้ช่วยด�ำเนินงานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาเทศบาลนครเชียงใหม่ ประธานสภาเทศบาลนครเชียงใหม่ รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ด�ำรงต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ ตั้งแต่วันที่ 8 ธันวาคม 2552

นโยบายการบริหาร สถานที่ท�ำงาน

เทศบาลนครเชียงใหม่ เลขที่ 1 ถนนวังสิงห์ค�ำ ต�ำบลช้างม่อย อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์ 0-5325-9000

ประวัติส่วนตัว

วัน/เดือน/ปี เกิด : 1 ตุลาคม พ.ศ. 2517 ชื่อบิดา/มารดา : นายพรทัศน์ บูรณุปกรณ์, นางผ่องศรี บูรณุปกรณ์

การศึกษา

ประถมศึกษา-มัธยมศึกษา : โรงเรียนมงฟอร์ต วิทยาลัย ปริญญาตรี : บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปริญญาโท : Master of Science (Money,Banking and Finance) The university of Birmingham หลักสูตรพิเศษ : การวางแผนพัฒนาท้องถิ่นแบบบูรณาการ (สถาบันพระปกเกล้า) และ Business Awareness and Culture Programme (Edith University,Australia)

P. 16

นโยบายการบริหารเทศบาลนครเชียงใหม่ มี 7 ด้าน 1. ด้านชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2. ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 3. ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. ด้านการศึกษา สาธารณสุข และสังคม 5. ด้านศิลปวัฒนธรรมและประเพณีทอ้ งถิน่ 6. ด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน 7. ด้านเศรษฐกิจ ในส่วนของนโยบายทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ (1) พัฒนาสภาพแวดล้อมของเมืองให้มีความสวยงามร่มรื่น โดยดูแล รักษาและบ�ำรุงต้นไม้ทั่วทั้งเขตเมือง พร้อมทั้งปลูกไม้ดอกไม้ประดับตามถนนสาย ส�ำคัญ และพื้นที่สาธารณะเพิ่มมากขึ้น, บ�ำรุงรักษาและปรับปรุงสภาพพื้นที่สีเขียว เช่น พื้นที่สวนสาธารณะต่างๆ สวนหย่อม และบริเวณเกาะกลางถนน ให้เกิด สภาพแวดล้อมที่ดี เหมาะสมส�ำหรับเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและใช้ในกิจกรรม นันทนาการต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมให้ภาคเอกชน ราชการ รัฐวิสาหกิจ ช่วยกันปลูก ดูแล รักษาต้นไม้ ไม้ดอกไม้ประดับในพื้นที่ที่รับผิดชอบ (2) ด�ำเนินโครงการเชียงใหม่เมืองสะอาด ด้วยการป้องกันและแก้ไข ปัญหามลพิษทางอากาศ ติดตาม ตรวจสอบระดับมลพิษทางอากาศ พร้อมด�ำเนิน มาตรการการป้องกัน และควบคุมการกระท�ำที่จะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศอย่าง เข้มงวด พร้อมทัง้ ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รบั ทราบถึงมาตรการดังกล่าวอย่าง ทั่วถึง, พัฒนาคุณภาพแหล่งน�้ำสาธารณะ คูคลองต่างๆ เช่น คลองแม่ข่า คูเมือง และพัฒนาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียให้ครอบคลุมทั่วถึงทุกพื้นที่, พัฒนาระบบการจัดการ ขยะมูลฝอยให้เกิดประสิทธิภาพ ทั้งในด้านการจัดเก็บ การก�ำจัดขยะ การน�ำไปใช้ ประโยชน์ตามแนวคิดขยะคือทรัพยากร รวมทั้งส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การใช้ พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดเชียงใหม่

ผลงานในด้านต่างๆ

1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน • น�ำสายไฟฟ้า และสายสื่อสารลงใต้ดิน ในถนนหลัก 2 สาย ได้แก่ ถนน ท่าแพ และถนนช้างคลาน ซึ่งถือเป็นถนนปลอดสายไฟฟ้าและสายสื่อสาร 2 สายแรกในจังหวัดเชียงใหม่ • เปิดให้บริการสวนสาธารณะ จากที่มีเพียง 1 แห่ง คือ สวนสาธารณะหนอง- บวกหาด จนปัจจุบันมีสวนสาธารณะให้บริการเพิ่มขึ้นเป็น 4 แห่ง ได้แก่ สวน สาธารณะหนองบวกหาด สวนสาธารณะบ้านเด่น สวนสาธารณะล้านนา ร.9 และสวนสาธารณะกาญจนาภิเษก • ริเริ่มโครงการมินิบัสในเขตเมือง โดยปัจจุบันให้บริการ 2 เส้นทางหลัก • ริเริ่มโครงการกล้อง CCTV ให้ครอบคลุมในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ 2. ด้านคุณภาพชีวิต • ริ เ ริ่ ม โครงการตรวจสุ ข ภาพประจ� ำ ปี และตรวจวั ด สายตา โดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย ซึ่งปัจจุบันด�ำเนินโครงการเพิ่มเติม อาทิ การบริการตรวจมะเร็งเต้านม การรักษาต้อกระจก • สนับสนุนแหล่งทุนส�ำหรับผู้ขาดโอกาส โดยเพิ่มปริมาณสถานธนานุบาล จาก 3 แห่ง เป็น 4 แห่ง และในปี 2560 จะให้บริการสถานธนานุบาลแห่งที่ 5 3. ด้านศิลปวัฒนธรรม • ให้บริการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเพิ่มเติม จากเดิมมี 1 แห่ง คือ หอศิลปวัฒนธรรม เมืองเชียงใหม่ จนในปัจจุบันเปิดให้บริการ 3 แห่ง ได้แก่ หอศิลปวัฒนธรรม เมืองเชียงใหม่ หอประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่ และพิพิธภัณฑ์พื้นถิ่นล้านนา • อนุรักษ์เมืองเก่า โดยประกาศใช้เทศบัญญัติเมืองเก่า ซึ่งจ�ำกัดความสูงของ สิง่ ปลูกสร้าง ไม่ให้เกิน 12 เมตร รูปแบบอาคารต้องสะท้อนศิลปะล้านนา และสี ของอาคารต้องไปในทิศทางเดียวกัน คือ สีขาว สีครีม และสีนำ�้ ตาล

รางวัลที่ได้รับ •

• •

• • • • • • • • • • • •

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

รางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย (Thailand Tourism Awards) ครั้งที่ 10 ประจ�ำปี พ.ศ.2558 ประเภทองค์กรสนับสนุนและส่งเสริมการท่องเที่ยว องค์กรภาครัฐดีเด่น “กินรี” จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) รางวัลกิตติกรรมกาศการรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ปี 2558 รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ผ่านเกณฑ์การบริหารจัดการที่ดี ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2556 จากคณะกรรมการการกระจายอ�ำนาจฯ (รับรางวัลเมื่อ 22 มิ.ย. 2558) เกียรติบตั รรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิง่ แวดล้อม (EHA 1001 : 2015) (EHA 1002 : 2015) (EHA 6000 : 2015) จากกรมอนามัย ปี 2558 รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่นในการบริหารจัดการเก็บข้อมูลพื้นฐาน ประจ�ำปี 2558 จากส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2558 รางวัลกิตติกรรมกาศการรับรองคุณภาพสถานพยาบาลขัน้ ที่ 2 สู่ HA จากสถาบัน รับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ปี 2557 รางวัลชนะเลิศ ส�ำนักทะเบียนท้องถิน่ ดีเด่น และบุคลากรดีเด่นทางการทะเบียน ประจ�ำส�ำนักทะเบียนดีเด่น ประจ�ำปี 2557 จากกรมการปกครอง รางวัลองค์ปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม ระดับจังหวัด ประจ�ำ ปี พ.ศ.2556 จากกระทรวงวัฒนธรรม รางวัลองค์ปกครองส่วนท้องถิน่ ดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม ระดับภูมภิ าค ประจ�ำ ปี พ.ศ.2556 จากกระทรวงวัฒนธรรม รางวัลมาตรฐานศูนย์บริการข้อมูลส�ำหรับนักท่องเที่ยว จากกรมการท่องเที่ยว ปี 2557 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ด้านการพัฒนาพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ดีเด่น ในระดับเขต ประจ�ำปี 2556 จากกรมปศุสัตว์ และกรมควบคุมโรค รางวัลด้านการพัฒนาคุณภาพบริการตามบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA มาสู่การปฏิบัติ ประจ�ำปี 2556 จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) รางวัลโล่ประกาศเกียรติคุณด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประจ�ำปี 2556 จากกระทรวงสาธารณสุข รางวัลโรงเรียนระดับเพชร ในโครงการโรงเรียนต้นแบบมาตรฐานระบบการ ต้านยาเสพติด ประจ�ำปี 2556 จากส�ำนักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย รางวัลโล่ประกาศเกียรติคุณ 6 ดาว ในโครงการสนับสนุนและสร้างเสริม สมรรถนะให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการขยะมูลฝอยประจ�ำ ปี 2556 จากกรมควบคุมมลพิษ ฯลฯ

P. 17


ผู้น�ำ อปท. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมดีเด่น

สมศักดิ์ ตันติเศรณี นายกเทศมนตรีนครสงขลา

“ ”

ผลประโยชน์ของส่วนรวม ต้องมาก่อน

ที่อยู่ส�ำนักงาน เทศบาลนครสงขลา

ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 โทรศัพท์ 0-7431-1015 อีเมล์ : info@songkhlacity.go.th

ประวัติส่วนตัว

วัน เดือน ปี เกิด : 25 มิถุนายน 2503 ชื่อบิดา – มารดา : นายห้วน ตันติเศรณี, นางมณี ตันติเศรณี สถานภาพ : สมรส กับนางสมสุข ตันติเศรณี มีบุตรชาย 2 คน ที่อยู่ปัจจุบัน : 229 ถนนนครนอก ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 โทรศัพท์ 0-8973-97474

ประวัติการศึกษา

ประถมศึกษา : โรงเรียนวิเชียรชม อ.เมือง จ.สงขลา มัธยมศึกษา : โรงเรียนมหาวชิราวุธ อ.เมือง จ.สงขลา อุดมศึกษา : ปวส.สาขาสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคภาคใต้สงขลา (ปี 2520 – 2524) : ครุศาสตร์อตุ สาหกรรมบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (ปี 2525 – 2527) : รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ (ปี 2553 – 2555)

ผลงานการพัฒนาเมืองสงขลา • • • • • • • •

ประวัติการท�ำงาน

ปัจจุบัน : ธุรกิจประมง และสถานีบริการน�ำ้ มันเชื้อเพลิง พ.ศ.2553 – 2556 : รองนายกเทศมนตรีนครสงขลา พ.ศ.2556 – ปัจจุบัน : นายกเทศมนตรีนครสงขลา

P. 18

• • • •

โครงการพัฒนาเมืองเก่าสงขลาเป็นเมืองมรดกชาติและผลักดันสูเ่ มืองมรดกโลก โครงการปรับปรุงระบบไฟฟ้าเป็นระบบเคเบิ้ลใต้ดินถนนนครใน การพัฒนาหาดสมิหลาสู่การท่องเที่ยวระดับสากล โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ท่าเรือท่องเที่ยวและจุดชมวิวทะเลสาบ (ที่ถ�้ำพุทธรักษา) โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองขวางให้เป็นเส้นทางเชื่อมโยงสู่เมืองเก่า โครงการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวถนนยะลา โครงการอาคารการเรียนรู้นครสงขลา (Songkhla Smart Center) MOU ร่วมกับ มทร.ศรีวิชัย, ปตท.สผ. และ TK Park โครงการบูรณะศาลเจ้าพ่อกวนอู โครงการ Art Street และตกแต่งไฟประดับอาคารทรงคุณค่า โครงการ Historic center โครงการศูนย์การเรียนรู้สถานีรถไฟสงขลา ฯลฯ

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดสงขลา พันธกิจ

1. พัฒนาการศึกษาใหม่ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เพื่อก้าวไปสู่นครแห่งการเรียนรู้ 2. เศรษฐกิจใหม่ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เพื่อยกระดับรายได้ของประชาชน 3. โครงสร้างพืน้ ฐานใหม่เพือ่ ความสะดวกสบายของชาวบ่อยาง 4. พัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า 5. สุขภาพอนามัย เพื่อชีวิตที่มีคุณภาพและยืนยาว 6. ชุมชนเข้มแข็ง ส่งเสริมด้านศิลปวัฒนธรรม ศาสนา เพือ่ เป็น พลังการพัฒนาและเป็นศูนย์ยึดเหนี่ยวจิตใจ 7. บริหารจัดการองค์กรอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ ภายใต้ วัฒนธรรมประชาธิปไตยที่ถูกต้องเหมาะสมมีธรรมาภิบาล

ประวัติเทศบาลนครสงขลา

สมัยโบราณ สงขลาเป็นชุมชนประมงบนคาบสมุทร สทิ ง พระ ต่ อ มาพ่ อ ค้ า ชาวตะวั น ตกใช้ เ ป็ น ท่ า เรื อ ขนส่ ง สินค้า ชุมชนจึงขยายตัวเป็นเมืองท่าส�ำคัญที่ปรากฏชื่อใน ประวัติศาสตร์ว่า “Singora” (ซิงกอรา) โดยชื่อนี้สามารถ สันนิษฐานได้หลายแบบ โดยข้อสันนิษฐานที่เด่นชัดที่สุดคือ เมืองสงขลาในสมัยก่อนมีชอื่ ว่า “สิงขร” เมือ่ พ่อค้าชาวตะวันตก เข้ามาจึงได้มีการเรียกตามส�ำเนียงฝรั่งและเพี้ยนมาเป็น สงขลาในปัจจุบัน “singora” เจ้าเมืองสงขลายุคแรกเป็น ชาวมุสลิม สมัยกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้ส่งกองทัพมาปราบท�ำลายเมืองอย่างราบคาบ จึงมีการ ย้ายไปอยูท่ แี่ หลมสน (ปัจจุบนั อยูบ่ า้ นบ่อเตย อ�ำเภอสิงหนคร) เจ้าเมืองเป็นชาวพื้นเมืองบ้าง ชาวจีนบ้าง ตามยุคตามสมัย สมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์เมืองสงขลามีฐานะเป็น ประเทศราชของอาณาจักรสยาม ซึ่งทรงให้สร้างเมืองใหญ่ ที่ฝั่งต�ำบลบ่อยาง ใช้เวลาสร้างเมืองถึง 10 ปี และรัชกาลที่ 4 ทรงเสด็จมาพ�ำนักถึง 2 ครั้ง พ.ศ.2439 สงขลาเป็นที่ว่าการ มณฑลนครศรีธรรมราช พ.ศ.2463 สถาปนาเป็นสุขาภิบาลเมืองสงขลา พ.ศ.2478 ยกฐานะเป็ น เทศบาลเมื อ งสงขลา และใน พ.ศ.2542 มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงฐานะเทศบาล เมื อ งสงขลาเป็ น เทศบาลนครสงขลา (ราชกิ จ จานุ เ บกษา เล่ม 116 ตอน 110 ก. วันที่ 10 พฤศจิกายน 2542 มีผล บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2542) สภาพพื้นที่ของเทศบาลนครสงขลา ส่วนใหญ่เป็น ที่ราบชายฝั่งทะเล และมีลักษณะเอียงลาดจากฝั่งทะเลหลวง ไปทางด้านทะเลสาบ รูปร่างของพืน้ ทีม่ ลี กั ษณะเป็นแหลมแคบ ยาวตามแนวทิศใต้สู่ทิศเหนือลงสู่ทะเล ระหว่างทะเลสาบ สงขลาทางด้านตะวันตกและทะเลอ่าวไทย มีพนื้ ที่ 9.27 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 5,793.75 ไร่ ท�ำเลที่ตั้งอยู่ห่างจาก กรุงเทพมหานคร ตามเส้นทางรถไฟ 947 กิโลเมตร หรือ ตามทางหลวงแผ่นดิน 950 กิโลเมตร

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

P. 19


ผู้น�ำ อปท. ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมดีเด่น

เกรียงไกร ภูมิเหล่าแจ้ง นายกเทศมนตรีต�ำบลยางตลาด

จะมุ่งท�ำดีตอบแทนคุณในหลวง และแผ่นดิน จะใช้ทุกโอกาส ในชีวิตตอบแทนราษฎร์

ที่อยู่ส�ำนักงาน

เทศบาลต�ำบลยางตลาด อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ 46120 โทรศัพท์ 0-4389-1621

ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี : บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัย Manuel L. Quazon University, Manila Philippines ประเทศฟิลิปปินส์ ปริญญาโท : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ปริญญาเอก : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (ก�ำลังอยู่ในระหว่างการศึกษา) ใบประกาศนียบัตรชั้นสูง : หลักสูตรการบริหารภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 5 จากสถาบันพระปกเกล้า ประกาศนียบัตรชั้นสูง : การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยส�ำหรับ นักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 18 จากสถาบันพระปกเกล้า

P. 20

ประวัติการท�ำงาน

พ.ศ.2532-2538 เจ้าหน้าที่ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) สาขากาฬสินธุ์ พ.ศ.2538-2546 สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ.2540-2546 รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ.2543-2545 กรรมการสมาคมพ่อค้าจังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ.2543-2549 สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดกาฬสินธุ์ กรรมาธิการการเกษตรและ สหกรณ์วุฒิสภา กรรมาธิการการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม วุฒิสภา พ.ศ.2548-2551 ประธานชมรมมวยจังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ.2548-2552 นายกสมาคมกีฬาจังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ.2540-ปัจจุบัน โฆษกและคณะกรรมการจัดงานสมโภชน์เจ้าพ่อหลักเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ (งานงิ้ว) พ.ศ.2552-ปัจจุบัน นายกเทศมนตรีต�ำบลยางตลาด พ.ศ.2553-2557 นายกสมาคมเทศบาลจังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ.2557-2558 สมาชิสภาปฏิรูปแห่งชาติ พ.ศ.2557-ปัจจุบัน นายกสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย (คนที่ 29) อดีตประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัดกาฬสินธุ์ อดีตประธานสันนิบาตเทศบาลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อดีตกรรมการเงินทุนส่งเสริมกิจการเทศบาล (ก.ส.ท.) อดีตกรรมการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดกาฬสินธุ์

บทบาทการท�ำงานระดับชาติ

นับแต่ปี พ.ศ.2553 ที่ นายเกรียงไกร ภูมิเหล่าแจ้ง ได้รับต�ำแหน่ง เป็นประธานสันนิบาตเทศบาลจังหวัดกาฬสินธุ์ และนายกสมาคมเทศบาลจังหวัด กาฬสินธุ์ ได้มบี ทบาททีส่ ำ� คัญต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในการผลักดันรัฐบาล ในแต่ละยุค นับแต่รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และแม้กระทัง่ รัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ให้เพิม่ สัดส่วนรายได้ทรี่ ฐั จัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้เพียงพอต่อการจัดบริการสาธารณะ ท�ำให้ รัฐบาลแต่ละยุคหันมาให้ความส�ำคัญต่อบทบาทของสมาคมสันนิบาตเทศบาล แห่งประเทศไทย ให้พนื้ ทีก่ บั สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทยในการมี ส่วนร่วมในหลายๆ เรื่องที่เกี่ยวของกับการปกครองท้องถิ่น รวมถึงการมีส่วนร่วม ในการวางบทบาทในการปฏิรูปท้องถิ่นอย่างมีนัยส�ำคัญ ในการท�ำหน้าที่สภาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ นายเกรียงไกร ภูมิเหล่าแจ้ง มีบทบาทที่ส�ำคัญต่อการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะหมวดการปกครอง ท้องถิ่น ได้พยายามผลักดันในทุกวิถีทางที่จะท�ำให้ท้องถิ่นยืนอยู่ได้อย่างเข้มแข็ง ด้วยรายได้ของตนเอง แต่อย่างไรก็ตามด้วยเหตุที่โครงสร้างของกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวกับรายได้ของท้องถิ่นยังคงท�ำให้ท้องถิ่นต้องพึ่งพิงรัฐเป็นหลัก ในขณะนั้น จึงได้มีการร่วมเป็นแกนน�ำในการเสนอให้เกิดกาสิโนที่ถูกกฏหมาย เพื่อดึงรายได้ จากต่างชาติและคนมีฐานะในเมืองใหญ่กระจายลงสู่พื้นที่ ด้วยคาดหวังว่าจะท�ำให้ ท้องถิ่นมีรายได้เพียงพอต่อการจัดบริการสาธารณะ บทบาทในระดับท้องถิน่ แม้วา่ เทศบาลต�ำบลยางตลาด อ�ำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ จะเป็นเทศบาลขนาดเล็กมีพน้ื ทีเ่ พียง 10.5 ตารางกิโลเมตร มีรายได้ ในการจัดบริการสาธารณะและค่าใช้จ่ายประจ�ำ เพียงปีละ 50 กว่าล้าน มีรายจ่าย ทีส่ ามารถจ่ายเพือ่ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเพียงไม่ถงึ 5 ล้านบาท/ปี แต่ดว้ ยความ ที่ นายเกรียงไกร ภูมิเหล่าแจ้ง มีความขยันในทุกบทบาทได้พยายามน�ำเสนอทุกๆ กระทรวงให้เห็นความจ�ำเป็นของพืน้ ที่ กระทัง่ ท�ำให้เทศบาลต�ำบลยางตลาด ได้รบั การจัดสรรงบประมาณเฉพาะกิจมาพัฒนาพืน้ ทีอ่ ย่างต่อเนือ่ ง ได้รบั ความนิยมจาก ประชาชนจนได้รับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรี 2 สมัย

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

วิสัยทัศน์

จะมุ่งท�ำดีตอบแทนคุณในหลวงและแผ่นดิน จะใช้ทุกโอกาสในชีวิต ตอบแทนราษฎร์

นโยบาย

ใช้ความรูค้ วามสามารถผลักดันให้ทอ้ งถิน่ เป็นหน่วยงานหลักพืน้ ฐาน ในการพัฒนาชาติ ด้วยการผลักดันให้มีการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอย่างแท้จริง พร้อมทั้งส่งเสริมความสมานสามัคคีของคนในท้องถิ่น สร้างบรรยากาศความร่วมมือในการพัฒนา และต้องมีความโปร่งใสตรวจสอบได้ ทุกกระบวนงาน

P. 21


ผู้น�ำ อปท. ด้านการจัดสิ่งแวดล้อมดีเด่น

สเกน จันทร์ผดุงสุข นายกเทศมนตรีต�ำบลภาชี

ภาชีเมืองน่าอยู่ การคมนาคมสะดวก สิ่งแวดล้อมไม่เป็นพิษ ก้าวน�ำด้าน เศรษฐกิจ ทุกชีวิตปลอดภัย ผลงาน / รางวัลที่ได้รับ • •

ที่อยู่ส�ำนักงาน เทศบาลต�ำบลภาชี

ผ่านการประเมินรับรองเป็นตลาดสดน่าซื้อ ประจ�ำปี พ.ศ.2550 ระดับดี โดย กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เป็นเทศบาลที่มีกระบวนการเมืองน่าอยู่ด้านสุขภาพ โดยกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข รางวัลชมเชย ประเภทตลาดขนาดเล็ก ระดับจังหวัด (ตลาด 13 เมตร) โครงการประกวดตลาดดีมีมาตรฐาน ประจ�ำปี พ.ศ.2551

เลขที่ 111 หมู่ที่ 2 ต�ำบลภาชี อ�ำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13140 โทรศัพท์ 0-3531-1021 โทรสาร 0-3531-1506

ประวัติการศึกษา

ประถมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนอัสสัมชัญ กรุงเทพ มัธยมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนอัสสัมชัญ กรุงเทพ ปริญญาตรี : สาขาบริหารการจัดการศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา ปริญญาโท : สาขารัฐศาสตร์การปกครอง มหาจุฬราชวิทยาลัย วังน้อย

ประวัติการท�ำงาน • • • •

สมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลภาชี : 24 มกราคม 2542 ถึง 23 พฤษภาคม 2546 สมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลภาชี : 8 มีนาคม 2546 ถึง 7 มีนาคม 2546 นายกเทศมนตรีต�ำบลภาชี : 8 เมษายน 2550 ถึง 7 เมษายน 2554 นายกเทศมนตรีต�ำบลภาชี : 15 พฤษภาคม 2554 ถึง ปัจจุบัน

ประสบการณ์/การอบรม • • • • •

เป็นคณะกรรมาธิการด้านการกีฬา สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย เป็นคณะกรรมาธิการด้านบริหาร สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย เป็นคณะกรรมาธิการด้านกฎหมายและระเบียบด้านกระจายอ�ำนาจ สมาคม สันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย เป็นทีป่ รึกษาด้านวัฒนธรรมประเพณี สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย เป็นคณะกรรมการสันนิบาตเทศบาลจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

P. 22

นโยบาย / หลักการท�ำงาน

บริหารงานตามนโยบายทั้ง 6 ด้าน 1. นโยบายด้านการเมืองการบริหาร 2. นโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน 3. นโยบายด้านเศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง 4. นโยบายด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 5. นโยบายด้านการศึกษา การกีฬา ศานา วัฒนธรรม นันทนาการและการท่องเทีย่ ว 6. นโยบายด้านการพัฒนาสังคม และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประวัติเทศบาลต�ำบลภาชี

เดิมเป็นสุขาภิบาล เรียกว่า "สุขาภิบาลโคกม่วง" โดยได้รบั การยกฐานะขึน้ เป็นสุขาภิบาล โคกม่วง เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2498 ต่อมาเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2508 กระทรวงมหาดไทย ได้มีประกาศเปลี่ยนแปลงเขตต�ำบลในท้องที่อำ� เภอภาชี โดยได้รับการโอนพื้นที่บางส่วนของต�ำบล โคกม่วงมาเป็นต�ำบลภาชี มีเขตการปกครองรวม 7 หมู่บ้าน ดังนั้น สุขาภิบาลโคกม่​่วงจึงมีพื้นที่อยู่ในเขตต�ำบลภาชี ต่อมาเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2542 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศเปลีย่ นชือ่ "สุขาภิบาลโคกม่วง" เป็น "สุขาภิบาลภาชี" และเมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลต�ำบลภาชี มีพื้นที่ในเขตเทศบาล 7.47 ตารางกิโลเมตร สัญลักษณ์ของเทศบาลต�ำบลภาชี เป็นรูปพระแม่โพสพทรงม้า พระหัตถ์ซ้ายถือรวงข้าว พระหัตถ์ขวาถือเคียว เทศบาลต�ำบลภาชี ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ห่างจาก ตัวจังหวัดประมาณ 30 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 105 กิโลเมตร โดยมี อาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ : ตั้งแต่หลักเขตที่ 1 ซึ่งตั้งอยู่ที่ฟากตะวันออกของทางหลวงจังหวัดสายภาชี นครหลวงตอนที่อยู่ห่างจากทางรถไฟสายกรุงเทพ-นครราชสีมา ตรงหลัก กม.ที ่ 88/37 ไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือระยะทาง 200 เมตร (ติดต่อกับเขต อบต.ไผ่ล้อม) จากหลักเขตที่ 1 เป็น เส้นขนานกับทางรถไฟสายกรุงเทพ-พิษณุโลก ตรงหลัก กม.ที่ 91 ซึ่งเป็นหลักเขต ที่ 2 (ติดต่อกับ เขต อบต.หนองน�ำ้ ใส) ทิศตะวันออก : จากหลักเขตที่ 2 เป็นเส้นตรงไฟทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ถงึ คลองระบาย 3 ขวา ฝั่งเหนือตรงหลัก กม.ที่ 16/9 ของทางหลวงแผ่นดินสาย ภาชี-หินกอง ซึ่งเป็นหลักเขตที่ 3 (ติดต่อกับเขต อบต.หนองน�ำ้ ใส) ทิศใต้ : จากหลักเขตที ่ 3 เลียบตามฝั่งเหนือของคลองระบายขวา 3 ไปทางทิศตะวันตก เป็นระยะ 1,650 เมตร ซึ่งเป็นหลักเขตที่ 4 (ติดต่อกับเขต อบต.โคกม่วง) ทิศตะวันตก : จากหลักเขตที่ 4 เป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ แล้วเลียบ ตามฟาก ตะวันออกของทางหลวงจังหวัดสายภาชี-นครหลวง จนบรรจบกับหลักเขตที่ 1 (ติดต่อ กับเขต อบต.กระจิว) ส�ำหรับประชากรในเขตเทศบาลต�ำบลภาชี (ณ วันที่ 30 เม.ย. 54) มีจำ� นวน ทัง้ สิน้ 5,631 คน แยกเป็นชาย 2,684 คน เป็นหญิง 2,947 คน มีครัวเรือน จ�ำนวน 2,301 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธประมาณ 97% และศาสนาอื่นอีกประมาณ 3% มีวัด ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลทั้งหมด 3 แห่ง คือ วัดภาชี วัดเจริญธรรมและวัดอุทการาม เทศบาลต�ำบลภาชีมเี ขตการปกครอง 2 ต�ำบล คือ ต�ำบลภาชี และต�ำบลไผ่ลอ้ ม (บางส่วน) มีหมู่บ้านอยู่ในเขตเทศบาลทั้งหมู่บ้าน จ�ำนวน 7 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 บ้านหนองผีหลอก, หมู่ที่ 2 บ้านหนองโพธิ์, หมู่ที่ 3 บ้านบ้านวัด, หมู่ที่ 4 บ้านหนองโดน, หมู่ที่ 5 บ้านตลาด. หมู่ที่ 6 บ้านนายี่, และ หมูท่ ี่ 7 บ้านดูใ่ นเขตเทศบาลต�ำบลภาชี มีการจัดตัง้ ชุมชนย่อยทัง้ หมด 14 ชุมชน ดังนี้ 1.ชุมชน หนองแหน 2.ชุมชนหนองโพธิ์ 3.ชุมชนสันติสขุ 4.ชุมชนวัดเจริญธรรม 5.ชุมชนวัดอุทการาม 6.ชุมชน ร่วมใจ 7.ชุมชนชุมทางภาชี 8.ชุมชนตลาดเหนือ 9.ชุมชนตลาดใต้ 10.ชุมชนวัดภาชี 11.ชุมชนโคกขาม 12.ชุมชน ก.ม. 13.ชุมชนร่วมใจพัฒนา 14.ชุมชนหนองโนพัฒนา วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นที่สำ� คัญ ได้แก่ 1. ประเพณีวนั ขึน้ ปีใหม่ มีพธิ รี ว่ มท�ำบุญตักบาตร ข้าวสารอาหารแห้งแด่พระภิกษุ สามเณร จ�ำนวนประมาณ 200 รูป 2. ประเพณีวันสงกรานต์ จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 24 เมษายน ของทุกปี โดยมีพิธีรดน�ำ้ ด�ำหัวผู้สูงอายุ 3. การจัดงานวันพ่อแห่งชาติ จัดขึ้นในวันที่ 5 ธันวาคมของทุกปี โดยจะมีพิธีจุดเทียนชัย ถวายพระพร การร�ำถวายพระพรของเด็ก ๆ นักเรียนในเขตอ�ำเภอภาชี 4. ประเพณีแห่เทียนพรรษา โดยมีการหล่อเทียนพรรษา และมีพธิ แี ห่เทียนพรรษา ณ วัดต่าง ๆ ในเขตอ�ำเภอภาชี 5. ประเพณีลอยกระทง โดยจะมีการประกวดการประดิษฐ์กระทง ประกวดหนูนอ้ ยนพมาศ นางนพมาศ และการแสดงของเด็กนักเรียนในเขตอ�ำเภอภาชี

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

P. 23


ผู้น�ำ อปท. ด้านการบริหารจัดการดีเด่น

ดร.กิตติ เป้าเปี่ยมทรัพย์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา

“ ”

ผิดระเบียบไม่ท�ำ สั่งการไม่ถูกให้บอก อะไรคลุมเครือปรึกษาหารือกัน

ประวัติการท�ำงานและประสบการณ์ที่ผา่ นมา •

ที่อยู่ส�ำนักงาน

องค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา เลขที่ 51/4 หมู่ 1 ต�ำบลบางแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000 โทรศัพท์ 0-3809-3711-5 โทรสาร 0-3809-3716 อีเมล cpao@hotmail.co.th

ประวัติการศึกษา

ประถมศึกษา : โรงเรียนวัดสัมปทวนนอก จ.ฉะเชิงเทรา มัธยมศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จ.ฉะเชิงเทรา ปริญญาตรี : หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการทั่วไป สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ปริญญาโท : รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ปริญญาเอก : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมคธ ประเทศอินเดีย ปริญญาเอก : ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

• • • • • • • • • •

รางวัลที่ได้รับ • • • • •

P. 24

ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 2 ต.บางแก้ว อ.เมืองฉะเชิงเทรา จ.ฉะเชิงเทรา (พ.ศ.2528 – 2538) สมาชิกสภาจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ.2538 – 2543) รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา (พ.ศ.2543 – 2547) กรรมการการศึกษาวิทยาลัยเทคนิคจุฬาภรณ์ อ.บ้านโพธิ์ จ.ฉะเชิงเทรา ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม (นายอิทธิ ศิริลัทธยากร) ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการต�ำรวจ สภาผู้แทนราษฎร คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานต�ำรวจจังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้ทรงคุณวุฒิสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3 (จังหวัดนครนายก ปราจีนบุร ี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา และสมุทรปราการ) ที่ปรึกษาส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1 ประธานกรรมการสถานศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา เป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทราคนแรกของจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน สมัยแรก (พ.ศ.2547- 2551) สมัยที่สอง (พ.ศ.2551 - 2554) และ สมัยที่สาม (พ.ศ.2554 - ปัจจุบัน)

ได้รับพระราชทานโล่เกียรติคุณจากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ปี 2550 ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ “ผู้นำ� ท้องถิ่นดีเด่น” ปี 2549 จาก พล.อ.เชาวลิต ยงใจยุทธ รับวุฒิบัตรจากคณะกรรมการการส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกับ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ได้รับคัดเลือกเป็นพ่อตัวอย่างแห่งชาติ ปีที่ 33 ประจ�ำปี 2555 รับเกียรติบัตรรางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ดี ด้านการป้องกัน การทุจริต ประจ�ำปี 2556 จากส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ได้รับคัดเลือกให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบ ด้านการป้องกัน การทุจริต ปี 2557 จากส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดฉะเชิงเทรา

นโยบายการบริหารงาน

1. นโยบายด้านการศึกษา กีฬา และนันทนาการ 2. นโยบายด้ า นเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม การส่ ง เสริ ม อาชี พ และการสร้างรายได้ 3. นโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. นโยบายด้านการสาธารณสุขและสังคม 5. นโยบายด้านการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 6. นโยบายด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม 7. นโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 8. นโยบายด้านการเมือง การปกครองท้องถิ่น 9. นโยบายด้านการบริหารจัดการ นโยบายทั้ง 9 ด้าน ที่กล่าวมานี้ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด และกรอบการพัฒนาของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา ตลอดจนระเบียบ กฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับอ�ำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ทั้งนี้เพื่อแปลง นโยบายทุกด้านไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยการประสานความร่วมมือ จากทุกภาคส่วนของสังคม ทั้งภาครัฐ ภาคองค์กรเอกชน และภาคประชาชน เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวจังหวัดฉะเชิงเทราทุกคน ตามวิสัยทัศน์ของ องค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ว่า “บ้านเมืองน่าอยู่ อาชีพมั่นคง ด�ำรงธรรมาภิบาล”

ค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดฉะเชิงเทรา

แม่น�้ำบางปะกงแหล่งชีวิต พระยาศรีสุนทรปราชญ์ภาษาไทย

พระศักดิ์สิทธิ์หลวงพ่อโสธร อ่างฤๅไนป่าสมบูรณ์

เขตการปกครองจังหวัดฉะเชิงเทรา

จังหวัดฉะเชิงเทรามีเนื้อที่ประมาณ 5,370.28 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 3,344,375 ไร่ แบ่งเป็น 11 อ�ำเภอ 91 ต�ำบล 892 หมู่บ้าน อ�ำเภอ ซึ่งมีเนื้อที่มากที่สุด คือ อ�ำเภอสนามชัยเขต 1,666.000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 31.13 และพื้นที่น้อยที่สุด คือ อ�ำเภอคลองเขื่อน 127.400 ตารางกิ โ ลเมตร คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 2.38 (ข้ อ มู ล ณ พฤศจิ ก ายน 2558) โดยมีประชากร รวม 701,275 คน เป็น ชาย 343,979 คน หญิง 357,296 คน (ข้อมูล ณ มกราคม 2559) ทั้งนี้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา 1 แห่ง เทศบาล 34 แห่ง (เทศบาลเมือง 1 แห่ง และเทศบาลต�ำบล 33 แห่ง) และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล 74 แห่ง

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

P. 25


ผู้น�ำ อปท. ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวดีเด่น

อิทธิพล คุณปลื้ม นายกเมืองพัทยา

“ ”

มุ่งมั่น จริงใจ เสมอต้นเสมอปลาย

ประวัติทางการเมือง • •

ที่อยู่ส�ำนักงาน

ศาลาว่าการเมืองพัทยา

เลขที่ 171 หมู่ 6 ถนนพัทยาเหนือ ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอบางละมุง จังหวัด ชลบุรี 20150 โทรศัพท์ 0-3825-3100

ประวัติส่วนตัว

วันเกิด : วันที่ 15 ธันวาคม 2516 บิดา/มารดา : นายสมชาย คุณปลื้ม (ก�ำนันเป๊าะ) และนางสติล คุณปลื้ม ที่อยู่ปัจจุบัน : 194/22-35 หมู่ 9 ต.หนองปรือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี โทร 0-3825-3111, 0-3825-3101

ประวัติการศึกษา

ประถมศึกษา : โรงเรียนอัสสัมชัญ ศรีราชา มัธยมศึกษา : โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ปริญญาตรี : คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท : นิติศาสตรมหาบัณฑิต (LI.M INTERNATIONAL) สหรัฐอเมริกา

• • • • • • • • •

• • • • • • • • •

P. 26

ที่ปรึกษารัฐมนนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (ผู้ช่วยด�ำเนินงานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี) คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ แก้ไขเพิม่ เติมประมวลรัษฎากร (การขนส่ง ระหว่างประเทศ และการประกันวินาศภัย) คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ว่าด้วยเอกสิทธิ์คุ้มครอง ทางการทูตของกงสุล คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัตจิ ดั ตัง้ ส�ำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมกฤหมายวิธี พิจารณาความแพ่ง (การบังคับตามค�ำพิพากษา) คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผังภูมิวงจรรวม คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพิม่ เติมพระราชบัญญัติ ยาเสพติดให้โทษ ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกันการใช้สารระเหย คณะกรรมาธิการสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพิม่ เติมพระราชบัญญัตแิ ร่ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการรถไฟแห่งประเทศไทย คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ แก้ไขเพิ่มเติมประมวล กฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่...) พ.ศ....สภาผู้แทนราษฎร ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม คณะกรรมาธิการธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรรมาธิการการเงิน การคลัง การธนาคาร และสถาบันการเงิน สภาผูแ้ ทนราษฎร คณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี เขตเลือกตั้งที่ 5 (พ.ศ.2544-2547) คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�ำ ปี 2547 รองโฆษกณากระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ประธานที่ปรึกษานายกเมืองพัทยา

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดชลบุรี

นโยบายบริหาร

คณะผู้บริหารเมืองพัทยาได้นำ� นโยบาย “ร่วมพัฒนาสู่ความยั่งยืนอย่าง สมดุล” (Balance and Sustainable) ไปสู่การปฏิบัติ โดยยึด 5 หลัก 7 สร้าง 13 ยุ ท ธศาสตร์ 4 กลุ ่ ม นโยบาย โดยศู น ย์ ก ลางและหลั ก การพั ฒ นามา จากความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจของพี่ น ้ อ งประชาชนชาวพั ท ยา – เกาะล้ า น หรื อ นโยบาย2 PO : Pattaya People Oriented ที่น�ำมาร่วมสร้างสรรค์ รักษา สมดุล มุ่งสู่ความยั่งยืน ซึ่งมุ่งเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง เพื่อเสริมสร้างความ เข้มแข็งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมอย่างสม�ำ่ เสมอ ส�ำหรับ 4 กลุ่มนโยบายหลักในการบริหารราชการเมืองพัทยา ซึ่งมี ผลงานที่เป็นรูปธรรมแล้ว ได้แก่ 1. กลุ่มนโยบายด้านเศรษฐกิจ (The City of Opportunity) ภาพ ลักษณ์ใหม่ของเมืองพัทยาในวันนี้ “พัทยา…มีมากกว่าที่คุณคิด” Pattaya City Definitely more สามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยน�ำเสนอ จุดแข็งของเมืองพัทยาในรูปแบบการท่องเที่ยวที่หลากหลาย ซึ่งล่าสุดได้เปิดตัว โครงการ Pattaya Tourism Package 4more for your style ซึ่งเป็นแพ็ก เกจท่องเทีย่ วทีน่ า่ สนใจและมีความแปลกใหม่ ง่ายต่อการเข้าถึง เหมาะสมต่อความ ต้องการของนักท่องเทีย่ วและเซกเตอร์ อันจะน�ำไปสูก่ ารเป็น “เมืองท่องเทีย่ วน่าอยู่ ศูนย์กลางอาเซียน” เพื่อให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ยังมีความ ส�ำเร็จจากนโยบาย Welcome to Pattaya ที่จัดท�ำระบบโครงสร้างพื้นฐานของ เมืองเชือ่ มโยงเครือข่ายจราจร รองรับระบบขนส่งสูก่ ารเป็นเมืองศูนย์กลางคมนาคม ของภูมิภาค เพื่อให้การจราจรเมืองพัทยาคล่องตัวปลอดภัยสูงสุดด้วย Pattaya Traffic Master Plan แก้ปญ ั หารถติด พร้อมโครงข่ายสัญญาณไฟจราจรอัตโนมัติ และควบคุมจราจรเต็มระบบด้วยเทคโนโลยีอจั ฉริยะ ITS (Intelligent Transport System) ครอบคลุม 40 ทางแยกทั่วพัทยา 2. กลุ่มนโยบายด้านสังคม (The Benefit Society) พัทยาเป็น เมืองแรกของอาเซียน ทีส่ ามารถสร้างต้นแบบการร่วมมือร่วมใจให้บริการสาธารณะ เต็มรูปแบบ ผ่านสายด่วน Pattaya City Call Center 1337 เบอร์เดียวจบ ทุกปัญหา โดยผนึกก�ำลังทีมประชาอาสาและอีก 37 หน่วยงาน ออกปฏิบัติการ พัทยาทีม 24 ชั่วโมง ทุกวัน สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของชาวเมือง พัทยาได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงมีนโยบายด้านสุขภาพ 5 มิติ ได้แก่ การส่งเสริม การป้องกัน การรักษา การฟื้นฟู และอนามัยสิ่งแวดล้อม ดูแลครอบคลุมทุกกลุ่ม

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

ในทุกมิติ นอกจากนี้เมืองพัทยายังเป็นเมืองแรกของประเทศที่ได้ลงนามข้อตกลง “เมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ” (Age Friendly Cities) กับกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข ตอกย�ำ้ การเป็นเมืองท่องเทีย่ วน่าอยูข่ องไทยและของคนทัง้ โลก และใน ส่ ว นของการรั ก ษาพยาบาล โรงพยาบาลเมื อ งพั ท ยาซอยบั ว ขาวได้ เ ปิ ด ให้ บริการดูแลรักษาด้วยมาตรฐานทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 11 บริการพิเศษครบครัน มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย สะดวก คุ้มค่า ราคาเทียบเท่าโรงพยาบาลรัฐ ในขณะเดียวกัน เมืองพัทยายังได้เดินหน้าพัฒนาแผนแม่บทด้านการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อยก ระดับมาตรฐานการศึกษาสู่ศตวรรษที ่ 21 และส่งเสริมให้นักเรียนสามารถพูดอ่าน เขียนได้อย่างน้อย 2 ภาษา และนอกจากนี้ยังได้มีการเปิดปฏิบัติการวาระแห่งพัทยา โครงการ Pattaya White รวมพลั ง สร้ า งปฏิ บั ติ ก ารขยั บ ป้ อ งกั น ยาเสพติ ด ร่วมสร้างพัทยาให้เป็นเมืองท่องเที่ยวต้นแบบและเป็นเมืองสีขาวแห่งแรก 3. กลุ่มนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ (The Green Tourism Destination) มีการซ่อมบ�ำรุงปรับปรุงทางเท้า ทางลาดทั่วเมือง ด้วยความรวดเร็ว เพิ่มความอุ่นใจและความปลอดภัยให้แก่นักท่องเที่ยวด้วย ระบบ CCTV 1,470 กล้อง ครอบคลุมทุกพื้นที่ พร้อมทั้งมีการอนุรักษ์ธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้ อ ม ชายหาดพั ท ยา-เกาะล้ า น ฟื ้ น ฟู ร ะบบนิ เ วศใต้ ท ะเลและอนุ รั ก ษ์ ผืนป่าชายเลนทางธรรมชาติ ควบคูไ่ ปกับการจัดการสิง่ ปฏิกลู และขยะมูลฝอยเพือ่ ลด มลพิษ ขยายขีดความสามารถในการบ�ำบัดน�้ำเสียเพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัว นอกจาก นี้ยังออกแบบระบบป้องกันและแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ยั่งยืน ด้วยการจัดท�ำแผนแม่บทวางโครงข่ายระบายน�ำ้ หลักครอบคลุมทั่วพื้นที่เมือง พัทยารวม 46 สาย 904 สถานีสูบน�้ำ แก้ปัญหาน�้ำท่วมขัง อันเกิดจากสภาพ พื้นที่และความหนาแน่นของเม็ดฝนที่มากขึ้นและรับน�้ำทะเลหนุนได้อย่างยั่งยืน 4. กลุ่มนโยบายด้านวัฒนธรรม (The Historic Core & Unparallel Culture) มีการเปิดพืน้ ทีใ่ ห้ศลิ ปิน ปราชญ์ชาวบ้านร่วมสังสรรค์คณ ุ ค่าด้วยทุนทาง วัฒนธรรมน�ำชีวิต สะท้อนภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่เมืองแห่งศาสตร์และจินตนาการ สร้ า งสรรค์ ร่ ว มเผยแพร่ ป ระวั ติ ศ าสตร์ ป ระเพณี ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และความ ร่วมสมัยสู่สายตาคนทั้งโลก ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่นสู่งานวัฒนธรรมระดับ นานาชาติ อาทิ งานประเพณีลอยกระทงเมืองพัทยา งานประเพณีวนั ไหลพัทยา นาเกลือ และงานกองข้าวนาเกลือ ฯลฯ เพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าทางเศรษฐกิจ เพิ่มรายได้จากนักท่องเที่ยวต่อหัว ต่อวันให้สูงเพิ่มขึ้น ต่อยอดกลยุทธ์ขยายตลาด เชิงรุกของแผนท่องเที่ยวเมืองพัทยาอย่างยั่งยืน

P. 27


ผู้น�ำ อปท. ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวดีเด่น

นพพร วุฒิกุล

นายกเทศมนตรีเมืองหัวหิน

“ ”

ท�ำอะไรต้องถาม ใจประชาชน

ผลงาน/รางวัลที่ได้รับ

เข็มสหัทยานาวีและประกาศนียบัตรก�ำกับเครือ่ งหมาย จากกองทัพเรือ เนือ่ งจาก เป็นบุคคลทีใ่ ห้การสนับสนุนการปฏิบตั งิ านและท�ำคุณประโยชน์รว่ มกับกองทัพเรือ • ด�ำเนินโครงการพัฒนาเมืองหัวหินในทุกๆ ด้าน ตามนโยบายเร่งด่วน อาทิ บริหารงานภายในเทศบาลให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้หลัก “ธรรมาภิบาล”, ปรับปรุง ระบบน�ำ้ ประปาให้มีคุณภาพและเพียงพอ, สร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีมาตรฐาน, ติดตั้งเครื่องกั้นรถไฟอัตโนมัติทุกจุดในเขตเทศบาลฯ พร้อมถนน ค.ส.ล. เชื่อม จุดตัดฯ, สร้างถนน ค.ส.ล. พร้อมท่อระบายน�้ำ ตามโครงการแก้ไขปัญหาน�ำ้ ท่วม และเพิ่มเส้นทางเลี่ยงเมืองเพื่อลดปัญหาการจราจรติดขัด, ก่อสร้างระบบรวบรวม และบ�ำบัดน�้ำเสียเพิ่มเติม และด�ำเนินงานตามนโยบายการจัดการน�้ำเสียชุมชน (MSMS 2008) จนผ่านเกณฑ์ประเมินจากคณะกรรมการตรวจประเมินฯ, ติดตั้ง กล้องวงจรปิด CCTV บริเวณจุดเสี่ยง สร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชนและนักท่องเที่ยว, สร้างสนามฟุตบอลมาตรฐาน, รณรงค์ส่งเสริม การปัน่ จักรยานลดภาวะโลกร้อน, สนับสนุนส่งเสริมการจัดการขยะในโรงเรียน, ระบบ ส่งเสริมสุขภาพด้วยวิธีกายภาพบ�ำบัดโดยบริการแพทย์แผนไทยและตามหลัก วิทยาศาสตร์การแพทย์ ฯลฯ •

ที่อยู่ส�ำนักงาน

เทศบาลเมืองหัวหิน เลขที่ 114 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลหัวหิน อ�ำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110 โทรศัพท์ 0-3251-1047

ประวัติการศึกษา

ประถมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนมัธยมสาธุการ มัธยมศึกษาตอนปลาย : โรงเรียนหัวหิน อุดมศึกษา : ครุศาสตรบัณฑิต สถาบันราชภัฏจอมบึง จ.ราชบุรี อื่นๆ : รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ประวัติการท�ำงาน • • •

สมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลหัวหิน ปี 2538-2542 รองนายกเทศมนตรีเมืองหัวหิน ปี 2547-2550 นายกเทศมนตรีเมืองหัวหิน ปี 2556-ปัจจุบัน

ประสบการณ์/การอบรม

อบรมหลักสูตรดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพและองค์ความรู้แก่คณะกรรมการ สันนิบาต จ.ประจวบคีรีขันธ์ • ประชุมวิชาการและประชุมใหญ่สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย • โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของ อปท. ประจ�ำปี 2557 •

P. 28

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ประวัติเทศบาลเมืองหัวหิน

เทศบาลเมืองหัวหิน ครอบคลุมพื้นที่ต�ำบลหัวหินและต�ำบลหนองแก รวมพื้นที่รับผิดชอบ 86.36 ตร.กม. ซึ่งมีพื้นที่ติดทะเลฝั่งตะวันออกทั้ง 2 ต�ำบล ประชากร ตามทะเบียนราษฎรประมาณ 58,000 คน ประชากรแฝงประมาณ 300,000 คน และมีชมุ ชนในเขตรับผิดชอบ 37 ชุมชน นอกจากนี้ เขตเทศบาลเมืองหัวหิน ยังเป็นทีต่ งั้ ของพระ ต�ำหนักเปีย่ มสุข วังไกลกังวล ซึง่ สร้างขึน้ สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7 ปัจจุบนั เป็นทีป่ ระทับของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เป็นศูนย์ราชการที่สำ� คัญของอ�ำเภอ เป็นย่านธุรกิจ และเป็นพื้นที่ท่องเที่ยวตากอากาศที่สำ� คัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย และของโลก ทุกวันนี้หัวหินมีชื่อเสียงจากการเป็นสถานที่ตากอากาศที่สามารถเที่ยวได้ใน 1 วัน และอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครเพียง 196 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางประมาณ 2 ชั่วโมง เท่านั้น ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์หรือวันหยุดติดต่อกันหลายวัน ก็จะมีนักท่องเที่ยวหลั่งไหลเข้ามาในเมืองหัวหินเป็นจ�ำนวนมาก นอกจากเหตุผลส�ำคัญดังที่กล่าวมาแล้ว หัวหิน ยังมีการเจริญเติบโตของเมืองอย่างต่อเนื่องในทุกๆ ด้าน โดยในฐานะนายกเทศมนตรีเมืองหัวหิน ซึ่งเป็นผู้กำ� หนด นโยบายการบริหาร จึงต้องวางแนวทางการบริหารการพัฒนาเทศบาลเมืองหัวหิน อย่างเป็นระบบ ด้วยนโยบายการบริหาร “พลิกโฉมหัวหินสู่สากล” โดยใช้แผนพัฒนาเมือง หัวหิน เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้การพัฒนาเป็นไปอย่างรอบคอบ แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างแนวทางการดาเนินงานต่างๆ ที่อาจมีความเชื่อมโยงและส่งผลทั้ง ในเชิงสนับสนุน และเป็นอุปสรรคต่อกัน เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินงานและใช้ทรัพยากรการบริหาร ซึ่งประกอบด้วย คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ และ การบริหารจัดการ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดประโยชน์สาธารณะสูงสุด

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

P. 29


ผู้น�ำ อปท. ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวดีเด่น

นุกูล พรสมบูรณ์ศิริ นายกเทศมนตรีเมืองชะอ�ำ

“ ”

เอาใจเขา มาใส่ใจเรา

ประสบการณ์/การอบรม

อบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรการพัฒนาเมืองส�ำหรับผู้บริหารท้องถิ่น รุ่นที่ 3 อบรมหลักสูตรนักปกครองท้องถิ่นระดับสูง (นายกเทศมนตรี) รุ่นที่ 10

วิสัยทัศน์

ที่อยู่ส�ำนักงาน เทศบาลเมืองชะอ�ำ

เลขที่ 33 ถนนนราธิป ต�ำบลชะอ�ำ อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทรศัพท์ 0-3247-1124, 0-3247-2550

ประวัติการศึกษา

มัธยมศึกษา : มัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 6 สถานศึกษา โรงเรียนอรุณประดิษฐ์ ระดับปริญญาตรี : บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรุงเทพมหานคร ระดับปริญญาโท : คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยชิลเลอร์ แสตมป์ฟอร์ด อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี

ประวัติการท�ำงาน

สมาชิกสภาเทศบาลเมืองชะอ�ำ (12 พ.ย. 2538 – 19 พ.ย. 2538) รองประธานสภาเทศบาลเมืองชะอ�ำ (20 พ.ย. 2538 - 11 ก.พ. 2540) นายกเทศมนตรีเมืองชะอ�ำ (18 พ.ย. 2540 - 11 พ.ย. 2542) นายกเทศมนตรีเมืองชะอ�ำ (6 ม.ค. 2543 - 24 ธ.ค. 2546) นายกเทศมนตรีเมืองชะอ�ำ (11 พ.ค. 2547 - 10 พ.ค. 2551) นายกเทศมนตรีเมืองชะอ�ำ (28 พ.ค. 2551 - 27 พ.ค. 2555) นายกเทศมนตรีเมืองชะอ�ำ (22 เม.ย. 2555 – ปัจจุบัน) เป็นกรรมการในคณะกรรมการอ�ำนวยการเงินทุนส่งเสริมกิจการเทศบาล (ก.ส.ท.) เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการบริหารสมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย (ส.ท.ท.)

P. 30

ชะอ�ำเป็นเมืองน่าอยู่น่าเที่ยว ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มึความสุข

แนวนโยบาย

นโยบายการบริหารงานเทศบาลเมืองชะอ�ำ 12 ด้าน 1. นโยบายด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน จะก่อสร้างปรับปรุงถนนสายหลัก สายรอง และถนนซอยในชุมชนต่าง ๆ ให้เป็นถนนคอนกรีต หรือแอสฟัลท์ติกคอนกรีต พร้อมท่อระบายน�้ำ และพัฒนา ตัดถนนเส้นใหม่เพือ่ ความสะดวกในการสัญจรของประชาชน ขยายเขตการให้บริการ ไฟฟ้าสาธารณะและไฟฟ้าแสงสว่างอย่างทั่วถึง ก่อสร้างปรับปรุงล�ำรางสาธารณะ ส�ำหรับส่งน�ำ้ เพือ่ การเกษตรกรรม และพัฒนาการผลิตน�ำ้ ประปาทีส่ ะอาด มีปริมาณ ที่เพียงพอต่อความต้องการใช้น�้ำ 2. นโยบายด้านการอ�ำนวยความสะดวกและการบริการประชาชน จะพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนโดยการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ง่ายต่อการติดตาม เน้นการบริการด้วยอัธยาศัย ไมตรี อ�ำนวยความสะดวกทุกด้านตามที่ประชาชนร้องขอในอ�ำนาจหน้าที่ พัฒนา ช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับเทศบาลให้ดียิ่งขึ้น อาทิ ทางเว็บไซต์ สายด่วน ข้อความผ่านโทรศัพท์มือถือ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ในการสื่อสาร 3. นโยบายด้านเศรษฐกิจ จะส่งเสริมระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงตามแนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พัฒนาตลาดและส่งเสริมให้เกิดแหล่งค้าขายใหม่ๆ พัฒนาและ ส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพ มีงานท�ำ มีรายได้ ร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาสินค้า ชุมชน และจัดหาตลาดส�ำหรับการจ�ำหน่ายสินค้า ส่งเสริมผู้ประกอบการให้เข้ามา ลงทุนในพื้นที่เพื่อการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น 4. นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม จะพัฒนาระบบการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรให้ทันสมัยยิ่งขึ้น รณรงค์ ให้ประชาชนเห็นความส�ำคัญของการใช้ประโยชน์จากขยะ และถนนในเขตเทศบาล

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดเพชรบุรี ไม่มีขยะตกค้าง ควบคุมมลพิษทางอากาศ ฝุ่นละออง และเสียง ขยายเขตรองรับ น�้ำเสียเพื่อน�ำไปบ�ำบัดให้ทั่วถึงยิ่งขึ้น ดูแลรักษาระบบนิเวศชายหาด สถานที่ สาธารณะ และแหล่งท่องเที่ยวให้ยังคงสวยงามเป็นปอดของชุมชน 5. นโยบายด้านสวัสดิการและคุณภาพชีวิต จะส่งเสริมกิจกรรมนันทนาการและการจัดสวัสดิการต่างๆ แก่ผู้สูงอายุ อย่างต่อเนือ่ ง ให้การสงเคราะห์เด็ก สตรี ผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร ผูด้ อ้ ยโอกาสทางสังคม และผู้ป่วยเอดส์ เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับเมืองและปรับปรุงสวนสาธารณะเพื่อเป็น สถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ พัฒนาศูนย์กฬี าของโรงเรียนและสถานทีส่ าธารณะให้เป็น สถานที่ออกก�ำลังกายอย่างทั่วถึงทุกแหล่งชุมชน 6. นโยบายด้านการศึกษา จะส่งเสริมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีมาตรฐานและเท่าเทียม โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ในโรงเรียน จัดให้มีศูนย์พัฒนาทักษะความรู้ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ ส่งเสริมการกีฬาและนันทนาการแก่เด็กและเยาวชน เพิม่ ทักษะความรู้ ภาษาอังกฤษ สร้างโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต 7. นโยบายด้านสาธารณสุข จะพัฒนาศูนย์บริการสาธารณสุขให้มคี วามทันสมัย ครบวงจร ส่งเสริมสุขภาพ ประชาชนทุกวัย ส่งเสริมให้มีการออกก�ำลังกายเพื่อเป็นภูมิต้านทานโรค พัฒนา บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข ควบคุมโรคติดต่อโรคระบาดไม่ให้เกิดขึ้นในพื้นที่ ลดจ�ำนวนสุนัขจรจัดโดยการท�ำหมันถาวร พัฒนาตลาดให้ถูกสุขลักษณะและ ได้มาตรฐาน ตรวจสอบติดตามคุณภาพร้านจ�ำหน่ายอาหารอย่างต่อเนื่อง 8 นโยบายด้านประเพณี ศิลปวัฒนธรรม จะจัดและส่งเสริมกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับเทศกาลประเพณีไทยตลอดทัง้ ปี อาทิ งานประเพณีวนั ขึน้ ปีใหม่ งานประเพณีสงกรานต์ งานประเพณีแห่เทียนพรรษา งานประเพณีลอยกระทง เป็นต้น ร่วมกับชุมชนในการอนุรกั ษ์และสืบสานภูมปิ ญ ั ญา และการละเล่นพืน้ บ้าน โดยการเชิดชูเกียรติและจัดให้มกี ารแสดงถ่ายทอดในโอกาส ต่างๆ 9. นโยบายด้านการท่องเที่ยว จะจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวตลอดทั้งปี อาทิ งานเทศกาล ชิมปูชกั @ ชะอ�ำ งานเทศกาลกินหอย ดูนก ตกหมึก ตลอดจนถึงการจัดการแข่งขัน กีฬาส่งเสริมการท่องเทีย่ ว เพือ่ ดึงดูดนักท่องเทีย่ วให้เดินทางเข้ามาในพืน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ พัฒนาและส่งเสริมให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวใหม่ๆ รวมทั้งดูแลรักษาแหล่งท่องเที่ยว เดิ ม ให้ ยั ง คงเป็ น ที่ นิ ย มของนั ก ท่ อ งเที่ ย ว จั ด ท� ำ สื่ อ เพื่ อ การประชาสั ม พั น ธ์ ทางการท่องเทีย่ วอย่างต่อเนือ่ ง ส่งเสริมพัฒนาอาชีพและธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับ การท่องเทีย่ ว เพือ่ ยกระดับมาตรฐานการให้บริการในระดับสากล ร่วมมือกับทุกภาคส่วน ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในพื้นที่

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

10. นโยบายด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน จะส่งเสริมกิจกรรมหรือโครงการต่างๆ ทีด่ ำ� เนินการโดยชุมชน เพือ่ ให้เกิด ความสามัคคีและการรวมกลุ่มในการพัฒนาชุมชน ดูแลและอ�ำนวยความสะดวก ทุกเรือ่ ง ตามความต้องการของชุมชน ส่งเสริมให้มกี ารประชุมประจ�ำเดือน การประชาคม และการร่วมเป็นคณะกรรมการชุมชนเพื่อการร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมแก้ปัญหา ให้กับชุมชนของตนเอง ปลูกจิตส�ำนึกของความเป็นเจ้าของชุมชน อบรมพัฒนา ความรูใ้ ห้แก่ผนู้ ำ� ชุมชนและคณะกรรมการชุมชนในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องอย่างต่อเนือ่ ง 11. นโยบายด้านความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน จะจัดระบบรักษาความมัน่ คงปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ของประชาชน ให้รอบด้าน เพื่อความมั่นใจของประชาชนและผู้ที่เดินทางเข้ามาในเมืองชะอ�ำ อาทิ การขยายระบบกล้องวงจรปิดตามจุดส�ำคัญให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น การจัดก�ำลัง เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เจ้าหน้าที่เทศกิจ และอป.พร. ให้มีความ พร้อมและเพียงพอกับประชาชน การประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจ และ ฝ่ายปกครองของอ�ำเภอ ตรวจตรา และอ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน 12. นโยบายการพัฒนาองค์การเทศบาล จะพัฒนาโครงสร้างองค์การเทศบาลให้มีความทันสมัย โปร่งใส กระชับ คุ้มค่า และมีประสิทธิภาพในการท�ำงานเพื่อประชาชนในท้องถิ่น ส่งเสริมให้มี การพัฒนาความรู้ของบุคลากรในองค์การ เน้นการท�ำงานเป็นทีมและใกล้ชิดกับ ประชาชน

P. 31


ผู้น�ำ อปท. ด้านการส่งเสริมวัฒนธรรมดีเด่น

วันชัย จงสุทธนามณี นายกเทศมนตรีนครเชียงราย

“ ”

เชียงรายเมืองน่าอยู่ นครแห่งความสุข

การท�ำงาน/ประวัติการท�ำงาน

เทศมนตรีเมืองเชียงราย : 1 ต.ค. 2533 - 22 ก.ย. 2538 นายกเทศมนตรีเมืองเชียงราย : 23 พ.ย. 2538 - 11 พ.ย. 2542 นายกเทศมนตรีเมืองเชียงราย : 20 ม.ค. 2543 - 6 ต.ค. 2545 นายกเทศมนตรีนครเชียงราย : 3 เม.ย. 2547 - 4 ก.พ. 2551 เคยด�ำรงต�ำแหน่งที่ปรึกษา รมว.กระทรวงคมนาคม : 9 มี.ค. 2553 - 9 พ.ค. 2554 ปัจจุบันนายกเทศมนตรีนครเชียงราย : พ.ค. 2555 – ปัจจุบัน

รางวัลแห่งเกียรติภูมิท้องถิ่นที่โดดเด่น ประจ�ำปี 2557 ที่อยู่ส�ำนักงาน

เทศบาลนครเชียงราย เลขที่ 59 ถนนอุตรกิจ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000 โทรศัพท์ 0-5371-1333 โทรสาร 0-5371-3272

ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี : พาณิชยศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิชาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัย เชียงใหม่

• รางวัลชนะเลิศส�ำนักทะเบียนดีเด่น 2 ปี 2556 และ 2557

P. 32

“จากความร่วมแรง ร่วมใจ ของชาวเชียงรายทุกคน” 1. รางวัลพระปกเกล้าทองค�ำ ด้านการเสริมเสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และ ประชาสังคม ประจ�ำปี 2557 2. รางวัลอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน ประเภทเสนอโดยประเทศ ประจ�ำปี 2557 3. รางวัลชนะเลิศส�ำนักทะเบียนดีเด่น 2 ปีตดิ ต่อกัน ประจ�ำปี 2556-2557 4. รางวัลชนะเลิศ เทศบาลเมืองน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน ด้านสิง่ แวดล้อม ประเภท เทศบาลขนาดใหญ่ ประจ�ำปี 2555 5. รางวัลผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่นด้านการศึกษา ประจ�ำ ปี 2556

• รางวัลพระปกเกล้าทองค�ำ 2557

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดเชียงราย

นโยบายการบริหาร

1. ด้านการพัฒนาเมืองและโครงสร้างพื้นฐาน โดยได้ด�ำเนินแนวทางพัฒนาเมืองเชียงรายให้น่าอยู่ มีโครงสร้างพื้นฐานที่ดี เพื่อรองรับประชาคมอาเซียนภายในปี พ.ศ.2558 และด�ำเนินการวางผังเมืองและก�ำหนดโครงข่ายถนนรองรับการคมนาคมขนส่งและขยายความเจริญไปอย่างทั่วถึง ฯลฯ 2. ด้านเศรษฐกิจและการท่องเทีย่ ว ด�ำเนินการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเมืองชายแดนทีเ่ ชือ่ มโยงกับประเทศเพือ่ นบ้านในอนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ�้ โขง เพือ่ รองรับความเจริญ ในอนาคตในฐานะทีจ่ งั หวัดเชียงรายเป็นประตูสเี่ หลีย่ มเศรษฐกิจ และรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ส่งเสริมการประกอบอาชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนาอาชีพ ให้กบั ชุมชนและกลุม่ อาชีพต่างๆ พัฒนาสินค้ากลุม่ อาชีพต่างๆ ให้มคี ณ ุ ภาพได้มาตรฐานสามารถแข่งขันได้โดยมีตลาดรองรับ พร้อมทัง้ ปรับปรุงตลาดสดเทศบาลให้ได้มาตรฐาน เพิ่มศักยภาพด้านการท่องเที่ยวให้ดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวเมืองเชียงรายมากขึ้น ฯลฯ 3. ด้านการศึกษา พัฒนาการจัดการศึกษาตั้งแต่ชั้นเด็กเล็กจนถึงมัธยมศึกษา สู่ความเป็นเลิศในระดับมาตรฐานสากล ส่งเสริมเมืองเชียงรายให้เป็นเมืองแห่งการ เรียนรู้ตลอดชีวิต มีมาตรการจัดการศึกษาทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษา ได้แก่ สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนทั้งในประเทศและต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น เพิ่มครูชาวต่างประเทศเจ้าของภาษามาสอน ฯลฯ 4. ด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ฟื้นฟู พัฒนา และส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ในทุกแขนง มุง่ สู่ “เชียงรายเมืองวิถพี ทุ ธ เชียงรายเมืองวัฒนธรรม และเชียงรายเมืองศิลปิน” ยึดถือจารีตประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของชาวล้านนา เพือ่ เป็นหลักปฏิบตั ิ ของคนในสังคม ฯลฯ 5. ด้านคุณภาพชีวิตและความเป็นระเบียบเรียบร้อย สนับสนุนการบริการประชาชนในด้านสุขภาพอนามัยอย่างทั่วถึง พร้อมสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส คนชรา และคน ทุพพลภาพให้ได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกัน ปรับปรุงและก่อสร้างสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานที่ออกก�ำลังกายให้แก่ประชาชนเพิ่มขึ้น ฯลฯ 6. ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาเมืองเชียงรายให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี มีความร่มรื่น สวยงาม มีพื้นที่สีเขียว เพื่อเป็นปอดของเมือง เพิ่มมากขึ้น เร่งด�ำเนินการแก้ไขปัญหาน�ำ้ เสีย น�้ำท่วมขัง และการก�ำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลที่ได้มาตรฐาน ปลูกจิตส�ำนึกให้ประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ มุ่งสู่เมืองคาร์บอนต�ำ่ และเตรียมความพร้อมในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 7. ด้านการบริหารจัดการ ยึดหลักการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมมาภิบาล โดยน�ำเทคนิคการบริหารจัดการสมัยใหม่มาใช้ เน้นการกระจายภารกิจและอ�ำนาจ การตัดสินใจลงสู่ระดับปฏิบัติการ พัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากรให้สอดคล้องกับกลยุทธ์และยุทธศาสตร์ที่ก�ำหนดไว้อย่างเป็นระบบ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางในการ สะท้อนปัญหาและการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน ฯลฯ

• รางวัลชนะเลิศ เทศบาลเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ด้านสิ่งแวดล้อม ปี 2555

• รางวัลอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน ปี 2557

กิจกรรมเด่นด้านการส่งเสริมวัฒนธรรม

1. ด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น เทศบาลนครเชียงรายปฏิบัติภารกิจด้านการศาสนาและศิลปวัฒนธรรม เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายที่ว่า “เชียงรายเมืองวิถีแห่งธรรม เชียงรายเมืองวัฒนธรรม และเชียงรายเมือง ศิลปิน” โดยร่วมกับคณะสงฆ์จงั หวัดเชียงรายด�ำเนินกิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีทสี่ ำ� คัญต่าง ๆ รวมทั้งได้มกี ารสร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม และประเพณีกับประเทศเพื่อนบ้าน 2. การสร้างเครือข่ายด้านวัฒนธรรมลุ่มน�ำ้ โขง แต่เดิมได้มีการจัดงานประเพณีลอยกระทง เพื่อสืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นให้คงอยู่ โดยมีผู้รับผิดชอบด�ำเนินงานจากหลายภาคส่วน ตลอดระยะเวลา ที่ดำ� เนินกิจกรรมลอยกระทง แต่ละภาคส่วนได้ติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการท�ำงานร่วมกัน ท�ำให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน ประกอบกับการด�ำเนิน กิจกรรมอย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้แต่ละภาคส่วนได้พฒ ั นาศักยภาพของตน และเกิดการรวมกลุม่ ในการด�ำเนินงานทีม่ คี วามเข้มแข็งมากขึน้ กระทัง่ กลายเป็นเครือข่ายในการด�ำเนินงาน ด้านวัฒนธรรม เทศบาลนครเชียงรายจึงได้ขยายภาคีเครือข่ายไปยังประเทศเพือ่ นบ้าน (จีน-พม่า-ลาว) โดยใช้การแลกเปลีย่ นศิลปวัฒนธรรมเป็นกลไกในการเชือ่ มโยงภาคีเครือข่าย โดยได้จดั ท�ำ “โครงการวัฒนธรรมสัมพันธ์ลมุ่ แม่นำ�้ โขง” เพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศในอนุภมู ภิ าคลุม่ น�ำ้ โขง มีการแลกเปลีย่ นเรียนรูท้ างศิลปะ ประเพณี วัฒนธรรม ระหว่างกัน และได้รับความร่วมมือจากประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน�ำ้ โขงอย่างต่อเนื่องมา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2539 จนถึงปัจจุบัน จากความร่วมมือร่วมใจของภาคีเครือข่ายซึง่ ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ องค์กรธุรกิจเอกชน ชุมชน กลุม่ ชาติพนั ธุ์ สถาบันการศึกษาในเขตพืน้ ที่ และองค์กร ต่างประเทศ จ�ำนวนมาก ท�ำให้การด�ำเนินงานวัฒนธรรมสัมพันธ์ลมุ่ น�ำ้ โขงประสบความส�ำเร็จด้วยดี ส่งผลให้เทศบาลนครเชียงรายสามารถขยายภาคีเครือข่ายไปยังต่างประเทศ และมีการด�ำเนินงานด้านวัฒนธรรมร่วมกัน น�ำไปสูก่ ารระดมทรัพยากรในการด�ำเนินงานร่วมกัน และการพัฒนาศักยภาพของภาคีเครือข่ายแต่ละภาคส่วน เกิดความร่วมมือ ทางด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และอื่นๆ

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

P. 33


ผู้น�ำ อปท. ด้านการส่งเสริมวัฒนธรรมดีเด่น

บังอร วิลาวัลย์

นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี

“ ”

ปราจีนบุรีเมืองน่าอยู่ การศึกษาก้าวไกล พัฒนาคุณภาพชีวิต อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

บทบาทในการพัฒนาสังคมและท้องถิ่น

ที่อยู่ส�ำนักงาน

องค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 25000 โทรศัพท์ 0-3721-2145 โทรสาร 0-3721-3724

วิสัยทัศน์

“สร้างรากฐานชุมชนให้เข้มแข็ง เพื่อไปสู่ความอยู่ดี มีสุขของชุมชน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ สร้างความสุข ให้แก่ราษฎรอย่างแท้จริง สร้างคนเพื่อสร้างชาติ ให้เจริญรุ่งเรืองตลอดไป”

การศึกษา

ประถมศึกษา : โรงเรียนศึกษาวิทยากร มัธยมศึกษา : โรงเรียนปราจีนกัลยาณี (จบการศึกษาปี พ.ศ.2508) ปริญญาตรี : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการทัว่ ไป (บริหารธุรกิจ ) มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (จบการศึกษาปี พ.ศ.2544) ปริญญาโท : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทั่วไป (บริหารธุรกิจ) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต (จบการศึกษาปี พ.ศ.2546)

P. 34

นายกสมาคมครูและผู้ปกครองเด็กนักเรียน โรงเรียนปราจีนกัลยาณี ประธานกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจ�ำจังหวัดปราจีนบุรี กรรมการเหล่ากาชาด จังหวัดปราจีนบุรี ประธานชมรมลูกเสือชาวบ้าน จังหวัดปราจีนบุรี กรรมการมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ คณะอนุกรรมการศูนย์ปฎิบตั กิ ารป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จงั หวัดปราจีนบุรี กรรมการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติด้านมิติศาสนา คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการ ประจ�ำจังหวัดปราจีนบุรี คณะกรรมการสนับสนุนการขับเคลื่อนสวัสดิการ ชุมชนจังหวัดปราจีนบุรี คณะอนุกรรมการร่วมเพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริต ฯลฯ

แนวนโยบาย

ได้น้อมน�ำพระราชด�ำรัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางปฏิบัติ พร้อมทัง้ น�ำหลักการ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาใช้เป็นแนวทางในการก�ำหนดนโยบาย เพือ่ ให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนในพืน้ ที่ โดยน�ำหลักส�ำคัญมาปรับใช้และก�ำหนด ยุทธศาสตร์การพัฒนา 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาด้านสังคม การศึกษาศาสนา วัฒนธรรม สาธารณสุข และ การกีฬา ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาด้านการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาด้านเศรษฐกิจ โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาด้านการเมืองการบริหาร นอกจากการน�ำยุทธศาสตร์ทั้ง 6 ด้าน มาปฏิบัติแล้ว อบจ.ปราจีนบุรี ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในลักษณะ ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมตรวจสอบ การบริหาร ซึง่ ท�ำให้การท�ำงานของ อบจ.ปราจีนบุรี ตรงตามความต้องการของประชาชน ในพื้นที่ และแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างแท้จริง โดยการบริหารงานจะยึดหลักความถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


จังหวัดปราจีนบุรี ผลงาน

ปี 2543 รางวัลสตรีตวั อย่างแห่งปี สาขานักพัฒนาท้องถิน่ จากมูลนิธสิ งั คมไทย • ปี 2544 – 2545 ได้รับประกาศเกียรติคุณจากสถาบันพระปกเกล้าด้านความ โปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชน (2 ปีซ้อน) จากการส่งผลงานของ อบจ.ปราจีนบุรี • ปี 2546 ได้รับรางวัลที่ 1 โครงการประกวด อปท. ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาล จากส�ำนักนายกรัฐมนตรี (รางวัล 18 ล้านบาท) จากการส่งผลงาน ของ อบจ.ปราจีนบุรี ท�ำให้ได้รบั รางวัล, ในปี 2547 ได้รบั เงินรางวัล 3 ล้านบาท, ใน ปี 2549 ได้รบั เงินรางวัล 5 ล้านบาท รวม 3 ปี ได้รบั เงินรางวัลทัง้ สิน้ 26 ล้านบาท • ปี 2547 ได้รับการพิจารณาคัดเลือกเป็น “ผู้หญิงเก่ง ปี 2547” สาขาผู้น�ำ ท้องถิ่น/นักพัฒนา จากสถาบันวิจัยบทบาทหญิงชาย และการพัฒนา • ปี 2547 ได้รับรางวัลพระปกเกล้าส�ำหรับ อปท. ที่มีความเป็นเลิศด้านความ โปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน • ปี 2549 ได้รับโล่เชิดชูเกียรติ เป็นบุคคลผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม จังหวัด สาขาผู้ท�ำคุณประโยชน์ทางวัฒนธรรม จากส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด ปราจีนบุรี และได้รับโล่เชิดชูเกียรติ เป็นองค์กรดีเด่นทางวัฒนธรรมสาขาภาครัฐ จากส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดปราจีนบุรี • ปี 2550 ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ อปท. มีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม ที่ดี จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนและสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิ สาธารณสุขแห่งชาติ • ปี 2550 ได้รบ ั โล่ประกาศเกียรติคณ ุ องค์กรผูท้ ำ� คุณประโยชน์ตอ่ เยาวชนสาขา กีฬาและนันทนาการ จากส�ำนักงานพิทักษ์เด็กและเยาวชน • ปี 2552 ได้รบ ั โล่เชิดชูเกียรติ ผูบ้ ริหาร อปท. ดีเด่น ด้านการส่งเสริมและพัฒนา กิจกรรมเด็กและเยาวชนประจ�ำปี 2552 จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น • ปี 2552 ได้รับถ้วยรางวัลเชิดชูเกียรติองค์กรผู้ผ่านการอบรมโครงการผู้น�ำ เผชิญวิกฤติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในปี 2552 จากคลังสมอง วปอ. เพื่อสังคม • ปี 2553 ได้รับโล่เชิดชูเกียรติองค์กรผู้ทำ� คุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม จากกระทรวงวัฒนธรรม • ปี 2553ได้รับโล่เชิดชูเกียรติองค์กรที่ให้การหนุนเสริมและเสริมสร้างคุณค่า การท�ำงานของเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมู่บ้าน (ทสม.) • ปี 2553 ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณองค์การบริหารส่วนจังหวัดดีเด่น ด้านการ จัดสวัสดิการส�ำหรับคนพิการ • ปี 2554 ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ เนื่องในวันสตรีสากล สาขานักการเมือง ท้องถิ่นสตรีดีเด่นจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ • ปี 2554 ได้รับรางวัลพระราชทานเสาเสมาธรรมจักร องค์กรผู้ท�ำคุณประโยชน์ ต่อพระพุทธศาสนา ประเภทสมาคม องค์กรมูลนิธิ สถาบัน และหน่วยงานที่มี กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา จากกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม • ปี 2554 ได้รบ ั รางวัลธรรมาภิบาล “สิงห์ทอง” นักปกครองท้องถิน่ แห่งปี 2554 จาก สมัชชานักจัดรายการข่าววิทยุโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย (สว.นท.) • ปี 2555 ได้รับรางวัลเกียรติยศดีเด่นพิเศษ ประเภท อปท. ในการประสาน และสร้างเครือข่ายการพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จากวิทยาลัย ป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ และกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น • ปี 2555 ได้รับรางวัลชนะเลิศ อันดับ 1 โครงการชุมชนร่วมใจ สร้างความ ปลอดภัยทางถนน จากสภาวิศวกร •

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

ปี 2556 ได้รับรางวัลผู้บริหารแห่งปี 2556 CEO THAILAND AWARDS 2013 จากสมัชชานักจัดรายการข่าววิทยุโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย (สว.นท.) • ปี 2556 ได้รับรางวัลเกียรติคุณ “สตรีดีเด่นแห่งปี 2556” จากโครงการ เฉลิมพระเกียรติองค์ราชัน • ปี 2556 ได้ รั บ โล่ เ กี ย รติ คุ ณ ผู ้ สู ง อายุ ดี เ ด่ น จากสมาคมสภาผู ้ สู ง อายุ แห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี • ปี 2557 ได้รับรางวัล “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น” ด้านการบริหาร จัดการที่ดี โดยคณะกรรมการอ�ำนวยการจัดงานรางวัลไทย • ปี 2558 ได้รับเกียรติบัตรและเข็มสัญลักษณ์เครือข่ายต่อต้านการทุจริต จาก คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) • ปี 2558 ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณ “ทับทิมสยาม” ประจ�ำปี 2558 โดย มูลนิธิธรรมลักษณ์ศิลา • ปี 2558 ได้รับรางวัล THAILAND LEADER AWARDS 2015 ประจ�ำ ปี 2558 “ร้อยดวงใจ สร้างไทยให้ยั่งยืน” รับโล่รางวัลและเกียรติบัตรจาก ฯพณฯ พลเอกพิจิตร กุลละวณิชย์ องคมนตรี จากสภาผู้ปกครองและครูแห่งประเทศไทย • ปี 2559 ได้เข้ารับประทานรางวัล “เสาอโศกผู้น�ำศีลธรรม” งานสัปดาห์ ส่งเสริมพระพุทธศาสนา เนื่องในเทศกาลมาฆบูชา ปี 2559 จากส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ •

P. 35


ผลกระทบของคลื่นโทรศัพท์ กับสุขภาพชุมชน จจุ บั น โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ เข้ า มามี บทบาทในชีวติ ของเราเป็นอย่างมาก หลายๆ คนมีโทรศัพท์มอื ถือมากกว่า 1 เครื่ อ ง หรื อ ใน 1 เครื่ อ งก็ มี มากกว่า 1 ซิม หากวันใดลืม โทรศัพท์มือถือ ไว้ที่บ้านก็จะรู้สึกขาดความมั่นใจทันที เพราะ หลายๆ คนเก็บข้อมูลทุกอย่างไว้ในโทรศัพท์มอื ถือ และนั่นก็ส่งผลให้เราจดจ�ำอะไรได้น้อยลง เช่น หมายเลขโทรศัพท์ตา่ งๆ ทุกวั น นี้ เมือ่ เราผ่านไป ตามท้องถนนหรือห้างสรรพสินค้าก็จะเห็นวัยรุน่ คุ ย โทรศั พ ท์ กั น ตลอดเวลา บ้ า งก็ แ ชทหรื อ โพสต์ข ้ อ มู ล ใน SocialNetwork ปลูกผักปลูก

ปั

P. 36

หญ้ากันในโทรศัพท์ขณะเดินห้างสรรสินค้า ซึ่ง ก็ นั บ ว่ า เป็ น นวั ต กรรมที่เจริญก้าวหน้าอย่าง รวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากโทรศัพท์มือถือ ใช้คลืน่ วิทยุในการส่งสัญญาณ จึงท�ำให้การใช้งาน มือถือแต่ละครัง้ อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพได้ ซึ่ ง ตามความเห็ น ของนั ก วิ ช าการแต่ ล ะท่ า น มี ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ คลื่ น สั ญ ญาณโทรศั พ ท์ ดังนี้ นายฐากร ตั ณ ฑสิ ท ธิ์ เลขาธิ ก าร คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิ จ การโทรคมนาคมแห่ ง ชาติ (กสทช.)

“ ระบบการสื่อสารโดยใช้โทรศัพท์มือถือได้เข้ามา มีบทบาทในการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันขอผูค้ น ในยุคดิจทิ ลั และยังเป็นเครือ่ งมือในการขับเคลือ่ น เศรษฐกิ จ ตั้ ง แต่ ร ะดั บ ชุ ม ชนไปจนถึ ง ระดั บ ประเทศ กสทช. ในฐานะองค์ ก รที่ มี บ ทบาท หน้าทีใ่ นการจัดสรรคลืน่ ความถีแ่ ละส่งเสริม ให้มบี ริการโทรคมนาคมอย่างทัว่ ถึงและครอบคลุม ทุกพืน้ ทีท่ วั่ ประเทศ อันจะช่วยลดความเหลือ่ มล�ำ้ และเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงของประชาชน ทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีห่ า่ งไกลทัว่ ประเทศแล้ว ยังท�ำหน้าที่ ก�ำกับดูแล ก�ำหนดค่ามาตรฐาน และตรวจวัด คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจากเสาสัญญาณโทรศัพท์ มือถือ ให้มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของสหภาพ โทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ไอทียู) ซึ่งเป็น เกณฑ์ทไี่ ม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน ที่อาศัยอยู่โดยรอบสถานีฐาน จากการตรวจวัดค่าคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า จากสถานีฐาน จ�ำนวน 40 สถานี ในพื้นที่ 5 ภู มิ ภ าค พบว่ า มี ค ่ า ต�่ ำ กว่ า ขี ด จ� ำ กั ด ตามที่ มาตรฐานก�ำหนดไว้มาก เช่น ย่านความถี่คลื่น 900 MHz. ความแรงต้ อ งไม่ เ กิ น 41 โวลท์ ต่อเมตร ย่านความถี่ 1800 MHz. ความแรง ต้องไม่เกิน 58 โวลต์ต่อเมตร และย่านความถี่ 2100 MHz. ความแรงต้องไม่เกิน 61 โวลท์ต่อเมตร ดังนัน้ การแผ่คลืน่ จากเสาส่งสัญญาณโทรศัพท์มอื ถือ

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


himedia technology

จึงปลอดภัย และไม่สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพของ ประชาชน” ผศ.ดร.ชาญไชย ไทยเจียม กรรมการ สมาคมวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ไทย “ใน ทางทฤษฎี คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีอยู่ 2 ประเภท คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากลุ่มชนิดไม่ก่อไอออน (Non-ionizing radiation) ไม่ก่อให้อะตอม มีการแตกตัวเป็นไอออน ซึ่งย่านความถี่ใช้งาน ของโทรศัพท์มอื ถือและความถีค่ ลืน่ วิทยุกระจายเสียง สั ญ ญาณ WI-FI เพื่ อ เชื่ อ มต่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต แบบไร้สายจัดให้อยู่ในกลุ่มประเภทนี้ จะไม่มี ผลกระทบต่อสุขภาพ แต่มีผลกระทบในเชิง ความร้ อ นเท่ า นั้ น โดยองค์ ก ารอนามั ย โลก ได้กำ� หนดให้คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าประเภทนี้ อยูใ่ น กลุ่ม 2B ซึ่งเป็นกลุ่มเดียวกันกับน�้ำมันมะพร้าว ที่ผสมกับไดเอทาโนลาไมด์ (Diethanolamide) ส� ำ หรั บ ท� ำ ให้ เ กิ ด ฟองในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท� ำ ความ สะอาดจ�ำพวกแชมพู สบู่ และเครือ่ งส�ำอาง ส่วน คลื่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้ากลุ่มชนิดก่อไอออน (Ionizing – radiation) เป็นคลื่นที่ท�ำให้อะตอม เกิดการแตกตัวเป็นไอออน และมีผลต่อการ แยกอนุภาคอิเล็กตรอนออกไปกลายเป็นอนุมูลอิสระ ได้ ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็ง เช่น รังสีแกมมา รังสีเอ็กซ์ เป็นต้นนั้น การติดตั้ง และการแผ่ ค ลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า จากเสา

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

ส่ ง สัญญาณโทรศัพท์มือถือ เป็นชนิดไม่ก่อไอออน ที่มีก�ำลังใช้งานต�่ำ อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการ โทรคมนาคมทุ ก รายมี ห น้ า ที่ ต ้ อ งปฏิ บั ติ ต าม ภายใต้ขอ้ ก�ำหนดมาตรฐานความปลอดภัยของ กสทช. ซึง่ หากประชาชนมีขอ้ มูล และเข้าใจเรือ่ ง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็จะเกิดความเข้าใจ เรื่องสุขภาพและความปลอดภัย และช่วยคลาย ความวิตกกังวลลงได้มาก การใช้โทรศัพท์ที่ปลอดภัยนั้น อย่าลืมว่า คลื่นเป็นกลุ่มนอนไอโอไนท์คือ กลุ่มความร้อน เมื่ อ แนบกั บ หู น าน ๆ ก็ อ าจจะเป็ น อั น ตราย ต่อระบบสมองให้เปลี่ยนพฤติกรรม และไม่ควร เล่นแชทหรือโทรศัพท์ในขณะขับรถ เพราะอาจ เกิดความเครียด เนื่องจากจดจ่ออยู่กับตรงนั้น ส่วนโรคต่างๆ อย่างเช่น อารมณ์ฉุนเฉียว ซึม เศร้า คลื่นไส้ สิ่งเหล่านี้ก็เกิดจากพฤติกรรมของ ผู้ใช้เป็นหลัก ตั ว ของโทรศั พ ท์ ไ ม่ ไ ด้ มี ค วามเสี่ ย ง ต่ อ สุ ข ภาพ แต่ สิ่ ง ที่ จ ะเสี่ ย งคื อ แบตเตอรี่ ซึ่งบางชนิดไม่ได้มาตรฐาน รวมทัง้ สัญญาณโทรศัพท์ นัน้ มีผลแน่ ๆ ต่อสุขภาพถ้าส่งเกินเกณฑ์มาตรฐาน แต่ต้องไปดูเรื่องของมาตรฐานในการรับ-ส่ง สัญญาณว่า ของไทยได้มาตรฐานหรือไม่ ซึ่ง ต้องถาม กสทช.และหน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบว่ า ได้ตรวจสอบดูแลอย่างไร แค่ไหน

P. 37


himedia technology และมีคำ� ยืนยันจาก ศ.นพ.สมเกียรติ วัฒนศิ ริ ชั ย กุ ล อดี ต ผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น วิ จั ย ระบบ สาธารณสุข (สวรส.) ว่าจากการท�ำวิจัยเกี่ยวกับ ระบบสัญญาณโทรศัพท์มอื ถือพบว่าเกือบ 100% ไม่มอี นั ตราย เพราะสิง่ ทีม่ กี ารพัฒนาเกีย่ วกับ อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องโทรศัพท์ที่ใช้กันอยู่ ผ่านการตรวจสอบมาแล้ว มีมาตรการการตรวจสอบ ของเขาอยู่แล้ว จะท�ำให้ไม่เกิดอันตรายอย่างใด เพราะฉะนั้นกว่าจะเป็นโรงงานได้ กว่าจะผ่าน แล็ บ มาเข้ า สู ่ ก ระบวนการอุ ต สาหกรรม มี กระบวนการควบคุมควอลิตี้ คอนโซล หรือการ ควบคุมคุณภาพดีอยูแ่ ล้ว และมีเซฟตีห้ รือระบบ ป้องกันซึ่งถือเป็นมาตรฐานของโลก แพทย์ ห ญิ ง พรรณพิ ม ล วิ ปุ ล ากร รองอธิ บ ดี ก รมสุ ข ภาพจิ ต กระทวงสาธารณสุ ข เปิดเผยว่าในปัจจุบันการใช้โทรศัพท์มือถือ ถือเป็นปัจจัยที่ 5 ไปแล้วดังที่หลายคนกล่าวถึง ทัง้ นีเ้ พราะข้อมูลทุกอย่างอยูใ่ นโทรศัพท์ทงั้ สิน้ ฉะนัน้ ประชาชนทุกวัยจะมีโทรศัพท์กนั แทบทุกคน แล้ว

การใช้โทรศัพท์มากๆ นานๆ จะเป็นอันตรายหรือ มีความปลอดภัยกับสุขภาพมากน้อยเพียงใด ในทางการแพทย์ยังไม่มีรายงานจากทั่วโลกที่พบว่า คลืน่ โทรศัพท์มอื ถือไม่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคได้ โดยเฉพาะโรคมะเร็งที่หลายคนคิดกัน ซึ่งยัง พิสูจน์ไม่ได้ แต่สิ่งที่กังวลและห่วงใยในทางแพทย์ นัน้ จะมองอยู่ 2 อย่าง ประการแรก คือการใช้งาน มากเกินความจ�ำเป็นโดยเฉพาะเด็กๆ ผลที่เกิดขึ้น ที่เห็นได้ชัดเจนคือ การมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป จะสังเกตว่าเด็กทีต่ ดิ โทรศัพท์มาก จะมีพฤติกรรม ชอบอยูค่ นเดียว ไม่คอ่ ยใส่ใจคนรอบข้าง อารมณ์ ฉุนเฉียว จิตใจหรือความคิดไม่อยู่กับเนื้อกับตัว พูดจาไม่ไพเราะ แม้แต่คนในครอบครัว เวลา ของตนเองส่วนใหญ่จะอยู่กับโทรศัพท์ จึงไม่ สนใจที่จะไปท�ำอะไร นอกจากการถูกบังคับหรือ ต้องเป็นเรื่องที่จ�ำเป็นจริงๆ ถ้าลดไม่ได้จะส่งผล ความขัดแย้งขึ้นได้ ประการที่ 2 การใช้ ป ระโยชน์ จ าก โทรศัพท์ ซึ่งปัจจุบันในเรื่องของความรู้ข้อมูล ต่างๆ ถูก บรรจุไว้ในโทรศัพท์แทบทั้ง สิ้น แล้ว แต่หากจะน�ำมาเป็นประโยชน์ เพื่อการเรียนรู้ เพลิดเพลิน การสร้างจินตนาการเพื่อในทาง สร้างสรรค์ การท�ำงานในอนาคตของตนเอง ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ดี แต่ในทางกลับกัน หากน�ำข้อมูล มาใช้ที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ จะเกิดผลร้าย ต่อตนเองและคนรอบข้างได้ เพราะจะส่งผล ไปสู่พฤติกรรมที่ผิดๆ ไม่เป็นที่ยอมรับของสังคม

ตลอดจนไปสู ่ ก ารก่ อ อาชญากรรมอี ก ด้ ว ย ในต่างประเทศมี ร ะบบการปกป้ อ ง คุ ้ ม ครองเด็ ก ๆ ในการใช้โทรศัพท์ เช่น การก�ำหนดระยะการใช้ สถานที่ห้ามใช้ ก�ำหนดอายุ รวมถึงการแนะน�ำ การใช้พร้อมอุปกรณ์เพือ่ ความปลอดภัย เป็นต้น การแก้ปญ ั หาสิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ คือ ผูป้ กครอง คอยแนะน� ำ ในเรื่ อ งของระยะเวลาการใช้ จะต้องแบ่งเวลาในการท�ำกิจกรรมอย่างอืน่ ด้วย ในแต่ละวัน เช่น เล่นกีฬา ช่วยพ่อแม่ทำ� งานบ้าน อ่านหนังสือ หรือวัยอื่นๆ ก็เช่นเดียวกัน ต้อง รู้จักใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์จะดีเสียกว่า ส่วนหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องรวมถึงภาคเอกชน ที่ท�ำธุรกิจด้านโทรศัพท์ก็ต้องประชาสัมพันธ์ ให้กบั ผูใ้ ช้บริการในเรือ่ งความปลอดภัยต่อสุขภาพ ด้วย อย่างน้อยผลที่กระทบโดยตรงคือสายตา และอวัยวะบางส่วนเช่น คอ ซึ่งจะส่งผลต่อการ เคลื่อนไหวของร่างกาย เป็นต้น

สนับสนุนข้อมูลโดย...

บริษัท ไฮมีเดีย เทคโนโลยี จ�ำกัด ผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในกลุ่มธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ด้วยผลิตภัณฑ์และอุปกรณ์คุณภาพระดับสากล พร้อมบริการ ที่ได้มาตรฐาน รวดเร็ว ฉับไว และทีมงานผู้เชี่ยวชาญในทุกมิติ

P. 38

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558


ข่าวพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มียอดจ�ำหน่ายสูงสุดในประเทศไทย หนังสือพิมพ์รายปักษ์ (ราย 15 วัน) วางจ�ำหน่ายทั่วประเทศ ทุกวันที่ 1 และ 16 ของเดือน ขนาดหนังสือ Broadsheet (12 Col x 20") ยอดพิมพ์ครั้งละ 120,000 ฉบับ ราคาจ�ำหน่ายเล่มละ 25 บาท • เนื้อหาภายในเล่ม

1. ข่าวสารของขององค์กรภาครัฐ-เอกชน ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาท้องถิ่นและภูมิภาค 2. วิสัยทัศน์และการด�ำเนินการของผู้บริหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผู้น�ำชุมชน 3. ข่าวสารและความเคลื่อนไหวขององค์กรอิสระด้านการตรวจสอบและธรรมมาภิบาล 4. ข่าวสารเพื่อประโยชน์ในการลงทุน และการส่งเสริม พัฒนา สินค้า SMEs และ OTOP 5. ข่าวสารและความรู้ด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อการเกษตรกรรม เพื่อชุมชนฐานราก 6. ข่าวสารด้านการเมือง การปกครอง การบริหารรัฐกิจที่เกี่ยวข้องกับชุมชนและท้องถิ่น 7. ข่าวสารและความเคลื่อนไหวทางด้านการศึกษา -ไอที- พลังงาน-สิ่งแวดล้อม 8. ข่าวสารเพื่อการสนับสนุนและส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนในท้องถิ่นทุกภูมิภาค 9. ข่าวสารและความรู้ทางวิชาการ ด้านสาธารณะสุข/คุณภาพชีวิต

• การวางจ�ำหน่าย

วางจ�ำหน่ายบนแผงหนังสือชั้นน�ำทั่วประเทศ ผ่านเอเย่นต์จัดจ�ำหน่ายหนังสือ และมีจ�ำหน่ายในร้านหนังสือที่มีชื่อเสียง เช่น ร้านนายอินทร์, ซีเอ็ดบุ๊ค เซ็นเตอร์, แพร่พิทยา, ฟาสเตอร์บุ๊ค,กรีนบุ๊ค

• ระบบสมาชิก

ในปัจจุบนั มีสมาชิกผูอ้ า่ น อปท.นิวส์ กว่า 50,000 ราย โดยมีระบบการจัดหาสมาชิกทีก่ ระจายไปยังส่วนภูมภิ าคผ่านทีมงานข่าวภูมภิ าค อปท.นิวส์

• การอภินันท์

จัดส่งหนังสืออภินนั ท์ไปยังผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (เทศบาล/อบจ./อบต.) และ ท้องถิน่ รูปแบบพิเศษ (กรุงเทพมหานคร/เมืองพัทยา) รวมทั้งศาลากลางจังหวัด, ส�ำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (จุดช�ำระค่าบริการ) สนามบิน, ร้านกาแฟอเมซอน (ปั๊มปตท.), ร้านอินทนิลคอฟฟี่ (ปั๊มบางจาก) รวมถึงผูบ้ ริหารระดับสูงทีเ่ ป็นข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจและผูบ้ ริหารองค์กรเอกชน ทีม่ สี ว่ นสัมพันธ์กบั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทัว่ ประเทศ จ�ำนวน 20,000 ฉบับ / ปักษ์

ส�ำนักงานเลขที่ : 315/576 ชั้น 13 ฟอร์จูนท�ำวน์ อาคาร 5 ถนนสาธุประดิษฐ์ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120

สุดยอดผู้น�ำท้องถิ่น 2558

โทรศัพท์ 0-2674-0084 โทรสาร 0-2674-0085 เว็บไซท์ : www.opt-news.com

P. 39


PEA พรอมบริการแลว

ใกลบานคุณ

พลิกโฉม สำนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค สูบริการยุคใหม One Touch Service ทันสมัย สะดวกสบาย รวดเร็วในทุกขั้นตอน • Smart Queue เครื่องกดบัตรคิวอัจฉริยะ • ขอติดตั้งมิเตอรไมเกิน 30 แอมป ชำระคาธรรมเนียมไดภายใน 15 นาที • ติดตั้งมิเตอรไมเกิน 30 แอมป ในเขตเมืองไดภายใน 24 ชั่วโมง พบบริP.การดี 40 ๆ ไดที่สำนักงาน PEA และ PEA Shop ในศูนยการคาชั้นนำ

*

เงื่อนไขการบริการเปนไปตามที่ PEA กำหนด

สุดยอดผู้น�ำ1 ท้องถิ1 ่น 2558 PEA Call Center 2

9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.