เอกสารแนะนำหลักสูตรการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล

Page 1


มหาวิทยาลัยมหิดล Mahidol University

ข อ มู ล ทั่ ว ไป มหาวิทยาลัยมหิดลกอกําเนิดมากวา ๑๒๐ ป โดยเริ่มจากกอตั้งโรงศิริราชพยาบาล ในป พ.ศ. 2431 และวิวัฒนาการเปนโรงเรียนแพทยากร (พ.ศ. 2433) โรงเรียนราชแพทยาลัย มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร (พ.ศ. 2485) และมีการสถาปนาโดยไดรับพระราชทานนามวา มหาวิทยาลัยมหิดล ในป พ.ศ. ๒๕๑๒ มหาวิทยาลัยมหิดลมีนโยบายที่จะพัฒนาใหเปน ๑ ใน ๑๐๐ ของมหาวิทยาลัยโลก จึงไดจัดทําแผน ยุทธศาสตร พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔ โดยใชขอมูลจากผูบริหารระดับคณะ ผูอ ํานวยการกอง การสัมภาษณ ผูทรงคุณวุฒิดา นตางๆ การสัมมนาเพื่อระดมความคิดเห็นจากกรรมการสภามหาวิทยาลัย และศึกษาแผนการศึกษา แหงชาติ ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี และกรอบแผนอุดมศึกษาระยะ ยาว ๑๕ ป ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้

คําขวัญ (Motto) อตฺตานํ อุปมํ กเร พึงปฏิบัติตอผูอื่น เหมือนดังปฏิบัติตอตนเอง Do unto others as you would have others do unto you.

ปรัชญา (Philosophy) ความสําเร็จที่แทจริงอยูที่การนําความรูไปประยุกตใช เพื่อประโยชนสุขแกมวลมนุษยชาติ True success is not in the learning, but in its application to the benefit of mankind.

ปณิธาน (Determination) ปญญาของแผนดิน Wisdom of the Land

วิสัยทัศน (Vision) มหาวิทยาลัยมหิดลมุงมั่นที่จะเปนมหาวิทยาลัยระดับโลก Mahidol University is determined to be a World Class University.


Mahidol University

2

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

พันธกิจ (Mission) สรางความเปนเลิศทางดานสุขภาพ ศาสตร ศิลป และนวัตกรรมบนพื้นฐาน ของคุณธรรม เพื่อสังคมไทย และประโยชนสุขแกมวลมนุษยชาติ To excel in health, sciences, arts and innovation with integrity for the betterment of Thai society and the benefit of mankind.

วัฒนธรรมองคกร (Mahidol University Core Values and Organization Culture) M A H I D O L

– – – – – – –

Mastery Altruism Harmony Integrity Determination Originality Leadership

เปนนายแหงตน มุงผลเพื่อผูอื่น กลมกลืนกับสรรพสิ่ง มั่นคงยิ่งในคุณธรรม แนวแนทาํ กลาตัดสินใจ สรางสรรคสิ่งใหม ใฝใจเปนผูนาํ

สัญลักษณประจํามหาวิทยาลัยมหิดล ตราประจํามหาวิทยาลัยมหิดล พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชทาน เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2512 สีประจํามหาวิทยาลัยมหิดล สีน้ําเงินแก สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย (พระยศในขณะนั้น) พระราชทานเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2512 ตนไมประจํามหาวิทยาลัยมหิดล ตนกันภัยมหิดล สมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ประทานพระราชวินิจฉัย ให ตนกันภัยมหิดล เปนตนไมสญ ั ลักษณประจํามหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ พ.ศ.2542


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

3

Mahidol University

 ที่ตั้งของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มีสถานที่ดาํ เนินการในพื้นที่ 8 แหง ไดแก 1. พื้นที่ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ 1,239 ไร 1 งาน 61 ตารางวา เปนที่ตั้งของสํานักงานสภามหาวิทยาลัย สํานักงานอธิการบดี คณะวิทยาศาสตร ที่สอนนักศึกษาปที่ 1 และนักศึกษาปที่ 2 บางหลักสูตร คณะสังคมศาสตรและ มนุษยศาสตร คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย คณะสัตว แพทยศาสตร คณะศิลปศาสตร คณะกายภาพบําบัด คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะ แพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี (อาคารเรียนพยาบาลและหอพักนักศึกษาพยาบาล ภาควิชาพยาบาล ศาสตร) คณะเทคนิคการแพทย (อาคารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการแพทย) สถาบันวิจัยประชากรและ สังคม สถาบันโภชนาการ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเซีย สถาบันชีววิทยาศาสตรโมเลกุล สถาบัน พัฒนาสุขภาพอาเซียน สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู วิทยาลัยราชสุดา วิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการกีฬา วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาลัยดุริยางคศิลป วิทยาลัยศาสนศึกษา หอสมุดและคลังความรูมหาวิทยาลัยมหิดล สํานักสัตวทดลองแหงชาติ ศูนยพัฒนา ปญญาคม ศูนยบริหารทรัพยสินทางปญญา และศูนยการแพทยกาญจนาภิเษก ทั้งนี้เนื้อที่บางสวน ไดจัดสรรใหเปนที่ตั้งของโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ซึ่งเปนโรงเรียนวิทยาศาสตร ที่มีการบริหารจัดการในระบบขององคกรมหาชน 2. พื้นที่เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 72 ไร เปนที่ตั้งของ คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล คณะเทคนิคการแพทย และคณะพยาบาล ศาสตร 3. พื้นที่เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 198 ไร แบงเปน 4 บริเวณ คือ - บริเวณถนนศรีอยุธยา เปนที่ตั้งของคณะเภสัชศาสตร - บริเวณถนนพระราม 6 เปนที่ตั้งของคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี คณะวิทยาศาสตร และ ศูนยตรวจสอบสารตองหามในนักกีฬา - บริเวณถนนราชวิถี เปนที่ตั้งของคณะสาธารณสุขศาสตร และคณะเวชศาสตรเขตรอน - บริเวณถนนโยธี เปนที่ตั้งของคณะทันตแพทยศาสตร 4. พื้นที่เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 2 ไร 18 ตารางวา เปนที่ตั้งของคณะกายภาพบําบัด 5. พื้นที่เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร - บริเวณถนนวิภาวดีรังสิต (อาคาร  ) เปนที่ตั้งของวิทยาลัยการจัดการ 6. พื้นที่ตําบลลุมสุม อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่ 6,792 ไร เปนที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี 7. พื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค - ตําบลบึงเสนาท มีเนื้อที่ประมาณ 1,760 ไร เปนที่ตั้งของมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค 8. พื้นที่ อําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ เปนที่ตั้งของโครงการจัดตั้งวิทยาเขตอํานาจเจริญ มีพื้นที่โดยรวมประมาณ 50 ไร ตั้งอยู ณ ตําบลบุง อําเภอเมือง จังหวัดอํานาจเจริญ


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 

4

Mahidol University

หนวยงานของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มีหนวยงานในสังกัด ประกอบดวย 17 คณะ 7 สถาบัน 6 วิทยาลัย 2 สํานัก 2 สํานักงาน และ 6 ศูนย ดังนี้

คณะ 1. 2. 3. 4. 5.

คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล คณะสาธารณสุขศาสตร คณะเทคนิคการแพทย คณะเวชศาสตรเขตรอน คณะวิทยาศาสตร (พญาไท) คณะวิทยาศาสตร (ศาลายา) 6. บัณฑิตวิทยาลัย (ศาลายา) 7. คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี 8. คณะทันตแพทยศาสตร 9. คณะเภสัชศาสตร 10. คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 11. คณะพยาบาลศาสตร 12. คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร 13. คณะวิศวกรรมศาสตร 14. คณะสัตวแพทยศาสตร 15. คณะกายภาพบําบัด 16. คณะศิลปศาสตร 17. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

โทร. 02-4197000, 02-4115038, 02-4196442-44 โทร. 02-640-9850, 0-2354-8543-49, ตอ 3702 โทร. 02-441-4371-78 ตอ 2842, 2843 โทร. 02-3549100 ตอ 1614,1615, 02-6435580 โทร. 02-201-5050-4 โทร. 02-4419323 โทร. 02-441-4125, 0-2441-9129 โทร. 02-201-1734, 02-201-2268, 02-201-1289 โทร. 02-203-6555 ตอ 7760-62 ตอ 7760 โทร. 02-644-8677-89 ตอ 1508 โทร. 02-800-2840-78 โทร. 02-419-7466-80, 0-2412-8417 ตอ 1306-7 โทร. 02-441-5000 ตอ 1112 โทร. 02-889-2138 ตอ 6017, 6018, 6020 โทร. 02-4415242-4 ตอ 1429 โทร. 02-441-5450 ตอ 20204-7 โทร. 02-441-4401-5 โทร. 02-8496399

 สถาบั น 1. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม 2. สถาบันโภชนาการ 3. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเซีย 4. สถาบันชีววิทยาศาสตรโมเลกุล 5. สถาบันพัฒนาสาธารณสุขอาเซียน 6. สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว 7. สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู

โทร. 02-4419966 โทร. 02-4419036-8, 0-24410219, 0-2889-3309 โทร. 02-800-2303-5 โทร. 02-441-9742 โทร. 02-441-9040-3 โทร. 02-441-0602-8 โทร. 02-441-9020-4 ตอ 1301-9

 วิ ท ยาลั ย 1. วิทยาลัยการจัดการ 2. วิทยาลัยดุริยางคศิลป 3. วิทยาลัยนานาชาติ 4. วิทยาลัยราชสุดา 5. วิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการกีฬา 6. วิทยาลัยศาสนศึกษา

โทร. 02-206-2000 โทร. 02-800-2525 ตอ 109 โทร. 02-4415090 โทร. 02-8895315-9 ตอ 237, 238, 230 โทร. 02-441-4296-8 ตอ 203, 205 โทร. 02-5800-2630 ตอ 208-9


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล  สํา นั ก 1. หอสมุดและคลังความรูม หาวิทยาลัยมหิดล 2. สํานักสัตวทดลองแหงชาติ 3. สํานักงานสภามหาวิทยาลัยมหิดล 4. สํานักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล 

Mahidol University โทร. 02-8002680-9 ตอ. 4265 โทร. 02-4419342 โทร. 02-8496366 โทร. 02-8496000-59

ศู น ย 1. 2. 3. 4. 5. 6.

5

ศูนยตรวจสอบสารตองหามในนักกีฬา ศูนยสิทธิมนุษยชนศึกษาและการพัฒนาสังคม ศูนยจติ ตปญญาศึกษา ศูนยสตั วทดลองแหงชาติ ศูนยศึกษาและพัฒนาสันติวิธี ศูนยการแพทยกาญจนาภิเษก

โทร. 02-354-7147-9 โทร. 02-441-4125 ตอ 400, 401 โทร. 02-441-5000 ตอ 4303-4305 โทร. 02-441-9342 โทร. 02-849-6072-5 โทร. 02-849-6600

วิ ท ยาเขต 1. 2. 3. 4.

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา โทร. 02-8496000 มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี โทร. 034-585060 ตอ 1112 โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค โทร. 056-274362-5, 02-849-6125-6 โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตอํานาจเจริญ โทร. 02-849-6318-9

การจั ด การศึ ก ษา

เดื อนกั น ยายน ๒๕๕๓  หลักสูตรระดับปริญญาตรี จํานวน 83 หลักสูตร (ไทย 58 หลักสูตร /นานาชาติ 25 หลักสูตร)  หลักสูตรระดับต่ํากวาปริญญาตรี จํานวน 6 หลักสูตร  หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 261 หลักสูตร (ไทย 134 หลักสูตร/นานาชาติ 127 หลักสูตร)  หลักสูตรเฉพาะทางที่สูงกวาระดับปริญญาตรี (ประกาศนียบัตรแพทย/ทันตแพทย และการพยาบาล เฉพาะทาง/หลักสูตรการฝกอบรมแพทยเฟลโลว) รวม 211 หลักสูตร นอกจากนีย้ ังมีหลักสูตรของสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยมหิดล 20 แหง รวม 45 หลักสูตร (ขอมูล ณ เดือนกันยายน 2553) โดยมีรายละเอียดในแตละระดับการศึกษา ดังนี้


6

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

Mahidol University

ระดับ ปริญ ญาตรี มหาวิทยาลัยมหิดล มีการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทั้งหลักสูตรไทย และหลักสูตร นานาชาติ ซึ่งมีหนวยงานที่รับผิดชอบในแตละหลักสูตร โดยมีรายละเอียดและแนวทางในการศึกษา ดังนี้

หลักสูตร (จํานวนปที่ศึกษา)

หนวยงาน

 หลักสูตรไทย 1. คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล Website : www.si.mahidol.ac.th

2. คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี Website : www.ra.mahidol.ac.th

3. คณะทันตแพทยศาสตร Website : www.dt.mahidol.ac.th 4. คณะเภสัชศาสตร Website : www.pharmacy.mahidol.ac.th 5. คณะเทคนิคการแพทย Website : www.mt.mahidol.ac.th 6. คณะพยาบาลศาสตร Website : www.ns.mahidol.ac.th 7. คณะสาธารณสุขศาสตร Website : www.ph.mahidol.ac.th

1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4.

แพทยศาสตรบัณฑิต (6 ป) การแพทยแผนไทยประยุกตบัณฑิต (4 ป) เทคโนโลยีบัณฑิต (เทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร) (4 ป) กายอุปกรณศาสตรบัณฑิต (4 ป) วิทยาศาสตรบัณฑิต (เวชศาสตรการธนาคารเลือด) ตอเนื่อง 2 ป แพทยศาสตรบัณฑิต (6 ป) พยาบาลศาสตรบัณฑิต (4 ป) วิทยาศาสตรบัณฑิต (ความผิดปกติของการสื่อความหมาย) (4 ป) วิทยาศาสตรบัณฑิต (ความผิดปกติของการสื่อความหมาย) ตอเนื่อง 2 ป 1. ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต (6 ป) 2. เทคโนโลยีบัณฑิต (เทคโนโลยีทันตกรรม) ตอเนื่อง 2 ป 1. เภสัชศาสตรบัณฑิต (6 ป) 1. วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคนิคการแพทย) 4 ป 2. วิทยาศาสตรบัณฑิต (รังสีเทคนิค) 4 ป 1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต (4 ป) 1. วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) 4 ป 2. วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) 4 ป 3. สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (4 ป) 4. สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ตอเนือ่ ง) ภาคพิเศษ


7

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล หนวยงาน 8. คณะวิทยาศาสตร Website : www.sc.mahidol.ac.th

9. คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร Website : www.en.mahidol.ac.th 10. คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร Website : www.sh.mahidol.ac.th 11. คณะวิศวกรรมศาสตร Website : www.eg.mahidol.ac.th

12. คณะสัตวแพทยศาสตร Website : www.vs.mahidol.ac.th 13. คณะกายภาพบําบัด Website : www.pt.mahidol.ac.th 14. คณะศิลปศาสตร Website : www.ar.mahidol.ac.th 15. วิทยาลัยการจัดการ Website : www.cmmu.net 16. วิทยาลัยดุริยางคศิลป Website : www.music.mahidol.ac.th 17. วิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการกีฬา Website : www.ss.mahidol.ac.th 18. วิทยาลัยราชสุดา Website : www.rs.mahidol.ac.th 19. วิทยาลัยศาสนศึกษา Website : www.crs.mahidol.ac.th

Mahidol University หลักสูตร (จํานวนปที่ศึกษา)

 วิทยาศาสตรบัณฑิต (4 ป) สาขาวิชา 1. เคมี 2. ชีววิทยา 3. เทคโนโลยีชีวภาพ 4. ฟสิกส 5. พฤกษศาสตร 6. คณิตศาสตร 7. วิทยาศาสตรการแพทย 1. วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม) (4 ป) 2. วิทยาศาสตรบัณฑิต (เวชระเบียน) ตอเนื่อง 2 ป  วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (4 ป) สาขาวิชา 1. วิศวกรรมเคมี 2. วิศวกรรมเครื่องกล 3. วิศวกรรมไฟฟา 4. วิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร 5. วิศวกรรมโยธา 6. วิศวกรรมอุตสาหการ 7. วิศวกรรมคอมพิวเตอร 8. วิศวกรรมชีวการแพทย 1. สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (6 ป) 1. 2. 1. 2. 1.

วิทยาศาสตรบัณฑิต (กายภาพบําบัด) 4 ป วิทยาศาสตรบัณฑิต (กิจกรรมบําบัด) 4 ป ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) 4 ป ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) 4 ป การจัดการบัณฑิต (4 ป) - ปที่ 1 ศึกษาที่ศาลายา - ปที่ 2-3 ศึกษาที่วิทยาเขตกาญจนบุรี - ปที่ 4 ศึกษาที่วิทยาลัยการจัดการ 1. ดุริยางคศาสตรบัณฑิต (4 ป)

1. 2. 1. 2. 1.

วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตรการการกีฬา) (4 ป) ศิลปศาสตรบัณฑิต (การออกกําลังกายและการกีฬา) (4 ป) ศิลปศาสตรบัณฑิต (ลามภาษามือไทย) (4 ป) ศิลปศาสตรบัณฑิต (หูหนวกศึกษา) (5 ป) ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศาสนศึกษา) (4 ป)


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล หนวยงาน 20. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี Website : www.ka.mahidol.ac.th

 หลักสูตรนานาชาติ 1. วิทยาลัยนานาชาติ Website : www.muic.mahidol.ac.th

2. คณะวิทยาศาสตร Website : www.sc.mahidol.ac.th 3. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Website : www.ict.mahidol.ac.th 4. คณะสาธารณสุขศาสตร Website : www.ph.mahidol.ac.th 5. คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล Web Site : www.sspo.ac.th

Mahidol University

8

หลักสูตร (จํานวนปที่ศึกษา)

 วิทยาศาสตรบัณฑิต (4 ป) สาขาวิชา 1. เทคโนโลยีการอาหาร 2. ชีววิทยาเชิงอนุรักษ 3. วิทยาศาสตรการเกษตร 4. ธรณีศาสตร  การจัดการบัณฑิต (4 ป)

 วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา (4 ป) 1. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร 2. วิทยาศาสตรชีวภาพ 3. เคมี 4. ฟสิกส 5. คณิตศาตรประยุกต 6. วิทยาการคอมพิวเตอร 7. วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม  พยาบาลศาสตรบัณฑิต (4 ป)  วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมคอมพิวเตอร) (4 ป)  ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา (4 ป) 1. สังคมศาสตร 2. การผลิตแอนิเมชัน 3. การผลิตภาพยนตร 4. การผลิตสื่อโทรทัศน 5. การออกแบบนิเทศศิลป  บริหารธุรกิจบัณฑิต (4 ป) สาขาวิชา 1. ธุรกิจระหวางประเทศ 2. การเงิน 3. การตลาด 4. ระบบสารสนเทศ 5. เศรษฐศาสตรธุรกิจ 6. การจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม 7. การจัดการ  วิทยาศาสตรบัณฑิต (คณิตศาสตรประกันภัย) (4 ป)  วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) (4 ป)  สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ตอเนื่อง 2 ป)  กายอุปกรณศาสตรบัณฑิต ( 4 ป)


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

9

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรไทย

Mahidol University


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

10

Mahidol University


11

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 

Mahidol University

รายละเอี ย ดระดั บ ปริ ญ ญาตรี หลั

หลักสูตรไทย 1. คณะแพทยศาสตร ศิ ริ ร าชพยาบาล 1. หลักสูตร : แพทยศาสตรบัณฑิต Doctor of Medicine Programme 1.

2. 3.

4.

5.

6.

7.

วัตถุประสงคของหลักสูตร : เพื่อสรางบัณฑิตที่มคี วามรู ความสามารถ ทักษะ และเจตคติ ตามเกณฑมาตรฐานผูป ระกอบวิชาชีพ เวชกรรมของแพทยสภา ใหเปนแพทยที่เกง ดี และมีความสุข ใหบริการสุขภาพดวยตระหนักในความ เปนมนุษย (Humanized Health Care) ระยะเวลาในการศึกษา : 6 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จการศึกษาในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรอื่น ๆ ทีก่ ระทรวงศึกษาธิการ เทียบเทา วิธีการคัดเลือกนักศึกษา  การคัดเลือกระบบโควตามหาวิทยาลัยมหิดล .  การคัดเลือกผานกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย (กสพท) แนวทางประกอบอาชีพ / การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น เปนแพทยในโรงพยาบาลของรัฐหรือเอกชน เปนอาจารยแพทยตามคณะแพทยศาสตรตา ง ๆ หรือ ศึกษาตอแพทยเฉพาะทางทั้งในระดับปริญญาโท และปริญญาเอกในมหาวิทยาลัยตาง ๆ ทุนการศึกษา ทุนการศึกษาสําหรับผูมีปญหาดานเศรษฐานะ ทุนการศึกษาในโครงการ Ph.D, M.D. เพื่อใหศึกษา ตอในระดับปริญญาเอก กอนจบหลักสูตรแพทยศาสตร สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ฝายการศึกษา ตึกอดุลยเดชวิกรม ชั้น 6 คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล ถนนพรานนก เขตบางกอกนอย กทม. 10700 โทรศัพท : 02-4115038, 02-4196442-44 โทรสาร : 02-4114142. Web Site : www.si.mahidol.ac.th E-mail : sisoaa@diamond.mahidol.ac.th 11

**********************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

12

Mahidol University

2. หลักสูตร : การแพทยแผนไทยประยุกตบัณฑิต Bachelor of Applied Thai Traditional Medicine 2.

2. 3.

4.

5.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อสรางบัณฑิตแพทยแผนไทยประยุกตที่มีความรูความสามารถ ทักษะ และเจตคติตามเกณฑ มาตรฐานของกองการประกอบโรคศิลปะ กระทรวงสาธารณสุข สาขาการแพทยแผนไทยประยุกต และ เนนคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1) มีความรูความสามารถทางวิชาการและวิชาชีพเพียงพอตอการศึกษาหาความรูเพิ่มเติมดวยตนเอง การติดตามวิทยาการใหมๆ การศึกษาตอเนื่อง และการทําวิจัย 2) มีวิจารณญาณ สามารถวิเคราะหขอมูลและแกปญหาไดอยางมีเหตุผลตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร ที่ครอบคลุมแงมุมตาง ๆ แบบองครวม 3) สามารถผสมผสานและประยุกตความรูความสามารถทางวิชาการแพทยแผนไทยกับวิชาการ แขนงตางๆ ในการปฏิบัติงาน และใหบริการดานสุขภาพแกประชาชน มีมนุษยสัมพันธดี และ สามารถทํางานรวมกับบุคลากรสาขาวิชาชีพอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ 4) มีโลกทัศนกวาง ทันสมัยและทันเหตุการณ 5) มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติอันดีงาม ตอการประกอบวิชาชีพ และตอสังคม ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ปการศึกษา ไมเกิน 8 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) ผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา 2) มีคุณสมบัตติ ามระเบียบการสอบคัดเลือก สทอ. และ/หรือตามระเบียบการสอบคัดเลือกแตละ ประเภท วิธีการคัดเลือก เปนไปตามระเบียบการสอบคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสมาคมอธิการบดีแหง ประเทศไทย (สทอ.) หรือตามระเบียบการสอบคัดเลือกของโครงการพิเศษของคณะแพทยศาสตรศิริราช พยาบาล หรือตามระเบียบการสอบคัดเลือกของโครงการพิเศษของมหาวิทยาลัยมหิดล แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ปฏิ บั ติง านใหบ ริการดา นการแพทยแ ผนไทยในโรงพยาบาล หรือสถานบริการสาธารณสุขที่จดั ใหบริการดานนี้ ทั้งดานเวชกรรมแผนไทย หัตถเวชกรรมแผนไทย เภสัชกรรมแผนไทย และ ผดุงครรภแผนไทย 2) ปฏิบัติในสถานบริการดานการแพทยแผนไทยของภาคเอกชน หรือปฏิบัติงานในโรงงานผลิตยา และผลิตภัณฑจากสมุนไพร หรือปฏิบัติงานการใหบริการธุรกิจสปา 3) เปดคลินิกสวนตัว สาขาการแพทยแผนไทยประยุกต


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 6.

7.

13

Mahidol University

ทุนการศึกษา ผูขาดแคลนทุนทรัพยสามารถสมัครขอรับทุนการศึกษาคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล และ ทุนการศึกษามหาวิทยาลัยมหิดลได สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม สถานการแพทยแผนไทยประยุกต ตึกอดุลยเดชวิกรม ชั้น 13 เลขที่ 2 ถนนพรานนก แขวงศิริราช เขตบางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท : 02-419-8824-5 โทรสาร : 02-419-8818 เว็บไซต : www.si.mahidol.ac.th *************************

3. หลักสูตร : เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร

Bachelor of Technology Programme in Medical Educational Technology

1.

2. 3.

4.

5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร สรางบัณฑิตใหมีความรู ความสามารถ มีทักษะ และความคิดริเริ่มสรางสรรคในการผลิตและพัฒนา สื่อประเภทตาง ๆ ที่ใชในการศึกษาทางการแพทยและวิทยาศาสตรสุขภาพ การศึกษาทั่วไป และสือ่ ที่ใช เพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) เปนผูสาํ เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และมีความสนใจทางดานศิลปะ 2) มีคุณสมบัตติ ามระเบียบการสอบคัดเลือกของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) 3) ไมมีอาการตาบอดสี วิธีการคัดเลือกนักศึกษา : 1) ระบบแอดมิชชันกลางที่ดําเนินการโดย สกอ. 2) คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาลจะประกาศรับสมัครรอบเพิ่มเติม หากมีผูสละสิทธิ์ในระบบ แอดมิชชั่นกลาง โดยคัดเลือกตามลําดับคะแนนการสอบแอดมิชชั่นกลาง แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) นักวิชาการโสตทัศนศึกษาในหนวยงาน และสถาบันการศึกษาตาง ๆ 2) นักออกแบบกราฟกเพือ่ การโฆษณาประชาสัมพันธ 3) นักออกแบบเว็บไซต สือ่ มัลติมีเดีย ฯลฯ ทุนการศึกษา 1) มหาวิทยาลัยมีทุนใหเปลา แกนกั ศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพยจํานวนหนึ่ง 2) ทุนกูย ืมเพื่อการศึกษา


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 7.

14

Mahidol University

สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม โรงเรียนเวชนิทัศน สถานเทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล บางกอกนอย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศัพท : ๐-๒๔๑๑-๐๔๐๙, ๐-๒๔๑๙-๖๓๙๔, ๐-๒๔๑๙-๘๙๘๗ โทรสาร : ๐-๒๔๑๑-๓๐๐๓ เว็บไซต : www.si.mahidol.ac.th/metc *******************

4. หลักสูตร : กายอุปกรณศาสตรบัณฑิต Bachelor of Prosthetic and Orthotic Program 1.

ปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตร 1.1 หลักการและเหตุผล เนื่องจากประเทศไทยมีจํานวนประชากรมากขึ้นและมีความเจริญกาวหนาทางดานตางๆ เชน การ คมนาคมที่สะดวกรวดเร็ว การเปลี่ยนวิถีชีวิตจากสังคมเกษตรกรรมดั้งเดิมมาเปนสังคมเกษตรกรรม สมัยใหม และอุตสาหกรรมที่มีการใชเครื่องจักรกลเพิ่มขึ้น ทําใหมีการบาดเจ็บมากขึ้น และผูทบี่ าดเจ็บนี้ สวนหนึ่งจะมีความพิการเหลืออยู ประกอบกับวิทยาการทางการแพทยที่ชวยใหผูปวยโรคตางๆ มีชวงชีวิตที่ ยืนยาวขึ้น แตมักมีปญหาความบกพรองหรือความพิการตางๆรวมดวย ทําใหจํานวนผูพิการในประเทศมี เพิ่มขึ้นมาก ซึง่ คาดวาในปจจุบันมีจาํ นวนมากกวา 3 ลานคน ดังนั้นการฟนฟูสมรรถภาพ (Rehabilitation) เพื่อใหผูพิการสามารถชวยเหลือตนเองและประกอบอาชีพไดจึงเปนสิง่ สําคัญมากทัง้ ตอตัวผูพิการ ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ การฟนฟูสมรรถภาพของผูพ ิการจําเปนตองอาศัยการทํางานรวมกันของทีมงานฟนฟูสมรรถภาพซึ่ง ประกอบดวยแพทย พยาบาล นักกายภาพบําบัด นักกิจกรรมบําบัด นักอรรถบําบัด นักจิตวิทยา นักสังคม สงเคราะห ผูใ หคําปรึกษาแนะนําดานอาชีพ และนักกายอุปกรณ ดังนั้น การผลิตบุคลากรดานกายอุปกรณ ในระดับปริญญาตรีจึงมีความสําคัญตอการใหบริการฟนฟู สมรรถภาพแกประชาชน และเปนการทําใหมาตรฐานของงานบริการสาธารณสุข และฟนฟูสมรรถภาพ อยู ในระดับทัดเทียมนานาชาติ 1.2 ปรัชญา ผลิตนักกายอุปกรณในขั้นปริญญาตรี ใหมีความรูทางการทํากายอุปกรณเสริมและกายอุปกรณเทียม เพื่อฟนฟูสมรรถภาพของผูปวยและหายปวยแตยังมีความพิการอยู จนสามารถประดิษฐ ดัดแปลง และ พัฒนากายอุปกรณไดทัดเทียมสากล 1.3 วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตนักกายอุปกรณที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1) มีความรูความสามารถในดานการประดิษฐ ดัดแปลง และพัฒนากายอุปกรณรูปแบบใหม ๆ ที่มี ความเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ ลักษณะอาชีพและเศรษฐานะของประชากร 12


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

15

Mahidol University

2) มี ค วามรู ค วามสามารถในการพั ฒ นาตนเองและวิ ช าชี พ ใฝ ห าความรู แ ละสามารถติ ด ตาม ความกาวหนาของวิชาชีพไดอยางตอเนื่อง 3) มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับปญหาสาธารณสุขของชาติในดานกายอุปกรณ และสามารถเสนอ แนวทางการปองกันและแกไขที่เหมาะสมกับความตองการของประเทศ 4) เปนผูมีคุณธรรมจริยธรรมอันดีงาม รักษาจรรยาบรรณแหงวิชาชีพอยางเครงครัด รวมทั้ง เคารพและปกปองสิทธิของผูรับบริการ 5) มีมนุษยสัมพันธที่ดีกับผูปวย ผูรวมงานตลอดจนบุคลากรที่เกี่ยวของ 2. ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา 3. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา มีคุณสมบัตติ ามระเบียบการสอบคัดเลือกของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ/ หรือตามระเบียบการสอบคัดเลือกของโครงการพิเศษของมหาวิทยาลัยมหิดล ไมมคี วามบกพรองทาง รางกายหรือจิตใจที่จะเปนอุปสรรคตอการศึกษาหลักสูตรกายอุปกรณศาสตรบัณฑิต และมีเพิ่มเติม ดังนี้ 1) เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทา 2) มีคะแนนเฉลีย่ สะสมระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ไมต่ํากวา 2.75 3) มีคะแนนเฉลีย่ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร คณิตศาสตร แตละสาระการเรียนรูไมต่ํากวา 2.75 ภาษาอังกฤษ ไมตา่ํ กวา 3.00 สังคมศึกษา และภาษาไทย ไมตา่ํ กวา 2.00 4) คุณสมบัติเฉพาะ เหมือนเกณฑของมหาวิทยาลัย และมีเพิ่มเติม ดังนี้  ไมเปนผูที่มตี าบอดสีชนิดรุนแรงทั้งสองขาง ไมมีโรคแขนขาออนแรง ไมมีปญหาสุขภาพกาย และ สุขภาพจิตที่เปนอุปสรรคตอการศึกษา และการประกอบวิชาชีพ 4. การคัดเลือกนักศึกษา :  ระบบโควตาวิทยาเขต (1) กลุมอํานาจเจริญ  โควตาโครงการพิเศษ (1) โครงการโรงเรียนอิสลามวิทยาลัยแหงประเทศไทย (2) โครงการเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต  ระบบแอดมิชชันกลางของ สทศ.  การคัดเลือกกรณีพิเศษ : พิจารณารับชางกายอุปกรณเดิมที่สําเร็จการศึกษาไมตา่ํ กวาชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลายหรือเทียบเทา เขาศึกษาตอกรณีที่ตองการพัฒนาตนใหมีความรูความสามารถสูงขึ้น ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของคณะกรรมการสอบคัดเลือก 5. แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วประเทศทั้งภาครัฐ และเอกชนหนวยงานที่มีบริการดานกายอุปกรณศึกษาตอ ระดับปริญญาโท 6. ทุนการศึกษา 1) กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษาของรัฐบาล (กยศ.) 2) ทุนจากหนวยงานเอกชน 3) ทุนการศึกษาจากโรงเรียนกายอุปกรณสิรินธรสําหรับนักศึกษาทีม่ ีผลการเรียนดีและมีความประพฤติดี


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 7.

16

Mahidol University

สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม โรงเรียนกายอุปกรณสิรินธร ภาควิชาเวชศาสตรฟนฟู คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล เลขที่ 2 ถนนพรานนก บางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท : 02-419-9815 โทรสาร : 0-24198929 เว็บไซต : www.sspo.ac.th ******************

4. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชศาสตรการธนาคารเลือด (ตอเนือ่ ง) Bachelor of Science in Tranfusion Medicine 1.

2. 3.

4.

5. 6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตทางเวชศาสตรการธนาคารเลือดที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูแ ละทักษะในระดับที่สามารถปฏิบัติ และพัฒนางานทางดานเวชศาสตรก ารธนาคารเลือ ดใน โรงพยาบาลและสถานบริ ก ารสาธารณสุ ข ของประเทศได อยา งมี ประสิ ทธิภ าพ 2) สามารถวิเคราะห วิจัย ติดตาม รวมทั้งประเมินผลงาน และผลการตรวจทางหองปฏิบัติการเวชศาสตร การธนาคารเลือดไดอยางถูกตอง และมีประสิทธิภาพ 3) มีความสามารถและเจตคติที่จะศึกษาคนควาหาความรูเพิ่มเติม และติดตามความกาวหนาทางวิชาการ ในสาขาวิชาเวชศาสตรการธนาคารเลือดและสาขาอื่นที่เกี่ยวของ 4) มีเจตคติและจรรยาบรรณที่เหมาะสมตอการปฏิบัติงานทางดานเวชศาสตรการธนาคารเลือด ระยะเวลาในการศึกษา : 2 ป คุณสมบัติของผูสมัคร 1) สําเร็จการศึกษาอนุปริญญาวิทยาศาสตรการแพทย คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัย มหิดลหรือเทียบเทา หรือสําเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรพนักงานวิทยาศาสตรการแพทย คณะ แพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล หรือเทียบเทา และไดศึกษาเพิ่มเติมตามเงื่อนไข 2) เปนผูท ํางานประจําในหองปฏิบตั กิ ารธนาคารเลือด หรือหองปฏิบัติการทางการแพทยของโรงพยาบาล ของรัฐ เทศบาล รัฐวิสาหกิจ เอกชน ไมนอยกวา 2 ป หลังสําเร็จการศึกษา นับถึงวันเปดภาค การศึกษาแรกผูมีคุณสมบัตนิ อกเหนือจากคุณสมบัติขอ 1 และ 2 จะตองไดรับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการหลักสูตร วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนไปตามระเบียบการสอบคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาของคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล หรือตาม ระเบียบการสอบคัดเลือกของมหาวิทยาลัยมหิดล แนวทางในการประกอบอาชีพ / แนวทางในการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น รับราชการในสถานพยาบาล รัฐวิสาหกิจ และเอกชน / ศึกษาตอในระดับปริญญาโท และเอก ทุนการศึกษา : มีทุนการศึกษาสําหรับผูขาดแคลนทุนทรัพย


17

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 7.

Mahidol University

สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิม่ เติม ภาควิชาเวชศาสตรการธนาคารเลือด คณะแพทยศาสตรศริ ิราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ตึก 72 ป ชั้น 3 โทรศัพท : 02-419-7492 โทรสาร : 02-412-8419 เว็บไซต : www.si.mahidol.ac.th E-mail : c_sarinthip@yahoo.com ****************************

2. คณะแพทยศาสตร โ รงพยาบาลรามาธิ บ ดี 1. หลักสูตร : 1.

2.

3.

แพทยศาสตรบัณฑิต Doctor of Medicine

วัตถุประสงคของหลักสูตร ผลิตบัณฑิตแพทยที่มีความรูความสามารถ ทักษะ และเจตคติตามเกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพ เวชกรรมของแพทยสภา โดยเนนคุณสมบัติดังตอไปนี้ 1) มีคุณธรรม จริยธรรม และมารยาทในการประกอบวิชาชีพแพทย แสดงเจตคติที่ดตี อการใหบริการ สุขภาพแบบองครวมแกประชาชนทุกระดับ และเคารพในสิทธิของผูป วย 2) ใหบริการสุขภาพแบบองครวมไดอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ทั้งการตรวจวินิจฉัย บําบัดรักษา ฟนฟูสมรรถภาพ สรางเสริมสุขภาพ ปองกันการเจ็บปวยทั้งทางรางกาย จิตใจ และสังคม ในระดับ บุคคล ครอบครัว และชุมชน 3) สามารถเรียนรูไดดวยตนเองอยางตอเนื่อง คนควาหาขอมูลจากแหลงตางๆ มีวจิ ารณญาณในการตัดสิน ความนาเชื่อถือของขอมูล นําความรูและเทคโนโลยีมาประยุกตในการบริการสุขภาพไดอยางเหมาะสม 4) สามารถคิด วิเคราะหอยางเปนระบบ ระบุปญ  หา และวางแผนดําเนินการแกปญหาไดอยางครบวงจร 5) มีทักษะในการติดตอสือ่ สารและการสรางสัมพันธภาพกับผูอื่น โดยสามารถใชภาษาพูด ภาษากาย และภาษาเขียนไดอยางเหมาะสม 6) สามารถทํางานรวมกับผูอ ื่น และชุมชนได ทั้งในฐานะผูนาํ และผูรวมงาน 7) สามารถประเมิน และปรับปรุงพัฒนาตนเองไดอยางตอเนื่อง เพือ่ การทํางานทีเ่ ต็มศักยภาพ ระยะเวลาในการศึกษา : ระยะเวลา 6 ปการศึกษา โดยศึกษาระดับเตรียมแพทย 1 ป ระดับ ปรีคลินิก 2 ป และระดับคลินิก 3 ป และใหศึกษาตลอดหลักสูตรอยางมากไมเกิน 12 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา เปนผูสําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) มีคุณสมบัตติ ามระเบียบการสอบคัดเลือกบุคคลเขา ศึกษาสถาบันอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ/หรือตามระเบียบของ มหาวิทยาลัยมหิดล และ/หรือระเบียบโครงการพิเศษของกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย (กสพท.) และ/หรือตามทีค่ ณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี ไดกาํ หนดเพิม่ เติม


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 4.

5.

6. 7.

Mahidol University

18

วิธีการคัดเลือกนักศึกษา 1) ระบบรับตรงของกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย 2) ระบบโควตา มหาวิทยาลัยมหิดล แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ปฏิบัติหนาที่แพทยทั่วไปในสถานพยาบาลของรัฐและเอกชน และสามารถปฏิบัติหนาที่อื่น ไดแก การฝกอบรมเฉพาะทางเพื่อพัฒนาความรู ความสามารถอยางตอเนือ่ งที่เปนอาจารย ผูบริหาร นักวิชาการ นักวิจัย และหรือเปนผูรวมงานในบทบาทตางๆ ตามทีไ่ ดรับมอบหมายของคณะ/สถาบันผลิต แพทยไดอยางเหมาะสม ศึกษาตอทั้งในหลักสูตรระยะสั้นและระยะยาวได ทุนการศึกษา ทุนการศึกษาสําหรับผูมีปญ  หาดานเศรษฐฐานะ สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิม่ เติม งานแพทยศาสตรศึกษา คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี โทรศัพท : 02-201-1736 โทรสาร : 02-201-1289 เว็บไซต : www.ra.mahidol.ac.th E-mail : rapwc@mahidol.ac.th 16

-----------------------------

2. หลักสูตร : พยาบาลศาสตรบัณฑิต Bachelor of Nursing Science Program 1.

วัตถุประสงคของหลักสูตร ผลิตพยาบาลศาสตรบัณฑิต ภาควิชาพยาบาลศาสตร ที่มีคุณสมบัติดังตอไปนี้ 1) สามารถประยุกตองคความรูทางการพยาบาล เพื่อสงเสริมการปรับตัวของบุคคล ครอบครัว และ ชุมชน ในการปองกันโรคและสงเสริมสุขภาพในเชิงรุก รักษาพยาบาลและฟนฟูสภาพตามขอบเขตของวิชาชีพ 2) ปฏิบัติการพยาบาลโดยใชกระบวนการพยาบาล เปนแนวทางในการแกปญหาสุขภาพ ของผูรับบริการ ไดอยางถูกตองเหมาะสม และคํานึงถึงความเปนปจเจกบุคคล 3) มีคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบในการปฏิบัติวิชาชีพ เคารพและปกปองสิทธิของผูรับบริการ 4) มีเจตคติที่ดีตอวิชาชีพ และตระหนักถึงความสําคัญของการใหความรวมมือในกิจกรรมขององคกร วิชาชีพและสมาคมวิชาชีพ 5) มีระเบียบวินัย มีมนุษยสัมพันธที่ดี สามารถเปนผูนํา ผูรวมงาน และรวมมือประสานงานกับผูที่ เกี่ยวของไดทุกระดับ 6) มีความรอบรู ริเริ่มสรางสรรคและสามารถตัดสินใจดวยตนเองอยางมีเหตุผล 7) มีความสนใจใฝหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองและวิชาชีพ


19

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 2. 3.

4.

5.

6. 7.

Mahidol University

ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) สําเร็จ ม.6 (สายวิทยาศาสตร) หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ 2) อายุระหวาง 17-25 ป 3) เปนผูมีความประพฤติดี 4) เปนผูมีรางกายแข็งแรง เหมาะสมที่จะเปนพยาบาลทุกประการ มีสวนสูงไมต่ํากวา 150 เซนติเมตร น้ําหนัก 40 กิโลกรัมเปนอยางนอย ไมเปนผูทุพลภาพ ไมมีโรคประจําตัว หรือจิตฟนเฟอน ไมสมประกอบ หรือเปนโรคที่ระบุไวในกฎของสํานักงาน ก.พ. 5) เปนผูที่มีบุคลิกลักษณะเหมาะสม สนใจในวิชาชีพการพยาบาลตองผานการสอบสัมภาษณ โดยคณะ กรรมการครูโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี และผานการตรวจรางกาย โดยคณะกรรมการของหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิธีการคัดเลือกนักศึกษา 1) ระบบการคัดเลือกของมหาวิทยาลัยมหิดล 2) ระบบแอดมิชชันกลาง ซึ่งดําเนินงานโดยสํานักงาน สกอ. แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) พยาบาลวิชาชีพในหนวยงานที่รองรับโรงพยาบาล สถานีอนามัย และศูนยบริการสุขภาพทั้ง ภาครัฐและเอกชน 2) สายบริการสามารถพัฒนาตนเองใหกาวไปเปนพยาบาลผูชํานาญการ และพยาบาลเวชปฏิบัติ 3) สายวิชาการสามารถกาวขึ้นเปนอาจารยพยาบาล หรือนักวิชาการได ทุนการศึกษา : มีทุนการศึกษาของมหาวิทยาลัย และของคณะฯ และภาควิชาฯ สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม งานหลักสูตรพยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี เลขที่ 270 ถนนพระราม 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทรศัพท : 0-2201-2130 โทรสาร : 0-2201-1698 เว็บไซต : www.rama.mahidol.ac.th/nurse/thai/main/index.php E-mail : rasen@staff2.mahidol.ac.th 17

****************************

3. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาความผิดปกติของการสือ่ ความหมาย Bachelor of Science Program in Communication Disorders 1.

วัตถุประสงคของหลักสูตร การศึกษาในหลักสูตรนี้มี 2 วิชาเอก คือ วิชาโสตสัมผัสวิทยา และวิชาแกไขการพูด ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อ สรางบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้


20

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

2. 3.

4. 5.

6. 7.

Mahidol University

1) มีคุณธรรม จริยธรรม และมารยาทในการประกอบวิชาชีพ แสดงเจตคติที่ดีตอการใหบริการสุขภาพ แบบองครวมแกประชาชนทุกระดับ และเคารพในสิทธิของผูปวย 2) มีความรูพื้นฐานเรื่องวิทยาศาสตรการไดยินและการพูด 3) มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องชวยฟง สามารถใหบริการตรวจประเมินการทํางานของเครื่องชวยฟง เบื้องตน รวมทั้งใหคําแนะนําการใชและการดูแลรักษาเครื่องชวยฟง 4) มีความรูเกี่ยวกับโรค หู คอ จมูกเบื้องตน สามารถใหคําแนะนําในการปองกันความผิดปกติของการ ไดยินและการพูดไดเหมาะสม 5) สามารถตรวจการไดยินแบบคัดกรองและตรวจความผิดปกติการไดยินพื้นฐาน 6) สามารถฟนฟูสมรรถภาพทางการไดยินและการพูดสําหรับเด็กหูพิการแตกําเนิด 7) สามารถประเมิน วินิจฉัย และแกไขการพูดในเด็กพูดไมชัดที่ไมมีพยาธิสภาพหรือโครงสรางผิดปกติ 8) สามารถติดตอสื่อความหมายขั้นพื้นฐาน กับผูปวยหูพิการไดเหมาะสม 9) สามารถกระตุนพัฒนาการทางภาษาและการพูด ในเด็กพูดชาที่มีสาเหตุมาจากสิ่งแวดลอมไมเหมาะสม • บัณฑิตวิชาเอกโสตสัมผัสวิทยาสามารถประเมินการใชเครื่องชวยฟง ใหแกผูปวยผูใหญที่มี ปญหาไมซบั ซอน และสามารถปฏิบัติงานตรวจวัดการไดยินในชุมชนได • บัณฑิตวิชาเอกสามารถแกไขการพูดสามารถกระตุน พัฒนาการทางภาษาและการพูดในเด็กทีม่ ี พัฒนาการทางภาษาและการพูดลาชา จากสาเหตุเชาวปญญาต่าํ สมองพิการ ออทิสซึม และเด็ก ที่มปี ญหาดานอารมณ ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีคุณสมบัติทั่วไป และคุณสมบัติเฉพาะตามระเบียบการ สอบคัดเลือกเขาศึกษาสถาบันอุดมศึกษา สํานักงาน สกอ. และตามทีค่ ณะแพทยศาสตรโรงพยาบาล รามาธิบดี และมหาวิทยาลัยมหิดลกําหนด วิธีการคัดเลือก รับนักศึกษาในระบบแอดมิชชั่นกลาง ผานสํานักงาน สกอ. แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ปฏิบัติงานเปนนักแกไขการพูดและนักแกไขการไดยินในโรงพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน บัณฑิต จะตองสอบขึ้นทะเบียนรับใบประกอบโรคศิลปะของกองการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนงาน บริการกระทรวงสาธารณสุข 2) ศึกษาตอในระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อ ความหมาย 3) ปฏิบัติงานในสถาบันการศึกษา งานในสายวิชาการ เปนอาจารย นักวิชาการ และนักวิจัย วิทยาศาสตร การแพทยสาขาการสื่อความหมาย หรือศึกษาตอตางประเทศในระดับสูง ทุนการศึกษา มีทุนการศึกษาจากสถาบัน หรือโรงพยาบาลของรัฐบางแหง สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม หนวยโสตสัมผัสและแกไขการพูด ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 02-2012425, 02-2012208 โทรสาร : 02-2012208 เว็บไซต : www.ra.mahidol.ac.th หรือ www.thaisha.org E-mail : tenep@mahidol.ac.th 18

20

19


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

21

Mahidol University

************************************

3. คณะทั น ตแพทยศาสตร 1. หลักสูตร : ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต Doctor of Dental Surgery 1.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตทันตแพทยศาสตรบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังตอไปนี้ 1) มีความรูพ ื้นฐานทางดานวิทยาศาสตรการแพทย และสามารถวิเคราะหขอมูลเพื่อประยุกตหรือ อธิบายปรากฏการณทางคลินิกอยางมีเหตุผลตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร 2) มีความรูความสามารถ และทักษะพื้นฐานทางทันตแพทยศาสตรเพียงพอ ที่จะบูรณาการความรู ความสามารถในการตรวจ วินิจฉัย วางแผนการรักษา ปองกัน บําบัดโรคในชองปาก และอวัยวะ ที่เกี่ยวของ รวมถึงการฟนฟูสภาพไดอยางถูกตองเหมาะสม โดยคํานึงถึงหลักสุขภาพองครวมของ ผูปวย 3) มีความรูในการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมารใชโดยตระหนักถึงความเหมาะสม ขอจํากัดและขีดความ สามารถ ของตนเอง เพื่อประโยชนสูงสุดของผูปวย 4) มีความรูและเขาใจปญหาทางทันตสาธารณสุข สามารถรวมแกไข เผยแพรความรู และสงเสริม ทันตสุขภาพ ไดอยางถูกตอง 5) มีความรูหลักของการวิจัย และสามารถศึกษาคนควาวิจยั ที่ไมซับซอนเพื่อองคความรูใหม 6) มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณและเจตคติอันดีงาม ตอการประกอบวิชาชีพ มีความรับผิดชอบ ตอสังคม อนุรกั ษสิ่งแวดลอมตลอดจน ทํานุบาํ รุงศิลปวัฒนธรรมไทย 7) มีความรูทั่วไปเกี่ยวกับสังคม เทคโนโลยี และสภาวะแวดลอม เพื่อการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และ การดํารงชีพไดอยางมีความสุข มีโลกทัศนกวางและทันเหตุการณ 8) มีความรูในหลักการบริหารงาน สามารถเปนผูนาํ กลุมงาน มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีมนุษย สัมพันธที่ดี สามารถผสมผสานและประยุกตความรู ความสามารถทางวิชาการทางทันตแพทยศาสตร กับวิชาการแขนงตางๆ ในการปฏิบัติงาน สามารถทํางานรวมกับบุคลากรสาขาวิชาชีพอื่นไดอยางมี ประสิทธิภาพ 9) มีความสนใจใฝเรียนรู มีเจตคติที่ดใี นการศึกษาดวยตนเอง และพัฒนาการประกอบวิชาชีพได อยางตอเนื่อง 2. ระยะเวลาในการศึกษา : 6 ป 3. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา เปนผูสาํ เร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) มีคุณสมบัตติ ามระเบียบการสอบคัดเลือกบุคคลเขา ศึกษาสถาบันอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ และ/ หรือตามระเบียบโครงการพิเศษของมหาวิทยาลัยมหิดล และ/หรือระเบียบโครงการพิเศษของกลุมสถาบัน แพทยศาสตรแหงประเทศไทย (กสพท.) และ/หรือตามที่คณะทันตแพทยศาสตร ไดกาํ หนดเพิม่ เติม


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

22

Mahidol University

4.

วิธีการคัดเลือกนักศึกษา 1) ระบบโควตา มหาวิทยาลัยมหิดล 2) ระบบรับตรงผานกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย (กสพท.) 3) ระบบแอดมิชชั่นกลางผานสํานักงาน สกอ. 5. แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ปฏิบัติงานทันตแพทย ไดแก การปองกันดูและแกไขปญหาสุขภาพภายในปากของประชาชน 2) ฝกอบรมตอเปนทันตแพทยเฉพาะทาง ปฏิบัติงานบริหาร งานการสอน และงานวิจัย เมื่อสําเร็จ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 6. ทุนการศึกษา มีทุนการศึกษาของมหาวิทยาลัยของคณะฯ และของภาควิชาฯ 7. สถานทีต่ ิดตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม หนวยทะเบียนและประเมินผลการศึกษา คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โทรศัพท : 02-660-7555 ตอ 7760 โทรสาร : 02-644-6624 เว็บไซต : www.dt.mahidol.ac.th E-mail : dtskp@mahidol.ac.th **********************

2. หลักสูตร : เทคโนโลยีบณ ั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทันตกรรม (ตอเนื่อง 2 ป) Bachelor of Technology Program in Dental Technology ( 2–Year Extension ) 1.

2. 3.

วัตถุประสงคของหลักสูตร ผลิตบัณฑิตทีม่ ีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1) มีความรูในวิชาศึกษาทั่วไป และวิชาเฉพาะในระดับที่สามารถปฏิบตั ิงานชางทันตกรรมที่ทันสมัย 2) มีทักษะ สามารถประดิษฐฟนปลอม และเครื่องมือที่ใชเทคโนโลยีชั้นสูง ในการรักษาผูปวยทางทันตกรรมที่ มีความยุงยากซับซอนไดอยางมีประสิทธิภาพ 3) สามารถเตรียมสื่อการสอนสาธิตวิธีประดิษฐฟนปลอมและเครื่องมือตาง ๆ ที่ใชรักษาผูปวยทางทันตกรรม 4) ทําหนาที่ชวยงานวิจัยทันตกรรม 5) มีมนุษยสัมพันธที่ดี สามารถปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นไดอยางราบรื่น ระยะเวลาในการศึกษา : 2 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) สําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชางทันตกรรม 2) มีประสบการณการทํางานดานทันกรรมไมนอยกวา 2 ป 3) จิตใจและรางกายปกติไมมีโรคติดตอหรือโรคสําคัญที่จะเปนอุปสรรคตอการศึกษา 4) มีความประพฤติดี 5) มีคุณสมบัติอนื่ ๆ ครบตามมาตรา 24 แหงระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2518


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 4.

5.

6. 7.

23

Mahidol University

วิธีการคัดเลือกนักศึกษา ผูประสงคจะสมัครสอบคัดเลือกใหสมัครพรอมแนบหลักฐานดังนี้ 1) ใบสมัครที่กรอกขอความเรียบรอย 2) สําเนาหลักฐานแสดงวุฒิการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชางทันตกรรม 3) หนังสือรับรองประสบการณการทํางานจากตนสังกัด (อนุมตั ิใหลาศึกษาตอ) 4) สําเนาทะเบียนสมรส (กรณีสมรสแลว) 5) สําเนาบัตรประชาชน 6) สําเนาทะเบียนบาน 7) ใบรับรองแพทย 8) รูปถาย 1 นิ้ว จํานวน 3 รูป (ถายไมเกิน 6 เดือน) เงื่อนไขการศึกษา 1) ผูไดรับการสนับสนุนจากหนวยราชการ เมื่อสําเร็จการศึกษาตองตามพันธะที่ใหไวตอหนวยราชการ เปนเวลาเทากับระยะเวลาที่ลาศึกษาตามหลักสูตรนี้ ผูผิดสัญญาจะตองชดใชคาใชจายในการศึกษาตามที่ กําหนดในสัญญา เวนแตมหาวิทยาลัยจะพิจารณาเปนอยางอื่น 2) สําหรับผูที่ทางราชการไมประสงคจะรับเขาทํางาน และไมมีขอผูกพันตามสัญญา ทางราชการไมมี พันธะในการหางานให แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ปฏิบตั ิงานในหนวยราชการหรือหนวยงานเอกชนทีใ่ หบริการดานทันตกรรม 2) ประกอบธุรกิจสวนตัว 3) ศึกษาตอในระดับปริญญาโทสาขาที่เกี่ยวของและระดับที่สูงขึ้น คาใชจายตอหลักสูตรโดยประมาณ : คาใชจา ยประมาณคนละ 35,000 บาทตอป สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม หนวยงานโรงเรียนชางทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โทรศัพท : 02 – 203 - 6440 ตอ 1614 โทรสาร : 02 – 203 - 6441 ตอ 135 เว็บไซต : www.dt.mahidol.ac.th

************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

24

Mahidol University

4. คณะเภสั ช ศาสตร  หลักสูตร : เภสัชศาสตรบัณฑิต Bachelor of Science in Pharmacy 1.

2.

3. 4.

วัตถุประสงคของหลักสูตร : เพื่อผลิตบัณฑิตเภสัชศาสตรที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูเกี่ยวกับสารหรือวัตถุที่นํามาใชเปนยาในแงมุมตาง ๆ ทางเภสัชศาสตร ทั้งแหลงที่มา เคมีของยา การออกฤทธิ์ทางยา เพื่อใหประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพตามเกณฑ มาตรฐานวิชาชีพในระดับประเทศและสากล 2) มีความสามารถและทักษะในการตั้งตํารับยา การผลิตยาแผนปจจุบัน ผลิตภัณฑสมุนไพร และผลิตภัณฑ สุขภาพอื่นๆ รวมไปถึงการควบคุมและประกันคุณภาพ เพื่อใหไดผลิตภัณฑมีคุณภาพและได มาตรฐานสากล 3) มีความสามารถและทักษะในการใหการบริบาลทางเภสัชกรรม ตั้งแตการประเมินสภาวะของ ผูปวยเบื้องตน การคนหาปญหาทางยา การแกปญหาทางยา การกําหนดแผนการดูแลผูปวย ทางยา การใหคําแนะนําระหวางการจายยา และการวางระบบยา ใหเกิดการใชยาอยางมีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและพอเพียง 4) มีความสามารถและทักษะในการสื่อสารเพื่อใหขอมูลเกี่ยวกับยา และผลิตภัณฑสุขภาพอื่นๆ ที่เหมาะสมตามความตองการของผูปวยเฉพาะราย และ บุคลากรสาธารณสุขอยางถูกตอง ทันสมัย และเชื่อถือได 5) มีความสามารถในการเรียนรูดวยตนเอง คนหาขอมูล คิดวิเคราะห สังเคราะห และประยุกตใช ความรูทางเภสัชศาสตร เพื่อเปนรากฐานสําหรับการเรียนรูตอไปในอนาคต 6) มีความรูความสามารถในการสงเสริมสุขภาพอนามัยของชุมชน และการปองกันโรค 7) มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตามจรรยาบรรณแหงวิชาชีพเภสัชกรรม การศึกษา การเรียนในชั้นปที่ 1 – 4 เปนการปูพื้นฐานความรูและทักษะเบื้องตนทางเภสัชกรรม การเรียนในชั้นปที่ 5 – 6 มี 2 ดาน คือ ดานผูปวย และดานผลิตภัณฑ โดยเลือกเรียนดานใดดานหนึ่งตามความตองการ โดย ตลอดทั้งป ในชั้นปที่ 6 จะเปนการฝกปฏิบัติงานวิชาชีพในดานที่เลือก ระยะเวลาในการศึกษา : 6 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา : สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา และมีคุณสมบัติทวั่ ไปและคุณสมบัติ เฉพาะตามระเบียบการสอบคัดเลือกของสํานักงาน สกอ. และ / หรือระเบียบการสอบคัดเลือกของ มหาวิทยาลัยมหิดล


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 5.

6.

7.

8. 9.

25

Mahidol University

วิธีการคัดเลือกนักศึกษา 1) ระบบการคัดเลือกของมหาวิทยาลัยมหิดล 2) ระบบแอดมิชชันกลาง ซึง่ ดําเนินงานโดย สกอ. แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ประกอบอาชีพเปนเภสัชกร เภสัชกรชุมชน เภสัชกรประจํารานยา เภสัชกรการตลาดและการบริการ ทั้งในหนวยงานของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจและเอกชน 2) เภสัชกรฝายผลิตหรือตรวจวิเคราะหประจําโรงงานอุตสาหกรรมผลิตยา อาหาร และเครื่องสําอาง 3) เภสัชกรทําหนาที่ตรวจวิเคราะห ควบคุมการผลิตและมาตรฐานของผลิตภัณฑ ยาอาหาร เครื่องสําอาง ในสํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา, กรมวิทยาศาสตรการแพทย, กระทรวงสาธารณสุข, องคการ เภสัชกรรม, กรมวิทยาศาสตร, กระทรวงอุตสาหกรรม, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรประยุกต เปนตน 4) เภสัชกรดานการศึกษา เชน อาจารย, นักวิจัยและนักวิทยาศาสตร เปนตน แนวทางการศึกษาตอ ศึกษาตอในระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ทั้งในและตางประเทศ ในสาขาวิชาตางๆ เชน สาขาเภสัช วิทยา สาขาที่เกี่ยวของกับนาโนเทคโนโลยี เปนตน ทุนการศึกษา : มีทุนสนับสนุนการศึกษาปละไมนอยกวา 20 ทุน ทุนละ 5,000 - 50,000 บาท สถานที่ติดตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม หนวยกิจการนักศึกษา คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 447 ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 02-6448678-91 ตอ 1508 โทรสาร : 02-3544326 Web Site : www.pharmacy.mahidol.ac.th -----------------------------

5. คณะเทคนิ ค การแพทย 1. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย Bachelor of Science in Medical Technology 1.

วัตถุประสงคของหลักสูตร : ผลิตบัณฑิตทีม่ ีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) สามารถตรวจวิเคราะหทางหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร ในสาขาตางๆ ของวิชาชีพ เทคนิคการแพทยเพื่อสนับสนุนการวินิจฉัย การรักษา การปองกันและควบคุมโรค 2) มีความรูพ ื้นฐานเพียงพอที่สามารถศึกษาตอในระดับสูงขึ้นของวิชาชีพ หรือสาขาอื่นๆ ซึ่งสัมพันธ กับวิชาชีพเทคนิคการแพทย


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

2. 3.

4.

5.

6.

7.

26

Mahidol University

3) มีความรูพ ื้นฐาน และสามารถใชเทคนิคตางๆ ทางหองปฏิบัติการ ตลอดจนคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ เพื่อนําไปสูการพัฒนางานทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และงานวิจัยได 4) สามารถบริหารจัดการงานทางหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตรไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถ ประสานการทํางานรวมกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของไดเปนอยางดี 5) มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทยและมีเจตคติที่ดีตอการ ใหบริการแกสงั คมและชุมชนทุกระดับ ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา และมีคุณสมบัติทวั่ ไปและคุณสมบัติ เฉพาะตามระเบียบการสอบคัดเลือกของสํานักงาน สกอ. และ / หรือระเบียบการสอบคัดเลือกของ มหาวิทยาลัยมหิดล วิธีคัดเลือกนักศึกษา 1) ระบบการคัดเลือกของมหาวิทยาลัยมหิดล 2) ระบบแอดมิชชันกลาง ซึ่งดําเนินงานโดย สกอ. แนวทางในการประกอบอาชีพ/แนวทางในการศึกษาระดับสูงขึ้น 1) บัณฑิตทีผ่ านการสอบขึน้ ทะเบียนเพื่อรับใบประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทย สามารถปฏิบตั ิงานใน โรงพยาบาล ในหองปฏิบัตกิ ารเวชศาสตรชนั สูตร ทั้งภาครัฐและเอกชน 2) ปฏิบัติงานเปนอาจารย นักวิจัย นักวิชาการ ในมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยตางๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน 3) ศึกษาตอระดับปริญญาโท และปริญญาเอกในทุกสาขาตาง ๆ เชน สาขาเทคนิคการแพทย สาขาชีวเคมี สาขาจุลชีววิทยา สาขาพิษวิทยา สาขาสิ่งแวดลอม สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ฯลฯ อีกหลายสาขาทั้งใน ประเทศและตางประเทศ 4) ปฏิบตั ิงานในภาคธุรกิจที่เกี่ยวของกับการจัดจําหนายผลิตภัณฑทางการแพทยหรือวิทยาศาสตร การแพทย เชน น้าํ ยาวิเคราะห เครื่องมือวิเคราะห ยาและเวชภัณฑ เครื่องมือแพทย และวิทยาศาสตร การแพทย หรือภาคอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับการตรวจทดสอบคุณภาพผลิตภัณฑตา งๆ 5) ทํางานรวมกับทีมสงเสริมสุขภาพในชุมชน ทุนการศึกษา :  ทุนการศึกษาคณะเทคนิคการแพทย เชน ทุนสงเสริมการศึกษา ทุนอุดหนุนการศึกษาจํานวนปละ ประมาณ 30 ทุน  ทุนการศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล  ทุนการศึกษาจากผูมีจติ ศรัทธาบริจาค จากภาครัฐและเอกชน ปละประมาณ 15 ทุน สถานที่ตดิ ตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม งานบริการการศึกษา คณะเทคนิคการแพทย โทรศัพท : 02-441-4371-78 ตอ 2842, 2843 โทรสาร : 02-441-4380 E-mail : mtktr@staff1.mahidol.ac.th Web Site : www.mt.mahidol.ac.th *********************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

2. หลักสูตร : 1.

2. 3.

4.

5.

27

Mahidol University

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสีเทคนิค Bachelor of Science in Radiological Technology

วัตถุประสงคของหลักสูตร : เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) สามารถปฏิบตั ิงานและควบคุมการทํางานของอุปกรณ และเครื่องมือที่ใชงานทางดานรังสีวินิจฉัย รังสีรักษา และเวชศาสตรนวิ เคลียร ไดอยางถูกตอง และมีประสิทธิภาพ บนพื้นของความปลอดภัย จากผลของรังสีทั้งกับตนเองและผูอื่น 2) มีความรูพื้นฐาน และสามารถใชเทคนิคตางๆ ทางรังสีวิทยา ตลอดจนคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ เพื่อ นําไปสูการพัฒนางานทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และงานวิจัยได 3) มีคุณธรรม จริยธรรม มารยาท และจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพรังสีเทคนิค และมีเจตคติที่ดตี อ การใหบริการแกสังคมและชุมชนทุกระดับ 4) สามารถบริหารจัดการงานดานรังสีวินิจฉัย รังสีรักษา และเวชศาสตรนิวเคลียรไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถประสานการทํางานรวมกับหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของไดเปนอยางดี 5) มีความรูพื้นฐานเพียงพอที่จะสามารถศึกษาตอในระดับสูงขึ้นของวิชาชีพหรือสาขาอื่นๆ ซึ่งสัมพันธ กับวิชาชีพรังสีเทคนิค ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา : สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา และมีคุณสมบัติทวั่ ไปและคุณสมบัติ เฉพาะตามระเบียบการสอบคัดเลือกของสํานักงาน สกอ. และ / หรือระเบียบการสอบคัดเลือกของ มหาวิทยาลัยมหิดล วิธีคัดเลือกนักศึกษา 1) ระบบการคัดเลือกของมหาวิทยาลัยมหิดล 2) ระบบแอดมิชชันกลาง ซึ่งดําเนินงานโดย สกอ. แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาระดับสูงขึ้น 1) บัณฑิตที่ผา นการสอบขึน้ ทะเบียนเพื่อรับใบประกอบโรคศิลปะสาขารังสีเทคนิค สามารถปฏิบัติงานใน หองปฏิบัติการทางรังสีวิทยาของโรงพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน 2) ทํางานเปนอาจารย นักวิจัย และนักวิชาการ ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัย 3) ทํางานในภาคธุรกิจ/ภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการจัดจําหนายผลิตภัณฑทางการแพทย หรือ วิทยาศาสตรการแพทย เชน ยาและเวชภัณฑ เครื่องมือแพทย และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการแพทย 4) ทํางานรวมกับทีมสงเสริมสุขภาพในชุมชน 5) เขาศึกษาตอในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกในสาขาตางๆ อาทิ สาขารังสีเทคนิค สาขารังสีรักษา สาขาเวชศาสตรนิวเคลียร สาขาฟสิกสการแพทย สาขานิวเคลียรเทคโนโลยี สาขาการสรางภาพทาง การแพทย สาขาวิทยาศาสตรรังสี สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการแพทย และสาขาอื่นๆ ที่ เกี่ยวของ ทั้งในประเทศและตางประเทศ


28

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 6.

7.

Mahidol University

ทุนการศึกษา  ทุนการศึกษาคณะเทคนิคการแพทย เชน ทุนสงเสริมการศึกษา ทุนอุดหนุนการศึกษา จํานวนปละ ประมาณ 30 ทุน  ทุนการศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดล จํานวนปละ ประมาณ 40 ทุน  ทุนการศึกษาจากผูมีจติ ศรัทธาบริจาค จากภาครัฐและเอกชน จํานวนปละ ประมาณ 15 ทุน สถานที่ตดิ ตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม งานบริการการศึกษา คณะเทคนิคการแพทย โทรศัพท : 02-441-4371-78 ตอ 2842, 2843 โทรสาร : 02-441-4380 เว็บไซต : www.mt.mahidol.ac.th E-mail : mtktr@staff1.mahidol.ac.th *********************

6. คณะพยาบาลศาสตร  หลักสูตร : พยาบาลศาสตรบัณฑิต Bachelor of Nursing Science 1.

2. 3.

4.

5.

6. 7.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตพยาบาลศาสตรบัณฑิตที่มีความรูและทักษะในการประกอบวิชาชีพ ดวยคุณธรรม จริยธรรม เปนผูน ํา ดานสุขภาพ ใฝเรียนใฝรู มีจิตสํานึกใหบริการสุขภาพ มีวินัยสามารถทํางานเปนทีมภาคภูมิใจใน วัฒนธรรมไทย และดํารงชีวิตอยางมีความสุข ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา จบการศึกษาชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย สัญชาติไทย มีสุขภาพแข็งแรง ไมมีความพิการที่เปนอุปสรรคตอ การปฏิบัติงานในวิชาชีพ วิธีการคัดเลือกนักศึกษา 1) ระบบการคัดเลือกของมหาวิทยาลัยมหิดล 2) ระบบแอดมิชชันกลาง ซึ่งดําเนินงานโดย สกอ. แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ปฏิบตั ิงานชดใชมหาวิทยาลัย อยางนอย 2 ป ตามสัญญาการเขาศึกษา 2) ปฏิบตั ิงานดานสุขภาพไดทุกระดับ 3) ศึกษาตอไดจนถึงระดับปริญญาเอก ในสาขาพยาบาลศาสตร ทุนการศึกษา มีทุนสําหรับนักศึกษาขาดแคลน และมีความประพฤติดี ทําประโยชนเพื่อสวนรวม สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม งานบริการการศึกษา คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โทรศัพท : 02-419-7466-80 ตอ 1306 โทรสาร : 02-412-8415 E-mai : คุณกอบกุล เลาหิตกุล : nsklh@mahidol.ac.th 27

**************************


29

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

Mahidol University

7. คณะสาธารณสุ ข ศาสตร 1. หลักสูตร : สาขาวิชาเอก

1.

วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) Bachelor of Science in Public Health 1. 2. 3. 4. 5.

วิทยาศาสตรอนามัยสิ่งแวดลอม (Environmental Health Science) สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร (Health Education and Behavioral Science) อนามัยชุมชน (Community Health) โภชนวิทยา และการกําหนดอาหาร (Nutrition and Dietetics) วิทยาศาสตรการอาหารเพื่อสุขภาพ (Food Science for Health)

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตในทุกสาขาใหมีความสามารถในดานตอไปนี้ 1) วิเคราะหสถานการณดานสุขภาพในชุมชนไดอยางเปนองครวม 2) วางแผนและปฏิบัติงานสาธารณสุขทั่วไป และเฉพาะทางไดอยางมีประสิทธิภาพโดยเนนการมี สวนรวมของชุมชนและการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ 3) ใหบริการดานวิชาการการสาธารณสุขที่มุงเนนการสรางเสริมสุขภาพ แกประชาชน และหนวยงาน อื่นๆได 4) เปนผูนําและรับผิดชอบตอวิชาชีพสาธารณสุข อยางมีคุณธรรมและจริยธรรม

• ความสามารถของบัณฑิตเฉพาะสาขา

สาขาวิทยาศาสตรอนามัยสิ่งแวดลอม 1) วิเคราะหปญหาอนามัยสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในสังคม และประเมินผลกระทบ รวมทั้งความเสี่ยงดาน ตาง ๆ 2) ประเมิน ควบคุม ปองกัน แกไข และสงเสริม รวมทั้งบริหารจัดการงานอนามัยสิ่งแวดลอม ปองกัน แกไข และสงเสริม เพื่อใหเกิดการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ตลอดจน ดําเนินการตามระบบควบคุมคุณภาพและการจัดการสิ่งแวดลอมดานตาง ๆ ได 3) วิเคราะหและเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอม ตลอดจนดําเนินการตามระบบคุณภาพการจัดการ สิ่งแวดลอมตางๆ 4) ใชกระบวนการวิจัยในการพัฒนางานและองคความรูดานอนามัยสิ่งแวดลอม แนวทางการประกอบอาชีพ/ศึกษาตอ เปนนักวิชาการดานสิ่งแวดลอมในหนวยงานภาครัฐ เชน กรุงเทพมหานคร เทศบาล กรมควบคุม มลพิษ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงสาธารณสุข ฯลฯ หรือหนวยงานรัฐวิสาหกิจ หนวยงาน ภาคเอกชน และองคกรสวนทองถิ่น ศึกษาตอในระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาวิทยาศาสตร สิ่งแวดลอม วิทยาศาสตรสุขภาพและเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

30

Mahidol University

สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร 1) วิเคราะหสถานการณทางสังคม สิ่งแวดลอมและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน 2) วางแผนโครงการเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสรางเสริมสุขภาพของประชาชน 3) ใชกลวิธีทางสุขศึกษา การสื่อสารเทคโนโลยีและนวัตกรรมการสื่อสารในการจัดกระบวนการเรียนรูของ ประชาชนและสังคม เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสรางเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค และเปนไปอยางยั่งยืน 4) ใชกระบวนการวิจัยและประเมินผลเพื่อพัฒนางานสุขศึกษาและงานสรางเสริมสุขภาพ แนวทางการประกอบอาชีพ/ศึกษาตอ เปนนักวิชาการดานสุขศึกษาในหนวยงานภาครัฐและเอกชนในงานที่เกี่ยวกับสุขศึกษาและประชาสัมพันธ ใหคําปรึกษาแนะแนวในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับบุคคล องคกรและชุมชน ฯลฯ จัดฝกอบรม เปนวิทยากร ผลิตสื่อสิ่งพิมพและอิเลคทรอนิกส จัดรายการสุขภาพทางสื่อมวลชนในองคกร สถานศึกษา พัฒนาชุมชน และทํางานวิจัยดานการสงเสริมสุขภาพ ศึกษาตอ ในระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร และสาขา อื่นที่เกี่ยวของกับงานสาธารณสุข

สาขาวิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร 1) ใชกระบวนการแกปญหาสุขภาพรวมกับชุมชน ตั้งแตการวิเคราะหสถานการณ อนามัยชุมชน การ วิเคราะหปจจัยและสาเหตุของปญหาสุขภาพ วางแผน ควบคุมกํากับงานและประเมินผลแผนงาน โครงการอนามัยชุมชน 2) มีทักษะในกระบวนการสรางความเขมแข็งของชุมชนดานสุขภาพ 3) จัดระบบการเฝาระวังปญหาสุขภาพของชุมชน ระบบการรวบรวมขอมูล และรายงานความ เคลื่อนไหวดานการเกิดปญหาสุขภาพของชุมชนได 4) เปนที่ปรึกษา แนะนํา ฝกอบรม กระบวนการแกปญหาสุขภาพรวมกับชุมชน การดําเนินงาน ดานวิทยาการระบาด การเฝาระวังโรค การรวบรวมรายงานขอมูลขาวสารสาธารณสุข ตลอดจนการชันสูตร ทางสาธารณสุข 5) ใชกระบวนการวิจัยในการพัฒนางานอนามัยชุมชน แนวทางการประกอบอาชีพ/ศึกษาตอ เปนนักวิชาการดานสาธารณสุขในหนวยงานภาครัฐบาล องคกรการพัฒนาดานสุขภาพ หนวยงานใน กํากับของรัฐ หนวยงานภาคเอกชนและองคกรสวนทองถิ่น ศึกษาตอในระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาระบาดวิทยา ประชากรศาสตร เศรษฐศาสตร สาธารณสุข และสาขาวิชาอืน่ ๆที่เกี่ยวของ


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

31

Mahidol University

สาขาโภชนวิทยาและการกําหนดอาหาร 1) วิเคราะหสถานการณปญ  หาดานอาหาร และโภชนาการวางแผน กําหนดกลวิธี และกิจกรรมการควบคุม และปองกันปญหาโภชนาการ ตลอดจนการสรางเสริมสุขภาพดานโภชนาการ 2) บริหารจัดการ ควบคุม กํากับ และประเมินผลการดําเนินโครงการโภชนาการ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด 3) วางแผนกําหนดอาหารและการจัดบริการอาหารแกบคุ คลในภาวะปกติและภาวะเจ็บปวยไดอยางถูกตอง ตามหลักโภชนศาสตรและโภชนบําบัด 4) เปนผูนาํ และใหคาํ ปรึกษาดานอาหารเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ 5) ใชกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาดานโภชนศาสตรและโภชนบําบัด แนวทางการประกอบอาชีพ/ศึกษาตอ เปนนักวิชาการดานโภชนาการในงานดานการสงเสริมสุขภาพการจัดบริการอาหารในโรงพยาบาล และ สถาบันตางๆ ศึกษาในระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาโภชนศาสตร พิษวิทยาทางอาหาร และโภชนาการ เพื่อการพัฒนา

สาขาวิทยาศาสตรการอาหารเพื่อสุขภาพ 1) บูรณาการความรูดานวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนศาสตร เพื่อเสริมสรางสุขภาพของบุคคลและ ชุมชน 2) วิเคราะหองคประกอบและคุณคาทางโภชนาการในอาหารและผลิตภัณฑ 3) วิเคราะหความเสี่ยง และประเมินระดับความเสี่ยงที่มีผลกระทบตอคุณคาทางอาหารและความปลอดภัย 4) ควบคุมกระบวนการผลิตอาหารทั้งระดับชุมชน และระดับอุตสาหกรรมใหไดมาตรฐานสากล 5) ใชกระบวนการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑทางดานอาหารใหไดคุณภาพ และความปลอดภัยตาม มาตรฐานสากล แนวทางการประกอบอาชีพ/ศึกษาตอ เปนนักวิชาการดานอาหารและโภชนาการ สายงานการผลิตและประกันคุณภาพอาหาร พัฒนาผลิตภัณฑ การควบคุมคุณภาพอาหารในสถาบันที่เกีย่ วของกับการผลิตและบริการอาหาร ศึกษาตอในระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาเทคโนโลยีทางการอาหาร การวิจัย และ พัฒนาผลิตภัณฑอาหาร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และพิษวิทยาทางอาหาร ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา และมีคุณสมบัติทวั่ ไปและคุณสมบัติ เฉพาะตามระเบียบการสอบคัดเลือกของ สกอ. และ / หรือระเบียบการสอบคัดเลือกของ มหาวิทยาลัยมหิดล

2. 3.


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 4.

32

Mahidol University

สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม งานบริการการศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 420/1 ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท : 0-2640-9850 (สายตรง), 0-2354-8545-46, 0-2354-8547-49 ตอ 3702 โทรสาร : 0-2354-8545-46, 0-2354-8547-49 กด 7301 เว็บไซต : www.ph.mahidol.ac.th ********************

1. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

Bachelor of Science in Occupational Health and Safety

1.

2. 3.

4.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิต สาขาวิชาเอกอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ใหมีคณ ุ สมบัติและความสามารถ ดังนี้ 1) มีภาวะผูนาํ ทางวิชาการดานอาชีวอนามัยความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม ในดานการจัดระบบ การ จัดการ การดําเนินงานในกรอบของกฎหมาย การใหการศึกษาอบรมพนักงาน การใหคําปรึกษา การวางแผน การบริหารโครงการ การประเมินผล การพัฒนาโครงการ การควบคุมปองกัน อันตราย จากสภาพแวดลอมในงานอุตสาหกรรม 2) สืบคนปญหาอันตรายจากการทํางานของผูประกอบอาชีพทั้งมวล การประเมินชนิด ขนาด ความรุนแรง ของอันตราย รวมทั้งการหาแนวทางในการควบคุมปองกันโรคจากการประกอบอาชีพ อุบตั ิเหตุ อันตรายในอุตสาหกรรมประเภทตางๆ เพื่อใหพนักงานที่ทํางานในสถานประกอบการมีความปลอดภัย และไมเจ็บปวยเปนโรคจากการทํางาน 3) บริการตรวจสอบประเมินงานดานอาชีวอนามัยความปลอดภัย และสภาพแวดลอมในการทํางานใน สถานประกอบการ สามารถประเมินความเสี่ยงจากการดําเนินงานของระบบตางๆ ของโรงงาน อุตสาหกรรมตามกฎหมาย 4) ดําเนินการเกี่ยวกับระบบการจั ด การด า นอาชี วอนามั ย ความปลอดภัยและสภาพแวดลอมในการ ทํางาน (มอก. 18001 ) ระบบคุณภาพ (ISO-9000 ) ระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอม (ISO-14000) 5) ดําเนินการวิจัยพื้นฐาน การจัดโครงการดานการสงเสริมสุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมเพื่อ คุณภาพชีวิตของผูประกอบอาชีพที่ดีขึ้น ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา และมีคุณสมบัติทวั่ ไปและคุณสมบัติ เฉพาะตามระเบียบการสอบคัดเลือกของ สกอ. และ / หรือระเบียบการสอบคัดเลือกของ มหาวิทยาลัยมหิดล สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม งานบริการการศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 420/1 ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท : 0-2640-9850 (สายตรง), 0-2354-8545-46, 0-2354-8547-49 ตอ 3702 โทรสาร : 0-2354-8545-46, 0-2354-8547-49 กด 7301 เว็บไซต : www.ph.mahidol.ac.th *************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

33

Mahidol University

2. หลักสูตร : สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ตอเนื่อง) ภาคพิเศษ

Bachelor of Public Health Program (Continuing) Special Program

1.

2. 3.

4. 5.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถ ดังตอไปนี้ 1) ประเมินสถานการณสุขภาพชุมชนและวางแผนดําเนินการแกไขปญหาไดอยางเหมาะสมกับบริบท ของแตละชุมชน 2) บริหารจัดการและดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการสงเสริมสุขภาพ และปองกันโรคโดยการ ประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ เพื่อทํางานเปนทีมอยางมีสวนรวมและประชาธิปไตย 3) นิเทศงานเจาหนาที่สาธารณสุขระดับตําบล ตลอดจนองคกรพัฒนาทองถิ่นที่เกี่ยวของกับงาน สาธารณสุขได 4) สนับสนุนวิชาการที่เกี่ยวของกับงานอนามัยชุมชนแกประชาชนและหนวยงานตาง ๆ 5) วิจัยเพื่อแกปญหาสาธารณสุขในชุมชน มีความคิดริเริม่ สรางสรรและพัฒนาวิชาการอยางตอเนื่อง 6) รับผิดชอบตอวิชาชีพสาธารณสุข ทั้งดานเจตคติตองานสาธารณสุข และการปฏิบัติที่สอดคลองกับ ระเบียบกฎหมายจริยธรรมและเคารพตอสิทธิมนุษยชน ระยะเวลาในการศึกษา : 2 ป (เรียนวันเสาร-อาทิตย) คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) สําเร็จการศึกษาพื้นฐาน มัธยมศึกษาชั้นปที่ 5 หรือ มัธยมศึกษาชั้นปที่ 6 และ 2) สําเร็จการศึกษาประกาศนียบัตร หลักสูตร 2 ป ดังตอไปนี้ 2.1 ประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร ในสาขาสาธารณสุขชุมชน ทันตสาธารณมสุข เทคนิค เภสัชกรรม หรือสาขาที่เกี่ยวของ 2.2 ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตรระดับตน และสาขาที่เกี่ยวของ 2.3 ประกาศนียบัตรพนักงานวิทยาศาสตรการแพทย และสาขาที่เกี่ยวของ 3) ผูสมัครตองไดคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรที่ไดประกาศนียบัตรทางพื้นฐานวิชาชีพไมต่ํากวา 2.50 หรือ 75% 4) ผูสมัครที่มีคุณสมบัตินอกเหนือไปจากที่ระบุไวขางตน ใหอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการดําเนินการ สอบคัดเลือกนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ตอเนื่อง) ภาคพิเศษ วิธีการคัดเลือกนักศึกษา การสอบขอเขียน และสอบสัมภาษณ แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ปฏิบัติงานดานสงเสริมสุขภาพ 2) เปนนักวิชาการในหนวยงานสุขภาพ 3) ศึกษาตอในระดับปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรสุขภาพ


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

34

Mahidol University

6. ทุนการศึกษา ทุนการศึกษาจากหนวยงานของผูสมัตร 7. สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม งานบริการการศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 420/1 ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท : 0-2640-9850 (สายตรง), 0-2354-8545-46, 0-2354-8547-49 ตอ 3702 โทรสาร : 0-2354-8545-46, 0-2354-8547-49 กด 7301 เว็บไซต : www.ph.mahidol.ac.th **********************

8. คณะวิ ท ยาศาสตร 1. วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตวิทยาศาสตรที่มีคุณสมบัติ ตอไปนี้ 1) มีความรู ความสามารถทั้งในดานทฤษฎี และปฏิบตั ิ ในสาขาทีศ่ กึ ษา สามารถนําความรูไปประยุกต ใชในงานที่เกีย่ วของกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดอยางมีประสิทธิภาพ 2) มีกระบวนการคิด วิเคราะห วางแผน และปฏิบัตงิ านไดอยางมีเหตุผล สามารถแกปญหาไดอยางเปน ระบบ 3) มีความสามารถในการคนควาหาความรูไดดวยตนเอง สามารถเรียนรูไดอยางตอเนื่อง 4) มีความสามารถในการสื่อสาร ถายทอดความรูใหกบั บุคคลไดทุกระดับ 5) มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ 2. ขอมูลหลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ที่เปดสอนมี 6 สาขาเอก ไดแก เคมี ฟสิกส คณิตศาสตร ชีววิทยา พฤกษศาสตร และเทคโนโลยีชีวภาพ และพัฒนาใหเหมาะกับศักยภาพของนักศึกษาโดยแบงเปน 2 หลักสูตร ไดแก - หลักสูตรปกติ (Regular Program) สําหรับผูตองการประกอบอาชีพหลังสําเร็จ การศึกษาปริญญาตรี หรือศึกษาตอในระดับปริญญาโทและเอก เมื่อมีความพรอมในภายหลัง - หลักสูตรพิสิฐวิธาน (Distinction Program) สําหรับผูสนใจศึกษาจนจบปริญญาเอกโดยเปนหลักสูตร ในโครงการ B.Sc. - Ph.D. ที่เทียบเทา Honors Program ของตางประเทศ ที่เนนการวิจัยและ สงเสริมใหศึกษาตอในระดับปริญญาเอกโดยไมตองเรียนปริญญาโท นักศึกษาหลักสูตรปกติจะเขา เรียนในหลักสูตรนี้ไดในชั้นปที่ 2 หรือ 3 ขึ้นอยูกับสาขาวิชาเอกโดยตองมีเกรดเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.25 นอกจากนี้ผูที่อยูในหลักสูตรพิสิฐวิธานที่มีเกรดเฉลี่ยสะสม 3.50 ขึ้นไป ที่มีผลงานวิจัยดีเดน จะมี สิทธิไดรบั ทุนไปทําวิจยั ระยะสั้นในตางประเทศ 4-6 เดือน


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 3.

35

Mahidol University

คุณสมบัติของผูสมัคร 1) สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โดยตองศึกษาในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ทีม่ ีกลุม สาระการเรียนรู ดังนี้  ผูสมัครรับทุนในโครงการ พสวท. เกรดเฉลี่ยสะสมชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 ไมตา่ํ กวา 3.00 และ เกรดเฉลี่ยสะสมมัธยมศึกษาปที่ 4-6 วิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร แตละวิชาไมต่ํากวา 3.25  ผูสมัครรับทุนในโครงการศรีตรังทอง เกรดเฉลี่ยสะสมชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 ไมต่ํากวา 3.00 และเกรดเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรรวมกันไมต่ํากวา 3.00  ผูสมัครรับทุนในโครงการพัฒนากําลังคนดานวิทยาศาสตร (ทุนเรียนดี) เกรดเฉลีย่ สะสมชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4-6 ไมตา่ํ กวา 3.00 และเกรดเฉลี่ยสะสมมัธยมศึกษาปที่ 4-6 วิชา วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร และภาษาอังกฤษไมตา่ํ กวา 3.00  ผูสมัครในระบบโควตาทางมหาวิทยาลัยมหิดลตองมีเกรดเฉลี่ยสะสมไมตา่ํ กวา 2.50  เกณฑคะแนนในการสอบผานขอเขียน - โควตาที่ใหทนุ การศึกษา (พสวท. ศรีตรังทอง) ผูผานการคัดเลือกตองมีคะแนนรวมทุกวิชาไมต่ํากวา 50% 4. ทุนการศึกษา คณะวิทยาศาสตร จัดสรรทุนใหกับนักศึกษาวิทยาศาสตรระดับปริญญาตรี 5 ประเภท ไดแก 1) ทุนโครงการ พสวท. เปนทุนจาก สสวท. ที่สนับสนุนนักศึกษาทีม่ ีความสามารถทางวิทยาศาสตรและ คณิตศาสตรสูงใหศึกษาในระดับปริญญาตรี โท และเอก ทั้งในและตางประเทศ โดยมีขอผูกพันที่เมื่อ สําเร็จการศึกษาจะตองปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐเปนเวลา 2 เทา ของระยะเวลาที่รับทุน สําหรับศูนยมหาวิทยาลัยมหิดลรับสมัครผูกําลังศึกษาชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 ในปการศึกษาที่สมัคร และเรียนชั้น ม.4-6 ในโรงเรียนที่อยูในกรุงเทพมหานคร หรือเขตจังหวัดในภาคกลาง ไดแก ลพบุรี อุทัยธานี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี สิงหบุรี อางทอง ชัยนาท ชลบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ตราด นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง และสระแกว ปละไมเกิน 10 ทุน 2) ทุนโครงการศรีตรังทอง เปนทุนของคณะวิทยาศาสตรที่ใหกับผูที่สมัครในหลักสูตรของคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ในระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาเอก โดยเมื่อจบการศึกษาจะตองปฏิบัติงาน ในประเทศไทย ปละไมเกิน 50 ทุน 3) ทุนโครงการพัฒนากําลังคนดานวิทยาศาสตร (ทุนเรียนดี) เปนทุนของ สกอ. ที่ใหกับผูที่สมัครในหลักสูตร ของคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ในระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาเอก ปละไมเกิน 20 ทุน มีขอผูกพันเมื่อสําเร็จการศึกษาจะตองปฏิบัติงานชดใชทุนในสถาบันศึกษาของรัฐเปนเวลา 1 เทาของระยะเวลาที่ไดรับทุนระดับปริญญาโทและเอกภายในประเทศ รวมกับ 2 เทาของระยะเวลาที่ รับทุนไปตางประเทศ 4) ทุนการศึกษาตางประเทศระยะสั้น เปนทุนใหนักศึกษาหลักสูตรพิสิฐวิธานในโครงการ B.Sc.-Ph.D. ที่พรอมที่จะศึกษาตอในระดับปริญญาเอก และมีเกรดเฉลี่ยสะสมตั้งแต 3.50 ขึ้นไป ใหไปศึกษาหรือ วิจัยระยะสั้นในตางประเทศ (4-6 เดือน) ปละไมเกิน 5 ทุน


Mahidol University

36

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ตารางเงินทุนการศึกษาในโครงการพิเศษ 4 ประเภท เงินสนับสนุน (บาท) คาธรรมเนียมการศึกษา คาลงทะเบียน/หนวยกิต เงินเดือน (บาท/เดือน) คาหนังสือ

ทุนเรียนดี ทุน พสวท.

ทุนศรีตรังทอง

ตามจริง ตามจริง 4,000 5,000 ตอป

ตามจริง ตามจริง 5,000 5,000 ตลอดหลักสูตร 

ตามจริง ตามจริง 5,000 5,000 ตอป

ทุนตางประเทศ ระยะสั้น เฉพาะปที่ 3/4 รวม คาใชจายทั้งหมด ไมเกิน 500,000 บาท/คน ระยะเวลา 4-6 เดือน

ทุนวิจัย (ปที่ 2-3) 5,000 4-6 เดือน ทุนวิจัย ป 4 (ใหภาควิชา) 500,000 บาท/คน* กิจกรรมเสริม/ประชุมวิชาการ    = พิจารณาตามความเหมาะสม * = ใหกับผูรับทุนระดับปริญญาตรีเพื่อศึกษาและวิจัยในตางประเทศ 4-6 เดือน ทั้งนี้จะตองมีเกรดเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.50 และปฏิบัติงานวิจัยอยางตอเนื่องจนมีผลงานวิจัยที่กาวหนาและอาจารยที่ปรึกษาตองมีความรวมมือกับสถาบัน ตางประเทศ

5.

6.

แนวทางการประกอบอาชีพ/ศึกษาตอ ผูสําเร็จปริญญาตรี ประมาณ 35% ปฏิบตั ิงานทั้งในภาครัฐและเอกชน ประมาณ 60% ศึกษาตอทั้งในและ ตางประเทศ นอกนั้นประกอบธุรกิจของตนเอง โดยอาชีพเปนอาจารย นักวิจัย นักธุรกิจเอกชนในสาขาตาง ๆ และผูจบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา เปนอาจารย สถาบันอุดมศึกษา นักวิจัย และนักธุรกิจ ระดับประเทศ สถานที่ตดิ ตอ งานการศึกษา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพระราม 6 แขวงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท : 0-2201-5050-4 โทรสาร : 0-2354-7143 เว็บไซต : www.sc.mahidol.ac.th/scecd E-mail : scnnc@mahidol.ac.th *********************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

Mahidol University

37

9. คณะสิ่ ง แวดล อ มและทรั พ ยากรศาสตร  หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม

(Bachelor of Science Programme in Environmental Science and Technology)

1.

2. 3.

4.

5.

6.

7.

วัตถุประสงคของหลักสูตร 1) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีความรูทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติดานวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมและ เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม อยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2) เพื่อสงเสริมบัณฑิตใหมีความรู ปญญา ความรับผิดชอบ รูจักการทํางานเปนทีม มีมนุษยสัมพันธ สามารถปฏิบัติงานรวมกับบุคลากรดานตาง ๆ ไดเปนอยางดี ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา เปนผูสําเร็จมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา และมีคุณสมบัติครบตามขอกําหนดของมหาวิทยาลัยมหิดล และกระทรวงศึกษาธิการที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ วิธีการคัดเลือกนักศึกษา 1) ระบบการคัดเลือกของมหาวิทยาลัยมหิดล 2) ระบบการสอบคัดเลือกของ สอท. แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ ในตําแหนงนักวิชาการสิ่งแวดลอม / นักวิทยาศาสตร 2) ภาคเอกชนสามารถปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอมของโรงงานอุตสาหกรรม หรือบริษัท ที่ปรึกษา และ ประเมินผลกระทบทางสิง่ แวดลอม 3) การประกอบอาชีพอื่น ๆ เชน ดานการสอน ฝกอบรม เผยแพรประชาสัมพันธดา นสิ่งแวดลอม 4) การศึกษาในระดับที่สูงขึ้นสาขาตางๆ เชน วิทยาศาสตรดา นตางๆ วิศวกรรม สิ่งแวดลอม การจัดการ สิ่งแวดลอม หรือในสาขาวิชาอื่นๆ ทุนการศึกษา ทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยมหิดล คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร และทุนจากหนวยงานของรัฐ/ เอกชนที่ใหการสนับสนุนการศึกษาในระดับปริญญาตรี สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิม่ เติม กลุมงานบริการการศึกษา คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท : 0-2441-5000 ตอ 117 และ 127 โทรสาร : 0-2441-9507, 0-2441-9509 เว็บไซต : www.en.mahidol.ac.th E-mail : enmst@mahidol.ac.th 33

***********************


38

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

Mahidol University

10. คณะสั ง คมศาสตร แ ละมนุ ษ ยศาสตร  หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเวชระเบียน (หลักสูตรตอเนื่อง) Bachelor of Science in Medical Record 1.

2. 3.

4. 5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถทางวิชาการเกี่ยวกับเวชระเบียน และสามารถนําไปใชปฏิบตั ิงานในโรงพยาบาล และหนวยงานที่เกี่ยวของไดอยางมีประสิทธิภาพ 2) มีความรูค วามสามารถในการวางแผนงาน ติดตามประเมินผลวิเคราะห และวิจัยเกี่ยวกับเวชระเบียน 3) มีเจตคติและจรรยาบรรณที่ดีตอการทํางานดานเวชระเบียน 4) มีความสามารถในการศึกษาคนควาเพิ่มเติมดวยตนเองและใชเปนพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงตอไป ระยะเวลาในการศึกษา : 2 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) สําเร็จประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงเวชระเบียนหรือประกาศนียบัตรวิชาเวชสถิติ (เทียบเทา อนุปริญญา) 2) สําเร็จการศึกษาหรือเทียบไดไมต่ํากวาระดับอนุปริญญาในสาขาวิชาตางๆ โดยเมื่อไดรับการพิจารณา เขาศึกษาแลว จะตองลงทะเบียนในรายวิชาการเสริมพื้นฐาน 2 วิชา ไดแก จุลชีววิทยา และพยาธิวทิ ยา เวนแตไดเคยเรียนมาแลวในระดับอนุปริญญา และตองผานการอบรมหลักสูตรเตรียมความพรอมทาง วิชาชีพเวชระเบียนตามเกณฑที่หลักสูตรกําหนด โดยตองมีผลการทดสอบหลังการอบรมอยูในเกณฑ ”ผาน” วิธีการคัดเลือกนักศึกษา การสอบขอเขียน สอบสัมภาษณ และตรวจสุขภาพ แนวทางประกอบอาชีพ / การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ประกอบอาชีพในภาคราชการและเอกชน อาทิเชนตําแหนงนักวิชาการเวชสถิติ นักเวชสถิติ นักเวชระเบียน นักสถิติ เปนนักเวชระเบียบประจําโรงพยาบาลทั่วไปในภาครัฐและเอกชน โดยทําหนาที่การใหรหัสโรค รหัสหัตถการหรือรหัสผาตัด การทบทวนตรวจสอบเวชระเบียน สถิตแิ ละคอมพิวเตอรประยุกตในงานเวช ระเบียน เวชสารสนเทศ หรือสารสนเทศทางการแพทยและสาธารณสุข สถานที่ติดตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ภาควิชาสังคมศาสตร คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท : 0-2441-0220-3, 0-2880-2840-69 ตอ 1259, 1261, 1263 โทรสาร : 0-2441-9738, 0-24419324 เว็บไซต : www.sh.mahidol.ac.th E-mail : shakj@mahidol.ac.th **************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

39

Mahidol University

11. คณะวิ ศ วกรรมศาสตร 1. หลักสูตร : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเคมี Bachelor of Engineering in Chemical Engineering 1.

2. 3.

4.

5.

6.

7.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูค วามสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ 2) มีความสามารถในการถายโอนเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาและวิจัยทางวิศวกรรมเคมี 3) มีความใฝรู ใฝเรียน สามารถเรียนรูด ว ยตนเอง และมีจิตวิญญาณในการเรียนรูตลอดชีพ ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของสํานักงาน สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดม ศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะวิศวกรรมศาสตรกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผานการคัดเลือกตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/ หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล วาดวยการรับสมัครเขาศึกษาหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ประกอบอาชีพทํางานในตําแหนงวิศวกร นักวิจัย นักวิชาการ และเจาหนาที่ในสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐบาล ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ องคกรและบริษัทตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมปโตรเคมี ขุดเจาะน้ํามัน กลั่นน้ํามัน พลาสติก พอลิเมอร ตัวเรงปฏิกิริยา ซีเมนต กระดาษและเยื่อกระดาษ แกว เซรามิค อาหาร เท็กโทส และเวชภัณฑตาง ๆ ทุนการศึกษา  ทุนเรียนดี  ทุนการศึกษาตามประกาศของคณะวิศวกรรมศาสตร สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม 73170 โทรศัพท : 02-8892138 ตอ 6101-2 โทรสาร : 02-8892138 ตอ 6129 เว็บไซต : www.eg.mahidol.ac.th ****************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

40

Mahidol University

2. หลักสูตร : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล Bachelor of Engineering in Mechanical Engineering 1.

2. 3.

4.

5.

6.

7.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถและทักษะทางวิศวกรรมเครื่องกล 2) ความสามารถในการถายโอนเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาและวิจัยทางวิศวกรรมเครื่องกล 3) มีความใฝรู ใฝเรียน สามารถเรียนรูดวยตนเอง และมีจิตวิญญาณในการเรียนรูตลอดชีพ ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะวิศวกรรมศาสตรกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผานการคัดเลือกตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/ หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล วาดวยการรับสมัครเขาศึกษาหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายที่จะใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการผลิตยานยนต และชิน้ สวนยานยนตเพือ่ การสงออก โดยการสงเสริมใหมีการลงทุนในอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนตเปนจํานวนมาก ดวยความตองการ เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยประกอบกับการขาดแคลนพลังงานของโลกในปจจุบัน ทําใหเกิดความตองการ ทรัพยากรบุคคลทางดานวิศวกรรมเครื่องกลที่มีความสามารถสูงทั้งทางดานเทคโนโลยี และการจัดการ ดานพลังงานหลักสูตรนี้จัดทําขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการวิศวกรเครื่องกลในอุตสาหกรรมการผลิตที่ กําลังขยายตัวอยางตอเนื่อง ซึ่งคาดวาจะมีความตองการบัณฑิตที่จบหลักสูตรนี้ในอนาคตถึงปละประมาณ 500 คน ตอเนื่องกันในอีก 5 ปขางหนา ทุนการศึกษา  ทุนเรียนดี  ทุนการศึกษาตามประกาศของคณะวิศวกรรมศาสตร สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม 73170 โทรศัพท : 0-2889-2138 ตอ 6401-3 โทรสาร : 0-2889-2138 ตอ 6429 เว็บไซต : www.eg.mahidol.ac.th E-mail : mechanical_mu@hotmail.com ************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

41

Mahidol University

3. หลักสูตร : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟา Bachelor of Engineering in Electrical Engineering 1.

2. 3.

4.

5.

6.

7.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถและทักษะทางดานไฟฟากําลัง 2) ความสามารถในการถายโอนเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาและวิจัยทางไฟฟากําลัง 3) มีความใฝรู ใฝเรียน สามารถเรียนรูด ว ยตนเอง และมีจิตวิญญาณในการเรียนรูตลอดชีพ ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของสํานักงาน สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดม ศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะวิศวกรรมศาสตรกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสํานักงาน สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล วาดวยการรับสมัครเขาศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ทํางานดานไฟฟากําลัง งานโรงงานอุตสาหกรรม เปนนักวิจัย และสามารถเรียนตอในระดับปริญญาโท ปริญญาเอกในสาขาที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีหรือการบริหารได ทุนการศึกษา  ทุน ดร.อดิสัย โพธารามิก  ทุนเรียนดี  ทุนการศึกษาตามประกาศของคณะวิศวกรรมศาสตร สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิม่ เติม ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม 73170 โทรศัพท : 02-8892138 ตอ 6501-6502 โทรสาร : 02-8892138 ตอ 6529 เว็บไซต : www.eg.mahidol.ac.th ***********


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

42

Mahidol University

4. หลักสูตร : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร

Bachelor of Engineering in Electrical Communications Engineering

1. วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถและทักษะทางดานไฟฟากําลัง 2) ความสามารถในการถายโอนเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาและวิจัยทางไฟฟากําลัง 3) มีความใฝรู ใฝเรียน สามารถเรียนรูด ว ยตนเอง และมีจิตวิญญาณในการเรียนรูตลอดชีพ 2. ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป 3. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะวิศวกรรมศาสตรกําหนด 4. วิธีการคัดเลือก เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสํานักงาน สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล วาดวยการรับสมัครเขาศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต 5. แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ทํางานดานไฟฟาสื่อสาร งานโรงงานอุตสาหกรรม เปนนักวิจัย และสามารถเรียนตอในระดับปริญญาโท ปริญญาเอก ในสาขาที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีหรือการบริหารได 6. ทุนการศึกษา  ทุน ดร.อดิสัย โพธารามิก  ทุนเรียนดี  ทุนการศึกษาตามประกาศของคณะวิศวกรรมศาสตร 7. สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิม่ เติม ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร ม.มหิดล ศาลายา นครปฐม 73170 โทรศัพท : 02-8892138 ตอ 6501-6502 โทรสาร : 02-8892138 ตอ 6529 เว็บไซต : www.eg.mahidol.ac.th **********************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

43

Mahidol University

5. หลักสูตร : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา Bachelor of Engineering in Civil Engineering 1.

2. 3.

4.

5.

6.

7.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถและทักษะทางดานวิศวกรรมโยธา 2) มีความสามารถในการถายโอนเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาและวิจัยทางวิศวกรรมโยธา 3) มีความใฝรูใฝเรียน สามารถเรียนรูดวยตนเอง และมีจิตวิญญาณในการเรียนรูตลอดชีพ ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ทีก่ ําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะวิศวกรรมศาสตรกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล วาดวยการรับสมัครเขาศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับทีส่ ูงขึ้น บัณฑิตจบหลักสูตรนี้สามารถประกอบอาชีพที่เกี่ยวของกับงานทางดานวิศวกรรมโยธา อาทิเชน วิศวกรรม โครงสราง วิศวกรรมปฐพี วิศวกรรมสํารวจ และวิศวกรรมแหลงน้ํา เปนตน นอกจากนี้ บัณฑิตสามารถ ที่จะศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น ทางดานวิศวกรรมโยธา หรือสาขาที่เกี่ยวของได ทุนการศึกษา  ทุนเรียนดี  ทุนการศึกษาตามประกาศของคณะวิศวกรรมศาสตร สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม 73170 โทรศัพท : 02-8892138 ตอ 6396 โทรสาร : 02-8892138 ตอ 6388 เว็บไซต : www.eg.mahidol.ac.th *************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

44

Mahidol University

6. หลักสูตร : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ Bachelor of Engineering in Industrial Engineering 1.

2. 3.

4.

5. 6.

7.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถและทักษะทางดานสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ 2) มีความใฝรู มีความคิดสรางสรรค และมีความสามารถในการพัฒนาและวิจัยทางดานวิศวกรรม อุตสาหการ 3) มีความสมบูรณทั้งรางกายและจิตใจ ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะวิศวกรรมศาสตรกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล วาดวยการรับสมัครเขาศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับทีส่ ูงขึ้น มีการปจฉิมนักศึกษาเพื่อประกอบอาชีพและศึกษาตอ ทุนการศึกษา  ทุนเรียนดี  ทุนการศึกษาตามประกาศของคณะวิศวกรรมศาสตร สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิม่ เติม ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม 73170 โทรศัพท : 02-8892138 ตอ 6201-2 โทรสาร : 02-8892138 ตอ 6229 เว็บไซต : www.eg.mahidol.ac.th E-mail : egluj@mahidol.ac.th

**************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

45

Mahidol University

7. หลักสูตร : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร Bachelor of Engineering in Computer Engineering 1.

2. 3.

4.

5.

6.

7.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูค วามสามารถและทักษะทางดานสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร 2) ที่สามารถวิเคราะห วิจัย และพัฒนาทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอร 3) มีความรับผิดชอบตอหนาที่และสังคมรวมทั้งมีความเปนผูนาํ มีคณ ุ ธรรม ตระหนักในคุณคาของ ศิลปวัฒนธรรมและทรัพยากรสิ่งแวดลอม 4) เพื่อสนับสนุนการทําวิจัย และการใหบริการทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอร และสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะวิศวกรรมศาสตรกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล วาดวยการรับสมัครเขาศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น  ระบบคอมพิวเตอร ซอฟแวร และเครือขาย Sale Engineering พนักงานไอที ฯลฯ  การศึกษาตอระดับปริญญาโท ปริญญาเอก Computer Engineering, Electrical Engineering, Computer Science, Biomedical Engineering ทุนการศึกษา  ทุนโครงการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในอุตสาหกรรมฮารดดิสกไดรฟ สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ในการทํา Project (ความรวมมือระหวางศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสคอมพิวเตอร แหงชาติกับมหาวิทยาลัยมหิดล)  ทุนเรียนดี  ทุนการศึกษาตามประกาศของคณะวิศวกรรมศาสตร สถานที่ติดตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม 73170 โทรศัพท : 02-8892138 ตอ 6251-2 โทรสาร : 02-8892138 ตอ 6267 เว็บไซต : www.eg.mahidol.ac.th ************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

46

Mahidol University

8. หลักสูตร : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมชีวการแพทย Bachelor of Engineering in Biomedical Engineering 1.

2. 3.

4.

5.

6.

7.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูค วามสามารถในการทํางานและ/หรือการคนควาวิจัย และพัฒนางานทางดานวิศวกรรม ชีวการแพทย หรืองานในสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เชน งานที่เกี่ยวกับการสรางและถายโอนเทคโนโลยีเพื่อ พัฒนาอุปกรณ และเครื่องมือทางการแพทยสําหรับการตรวจวินิจฉัย การบําบัดรักษาโรคและ / หรือ การสรางเสริมสุขภาพ หรืองานที่เกี่ยวกับการสรางองคความรูใหมทางชีวการแพทย จากการ ผสมผสานองคความรูทางดานวิศวกรรมศาสตรการแพทยและ/หรือสาขาวิชาอื่นที่เกีย่ วของ ให กาวหนายิ่งขึ้นและเปนผูมคี ณ ุ ธรรมจริยธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพและรับผิดชอบตอสังคมและ สิ่งแวดลอม 2) มีความใฝรูและสามารถเรียนรูดวยตนเอง เพื่อทีจ่ ะศึกษาตอหรือวิจัยและพัฒนางานทางดาน วิศวกรรมชีวการแพทยหรือสาขาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวของใหกาวหนายิ่งขึ้น และเปนผูมคี ุณธรรม จริยธรรม มี จรรยาบรรณแหงวิชาชีพและรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะวิศวกรรมศาสตรกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล วาดวยการรับสมัครเขาศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น นักศึกษาที่จบหลักสูตรเปนที่ตองการของตลาดงาน ทั้งในภาครัฐและเอกชน ตัวอยางงานทางดานวิศวกรรม ชีวการแพทย เชน เปนวิศวกรประจําโรงพยาบาลทําหนาที่เกี่ยวของกับเครื่องมือหรืออุปกรณทาง การแพทยที่ตองใชเทคโนโลยีขั้นสูง หรือทํางานวิจัยและพัฒนารวมกับแพทย ทุนการศึกษา  ทุนเรียนดี  ทุนการศึกษาตามประกาศของคณะวิศวกรรมศาสตร สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิม่ เติม โครงการจัดตัง้ ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม 73170 โทรศัพท : 02-8892138 ตอ 6351-2 โทรสาร : 02-8892138 ตอ 6367 เว็บไซต : www.eg.mahidol.ac.th E-mail : egprp@mahidol.ac.th **************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

47

Mahidol University

12. คณะสั ต วแพทยศาสตร หลักสูตร : สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต Doctor of Veterinary Medicine 1.

2. 3.

4. 5.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูและความสามารถในดานการจัดการสุขภาพสัตว ดานสัตวแพทยสาธารณสุข ดานอุตสาหกรรม การผลิตสัตว ดานอุตสาหกรรมอาหารสัตว ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และดานการศึกษาวิจัยพัฒนา วิชาการและเทคโนโลยีตา ง ๆ 2) มีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณ วิสัยทัศนกวางไกล มนุษยสัมพันธดี สามารถปรับตัวรวมงาน กับบุคลากรในสาขาวิชาชีพอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีเจตคติที่ดตี อการประกอบวิชาชีพและ สังคม ระยะเวลาในการศึกษา : ตลอดหลักสูตร 6 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา : สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะสัตวแพทยกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล แนวทางประกอบอาชีพ / การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น  ภาครัฐบาล ทํา งานที่อยูในสวนราชการตา ง ๆ อาทิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวง สาธารณสุข กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ เปนตน ภาระงาน ครอบคลุมทั้งดานงานควบคุมโรคระบาดสัตว งานชีวภัณฑ (วัคซีน) งานสัตวแพทย สาธารณสุข งานวิชาการและวิจัยเกี่ยวกับสัตว  ภาคเอกชน เปนงานที่อยูในบริษัทที่ดําเนินการทางดานธุรกิจยาสัตว วัคซีน และเครื่องมือแพทย ธุรกิจฟารมสุกร สัตวปก สัตวน้ํา และโคนม ธุรกิจอาหารสัตวทั้งสําหรับสัตวเลี้ยงและสัตวเศรษฐกิจ เปนตน บริษทั เหลานี้มีทั้งบริษัทภายในประเทศและบริษทั ระดับนานาชาติ เชน เครือเบทาโกร เครือ เจริญโภคภัณฑ บริษัทสหฟารม จํากัด เครือแหลมทองสหการ เปนตน ภาระงานและหนาที่หลักคือ บริการขอมูลวิชาการ ใหคําปรึกษาและการบริการ ดานสินคาและผลิตภัณฑแกฟารมที่บริษัทดูแลอยู  ธุรกิจอิสระและธุรกิจสวนตัว สามารถเปดคลินกิ รักษาสัตวหรือโรงพยาบาลสัตว ฟารมเลี้ยงสัตว รานขายยาสัตว หรืออาหารสัตว รานขายสัตวเลี้ยงและผลิตภัณฑสําหรับสัตว งานเขียนหนังสือ หรือคอลัมนิสต รายการโทรทัศนและวิทยุเกี่ยวกับสัตวเลี้ยง สัตวปา เปนตน


48

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

6.

7.

Mahidol University

 สามารถศึกษาตอในระดับปริญญาโทและเอกทั้งภายในประเทศ และตางประเทศ ดานสาขาวิชา เฉพาะทางสัตวแพทย อาทิ ดานโรคระบาดสัตว ดานพยาธิวทิ ยา ดานสูติศาสตร ดานศัลยศาสตร โดยเทคนิคชัน้ สูงนํามาคนควาวิจัย เพื่อดูแลรักษาและปองกันโรคและปญหาตาง ๆ ดานสุขภาพสัตว นอกจากนั้นอาจจะเรียนตอในลักษณะการเปนสัตวแพทยประจําบาน เพื่อการเชี่ยวชาญเฉพาะโรค วิชา หรือชนิดสัตวในมหาวิทยาลัยตางประเทศ หรือสมัครเรียนแพทย หรือวิชาทางดานสาธารณสุข ในระดับสูงขึ้นทั้งภายในและตางประเทศ ทุนการศึกษา ประกอบดวย  ทุนอุดหนุนการศึกษาแกนักศึกษาชั้นปที่ 1 ณ ศาลายา  ทุนฉุกเฉิน  ทุนอุดหนุนการศึกษาประจําปของมหาวิทยาลัยมหิดล สถานที่ติดตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม งานการศึกษา คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โทรศัพท : 02-441-5242-4 ตอ 1429, 1427 โทรสาร : 02-441-0773 เว็บไซต : www.vs.mahidol.ac.th E-mail Address : tepre@mahidol.ac.th *****************************

13. คณะกายภาพบํา บั ด 1. หลักสูตร : 1.

วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขากายภาพบําบัด Bachelor of Science in Physical Therapy

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตกายภาพบําบัด ที่มคี ุณลักษณะดังนี้ 1) มีความรูค วามสามารถ ทักษะทางวิชาชีพ และเจตคติอันดีงามในการใหบริการดานการสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การบําบัดรักษาโรค และการฟนฟูสมรรถภาพ ใหแกประชาชนดวยวิธีการทาง กายภาพบําบัดไดอยางมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรมและจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ 2) สามารถบูรณาการและประยุกตความรูความสามารถทางวิชาชีพ รวมกับวิชาการแขนงตางๆ ในการ ประกอบวิชาชีพไดอยางเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของชุมชน 3) สามารถวิเคราะหขอมูล สงเสริม และแกปญหาสุขภาวะแบบองครวม และมีเหตุผลตามกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร 4) มีความรูค วามสามารถและมีเจตคติที่ดีตอการศึกษา คนควา วิจยั และแสวงหาความรู ความชํานาญ เพิ่มเติมไดอยางตอเนื่อง รวมทั้งมีโลกทัศนกวาง ทันสมัยและทันเหตุการณ 5) สามารถบริหารงานขั้นพื้นฐานที่เกี่ยวของกับภายภาพบําบัด 6) สามารถใชภาษาในการติดตอสื่อสารความหมายไดดี 7) มีเจตคติที่ดีตอวิชาชีพ


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 2. 3.

4.

5.

6.

7.

49

Mahidol University

ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะกายภาพบําบัดกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล แนวทางในการประกอบอาชีพ/ แนวทางในการศึกษาในระดับทีส่ ูงขึ้น 1) ประกอบอาชีพเปนนักกายภาพบําบัดในหนวยงานตางๆ ของภาครัฐและเอกชน เชน โรงพยาบาล สถาบันสงเสริมสุขภาพ สถาบันฟน ฟูสมรรถภาพ เปนตน 2) ประกอบอาชีพอิสระที่เกี่ยวกับสถานกายภาพบําบัด 3) ศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับงานกายภาพบําบัดและวิทยาศาสตร เชน ระดับประกาศนียบัตรหลังปริญญาสาขาตาง ๆ ทางดานกายภาพบําบัด ระดับปริญญาโทและเอก ในสาขากายภาพบําบัด สรีรวิทยา กายวิภาคศาสตร เปนตน ทุนการศึกษา นักศึกษากายภาพบําบัด สามารถขอรับทุนสนับสนุนการศึกษาได ดังนี้ 1) ทุนอุดหนุนนักศึกษาขาดแคลน พิจารณาตามไดที่ฝายการศึกษาของคณะฯ 2) ทุนฉุกเฉิน นักศึกษาติดตอขอไดที่ฝายกิจการนักศึกษา 3) ทุนรางวัลเรียนดี เปนทุนที่มอบใหกับนักศึกษาที่มีผลการเรียนเปนที่หนึ่งของรายวิชาหลักตางๆ ในชั้นป ที่ 2, 3 และ 4 มีจํานวนทั้งหมด 17 ทุน 4) มีทุนนักศึกษาที่มีความประพฤติดีเดน 1 ทุน ซึ่งไดจากการลงมติจากอาจารยประจําคณะ ฯ และ นักศึกษาดวยกันเอง กําหนดการมอบทุนจัดในวันไหวครูคณะฯ นักศึกษาชั้นปที่ 2, 3 และ 4 ของทุกป 5) ทุนรางวัลผูมีคุณธรรมและจริยธรรมดีเดน เปนทุนที่มอบใหกับนักศึกษาผูมีคุณธรรมและจริยธรรม ดีเดน ในชั้นปที่ 2, 3 และ 4 มีจํานวน 3 ทุน โดยทางสมาคมศิษยเกากายภาพบําบัด มหาวิทยาลัย มหิดลเปนผูใหการสนับสนุน กําหนดการมอบทุนจัดในวันไหวครูคณะฯ นักศึกษาชั้นปที่ 2, 3 และ 4 ของทุกป สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม คณะกายภาพบําบัด มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท : 02–441–5450 ตอ 20204-20207 โทรสาร : 02 –441–5454 เว็บไซต : www.pt.mahidol.ac.th *********************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

50

Mahidol University

2. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขากิจกรรมบําบัด Bachelor of Science in Occupational Therapy 1.

2. 3.

4.

5.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อสรางนักกิจกรรมบําบัดที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) สามารถใหบริการดานการตรวจประเมิน การสงเสริม การปองกัน การรักษา และการฟนฟูสภาพให ประชาชนดวยกิจกรรมการดํารงชีวิตและวิธีการทางกิจกรรมบําบัดไดอยางมีประสิทธิภาพ มีจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ และไดมาตรฐานสากล 2) สามารถบูรณาการและประยุกตความรูทางวิชาชีพใหเหมาะสมกับสภาพอาชีพ สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม เพื่อการตรวจประเมิน การสงเสริม การปองกัน การรักษา และการฟนฟู สภาพใหประชาชน มีความสามารถในการทํากิจกรรมการดํารงชีวิต อันไดแก การดูแลตนเอง การทํางาน หรือการศึกษา การใชเวลาวาง และการพักผอน รวมทั้งมีคุณภาพชีวิตที่ดีภายในบริบทของครอบครัว และชุมชน 3) พัฒนาตนเอง คนควา วิจัย แสวงหาความรูเพิ่มเติม และมีบูรณาการอยูเสมอ มีโลกทัศนที่กวางทัน เหตุการณ 4) วางแผน จัดระบบงาน บริหารงานและบุคลากร รวมทั้งควบคุมคุณภาพ การบริการภายในหนวยงาน กิจกรรมบําบัด 5) มีทักษะในการติดตอสื่อสารและมีมนุษยสัมพันธที่ดีในการทํางานรวมกับบุคลากรสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวของ ผูรับบริการ ครอบครัวและชุมชน 6) มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และเจตคติอันดีงาม ตอการประกอบวิชาชีพกิจกรรมบําบัด และตอสังคม ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะกายภาพบําบัดกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล วาดวยการรับสมัครเขาศึกษาหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ปฏิบัติงานในหนวยงานกิจกรรมบําบัดของโรงพยาบาลตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน โรงเรียนปกติที่รับ เด็กที่มีความตองการพิเศษเรียนรวม และโรงเรียนการศึกษาพิเศษ ศูนยการพัฒนาเด็ก ศูนยฟนฟู ผูพิการทางรางกาย/จิตสังคม ศูนยดูแลผูสูงอายุ ศูนยดูแลผูปวยโรคเรื้อรัง และหนวยงานอื่นๆ ที่ตองการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความสามารถในการทํากิจกรรมการดําเนินชีวิต/ทักษะชีวิตของมนุษย 2) ศึกษาตอระดับสูงในสาขาวิชากิจกรรมบําบัด วิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ วิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร และอื่นๆ ของสถาบันการศึกษาทั้งในและตางประเทศ


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 6. 7.

8.

51

Mahidol University

คาใชจายตอหลักสูตรโดยประมาณ คาใชจายสําหรับนักศึกษา กิจกรรมบําบัดตอคนตอป ประมาณ 27,163 บาท ทุนการศึกษา นักศึกษากิจกรรมบําบัด คณะกายภาพบําบัด สามารถขอรับทุนสนับสนุนการศึกษา ไดดังนี้ 1) ทุนอุดหนุนนักศึกษาที่ขาดแคลน เปนทุนใหเปลาเพื่อชวยเหลือนักศึกษาเปนจํานวนไมมาก พิจารณา นักศึกษาขอแบบฟอรมและยื่นแบบฟอรมได ตามความจําเปนสําหรับนักศึกษาที่ขัดสนจริงเทานั้น ที่ฝายการศึกษา ของคณะฯ กอนปดภาคการศึกษาปลายป ปละครั้ง และพิจารณาโดยอาจารยฝาย กิจการนักศึกษา 2) ทุนอุดหนุนนักศึกษาขาดแคลน พิจารณาตามไดที่ฝายการศึกษาของคณะฯ 3) ทุนฉุกเฉิน นักศึกษาติดตอขอไดที่ฝายกิจการนักศึกษา 4) ทุนรางวัลเรียนดี เปนทุนที่มอบใหกับนักศึกษาที่มีผลการเรียนเปนที่หนึ่งของชั้นปที่ 3 และ 4 มี จํานวน ทั้งหมด 2 ทุน และมีทุนนักศึกษาชั้นปที่ 3 ที่มีความประพฤติดีเดน 1 ทุน ซึ่งไดจากการ ลงมติจากอาจารยประจําคณะฯ และนักศึกษาดวยกันเอง กําหนดการมอบทุนจัดในวันปฐมนิเทศ นักศึกษาชั้นปที่ 2, 3 และ 4 ของทุกป สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม คณะกายภาพบําบัด มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท : 02–441–5450 ตอ 20204-20207 โทรสาร : 02 –441–5454 เว็บไซต : www.pt.mahidol.ac.th ดร. ศุภลักษณ เข็มทอง ผูประสานงานสาขาวิชากิจกรรมบําบัด E-mail : ptskt@mahidol.ac.th ********************************

14. คณะศิ ล ปศาสตร ะ 1. หลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาไทย Bachelor of Arts in Thai 1.

2.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูค วามสามารถและคุณสมบัตทิ ี่เหมาะสมสําหรับสังคมปจจุบัน 2) มีความรูด านภาษาไทยอยางชัดแจงและสามารถนําไปใชในชีวิตไดอยางถูกตอง และเหมาะสม 3) มีความสามารถในการปรับประยุกตใชองคความรูว ิชาภาษาไทยใหเปนประโยชนในอาชีพตาง ๆ 4) สามารถศึกษา คนควา และวิจัยในระดับสูงตอไปได ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป


52

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 3.

4.

5.

6.

7.

Mahidol University

คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะศิลปศาสตรกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ประกอบอาชีพตางๆ ทีเ่ กี่ยวของกับการใชภาษา ไดแก ผูประกาศ นักประชาสัมพันธ นักหนังสือพิมพ นักจัดรายการวิทยุ พิธีกร มัคคุเทศก นักเขียน นักพูด ครีเอทีฟ บรรณาธิการ เลขานุการ นักวิชาการ ฯลฯ 2) ศึกษาตอทั้งระดับปริญญาโท และปริญญาเอกก สาขาภาษาไทย ภาษาศาสตร นิเทศศาสตร วรรณคดี เปรียบเทียบ และสาขาอื่น ๆ ที่สนใจ ทุนการศึกษา : 1) ทุนมหาวิทยาลัยมหิดล 2) ทุนมูลนิธมิ หาวิทยาลัยมหิดล 3) ทุนเรียนดีคณะศิลปศาสตร 4) ทุนปอเต็กตึ้ง สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพุทธมณฑล สาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท : 02-441-4406 โทรสาร : 02-441-4410 เว็บไซต : www.artsv@mahidol.ac.th 47

*****************************

2. หลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ Bachelor of Arts in English 1.

2. 3.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) ผลิตบัณฑิตผูมีความรู ความเขาใจในภาษาและวัฒนธรรมของผูใชภาษา และสามารถใชภาษาอังกฤษ ไดอยางมีประสิทธิภาพ 2) สงเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย 3) เปนศูนยกลางการเรียนการสอน และการวิจัยทางดานภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัย ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะศิลปศาสตรกําหนด


53

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 4.

5.

6.

7.

Mahidol University

วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ประกอบอาชีพเปน นักวิชาการ อาจารย นักแปล ลาม มัคคุเทศก เลขานุการ นักประชาสัมพันธ นักหนังสือพิมพ นักจัดรายการวิทยุ ครีเอทีฟ พิธีกร นักเขียน นักพูด บรรณาธิการ ผูประกาศ สจวต แอรโฮสเตส ฯลฯ 2) ศึกษาตอในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกสาขาวิชาภาษาอังกฤษไดหลายแขนงวิชา อาทิ ภาษาศาสตร ภาษาศาสตรประยุกต การสอนภาษาอังกฤษ หรือสาขาอื่น ๆ ที่สามารถนําความรูพื้นฐานทางศิลปะ ศาสตร หรือภาษาอังกฤษไปประยุกตใช ทุนการศึกษา : 1) ทุนมหาวิทยาลัยมหิดล 2) ทุนมูลนิธมิ หาวิทยาลัยมหิดล 3) ทุนเรียนดีคณะศิลปศาสตร 4) ทุนปอเต็กตึ้ง สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพุทธมณฑล สาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท : 02-441-4406 โทรสาร : 02-441-4410 Web Site : www.artsv@mahidol.ac.th 48

*********************************

15. วิ ท ยาลั ย การจั ด การ 1. หลักสูตร : บัญชีบัณฑิต Bachelor of Accounting 1.

2. 3.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูแ ละทักษะในสาขาวิชาชีพทางดานบัญชี 2) เพิ่มทางเลือกทางการศึกษาและการประกอบอาชีพใหแกบัณฑิต 3) สามารถรองรับการขยายตัวของธุรกิจแนวใหมในสังคมที่มีความเปนพลวัต ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยการจัดการกําหนด


54

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 4.

5.

6.

7.

Mahidol University

วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ประกอบวิชาชีพทางดานการบัญชีในหนวยงานราชการหรือเอกชน องคกรระหวางประเทศ หรือประกอบ อาชีพอิสระเปนผูตรวจสอบบัญชีรับอนุญาตศึกษาตอทางดานบัญชี การบริหารธุรกิจ การจัดการ การเงิน ฯลฯ ทุนการศึกษา 1) ทุนจากหนวยงาน องคกร ที่ใหผานมหาวิทยาลัยมหิดล 2) ทุนจากกองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม หลักสูตรปริญญาตรี วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล อาคารวิทยาลัยการจัดการ เลขที่ 69 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท : 02 – 206 – 2000 โทรสาร : 02 – 206 - 2090 เว็บไซต : www.cmmu.net **************************

16. วิ ท ยาลั ย ดุ ริ ย างคศิ ล ป  หลั ก สู ต ร 1.

2. 3.

:

ดุ ริ ย างคศาสตรบั ณ ฑิ ต Bachelor of Music

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้  มีความรูศาสตรการดนตรี มีความสามารถบรรเลง เครื่องดนตรีในระดับ มาตรฐานสากล สามารถที่จะ รวมแสดงกับ นักดนตรีนานาชาติได  เพื่อสรางบัณฑิตออกไปสรางงานในวิชาชีพดนตรีอยางมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบ คุณธรรม และ สามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดเปนอยางดี ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา  ผูมีสิทธิสมัครเขาศึกษา เปนผูสําเร็จระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา  มีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรี หรือขับรองไดดี  มีพื้นฐานความรูดานทฤษฎีดนตรีสากล หรือดนตรีไทย และดานโสตทักษะ  มีความประพฤติเรียบรอย และรับรองตอวิทยาลัยฯ ไดวาจะตั้งใจศึกษาเลาเรียนเต็มความสามารถ และ จะปฏิบตั ิตามระเบียบขอบังคับของวิทยาลัยฯที่มีอยูแลว หรือที่จะมีตอไปโดยเครงครัดทุกประการ  ไมเปนโรคที่สังคมรังเกียจ หรือโรคที่เปนอุปสรรคตอการศึกษาและไมติดยาเสพติด


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 4.

5.

6.

55

Mahidol University

วิธีการคัดเลือกนักศึกษา การคัดเลือกผูเ ขาศึกษาเปนไปตามประกาศการสอบคัดเลือกบุคคลเขารับการศึกษา ของวิทยาลัยดุรยิ างคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) เปนครูสอนดนตรีคลาสสิค ดนตรีแจส ดนตรีไทย และดนตรีตะวันออก 2) เปนนักดนตรี 3) ทําสตูดิโอ หองบันทึกเสียง หองตัดตอ 4) ทําออแกไนเซอร (รับงานตาง ๆ ที่เกีย่ วกับการแสดงดนตรี) 5) แตงเพลงสําหรับวงออรเคสตรา(แขนงวิชาการประพันธดนตรี) 6) เปดโรงเรียนสอนดนตรี ทุนการศึกษา  ทุนศิลปนดนตรี (Artist Scholarship) เปนทุนยกเวนคาหนวยกิต (Tuition Fee) 80,000 บาทตอทุน ตอหนึ่งปการศึกษา สําหรับนักเรียน และนักศึกษาดนตรีที่มีความสามารถทางการปฏิบัตดิ นตรีเปนเลิศ ในแขนงวิชาดนตรีปฏิบตั ิ แขนง วิชาดนตรีแจส แขนงวิชาดนตรีไทยและดนตรีตะวันออก และแขนงวิชาดนตรีสมัยนิยม คัดเลือก นักศึกษาที่ไดรับทุนโดยการทดสอบดนตรีปฏิบัติ (Audition)  ทุนเหรียญทองเยาวชนดนตรี (Gold medal Scholarship) เปนทุนยกเวนคาหนวยกิต (Tuition Fee) 80,000 บาทตอทุน ตอหนึ่งปการศึกษา สําหรับผูไ ดรบั รางวัลชนะเลิศประกวดเยาวชนดนตรีในปนั้นๆ  ทุนหมอมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (Mom Dusdi Paribatra Scholarship) เปนทุนยกเวนคาหนวยกิต (Tuition Fee) 50,000 - 100,000 บาทตอทุน ตอหนึ่งปการศึกษา สําหรับ นักศึกษาระดับปริญญาตรีในแขนงวิชาดนตรีศึกษา ทีแ่ สดงผลการเรียนระดับดีเลิศ คัดเลือกนักศึกษา ที่ไดรับทุนจากการสัมภาษณ และพิจารณาผลการเรียน  ทุนเครื่องมือขาดแคลน (Special Instruments Scholarship) เปนทุนยกเวนคาหนวยกิต (Tuition Fee) 60,000 บาทตอทุน ตอหนึ่งปการศึกษา สําหรับนักเรียนระดับ เตรียมอุดมดนตรีและปริญญาตรี ทุกแขนงวิชา ที่เรียนเครื่องมือขาดแคลน คือเรียนวิชาเอก และมี ความสามารถดีพอที่จะรวมเลนวงดนตรีของวิทยาลัยฯ ได โดยที่นักเรียน นักศึกษาจะตองมีเครื่อง ดนตรีเปนของตนเอง กลุมเครื่องดนตรีทปี่ ระกาศใหทนุ คือ ดับเบิ้ลเบส โอโบ ทูบา และบาซซูน คัดเลือกนักศึกษาทีไ่ ดรับทุนโดยการทดสอบดนตรีปฏิบตั ิ (Audition) และการสัมภาษณ  ทุนเรียนดี (Merit Scholarship) เปนทุนยกเวนคาหนวยกิต (Tuition Fee) 40,000 บาทตอทุน ตอหนึ่งปการศึกษา สําหรับนักเรียน ระดับเตรียมอุดมดนตรี และนักศึกษาระดับปริญญาตรีในทุกแขนงวิชา คัดเลือกนักศึกษาที่ไดรับทุน โดยการทดสอบดนตรีปฏิบตั ิ (Audition) และการสัมภาษณ ขึ้นอยูกบั เกณฑการคัดเลือกของแตละ แขนงวิชา โดยวิทยาลัยฯ จะประกาศใหทราบในแตละป  ทุนรวมวง (Ensemble Scholarship) เปนทุนยกเวนคาหนวยกิต (Tuition Fee) 10,000 บาทตอทุน ตอหนึ่งปการศึกษา สําหรับผูชวยผู ควบคุมวง (Large Ensemble)


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

7.

56

Mahidol University

 ทุนนักดนตรีวงดุริยางค ฟลฮารโมนิกแหงประเทศไทย (TPO Scholarship) เปนทุนการศึกษาเพื่อสงเสริมความเปนนักดนตรีอาชีพ นักศึกษาจะตองผานการทดสอบความสามารถ ที่ทางวิทยาลัยฯ จัดขึ้นประมาณเดือนกันยายนของทุกป ทุนการศึกษาเปนคาตอบแทนการแสดงในวง ดุริยางคฟลฮารโมนิกแหงประเทศไทย (Thailand Philharmonic Orchestra, TPO) นักศึกษาที่เปนนัก ดนตรีฝกหัดจะไดรบั ทุน 60,000 บาท ตอหนึ่งปการศึกษา นักศึกษาที่เปนนักดนตรีประจําจะไดรับทุน 180,000 บาท ตอหนึ่งปการศึกษา  ทุนสงเสริมการศึกษา (Bursaries/Loans) พิจารณาเปนกรณีไป สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม งานรับสมัคร วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท : 0-2800-2525 ตอ 109 (คุณภารดี / คุณชาติชาย) โทรสาร : 0-2800-2530 E-mail : mscss@mahidol.ac.th เว็บไซต : www.music.mahidol.ac.th **************************

17. วิ ท ยาลั ย วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ก ารกี ฬ า 1. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรการกีฬา Bachelor of Science in Sports Science 1.

2. 3.

4.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูดานวิทยาศาสตรการกีฬา 2) มีความรูดานการสอน การฝกอบรม การเปนผูนาํ การออกกําลังกาย กีฬาพื้นฐาน กีฬาเพื่อสุขภาพ และ กีฬาเพื่อการแขงขัน 3) มีความสามารถในการพัฒนาเทคนิคดานวิทยาศาสตรการกีฬา เพื่อรองรับความกาวหนาทางเทคโนโลยี ดานการกีฬาในระดับสากล 4) มีความรอบรู มีคุณธรรม และจริยธรรม สามารถดําเนินชีวิตในสังคมไดอยางดี ระยะเวลาในการศึกษา : ไมนอยกวา 4 ปการศึกษา แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สาขาวิทยาศาสตร 2) เปนผูมีความสามารถพิเศษทางกีฬาและมีศักยภาพที่จะศึกษาจนสําเร็จการศึกษา 3) ผานการสอบขอเขียน การสัมภาษณ และการสอบทักษะกีฬา 4) เปนผูท่คี ณะกรรมการประจําหลักสูตรพิจารณาเห็นสมควรใหมสี ิทธิ์เขาศึกษา วิธีการคัดเลือกนักศึกษา  ระบบโควตา  ระบบแอดมิชชัน  วิทยาลัยรับเอง


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 5.

6. 7.

57

Mahidol University

แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) เปนผูน ําการออกกําลังกายในศูนยออกกําลังกาย ศูนยสุขภาพในหนวยงานภาครัฐและเอกชน 2) เปนผูเชี่ยวชาญ นักวิชาการ ผูชวยวิจัยในสมาคมกีฬาและการกีฬาแหงประเทศไทย 3) เปนอาจารยหรือบุคลากรในหนวยงานการศึกษาทั้งภาครัฐ และเอกชน 4) อาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตรการกีฬา เชน ตัวแทนจําหนายเครื่องออกกําลังกาย และผลิตภัณฑกีฬา 5) การศึกษาตอในระดับทีส่ ูงขึ้น ในสาขาดานวิทยาศาสตรการกีฬา หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ทุนการศึกษา ทุนมหาวิทยาลัยมหิดล และทุนที่ไดรับริจาคจากแหลงอื่นๆ สถานที่ติดตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ฝายการศึกษา วิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 โทรศัพท : 0-2441-4296-8 ตอ 203, 205 โทรสาร : 0-2889-3693, 0-2441-4296-8 ตอ 203 E – mail : sppks@mahidol.ac.th ----------------------------------

2. หลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการออกกําลังกายและการกีฬา Bachelor of Art in Exercise and Sport มี 2 สาขาวิชาเอก 1) วิชาเอกการออกกําลังกายและการกีฬา 2) วิชาเอกกีฬาฟุตบอล 1.

2. 3.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูและทักษธทางดานการออกกําลังกายและการกีฬา 2) มีความรูดานการสอน การฝกอบรม และเปนผูนาํ การออกกําลังกาย กีฬาพื้นฐาน กีฬาเพื่อสุขภาพ และ กีฬาเพื่อการแขงขัน 3) พัฒนาเทคนิคดานการออกกําลังกายและการกีฬา เพื่อรองรับความกาวหนาทางเทคโนโลยีดานการกีฬา ในระดับสากล 4) มีความรอบรู และมีคุณธรรม จริยธรรม สามารถดําเนินชีวิตในสังคมไดอยางดี ระยะเวลาในการศึกษา : ไมนอยกวา 4 ปการศึกษา แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ 2) เปนผูมีความสามารถพิเศษทางกีฬาและมีศักยภาพที่จะศึกษาจนสําเร็จการศึกษา 3) ผานการสอบขอเขียน การสัมภาษณ และการสอบทักษะกีฬา 4) เปนผูท่คี ณะกรรมการประจําหลักสูตรพิจารณาเห็นสมควรใหมสี ิทธิ์เขาศึกษา วิชาเอก : การออกกําลังกายและการกีฬา วิชาเอก : กีฬาฟุตบอล


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 4.

5.

6. 7.

58

Mahidol University

วิธีการคัดเลือกนักศึกษา  วิชาเอกการออกกําลังกายและการกีฬา - ระบบโควตา - ระบบแอดมินชัน - วิทยาลัยรับเอง  วิชาเอกกีฬาฟุตบอล - วิทยาลัยรับเอง แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น  วิชาเอกการออกกําลังกายและการกีฬา 1) ผูฝกสอนกีฬา นักวิชาการ นักวิจยั ของการกีฬาแหงประเทศไทย 2) อาจารยหรือบุคลากรในหนวยงานการศึกษาทั้งภาครัฐ และเอกชน 3) ผูแนะนําการออกกําลังกายในศูนยออกกําลังกาย หรือศูนยสุขภาพในหนวยงานการศึกษาและ โรงพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน 4) อาชีพอื่นๆ ที่มีความเกีย่ วของกับการออกกําลังกายและกีฬา เชน ตัวแทนจําหนายเครื่องมือ อุปกรณ ผลิตภัณฑกีฬา รองเทากีฬา เปนตน  วิชาเอกกีฬาฟุตบอล 1) ผูฝกสอนดานกีฬาฟุตบอลทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ 2) ผูเชี่ยวชาญที่ใหความรูเฉพาะดานกีฬาฟุตบอลแกสถาบันทั้งภาครัฐและเอกชน 3) บุคลากรซึ่งทํางานเกี่ยวของกับการกีฬาโดยเฉพาะสมาคมกีฬาฟุตบอล 4) ผูต ัดสินของสมาคมกีฬาฟุตบอลทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ ทุนการศึกษา ทุนมหาวิทยาลัยมหิดล และทุนที่ไดรับริจาคจากแหลงอื่นๆ สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ฝายการศึกษา วิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 โทรศัพท : 0-2441-4296-8 ตอ 203, 205 โทรสาร : 0-2889-3693, 0-2441-4296-8 ตอ 203 E – mail : sppks@mahidol.ac.th เว็บไซต : www.ss.mahidol.ac.th **********************

18. วิ ท ยาลั ย ราชสุ ด า 1. หลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาลามภาษามือไทย (หลักสูตร 5 ป) Bachelor of Arts in Thai Sign Language Interpreting

1.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เปนหลักสูตรสําหรับผูที่ประสงคจะประกอบวิชาชีพลาม ประเทศไทย

เปดสอนที่วิทยาลัยราชสุดาเพียงแหงเดียวใน


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 2. 3.

4.

5. 6.

59

Mahidol University

ระยะเวลาในการศึกษา : ใชระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 4 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) เปนคนที่มีการไดยนิ หรือเปนคนหูตึงที่พูดและฟงภาษาไทยไดชดั เจน 2) จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา 3) เปนผูมีจติ ใจเปนผูใ หบริการ และมีเจตคติที่ดตี อคนหูหนวก แนวทางในการประกอบอาชีพ - วิทยาลัยมีความรวมมือทางวิชาการกับสถาบันในตางประเทศหลายแหง เชน มหาวิทยาลัยลาโทรป ประเทศออสเตรเลีย National Technical Institute for the Deaf, Rochester Institute of Technology (NTID, RIT) สหรัฐอเมริกา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีซูกบุ ะ ประเทศญี่ปุน องคกรลาม ประเทศออสเตรเลีย เปนตน ซึ่งนักศึกษาจะมีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณกับคณาจารยและ นักศึกษาจากตางประเทศ - เมื่อสําเร็จการศึกษา นักศึกษาสามารถประกอบอาชีพลามภาษามือของสํานักงานสงเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการแหงชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย องคการสวน ปกครองทองถิ่น กรุงเทพมหานคร องคกรดานคนพิการ กระทรวงแรงงาน ศูนยเทคโนโลยี อีเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) องคกรระดับนานาชาติ เชน องคการสังกัด UN, NGO หรือทํางานเปนลามอิสระ - นักศึกษาสามารถศึกษาตอในระดับปริญญาโท – เอก ทางดานลาม การแปล หรือสาขาอื่นๆ ได เนื่องจากหลักสูตรไดจัดวิชาพื้นฐานที่หลากหลาย ซึ่งทําใหสามารถเลือกศึกษาตอไดหลายสาขาวิชา - นักศึกษาที่เรียนดี จะไดรบั พิจารณาทุนการศึกษา ทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาตางชาติ รวมทั้งทุนศึกษา ตอเพื่อเปนอาจารย เนื่องจากเปนวิชาชีพที่ขาดแคลน ทุนการศึกษาและสวัสดิการ : วิทยาลัยราชสุดามีทุนสนับสนุนการศึกษาตลอดหลักสูตรใหแกผูมผี ลการเรียนดี สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ฝายการศึกษา วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท : 0-2889-5315 – 9 ตอ 237, 238, 230 โทรสาร : 0-2889-5308 เว็บไซต : www.rs.mahidol.ac.th ------------------------

2. หลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาหูหนวกศึกษา (หลักสูตร 5 ป) Bachelor of Arts in Deaf Studies 1.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เปนหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนแบบเรียนรวม (นักศึกษาหูหนวกและนักศึกษาที่มีการไดยนิ ) โดยใช วิธีการสอนแบบสองภาษา คือ ใชภาษามือไทย และภาษาไทย เปนภาษาในการเรียนการสอน ใชเวลา ศึกษา 5 ปการศึกษา โดยมี


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

2. 3.

4.

5. 6.

60

Mahidol University

 วิชาเอก 6 แขนงวิชา ไดแก 1) แขนงวิชาประวัติศาสตรและวัฒนธรรมคนหูหนวก 2) แขนงวิชาภาษามือไทย 3) แขนงวิชาลามภาษามือ (เฉพาะคนที่มกี ารไดยนิ ) 4) แขนงวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 5) แขนงวิชาศิลปกรรมประยุกตดา นเครือ่ งเคลือบดินเผา  วิชาโท 3 แขนงวิชา ไดแก 1) แขนงวิชาการสอนภาษามือไทย 2) แขนงวิชาการศึกษาของคนหูหนวก 3) แขนงวิชาการแนะแนว ระยะเวลาในการศึกษา : ใชระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 5 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 3.1 คนที่มีการไดยนิ (รับเฉพาะแขนงลามภาษามือ) 3.1.1 เปนคนที่มีการไดยนิ หรือเปนคนหูตึง ที่พดู และฟงภาษาไทยไดชัดเจน 3.1.2 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา 3.1.3 เปนผูม ีจิตใจเปนผูใ หบริการ และมีเจตคติที่ดตี อ คนหูหนวก 3.2 คนที่มีความพิการทางการไดยนิ 3.2.1 เปนคนหูนวก หรือคนหูตึง 3.2.2 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา หรือจบประกาศนียบัตรสาขาการสอน ภาษามือไทย 3.2.3 เปนผูท ี่ใชภาษามือไทยไดอยูในระดับดี แนวทางในการประกอบอาชีพ - เปนนักวิชาชีพสําหรับผูพิการทางการไดยิน เชน ครูสอนภาษามือ ครูสอนเด็กหูหนวก ครูแนะแนว นักเทคโนโลยีทางการศึกษา ลามภาษามือทางการศึกษา และประกอบอาชีพดานเครื่องดินเผา ทุนการศึกษาและสวัสดิการ : วิทยาลัยราชสุดามีทุนสนับสนุนการศึกษาตลอดหลักสูตรใหแกผูมีผลการเรียนดี สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ฝายการศึกษา วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท : 0-2889-5315 – 9 ตอ 237, 238, 230 โทรสาร : 0-2889-5308 เว็บไซต : www.rs.mahidol.ac.th ------------------------------


61

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

Mahidol University

19. วิ ท ยาลั ย ศาสนศึ ก ษา 1. หลักสูตร : 1.

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศาสนศึกษา Bachelor of Arts Programme in Religious Studies

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความรอบรูสามารถประกอบอาชีพตาง ๆ ได และนําความรูทางศาสนธรรมไปเพิ่ม คุณคาใหแกชีวิตสวนตัวและไปประยุกตใชทั้งในการทํางานใหประสบความสําเร็จและมีความสุข และใน การสรางความสัมพันธที่ดีงามกับผูอื่นและสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ 2. ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป ระยะเวลาที่ใชในการศึกษาตลอดหลักสูตร 4 ป ไมเกิน 8 ปการศึกษา 3. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) เปนผูสาํ เร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทาจากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ รับรอง 2) เปนผูมีสขุ ภาพดีทั้งรางกายและจิตใจ 4. วิธีการคัดเลือกนักศึกษา  ระบบโควตามหาวิทยาลัย สอบผานกระบวนการโควตามหาวิทยาลัยและมีการสอบขอเขียนวิชาเฉพาะและสอบสัมภาษณโดย วิทยาลัย  ระบบแอดมิชชัน สอบผานในระบบการสอบคัดเลือกของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีการสอบขอเขียนวิชา เฉพาะและสอบสัมภาษณโดยวิทยาลัยฯ  ระบบรับตรง สอบขอเขียนวิชาการสื่อความคิดเปนภาษาไทย วิชาการใชเหตุผล และวิชาภาษาอังกฤษ ผูสอบผาน ขอเขียนตองสอบสัมภาษณโดยวิทยาลัยฯ 5. แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) อาชีพที่ใชภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร และ/หรืออาชีพที่ใชความรูทางศาสนาวัฒนธรรมเปนพื้นฐานของ การติดตอสื่อสาร เชน พนักงานตอนรับของสายการบิน เลขานุการผูบริหาร พนักงานประชาสัมพันธ พนักงานธนาคาร อนุศาสนาจารย มัคคุเทศก ฯลฯ 2) อาชีพเปนครู/อาจารยโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สอนวิชาภาษาอังกฤษ สังคมศาสตร ศาสนา จริยศาสตร 3) ศึกษาตอระดับปริญญาโทสาขาตางๆ เชน จิตวิทยาทั่วไป จิตวิทยาคลินิก การจัดการ รัฐประศาสนศาสตร ภาษาศาสตร ปรัชญา พุทธศาสนาศึกษา


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

62

Mahidol University

6. ทุนการศึกษา ทุนวิทยาลัยศาสนศึกษา ทุนมหาวิทยาลัยมหิดล และทุนกูยืมมหาวิทยาลัยมหิดล 7. สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม งานการศึกษาและบริการวิชาการ วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท : 0-2800-2630 ตอ 208-9 โทรสาร : 0-2800 -2659 เว็บไซต : www.crsmahidol.ac.th ----------------------------

20. มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล วิ ท ยาเขตกาญจนบุ รี 1

1. หลักสูตร : การจัดการบัณฑิต Bachelor of Management 1.

2. 3.

4.

5.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคณ ุ สมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูในสาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ การจัดการทั่วไป และการเปนผูประกอบการ ระบบส และมีทักษะความสามารถทางดานบริหารจัดการ ประกอบกับความรูทางดานวิชาชีพนั้น ๆ 2) เพิ่มทางเลือกทางการศึกษาและการประกอบอาชีพใหแกบัณฑิต 3) รองรับการขยายตัวของธุรกิจแนวใหมในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบพลวัต ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยการจัดการกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา เปนผูผา นการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ สกอ. และ/หรือ เปนผูผา นการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ทํางานในหนวยงานราชการและเอกชน องคกรระหวางประเทศ หรือประกอบอาชีพอิสระศึกษาตอทางดาน บริหารธุรกิจ การบริหารจัดการเทคโนโลยี การจัดการ การเงิน ฯลฯ


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 6.

7.

Mahidol University

63

ทุนการศึกษา 1) ทุนจากหนวยงาน องคกร ที่ใหผานมหาวิทยาลัยมหิดล 2) ทุนจากกองทุนกูยืมเพื่อการศึกษา สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ฝายการศึกษา วิทยาลัยการจัดการ วิทยาเขตกาญจนบุรี โทรศัพท : 034-585060 / 086-3779947 โทรสาร เว็บไซต : www.ka.mahidol.ac.th

: 034-585-077

************************

2. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร Bachelor of Science in Food Technology

1.

2. 3.

4.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคณ ุ สมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ และในการวิเคราะหวิจัยเพื่อพัฒนางาน ทางดานอุตสาหกรรมอาหาร 2) สงเสริมการผลิตบุคลากรเพือ่ สนองความตองการกําลังคน ทางดานเทคโนโลยีการอาหารใหแกหนวยงาน ราชการอื่น หรือภาคเอกชนที่เกี่ยวของ ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ปการศึกษา แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยการจัดการกําหนด วิธีการรับคัดเลือกนักศึกษา 4.1 สมัครสอบตามโครงการรับนักศึกษาระบบโควตาของมหาวิทยาลัย 4.1.1 โควตาพื้นที่วทิ ยาเขตกาญจนบุรี รับสมัครเฉพาะนักเรียนที่อยูในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี และนครปฐม เปดรับสมัครในชวงเดือนสิงหาคม- กันยายน ของทุกป 4.1.2 โควตาในโครงการความถนัดทางวิชาชีพ รับสมัครนักเรียนทั่วไปที่มีความสนใจ และมีความ มุงมั่นที่จะศึกษาและประกอบอาชีพโดยใชความรูทางวิทยาศาสตร เปดรับสมัครในชวงเดือน สิงหาคม – กันยายนของทุกป


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

64

Mahidol University

4.2 สมัครสอบคัดเลือกในระบบแอดมิชชันกลาง โดยสอบคัดเลือกบุคคลทั่วไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ตามระเบียบขอบังคับวาดวยการ คัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 5. แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น นักศึกษาผูสาํ เร็จปริญญาตรีของหลักสูตร ประมาณ 70% ทํางานในภาคเอกชน นอกจากนี้มีการทํางานใน ภาครัฐการศึกษาตอ และประกอบอาชีพสวนตัว โดยผูสาํ เร็จการศึกษาไปทํางานดานวิจัยและพัฒนาการ ควบคุมคุณภาพอาหาร การควบคุมการผลิต ในบริษัทเอกชนตางๆ 6. ทุนการศึกษา 1) ทุนมหาวิทยาลัย สําหรับนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย เปนทุนรายปและทุนตอเนื่อง 2) ทุนฉุกเฉิน สําหรับนักศึกษาที่ประสบเหตุการณรายแรง ที่มีผลกระทบกระเทือนทางเศรษฐกิจของ ครอบครัว โดยจะเสนอใหมหาวิทยาลัยพิจารณาชวยเหลือเปนกรณีๆ ไป 3) กองทุนเงินยืมสําหรับนักศึกษาที่ขาดแคลน 7. สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม หลักสูตรเทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี 71150 โทรศัพท : (034) 58-5069 โทรสาร : (034) 58-5067 เว็บไซต : www.ka.mahidol.ac.th ศูนยประสานงานวิทยาเขต สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา โทรศัพท : (02) 849-6125 โทรสาร : (02) 849-6126 *********************

3. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาชีววิทยาเชิงอนุรักษ

Bachelor of Science in Conservation Biology

1.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคณ ุ สมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูค วามสามารถทั้งในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติทางดานชีววิทยาเชิงอนุรักษอันเปนสาขาที่ขาด แคลนและจําเปนในการอนุรกั ษทรัพยากรชีวภาพและสภาพแวดลอม ๒) มีความรูความเขาใจในการประยุกตใชงานองคความรูทางดานชีววิทยาเชิงอนุรักษ ในการแกปญหา การวางแผนงาน และติดตามประเมินผล เกี่ยวกับการจัดการอนุรักษทรัพยากรชีวภาพและสภาพแวดลอม


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 2. 3.

4.

5.

6.

65

Mahidol University

ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ปการศึกษา แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยการจัดการกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา 4.1 สมัครสอบตามโครงการรับนักศึกษาระบบโควตาของมหาวิทยาลัย 4.1.1 โควตาพื้นที่วิทยาเขตกาญจนบุรี รับสมัครเฉพาะนักเรียนที่อยูในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี และนครปฐม เปดรับสมัครในชวงเดือนสิงหาคม- กันยายน ของทุกป 4.1.2 โควตาในโครงการความถนัดทางวิชาชีพ รับสมัครนักเรียนทั่วไปที่มีความสนใจและมี ความมุงมั่นทีจ่ ะศึกษาและประกอบอาชีพโดยใชความรูทางวิทยาศาสตร เปดรับสมัครในชวงเดือน สิงหาคม – กันยายนของทุกป 4.2 สมัครสอบคัดเลือกในระบบแอดมิชชันกลาง โดยสอบคัดเลือกบุคคลทั่วไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ตามระเบียบขอบังคับวาดวยการ คัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาระดับที่สูงขึ้น 1) ผูสําเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพใน : - หนวยงานของรัฐ เชน กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ืช สํานักงานนโยบายและแผน สิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม สํานักงานทรัพยากรและสิ่งแวดลอมจังหวัด สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคตางๆ เปนตน - หนวยงานในทองถิ่น เชน เปนนักวิชาการสิ่งแวดลอม หรือเจาหนาที่หนวยงานที่เกี่ยวของกับการ อนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใน อบต. เทศบาล อบจ. ตางๆ ทั่วประเทศ - หนวยงานในสถาบันการศึกษา เชน เปนผูช วยวิจัย/นักวิจัยในหนวยงานของสถาบันการศึกษา ตางๆ ที่เกี่ยวของกับการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - สํานักงาน/สวนงาน/โครงการที่เกี่ยวของกับกิจกรรมการควบคุม การจัดการ และการอนุรักษ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของบริษัทเอกชน บริษัททีป่ รึกษาในการตรวจสอบติดตามผลกระทบ สิ่งแวดลอม และองคกรอนุรักษตา งๆ ของเอกชน 2) ผูสําเร็จการศึกษาสามารถศึกษาตอระดับบัณฑิตศึกษาทางดานชีววิทยา ชีววิทยาประยุกต ชีววิทยา สภาวะแวดลอม วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม การอนุรักษและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศ สิ่งแวดลอม เปนตน ทุนการศึกษา 1) ทุนมหาวิทยาลัย สําหรับนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย เปนทุนรายปและทุนตอเนื่อง 2) ทุนฉุกเฉิน สําหรับนักศึกษาที่ประสบเหตุการณรายแรง ที่มีผลกระทบกระเทือนทางเศรษฐกิจของ ครอบครัว โดยจะเสนอใหมหาวิทยาลัยพิจารณาชวยเหลือเปนกรณีๆ ไป 3) กองทุนเงินยืมสําหรับนักศึกษาที่ขาดแคลน


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 7.

66

Mahidol University

สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม หลักสูตรชีววิทยาเชิงอนุรักษ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี 71150 โทรศัพท : (034) 58-5069 ตอ 1326, 1318 โทรสาร : (034) 58-5067 เว็บไซต : www.ka.mahidol.ac.th ศูนยประสานงานวิทยาเขต สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา โทรศัพท : (02) 849-6125 โทรสาร : (02) 849-6126 *******************

4. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรการเกษตร Bachelor of Science in Agricultural Science

1.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคณ ุ สมบัติ ดังนี้ 1) มีทักษะและความรูความสามารถทางวิชาการ ทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ทางดานวิทยาศาสตร การเกษตรแบบครบวงจร ตั้งแตวิทยาศาสตรดานการผลิตพืชเศรษฐกิจ เนนพืชพลังงาน และอาหาร เทคโนโลยีที่เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การปรับปรุงพันธุพืชดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสม จนกระทั่ง อุตสาหกรรมการแปรรูปดานพลังงาน และอาหารที่ไมกระทบตอธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2) มีความรอบรู วิเคราะหปญหาและแกไขไดอยางเปนระบบและสมเหตุผล สามารถประยุกตความรูและ นําไปใชไดอยางเหมาะสม รวมทั้งเปนผูที่มีคุณธรรมและจริยธรรม รับผิดชอบตอชุมชนและ ประเทศชาติ 2. ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ปการศึกษา แตไมเกิน 8 ปการศึกษา 3. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยการจัดการกําหนด 4. วิธีการคัดเลือกนักศึกษา : 4.1 สมัครสอบตามโครงการรับนักศึกษาระบบโควตาของมหาวิทยาลัย 4.1.1 โควตาพื้นที่วิทยาเขตกาญจนบุรี รับสมัครเฉพาะนักเรียนที่อยูในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี และนครปฐม เปดรับสมัครในชวงเดือนสิงหาคม- กันยายน ของทุกป 4.1.2 โควตาในโครงการความถนัดทางวิชาชีพ รับสมัครนักเรียนทั่วไปที่มีความสนใจ และมีความ มุงมั่นที่จะศึกษาและประกอบอาชีพโดยใชความรูทางวิทยาศาสตร เปดรับสมัครในชวงเดือน สิงหาคม – กันยายนของทุกป


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

67

Mahidol University

4.2 สมัครสอบคัดเลือกในระบบแอดมิชชันกลาง โดยสอบคัดเลือกบุคคลทั่วไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ตามระเบียบขอบังคับวาดวย การคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 5. แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น นักศึกษาสามารถประกอบอาชีพอิสระ หรือเขาทํางานในหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เชน กระทรวงเกษตรและสหกรณ บริษัทและหนวยงานผลิตแอลกอฮอลเพื่ออาหารและพลังงาน บริษัทและ หนวยงานที่ผลิตและจําหนายพืชผลทางการเกษตร บริษทั และหนวยงานตรวจวิเคราะหทางการเกษตร บริษัทเมล็ดพันธุ บริษัทปุยและสารเคมีเพื่อการเกษตร บริษัทดานเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร มหาวิทยาลัย วิทยาลัยและสถานศึกษาตางๆ ตลอดจนสามารถศึกษาตอในระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งภายในและ ตางประเทศ ในสาขาที่เกี่ยวของ เชน สาขาวิทยาศาสตรการเกษตร สาขาเกษตร สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาเคมีวิเคราะห สาขาเคมีการเกษตร สาขาพฤกษศาสตร สาขาชีววิทยา สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การอาหาร สาขาชีวโมเลกุล ฯลฯ 6. ทุนการศึกษา 1) ทุนมหาวิทยาลัย สําหรับนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย เปนทุนรายปและทุนตอเนื่อง 2) ทุนฉุกเฉิน สําหรับนักศึกษาที่ประสบเหตุการณรายแรง ที่มีผลกระทบกระเทือนทางเศรษฐกิจของ ครอบครัว โดยจะเสนอใหมหาวิทยาลัยพิจารณาชวยเหลือเปนกรณีๆ ไป 3) กองทุนเงินยืมสําหรับนักศึกษาที่ขาดแคลน สําหรับนักศึกษาที่มีผลการเรียนยอดเยี่ยมสูงที่สุดในชั้นปที่ 1 และผลการเรียนยอดเยี่ยมตลอด หลักสูตรจะไดรับการเสนอชื่อเพื่อรับรางวัลเข็มเกียรติยศ และประกาศนียบัตรจากมูลนิธิศาสตราจารย ดร. แถบ นีละนิธิ 7. สถานทีต่ ิดตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม หลักสูตรวิทยาศาสตรการเกษตร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี 71150 โทรศัพท : (034) 58-5069 โทรสาร : (034) 58-5067 เว็บไซต : www.ka.mahidol.ac.th ศูนยประสานงานวิทยาเขต สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา โทรศัพท : (02) 849-6125 โทรสาร : (02) 849-6126 *********************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

68

Mahidol University

5. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาธรณีศาสตร

Bachelor of Science in Geoscience

1.

2. 3.

4.

5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มี ค วามรอบรู ทั้ง ภาคทฤษฎี แ ละปฏิบัติใ นสาขาวิ ชาธรณี ศ าสตร สาขาที่ เกี่ยวของกับการดํารงชีวิตในปจจุบันและภูมิปญญาทองถิ่น มีความสามารถในการคิด การวิเคราะห และ การบูรณาการอยางเปนระบบ มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถครองตัวอยูในสังคมไดอยางเหมาะสมเต็ม ภาคภูมิ มีความรับผิดชอบและความเกื้อกูลตอสังคม ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ปการศึกษา แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยการจัดการกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา 4.1 สมัครสอบตามโครงการรับนักศึกษาระบบโควตาของมหาวิทยาลัย 4.1.1 โควตาพื้นที่วิทยาเขตกาญจนบุรี รับสมัครเฉพาะนักเรียนที่อยูในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี และนครปฐม เปดรับสมัครในชวงเดือนสิงหาคม- กันยายน ของทุกป 4.1.2 โควตาในโครงการความถนัดทางวิชาชีพ รับสมัครนักเรียนทั่วไปที่มีความสนใจ และมีความ มุงมั่นที่จะศึกษาและประกอบอาชีพโดยใชความรูทางวิทยาศาสตร เปดรับสมัครในชวงเดือน สิงหาคม –กันยายนของทุกป 4.2 สมัครสอบคัดเลือกในระบบแอดมิชชันกลาง โดยสอบคัดเลือกบุคคลทั่วไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ตามระเบียบขอบังคับวาดวยการ คัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น บัณฑิตของหลักสูตรประมาณรอยละ 70 ทํางานในภาคเอกชน เชน บริษัทสํารวจและผลิตปโตรเลีย่ ม บริษัทสํารวจและกอสราง บริษัทเหมืองแร บริษัทที่ปรึกษาดานธรณีวทิ ยา ที่เหลือทํางานในภาคราชการ และศึกษาตอดวยทุนเลาเรียนหลวง และทุนสวนตัว ทั้งในประเทศและตางประเทศ ประมาณรอยละ 5 ประกอบธุรกิจสวนตัว ทุนการศึกษา 1) ทุน พสวท.ระดับปริญญาตรี-โท-เอกของคณะวิทยาศาสตร 2) ทุนมหาวิทยาลัย สําหรับนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย เปนทุนรายปและทุนตอเนื่อง 3) ทุนฉุกเฉิน สําหรับนักศึกษาที่ประสบเหตุการณรายแรง ที่มีผลกระทบกระเทือนทางเศรษฐกิจ ของครอบครัว โดยจะเสนอใหมหาวิทยาลัยพิจารณาชวยเหลือเปนกรณีๆ ไป 4) กองทุนเงินยืมสําหรับนักศึกษาที่ขาดแคลน


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 7.

69

Mahidol University

สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม หลักสูตรธรณีศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี 71150 โทรศัพท : (034) 58-5069 โทรสาร : (034) 58-5067 เว็บไซต : www.ka.mahidol.ac.th ศูนยประสานงานวิทยาเขต สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา โทรศัพท : (02) 849-6125 โทรสาร : (02) 849-6126 *********************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

70

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรนานาชาติ

Mahidol University


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

71

Mahidol University


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

72

Mahidol University

หลักสูตรนานาชาติ 1. วิ ท ยาลั ย นานาชาติ 1. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Science in Food Science and Technology (International Program)

1.

2. 3.

4. 5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรู ความสามารถในสาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหาร ทัดเทียมกับมาตรฐานสากล 2) มีความรูภาษาอังกฤษเปนอยางดี ไดนําภาษาอังกฤษไปใชศึกษาหาความรู และสามารถติดตอและ ทําธุรกิจกับตางประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ 3) มีความรูทั่วไป อันจะนําไปสูการเปนพลเมืองดีของประเทศและโลก 4) ผลิตนักวิทยาศาสตรการอาหารที่มีทั้งความรูและคุณธรรม ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถ ทั้งในดานพื้นความรู ในระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษ แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) การตลาดในดานเครื่องมือเทคนิค หรือสวนประกอบ 2) ตําแหนงการควบคุมคุณภาพ หรือ ตําแหนงการประกันคุณภาพ 3) การพัฒนาและวิจัยผลิตภัณฑอาหาร 4) ผูประกอบการธุรกิจ 5) ประกอบธุรกิจของครอบครัว 6) ลูกคาสัมพันธของบริษทั ดานการอาหาร 7) บัณฑิตวิทยาลัยในดานเทคโนโลยีชีวภาพ วิทยาศาสตรการอาหาร ทั้งในประเทศและตางประเทศ 8) ศึกษาตอในดานบริหารธุรกิจ หรือในดานการตลาดระหวางประเทศ และอื่น ๆ ทั้งในและตางประเทศ สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 0-2441-5090 โทรสาร : 0-2441-06294 เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th ****************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

73

Mahidol University

2. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรชีวภาพ (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Science in Biological Sciences (International Program) 1.

2. 3.

4.

5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคณ ุ สมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูค วามเขาใจของหลักการทางดานชีววิทยาและมองเห็นภาพความเปนไปในธรรมชาติและความ หลากหลายทางชีวภาพ ความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตรูปแบบตาง ๆ 2) มีความรูความเขาใจหลักการตาง ๆ ทางการแพทย เพื่อสามารถออกไปประกอบอาชีพเปน นักวิทยาศาสตรในภาคอุตสาหกรรม การผลิตสารชีวภาพ เพื่อสุขภาพและเพื่อการศึกษาตอในะดับ บัณฑิตศึกษาทางดานวิทยาศาสตรการแพทยและแพทยศาสตร ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรูใน ระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) การตลาดในดานเครื่องมือเทคนิค หรือสวนประกอบ 2) ตําแหนงการควบคุมคุณภาพ หรือ ตําแหนงการประกันคุณภาพ 3) การพัฒนาและวิจัย 4) ผูประกอบการธุรกิจ 5) ประกอบธุรกิจของครอบครัว 6) พนักงานในบริษัทที่เกี่ยวของกับ วิทยาศาสตรชีวภาพ 7) บัณฑิตวิทยาลัยในดานชีวภาพ ทั้งในประเทศและตางประเทศ สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 02-441-5090 โทรสาร : 02-441-0629 เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th

****************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

74

Mahidol University

3. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Science in Chemistry (International Program) 1.

2. 3.

4.

5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรู ความสามารถ ตามมาตรฐานของนานาชาติในสาขาวิชาเคมี 2) มีความรูความสามารถพรอมในการใชภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถใชภาษาอังกฤษใน การศึกษาตอมหาวิทยาลัยตางประเทศ หรือใชภาษาอังกฤษเพื่อติดตอธุรกิจในสาขาเคมี 3) มีความรูและสามารถนําความรูและความสามารถไปในการทํางานและอยูในสังคมรวมกับผูอื่นไดอยาง มีประสิทธิภาพ 4) เพื่อใหเกิดความรวมมือระหวางหนวยงาน กอใหเกิดบูรณาการทางวิชาการไดอยางกวางขวาง ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรูใน ระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ แนวทางในการประกอบอาชีพ/ แนวทางในการศึกษาในระดับทีส่ ูงขึ้น 1) การตลาดในดานเครื่องมือเทคนิค หรือสวนประกอบ 2) ตําแหนงการควบคุมคุณภาพ หรือ ตําแหนงการประกันคุณภาพ 3) การพัฒนาและวิจัย 4) ผูประกอบการธุรกิจ 5) ประกอบธุรกิจของครอบครัว 6) พนักงานในบริษัทที่เกี่ยวของกับ ปโตรเคมี ปโตรเลียม และธุรกิจเกี่ยวกับยานยนต 7) บัณฑิตวิทยาลัยในดานเคมี ชีวภาพเคมี วิศวกรเคมีปโตรเลียม ทั้งในประเทศและตางประเทศ 8) ศึกษาตอในดานบริหารธุรกิจ หรือในดานการตลาดระหวางประเทศ และอื่น ๆ ทั้งในและตางประเทศ สถานที่ติดตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 02-441-5090 โทรสาร : 02-441-0629 Website : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th ******************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

75

Mahidol University

4. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาฟสิกส (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Science in Physic (International Program) 1.

2. 3.

4.

5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถทางวิชาการในรากฐานของวิชาฟสิกส มีทัศนคติและเจตคติที่ดี 2) มีความรูท างภาษาอังกฤษเปนอยางดี เพื่อใชศึกษาหาความรู และสามารถศึกษาตอในมหาวิทยาลัย ตางประเทศได 3) มีความรูท ั่วไป พรอมทัง้ มีจริยธรรมอันจะนําไปสูการเปนพลเมืองที่ดี ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรู ในระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ แนวทางในการประกอบอาชีพ/ แนวทางในการศึกษาในระดับทีส่ ูงขึ้น 1) ตําแหนงการควบคุมคุณภาพ หรือ ตําแหนงการประกันคุณภาพ 2) การพัฒนาและวิจัย 3) ผูประกอบการธุรกิจ 4) ประกอบธุรกิจของครอบครัว 5) พนักงานในบริษัท 6) บัณฑิตวิทยาลัยในดานฟสิกส ทั้งในประเทศและตางประเทศ 7) ศึกษาตอในสาขาวิชาอื่น ๆ เชน ดานบริหารธุรกิจ หรือในดานการตลาดระหวางประเทศ และอื่น ๆ ทั้งใน และตางประเทศ สถานทีต่ ิดตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 0-2441-5090 โทรสาร : 0-2441-0629 เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th

********************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

76

Mahidol University

5. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Science Program in Applied Mathematics (International Program) 1.

2. 3.

4.

5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถทางวิชาการในรากฐานของวิชาคณิตศาสตรประยุกต มีทัศนคติและเจตคติที่ดี 2) มีความรูท างภาษาอังกฤษเปนอยางดี เพื่อใชศึกษาหาความรู และสามารถศึกษาตอในมหาวิทยาลัย ตางประเทศได 3) เพื่อใหผูเรียนมีความรูทั่วไป พรอมทัง้ มีจริยธรรมอันจะนําไปสูการเปนพลเมืองที่ดี ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรูใน ระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ แนวทางในการประกอบอาชีพ/ แนวทางในการศึกษาในระดับทีส่ ูงขึ้น 1) ตําแหนงการควบคุมคุณภาพ หรือ ตําแหนงการประกันคุณภาพ 2) การพัฒนาและวิจัย 3) ผูประกอบการธุรกิจ 4) ประกอบธุรกิจของครอบครัว 5) พนักงานในบริษัท 6) บัณฑิตวิทยาลัยในดานคณิตศาสตรประยุกต ทั้งในประเทศและตางประเทศ 7) ศึกษาตอในสาขาวิชาอื่น ๆ เชน ดานบริหารธุรกิจ หรือในดานการตลาดระหวางประเทศ และอื่น ๆ ทั้งในและตางประเทศ สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิม่ เติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 02-441-5090 โทรสาร : 02-441-0629 เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th ************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

77

Mahidol University

6. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Science in Computer Science (International Program)

1.

2. 3.

4.

5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรู มีคณ ุ ธรรม มีความสามารถทางดานวิทยาการคอมพิวเตอรพรอม ทักษะภาษาอังกฤษที่ เหมาะสมกับความตองการของภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรมตาง ๆ และสามารถประยุกตความรูได เปนอยางดี 2) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีจริยธรรม มีความคิดริเริ่ม รูจกั ใชความรูความสามารถของตนเองในการวิเคราะห คนควา พัฒนาฮารดแวร สรางโปรแกรมคอมพิวเตอรและซอฟตแวร เหมาะสมกับการใชงานใน รูปแบบตาง ๆ 3) เพื่อผลิตบัณฑิตที่มคี วามรูพื้นฐานเพียงพอสําหรับการศึกษาในระดับสูงตอไปในสาขาตาง ๆ ที่เกี่ยวของ กับวิทยาการคอมพิวเตอร ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรูใน ระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ แนวทางในการประกอบอาชีพ/ แนวทางในการศึกษาในระดับทีส่ ูงขึ้น 1) ตําแหนงการควบคุมคุณภาพ หรือ ตําแหนงการประกันคุณภาพ 2) การพัฒนาและวิจัย 3) ผูประกอบการธุรกิจ 4) ประกอบธุรกิจของครอบครัว 5) พนักงานในบริษัท 6) บัณฑิตวิทยาลัยในดานวิทยาการคอมพิวเตอร ทั้งในประเทศและตางประเทศ 7) ศึกษาตอในสาขาวิชาอืน่ ๆ เชน ดานบริหารธุรกิจ หรือในดานการตลาดระหวางประเทศ และอื่น ๆ ทั้งในและตางประเทศ สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 0-2441-5090 โทรสาร : 0-2441-0629 E-mail : icdad@mahidol.ac.th เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th **************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

78

Mahidol University

7. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Science in Environmental Science (International Program) 1.

2. 3.

4.

5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคณ ุ สมบัติ ดังนี้ 1) มีความรู ความสามารถ ในการใชทรัพยากรสิ่งแวดลอมอยาง มีคุณธรรม จริยธรรม มีความคิดริเริ่ม และเปนพลเมืองดีของประเทศและของโลกที่ติดตอรวมงานกัน โดยใชภาษาอังกฤษเปนสื่อ 2) ผลิตนักวิชาการที่มีความรูความเขาใจในความรูพื้นฐานทางวิทยาศาสตร การบริหารจัดการ สิ่งแวดลอม และเครือขายงานทางดานสิ่งแวดลอมเปนอยางดี 3) มีความพรอมตอการศึกษาในระดับหลังปริญญา สาขาทางสิ่งแวดลอมหรือสาขาอื่นที่เกี่ยวของใน สถาบันอุดมศึกษาทั้งในและตางประเทศ 4) เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพในการใชทรัพยากรรวมกัน รวมถึงการบริหารจัดการในดานตาง ๆ ระหวางวิทยาลัยนานาชาติ คณะวิทยาศาสตร และคณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 5) ใหเกิดความรวมมือระหวางหนวยงาน กอใหเกิดบูรณาการทางวิชาการไดอยางกวางขวาง ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรูใน ระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ แนวทางในการประกอบอาชีพ/ แนวทางในการศึกษาในระดับทีส่ ูงขึ้น 1) นักศึกษาสิ่งแวดลอมจะเรียนรูการใชหลักสหสัมพันธวิทยาในการตรวจวัดหาปริมาณคาดคะเน และ แกไขปญหาสิ่งแวดลอม โดยการบูรณาการความรูจากสาขาวิชาตาง ๆ ตามความเหมาะสม 2) นักศึกษาทีจ่ บหลักสูตรนี้มโี อกาสในการทํางานในโรงงานเอกชนและองคกรของรัฐ ทีเ่ กี่ยวกับการประเมิน คุณภาพสิ่งแวดลอม และการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม 3) เปนนักวิชาการทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 4) สามารถใหคําแนะนําดานสิ่งแวดลอมและทรัพยากรในภาครัฐ อีกทั้งในสายการผลิตและภาคธุรกิจ สินคา และบริการตาง ๆ ยังตองอาศัยความรู ความเขาใจในเทคโนโลยีที่ปลอดภัยดานสิ่งแวดลอมใน การเฝาระวัง การลดมลพิษเพื่อการแขงขัน สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 02-441-5090 โทรสาร : 02-441-0629 E-mail : icdad@mahidol.ac.th เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th *******************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

79

Mahidol University

8. หลักสูตร : พยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Nursing Science (International Program) 1.

2. 3.

4. 5. 6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูในศาสตรทางการพยาบาล และศาสตรที่เกี่ยวของในการปฏิบัติการพยาบาลแบบองครวม แกบุคคล ครอบครัว และชุมชนของสังคมโดยรวม 2) ใหบริการพยาบาล โดยมุงเนนการวิเคราะหแกปญหา และตัดสินใจอยางมีเหตุผลบนพื้นฐานขอหลัก วิชาการ คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 3) ใชกระบวนการพยาบาล และกระบวนการบริหารจัดการในการดูแลบุคคลครอบครัวและชุมชน แบบองครวม ทั้งในระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ 4) ใหบริการสุขภาพอนามัยดานการสงเสริมสุขภาพ ปองกัน และฟนฟูสภาพเพื่อแกปญหาการเจ็บปวย บรรเทาอาการใหการรักษาเบื้องตน ตามขอบเขตของวิชาชีพและตามกฎหมายที่เกี่ยวของ 5) ปฏิบัตบิ ทบาทในความรับผิดชอบ โดยมุงเนนการทํางานเปนทีม การมีสวนรวมของชุมชน การประสาน งานกับบุคคลที่เกี่ยวของ การประยุกตความรูที่ทันสมัยจากแหลงขอมูลและการใชภูมิปญญาทองถิ่น 6) มีทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ แสวงหาความรู และพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง ทั้งดาน วิชาการ การวิจัย และการปฏิบัติพยาบาลอันเปนการสงเสริมความกาวหนาของวิชาชีพ 7) มีทักษะทางการสื่อสาร สามารถสรางสัมพันธภาพกับผูใ ชบริการ และผูท ี่เกี่ยวของ มีความเอื้ออาทร และ ปฏิบัติงานเพือ่ ประโยชนสวนรวมและองคกรวิชาชีพ 8) รูจักตนเองมีวินัย มีความรับผิดชอบ มั่นใจในตนเอง มีความคิดสรางสรรค กลาแสดงออกอยาง เหมาะสม และมีการบริหารจัดการที่ดี 9) มีเจตคติที่ดตี อ ตนเอง ผูอนื่ และวิชาชีพ รูจ ักพึ่งตนเอง และดํารงชีวิตที่ดีงามในสังคมอยางมีความสุข ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา : วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรูใน ระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) เปนพยาบาลทั้งในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน 2) ศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นทางดานพยาบาลศาสตร สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 02-441-5090 โทรสาร : 02-441-0629 เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th *******************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

9. หลักสูตร :

1.

2. 3.

4.

5.

6.

80

Mahidol University

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Engineering in Computer Engineering (International Program)

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ดวยมาตรฐาน ระดับนานาชาติ ผูสามารถนําความรูไปทํางานอยางมีประสิทธิภาพในสมัยโลกาภิวตั น 2) สามารถวิเคราะห คนหางานวิจัย และพัฒนางานทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอรในประเทศไทยและ ตางประเทศ 3) มีความรับผิดชอบตอหนาทีแ่ ละสังคม รวมทั้งมีความเปนผูนาํ มีคุณธรรม มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ ตระหนักในคุณคาของทรัพยากรสิ่งแวดลอม และนําความรูไปใชเพื่อประโยชนของมนุษยชาติ 4) สนับสนุนการคนควาและการใหบริการวิชาการทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอร และวิศวกรรมสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา มีหนวยกิตเฉลี่ยไมต่ํากวา 2.50 (หรือรอยละ 75) 2) คะแนน SAT ≥ 1650 (โดยคะแนนทางดานคณิตศาสตร > 580) และคะแนนโทเฟล ≥ 550 (≥ 213 สําหรับการสอบดวยคอมพิวเตอร) หรือ IELTS ≥ 6.0; หรือเปนผูผา นการสอบขอเขียนของ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีวิชาภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตรทั่วไป และ เหตุการณปจจุบัน วิธีการคัดเลือกนักศึกษา สอบขอเขียนและสอบสัมภาษณ การพิจารณาสุดทายขึน้ อยูกับคณะกรรมการที่แตงตั้งโดยโครงการจัดตั้ง ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร และวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น เมื่อสําเร็จการศึกษา นักศึกษาสามารถประกอบอาชีพ เชน ทํางานอิสระ นักประดิษฐ ผูฝกสอน โปรแกรมเมอร นักวิเคราะหระบบ นักบริหารเครือขาย นักบริหารฐานขอมูล ตําแหนงวิชาการในการ วิจัย งานรัฐวิสาหกิจ รับราชการ ตําแหนงในองคกร/สถาบันนานาชาติ หรือที่ไมมุงผลกําไร ลงทุนในธุรกิจ ทํางานในธุรกิจของครอบครัว หรือศึกษาตอในสาขาตางๆ ไดเกือบทุกสาขา เชน นาโนเทคโนโลยี เอ็มบีเอ ลอจิสติกส และเศรษฐศาสตร ทุนการศึกษา วิทยาลัยนานาชาติมีทุนการศึกษาสําหรับนักศึกษาของหลักสูตรตางๆ ผูสมัครรับทุนตองมีเกรดเฉลี่ย 2.5 ขึ้นไป และลงทะเบียนเรียนแลวไมตา่ํ กวา 12 หนวยกิต ผูสนใจสงใบสมัครและเอกสารประกอบไดที่ฝาย การศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ คณะกรรมการทุนการศึกษาของวิทยาลัยนานาชาติเปนผูคัดเลือกผูไ ดรับทุนการ ศึกษา ทุนนี้มอบเงินใหนักศึกษาไมเกินปละ 50,000 บาทตอคน โดยมีทุนการศึกษาทั้งสิ้น 10 ทุนในแตละ ปการศึกษา


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 7.

81

Mahidol University

สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 02-441-5090 โทรสาร : 02-441-0234 Website : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th

*******************

10. หลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Arts in Social Science (International Program) 1.

2. 3.

4.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถทางวิชาการในรากฐานของวิชาสังคมศาสตร มีทัศนคติ และเจตคติที่ดี 2) มีความรูความเขาใจโครงสรางและลักษณะทางสังคม โดยเฉพาะสังคมไทยและสังคมในภูมิภาคเอเชีย อาคเนย 3) สามารถคิด วิเคราะห สังเคราะห สังคมไทยและสังคมภูมิภาคเอเชียอาคเนยไดอยางมีหลักการและเปน ระบบ โดยวิธที างวิทยาศาสตร 4) สามารถนําความรูไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนสูงสุดในการวิจัยการดํารงชีวิต ทํางานหรือติดตอสัมพันธ กับสังคมไทยหรือในภูมิภาคเอเชียอาคเนย 5) เปนพื้นฐานในการศึกษาวิจยั สังคม และสังคมเปรียบเทียบในระดับที่สูงขึ้นตอไป ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษาร และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรู ในระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 5.

6.

82

Mahidol University

แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) นักศึกษาจะไดเรียนรูและวิเคราะหเหตุการณความเปนไปในโลกทั้งอดีต ปจจุบัน และอนาคต 2) นักศึกษาที่จบหลักสูตรนี้มีโอกาสในการทํางานในองคกรของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวของ เชน องคการ สหประชาชาติ สถานทูต หรือ NGO หรือบริษัทขามชาติตา งๆ 3) เปนนักวิชาการทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 4) ทํางานดานสื่อสารมวลชน การวิเคราะหขาวสาร คอลัมนนิสต สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 02-441-5090 โทรสาร : 02-441-0234 เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th

*******************

11. หลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการผลิตแอมิเนชัน (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Arts in Animation Production (International Program) 1.

2. 3.

4.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถที่จะปฏิบัติหนาที่ดวยมาตรฐานระดับสากลในการผลิตแอนิเมชัน 2) ไดพฒ ั นาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพในมหาวิทยาลัยในตางประเทศ และ/หรือสภาพแวดลอมที่เปนนานาชาติ 3) มีความรูพื้นฐาน เพื่อการทํางานในยุคที่โลกไรพรมแดนไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถทํางาน และอยูรวมกับผูคนหลากหลายเชื้อชาติและวัฒนธรรมไดอยางราบรื่นกลมกลืน 4) สามารถทํางานในฐานะนักวิชาชีพดานการผลิตแอนิเมชัน โดยใชทั้งความรูเฉพาะสาขา และความรู พื้นฐานทางดานศิลปศาสตร 5) สามารถประยุกตใชความรูและมนุษยธรรมในการยกระดับคุณภาพของสื่อและสังคมยุคสารสนเทศได ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) จบการศึกษาระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง 2) ผานการสอบขอเขียนและสัมภาษณตามเกณฑที่วิทยาลัยนานาชาติกําหนด 3) ผานการสอบดาน Creative Idea และการวาดรูป วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรูใน ระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ


83

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 5.

6.

Mahidol University

แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ผูผลิตสื่อบันเทิง ผูกํากับ ผูอ ํานวยการสราง นักเขียนบท ฝายจัดแสง เปนตน 2) ทํางานในอุตสาหกรรมบันเทิง ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับสากล 3) ผูประกอบการดานสื่อบันเทิง 4) นักวิจัยสื่อ นักบริหารและพัฒนานโยบายดานสื่อ 5) ศึกษาตอระดับปริญญาโทดานสื่อและนิเทศศาสตร เชน โทรทัศนศกึ ษา โทรทัศน และวีดีโอ การผลิต สื่อโทรทัศน ภาพยนตรศึกษา การผลิตภาพยนตร เทคโนโลยีและสือ่ ชนิดใหม สือ่ สารมวลชน การ บริหารโทรทัศน การบริหารงานบันเทิง การออกแบบคอมพิวเตอรกราฟฟก การศึกษาดานเทคโนโลยี เปนตน (ทั้งในและนอกประเทศไทย) 6) ศึกษาตอระดับปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจ หรือปริญญาโทดานสังคมวิทยา มนุษยศาสตร การตลาดระดับสากล เปนตน (ทั้งในและนอกประเทศไทย) สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 02-441-5090 โทรสาร : 02-441-0629 เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th ****************************

12. หลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการผลิตภาพยนตร (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Arts in Film Production (International Program)

1. วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถที่จะปฏิบัติหนาที่ดวยมาตรฐานระดับสากลในการผลิตภาพยนตร 2) พัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพในมหาวิทยาลัย ในตางประเทศ และ/หรือสภาพแวดลอมที่เปนนานาชาติ 3) มีความรูพื้นฐาน เพื่อการทํางานในยุคที่โลกไรพรมแดนไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถทํางาน และอยูรวมกับผูคนหลากหลายเชื้อชาติและวัฒนธรรมไดอยางราบรื่นกลมกลืน 4) สามารถทํางานในฐานะนักวิชาชีพดานการผลิตภาพยนตร โดยใชทั้งความรูเฉพาะสาขา และความรู พื้นฐานทางดานศิลปะศาสตร 5) สามารถประยุกตใชความรูและมนุษยธรรมในการยกระดับคุณภาพของสื่อและสังคมยุคสารสนเทศได 2. ระยะเวลาในการศึกษา

: 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

84

Mahidol University

3. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) จบการศึกษาระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง 2) ผานการสอบขอเขียนและสัมภาษณตามเกณฑที่วิทยาลัยนานาชาติกําหนด 3) ผานการสอบดาน Creative Idea 4. วิธีการคัดเลือกนักศึกษา ผูสมัครจะตองสอบขอเขียนและสอบสัมภาษณ คณะกรรมการสอบเขาอันประกอบดวยตัวแทนจาก วิทยาลัยนานาชาติและผูเชี่ยวชาญดานสื่อบันเทิงจะเปนผูตัดสินขั้นสุดทาย 5. แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ผูผลิตสื่อบันเทิง ผูกาํ กับ ผูอาํ นวยการสราง นักเขียนบท ฝายจัดแสง เปนตน 2) ทํางานในอุตสาหกรรมบันเทิง ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับสากล 3) ผูประกอบการดานสื่อบันเทิง 4) นักวิจัยสือ่ นักบริหารและพัฒนานโยบายดานสื่อ 5) ศึกษาตอระดับปริญญาโทดานสื่อและนิเทศศาสตร เชน โทรทัศนศึกษา โทรทัศน และวีดีโอ การผลิตสื่อ โทรทัศน ภาพยนตรศึกษา การผลิตภาพยนตร เทคโนโลยีและสื่อชนิดใหม สื่อสารมวลชน การบริหาร โทรทัศน การบริหารงานบันเทิง การออกแบบ คอมพิวเตอร กราฟฟก การศึกษาดานเทคโนโลยี เปนตน (ทั้งในและนอกประเทศไทย) 6) ศึกษาตอระดับปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจ หรือปริญญาโทดานสังคมวิทยา มนุษยศาสตร การตลาดระดับสากล เปนตน (ทั้งในและนอกประเทศไทย) 6. สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 02-441-5090 โทรสาร : 02-441-0629 เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th ************************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

85

Mahidol University

13. หลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการผลิตสื่อโทรทัศน (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Arts in Television Production (International Program)

1.

2. 3.

4.

5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถที่จะปฏิบัติหนาที่ดวยมาตรฐานระดับสากลในการผลิตสื่อโทรทัศน 2) พัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพในมหาวิทยาลัยในตางประเทศ และ/หรือสภาพแวดลอมที่เปนนานาชาติ 3) มีความรูพื้นฐาน เพื่อการทํางานในยุคที่โลกไรพรมแดนไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถทํางาน และอยูรวมกับผูคนหลากหลายเชื้อชาติและวัฒนธรรมไดอยางราบรื่นกลมกลืน 4) สามารถทํางานในฐานะนักวิชาชีพดานการผลิตสื่อโทรทัศน โดยใชทั้งความรูเฉพาะสาขา และความรู พื้นฐานทางดานศิลปศาสตร 5) สามารถประยุกตใชความรูและมนุษยธรรมในการยกระดับคุณภาพของสื่อและสังคมยุคสารสนเทศได ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) จบการศึกษาระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง 2) ผานการสอบขอเขียนและสัมภาษณตามเกณฑที่วิทยาลัยนานาชาติกําหนด 3) ผานการสอบดาน Creative Idea วิธีการคัดเลือกนักศึกษา ผูสมัครจะตองสอบขอเขียนและสอบสัมภาษณ คณะกรรมการสอบเขาอันประกอบดวยตัวแทนจาก วิทยาลัยนานาชาติและผูเชี่ยวชาญดานสื่อบันเทิงจะเปนผูตัดสินขั้นสุดทาย แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ผูผลิตสื่อบัณเทิง ผูกํากับ ผูอํานวยการสราง นักเขียนบท ฝายจัดแสง เปนตน 2) ทํางานในอุตสาหกรรมบันเทิง ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับสากล 3) ผูประกอบการดานสื่อบันเทิง 4) นักวิจัยสื่อ นักบริหารและพัฒนานโยบานดานสื่อ 5) ศึกษาตอระดับปริญญาโทดานสื่อและนิเทศศษสตร เชน โทรทัศนศึกษา โทรทัศน และวีดีโอ การผลิตสื่อ โทรทัศน ภาพยนตรศึกษา การผลิตภาพยนตร เทคโนโลยีและสื่อชนิดใหม สื่อสารมวลชน การบริหารโทรทัศน การบริหารงานบันเทิง การออกแบบคอมพิวเตอร กราฟฟก การศึกษาดาน เทคโนโลยี เปนตน (ทั้งในและนอกประเทศ) สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 02-441-5090 โทรสาร : 02-441-0629 E-mail : icdad@mahidol.ac.th เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th *********************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

86

Mahidol University

14. หลักสูตร : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการออกแบบนิเทศศิลป (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Arts in Communication Design (International Program)

1.

2. 3.

4.

5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีพื้นฐานแนนในทักษะแนวคิดและทฤษฎีการออกแบบ 2) มีตัวอยางงาน (Portfolio) ที่แสดงใหเห็นถึงความสามารถในการออกแบบและความพรอมในการทํางานไดจริง 3) มีความสามารถและความพรอมในการศึกษาขั้นสูงตอไป 4) มีความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในการสื่อสาร (พูด อาน เขียน) ไดดีเยี่ยม 5) มีความสามารถในการทํางานจริง มีความเขาใจสภาพสังคมและสภาพแวดลอมที่มีผลกับการทํางานไดอยางดี ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) สําเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมปลาย และ 2) สอบภาษาอังกฤษ TOEFL ≥ 550; IELTS ≥ 6.0; SAT ≥ 1650 (คะแนนคณิตศาสตรไมนอยกวา 580) และ 3) ไดคะแนนสอบเขาตามเกณฑที่วิทยาลัยกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา ผูสมัครจะตองสอบขอเขียนและสอบสัมภาษณ การพิจารณาขั้นสุดทายจะขึ้นอยูกับคณะกรรมการวิทยาลัย นานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลแตงตั้ง แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น ครีเอทีฟ/ผูกํากับศิลป นักออกแบบเอกลักษณทางการคา (Brand/ Identity Designer) นักออกแบบเว็บไซต นักออกแบบสื่อมัลติมีเดีย นักออกแบบตราสัญลักษณ (Logo Designer) นักออกแบบบรรจุภัณฑ นักออกแบบ สื่อโฆษณา นักออกแบบกราฟฟคเพื่อสภาพแวดลอม (Environmental Graphic Designer) นักออกแบบ ภาพประกอบ นักออกแบบกราฟฟค ชางศิลปโฟโตชอป (Photo Editing/Photoshop Artist) นักจัดวางเลยเอาท นัก เทคนิคเตรียมการผลิต (Pre-press Technician) นักเทคนิคภาพประกอบ (Technical Illustrator) สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 0-2441-5090 โทรสาร : 0-2441-0629 E-mail : icdad@mahidol.ac.th เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th *********************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

87

Mahidol University

15. หลักสูตร : บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาธุรกิจระหวางประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Business Administration in International Business (International Program)

1. วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีการศึกษาไดรับความรู และความเขาใจถึงความสัมพันธของรูปแบบธุรกิจและระบบเศรษฐกิจเชิงมหภาค ในการที่จะปรับองคกรใหเขากับสภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจระดับโลก 2) มีความชํานาญในสาขาวิชาธุรกิจระหวางประเทศ เพื่อสามารถวิเคราะหและหาสาเหตุของปญหาท เกิดขึ้น เพื่อใชในการตัดสินใจขององคกรใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 3) มีความสามารถในการวิเคราะหสถานการณทางเศรษฐกิจไดทั้งเชิงลึกและเชิงกวาง เพื่อที่จะทําให องคกรมีมูลคาสูงสุด 4) มีสัมมาชีพในสังคมและสังคมตางประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 2. ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา 3. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด 4. วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรูใน ระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ 5. แนวทางในการประกอบอาชีพ/ แนวทางในการศึกษาในระดับทีส่ ูงขึ้น 1) นักวิเคราะหที่ทํางานในภาคเอกชน 2) นักวิจัยในสถาบันวิจัย และ/หรือ ธุรกิจที่ใหบริการดานขอมูล 3) พนักงานรัฐวิสาหกิจ 4) ขาราชการในหนวยงานตางๆ ของภาครัฐ 5) ตําแหนงงานในองคกรหรือหนวยงานระหวางประเทศ หรือองคกรที่ไมหวังผลกําไร 6) เปนเจาของกิจการ 7) รับชวงการดําเนินงานของครอบครัว 8) ศึกษาตอในระดับปริญญาโททางดานบริหารธุรกิจ ทั้งในและตางประเทศ 6. สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 02-441-5090 โทรสาร : 02-441-0629 E-mail : icdad@mahidol.ac.th เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th *************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

88

Mahidol University

16. หลักสูตร : บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการเงิน (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Business Administration in Finance (International Program) 1. วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีการศึกษาไดรับความรูและความเขาใจถึงความสัมพันธของรูปแบบธุรกิจและระบบเศรษฐกิจ เชิงมหภาค ในการที่จะปรับองคกรใหเขากับสภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจ 2) มีความชํานาญในทางธุรกิจเฉพาะดานการเงิน 3) มีความสามารถในการวิเคราะหสถานการณทางเศรษฐกิจ 4) มีสัมมาชีพในสังคมและสังคมตางประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 2. ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา 3. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด 4. วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรู ในระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ 5. แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) นักวิเคราะหที่ทํางานในภาคเอกชน 2) นักวิจัยในสถาบันวิจัย และ/หรือ ธุรกิจที่ใหบริการดานขอมูล 3) พนักงานรัฐวิสาหกิจ 4) ขาราชการในหนวยงานตางๆ ของภาครัฐ 5) ตําแหนงงานในองคกรหรือหนวยงานระหวางประเทศ หรือองคกรที่ไมหวังผลกําไร 6) เปนเจาของกิจการ 7) รับชวงการดําเนินงานของครอบครัว 8) ศึกษาตอในระดับปริญญาโททางดานบริหารธุรกิจ ทั้งในและตางประเทศ 6. สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 0-2441-5090 โทรสาร : 0-2441-0629 Website : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th ***********************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

89

Mahidol University

17. หลักสูตร : บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการตลาด (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Business Administration in Marketing (International Program) 1. วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) ใหผูสําเร็จการศึกษาไดรับความรู และความเขาใจถึงความสัมพันธของรูปแบบธุรกิจและระบบเศรษฐกิจ เชิงมหภาค ในการที่จะปรับองคกรใหเขากับสภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจ 2) ใหผูสําเร็จการศึกษามีความชํานาญในดานการบริหารการตลาด และสามารถ วิเคราะหและหาสาเหตุ ของปญหาทางการตลาดเพื่อใชในการตัดสินใจขององคกรใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล 3) ใหผูสําเร็จการศึกษามีความสามารถในการวิเคราะหสถานการณทางเศรษฐกิจ และสถานการณทาง การตลาด ไดทั้งเชิงลึกและเชิงกวาง เพื่อที่จะทําใหองคกรมีความไดเปรียบทางธุรกิจเหนือคูแขงในตลาด 4) ใหมีสัมมาชีพในสังคมและสังคมตางประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 2. ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป 3. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด 4. วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรูใน ระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ 5. แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) นักวิเคราะหที่ทํางานในภาคเอกชน 2) นักวิจัยในสถาบันวิจัย และ/หรือ ธุรกิจที่ใหบริการดานขอมูล 3) พนักงานรัฐวิสาหกิจ 4) ขาราชการในหนวยงานตางๆ ของภาครัฐ 5) ตําแหนงงานในองคกรหรือหนวยงานระหวางประเทศ หรือองคกรที่ไมหวังผลกําไร 6) เปนเจาของกิจการ 7) รับชวงการดําเนินงานของครอบครัว 8) ศึกษาตอในระดับปริญญาโททางดานบริหารธุรกิจ ทั้งในและตางประเทศ 6. สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 02-441-5090 โทรสาร : 02-441-0629 E-mail : icdad@mahidol.ac.th เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th ******************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

90

Mahidol University

18. หลักสูตร : บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาระบบสารสนเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Business Administration in Information System (International Program)

1.

2. 3.

4.

5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคณ ุ สมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูและความเขาใจถึงความสัมพันธของรูปแบบธุรกิจและระบบสารสนเทศ เพื่อสามารถปรับ ระบบสารสนเทศขององคกรในสภาพแวดลอมที่มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลาอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 2) มีความเชีย่ วชาญในดานการบริหารจัดการธุรกิจสารสนเทศ 3) มีสัมมาชีพในสังคม และสังคมตางประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรูใน ระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ แนวทางประกอบอาชีพ/ แนวทางในการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) นักวิเคราะหที่ทํางานในภาคเอกชน 2) นักวิจัยในสถาบันวิจัย และ/หรือ ธุรกิจที่ใหบริการดานขอมูล 3) พนักงานรัฐวิสาหกิจ 4) ขาราชการในหนวยงานตางๆ ของภาครัฐ 5) ตําแหนงงานในองคกรหรือหนวยงานระหวางประเทศ หรือองคกรที่ไมหวังผลกําไร 6) เปนเจาของกิจการ 7) รับชวงการดําเนินงานของครอบครัว 8) ศึกษาตอในระดับปริญญาโททางดานบริหารธุรกิจ ทั้งในและตางประเทศ สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 0-2441-5090 โทรสาร : 0-2441-0629 E-mail : icdad@mahidol.ac.th เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th

**********************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

91

Mahidol University

19. หลักสูตร : บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตรธุรกิจ (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Business Administration in Business Economics (International Program)

1.

2. 3.

4. 5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถเทียบเทาหรือสูงกวามาตรฐานของหลักสูตรที่ เกี่ยวของกับการบริหารธุรกิจใน ตางประเทศ 2) เปนนักธุรกิจที่มีความสามารถในการนําความรูดานเศรษฐศาสตร ทักษะการวิเคราะห และพื้นฐาน ดานศิลปศาสตรไปใชเพื่อประโยชนของตนเองและสังคม 3) มีความรูความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ และความรูจากการศึกษาในการทํางานและประกอบ ธุรกิจทั้งในและตางประเทศ 4) สามารถนําความรูไปประยุกตใชในการทํางานในยุคโลกาภิวัตนไดอยางมีประสิทธิภาพ อีกทั้งสามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นที่มาจากวัฒนธรรมตาง ๆ ได 5) มีคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อใหสามารถดําเนินชีวิตและตัดสินใจภายใตสถานการณตางๆ ไดอยางถูกตอง ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา วิทยาลัยแตงตัง้ คณะกรรมการดําเนินการสอบเพื่อคัดเลือกผูมีความรู ความสามารถทั้งในดานพืน้ ความรูใน ระดับมัธยมศึกษา และความสามารถในภาษาอังกฤษเขาศึกษาในหลักสูตรนี้โดยเฉพาะ แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) นักวิเคราะหที่ทํางานในภาคเอกชน 2) นักวิจัยในสถาบันวิจัย และ/หรือ ธุรกิจที่ใหบริการดานขอมูล 3) พนักงานรัฐวิสาหกิจ 4) ขาราชการในหนวยงานตางๆ ของภาครัฐ 5) ตําแหนงงานในองคกรหรือหนวยงานระหวางประเทศ หรือองคกรที่ไมหวังผลกําไร 6) เปนเจาของกิจการ 7) รับชวงการดําเนินงานของครอบครัว 8) ศึกษาตอในระดับปริญญาโททางดานเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรธุรกิจ สังคมศาสตร อสังหาริมทรัพย โลจิสติกส ประชากรศาสตร ทั้งในและตางประเทศ 9) ศึกษาตอในระดับปริญญาโททางดานบริหารธุรกิจ ทั้งในและตางประเทศ สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 0-2441-5090 โทรสาร : 0-2441-0629 เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th **********************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

92

Mahidol University

20. หลักสูตร : บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม (หลักสูตรนานาชาติ)

Bachelor of Business Administration in Tourism and Hospitality Management (International Program)

1.

2. 3.

4.

5.

6.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถในสาขาบริหารอุตสาหกรรมการทองเที่ยวทัดเทียมกับมาตรฐานสากล 2) มีความรูภ าษาอังกฤษเปนอยางดี เพื่อใชศึกษาหาความรูและสามารถศึกษาตอในมหาวิทยาลัยของ ประเทศทางตะวันตกไดเปนอยางดี 3) ผลิตผูบริหารอุตสาหกรรมการทองเที่ยวที่มีความรูระดับสากล มีคุณธรรมและจริยธรรมสอดคลอง กับวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมตะวันตก ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) จบการศึกษาระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา ตามที่กระทรวงศึกษาธิการรับรอง 2) ผานการสอบขอเขียนและสัมภาษณตามเกณฑที่วิทยาลัยนานาชาติกําหนด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และวิทยาลัยนานาชาติกําหนด แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ผูบริหารระดับกลางในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและการโรงแรม 2) นักศึกษาสามารถศึกษาตอในระดับปริญญาโททางดานการบริหารธุรกิจ ศิลปศาสตร สังคมศาสตร มนุษยศาสตร การตลาดตางประเทศหรืออื่น ๆ ไมวาจะเปนในประเทศ หรือตางประเทศ สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โทรศัพท : 0-2441-5090 โทรสาร : 0-2441-0629 เว็บไซต : www.muic.mahidol.ac.th E-mail : icdad@mahidol.ac.th

*****************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

93

Mahidol University

2. คณะวิ ท ยาศาสตร 1. หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาคณิตศาสตรประกันภัย (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Science in Actuarial Science (International Program)

1.

2.

3.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีทางดานคณิตศาสตรประกันภัยที่มีคุณภาพ มีความรู ความชํานาญในวิชา คณิตศาสตร สถิติ การคลัง เศรษฐกิจ การบัญชี กฎหมาย การคํานวณ และ สถิติประชากร 2) ผลิตบุคลากรทางดานนักคณิตศาสตรประกันภัยในฐานะนักวิเคราะห หรือที่ปรึกษาทางดานการเงิน ในองคกรเอกชนที่เกี่ยวของกับ บริษัทประกันภัย กองทุนเพื่อการเกษียณ ธนาคารตางๆ สถาน ประกอบการทางดานการเงิน และหนวยงานรัฐบาล 3) มีความรับผิดชอบตอหนาที่และสังคม รวมทั้งมีความเปนผูนาํ มีคณ ุ ธรรม มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ และ สามารถนําความรูไปใชเพื่อประโยชนของมนุษยชาติ 4) สงเสริมการเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจ และพัฒนาความสามารถทางการแขงขันของประเทศใน ตลาดโลก ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป 1) นักศึกษาที่ศึกษาในประเทศไทยตลอดหลักสูตร 4 ป จะไดรับปริญญาบัตรจากมหาวิทยาลัยมหิดล 2) นักศึกษาที่ศึกษาในประเทศไทย 5 ภาคการศึกษาแรก (2 ปครึ่ง) ณ มหาวิทยาลัยมหิดล และศึกษา ณ Curtin University of Technology ประเทศออสเตรเลียในชวง 3 ภาคการศึกษาหลัง (1 ปครึ่ง) ตาม ขอกําหนดของ หลักสูตรฯ จะไดรับปริญญาบัตรจากทั้ง มหาวิทยาลัยมหิดล และ Curtin University of Technology (สองปริญญา) คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) ผูสมัครตองจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือไดประกาศนียบัตรเทียบเทา 2) ผูสมัครตองสอบผานขอสอบคัดเลือกของหลักสูตร ซึ่งดําเนินการภายใตการควบคุมและการดูแลของ ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 3) ผูสมัครตองแสดงความรูความชํานาญในการใชภาษาอังกฤษดานการฟง การพูด การอาน และ การเขียนเปนอยางดี โดยการสอบผานขอสอบทดสอบความรูทางดานภาษาอังกฤษตามเกณฑของ ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล หรือ แสดงผลการสอบ TOEFL ที่ได คะแนนไมนอยกวา 500 คะแนน ในระบบ PBT (173 คะแนน ในระบบ CBT) หรือ ผลการสอบอื่น ในระดับเทียบเทา ที่ยอนหลังไมเกิน 2 ป ณ วันที่เขาศึกษา 4) กรณีที่นอกเหนือไปจากเงื่อนไขขางตน อยูในดุลยพินจิ ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ และ หัวหนาภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 4.

5.

6.

7.

94

Mahidol University

วิธีการคัดเลือกนักศึกษา การคัดเลือกผูเ ขาศึกษาจะใชวิธีสอบขอเขียน และการสัมภาษณ ตามระเบียบการสอบคัดเลือกโดยวิธีพิเศษ ของคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล การตัดสินขัน้ สุดทายจะอยูในดุลยพินจิ ของคณะกรรมการ บริหารหลักสูตรฯ และหัวหนาภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพเปนนักคณิตศาสตรประกันภัย นักวิเคราะหการเงิน/ ธุรกิจ/เศรษฐกิจ นักวิเคราะหความเสี่ยง ซึ่งสามารถเขาทํางานไดในบริษัทประกันภัย บริษทั การเงิน ธุรกิจภาคเอกชน และรัฐบาล สําหรับนักศึกษาที่ประสงคที่จะศึกษาในระดับที่สูงขึ้นจะมีมหาวิทยาลัยหลาย แหงที่เปดรับในระดับปริญญาโททั้งในประเทศและตางประเทศ ทุนการศึกษา สําหรับนักศึกษาที่มีประวัตกิ ารเรียนดีจะมีการใหทุนการศึกษา และ/หรือ ลดหยอนคาเลาเรียนตามความ เหมาะสมในแตละปขึ้นอยูกบั ดุลพินจิ ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ และหัวหนาภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ศาสตราจารยยงควิมล เลณบุรี ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โทรศัพท : 0-2201-5340, 0-2201-5448 โทรสาร : 0-2201-5343 E-mail : scylb@mahidol.ac.th เว็บไซต : sc.mahidol.ac.th/scma ********************************

3. คณะเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร 1.

หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Science in Information and Communication Technology (International Program) 1. วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ มีความรู ความชํานาญในวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเปนอยางดี บัณฑิตจะมีความเชี่ยวชาญ ทางดานวิทยาการคอมพิวเตอร ระบบฐานขอมูล ระบบเชิงฉลาด ระบบเครือขายสื่อสาร การวิเคราะห ออกแบบและพัฒนาระบบ ระบบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส ระบบสื่อหลายแบบ รวมถึงการออกแบบและ พัฒนาซอฟตแวรเชิงประยุกต


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

95

Mahidol University

2) ผลิตบุคลากรทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศที่มีคุณภาพไดมาตรฐานสากล และสามารถ แขงขันกับผูที่จบจากมหาวิทยาลัยชั้นนําจากตางประเทศได 3) เพื่อสงเสริมและพัฒนางานวิจัยทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2. ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ปการศึกษา แตไมเกิน 8 ปการศึกษา 3. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา สําเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบ ตามขอกําหนดของ สกอ. ที่กําหนดไวสําหรับผูมีสิทธิเขาสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกําหนด 4. วิธีการคัดเลือกนักศึกษา การรับสมัครแบบ Direct Admission : ผูที่กําลังศึกษาในชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 หรือสําเร็จการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา  ใชวิธีสอบขอเขียน และการสัมภาษณ ตามเกณฑการคัดเลือกเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของ คณะ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล การตัดสินขัน้ สุดทายจะอยูในดุลยพินจิ ของคณะ กรรมการบริหารหลักสูตร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล 

การรับสมัครแบบ International Admission : 

ผูที่กําลังศึกษาในชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 หรือสําเร็จการศึกษาในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา  มีผลการสอบผานคะแนนภาษาอังกฤษตามเกณฑของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร o TOEFL Paper Based ไมตา่ํ กวา 500 คะแนน หรือ o TOEFL Computer Based ไมตา่ํ กวา 173 คะแนน หรือ o TOEFL Internet Based ไมต่ํากวา 70 คะแนน หรือ o IELTS ไมต่ํากวา 5.0  ผลคะแนนสอบมีอายุไมเกิน 2 ป นับตั้งแตวันสอบผานถึงวันสมัครเขาศึกษา  การสัมภาษณ ตามเกณฑการคัดเลือกเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล การตัดสินขั้นสุดทายจะอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล การรับสมัครแบบระบบแอดมิชชันกลาง (Central Admission) : ผูที่กําลังศึกษาในชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 หรือสําเร็จการศึกษาในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 หรือเทียบเทา  เกณฑการคัดเลือกของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่กําหนดสําหรับระบบแอดมิชชันกลาง ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา  การสัมภาษณ ตามเกณฑการคัดเลือกเขาศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล การตัดสินขั้นสุดทายจะอยูในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล 


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 5.

6.

96

Mahidol University

แนวทางประกอบอาชีพ / การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) นักวิชาการคอมพิวเตอร 2) นักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3) นักวิเคราะหและออกแบบระบบงาน 4) นักเขียนโปรแกรม / นักพัฒนาเว็บ / นักพัฒนาซอฟทแวร 5) ผูดูแลระบบฐานขอมูล / ผูดูแลระบบเครือขายและเครื่องแมขาย 6) ผูจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ / ผูจัดการระบบเครือขายสื่อสาร / ผูจัดการดานธุรกิจอิเล็กทรอนิกส 7) ศึกษาตอในระดับปริญญาโท เอก ในสาขาวิชา ICT, Computer Science หรือสาขาที่เกี่ยวของ ทั้งสถาบันการศึกษาในประเทศ และโดยเฉพาะอยางยิ่งสถาบันการศึกษา ณ ตางประเทศ ทุนการศึกษา หลักสูตรฯ มีทุนการศึกษาใหกับนักเรียนที่เรียนดี โดยครอบคลุมคาหนวยกิตทั้งหมด และคาธรรมเนียม การศึกษาเฉพาะสาขาวิชา เปนทุนการศึกษาที่ใหเปลา โดยจํานวนทุนที่จัดสรรในแตละป ประมาณ 10% ของ จํานวนผูมีสิทธิ์เขาศึกษา ในปการศึกษานั้น ๆ แบงเปน 3 ประเภท คือ  ทุ น ประเภท 1 ทุ น เรี ย นดี ต ลอดหลั ก สู ต ร พิ จ ารณาจากคะแนนสอบเข า ในลํา ดั บ ตน หรื อ เป น ผู ที่ คณะกรรมการคัดเลือกไดพิจารณาเห็นสมควรไดรับการคัดเลือก มูลคาทุนการศึกษาที่ไดรับประมาณ 400,000 บาท ตลอดหลักสูตร  ทุนประเภท 2 ทุนเรียนดีบางสวนตลอดหลักสูตร พิจารณาจากคะแนนสอบเขาในลําดับรองลงมาจากผู ไดรับคะแนนในลําดับตน หรือเปนผูที่คณะกรรมการคัดเลือกไดพิจารณาเห็นสมควรไดรับการคัดเลือก มูลคาทุนการศึกษาที่ไดรับประมาณ 150,000 บาท ตลอดหลักสูตร  ทุนประเภท 3 ทุนเรียนดีระหวางป เปนทุนที่คณะจัดสรรใหสําหรับนักศึกษาที่กําลังศึกษาในหลักสูตร พิจารณาจากผลการศึกษาสะสมตลอดหลักสูตรไมต่ํากวา 3.80 และเปนผูที่คณะกรรมการคัดเลือกได พิจารณาแลวเห็นสมควร มูลคาทุนการศึกษาที่ไดรับประมาณ 100,000 บาท ตอป เงื่อนไขการรับทุน (ทั้ง 3 ประเภท)  สําหรับทุนประเภท 1 และทุนประเภท 2 ระหวางการศึกษาตองไดรับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดทั้งป ไมนอยกวา 3.00 สําหรับทุนประเภท 3 ระหวางการศึกษาตองไดรับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดทั้งป ไมนอยกวา 3.80  กรณีที่นักศึกษาไมสามารถรักษาระดับผลการเรียนใหอยูในเกณฑที่กําหนดได จะถูกระงับการใหทนุ ในป การศึกษาถัดไปโดยอัตโนมัติ  ผูไดรับทุนไมตองชดใชทุนหลังสําเร็จการศึกษา ยกเวน หากผูไดรับทุนลาออกจากการเปนนักศึกษาของ คณะฯ กอนสําเร็จการศึกษา จะตองชดใชทุนใหกับคณะฯ ตามจํานวนเงินที่ไดรับการยกเวน  ผู ไ ด รั บ ทุ น จะต อ งให ค วามร ว มมื อ ในกิ จ กรรมของคณะเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร อยางตอเนื่อง และเขารวมโครงการ Internship ที่คณะฯ จัดขึ้นสําหรับนักศึกษาฝกงาน


97

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 7.

Mahidol University

สถานที่ติดตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม  คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อาคาร ICT ศาลายา มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 999 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท : 0-2849-6399 โทรสาร : 0-2849-6099 เว็บไซต : ict.mahidol.ac.th 97

 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อาคารสํานักคอมพิวเตอร เลขที่ 272 ถนนพระราม 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2354-4333 โทรสาร : 0-2354-7333 เว็บไซต : ict.mahidol.ac.th 98

************************

4. คณะสาธารณสุ ข ศาสตร 1. หลักสูตร : สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ตอเนื่อง 2 ป) หลักสูตรนานาชาติ Bachelor of Public Health (Continuing 2 years) International Program

1.

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) สนองตอบความตองการของประชากรและองคกรที่เกี่ยวของกับการพัฒนาประเทศ 2) มีสวนรวมในการจัดการ การบริหารและดําเนินการโครงการพัฒนาสุขภาพอยางมีประสิทธิผล 3) ประเมินสถานการณสุขภาพของชุมชน และวางแผนการแกปญหาที่สอดคลองกับสถานการณ และ บริบทของชุมชน 4) มีความคิดริเริ่มในการวางแผนโครงการ การมีคานิยมอันดี การใชดุลยพินิจ และการดําเนินการบน พื้นฐานของแรงจูงใจดานจริยธรรมและคานิยมทางสังคม 5) นิเทศบุคลากรทางสุขภาพและชวยเหลือองคกรทองถิ่นที่เกี่ยวของกับงานสาธารณสุข 6) รวมมือกับองคกรตางๆ และใหการสนับสนุนดานวิทยาการแกองคกรที่เกี่ยวของกับสุขภาพของ ชุมชนในทองถิ่น 7) เปนผูนาํ ดานวิทยาการในการพัฒนาและดําเนินการกิจกรรมในงานสาธารณสุข โดยการทํางานเปนทีม อยางมีสวนรวมและเปนประชาธิปไตย 8) รวมรางและสนับสนุนกฎหมายและขอบังคับในงานสาธารณสุข และมาตรฐานและขอกําหนดทาง สิ่งแวดลอมใหมีความเปนไปไดเชิงปฏิบัตสิ ําหรับปจจุบนั และอนาคต 9) เปนบุคคลที่รับผิดชอบงานดานสาธารณสุข ที่มีเจตคติและการดําเนินงานที่คงไวซึ่งมาตรฐาน ทางจริยธรรม และการเคารพสิทธิมนุษยชน


98

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 2. 3.

4. 5.

6. 7.

Mahidol University

ระยะเวลาในการศึกษา : 2 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) ไดรับประกาศนียบัตรที่สามารถเทียบความรูไดตามเกณฑมาตรฐานสํานักงาน (สกอ.) ทางดาน สาธารณสุขชุมชน การพยาบาลแมและเด็ก หรือจบการศึกษาที่เกี่ยวกับสุขภาพ เชน ผูชวยทันตแพทย ผูดูแลสุขภาพชองปากและฟน พยาบาลเทคนิค หรือผูชวยเภสัชกรรม เปนตน 2) มีประสบการณการทํางานในสาขาวิชาที่เกี่ยวของอยางนอย 2 ป 3) สอบผานภาษาอังกฤษโดยมีคะแนน TOEFL ตั้งแต 500 คะแนนขึ้นไป 4) มีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและจิตใจ 5) ไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 2.50 หรือคะแนนเฉลี่ยรอยละ 70 6) ผูมีคุณสมบัตินอกเหนือจากขอ 1-5 อาจไดรับการพิจารณาคัดเลือกใหสมัครเขาศึกษาตามดุลย พินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร วิธีการคัดเลือกนักศึกษา สอบคัดเลือกโดยวิธีสอบขอเขียน และสอบสัมภาษณ แนวทางในการประกอบอาชีพ/แนวทางในการศึกษาในระดับที่สงู ขึ้น 1) นักเทคนิคในหนวยงานสุขภาพ 2) นักวิชาการในหนวยงานสุขภาพ 3) ผูบริหารในหนวยงานสุขภาพ 4) นักศึกษาสามารถศึกษาตอในระดับปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรสุขภาพ ทุนการศึกษา 1) ทุนการศึกษาจากหนวยงานของผูสมัคร 2) ทุนการศึกษาตามนโยบายของประเทศที่ผสู มัครจะเขาศึกษา สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โทรศัพท : 0-2640-9850 โทรสาร : 0-2-640-9850 เว็บไซต : ph.mahidol.ac.th **********************

5. คณะแพทยศาสตร ศิ ริ ร าชพยาบาล 2.

1. หลักสูตร :

1.

กายอุปกรณศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Prosthetic and Orthotic (International Program)

ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร 1.1 ปรัชญาของหลักสูตร สรางบัณฑิตกายอุปกรณที่มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม มีเจตคติอนั ดีงามในการประกอบวิชาชีพ และมีความรูความสามารถทางดานกายอุปกรณโดยมีพื้นฐานทางการแพทย


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

99

Mahidol University

1.2 ความสําคัญ นักกายอุปกรณเปนบุคลากรดานเวชศาสตรฟนฟูที่ทําหนาที่ชวยในการประดิษฐดัดแปลงอุปกรณ ภายนอกแกผูปวยผูพิการ การผลิตนักกายอุปกรณจึงเปนเรื่องสําคัญที่จะชวยใหงานฟนฟูสมรรถภาพ เปนไปดวยดี ในปจจุบนั หลักสูตรกายอุปกรณศาสตรบัณฑิต 2550 ของมหาวิทยาลัยมหิดลเปนหลักสูตร ที่ผลิตบัณฑิตกายอุปกรณในระดับปริญญาเพียงแหงเดียวในภูมิภาคเอเชียอาคเนย และยังเปนหลักสูตร ที่ไดผานการรับรองมาตรฐานจากองคกรนักกายอุปกรณนานาชาติ (International Society of Prosthetics and Orthotics, ISPO) ในระดับที่ 1 ซึ่งมาตรฐานดังกลาวเปนมาตรฐานในระดับนานาชาติของการผลิต บัณฑิตดานกายอุปกรณระดับปริญญาตรี ตามคําแนะนําขององคการอนามัยโลก ดังนั้นการพัฒนา หลักสูตรกายอุปกรณศาสตรบัณฑิตใหเปนหลักสูตรนานาชาติ โดยมีการสอนเปนภาษาอังกฤษคูขนานกับ หลักสูตรกายอุปกรณศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2550 ซึ่งสอนเปนภาษาไทยจะเปนการขยายโอกาสใหนักเรียน นักศึกษาตางชาติ และเปนการขยายผลการผลิตบัณฑิตใหไดนกั กายอุปกรณที่มีมาตรฐานออกไปรับใช เพื่อนมนุษยในสังคมโดยเฉพาะประเทศในภูมภิ าคอาเซียนนี้ ซึ่งเปนการยังประโยชนสุขแกเพื่อนมนุษย และยังเปนการสอดคลองกับเปาหมายของมหาวิทยาลัยที่มุงสูระดับสากล รวมทั้งแผนยุทธศาสตรของประเทศ ที่ตองการเปนศูนยกลางการเรียนรู (Educational hub) ดวย

2. 3.

4.

1.3 วัตถุประสงคของหลักสูตร ุ สมบัติ ดังนี้ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคณ 1) มีความรูความสามารถในดานการประดิษฐ ดัดแปลงกายอุปกรณ ใหเหมาะสมกับลักษณะอาชีพ และเศรษฐฐานะของผูรับบริการ 2) มีความรูความสามารถในการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ใฝหาความรูและสามารถติดตาม ความกาวหนาของวิชาชีพ 3) มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับปญหาสาธารณสุขในสาขาวิชากายอุปกรณ และสามารถเสนอแนว ทางการปองกันและแกไขที่เหมาะสม 4) เปนผูมีคุณธรรมจริยธรรมอันดีงาม รักษาจรรยาบรรณแหงวิชาชีพอยางเครงครัด รวมทั้งเคารพ และปกปองสิทธิของผูรับบริการ 5) มีมนุษยสัมพันธที่ดีกับผูปวย ผูรวมงานตลอดจนบุคลากรที่เกี่ยวของ ระยะเวลาในการศึกษา : 4 ป แตไมเกิน 8 ปการศึกษา วิธีการคัดเลือกนักศึกษา สอบคัดเลือก โดยการสอบข อเขี ย นและการสอบสัม ภาษณแ บบพิเ ศษตามระเบีย บของหลักสู ต ร กายอุปกรณศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) คณะแพทยศาสตรศิริราพยาบาล และไดรับความ เห็นชอบจาก คณะกรรมการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาตอในหลักสูตร คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาระดับ High school ของประเทศที่สําเร็จ การศึกษา โดยมีคุณสมบัติตามระเบียบการสอบคัดเลือกของมหาวิทยาลัยมหิดล ไมมีความบกพรองทาง รางกายหรือจิตใจที่จะเปนอุปสรรคตอการศึกษาหลักสูตรกายอุปกรณศาสตรบัณฑิต 2) สอบผานการคัดเลือกของมหาวิทยาลัยมหิดล 3) มีระดับคะแนน TOFEL (iBT) 79 คะแนนขึ้นไป หรือ IELTS 6.0 คะแนนขึ้นไป ในกรณีที่ไดคะแนน TOFEL (iBT) นอยกวา 79 คะแนน หรือ IELTS นอยกวา 6.0 คะแนน ตองไดรับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาตอในหลักสูตร และตองเขารับการศึกษาปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษ กอนเขาศึกษาตอ


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 5.

6.

7.

100

Mahidol University

แนวทางประกอบอาชีพ/การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ทํางานในโรงพยาบาลทัว่ ประเทศทั้งภาครัฐ และเอกชน 2) ในปจจุบนั เปนงานที่ตอ งการในทุก ๆ แหงที่มีบริการดานกายอุปกรณ 3) สามารถศึกษาตอระดับปริญญาโทได ทุนการศึกษา 1) กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษาของรัฐบาล (กยศ.) 2) ทุนจากหนวยงานเอกชน 3) ทุนสนับสนุนจากมูลนิธนิ ิปปอน สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม โรงเรียนกายอุปกรณสิรินธร ภาควิชาเวชศาสตรฟนฟู คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล เลขที่ 2 ถนนพรานนก บางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700 โทรสาร : 0-2419-8929 โทรศัพท : 0-2419-9815 เว็บไซต : sspo.ac.th ------------------


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

101

Mahidol University

 อัตราคาธรรมเนียมการศึกษาระดับปริญญาตรี เพื่อใหการลงทะเบียนเรียนและการชําระคาธรรมเนียมการศึกษา สําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดลเปนไป ดวยความเหมาะสม มหาวิทยาลัยมหิดลจึงกําหนดอัตราคาธรรมเนียมการศึกษา ไวดังนี้ 1. คาธรรมเนียมการศึกษา  คาธรรมเนียมแรกเขา และคาทําบัตรประจําตัวนักศึกษา (เฉพาะนักศึกษาใหม) 750 บาท  คาเอกสารลงทะเบียนเรียน  คาธรรมเนียมประจําภาค ภาคการศึกษาละ 3,500 บาท 2. คาหนวยกิต  รายวิชาบรรยาย (ปกติ) สัมมนาหรือปฏิบตั ิทางคลินิก หนวยกิตละ 200 บาท  รายวิชาบรรยาย (พิเศษ) สําหรับบางหลักสูตร - หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (กรณีพิเศษ) หนวยกิตละ 2,500 บาท - หลักสูตร ส.บ.(ตอเนื่อง) ภาคพิเศษ หนวยกิตละ 600 บาท  รายวิชาปฏิบัติ (ปกติ) หนวยกิตละ 400 บาท  รายวิชาปฏิบัติ (พิเศษ) - หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (กรณีพเิ ศษ) หนวยกิตละ 4,000 บาท รายวิชาฝกปฏิบัติงานวิชาชีพ หนวยกิตละ 6,000 บาท - หลักสูตร ส.บ.(ตอเนื่อง) ภาคพิเศษ รายวิชาปฏิบัตกิ ารและการศึกษา เฉพาะเรื่อง หนวยกิตละ 1,200 บาท - หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตรายวิชาปฏิบตั ิงานวิชาชีพ หนวยกิตละ 1,000 บาท  คาหนวยกิตภาคการศึกษาฤดูรอนเพิ่มเปน 2 เทา เฉพาะผูทลี่ งทะเบียนเรียนซ้ํา 3. คาธรรมเนียมการศึกษาเฉพาะสาขาวิชา / ภาคการศึกษา  วิทยาการคอมพิวเตอร 25,000 บาท  การแพทยแผนไทยประยุกต (ตอเนื่อง) 20,000 บาท  รังสีเทคนิค (ตอเนื่อง) 8,500 บาท  สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ตอเนื่อง) ภาคพิเศษ 7,500 บาท  ทันตแพทยศาสตร / เภสัชศาสตร / วิศวกรรมศาสตร / สัตวแพทยศาสตร / เวชระเบียน (ตอเนื่อง) / กายภาพบําบัด / กิจกรรมบําบัด / เทคโนโลยี ทันตกรรม (ตอเนื่อง) 5,000 บาท  เวชศาสตรการธนาคารเลือด / พยาบาลศาสตร / กายอุปกรณศาสตร / 2,500 บาท  สาธารณสุขศาสตร (ตอเนื่อง) 7,500 บาท


102

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

Mahidol University

หอพักนักศึกษา 

บานมหิดล (หอพักนักศึกษา)

บานมหิดล (หอพักนักศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ศาลายา เปดบริการที่พักอาศัยสําหรับ นักศึกษา ระดับปริญญาตรีทุกสาขาวิชา ใหบริการและสวัสดิการ รวมทั้งสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรูและการใช ชีวิตอยางเปนสุข (Live and Learn with nature) โดยมหาวิทยาลัยมิไดบังคับใหนักศึกษาทุกคน เขาพักอาศัยในบานมหิดล นักศึกษาสามารถเลือกที่จะอยู หรือไมอยูไดตามความสมัครใจ มหาวิทยาลัยจะจัดใหนักศึกษาเขาพักดวยระบบการจองหอง Online หองละ 4 คน มีเตียง 2 ชั้น (บานลีลาวดี และบานศรีตรังเปนเตียงชั้นเดียว) และหองละ 2 คน ที่บา นอินทนิล ภายในหองพักมีที่นอน ตูเสื้อผา โตะเขียนหนังสือสวนตัว บริการใหคนละ 1 ชุด หองน้ําเปนหองน้ํารวมอยูภายนอกหอง สิ่งของที่นักศึกษาทุกคนควร จะเตรียมในการเขาพักอาศัยในบานมหิดล มีดังตอไปนี้ 1. รูปถาย ขนาด 1 นิ้ว จํานวน 2 ใบ ( สําหรับทําทะเบียนประวัตินักศึกษา ) 2. ผาปูที่นอน ขนาด 3½” x 3½” x 6 ฟุต 3. หมอน พรอมปลอกหมอน 4. แมกุญแจ สําหรับคลองตูเสื้อผา จํานวน 2 ชุด 5. ของใชสวนตัวที่จาํ เปน นอกจากนี้ การใชชีวิตอยูรวมกันในบาน จําเปนตองมีสิทธิและหนาที่ กฎระเบียบ ขอบังคับตางๆ เพื่อ ความเปนระเบียบเรียบรอย และเปนน้าํ หนึ่งใจเดียวกันของนักศึกษาในบานมหิดล โดยบานมหิดลมีทีมงานประกอบดวย คณะกรรมการบานมหิดล (นักศึกษา) อาจารยที่ปรึกษา และอาจารยประจําบานไวคอยรับฟงความคิดเห็น ใหคําปรึกษา การประเมินผลความพึงพอใจที่เคานเตอรบริการทุกครั้งที่ใชบริการ นอกจากนี้ยังมีขอปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของ ทรัพยสิน และตัวนักศึกษาที่สําคัญพอสรุปได คือ 1. บานพักนักศึกษาชาย – หญิง มีกําหนดเปดหอพัก เวลา 05.00 น. และปดหอพัก เวลา 23.00 น. 2. ล็อคประตูหองพักทุกครั้งที่ออกจากหอง โดยเฉพาะเวลากลางคืน หรือเวลาเขาหองน้ํา 3. เพื่อปองกันการสูญหาย ไมควรนําของมีคาเก็บไวในหองพัก เชน เงินสด เครื่องประดับ เปนตน (เงินสดควรนําฝากธนาคาร ซึ่งมีสาขายอยในมหาวิทยาลัย หากจําเปนควรใสตู ลอกกุญแจใหเรียบรอย) 4. หามนําเครื่องใชไฟฟาบางประเภทมาใชในหองพัก เชน โทรทัศน ตูเย็น พัดลมปรับอากาศ กระทะ ไฟฟา เตาไมโครเวฟ กาตมน้ํารอน และเครื่องใชไฟฟาอื่นๆ เปนตน (ทางบานมหิดลจัดหมอตม น้ํารอน ตูเย็น โทรทัศน และเตาไมโครเวฟ ใหบริการแกนักศึกษาทุกบานตลอดทัง้ คืน) 5. นักศึกษาสามารถซักรีดเสื้อผาดวยตนเอง หรือใชบริการจากรานซักรีด และบริการเครื่องซักผา หยอดเหรียญภายในบานมหิดลได 6. บานมหิดล (หอพักนักศึกษา)เปนทรัพยสินของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีไวเพื่อสวนรวม นักศึกษาจึงควร ชวยกันสอดสองดูแลรักษา หากพบสิ่งผิดปกติใด ๆ ใหรีบแจงตออาจารยประจําบานพักทันที

อัตราคาธรรมเนียมบานมหิดล (ภาคปกติ) บานพักชาย บานพักหญิง ชัยพฤกษ/กันภัย อินทนิล พุทธรักษา ลีลาวดี คาธรรมเนียมบานมหิดล (บาท/คน/ภาคการศึกษา) 3,000 6,000 3,000 6,000 คาประกันของเสียหาย และกุญแจ (บาท/ปการศึกษา) 600 1,100 600 1,100 รวมเงินทั้งสิ้น 3,600 7,100 3,600 7,100 รายการ

ศรีตรัง 8,000 1,250 9,250


103

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

Mahidol University

อัตราคาธรรมเนียมหอพักนักศึกษา (ภาคฤดู รอน/รายคืน) บานพักชาย บานพักหญิง ชัยพฤกษ/กันภัย อินทนิล พุทธรักษา ลีลาวดี ศรีตรัง คาธรรมเนียมบานมหิดล (บาท/คน/ภาคฤดูรอน) 1,500 3,000 1,500 3,000 4,000 คาธรรมเนียมบานมหิดล (บาท/คน/คืน) 100 100 100 100 100 หมายเหตุ อัตราคาบริการซักอบ รีดอุปกรณเครื่องนอน ชุดละ 40 บาท คาใชแอรหองรวมคืนละ 300 บาท/คน/คืน นักศึกษาจะไดรบั เงินประกันของเสียหายคืนหลังจากที่นักศึกษายกเลิกการพักอาศัย รายการ

การใหบริการตาง ๆ ภายในบานมหิดล (หอพักนั กศึกษา) มหาวิทยาลัยไดจัดการใหบริการดานตางๆ แกนักศึกษาที่พักอาศัยในบานมหิดล อาทิ 1. การจัดหองใหคําปรึกษาสําหรับนักศึกษาที่พักอาศัยในบานชัยพฤกษ และบานลีลาวดี โดยอาจารย ชาย 1 คน อาจารยหญิง 1 คน ปฏิบตั ิหนาที่ทุกวันจันทร–ศุกร เวลา 18.00-21.00 น. หากนักศึกษาตองการเขา รับคําปรึกษานอกเวลาที่กําหนด สามารถติดตออาจารยที่ปรึกษาทางโทรศัพทซึ่งจํานวนทั้งสิ้น 6 คน ไดตลอด 24 ชั่วโมง 2. การใหบริการสิ่งอํานวยความสะดวกหองคอมพิวเตอร/อินเตอรเน็ต / Wireless Lan หองอเนกประสงค สําหรับทํากิจกรรมตางๆ หองอานหนังสือ หองติววิชา บริการ True vision ลานกิจกรรม การบริการดานการทํานุบาํ รุง ศาสนาพุทธ เชน ลานองคพระ: การทําบุญตักบาตร ทําวัตรเย็น การปาวารณาศีล 5 ฟงธรรมทุกวันพระ มีหองทํา กิจกรรมสําหรับศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต ดานการกีฬา มีสนามเปตอง ลานสุขภาพ รวมถึงระบบแจงซอม Online การรับขอรองเรียนทางเว็บไซด เปนตน 3. ระบบการรักษาความปลอดภัยภายในบานมหิดล มหาวิทยาลัยคํานึงถึงความปลอดภัยของนักศึกษา ที่พักอาศัยในบานเปนสําคัญ จึงติดตั้งอุปกรณรักษาความปลอดภัย อาทิ ระบบการเขา-ออกดวยคียการด, ระบบ โทรทัศนวงจรปด และมีอาจารยประจําบานและเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยดูแลนักศึกษาตลอด 24 ชั่วโมง

สวัสดิการตางๆ บานมหิดลมีบริการสวัสดิการ ในกรณีตางๆ ดังนี้ 1. สําหรับนักศึกษาที่มีความจําเปนดานการเงินประสงคขอผอนผันการชําระคาธรรมเนียมบานมหิดล นักศึกษาสามารถติดตอขอผอนผันภายในเดือนแรกของการเปดภาคการศึกษาตน / ปลาย คุณสมบัติของผูมีสิทธิยื่นคํารองฯ ขอรับการผอนผันคาธรรมเนียมบานมหิดล มีดังนี้ 1) เปนนักศึกษาระดับปริญญาตรีทุกชั้นป ที่ไดรบั สิทธิ์ใหเขาพักอาศัย 2) เปนผูขาดแคลนทุนทรัพย ครอบครัวมีรายไดรวมกันไมเกินปละ 100,000 บาท 3) เปนผูมีความประพฤติเรียบรอย และมีความขยันหมั่นเพียร 2. นักศึกษาที่ ตองการสิ ท ธิ์ใ นการเข า พั ก อาศัย โดยไมตองจองห อ ง Online สามารถสมั ค รเปน คณะกรรมการบานมหิดล (นักศึกษา) โดยผูที่ไดรับสิทธิ์จะมีหนาที่ในการจัดกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาบาน มหิดลเพื่อเสริมสรางวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยมหิดล 3. การใชหองอเนกประสงค เรือน MAHIDOL นักศึกษาสามารถใชไดฟรีตั้งแตเวลา 08.00-จนถึงกอน เวลา 23.00 น. กรณีใชเครื่องปรับอากศหรือเพื่อการจัดประชุม/อบรมโดยทั่วไปมีคาธรรมเนียมชั่วโมงละ 100 บาท

สนใจสอบถามรายละเอี ยดเพิ่มเติม หากมีปญหาหรือขอสงสัยใด ๆ ตองการซักถาม หรือขอคําแนะนํา สามารถโทรศัพทตดิ ตอไดที่ หมายเลข 0-2441-9116, 0-2441-9725 ในวันและเวลาทําการ 08.00-16.00 น.


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

104

Mahidol University

ระดับต่ํากวาปริญญาตรี


Mahidol University

105

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

หลักสูตรระดับต่ํากวาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหิดล เปดสอนในหลักสูตรระดับต่ํากวาปริญญาตรี จํานวน 9 หลักสูตร ซึ่งมีหนวยงานที่ รับผิดชอบในแตละหลักสูตร ดังนี้

หลักสูตร (จํานวนปที่ศึกษา)

หนวยงาน

1. คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล  ประกาศนียบัตรผูชวยพยาบาล (1 ป) 2. คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี  ประกาศนียบัตรผูชวยพยาบาล (1 ป) 3. คณะทันตแพทยศาสตร  ประกาศนียบัตรวิชาชางทันตกรรม (2 ป)  ประกาศนียบัตรผูชวยทันตแพทย (1 ป)  ประกาศนียบัตรพนักงานผูช วยทันตแพทย (ตอเนื่อง 1 ป) 4. คณะเวชศาสตรเขตรอน  ประกาศนียบัตรผูชวยพยาบาล (1 ป) 5. วิทยาลัยราชสุดา  ประกาศนียบัตรการสอนภาษามือไทย (1 ป 6 เดือน)  ประกาศนียบัตรลาม (ภาษามือไทย) (1 ป 6 เดือน) 6. วิทยาลัยดุริยางคศิลป  ประกาศนียบัตรวิชาชีพดนตรี (เตรียมอุดมดนตรี) (3 ป)

รายละเอี ย ดหลั ก สู ต รระดั บ ต่ํา กว า ปริ ญ ญาตรี ร ใน การจัดการศึกษาระดับต่ํากวาปริญญาตรี ในแตละหลักสูตรมีรายละเอียดและแนวทางการศึกษา ดังนี้

คณะแพทยศาสตร ศิ ริ ร าชพยาบาล  หลักสูตร 1.

2.

:

ประกาศนียบัตรผูชวยพยาบาล Certificate Program for Practical Nurse

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อสรางผูชวยพยาบาลที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1) มีความรูดานสังคมศาสตรและมนุษยศาสตรที่เปนพื้นฐานในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวของกับเพื่อนมนุษย 2) สามารถชวยงานการพยาบาล และใหบริการดานสุขภาพแกผูปวยและประชาชน 3) มีมนุษยสัมพันธดี และสามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ 4) มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติอันดีงามตอหนาที่การงาน สังคม และประเทศชาติ ระยะเวลาในการศึกษา : 1 ปการศึกษา


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 3.

106

Mahidol University

คุณสมบัติของผูเขาศึกษา เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือหลักสูตรอื่น ๆ ที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเทา หรือกําลัง ศึกษาอยูและรอผลการสอบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ดูรายละเอียดคุณสมบัติใน www.si.mahidol.ac.th) วิธีการคัดเลือกนักศึกษา : สงคะแนน O-Net แนวทางการประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สงู ขึ้น ทํางานในฝายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช และเมื่อพนภาระผูกพันตามสัญญาการเปนนักศึกษา ผูชวยพยาบาลและตามขอกําหนดของฝายการพยาบาลแลว สามารถศึกษาตอระดับปริญญาตรีในสาขาวิชา ตางๆ ทุนการศึกษา : ผูที่ขาดแคลนทุนทรัพยสามารถขอทุนอุดหนุนการศึกษาได สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม โรงเรียนผูชวยพยาบาล คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล ตึกอดุลยเดชวิกรม ชั้น 6 บางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท : 0-2419-6466 หรือ 0-2419-7000 ตอ 6465-7 โทรสาร : 0-2411-5038 เว็บไซต : www.si.mahidol.ac.th ******************

4. 5.

6. 7.

 คุณสมบัติทั่วไป 1. เปนผูยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุข 2. ไมมีโรคติดตอรายแรง โรคที่สังคมรังเกียจ หรือโรคสําคัญที่จะเปนอุปสรรคตอการศึกษา 3. เปนผูที่มีผูรบั รองวาจะอุดหนุนคาบํารุง และคาใชจา ยตางๆ ที่เกี่ยวกับการศึกษาได 4. มีความประพฤติเรียบรอย และรับรองตอมหาวิทยาลัยมหิดลไดวาจะตั้งใจศึกษาเลาเรียน เต็มความสามารถ และจะปฏิบัตติ ามระเบียบขอบังคับของมหาวิทยาลัยมหิดลที่มีอยูแลว และ/หรือที่จะมีตอไป โดยเครงครัดทุกประการ 5. มีสัญชาติไทยอยูในประเทศไทยโดยถูกตองตามกฎหมาย และตองมีบัตรประจําตัวประชาชนไทย 6. เปนผูที่ไมถูกใหออกจากสถาบันการศึกษาใด ๆ มาแลว เพราะความประพฤติไมเหมาะสม หรือ กระทําความผิดตาง ๆ ที่ไมใชทางดานวิชาการ 7. จะตองไมเปนผูกระทําหรือรวมกระทําทุจริตในการสอบในโรงเรียนหรือการคัดเลือกบุคคลเขา ศึกษาในสถาบันการศึกษาในระดับตาง ๆ

 คุณสมบัติทางการศึกษา และคุณสมบัติเฉพาะ คุณสมบัติทางการศึกษา

57

1. เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือหลักสูตรอื่น ๆ ที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเทา หรือกําลังศึกษาอยูและรอผลการสอบมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. คะแนนเฉลี่ยสะสมชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4- ม.6) ไมตา่ํ กวา 2.50


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล คุณสมบัติเฉพาะ

107

Mahidol University

1. เปนหญิงหรือชายโสด อายุครบ 17 ปบริบูรณนับถึงวันที่สมัคร 2. มีคุณสมบัติเฉพาะตามเกณฑของมหาวิทยาลัย 3. มีคุณสมบัติครบถวนที่จะเขารับทํางานไดหลังจากจบการศึกษา 4. มีคะแนน O-NET จากการสอบวัดความรู ซึ่งดําเนินการจัดสอบโดยสถาบันทดสอบทางการศึกษา แหงชาติ ถาสาระการเรียนรูวิชาใดไดศูนยถือวาวิชานั้นไมมีคะแนน และถือวามีคะแนนสอบไมครบตามที่กาํ หนด 5. กอนเขาศึกษาสามารถทําสัญญาตามเงื่อนไขของมหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตรศิริราช พยาบาล 6. ผูที่มีสิทธิ์เขาศึกษาจะตองผานการทดสอบความพรอมในการศึกษา และความพรอมในการประกอบ วิชาชีพ การสอบสัมภาษณ และตรวจรางกาย จึงจะมีสิทธิ์เขาศึกษา ************************************

คณะทั น ตแพทยศาสตร  หลักสูตร

:

ประกาศนียบัตรวิชาชางทันตกรรม Certificate Program in Dental Technician

1. วัตถุประสงคของหลักสูตร 1) เพื่อผลิตชางทันตกรรมที่มีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานบริการทันตสาธารณสุขปองกัน และ บําบัดโรคฟนแกประชาชนรวมกับทันตแพทย และผูชวยทันตแพทย ไดอยางมีประสิทธิภา 2) เพื่อใหชา งทันตกรรมสามารถทําหนาที่ชวยกิจการดานวิชาการ เพื่อการแบงเบาภาระของอาจารยทันตแพทย ในดานการเรียนการสอน วิจัย และคนควา และสามารถประดิษฐอปุ กรณทางทันตกรรม ตลอดจนใช เครื่องมือและอุปกรณตางๆ ที่ไดรบั การฝกฝนไดอยางถูกตอง 2. ระยะเวลาในการศึกษา : 2 ป 3. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) สําเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ (ม.6) หรือจบหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.ศ.5) หรือโรงเรียนชางฝมือ เทียบเทาหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ 2) อายุไมต่ํากวา 16 ปบริบูรณ และไมเกิน 35 ป บริบูรณ 3) ไมมีโรคติดตอหรือโรคสําคัญที่จะเปนอุปสรรคตอการศึกษา 4) มีความประพฤติดี 5) จิตใจและรางกายปกติ 6) ตองมีคุณสมบัติอื่นๆ ครบตามมาตรา 24 แหงระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2518 4. วิธีการคัดเลือกนักศึกษา  การสอบคัดเลือก ในวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตรทั่วไป หัตถศึกษา สอบสัมภาษณ


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

108

Mahidol University

5. การรับสมัคร  ผูสมัครอาจสมัครเขาเรียนเองหรือหนวยราชการสงมาศึกษาตอ ทั้งนี้ ใหติดตอกับเจาหนาที่สํานักงาน โรงเรียนชางทันตกรรม ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนโยธี พรอมหลักฐาน ดังนี้ 1) ใบสมัครที่กรอกขอความเรียบรอย 2) สําเนาหลักฐานแสดงวุฒิมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ตามระเบียบใหมของกระทรวงศึกษาธิการ 3) สําเนาทะเบียนสมรส (กรณีสมรสแลว) 4) สําเนาทะเบียนบาน 5) ใบรับรองแพทย 6) รูปถาย 2 x 2.5 ซ.ม. จํานวน 3 รูป ( ถายไมเกิน 6 เดือน ) 6. เงื่อนไขการศึกษา 1) ผูสําเร็จการศึกษาที่ไดรับการสนับสนุนจากหนวยราชการตองเขารับราชการเปนกําหนดเวลาไมนอยกวา 2 เทาของเวลาศึกษาตามหลักสูตร ผูไมปฏิบัติตามสัญญาจะตองชดใชคาใชจายในการศึกษา รวมทั้งเงินคา ประกันของเสียหายที่ไดวางไวเมื่อสมัครเขาศึกษาดวย การไมตองชดใชคาใชจายใหอยูในดุลยพินิจของ มหาวิทยาลัยมหิดล 2) สําหรับผูท ี่ทางราชการไมประสงครับเขาทํางาน หรือผูสําเร็จการศึกษาที่ไมมีขอ ผูกพันตามสัญญาจะเขา ทํางานที่ใดก็ได โดยราชการไมมีพันธะในการหางานใหผนู ั้น 7. แนวทางประกอบอาชีพ/ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 1) ทํางานในหนวยราชการหรือหนวยงานเอกชน 2) ประกอบธุรกิจสวนตัว 3) ศึกษาตอในระดับสูงขึ้น เชน เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทันตกรรม (ตอเนื่อง 2 ป) หรืออื่นๆ 8. สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม โรงเรียนชางทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โทรศัพท : 02-203-6441 ตอ 131 โทรสาร : 02-203-6440 เว็บไซต : www.dt.mahidol.ac.th

*********************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

109

 หลักสูตร : ประกาศนียบัตรผูชวยทันตแพทย Certificate Program in Dental Assistant 1.

2. 3.

4.

5. 6. 7.

Mahidol University

วัตถุประสงคของหลักสูตร 1) ผลิตทันตบุคลากรเพื่อทําหนาที่ชวยทันตแพทยปฏิบัติงานในคลินิกทันตกรรม ซึ่งจะทําใหทันตแพทยให บริการรักษาผูป วยทางทันตกรรมมีประสิทธิภาพ และมีความสะดวกรวดเร็ว ใหบริการผูป วยไดมากขึ้น 2) เพื่อใหผูชวยทันตแพทยยังชวยทันตแพทยเผยแพรความรูทางทันตสาธารณสุขไปยังประชาชน เพื่อ ชวยตนเอง และผูที่อยูขางเคียงเมื่อมีปญหาเกี่ยวกับทันตสุขภาพได ระยะเวลาในการศึกษา : 1 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา 2) มีสัญชาติไทย 3) เพศ ชายหรือหญิง อายุไมตา่ํ กวา 17 ปบริบูรณขึ้นไป 4) มีความประพฤติดี 5) มีรางกายแข็งแรง และปราศจากโรคอันจะเปนอุปสรรคตอการศึกษา 6) ไมเปนผูม ีกายทุพลภาพจนไมสามารถปฏิบัติหนาทีไ่ ด หรือไรความสามารถหรือสติฟนเฟอนไม สมประกอบหรือเปนโรคที่ไดกําหนดในกฎ ก.พ. คือ โรคเรื้อน วัณโรคในระยะอันตราย โรค เทาชางในระยะปรากฏอาการเปนที่รังเกียจแกสังคม โรคติดยาเสพติดใหโทษอยางรายแรง และโรค พิษสุราเรื้อรัง 7) ไมเคยตองโทษทางคดีอาญา และประพฤติผดิ วินัยอยางรายแรง 8) สามารถปฏิบัตติ ามประกาศ กฎ และระเบียบขอบังคับของโรงเรียนผูชวยทันตแพทย คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ที่เกี่ยวของทั้งที่มีอยูในปจจุบันและ/หรือที่จะมีขึ้นในระหวางการศึกษา วิธีการคัดเลือกนักศึกษา 1) สอบขอเขียน 3 วิชา ไดแก วิทยาศาสตรพื้นฐาน ความรูทั่วไป และภาษาอังกฤษ 2) สอบสัมภาษณ แนวทางในการประกอบอาชีพ ปฏิบัติงานในหนวยราชการ หรือหนวยงานเอกชน ทุนการศึกษา : มีทุนการศึกษาใหปละ 5 ทุน ทุนละ 2,000 บาท สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม โรงเรียนผูชวยทันตแพทย คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 6 ถนนโยธี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2660-7764 โทรสาร : 0-2644-6624 เว็บไซต : www.dt.mahidol.ac.th ***************************


110

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

Mahidol University

คณะเวชศาสตร เ ขตร อ น  หลักสูตร 1.

2. 3.

4. 5.

6. 7.

:

ประกาศนียบัตรผูชวยพยาบาล Certificate Program for Practical Nurse

วัตถุประสงคของหลักสูตร เพื่อผลิตผูชวยพยาบาลใหมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความรูความสามารถในการดูแลผูปวยหรือชวยการพยาบาลในโรคทั่วไป และโรคเขตรอน ภายใต ความควบคุมของผูประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ 2) ดูแลวัสดุทางการแพทยใหใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 3) มีทัศนคติที่ดใี นการใหการดูแลชวยเหลือผูใชบริการ 4) มีคุณธรรม จริยธรรม ในการใหบริการแกผูใชบริการ 5) มีมนุษยสัมพันธที่ดใี นการปฏิบัติงานรวมกับทีมสุขภาพ ระยะเวลาในการศึกษา : 1 ป และใหศึกษาตลอดหลักสูตรไมเกิน 2 ปการศึกษา คุณสมบัติของผูเขาศึกษา  เปนหญิงหรือชาย โสด สําเร็จมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเทา และมีคุณสมบัติเฉพาะ ตามประกาศของโรงเรียนผูชวยพยาบาล คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล เรื่องการสมัคร สอบคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรผูชวยพยาบาล วิธีการคัดเลือกนักศึกษา โดยการสอบขอเขียน สัมภาษณ และตรวจรางกาย แนวทางประกอบอาชีพ / การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น  ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล  ศึกษาตอในระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตรบัณฑิต หรือดานสาธารณสุข ทุนการศึกษา : มีทุนการศึกษาใหตามความเหมาะสม สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม โรงเรียนผูชวยพยาบาล คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล 420/6 ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท : 02-3549100 ตอ 1614, 1615, 02-3069100-9, 02-3069144 โทรสาร : 02-3069144 เว็บไซต : www.tm.mahidol.ac.th **********************


111

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

Mahidol University

วิ ท ยาลั ย ดุ ริ ย างคศิ ล ป  หลักสูตร 1.

2.

3. 4.

5. 6.

:

ประกาศนียบัตรวิชาชีพดนตรี (เตรียมอุดมดนตรี) Pre-College Project

วัตถุประสงคของหลักสูตร 1) เพื่อใหการศึกษาสาขาดนตรีแกนักเรียนเตรียมอุดมศึกษาเพื่อเขาศึกษาในระดับอุดมศึกษา 2) เพื่อสรางโอกาสใหนักเรียนมีความพรอมดานดนตรีเพื่อเขาเรียนดนตรีโดยตรง 3) เพื่อสรางคุณภาพการศึกษาดานดนตรีสูความเปนวิชาชีพทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ปรัชญาของหลักสูตร ดนตรีเปนวิชาของนักปราชญ วิทยาลัยมีหนาที่ยกฐานะวิชาดนตรีจากวิชาขางถนนเตนกินรํากิน ใหเปนวิชาของนักปราชญทที่ ุกคนจะตองเรียน และสรางวิชาดนตรีใหเปนวิชาชีพที่มีเกียรติเปนที่ยอมรับ ในทุกระดับ วิทยาลัยจะตองสรางคนเกงและปลูกฝงใหเปนคนดี หลอมคนเกงและคนดีใหเปนคน ๆ เดียวกัน เพื่อมุงใหดนตรีพัฒนาคุณภาพคน คนออกไปสรางชาติ วิทยาลัยเปนสถาบันของคนเกงดนตรี เปนที่อยูของคนดีและเปนที่แสดงดนตรีของคนที่มีความ สามารถทั้งในระดับอาชีพ ระดับชาติ และระดับนานาชาติ ระยะเวลาในการศึกษา : 3 ป คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 1) สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทาหรือกําลังศึกษาอยูใ นชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 3 2) มีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรี หรือขับรองไดดี 3) มีพื้นฐานความรูดา นทฤษฎีดนตรีสากล หรือดนตรีไทย และดานโสตทักษะ 4) มีความประพฤติเรียบรอย และใหการรับรองตอวิทยาลัยฯ ไดวา จะตั้งใจศึกษาเลาเรียนเต็ม ความสามารถ และจะปฏิบัตติ ามระเบียบขอบังคับของวิทยาลัยฯ ที่มีอยูแลว หรือที่จะมีตอไปโดย เครงครัดทุกประการ 5) ไมเปนโรคที่สังคมรังเกียจ หรือโรคที่เปนอุปสรรคตอการศึกษาและไมติดยาเสพติด วิธีการคัดเลือกนักศึกษา : รับตรงโดยวิทยาลัยดุริยางคศิลป แนวทางประกอบอาชีพ/ แนวทางในการศึกษาในระดับที่สงู ขึ้น ศึกษาตอในระดับปริญญาตรี


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 7.

112

Mahidol University

ทุนการศึกษา  ทุนศิลปนดนตรี (Artist Scholarship) เปนทุนยกเวนคาหนวยกิต (Tuition Fee) 80,000 บาทตอทุนตอปการศึกษา สําหรับนักเรียน และ นักศึกษาดนตรีที่มีความสามารถทางการปฏิบัตดิ นตรีเปนเลิศในแขนงวิชาดนตรีปฏิบัติ แขนงวิชา ดนตรีแจส แขนงวิชาดนตรีไทยและดนตรีตะวันออก และแขนงวิชาดนตรีสมัยนิยม การคัดเลือก การทดสอบดนตรีปฏิบตั ิ (Audition)  ทุนเหรียญทองเยาวชนดนตรี (Gold Medal Scholarship) เปนทุนยกเวนคาหนวยกิต (Tuition Fee) 80,000 บาทตอทุนตอปการศึกษา สําหรับผูไดรับรางวัล ชนะเลิศประกวดเยาวชนดนตรีในแตละป  ทุนหมอมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (Mom Dusdi Paribatra Scholarship) เปนทุนยกเวนคาหนวยกิต (Tuition Fee) 50,000 - 100,000 บาทตอทุนตอปการศึกษา สําหรับ นักศึกษาระดับปริญญาตรีในแขนงวิชาดนตรีศึกษา ทีม่ ีผลการเรียนระดับดีเลิศ การคัดเลือกนักศึกษา ใชผลการเรียน และการสัมภาษณ  ทุนเครื่องมือขาดแคลน (Special Instruments Scholarship) เปนทุนยกเวนคาหนวยกิต (Tuition Fee) 60,000 บาทตอทุนตอปการศึกษา สําหรับนักเรียนระดับ เตรียมอุดมดนตรีและนักศึกษาปริญญาตรี ทุกแขนงวิชา ที่เรียนเครื่องมือขาดแคลน คือเรียนวิชาเอ และมีความสามารถดีพอที่จะรวมเลนวงดนตรีของวิทยาลัยฯ ได โดยที่นักเรียน นักศึกษาจะตองมีเครื่อง ดนตรีเปนของตนเอง กลุมเครื่องดนตรีทปี่ ระกาศใหทนุ คือ ดับเบิ้ลเบส โอโบ ทูบา และบาซซูน การคัดเลือกการทดสอบดนตรีปฏิบตั ิ (Audition) และการสัมภาษณ  ทุนเรียนดี (Merit Scholarship) เปนทุนยกเวนคาหนวยกิต (Tuition Fee) 40,000 บาทตอทุนตอปการศึกษา สําหรับนักเรียนระดับ เตรียมอุดมดนตรี และนักศึกษาระดับปริญญาตรีในทุกแขนงวิชา คัดเลือกทุนโดยการทดสอบดนตรี ปฏิบัติ (Audition) และการสัมภาษณ เกณฑการคัดเลือกขึ้นกับแตละแขนงวิชา โดยวิทยาลัยฯ จะ ประกาศใหทราบในแตละป  ทุนรวมวง (Ensemble Scholarship) เปนทุนยกเวนคาหนวยกิต (Tuition Fee) 10,000 บาทตอทุนตอปการศึกษา สําหรับผูชวยผูควบคุมวง (Large Ensemble)


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

113

Mahidol University

 ทุนนักดนตรีวงดุริยางค ฟลฮารโมนิกแหงประเทศไทย (TPO Scholarship) เปนทุนการศึกษาเพื่อสงเสริมความเปนนักดนตรีอาชีพ คัดเลือกโดยการทดสอบความสามารถ ที่วิทยาลัยฯ จัดขึ้นประมาณเดือนกันยายนของทุกป ทุนการศึกษาเปนคาตอบแทนการแสดงในวง ดุริยางคฟลฮารโมนิกแหงประเทศไทย (Thailand Philharmonic Orchestra, TPO) นักศึกษาที่เปนนัก ดนตรีฝกหัดจะไดรบั ทุน 60,000 บาทตอปการศึกษา นักศึกษาที่เปนนักดนตรีประจําจะไดรับทุน 180,000 บาท ตอหนึ่งปการศึกษา  ทุนสงเสริมหรือทุนกูยืมเพื่อการศึกษา (Bursaries/Loans) พิจารณาเปนกรณีไป 8. สถานที่ตดิ ตอขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม งานรับสมัคร วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล 25/25 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170 โทรศัพท : 02-800-2525 ตอ 109 (คุณภารดี / คุณชาติชาย) โทรสาร : 02-800-2530 เว็บไซต : www.music.mahidol.ac.th : mscss@mahidol.ac.th E-mail **********************************


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

114

Mahidol University

ระดับบัณฑิตศึกษา


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

115

Mahidol University

ระดับบัณฑิตศึกษา การจัดการการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาา มหาวิทยาลัยมหิดล มีการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ไดแก ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต / ประกาศนียบัตร ชั้นสูง ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก ซึ่งมีหลักสูตรที่อยูภายใตการประสานงานของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ดังนี้ ระดับ / หนวยงาน หลักสูตร

ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 1. คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล หลักสูตรไทย  ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตรการแพทยคลินกิ จํานวน 15 สาขาวิชา ไดแก กุ ม ารเวชศาสตร จั ก ษุ วิ ท ยา จิ ต เวชศาสตร พยาธิ วิ ท ยา พยาธิ วิ ท ยาคลิ นิ ก รังสีวิทยา วิสัญญีวิทยา เวชศาสตรฟนฟู เวชศาสตรครอบครัว ศัลยศาสตร สูตศิ าสตร-นรีเวชวิทยา โสต นาสิก ลาริงซวิทยา อายุรศาสตร และนิติเวชศาสตร  ประกาศนียบัตรทางวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน สาขาวิชาชีวเคมี 2. คณะทันตแพทยศาสตร หลักสูตรนานาชาติ  ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตรการแพทยคลินกิ สาขาวิชา การประดิษฐใบหนาขากรรไกร 3. คณะเวชศาสตรเขตรอน หลักสูตรนานาชาติ  ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตรการแพทยคลินกิ สาขาวิชา อายุรศาสตรเขตรอนและสุขวิทยา 4. คณะเทคนิคการแพทย หลักสูตรไทย  ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางเทคนิคการแพทย จํานวน 6 สาขาวิชา ไดแก โลหิตวิทยา จุลทรรศนศาสตรคลินิก เคมีคลินกิ จุลชีววิทยาคลินิก วิทยาภูมิคุมกันคลินิก และปรสิตวิทยา 5. คณะกายภาพบําบัด หลักสูตรไทย  ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกายภาพบําบัดดวยการจัด ดัด ดึง

ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง หลักสูตรไทย  ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก ทันตกรรมจัดฟน และทันตแพทยศาสตร หลักสูตรนานาชาติ  ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก การฟนฟูสภาพชองปาก และทันตกรรมประดิษฐทันตกรรม รากเทียม 2. คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล หลักสูตรไทย  ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง สาขาวิชาวิทยาศาสตรการแพทยคลินกิ 1. คณะทันตแพทยศาสตร


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ระดับ / หนวยงาน

Mahidol University

116

หลักสูตร

ระดับปริญญาโท 1. คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล หลักสูตรไทย  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 10 สาขาวิชา ไดแก กายวิภาคศาสตร จุลชีววิทยา จิตวิทยาคลินิก นิติวิทยาศาสตร เภสัชวิทยา สรีรวิทยา วิทยาการระบาด วิทยาศาสตรรังสี วิทยาศาสตรการบริการโลหิต และวิทยาศาสตรปฏิบัติการคลินิก หลักสูตรนานาชาติ  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก ชีวเคมี และวิทยาภูมิคุมกัน 2. คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาล หลักสูตรไทย รามาธิบดี  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 4 สาขาวิชา ไดแก พยาธิวิทยาคลินิก การเจริญพันธุแ ละวางแผนประชากร ฟสิกสการแพทย และความผิดปกติของการสื่อความหมาย  พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 6 สาขาวิชา ไดแก การพยาบาลมารดาและทารกแรกเกิด การพยาบาลเด็ก การพยาบาลผูใ หญ การพยาบาลเวชปฏิบตั ิชุมชน โภชนศาสตร และการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช (ภาคปกติ/พิเศษ) 3. คณะทันตแพทยศาสตร หลักสูตรไทย  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 4 สาขาวิชา ไดแก ปริทันตวิทยา ทันตกรรมเด็ก ทันตกรรมหัตถการ และทันตกรรมทั่วไป หลักสูตรนานาชาติ  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 5 สาขาวิชา ไดแก ทันตกรรมจัดฟน ชีววิทยาชองปาก ทันตกรรมประดิษฐ ทันตชีววัสดุศาสตร และทันตแพทยศาสตร 4. คณะเวชศาสตรเขตรอน หลักสูตรนานาชาติ  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอายุรศาสตรเขตรอน  อายุรศาสตรเขตรอนคลินิกมหาบัณฑิต จํานวน 2 สาขา ไดแก อายุรศาสตรเขตรอนคลินิก และกุมารเวชศาสตรเขตรอน 5. คณะเทคนิคการแพทย หลักสูตรนานาชาติ  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก เทคนิคการแพทย และรังสีเทคนิค 6. คณะพยาบาลศาสตร หลักสูตรไทย  พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 7 สาขาวิชา ไดแก การพยาบาลเด็ก การพยาบาลผูใหญ (ภาคปกติ/พิเศษ) การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช(ภาคปกติ/พิเศษ) การพยาบาล เวชปฏิบัตคิ รอบครัว การผดุงครรภขนั้ สูง การพยาบาลผูสูงอายุ และการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ระดับ / หนวยงาน 7. คณะสาธารณสุขศาสตร

8. คณะเภสัชศาสตร

9. คณะวิทยาศาสตร

10. คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากร ศาสตร

Mahidol University

117

หลักสูตร หลักสูตรไทย  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 4 สาขาวิชา ไดแก ชีวสถิติ สุขาภิบาลสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม(ปกติ/พิเศษ) สุขศาสตรอุตสาหกรรมและความปลอดภัย (ภาคปกติ / พิเศษ)  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร) สาขาวิชาเอก บริหารกฎหมายการแพทยและสาธารณสุข สุขศึกษาและพฤติกรรม ศาสตร (ภาคปกติ/พิเศษ) พยาบาลสาธารณสุข (ภาคปกติ/พิเศษ) บริหารสาธารณสุข (ภาคปกติ/พิเศษ) โภชนวิทยา โรคติดเชื้อและ วิทยาการระบาด อนามัยครอบครัว และการบริหารโรงพยาบาล สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ไทย) หลักสูตรนานาชาติ  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก วิทยาการระบาดทางการแพทย และสนเทศศาสตรทางสุขภาพ  สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (นานาชาติ) หลักสูตรนานาชาติ  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก เภสัชเคมีและพฤกษเคมี และเภสัชศาสตรชีวภาพ  เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอก เภสัชการ เภสัชกรรมคลินิก บริหารเภสัชกิจ เภสัชเคมี เภสัชวินจิ ฉัย จุลชีววิทยา ชีวเคมี และเภสัชวิทยา หลักสูตรไทย  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีพอลิเมอร และเคมีวิเคราะหและเคมี อนินทรียประยุกต หลักสูตรนานาชาติ  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 19 สาขาวิชา ไดแก คณิตศาสตรประยุกต ฟสิกสเชิงเคมี ชีววิทยาสภาวะแวดลอม เทคโนโลยีชีวภาพ พยาธิชีววิทยา เคมีเชิงฟสิกส สรีรวิทยาของ การออกกําลังกาย เคมีอินทรีย ฟสิกส จุลชีววิทยา พิษวิทยา ชีวเคมี เภสัชวิทยา สรีรวิทยา นิตวิ ิทยาศาสตร กายวิภาคศาสตร และชีววิทยาโครงสราง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษา วิทยาการพีช และวิทยาศาสตรและวิศวกรรมวัสดุ หลักสูตรไทย  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 3 สาขาวิชา ไดแก การวางแผนสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน เทคโนโลยีการบริหารสิ่งแวดลอม (ภาคปกติ/พิเศษ) และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการพัฒนา ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม หลักสูตรนานาชาติ  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก นิเวศวิทยาอุตสาหกรรมและสิ่งแวดลอม และการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ระดับ / หนวยงาน 11. คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

Mahidol University

118

หลักสูตร

หลักสูตรไทย  ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 7 สาขาวิชา ไดแก การจัดการทางการกีฬา รัฐประศาสนศาสตร (ปกติ/พิเศษ) สังคมศาสตรการแพทยและสาธารณสุข (ภาคปกติ/พิเศษ) อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม ประชากรศึกษา (ภาคปกติ/พิเศษ) จริยศาสตรศึกษา และศาสนาเปรียบเทียบ  ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก การศึกษาผูใ หญและการศึกษาตอเนื่อง และสิ่งแวดลอมศึกษา (ภาคปกติ / พิเศษ)  สังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสิ่งแวดลอม หลักสูตรนานาชาติ  ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการศึกษา  สังคมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตรสุขภาพ 12. คณะวิศวกรรมศาสตร หลักสูตรไทย  วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 3 สาขาวิชา ไดแก เทคโนโลยีการจัดการระบบสารสนเทศ วิศวกรรมอุตสาหการ และ สถาปตยกรรมการจัดการองคกร (ภาคพิเศษ) หลักสูตรนานาชาติ  วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 5 สาขาวิชา ไดแก วิศวกรรมชีวการแพทย วิศวกรรมสิ่งแวดลอมและทรัพยากรน้ํา วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเคมีบูรณาการ และวิศวกรรมเครื่องกล  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีกากรจัดการระบบ สารสนเทศ (ภาคพิเศษ) 13. คณะกายภาพบําบัด หลักสูตรไทย  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบําบัด 14. คณะศิลปศาสตร หลักสูตรนานาชาติ  ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตรประยุกต (การสอน ภาษาอังกฤษเพื่อจุดมุงหมายเฉพาะ) 15. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและ หลักสูตรไทย การสื่อสาร  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร (ภาคพิเศษ) 16. สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน หลักสูตรนานาชาติ  การบริหารสาธารณสุขมูลฐานมหาบัณฑิต 17. สถาบันวิจัยชีววิทยาศาสตรโมเลกุล หลักสูตรไทย  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอุปกรณชีวการแพทย หลักสูตรนานาชาติ  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก ประสาทวิทยาศาสตร และพันธุศาสตรระดับโมเลกุลและพันธุ วิศวกรรมศาสตร


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ระดับ / หนวยงาน 18. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม

Mahidol University

119

หลักสูตร

หลักสูตรไทย  ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม หลักสูตรนานาชาติ  ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและอนามัยเจริญพันธุ และสาขาวิชาพฤฒิวิทยาเชิงประชากรและสังคม 19. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม หลักสูตรไทย เอเซีย  ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 3 สาขาวิชา ไดแก ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา วัฒนธรรมและการพัฒนา และภาษาศาสตร 20. สถาบันโภชนาการ หลักสูตรไทย  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพิษวิทยาทางอาหารและโภชนาการ และสาขาวิชาโภชนศาสตร หลักสูตรนานาชาติ  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอาหารและโภชนาการเพื่อการพัฒนา 21. สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็ก หลักสูตรไทย และครอบครัว  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาการมนุษย 22. วิทยาลัยดุริยางคศิลป หลักสูตรไทย  ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี 23. วิทยาลัยราชสุดา หลักสูตรไทย  ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชางานบริการฟนฟูสมรรถภาพ คนพิการ (ภาคปกติ / ภาคพิเศษ) 24. วิทยาลัยนานาชาติ หลักสูตรนานาชาติ  บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิเคราะหและการสรางตัวแบบ ธุรกิจ  การจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยวและการ บริการ 25. วิทยาลัยศาสนศึกษา หลักสูตรไทย  ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนศึกษา 26. วิทยาลัยการจัดการ หลักสูตรไทย การจัดการมหาบัณฑิต (หลักสูตรไทย) และการจัดการมหาบัณฑิต (การจัดการการเงิน) (หลักสูตรไทย) หลักสูตรนานาชาติ การจัดการมหาบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) และการจัดการ มหาบัณฑิต(การจัดการการเงิน) หลักสูตรนานาชาติ 27.คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี หลักสูตรไทย และสถาบันโภชนาการ  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตร 28. คณะวิทยาศาสตร หลักสูตรนานาชาติ และคณะเภสัชศาสตร  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการพืช 29. คณะวิทยาศาสตร หลักสูตรนานาชาติ คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษา และสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ระดับ / หนวยงาน 30. บัณฑิตวิทยาลัย

Mahidol University

120

หลักสูตร หลักสูตรไทย  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการระบาดทางการแพทย  ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 3 สาขาวิชา ไดแก สิทธิมนุษยชน วิทยาการเสพติด และสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา หลักสูตรนาชาติ  ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก สิทธิมนุษยชนและการพัฒนาประชาธิปไตย จิตตปญญาศึกษาและการ เรียนรูสูการเปลี่ยนแปลง

ระดับปริญญาเอก 1. คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล

2. คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาล รามาธิบดี

3. คณะทันตแพทยศาสตร 4. คณะเวชศาสตรเขตรอน 5. คณะเทคนิคการแพทย 6. คณะพยาบาลศาสตร

7. คณะสาธารณสุขศาสตร

หลักสูตรไทย  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก เภสัชวิทยา และสรีรวิทยาการแพทย หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต จํานวน 3 สาขาวิชา ไดแก จุลชีววิทยาการแพทย ชีวเคมี และวิทยาภูมิคมุ กัน หลักสูตรไทย  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก พยาธิวิทยาคลินิก และโภชนศาสตร หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก วิทยาการระบาดคลินิก และการพยาบาล หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก ชีววิทยาชองปาก และทันตชีววัสดุศาสตร หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก อายุรศาสตรเขตรอน และอายุรศาสตรเขตรอนคลินิก หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย หลักสูตรไทย  พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาการพยาบาล หลักสูตรนานาชาติ  สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต จํานวน 6 สาขาวิชา ไดแก วิทยาการระบาด โภชนาการสาธารณสุข บริหารสาธารณสุข สุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร การพยาบาลสาธารณสุข และปรสิตวิทยา  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม และจุลชีววิทยาสาธารณสุข


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ระดับ / หนวยงาน 8. คณะเภสัชศาสตร

9. คณะวิทยาศาสตร

10. คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากร ศาสตร 11. คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

12. คณะวิศวกรรมศาสตร

13. คณะกายภาพบําบัด 14. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 15. บัณฑิตวิทยาลัย

Mahidol University

121

หลักสูตร หลักสูตรไทย  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาเภสัชเคมีและพฤกษเคมี หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต จํานวน 4 สาขาวิชา ไดแก เภสัชศาสตรชีวภาพ เภสัชการ บริหารเภสัชกิจ และวิทยาการ พฤกษเภสัชภัณฑ หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต จํานวน 20 สาขาวิชา ไดแก กายวิภาคศาสตรและชีววิทยาโครงสราง เคมีเชิงฟสิกส จุลชีววิทยา ชีวเคมี เภสัชวิทยา ชีววิทยา พยาธิชวี วิทยา ฟสิกสเชิงเคมี สรีรวิทยา เทคโนโลยีชีวภาพ เคมีอินทรีย พิษวิทยา เคมีวิเคราะห วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีพอลิเมอร คณิตศาสตร ฟสิกส วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษา เคมีอนินทรีย วิทยาศาสตรการ ออกกําลังกาย เวชศาสตรระดับเมเลกุล และวิทยาศาสตรและ วิศวกรรมวัสดุ หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร หลักสูตรไทย  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต จํานวน 3 สาขาวิชา ไดแก สังคมศาสตรการแพทยและสาธารณสุข อาชญาวิทยาการบริหาร งานยุตธิ รรมและสังคม และประชากรศึกษา  ศึกษาศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาสิ่งแวดลอมศึกษา  รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะและ การจัดการภาครัฐ หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาพุทธศานศึกษา หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุณฎีบัณฑิต จํานวน 2 สาขาวิชา ไดแก การจัดการโลจิสติกสและวิศวกรรม และวิศวกรรมชีวการแพทย หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชากายภาพบําบัด  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาสิทธิมนุษยชนและสันติศกึ ษา


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ระดับ / หนวยงาน 14. สถาบันวิจัยชีววิทยาศาสตรโมเลกุล

15. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม 16. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม เอเซีย 17. วิทยาลัยดุริยางคศิลป 18. วิทยาลัยศาสนศึกษา 19. วิทยาลัยการจัดการ 20. คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาล รามาธิบดี และคณะพยาบาลศาสตร 21. คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาล รามาธิบดี และสถาบันโภชนาการ 22. คณะวิทยาศาสตร คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร และสถาบันนวัตกรรมการเรียนรู 23. คณะวิทยาศาสตร คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี คณะทันตแพทยศาสตร และคณะเวชศาสตรเขตรอน 24. คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร และวิทยาลัยศาสนศึกษา 25. คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี คณะทันตแพทยศาสตร และคณะเวชศาสตรเขตรอน

Mahidol University

122

หลักสูตร หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต หลักสูตรไทย  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต หลักสูตรไทย  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต

สาขาวิชาประสาทวิทยาศาสตร สาขาวิชาอณูพันธุศาสตรและพันธุวิศวกรรมศาสตร สาขาวิชาประชากรศาสตร สาขาวิชาภาษาศาสตร สาขาวิชาดนตรี สาขาวิชาศาสนศึกษา สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการพยาบาล

หลักสูตรไทย  ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโภชนศาสตร หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศึกษา หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาเวชศาสตรระดับโมเลกุล

หลักสูตรนานาชาติ  ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา หลักสูตรไทย  ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรคลินิก


Mahidol University

123

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

 คาใชจายในการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คาใชจายในการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรไทย รายการ (ภาคปกติ) 1. คาบํารุงการศึกษา (ชําระทุกภาคการศึกษา เพื่อคงสภาพ นักศึกษา) 5,050 บาท  ภาคการศึกษาแรก 4,350 บาท  ภาคการศึกษาที่สอง 2. คาหนวยกิตรายวิชา (บรรยาย/ปฏิบัต/ิ สัมมนา) หนวยกิตละ  ป.โท ประมาณ 12-13 หนวยกิต 900 บาท  ป.เอก เรียนตอจาก ป.ตรี ประมาณ 24 หนวยกิต  ป.เอก เรียนตอจาก ป.โท ประมาณ 12 หนวยกิต 3. คาลงทะเบียนวิทยานิพนธ  ป.โท จํานวน 12-18 หนวยกิต หนวยกิตละ  ป.เอก จํานวน 36/48/72/84 700 บาท หนวยกิต 4. คาลงทะเบียนสารนิพนธ  ป.โท จํานวน 6 หนวยกิต หนวยกิตละ 700 บาท 5. คาวิจัยเพื่อทําวิทยานิพนธ

6. คาใชจายอืน่ ๆ  คาหนวยกิตวิชาปรับพื้นฐาน  คาอุปกรณพิเศษ / คาบํารุง อุปกรณ  คาธรรมเนียมการศึกษาดูงาน  คาธรรมเนียมการฝกภาคสนาม

-

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล หลักสูตรไทย หลักสูตรนานาชาติ (ภาคพิเศษ)

5,050 บาท 4,350 บาท 2,000-4,500 บาท

หนวยกิตละ 1,500-4,500 บาท

5,050 บาท 4,350 บาท 4,200-9,000 บาท นักศึกษาไทยที่ไมไดรับทุนการศึกษา จากองคกรใด ๆ หลักสูตรนานาชาติ ที่เขาศึกษาและบัณฑิตวิทยาลัย อาจ พิจารณาใหทนุ คาหนวยกิตโดยชําระ ในอัตราลดหยอนไมต่ํากวา 900 บาท / หนวยกิต หนวยกิตละ 700-4,200 บาท

หนวยกิตละ หนวยกิตละ 900 บาท 1,500-4,500 บาท  นักศึกษา ป.โท คนละไมเกิน 150,000 บาท  นักศึกษา ป.เอก คนละไมเกิน 300,000 บาท  นักศึกษาไทยที่ไมไดรับทุนการ ศึกษาจากองคกรใดๆ หลักสูตร นานาชาติที่เขาศึกษา และบัณฑิต วิทยาลัย อาจพิจารณาใหทนุ คาวิจัยดวยการลดหยอน หรือ ยกเวนคาวิจัยเปนรายๆ ไป

จัดเก็บตามความจําเปนเฉพาะบางหลักสูตร และอัตราตามคาใชจายจริง ที่เกิดขึ้น


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

Mahidol University

124

หมายเหตุ 1. หลักสูตร ป.เอก สาขาดนตรี และหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการพยาบาล คาหนวยกิต รายวิชา อัตราหนวยกิตละ 3,500 บาท 2. หลักสูตรมหาบัณฑิต นานาชาติ ที่เปดสอนที่วิทยาลัยนานาชาติ จัดการเรียนการสอนระบบไตรภาค ไดกําหนด อัตราคาธรรมเนียมการศึกษา ดังนี้ - คาบํารุงการศึกษา ภาคการศึกษาละ 12,000 บาท - คากิจกรรมนักศึกษา ภาคการศึกษาละ 250 บาท - คาบํารุงบัณฑิตวิทยาลัย ภาคการศึกษาละ 750 บาท - คาบริการ Internet ภาคการศึกษาละ 300 บาท - คาหนวยกิต (บรรยาย / ปฏิบัติ / สัมมนา) หนวยกิต 5,000 บาท - คาลงทะเบียนวิทยานิพนธ / สารนิพนธ หนวยกิต 5,000 บาท ดูรายละเอียดคาใชจา ยในการศึกษาของแตละสูตรสาขาวิชา ไดจาก www.grad.mahidol.ac.th MENU : CURRICULUM โดยในแตละหลักสูตรสาขาวิชาจะมีหัวขอ “คาใชจายในการศึกษา” (Tuition Fee) 102

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม สํานักงานคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย อาคารบัณฑิตวิทยาลัย 25/25 หมูที่ 5 ถนนพุทธมณฑลสาย 4 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม 73170 โทรศัพท : 0-2441-4125 (อัตโนมัติ 15 เลขหมาย) โทรสาร : 0-24419737 เว็บไซต : grad.mahidol.ac.th


125

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล 

Mahidol University

สถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยมหิดล

นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล ไดรับหนวยงานภายนอกเขาเปนสถาบันสมทบ จํานวน 20 แหง ประกอบดวย วิทยาลัยแพทย 2 แหง โรงพยาบาล 4 แหง วิทยาลัยพยาบาล 13 แหง และวิทยาลัยการสาธารณสุข 1 แหง โดยจัดการเรียนการสอน ดังนี้ ที่ ชื่อสถาบันสมทบ หลักสูตรที่เปดสอน 1 วิทยาลัยแพทยศาสตร 1. แพทยศาสตรบัณฑิต พระมงกุฎเกลา 2. ประกาศนียบัตรทางวิทยาศาสตร การแพทยคลินิก สาขาวิชากุมาร เวชศาสตร, จิตเวชศาสตร, พยาธิวิทยา, รังสีวิทยา, สูต-ิ นรีเวชวิทยา, โสต ศอ นาสิก ลาริงซวิทยา,ศัลยศาสตร, อายุรศาสตร, เวชศาสตรฟนฟู, เวชศาสตรครอบครัว, จักษุวิทยา และวิสัญญีวิทยา 2 วิทยาลัยแพทยศาสตร แพทยศาสตรบัณฑิต กรุงเทพมหานครและ วชิรพยาบาล

3 โรงพยาบาลมหาราช นครราชสีมา สถาบัน พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข

แพทยศาสตรบัณฑิต

4 โรงพยาบาลมหาราช แพทยศาสตรบัณฑิต นครศรีธรรมราช สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข 5 โรงพยาบาลราชบุรี แพทยศาสตรบัณฑิต สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข แพทยศาสตรบัณฑิต 6 โรงพยาบาลสวรรค ประชารักษ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารสุข

สถานที่ตดิ ตอ วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา 315 ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-7826 โทรสาร 0-2354-7659

วิทยาลัยแพทยศาสตรกรุงเทพมหานคร และวชิรพยาบาล 681 ถนนสามเสน แขวงวชิระ เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 0-22430151 ตอ 41145 โทรสาร 0-2668-9370-89 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา 49 ถนนชางเผือก ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 3000 โทรศัพท (044) 254-990-9 ตอ 781 โทรสาร (044) 246-389 โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช 1 ถนนราชดําเนิน ต.ในเมือง อ.เมือง จ. นครศรีธรรมราช 80000 โทรศัพท (075) 340250-5 ตอ 4341 โทรสาร (075) 346946, 343066 โรงพยาบาลราชบุรี 85/1 ถนนสมบูรณกุล ต.หนาเมือง อ. เมือง จ. ราชบุรี 70000 โทรศัพท (032) 321823 โรงพยาบาลสวรรคประชารักษ 43 ถนนอรรถกวี อ.เมือง จ. นครสวรรค 90000 โทรศัพท (056) 228688 ตอ 2321 โทรสาร (056) 228681


126

มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ที่ ชื่อสถาบันสมทบ 7 วิทยาลัยพยาบาล กองทัพบก

หลักสูตรที่เปดสอน 1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต 2. การพยาบาลเฉพาะทาง (16 สัปดาห)

8 วิทยาลัยพยาบาล เกื้อการุณย

พยาบาลศาสตรบัณฑิต

9

พยาบาลศาสตรบัณฑิต

วิทยาลัยพยาบาล กองทัพเรือ

10 วิทยาลัยพยาบาล ทหารอากาศ

1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต 2. ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร ระดับตน

11 วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี กรุงเทพ

1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต 2. พยาบาลศาสตรบัณฑิต (ตอเนื่อง)

12 วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี

1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต 2. พยาบาลศาสตรบัณฑิต (ตอเนื่อง)

13 วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ราชบุรี

1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต 2. พยาบาลศาตรบัณฑิต (ตอเนื่อง)

14 วิทยาลัยพยาบาล 1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต บรมราชชนนี สระบุรี 2. พยาบาลศาตรบัณฑิต (ตอเนื่อง)

Mahidol University สถานที่ตดิ ตอ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก 317/6 ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-22460066 ตอ 93557, 0-224581 โทรสาร 0-2246-0066 ตอ 93557 วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย 131/15 ถนนขาว เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท 0-22416522, 0-22416515 โทรสาร 0-22416527 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ 504 ถนนสมเด็จพระเจาตากสิน บุคคโลธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 0-24752870, 0-24752614 โทรสาร 0-24752872 กรมแพทยทหารอากาศ วิทยาลัยพยาบาลทหารอากาศ ถนนพหลโยธิน เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท 0-25342651, 0-25345347 โทรสาร 0-25345168 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 2/1 ถนนพญาไท ต.ทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-224-72566 ตอ 3304 โทรสาร 0-2247-3941 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี 47/99 ถนนติวานนท ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ. นนทบุรี 11000 โทรศัพท 0-2525-1019, 0-2525-3136 โทรสาร 0-25256วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี 84/21 ถนนคฑาธร ต.หนาเมือง อ.เมือง จ. ราชบุรี 70000 โทรศัพท (032) 314603 ตอ 505 โทรสาร (032) 314605 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี 18/64 ถนนเทศบาล 4 ต.ปากเพรียว อ.เมือง จ. สระบุรี 18000 โทรศัพท (036) 211948, 211768, 317204 โทรสาร (036) 317206


มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล

Mahidol University

127

ที่ ชื่อสถาบันสมทบ หลักสูตรที่เปดสอน 15 วิทยาลัยพยาบาล 1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต พระจอมเกลา จังหวัด 2. พยาบาลศาสตรบัณฑิต (ตอเนื่อง) เพชรบุรี

16 วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี จักรีรัช

1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต 2. พยาบาลศาสตรบัณฑิต (ตอเนื่อง) 3. ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร ( ตอเนื่อง) ภาคพิเศษ

17 วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี พระพุทธบาท

1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต 2. พยาบาลศาตรบัณฑิต (ตอเนื่อง)

18 วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ชัยนาท

1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต 2. พยาบาลศาสตรบัณฑิต (ตอเนื่อง)

19 วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี สุพรรณบุรี

1. พยาบาลศาสตรบัณฑิต 2. พยาบาลศาสตรบัณฑิต (ตอเนื่อง) 3. ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร (ตอเนื่อง) ภาคพิเศษ

20 วิทยาลัยการสาธารสุข สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สิรินธร จังหวัดชลบุรี

สถานที่ตดิ ตอ วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกลา จังหวัดเพชรบุรี 203 หมู 2 ถนนคีรีรัฐยา ต. ธงชัย อ.เมือง จ. เพชรบุรี 76000 โทรศัพท (032) 424126 ตอ 212 โทรสาร (032) 427050 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช 99 หมู 3 ต. บัวขาว ต.บานโปง จ. ราชบุรี 70110 โทรศัพท (032) 344950-8, 081-3787750 โทรสาร (032) 344959 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท 91 หมู 8 ถนนพหลโยธิน ต. ธารเกษม อ.พระพุทธบาท จ. สระบุรี 18120 โทรศัพท (036) 266170, 269100-6 โทรสาร (036) 267047 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท 248 หมู 6 ต.ชัยนาท อ. เมือง จ. ชัยนาท 17000 โทรศัพท (056) 426269, 426743 โทรสาร (056) 412996, 411497 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี 118 หมู 1 ต.สนามชัย อ.เมือง จ. สุพรรณบุรี 72000 โทรศัพท (035) 535253-5 ตอ 205, 081-8023882, โทรสาร (035) 535251 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี ฝายพัฒนาและสงเสริมการศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร 29 หมู 4 ถนนวชิรปราการ ต. บานสวน อ. เมือง จ.ชลบุรี 20000 โทรศัพท (038) 275-663, 275665 ตอ 140, 141, 144 โทรสาร (038) 27424

*********************************


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.