การจัดทำแนวทางปฏิบัติในการตรวจสอบข้อมูลหลักสูตรตาม มคอ.2

Page 1


การจัดทําแนวทางปฏิบัติในการตรวจสอบข้อมูลหลักสูตรตาม มคอ. ๒ ลําดับ

เรื่อง

ประเด็น/สาระสําคัญ/ เหตุผล

หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ๑ ๒ ๓ ๔

ชื่อหลักสูตร ชื่อปริญญาและสาขาวิชา วิชาเอก (ถ้ามี) จํานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

ควรระบุชื่อเต็มของหลักสูตรพร้อมสาขาวิชาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ควรระบุชื่อและอักษรย่อของปริญญาทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สําหรับหลักสูตร ๔ ปี จํานวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า ๑๒๐ หน่วยกิต สําหรับหลักสูตร ๕ ปี จํานวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า ๑๕๐ หน่วยกิต สําหรับหลักสูตร ๖ ปี จํานวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า ๑๘๐ หน่วยกิต

รูปแบบของหลักสูตร ๕.1 รูปแบบ ๕.๒ ภาษาที่ใช้ ๕.๓ การรับเข้าศึกษา

ระบุรูปแบบของหลักสูตรที่เปิดสอนว่าคุณวุฒิหลักสูตรระดับปริญญา.......... ควรระบุว่าภาษาที่ใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างชาติ ควรระบุว่ารับนักศึกษาเข้าศึกษานักศึกษาไทยหรือต่างชาติหรือรับทั้ง ๒ กลุ่ม เข้าศึกษา

๕.๔ ความร่วมมือกับสถาบันอืน่ ๕.๕ การให้ปริญญาแก่ผู้สําเร็จการศึกษา

ควรระบุว่าให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียวหรือให้ปริญญามากกว่า ๑ สาขาวิชา หรือเป็นปริญญาร่วมระหว่างสถาบันอุดมศึกษาหรือสถาบันอื่น ที่มีข้อตกลง ร่วมมือกัน

สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณา อนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

สําหรับหลักสูตรใหม่ควรระบุว่า  เริ่มใช้ในภาคการศึกษาที่ ...... ปีการศึกษา .... เป็นต้นไป

หลักสูตรปรับปรุงควรระบุว่า  การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรนี้ เริ่มใช้กับนักศึกษาตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ ........ ปีการศึกษา ............. เป็นต้นไป  คณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองหลักสูตรพิจารณาหลักสูตรนี้ในการ ประชุมครั้งที่ ................. เมื่อวันที่ ..........................  สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ ......................... เมื่อวันที่ .................................

๗ ๘

ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มี คุณภาพและมาตรฐาน อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสําเร็จ การศึกษา


-๒เรื่อง ลําดับ ๙ ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตําแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ประเด็น/สาระสําคัญ/ เหตุผล อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องมีคุณสมบัติสอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตร สําหรับหลักสูตรระดับปริญญาตรี ซึ่งเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรไม่ได้ ระบุ อ าจารย์ผู้ รับ ผิด ชอบหลั ก สู ต รไว้ ให้ อ าจารย์ป ระจํา หลั ก สูต รที่ สํ า เร็ จ การศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาที่ตรงหรือสัมพันธ์กับ สาขาวิ ช าที่ เ ปิ ด สอนหรือ เป็ น ผู้ดํ า รงตํา แหน่ ง ทางวิ ช าการไม่ ต่ํ า กว่า ผู้ ช่ ว ย ศาสตราจารย์ อย่างน้อย ๒ คน เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยให้ ระบุคุณวุฒิ สาขาวิชา และปีที่สําเร็จ พร้อมทั้งเลขประจําตัวประชาชน ถ้า จัดการเรียนการสอนมากกว่า ๑ แห่งให้แสดงอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ของแต่ละแห่งซึ่งต้องเป็นอาจารย์คนละชุดกัน อาจารย์ผู้รับ ผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ป ระจํา ของมหาวิท ยาลัย ที่เ ป็น อาจารย์ป ระจํา หลัก สูต รนั้น ๆ ทําหน้าที่ในการบริหารหลักสูตรและการ เรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร การติดตามประเมินผลหลักสูตร และ หน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก และอาจารย์ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม และอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์

๑๐ ๑๑

๑๒

๑๓

สถานทีจ่ ัดการเรียนการสอน สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่ จําเป็นต้องนํามาพิจารณาในการวางแผน หลักสูตร ๑๑.๑ สถานการณ์หรือการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ ๑๑.๒ สถานการณ์หรือการพัฒนาทาง สังคมและวัฒนธรรม ผลกระทบจากข้อ ๑๑.๑ และข้อ ๑๑.๒ ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความ เกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน ๑๒.๑ การพัฒนาหลักสูตร ๑๒.๒ ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน ความสัมพันธ์ (ถ้ามี)กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอน ในคณะ/ภาควิชาอื่นหรือสถาบัน (เช่น รายวิชา ที่เปิดสอนเพื่อให้บริการคณะ/ภาควิชาอื่น หรือต้องเรียนจากคณะ/ภาควิชาอื่น )


-๓ลําดับ

เรื่อง

ประเด็น/สาระสําคัญ/ เหตุผล

หมวดที่ ๒ ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร ๑

ปรัชญาความสําคัญและวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร

ระบุป รัช ญาความสํา คัญ และวัตถุป ระสงค์ของหลัก สูตรต้อ งสอดคล้ อ งกับ ปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบันและมาตรฐานวิชาการ/วิชาชีพ หรือการผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะและความรู้ความสามารถอะไร

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

เมื่อบัณฑิตสําเร็จการศึกษาหลักสูตรนี้แล้ว  บัณฑิตจะมีความรู้ความสามารถอะไรบ้าง  มีคุณธรรมจริยธรรมอะไรบ้าง และควรมีการเขียนสอดแทรกไว้ในวิชา ต่างๆ ด้วย

แผนพัฒนาปรับปรุง ๒. ๑ แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง

ควรระบุแผนพัฒนาหรือแผนการเปลี่ยนแปลง พร้อมระบุเวลาคาดว่าจะ ดําเนินการแล้วเสร็จ (เช่นภายใน ๕ ปี)

๒.๒ กลยุทธ์ ๒.๓ หลักฐาน/ตัวบ่งชี้

หมวดที่ ๓ ระบบการจัดการศึกษาการดําเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร ๑

ระบบการจัดการศึกษา ๑.๑ ระบบ ๑.๒ การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ๑.๓ การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบ ทวิภาค การดําเนินการหลักสูตร ๒.๑ วัน-เวลาในการดําเนินการเรียน การสอน ๒.๒ คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

ระบบการจัดการศึกษาเป็นระบบทวิภาค ระบบไตรภาค ระบบจตุรภาค

ควรระบุคุณสมบัติผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรที่สอดคล้องกับระดับการศึกษาตาม เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา อาทิ สําเร็จการศึกษาระดับมัยธมศึกษา ตอนปลาย สําหรับผู้สมัคเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรระดับปริญญาตรี ในกรณีที่มี เกณฑ์คุณสมบัติเพิ่มเติมต้องระบุให้ครบและชัดเจน

๒.๓ ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า ๒.๔ กลยุทธ์ในการดําเนินการเพื่อแก้ไข ปัญหา/ข้อจํากัดของนักศึกษาในข้อ ๒.๓ ๒.๕ แผนการรับนักศึกษาและผู้สําเร็จ การศึกษาในระยะ ๕ ปี


-๔ลําดับ

เรื่อง ๒.๖ งบประมาณตามแผน

ประเด็น/สาระสําคัญ/ เหตุผล ควรระบุว่า งบประมาณการค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิตตามหลักสูตร (บาท/ต่อปีการศึกษา) ๑. ค่าจ้างสอนรายวิชา (อาจารย์พิเศษ,ค่าตอบแทนพิเศษ) ๒. ค่าสาธารณูปโภค (ปันส่วน) ๓. เงินเดือนอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา (ปันส่วน) ๔. ค่าวัสดุในการจัดการเรียนการสอน (ปันส่วน) ๕. ค่าครุภัณฑ์ในการจัดการเรียนการสอน(ปันส่วน) ๖. อื่น ๆ (ถ้ามี) ค่าใช้จ่ายในการผลิตบัณฑิตจํานวน ............คน ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตรในการผลิตบัณฑิตเฉลี่ย ๑ คน/ปีการศึกษา

๒.๗ ระบบการศึกษา

ใช้ระบบทวิภาค โดย ๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์

๒.๘ การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและ การลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย (ถ้ามี) หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน ๓.๑ หลักสูตร ๓.๑.๑ จํานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร  หลักสูตร ๔ ปี จํานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๑๒๐ หน่วยกิต  หลักสูตร ๕ ปี จํานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๑๕๐ หน่วยกิต  หลักสูตร๖ ปี จํานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๑๘๐ หน่วยกิต จัดการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

๓.๑.๒ โครงสร้างหลักสูตร

ระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ (ควรระบุเป็นหมวดวิชาให้สอดคล้องกับที่ กําหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ พ.ศ. ๒๕๔๘) ประกอบด้วย หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จํานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต มหาวิทยาลัยกําหนด ๑๖ หน่วยกิต อีก ๑๔ หน่วยกิต ให้คณะฯ เลือกเอง โดยจัดแบ่งเป็นกลุ่มดังนี้ กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ กลุ่มวิชาภาษา หมวดวิชาเฉพาะ โดยจัดแบ่งเป็นกลุ่ม ดังนี้ กลุ่มวิชาแกน กลุ่มวิชาเอก กลุ่มวิชาโท  (หลักสูตร ๔ ปี) จํานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๘๔ หน่วยกิต  (หลักสูตร ๕ ปี) จํานวนหน่วยกิตรวม ไม่น้อยกว่า ๑๑๔ หน่วยกิต  (หลักสูตร ๖ ปี) จํานวนหน่วยกิตรวม ไม่น้อยกว่า ๑๔๔ หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต


-๕เรื่อง

ลําดับ ๓.๑.๓ รายวิชา

๓.๑.๔ แสดงแผนการศึกษา

๓.๑.๕ คําอธิบายรายวิชา

ประเด็น/สาระสําคัญ/ เหตุผล  การระบุชื่อวิชา ชื่อวิชาภาษาไทยและภาษาอังกฤษไม่สอดคล้องกัน เช่น รายวิชา ดังนี้ ๑. ปัญหาเฉพาะทางปรสิตวิทยา (Special Problems in Prasitology) ให้ใช้ว่า ปัญหาพิเศษทางปรสิตวิทยา (Special Problems in Prasitology) ๒. เทคนิคชั้นสูงด้านปรสิตวิทยา (Advanced Parasitology Techniques ) ให้ใช้ว่า เทคนิคขั้นสูงด้านปรสิตวิทยา (Advanced Parasitology Techniques ) ๓. ประเด็นการวิจัยทางวิทยาการระบาด (Topics in epidemiologic Research) ให้ใช้ว่า หัวข้อการวิจัยทางวิทยาการระบาด (Topics in epidemiologic Research) คําว่า Introduction ภาษาไทย ให้ใช้คําว่า ขัน้ แนะนํา ไม่ใช่ เบื้องต้น คําว่า Elementary ภาษาไทย ให้ใช้คําว่า เบื้องต้น คําว่า Principle ภาษาไทย ให้ใช้คําว่า หลักการ คําว่า Basic ภาษาไทย ให้ใช้คําว่า พื้นฐาน คําว่า หนอนพยาธิตัวกลม หนอนพยาธิตัวตืด หนอนพยาธิใบไม้ คําว่า หนอน พาหนะนําโรค เป็น ตัวนําโรค คําว่า ระบาดวิทยา ให้ใช้เป็น วิทยาการระบาด การปรับปรุงรายวิชาหรือเปลี่ยนรหัสวิชาหรือการเปิดรายวิชาใหม่ต้อง ตรวจสอบ ดังนี้ ๑. การกําหนดรหัสวิชาใหม่และรายวิชาใหม่ กระทําได้เลย ๒. การเปลี่ยนชื่อรายวิชาเดิมเป็นชื่อใหม่ และใช้รหัสรายวิชาใหม่ กระทําได้ แต่ต้องตรวจสอบให้ละเอียดก่อนว่าจะซ้ําซ้อนกับรหัสรายวิชาอื่นหรือไม่ ๓. การเปลี่ยนชื่อรายวิชาเดิมเป็นชื่อใหม่ แต่ใช้รหัสเดิมจะกระทําไม่ได้ ยกเว้นแต่ จะได้ประกาศยกเลิกการใช้รายวิชานั้นเป็นอย่างน้อย ๕ ปี และรายวิชาในหลักสูตร ที่ได้รับอนุมัติให้เปิดสอนแล้ว แต่ยังไม่มีนักศึกษาลงทะเบียนเรียน (ทั้งนี้รายวิชาใหม่ เปลี่ยนรหัสวิชาขอให้ทําหนังสือบันทึกข้อความ ถึงกองเทคโนโลยีสารสนเทศตรวจสอบความให้ถูกต้อง ถ้าผิดขอให้เจ้าหน้าที่ที่ รับผิดชอบในคณะนั้นๆ กลับไปยังคณะฯก่อนนําเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ พิจารณากลั่นกรองหลักสูตร) ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่น้อยกว่า ๙ หน่วยกิต และไม่เกิน ๒๒ หน่วยกิต ใน แต่ละภาคการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และให้ลงทะเบียน เรียนได้ไม่เกิน ๙ หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ และตรวจสอบว่าใน แผนการศึกษาแต่ละภาคการศึกษามีรายวิชาและจํานวนหน่วยกิตครบหรือไม่  ควรเขียนให้เป็นวลี (Phrase) ไม่ใช้เขียนแบบพรรณนา และไม่ควร มีคําเหล่านี้ เช่น This minicourse offered, This subject is aimed at the studying of, This course will consider  การเขียนคําอธิบายรายวิชา ควรระบุเฉพาะรายละเอียดที่จะสอนนักศึกษา และตัดคําที่ไม่จําเป็นและฟุ่มเฟื่อย ออก เช่น “รวมทั้ง” “รวมถึง” “โดย เน้นถึง” “มุ่งเน้น ” “ตลอดจน” “ศึกษา”“วิชานี้เป็นวิชาที่ศึกษา“ ตัดออก


-๖เรื่อง

ลําดับ

ประเด็น/สาระสําคัญ/ เหตุผล

๓.๒ ชื่อ สกุล เลขประจําตัวบัตร ประชาชน ตําแหน่งและคุณวุฒิของ อาจารย์ ๓.๒.๑ อาจารย์ประจําหลักสูตร

ต้องเป็นอาจารย์ประจําของสถาบัน ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนในการทําหน้าที่ อาจารย์ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก สู ต ร ฯลฯ ที่ ส อดคล้ อ งตามเกณฑ์ ม าตรฐาน หลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ ในระดับปริญญานั้นๆ โดยมีจํานวน หลักสูตรละ ๕ คน และจะเป็นอาจารย์ประจําหลักสูตรในเวลาเดียวกันเกินกว่าหนึ่ง หลักสูตรมิได้” สําหรับในแนวทางบริหารเกณฑ์ฯ ที่ระบุว่า สถาบันฯ ต้อง เปิดเผยข้อมูล รายชื่อ และคุณวุฒิของอาจารย์ประจําในแต่ละหลักสูตร ทั้ง คณาจารย์ประจําและคณาจารย์พิเศษในแต่ละภาคการศึกษา....

๓.๒.๓ อาจารย์ประจํา

หมายถึง บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาที่มีหน้าที่หลักทางด้านการสอนและ การวิจัย และปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลาตามภาระงานที่รับผิดชอบในหลักสูตรที่ เปิ ด สอน (มิ ใ ช่ เ ต็ ม เวลาทํ า การ) ทั้ ง นี้ อาจารย์ ป ระจํ า ในแต่ ล ะหลั ก สู ต ร เรี ย กว่ า อาจารย์ ป ระจํ า หลั ก สู ต ร ซึ่ ง จะเป็ น อาจารย์ ป ระจํ า เกิ นกว่ า ๑ หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ และต้องทําหน้าที่เป็นอาจารย์ประจําตามที่ระบุไว้ ในหลักสูตรหนึ่งหลักสูตรใดในขณะหนึ่งๆ เท่านั้น

๓.๒.๔ อาจารยพิเศษ

องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถ้ามี) ๔.๑ มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ ประสบการณ์ภาคสนาม ๔.๒ ช่วงเวลา ๔.๓ การจัดเวลาและตารางสอน

หมายถึง ผู้ที่ไม่ได้เป็นคณาจารย์ประจําในส่วนงานของมหาวิทยาลัย เพื่อ ทํ า หน้ า ที่ ส อนในหลั ก สู ต รของมหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาของ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลและ/หรื อ การทํ า วิ จั ย หรื อ เป็ น ที่ ป รึ ก ษาโครงงาน วิทยานิพนธ์ รวมทั้งการให้คําแนะนํา ปรึกษาแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล ให้ บ ริ ก ารทางวิ ช าการแก่ สั ง คม ทะนุ บํ า รุ ง ส่ ง เสริ ม ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และ ปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับงานของมหาวิทยาลัย


-๗ลําดับ เรื่อง ๕ ข้อกําหนดเกี่ยวกับการทําโครงงานหรือ งานวิจัย (ถ้ามี) ๕.๑ คําอธิบายโดยย่อ

ประเด็น/สาระสําคัญ/ เหตุผล

๕.๒ มาตรฐานผลการเรียนรู้ ๕.๓ ช่วงเวลา ๕.๔ จํานวนหน่วยกิต ๕.๕ การเตรียมการ ๕.๖ กระบวนการประเมินผล

หมวดที่ ๔ ผลการเรียน กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล ๑ ๒

การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของ นักศึกษา การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน ๒.๑ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ๒.๒ ด้านความรู้ ๒.๓ ด้านทักษะทางปัญญา ๒.๔ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ

๒.๕ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบ มาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่ รายวิชา (Curriculem Mapping)

ตามที่ระบุไว้ในหมวดที่ ๔ ข้อ ๒ โดยระบุความรับผิดชอบหลัก หรือความ รับผิดชอบรอง พร้อมทั้ง MU Core Value ของมหาวิทยาลัยมหิดล และ คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ไว้ในภาคผนวก ซึ่งภาคผนวกประกอบไปด้วย ๑. เอกสารแนบภาคผนวก ก คําอธิบายรายวิชา ๒. เอกสารแนบ ภาคผนวก ข รายละเอียดอาจารย์ประจําหลักสูตร ๓. เอกสารแนบ ภาคผนวก ค แผนที่แสดงการกระจายความ รับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา ๔. เอกสารแนบ ภาคผนวก ง การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร .....................................สาขาวิชา...................................


-๘ลําดับ

เรื่อง

ประเด็น/สาระสําคัญ/ เหตุผล

หมวดที่ ๕ หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา  การวัดผลและการสําเร็จการศึกษาเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๓๘  การวัดผลและการสําเร็จการศึกษาเป็นไปตามข้อบังคับ มหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ (สําหรับนักศึกษา ที่เข้าศึกษาในภาคการศึกษาที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ เป็นต้นไป)

กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ ระดับคะแนน (เกรด)

กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ของนักศึกษา เกณฑ์การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตรอย่างมากไม่เกิน .............ปีการศึกษา

หมวดที่ ๖ การพัฒนาคณาจารย์ ๑

การเตรียมการสําหรับอาจารย์ใหม่

การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่ คณาจารย์ อธิบายถึงสิ่งที่จะดําเนินการเพื่อช่วยให้ คณาจารย์ได้พัฒนา ๒.๑ การพัฒนาทักษะการจัดการเรียน การสอน การวัดและการประเมินผล ๒.๒ การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่น หมวดที่ ๗ การประกันคุณภาพหลักสูตร

การบริหารหลักสูตร

การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน ๒.๑ การบริหารงบประมาณ ๒.๒ ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม ๒.๓ การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอน เพิ่มเติม

๒.๔ การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร

การบริหารคณาจารย์

๓.๑ การรับอาจารย์ใหม่

ระบุระบบและกลไกลในการบริหารหลักสูตร


-๙ลําดับ

เรื่อง

ประเด็น/สาระสําคัญ/ เหตุผล

๓.๒ การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร ๓.๓ การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษ

การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียน การสอน ๔.๑ การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับ ตําแหน่ง ๔.๒ การเพิ่มทักษะความรู้เพื่อการปฏิบัติ (เช่น การฝึกอบรม ทัศนศึกษา หรือการฝึกการทําวิจัย ร่วมกับอาจารย์

การสนับสนุนและการให้คําแนะนําศึกษา ๕.๑ การให้คําปรึกษาด้านวิชาการ อื่นๆ แก่ นักศึกษา ๕.๒ การอุทธรณ์ของนักศึกษา

๖ ๗

ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ตัวบ่งชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators) หมวดที่ ๘ การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร

การประเมินประสิทธิผลของการสอน ๑.๑ การประเมินกลยุทธ์การสอน ๑.๒ การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้ แผนกลยุทธ์การสอน

การประเมินหลักสูตรในภาพรวม

การประเมินผลการดําเนินงานตาม รายละเอียดหลักสูตร การทบทวนผลการประเมินและวางแผน ปรับปรุง


-๑๐หมายเหตุ ข้อมูลนี้ได้รวบรวมจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ จากประสบการณ์ และคําแนะนําของคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองหลักสูตรในการประชุมพิจารณาหลักสูตรแต่ละครั้ง เพื่อจะได้ เป็นประโยชน์กับผู้ที่ปฏิบัติงานด้านหลักสูตรสําหรับใช้ในการตรวจสอบหลักสูตรตามแบบมคอ. ๒ เพือ่ ลดระยะเวลาในกาตรวจสอบ และเป็นประโยชน์กับพนักงานใหม่ทเี่ ข้ามาดําเนินการในเรือ่ งหลักสูตร ข้อมูลเพิ่มเติมข้อมูลดังนี้ ๑. กรณีหลักสูตรปรับปรุงขอให้คณะ/สถาบัน/วิทยาลัย ใส่สาระสําคัญในการปรับปรุงไว้ท้ายเล่มเป็น ภาคผนวกซึ่งในแบบ มคอ ๒ ไม่ได้ระบุไว้ เนื่องจากหลักสูตรปรับปรุงจะได้ทราบว่าสาระสําคัญในการปรับปรุงมีอะไรบ้าง ๒. การคิดหน่วยกิต (ทวิภาค) เนื่องจากในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้เกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ และกําหนดให้เพิ่มเติมการคิดจํานวนหน่วยกิตค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีรายละเอียด ดังนี้  รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยาย หรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่า เท่ากับ ๑ หน่วยกิต (๑ ชั่วโมง เท่ากับ ๑ หน่วยกิต)  รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่นอ้ ยกว่า ๓๐ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต ( ๒-๓ ชั่วโมงเท่ากับ ๑ หน่วยกิต)  การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต การคิดชั่วโมงเรียน ๑ ทฤษฎี หมายถึง ๑ หน่วยกิต : จํานวนชั่วโมงบรรยาย ๑ ชั่วโมง เท่ากับค้นคว้า ๒ ชั่วโมง เช่น ๒ บรรยาย เท่ากับค้นคว้า ๔ ชั่วโมง : ๓ บรรยาย เท่ากับค้นคว้า ๖ ชั่วโมง (นํา ๒ คูณกับจํานวนหน่วยกิตทฤษฎีก็จะได้เป็นจํานวนชั่วโมงค้นคว้า) ๒ ปฏิบัติ หมายถึง ปฏิบัติ ๑ หน่วยกิต : ฝึกทดลอง ๒ ชั่วโมง เท่ากับค้นคว้า ๑ ชั่วโมง (ตามจํานวนที่คิดปฏิบัตฝิ ึกทดลอง ๒-๓ ชั่วโมง ปฏิบัติเท่ากับ ๑ หน่วยกิต/ ๔-๖ ชั่วโมง ปฏิบัติฝึกทดลองเท่ากับ ๒ หน่วยกิต) การคิดชั่วโมงเรียน ทฤษฎี ๑ หน่วยกิต : บรรยาย ๑ ชั่วโมง เท่ากับ ๒ ชั่วโมงค้นคว้า ปฏิบัติ ๑ หน่วยกิต : ฝึกปฏิบัติ ๒-๓ ชั่วโมง เท่ากับ ๑ ชั่วโมงค้นคว้า หน่วยกิตและชัว่ โมงเรียน หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ) (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) ๓ (๓ - ๐ ) เป็น ๓ (๓ - ๐ - ๖) ๒ (๒ – ๐) เป็น ๒ (๒ – ๒ - ๕) ๑ (๐ - ๒) เป็น ๑ (๐ – ๒ - ๑) ๒ (๑ - ๒) เ-ป็น ๒ (๑ – ๒ - ๓)

ข้อมูล ณ วันที่ ๒๘ ก.พ. ๕๔


-๑๑จํานวนและคุณวุฒิของอาจารย

 ระดับปริญญาตรี ตองมีอาจารยประจําของมหาวิทยาลัย และตองเปนอาจารยประจํา หลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรนั้น ซึ่งมีคุณวุฒิตรงหรือ สัมพันธกับสาขาวิชาที่เปดสอนไมนอยกวา ๕ คน และในจํานวนนั้นตองเปนผูมี คุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาโท หรือเทียบเทา หรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการ ไมต่ํากวาผูชวยศาสตราจารย อยางนอย ๒ คน ทั้งนี้ อาจารยประจําในแตละ หลักสูตรจะเปนอาจารยประจําเกินกวา ๑ หลักสูตรในเวลาเดียวกันไมได

 ระดับบัณฑิตศึกษา ระดับปริญญาโท ตองเปนอาจารยประจําของมหาวิทยาลัยที่มี คุณวุฒิหรือสัมพันธกับสาขาวิชาที่เปดสอนไมนอยกวา ๕ คน และจัดให อาจารยประจําหลักสูตรจํานวน ๓ใน ๕ คนนั้นมีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาเอก หรือเทียบเทา หรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวารองศาสตราจารย ทําหนาที่อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร และอาจารยประจําหลักสูตรจํานวนที่ เหลือตองมีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาโทหรือเทียบเทา หรือเปนผูดํารงตําแหนง ทางวิชาการไมต่ํากวาผูชวยศาสตราจารย

อาจารยประจําของมหาวิทยาลัยที่เปนอาจารยประจําหลักสูตรนั้น ๆ ทําหนาที่ในการบริหารหลักสูตรและการเรียนการ สอน การพัฒนาหลักสูตร การติดตามประเมินผลหลักสูตร และหนาที่อื่นที่เกี่ยวของ เชน อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ หลัก และอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม และอาจารยผูสอบวิทยานิพนธ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.