FRIEND magazine

Page 1

ALL THE MAN NEEDS

ZERO BAHT

FIRST ISSUE 2012, MARCH

HOW TO BE DAVID BECKHAM


2


FRIEND TALKS 2 FRIEND REVIEW 4 “I Wish” & Daydreamer MEET SOME FRIEND 6 Documentary Photographer 10 WHAT FRIEND DO Fixed Gear Bikes 14 GOOD TO KNOW HIM David Beckham FRIEND’S WHEELS 18 Classic Motors FRIEND RECOMMENDS 20 Skybar

page 18

LET’S SEE WHAT WE HAVE IN THIS FIRST ISSUE. BIG THANK TO ALL FRIENDS TO READ MY PROJECT!

page 14


FRIEND

talks

นิ ท านก็ เ ป็ นเพี ย งนิ ท าน จะเศร้ าหรื อ สุข เพียงไหนเรื่ องราวก็สิ ้นสุด ณ ตรงนัน้ ขอต้ อนรับ ผู้อ่านทุกท่านกลับสู่โลกแห่งความจริ ง โลกที่ เครื่ อ งดื่ มแอลกอฮอล์ ใ นร้ านสะดวกซื อ้ ได้ รับ ความนิยมมากกว่านมสดและน� ้ำผลไม้ ทังรู้ ้ ว่า น� ้ำในขวดแก้ วจ�ำพวกนี ้ไม่เป็ นมิตร มันท�ำร้ าย สุขภาพและท�ำลายบุคลิก แต่ใครทังหลายก็ ้ ใคร่ ไม่คิดที่จะปฏิเสธ ยิ่งไปกว่านันกลั ้ บรู้สกึ สุขใจที่ จะดื่มด�่ำกับเครื่ องดื่มชนิดนี ้ ผลของการดื่มสุรานันสามารถบรรยายโดย ้ ละเอียดค่อนข้ างล�ำบาก เนื่องจากฤทธิ์ของมัน จะแรงแค่ไหนนันก็ ้ ขึ ้นอยูก่ บั ตัวผู้รับและปริมาณ ของสุราทีถ่ กู ดืม่ เข้ าไป กล่าวโดยสรุปได้ วา่ แต่ละ บุคคลสามารถรับปริ มาณของแอลกอฮอล์ได้ ไม่ เท่ากัน โดยในส่วนนี ้ข้ าพเจ้ าต้ องขออธิบายการ ท�ำปฏิกิริยาระหว่างเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์และ ร่างกายมนุษย์ด้วยหลักการทางเคมีอย่างคร่าวๆ เสียก่อน หลั ง จากกระดกแก้ วสุ ร าผ่ า นล� ำ คอ ปฏิกิริยาแรกที่เกิดขึ ้นทันทีที่รับสุราเข้ าไปแล้ ว

แอลกอฮอล์ จ ะเข้ า สู่ตับ จากนัน้ เอนไซม์ จ ะ เปลี่ยนแอลกอฮอล์ให้ เป็ นสารตัวใหม่ที่ชื่อ อะ เซ็ตทัลดีไฮด์ (Acetaldehyde) แล้ วเปลี่ยนอีก ครัง้ ให้ เป็ นสารอะซิเทต (Acetate) แล้ วล�ำเลียง ไปยังสมองและอวัยวะต่างๆ เมื่อสมองรับสารดังกล่าวเข้ าไป ร่างกายจะ แสดงปฏิกิริยาต่างๆออกมา เริ่ มตังแต่ ้ อาการ สมองโปรดโปร่ ง จากนันเมื ้ ่อรับแอลกอฮอล์ใน ปริ ม าณที่ ม ากขึ น้ เรื่ อ ยๆอาการผิ ด ปกติ ก็ จ ะ ทยอยตามมา การเคลื่อนไหวรวมถึงการพูดจา จะแปลกไปจากปกติ และเมื่ อ รั บ ปริ ม าณ แอลกอฮอล์ มากจนร่ างกายไม่สามารถรั บได้ อาการผิดปกติก็จะรุ นแรงขึ ้นตามล�ำดับ บ้ างก็ อาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ตลอดจนสูญเสีย สติสมั ปชัญญะในการควบคุมตัวเองไปในที่สดุ จะได้ เ ห็ น ได้ ชัด ว่า เมื่ อ รั บ แอลกอฮอล์ ใ น ปริ มาณที่มากเกินไปจะส่งผลร้ ายต่อสุขภาพ ยิ่ง ไปกว่านันการเสพติ ้ ดสุรายังเป็ นสาเหตุของโรค ร้ ายทังหลาย ้ ไม่ว่าจะเป็ นโรคมะเร็ ง โรคหัวใจ

ตลอดจนโรคเรื อ้ รังต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรค ตับอักเสบ ฯลฯ ซึง่ ล้ วนแล้ วแต่เป็ นอันตรายต่อ ชีวิตผู้ดื่มทังสิ ้ ้น เมื่อร่ างกายรับแอลกอฮอล์เข้ าไปในระดับ หนึง่ ฤทธิ์ของสุราจะเข้ าไปกดประสาทส่วนต่างๆ ของสมอง สิง่ ที่ตามมาก็คือความกล้ าแสดงออก ที่มากขึ ้นสวนทางกับความละอาย ทุกวันนี ้เราจึงเห็นปั ญหาสังคมจ�ำนวนมาก ซึง่ มีสว่ นประกอบจากการเมาสุรา ไม่วา่ จะเป็ น อุบตั ิเหตุบนท้ องถนนหรื อปั ญหาครอบครัวทัง้ หลาย ตลอดจนอาชญากรรมต่างๆที่เกิดขึ ้นจาก ความไร้ สติ เช่นเหตุทะเลาะวิวาทและการข่มขืน ที่มกั พบเห็นบนหน้ าหนังสือพิมพ์หลายฉบับ ปฏิเสธไม่ได้ ว่าในหลายครัง้ หลายคราวที่ เกิดเหตุอนั ชวนสลดใจ สังคมโลกมนุษย์ได้ กล่าว โทษสุร าว่ า เป็ นสาเหตุข องโศกนาฏกรรมทัง้ หลาย ในขณะผู้ทนี่ ยิ มชมชอบสุราจะถูกตราหน้ า ว่าเป็ นพวกขี ้เหล้ า ขาดซึง่ มนุษยธรรม ! สิทธิพงษ์ ติยะวรากุล บรรณาธิการบริหาร FRIEND Magazine oun_low-fat@hotmail.com

2


3


MOVIE REVIEW

WEIVER EIVOM

“I Wish”

a small film for every family. FRIEND ชวนสัมผัสประสบการณ์รักรูปแบบใหม่ ที่จะท�ำให้คุณมีรอยยิ้ม และชวนอบอุ่นใจใน “I Wish” หรือชื่อว่า ปาฏิหาริย์…เกิดจากแรงอธิษฐานและความรัก

ปาฏิหาริ ย์ ... สิง่ ที่หลายคนเชื่อว่า เกิด จากพระเจ้ า หรื อโชคชะตา แต่ I Wish (Kiseki) จะท�ำให้ คณ ุ ได้ เรี ยนรู้วา่ ปาฏิหาริ ย์ เกิดขึ ้นได้ กบั ทุกคน ที่มีความรักและแรง อธิษฐานมากพอ ภาพยนตร์ เรื่ อง “I Wish (Kiseki)” ปาฏิหาริ ย์…เกิดจากแรงอธิษฐานและความรัก เป็ นหนังที่จะชวนคุณมาย้ อนกลับเป็ นวัยเด็ก อีกครัง้ ผ่านมุมมองของตัวละครเด็ก ที่มีการ ถ่ายทอดออกมาได้ อย่างเป็ นธรรมชาติ และไร้ การแต่งเติม จึงยังคงมีความสดใส และความ ไร้ เดียงสาของเด็ก ให้ คณ ุ ได้ สมั ผัสถึงรอยยิ ้ม เสียงหัวเราะของพวกเขาได้ อย่างเต็มที่

I Wish บอกเล่าเรื่ องราวของเด็กชาย 2 คน ที่พอ่ แม่แยกทางกัน ท�ำให้ พวกเขาสองคน ต้ องแยกกันไปอยูค่ นละเมือง โดยพี่ชายย้ ายไป อยูก่ บั แม่ที่เมืองคาโกะชิมา่ ส่วนน้ องชายต้ อง อยูก่ บั พ่อที่ฟกุ โุ อกะ แต่ด้วยความรัก และ ความผูกพัน เด็กๆ ทังสองคนจึ ้ งยังคงโทรศัพท์ หากันเสมอ และพวกเขา ก็ยงั คงมีความ พยายามที่จะสมานรอยร้ าว เหมือนว่ามีบาง อย่างที่ดแู ล้ วเสียใจ หากมองเธอ หากเธอรู้ ให้ พ่อและแม่ของพวกเขากลับมาคืนดีกนั เพื่อจะ ท�ำให้ พวกเขาได้ อยูพ่ ร้ อมหน้ ากัน เป็ น ครอบครัวที่สมบูรณ์ดงั เดิม

ฉากที่เรี ยกน� ้ำตาให้ ผมไหลพรากได้ คง เป็ นฉากที่แม่โทรศัพท์ไปหาลูก(คนน้ อง) ที่คณ ุ ยายเอาโทรศัพท์ไปคุยกับหลานด้ วย เธอเอง จะใช้ เวลาที่เธอยังมีเหลือ หนังเรื่ องนี ้มีฉากที่ท�ำให้ ผมหัวเราะก๊ ากอ ยูห่ ลายฉาก เช่น ฉากแก๊ งค์เด็กสามคนแกล้ ง ป่ วยเพื่อที่จะได้ แอบไปเที่ยว ฉากน้ องชายขอ ตังค์จากพ่อ โดยรวมแล้ วเป็ นหนังอีกเรื่ องที่ดที ่ สี ุด ณ ตอนนี ้ ไม่ เสียดายทัง้ เงินทัง้ เวลา หาก ใครจะพาครอบครั วไปดูคงไม่ ใช่ เรื่ อง แปลก ที่จะมีรอยยิม้ กลับมาบ้ าน


WEIVER CISUM

a album from our favorite พาราด็อกซ์ เป็นวงที่เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2537 โดยกลุ่มนิสิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นกลุ่มที่มีเอกลักษณ์ทางการแสดงสดสนุก โดยจะมีการแสดงประกอบการเล่นดนตรี เช่น พ่นไฟ ,สาดน�้ำ ,โยนลูกโป่งใส่คนดู อยากจะขอยืนมองท้องฟ้ามีดาวเป็นล้าน จุดเริม่ ต้น - พาราด็อกซ์ ก่อตังขึ ้ ้นเมื่อ ประมาณปี พ.ศ. 2537 โดย อิทธิพงศ์ กฤดากร ณ อยุธยา หรื อ ต้ า (ร้ องน�ำ/กีต้าร์ ) ซึง่ เป็ นนิสติ จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความคิดที่จะตังวงดนตรี ้ เพื่อร่วมกิจกรรม ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในฐานะ นักศึกษาปี ที่ 1 จึงได้ ชวน จักรพงศ์ สิริริน หรื อ สอง (เบส) เข้ ามาร่วมวง โดยได้ รับแรงบันดาล ใจมาจากวงโมเดิร์นด็อก ซึง่ เป็ นวงดนตรี แนว อัลเทอร์ เนทีฟที่มีชื่อเสียงอีกวงหนึง่ ทังสองคน ้ ได้ ร่วมกันแต่งเพลงแนวลูกทุง่ ชื่อเพลง “โรง หนังเก่า” ขึ ้นเป็ นเพลงแรก ต่อมาก็ได้ พรภัฏ ชี วีวฒ ั น์ หรื อ โน้ ต นิสติ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้ ามาร่วมวงใน ต�ำแหน่งมือกลอง

ก้าวแรก - ต่อมาพาราด็อกซ์ได้ มีโอกาสท�ำ เพลงเพื่อรวมอยูใ่ นอัลบัม้ Intro 2000 ร่วมกับ ศิลปิ นอื่น ในสังกัดจีนี่เรคคอร์ ดส ซึง่ เป็ นช่วงที่ พาราด็อกซ์ยงั ขาดมือกลอง ในอัลบัมนี ้ ้จึงได้ รุ่นน้ องชื่อ ด�ำ มาช่วงตีกลองให้ ในเพลง ท่ามกลางแทนโน้ ต ไม่นานหลังจากอัลบัม้ Intro 2000 ทางพาราด็อกซ์ได้ รับโอกาสให้ ท�ำ อัลบัมเต็ ้ มอีกครัง้ แต่เนื่องจากพี่โน้ ตยังอยูต่ า่ ง ประเทศ ต้ าจึงได้ ชกั ชวน เสรฐพร กฤดากร ณ อยุธยา หรื อ โจอี ้ ซึง่ เป็ นญาติผ้ นู ้ องเข้ ามาร่วม วงในต�ำแหน่งมือกลอง และ ยังได้ ชวนเพื่อนที่

มีสว่ นร่วมในงานดนตรี ของพวกเขามาตังแต่ ้ อัลบัม้ Lunatic Planet คือ นัทธา กมลรัตนกุล หรื อ เก่ง มาช่วยร้ องคอรัส และเพิ่มสีสนั ในการ แสดงสด และ ชาญณรงค์ วังเย็น หรื อ อ๊ อฟ มาช่วยร้ องประสานแบบโหดๆ ท�ำให้ เกิดวงพา ราด็อกซ์ที่สมบูรณ์ ต้าร์กล่าวกับเรา - “แรกเริ่ มเดิมทีตงใจอยาก ั้ ท�ำเป็ นอัลบัมพิ ้ เศษ เพราะเป็ นเพลงหลุดโทน จากที่เคยท�ำ ในอัลบัมที ้ ่ผา่ นมาของด็อกซ์สว่ น ใหญ่จะเป็ นเพลงเร็ ว จะมีเพลงช้ าหรื อเพลงฟั ง แทรกมาแค่ 2-3 เพลง แต่ด้วยความที่ปีที่แล้ ว ได้ ไปทัวร์ คอนเสิร์ตต่างจังหวัดเยอะ พอเห็นวิว เห็นบรรยากาศสวยๆ และผู้หญิงบ้ าง เพราะที่ ผ่านมาผู้หญิงจะไม่คอ่ ยกล้ าฟั งเพลงเรา อาจ จะมองว่าเป็ นวงร็ อกแล้ วเพลงจะหนัก สบาย ๆ จากพวกเราแล้ วเกิดความประทับใจก็นา่ จะฟั ง เพลงในเชิงลึกของเราต่อไปได้ อีก”

MUSIC REVIEW

“Daydreamer”


meet some friend.

อธิษฐ์ อัศวเมธากุล

ช่างภาพ

นักบันทึก ประวัติศาสตร์ ใครๆก็ถ่ายภาพได้ แต่ไม่ใช่ทุกภาพที่โลกจะจดจ�ำ... บ่ายวันนี้ นับเป็ นโอกาสอันดีที่เราจะได้พาผูอ้ า่ นไปสนทนากับ อธิษฐ์ อัศวเมธากุล ช่างภาพชาวไทยเพียงผูเ้ ดียวที่ได้ไปลัน่ ชัตเตอร์บนั ทึก ประวัติศาสตร์ความเสียหายจากคลื่นยักษ์สึนามิในประเทศญี่ปุ่น

FRIEND : เริ่มจับกล้องตั้งแต่เมื่อไหร่ แล้วไป ตกหลุมรักกับสิ่งนี้ได้อย่างไร ผมว่าระเบียบบ้านเราอ่ะไม่ม ี คือผมว่า ค�ำว่า ท�ำอะไรตามใจคือไทยแท้ผมว่ามันไม่ ควรแล้วอ่ะ คือมันไม่มรี ะเบียบในทุกทีเ่ ลย แจก ของน�้ำท่วมก็ไม่เข้าคิว คือ คือคนไทย พูดไป เหมือนว่า เหมือนด่าตัวเองอ่ะ มัน มันมีนิสยั ไม่ดที ่ี คืออย่างเราอยูก่ นั ยังเงีย้ เราก็จะไม่รสู้ กึ เท่าไหร่วา่ เราจะโดนเอาเปรียบรึวา่ อะไร

06

FRIEND : ในตอนนี้มองว่ากล้องถ่ายรูปเป็น อะไรส�ำหรับคุณ ในสังคมประมาณหนึ่งมันจะมีระเบียบ ของมัน แต่วถ่ า้ เราอยูใ่ นเหตุการณ์ทไ่ี ม่ปกติเนี่ ยมันจะเห็นเลยว่า ผูค้ นเริม่ เอารัดเอาเปรียบกัน มากขึน้ ผูค้ นเริม่ เริม่ ทีจ่ ะไม่เป็ นระเบียบอ่ะ อย่างแรงแล้วว่า คือเจอมากับตัวเอง แบบว่า ไปแจกของแล้วก็บา้ นตรงนัน้ ก็อยูก่ นั แบบ คือ อยูล่ กึ แล้วนะ แต่กอ็ ยูย่ งั ๆ คิดว่าอยูต่ น้ อยู่ ก็ พูดทุกครัง้ เลย เวลามีเรือเข้าไปก็จะพูดว่าไม่ ได้รบั ของเลย

FRIEND : แล้วเคยรู้สึกเบื่อบ้างไหม ถ้าไม่เป็น ช่างภาพคิดว่าตัวเองจะท�ำอาชีพอะไร ทหารเรือก็มาบอกว่า พีบ่ า้ นนี้มนั ได้ทกุ ครัง้ แล้วสุดท้ายก็เอาของไปขายปากซอยอีก ทีนงึ อะไรยังเงีย้ เพราะว่าเค้าก็คอื เป็ นคนทีไ่ ด้ ของตลอดไง ซึง่ คนทีอ่ ยู่ขา้ งในกว่านัน้ อีกซัก โลกสองโลเนี่ย กลับเป็ นคนไม่ได้เพราะว่า เรือ ทุ ก ล� ำ มาก็จ ะแบบว่ า อุ๊ ย บ้า นนี้ อยู่ก ัน บน หลังคา น�้ำลึกแล้ว ถึงคอคงไม่ได้ออกไป แต่ท่ี จริงก้ได้รบั ของตลอดยังเงีย้ อ่ะครับ


“ทำ�อะไรตามใจคือไทยแท้ ผมว่ามันไม่ควรแล้ว” 07


meet some friend. 6 ขวด 8 ขวด โหลนึง เค้าก็ซอ้ื ขวดสองขวด ั้ พอกิน เค้าก็พอละ อย่างข้าวปนอาหารกล่ อง อะไรยังเงีย้ บ้านเราต้องมีตรงนี้มากขึน้ พีว่ า่ นะ แล้วถ้าคุณภาพคนมันดีขน้ึ นะ สิง่ ทีต่ ามมาคือ มันจะดีเอง โดยทีเ่ ราไม่ตอ้ งอะไรกัยมันมาก

พี่ก้ซอกแซก ซอกแซกของพี่ไป คนญี่ปุ่นก็ สะกิดแบบมันไม่ดใี ช่มยั ้ ท�ำยังเงีย้ ก็ไม่ดไี ง แต่ ว่าด้วยความทีเ่ รารีบ รีบจะไปถ่ายรูป

มีเหลือให้กนิ ครับ แล้วก็เลยกลายเป้ นว่าทุกครัง้ เค้าจะพูดค�ำเดิมว่า อุย๊ ไม่มใี คร เข้ามาเลย แต่คนทีพ่ ายเรือเข้ามาส่งทุกวันนี้ บ้านหลังนี้ได้ทุกครัง้ เออ มันก็จะเป็ นอะไรที่ กั น มา แบบ คือ คือถ้าไม่เห็นมันก็จะไม่เจอ มันก็จะ ตัง้ แต่ เ ด็กอ่ ะ ก็ต้อ ง ปลูกฝงั อ่ะ คือระบบ ไม่รู้ แล้วก็ผมอยากให้ฟ้ืนฟูเรือ่ งจิตใจ เนี้ยมันท�ำให้เห็นเร็วไม่ได้ มันไม่สามารถทีเ่ อา เงิน ร้อยล้านมาทุม่ แล้วท�ำให้สงั คมมันดีขน้ึ มัน FRIEND : ถ้าได้เกิดเหตุการณ์ทคี่ ล้ายคลึงกัน ท�ำ ก็ตอ้ งเริม่ ต้นจากพวกน้องๆนี่แหละ คือเห็น เราท�ำ ทีเ่ ห็นได้งา่ ยทีส่ ดุ คือการจราจรบ้านเรา กับประเทศไทย คุณคิดว่าจะเป็นอย่างไร ่ ป่ี ุน่ อ่ะ ผมก็ไปซือ้ ของทีซ่ ุปเปอรืญป่ี นุ่ น่ะนะ ก็ อ่ะ เพราะว่าอย่างพีช่ บั รถทีญ ไปซือ้ ของกินไม่คอ่ ยมี แต่ถา้ มันมีมนั มีเหลือให้ กิน แต่ทบ่ี า้ นเรามันไม่เหลือเลย มันไม่เหลือให้ FRIEND : คิดว่าจะมีความเป็นไปได้มากน้อย กินเลยตอนในน�้ ำท่วมอ่ะ น�้ ำดื่ม้�ำอะไรยังเงี้ แค่ไหน พีใ่ ช้นิสยั คนไทยเต็มทีเ่ ลยนะ คือไปได้ ยมันไม่เหลือเลย แต่ทญ ่ี ป่ี นุ่ อ่ะ ผมเข้าไปเซเว่น ถ้ามันมีน้�ำมันก็จะมีน้�ำนะ แล้วเค้าจะไม่ซอ้ื กัน เร็วกว่าเค้าเพือ่ นเลยอ่ะ แต่วา่ เค้าก็ยอมติดนะ

ก้ซอกแซก ซอกแซกของพี่ไป คน ญีป่ นุ่ ก็สะกิดแบบมันไม่ดใี ช่มยั ้ ท�ำยังเงีย้ ก็ไม่ดไี ง แต่วา่ ด้วยความทีเ่ รารีบ รีบจะไปถ่าย รูป ทุกคนมีเหตุผลให้กบั ตัวเองไง พีท่ ำ� มันก็ไม่ ดี แต่เวลาเค้าติด จอดให้คนข้าม บ้านเราก็แค่ ปรับปรุงนิสยั ส่วนตัว เราต้องปลูกฝงั ในระยะ ยาวครับ เราตามใจกันมากไปบ้านเมืองเลยเป็น อย่างนี้ไง แล้วก็เลยกลายเป้นว่าทุกครัง้ เค้าจะ พูดค�ำเดิมว่า อุ๊ยไม่มใี ครเข้ามาเลย นู่นนี่นัน่ อย่างเงี้ย แต่คนที่พายเรือเข้ามาส่งทุกวันนี้ บ้านหลังนี้ได้ทุกครัง้ เออ มันก็จะเป็ นอะไรที่ แบบ คือ คือถ้าไม่เห็นมันก็จะไม่เจอ มันก็จะ ไม่รู้ แล้วก็ผมอยากให้ฟ้ืนฟูเรือ่ งจิตใจ ทีค่ อื สืง่ ทีแ่ ตกต่างเลยคือ สิง่ ทีเ่ หมือนกันเลยคือ ผมก็ ไปซือ้ ของทีซ่ ุปเปอรืญป่ี นุ่ นะ

FRIEND : ภาพที่คุณได้บันทึกไว้สะท้อนความ เสียหายของประเทศญี่ปุ่นได้อย่างถึงอารมณ์ แล้วภาพรวมที่ผ่านสายตาคุณเป็นอย่างไรบ้าง แล้วก็เลยกลายเป้นว่าทุกครัง้ เค้าจะพูด ค�ำเดิมว่า อุ๊ยไม่มใี ครเข้ามาเลย นู่นนี่นนอย่ ั ่ าง เงีย้ แต่คนทีพ่ ายเรือเข้ามาส่งทุกวันนี้ บ้านหลัง นี้ได้ทุกครัง้ เออ มันก็จะเป็ นอะไรทีแ่ บบ คือ คือถ้าไม่เห็นมันก็จะไม่เจอ มันก็จะไม่รู้ แล้วก็ ผมอยากให้ฟ้ื น ฟู เ รื่อ งจิต ใจ ปลู ก ฝ งั เรื่อ ง จริยธรรมอะไรยังเงีย้ เพราะว่าทีผ่ มไปเห็นที่ ญีป่ นุ่ มาตอนแผ่นดินไหวอ่ะ กับ กับทีเ่ นี่ย ที่ คือสืง่ ทีแ่ ตกต่างเลยคือ สิง่ ทีเ่ หมือนกันเลยคือ ผมก็ไปซื้อของทีซ่ ุปเปอรืญ่ปี ุ่นน่ ะนะ ก็ ไปซือ้ ของกินไม่คอ่ ยมี แต่ถา้ มันมีมนั

08

FRIEND : สุดท้าย คุณมีอะไรจะฝากไปยังผู้ อ่านหรือไม่ ระบบเนี้ยมันท�ำให้เห็นเร็วไม่ได้ มันไม่ FRIEND : เพราะอะไรถึงคิดอย่างนั้น รณรงค์ทุกวันนี้มนั ก้เหมือนเข้าหูซ้าย สามารถที่เอาเงิน ร้อยล้านมาทุ่มแล้วท�ำให้ ออกหูขวาอ่ะ เพราะว่าตัวเราเองไม่ไดเปเนคน สังคมมันดีขน้ึ มันท�ำไม่ได้ไง ก็ตอ้ งเริม่ ต้นจาก ที่ คือเราไม่ได้ ไม่ได้ปลูกฝงั พวกน้องๆนี่แหละ คือเห็นเราท�ำ ก็คงไม่ทำ� อ่ะ ที่เ ห็น ได้ง่ า ยที่สุ ด คือ การจราจรบ้า นเราอ่ ะ เพราะว่าอย่างพีช่ บั รถทีญ ่ ป่ี นุ่ อ่ะ พีใ่ ช้นสิ ยั คน ไทยเต็มทีเ่ ลยนะ คือไปได้เร็วกว่าเค้า เพือ่ นเลยอ่ะ แต่วา่ เค้าก็ยอมติดนะ พี่


09


what friends do.

10


ใน

บางครัง้ บทเรี ยนที่คณ ุ ได้ อาจไม่ เช่นเดียวกับการสนทนาคราวนี ้ อีกราตรี ได้ ออกมาจากต�ำรา และอาศัย ณ กลางมหานคร นักเรี ยนคือพวกเราทัง้ อยูใ่ นห้ องเรี ยนเสมอไป ผู้ฟั ง และผู้อ่า น ส่ว นอาจารย์ พิ เ ศษคื อ เหล่ า สุ ภ าพบุ รุ ษ ผู้ มี ใ จรั ก ในการปั่ น จักรยานฟิ กเกียร์

ความรู้ เกี่ยวกับจักรยาน สิ่งที่ได้ จากการ ปั่ น ไปจนถึงปรัชญาการใช้ ชีวิต อาจแฝง อยู่ตามหน้ าถัดไปนี ้ ทังในข้ ้ อความและ ภาพถ่าย

11


what friends do.

12


13


good to know him.

HELLO ALL MY FRIEND YEAH, WE KNOW THAT YOU WOULD LIKE TO BE

DAVID BECKHAM เดวิด โรเบิร์ต โจเซฟ เบคแฮม เกิดวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1975 เป็นนัก ฟุตบอลชาวอังกฤษ ปัจจุบันเล่นให้กับแอลเอ กาแล็กซี่ ในเมเจอร์ลีกของ สหรัฐอเมริกา ด้วยค่าตัวประมาณ 50 ล้าน เหรียญสหรัฐ ในช่วงเวลา 5 ปี โดยปัจจุบันได้เงินรายปีประมาณ 7.7 ล้านเหรียญสหรัฐในขณะเล่นให้กับ เรอัล มาดริด โดยเบคแคมจะปรากฏตัวในโฆษณาของ อาดิดาส วอลต์ดิสนีย์ อีเอสพี เอ็น และ โมโตโรลา เบคแฮมเป็นกัปตันของทีมชาติอังกฤษตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000 ถึง 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2006

14


15


good to know him.

16


จุดเริม่ ต้น - เบคแคมมีสว่ นในการท�ำประตู ในรอบแรกของฟุตบอลโลก 2006 และยิงได้ ใน นัดที่พบกับเอกวาดอร์ ในรอบที่สอง ท�ำให้ เขา เป็ นผู้เล่นอังกฤษคนแรกที่ท�ำประตูได้ ในการ แข่งขันฟุตบอลโลก 3 ครัง้ อย่างไรก็ตามใน การแข่งขันกับโปรตุเกสในรอบถัดมา เบคแคม บาดเจ็บจนถูกเปลี่ยนตัวออกในครึ่งหลัง และ อังกฤษแพ้ ดวลจุดโทษให้ กบั โปรตุเกสอีกครัง้ หลังจากตกรอบฟุตบอลโลก เบคแคมประกาศ ลาออกจากต�ำแหน่งกัปตันทีมชาติองั กฤษ เพื่อเปิ ดทางให้ รุ่นน้ องคนอื่นเข้ ามารับหน้ าที่นี ้ ในทีมชาติ - หลังจากที่ยคุ ของกาลาคติคอส หมดลง เดวิด เบคแคม ได้ เซ็นสัญญากับทาง แอลเอ แกแลกซี่สโมสรเมเจอร์ ลีกใน สหรัฐอเมริ กาด้ วยค่าเหนื่อยแพงถึง 500,000 ดอลลาร์ สหรัฐ เดวิด เบคแคมมีสว่ นท�ำให้ คนในประเทศ ฟุตบอลคือทุกอย่างส�ำหรับผม สหรัฐอเมริ กาเริ่ มหัน มาดูฟตุ บอลกันมาก แต่ในชีวิตยังมีอีกหลายอย่างที่ ้น ชีวิตค้ าแข้ งที่ ส�ำคัญไม่แพ้กัน สิ่งแน่ที่สุด ขึเมเจอร์ ลีกใน อย่างแรกต้องเป็นครอบครัว สหรัฐอเมริกาของเขาดู หลายอย่างเริ่มจากตรงนั้น เหมือนจะราบรื่นได้ ไม่ นาน เพราะเขาไม่คอ่ ย พอใจกับชีวิตค้ าแข้ งที่เมเจอร์ ลีกเท่าไหร่ เดวิด เบคแคมบอกทางผ่านสื่อว่าการที่ได้ ไปเล่นให้ กับเมเจอร์ ลีกในสหรัฐอเมริ กานันส� ้ ำหรับดารา อาจจะใช่ แต่ส�ำหรับนักฟุตบอลที่แท้ จริ งนัน้ แตกต่างกันโดยสิ ้นเชิง และหลังจากนันเค้ ้ าได้ ถูกยืมตัวให้ กบั ทางสโมสรฟุตบอลเอซี มิลาน จึงท�ำให้ เค้ าคิดที่จะกลับมาเล่นให้ กบั สโมสร ใหญ่ๆ อีกครัง้

ในอิตาลี - เมื่อครึ่งหลังฤดูกาลในปี 20082009 ของสโมสรฟุตบอลเอซี มิลาน ยักษ์ ใหญ่ แห่งอิตาลี ได้ ท�ำการยืมตัว เดวิด เบคแคม มา เล่นให้ กบั ทีมจนจบฤดูกาล ซึง่ เขามีสว่ นร่วมใน การท�ำประตูมากมายให้ กบั สโมสรฟุตบอลเอซี มิลาน จนท�ำให้ ทีมได้ รองแชมป์ ความหวังที่ เดวิด เบคแคม ต้ องการมาเล่นให้ กับยักษ์ ใหญ่แห่งอิตาลีอย่างสโมสรฟุตบอลเอ ซี มิลานนัน้ สิง่ เดียวที่เค้ าหวังคือการที่จะได้ ลง เล่นให้ กบั ทีมชาติองั กฤษในศึกฟุตบอลโลก 2010 ที่ประเทศแอฟริ กาใต้ ซึง่ เค้ ารู้ตวั ดีวา่ ถ้ า เล่นในเมเจอร์ ลีกต่อ นัน่ จะท�ำให้ เดวิด เบค แคม ไม่สามารถโชว์ผลงานเท่าที่คาดคิดไว้ ได้ เบคแคมจึงตัดสินใจท�ำทุกวิถีทางเพื่อให้ มา เล่นกับสโมสรฟุตบอลเอซี มิลานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ ได้ ในสิง่ ที่เค้ าต้ องการและนัน่ ท�ำให้ เค้ า กับทางแอลเอ แกแลกซี่มีเรื่ องบาดหมางกัน แต่ในที่สดุ ก็ท�ำข้ อตกลงกันได้ คือ หลังจากที่ เดวิด เบคแคม หมดสัญญาการยืมตัวจาก สโมสรฟุตบอลเอซี มิลานในฤดูกาลปี 2008-2009 แล้ ว เดวิด เบคแคม จะกลับไป เล่นให้ กบั แอลเอ แกแลกซี่ทนั ทีและหลังจาก หมดฤดูกาลกับทางแอลเอ แกแลกซี่ เดวิด เบค แคม จะกลับมาเล่นให้ กบั สโมสรฟุตบอลเอซี มิ ลานอีกครัง้ ในฐานะนักเตะของสโมสรฟุตบอล เอซี มิลาน ซึง่ คาดว่าจะกลับมาในเดือนพฤษจิ กายนในปี 2009 ชีวิตครอบครัว - เบคแคมแต่งงาน เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 กับ วิคตอเรี ย อดัมส์ นักร้ องสาวของวงสไปซ์ เกิร์ลส ฉายา “Posh Spice” ความสัมพันธ์ของทังสองคนเป็ ้ นที่ สนใจของสื่อมวลชนอย่างมาก ทังคู ้ ถ่ กู เรี ยก จากสื่อว่า “Posh and Becks” และชื่อนี ้เป็ นที่ รู้จกั กันทัว่ ไป ครอบครัวเบคแคมมีลกู ชาย 3 คน และลูกสาว 1 คน คือ บรุคลิน โจเซฟ เบค แคม (เกิด 1999) , โรมีโอ เจมส์ เบคแคม (เกิด 2002) ครูซ เดวิด เบคแคม (เกิด 2005) และ ฮาร์ เปอร์ เซเว่น (เกิด 2011)

17


friend’s. wheels

รถยนต์คลาสสิก คือ รถยนต์เก่า หรือรถยนต์ที่ได้รับความนิยมในอดีต คือ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2443 เป็นต้นไป โดย ระยะรุ่นปีของรถที่ถือว่าเป็นรถยนต์คลาสสิกนั้น นอกเหนือจากความเก่า และรูปลักษณ์ที่ดูคลาสสิกแล้ว ยังขึ้น อยู่กับรสนิยมอีกด้วย เนื่องจากมีบ่อยครั้งที่มีบุคคลบางกลุ่มเรียกรถยนต์ที่มีลักษณะที่ดูคลาสสิก

Mercedes-Benz 170V (1936)

ในปี ค.ศ. 1886 คาร์ ล เบนซ์ (Karl Benz) วิศวกรชาวเยอรมันได้ สร้ างรถยนต์ที่ใช้ เครื่ องยนต์เพลิงเผาไหม้ คนั แรกของโลกได้ ส�ำเร็ จ (Benz Patent Motorwagen) โดยใช้ โครงสร้ างแบบลูกสูบเหมือนของเครื่ องจักรไอ น� ้ำ เพียงแต่ได้ เพิ่มอุปกรณ์ที่จะเปลี่ยนเชื ้อ เพลิงในรูปของเหลวให้ กลายเป็ นก๊ าซ และเพิ่ม วาล์วไอดีไอเสีย ในรูปแบบของเครื่ องยนต์ 4 จังหวะ (ปั จจุบนั รถยนต์ใช้ ระบบเครื่ องยนต์ แบบสันดาปภายใน) เครื่ องยนต์ที่ใช้ พลังงานเชื ้อเพลิงในยุคแรกๆ นัน้ ใช้ น� ้ำมันเบนซินเป็ นเชื ้อเพลิง ต่อมา ปี 1897 รูดอล์ฟ ดีเซล พยายามคิดค้ นพลังงาน อื่นมาใช้ กบั เครื่ องยนต์ จนส�ำเร็จเป็ น เครื่ องยนต์ดีเซล 18


Ford Mustang 289 coupe (1964)

Ferrari

250TR (1956) ทุกวันนี ้ถ้ าเป็ นรถระดับซุปเปอร์ คาร์ ที่เห็นวิ่งอยูบ่ นในประเทศไทย นอกจาก lamborghini แล้ วก็ยงั มี Ferrari ที่เป็ นรถระดับซุปเปอร์ คาร์ ที่มีสมรรถนะที่ใกล้ เคียง กัน โดยในความจริ งในประเทศไทยมี Ferrari มากกว่า lamborghini ถือว่ารถซุป เปอร์ คาร์ สองรุ่นนี ้ระหว่าง ม้ าล�ำพอง กับ กระทิงดุ เป็ นคูเ่ เข่งกันที่กินกันไม่ลงจริ ง ๆ เครื่ องยนต์ที่ใช้ พลังงานเชื ้อเพลิงในยุคแรกๆ นัน้ ใช้ น� ้ำมันเบนซินเป็ นเชื ้อเพลิง

มร. เจมส์ ดี ฟาร์ ลีย์ รองประธานกลุม่ ผู้บริ หาร ฝ่ ายการตลาด การขาย และการบริ การระดับ โลก ฟอร์ ด มอเตอร์ คัมปะนี เดินทางไปเยี่ยม ชมศูนย์บริ การฟอร์ ดย่านใจกลางกรุงเทพฯ ณ โชว์รูมฟอร์ ด เอก สีลม และร่วมกับคุณสมศักดิ์ พะเนียงทอง ผู้จ�ำหน่ายจากฟอร์ ด เอก สีลม มอบกุญแจรถฟอร์ ด เฟี ยสต้ า ใหม่ ให้ แก่คณ ุ เตือนใจ นิ่มเจริ ญ ลูกค้ าฟอร์ ด เฟี ยสต้ า คนที่ 30,000 ในประเทศไทย

Mini Cooper classic (1970)

Mercedes-Benz 500K (1935)

ยานพาหนะสามารถชักจูงโดยสัตว์ เช่น รถม้ าหรื อเกวียนเทียมวัว อย่างไรก็ตามตัว สัตว์เองนันก็ ้ ไม่ได้ เรี ยกว่าเป็ นยานพาหนะ ซึง่ รวมไปถึงมนุษย์ที่เคลื่อนย้ ายขนส่ง มนุษย์ด้วยกันเอง (คนอุ้มคน) ก็ไม่ได้ เรี ยกว่าเป็ นยานพาหนะ แต่สตั ว์และมนุษย์ เหล่านันจะเรี ้ ยกว่าเป็ น พาหนะ (ไม่มีค�ำว่ายาน)

อัพเกรดเครื่ องยนต์ด้วยระบบอัดอากาศ Twin-Scroll Turbo ผนวกกับระบบวาล์ว แปรผันอัจฉริ ยะ VALVETRONIC ซึง่ จัดเป็ น ระบบเครื่ องยนต์ที่ทนั สมัยที่สดุ ในปั จจุบนั เครื่ องยนต์ใหม่นี ้สามารถผลิตก�ำลังสูงสุดถึง 184 แรงม้ า ท�ำอัตราการประหยัดน� ้ำมันเฉลี่ย ได้ 17.2 กิโลเมตรต่อลิตร ดีกว่าเดิม 7% และ ค่าเฉลี่ยอัตราการคายไอเสียคาร์ บอนไดอ๊ อก ไซด์ 149 กรัมต่อกิโลเมตร 19


friend recommends.

SKYBAR BANGKOK

above us only sky เมื่อคืนเพิ่งไปจิบชาแบบชิลๆ ดูวิวกรุงเทพยามราตรีสวยๆที่ Sky Bar วันนี้ก็เลยมารีวิวแบบเบาๆสบายๆ รวมครั้งก่อนที่ไปทานอาหาร และอีกหลายครั้งที่เราได้ไปนั่งดริ้งค์มาฝากเพื่อนๆทุกคน

บรรยากาศ - ขอท้ าวความก่อนว่า เมื่อก่อนเราชอบไปทานร้ าน The World ที่

อยูช่ นั ้ 24 เนื่องด้ วยมีบตั ร Centara Gold Card อยูแ่ ล้ วมันมีสว่ นลดเยอะ ไปทาน หลายครัง้ หลายคราว พนักงานก็เลยเกิดความคุ้นเคยกัน ตอนนัน้ Red Sky เพิ่ง เปิ ด ยังไม่ได้ Grand opening แต่ก็เปิ ดให้ ทานอาหารกันได้ แล้ ว พนักงานก็เลย มาพูดเชิญชวนให้ ไปลองทานดูคะ่ และแนะน�ำว่ามีสว่ น บาร์ ด้วย ณ ตอนนันยั ้ งไม่มีชนั ้ 56 เพราะฉะนันบาร์ ้ ก็จะ อาหาร - จานหลักของเรา ปลาหิมะ รสชาติดีคะ่ ส่วนหนึง่ เพราะว่าปลาหิมะ อยูใ่ นส่วนของอาหารเลย คือจะเริ่ มซักสี่ทมุ่ ครึ่งเป็ นต้ น เป็ นยอดของปลา ท�ำไงก็อร่อยอ่ะเหมือนจะไม่เยอะแต่กินนานมากกว่าจะหมด ไป รอจนลูกค้ าทานข้ าวเสร็จ ก็จะมีเตียง daybed ใหญ่ๆ อิม่ ได้ อกี อันนี ้ของคุณแฟนเค้ า US steak ส่วนไหนจ�ำไม่ได้ แย้ ว อร่อยค่ะ เพราะ ว่ามันฉ�่ำและนุม่ สุกก�ำลังดี รู้เพราะเค้ าใจดีแบ่งให้ กินทุกจานทุกมื ้อ อันนี ้เป็ น มันบดจานเครื่ องเคียง ในขณะที่ก�ำลังคุยกันว่า ตะกี ้สัง่ จานเครื่ องเคียงไปนี่นา มันมากับจานหลักเลยหรื อมาแยกนะ เลยมาบอกว่ารอสักครู่นะครับ แล้ วก็เอา อันนี ้มาเสิร์ฟ เป็ นอีกหนึง่ มื ้อที่ประทับใจ ถึงแม้ ราคาจะสูงไปหน่อย

20


บริ ก าร - เรื่ องของบริ การบอกเลยค่ะว่าประทับใจ พนักงานสุภาพ น่ารั ก

กระตือรื อร้ นที่จะแนะน�ำเมนูอาหารหรื อเครื่ องดื่ม แต่ก็ให้ ความเป็ นส่วนตัวและ อีกอย่างหนึง่ พนักงานชุดแรกของ Red Sky เป็ นพนักงานที่ยกทีมมาจาก The World เราได้ ร้ ูเพราะว่าครัง้ แรกที่ไปดริ ง้ ค์นนเจอพนั ั้ กงานหน้ าคุ้นๆ คนที่ค้ นุ เคย แนะน�ำตัวว่าย้ ายมาจากด้ านล่าง เพราะเค้ าอยากจะให้ พนังงานที่เป็ นงานแล้ วมาบริ การที่นี่ และก็บริ การได้ ดีๆ การเดินทาง - จากถนนสีลม ให้ ตรงไปบริ เวณโรงพยาบาลเลิดสิน หัวมุม ถนนสีลมตัดถนนเจริ ญกรุ งแยกบางรัก จะเห็นอาคารสเตททาวเวอร์ กรุ งเทพ โรงแรมเลอบัวแอทสเตททาวเวอร์ ส่วนร้ านสการบาร์ อยูช่ นั ้ 63 ของโรงแรมเลอ บัวแอทสเตททาวเวอร์ ที่จอดรถจะอยู่บริ เวณลานจอดรถของโรงแรมเลอบัว แอทสเตททาวเวอร์ เปิ ดบริ การทุกราตรี ตังแต่ ้ หกโมงเย็นถึงตีหนึง่

21



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.