Btd chapter 1

Page 1

0

เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ


คํานํา เอกสารประกอบการเรียนรูชุดนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู รายวิชา ง31208 การเขียนแบบพื้นฐานวิศวกรรม กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาขาคอมพิวเตอร โรงเรียน กัลยาณวัตร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25(ขอนแกน) เอกสารประกอบการเรียนรูชุดนี้แบงออกเปน 7 ชุด เพื่อใหนักเรียนไดศึกษาไดดวยตัวเองตามลําดับ สําหรับเอกสารประกอบการเรียนรูเลมนี้ คือ ชุดที่ 1 เรื่อง เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ ผูจัดทําหวัง วาเอกสารประกอบการเรียนรูชุดนี้ จะเปนประโยชนกับครูผูสอนและนักเรียนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งสอดคลองกับการปฏิรูปการศึกษาของไทย ที่มุงเนน ใหนักเรียนมีความสมบูรณทั้งดานสติปญญาความรู คุณธรรม จริยธรรม อํานาจ พรหมใจรักษ

เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ

1


2

ความสําคัญของงานเขียนแบบ หลักในการทํางานเกี่ยวกับงานชางทุกประเภท หรืองานที่เกี่ยวของกับการสรางสรรคสิ่งใหมๆ จะตอง มีการเขียนแบบแทรกเขาไปดวยทุกชนิดของงาน เชน งานชางไฟฟา โลหะ งานตัดเย็บเสื้อผา หรือกอสราง เปนตน หรืออาจจะกลาวไดวางานเขียนแบบเปนหัวใจของงานทุกชนิดที่ทําอยางมีระบบ แมในสมัยโบราณการ เขียนแบบยังไมมีการวิวัฒนาการเหมือนในปจจุบัน แตผูที่คิดสรางสรรคงานตางๆก็พยายามถายทอดความคิด ลงในแผนหิน โดยมิไดมีการแยกชิ้นสวนใหเห็นชัด ซึ่งทําใหไมสะดวกตอผูที่นําแบบไปสรางนักแตก็ยังดีที่ทํา โดยไมมีแบบแผนเสียเลย ดังนั้นงานเขียนแบบจึงเปนงานพื้นฐานอีกชนิดหนึง่ ที่เกี่ยวของกับงานสรางสรรคตางๆทุกแขนงเพื่อใช แสดงรูปราง และลักษณะของสิ่งที่ตองการจะสรางสรรคขึ้นมา ขอบขายของงานเขียนแบบครอบคลุมสาขาวิชา ตางๆอยางกวางขวาง ในอุตสาหกรรมขนาดใหญไมวาจะเปนดานอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ สิ่งทอ อุตสาหกรรม การผลิตเพื่อการสงออกตางๆ บุคลากรทางงานเขียนแบบมักจะถูกกําหนดใหทํางานคาบเกี่ยวหลายเรื่องหลาย สาขา อยางไรก็ดีแมคนคนหนึ่งอาจไดรับมอบหมายใหทํางานเขียนแบบในสาขาอื่นก็เปนสิ่งจําเปนเชนเดียวกัน ผูที่มีความสามารถทางดานเขียนแบบกวางขวางยอมมีโอกาสที่จะกาวหนามากกวา วิชาชีพเขียนแบบที่เปนที่ยอมรับ พอจะจําแนกไดดังนี้ 1. การเขียนแบบสําหรับผลิตภัณฑ 2. การเขียนแบบทางสถาปตยกรรม 3. การเขียนแบบโครงสราง 4. การเขียนแบบเครื่องมือ 5. การเขียนแบบทางไฟฟา 6. การเขียนแบบงานทอ 7. การเขียนแบบทางกําลังของไหล 8. การเขียนแบบแผนที่ 9. การเขียนแบบสิทธิบัตร

การเขียนแบบสําหรับการผลิตผลิตภัณฑ ขอบเขตของการเขียนแบบสําหรับการผลิตเกี่ยวกับการ จัดทําแบบเพื่อใชในการผลิตผลิตภัณฑ แบบอาจแปรผันตั้งแตแบบรางภาพเดี่ยวแบบงายๆ จนกระทั่งถึงแบบ แยกชิ้นและแบบประกอบที่ประณีตบรรจงของการออกแบบที่ซับซอนในทุกกรณี หนาที่หลัก คือ การเขียน แบบเพื่อแสดงใหเห็นอยางแนชัดวา ชิ้นสวนนั้น จะสามารถผลิตขึ้นมาไดอยางไร ผลิตภัณฑบางชิ้นอาจใชแบบ เพียงไมกี่แผน แตผลิตภัณฑบางชิ้นอาจตองมีแบบจํานวนมาก แบบสําหรับการผลิตสามารถแบงอยางกวางๆออกเปน 2 กลุม คือ แบบแยกชิ้น และแบบประกอบ แบบแยกชิ้นสวนประกอบดวยภาพที่มองจากดานตางๆ และขนาดที่จําเปนสําหรับการผลิตชิ้นสวนแตละชิ้น แบบประกอบ แสดงใหเห็นวา ชิ้นสวนทั้งหมดประกอบเขาดวยกันอยางไร

เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ


การเขียนแบบทางสถาปตยกรรม เปนการเขียนแบบเกี่ยวกับการจัดทําแบบแปลนสําหรับการ กอสรางอาคารที่อยูอาศัย และอาคารพาณิชย ซึ่งแผนงานจริงและการดําเนินการเกี่ยวกับแบบทํางานจะ กระทําโดยสถาปนิกผูมีอํานาจ วิศวกร จัดทําแปลนสวนที่เกี่ยวกับระบบทอ ระบบใหความรอน ระบบระบาย อากาศของอาคาร ระบบแสงสวาง แตหากเปนอาคารที่อยูอาศัยขนาด เล็ก สถาปนิกหรือทีมงานของสถาปนิกมักเปนผูจัดทําแผนงานเอง ทั้งหมด แผนงานจริงในการกอสรางประกอบดวยงาน 4 ขั้นดวยกัน คือ 1) วิเคราะหสิ่งที่จําเปนสําหรับอาคารและคาใชจาย 2) ทําภาพสเก็ตซเบื้องตน เพื่อแสดงการจัดวางหองหลัก 3) จัดทําแบบเพื่อแสดงแสดง ประกอบดวยทัศนียภาพของ อาคาร 4) จัดทําแปลนทํางาน ซึ่งครอบคลุมถึงรายละเอียดของ โครงสรางที่สําคัญๆของอาคาร การเขียนแบบโครงสราง เปนการเขียนแบบที่เกี่ยวกับการ จัดทําแปลนสําหรับการกอสรางอาคารพาณิชย โรงงานอุตสาหกรรม โรงเรียน โรงพยาบาล เปนตน ในการทําแบบโครงสราง จําเปน จะตองใชเทคนิคพิเศษแสดงรูปทรงสัณฐาน ซึ่งปกติจะใชสัญลักษณในการแสดงชิ้นของโครงสราง โครงสรางที่สามัญที่สุด ซึ่งพบเห็นอยูทั่วไป ไดแก คอนกรีตเสริมเหล็กและโครงเหล็ก สวนที่เปน คอนกรีตเสริมเหล็ก ไดแก เสา คาน พื้น บันได ซึ่งอาจตกแตงผิวภายนอกดวยอิฐหรือวัสดุอื่นๆ สวนโครงเหล็กนั้น ชิ้นสวนโครงสรางแตละชิ้นถูกยืดดวยการเชื่อม ย้ําหมุดหรือยึดดวยสกรู แผนงาน (Shop Drawing) แบบออกแบบประกอบดวยภาพ ดานตางๆ ที่จําเปนสําหรับงานกอสราง เชน ฐาน รากการจัดวางหอง และรายละเอียดของโครงสราง หนาที่สําคัญประการหนึ่งของแบบออกแบบ ก็คือ แสดงแบบแปลนโครงเหล็กของอาคาร สําหรับ โครงสรางที่เปนคอนกรีตเสริมเหล็ก ก็จะมีแบบ 2 ชุดเชนเดียวกันซึ่งเรียกวาแบบทางวิศวกรรมและ แบบกอสราง แบบทางวิศวกรรมเปนแบบเกี่ยวกับ การจัดวางทั่วไปของโครงสราง และขนาดของ โครงสรางและเกี่ยวกับสวนที่มีการเสริมเหล็ก สวน แบบกอสรางจะระบุขนาด รูปทรงสัณฐาน และ ตําแหนงของเหล็กเสนทั้งหมดในโครงสราง นอกจากนั้นยังประกอบดวยรายการของ คานตง พื้น และคานหลัก การเขียนแบบเครื่องมือ การผลิตสินคา สําเร็จรูปเปนจํานวนมากๆ จะตองเกี่ยวของกับการ ใชเครื่องมือและเครื่องจักรเปนจํานวนนับไมถวน เพื่อทํางานในขั้นตอนตางๆซึ่งหลายๆขั้นตอนในจํานวนนั้น คอนขางจะซับซอน เพื่อใหสามารถผลิตสินคาที่มีคุณภาพและมีราคาต่ําพอที่จะแขงกับตลาดได เครื่องมือการ เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ

3


ผลิตจะตองไดรับการออกแบบใหสามารถประกอบติดตั้งไดรวดเร็ว และเหมาะสม ทางเศรษฐกิจผูทรี่ ับผิดชอบ ในการสรางเครื่องมือใหมีลักษณะดังกลาว ไดแก นักออกแบบเครื่องมือ หรือวิศวกรเครื่องมือ การออกแบบเครื่องมือเปนสาขาวิชาที่ตองอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะสูง งานที่ทําไดแกคิดประดิษฐ จิ๊ก ฟกซเจอร แมพิมพ ผูที่ทํางานเกี่ยวกับงานวิศวกรรมแบบนี้ จะตองมีความรูดานวัสดุเปนอยางดีมีความ เขาใจอยางกวางๆเกี่ยวกับการทํางานในโรงงานเปนคนชางประดิษฐดานเครื่องกล และมีทักษะในดานการเขียน แบบ จิ๊ก(Jig) เปนอุปกรณที่ใชในการทํางาน ที่มีกระบวนการทํางานเหมือนกันซ้ําๆกัน เพื่อใหทํางานไดโดยสะดวกและรวดเร็วพรอม ทั้งมีความเที่ยงตรงสม่ําเสมอสําหรับการทํางาน ทุกครั้ง จิ๊กจะใชสําหรับงานประเภท เจาะรู ควานรู ขยายปากรู และกัดเกลียวใน หนาที่ หลักของจิ๊กก็คือ จับชิ้นงานใหเขาที่และนํา เครื่องมือ ฟกซเจอร(Fixture) เปนเครื่องมือ สําหรับจับชิ้นงานเชนเดียวกัน แตตางกับจิ๊กซ ตรงทีฟ่ กซเจอร จะถูกจับตรึงตายตัวไมสามารถ เคลื่อนยายหรือนําเครื่องมือ เราใชฟกซเจอร สําหรับการทํางานเกี่ยวกับการปาดผิวหนา การ เจาะรู การเซาะ การเจียระไน การเชื่อมเปน ตน แมพิมพ (Die) ใชสําหลับผลิตงานโดยการอัดและการตอกแผนโลหะ แมพิมพจําแนกไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ แมพิมพขึ้นรูป แมพิมพตัดทํางานเกี่ยวกับการตัดออกจากแผน ปมรู และปมรอยบากเปน ตน แมพิมพขึ้นรูปออกแบบมาเพื่อขึ้นรูปโลหะแผน กระบวนการทํางานประกอบดวย การพับ การพิมพนูน และการรีดเปนตน การเขียนแบบทางไฟฟา เปนการจัดทําแบบที่แสดงลักษณะการจัดวางตําแหนงของวงจรและอุปกรณ ยึดจับ แบบมักจะอยูในรูปของแผนภาพซึ่งออกแบบมาเพื่อใชประโยชนทางสถาปตยกรรมการจายกําลัง หรือ ระบบสื่อสาร ลักษณะสําคัญของแผนภาพประเภทนี้ คือ มีการใชสัญลักษณทางกราฟกอยางกวางขวาง

เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ

4


5 การเขียนแบบงานทอ แบบชนิดนี้จะแสดงตําแหนง ชนิด และขนาดของทอ และตัวจับ ยึดในระบบ ทอ มักจะใชสัญลักษณกราฟกแทนทอ ลิ้น และอุปกรณประกอบ แบบอาจจะเปนภาพฉายจากหนึ่งดาน สอง ดาน สามดาน หรืออาจเปนภาพ 3 มิติก็ได ตัวทออาจเขียนแทนดวยเสนเดี่ยว หรือเสนคูก็ได เสนคูมักใช ในระบบที่เปนทอขนาดใหญ สวนทอที่มีขนาดคอนขางเล็กนิยมเขียนแทนดวยเสนเดี่ยวมากกวา การเขียนแบบกําลังของไหล แบบชนิดนี้เปนแผนภาพแสดงอุปกรณหลักในระบบไฮดรอลิก แผนภาพ เหลานี้แสดงใหเห็นระบบทอระหวางชิ้นสวน ตําแหนงของชิ้นสวนที่มีการเคลื่อนที่ และเสนการไหลของของ ไหล มีการใชสัญลักษณแบบกราฟกเพื่อแสดงใหเห็นหนาที่และธรรมชาติของตัวยึดจับทางไฮดรอลิก

การเขียนแบบแผนที่ เปนการจัดทําแบบที่เปนแผนที่รังวัดที่ดิน สภาพภูมิประเทศ แผนผัง ที่ตั้ง อาคาร อุทกศาสตร การบิน และถนน

เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ


6 การเขียนแบบสิทธิบัตร เปนการเขียนแบบเพื่อยื่นเสนอตอกองสิทธิบัตรของทางราชการพรอมกับการ ยื่นขอรับสิทธิบัตรของสิ่งประดิษฐ รูปเขียนแบบนี้ตองแสดงและแยกแยะสวนสําคัญทุกสวนของสิ่งประดิษฐ โดยจะตองสอดคลองกับรูปลักษณะที่ทางราชการไดกําหนดไว ซึ้งอาจเปนภาพฉาย ภาพพิกทอเรียล หรือเปน ภาพฉายกับภาพพิกทอเรียลผสมกันก็ได

เครื่องมือและอุปกรณ ในงานเขียนแบบ แลว คือ

การเขียนแบบทั่วๆไปจะสําเร็จสมบูรณถูกตอง นอกจากจะตองใชความรู ความสามารถของผูเขียน นอกจากนี้ยังจะตองมีเครื่องมือและอุปกรณใชในการเขียนแบบที่จะชวยใหงานสําเร็จไปไดดวยดีมีดังนี้

2.1 โตะเขียนแบบและกระดานเขียนแบบ การเขียนแบบทางอุตสาหกรรมแทบทั้งหมดใชโตะ เขียนแบบ แมวาโตะแตละชนิดจะมีรายละเอียด โครงสรางแตกตางกัน แตทั่วๆไปจะมีความสูงที่เปนมาตรฐาน หรืออาจเปนชนิดที่สามารถปรับความสูงและความเอียงของ พื้นโตะใหเหมาะสมกับสภาพการใชงานได พื้นโตะ มักจะปูดวยไวนิลสีเหลืองออนหรือสีขาว เพื่อชวยลด แสงสะทอนแยงตาและทําหนาที่เปนพื้นรองที่เรียบแนน ทําใหเขียนดวยดินสอไดคมชัด ทั้งมีสวนที่ชวยใหลบงาย อีกดวย สวนกระดานเขียนแบบ มักใชในงานสนาม แคก็มีการใชในโรงเรียนบางเหมือนกัน ในกรณีที่ไมมีโตะ เขียนแบบมาตรฐาน กระดานเขียนแบบเหลานี้มักทํา ดวยไมสนสีขาว และมีขนาดตางๆกัน ที่นิยมใชมาก เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ


ที่สุดคือขนาด 500มม.X 65.มม. ซึ้งคอนขางกะทัดรัดพกพาไดสะดวก 2.2 เครื่องมือที่ใชเขียนแบบ มีความสําคัญตองานเขียนแบบมากกอใหเกิดความเที่ยงตรงความ สะดวก ความถูกตอง ซึ่งประกอบดวย

1. กระดาษเขียนแบบ 2. ไมที 3. กลองเขียนแบบ(ประกอบดวย ดิไวเดอร,วงเวียนและชุดประกอบ) 4. บรรทัดสามเหลียม(มุมฉากและ 45° ) 5. บรรทัดสามเหลียม(มุมฉากและ 60° , 30° ) 6. บรรทัดขีดขนานสําหรับเขียนตัวอักษร 7. บรรทัดสามเหลียม(สากลยอปกติ) 8. บรรทัดสามเหลียม(ชนิดยอพิเศษ) 9. บรรทัดเขียนสวนโคง 10. บรรทัดสากลองศา 11. ดินสอเขียนแบบ 12. กบเหลาสอ 13. ยางลบดินสอ 14. แผนกันลบ 15. ยางลบหมึก 16. แปรงปดฝุน 17. กระดาษปูพื้น 18. เทปติดกระดาษ 19. ดามปากกาเขียนแบบ 20. หัวปากกาเขียนแบบ 21. หมึกเขียนแบบ

อุปกรณการชวยการเขียนเสนตรง

อุปกรณที่ชวยในการเขียนเสนตรง ไดแก บรรทัดขนาน (T – Slide) ไมที (T – Square) และบรรทัด สามเหลี่ยม (Set – Square) เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ

7


1. บรรทัดขนาน (T – Slide) บรรทัด ชนิดนี้มีเชือกคลองกับลอกทั้ง 2 ขาง ของบรรทัด ทํา ใหสามารถเคลื่อนทีข่ นานกันตลอดเวลา เราสามารถ เคลื่อนบรรทัดขึ้นหรือลง โดยออกแรงเลื่อนกระทํา ตอสวนใดก็ไดตลอดความยาวของบรรทัด ความยาว โดยทั่วไปของบรรทัดขนาน คือ 650 มม. 900 มม. และ 1,200 มม. 2. ไมที (T – Square) ในหองเขียนแบบอาชีพทั่วไปใหไมทีกันนอยมาก บรรทัดชนิดนี้มี ประโยชนมากในงานสนาม ซึ้งไมอาจหาบรรทัดขนานไมที โดยทั่วไปมีอยู 2 ชนิด คือ ไมทีแบบมีหัวถอดได และ แบบที่ถอดหัวไมได ความยาวโดยทั่วไปของ ไมทีที่นิยมใช คือ 650 มม. 900 มม. และ 1,200 มม. 3. บรรทัดสามเหลี่ยม (Set – Square) ใชสําหรับเขียนเสนดิ่งและเสน เอียง ที่ใชทั่วไป 2 แบบ คือ แบบ 45 องศา และแบบ 30-60 องศา บรรทัดสามเหลี่ยม มักทําดวย พลาสติกใสและมีขนาด ตางๆกันไปตามความเหมาะสม อยางไร ก็ตามบรรทัดสามเหลี่ยมแบบปรับได ถือ วาเปนแบบที่นิยมมากในงานเขียนแบบ เนื่องจากสามารถปรับมุมเพื่อขีดเสนเอียงได ตามตองการ โดยไมจําเปนตองใชบรรทัด สามเหลี่ยมหลายอัน นอกจากนี้โปร ก. มุม 45, 45 และ 90 องศา ข. มุม 30, 60 และ 90 องศา แทรกเตอรที่ติดอยูกับบรรทัดแบบนี้ทําให สามารถสรางมุมใดๆตั้งแต 0 องศา – 90 องศา ไดอีกดวย

การใชไมทีกับเซ็ตลากเสน

การเขียนเสนตั้ง เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ

8


9

การเขียนเสนนอน

เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ


4. ดินสอเขียนแบบ (Drafting Pencilsc) ดินสอที่ใชในงานเขียน แบบโดยทั่วไปหากแบงตามรูปรางและลักษณะจะสามารถแบงออกได 3 ชนิด ดวยกัน คือ 1) ดินสอเปลือกไม ดินสอชนิดนี้จะทํามาจากไมเนื้อออน สําหรับความแข็งของไสดินสอมีการระบุไวบนแทงดินสอดวยตัวเลขกับตัวอักษร สัญลักษณนี้เรียงจาก 7B ซึ่งออนที่สุด ตอดวย 6B 5B 4B 3B 2B B HB F H 2H 3H 4H 5H 6H 7H 8H และ9H ซึ่งแข็งที่สุด ซึ่งเพื่อการสะดวก ในการเลือกใชดินสอสําหรับเขียนแบบไดสะดวก อาจแบงดินสอตามความแข็งของไส ออกเปน 3 ประเภทดวยกัน คือ ดินสอที่มีไสออน (Soft Pencils) ไดแก ดินสอ เกรด 2B - 7B เหมาะในการใชเขียนในงาน ศิลปะโดยเฉพาะการวาดภาพเขียนแรเงา ดินสอที่มีไสแข็งปานกลาง (Medium Pencils) ไดแก เกรด 3H - B ใชสําหรับเขียนแบบงาน สําเร็จ เชน เสนขอบงามแสดงแนวตัด สัญลักษณตางๆ ดินสอที่มีไสแข็งแข็ง (Hard Pencils) ไดแก เกรด 9H-4H ใชสําหรับการรางแบบ ซึ่งจะทําให เสนที่ใชมีความเบาบาง เชน การบอกขนาด สวนการใชดินสอชนิดนี้จะตองเหลาโดยใหไสดินสอยาวออกไปประมาณ 7 – 10 มม. ซึ่งการเหลา จะนิยมเหลากัน 2 ชนิด คือ การเหลาแบบกรวย และการเหลาแบบลิ่ม

เหลาแบบลิ่ม เหลาแบบกรวย 2) ดินสอชนิดตองเหลาเปลี่ยนไสได ดินสอชนิดนี้จะมีความโต 2 มม. ลักษณะความ แข็ง-ออนของไสดินสอและการใชงานจะเหมือนกับดินสอแบบเปลือกไม

0.7

3) ดินสอชนิดไมตองเหลาเปลี่ยนไสได ดินสอชนิดนี้จะขีดเสนไดมาตรฐาน เชน , 0.5 ,0.3 เปนตน ใชสําหรับเขียนเสนขอบรูป เสนเต็มบาง เสนกําหนดขนาดไดตรงตามมาตรฐาน

5. วงเวียน เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับการเขียนสวนโคง หรือวงกลมมีลักษณะเปนขาสองขาติดกัน โดยสามารถปรับขยายขาใหกวางหรือแคบได ปลายขาขางหนึ่งจะติดเหล็กปลายแหลมไว สวนปลายขาอีกขาง จะมีชุดจับยึดดินสอ แบงตามลักษณะการใชงานได 4 แบบ ดังนี้ 5.1 วงเวียนขนาดเล็ก เปนวงเวียนที่ใชเขียนสวนโคง หรือวงกลมที่มีขนาดเล็ก ลักษณะรูปราง มีขาสองขา โดยขาขางหนึ่งจะยึดติดเหล็กปลายแหลม สวนขาอีกขางหนึ่งจะมีชุดจับยึดดินสอ การขยายความ กวางขาวงเวียนจะใชสกรูเปนตัวปรับ โดยมีแรงสปริงเปนตัวดันไว ดังแสดงในรูปที่ 5.2 (ก)

เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ

10


5.2 วงเวียนขนาดกลาง เปนวงเวียนที่ใชเขียนสวนโคง หรือวงกลมขนาดกลางที่ใชโดยทั่วไป ดังแสดงในรูปที่ 5.1 (ข)

(ก) วงเวียนขนาดเล็ก

(ข) วงเวียนขนาดกลาง

5.3 วงเวียนถายขนาด เปนวงเวียนที่มีลักษณะรูปรางคลายกับวงเวียนที่ใชในงานเขียนแบบ ทั่วไปแตปลายขาวงเวียนจะเปนปลายแหลมทั้งสองขาง ใชสําหรับวัดระยะขนาดจากบรรทัดแลวไปถายขนาดลง บนแบบงาน หรือใชแบงเสนตรงออกเปนสวน ๆ เทา ๆ กัน ดังแสดงในรูปที่ 5.2 (ก) 5.4 วงเวียนคาน เปนวงเวียนที่ใชสําหรับเขียนสวนโคง หรือวงกลมขนาดใหญ มีสวนประกอบ หลักอยู 3 สวน คือ สวนที่หนึ่งเปนแกนหลักมีลักษณะรูปรางเปนคานตรงยาวสวนที่สองเปนชุดเหล็กปลาย แหลม และสวนที่สามเปนชุดดินสอ ซึ่งสวนที่สองและสามสามารถเลื่อนไปมาบนคานแกนหลัก และจะมีสกรูที่ สามารถล็อกตําแหนงได ดังแสดงในรูปที่ 5.2 (ข)

(ก) วงเวียนถายขนาด

(ข) วงเวียนคาน

การใชวงเวียน เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ

11


12

6. ยางลบ ในการเขียนแบบ จําเปนจะตองมีการลบเพื่อแกไข หรือเปลี่ยนแปลงเปนครั้งคราว เสนดินสอหรือเครื่องหมายอื่นที่สามารถลบออกไดดวยยางลบธรรมดา ไมควรใชยางลบที่แข็งเกินไปเพราะจะ ทําใหผิวของแผนวัสดุเขียนแบบซ้ํา 7. ดาษเขียนแบบ ขนาดของกระดาษเขียนแบบที่ใชขึ้นอยูกับวาเราจะเขียนงานที่มีรูปรางขนาด เทาใด ถาวัตถุขนาดเล็ก สวนใหญก็ใชกระดาษแผนเล็กเขียน หรือถาวัตถุมีขนาดใหญก็จําเปนจะตองใช กระดาษแผนใหญขึ้นเชนกัน แตโดยทั่วไปแลวใชงานเขียนแบบจะนิยมกระดาษขนาดมาตรฐานที่ทางราชการ เห็นชอบ ซึ้งมีขนาดนําหนาดวยตัวอักษร A ดังแสดงในตาราง มาตรฐาน A0 A1 A2 A3 A4 A5 A6 มม. 840×1189 94×841 20×594 297×420 210×297 148×210 105×148 ระยะหางของขอบกระดาษนั้นควรเหลือมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับขนาดของกระดาษ สวนใหญจะ เริ่มจาก 5 มม. ไปจนถึง 15 มม. ซึ้งอาจจะใหระยะหางมากกวานี้อีกก็ไดแลวแตลักษณะของกระดาษและ การใชงาน การติดกระดาษเขียนแบบตองยึดใหเรียบและแนน วางกระดาษใหเหมาะสม โดยวางกระดาษขอบ บนขนานกับไมที หรือวางขอบลางของกระดาษกับสันไมทีก็ได ดังตัวอยางที่แสดง ขั้นตอนการติดกระดาษเขียนแบบ (1) วางกระดาษเขียนแบบบนโตะ หรือ กระดาษเขียนแบบ โดยใหดานเรียบของกระดาษ อยูบน ขอบกระดาษแนบกับพื้นและตั้งฉากหรือ ขนานกับไมที (2) ติดกระดาษกาวที่มุมบนซายกอน (3) แนบกระดาษลงมาแลวติกกระดาษกาวที่มุมขวา (4) แนบกระดาษจากมุมบนซายไปหามุมบนขวาแลวติดกระดาษกาว (5) แนบกระดาษจากมุมขวาทะแยงลงมามุมลางซายแลวติดกระดาษกาว

เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ


หัวกระดาษหรือตารางเขียนแบบ(Note Column) มีไวเพื่อใหเขียนรายละเอียดที่สําคัญๆของแบบ ที่เขียนไวดานลางของแบบ ซึ่งไมมีรูปแบบบังคับที่แนนอนขึ้นจะแตกตางกันไปตามความตองการของแตละ หนวยงาน เพื่อไมใหเปนการสับสนในที่นี้ขอใหใชรูปแบบดังตัวอยางที่แสดงให ดู เนื่องจากสวนใหญจะเปนงานที่มีขนาดเล็ก ซึ่งหากเปนกระดาษฟอรมนอน ตารางจะอยูทางซายมือ ถาใชกระดาษฟอรมนอน A4 ตารางแบบตองอยูดานซายเสมอ

เครื่องมือและอุปกรณในงานเขียนแบบ : อํานาจ พรหมใจรักษ

13


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.