หนังสือสวดมนต์ e-book

Page 1


สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ คณะผจู ดั ทำไดสง ตนฉบับหนังสือเลมนี้ ใหกบั พระเดชพระคุณหลวงพอจรัญ ฐิตธัมโม เพือ่ ขอความเมตตาตรวจสอบความถูกตอง และไดขออนุญาตจัดพิมพ เพือ่ เผยแผเปนธรรมทานแลว พระเดชพระคุณหลวงพอจรัญทานไดเมตตาอนุญาตใหจัดพิมพ พรอมทั้งอนุโมทนากับคณะผูจัดทำ นับเปนความเมตตากรุณาจากครูบาอาจารยอยางหาที่สุดมิได ทานสามารถติดตอขอหนังสือเลมนีไ้ ดฟรีที่ เว็บไซตพระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/board/ สามารถดาวนโหลดตนฉบับหนังสือเลมนีไ้ ดที่ เว็บไซตพระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/digitallibraly-book.html


ผแู ตง (ผรู วบรวม) คณะทำงาน ออกแบบศิลป ออกแบบรูปเลม จัดรูปเลม พิสจู นอกั ษร ประสานงานการผลิต

ณัฐวรรธน ภรนรา nattawat@connexpeople.com สมศักดิ์ ชูศรีขาว somsak887@hotmail.com ประมวล วิทยบำรุงกุล mv2219@hotmail.com ปติ ลลิตโรจนวงศ และทานอืน่ ๆ ทีม่ ไิ ดเอยนามไว ณ ทีน่ ี้ สุนสิ า แกวชม, จักรี จายกระโทก, ณัฐวรรธน ภรนรา ณัฐวรรธน ภรนรา ศรินยา พึง่ ทรัพย วารุณี จิตตรตั น เสรีรตั น ปน ทอง, ณัฐวรรธน ภรนรา

ไมสงวนลิขสิทธิ์

ตามคำสอนของพระเดชพระคุณหลวงพอจรัญ ฐิตธัมโม

“ของดีของเราไมตองสงวนลิขสิทธิ์ ใครอยากไดก็ใหเขาไป แตของไมดขี องเราตองสงวนไว ไมใหคนอืน่ มาใช” จากหนังสือกฎแหงกรรม เลม ๑๖ เรือ่ ง ความเสือ่ ม โดยพระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule16p1301.html

ทานสามารถอานเจตนารมณของการจัดทำหนังสือเลมนีไ้ ดทที่ า ยเลม

ISBN พิมพครัง้ ที่ ๑ จำนวนทีพ่ มิ พ ราคา สรางสรรคผลงานโดย

จัดพิมพและดูแลโดย

๙๗๘-๙๗๔-๑๓-๓๒๔๔-๑ ธันวาคม ๒๕๕๐ ๑๐,๐๐๐ เลม จัดพิมพเพือ่ เผยแผเปนธรรมทาน บริษทั คอนเน็ค พีเพิล จำกัด ๓๐๕ ซ. รังสิต-นครนายก ๔๔ ซ.๑ ต.ประชาธิปต ย อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี ๑๒๑๓๐ โทรศัพท ๐-๒๙๗๔-๑๐๐๑ แฟกซ ๐-๒๙๗๔-๑๑๒๐ อีเมลล info@connexpeople.com เว็บไซต http://www.connexpeople.com บริษทั รงุ เรืองวิรยิ ะพัฒนาโรงพิมพ จำกัด ๑๐๖/๒๐๔ หมู ๔ แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๓๐ โทรศัพท ๐-๒๙๑๘-๐๑๙๒ แฟกซ ๐-๒๙๑๗-๙๐๗๒ อีเมลล viriya_999@yahoo.com







สารบัญ สวดมนต

บทสวดมนต บทแผเมตตา บทอุทศิ สวนกุศล (บทกรวดน้ำ) วิธกี ารสวดมนต ลำดับการสวดมนต เหตุใดตองสวดอิตปิ โ สเทาอายุ + ๑ การเปลีย่ นจาก “เต” เปน “เม” ในบทสวดมนต วิธกี ารแผเมตตาและอุทศิ สวนกุศล ถามตอบเรือ่ งการสวดมนต โดยพระธรรมสิงหบุราจารย บทสวดมนตแปล

๑๐ ๑๙ ๑๙ ๒๑ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๓๔ ๔๕

ทำกรรมฐาน วิปส สนากรรมฐานเบือ้ งตน คติธรรมคำสอน เรือ่ งการปฏิบตั กิ รรมฐาน กรรมฐาน โดยพระธรรมสิงหบุราจารย วิปส สนากรรมฐานคืออะไร ธุระในพระศาสนา การเรียนรวู ปิ ส สนากรรมฐาน สติปฏ ฐาน ๔ อานิสงสของการปฏิบตั ธิ รรม ประโยชนของการปฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน สติปฏ ฐาน ๔ ปดอบายภูมไิ ด

๕๓ ๖๐ ๗๘ ๘๐ ๘๔ ๘๕ ๘๖ ๘๙ ๙๑ ๙๓


“อยาลืมนะ ทีล่ นิ้ ป หายใจยาว ๆ สำรวมเวลาสวดมนต นัน้ นะไดบญุ แลว” จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือ่ ง วิธแี ผเมตตาและอุทศิ สวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html


บทสวดมนต กราบพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธั ม โม ธั ม มั ง นะมัสสามิ (กราบ) สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ)

นมัสการ (นะโม) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (๓ จบ)

ไตรสรณคมน (พุทธัง ธัมมัง สังฆัง) พุทธัง สะระณัง ธัมมัง สะระณัง สังฆัง สะระณัง ๑๐

คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ทุตยิ มั ป ทุตยิ มั ป ทุตยิ มั ป ตะติยมั ป ตะติยมั ป ตะติยมั ป

พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง

สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง สะระณัง

คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ คัจฉามิ

พระพุทธคุณ (อิตปิ  โส) อิตปิ  โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุต ตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ

พระธรรมคุณ สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสสิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตพั โพ วิญูหตี ฯิ (อานวา วิญูฮตี )ิ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๑๑


พระสังฆคุณ สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชปุ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจปิ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทงั จัตตาริ ปุรสิ ะยุคานิ อัฏฐะ ปุรสิ ะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย* ปาหุเนยโย* ทักขิเณยโย* อัญชะลี กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ (อานออกเสียง อาหุไนยโย ปาหุไนยโย ทักขิไณยโย โดยสระเอ กึง่ สระไอ)

พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ) พาหุง สะหัสสะมะภินมิ มิตะสาวุธนั ตัง ครีเมขะลัง อุทติ ะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธมั มะวิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ ๑๒

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


มาราติเรกะมะภิยชุ ฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสทุ นั ตะวิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ นาฬาคิรงิ คะชะวะรัง อะติมตั ตะภูตงั ทาวัคคิจกั กะมะสะนีวะ สุทารุณนั ตัง เมตตัมพุเสกะวิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ อุกขิตตะขัคคะมะติหตั ถะสุทารุณนั ตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลมิ าละวันตัง อิทธีภสิ งั ขะตะมะโน ชิตะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินยี า จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๑๓


สัจจัง วิหายะ มะติสจั จะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปตะมะนัง อะติอนั ธะภูตงั ปญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพธุ งั มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ ทุคคาหะทิฏฐิภชุ ะเคนะ สุทฏั ฐะหัตถัง พรัหมัง* วิสทุ ธิชตุ มิ ทิ ธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ เอตาป พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวธิ านิ จุปท ทะวานิ โมกขัง สุขงั อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญโญฯ * พรัหมัง อานวา พรัมมัง ๑๔

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


มหาการุณิโก มะหาการุณโิ ก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินงั ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปตโต สัมโพธิมตุ ตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวฑ ั ฒะโน เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะรา ชิตะปลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปตโต ปะโมทะติฯ สุนัก ขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมหุ ตุ โต จะ สุยฏิ ฐัง พรัหมะ** จาริสุ ปะทักขิณงั กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตตะวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ ** พรัหมะ อานวา พรัมมะ

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๑๕


ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ หลังจากสวดมนตตงั้ แตตน จนจบบทพาหุงมาหากาฯ แลว ก็ใหสวดเฉพาะบทพระพุทธคุณ หรืออิตปิ โ ส ใหไดจำนวนจบ เทากับอายุของตนเอง แลวสวดเพิม่ ไปอีกหนึง่ จบ ตัวอยางเชน ถาอายุ ๓๕ ป ตองสวด ๓๖ จบ จากนัน้ จึงคอยแผเมตตา อุทิศสวนกุศล

พุทธคุณเทาอายุเกิน ๑ (อิตปิ โ สเทาอายุ+๑) อิตปิ  โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุต ตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ ๑๖

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


“สวดมนตเปนนิจ อธิษฐานจิตเปนประจำ

อโหสิกรรมเสียกอน และเราก็แผเมตตา ใหสรรพสัตวทั้งหลาย” จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ เรื่อง กรรมฐานแกกรรมไดอยางไร โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule03p0201.html


“หายใจยาว ๆ ตั้งกัลยาณจิตไวที่ลิ้นป ไม ใชพดู สงเดช” “จำนะทีล่ นิ้ ป เปนการแผเมตตา” “จะอุทศิ ก็ยกจากลิน้ ป สหู นาผาก เรียกวา อุณาโลมา ปจชายเต....” จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื่อง วิธีแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html


บทแผเมตตา สัพเพ สัตตา สัตวทงั้ หลาย ทีเ่ ปนเพือ่ นทุกข เกิดแกเจ็บ ตาย ดวยกันทัง้ หมดทัง้ สิน้ อะเวรา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมีเวรแกกัน และกันเลย อั พ ยาป ช ฌา โหนตุ จงเป น สุ ข เป น สุ ข เถิ ด อย า ได พยาบาทเบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย อะนีฆา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมคี วามทุกข กาย ทุกขใจเลย สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนใหพนจากทุกขภัยทั้งสิ้นเทอญ

บทอุทศิ สวนกุศล (บทกรวดน้ำ) อิทงั เม มาตาปตนู งั โหตุ สุขติ า โหนตุ มาตา ปตะโร ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ แกมารดาบิดาของขาพเจา ขอใหมารดาบิดาของขาพเจา จงมีความสุข สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๑๙


อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ แกญาติทั้งหลายของขาพเจา ขอให ญาติทั้งหลายของขาพเจา จงมีความสุข

อิทงั เม คุรปู ช ฌายาจะริยานังโหตุ สุขติ า โหนตุ คุรปู ช ฌายาจะริยา ขอสวนบุญนีจ้ งสำเร็จ แกครูอปุ ช ฌาย อาจารยของขาพเจา ขอใหครูอุปชฌายอาจารยของขาพเจา จงมีความสุข

อิทงั สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขติ า โหนตุ สัพเพ เทวา ขอสวนบุญนีจ้ งสำเร็จแกเทวดาทัง้ หลายทัง้ ปวง ขอให

เทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข

อิทงั สัพพะ เปตานัง โหตุ สุขติ า โหนตุ สัพเพ เปตา ขอสวนบุญนีจ้ งสำเร็จ แกเปรตทัง้ หลายทัง้ ปวง ขอให เปรตทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข

อิทงั สัพพะ เวรีนงั โหตุ สุขติ า โหนตุ สัพเพ เวรี ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ แกเจากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอใหเจากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข

อิทงั สัพพะ สัตตานัง โหตุ สุขติ า โหนตุ สัพเพ สัตตา ขอสวนบุญนีจ้ งสำเร็จ แกสตั วทงั้ หลายทัง้ ปวง ขอให สัตวทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข ๒๐

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


วิธีการสวดมนต การสวดมนตเปนนิจนี้ มงุ ใหจติ แนบสนิทติดในคุณของพระพุทธเจา พระธรรม และพระสงฆ จิตใจจะสงบเยือกเย็นเปนบัณฑิต มีความคิดสูง ทิฏฐิมานะทัง้ หลายก็จะคลายหายไปได เราจะไดรบั อานิสงสเปนผลของ ตนเองอยางนี้จากสวดมนตเปนนิจ การอธิษฐานจิตเปนประจำนัน้ มงุ หมายเพือ่ แกกรรมของผมู กี รรม จากการกระทำครั้งอดีตที่เรารำลึกได และจะแกกรรมในปจจุบันเพื่อสู อนาคต กอนทีจ่ ะมีเวรมีกรรม กอนอืน่ ใด เราทราบเราเขาใจแลว โปรด อโหสิกรรมแกสัตวทั้งหลาย เราจะไมกอเวรกอกรรมกอภัยพิบัติ ไมมี เสนียดจัญไรติดตัวไปเรียกวา เปลา ปราศจากทุกข ถึงบรมสุข คือนิพพาน ได เราจะรไู ดวา กรรมติดตามมา และเราจะแกกรรมอยางไร ในเมือ่ กรรม ตามมาทันถึงตัวเรา เราจะรตู วั ไดอยางไร เราจะแกอยางไร เพราะมันเปน เรือ่ งทีแ่ ลว ๆ มา การอโหสิกรรม หมายความวา เราไมโกรธ ไมเกลียด เรามีเวร กรรมตอกันก็ใหอภัยกัน อโหสิกันเสีย อยางที่ทานมาอโหสิกรรม ณ บัดนี้ ใหอภัยซึง่ กันและกัน พอใหอภัยได ทานก็แผเมตตาได ถาทานมี อารมณคางอยูในใจ เสียสัจจะ ผูกใจโกรธ อิจฉาริษยา อาสวะไมสิ้น ไหนเลยละทานจะแผเมตตาออกได เราจึงไมพนเวรพนกรรมในขอนี้ การอโหสิกรรมไมใชทำงาย จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๔ เรือ่ ง แกกรรมดวยการกำหนด โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule04p0301.html จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือ่ ง ทำความดีนแี้ สนยาก โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0401.html

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๒๑


วิธใี นการสวดมนตพระเดชพระคุณหลวงพอไดสอนไววา “เอาตำรามาดูกนั ก็ไมไดผล แตดตู ำราเพือ่ ใหถกู วรรคตอน และใหคลองปาก แลวจะไดคลองใจ เปนสมาธิ”

ทานสามารถฟงเสียงสวดมนต บทพาหุงมหากาฯ ไดที่ http://fs1.netdiskbytrue.com/Pub014/44/249321_praypahung.wma

การวางจิต เมือ่ สวดมนตไดถกู วรรคตอน เปนสมาธิดแี ลว ก็วางจิตใหถกู ตอง สวดมนตเปนนิจ อธิษฐานจิตเปนประจำ (ลิน้ ป) อโหสิกรรมเสียกอนและเราก็แผเมตตา... (ลิน้ ป) มีเมตตาดีแลว ไดกศุ ลแลวเราก็อทุ ศิ เลย (อุณาโลม) “แผสว นกุศลทำอยางไร อุทศิ ตรงไหน ทำตรงไหน และวาง จิตไวตรงไหน ถึงจะได อยาลืมนะ ทีล่ นิ้ ป หายใจยาว ๆ สำรวม เวลาสวดมนตนนั้ นะ ไดบญ ุ แลว ไมตอ งเอาสตางคไปถวายองคโนน องคนหี้ รอก แลวสำรวมจิต สงกระแสจิตทีห่ นาผาก อุทศิ สวนกุศล..” สวดมนตเปนนิจ (ลิน้ ป) “ลิน้ ป จะอยคู รึง่ ทางระหวางจมูกถึงสะดือ” ๒๒

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


“........อธิษฐานจิต หมายความวา ตัง้ สติสมั ปชัญญะ ไวทลี่ นิ้ ป สำรวมกาย วาจา จิตใหตงั้ มัน่ แลว จึงขอแผเมตตาไวในใจ สักครหู นึง่ แลวก็อทุ ศิ ใหมารดา บิดาของเรา วาเราไดบำเพ็ญกุศล ทานจะไดบญ ุ ไดกุศลแน ๆ เดี๋ยวนี้ดวย ผมเรียนถวายนะ มิฉะนั้นผมจะอุทิศไป ยุโรปไดอยางไร..........” อธิษฐานจิตเปนประจำ (ลิน้ ป) แผเมตตากับอุทศิ มันตางกัน ทำใจใหเปนเมตตาบริสทุ ธิก์ อ น ไมอจิ ฉา ริษยา ไมผกู พยาบาทใครไวในใจ ทำใจใหแจมใส ทำให ใจสบาย คือ เมตตาแลวเราจะอุทศิ ใหใครก็บอกกันไป มันจะมีพลังสูง สามารถจะอุทิศให คุณพอคุณแม ของเรากำลังปวยไขใหหายจาก โรคภัยไขเจ็บได เชน วีโก บรูน ชาวนอรเวยที่เคยมาบวชที่วัดนี้ เปนตน...” อโหสิกรรมกอนแลวคอยแผเมตตา “หายใจยาว ๆ ตัง้ กัลยาณจิตไวทลี่ นิ้ ป ไมใชพดู สงเดช จำนะ ทีล่ นิ้ ป เปนการแผเมตตาจะอุทศิ ก็ยกจากลิน้ ป สหู นาผาก เรียกวา อุณาโลมา ปจชายเต....” แผเมตตา (ลิน้ ป) อุทศิ สวนกุศล (อุณาโลม) จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๖ เรื่อง การอุทิศสวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule06p0101.html และหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื่อง วิธีแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๒๓


ลำดับการสวดมนต “พระพุทธคุณ อาตมาสังเกตมาวา บางคนเขาไปหาหมอดู เคราะหรายก็ตองสะเดาะเคราะห อาตมาก็มาดูเหตุการณโชคลาง ไมดกี เ็ ปนความจริงของหมอดู อาตมาก็ตงั้ ตำราขึน้ มาดวยสติ บอกวา โยมไปสวดพุทธคุณเทาอายุใหเกินกวา ๑ ใหได เพื่อใหสติดี แลวสวด “พาหุงมหากาฯ” หายเลย สติกด็ ขี นึ้ เทาทีใ่ ชไดผล สวด ตัง้ แต นะโม พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุงมหากาฯ จบแลวยอนกลับมาขางตน เอาพุทธคุณหองเดียว (อิตปิ โ ส ภะคะวา จนถึง พุทโธ ภะคะวาติ) หองละ ๑ จบ ตอ ๑ อายุ อายุ ๔๐ สวด ๔๑ ก็ไดผล” z ตัง ้ นะโม ๓ จบ z สวดพุทธัง ธัมมัง สังฆัง z สวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ z สวดพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ) z สวดมหาการุณิโก z สวดพุทธคุณ อยางเดียวเทากับอายุ บวก ๑ เชน อายุ ๒๘ ป ใหสวด ๒๙ จบ อายุ ๕๔ ป ใหสวด ๕๕ จบ เปนตน z แผเมตตา z อุทศ ิ สวนกุศล จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ เรื่อง อานิสงสของการสวดพุทธคุณ โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule03r0801.html

๒๔

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


เหตุใดตองสวดพุทธคุณเทาอายุเกิน ๑ (อิติปโสเทาอายุ+๑) “อาตมาเคยพบคนแกอายุ ๑๐๐ กวาป มีคนเอากับขาวมาให ก็สวด อิตปิ โ ส ภควา อรหัง สัมมาสัมพุทโธ ๑ จบ ใหตวั เองกอน สวนอีกจบหนึง่ ใหคนทีน่ ำมาให เสร็จแลวใหถว ยคืนไป อาตมาจับ เคล็ดลับได จะใหใครตองเอาทุนไวกอ น ถึงไดเรียกวา สวดพุทธคุณ เทาอายุเกินหนึ่งไงเลา” จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือ่ ง ทำความดีนแี้ สนยาก โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0401.html

ทีว่ า ใหวา สวดเทาอายุนี่ หมายความวาอายุเทาไหร ๒๐ ถาเรา สวดแค ๑๐ เดียว มันก็ไมเทาอายุสวดไปเนีย่ เทาอายุกอ นนะมันคุม ใหมีสติ แลวก็เกินหนึ่งเพราะอะไร ที่พูดเกินหนึ่งเนี่ยหมายความ คนมักงายมักได คือมันมีเวลานอย ถาสวดแคเกินหนึง่ ทำอะไรใหมนั เกินไว เหมือนคุณโยมเนี่ยไปคาขาย ยังไมไดขายไดสักกะตังคเลย จะเอาอะไรไปใหทาน ยังไมไดกำไรเลยตองใหตวั เองกอนนะ นีต่ อ ง คาขายตองลงทุนนี่ ตองลงทุนก็สวดไป แตสวดมากเทาไรยิง่ ดีมาก ไดมสี มาธิมาก แตอาตมาทีพ่ ดู ไวคอื คนมันไมมเี วลา ก็เอาเกินหนึง่ ได ไหม เกินหนึง่ ไดกใ็ ชไดนะ แตถา เกินถึง ๑๐๘ ไดไหม ยิง่ ดีใหญ ทำใหเกิดสมาธิสูงขึ้น จากบทสัมภาษณในรายการ “ชีวิตไมสิ้นหวัง” ทางชอง ๓ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๒๕


การเปลีย่ นจาก “เต” เปน “เม” ในบทสวดมนต “เม” คือ ขา หมายถึง ผสู วดนัน่ แหละ สวน “เต” คือทาน พระเดชพระคุณหลวงพอ ไดเทศนตอบผใู หสมั ภาษณจากเทปธรรมบรรยาย “สวดมนตจนหายปวย” และ “มารไมมี บารมีไมเกิด” เราสามารถเลือกสวดไดทงั้ “เม” และ “เต” แตขอฝากย้ำคำสอน ของพระเดชพระคุณหลวงพอเรือ่ งการแผเมตตาและอุทศิ สวนกุศล มาให พิจารณาดังนี้ “ทานไปขุดน้ำกินเสียบานเดียว ทานจะไดอะไรหรือ ขุดบอน้ำ สาธารณะกินไดทุกบาน ใครมาก็กิน ใครมาก็ใช ทานไดบุญมาก มีถนนสวนบุคคล ทานเดินไดเฉพาะบานเดียว ไมสาธารณะแกคน ทั่วไป ทานจะไดบุญนอยมาก มีอานิสงสนอยมาก นี่เปรียบเทียบ ถวาย เรือ่ งจริงเปนอยางนัน้ ” จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือ่ ง วิธแี ผเมตตาและอุทศิ สวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html

๒๖

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


วิธีการแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล วันนี้จะขอฝากญาติโยมไว การอุทิศสวนกุศล และการแผ สวนกุศลไมเหมือนกัน การแผคอื การแพรขยาย เปนการเคลียรพนื้ ที่ แผสว นบุญออกไป เรียกวา สัพเพสัตตา สัตวทงั้ หลายทีเ่ ปนเพือ่ นทุกข เกิดแกเจ็บตายดวยกันทัง้ หมดทัง้ สิน้ เรียกวาการแผแพรขยาย แตการ อุทศิ ให เปนการใหโดยเจาะจง ถาเราจะใหตวั เองไมตอ งบอก ไมตอ ง บอกวาขอใหขาพเจารวย ขอใหขาพเจาดี ขอใหขาพเจาหมดหนี้ ทำบุญก็รวยเอง เราเปนคนทำ เราก็เปนคนได และการใหบดิ ามารดา นัน้ ก็ไมตอ งออกชือ่ แตประการใด ลูกทำดีมปี ญ  ญา ไดถงึ พอแม เพราะ ใกลตวั เรา พอแมอยใู นตัวเรา เราสรางความดีมากเทาไรจะถึงพอแม มากเทานัน้ เรามีลกู ลูกเราดี ลูกมีปญ  ญา พอแมกช็ นื่ ใจโดยอัตโนมัติ ไมตองไปบอก จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๖ เรื่อง การอุทิศสวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule06p0101.html

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๒๗


ผปู รารถนาจะปลูกเมตตาใหงอกงามอยใู นจิต พึงปลูกดวยการ คิดแผ ในเบือ้ งตนแผไปโดยเจาะจงกอน ในบุคคลทีช่ อบพอ มีมารดา บิดา ญาติมติ ร เปนตน โดยนัยวาผนู นั้ ๆ จงเปนผไู มมเี วร ไมมี ความเบียดเบียน ไมมที กุ ข มีสขุ สวัสดี รักษาตนเถิด เมือ่ จิตไดรบั การฝกหัดคุนเคยกับเมตตาเขาแลว ก็แผขยายใหกวางออกไปโดย ลำดับดังนี้ ในคนทีเ่ ฉย ๆ ไมชอบไมชงั ในคนไมชอบนอย ในคนที่ ไมชอบมาก ในมนุษยและดิรจั ฉานไมมปี ระมาณ เมตตาจิต เมือ่ คิด แผกวางออกไปเพียงใด มิตรและไมตรีกม็ คี วามกวางออกไปเพียงนัน้ เมตตา ไมตรีจติ มิใชอำนวยความสุขใหเฉพาะบุคคล ยอมใหความสุข แกชนสวนรวมตั้งแตสองคนขึ้นไป คือ หมูชนที่มีไมตรีจิตตอกัน ยอมหมดความระแวง ไมตองจายทรัพย จายสุข ในการระวังหรือ เตรียมรุกรับ มีโอกาสประกอบการงาน อันเปนประโยชนแกตนเอง และหมูเต็มที่ มีความเจริญรุงเรืองและความสงบสุขโดยสวนเดียว จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๑๓ เรื่อง สุจริตธรรมเหตุแหงความสุขที่แทจริง โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule13p0303.html

๒๘

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


สวดมนตเปนนิจ อธิษฐานจิตเปนประจำ อโหสิกรรมเสียกอน และเราก็แผเมตตาใหสรรพสัตวทั้งหลาย ที่เราไปสรางกรรมมา ครัง้ อดีต รบู า ง ไมรบู า ง รเู ทาทันหรือไมเทาทันก็ตาม ถารเู ทาไมถงึ การณเชนนี้แลว ขอสรรพสัตวทั้งหลายจงอโหสิกรรมใหแกขาพเจา มันก็จะนอยลงไป จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ เรื่อง กรรมฐานแกกรรมไดอยางไร โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule03p0201.html

“ตัง้ สติหายใจยาว ๆ ตอนทีก่ รวดน้ำเสร็จแลวอธิษฐานจิตไวกอ น อธิษฐานจิตหมายความวา ตั้งสติสัมปชัญญะไวที่ลิ้นป สำรวมกาย วาจา จิต ไดตงั้ มัน่ แลว จึงขอแผเมตตาไวในใจสักครหู นึง่ แลวก็ขอ อุทิศใหบิดามารดาของเราวา เราไดบำเพ็ญกุศล ทานจะไดบุญได ผลแน ๆ เดีย๋ วนีด้ ว ย...” “หายใจยาว ๆ ตัง้ สติกอ น หายใจลึก ๆ ยาว ๆ แลวก็แผเมตตา กอน มีเมตตาดีแลว ไดกศุ ลแลว เราก็อทุ ศิ เลย อโหสิกรรม ไมโกรธ ไมเกลียด ไมพยาบาทใครอีกตอไป และเราจะขออุทศิ ใหใคร ญาติ บุพเพสันนิวาสจะไดกอ น ญาติเมือ่ ชาติกอ นจะไดมารับ เราก็มทิ ราบ วาใครเปนพอแมในชาติอดีตใครเปนพีน่ อ งของเราเราก็ไมทราบ แต แลวเราจะไดทราบตอนอุทิศสวนกุศลนี้ไปให เหมือนโทรศัพทไป เขาจะไดรบั หรือไม เราจะรไู ดทนั ที” สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๒๙


“นีก่ เ็ ชนเดียวกัน เราจะปลืม้ ปตทิ นั ทีนะ เราจะตืน้ ตันขึน้ มาเลย ถาทานมีสมาธิ น้ำตาทานจะรวงนะ ขนพองสยองเกลาเปนปติ เบือ้ งตน ถาทานมาสวดมนตกนั สงเดช ไมเอาเหนือเอาใต ทานไมอทุ ศิ ทานจะไมรเู ลยนะ... ” “วันนี้ทานทำบุญอะไร สรางความดีอะไรบาง ดูหนังสือ ทองจำบทอะไรไดบา ง ก็อทุ ศิ ได เมืองฝรัง่ เขาไมมกี ารทำบุญ เราไป ทอดกฐิน ผาปา ถวายสังฆทาน เขาทำไมเปน แตทำไมเขาเปนเศรษฐี ทำไมเขามีความเจริญทางดานเทคโนโลยี ทำไมถึงเจริญดวยอารยธรรม ของเขา เพราะเขามีบญ ุ วาสนา เขาตัง้ ใจทำ มีกจิ กรรมในชีวติ ของเขา จะยกตัวอยาง วันนี้เขาคาขายไดเปนพันเปนหมื่นดวยสุจริตธรรม เขาก็เอาอันนัน้ แหละอุทศิ ไป วันนีเ้ ขาปลูกตนไมไดมากมาย เขาก็เอา สิ่งนี้อุทิศไป วาไดสรางความดีในวันนี้ ไมไดอยูวางแตประการใด เขาก็ไดบุญ ไมจำเปนตองเอาสตางคมาถวายพระเหมือนเมืองไทย ถวายสังฆทานกันไมพกั ถวายโนนถวายนีแ่ ตใจเปนบาป อุทศิ ไมออก บอกไมไดอยางนีเ้ ปนตน จะไมไดอะไรเลยนะ ... ” “...ทีผ่ มแผเมตตาและอุทศิ สวนกุศล ไปเขาบานลูกสาวญวนที่ กรุงปารีส ฝรัง่ เศส ทำอยางนีน้ ะ เวลาสวดมนต อิตปิ โ ส... ยาเทวตา... ตัง้ ใจสวดดวยภาษาบาลีเชนนี้ ทีห่ ยุดเงียบไปนะ ผมสำรวมจิตตัง้ สติ แผเมตตา จิตสงบดีแลวจึงอุทศิ ไป” “… ที่ทองจำโคลงใหไดนะเพื่อใหคลองปาก วาใหคลองปาก แลวก็จะคลองใจ คลองใจแลวถึงจะเปนสมาธิ เปนสมาธิแลวถึง จะอุทศิ ได ไมอยางนัน้ ไมไดนะ” ๓๐

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


“เอาตำรามาดูกันก็ไมไดผล แตดูตำราเพื่อใหถูกวรรคตอน และใหคลองปาก แลวจะไดคลองใจ เปนสมาธิ ถึงจะมีกำลังสงอุทศิ ไมอยางนั้นไมมีกำลังสงเลยนะ” “การอุทศิ สวนกุศล นีส่ ำคัญนะ แตตอ งแผเมตตากอน แผเมตตา ใหมสี ติกอ น แผเมตตาใหมคี วามรวู า เราบริสทุ ธิ์ ใจมีเมตตาไหม และ อุทศิ เลย มันคนละขัน้ ตอนกันนะ แผเมตตากับอุทิศมันตางกัน ทำใจใหเปนเมตตาบริสุทธิ์กอน ไมอจิ ฉา ไมรษิ ยา ไมผกู พยาบาทใครไวในใจ ทำใหแจมใส ทำใจ ใหสบาย คือเมตตา แลวเราจะอุทศิ ใหใครก็บอกกันไป มันจะมีพลัง สูง สามารถจะอุทศิ ใหคณ ุ พอคุณแมของเรากำลังปวยไข ใหหายจาก โรคภัยไขเจ็บได เชน วีโก บรูน ชาวนอรเวย ทีเ่ คยมาบวชทีว่ ดั นี้ เปนตน” “เรามาสวดมนตไหวพระกันวา โยโสภะคะวา.... ใจเปนบุญ ไหม สวากขาโต... สุปฏิปน โน... ใจเปนบุญไหม ทานจะฟงุ ซานไป ทางไหน สำรวมอินทรีย หนาทีค่ อยระวัง เอาของจริงไปใช อยาเอา ของปลอมมาใชเลย ... ทานทำประโยชนอะไรในวันนี้ เอามาตีความ สำรวมตัง้ สติไว กอน วาขาดทุนหรือไดกำไรชีวติ และจะไปเรียงสถิตใิ นจิตใจเรียกวา เมตตา แปลวาระลึกกอน เมตตาแปลวาปรารถนาดีกบั ตนเอง สงสาร ตัวเองที่ไดสรางความดีหรือความชั่วเชนนี้” สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๓๑


“หายใจยาว ๆ ตัง้ กัลยาณจิตไวทลี่ นิ้ ป ไมใชพดู สงเดช จำนะ ทีล่ นิ้ ปเ ปนการแผเมตตา จะอุทศิ ก็ยกจากลิน้ ปส หู นาผาก เรียกวา อุณา โลมา ปจชายเต นะอยหู วั สามตัวอยาละ นะอยทู ไี่ หน ตามเอามา แลวก็อทุ ศิ ทันที จึงถึงตามทีป่ รารถนา ไมวา เปนโยมพอ โยมแม จะใหนอ งเรียน หนังสือ จะใหพเี่ รียนหนังสือ หรือจะใหบตุ รธิดาของตน จะไดผลขึน้ มาทันที” “ลู ก ว า นอนสอนยาก ลู ก ติ ด ยาเสพติ ด ถ า ทำถู ก วิ ธี แ ล ว มันจะหันเหเรมาทางดีได พอแมกนิ เหลาเมายา เลนการพนัน ลูกจะ ไปสอนพอแมไมได มีทางเดียวคือ เจริญพระกรรมฐาน สำรวมจิต แผเมตตา อุทศิ สวนกุศล นะอยหู วั สามตัวอยาละ นะอยทู ไี่ หนตามเอามาใหได หมาย ความวากระไร ถาทานทำกรรมฐาน ทานจะทายออก นะตัวนีส้ ำคัญ นะ มีทงั้ เมตตามหานิยม นะ แปลวา การกระทำอกุศลใหเปนกุศล นะ แปลวา ทำศัตรูใหเปนมิตร สรางชีวติ ในธรรม แลวก็อทุ ศิ สวน กุศลไป” “… อยาทำดวยอารมณ อยาทำดวยความผูกพยาบาท อาฆาต ตอกัน ละเวรละกรรมเสียบาง แลวจิตจะโปรงใส ใจก็จะสะอาด แลวก็อุทิศไป ๓๒

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


จิตมันไมติดไฟแดง จิตไมเลี้ยวซายเลี้ยวขวา จิตมันทะลุฝา ผนังได ทานเขาใจคำนี้หรือยัง จิตมันตรงที่หมาย จิตไมมีตัวตน จิตคิดอานอารมณ มีจิตโปรง ทานจะทำอะไรก็โลงใจ สบายอก สบายใจ นะอยหู วั สามตัวอยาละ เอานะไปอุทศิ ใหได ถาทานมี ครอบครัวแลวโปรดตัง้ ปฏิญาณในใจวา ใหบตุ รธิดาของเรารวยสวย เกง เรงเปนดอกเตอร อยางนีซ้ ถิ งึ จะถูกวิธขี องผม” “ทานไปขุดน้ำกินเสียบานเดียว ทานจะไดอะไรหรือ ขุดบอน้ำ สาธารณะกินไดทุกบาน ใครมาก็กิน ใครมาก็ใช ทานไดบุญมาก มีถนนสวนบุคคล ทานเดินไดเฉพาะบานเดียว ไมสาธารณะแกคน ทั่วไป ทานจะไดบุญนอยมาก มีอานิสงสนอยมาก นี่เปรียบเทียบ ถวาย เรือ่ งจริงเปนอยางนัน้ ” “…อยาลืมนะ ทีล่ น้ิ ป หายใจยาว ๆ สำรวมเวลาสวดมนตนนั้ นะ ไดบญ ุ แลว … แลวสำรวมจิตสงกระแสจิตทีห่ นาผาก อุทศิ สวนกุศล เวลาแผเมตตาเอาไวที่ลิ้นป สำรวมอินทรีย หนาที่คอยระวัง นะ อุ อุอะมะ อุอะมะ อะอะอุ นะอยตู รงไหน เอามาไวตรงไหน จับให ไดแลวอุทิศไป” “ผมทำมา ๔๐ กวาปแลว ทำไดผล ขอถวายความรเู ปนบุญ เปนกุศล ใหทานไดบุญอยางประเสริฐไป จะไดอุทิศใหโยมเขา เขาเปนโรคภัยไขเจ็บ ถาไมเหลือวิสยั มันก็หายได” คัดยอความจากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรือ่ ง วิธแี ผเมตตาและอุทศิ สวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๓๓


ถามตอบเรื่องการสวดมนต พิธีกร: กราบนมัสการหลวงพอเจาคะ หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพร พิธีกร: วันนี้ลูกอยากเรียนถามหลวงพอวาการสวดพุทธคุณหมายความ วาอยางไรคะ หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพรพุทธคุณหมายความวากระไร พุทธคุณมีมา นานแลว ไมจำเปนตองกลาวพุทธคุณมันเรียกรวมกันเรียกพุทธคุณ ถาจะเรียกใหครบถวนก็เรียกวาไตรรัตน รัตนตรัย คือ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ อยูรวมกันเปนพุทธคุณ เปนอำนาจของ พุทธคุณ อำนาจของพระพุทธเจา แตทวี่ า สวดพุทธคุณอานิสงสหรืออะไร ก็ตามมีความหมายยังไง มีความหมายมานานแลวคนไทยชาวพุทธไมได ศึกษา มาทีว่ ดั กันเยอะแยะ อาตมาบอกวาโยมไมสบายใจสวดพุทธคุณสิ ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุงมหากาฯ สวดพุทธคุณ ยาว.. ยาว... ไมสวด แตเสียใจดวย สรางความดี ยาว... สรางความดีนดิ เดียว ไปสรางความ ชัว่ ยาวกวาความดี มันจะไปกันไดหรือ ไปไมได พุทธคุณนีค่ อื คุณพระพุทธเจา เอาคุณพระพุทธเจามาไวในใจ มีมา นานแลว พระธรรมคุณ ก็หมายความวาเอาธรรมะมาไวในใจ ปฏิบตั ิ สังฆคุณ ปฏิบตั ไิ ดแลว คือสังฆะแปลวาสามัคคี กายสามัคคี จิตสามัคคี มีรูปแบบดีเปนพฤติกรรม แสดงออกประพฤติดีแลว ปฏิบัติชอบแลว ก็สอนตัวเองไดสอนคนอื่นตอไปเรียกวาสังฆคุณ พุทธคุณนี่ก็หมาย ความวาเอาคุณพระพุทธเจา มาไวในใจ คุณพระพุทธเจาคืออะไร มี ๓ ประการทุกทาน ๑. พระปญญาคุณ ๒. พระวิสทุ ธิคณ ุ ๓. พระมหากรุณาธิคณ ุ

๓๔

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


แต ถ า จะตี ค วามให ชั ด เดี๋ ย วจะไม เ ข า ใจ ว า พุ ท ธคุ ณ เนี่ ย คุ ณ พระพุทธเจา ปญญาคุณหมายความวาไร คนไทยชาวพุทธไมเขาใจเยอะ ปญญาเกิด ๓ ทาง ทางที่ ๑ คือ สุตะมยปญญา แปลวาสดับตรับฟง สดับตรับฟง ตองมีครรลอง ๕ ประการ ๑. ศรัทธาฟง ๒. สนใจฟง ๓. จดหัวขอไว ๔. ทบทวน ๕. ปฏิบตั ทิ นั ทีอยารอรีแตประการใด เกิดปญญาในการฟง เดีย๋ วนีไ้ ปฟงเปนนักเรียนก็ตาม ฟงหลับ แลวก็ญาติโยมฟงเทศนกห็ ลับ นี่มันมีศรัทธาฟงไหม ไมสนใจฟงเลย ไมจดหัวขอไว ไมเกิดปญญา ในการฟง ๒. ก็ยงั ยังไมครรลอง ยังไมเต็มคราบ ยังไมเขาจุด ตองมี จินตามยปญญา ตองเอาฟงแลวเนีย่ เอาไปคิดประดิษฐสรางสรรค ริเริม่ ดำเนินงานทันทีอยารอรีแตประการใดถึงจะเกิดปญญา ถาฟงแลวเอาไปทิง้ มันไมเกิดปญญาจะไมไดคดิ ไมไดรเิ ริม่ จึงเรียกวาความคิด มันเกิดปญญา เดีย๋ วนีม้ คี นความรมู ากเปนดอกเตอรกเ็ ยอะ แตไมมคี วามคิดอยู ประการที่ ๓ สปู ระการที่ ๓ ไมได ภาวนามยปญญา สวดมนตไหวพระ สวดมนต ไหวพระไว แลวก็จะนึกถึงภาวนา เชนเด็กดูหนังสือสามหนเรียกวา ภาวนา ดูหนังสือหนเดียวเรียกวาดูหนังสือพิมพทงิ้ ขวางไป ดูครัง้ ทีห่ นึง่ หมายความวา รนู เี่ รือ่ งพระเวสสันดร ยกตัวอยาง ดูครัง้ สองซ้ำไปมีกตี่ อน มีกี่กัณฑ ดูครั้งที่สามเนื้อหาสาระเปนประการใด นี่เรียกวาภาวนา ภาวนาแปลวาอะไรอีก แปลวา “สวดมนตเปนยาทา วิปส สนาเปน ยากิน” ที่พูดมานานแลว ทำใหมันผุดขึ้นมาเอง และสามารถจะกำจัด ความชัว่ ออกจากตัวได จึงเรียกวาบริสทุ ธิ์ ในเมือ่ เกิดบริสทุ ธิแ์ ลว บริสทุ ธิ์ นีไ่ ดมาจากไหน ตีความตอไป คนจะบริสทุ ธิไ์ ดกไ็ มเปนคนหละหลวม เหลาะแหละเหลวไหลขึน้ หวยลงเขา คนบริสทุ ธิน์ จี่ ะ คนมีจริงจัง จริงใจ ตอตัวเอง จริงใจตอคนอื่นเขา เรียกตีครรลองเปนธรรมะใหเด็กเขาใจ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๓๕


สัจจะ เมตตา สามัคคี มีวนิ ยั ถึงจะบริสทุ ธิไ์ ด ถาไมมหี ลักสีป่ ระการ เปนการรับรองแลว คนนัน้ ไมบริสทุ ธิแ์ ละคนบริสทุ ธิแ์ ลวทีม่ กั จะมีเมตตา เรียกวาพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระพุทธเจา นีเ่ รียกวาพุทธคุณ นีเ่ อามา ไวในใจ อยางนี้ไง และธรรมคุณก็เชนเดียวกัน พอมีพุทธคุณซะแลว ธรรมคุณมาเอง มีธรรมะมาเอง พอธรรมะมีแลวพระสงฆมาเลยเรียกวา พระรัตนตรัย ขอเจริญพร อยางนี้ความหมาย ขอเจริญพร พิธกี ร: ประเด็นถัดมานะคะ สวดพาหุงฯ นะคะ มีความเกีย่ วเนือ่ งกัน ยังไงคะ ที่หลวงพอใหอุบาสกอุบาสิกาที่นี่สวดพาหุงฯ หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพร ดีแลว ถามนีด่ แี ลวคนไมเขาใจเยอะ แลวไป สวดอยางอื่นกันลามปาม พาหุงมหากาฯ มันบทติดตอกัน พาหุงฯ เนีย่ มันมีมานานแลว แตเราก็ไมทราบตนเหตุสาเหตุทมี่ นั มาจากไหน ก็มี ในหนังสือสวดมนตกเ็ ยอะแยะ คนเปดขามหญาปากคอกแท ๆ พาหุงมหากาฯ ก็แปลวาพระพุทธเจาพิชิตมาร เรียกวาปางมารวิชัย ผจญมารมา ๘ บท อยูในนั้นเลยไปดูเอาหาดูได ผจญมาร พระพุทธเจา ชนะมารแลว เรียกวาพาหุงมหากาฯ มหากาแปลวาอะไร ชยันโตโพธิยาฯ ใชไหม สุนกั ขัตตัง สุมงั คะลัง ทำดีตอนไหนไดตอนนัน้ “ฤกษ” จึงเอามานิยม สวดมนตดว ยการเจิมปาย และก็เปดสำนักงานและก็วางศิลาฤกษ หมาย ความวา (๑.) ฤกษคอื อากาศดี (๒.) ยามแปลวาเวลาวาง ๓. เครือ่ งพรอม ที่จะดำเนินงานไดทันทีอยารอรีแตประการใด ถึงไดเริ่มดำเนินงานใด ๆ เรียกวามหากาฯ พาหุงฯ บทนี้คือพระพุทธเจาเรากอนจะสำเร็จสัมโพธิญาณ พระองคผจญมารมาก มารมาผจญกับพระองคมากมาย ใชวา อธิบายทุกบท ทุกขอ มันมี ๘ ขอ แตจะเสียเวลามากจะไมสามารถจะจบในที่นี้ได ขอใหทานสาธุชนทั้งหลายไปดูเอาในหนังสือสวดมนตแปลในพาหุง มหากาฯ หรือ เรียกวาฎีกาพาหุงฯ นี่อยางนี้เปนตน

๓๖

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


แสดงวาพระพุทธเจานัง่ หลับตาก็ไปสมู าร ไปตอสกู บั มาร “มาร ไมมบี ารมีไมเกิด ประเสริฐไมได” พระองคผจญมารมาครบแลวชนะรวด ชนะรวดเรียกวาพาหุงฯ นี่ เรามีมานานแลวแตคนนะ ไมสวดกัน ตนสาย ปลายเหตุมาจากไหนเดีย๋ วคอยถามทีหลัง บางคนไมรจู ริง ๆ พาหุงมหากาฯ ไมรเู ลย หญาปากคอกแท ๆ ขามไปหมด เราเนีย่ ..เราเกิดมาเนีย่ ขอฝาก ทานนุ.. โยมดวยวา มารไมมี บารมีไมเกิด คนเกิดมาเนีย่ สรางความดีตอ ง มีอปุ สรรค ถาเปนความชัว่ จะไมมอี ปุ สรรค มันจะไหลไปเลยนะ จะไหล ไปเลยนะ คนเราเนี่ยไมตีความ ความชั่ว นี่มันก็ไหลไปเลยไมมีใครมา ขัดคอ ถาหากวาทานด็อกเตอรสรางความดีปบ มีคนขัดคอ มีมารผจญแลว ตองสมู ารตอไปคือขันติ ขันติความอดทนอดกลัน้ อดออมประนีประนอม ยอมความ ตองตรากตรำลำบาก อดทนตอการทำงาน อดทนตอความ เจ็บใจในสังคมดวย นีถ่ งึ จะพนเรียกวาพระพุทธเจาพนมาร แลวก็ทา นเขา สมาธิเดี๋ยวสาธิตใหดู นั่งสมาธิหลับตามารมารอบดาน มาทุกอยางเลย จิญจมาณวิกาก็หาวาพระพุทธเจาทองกับเขา ทานก็ไมวา เอาแผเมตตาดวย การสวดพาหุงฯ นี่ ทานก็สวดไปสวดมาชนะ ชนะแลวเนี่ย ชนะแลว สะดงุ มาร เรียกวาชนะเรียกปางมารวิชยั เนีย่ ปางมารวิชยั ชนะมารได นี่ บทนีช้ นะมาร ถาบานสาธุชนไดสวดแลวชนะมาร มารไมมบี ารมีไมเกิด ถาคนไหนไมมมี าร คนนัน้ ไมมบี ารมีนะ นีข่ อใหทา นทัง้ หลายไปตีความ เอาเอง เพราะเวลามันจำกัด นี่พาหุงมหากาฯ เปนอยางนี้ ขอเจริญพร พิธกี ร: ทำยังไงคะ ทีจ่ ะสวดมนตไมวา จะเปนพุทธคุณก็ดนี ะคะ พาหุงฯ ก็ดี มหาการุณโิ กฯ ก็ดี ใหเปนอานิสงสกบั ตัวของเราคะ หลวงพอจรัญ: เพราะงั้นตองมีศรัทธา..ตองมีความเชื่อความเลื่อมใส ในการสวด ถึงจะเปนอานิสงสในศรัทธาของเขากอน แตบางคนเนีย่ นะ.. ตางชาติตา งภาษา เขาไมเขาใจเลย ถาสวดไปนาน ๆ จะรเู องนะ ถาเกิด สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๓๗


สมาธิจะรวู า เนีย่ แปลวากะไร มีคนทำไดเยอะ แตคนเราสวดจิม้ ๆ จ้ำ ๆ ไปมันจะไดอะไร บางคนเนีย่ รวู า สวดพุทธคุณ สวดมนตละ ก็ดี สวดไป มันก็ไมดเี พราะอะไร จิตไมถงึ เขาไมถงึ ธรรมะ ถาจิตมีศรัทธาเลือ่ มใส สวดใหมนั เขาถึง ๑. เขาถึง ๒. จะซึง้ ใจ ๓. จะใฝดี ๔. จะมีสจั จะ พูดจริงทำจริงเลยเนี่ยนะออกมาชัดเลย นี่อานิสงส มีสัจจะ แลวก็จะมี กตัญูกตเวทิตาธรรม รูหนาที่การงานของตน นี่สวดเขาไมถึงเนี่ยมัน จะไปรไู ดยงั ไงจะซึง้ ใจไหม ไมมศี รัทธาเลยสวดจิม้ ๆ จ้ำ ๆ เหมือนพอคา แมคาไปแลกเปลี่ยนของในตลาดกันไดเปนธุรกิจ การสวดมนตไมใช นักธุรกิจ สวดมนตเนีย่ ตองการใหระลึกถึงตัวเอง มีสติสมั ปชัญญะใหสวด เขาไปสวดไป พอถึงจิตถึงใจแลว เหมือนอยางเนีย้ ยกตัวอยาง เขายังทอง ไมได อานไปยังไมเปนสมาธิ อานไปอานใหดงั ๆ คลองปาก พอคลอง ปากแลวก็คลองใจ พอคลองใจแลวติดใจแลวมันก็เกิดสมาธิ นี.่ . พอเกิด สมาธิจิตก็ถึง พอถึงหนักเขาแลวจะซึ้งใจ พอซึ้งใจแลว.. ซึ้งธรรม ซึ้งธรรมะมันจะใฝดี พิธกี ร: ที่วาจิตเปนสมาธินี่ก็คือวา จิตเปนหนึ่ง หลวงพอจรัญ: จิตเปนหนึ่ง นั่นเอกัตคตา ถาหากวาจิตยังวุนวายหรือ อะไร สวดมัง่ แลวก็ไปทำงานบางไมไดผล พิธีกร: ในลักษณะนี้หลวงพอขา การที่สวดมนตเนี่ยนะคะพอจิตเปน หนึ่งแลวเนี่ยก็มีคุณคาเทากับทำสมาธิเหมือนกัน หลวงพอจรัญ: ใชได ใชได นี่คือสมาธิ การสวดมนตเปนยาทา วิปสสนาเปนยากิน ทาไปกอน สวดไปกอน สวดแลวเนี่ยมันซึ้งใจ จะเปนตางชาติ ตางภาษา คนจีนหรือคนฝรัง่ เขานิยมเนีย่ เขาสวดโดยไม รเู รือ่ ง แตสวดไปสวดไปเกิดสมาธินะ สิ เกิดสมาธิเกิดจิตสำนึกเกิดหนาที่

๓๘

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


การงาน และการงานนัน่ คือกรรมฐานอันหนึง่ เรียกวาภาวนา สวดมนต เปนภาวนา พิ ธี ก ร: แล ว หลวงพ อ จะให ลู ก สวดสั ก กี่ จ บคะ เห็ น บอกว า ให ส วด เทาอายุบวกกับหนึ่งหรือคะ หลวงพอจรัญ: คืออยางนี้ ขอเจริญพร ที่วาใหวาสวดเทาอายุนี่ หมาย ความวาอายุเทาไหร ๒๐ ถาเราสวดแค ๑๐ เดียว มันก็ไมเทาอายุ สวด ไปเนีย่ เทาอายุกอ นนะมันคุมใหมสี ติ แลวก็เกินหนึง่ เพราะอะไร ทีพ่ ดู เกิน หนึง่ เนีย่ หมายความคนมักงายมักได คือมันมีเวลานอย ถาสวดแคเกินหนึง่ ทำอะไรใหมันเกินไว เหมือนคุณโยมเนี่ยไปคาขาย ยังไมไดขายไดสัก กะตังคเลย จะเอาอะไรไปใหทาน ยังไมไดกำไรเลยตองใหตวั เองกอนนะ นีต่ อ งคาขายตองลงทุนนี่ ตองลงทุนก็สวดไป แตสวดมากเทาไรยิง่ ดีมาก ไดมสี มาธิมาก แตอาตมาทีพ่ ดู ไวคอื คนมันไมมเี วลา ก็เอาเกินหนึง่ ไดไหม เกินหนึง่ ไดกใ็ ชไดนะ แตถา เกินถึง ๑๐๘ ไดไหม ยิง่ ดีใหญ ทำใหเกิด สมาธิสูงขึ้น พิธีกร: อันนีห้ มายถึง สวดทัง้ บทพุทธคุณ บทพาหุงฯ และก็บทมหาการุณโิ กฯ หลวงพอจรัญ: คืออยางนี้ขอเจริญพร เพื่อตองการอยางนี้ เอาพุทธคุณ เอาพระพุทธเจามาไวในใจ ก็สวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุง มหากาฯ หนึ่งจบแลวใชไหม แลวก็ยอนมาพุทธคุณหองเดียวเทาอายุ เกินหนึง่ เนีย่ บางคนไมเขาใจเยอะ เลยไปเห็นวา เอยตองสวดพาหุงฯ ดวย ตองเทาอายุ เลยเลิกเลย ไมเขาใจ ไมเขาใจ... จึงเลิกไป เลยทิง้ ไปเลย หาวายาว ยาวอะไร เวลาไปนั่งแบะแซะดูทีวีไปนั่งโกหกมดเท็จเขานะ ไมยาวเหรอ สรางความดีนะนิดเดียว เวลาพระเทศนนะ นี่พระเดช พระคุณเทศนแค ๕ นาทีพอแลว เดีย๋ วผมจะไปรับแขก สรางความดีนดิ เดียว สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๓๙


แลวความไมดีมากกวา บวกลบ คูณหารคอมพิวเตอรจะตีมาวายังไง ครับ จะตีออกมาแบบไหน ตีลบหรือตีบวกกันแน ขอเจริญพรอยางนี้ พิธกี ร: เรือ่ งคาถาพระชินบัญชร เห็นคนสมัยนีน้ ยิ มสวดกันมาก มีความ เกีย่ วของอยางไรกับทีเ่ ราจะสวดพุทธคุณกับพาหุงฯ ไหมคะ แลวก็มที มี่ า อยางไร หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพรอยางนีน้ ะ สวนมากจะเปนเด็กหรือเปนผใู หญ นิยมสวดชินบัญชรกันมาก แตอยาลืมวาชินบัญชรนีส่ มเด็จโต ทานสวด บูชาพระอรหันตชั้นสูง แลวเรายังไมไดชั้นอะไร พุทธคุณสักขอก็ไมมี ธรรมะขอเดียวไมมีไปสวด อยางคุณโยมนี่สมมุติยังไมไดชั้นมัธยมเลย ขึน้ มหาวิทยาลัยเลยไดเหรอ ยังไมไดเลยตองเอาไวกอ น ขัน้ ตนของบันได หญาปากคอก ตองมีคณ ุ พระพุทธเจาไวในใจ มีพระธรรมคุณ สังฆคุณ เรียกวาพระรัตนตรัยยึดเหนีย่ วทางใจกอน แลวคอยไปสวด อันโนนนะ ไดผลแน ถายังไมมอี ะไรเลยพืน้ ฐานอะไรเลย สวดชินบัญชรสวดกันมาก แลวก็ไมไดผล สวดไมไดผลแลวก็มาวาอยางโนนอยางนี้ ถาคนไหนมี ธรรมะหรือบูชาพระอรหันต บูชาพระพุทธเจาไดแลว สวดไดแน ดีดว ย แตยงั ไมรเู รือ่ งเลย ก.ไก ก็ยงั ไมรเู รือ่ งเลยขึน้ มัธยมแลว ประถมยังไมผา น แลวก็มัธยมไมผานผาเสือกไปมหาลัยเลย..ใชไดเหรอ แตอาตมาวาดี ทัง้ หมด ชินบัญชรก็ดี ไมใชวา ไมดนี ะ แตสมเด็จโตทานบูชาพระอรหันต ทาน ธรรมชัน้ สูง พิธกี ร: อยากใหหลวงพอเลาเรือ่ งลุงพัดนะคะ วาลุงพัดเขาสวดพุทธคุณ แลวเขารักษาตัวเคาเองไดอยางไรคะ ลุงพัดที่วาเปนอัมพาตคะ หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพร คุณโยมถามดีมาก เปนเรื่องจริงที่ผานมา ในกฎแหงกรรม ลุงพัดอายุ ๗๐ เศษ แตอาตมาจำเศษไมได แกเปน

๔๐

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


อั ม พาตแล ว ต อ งให ลู ก ให ห ลาน ต อ งมาเช็ ด ก น เช็ ด ตู ด เดิ น ไม ไ ด นอนแองแมงอยบู นเตียง แลวก็เสียใจ คิดกินยาตาย กินยาตายก็ใหพวก เด็ก ๆ หรือลูกหลานหรือใครก็ไมทราบละ ไปซือ้ ยา ยากะโหลกไขวนะ ยาทีก่ นิ แลวตายนะ เอามาจะกิน เลยครูออ นจันทรครูโรงเรียนทัง้ ผัวเมีย ก็ไดขาวบานใกลเรือนเคียงกันก็ไปเยี่ยมลุงพัด ไปเยี่ยมลุงพัดแลวก็ถาม บอกลุง..ทำไมถึงกินยาตายละลุง ลุงก็เปนทายก แลวก็เปนผเู สียสละเปน  หา นักธรรมะธัมโม แลวจะกินยาตายดวยประโยชนอนั ใด ลุงพัดก็แกปญ บอกวา ครู...ผมนะ ก็แกแลว แลวก็ลกู ตองมาเอาใจใสหลานตองมาดูแล จะไปโรงเรียนก็เสียเวลาเขา ตองมานั่งเช็ดกนเช็ดตูด แลวมาปอนขาว ผมเนี่ย เกรงใจ ลูกหลาน ผมตายเสียดีกวา เลยครูออนจันทรก็พูด ออนวอนวา ลุง.. อยาตายเลย ตายเปนบาป..ลุงก็ทราบ แตเราเกรงใจหลาน เขาตองมานั่งดูแลเรา กลับมาจากโรงเรียนก็ตองมาเช็ดกนเช็ดตูด ตองมา ปฏิบตั นิ ะ ตองมาปอนขาว เลยก็ลงุ ก็อยากจะกินยาตายใหมนั หมดสิน้ ไป ลุงอยาเพิง่ กินเลยสวดมนตเถอะ สวดมนตอะไรเลา สวดพุทธคุณ ของหลวงพอวัดอัมพวัน ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุงมหากาฯ ออ ลุงได แลว แตไมไดสวดเลยตาลุงก็เอาหันเหเรทศิ ตามครูออ นจันทร ทีเ่ ขาเคยมา ปฏิบตั ธิ รรมทีว่ ดั นีไ้ ง เลยก็สวด สวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุง มหากาฯ แลวก็สวดพุทธคุณเทาอายุ ๗๐ เศษ เศษเทาไร อาตมาจำไมได สวดไปแลวหายใจยาว ๆ เจริญกรรมฐานไปดวย ตาลุงนีก่ เ็ กิดปฏิกริ ยิ าปวด ไปเรียกครูออนจันทรมา ปวดจัง ปวดจัง ขอเจริญพรคุณโยม ถาเปน อัมพาตถาปวดตองหายทุกราย ถาไมปวดไมมีทางหาย เลยก็ลุงก็ปวด หนักเขา ๆ ลุกนัง่ ดะแลว สรุปใจความวาเดินได เดินไดถบี จักรยานไดเลย และเปนตัวตยุ * ไปเลย เปนพระเอกในเมืองหนองคายไป เลยก็ไปสอน บัดนีบ้ วชแลว ขีจ่ กั รยานก็ไดไปไหนก็ได เลยก็สอนเรือ่ งพาหุงมหากาฯ สวดกันใหญ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๔๑


พิ ธี ก ร: แต ต อนนั้ น ไม ไ ด ม าหาหลวงพ อ นะคะ เพี ย งแต ป ฏิ บั ติ ต าม เทานั้นเอง หลวงพอจรัญ: ไม ไ ด ม า ไม ไ ด ม า ปฏิ บั ติ ต ามเหมื อ นคุ ณ ตะกี้ นี้ ไ ง ไดแตปฏิบตั ติ ามอยางนัน้ เลยก็สวดใหญเลย สวดใหญเลยก็เปนหมอเอก ไปเลย พิธีกร: อานิสงสของการสวดพุทธคุณนี่นะคะ ไดแกตัวเราคนเดียว ทำใหคนอื่นไดไหมคะ หลวงพอจรัญ: ได สวดพุทธคุณเนี่ย อาตมาไปเห็นโยมแกคนหนึ่งที่ สุพรรณบุรนี ะ อายุ ๙๐ กวา ไมมคี รอบครัวนะ อาตมาไปไดตวั อยางมา มีกับขาวบริบูรณเลยอาตมาเอาแลนเรือยนตไป พระตั้งหลายองคแลว ก็ฆราวาสอีก ๘ แกไมมหี มอขาวหมอเตาไฟเลยนะ บอกนิมนตฉนั เพล เราบอก เอย ยายแกนี่โกหกเราแลว เราจำเปนเหลือ ๑๐ นาทีจะเพล แลว จะไปตลาดซือ้ ไมทนั ก็จอดเรือเขาไปทีแ่ พแก อายุมากแลวสวยดวย เดีย๋ วเพล ตึง ตึง ตึง กับขาวมาเต็มเลย มาเต็มเลยอาตมายังจำได อาว คนนัน้ สงมาถวย แก.. อิตปิ  โส ภควา อะระหังสัมมา สัมพุทโธวิชชา... แลวแกก็เท ถายแลว อิติป โส ภควา... จบแลวก็บอกนี่เอาไปฝากแม เธอดวย ถาม อาตมาถามวา ยาย...ทำไมตองสวดสองหน อิ...(อิตปิ โ ส) หนนึงเราตองเอากอน อิ...(อิตปิ โ ส) หนนีไ้ ปใหเขา ไดแน ไดแน ๆ นีม่ นั มีประโยชนอยู นี่อาตมาก็จำไว พิธกี ร: ออ หมายถึงวาหลวงพอไดฉนั อาหารจากคุณยายคนนี้ ในลักษณะ อยางนี้เหรอคะ หลวงพ อ จรั ญ : เนี่ ย กั บ ข า วเยอะเลย ถามบอก..ยายนี่ ม าไงกั น เนี่ ย แลวก็ยายมีลูกไหม ฉันไมมีครอบครัว มีนาอยูเจ็ดแปดรอยไรยกใหวัด

๔๒

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


และก็ยกใหเด็ก ๆ บานนีห้ มด แลวเขาก็มาปฏิบตั มิ านอนดวยซักผาซักผอน ใหดวย ขอเจริญพรพูดนอกนิดนึง บางคนเนี่ยกลัวไมมีลูกมาปฏิบัติ มีลกู ตัง้ แปดเกาคนไมเคยมาเช็ดกนเช็ดตูดเลยนะ เพราะเปนเวรกรรมของ แมไมเคยทำตอเนือ่ งกันมา แตคณ ุ ยายเนีย่ ไมมลี กู ไมมผี วั นีข่ อพูดอยาง ชาวบานนอก แตมคี นปฏิบตั ทิ งั้ แถวเลย แลวกลางคืนมีคนมานอน แลว เสื้อผาซักรีดใหเสร็จแตกับขาวไมมีเลย แตถึงเวลาเต็มเลย คนละถวย ใชไหมทัง้ แถวเลย เนีย่ แลวแกก็ทำอยางเนีย๊ ถามบอก ยาย..ทำไมตองสวด สองหน อิ...(อิตปิ โ ส) หนนึงเราตองเอาไวกอ น เราตองเอาเปนบุญกอน อิ...(อิตปิ โ ส) หนทีส่ องเปนกำไรใหเขาไป นีอ่ าตมาจำซึง้ มาแลวก็ใชได ผลอยางนี้ ขอเจริญพร พิธีกร: หลวงพอขาอานิสงสของพุทธคุณในการที่จะรักษาไขเนี่ยนะคะ นอกจากจะรักษาไขแลวนี่ ยังเปนประโยชนอยางอื่นไดไหมคะ หลวงพอจรัญ: เปนประโยชนอยางอืน่ ไดมากมาย เด็ก..ทีจ่ ะไปสอบเขา มหาวิทยาลัยและฝรั่งมังคาก็ตามนะ สวดเทาอายุเกินหนึ่ง แลวก็พาหุง มหากาฯ เขาไว แลวก็สวดเกินหนึง่ ไป สอบไมเคยตก นีอ่ านิสงสสำหรับ เด็ก สวดเขามันมีปญ  ญา มันมีปญ  ญามันมีความคิด และสามารถผจญมาร ไดทกุ ๆ บท ดีอยางนีด้ สี ำหรับเด็ก ใหเด็กสวดไว กลารับรองวาเด็กเกเร เกเสนะพอแมเอาใจใสลกู เปนกรณีพเิ ศษ ใหลกู สวดมนตไหวพระไวแลว ก็ไปสวดเทาอายุ ไมเคยพลาดเลยไปสอบไมเคยตก ไปสอบสัมภาษณอะไร ก็ไมเคยตก ไปเมืองสหรัฐอเมริกาหรือไปกรุงปารีสไมเคยตก ที่เปน ดอกเตอรมานี่เขาสวดกัน ขอเจริญพร พิธีกร: สำหรับคนที่อยากจะสวดพุทธคุณนะคะ แตยังไมไดรูเบื้องตน เลยนี่นะคะ หลวงพอจะกรุณาแนะนำอยางไรบางคะ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๔๓


หลวงพอจรัญ: ไดได ถายังไมรูอะไรเลยนะ ถาขอใหมีศรัทธาหนอย มั่นใจหนอย เพราะวาศาสนาเนี่ยตองการจะใหมีศรัทธาและมั่นใจ ถา มัน่ ใจเปนตัวของตัวเองขึน้ มานะ อานไปกอน จะขีเ้ กียจทองอานทุกวัน เดี๋ยวมันจำได พอจำไดจิตมันเปนสมาธิ เอกัตคตา ไดผลตอนนั้น ไดผลแน ๆ บอกขอใหทำเถอะ สวดดีกวาไมสวด ดีกวาไปเที่ยวเลน ชมวิวชมอะไร ไปชอปปง กันเสียเวลา ขอเจริญพรอยางนี้ หมายเหตุ ตัวตุยที่หลวงพอพูดถึงนั้น คือ ตัวตลก ในการสวด คฤหัสถ มีหนาที่สรางความขบขัน ความสนุกสนานใหแกผูชม ไมวา จะเปนการพูดขัดแยงหรือแสดงโลดโผนใด ๆ กับผูสวดคนอื่น ๆ ที่มี ทัง้ หมด ๔ คนก็ได เพียงแตใหอยใู นแบบแผนรักษาแนวทางมิใหออก นอกลูนอกทางไปเทานั้น ทานสามารถรับฟงเสียงธรรมบรรยายไดที่ http://fs4.netdiskbytrue.com/Pub043/40/254698_file01.mp3 http://fs3.netdiskbytrue.com/Pub034/45/254700_file02.mp3 จากบทสัมภาษณในรายการ “ชีวิตไมสิ้นหวัง” ทางชอง ๓ *บทความนี้ถอดตรงตามภาษาพูด จากบทสัมภาษณ ควรฟงจากเสียงธรรมะบรรยายอีกครั้งหนึ่ง

๔๔

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


บทสวดมนตแปล คำแปลกราบพระรัตนตรัย พระผูมีพระภาคเจา เปนพระอรหันต ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกขสิ้นเชิง ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง ขาพเจา อภิวาทพระผมู พี ระภาคเจา ผรู ู ผตู นื่ ผเู บิกบาน (กราบ) พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสไว ดีแลว ขาพเจานมัสการพระธรรม (กราบ) พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา ปฏิบัติดีแลว ขาพเจานอบนอมพระสงฆ (กราบ)

คำแปลนมัสการ ขอนอบนอมแดพระผมู พี ระภาคเจาพระองคนนั้ ซึง่ เปน ผไู กลจากกิเลส ตรัสรชู อบไดโดยพระองคเอง (๓ จบ)

คำแปลไตรสรณคมน ขาพเจาขอถือเอาพระพุทธเจาเปนที่พึ่งที่ระลึก ขาพเจาขอถือเอาพระธรรมเปนที่พึ่งที่ระลึก ขาพเจาขอถือเอาพระสงฆเปนที่พึ่งที่ระลึก สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๔๕


แมครั้งที่สอง ขาพเจาขอถือเอาพระพุทธเจาเปนที่พึ่งที่ระลึก แมครั้งที่สอง ขาพเจาขอถือเอาพระธรรมเปนที่พึ่งที่ระลึก แมครั้งที่สอง ขาพเจาขอถือเอาพระสงฆเปนที่พึ่งที่ระลึก แมครั้งที่สาม ขาพเจาขอถือเอาพระพุทธเจาเปนที่พ่ึงที่ระลึก แมครั้งที่สาม ขาพเจาขอถือเอาพระธรรมเปนที่พึ่งที่ระลึก แมครั้งที่สาม ขาพเจาขอถือเอาพระสงฆเปนที่พึ่งที่ระลึก

คำแปลพระพุทธคุณ พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น เปนผูไกลจากกิเลส เปนผตู รัสรชู อบไดดว ยพระองคเอง เปนผถู งึ พรอมดวยวิชชา และจรณะ (ความรแู ละความประพฤติ) เปนผเู สด็จไปดีแลว เปนผรู โู ลกอยางแจมแจง เปนผสู ามารถฝกบุรษุ ทีส่ มควรฝกได อยางไมมีใครยิ่งไปกวา เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษย ทัง้ หลาย เปนผรู ู ผตู นื่ ผเู บิกบานดวยธรรม เปนผมู คี วามเจริญ จำแนกธรรมสัง่ สอนสัตว ดังนีฯ้

คำแปลพระธรรมคุณ พระธรรมเปนสิง่ ทีพ่ ระผมู พี ระภาคเจา ไดตรัสไวดแี ลว เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัตึพึงเห็นไดดวยตนเอง เปนสิ่งที่ ปฏิบัติไดและใหผลได ไมจำกัดกาล เปนสิ่งที่ควรกลาวกับ ผอู นื่ วา ทานจงมาดูเถิด เปนสิง่ ทีค่ วรนอมเขามาใสตวั เปนสิง่ ทีผ่ รู กู ร็ ไู ดเฉพาะตน ดังนีฯ้ ๔๖

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


คำแปลพระสังฆคุณ สงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา หมใู ด, ปฏิบตั ดิ แี ลว สงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา หมใู ด, ปฏิบตั ติ รงแลว สงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา หมใู ด, ปฏิบตั เิ พือ่ รธู รรม เปนเครื่องออกจากทุกขแลว สงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา หมใู ด, ปฏิบตั สิ มควร แลว ไดแก บุคคลเหลานีค้ อื คแู หงบุรษุ ๔ คู นับเรียงตัว บุรษุ ได ๘ บุรษุ นัน่ แหละสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา เปนผูควรแกสักการะที่เขานำมาบูชา เปนผูควรแกสักการะที่ เขาจัดไวตอนรับ เปนผูควรรับทักษิณาทาน เปนผูที่บุคคล ทั่วไปควรทำอัญชลี เปนเนื้อนาบุญของโลก ไมมีนาบุญอื่น ยิง่ กวา ดังนีฯ้

คำแปลพุทธชัยมงคลคาถา ๑. พระจอมมุนีไดทรงชนะพญามารผูเนรมิตแขนมาก ตัง้ พัน ถืออาวุธครบมือ ขีค่ ชสารชือ่ ครีเมขละ พรอมดวยเสนา มารโหรอ งกึกกอง ดวยธรรมวิธคี อื ทรงระลึกถึงพระบารมี ๑๐ ประการ ทีท่ รงบำเพ็ญแลว มีทานบารมีเปนตน ขอชัยมงคล ทั้งหลายจงมีแกทาน ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนั้น สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๔๗


๒. พระจอมมุนีไดทรงชนะอาฬวกยักษ ผูมีจิตกระดาง ดุรายเหี้ยมโหด มีฤทธิ์ยิ่งกวาพญามาร ผูเขามาตอสูยิ่งนัก จนตลอดรุ ง ด ว ยวิ ธี ที่ ท รงฝ ก ฝนเป น อั น ดี คื อ ขั น ติ บ ารมี (คือ ความอดทน อดกลัน้ ซึง่ เปน ๑ ในพระบารมี ๑๐ ประการ) ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกทาน ดวยเดชแหงพระพุทธชัย มงคลนั้น ๓. พระจอมมุ นี ไ ด ท รงชนะพญาช า งตั ว ประเสริ ฐ ชื่ อ นาฬาคิรี เปนชางเมามันยิง่ นัก ดุรา ยประดุจไฟปา และรายแรง ดังจักราวุธและสายฟา (ขององคอนิ ทร) ดวยวิธรี ดลงดวยน้ำ คือ พระเมตตา ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกทาน ดวยเดช แหงพระพุทธชัยมงคลนั้น ๔. พระจอมมุนที รงบันดาลอิทธิฤทธิท์ างใจอันยอดเยีย่ ม ชนะโจรชือ่ องคุลมิ าล (ผมู พี วงมาลัย คือ นิว้ มือมนุษย) แสน รายกาจ มีฝมือ ถือดาบวิ่งไลพระองคไปสิ้นทาง ๓ โยชน ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกทาน ดวยเดชแหงพระพุทธชัย มงคลนั้น ๕. พระจอมมุ นี ไ ด ท รงชนะความกล า วร า ยของนาง จิญจมาณวิกา ผูทำอาการประดุจวามีครรภ เพราะทำไม สัณฐานกลม (ผูกติดไว) ใหเปนประดุจมีทอ ง ดวยวิธสี มาธิ อันงาม คือ ความสงบระงับพระหฤทัย ขอชัยมงคลทัง้ หลาย จงมีแกทาน ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนั้น ๔๘

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


๖. พระจอมมุนี ทรงรงุ เรืองแลวดวยประทีปคือ ปญญา ไดชนะสัจจกนิครนถ (อานวา สัจจะกะนิครนถ, นิครนถ คือ นักบวชประเภทหนึ่งในสมัยพุทธกาล) ผูมีอัชฌาสัยในที่ จะสละเสียซึง่ ความสัตย มงุ ยกถอยคำของตนใหสงู ล้ำดุจยกธง เปนผมู ดื มนยิง่ นัก ดวยเทศนาญาณวิธี คือ รอู ชั ฌาสัยแลวตรัส เทศนาใหมองเห็นความจริง ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแกทา น ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนั้น ๗. พระจอมมุนที รงโปรดใหพระโมคคัลลานะเถระพุทธ ชิโนรส นิรมิตกายเปนนาคราชไปทรมานพญานาคราช ชื่อ นันโทปนันทะ ผมู คี วามหลงผิดมีฤทธิม์ าก ดวยวิธใี หฤทธิท์ ี่ เหนื อ กว า แก พ ระเถระ ขอชั ย มงคลทั้ ง หลายจงมี แ ก ท า น ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนั้น ๘. พระจอมมุนีไดทรงชนะพรหมผูมีนามวาพกาพรหม ผมู ฤี ทธิ์ สำคัญตนวาเปนผรู งุ เรืองดวยคุณอันบริสทุ ธิ์ มีความ เห็นผิดประดุจถูกงูรดั มือไวอยางแนนแฟนแลว ดวยวิธวี างยา อันพิเศษ คือ เทศนาญาณ ขอชัยมงคลทัง้ หลายจงมีแกทา น ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนั้น นรชนใดมีปญญา ไมเกียจคราน สวดก็ดี ระลึกก็ดี ซึง่ พระพุทธชัยมงคล ๘ บทนีท้ กุ ๆ วัน นรชนนัน้ จะพึงละ เสียได ซึ่งอุปทวันตรายทั้งหลายมีประการตาง ๆ เปนอเนก และถึงซึง่ วิโมกข (คือ ความหลุดพน) อันเปนบรมสุขแล สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๔๙


คำแปลมหาการุณิโก ผเู ปนทีพ่ งึ่ ของสัตวทงั้ หลาย ประกอบแลวดวยพระมหา กรุณา ยังบารมีทงั้ หลายทัง้ ปวงใหเต็ม เพือ่ ประโยชนแกสรรพ สัตวทงั้ หลาย ไดบรรลุสมั โพธิญาณอันอุดมแลว ดวยการกลาว คำสั ต ย นี้ ขอชั ย มงคลจงมี แ ก ท า น ขอท า นจงมี ชั ย ชนะ ดุจพระจอมมุนที ที่ รงชนะมาร ทีโ่ คนโพธิพฤกษถงึ ความเปน ผูเลิศในสรรพพุทธาภิเษก ทรงปราโมทยอยูบนอปราชิต บัลลังกอันสูง เปนจอมมหาปฐพี ทรงเพิ่มพูนความยินดีแก เหล า ประยู ร ญาติ ศ ากยวงศ ฉ ะนั้ น เทอญ เวลาที่ “สั ต ว ” (หมายถึงสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย เชน มนุษยและสรรพสัตว) ประพฤติชอบ ชือ่ วา ฤกษดี มงคลดี สวางดี รงุ ดี และขณะดี ครดู ี บูชาดีแลว ในพรหมจารีบคุ คลทัง้ หลาย กายกรรม เปน ประทักษิณ วจีกรรม เปนประทักษิณ มโนกรรม เปนประทักษิณ ความปรารถนาของทานเปนประทักษิณ สัตวทงั้ หลายทำกรรม อันเปนประทักษิณแลว ยอมไดประโยชนทั้งหลาย อันเปน ประทักษิณ* ขอสรรพมงคลจงมีแกทา น ขอเหลาเทวดาทัง้ ปวงจงรักษา ทาน ดวยอานุภาพแหงพระพุทธเจา ขอความสวัสดีทงั้ หลาย จงมีแกทานทุกเมื่อ ๕๐

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ขอสรรพมงคลจงมี แ ก ท า น ขอเหล า เทวดาทั้ ง ปวง จงรักษาทาน ดวยอานุภาพแหงพระธรรม ขอความสวัสดี ทัง้ หลาย จงมีแกทา นทุกเมือ่ ขอสรรพมงคลจงมี แ กท า น ขอเหล า เทวดาทั้ ง ปวง จงรักษาทาน ดวยอานุภาพแหงพระสงฆ ขอความสวัสดี ทัง้ หลาย จงมีแกทา นทุกเมือ่ หมายเหตุ ประทักษิณ หมายถึง การกระทำความดีดว ย ความเคารพ โดยใชมอื ขวาหรือแขนดานขวา หรือทีห่ ลายทาน เรียกวา “สวนเบือ้ งขวา” ซึง่ เปนธรรมเนียมทีม่ มี าชานานแลว ซึง่ พวกพราหมณถอื วา การประทักษิณ คือ การเดินเวียนขวา รอบสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์และบุคคลทีต่ นเคารพนัน้ เปนการใหเกียรติและ เปนการแสดงความเคารพสูงสุด เปนมงคลสูงสุด เพราะฉะนัน้ บาลีที่แสดงไววา กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ความ ปรารถนาและการที่กระทำกรรมทั้งหลาย เปนประทักษิณ อันเปนสวนเบือ้ งขวาหรือเวียนขวานัน้ จึงหมายถึงการทำการ พู ด การคิ ด ที่ เ ป น มงคล และผลที่ ไ ด รั บ ก็ เ ป น ประทั ก ษิ ณ อันเปนสวนเบือ้ งขวาหรือเวียนขวา ก็หมายถึงไดรบั ผลทีเ่ ปน มงคลอันสูงสุดนั่นแลฯ

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๕๑


“ถาใครเจริญวิปสสนากรรมฐานโดยตอเนื่อง สรางความดี ใหติดตอกัน สรางความดี ถูกตัวบุคคล ถูกสถานที่ ถูกเวลา

ตอเนื่องกันเสมอตนเสมอปลายแลว คนนัน้ จะไดรบั ผลดี ๑๐๐%

และจะเอาดี ในชาตินี้ได ไมตองรอดีถึงชาติหนา” จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ ภาคธรรมปฏิบัติ เรื่อง กรรมฐานแกกรรมไดอยางไร โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule03p0201.html


วิปสสนากรรมฐานเบื้องตน การปฏิบตั กิ รรมฐานเบือ้ งตน การเดินจงกรม กอนเดินใหยกมือไขวหลัง มือขวาจับขอมือซาย วางไวตรง กระเบนเหน็บ ยืนตัวตรง เงยหนา หลับตา ใหสติจบั อยทู ปี่ ลายผม กำหนดวา “ยืนหนอ” ชา ๆ ๕ ครัง้ เริม่ จากศีรษะลงมาปลายเทา และจากปลายเทาขึ้นไปบนศีรษะ กลับขึ้นกลับลงจนครบ ๕ ครั้ง แตละครัง้ แบงเปนสองชวง ชวงแรก คำวา “ยืน” จิตวาดมโนภาพ รางกาย จากศีรษะลงมาหยุดทีส่ ะดือ คำวา “หนอ” จากสะดือลงไป ปลายเทา กำหนดคำวา “ยืน” จากปลายเทามาหยุดที่สะดือ คำวา “หนอ” จากสะดือขึน้ ไปปลายผม กำหนดกลับไปกลับมา จนครบ ๕ ครัง้ ขณะนัน้ ใหสติอยทู รี่ า งกาย อยาใหออกไปนอกกาย เสร็จแลว ลืมตาขึน้ กมหนาทอดสายตาไปขางหนาประมาณ ๑ ศอก สติจบั อยู ทีเ่ ทา การเดิน กำหนดวา “ขวา...” “ยาง...” “หนอ...” กำหนดในใจ คำวา “ขวา” ตองยกสนเทาขวาขึน้ จากพืน้ ประมาณ ๒ นิว้ เทากับ ใจนึกตองใหพรอมกัน “ยาง” ตองกาวเทาขวาไปขางหนาชาทีส่ ดุ เทา ยังไมเหยียบพืน้ คำวา “หนอ” เทาลงถึงพืน้ พรอมกัน เวลายกเทา ซายก็เหมือนกัน กำหนดวา “ซาย...” “ยาง...” “หนอ...” คงปฏิบตั ิ เชนเดียวกันกับ “ขวา...” “ยาง...” “หนอ...” ระยะกาวในการเดิน หางกันประมาณ ๑ คืบ เปนอยางมากเพือ่ การทรงตัว ขณะกาวจะได ดีขนึ้ เมือ่ เดินสุดสถานทีใ่ ชแลว ใหนำเทามาเคียงกัน เงยหนาหลับตา สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๕๓


กำหนด “ยืนหนอ” ชา ๆ อีก ๕ ครัง้ ทำความรสู กึ โดยจิต สติ รอู ยู ตัง้ แตกลางกระหมอม แลวกำหนด “ยืนหนอ” ๕ ครัง้ เบือ้ งต่ำตัง้ แต ปลายผมลงมาถึงปลายเทา เบือ้ งบนตัง้ แตปลายเทาขึน้ มา “ยืนหนอ” ๕ ครัง้ แลวหลับตา ตัง้ ตรง ๆ เอาจิตปกไวทกี่ ระหมอม เอาสติตาม ดังนี้ “ยืน.....” (ถึงสะดือ) “หนอ.....” (ถึงปลายเทา) หลับตาอยาลืม ตานึกมโนภาพ เอาจิตมอง ไมใชมองเห็นดวยสายตา “ยืน……” (จากปลายเทาถึงสะดือ หยุด) แลวก็ “หนอ…….” ถึงปลายผม คนละ ครึง่ พอทำไดแลว ภาวนา “ยืน….หนอ....” จากปลายผม ถึงปลายเทา ไดทันที ไมตองไปหยุดที่สะดือ แลวคลองแคลววองไว ถูกตอง เปนธรรม ขณะนั้นใหสติอยูที่รางกายอยาใหออกไปนอกกาย เสร็จแลว ลืมตาขึน้ กมหนา ทอดสายตาไปขางหนาประมาณ ๑ ศอก สติจบั อยทู เี่ ทา การเดิน กำหนดวา “ขวา...” “ยาง...” “หนอ...” กำหนด ในใจคำวา “ขวา” ตองยกสนเทาขวาขึ้นจากพื้นประมาณ ๒ นิ้ว เทากับใจนึกตองใหพรอมคำวา “ยาง” กาวเทาขวาไปขางหนาให ชาทีส่ ดุ เทายังไมเหยียบพืน้ คำวา “หนอ” เทาเหยียบพืน้ เต็มฝาเทา อยาใหสนเทาหลังเปด เวลายกเทาซายก็เหมือนกัน กำหนดคำวา “ซาย...” “ยาง...” “หนอ...” คงปฏิบตั เิ ชนเดียวกับ “ขวา...” “ยาง...” “หนอ...” ระยะกาวในการเดินหางกันประมาณ ๑ คืบ เปนอยางมาก เพื่อการทรงตัวขณะกาวจะไดดีขึ้น เมื่อเดินสุดสถานที่ใชเดินแลว พยายามใชเทาขวาเปนหลักคือ “ขวา...” “ยาง...” “หนอ...” แลวตาม ดวยเทา “ซาย...” “ยาง...” “หนอ...” จะประกบกันพอดี แลวกำหนดวา ๕๔

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


“หยุด... หนอ...” จากนัน้ เงยหนา หลับตากำหนด “ยืน... หนอ...” ชา ๆ อีก ๕ ครัง้ เหมือนกับทีไ่ ดอธิบายมาแลว ลืมตา กมหนา ทากลับ การกลับกำหนดวา “กลับหนอ” ๔ ครัง้ คำวา “กลับหนอ” • ครัง้ ที่ ๑ ยกปลายเทาขวา ใชสน เทาขวาหมุนตัวไปทางขวา ๙๐ องศา • ครัง้ ที่ ๒ ลากเทาซายมาติดกับเทาขวา • ครัง้ ที่ ๓ ทำเหมือนครัง้ ที่ ๑ • ครัง้ ที่ ๔ ทำเหมือนครัง้ ที่ ๒ หากฝกจนชำนาญแลวเราสามารถกำหนดใหละเอียดขึ้น โดย การหมุนตัวจาก ๙๐ องศา เปน ๔๕ องศา จะเปนการกลับหนอ ทั้งหมด ๘ ครั้ง เมื่ออยูในทากลับหลังแลวตอไปกำหนด “ยืน... หนอ...” ชา ๆ อีก ๕ ครัง้ ลืมตา กมหนา แลวกำหนดเดินตอไป กระทำเชนนี้จนหมดเวลาที่ตองการ

การนัง่ กระทำตอจากการเดินจงกรม อยาใหขาดตอนลงเมือ่ เดินจงกรม ถึงทีจ่ ะนัง่ ใหกำหนด “ยืน... หนอ...” อีก ๕ ครัง้ ตามทีก่ ระทำมา แลวเสียกอน แลวกำหนดปลอยมือลงขางตัววา “ปลอยมือหนอ ๆ ๆ ๆ ๆ” ชา ๆ จนกวาจะลงสุดเวลานั่งคอย ๆ ยอตัวลงพรอมกับกำหนดตาม อาการทีท่ ำไปจริง ๆ เชน “ยอตัวหนอ ๆ ๆ ๆ” “เทาพืน้ หนอ ๆ ๆ” “คุกเขาหนอ ๆ ๆ” “นัง่ หนอ ๆ ๆ” เปนตน สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๕๕


วิธนี งั่ ใหนงั่ ขัดสมาธิ คือ ขาขวาทับขาซาย นัง่ ตัวตรง หลับตา เอาสติมาจับอยทู สี่ ะดือทีท่ อ งพองยุบ เวลาหายใจเขาทองพอง กำหนด วา “พอง หนอ” ใจนึกกับทองทีพ่ องตองใหทนั กัน อยาใหกอ นหรือ หลังกัน หายใจออกทองยุบ กำหนดวา “ยุบ หนอ” ใจนึกกับทองที่ ยุบตองทันกัน อยาใหกอ นหรือหลังกัน ขอสำคัญใหสติจบั อยทู พี่ อง ยุบ เทานัน้ อยาดูลมทีจ่ มูก อยาตะเบ็งทองใหมคี วามรสู กึ ตามความ เปนจริงวาทองพองไปขางหนา ทองยุบมาทางหลัง อยาใหเห็นเปน ไปวา ทองพองขึ้นขางบน ทองยุบลงขางลาง ใหกำหนดเชนนี้ ตลอดไป จนกวาจะถึงเวลาที่กำหนดเมื่อมีเวทนา เวทนาเปนเรื่อง สำคัญทีส่ ดุ จะตองบังเกิดขึน้ กับผปู ฏิบตั แิ นนอน จะตองมีความอดทน เปนการสรางขันติบารมีไปดวย ถาผูปฏิบัติขาดความอดทนเสียแลว การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานนั้นก็ลมเหลว ในขณะที่นั่งหรือเดิน จงกรมอยนู นั้ ถามีเวทนาความเจ็บ ปวด เมือ่ ย คัน ๆ เกิดขึน้ ให หยุดเดิน หรือหยุดกำหนดพองยุบ ใหเอาสติไปตั้งไวที่เวทนาเกิด และกำหนดไปตามความเปนจริงวา “ปวดหนอ ๆ ๆ” “เจ็บหนอ ๆ ๆ” “คันหนอ ๆ ๆ” เปนตน ใหกำหนดไปเรือ่ ย ๆ จนกวาเวทนาจะหายไป เมือ่ เวทนาหายไปแลว ก็ใหกำหนดนัง่ หรือเดินตอไป จิต เวลานัง่ อยู หรือเดินอยู ถาจิตคิดถึงบาน คิดถึงทรัพยสินหรือคิดฟุงซานตาง ๆ นานา ก็ใหเอาสติปก ลงทีล่ นิ้ ปพ รอมกับกำหนดวา “คิดหนอ ๆ ๆ ๆ” ไปเรือ่ ย ๆ จนกวาจิตจะหยุดคิด แมดใี จ เสียใจ หรือโกรธ ก็กำหนด เชนเดียวกันวา “ดีใจหนอ ๆ ๆ ๆ” “เสียใจหนอ ๆ ๆ ๆ” “โกรธ หนอ ๆ ๆ ๆ” เปนตน ๕๖

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


เวลานอน เวลานอนคอย ๆ เอนตัวนอนพรอมกับกำหนดตามไปวา “นอน หนอ ๆ ๆ ๆ” จนกวาจะนอนเรียบรอย ขณะนัน้ ใหเอาสติจบั อยกู บั อาการเคลือ่ นไหวของรางกาย เมือ่ นอนเรียบรอยแลวใหเอาสติมาจับ ทีท่ อ ง แลวกำหนดวา “พอง หนอ” “ยุบ หนอ” ตอไปเรือ่ ย ๆ ให คอยสังเกตใหดวี า จะหลับไปตอนพอง หรือตอนยุบ อิรยิ าบถตาง ๆ การเดินไปในทีต่ า ง ๆ การเขาหองน้ำ การเขา หองสวม การรับประทานอาหาร และการกระทำกิจการงานทัง้ ปวง ผูปฏิบัติตองมีสติกำหนดอยูทุกขณะในอาการเหลานี้ ตามความ เปนจริง คือ มีสติ สัมปชัญญะ เปนปจจุบนั อยตู ลอดเวลา หมายเหตุ การเดินจงกรมนัน้ กระทำการเดินไดถงึ ๖ ระยะ แตในทีน่ อี้ ธิบายไวเพียงระยะเดียว การเดินระยะตอไปนัน้ จะตองเดิน ระยะที่ ๑ ใหถกู ตอง คือ ไดปจ จุบนั ธรรมจริง จึงจะเพิม่ ระยะตอไป ตามผลการปฏิบัติของแตละบุคคล

ทานสามารถเขาชมวีดีโอสอน “การปฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน” โดย หลวงพอจรัญไดที่ http://www.jarun.org/v6/th/dhamma-meditation.html#4 จากหนังสือระเบียบปฏิบตั สิ ำหรับผปู ฏิบตั ธิ รรม วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบรุ ี สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๕๗


สรุปการกำหนดตาง ๆ พอสังเขป ดังนี้ ๑. ตาเห็นรูป จะหลับตาหรือลืมตาก็แลวแต ใหตงั้ สติไวทตี่ า กำหนดวา เห็นหนอ ๆ ๆ ๆ ไปเรื่อย ๆ จนกวาจะรูสึกวาเห็นก็สัก แตวา เห็น ละความพอใจและความไมพอใจออกเสียได ถาหลับตาอยู ก็กำหนดไปจนกวาภาพนั้นจะหายไป ๒. หูไดยนิ เสียง ใหตงั้ สติไวทหี่ ู กำหนดวา เสียงหนอ ๆ ๆ ๆ ไปเรือ่ ย ๆ จนกวาจะรสู กึ วาเสียง ก็สกั แตวา เสียง ละความพอใจและ ความไมพอใจออกเสียได ๓. จมูกไดกลิน่ ตัง้ สติไวทจี่ มูก กำหนดวา กลิน่ หนอ ๆ ๆ ๆ ไปเรือ่ ย ๆ จนกวาจะรสู กึ วากลิน่ ก็สกั แตวา กลิน่ ละความพอใจและ ความไมพอใจออกเสียได ๔. ลิน้ ไดรส ตัง้ สติไวทลี่ นิ้ กำหนดวา รสหนอ ๆ ๆ ๆ ไป เรือ่ ย ๆ จนกวาจะรสู กึ วารส ก็สกั แตวา รส ละความพอใจและความ ไมพอใจออกเสียได ๕. การถูกตองสัมผัส ตัง้ สติไวตรงทีส่ มั ผัส กำหนดตามความ เปนจริงที่เกิดขึ้น ละความพอใจและความไมพอใจออกเสียได ๖. ใจนึกคิดอารมณ ตัง้ สติไวทลี่ นิ้ ป กำหนดวา คิดหนอ ๆ ๆ ๆ ไปเรือ่ ย ๆ จนกวาความนึกคิดจะหายไป ๗. อาการบางอยางเกิดขึน้ กำหนดไมทนั หรือกำหนดไมถกู วา จะกำหนดอยางไร ตัง้ สติไวทลี่ นิ้ ป กำหนดวา รหู นอ ๆ ๆ ๆ ไปเรือ่ ย ๆ จนกวาอาการนั้นจะหายไป ๕๘

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


การทีเ่ รากำหนดจิต และตัง้ สติไวเชนนี้ เพราะเหตุวา จิตของเรา อยใู ตบงั คับของความโลภ ความโกรธ ความหลง เชน ตาเห็นรูป ชอบใจ เปนโลภะ ไมชอบใจ เปนโทสะ ขาดสติไมไดกำหนด เปนโมหะ หูไดยนิ เสียง จมูกไดกลิน่ ลิน้ ไดรส กายถูกตองสัมผัส ก็เชนเดียวกัน การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน โดยเอาสติเขาไปตั้งกำกับตาม อายตนะนัน้ เมือ่ ปฏิบตั ไิ ดผลแกกลาแลว ก็จะเขาตัดทีต่ อ ของอายตนะ ตาง ๆ เหลานัน้ มิใหตดิ ตอกันได คือวา เมือ่ เห็นรูปก็สกั แตวา เห็น เมือ่ ไดยนิ เสียงก็สกั แตวา ไดยนิ ไมทำความรสู กึ นึกคิดปรุงแตงใหเกิด ความพอใจหรือความไมพอใจในสิ่งที่ปรากฏใหเห็น และไดยินนั้น รูป และเสียงทีไ่ ดเห็นและไดยนิ นัน้ ก็จะดับไป เกิด และดับ อยทู ี่ นัน้ เอง ไมไหลเขามาภายใน อกุศลธรรมความทุกขรอ นใจทีค่ อยจะ ติดตาม รูป เสียง และอายตนะภายนอกอืน่ ๆ เขามาก็เขาไมได สติที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานนั้น นอกจากจะ คอยสกัดกัน้ อกุศลธรรม และความทุกขรอ นใจทีจ่ ะเขามาทางอายตนะ แลว สติเพงอยทู ี่ รูป นาม เมือ่ เพงเล็งอยกู ย็ อ มเห็นความเกิดดับของ รูป นาม ทีด่ ำเนินไปตามอายตนะตาง ๆ อยางไมขาดสาย การเห็น การเกิดดับของ รูป นาม นั้นจะนำไปสูการเห็น พระไตรลักษณ คือ ความไมเทีย่ ง ความทุกข และความไมมตี วั ตนของสังขาร หรือ อัตภาพอยางแจมแจง จากหนังสือระเบียบปฏิบตั สิ ำหรับผปู ฏิบตั ธิ รรม วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบรุ ี สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๕๙


คติธรรมคำสอน

เรื่องการปฏิบัติกรรมฐาน จากหนังสืออนุสาสนีปาฏิหาริย รวบรวมโดย คุณชินวัฒก รัตนเสถียร


ยืน ผูปฏิบัติยืนตรงแลว ไมตองชิดเทา เดี๋ยวจะลมไป ยืน ธรรมดา เอามือไพลหลัง มือขวาจับขอมือซาย วางตรงกระเบนเหน็บ ตัง้ ตัวตรง ๆ วาดมโนภาพวา เรายืนรูปรางอยางนี้ เปนมโนภาพ ผา ศูนยกลางลงไปถึงปลายเทา...ยืน...มโนภาพ จิตก็ผา จากขมอม (กระหมอม) ลงไปสติตามควบคุมจิต ยืนถึงสะดือ แลวสติตามจิตถึง สะดือทันไหม ทัน วรรคสอง วา หนอ...จากสะดือ ลง ไปปลายเทา นีจ่ งั หวะทีแ่ นนอน สติตามจิตลงไป ผาศูนยกลาง ๙๐ องศาเลยนะ... ลองดูนะ แลวสำรวมปลายเทาขึ้นมา บนศีรษะครั้งที่สอง ยืนดู (มโนภาพ) เทาทัง้ สองขาง ยืน...ขึน้ มาถึงสะดือจุดศูนยกลาง สติตามทันไหม ทัน วรรคสองจากสะดือ หนอ...ถึงขมอมพอดี นีไ่ ด จังหวะ ถาทำอะไรผิดจังหวะใชไมได... ยืน...ถึงสะดือแลว สติตามไมทนั เสียแลว จิตมันไวมาก เอาใหม กำหนดใหมซี่ ไดไหม ได เปลี่ยนแปลงไดไมเปนไร สำรวมใหม จากปลายเทา หลับตาขึน้ มา มโนภาพจากปลายเทาถึงสะดือ ยืน... ขึน้ มาเอาจิตขึน้ มาทบทวน เรียกวา ปฏิโลม อนุโลม เปนตน สำรวม ถึงสะดือแลว หนอ...ผาศูนยกลางขึน้ มาเลย ผานลิน้ ปข นึ้ มา ถาทาน มีสมาธิดี สติดนี ะ มันจะซานไปทัง้ ตัว... กำหนดยืนตอง ๕ ครัง้ เบือ้ งต่ำตัง้ แตปลายผมลงมา (นับเปน ครัง้ ที่ ๑) เบือ้ งบนตัง้ แตปลายเทาขึน้ ไป (นับเปนครัง้ ที่ ๒) หนอ ครัง้ ที่ ๕ ถึงปลายเทา ลืมตาได ดูปลายเทาตอไป z

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๖๑


ยืนกำหนด ตองใชสติกำหนดมโนภาพ อันนีม้ ปี ระโยชนมาก แตนักปฏิบัติสวนใหญไมคอยปฏิบัติจุดนี้ ปลอยใหลวงเลยไปเปลา โดยใชปากกำหนด ไมไดใชจิตกำหนดไมไดใชสติกำหนดใหเกิด มโนภาพ อันนีม้ คี วามสำคัญสำหรับผปู ฏิบตั มิ าก กำหนดจิต คือ ตอง ใชสติไมใชวา แตปากยืนหนอ ยืนหนอ ยืนหนอ... ไมงา ยเลย แตตอ งทำซ้ำ ๆ ซาก ๆ ใหเคยชิน ใหสติคนุ กับจิต ใหจติ คนุ กับสติ ถึงจะเกิดสมาธิ เราจึงตองมีการฝกจิตอยทู กี่ ระหมอม วาดมโนภาพลงไปชา ๆ ลมหายใจนัน้ ไมตอ งไปดู แตใหหายใจยาว ๆ มันจะถูกจังหวะ แลวตั้งสติ ตามจิตลงไปวา ยืนที่กระหมอมแลว หนอ...ลงไปที่ปลายเทา ดูมโนภาพจะเห็นลักษณะกายของเรายืนอยู ณ บัดนี้ เห็นกายภายนอกนอมเขาไปเห็นกายภายใน... คำวา ยืนปกลงทีก่ ระหมอม แลวสติตามลงไปเลย วาดมโนภาพ ยืน...ถึงสะดือ แลว รางกายเปนอยางนีแ้ หละหนอ จากสะดือ ลงไป ก็หนอ...ลงไปปลายเทาอยางนีท้ ำงายดี สำรวมใหมสกั ครหู นึง่ จึงตอง อยาไปวาติดกัน ถาวาติดกันมันไมไดจงั หวะ ขอใหญาติโยมผปู ฏิบตั ิ ทำตามนี้ จะไดผลอยางแนนอน z

วิธีปฏิบัตินี้ก็ใหกำหนดยืนหนอ ใหเห็นตัวทั้งหมด ใหนึก มโนภาพวา ตัวเรายืนแบบนี้ ใหกงึ่ กลาง ศูนยกลางจากทีศ่ รี ษะ ลง ไประหวางหนาอก แลวก็ลงไประหวางเทาทั้งสอง แลวมันจะไมมี ความไหวติงในเรือ่ งขวาหรือซาย ยืนนี่ กำหนดไปเรือ่ ย ๆ ชา ๆ ให จิตมันพงุ ไปตามสมควร จากคำวายืนหนอ z

๖๒

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ยืนนีต่ งั้ แตศรี ษะหายใจเขาหายใจเขาไปเลย ใหยาวไปถึงเทา ยืนหายใจเขายาว ๆ สูดยาว ๆ อยางที่ไสยศาสตรเขาใชกันเรียกวา “คาบลม”...ไปถึงปลายเทา แลวก็ยืนสูดหายใจเขามาใหยาวไปถึง กระหมอม อัสสาสะ-ปสสาสะ แลวจิตจะเปนกุศลทำใหยาว รับรอง อารมณของโยม ทีเ่ คยฉุนเฉียวจะลดลงไปเลย แลวก็จติ จะไมฟงุ ซาน ดวย...มูลกรรมฐานอยตู รงนี้ มูลฐานของชีวติ ก็อยตู รงนี้ หายใจยาว ๆ ยืนหนอลงไป หายใจออกยาว ๆ ยืนหนอ อยางนี้ เปนตน z

เดิน บางคน เดินจงกรม หวิวทันทีเวียนศีรษะ แตแลวเกาะ ขางฝากำหนดเสียใหได คือเวทนา จิตวูบลงไปแวบลงไปเปนสมาธิ ขณะเดินจงกรม แตเราหาไดรไู มวา เปนสมาธิ กลับหาวาเปนเวทนา เลยเปนลมเลยเลิกทำไป ขอเท็จจริงบางอยางไมไดเปนลม แตเปน ดวยสมาธิในการเดินจงกรม หรือมันอาจ เปนลมดวยก็ได ไมแนนอน ฉะนัน้ ขอใหผปู ฏิบตั กิ ำหนดหยุดเดินจงกรม แลวกำหนดหวิวเสียให ไดกำหนดรูหนอเสียใหได...บางที เดินจงกรมไปมีเวทนา อยาเดิน หยุดกอน แลวกำหนดเวทนาเปนสัดสวนใหหายไปกอน...เดินไปอีก หวิวเวียนศีรษะ คิดวาไมดี หยุดกำหนด หวิวหนอซะ ตัง้ สติไวให ไดใหดกี อ นแลวจึงเดินตอไป...ขณะเดินจงกรมจิตออกไปขางนอก หยุด กำหนด หยุดเสีย กำหนดจิตใหได ทีล่ นิ้ ป กำหนดคิดหนอ คิดหนอ คิดหนอ ยืนหยุดเฉย ๆ ตัง้ สติเสียใหได แตละอยางใหชา ๆ z

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๖๓


ขณะเดินจงกรม มีเสียงอะไรมากำหนดเสียงหนอ ถาขณะ เดินจงกรม มีเวทนา ปวดเมือ่ ยตนคอ หยุดเดิน ยืนเฉย ๆ กำหนด เวทนาไป เอาสภาพความเปนจริงมาแสดงออกวา มันปวดมากนอย เพียงใดตองการอยางนัน้ ไมใชกำหนดแลวหายปวด กำหนดตองการ จะใหรูวามันปวดขนาดไหน... ขณะเดิน จิตออก จิตคิด หยุด อยาเดิน เอาทีละอยาง กำหนด ทีล่ นิ้ ปอ กี แลวหายใจยาว ๆ คิดหนอ ๆ ๆ ๆ ทีฟ่ งุ ซานไปคิดนัน้ เดีย๋ วคอมพิวเตอรจะตีออกมาถูกตอง ออไปคิดเรือ่ งเหลวไหล รแู ลว เขาใจแลว ถูกตองแลว เดินจงกรมตอไป ขวายางหนอ ซายยางหนอ เดินใหชา ทีส่ ดุ เพราะจิตมันเร็วมาก จิ ต มั น ไวเหลื อ เกิ น ทำให เ ชื่ อ งลง ทำให คุ น เคย ช า เพื่ อ ไวนะ เสียเพือ่ ได ตองจำขอนีไ้ วสนั้ ๆ เทานัน้ เอง z

พระพุทธเจาสอนอยางนี้ ใหวัดตัวเรา วัดกาย วัดวาจา วัดใจ ทุกขณะจิต อยางที่เดินจงกรมนี่ เปนแบบฝกหัดเพื่อใหได อาวุธ คือ ปญญา อาวุธสำคัญมาก คือ ปญญา เทานัน้ z

อานิสงสของการเดินจงกรม มี ๕ ประการ ดังนี้ ๑. มีความอดทนตอการเดินทางไกล ๒.ทำใหอดทนตอการบำเพ็ญเพียร ๓. ยอมเปนผมู อี าพาธนอย (จะไมเปนอัมพาต อัมพฤกษ) ๔. ระบบยอยอาหารจะเปนปกติ z

๖๔

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


๕.สมาธิทเี่ กิดจะตัง้ อยไู ดนานกวานัง่ และเมือ่ ปฏิบตั นิ งั่ ตอจะมี สมาธิเร็วขึ้น

นัง่ เดินจงกรมเสร็จแลวควรนั่งสมาธิ ทำใหติดตอกันเหมือนเสน ดาย ออกจากลูกลออยาใหขาด ทำใหตดิ ตอไป นัง่ สมาธิจะขัดสอง ชัน้ ก็ได ชัน้ เดียวก็ได หรือขัดสมาธิเพชรก็ได แลวแตถนัด ไมได บังคับแตประการใด มือขวาทับมือซายหายใจเขาออกยาว ๆ... กอนกำหนด พอง/ยุบหายใจเขายาว ๆ หายใจออกยาว ๆ แลว สังเกตทองหายใจเขาทองพองไหม หายใจออกทองยุบไหม ไมเห็น เอามือคลำดู เอามือวางทีส่ ะดือแลวหายใจยาว ๆ ทองพอง เราก็บอกวา พองหนอ พอ ทองยุบ เราก็ บอกวา ยุบหนอ ใหไดจงั หวะ... ใหม ๆ อึดอัดมาก เพราะเราไมเคย...บางคนมีนิมิตอยางโนน นิมติ อยางนีม้ นั มากไป มากเรือ่ งไป เอาอยางนีก้ อ นนะ เราหายใจเขา ยาว ๆ ทีท่ อ งพอง กำหนดพอง ไมทนั หนอ ยุบแลว หรือหายใจออก ยาว ๆ ทีท่ อ งยุบ กำหนดยุบ ไมทนั หนอ พองขึน้ มาอีกแลว วิธปี ฏิบตั ทิ ำอยางไร วิธแี กกพ็ อง คนละครึง่ ซิ ถาพองครึง่ ไม ได หนอครึง่ ไมได เอาใหมเปลีย่ นใหมไดเปลีย่ นอยางไร พองแลว หนอไปเลย ยุบแลวลงหนอใหยาวไปเลย เดี๋ยวทานจะทำไดไมขัด ของไมอดึ อัดแน ใหม ๆ นีย่ อ มเปนธรรมดา ถานัง่ ไมเห็นพองยุบ มือคลำไมได นอนลงไปเลย นอนหงาย เหยียดยาวไปเลย เอามือประสานทอง หายใจยาว ๆ แลววาตามมือ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๖๕


นีไ้ ป พองหนอ ยุบหนอ ใหคลอง พอคลองแลว ไปเดินจงกรมมา นั่งใหมเดี๋ยวทานจะชัดเจน พองหนอ ยุบหนอ บางครั้ง ตื้อไมพองไมยุบ...กำหนดรู หนอ หายใจเขายาว ๆ หายใจออกยาว ๆ ใหไดที่ แลวจึงใชสติกำหนด ตอไปวา พองหนอ ยุบหนอ ปญญาเกิดสมาธิดี ก็ทำใหพองหนอ ยุบหนอ สัน้ ๆ ยาว ๆ แลวทำใหแวบออกขาง ๆ ทำใหจติ วนอยใู น พองยุบ ขึน้ ๆ ลง ๆ อยางนีถ้ อื วาดีแลว... พองหนอ ยุบหนอ เดีย๋ วขึน้ เดีย๋ วลง ไมออกทางพอง ไมออกทางยุบ และจิตก็แวบออกไป แวบ เขามา เดีย๋ วก็จติ คิดบาง ฟงุ ซานบาง สับสนอลหมานกัน อยางนีถ้ อื วาไดประโยชนในการปฏิบตั ิ ผปู ฏิบตั อิ ยาทิง้ ผปู ฏิบตั ติ อ งตามกำหนด ตอไป z

การหายใจเขาออกยาวหรือสั้นไมสำคัญ สำคัญอยูขอเดียว คือ กำหนดไดในปจจุบนั หากเรากำหนดไมได เร็วไป ชาไป กำหนด ไมทนั ก็กำหนดใหม อันนีไ้ มตอ งคำนึงวาพองยาวหรือยุบยาว ยาว ไปหรือสัน้ ไป เราเพียงแตรวู า กำหนดไดในปจจุบนั หายใจเขาทอง พอง หายใจออกทองยุบก็กำหนดเรือ่ ย ๆ ไป อยางนีเ้ ทานัน้ ก็ใชได z

พองยุบตอนแรกก็ชัดดี พอเห็นหนักเขาก็เลือนลาง บางที แผวเบา จนมองไมเห็นพองยุบ ถามันตือ้ ไมพองไมยบุ ใหกำหนดรู หนอ หายใจยาว ๆ รหู นอ รหู นอ ตัง้ สติไวตรงลิน้ ป รตู วั แลวก็กลับ มากำหนด พองหนอ ยุบหนอ เดีย๋ วชัดเลย จิตฟงุ ซานมากไหม ถามี บางก็กำหนด z

๖๖

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


กำหนด ตัวกำหนด คือ ตัวฝนใจ เปนตัวธัมมะ (ธัมมะ แปลวาฝนใจ ฝนใจไดดีได) เปนตัวปฏิบัติ คนเรา ถาปลอยไปตามอารมณของ ตนแลวมันจะเห็นแตความถูกใจ จะไมเห็นความถูกตอง อยตู รงนีน้ ะ z

กรรมฐานสอน งาย แตมนั ยาก ตรงทีท่ า นไมได กำหนด ไมไดเอาสติมาคุมจิตเลย...ผูปฏิบัติธรรม ที่ไมไดกำหนดไมใชสติ มันก็ไมเกิดประโยชนในการปฏิบตั เิ ลย วางเปลา ไมไดผล คนเรามี สติอยตู รงนัน้ ... ตองมีสติทกุ อิรยิ าบถ ตองกำหนดทัง้ นัน้ z

กำหนดอยาก กำหนดโนน กำหนดนี่ มันจะมากไปเอาแต นอยกอน เพราะเดีย๋ วจะกำหนดไมได เอาทีละอยาง เดีย๋ วก็ไดดเี อง แลวคอยกำหนดตนจิตทีหลัง ตนจิต คือ ตัวอยาก อยากหยิบหนอ อยากหยิบหนอ นีต่ น จิต เปนเจตสิกเอาไวทหี ลัง คอยเปน คอยไป กอน คอย ๆ ฝก ใหมนั ไดขนั้ ตอน ใหมนั ไดจงั หวะกอน แลวฝกให ละเอียดทีหลัง ถาเรากำหนดละเอียดเลย ขั้นตอนไมได ก็ เ ป น วิปส สนึกไปเลย พองยุบก็ไมได z

การศึกษาภาคปฏิบัตินี่ยากมาก คือ อารมณหลายอยางมา แทรกแซงเรา ก็ขอเจริญพรวา ใหกำหนดทีละอยาง ศึกษาไปทีละอยาง ทีนี้มันฟุงซาน ความวัวยังไมทันหายความควายเขามาแทรกแซง ตลอดเวลา เพราะไมไดปฏิบตั มิ านาน เชน มีเวทนากำหนดทีละอยาง z

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๖๗


ยิง่ ปวดหนัก ๆ เดีย๋ วมันจะเกิดอนิจจังไมเทีย่ ง มันเปนทุกขจริง ๆ นะ ทุกขนคี่ อื ตัวธัมมะ เราจะพบความสุขตอเมือ่ ภายหลัง แลวเวทนาก็เกิด ขึน้ สับสนอลหมานกัน ไอโนนแทรก ไอนแี่ ซง ทำใหเราขนุ มัว ทำให เราฟงุ ซานตลอดเวลา เราก็กำหนดไปเรือ่ ย ๆ ทีนถี้ า ปญญาเกิดขึน้ เปน ขัน้ ตอน มันก็จะรใู นอารมณนนั้ ไดอยางดีดว ยการกำหนด มันมีปญ  หา อยวู า เกิดอะไรใหกำหนดอยางนัน้ อยาไปทิง้ อริยสัจ ๔ แนนอน เกิดทุกขแลว หาทีม่ าของทุกข เอาตัวนัน้ มาเปนหลักปฏิบตั ิ แลวจะ พบอริยสัจ ๔ แนนอนโดยวิธนี ี้ อันนีข้ อเจริญพรวา คอย ๆ ปฏิบตั ิ กำหนดไปเรือ่ ย ๆ พอจิตไดที่ ปญญาสามารถตอบปญหาสิบอยางได เลยในเวลาเดียวกัน เดี๋ยวคอมพิวเตอรสามารถจะแยกประเภทบอก เราได อารมณฟงุ ซานตองเปนแนเพราะเราเพิง่ ปฏิบตั ไิ มนาน กำหนดไดเมื่อใด สติมีเมื่อใด สามารถจะระลึกเหตุการณ ในอดีตไดโดยชัดแจง จากคำกำหนดวา คิดหนอ มีประโยชนมาก ถาเราสติดี ปญญาเกิดความคิดของกรรมจะปรากฏ แกนิมิตใหเรา ทราบไดวา เราจะใชกรรมวันพรุงนี้แลว และเราก็จะไดประโยชน ในวันพรงุ นีแ้ ลว นีอ่ ดีตแสดงผลงานปจจุบนั ปจจุบนั แสดงผลงาน ในอนาคต... ทีเ่ รารสู รรพสำเนียงเสียงนก กำหนดเสียงหนอ ออนกเขา รอง ดวยเหตุผล ๒ ประการ มันบอกไดอยางนี้ เราเดินผานตนไม สติดี สัมปชัญญะดี ตนไมจะบอกอารมณแกเราได วาขณะนี้เปน อยางไร z

๖๘

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


บางทีเราไมรูตัววามันมีอะไรเกิดขึ้น เราก็ไมรูวาจะปฏิบัติ อยางไร ถาเรามีสติเราก็กำหนดตรงลิน้ ป รหู นอ รหู นอ รหู นอ พอสติ ดีปญ  ญาเกิด เราก็รอู ะไรขึน้ มาเหมือนกัน อันนีไ้ มใชวธิ ฝี ก แตเปน วิธีปฏิบัติที่เกิดเฉพาะหนา z

กรรมฐาน ตองทำซ้ำ ๆ ซาก ๆ เพิม่ ๆ เติม ๆ คิดหนอ บอย ๆ ถาโกรธก็กำหนด เสียใจก็กำหนด ดีใจก็กำหนด อยาประมาท อาจองตอสงครามชีวิต เดี๋ยวจะปลงไมตก z

มันจะมีความสงบไดแคไหนไมสำคัญ สำคัญทีเ่ รากำหนดได ในปจจุบนั หรือไมเทานัน้ แลวปญญาจะเกิดเองตามลำดับ แลวความ คุนเคยก็จะมาสงบตอในภายหลัง z

ทีจ่ ะเนนกันมากคือ เนนใหไดปจ จุบนั สำหรับพองหนอ ยุบ หนอ เพราะตรงนีเ้ ปนจุดสำคัญมาก ถาทำไดคลองแคลว ในจุดมงุ หมายอันนีร้ บั รอง อยางอืน่ ก็กำหนดได z

การกำหนดไมทนั วิธแี กทำอยางไร กำหนดรหู นอ รหู นอ ถามันงูบลงไปตองกำหนด ไมอยางนัน้ นิสยั เคยชินทำใหพลาด ทำให ประมาทเคยตัว z

อยางคำวา เห็นหนอ เห็นหนอ เห็นหนอ นีน่ ะมีประโยชน มาก อยาคิดวาเปนเรือ่ งเหลวไหล จะเห็นอะไรก็ตงั้ สติไว จนกวาเรา จะไดมติของชีวติ วาเปนปจจัตตังแลว มีความรใู นปญญาแลว เราเห็น z

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๖๙


อะไร ปญญา จะบอกเอง แตการฝกเบือ้ งตนนี่ ตองฝกกันเรือ่ ยไป ถึงญาติโยมกลับไปบานไปยังเคหะสถาน หรือจะประกอบการงาน ของ โยม ก็ไมตอ งใชเวลาวาง ใชงานนัน่ แหละเปนกรรมฐาน บางคน นัง่ กรรมฐานตลอดกระทัง่ ไดผลสมาบัติ ไมมนี มิ ติ เลย บางคนนิมติ ไหลมาเปนไขงู ไหลมาเปนภาพยนตรเลย กำหนด เห็นหนอ อยาไปดูมนั เห็นหนอ เห็นหนอ เห็นหนอ ไมหาย กลับ ภาพจริงครัง้ อดีตชาติ รำลึกชาติได นิมติ จะบอกไดในญาณ ๔ z

หนอ นีร่ งั้ จิต ใหมี สติ หนอตัวนีส้ ำคัญ ทำใหเรามีสติ ทำใหความรตู วั เกิดขึน้ โดยไมฟงุ ซานในเรือ่ งเวทนาทีม่ นั ปวด แลว เราก็ตั้งสติตอไป z

ถาวันไหนฟงุ ซานมาก ไมใช ไมดนี ะ ดีนะมันมีผลงานให กำหนด แลวก็ขอใหทา นกำหนดเสีย ฟงุ ซานก็กำหนด ตัง้ อารมณไว ใหดี ๆ กำหนดฟงุ ซานหนอ กำหนดฟงุ ซานหนอ กำหนดฟงุ ซานหนอ หายใจยาว ๆ ตามสบาย สักครูหนึ่งทานจะหายแนนอน บางคน ดูหนังสือปวดลูกตา อยาใหเขาเพงทีจ่ มูก ตองลงไปทีท่ อ ง หายทุกราย บางทีปวดกระบอกตา ดูหนังสือไมไดเลย รนลงมากำหนดที่ทอง ก็จะวองไวคลองแคลวขึ้น แลวจะหายไปเอง z

ทวาร ๖ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ เปนทีม่ าของ นรกสวรรค จึงตองกำหนดจิต z

๗๐

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ทวาร ๓ ทวารกาย ทวารวาจา ทวารใจ เปนทีม่ าของ บุญบาป จึงตองสำรวม ตัวกำหนดจิตสำคัญมาก จะทำงาน เขียนหนังสือก็กำหนด จะกินน้ำก็กำหนด จะเดินก็กำหนด จะหยิบอะไรก็ตงั้ สติไว โกรธก็ เอาสติไปใส เสียใจก็เอาสติไปใส ใหรวู า เสียใจเรือ่ งอะไร โกรธเรือ่ ง อะไร เราจะรูดวยตัวเองวา เราสรางกรรมอะไร และจะแกปญหา อยางไร z

ถาเราโกรธ เราไมสบายใจ กลมุ อกกลมุ ใจ อยาไปฝากความ กลมุ คางคืนไว อารมณคา ง เชาขึน้ มาทำงานจะเสียหาย หายใจยาว ๆ แลวกำหนดตรงลิน้ ปว า โกรธหนอ โกรธหนอ โกรธหนอ รับรอง หายโกรธ โกรธแลวไมกำหนด ฝากความโกรธ เก็บไวในจิตใจ ตายไปลงนรกนะ...ในทำนองเดียวกัน กำหนดเสียใจหนอ เสียใจหนอ เสียใจหนอ หายใจยาว ๆ รอยครัง้ พันครัง้ ความเสียใจจะหายไปเลย ดีใจเขามาแทนที่ สรางความดีตอ ไป z

เวทนา ผูปฏิบัติธรรมที่มีเวทนา ไมเคยกำหนด ปลอยมันไปตาม เรือ่ งตามราว อยางนีใ้ ชไดหรือ? เลยรไู มจริงในเรือ่ ง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไมตอ งไปอรรถาธิบายวิชาการใหฟง z

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๗๑


ถาเจริญกรรมฐานไมปวด ไมเมื่อยแลว จิตไมออก ใชไม ได มันตองสับสนอลหมาน จะตองปวดเมื่อยไปทั่วสกลกาย นั่น แหละไดผล z

เวทนา ตองฝนตองใชสติไปพิจารณา เกิดความรูวาปวด ขนาดไหน ปวดอยางไร แลวก็ภาวนากำหนดตัง้ สติไว เอาจิตเขาไป จับดูการปวด การเคลื่อนยายของเวทนา เดี๋ยวก็ชา เดี๋ยวก็สราง บังคับมันไมได z

กำหนดเวทนา ถาหากวา พองหนอ ยุบหนอ แลวเกิดเวทนา ตองหยุด พองยุบไมเอา เอาจิตปกไว ตรงที่เกิดเวทนา เอาสติ ตามไปดูซวิ า มันปวดแคไหน มันจะมากนอยเพียงใด ไมใชปวดหนอ แลวหายเลย ไมหาย... พอยึดปวดหนอ โอโฮ ยิง่ ปวดหนัก ตายให ตาย ปวดหนักทนไมไหวแลว จะแตกแลว กนนีจ่ ะรอนเปนไฟแลว ทนไมไหวแลว ตายใหตาย กำหนดไป กำหนดไป สมาธิดี สติดี เวทนาเกิดขึน้ ตัง้ อยู ดับไป ซา! หายวับไปกับตา... ขอใหทา น อดทน ฝกฝนในอารมณนี้ใหได เวลาเจ็บปวย ทานจะไดเอาจิตแยกออก เสียจากปวยเจ็บ จิตไมปว ย ไมเปนไรนะ z

แตเรือ่ งวิปส สนานี่ มีอยางหนึง่ ทีน่ า คิด คือ ปญญาทีจ่ ะเกิด ขึน้ ไดนนั้ มันมีกเิ ลสมากมายหลายอยาง ทีเ่ กิดขึน้ ในตัวเราทัง้ หมด เราจะรกู ฎแหงกรรมความเปนจริง จากสภาพเวทนานัน้ เอง... ปญญา ทีจ่ ะเกิดนัน้ เกิดขึน้ โดยความรตู วั โดยสติสมั ปชัญญะ ภาคปฏิบตั จิ าก z

๗๒

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


การกำหนดนั่นเอง เวทนาที่ปวดเมื่อยนั้น มันปวดตามโนนตามนี้ เราก็หยุดเอาทีละอยาง อยางทีอ่ าตมากลาวแลว กำหนดเวทนาใหได กำหนดไดเมือ่ ใด มากมายเพียงใด ซาบซึง้ เพียงนัน้ มันเกิดเวทนา อยางอืน่ ขึน้ มาก็เปนเรือ่ งเล็กไป... บางครัง้ อาจนึกขึน้ ไดวา ไปทำเวรกรรม อะไรไว ไมตอ งไปคำนึงถึงกรรมนัน้ เลย ขอปฏิบตั เิ พือ่ ไมใหมอี ารมณ ฟงุ ซานไปอยใู นกรรมนัน้ ก็ดว ยการกำหนดเวทนานัน้ เอง ถาเราเจริญกรรมฐาน เราจะรกู ฎแหงกรรมไดตอนมีเวทนา คนไหนอดทนตอเวทนาได กำหนดผานเวทนาได เราจะไดรวู า ทุกข ทรมานทีผ่ า นนัน้ ไปทำกรรมอะไรไว... นีแ่ หละทานทัง้ หลาย ทำให มันจริง จะเห็นจริง ทำไมจริง จะเห็นจริงไดอยางไร ตองเห็นจาก ตัวเราออกมาขางนอก รูตัววาเรามีเวรมีกรรมประการใด ก็ใชหนี้ โดยไมปฏิเสธทุกขอหา จิตอโหสิกรรมได ยินดีรับเวรรับกรรมได โดยไมมปี ญ  หาใด ๆ z

ปวดหนอ นีเ่ ปนสมถะ ไมใชวปิ ส สนา จำไวใหได ปวดหนอ นี่ยึดบัญญัติเปนอารมณ เพราะวามีรูป มันจึงมีเวทนาเกิดสังขาร ปรุงแตงมันจึงปวด ปวดแลวกำหนด ปวดหนอ ปวดหนอ ปวดหนอ ยิ่งปวดหนัก ถาไมกำหนดเลย ก็ไมปวดหรอก แตวิธีปฏิบัติตอง กำหนด จะไดรวู า เวทนามันเปนอยางไร นีต่ วั ธัมมะอยทู นี่ ี่ ตัวธัมมะ อยทู ที่ กุ ข ถาไมทกุ ขจะไมรอู ริยสัจ ๔ นะ เอาลองดูซิ ถาเกิดเวทนา แลวเลิกโยมจะไมรอู ริยสัจ ๔ รแู ตทกุ ขขา งนอก รแู ตทกุ ขจร ทุกข ประจำไมรเู ลยนะ ทุกขประจำนีต่ อ งเอากอน ปวดหนอ ปวดหนอ z

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๗๓


นีท่ กุ ขประจำ ปวดหนอ ปวดหนอ โอยจะตายเลย บางคนนัง่ ทำไป เหลืออีก ๑๕ นาที จะครบ ๑ ชัว่ โมง หรืออีก ๕ นาที จะครบครึง่ ชั่วโมง ที่ตั้งใจไว จะตายทุกครั้งเลย เอาตายใหตาย ตายใหตาย ปวดหนอปวดหนอ โอโฮมันทุกขอยางนี้นี่เอง พิโธเอยกระดูกจะ แตกแลว แลวที่ กนทั้งสองนี่รอนฉี่ เลย เหมือนหนามมาแทงกน โอโฮมันปวดอยางนี้นี่เองหนอ ปวดหนอ ปวดหนอ กำหนดไป เปนไรเปนกัน พอใกลเวลาครบกำหนดที่ตั้งสัจจะไวจะตายเลยนะ ลองดู ลองดู ตองฝนใจ ทีเ่ ราทำกรรมฐานนัน้ เวทนามันสอนเรา... เกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป ปวดหนักเขา ปวดหนักเขา แตกเลย มันมีจดุ แตกออกมานะ โยมนะ แลวมันจะหายปวดทันที...ใครจะทำถึงขัน้ ไหนก็ตาม ตองผาน หลัก ๔ ประการ กาย เวทนา จิต ธรรม ทุกคนตองมีเวทนาทุกคน แตมเี วทนาแลวเรากำหนดได ตัง้ สติไวใหไดไมเปนอะไรเลย และเวลา เจ็บระหวยปวยไขจะไมเสียสติ จะไมเสียสติเลยนะ และเราทำ วิปสสนานี่มันมีเวทนาหนักยิ่งกวากอนจะตาย เวลากอนตายนี่มัน จะหนักเหลือเกิน z

z

๗๔

ไปวัดกระซิบเบา ๆ ฟงเขาสอน ชีวิตเราเกิดมาไมถาวร อยามัวนอนหลงเลนไมเปนการ ไฟสามกองกองเผาเราเสมอ อยาเลินเลอควรทำพระกรรมฐาน..... สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ไหน ๆ เกิดมาชีวติ ตองดับ คือ ตาย ใกลตายญาติมิตรบอกใหคิดถึงพระอรหัง รยู ากทีส่ ดุ คือ คุณพระพุทธัง เพราะกำลัง เวทนา ทุกขกลาเอย เวทนาจะเกิดขึ้นเมื่อมีเหตุปจจัย จะหามไมใหเกิด ก็หาม ไมได ครัน้ เมือ่ หมดเหตุปจ จัยก็จะดับไปเอง หมดไปเอง...บางคนไมรู พอปวดก็เลิกไปเลย ไมเอาแลวชอบสบาย รับรองทานจะไมรูกฎ แหงกรรม เดีย๋ วจะวาอาตมาหลอกไมไดนะ อาตมาผานมาแลว z

เวทนา คือ ครู ครูมาสอนไมเรียนสอบตก (ปวดเลิก เมือ่ ย เลิก ฟงุ ซานเลิก) ทานจะไมไดอะไรเลยนะ z

หากนัง่ ครบกำหนดแลวยังมีเวทนาคาอยู อยาเพิง่ เลิก ใหนงั่ ตอไป จนกวาเวทนาจะเบาบาง คอยเลิก z

ขอเจริญพรวา กรรมฐาน สามารถรเู หตุการณ และโรคภัย ไขเจ็บได ใครเปนโรคอะไร ใจเขมแข็ง ตายใหตายหายทุกราย z

ลูกสาวหลวงพอ พอเปนจับกัง แมรับจางซักรีด มาอยู ชวยงาน และปฏิบตั ดิ ว ยเปนเวลา ๑ เดือนเต็ม ๆ ปฏิบตั กิ รรมฐาน ดวยความ อดทนสูง ถึงขนาดตายใหตาย เขาเปนโรคโปลิโอ แต กลับกลายหายได พอแมกม็ งี านมากขึน้ ออกจากวัดไปเปน เถาแกเนีย้ มีลูกออกมาดีหมด จบการศึกษาตางประเทศทุกคน และหนาที่การ งานก็ดีดวย z

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๗๕


สรุป ผมู ปี ญ  ญาโปรดฟง ปฏิบตั อิ ยเู ทานี้ ไมตอ งไปทำมาก ยืนหนอ ใหสติกบั จิตเปนหนึง่ เดียว ขวายางหนอ ซายยางหนอ ใหไดปจ จุบนั พองหนอ ยุบหนอ ใหได ปจจุบนั เทานีเ้ หลือกินเหลือใช เหลือที่ จะพรรณนา z

สงกระแสจิตทางหนาผาก ชารจไฟเขาหมอทีล่ นิ้ ป จำตรง นีเ้ ปนหลักปฏิบตั ิ ๗ วัน ยืนหนอใหได เห็นหนอใหได พองหนอ ยุบหนอ กำหนดใหไดเทานี้ เดีย๋ วอยางอืน่ จะไหลมาเหมือนไขงู z

การปฏิบตั กิ รรมฐาน ไมตอ งไปสอนวิชาการ เพราะไมตอ ง การใหรแู ละไมตอ งดูหนังสือ ปฏิบตั โิ ดยเครงครัด ใหมนั ผุดขึน้ ใน ดวงใจใสสะอาดและหมดจด z

เวลาเครียด อยาทำสมาธิ เลือดลมไมดี หามทำสมาธิ ตอง ไปผอนคลายใหหายเครียด จนภาวะสคู วามเปนปกติ ถึงจะมาเจริญ กรรมฐานได การเจริญพระกรรมฐาน การนั่งสมาธิ ตองเปนคนที่ ปกติ ถาไมปกติ อยาไปทำ z

ไมวาคนฉลาดหรือคนสติปญญาต่ำ ก็สามารถบรรลุมรรค ผลนิพพานไดทงั้ นัน้ ขึน้ อยกู บั ปจจัยหลายอยาง เชน มีความศรัทธา ทีจ่ ะประพฤติปฏิบตั ิ มีความเพียรพยายาม มีความอดทน มีสจั จะ และ z

๗๖

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ดำเนินรอยตามการปฏิบตั ทิ ถี่ กู ตอง เปนตน แต เรือ่ งของบุญวาสนา ทีต่ ดิ ตัวมาแตอดีต ก็เปนอีกปจจัยหนึง่ การเจริญกรรมฐาน ตองการใหมีปญญา แกไขปญหา จำตรงนีเ้ อาไว เพราะกรรมฐาน เปนวิชาแกปญ  หาชีวติ เปนวิชาแกทกุ ข ตองเรียนรเู อง ซึง่ พระพุทธเจาเปนผคู น พบ z

คบหาสมาคมกับคนที่ขยันหมั่นเพียร หลีกเลี่ยงบุคคลที่ เหลาะแหละเกียจคราน มัน่ ใจวา สติปฏ ฐาน ๔ นี้ เทานัน้ เปนทาง ทีพ่ ระอริยเจาทัง้ หลาย ลวนปฏิบตั มิ าแลวทัง้ สิน้ z

เวนจากการสมาคมกับบุคคลที่ชางพูด ชางเจรจา ชอบคุย ตองเวนไปออกสมาคมกับผูที่รักษาความสงบระงับ z

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๗๗


กรรมฐาน (กัมมัฏฐาน) เราเจริญกรรมฐานมา ๓๕ ป เจริญ “อานาปา” มา ๒๐ ป เศษ มโนมยิทธิมา ๑๐ ปเศษ เพงกสิณไดธรรมกายได ทำนองนี้ เปนตน มันตองทำได ถาทำไมไดสอนเขาอยางไร อยางนี้นักปฏิบัติธรรม โปรดทราบ ตองสอนตัวเองกอนอืน่ ใด (ขอความนีพ้ มิ พลงในหนังสือ เมือ่ ป พ.ศ.๒๕๓๐ : ผรู วบรวม) z

ถาเจริญสมถภาวนา ก็พจิ ารณาตัง้ มัน่ ในบัญญัติ เพือ่ ใหจติ สงบ มีอานิสงสใหบรรลุ ฌานสมาบัติ z

ถาเจริญวิปสสนาภาวนา สติพิจารณาตั้งมั่นอยูในรูปนาม เพื่อใหเกิดปญญาเห็นพระไตรลักษณ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา มีอานิสงสใหบรรลุ มรรค ผล นิพพาน z

กรรมฐาน ใชหนีข้ า วและน้ำนมแม ดีทสี่ ดุ และ กรรมฐาน เปนบุญเพียงอยางเดียวเทานัน้ สำหรับ ผทู ฆี่ า ตัวตายจะไดรบั บุญอืน่ สงไมถึง z

การเจริญพระกรรมฐาน จะทำใหชวี ติ รงุ เรือง วัฒนาสถาพร และจะรงุ เรืองตอไปถึงลูกหลาน โยมลองดูไดเลย z

การบำเพ็ญจิตภาวนาตามแนวสติ ป ฏ ฐาน ๔ ของพระ พุทธเจาของเรานี้ วิธี ปฏิบตั ิ เบือ้ งตน ตองยึดแนวหลัก สติ เปนตัว สำคัญ z

๗๘

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


สติ เปนตัวกำหนด เปนตัวหาเหตุเปนตัวแจงเบีย้ บอกใหรู ถึงเหตุผล สัมปชัญญะ รู ทัว่ รนู อก รใู จ นัน่ แหละคือตัวปญญา ความรมู นั เกิดขึน้ สมาธิ หมายความวา จับจุดนัน้ ใหได z เวทนาปวดเมือ ่ ย เปนอุปสรรคตอการปฏิบตั มิ าก จึงตองให กำหนด ไมใชวา กำหนดแลวมันจะหายปวดก็หามิได ตองการจะใช สติไปควบคุมดูจิตที่มันปวดวามันปวดมากนอยแคไหน z อุเบกขาเวทนา ไมสข ุ ไมทกุ ข ใจลอยหาทีเ่ กาะไมได สวนใหญ จะประมาทพลาดพลัง้ ในขอนี้ จึงตองกำหนด รหู นอ รหู นอ รหู นอ ทีล่ นิ้ ป หายใจยาว ๆ ลึก ๆ สบาย ๆ z ถา ทบทวนอารมณ ก็ตอ  งไปกำหนดอยางนี้ หายใจยาว ๆ นัง่ ทาสบายอยตู รงไหนก็ตาม อยบู นรถก็ได ทบทวนชีวติ ทบทวน อารมณวา อารมณลมื อะไรไปบาง เลยก็หายใจยาว ๆ มีประโยชนมาก ตั้งสติไวที่ลิ้นป ดวงหทัยเรียกวา เจตสิก อาศัยหทัยวัตถุอยูที่ลิ้นป วิธปี ฏิบตั อิ ยตู รงนีน้ ะ หายใจลึก ๆ ยาว ๆ เขาไว คิดหนอ คิดหนอ คิดหนอ เพราะทางปญญาอยตู รงจมูกถึงสะดือของเรานะ สัน้ ยาวไม เทากันอยางนี้ z การเจริญ สติปฏฐาน ๔ ทางสายเอกของพระพุทธเจานี้ ถาทำได ๑. ระลึกชาติไดจริง ระลึกไดวา เคยทำอะไรดีอะไรชัว่ มากอน ไมใชระลึกวาเคยเปนผัวใครเมียใคร ๒. รกู ฎแหงกรรม จะไดใชหนีเ้ ขาไปโดยไมปฏิเสธทุกขอหา ๓. มีปญ  ญาแกไขปญหาชีวติ ไมใชไปหาพระรดน้ำมนต ไปหา หมอดู z

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๗๙


วิปสสนากรรมฐานคืออะไร วิปสสนากรรมฐาน เปนเรื่องของการศึกษาชีวิต เพื่อจะปลด เปลือ้ งความทุกขนานาประการ ออกเสียจากชีวติ เปนเรือ่ งของการ คนหาความจริงวา ชีวิตมันคืออะไรกันแน ปกติเราปลอยใหชีวิต ดำเนินไปตามความเคยชินของมัน ปแลวปเลา มันมีแตความมืดบอด วิปส สนากรรมฐาน เปนเรือ่ งของการตีปญ  หาซับซอนของชีวติ เปนเรือ่ งของการคนหาความจริงของชีวติ ตามทีพ่ ระพุทธเจาไดทรง กระทำมา วิปส สนาฯ เปนการเริม่ ตนในการปลดเปลือ้ งตัวเราใหพน จาก ความเปนทาสของความเคยชิน ในตัวเรานัน้ เรามีของดีทมี่ คี ณ ุ คาอยแู ลว คือ สติสมั ปชัญญะ แตเรานำออกมาใชนอ ยนัก ทัง้ ทีเ่ ปนของมีคณ ุ คาแกชวี ติ หาประมาณ มิได วิปส สนาฯ เปนการระดมเอา สติ ทัง้ หมดทีม่ อี ยใู นตัวเราเอา ออกมาใชใหเกิดประโยชน วิปส สนากรรมฐาน คือการอัญเชิญ สติ ทีถ่ กู ทอดทิง้ ขึน้ มานัง่ บัลลังกของชีวติ เมือ่ สติขนึ้ มานัง่ สบู ลั ลังกแลว จิตก็จะคลานเขามา หมอบถวายบังคมอยูเบื้องหนาสติ สติจะควบคุมจิตมิใหแสออกไป คบหาอารมณตาง ๆ ภายนอก ในที่สุดจิตก็จะคอยคุนเคยกับการ สงบอยกู บั อารมณเดียว เมือ่ จิตสงบตัง้ มัน่ ดีแลว การรตู ามความเปน จริงก็เปนผลติดตามมา เมือ่ นัน้ แหละเราก็จะทราบไดวา ความทุกขมนั มาจากไหน เราจะสกัดกัน้ มันไดอยางไร นัน่ แหละผลงานของสติละ ๘๐

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ภายหลังจากไดทมุ เทสติสมั ปชัญญะลงไปอยางเต็มทีแ่ ลว จิตใจ ของผูปฏิบัติก็จะไดสัมผัสกับสัจจะแหงสภาวะธรรมตาง ๆ อันผู ปฏิบัติไมเคยเห็นอยางซึ้งใจมากอน ผลงานอันมีคาล้ำเลิศของสติ สัมปชัญญะ จะทำใหเราเห็นอยางแจงชัดวา ความทุกขรอนนานา ประการนัน้ มันไหลเขามาสชู วี ติ ของเราทางชองทวาร ๖ ชองทวาร ๖ นัน้ เปนทีต่ อ และบอเกิดสิง่ เหลานีค้ อื ขันธ ๕ จิต กิเลส ชองทวาร ๖ นี้ ทางพระพุทธศาสนาทานเรียกวา อายตนะ อายตนะมีภายใน ๖ ภายนอก ๖ ดังนี้ อายตนะภายในมี ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ อายตนะภายนอกมีรปู เสียง กลิน่ รส โผฏฐัพพะ (กาย ถูกตองสัมผัส) ธรรมารมณ (อารมณทเี่ กิดจากใจ) รวม ๑๒ อยางนี้ มีหนาทีต่ อ กันเปนคู ๆ คือ ตาคกู บั รูป หูคกู บั เสียง จมูกคกู บั กลิน่ ลิน้ คกู บั รส กายคกู บั การสัมผัสถูกตอง ใจคกู บั อารมณทเี่ กิดกับใจ เมือ่ อายตนะคูใดคูหนึ่ง ตอถึงกันเขา จิตก็จะเกิดขึ้น ณ ที่นั้นเองและ จะดับลงไป ณ ทีน่ นั้ ทันที จึงเห็นไดวา จิตไมใชตวั ไมใชตน การที่ เราเห็นวาจิตเปนตัวตนนัน้ ก็เพราะวาการเกิดดับของจิตรวดเร็วมาก การเกิดดับของจิตเปนสันตติคือ เกิดดับตอเนื่องไมขาดสาย เราจึง ไมมที างทราบไดถงึ ความไมมตี วั ตนของจิต ตอเมือ่ เราทำการกำหนด รูป นาม เปนอารมณตามระบบวิปส สนากรรมฐาน ทำการสำรวมสติ สัมปชัญญะอยางมัน่ คง จนจิตตัง้ มัน่ ดีแลว เราจึงจะรเู ห็นการเกิด ดับ ของจิต รวมทัง้ สภาวะธรรมตาง ๆ ตามความเปนจริง การทีจ่ ติ เกิดทางอายตนะตาง ๆ นัน้ มันเปนการทำงานรวมกัน ของขันธ ๕ เชน ตากระทบรูป เจตสิกตาง ๆ ก็เกิดตามมาพรอมกัน สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๘๑


คือ เวทนา เสวยอารมณ สุข ทุกข ไมสขุ ไมทกุ ข สัญญา จำไดวา รูปอะไร สังขาร ทำหนาทีป่ รุงแตง วิญญาณ รวู า รูปนี้ ดี ไมดี หรือ เฉย ๆ กิเลสตาง ๆ ก็จะติดตามเขามาคือ ดีชอบเปนโลภะ ไมดไี ม ชอบเปนโทสะ เฉย ๆ ขาดสติกำหนดเปนโมหะ อันนีเ้ องจะบันดาล ใหอกุศลกรรมตาง ๆ เกิดติดตามมา ความประพฤติชวั่ รายตาง ๆ ก็จะ เกิด ณ ตรงนีเ้ อง การปฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน โดยเอาสติเขาไปตัง้ กำกับจิตตาม ชองทวารทัง้ ๖ เมือ่ ปฏิบตั ไิ ดผลแกกลาแลว ก็จะเขาตัดตออายตนะ ทัง้ ๖ คนู นั้ ไมใหตดิ ตอกันไดโดยจะเห็นตามความเปนจริงวา เมือ่ ตากระทบรูป ก็จะเห็นวา สักแตวา เปนแครปู ไมใชตวั ไมใชตนบุคคล เราเขา ไมทำใหความรูสึกนึกคิดปรุงแตงใหเกิดความพอใจหรือไม พอใจเกิดขึน้ รูปก็จะดับลงอยู ณ ตรงนัน้ เอง ไมใหไหลเขามาสภู ายใน จิตได อกุศลกรรมทั้งหลายก็จะไมตามเขามา สติทเี่ กิดขึน้ ขณะปฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐานนัน้ นอกจากจะคอย สกัดกัน้ กิเลสไมใหเขามาทางอายตนะแลว ยังเพงเล็งอยทู รี่ ปู กับนาม เมื่อเพงอยูก็จะเห็นความเกิดดับของรูปนามนั้น จักนำไปสูการเห็น พระไตรลักษณ คือ ความไมเทีย่ ง ความเปนทุกข ความไมมตี วั ตน ของสังขาร หรืออัตภาพอยางแจมแจง การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานนั้น จะมีผลมากนอยเพียงใด อยูที่หลักใหญ ๓ ประการ ๑. อาตาป ทำความเพียรเผากิเลสให เรารอน ๒. สติมา มีสติ ๓. สัมปชาโน มีสมั ปชัญญะ อยกู บั รูปนาม ตลอดเวลาเปนหลักสำคัญ ๘๒

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


นอกจากนัน้ ผปู ฏิบตั ติ อ งมีศรัทธา ความเชือ่ วาการปฏิบตั เิ ชนนี้ มีผลจริง ความมีศรัทธานี้ เปรียบประดุจเมล็ดพืชทีส่ มบูรณดพี รอม ที่จะงอกงามไดทันทีที่นำไปปลูก ความเพียรประดุจน้ำที่พรมลงไป ที่เมล็ดพืชนั้น เมื่อ เมล็ดพืชไดน้ำพรมลงไป ก็จะงอกงามสมบูรณ ขึน้ ทันที เพราะฉะนัน้ ผปู ฏิบตั จิ ะไดผลมากนอยเพียงใดยอมขึน้ อยกู บั สิ่งเหลานี้ดวย การปฏิ บั ติ ผู ป ฏิ บั ติ จ ะต อ งเปรี ย บเที ย บดู จิ ต ใจของเราใน ระหวาง ๒ วาระวา กอนที่ยังไมปฏิบัติและหลังการปฏิบัติแลว วิเคราะหตวั เองวา มีความแตกตางกันประการใด หมายเหตุ เรื่องของวิปสสนากรรมฐานที่เขียนขึ้นดังตอไปนี้ จะยึดถือเปนตำราไมได ผเู ขียนเขียนขึน้ เปนแนวปฏิบตั เิ ทานัน้ โดย พยายามเขียนใหงา ยแกการศึกษา และปฏิบตั มิ ากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะกระทำ ไดเทานั้นเอง จากหนังสือคมู อื การฝกอบรมพัฒนาจิต วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบรุ ี โดย พ.ท.วิง รอดเฉย ป ๒๕๒๙

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๘๓


ธุระในพระศาสนา ธุระในพระศาสนามี ๒ อยางคือ ๑. คันถธุระ ๒. วิปส สนาธุระ คันถธุระ ไดแกการศึกษาเลาเรียนใหรเู รือ่ งพระศาสนา และหลัก ศีลธรรม วิปสสนาธุระ ไดแก ธุระหรืองานอยางสูงในพระศาสนา ซึ่ ง เป น งานที่ จ ะช ว ยให ผู นั บ ถื อ พระพุ ท ธศาสนาได รู จั ก ดั บ ทุ ก ข หรือเปลื้องทุกขออกจากตน มากนอยตามควรแกการปฏิบัติ ทางนี้ ทางเดียวเทานั้นที่จะทำใหคนพนทุกขตั้งแตทุกขเล็กจนถึงทุกขใหญ เชน การเกิด แก เจ็บ ตาย และเปนทางปฏิบตั ทิ มี่ อี ยใู นศาสนาของ พระพุทธเจาเทานั้น วิปส สนาธุระ คือ สวนมากเราเรียกกันวา วิปส สนากรรมฐาน นัน่ เอง เมือ่ กลาวถึงกรรมฐาน ขอใหผปู ฏิบตั แิ ยกกรรมฐานออกเปน ๒ ประเภทเสียกอน การปฏิบัติจึงจะไมปะปนกัน กรรมฐานมี ๒ ประเภท คือ ๑. สมถกรรมฐาน กรรมฐานชนิดนี้เปนอุบายใหใจสงบคือ ใจที่อบรมในทางสมถแลวจะเกิดนิ่งและเกาะอยูกับอารมณหนึ่งเพียง อยางเดียว อารมณของสมถกรรมฐานนัน้ แบงออกเปน ๔๐ กอง คือ กสิณ ๑๐ อสุภ ๑๐ อนุสติ ๑๐ พรหมวิหาร ๔ อาหาเรปฏิกลู สัญญา ๑ จตุธาตวัฏฐาน ๑ อรูปธรรม ๔ ๒. วิปส สนากรรมฐาน เปนอุบายใหเรืองปญญา คือ เกิดปญญา เห็นแจงหมายความวา เห็นปจจุบนั เห็นรูปนาม เห็นพระไตรลักษณ และเห็น มรรค ผล นิพพาน จากหนังสือคมู อื การฝกอบรมพัฒนาจิต วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบรุ ี โดย พ.ท.วิง รอดเฉย ป ๒๕๒๙

๘๔

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


การเรียนรูวิปสสนากรรมฐาน การเรียนรวู ปิ ส สนากรรมฐานนัน้ เรียนได ๒ อยาง คือ ๑. เรียนอันดับ ๒. เรียนสันโดษ การเรียนอันดับ คือ การเรียนใหรจู กั ขันธ ๕ วาไดแกอะไร บาง ยอใหสนั้ ในทางปฏิบตั ิ เหลือเทาใด ไดแกอะไรบาง เกิดทีไ่ หน เกิดเมือ่ ไร เมือ่ เกิดขึน้ แลวอะไรจะเกิดตามมาอีก จะกำหนดตรงไหน จึงจะถูกขันธ ๕ เมื่อกำหนดถูกแลวจะไดประโยชนอยางไรบาง เปนตน นอกจากนี้ก็ตองเรียนใหรูเรื่องในอายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย ๒๒ อริยสัจ ๔ ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ โดยละเอียดเสียกอน เรียกวา เรียนภาคปริยตั ิ วิปส สนาภูมนิ นั่ เอง แลวจึงจะลงมือปฏิบตั ไิ ด การเรียนสันโดษ คือ การเรียนยอ ๆ สัน้ ๆ สอนเฉพาะทีต่ อ ง ปฏิบตั เิ ทานัน้ เรียนชัว่ โมงนีก้ ป็ ฏิบตั ชิ วั่ โมงนีเ้ ลย เชน สอนการเดิน จงกรม สอนวิธนี งั่ กำหนด สอนวิธกี ำหนดเวทนา สอนวิธกี ำหนดจิต แลวลงมือปฏิบัติเลย หลักใหญในการปฏิบตั วิ ปิ ส สนาฯ มีหลักอยู ๓ ประการ คือ ๑. อาตาป ทำความเพียรเผากิเลสใหเรารอน ๒. สติมา มีสติ คือระลึกอยเู สมอวาขณะนีเ้ ราทำอะไร ๓. สัมปชาโน มีสมั ปชัญญะ คือขณะทำอะไรอยนู นั้ ตองรตู วั อยูตลอดเวลา จากหนังสือคมู อื การฝกอบรมพัฒนาจิต วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบรุ ี โดย พ.ท.วิง รอดเฉย ป ๒๕๒๙ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๘๕


สติปฏ ฐาน ๔ มักจะมีคำถามอยเู สมอวา เราจะปฏิบตั ธิ รรมในแนวไหน หรือ สำนักใด จึงจะเปนการถูกตองและไดผล คำถามเชนนีเ้ ปนคำถามที่ ถูกตองและไมควรถูกตำหนิวา ชอบเลือกนัน่ เลือกนี่ ทีถ่ ามก็เพือ่ ระวังไว ไมใหเดินทางผิด ทางปฏิบตั ทิ ถี่ กู ตอง คือ ปฏิบตั ติ ามสติปฏ ฐาน ๔ สติปฏ ฐาน ๔ แปลใหเขาใจงาย ๆ ก็คอื ฐานทีต่ งั้ ของสติ หรือ เหตุปจ จัยสำหรับปลูกสติใหเกิดขึน้ ในฐานทัง้ ๔ คือ ๑. กายานุปส สนาสติปฏ ฐาน คือ การพิจารณากาย จำแนกโดย ละเอียดมี ๑๔ อยางคือ ๑. อัสสาสะปสสาสะ คือ ลมหายใจเขาออก ๒. อิรยิ าบถ ๔ ยืน เดิน นัง่ นอน ๓. อิรยิ าบถยอย การกาวไปขางหนา ถอยไปทางหลัง คขู าเขา เหยียดขาออก งอแขนเขา เหยียดแขนออก การถายหนัก ถายเบา การกิน การดืม่ การเคีย้ ว ฯลฯ คือ การเคลือ่ นไหวรางกายตาง ๆ ๔. ความเปนปฏิกลู ของรางกาย (อาการ ๓๒) ๕. การกำหนดรางกายเปนธาตุ ๔ ๖. ปาชา ๙ ๒. เวทนานุปส สนาสติปฏ ฐาน คือ การเจริญสติเอาเวทนาเปน ที่ตั้ง เวทนาแปลวา การเสวยอารมณ มี ๓ อยางคือ ๑. สุขเวทนา ๒. ทุกขเวทนา ๓. อุเบกขาเวทนา ๘๖

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


เมื่อเวทนาเกิดขึ้น ก็ใหมีสติสัมปชัญญะกำหนดไปตามความเปน จริงวา เวทนานีเ้ มือ่ เกิดขึน้ ตัง้ อยู ดับไป ไมเทีย่ งแทแนนอน เวทนา ก็สกั แตวา เวทนา ไมใชสตั วบคุ คล ตัวตนเราเขาไมยนิ ดียนิ ราย ตัณหา ก็จะไมเกิดขึ้น และปลอยวางเสียได เวทนานี้เมื่อเจริญใหมาก ๆ เปนไปอยางสมบูรณแลว อาจทำใหทกุ ขเวทนาลดนอยลง หรือไมมี อาการเลยก็เปนได อยางทีเ่ รียกกันวา สามารถแยก รูป นาม ออก จากกันได (เวทนาอยางละเอียดมี ๙ อยาง) ๓. จิตตานุปส สนาสติปฏ ฐาน ไดแก การปลูกสติโดยเอาจิตเปน อารมณ หรือเปนฐานทีต่ งั้ จิตนีม้ ี ๑๖ คือ z จิตมีราคะ จิตปราศจากราคะ z จิตมีโทสะ จิตปราศจากโทสะ z จิตมีโมหะ จิตปราศจากโมหะ z จิตหดหู จิตฟง ุ ซาน z จิตยิง ่ ใหญ (มหัคคตจิต) จิตไมยงิ่ ใหญ (อมหัคคตจิต) z จิตยิง ่ (สอุตตรจิต) จิตไมยงิ่ (อนุตตรจิต) z จิตตัง ้ มัน่ จิตไมตงั้ มัน่ z จิตหลุดพน จิตไมหลุดพน การทำวิปสสนา ใหมีสติพิจารณากำหนดใหเห็นวา จิตนี้เมื่อ เกิดขึน้ ตัง้ อยู ดับไป ไมเทีย่ งแทแนนอน ละความพอใจและความ ไมพอใจออกเสียได ๔. ธัมมานุปส สนาสติปฏ ฐาน คือ มีสติพจิ ารณาธรรมทัง้ หลาย ทัง้ ปวง คือ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๘๗


๔.๑ นิวรณ คือ รูชัดในขณะนั้นวา นิวรณ ๕ แตละอยางมี อยใู นใจ หรือไม ทีย่ งั ไมเกิด เกิดขึน้ ไดอยางไร ทีเ่ กิดขึน้ แลวละเสียได อยางไร ทีล่ ะไดแลวไมเกิดขึน้ อีกตอไปอยางไร ใหรชู ดั ตามความเปน จริงที่เปนอยูในขณะนั้น ๔.๒ ขันธ ๕ คือ กำหนดรวู า ขันธ ๕ แตละอยางคืออะไร เกิดขึน้ ไดอยางไร ดับไปไดอยางไร ๔.๓ อายตนะ คือ รชู ดั ในอายตนะภายในภายนอกแตละอยาง รชู ดั ในสังโยชนทเี่ กิดขึน้ เพราะอาศัยอายตนะนัน้ ๆ รชู ดั วาสังโยชน ทีย่ งั ไมเกิด เกิดขึน้ ไดอยางไร ทีเ่ กิดขึน้ แลวละเสียไดอยางไร ๔.๔ โพชฌงค คือ รชู ดั ในขณะนัน้ วา โพชฌงค ๗ แตละ อยางมีอยใู นใจตนหรือไม ทีย่ งั ไมเกิด เกิดขึน้ ไดอยางไร ทีเ่ กิดขึน้ แลว เจริญเต็มบริบูรณไดอยางไร ๔.๕ อริยสัจ ๔ คือ รชู ดั อริยสัจ ๔ แตละอยางตามความ เปนจริงวาคืออะไร สรุป ธัมมานุปส สนาสติปฏ ฐานนี้ คือ จิต ทีค่ ดิ เปน กุศล อกุศล และอัพยากฤต เทานัน้ ผปู ฏิบตั สิ ติปฏ ฐาน ๔ ตองทำความเขาใจ อารมณ ๔ ประการใหถกู ตองคือ ๑. กาย ทั่วรางกายนี้ไมมีอะไรสวยงามแมแตสวนเดียว ควร ละความพอใจและความไมพอใจออกเสียได ๒. เวทนา สุข ทุกข และไมสขุ ไมทกุ ขนนั้ แทจริงแลวมีแต ทุกข แมเปนสุขก็เพียงปดบังความทุกขไว ๘๘

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


๓. จิต คือ ความนึกคิด เปนสิง่ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงแปรผัน ไมเทีย่ ง ไมคงทน ๔. ธรรม คือ อารมณที่เกิดกับจิต อาศัยเหตุปจจัยเกิดขึ้น เมือ่ เหตุปจ จัยดับไป อารมณนนั้ ก็ดบั ไปดวย ไมมสี งิ่ เปนอัตตาใด ๆ เลย จากหนังสือคมู อื การฝกอบรมพัฒนาจิต วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบรุ ี โดย พ.ท.วิง รอดเฉย ป ๒๕๒๙

อานิสงสของการปฏิบัติธรรม ๑. มีวนิ ยั ในตัวเอง ๓ ประการคือ z z z

๑ รูจักระวังตัว ๒ รูจักควบคุมตัวได ๓ รจู กั เชือ่ ฟงผใู หญ ถาเปนเด็กจะไมเถียงผใู หญ

๒. มีกจิ นิสยั ๔ ประการ z z z z

๑ ๒ ๓ ๔

ขยัน ไมจบั จด รักงาน สงู าน ประหยัด รจู กั ใชชวี ติ และทรัพยสนิ อยางถูกตองและคมุ คา พัฒนา รจู กั พัฒนาตัวเอง และอาชีพใหดขี นึ้ สามัคคี รักครอบครัว รักหมคู ณะ และรักประเทศชาติ

๓. มีลกั ษณะนิสยั ๔ ประการ z z

๑ มีสัมมาคารวะ ๒ อุตสาหะพยายาม

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๘๙


z z

๓ ปฏิบัติตามระเบียบวินัย ๔ รจู กั เด็ก รจู กั ผใู หญ วางตัวไดเหมาะสม

๔. มีความรคู กู บั คุณธรรมเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ๔ ประการได ๑ รูจักคิด z ๒ รูจักปรับตัว z ๓ รูจักแกปญหา z ๔ มี ทั ก ษะในการทำงานและค า นิ ย มที่ ดี ง ามในอนาคต เจานายทิง้ ลูกนองไมได ลูกนองทิง้ เจานายไมได เขาหลักทีว่ า ผใู หญ ดึง ผนู อ ยดัน คนเสมอกันจะไดอปุ ถัมภค้ำจุนตอไป z

๕. อานิสงสในการเดินจงกรม ๑. อดทนตอการเดินทางไกล z ๒. อดทนตอความเพียร z ๓. มีอาพาธนอย z ๔. ยอยอาหารไดดี z ๕. สมาธิ ที่ ไ ด ข ณะเดิ น ตั้ ง อยู ไ ด น าน (ในป ญ จกนิ บ าต อังคุตตรนิกาย เลม ๓๒) z

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลมที่ ๗ ภาคธรรมบรรยาย-ธรรมปฏิบัติ เรื่อง คติกรรมฐาน โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule07p0601.html

๙๐

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ประโยชนของการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน การปฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐานนัน้ มีประโยชนมากมายเหลือที่ จะนับประมาณได จะยกมาแสดงตามที่ปรากฏอยูในพระไตรปฎก สักเล็กนอยดังนี้ คือ z สัตตานัง วิสท ุ ธิยา ทำกายวาจาใจ ของสรรพสัตวใหบริสทุ ธิ์ หมดจด z โสกะปะริ เ ทวานั ง สะมะติ ก กะมายะ ดั บ ความเศร า โศก ปริเทวนาการตาง ๆ z ทุ ก ขะโทมะนั ส สานั ง อั ต ถั ง คะมายะ ดั บ ความทุ ก ข ก าย ดับความทุกขใจ z ญาณัสสะ อะธิคะมายะ เพือ ่ บรรลุมรรคผล z นิพพานัสสะ สัจฉิกร ิ ยิ ายะ เพือ่ ทำนิพพานใหแจง และยังมีอยอู กี มาก เชน ๑. ชื่อวาเปนผูไมประมาท ๒. ชื่อวาเปนผูไดปองกันภัยในอบายภูมิทั้งสี่ ๓. ชื่อวาไดบำเพ็ญไตรสิกขา ๔. ชือ่ วาไดเดินทางสายกลาง คือ มรรค ๘ ๕. ชื่อวาไดบูชาพระพุทธเจาดวยการบูชาอยางสูงสุด ๖. ชือ่ วาไดบำเพ็ญ ศีล สมาธิ ปญญา ใหเปนอุปนิสยั ปจจัย ไปในภายหนา สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๙๑


๗. ชื่อวาไดปฏิบัติถูกตองตามพระไตรปฎกโดยแทจริง ๘. ชือ่ วาเปนผมู ชี วี ติ ไมเปลาประโยชนทงั้ สาม ๙. ชือ่ วาเปนผเู ขาถึงพระรัตนตรัย อยางถูกตอง ๑๐. ชือ่ วาไดปฏิบตั เิ พือ่ ใหเกิดวิปส สนาญาณ ๑๖ ๑๑. ชือ่ วาไดสงั่ สมอริยทรัพยไวในภายใน ๑๒. ชื่ อ ว า เป น ผู ม าดี ไ ปดี อ ยู ดี กิ น ดี ไ ม เ สี ย ที ที่ เ กิ ด มาพบ พระพุทธศาสนา ๑๓. ชื่อวาไดรักษาอมตมรดกของพระสัมมาสัมพุทธเจาไว เปนอยางดี ๑๔. ชื่อวาไดชวยกันเผยแผพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรือง ยิง่ ๆ ขึน้ ไปอีก ๑๕. ชื่อวาไดเปนตัวอยางอันดีงามแกอนุชนรุนหลัง ๑๖. ชื่อวาตนเองไดมีธนาคารบุญติดตัวไปทุกฝกาว จากหนังสือคมู อื การฝกอบรมพัฒนาจิต วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบรุ ี โดย พ.ท.วิง รอดเฉย ป ๒๕๒๙

๙๒

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


สติปฏ ฐาน ๔ ปดอบายภูมไิ ด ญาติโยมเอยโปรดไดทราบไวเถอะ บุญกรรม มีจริง บาปกรรม มีจริง ยมบาลจดไมมี จิตนีเ้ ปนผูจ ด จดทุกวัน คืออารมณ เรือ่ งจริง แน จดทุกกระเบียดนิ้ว บาปบุญคุณโทษบันทึกเขาไว พอวิญญาณ ออกจากรางไป มันก็ขยายออกมาใชกรรมไป ถาเราทําดี ก็ไปบังเกิด ในสวรรค ทําชัว่ ก็ลงนรกไปแบบนี้ อาตมามาคิดดูนะวาสวรรคอยูบนฟา นรกอยูใตดินก็คงไมใช ดูตัวอยางที่เคยเลาใหญาติโยมฟง ตาเลงฮวย ผูกคอตาย วิญญาณไปเขายายเภา ยายเภาเปน คนไทยแท ๆ เกิดพูดภาษาจีนได ตอนนัน้ อาตมาอยูว ดั พรหมบุรี มีคนมาตามอาตมาไป พอไปถึง ยายเภาพูดภาษาจีน เลยตองให เรือไปตามตาแปะเลีย่ งเกีย๊ กไวผมเปย เปนลุงเขยอาตมาใหมาเปนลาม เขาบอกไมตอ งไลเขา เขาอยูก บั ฮวยเซียเถา อยูต รงใกลวดั พรหมบุรี นีเ่ อง “ชือ่ หลวงตามด เคยเปนเจาอาวาสวัดกลางพรหมนคร อยูเ หนือ ตลาดปากบางนีเ่ อง อยูด ว ยกัน ๒ คน ขุดดินถมถนนทุกวัน ถาไม ขุดดินเขาเฆี่ยนตี และฮวยเซียเถาก็ขุดดินดวย” อาตมาไดถามคนเฒาคนแกชอื่ บัวเฮง อยูต ลาดปากบาง บอกวา ฮวยเซียเถามีจริง ชือ่ สมภารมด อยูว ดั กลางเปนสมภารวัด จะสราง ถาวรวัตถุของวัด แตเงินทองถูกมัคทายกโกงไปหมดไมรจู ะทําอยางไร เสียใจเลยผูกคอตาย

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๙๓


“อัว๊ มาบอกใหลอื้ ไปบอกหลานสาวอัว๊ นะ วาทําบุญไปใหอวั๊ ไม ไดนะ อยาทําเลย” “แลวกินที่ไหนละ” “อั๊วกับฮวยเซียเถาไปกินตามกองขยะที่เขาเอาเศษอาหารมาทิ้ง กินกับหนอน” “เอา! ทีด่ ี ๆ ทําไมไมกนิ ละ” “ไมมีใครใหกิน มีอีกพวกหนึ่งขุดถนนเหมือนกัน แตเขามี ขาวกิน พวกอั๊วไมมีขาวกิน ตองไปกินที่มันเหลือๆ จึงจะกินได ไปบอกหลานสาวอัว๊ ชือ่ “เจีย” นะ บอกวาไมตอ งทำบุญไปอัว๊ ไมได ถาลือ้ อยากทำบุญใหอวั๊ นะ ฮวยเซียเถามดบอกกับอัว๊ บอกใหลกู หลาน เจริญวิปส สนานะ และอัว๊ จะได” อาตมาถามวา “ลือ้ อยูว ดั ไหนละ” “อั๊ ว อยู ต รงนี้ เ อง อั๊ ว เห็ น ลื้ อ ทุ ก วั น ลื้ อ เดิ น ไปอั๊ ว ก็ ทั ก ลื้ อ วาอีไปไหนนะแตลื้อไมพูดกับอั๊ว” อาตมาถามวา “ขุดถนนไปไหน” ก็ชที้ ตี่ รงนัน้ แตไมเห็นมี ถนน ก็ไดความวาเราเดินไปตลาดบานเหนือบานใต เขาเห็นเราหมด เขาทักแตเราไมรเู รือ่ ง อาตมาถามตอไปวา “ลือ้ มีความเปนอยูอ ยางไร” เขาบอกวา “ถาถึงวันโกนวันพระเขาใหหยุดงาน ทีม่ านีเ่ ปนวัน โกนหยุดงานแลว เดีย๋ วอัว๊ ตองรีบกลับ เดีย๋ วเขาจับไดเขาตี อัว๊ หนี มาบอกหนอยเทานัน้ เอง” สรุปไดความวา การทีฆ่ า ตัวตาย ผูกคอตาย ญาติพนี่ อ งทําบุญ ใหไมไดผลแน ตองเจริญวิปสสนากรรมฐานแผสวนกุศล จึงจะได รับผล เพราะผีมาบอกอยางนี้ โยมจะเชือ่ หรือไม ไมเปนไรนะ ก็นกึ ๙๔

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


วาโยมทําวิปส สนากรรมฐานไปก็จะไดรบั ผล วาบุญบาปมีจริง นรก สวรรคมีจริงหรือไมประการใด วันนีอ้ าตมาก็ขออนุโมทนาสาธุการ สวนกุศล ทานทัง้ หลายมา บําเพ็ญกุศล เจริญวิปส สนากรรมฐานใหแกตนเอง โดยเฉพาะอยางยิง่ ดวยการเจริญสติปฏ ฐานสี่ เจริญกาย เวทนา จิต ธรรม ตัง้ พิจารณา โดยปญญา ตลอดกระทัง่ ยืน เดิน นัง่ นอน จะคูเ ขียดเหยียดขา ทุกประการ ก็มสี ติครบ รับรองไดเลยวา ถาโยมทําถึงขัน้ ปดประตูอบายไดเลย นรก เปรต อสุรกาย สัตวเดรัจฉาน โยมจะไมไปภูมนิ นั้ อยางแนนอน เพราะเหตุใด เพราะอํานาจกิเลสทัง้ หลาย โลภะ โทสะ โมหะ เกิ ด ขึ้ น โยมก็ กํ า หนดได ไ ม มี โ ลภะ ขณะมี โ ลภะก็ กํ า หนดโลภะ ก็หายไป จิตวิญญาณตายขณะมีโลภะตายไปเปนเปรต กําลังมีโทสะ ตายไปขณะนั้นลงนรก มีโมหะรวบรวมอยูในจิตใจไวมากตองไป เกิดเปนสัตวเดรัจฉานอยางแนนอน ถามีสติปฏฐานสี่ มีสติสัมปชัญญะดี อบายภูมิก็ไมตองไป ปดนรก เปรต อสุรกาย สัตวเดรัจฉานทางอายตนะ ธาตุอินทรีย ดังที่กลาวมาแลวนี้ทุกประการ จากหนังสือกฎแหงกรรมเลมที่ ๓ ภาคกฎแหงกรรม เรื่อง สัญญาณมรณะ http://www.jarun.org/v6/th/lrule03r0301.html

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ

๙๕


“ยิ่ ง ให ยิ่ ง ได ยิ่ ง หวงยิ่ ง อด

หมดก็ ไ ม ม า

เราไม ห วงกั น เราก็ ไ ม อ ด

หมดก็ ม าเรื่ อ ย ๆ”

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๖ เรื่อง เมื่ออาตมาไปอยูกับหลวงปูสด วัดปากน้ำ โดย พระธรรมสิงหบุราจารย http://www.jarun.org/v6/th/lrule06h0501.html

หากทานตองการพิมพหนังสือเลมนี้เพื่อเผยแผเปนธรรมทาน หรือใชใน งานบุญ งานพิธีตาง ๆ ทานสามารถสั่งพิมพไดที่ บริษัท รุงเรืองวิริยะพัฒนา โรงพิมพ จำกัด โดยรายไดสวนหนึ่งจากการพิมพหนังสือเลมนี้จะนำไปสมทบ จัดสรางการตนู ธรรมะชุด “หลวงปจู รัญกับเณรนอยชางคิด” เพือ่ เผยแผชวี ประวัติ และคำสอนของพระเดชพระคุณหลวงพอจรัญตอไป ขออนุโมทนาและขอขอบคุณทุก ๆ ทาน ที่มีสวนรวมในการจัดทำและ จัดพิมพหนังสือเลมนี้ คงมิมีคำใดจะประเสริฐกวาคำกลาวอนุโมทนาที่พระเดช พระคุณหลวงพอทานไดใหไว และไดนอ มนำมาใสไวในสวนแรกของหนังสือเลมนี้ ทานสามารถดูรายชือ่ ผรู ว มจัดพิมพหนังสือเลมนีไ้ ดจาก http://www.dhammasatta.com และสัง่ พิมพหนังสือไดที่ บริษทั รงุ เรืองวิรยิ ะพัฒนาโรงพิมพ จำกัด รหัสการสัง่ พิมพ “วิรยิ ะ ๔๒๔” ๕๘/๑๘๘ ซ.รามอินทรา ๖๘ ถ.รามอินทรา แขวง/เขต คันนายาว กทม. ๑๐๒๓๐ โทรศัพท ๐-๒๙๑๘-๐๑๙๒ แฟกซ ๐-๒๙๑๗-๙๐๗๒ อีเมลล viriya_999@yahoo.com



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.