fine art magazine01

Page 1

วารสาร ARTS ฉบับปฐมฤกษ สิงหาคม 2551

1

(ฉบับปฐมฤกษ)

Contents

สมเด็จ​พระนางเจา​สิริ​กิติ์​พระ​บรม​ราชินีนาถ​ทรง​พระ​ราช​สมภพ​ใน​วันศุกร​ที่​12​สิงหาคม​พ.ศ.2475​ทรง​เปน​พระ​ธิดา​องค​ใหญ​ใน​พระวร​วงศ​กรมหมื่น​ จันทบุรีสุร​นาถ​และ​หมอมหลวง​บัว​กิ​ติ​ยา​กร​สมเด็จ​พระนางเจาฯ​พระ​บรม​ราชินีนาถ​เมื่อ​ทรง​พระ​ราช​สมภพ​ทรง​มี​ฐานันดร​ศักดิ์​เปน​หมอมราชวงศ​และ​ พระนาม​“สิริ​กิติ์”​ซึ่ง​มีความหมาย​วา​“ยังความปลื้มปติ ยินดี และ เกียรติยศ มาสู ตระกูล กิติยากร”​อันเปน​พระนาม​ซึ่ง​พระบาท​สมเด็จพระ​ปกเกลา​ เจา​อยู​หัว​รัชกาล​ที่​7​ทรง​พระ​กรุณา​โปรดเกลา​ฯ​พระราชทาน​​(ภาพ​วาดเสน​โดย​นาย​รุง​ศักดิ์​ดอกบัว​ศิษยเกา​คณะ​วิจิตรศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม)​

2•​ ถArt News อยแถลงขาว​หอศิลป/ขาว​วิจิตรศิลป​

•​ โครงการ​นิทรรศการ​ศิลปะ​ภาพพิมพ​รวมสมัย​ “PRINTS​AS​PRINTS​2008” •​ Le​Paradis​des​Fleurs​ครั้งที่​7

3•​ มายาการ​​ Article และ​​ความ​จริง

7 Fine Arts News 5•​ เจดีArtFile •​ กราบครุ​ปูจา​สรวงสา​อาจารย​เจา ย​ชาง​ลอม​กับ​พระพุทธศาสนา​ ลังกา​วงศ​ในประเทศ​ไทย​ •​ สรุป​วง​เสวนา​สื่อ​ใหม​สิงคโปร •​ เปิดฝกอบรมศิลปะสีน้ำ •​ lปิดฝึกอบรมศิลปะสำหรับเด็ก

•​ นิทรรศการ​ภาพถาย​เงา​แหง​กรุง​เยรูซาเลม •​ โครงการ​แลกเปลี่ยน​นักศึกษา

8 •​Artist จรู​ญ​บุญ​สวน

คณะผูจัดทำ​

บรรณาธิการบริหาร: สมเกียรติ ตั้งนโม. กองบรรณาธิการฉบับปฐมฤกษ: วีระพันธ จันทรหอม, ศุภชัย ศาสตรสาระ, สุวิทย คิดการงาน. ฝายประสานงาน: สุวิทย คิดการงาน. ฝายการจัดการความรู: วีระพันธ จันทรหอม. ฝายศิลป: วรรณชัย วงษตะลา (ศิษยเกาวิจิตรศิลป มช.) ฝายเผยแพร: เลขานุการคณะ และพนักงานสายสนับสนุนสำนักงานคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม หนังสือพิมพขาวหอศิลป จัดทำขึ้นเพื่อเปนสื่อกลางระหวางกิจกรรมดานการศึกษาศิลปะ การวิจัย การบริการ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ของคณะวิจิตรศิลป กับบุคคลและสถาบันภายนอกที่สนใจเรื่องคุณคาทางศิลปะและสุนทรียภาพ. ขาวและเนื้อหาขอมูล บทความทุกชนิดที่ปรากฏบนหนังสือพิมพนี้ ยินยอมสละลิขสิทธิ์ใหกับ สังคมไทย เพื่อประโยชนทางวิชาการ


Art News ถอยแถลงขาวหอศิลป ขาววิจิตรศิลป ขาวหอศิลป/ขาววิจิตรศิลป (ฉบับปฐมฤกษ) นี้​ตั้งใจ​ให​เปน​ สวนหนึ่ง​ของ​นโยบาย​หอศิลป​มี​ชีวิต​และ​กระฉับกระเฉง​(lively​art​museum)​ซึ่ง​กอนหนา​นี้​ลาง​ผูคน​มา​นาน​กลาว​คือ​กิจกรรม​และ​นิทรรศการ​ ศิลปะ​ตางๆ​ซึ่ง​จัดแสดง​ที่​หอศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​ใน​หลาย​ป​ ที่ผานมา​นั้น​นับจาก​วัน​เปดงาน​นิทรรศการ​ศิลปะ​แลว​ก็​แทบจะ​ไมมี​ผูคน​ เขา​ชม​ผลงาน​อีก​เลย​ทำใหเกิด​ความ​สิ้นเปลือง​และ​ไม​บรรลุ​วัตถุ​ุประสงค​ ของ​การ​จัดตั้ง​หอศิลป​เทาที่ควร​ดวย​เหตุนี้​คณะกรรมการ​หอศิลป​ภายใต​ การ​เปลี่ยนแปลง​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​เปน​มหาวิทยาลัย​ใน​กำกับ​จึง​มี​ ความคิด​ที่จะ​ปรับปรุง​เรื่อง​กายภาพ​สภาพแวดลอม​รวมทั้ง​เนื้อหา​สาระ​ เกี่ยวกับ​หอศิลป​ให​มี​พลวัต​มากขึ้น​ ​ ในแง​กายภาพ​และ​สภาพแวดลอม​จะ​จัดให​มี​การ​แสดงผล​งานศิลปะ​ และ​กิจกรรม​ตางๆ​ที่​เกี่ยวของ​โดย​เนน​ให​กิจกรรม​และ​นิทรรศการ​ของ​ หอศิลป​สื่อสาร​กับ​ผูคน​เปนที่​รับรู​และ​เขาใจ​ได​ดวย​การ​ติด​ปายชื่อ​ผลงาน​ พรอม​คำ​อธิบาย​งาน​ตาม​มาตรฐาน​นอกจากนี้​ยัง​จัดให​มี​การ​อภิปราย​ถึง​ ผล​งานศิลปะ​ที่​จัดแสดง​ดวย​ทุกครั้ง​พรอม​ติดตั้ง​เครื่อง​คอมพิวเตอร​ใน​การ​ ให​ขอมูล​เกี่ยวกับ​หอศิลป​และ​นิทรรศการ​ศิลปะ​ตั้งแต​อดีต​จนถึง​ปจจุบัน​ ​ ขณะ​เดียวกัน​จะ​จัดให​มี​ภัณฑารักษ​อาสาสมัคร​โดย​คัดเลือก​จาก​ นักศึกษา​ศิลปะ​ป​สุดทาย​จาก​สาขา​จิตรกรรม​ประติมากรรม​ภาพพิมพ​ ศิลป​ไทย​ออกแบบ​และ​สื่อ​ศิลปะ,​นักศึกษา​ศิลปะ​ระดับ​ปริญญาโท​ของ​ คณะ​วิจิตรศิลป,​ทำหนาที่​ภัณฑารักษ​พิเศษ​เพื่อให​ความรู​และ​อธิบาย​ ผลงาน​ให​กับ​ผูเขาชม​เปน​หมูคณะ​ระหวาง​วันเสาร​และ​อาทิตย​อยาง​ สม่ำเสมอ ​ บริเวณ​หอศิลป​จะ​จัดให​มี​หองสมุด​ศิลปะ​และ​หอง​ฉาย​ภาพยนตร​ เพื่อให​ผู​สนใจ​นักเรียน​นักศึกษา​และ​ประชาชน​เขามา​คนควา​ขอมูล​ เกี่ยวกับ​ศิลปะ​และ​ความรู​เกี่ยวเนื่อง​โดย​จะ​ติดตอ​กับ​สำนัก​หอสมุด​ มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​เขามา​มี​สวนรวม​ใน​การ​ตระเตรียม​หองสมุด​เฉพาะ​ ทาง​ดังกลาว​รวมกับ​หองสมุด​คณะ​วิจิตรศิลป​เพื่อ​สราง​บรรยากาศ​แหง​ การ​เรียนรู​และ​บันเทิง​การ​ศึกษา(edutainment)​มา​เสริม​บรรยากาศ​ คุณภาพ​ชีวิต ​ สวนหนึ่ง​ของ​กลุม​อาคาร​หอศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​จะ​จัดให​ มี​หอง​จำหนาย​หนังสือ​และโปส​การด​ศิลปะ,​ภาพ​ผล​งานศิลปะ​(art​ gallery)ทุก​แขนง​ของ​นักศึกษา​คณาจารย​ศิษยเกา​และ​ศิลปน​โดย​ทั่วไป​ ทั้งนี้​เพื่อ​การ​เผยแพร​และ​ชวย​สนับสนุน​การ​สรางสรรค​ผลงาน​ของ​ผู​ทำงาน​ ดาน​ศิลปะ​และ​ทำให​ผูผลิต​ผลงาน​ทั้งหลาย​ได​มี​โอกาส​พบปะ​แลกเปลี่ยน​ เรียนรู​และ​ตลาด​งานศิลปะ​เพื่อ​เปน​สวนหนึ่ง​ของ​การ​ปฏิสัมพันธ​กับ​สังคม ​ ในขณะ​เดียวกัน​พื้นที่​บางสวน​ของ​หอศิลป​ที่​มี​บรรยากาศ​รมรื่น​ ยัง​จะ​จัดให​มี​ศิลปะ​การ​แสดง​​อาทิเชน​ดนตรี​ใน​หอศิลป​ทั้ง​แนว​​​​​​​​​​​​​​ ลาน​นา​รวมสมัย​แจซ​ดนตรี​คลาส​สิค​และ​การ​แสดง​นาฏกรรม​ หุนกระบอก​รวมถึง​การ​ฉาย​ภาพยนตร​เพื่อให​หอศิลป​ที่​เคย​เนน​เฉพาะ​ เรื่อง​ของ​ทัศนศิลป​เขา​ประสาน​รวมตัว​กับ​ศิลปะ​แขนง​อื่นๆ​อยาง​ครบถวน​ และ​เปนการ​เติมเต็ม​หอศิลป​ที่​เคย​เงียบเหงา​เกิด​สุมเสียง​และ​สำเนียง​แวว​ หวาน​เสริม​บรรยากาศ​แหง​หอศิลป​ที่​มี​ชีวิตชีวา ​ การ​อบรม​ศิลปะ​ซึ่ง​กอนหนา​นี้​คณะ​วิจิตรศิลป​เคย​ดำเนินการ​แต​ เฉพาะ​ภายใน​คณะ​ใน​ภาคฤดูรอน​เชน​การ​อบรม​ศิลปะ​เด็ก​ใน​อนาคต​อัน​ ใกล​คณะกรรมการ​หอศิลป​มี​ความ​ประสงค​ที่จะ​จัดให​มี​การ​ฝกอบรม​ทาง​ ดาน​ศิลปะ​ทุก​ประเภท​โดย​จัด​ขึ้น​ที่​บริเวณ​หอศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​ เพื่อ​ตอบสนอง​ตอ​ความ​ตองการ​ให​กับ​ประชาชน​นักศึกษา​และ​นัก​ วิชาการ​โดย​ทั่วไป​ที่​สนใจ​สรางสรรค​ผลงาน​ทาง​ดาน​นี้​มา​รวม​ใชเวลา​ฝกฝน​ กับ​กิจกรรม​ที่​เสริม​คุณภาพ​ชีวิต​ไมวา​จะ​เปนการ​จัด​อบรม​สีน้ำ​สีน้ำมัน​ การ​เขียน​ภาพเหมือน​การ​เขียน​ภาพ​ทิวทัศน​การ​จัด​ดอกไม​การ​ทำความ​ เขาใจ​ศิลปะ​อยาง​งาย​และ​การ​ฝกฝน​ดาน​ดนตรี​และ​การ​แสดง​ทุก​ประเภท ​ ใน​สวน​ของ​การ​ปรับปรุง​ดาน​เนื้อหา​ของ​หอศิลป​มหาวิทยาลัย​ เชียงใหม​คณะกรรมการ​ได​ตกลง​รวมกัน​ที่จะ​จัดให​มี​กิจกรรม​เสวนา​ ทาง​ศิลป​วัฒนธรรม​และ​ความรู​เกี่ยวเนื่อง​เปนประจำ​กลาว​คือ​ทุกๆ​สอง​ สัปดาห​จะ​จัดให​มี​กิจกรรม​ดังกลาว​ขึ้น​ใน​บริเวณ​หอศิลป​และ​โรงละคร​ สลับกัน​ไป​นอกจากนี้​ยัง​ได​มี​การ​ปรับปรุง​เว็บไซต​ของ​หอศิลป​ให​บรรจุ​ เรื่องราว​เกี่ยวกับ​ศิลปะ​ประวัติ​ศิลปน​ขาว​นิทรรศการ​ศิลปะ​ทั่วโลก​และ​ ประวัติ​ผลงาน​แสดง​ของ​หอศิลป​เพื่อ​เผยแพร​บน​ไซเบอรสเปซ ​ สวน​ขาว​หอศิลป​/​ขาว​วิจิตรศิลป​ฉบับ​นี้​ถือเปน​สวนหนึ่ง​ของ​ กิจกรรม​ขางตน​โดย​มี​พันธกิจ​เพื่อ​สื่อสาร​กับ​ผู​คนใน​แวดวง​มหาวิทยาลัย​ เชียงใหม​สถาบัน​สอน​ศิลปะ​ตางๆ​ทั่วประเทศ​ตลอด​รวมถึง​โรงเรียน​ใน​ กลุม​เปาหมาย​และ​สื่อมวลชน​ทั้ง​สวนกลาง​และ​สวนภูมิภาค​เพื่อให​ทราบ​ ถึง​กิจกรรม​ของ​หอศิลป,​คณะ​วิจิตรศิลป,​และ​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม ​ ลาสุด​คณะกรรมการ​หอศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​ได​เปด​ให​ มี​ระบบ​สมาชิก​หอศิลป​ขึ้น​โดย​มี​วัตถุ​ประสงค​ให​สมาชิก​มี​สวน​รวมกับ​ กิจกรรม​ของ​หอศิลป​ทั้ง​ในแง​ของ​การ​ใชบริการ​ตางๆ​ใน​อัตรา​พิเศษ​เชน​ การ​อบรม​ทาง​ดาน​ศิลปะ​การ​เขา​ชม​การ​แสดงดนตรี​ละคร​ศิลปะ​และ​ กิจกรรม​อื่นๆ​รวมถึง​การ​รับ​ขาวสาร​กอน​คน​อื่น​โดย​ชำระ​คา​สมาชิก​เปน​ รายป ​ ถนนนิม​มา​นเห​มิ​นทร​จังหวัด​เชียงใหม​ถือเปน​เสน​ทางคมนาคม​ ที่​สำคัญ​สำหรับ​นัก​ทองเที่ยว​ที่​เดินทาง​มาจาก​สวนกลาง​ครึ่ง​ของ​ความ​ ยาว​ของ​ถนน​สาย​นี้​ตั้งแต​โรงแรม​อมา​รี​ริน​คำ​จนถึง​สาม​แยก​หอประชุม​ มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​ถือได​วา​เปน​ถนน​สาย​บันเทิง​ที่​สำคัญ​ของ​ เชียงใหม​ซึ่ง​มี​รานรวง​ตางๆ​มากมาย​สำหรับ​การ​ช็อป​ปง​รานอาหาร​และ​ รานกาแฟ​สวน​อีก​ครึ่ง​หนึ่ง​จาก​สาม​แยก​หอประชุมฯ​จนถึง​สาธารณสุข​ กลับ​เงียบเหงา​ราง​ผูคน​และ​บริเวณ​ลาน​โลง​ของ​หอศิลป​มหาวิทยาลัย​ เชียงใหม​กลาย​เปน​เพียง​ที่จอดรถ​จากนี้ไป​เรา​พยายาม​ที่จะ​ปรับปรุง​ให​ ชวง​ถนน​สวน​นี้​เปน​แหลง​ของ​คุณภาพ​ชีวิต​ควบคู​ไปกับ​บันเทิง​การ​ศึกษา​ ซึ่ง​หวัง​เปน​อยางยิ่ง​วา​ความ​คิด​ความ​ฝน​เหลานี้​จะ​เปนจริง​ขึ้น​มา​ได​ก็​ดวย​ การ​ประสาน​ความ​รวมมือกัน​ทุกฝาย​ สมเกียรติ​ตั้งนโม คณบดี​คณะ​วิจิตรศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม สิงหาคม​2551

www.finearts.cmu.ac.th www.finearts.cmu.ac.th/cmuartcenter

2 Arts Arts august august 2008 2008

อ​ชัย​วุฒิ

PRINTS AS PRINTS

2008

โครงการนิทรรศการศิลปะภาพพิมพรวมสมัย วันที่ 7 - 31 สิงหาคม 2551 ณ​​หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม​​มหาวิทยาลัยเชียงใหม​​ จ.​เชียงใหม่​ วันที่ 4 – 26 ธันวาคม 2551 ณ​​หอศิลปวัฒนธรรมภาคตะวันออก มหาวิทยาลัยบูรพา นิทรรศการ​ศิลปะ​ภาพพิมพ​รวม​สมัย​จัด​ขึ้น​โดย​​อาจารย​และ​ นักศึกษา​คณะ​วิจิตรศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​เนื่อง​ใน​โอกาส​ ครบ​รอบ​25​ป​คณะ​วิจิตรศิลป​​​คณะ​วิจิตรศิลปได​เปด​ทำการ​สอน​ หลักสูตร​​​ศิลป​บัณฑิต​ขึ้น​ใน​ป​พ.ศ.​2526​​สาขาวิชา​ภาพพิมพ​ได​ เริ่มตน​การ​เรียนการ​สอนเปน​เพียง​รูป​ของ​กลุม​วิชาโท​​ตอมา​เมื่อ​ป​พ.ศ.​ 2528​​จึงไ​ ดรับ​อนุมัติ​ให​เปด​เปน​สาขาวิชา​ภาพพิมพ​โดย​ตรง​​สวนหนึ่ง​ ใน​วัตถุ​ประสงค​ของ​หลักสูตร​วิชาเอก​ภาพพิมพ​ใน​ระดับ​ปริญญาตรี​นี้​ คือ​​การ​ผลิต​บัณฑิต​ที่​มี​ทัศนคติ​อัน​ดีงาม​​มี​ความคิด​ริเริ่ม​สรางสรรค​​ มี​ความคิด​กาวหนา​ทัน​ตอ​พัฒนาการ​ของ​วิทยา​การ​แขนง​นี้​​รูจัก​วิจารณ​ ถายทอด​และ​เผยแพร​ความรู​ดาน​ศิลปะ​​ดวย​ความ​รับผิดชอบ​ตอ​อาชีพ​ ตลอดจน​สังคม​สวนรวม นอกเหนือ​จาก​การ​อบรมสั่งสอน​และ​การ​เรียน​การ​สอน​ตาม​ หลักสูตร​แลว​​สาขาวิชา​ภาพพิมพ​ยัง​สนับสนุน​และ​กระตุน​ให​นักศึกษา​

ได​นำ​ผลงาน​การ​สรางสรรค​ออกไป​เผยแพร​ตอ​สาธารณชน​ดวย​ การนำ​ผลงาน​ไป​จัดแสดง​ใน​รูปแบบ​ของ​นิทรรศการ​เปนการ​ฝกฝน​ ประสบการณ​ทางการ​แสดงออก​สู​สังคม​​ซึ่ง​ถือ​เปนการ​บริการ​วิชา​แก​ ชุมชน​​และ​การ​ทำนุบำรุง​ศิลป​วัฒนธรรม​ของ​ชาติ การ​จัดทำ​โครงการ​แสดง​นิทรรศการ​ศิลปะ​ภาพพิมพ​รวมสมัย​​ “PRINTS AS PRINTS 2008”​ของ​อาจารย​และ​นักศึกษา​คณะ​ วิจิตรศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​หวัง​เปน​อยางยิ่ง​วาการ​ฝกฝน​ ประสบการณ​ทางการ​แสดงออก​สู​สาธารณชน​ใน​ครั้งนี้​​จัก​ได​ เปน​ประโยชน​ตอตัว​นักศึกษา​กอน​การ​กาว​ยาง​เขาสู​วงการศิลปะ​ ใน​อนาคต​​นอกจาก​การ​แสดง​นิทรรศการ​ศิลปะ​แลว​​สาขาวิชา​ ภาพพิมพ​​ยัง​ได​มี​การ​จัดทำ​กิจกรรม​ทางวิชาการ​ใน​การ​เรียนรู​และ​ การ​ฝก​ปฏิบัติ​จริง​เพื่อ​การ​เผยแพร​ความรู​​ความ​เขาใจ​ทาง​ดาน​ ศิลปะ​ภาพพิมพ​ใน​กระบวนการ​ตางๆ​​​เชน​ภาพพิมพ​แมพิมพ​พื้นฐาน​ ภาพพิมพ​แมพิมพ​ไม​และ​ภาพพิมพ​อื่นๆ​​​แก​นักเรียน​​นักศึกษา​​ และ​สถาบัน​การ​ศึกษา​ที่​สนใจใน​ชวง​การ​แสดง​นิทรรศการ​​การ​ แสดง​นิทรรศการ​และ​กิจกรรม​วิชาการ​ดังกลาว​จะ​เปน​เครื่อง​แสดง​ ให​ประจักษ​วา​สาขาวิชา​ภาพพิมพ​​คณะ​วิจิตรศิลป​​มหาวิทยาลัย​ เชียงใหม​​มี​ความ​มุงมั่น​ใน​การ​เผยแพร​​และ​ทำนุบำรุง​ศิลป​ วัฒนธรรม​ของ​ชาติ​สืบ​ตอไป

นิทรรศการประจำเดือนสิงหาคม​–​กันยายน​2551 จัดแสดง ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม ระ​เวลา

นิทรรศการ

พื้นที่

1

7​–​29​ส.ค.51

นิทรรศการ​กลุม​คิดถึง​บาน

ชั้น​​2​​​ดานหนา​และ​ดานหลัง

2

8​–​31​ส.ค.​51

นิทรรศการ​ศิลปะ​ภาพพิมพ​รวมสมัย​“Prints​as​Prints​2008”​

ชั้น​1​​ดานหลัง

3

9​–​10​ส.ค.​51

งาน​แสดงดนตรี​และ​การ​แสดง​ชุด​แมน้ำ​

โรงละคร

4

14​-​29​ส.ค.51

นิทรรศการ​ภาพถาย​“เงา​แหง​กรุง​เยรูซาเลม”​​

ชั้น​1​​ดานหนา

5

22​–​23​ส.ค.​51

งาน​นาฏย​เปง​ใจ​ครั้ง​ที่​2 นาฏย​กรรม​รวมสมัย​แหง​สอง​โลก​​

โรงละคร

6

24​ส.ค.​51

งาน​The​Duet​Student​Recital​2008

โรงละคร

7

31​ส.ค.​51

คอนเสิรต​​นักเรียนโรงเรียนปฤษฐาการดนตรี​(เมโลดี้​เฮาส์)

โรงละคร

8

1​-​25​ก.ย.​51

ศิลปะ​ของ​อาจารย​และ​นักศึกษา​สาขาวิชา​ศิลป​ศึกษา​ คณะศึกษาศาสตร์

ชั้น​1​ดานหนา

9

4​-​28​ก.ย.​51

วิทยานิพนธ​ระดับบ​ ัณฑิต​ศึกษา​

ชั้น​1​ดานหลัง​หอง​เล็ก​และ​ชั้น​2​​​ทั้งหมด

10

12​​ก.ย.​51

สัมมนา​ภาควิชา​ภาพพิมพ​และ​เลี้ยงสง​ผศ.สม​พร​รอด​บุญ

โรงละคร​และ​บริเวณ​สนามหญา

11

27-​28​ก.ย.​51

สัมมนาวิชาการ​นักศึกษา​ป.โท​​สาขาจิตรกรรม​​คณะวิจติ รศิลป์​มช.

ชั้น​1​ดานหนาและโรงละคร

12

1​–​31​ต.ค.51

รักษ​สิ่งแวดลอม​ความ​พอเพียง

ชั้น​1​ดานหลัง

Le Paradis des Fleurs ครั้งที่​7

คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม จะจัดงาน Le Paradis des Fleurs ครั้งที่ 7 ระหวางวันศุกรที่ 5 - วันอาทิตยที่ 7 กันยายน 2551 ณ ลานกิจกรรม ชั้น G ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม แอรพอรต การ​จัดงาน​ครั้งนี้​เปนการ​จัดแสดง​ประติมากรรม​ดอกไม​ขนาดใหญ​โดย​มี​ผูชวย​ศาสตราจารย​สุนัน​ทา​รัตนา​วะ​ดี​ เปน​ประธาน​การ​จัดงาน​ทั้งนี้​ภายใน​งาน​​​ทาน​จะ​ไดรับ​ชม​ผลงาน​ของ​นักศึกษา​ปจจุบัน​และ​ศิษยเกา​ที่​มี​ผลงาน​เปน​ที่ยอมรับ​ของ​สังคม​อาทิ​ผลงาน​การ​ออกแบบ​แฟชั่น​SOCIETEA​STORY​โดย​คุณ​สุก​ฤษฏิ์​แกว​ดำ​ผลงาน​การ​ออกแบบ​แฟชั่น​NOPPARAT​CHARAPOK​โดย​คุณ​นพรัตน​ชรา​พก​ซึ่ง​เปน​Fashion​Young​Designer​ของ​ELLE​​ตลอดจน​ การ​สาธิต​การ​จัด​ดอกไม​ประเภท​ตา งๆ​อาทิ​การ​ประดิษฐ​ตกุ ตา​จาก​ดอกบัว​การ​ประดิษฐ​ตกุ ตา​หงส​จาก​ดอกรัก​การ​สาธิต​และ​อบรม​การ​จดั ​ดอกไม​จาก​ศษิ ยเกา​วทิ ยากร​มอื อาชีพ​ คุณ​สนุ สิ า​ศรี​วงศ​จาก​ราน​Iris​และ​คุณ​ดนัย​วร​พิศาล​​การ​สาธิต​การ​แตงหนา​Floral​Make​up​Creation​จาก​ทีมงาน​ศิษยเกา​คณะ​วิจิตรศิลป​โดย​คุณ​สุทธิ​พันธ​เหรา​ประกวด​ชุด​ สวย​ดวย​ดอกไมสด​ผสม​วัสดุ​ประดิษฐ​และ​การ​แขงขัน​จัด​ดอกไม​ชิงรางวัล​มากมาย​


Article จุดประสงคข​ อง​งานศิลปะ ​จะ​ตอง​เปดเผย​คำ​ถาม ​ ซึ่ง​ได​ซอนเรน​คำ​ตอบ​ตางๆ​เ​อา​ไว ​ ​J​am ​ e​ s​ ​​B​a​ld​ ​wi​​n​​ ​ ​ฟสิกสค​ ือ​รูป​แบบ​หนึ่ง​ของ​ความ​เขา​ใจ​อยาง​แจม​แจง ​ ดัง​นั้นม​ ันจึง​เปน​รูป​แบบ​หนึ่ง​ของ​ศิลปะ ​ ​D​av​ ​i​d​​B​oh​ m ​​ ​

​I​L​L​U​S​I​O​N​​/​​R​E​A​L​I​T​Y​

มายาการ ​และ ​ความ​จริง มายาการ ​และ ​ความ​จริง

ศิลปะ​และ​ฟสิกส ​คู​ทแี่​ ปลกหนา​ตอ​กัน ​ศิลปะ​และ​ฟสิกส​คือ​คู​ที่​คอนขาง​จะ​แปลกหนา​ตอ​กัน ​ใน​สาขาวิชา​ ตางๆ​​มากมาย​ของ​มนุษย​นั้น ​สามารถ​จะ​แบง​เปน​เพียง​สอง​วิชา​นี้​ได​ไหม ​ที่​ ดูเหมือน​จะ​เบนออกจาก​กัน​อยู​ตลอด​เวลา ​กลาว​คือ​ศิลปน​ใช​จินตนา​ภาพ​ และ​วิธีการ​อุปมา​อุปมัย ​สวน​นัก​ฟสิกส​ใช​ตัวเลข​และ​สมการ ​ ​ศิลปะ​ตีวง​อยู​รอบๆ​​อาณาเขต​แหง​จินตนาการ​ของ​คุณภาพ​เชิง​ สุนทรีย ​เปนเรื่อง​ของ​อารมณ​ความรูสึก​ที่​ดึง​ออกมา ​สวน​ฟสิกส​ดำรง​อยู​ ใน​โลก​ของ​ความ​สัมพันธ​ตางๆ​​ทาง​คณิตศาสตร​ที่​โอบลอม​เปน​ละลอก​ ทามกลาง​คุณสมบัติ​ตางๆ​​ฟสิกส​เปน​วิทยาศาสตร​ที่​แนนอน ​มี​ความ​นา​ เชื่อถือ​​โดย​ทั่วไป​แลว ​ผู​ที่​ใหการ​สนับสนุน​แตละ​กลุม (​ศิลปะ​และ​ฟสิกส)​​ คอนขาง​มี​ทัศนคติ​ที่​ตายตัว​และ​มี​ความเห็น​ตรงขาม​กัน​คนละ​ขั้ว​เลย​ทีเดียว ​ ​ใน​มหาวิทยาลัย ​นักศึกษา​ศิลปะ​ซึ่ง​มีความรู​และ​ความคิด​กาวหนา ​ โดย​ปกติ ​พวกเขา​จะ​ไม​ผสมปนเป​กับ​คู​เหมือน​ของ​เขา​ใน​วิชา​ฟสิกส,​​ดวย​ การ​เทียบเคียง​กัน​โดย​บังเอิญ ​(​ศิลปะ​และ​ฟสิกส​ให​ความ​สน​ใจ​ใน​เรื่อง​แสง ​สี ​ รูปทรง ​และอื่นๆ​​คลาย​กัน)​​แต​อยางไร​ก็​ตาม​ความรู​ทั้งสอง​สาขา​นี้​ใน​เชิง​การ​ ศึกษา ​ดู​เหมือนวา​จะ​มี​บางสิ่ง​บางอยาง​รวม​กัน​นอยมาก​​มี​ไมมาก​นัก ​หาก​จะ​ มี​การ​อางอิง​บาง​ใน​เชิง​ศิลปะ​กับ​ตำรา​มาตรฐาน​บาง​เลม​ของ​วิชา​ฟสิกส ​สวน​ นัก​ประวัติ​ศาสตร​ศิลป​ทั้งหลาย​ก็​แทบ​จะ​ไมเคย​ตีความ​ผลงาน​ของ​ศิลปน​คน​ หนึ่ง​คน​ใด​ที่ทำงาน​เกี่ยวกับ​เรื่อง​แสง ​ใน​แนวทาง​ความคิด​ที่​อยู​ใน​กรอบ​โครง​ ของ​วิชา​ฟสิกส​เลย ​แมวา ​ทั้งๆ​​ที่​สิ่ง​ที่​ปรากฏออกมา​นั้น​จะ​ดู​เหมือนวา​มี​ความ​แตกตาง​กัน​ จน​ไม​อาจ​ปรองดอง​กัน​ได ​แต​ก็​ยังมี​ลักษณะ​เบื้องตน​บางอยาง​ที่​เกี่ยวโยง​กัน​ อยาง​เปน​รูปธรรม​ใน​สาขาวิชา​เหลานี้ ​ศิลปะ​ใน​เชิง​ปฏิวัติ ​(​R​ev​ ​ol​u​ t​​io​ n​ a​ r​ ​y​​ a​r​t​​)​​และ​ฟสิกสเ​กี่ยวกับ​ภาพ​ทาง​สายตา ​(​v​is​ ​io​ n​ a​ r​ ​y​​p​hy​ ​s​i​cs​ ​)​​ทั้งสอง​วิชา​นี้​ เปนเรื่อง​ของ​การ​สืบสวน​เขา​ไปหา​ธรรมชาติ​ของ​ความ​เปนจริง​ดวย​กัน​ทั้งคู ​ ​R​oy​ ​​Li​h​ t​​en​ s​ ​t​ei​​n,​​​ศิลปน ​P​op​ ​​ar​ ​t​​ของ​ทศวรรษ ​19​ 6​ 0​ ​​เคย​ประกาศ​ เอา​ไว​วา ​“​การ​รวม​เอา​ความ​รับรู ​คือ​สิ่ง​ที่​ศิลปะ​ไป​เกี่ยวของ​ทั้งหมด​​สวน ​​ S​ir​ ​​ls​ ​s​ac​ ​​N​ew​ ​t​o​n​​อาจ​จะ​พูด​ขึ้น​มา​ใน​ทำนอง​นี้​เชน​เดียว​กัน​เกี่ยวกับ​ฟสิกส ​ พวกเขา​ได​ถูก​นำ​เขาไป​เกี่ยวของ​กับ​การ​รับรู​ที่​เปน​องค​ระบบ​ดวย​เหมือน​กัน ​ ในขณะ​ที่​ระเบียบ​วิธี​ของ​ทั้งสอง​ศาสตร​นั้น​แตกตาง​กัน​อยาง​ถึง​ราก​ทีเดียว​ ศิลปน​และ​นัก​ฟสิกส​ตาง​ก็​มี​สวน​ใน​ความ​ปรารถนา​ที่​จะ​คนหา​หนทาง​ที่​เปน​ ชิ้นสวน​ซึ่ง​ประสาน​กัน​อยาง​แนบ​แนน​ของ​ความ​จริง ​อันนี้​คือ​พื้นฐาน​ที่​มี​ อยูรวม​กัน ​ซึ่ง​ทำ​ให​ศาสตร​ทั้งสอง​มา​บรรจบ​กัน P​a​ul​​​G​au​ g​ ​ui​n​ ​​เคย​พูด​เอา​ไว​ครั้งหนึ่ง​วา “​ ​ศิลปน​นั้น ​มี​อยูเ​พียง​ สอง​ประเภท​เทา​นั้น ​กลาว​คือ ​ประเภท​แรก​เปนพวก​ที่​ชอบ​ปฏิวัติ ​และ​ ประเภท​ที่สอง ​เปนพวก​ที่​ชอบ​คัดลอก​ผลงาน​ของ​คน​อื่น ม​ า​เปนของ​ ตน (​pl​​ag​ i​​ar​​is​ ​ts​ ​)​”​​ศิลปะ​ประเภท​ที่​จะ​นำมา​พูดคุย​ใน​บทความ​ชิ้น​นี้ ​จัด​ เปนพวก​ปฏิวัติ​ทั้งหลาย ​ทั้งนี้​เพราะ​มัน​เปน​ผลงาน​ของ​คน​ที่​นำ​เอา​ความ​ เปลี่ยน​แปลง​อยาง​สำคัญ​มาสู​โลก​ทรรศน​ของ​อารยธรรม​​และ​ใน​หนทาง​ที่​ ขนาน​กัน ​แมวา​พัฒนาการ​ของ​ฟสิกส ​บอยครั้ง​มัก​จะ​ขึ้น​อยู​กับ​การ​สนับสนุน​ ตางๆ​​มากมาย​ของ​ผู​ทำงาน​ที่​เปน​คน​ซึ่ง​มี​ความคิด​ริเริ่ม​และ​เปน​ผู​ที่​อุทิศ​ตน​ อยาง​มาก ​แต​ก็​มี​โอกาส​อัน​นอยนิด​เทา​นั้น​ของ​ประวัติ​ศาสตร​ที่​นัก​ฟสิกส​คน​ หนึ่ง ​จะ​มี​ความ​เขา​ใจ​ที่​อยู​เหนือ​โลก​แหง​เหตุผล ​(​t​r​an​ s​ ​ce​ n​ d​ ​en​ t​​​in​ s​ ​ig​ ​ht​​)​​ใน​ ฐานะ​ที่​เปน ​“​เพลิง​ขนาด​ใหญ​ของ​ความ​แจม​แจง”​(​co​ n​ f​​la​ g​ r​ ​at​​io​ n​ ​​of​​​cl​a​ r​ ​it​​y)​​ ซึ่ง​ได​ยอม​ให​ศิลปน​และ​นัก​ฟสิกส​บางคน​ได​เห็น​ใน​สิ่ง​ที่​ไมเคย​มี​ใคร​เห็น​มา​ กอน​หรือ​จินตนาการ​ไป​ถึง ​และ​เปน​พวกเขา​นั่น​แหละ ​–​​ศิลปน​นัก​ปฏิวัติ​และ​ นัก​ฟสิกส​ที่​เกี่ยวกับภ​ าพ​ทาง​สายตา ​–​​ผู​ซึ่ง​ไดรับ​การ​จับคู​กัน​ใน​หนา​ประวัติ​ ศาสตร ​นกั ​ฟส กิ ส ​ก​ค็ ลาย​กบั ​นกั ​วทิ ยาศาสตร​อน่ื ๆ​​คอื ​เริม่ ตน​ดว ย​การ​แบง​แยก ​ “​ธรรมชาติ”​​ออก​เปน​สวนๆ​​ที่​แตกตาง​ของ​ความ​เปนจริง​มา​วาง​เคียง​กัน​และ​ สังเคราะห​มัน​เขา​ดวย​กัน ​ดัง​นั้น​จึง​อยู​บน​กระบวนการ ​การ​ทำ​ให​สมบูรณ ​ (​C​om ​ ​p​le​ t​​i​on​ )​ ​,​​ผลงาน​ทั้งหมด ​นั้น​เปน​สิ่ง​ที่​ยิ่ง​ใหญ​กวา​ผลบวก​ของ​สวน​ตางๆ​​ เขา​ดวย​กัน ​มัน​คอนขาง​จะ​เปนการ​ตัด​กัน​ใน​เรื่อง​ของ​เทคนิค​ที่​นำมา​ใช​โดย​ ศาสตร​ทั้งสอง​นี้ ​นัก​เขียน​นวนิยาย ​V​la​ d​ ​im ​ ​ir​ ​​N​ab​ ​ok​ ​ov​ ​​​เขียน​เอา​ไว​วา ​“​มัน​ ไมมี​วิทยาศาสตร​ที่​ปราศจาก​จินตนาการ-​ความ​คิดฝน ​และ​มัน​ไมมี​ศิลปะ​ที่​ ปราศจาก​ความ​จริง”​​ ​

​จุด​เริ่มตน​ของ​วิทยาศาสตร​ตางๆ​ ​ภาย​ใต​ขอบเขต​เรื่องราว​ของ​วิทยาศาสตร ​สำหรับ​ใน​บทความ​นี้​จะ​ให​ ความ​สน​ใจ​เกี่ยวกับเ​รื่อง​ของ​ฟสิกส ​​ซึ่ง​ได​พัฒนา​มา​ใน​ชวง​ระหวาง​ไม​กี่​รอยๆ​​ ป ​แต​อยางไร​ก็ตาม ​ผูอาน​จะ​ตอง​ไมลืม​วา ​นัก​ฟสิกส​ใน​ปจจุบัน​ได​สวม​ใส​ เสื้อคลุม​ตัว​หนึ่งท​ ี่​ไดรับ​การ​สง​ทอด ​ลง​มาจาก​ยุคสมัย​ตางๆ​​บรรดา​นัก​ฟสิกส​ ก็​คือ​ตัว​แทน​ยุค​ใหม​ของ​ขนบ​ประเพณี​ที่​แตกตาง​และ​โดดเดน​อัน​หนึ่ง ​ซึ่ง​ ยอนกลับ​ไปสู​นัก​วิทยาศาสตร​คน​แรกๆ​​ที่​เปนพวก​นัก​เทววิทยา​คริสเตียน,​​นัก​ ปรัชญา​ธรรมชาติ,​​บรรดา​พระ​นอกรีต,​​และ​หมอผี​ใน​ยุคหิน​เกา,​​บุคคล​พิเศษ​ เหลานี้​ได​มีสวนชวย​สราง​หรือ​ใหการ​สนับสนุน​ตอ​การ​เติม​แตง​แผนภาพ​อัน​ ไมมี​ขอบเขต​จำกัด​ของ​ธรรมชาติ ​นัก​ฟสิกส​คน​แรก​นา​จะ​เปน​คน​หนึ่ง​ที่​คนพบ​ วา ​เขา​จะ​สราง​ไฟ​ขึ้น​มา​ได​อยางไร ​?​

​ขาพเจา​เลือก​ฟสิกส​ขึ้น​มา​โดยเฉพาะ​ก็เพราะวา ใ​ น​ ศตวรรษ​นี้​วิทยาศาสตร​เชิงวัตถุ​ทั้งหมด​ตาง​เรียน​รูวา ​พวก​มัน​ ทอดสมอ​หรือ​ยึดเหนี่ยว​อยู​กับ​หิน​กอน​นี้ ​สวน​วิชา​เคมี​ก็​เริ่มตน​ขึ้น​ มา​โดย​การ​พยายาม​ที่​จะ​พิสูจน​และ​จำ​แนก​ธาตุ​แท​ตางๆ​,​​และ​มัน​ ได​กลับกลาย​ไป​เปนการ​ถูก​ละลาย​สู​กฎ​ที่​เกี่ยวเนื่อง​กับ​เรื่อง​ของ​ อะตอม ​สวน​ดาราศาสตร​เริ่มตน​ขึ้น​ใน​ฐานะ​ที่​เปนความ​หลง​ใหล​ อัน​หนึ่ง​ใน​ความ​เคลื่อนไหว​ของ​สรวงสวรรค ​ (​ทองฟา)​​และ​กาวหนา​ไปสู​การ​สืบสวน​เขาไป​ใน​เรื่องราว​ของ​ การ​จดั ​ระบบ​สรุ ยิ ​จกั รวาล ​ทกุ วันนี​ใ้ น​การ​ศกึ ษา​เกีย่ วกับกา​แลก​ซ่​ี ตางๆ​​นัก​ดาราศาสตร​ฟสิกส​ได​มี​การ​พูด​ถึง​กฎ​ตางๆ​​ที่​ควบคุม​ พลัง​และ​วัตถุ ​จาก​การ​ถือกำเนิด​ขึ้น​ของ​มัน​ใน​ศาสตร​ของ​การ​ แบง​แยกประเภท​ของ​พวก​อริส​โต​เท​เลี่ยน ​สำหรับ​ชีววิทยา ​ได​ วิวัฒน​ไปสู​การ​ศึกษา​เกี่ยว​กับ​การ​ปฏิสัมพันธ​กัน​ทาง​ฟสิกสข​ อง​ อะตอม​ใน​ชีววิทยา​โมเลกุล,​​(​m​o​le​ c​ u​ l​a​ r​ ​b​io​ l​o​ g​ ​y​)​,​​วิชา​ฟสิกส ​ใน​ ระยะ​เริ่มตน​เปน​สาขา​หนึ่ง​ทามกลาง​สรรพ​ศาสตร​จำนวน​มาก ​แต​สำหรับ​ใน​ ศตวรรษ​นี้ ​มัน​ได​กลาย​มา​เปน​ศาสตร​ที่​ไดรับ​การ​ยกยอง​อยูบ​ น​บันลังค ​ใน​ ฐานะ​กษัตริย​แหง​วิทยาศาสตร ​(​k​in​ g​ ​​of​​​t​he​ ​​s​ci​e​ n​ c​ e​ s​ ​)​​ ​ ​ทัศนศิลป ​แรก​ทีเดียว​เกิดขึ้น​กอน​ภาษา​และ​คำ​อธิบาย ​ ​ใน​กรณี​ของ​ทัศนศิลป ​นอกเหนือ​จาก​ความ​จริง​อัน​กระจาง​แจง ​ ความ​จริง​ที่​เลียน​แบบ​และ​ความ​จริง​ใน​ทางการ​ตีความ​แลว ก​ ็​ยังมี​ศิลปน​ อยู​ไมมาก​นัก ​ที่​ได​สรางสรรค​ภาษา​หนึ่ง​ซึ่ง​เกี่ยวกับ​สัญลักษณ​สำหรับ​สิ่ง​ ตางๆ​​เทียบเคียง​กับ ​S​ig​ ​m​un​ d​ ​​Fr​ ​eu​ d​ ​​ใน ​C​iv​ ​il​i​z​ ​at​​io​ n​ ​​an​ d​ ​​it​​s​​D​is​ ​co​ n​ t​​e​nt​s​ (​อารยธรรม ​และ​ความ​ไม​พอ​ใจ)​​ได​เปรียบเทียบ​ความ​กาวหนา​ของ​ผูคน​ ทั้งหมด​ใน​อารยธรรม​หนึ่ง​กับ​การ​พัฒนา​ของ​ปจเจกชน​​ขาพเจา​เสนอ​วา ​ นวัตกรรม​ใหม​อยาง​ถึง​ราก​ของ​ศิลปะ​ปรากฏ​เปน​รูปราง​ใน​ขั้นตอน​กอน​ที่​จะ​ เปน​คำพูด​เกี่ยวกับ​แนวความคิด​ใหม ​ซึ่ง​ใน​ทาย​ที่สุด​แลว ​จะ​เปลี่ยน​แปลง​ ไปสู​หนทาง​ใหมๆ​​ที่​จะ​คิด​เกี่ยวกับ​ความ​จริง​วา ​เริ่มตน​ขึ้น​ดวย​การ​ดูดซับ​จาก​ ภาพ​ตางๆ​​ที่​ไมคุนเคย,​​การ​ตรวจทาน​อันนี้​นำไปสู​ความคิดท​ ี่​เปน​นามธรรม​ ตางๆ​​ซึ่ง​ตอมา​ภายหลัง​จึง​ใหกำเนิด​ใน​เรื่อง​ของ”​ภาษา”​และ”​คำ​อธิบาย”​

​อันนี้​มาก​เทาๆ​​กัน​กับ​พวก​ผู​ใหญ ​พวกเรา​มัก​จะ​ไม​ใคร​ทราบ​วา ​เมื่อ​ เรา​เขาไป​ผูกมัด​กับ​ความคิด​ที่​เปน​นามธรรม ​เรา​มิได​คิด​ใน​หนทาง​ของ​ความ​ เปน​ภาพ​แต​อยาง​ใด ​แนวความคิด​ตางๆ​​อยาง​เชน ​“​ความ​ยุติธรรม”,​​ “​เสรีภาพ”​,​​หรือ ​“​เศรษฐศาสตร”​​อาจ​ถูก​นำมา​คิด​อยาง​ถี่ถวน​ใน​ใจ​โดย​ ปราศจาก​การ​พึ่งพา​อาศัย​ภาพ​ใน​ใจ​ใดๆ​​(​m​e​nt​​al​​​p​ic​ t​​ur​ ​e)​ ​​ขณะ​ที่​มัน​ไมเคย​ มี​การ​ลงมติ​กัน​อยาง​ถึง​ที่สุด​ระหวาง​คำพูด​และ​ภาพ ​เรา​เปน​สิ่ง​ที่​มี​ชีวิต​ เผาพันธุ​หนึ่ง​ที่​ตอง​ขึ้น​อยู​กับ​ความ​เปน​นามธรรม​ของ​ภาษา ​และ​สวน​ใหญ​ แลว​ใน​ทาย​ที่สุด ​คำพูด​ก็​จะ​เขามา​แทน​ที่​ภาพ​ตางๆ​​ ​ ​เมื่อ​เรา​ครุนคิด ​ไตรตรอง ​หวน​รำลึก ​รำพึงรำพัน ​และ​จินตนาการ ​โดย​ ทั่วไป​แลว​เรา​กลับคืน​สู​วิธีการ​ที่​เปนเรื่อง​ภาพ ​(​ซึ่ง​มองเห็น​ได​ใน​ใจ)​​แต​เพื่อ​ที่​ จะ​ดำเนินการ​ให​บรรลุ​ผลสำเร็จ​ใน​หนา​ที่​อัน​สูงสุด​ของ​สมอง ​ความคิด​ที่​เปน​ นามธรรม ​เรา​ได​ละทิ้ง​ประโยชน​ของ​ภาพลักษณ​ตางๆ​​ไป ​และ​สามารถ​ที่​จะ​ ดำเนินการ​โดย​ปราศจาก​การ​พึ่งพา​อาศัย​พวก​มัน​อีก ​ดวย​ความ​ถูกตอง ​เรา​ เรียก​แบบฉบับ​นี้​ทาง​ความคิด​วาความ​เปน ​“​นามธรรม”​​(​ab​ ​s​t​r​ac​ t​​)​​อันนี้​ เปนความ​มี​อำนาจ​และ​การ​กดขี่​หรือ​ความ​เปน​เผด็จการ​ของ​ภาษา ​เพื่อ​ที่​ จะ​ติด​ปายชื่อ​อัน​หนึ่ง​กับ​บางสิ่ง​บางอยาง ​และ​นี่​คือ​การ​เริ่มตน​เกี่ยวกับ​การ​ ควบคุม​เหนือ​สิ่ง​นั้น ​ ​ ​พระผูเปนเจา​ทรง​สอน​อดัม​เพียง​อยางเดียว ค​ ือ ​ การ​ตั้งชื่อ ​หลังจาก​ที่​พระผูเปนเจา​ได​สรางสรรค​อดัม​ขึ้น​มา​ แลว ​ภาระ​หนา​ที่​ประการ​แรก​สุด​ของ​พระองค​ก็​คือ ​จะ​ ตอง​สั่งสอน​อดัม​ให​ทำการ​เรียกชื่อ​บรรดา​สัตว​ทั้งหมด ​ พระผูเปนเจา​ทรง​สอน​อดัม​จน​เขา​ได​บรรลุ​ถึง​ความ​ ชำนาญ​และ​ความ​คลอง​แคลว​อันนี้ ​และ​อดัม​ก็​บรรลุ​ถึง​ อำนาจ​การ​ครอบงำ​เหนือ​สัตวปา​ทั้งปวง ​รวม​ทั้ง​สัตวปก​ ทั้งหมด​​ขอ​ให​หมายเหตุ​ลง​ไป​ดวยวา ​พระผูเปนเจา​มิได​ สั่งสอน​อะไร​แก​อดัม​เลย​ที่​เหมาะสม​และ​เปน​ประโยชน ​ ดังเชน​เรื่อง​จะ​สราง​ไฟ​ขึ้น​มา​ได​อยางไร ​หรือ​วิธีการ​ ประดิษฐ​คิด​สราง​หอก ​หรือ​หลาว​ขึ้น​มา​สัก​อัน​หนึ่ง?​​ พระองค​ทรง​สอน​เขา​ให​เอยชื่อ​แทน,​​คำพูด​ตางๆ​​ยิ่งกวา​ ความ​เขม​แข็ง​หรือ​ความเร็ว ​คำพูด​ได​กลาย​เปน​อาวุธ​ ตางๆ​​ที่​มนุษย​ได​นำมา​ใช​เพื่อ​ทำ​ให​ธรรมชาติ​เชื่อง​ลง ​และ​ถูก​กด​ขม ​ ​ใคร​คือผ​ ู​สรางสรรค​จินตนาการ​ที่มา​กอน​ภาษา ห​ รือ​คำ​อธิบาย ​เปน​เพราะวาก​ ระบวนการ​กัดเซาะ​เกี่ยวกับภ​ าพ​ตางๆ​​โดย​คำพูด​ นั้น ​เกิดขึ้น​มา​นับ​ตั้ง​แต​ยุค​ตนๆ​​เลย​ทีเดียว ​พวกเรา​ลืม​ไป​วา​เพื่อ​ที่​จะ​เรียนรู​ บางสิ่ง​ใหมๆ​​อยาง​ถึง​ราก ​อันดับ​แรก​เรา​ตองการ​ที่​จะ​จินตนาการ​ถึง​มัน.​​คำ​ วา ​“​จินตนาการ”​​อัน​ที่จริง​หมาย​ถึง ​“​การ​สรางภาพ”​​(​m​a​k​e​​an​ ​​im ​ ​ag​ ​e)​ ​​ พยาน​หลักฐาน​ของ​การ​แสดงออก​ตางๆ​​ที่​พวกเรา​ใช ​ถูก​ใช​เมื่อ​ตอง​ตอ​สูกับ​ ไอเดีย​หรือ​ความคิด​ใหม​อัน​หนึ่ง ​เชน ​“​ขาพเจา​ไม​สามารถ​สรางภาพ​มัน​ขึ้น​มา​ ได”​,​​“​ขอ​ให​ขาพเจา​สราง​ตุกตา ​(​แบบจำลอง)​​ใน​ใจ​ขึ้น​มา​อัน​หนึ่ง,​​และ ​ “​ขาพเจา​พยายาม​ที่​จะ​หลับตา​นึก​ถึง​มัน”​​ถา,​​ดั่ง​ที่​ขาพเจา​นำเสนอ,​​ภาระ​ หนา​ที่​อันนี้​เกี่ยวกับ​การ​จินตนาการ,​​คอน​จะ​เปนการ​ชี้ขาด​ตอ​พัฒนาการ​ ของ​เด็กทารก​คน​หนึ่ง ​และ​ยัง​ปรากฏ​อยู​ใน​อารยธรรม​สวน​ใหญ​ดวย ​ถัดจาก​ นั้น​ใคร​กัน​เลา​ที่​สรางสรรค​จินตภาพ​ใหมๆ​​ที่มา​กอน​ไอเดีย​หรือ​ความคิด​ นามธรรม​และ​ภาษา​ที่​ใช​ใน​การ​อธิบาย ​?​​เขา​ผู​นั้น​ก็​คือ ​“​ศิลปน”​​นั่นเอง ​ ​ใน​ลำดับ​ถัดไป ​ขาพเจา​จะ​แสดง​ให​เห็น​ถึงวา​ทำ​อยางไร ​ศิลปะ​ที่​มี​ ลักษณะ​ของ​การ​ปฏิวัติ ​(​r​ev​ ​ol​u​ t​​io​ n​ a​ r​ ​y​​ar​ ​t​)​​สามารถ​ที่​จะ​เขา​ใจ​ได​ใน​ฐานะ​ที่​ เปน​ขั้นตอน​กอน​ที่​จะ​มี​คำพูด ​(​p​r​ev​ ​er​ ​b​al​​​s​t​ag​ ​e)​ ​​ของ​อารยธรรม​หนึ่ง ​ซึ่ง​ใน​ ตอน​แรก​ตอง​แขง​ขันตอ​สูกับ​ความ​เปลี่ยน​แปลง​ครั้ง​ใหญ​ใน​การ​รับรู​เกี่ยวกับ​ โลก ​เพื่อ​ที่​จะ​เพิ่มเติม​ใน​รายละเอียด​เกี่ยวกับบ​ ทสรุป​นี้,​​ขาพเจา​จะ​ตรวจสอบ​ งานศิลปะ ​ไม​เพียง​ใน​แง​ของ​สุนทรี​ภาพ​เทา​นั้น ​ที่​สามารถ​สราง​ความ​พึง​ พอ​ใจ​ให​กับ​สายตา​ของ​เรา ​แต​จะ​ตรวจคน​ใน​แง​ที่​มัน​เปนระบบ​หนึ่ง​ซึ่ง​คอย​ ตักเตือน​เรา​มา​แต​เนิ่นๆ​​เกี่ยวกับ​ความคิด​ที่​รวบรวม​กัน​ขึ้น​มา​ของ​สังคม​หนึ่ง ​

พระผูเปนเจา​ทรง​สอน​อดัมเ​พียง​ อยางเดียว ​คือ ​การ​ตั้งชื่อ, ​คำพูด​ได​กลาย​เปน​อาวุธต​ างๆ​​ ที่​มนุษยไ​ด​นำมา​ใช​เพื่อ​ทำ​ให​ ธรรมชาติ​เชื่อง​ลง และ​ถูก​กด​ขม ​ยกตัวอยาง​เชน ​ลอง​สังเกต​เด็กทารก​บางคน​ที่​เอาชนะ​สภาพ​แวดลอม​ ตางๆ​​ของ​พวกเขา​ยาวนาน​กอน​ที่​จะ​มี​คำพูด​เกิดขึ้น​มา ​เด็กเล็กๆ​​ได​พัฒนา​ ความ​สัมพันธ​ระหวาง​ภาพลักษณ​ของ​ขวดนม​ใบ​หนึ่ง​กับ​ความรูสึก​พึง​พอ​ ใจ ​อยาง​คอย​เปน​คอย​ไป ​เด็กเล็กๆ​​ได​สะสม​ภาพลักษณ​ของ​ขวดนม​ตางๆ​​ อยาง​หลากหลาย ​อันนี้​เปนความ​สามารถ​ที่​นางงงวย​เกี่ยวกับ​วา ​ขวดนม​ใบ​ หนึ่ง​เมื่อ​มอง​จาก​มุมมอง​ที่​ตาง​กัน ​มัน​จะ​เปลี่ยน​แปลง​รูปราง​ไป​อยาง​นาทึ่ง​ ทีเดียว ​จาก​รูป​ทรงกระบอก ​สู​รูปไข ​และ​สู​รูป​ทรงกลม​​ใน​การ​สังเคราะห​ ภาพ​ตางๆ​​เหลานี้ ​ความ​สามารถ​ทั้งหลาย​เชิง​มโนคติ (​co​ n​ c​ e​ p​ ​t​)​​ที่​เกิดขึ้น​ ของ​เด็ก​ได​ประดิษฐ​ภาพ​นามธรรม​ขึ้น​มา​ภาพ​หนึ่ง ​ซึ่ง​โอบลอม​ความคิด​หรือ​ ไอเดีย​เกี่ยวกับ​กลุม​กอน​ทั้งหมด​ของ​วัตถุ​ตางๆ​​เอา​ไว ​ที่​เขา​หรือ​เธอ​จะ​จดจำ​ มัน​ได​ตอไปภาย​ภาคหนา​วา​เปน​ขวดนม ​ขั้นตอน​อันนี้​ใน​ความ​เปน​นามธรรม ​ ได​ยอม​ให​เด็กทารก​เขา​ใจความ​นึกคิด​เกี่ยวกับ​ความ​เปน​ขวดนม ​ซึ่ง​ยังคง​ ไมมี​ภาษา,​​แต​เด็กทารก​สามารถ​มี​ความ​ปรารถนา​ใน​เชิง​สัญลักษณ​อยาง​มี​ เจตจำนง​ได ​ ​คำพูด​เขามา​แทน​ที่​ภาพ ​ตอจาก​นั้น ​สวน​ของ​สมอง​ที่​เรียกวา ​B​r​oc​ a​ ’​s​ ​​ar​ ​ea​ ​​ได​มี​การ​เชื่อม​ ตอ​กัน​ระหวาง​แกน​ประสาท​ตางๆ​​ซึ่ง​ได​บรรลุ​ถึง​การ​วิเคราะห​ทาง​ดาน​ ตัวเลข ​มัน​ได​เปด​สวิทช​อยาง​รวดเร็ว​ให​สวางขึ้น​โดย​ทัน​ใด​ดวย​พลัง​อัน​วิเศษ​ ของ​ภาษา ​โรงงาน​ผลิต​คำ​อันนี้ ​มัน​ดังชึก​ชัก​ตลอด ​(​คลาย​เสียง​เครื่องจักร)​​ ใหกำเนิด​เสียง​ตางๆ​​ซึ่ง​จะ​แทน​ที่​และ​เขามา​บดบัง​ภาพ​ทั้งหลาย​ใน​ชวงตนๆ​​ ใน​ทันที​ที่​เด็กๆ​​เริ่ม​เชื่อมโยง ​“​ภาพลักษณ​ของ​ขวดนม”​​กับ​คำ​วา ​“​ขวดนม”​​ คำๆ​​นั้น​ก็​จะ​เริ่ม​บดบัง​หรือ​ปกคลุม​ภาพ​นั้น ​

Arts august 2008

3


Article ​ศิลปะ​ที่​ปรากฏ​ตอ​สายตา ​(​v​is​ ​io​ n​ a​ r​ ​y​​ar​ ​t​)​​หรือ​ทัศนศิลป ​มัน​ ปลุกเรา​สมาชิก​คน​อื่นๆ​​ให​ตื่นตัว​อยู​เสมอ​วา ​การ​เปลี่ยน​แปลง​ทาง​แนวคิด​ นั้น ​เปนเรื่อง​ที่​เกี่ยวกับส​ ิ่ง​ที่​เกิดขึ้น​ใน​ระบบ​ความคิด​ที่​ใช​ใน​การ​รับรู​โลก.​​ J​oh​ n​ ​​R​u​s​s​el​l​ ​ ​นัก​วิจารณ​ศิลปะ​คน​หนึ่ง​ใหความเห็น​วา ​“​มัน​มี​พลัง​ของ​ การ​รูเห็น​และ​เขา​ใจ​อัน​พิเศษ ​(​cl​a​ i​r​ ​v​oy​ ​an​ c​ e​ ​​ตาทิพย)​​อยู​ใน​งานศิลปะ ​ ซึ่ง​พลังอำนาจ​อัน​นั้น​เรา​ยัง​ไม​คนพบ​ชื่อ,​​และ​ยังคง​ให​คำ​อธิบาย​มัน​ได​ นอยมาก”​​ ​ ​ศิลปน​ล้ำหนา​มา​กอน​นัก​ฟสิกส ​ทั้งๆ​​ที่​แตละ​สาขาวิชา​จะ​มี​ภาระ​ความ​รับผิดชอบ​คลายๆ​​กัน ​แต​ใน​ การ​มองเห็น​ของ​ศิลปน​นั้น ​มี​ลักษณะ​เหมือนกับ​จะ​เห็น​เหตุการณ​ลวงหนา​ พิเศษ ​ซึ่ง​นำหนา​มา​กอน​สมการ​ตางๆ​​ของ​นัก​ฟสิกส ​ศิลปน​นั้น​ได​หลอม​ รวม​อยาง​ลึกลับ​เขา​ไปสู​ผลงาน​ตางๆ​​ของ​พวกเขา ​อันเปน​รูปลักษณ​ตางๆ​​ ของ​การ​อธิบาย​ใน​เชิง​ฟสิกส​ที่​เกี่ยวกับ​โลก ​ซึ่ง​วิทยาศาสตร​ได​คนพบ​ตอมา​ ภายหลัง ศิลปน ​ดวย​ความ​รับรู​แตเพียง​เล็กนอย ​หรือ​ไมเคย​รู​เลย​เกี่ยวกับ​สิ่ง​ที่​ กำลัง​ดำเนิน​ไป​ใน​สาขา​ฟสิกส ​เขา​ได​จัดการ​ให​ภาพลักษณ​และ​อุปมา​อุปมัย​ ตางๆ​​ที่​เพอฝนใ​ ห​ปรากฏตัว​ขึ้น​มา ​ซึ่ง​มัน​เหมาะเจาะ​อยาง​นา​ตะลึง ​เมื่อ​มัน​ เขาไป​เพิ่มเติม​แก​โครงราง​ความคิด​ใน​การ​ปรับปรุง​แกไข​ตอมา​ของ​บรรดา​ นัก​ฟสิกส​ทั้งหลาย ​เกี่ยวกับ​ไอเดีย​ความคิด​ตางๆ​​ของ​เรา​ใน​เรื่อง​ของ​ความ​ เปนจริง​ทาง​ดาน​ฟสิกส ​ซ้ำ​อีกครั้ง​ที่วา​ตลอด​ประวัติ​ศาสตร ​ศิลปน​เปน​ผู​ ที่​นำเสนอ​สัญลักษณ​ตางๆ​​และ​ภาพวาด ​ซึ่ง​ใน​การหวน​รำลึก​ได​พิสูจน​ถึง​ ความ​เปน​กองหนา​อัน​หนึ่ง ​(​an​ ​​av​ ​an​ t​​-​g​ar​ ​d​e)​ ​​สำหรับ​แบบ​แผน​โดย​ตลอด​ ของ​ยุค​วิทยาศาสตร​ที่​ยังคง​ไม​เกิดขึ้น ​นัก​ประวัติ​ศาสตร​ศิลป​จำนวน​เล็กนอย​ ได​สนทนา​กัน​ถึง​ภาระ​หนา​ที่​อันเปน​ปริศนา​อันนี้​ของ​ศิลปะ​ใน​เชิง​ลึก.​​R​ob​ ​er​ ​t​ H​u​g​he​ s​ ​​​นัก​วิจารณ​ศิลปะ​อีก​คน​หนึ่ง ​ได​อธิบาย​วา ​ทำไม​มัน​ถึง​ถูก​มองขาม​ กัน​อยู​บอยๆ​​ดังนี้…​ ​

​“​สาระสำคัญ​ของ​การ​สรรคสราง​ที่​ล้ำหนา ​(​av​ ​an​ t​​-​g​ar​​d​e​​m​y​t​h)​​​ก็​ คือ ​ศิลปน​นั้น​เปรียบ​เสมือน​ทหาร​กองหนา​คน​หนึ่ง ​ผล​งานศิลปะ​ที่​มี​ความ​ สำคัญ​อยาง​แทจริง ​คือ​สิ่ง​หนึ่ง​ที่​เตรียมการ​ถึง​อนาคต ​จุด​ศูนยรวม​ของ​ขนบ​ ธรรมเนียม​ประเพณี​ทาง​ดาน​วัฒนธรรม.​​ใน​อีก​ดาน​หนึ่ง ​มี​แนวโนม​ที่​จะ​ พิจารณา​ศิลปน​ปจจุบัน ​(​ศิลปน​ที่​มี​ชีวิต​อยู)​​ใน​ฐานะ​การ​บรรลุ​ถึง​จุด​สุดยอด​ ของ​อดีต​ดวย”​ ​บอย​มาก​เชน​กัน ​เมื่อ​เวลา​ที่​ได​อาน​เรื่องราว​เกี่ยวกับ​ผลงาน​ของ​ ศิลปน​ที่​พิเศษ​บางคน ​พวกเรา​มัก​จะ​ไดรับ​การ​บอกเลา​เกี่ยวกับ​สไตล​ตางๆ​​ ของ​อดีต​ที่ผานมา ​ที่​ให​อิทธิพล​กับ​ผลงาน​ของ​พวกเขา,​​เชื้อสาย​วงศวาน​ ของ​พวกเขา ​มี​รองรอย​ยอนกลับ​ไปสู​บรรดา​ศิลปน​ที่​มี​มา​กอน​ทั้งหลาย,​​และ​ ผลงาน​ของ​พวกเขา ​แทบ​จะ​ไม​ไดรับ​การ​อธิบาย​ใน​แนว​ที่​เกี่ยวกับ​การ​ที่​เขา​ เหลา​นั้น​ได​คาดการณ​ลวงหนา​ถึง​อนาคต​เลย ​ชิ้นสวน​ขนาด​ใหญ​อัน​หนึ่ง​ของ​สังคม​ปจจุบัน ​ไม​อาจ​ที่​จะ​เขา​ใจ​ วิสัยทัศน​ของ​ศิลปะ ​(​ar​ ​t​’s​ ​​v​is​ ​io​ n​ )​ ​​และ​ไมได​ใหการ​พิจารณา​ถึง​ความ​สำคัญ​ ของ​ศิลปะ​แต​ประการ​ใด.​​M​ar​ ​s​ha​ l​l​​​M​cl​u​ h​ a​ n​ ,​​​ใน​ผลงาน​ที่​ทรงอิทธิพล​ของ​ เขา​เรื่อง ​“​U​nd​ ​er​ ​s​t​an​ d​ ​in​ g​ ​​M​ed​ ​ia​ ”​ ​​ได​ตั้งคำถาม​วา:​ ​“​ถา​มนุษย​สามารถ​จะ​ถูก​ทำ​ให​เชื่อมั่น​ได​วา ​ศิลปะ​คือ​ความรู​ที่​ ล้ำหนา​อยาง​ถูกตอง​เกี่ยวกับก​ าร​จัดการ​สิ่ง​ที่​จะ​ตาม​มา​ใน​เชิง​สังคม ​และ​ จิตวิทยา​ของ​เทคโนโลยี​ใน​โอกาส​ตอไป,​​พวกเขา​จะ​กลาย​เปน​ศิลปน​ได​ไหม?​​ หรือ​พวกเขา​จะ​เริ่มตน​แปรรูป​แบบ​ใหมๆ​​ของ​ศิลปะ​อยาง​ระมัดระวัง ​ไปสู​ แผนภูมิ​นำรอง​ของ​สังคม​ได​ไหม?​​ขาพเจา​กระหาย​ที่​จะ​รู​ถึง​สิ่ง​ที่​จะ​เกิดขึ้น ​ ถา​หากวา​ศิลปะ​ไดรับ​การ​มองเห็น​อยาง​ฉับพลัน​วา​มัน​คือ​อะไร ​กลาว​คือ ​ มัน​เปน​ขาวสาร​ที่​แนนอน​เกี่ยวกับ​วา​จะ​ปรับปรุง​จิตวิญญาณ​ของ​คนๆ​​หนึ่ง​ อยางไร ​เพื่อ​ที่​จะ​คาดการณ​ลวงหนา​ถึง​เหตุการณรุน​แรง​ครั้ง​ตอ​ไปจาก​ความ​ สามารถ​ตางๆ​ท​ ี่​ขยาย​กวาง​ออกไป​ของ​ตัวเรา.​.​.​”​ ​ศิลปะ​ที่​มี​ลักษณะ​ปฏิวัติ ​(​r​ev​ ​ol​u​ t​​i​on​ a​ r​ ​y​​ar​ ​t​)​​ใน​ทุก​ยุค​ทุก​สมัย​ไดรับ​ ใช​ภารกิจ​นี้​เกี่ยวกับ​การ​เตรียมการ​ถึง​อนาคต ​ทั้ง​ศิลปะ​และ​ฟสิกส​ตางๆ​​ก็​ มี​รูป​แบบ​พิเศษ​เฉพาะ​เกี่ยวกับ​ภาษา​แตละ​อยาง ​และ​ตาง​ก็​มี​ศัพทเฉพาะ​ พิเศษ​เกี่ยวกับ​สัญลักษณ​ทั้งหลาย ​ซึ่ง​ได​ถูก​นำมา​ใช​ใน​การ​สราง​ประโยค​ ที่​แตกตาง​กัน ​บริบท​ทั้งมวล ​ที่​มี​ลักษณะ​เฉพาะ​และ​แตกตาง​ไป​มาก​ของ​ ทั้งสอง​วิชา​นี้ ​ทำ​ใหการ​เชื่อม​ตอ​ของ​มัน​กับ​ภาษา​ใน​ชีวิต​ประจำวัน​คอนขาง​ สับสน​เทาๆ​​กัน ​แต​อยางไร​ก็ตาม ​นา​เอา​ใจ​ใส​ที่วา ​บอย​มาก​แคไหน​ที่​ศัพท​ ตางๆ​​ของ​วิชา​หนึ่ง ​สามารถ​จะ​ถูก​นำมา​ใชได​กับ​แนวความคิด​ตางๆ​​ของ​อีก​ วิชา​หนึ่ง ​ ​ ​ศัพท​แสง​ที่​ใช​รวม​กัน​ใน​วิชา​ฟสิกส ​และ​ศิลปะ ​ศัพท​คำ​วา ​“​​V​ol​u​ m ​ ​e​”​​(​ปริมาตร)​​“​s​p​ac​ e​ ”​ ​​(​ระวาง​เนื้อ​ที่วาง-​พื้น​ ที่-​อวกาศ)​​“​m​as​ ​s​”​​(​มวล)​​“​f​or​ ​ce​ ”​ ​​(​กำลัง)​​“​li​g​ ​ht​​”​​(​แสง)​​“​co​ l​o​ r​ ​”​​(​สี)​​“​t​en​ ​ s​i​on​ ”​ ​​(​แรงดึง)​​“​r​el​a​ t​​io​ n​ s​ ​hi​p​ ​”​​(​ความ​สัมพันธ)​​และ ​“​d​en​ s​ ​it​​y​”​​(​ความ​หนา​ แนน​มี​ปริมาตร)​​คือ​คำ​อธิบาย​ตางๆ​​เหลานี้ ​ยัง​ปรากฏ​อยู​บน​กระดานดำ​ของ​ การ​บรรยาย​ใน​ชั้นเรียน​แก​นักศึกษา​ใหม​สาขาวิชา​ฟสิกส.​​คำ​ที่มา​สนับสนุน​ ความ​พยายาม​อัน​หลายหลาก​ของ​ทั้งสอง​วิชา​นี้ ​ซึ่ง​ได​ชวย​เพิ่มเติม​อารมณ​ เกี่ยวกับ​ความ​งดงาม​นี้ ​ได​แก ​ศัพท​คำ​วา ​“​s​y​m​m​et​​r​y​”​​(​ความ​สมมาตร)​​ “​b​ea​ u​ t​​y​”​​(​ความ​งาม)​​และ ​“​ae​ s​ ​t​he​ t​​ic​ s​ ​”​​(​สุนทรียศาสตร)​​ ​เครื่องหมาย​หรือ​สัญลักษณ​ที่​เทาเทียม​กัน​ใน​รูป​ที่​เกี่ยวกับ​สูตร​ตางๆ​​ ของ​นัก​ฟสิกส ​เปน​อุปมา​อุปมัย​พื้นฐาน​อัน​หนึ่ง​ที่​ถูก​นำมา​ใช​โดย​บรรดา​ ศิลปน​เปน​จำนวน​มาก ​ในขณะ​ที่​พวก​นัก​ฟสิกส​แสดง​ให​เห็นวา ​A​​เทากับ ​B​​ หรือ ​X​​หรือ​เปน​อยางเดียว​กับ ​Y​,​​บรรดา​ศิลปน​ก็​มัก​จะ​เลือก​เอา​เครื่องหมาย,​​ สัญลักษณ​ตางๆ​,​​และ​การ​เปรียบเทียบ​ถึง​ความ​เทา​กัน​ของ​ภาพ​งาน​ จิตรกรรม​ชิ้น​หนึ่ง​กับ​ลักษณะ​หนึ่ง​ของ​ประสบการณ.​​เทคนิค​ของ​ทั้งสอง​วิชา​ นี้ ​ได​เผย​ให​เห็นถ​ ึง​ความ​สัมพันธ​ที่​ซอนเรน​ที่​มี​อยู​กอน​แลว​อัน​นั้น ​N​i​el​s​ ​​B​oh​ r​ ​​ผูกอตั้ง​ใน​วิชา​ควอนตัม​ฟสิกส,​​ไดรับ​ความ​ประหลาด​ใจ​ มาก ​โดย​ความ​สัมพันธ​กัน​ระหวาง​ฟสิกส​กับ​ภาษา ​และ​ได​ให​ขอ​สังเกต​วา…​ ​ ​“​หนึ่ง​ใน​ขอ​สมมุติฐาน​พื้นฐาน​ของ​วิทยาศาสตร​ที่วา ​เรา​พูด​ถึง​เรื่อง​ เกี่ยวกับ​การ​วัด​คา​ตางๆ​​ใน​ภาษา​หนึ่ง ​ที่​โดย​พื้นฐาน​แลว​เปน​โครงสราง​ อยางเดียว​กัน​กับ​สิ่ง​ที่​เรา​พูด​ถึง​ประสบการณ​ใน​ชีวิต​ประจำวัน ​พวกเรา​ ได​เรียน​รูวา ​ภาษา​อันนี้​ยัง​ไม​เหมาะสม​หรือ​สมบูรณ​มากพอ​ที่​จะ​ใช​ใน​การ​ สื่อสาร​และ​สราง​ความ​เขา​ใจ ​แต​อยางไร​ก็ตาม ​มัน​เปนการ​สมมุติ​ของ​ วิทยาศาสตร​ทั้งปวง.​.​.​​สำหรับ​เรา ​ถา​ตองการ​ที่​จะ​พูด​ถึง​บางสิ่ง​บางอยาง​ ที่​เกี่ยวกับธ​ รรมชาติ​ทั้งหมด ​และ​อะไร​ที่​วิทยาศาสตร​พยายาม​ที่​จะ​ทำ ​ดวย​ เหตุผล​บางประการ ​เราจัก​ตอง​ผาน​จาก​สิ่ง​ที่​เปน​คณิตศาสตร​สู​ภาษา​ใน​ชีวิต​ ประจำวัน.​”​ ​V​in​ c​ e​ n​ t​​​v​an​ ​​G​og​ ​h​​ได​พูด​ถึง​ความ​เกี่ยวพันใ​ น​ทำนอง​เดียว​กัน​นี้ ​เมื่อ​ อยู​ใน​อารมณ​ทผี่​ ิดหวัง ​เขา​ได​เขียน​ถึง​นองชาย​ของ​เขา ​Th​ e​ o​ ​​เกี่ยวกับ​สิ่ง​ที่​ เขา​ไม​สามารถ​ที่​จะ​พูด​มัน​ออกมา​ได​อยาง​ชัดเจน​ถึง​ความรูสึก​ดวย​ภาษาพูด ​

4

Arts august 2008 2008

“​แนนอน,​​เรา​สามารถ​จะ​พูด​ได​ก็​เพียง​แต​โดย​ผาน​งาน​จิตรกรรม​ตางๆ​​ของ​ ของ​เรา​เทา​นั้น”​ ​ศิลปะ​ที่​มี​ลักษณะ​ของ​การ​ปฏิวัติ ​(​r​ev​ ​ol​u​ t​​io​ n​ a​ r​ ​y​​ar​ ​t​)​​และ​ฟสิกส​ เกี่ยวกับ​ภาพ​ทาง​สายตา ​(​v​is​ ​io​ ​na​ ​r​y​​p​hy​ ​s​ic​ s​ ​)​​พยายาม​ที่​จะ​พูด​ถึง​สสาร​ ตางๆ​​ที่​ยัง​ไม​อาจ​มี​คำพูด​ได ​นั่น​คือ​เหตุผล​ที่วา​ทำไม ​ภาษา​เหลา​นั้น​จึง​ถูก​ เขา​ใจ​ได​อยาง​คอนขาง​ยากเย็นเ​อา​มากๆ​​โดย​ผูคน​ที่​อยู​นอก​ขอบ​ของ​วิชาการ​ เหลานี้ ​ทั้งนี้​เพราะ​ทั้งคู​ได​พูด​ถึง​สิ่ง​ที่​จะ​มา​ถึง​อยาง​แนนอน ​แต​อยางไร​ก็ตาม ​ มัน​เปน​ภารกิจ​ของ​เรา​ก็​จะ​เรียนรู​เพื่อ​ทำความ​เขา​ใจ​มัน ​ใน​นิยาย​ปรับปรา​โบราณ​เกี่ยวกับ​หอ​สูง​แหง​บาเบล (​ ​To​ w​ ​e​r​​of​​​B​a​b​e​ l​)​​(​8)​ ​,​​มนุษยชาติ​ใน​ชวงตนๆ​​พยายาม​ที่​จะ​รวมมือ​กัน​ครั้ง​ใหญ​เพื่อ​บากบั่น​ สราง​หอ​สูง​อัน​จะ​นำไปสู​สรวงสวรรค.​​Y​ah​ w​ ​eh​ ​​(​องค​พระผูเปนเจา)​,​​ทรง​ ทอดพระเนตร​ลง​มาจาก​หมู​เมฆ,​​พระองค​ทรง​พิโรธ​มาก​กับ​การ​ที่​มนุษย​ ซึ่ง​ตอง​ตาย​มา​แต​แรก ​คิดวา​พวกเขา​สามารถ​ที่​จะ​บรรลุ​ถึง​ความ​สำเร็จ​ดุจ​ พระเจา​องค​หนึ่ง.​​​โดย​สรุป ​พระองค​ทรง​บิดเบือน​คำพูด​ของ​คน​ทำงาน​ทุกคน​ ให​ผสมปนเป​และ​สับสน ​และ​ทำ​ให​สิ่ง​กอสราง​นั้น​หยุด​ชะงัก​ลง ​ประวัติ​ศาสตร​ได​บันทึก​เอา​ไว ​เกี่ยวกับ​การ​เริ่มตน​ใหม​ดวย​การ​ ตอสู​ดิ้นรน​อยาง​สุด​ความ​สามารถ ​และ​เปนความ​พยายาม​อยาง​ชาๆ​​ที่​จะ​ เอาชนะ​เพื่อ​นำ​พาไปสู​ความ​สำเร็จ​อยาง​คอย​เปน​คอย​ไป ​ความ​สงสัย​แครง​ ใจ​และ​ความ​สับสน ​ไดรับ​การ​สนับสนุน​โดย​จำนวน​ภาษา​ทองถิ่น​ตางๆ​​ที่​มี​ อยู​มากมาย.​​ปจจุบัน​งาน​นี้​ยังคง​ดำเนิน​ตอไป ​เปนการ​สรางสรรค​เกี่ยวกับ​ เครือขาย​โลก ​ดวย​การ​ติดตอ​สื่อสาร​ที่​ขยาย​ออกไป​ทั่ว​พิภพ​ของ​บรรดา​ ศิลปน​ตางๆ​​และ​นัก​วิทยาศาสตร ​ซึ่ง​ถือวา​เปน​แถวหนา​ของ​การ​ประสาน​กัน​ ที่​ได​ใหการ​รับรู​ตางๆ​​เกี่ยวกับ​ความ​จริง​ที่​จะ​ทำ​หนา​ที่​ลบรอย​พรม​แดน​แหง​ ความ​เปน​ชาติ​และ​ภาษา​ตางๆ​​ให​จาง​ลง ​การ​ประนีประนอม​เกี่ยวกับ​ความ​ แตกตาง​กัน​อยาง​เดนชัด​ระหวาง​ภาษา​ของ​มนุษย​ที่​มี​ลักษณะ​เฉพาะ​พิเศษ​ ของ​ทั้งสอง​เหลานี้ ​(​หมาย​ถึง”​ศิลปะ”​และ”​ฟสิกส”​)​​คือ​กาว​ที่​สำคัญ​อันดับ​ ตอไป​ใน​การ​พัฒนา​หอคอย​แหง​บาเบล​เดียว​กัน ​ ​ ​เรา​รูจักโ​ ลก​นกี้​ ัน​อยางไร ?​ ​ ​เพื่อ​ทำความ​เขา​ใจ​ให​ดีขึ้น​ถึง​ความ​สัมพันธ​เชื่อม​ตอร​ ะหวาง”​ศิลป”​ กับ”​ฟสิกส”​​พวกเราจัก​ตอง​ตั้งคำถาม​ขึ้น​มา​แตตน​วา ​“​พวกเรา​รูจัก​โลก​นี้​กัน​ อยางไร?​”​​P​la​ t​​o​​ใน​งาน​เรื่อง ​R​ep​ ​ub​ ​li​c​ ​​หรือ”​อุตม​รัฐ”​​ได​มี​การ​เปรียบเทียบ​

ภายนอก”​​(​Ou​ t​​​t​he​ r​ ​e)​ ​​ก็​คือ​จินตนาการ​ของ​เรา​นั่นเอง.​​บาง​ที่​มัน​จะ​อยู​ ใน​เนื้อเยื่อ​ของ​สมอง​เรา ​ซึ่ง​เรา​สราง​ความ​จริง​ที่​แบง​แยก​กัน​อัน​หนึ่ง ​ถูก​ สรางสรรค​โดย​ความ​สำนึก​ที่​ไมปรากฏ​เปน​รูปราง ​หรือ​ในทาง​ความคิด.​​ ความ​จริงภาย​ใน​อันนี้​มิได​เชื่อมโยง​กับ​พื้น​ที่​ภายนอก ​และ​ดำรง​อยู​นอกเหนือ​ จาก​ลำดับ​การ​ของ​เวลา.​​เมื่อ​เราหวน​รำลึก​ถึง​วัน​เวลา​ครั้งหนึ่ง​ที่​ริม​ชายหาด ​ เรา​ได​ถักทอ​เอา​สวนประกอบ​ตางๆ​​ของ​วัน​นั้น​เขา​ดวย​กัน ​ซึ่ง​มิได​ดำรง​ อยู ​“​อยาง​แทจริง”​​อีก​แลว.​​เรา​สามารถ​ที่​จะ​วิ่ง​ไปสู​เหตุการณ​ขางหนา​และ​ ยอนหลัง​ได​โดย​งาย ​พรอมกับ​แกไข​ปรับปรุง​ดวย​การ​สลับ​ปรับ​เปลี่ยน​ความ​ เปนไปได​ตางๆ​​ใน​สิ่ง​ที่​เรา​เชื่อ​วา​มัน​ได​เกิดขึ้น.​​มัน​เปน​ทั้ง​สิ่ง​ที่​ผิดพลาด​และ​ ลดทอน​การ​รับรู​ของ​ปจเจกชน ​ซึ่ง​ความ​จริง​ทาง​ดาน ​“​ภว​วิสัย”​​ถูก​มองเห็น​ โดย​ผาน​แวน​กรอง​หรือ​ฟลเตอร​ของ​อารมณ​ความรูสึก​ของ​แตละบุคคล ​ ​ใน​เรื่องเลา​คลาส​สิค​ของ​ชาวญี่ปุน​ที่​ชื่อวา ​R​a​s​ho​ m ​ ​o​n​​(​ราโชมอน)​​ แตละคน​ใน​เรื่อง​ตางๆ​​ก็​เชื่อมั่น​เกี่ยวกับ​ความ​จริง​ใน​เรื่องเลา​ของ​ตน​และ​ ความ​สำนึก,​​ถา​ไม​เปน​เนื้อหา​ที่​คลายคลึง​กัน ​ก็​เปน​แถว​ยาว​ของ​ขบวน​มด​ ที่​กำลัง​ทำงาน ​ซึ่งจัก​ตอง​เคลื่อน​ยาย​ชิ้นสวน​ของโลก​ภายนอก​ทีละ​ชิ้น​อยาง​ ยากลำบาก ​โดย​ผาน​โพรง​ใตดิน​ของ​ความรูสึก​ตางๆ​​ถัดจาก​นั้น​ก็​สราง​มัน​ ขึ้น​มา​ใน​ใหม​ใน​บาน ​ทัศน​ภาพ​ที่​คลาย​กับ​ภูติ​พรายภาย​ใน​อันนี้ ​ได​เพิ่มเติม ​ “​ความ​คิดเห็น​ทางจิต”​​(​m​e​nt​​al​​​op​ ​in​ i​o​ n​ )​ ​​รวม​กัน​เปนหนึ่ง ​สู​การ​รับรู​ของ​ ปจเจก​แตละคน​เกี่ยวกับ​วา ​“​โลก​นี้​มัน​ทำงาน​กัน​อยางไร?​”​ ​ ​จาก ”​​ฉันทา​มติ”​​สู ”​​กระบวนทัศน”​(​​ความ​จริง​ที่​เปลี่ยนไป)​ ​เมื่อ​มวล​หมู​ผูคน​ที่​มี​ลักษณะ​ของ​การ​วิพากษ​วิจารณ​ยอมรับ​ขอ​ คิดเห็น​อัน​หนึ่ง​แลว ​เรา​เรียก​ขอตกลง​ที่​เห็นดวย​อัน​นั้น​วา ​“​ความ​คิดเห็น​ สวน​ใหญ​ที่​สอดคลอง​กัน”​​(​co​ n​ s​ ​en​ s​ ​us​ ​​-​​ฉันทา​มติ)​​กลุม​ความ​คิดเห็น​ที่​ สอดคลอง​กัน​ใน​บริบท​ของ​สังคม ​ได​นำ​เรา​ไปสู​การ​สราง​พรรค​การเมือง​ตางๆ​​ ขึ้น ​หรือ​ลัทธิ​ความ​เชื่อ​ทาง​ศาสนา ​และ​ระบบ​ทาง​เศรษฐกิจ​ตางๆ​​หุนจำลอง​ แตละ​อยาง​ไดรับ​การ​วางรากฐาน​ลง​บน​ระบบ​ความ​เชื่อ​ที่ยอมรับ​กัน ​เมื่อ​ อารยธรรม​หนึ่ง​ได​เคลื่อน​คลอย​มา​ถึง​ความ​คิดเห็น​ที่​รวม​กัน​เกี่ยวกับว​ า ​“​ โลก​ของ​เรา​นี้​ทำงาน​อยางไร?​”​,​​ระบบ​ความ​เชื่อ​ก็​จะ​ไดรับ​การ​ยกระดับ​ขึ้น​ สู​สถานะ​อัน​สูงสุด​ให​เปน ​“​กระบวนทัศน”​​(​p​ar​ ​ad​ ​i​g​m​)​,​​หลักฐาน​หรือ​ขอ​ สนับสนุน​ของ​พวกเขา​จะ​ปรากฏ​เปนความ​แนนอน​ที่​ชัดเจน​มาก ​ซึ่ง​จะ​ไมมี​ ใคร​พิสูจน​มัน​อีก​ตอไป ​ไมมี​การ​ตั้งคำถาม​อีก​อยาง​เด็ดขาด,​​ขอ​สมมุติ​ตางๆ​​ เกี่ยวกับ​กระบวนทัศน​หรือ ​p​ar​ ​ad​ ​ig​ ​m​​นั้น​จะ​กลาย​เปน​หลักการ​พื้นฐาน​ที่มา​ กอน ​เชน ​สอง​บวก​สอง​มัก​จะ​เปน​สี่ ​และ​มุมฉาก​ทุก​มุม​มัก​จะ​เทา​กัน​เสมอ ​ สำหรับ​ผู​ที่​มี​ความ​เชื่อ​ทั้งหลาย.​​สมมุติฐาน​อันนี้​ได​สราง​ฐาน​อัน​แนนหนา​ หรือ​หมอน​หิน​ที่​เกี่ยวของ ​“​ความ​จริง”​​ขึ้น ​“​ความ​จริง”​​(​t​r​ut​​h)​ ​​ไดรับ​การ​นิยาม​โดย ​A​lf​​r​ed​ ​​N​or​ ​t​h​​W​hi​t​​eh​ e​ a​ d​ ​ ​ วา ​“​คือ​ความ​สอดคลอง​ของ​ปรากฏการณ​กับ​ความ​จริง”​​สิ่ง​ที่​ทำ​ให​ฐาน​หิน​ อัน​มั่นคง​ของ​ความ​จริง​ตางๆ​​ลื่นไถล​ก็​คือ​ทุก​ยุค​ทุก​สมัย ​และ​ทุก​วัฒนธรรม​ ได​นิยาม​ความ​หมาย​ขอยืนยัน​อันนี้​ใน​วิถีทาง​ของ​มัน​เอง.​​เมื่อ​กาล​เวลา​ เปลี่ยน​แปลง​ไป ​กระบวนทัศน ​หรือ ​p​ar​ ​ad​ ​ig​ ​m​​หนึ่ง ​-​​ก็​ละทิ้ง​ฐาน​หิน​อัน​ มั่นคง​ของ​ความ​จริง ​และ​ก็​รับ​เอา​ฐาน​หิน​อีก​อัน​หนึ่ง​มา​ใช ​–​​“​ศิลปน”​และ”​นัก​ ฟสิกส”​นา​จะ​เปน​บุคคล​ที่​อยู​แถวหนา​สุด​สำหรับ​กิจกรรม​นี้ ​

เกี่ยวกับ​ภาพ​เงา​บน​ผนัง​ถ้ำ​อัน​มี​ชื่อเสียง​ของ​เขา ​โดย​เสนอ​วา ​พวกเรา​ ทั้งหมด​คลาย​ดั่ง​นักโทษ​ที่​ถูก​พันธนาการ​อยู​กับ​ผนัง​เตี้ยๆ​​ใน​ถ้ำ​แหง​หนึ่ง ​ไม​ สามารถ​ที่​จะ​พลิกตัว​หรือ​หมุนตัว​ได ​และ​พวกเขา​ตาง​เปนพยาน​ที่​เห็น​ถึง​ กิจกรรม​ทั้งหลาย​ของ​มนุษย ​ซึ่ง​มี​พฤติกรรม​เกี่ยวกับก​ าร​ดำรง​อยู​ของ​พวกเขา​ ตอ​หนาไฟ​กอง​ใหญ.​​เนื่องจาก​การ​ถูก​คุมขัง​โดย​โซตรวน ​​พวกเรา​จึง​เห็น​ เพียง​แค​รูป​เงา​ที่​สะทอน​จาก​แสงไฟ​ของ​ตัวเอง​เทา​นั้น ​ผสมปนเป​กัน ​ซึ่ง​ได​ ฉาย​เงา​มา​ทา​ทาบ​ลง​บน​ผนัง​ดาน​ตรงขาม.​​อุปกรณ​หรือ​เครื่อง​ไม​เครื่องมือ​ ใน​การ​รับรู​ของ​เรา​บีบบังคับ​เรา​ให​เชื่อถือ​ภาพ​ของ​สิ่ง​ตางๆ​​และ​ผูคน​ซึ่ง​ โบกสะบัด​ไหวๆ​​ไปมา​เหลานี้​วา​เปนความ​จริง ​และ​มัน​เปน​เพียง​สิ่ง​ที่​มาจาก​ ขอมูล​ขั้น​ที่สอง​ที่​พวกเรา​สามารถ​จะ​อนุมาน​ถึง​ธรรมชาติ​ของ​ความ​เปนจริง​ เทา​นั้น ​สอง​พันป​ตอมา​หลังจาก ​P​la​ t​​o,​​​R​en​ e​ ​​D​es​ ​ca​ r​ ​t​es​ ​​​ได​กลาว​ซ้ำ​อีก​ ครั้งหนึ่ง​ถึง​ความ​แตกตาง​กัน​อันนี้​ระหวาง​ดวงตาภาย​ใน​ของ​จินตนาการ ​(​I​n​ n​e​r​​e​y​e​​o​f​​i​m​a​g​i​n​a​t​i​o​n​)​​กบั ​โลก​ภายนอก​ของ​สง่ิ ​ตา งๆ​​(​e​x​t​e​r​n​a​l​​o​f​​t​h​i​n​g​s​)​​เขา​ ได​แบง​แยก​จิต​ใจ​บริสุทธิ์ ​“​ใน​ที่นี้”​​เกี่ยวกับ​ความ​สำนึก​ของ​เรา ​(​r​es​ ​​co​ g​ ​it​​an​ ​ s​)​​จาก​โลก​วัตถุวิสัย ​(​ob​ ​je​ c​ t​​i​v​e​​w​or​ ​l​d​)​​ซึ่ง“​อยู​ขางนอก​นั้น”​​(​ou​ t​​​t​h​er​ ​e)​ ​​(​r​e​ s​​ex​ ​t​en​ s​ ​a)​ ​​และ​ประกาศ​วา ​ขอบเขต​หรือ​อาณาจักร​ของ​ทั้งสอง​นี้ ​ (​โลกภาย​ใน​และ​โลก​ภายนอก)​​แบง​แยกออกจาก​กัน​อยาง​ไม​อาจ​ฝาฝน​ได ​

​ ​ ืออ​ ะไร ?​ ​ ​อะไร​คือ​ความ​จริง ​ความ​จริงค

​ใน​คริสตศตวรรษ​ที่ ​18​ ,​​​I​m​m​an​ u​ e​ l​​​K​an​ ​t​​ได​สนับสนุน​ทรรศนะ​ของ ​ P​la​ t​​o​​และ ​D​ec​ a​ r​ ​t​es​ ​​เพิ่มขึ้น​ใน​งาน​เรื่อง ​C​r​it​​iq​ ​ue​ ​​of​​​P​ur​ ​e​​R​e​as​ ​on​ .​​​K​an​ t​​​ ได​อาง​ถึงวา ​พวกเรา​ทั้งหมดจัก​ตอง​มองออก​ไปยัง​ความ​จริง​โดย​ผาน​รอยราว​ แคบๆ​​​เกี่ยวกับ​ความรูสึก​ของ​เรา,​​การ​ขาด​ความ​สามารถ​ของ​เรา​ที่​จะ​รูจัก​ โลก​อยาง​ตรงไป​ตรง​มา ​เปนหนึ่ง​ใน​ศูนยกลาง​ของ​ภาวะ​ที่​กลืน​ไม​เขา​คาย​ไม​ ออก​มากขึ้น​ซึ่ง​ดำรง​อยู ​อันนี้​เขา​สังเกตเห็น​ใน​เงื่อนไข​ของ​มนุษย.​​ใน​งาน​ที่​ ถือเปน​อนุสาวรีย​อีก​ชิ้น​หนึ่ง​ซึ่ง​ตั้งชื่อ​ไว​วา ​Th​ e​ ​​W​or​ ​ld​ ​​as​ ​​W​il​l​​​an​ d​ ​​R​e​p​r​es​ ​ e​nt​​at​​io​ n​ ​​(​โลก​ใน​ฐานะ​ที่​เปน​เจตจำนง​และ​ภาพ​แทน)​​A​r​t​hu​ r​ ​​S​ch​ o​ p​ ​en​ h​ a​ ​ u​er​ ​​​ได​สรุปความ​คิดเห็น​เกี่ยวกับป​ รัชญา​อันนี้​ใน​ประโยค​ที่​เปดกวาง​อยาง​ แหลมคม​วา ​“​โลก​นี้​ก็​คือ​ความคิด​ของ​ขาพเจา”​​(​Th​ e​ ​​w​or​ ​l​d​​is​ ​​m​y​​id​ ​ea​ )​ ​.​ ​ความ​สามารถ​ที่​เรา​นำมา​ใช​ใน​การ​ยึด​ฉวย​ธรรมชาติ​ของ ​“​สิ่ง​

​การ​ประกบ​คู​ระหวาง”​ศิลป”​กับ”​ฟสิกส ​คน​บางคน​อาจ​จะ​คัดคาน​ที่​จะ​ประกบ​คู​ระหวาง”​ศิลป”​กับ”​ฟสิกส”​ ,​​นับ​แต​การ​ที่​ศิลปน​นั้น ​ไม​เพียง​ที่​จะ​เกี่ยวของ​กับ​ความ​จริง​ภายนอก​เทา​ นั้น ​แต​ยัง​เกี่ยวของ​กับ​อาณาจักรภาย​ใน​ของ​อารมณ​ความรูสึก,​​ความ​ฝน,​​ ปกรณัม​โบราณ,​​มายา​คติ,​​และ​เรื่อง​ของ​จิตวิญญาณ​ดวย.​​สวน​วิชา​ฟสิกส​ พยายาม​หลีกเลี่ยง​อยาง​ระมัดระวัง​คำพูด​ใดๆ​​ที่​เกี่ยวกับ​ความคิดภาย​ใน​ซึ่ง​ สัมพันธ​เชื่อม​ตอ​กับ​โลก​ภายนอก ​วิชา​ฟสิกส​ผูกพัน​ตัว​ของ​มัน​เอง​กับ​สังเวียน​ ที่​เปนภว​วิสัย​ของ​ความ​เคลื่อนไหว,​​สิ่ง​ตางๆ​​(​วัตถุ)​,​​และ​พลังงาน ​ความ​ แตกตาง​ที่​ดู​ตรงขาม​กัน​นี้​ระหวาง”​ศิลป”​กับ”​ฟสิกส”​​มัน​พรามัว​ใน​แสงสวาง​ ของ​การ​เผยตัว ​ซึ่ง​ถูก​นำเสนอ​โดย​นัก​ควอนตัม​ฟสิกส​ที่​ปรากฏขึ้น​มาจาก​การ​ ละลาย​ของ​รู​ปการ​ตางๆ​​ของ​แสง​ที่​ขัด​แยง​หรือ​ตรง​กัน​ขาม​กัน ​ใน​ป ​ค.​ศ.​​19​ 0​ 5​ ​​A​l​b​er​ ​t​​E​in​ s​ ​t​e​in​ ​​เสนอ​วา ​แสง​สามารถ​ดำรง​อยู​ ได​ใน​รูปทรง​ของ​อนุภาค​อัน​หนึ่ง,​​นั่น​คือ,​​เปน​ชิ้นสวน​เล็กๆ​​ของ​บางสิ่ง​ที่​ เรียกวา​โปรตอน,​​สำหรับ​ตลอด​ระยะเวลา​สอง​รอย​ป ​แสง​ไดรับ​การ​พิสูจน​โดย​ การ​ทดลอง​วา​เปน​คลื่น,​​ขอเสนอ​ของ ​E​in​ s​ ​t​ei​n​ ​​มี​นัยยะ​วา​แสง​มี​ธรรมชาติ​ ภายนอก​ที่​ดู​จะ​แตกตาง​กัน​สอง​อยาง ​กลาว​คือ ​มี​แงมุม​ที่​ดู​เหมือนกับ​คลื่น ​ (​w​av​ ​e​li​k​ ​e)​ ​​และ​อีก​แงมุม​หนึ่ง​เหมือนกับ​อนุภาค ​(​p​ar​ ​t​ic​ l​e​ l​i​k​ ​e)​ ​.​​เมื่อ​เวลา​ หมุนเวียน​เปลี่ยนไป​เปน​ศตวรรษ,​​สิ่ง​ที่​เปน​รูปลักษณ​ซึ่ง​นาประหลาด​ใจ​ของ​ ความ​จริง​เกี่ยวกับ​ควอนตัม​ก็ได​เพิ่มพูน​ไปสู​บทกวีโก​อาน​ของ​เซน ​(​Z​e​nk​ ​o​ a​n)​ ​​เงื่อนปม​ของ​จิต​ใจ ​(​m​in​ d​ ​-​k​no​ t​​)​​อันนี้​ดู​เหมือนวา​ไม​อาจ​ที่​จะ​แกไข​ได ​ ทั้งนี้​เพราะ​กฎเกณฑต​ างๆ​​ของ​ตรรกวิทยา​แบบ​ประเพณี​ไม​สามารถ​นำมา​ ประยุกต​ใชกับ​มัน​ได​นั่นเอง ​ ​T​he​ o​ r​​y​​of​​​C​om ​ ​p​le​ ​m​en​ t​​a​r​it​​y​ ​ใน​ความ​เคลื่อนไหว​อยาง​กลาหาญ​กาว​หนึ่ง ​N​ie​ l​s​ ​​B​o​hr​ ​​ได​ สังเคราะห​แงมุม​ตางๆ​​ที่​กลับ​คา​หรือ​ตรงขาม​กัน​เหลานี้​ของ​แสง ​ใน​งาน​ที่​ วาดวย​ทฤษฎี​เกี่ยวกับก​ าร​เติมเต็ม​คู​ตรงขาม​ให​สมบูรณ ​(​t​he​ o​ r​ ​y​​of​​​co​ m ​​ p​le​ m ​ ​en​ t​​a​r​it​​y​)​​ป ​19​ 2​ 6​ ​​เริ่มตน​ขึ้น​ดวย​คำพูด​งายๆ​​ธรรมดา.​​B​o​hr​ ​​กลาว​ วา ​แสง​นั้น​ไม​ใช​เปน​คลื่น​หรือ​อนุภาค​อยาง​ใด​อยาง​หนึ่ง ​แต​มัน​เปน​ทั้ง​คลื่น​ และ​อนุภาค​ใน​เวลา​เดียว​กัน ​ความรู​เกี่ยวกับ​แงมุม​ทั้งคู​ที่​แตกตาง​กัน​อยาง​ แทจริง​เหลานี้ ​คือ​สิ่งจำเปน​สำหรับ​การ​อธิบาย​ที่​สมบูรณ​เกี่ยวกับแ​ สง ​หาก​ ปราศจาก​สิ่ง​หนึ่ง​สิ่ง​ใด ​อีก​สิ่ง​ก็​จะ​ไม​สมบูรณ ​ดั่ง​ที่​ปรากฏ ​แสง​จะ​เผย​ให​เห็น​ธรรมชาติ​ของ​มัน​เพียง​ดาน​หนึ่ง​เทา​นั้น​ ใน​ครั้งหนึ่งๆ​​เมื่อไรก็ตาม​ที่​นัก​วิทยาศาสตร​ได​เตรียมการ​ทดลอง​เพื่อ​ที่​จะ​วัด​ คลื่น​แสง ​การ​กระทำ​ที่​เปนอัต​วิสัย​ใน​การ​ตัดสิน​ใจ​เลือก​เกี่ยวกับ​แผนการ​ที่​ จะ​ทำการ​วัด ​โดย​การ​ใช​วิธีการ​บางอยาง ​จะ​มี​ผลกระทบ​ตอ​ผลลัพธ​ที่​ตาม​มา ​ และ​แสง​ก็​จะ​ตอบสนอง​โดย​แสดง​ออกมา​ใน​รูป​แบบ​ของ​คลื่น,​​ปรากฏการณ​ อยางเดียว​กัน​จะ​เกิด​ขึ้นกับ ​เมื่อไรก็ตาม​ที่​นัก​วิทยาศาสตร​ได​เตรียมการ​ ที่​จะ​วัด​แสง​ออกมา​ใน​รูป​ของ​อนุภาค​ดวย​เชน​กัน,​​ดัง​นั้น ​“​อัต​วิสัย”​​(​s​ub​ ​ j​ec​ t​​i​v​e)​ ​​ซึ่ง​ได​ถูก​ประณาม​จาก​วิทยาศาสตร​ทั้งปวง ​(​แต​มัน​เปน​บอน้ำพุ​ อัน​อุดมสมบูรณ​ของ​การ​สรางสรรค​งานศิลปะ)​​จึง​ได​ถูก​ยอมรับ​เขา​ไปสู​ ปอมปราการ​ที่​คอย​พิทักษ​อยาง​ระมัดระวัง​ของ​วิชา​ฟสิกส​แบบ​คลาส​สิค ​ โลก​แบบ​ทวิ​นิยม​ไม​เหมาะสม​อีกต​ อไป​แลว ​ ​We​ r​ ​ne​ r​ ​​H​ei​s​ ​en​ b​ ​er​ ​g​ ​ซึ่ง​เปนเพื่อน​รวมงาน​ที่​ใกล​ชิด​ของ ​B​oh​ ​ r​​กลาว​สนับสนุน​เกี่ยวกับ​ความ​คิดเห็น​ที่​แปลก​ประหลาด​อันนี้​วา ​การ​แบง​ แยก​โลก​ออก​เปน​ทวิ​ลักษณ ​อัต​วิสัย​และภว​วิสัย ​(​s​ub​ ​je​ c​ t​​​an​ d​ ​​ob​ ​je​ c​ t​​)​​ โลกภาย​ใน​และ​โลก​ภายนอก ​(​I​nn​ e​ r​ ​​w​or​ ​ld​ ​​an​ d​ ​​ou​ t​​er​ ​​w​or​ ​ld​ ​)​​รางกาย​และ​

อาน​ตอหนา 6


Research

ArtFile Fine Arts News เจดียชางลอมกับพระพุทธศาสนา ลังกาวงศในประเทศไทย ศ. สุรพล ดำริหกุล การ​วิจัย​ครั้งนี้​ได​ทำการ​ศึกษา​ใน​รายละเอียด​ที่​เกี่ยวกับเ​รื่องราว​และ​แบบ​ แผน​ทาง​ศิลปะ​สถาปตยกรรม​ของ​เจดีย​ชาง​ลอม​ที่​ปรากฏ​อยู​ตาม​เมือง​ตางๆ​​ของ​ ประเทศ​ไทย​จำนวน​ทั้งสิ้น ​๒๙ ​แหง ​ได​แก ​​เมือง​สุโขทัย ​๕ ​แหง ​​เมือง​ศรีสัชนาลัย ​ ๓ ​แหง ​​เมือง​กำ​แพง​เพชร ​๓ ​แหง ​​เมือง​พิษณุโลก ​๑ ​แหง ​​เมือง​เชียง​ใหม ​๕ ​แหง ​​ เวียง​กุม​กาม​ใน​เขต​จังหวัด​เชียง​ใหม ​๒ ​แหง ​​เมือง​เชียง​แสน ​๒ ​แหง ​เมืองนาน ​๑ ​ แหง ​​เมือง​แพร ​๑ ​แหง ​​กรุง​ศรี​อยุธยา ​๓ ​แหง ​​เมือง​นครศรีธรรมราช ​๑ ​แหง ​​เมือง​ สทิงพระ ​ใน​เขต​จังหวัด​สงขลา ​๑ ​แหง ​​และ​เมืองส​วี ​ใน​เขต​จังหวัด​ชุมพร ​๑ ​แหง ​​ การ​ศึกษา​ทำ​ให​ทราบ​วา ​เจดีย​ชาง​ลอม​นั้น​เปน​สัญลักษณ​อยาง​หนึ่ง​ที่​แสดง​ถึง​ การ​ตั้งมั่น​ของ​พระพุทธศาสนา​นิกาย​เถรวาท​แบบ​ลังกา​วงศ ​และ​รูป​แบบ​ของ​เจดีย​ ชาง​ลอม​นั้น​มี​ความ​สัมพันธ​เกี่ยวของ​กับ​พระพุทธศาสนา​ลังกา​วงศ​ใน​แตละ​สำนัก​ ที่​แพรหลาย​เขามา​อยู​หลายๆ​​ครั้ง ​​โดย​พบ​วา​รูป​แบบ​ทาง​ศิลปะ​สถาปตยกรรม​ ของ​เจดีย​ชาง​ลอม​เหลา​นั้น​มี​อยู ​๕ ​รูป​แบบ ​คือ ​​๑.​​เจดีย​ทรงกลม​ที่ตั้ง​อยู​บน​ฐาน​ ประทักษิณ​ชาง​ลอม ​​๒.​​เจดีย​ทรง​ปราสาท​ยอด​เจดีย​ที่ตั้ง​อยู​บน​ฐาน​ประทักษิณ​ ชาง​ลอม ​​๓.​​เจดีย​ชาง​ลอม​ทรงกลม​แบบ​ลังกา ​​๔.​​เจดีย​ชาง​ลอม​ทรงกลม​แบบ​ทรง​ สูง ​​๕.​​เจดีย​ชาง​ลอม​แบบ​มี​ซุม​ทิศ ​ชวงเวลา​ของ​การ​ปรากฏขึ้น​ของ​เจดีย​ชาง​ลอม​ อยู​ใน​ระหวาง​พุทธศตวรรษ​ที่ ​๑๘ ​-​​๒๑ ​​ซึ่ง​จะ​สอดคลองกับ​การ​เผย​แพร​เขามา​ของ​ พระพุทธศาสนา​ลังกา​วงศ​อยู​หลายครั้ง ​​​รูป​แบบ​ทาง​ศิลปกรรม​และ​สถาปตยกรรม​ ของ​เจดีย​ชาง​ลอม​จะ​มี​ความ​สัมพันธ​เกี่ยวของ​กับ​เหตุการณ​ของ​การ​แขงขัน​กัน​ ระหวาง​สำนัก​พระพุทธศาสนา​ลังกา​วงศ​สาย​สีหล​และ​สาย​รามัญ​ที่​เผย​แพร​เขา​ไปยัง​ เมือง​ตางๆ​​ใน​ดิน​แดน​ประเทศ​ไทย ​​ดวย​เหตุนี้​เจดีย​ชาง​ลอม​จึง​มิได​เปน​เพียง​พระ​ เจดีย​ที่​สรางขึ้น​เพื่อ​สมมุติ​หมาย​ให​เปน​สัญลักษณ​ของ​พระพุทธองค ​​แต​ยังเปน​ เครื่องหมาย​ของ​สำนัก​พระพุทธศาสนา​ลังกา​วงศ​สาย​ตางๆ​​ที่​แขงขัน​กัน​เพื่อ​ให​ ไดรับ​การ​สนับสนุน​และ​ยอมรับ​นับถือ ​​การ​ศึกษา​ครั้งนี้​ทำ​ให​ได​ทราบ​ถึง​เรื่องราว​ ของ​พระพุทธศาสนา​ลังกา​วงศ​ที่​แพรหลาย​เขา​มายัง​ดิน​แดน​ประเทศ​ไทย ​​แบบ​แผน​ ทาง​ศิลปะ​สถาปตยกรรม​และ​พัฒนาการ​ดาน​รูป​แบบ​ของ​เจดีย​ชาง​ลอม​ที่​ปรากฏขึ้น​

ใน​ชวงเวลา​ที่​แตกตาง​กัน ​​​รูป​แบบ​ ของ​เจดีย​ชาง​ลอม​นั้น​มี​ความ​สัมพันธ​ เกี่ยวของ​กับ​การ​เผย​แผ​เขามา​หลายๆ​​ ครั้ง​ของ​สำนัก​พระพุทธศาสนา​ลังกา​ วงศ​สาย​สีหล​ที่​มาจาก​เกาะ​ลังกา​และ​ สาย​รามัญ​จาก​เมือง​พัน​หรือ​เมืองมะ​ ตะบัน ​​ซึ่ง​ได​นำ​เอา​แบบ​แผน​ทาง​ศิลป​ วัฒนธรรม​เขามา​ดวย ​​​แม​วาการ​ วิจัย​ครั้งนี้​จะ​เปนการ​ศึกษา​ใน​สวน​ที่​ เกี่ยวของ​กับ​รูป​แบบ​ทาง​ศิลปกรรม​ และ​สถาปตยกรรม​ของ​เจดีย​ชาง​ลอม ​​ ตลอดจน​เรื่องราว​ที่​เกี่ยวของ​กับ​ประวัติ​ ของ​พระพุทธศาสนา​ที่​เผย​แผ​เขา​มาสู​ ดิน​แดน​ประเทศ​ไทย ​​แต​ความรู​ที่​ไดรับ​ ที่​เกี่ยวกับป​ ระวัติ​ศาสตร​บานเมือง​ทั้ง​ ในทาง​การเมือง ​​สังคม ​และ​วัฒนธรรม​ นั้น ​นา​จะ​ชวย​เสริม​ให​เรื่องราว​ทาง​ ประวัติ​ศาสตร​ของ​ชาติ​บานเมือง​มี​ ความ​สมบูรณ​มาก​ยิ่งขึ้น ​ ​รายงาน​การ​วิจัย​ฉบับ​นี้ ​ขณะนี้​ สำนักพิมพ​แหง​จุฬา​ลง​กรณ​ มหาวิทยาลัย ​กำลัง​ดำเนินการ​จัดพิมพ​ เพื่อ​เผย​แพร​ตอไป ​คาด​วาการ​จัดพิมพ​ จะ​แลวเสร็จภาย​ใน​ปลายป ​25​ 5​ 1​ ​​นี้ ​

เปดฝกอบรม​

ศิลปะสีน้ำ ในหอศิลป์ฯ​มหาวิทยาลัยเชียงใหม

หอนิทรรศการศิลปวัฒธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม จัดกิจกรรม อบรมการวาดภาพหุนนิ่ง ทิวทัศน และทฤษฏีศิลปขั้นพื้นฐาน ดวยเทคนิคสีน้ำ เหมาะสำหรับผูเริ่มตน นักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป ระหวางวันที่ 6 กันยายน – 5 ตุลาคม 2551 ทุกวันเสาร – อาทิตย เวลา 9.00-12.00 จำนวน 10 ครั้ง คาอบรม 2,500 บาท รวมอุปกรณ วิทยาการ คณาจารยคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม และ ศิลปนรับเชิญ รับสมัคร ตั้งแต บัดนี้ เปนตนไป ถึง 10 ตุลาคม 2551 (รับจำนวนจำกัด) ขอรับ ใบสมัครและ สอบถาม รายละเอียด ไดที่ สำนักงาน เลขานุการ คณะ วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย เชียงใหม โทรศัพท/ โทรสาร 053-944805, 053-211724, 081-6811421, 086-1900699 ใน วัน และ เวลา ราชการ ​ Download ใบสมัคร ไดที่ www.finearts.cmu.ac.th

สรุปวง​เสวนา​สื่อ​ใหม (new media) สิงคโปร วีระพันธ จัน​ทรหอ​ม ความ​เปนมา ISEA (International Symposium on Electronic Art) เปนการ​ ประชุม​สัมมนา​วิชาการ​นานาชาติ​เกี่ยวกับ “ศิลปะ​อิเล็กทรอนิกส” (Electronic Arts) เริ่มจ​ ัด​ขึ้น​ตั้งแต​ป ค.ศ.1988 ใน​ยุค​เริ่มตน​ของ​การ​เปลี่ยน​ ถาย​สู​การ​เปน​สังคม “โลกาภิวัตน”. สื่อใ​ หม (New Media) ใน​ฐานะ​สื่อ​ อิเล็กทรอนิกส ดิจิตอล และ​เครือขาย​อินเทอรเน็ต​ได​ถูกปรับ​ใชกับ​ศาสตร​ วิชาการ​ดาน​ตางๆ ไมเวน​แมกระทั่ง ใน​บริบท​ของ​วงการศิลปะ ซึ่ง​ไดรับ​การ​ นำมาใช​เปน​เครื่องมือ​สำหรับ​การ​วิพากษ วิจารณ อภิปราย​แลกเปลี่ยน​ความ​ คิดเห็น และ ตั้งคำถาม​เกี่ยวกับส​ ังคม ISEA2008 ครั้ง​ลาสุด จัด​ขึ้น​มา​เมื่อ​วันที่ 25 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม 2551 ที่ผานมา ณ National University of Singapore (NUS), Singapore Management University (SMU), Nanyang Technological University (NTU) และ National Museum of Singapore ประเทศ​สิงคโปร ถือเปน​ครั้ง​ ที่ 2 ใน​เอเชีย​ซึ่ง​ประกอบดวย​เนื้อหา 3 สวนหลักด​ ังนี้ • การ​นำเสนอ​ผลงานวิจัย​ดาน​สื่อ​ศิลปะ • การ​นำเสนอ​นิทรรศการ​สื่อ​ศิลปะ และ • กิจกรรม​ดาน​สื่อ​ศิลปะ​อื่นๆ

ปนี้ ISEA ได​เชิญ​นัก​วิจัย​ทาง​ดาน​การ​ศึกษา การ​ออกแบบ การ​คนควา​ทดลอง​ทาง​ศิลปะ​ทั่วโลก มา​ประชุม​กัน ซึ่ง​คน​เหลานี้​ตาง​ พยายาม​ทำความ​เขาใจ​ปญหา​และ​แนวทาง​ความ​เปนไปได เกี่ยวกับ​ เทคโนโลยี​ใน​ภาพ​กวาง ตลอด​รวมถึง​การ​ทำงาน​ที่​เกี่ยวของ​กับ​ความ​ ซับซอน​ทาง​ประวัติ​ศาสตร ศิลป​วัฒนธรรม สังคม​การเมือง และ​บริบท​ ทาง​เศรษฐกิจ​ที่​มี​ผลกระทบ​ตอ​พื้นที่​การ​ปฏิสัมพันธ​ในดาน​เทคโนโลยี ตอ​ ประเด็น​ขางตน​และ​ผลลัพธ​ที่​ออกมา​หลัง​การ​ประชุม เทาที่​สังเกต​นับ​ได​ วา​เปนไป​อยาง​นาพอใจ ทั้ง​ใน​เชิง​วิพากษ​วิจารณ การ​ได​รับรู​ขอเท็จจริง และ​ความ​กาวหนา​ในดาน​ความ​รวมมือกัน​มากขึ้น​ใน​อนาคต สวน​ของ​สาขาวิชา​สื่อ​ศิลปะ​และ​การ​ออกแบบ (Media Arts and Design) ซึ่งเ​ปน​หลักสูตร​รวม​ระหวาง คณะ​วิจิตรศิลป, คณะ​ วิศวกรรมศาสตร, คณะ​สื่อสาร​มวลชน, และ​วิทยาลัย​ศิลปะ สื่อ และ​ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเ​ชียงใหม ซึ่ง​ได​จัด​ตั้งขึ้น​เปน​แหง​แรก​ในประเทศ​ ไทย ใน​ปนี้​พวกเรา​ใน​ฐานะ​คณาจารย​สาขา​สื่อ​ศิลปะ​และ​การ​ออกแบบ​ ใน​สวน​ของ​คณะ​วิจิตรศิลป รวมถึง​ผูบริหาร​หลักสูตร​ซึ่ง​เปนต​ ัวแทน​จาก​ คณะ​สื่อสาร​มวลชน คณะ​วิจิตรศิลป และ​วิทยาลัย​ศิลปะฯ ได​รับเชิญ​ให​ เขารวม​สังเกตการณ และ​นำเสนอ​ผลงาน​วิชาการ​นานาชาติ ISEA 2008 โดยเฉพาะ​ใน​สวน​ที่​ได​เขารวม​บน​เวที​วิชาการฯ ครั้งนี้ ได​นำเสนอ​ประเด็น​ หัวขอ​ที่​นาสนใจ 2 เรื่อง​คือ

1. Media Arts and Design - New Space for Thinking (Thailand) สรุป​สาระสำคัญ​การ​นำเสนอ: Media Arts ในประเทศ​ไทย​เริ่มตน​จาก​ งานศิลปะ “เชียงใหม​จัด​วาง​สังคม” เมื่อ​กวา​สิบ​ป​ที่แลว ซึ่ง​จัด​ขึ้น​โดย​ คณาจารย​คณะ​วิจิตรศิลป รวมกับ​ศิลปน​จาก​ทองถิ่น สวนกลาง​และ​ นานาชาติ ถือไดวา​เปนความ​เคลื่อนไหว​ของ​วงการศิลปะ​ที่​มี​แนวความคิด จุดประกาย​ ให​กับ​คน​ทำ​งานศิลปะ​วา ศิลปะ​สามารถ​อยู​ได​ทุกที่ มิใช​สิ่ง​ประดิษฐ​ที่อยู​แต​เฉพาะ​ใน​ หอศิลป หรือ​สถาบัน​ทาง​ศิลปะ​เทานั้น ดวย​เหตุนี้​ศิลปะ​จึง​เปน​สวนหนึ่ง​และ​อยู​รวมกัน​ กับ​สังคม​ได ไม​แปลกแยก​แตกตาง​ไปจาก​ชีวิต​ธรรมดา จาก​จุด​นี้​เอง​จึง​เกิด พื้นทีใ่​ หม​ สำหรับ​การ​คิด​ใหมๆ ทาง​ศิลปะ ประจวบ​กับ เทคโนโลยี​สมัยใหม โดยเฉพาะ​ทาง​ดาน​ดิจิตอล​ได​เขามา​มี​ บทบาท​ตอ​วิถี​ชีวิต​ประจำวัน ศิลปน จึง​นำ​เทคโนโลยี​เหลานี้​มา​เปน​เครื่องมือ​สำหรับ​ สรางสรรค​งานศิลปะ​เพื่อ​ตั้งคำถาม วิพากษ วิจารณป​ รากฏการณใ​ น​สังคม รวมทั้ง​ ผลิต​ศิลปกรรม​ที่​มี​คุณคา​ความ​งาม​อยาง​ใหม และ​นี่​คือ​แนวคิด​ใหม​และ​เปน​จุด​เริ่มตน​ ของ​การ​เกิด​หลักสูตร​สาขาวิชา​สื่อ​ศิลปะ​และ​การ​ออกแบบ (Media Arts and Design) ในประเทศ​ไทย​ขึ้น​เปน​ครั้งแรก จากนั้น​เปนการ​นำเสนอ​ผลงานวิจัย​และ​ผล​งานศิลปะ​ ของ​คณาจารย และ​นักศึกษา​ที่​สอดคลองกับ​แนวทาง​ดังกลาว​โดย​ภาพรวม 2. What Can We Learn From Street Scenario สรุป​สาระสำคัญ​การ​นำเสนอ: มี​การ​เสนอ​ผลงานวิจัย​ศิลปะ โดย​อุปมา​อุปมัย​ ศิลปน​ไทย​เสมือน​สุนัข​ขางถนน​ใน​เวที​ศิลปะ​นานาชาติ ที่​บางครั้ง​ไมมี​ความ​สำคัญ​ใดๆ ใน​สายตา​เวที​โลก แต​ศิลปน​ไทย​ก็​มี​ความ​สามารถ ถา​เมื่อไหร​ที่​ศิลปน​ไทย​ลุกขึ้น​มา​ทำ​ ผล​งานศิลปะ ซึ่ง​มี​ความ​แปลกใหม แตกตาง ก็​สามารถ​เปลี่ยน​กระบวนทัศน​ทาง​ดาน​ ศิลปะ​โลก​ได ศิลปน​ไทย​ก็​จะ​ไดรับ​การ​ยอมรับ​และ​ไดรับ​การ​หยุด​ดู​เชนกัน เหมือนกับ​ สุนัข​ขางถนน​ซึ่ง​ถา​เมื่อไหร​มัน​ลุกขึ้น​และ​ขาม​ถนน รถ​ที่​วิ่ง​ไปมา​ก็​ตอง​หยุด​รอ​จนกวา​ มัน​จะ​ขาม​ไป นอกจากนี้​ยัง​จำลอง​ให​เห็น​ถึง​ความ​เปนมา​ของ​ศิลปน​ไทย​ตั้งแต​อดีต จนถึง​ปจจุบัน และ​แนวโนม​บทบาท​ของ​ศิลปน​ไทย​ใน​อนาคต รวมถึง​ความ​เปนไปได​ ตางๆ หาก​ไดรับ​การ​สนับสนุน และ​ศิลปน​ทั้งหลาย​ทำงานหนักอ​ ยาง​เพียงพอ นอกจากนั้น​ยังมี​หัวขอ​งานวิจัย และ​การ​บรรยาย​ที่​นาสนใจ​อีก​กวา 500 หัวขอ​ ใน​การ​นำเสนอ​ครั้งนี้​โดย​กระจาย​จัด​ไปยัง​มหาวิทยาลัย​ชั้นนำ​ใน​สิงคโปร​อัน​ไดแก National University of Singapore (NUS), Singapore Management University (SMU) และ Nanyang Technological University นอกจาก ISEA จะ​จัดให​นำเสนอ​ผลงานวิจัย​ทาง​ดาน​สื่อ​ศิลปะ​แลว ยัง​คัดเลือก​ ผลงาน​สื่อ​ศิลปะ​จาก​ศิลปน​ทั่วโลก​จัดแสดง​ใน National Museum of Singapore มีผ​ ล​ ศิลปะ​ที่​สราง​ผลงาน​จาก​สื่อ​ใหม เชน สื่อ​ภาพ​และ​เสียง สื่อ​อิเล็กทรอนิกส สื่อ​ดิจิตอล สื่อ​ประสม (ภาพ เสียง กลิ่น) และ​สื่อ​เชิง​โตตอบ มากมาย สวน​กิจกรรม​อื่นๆ​ที่​นักศึกษา​จาก​สาขา​สื่อ​ศิลปะ​และ​การ​ออกแบบ นาย​ทวี​ พัฒน แพร​เงิน ไดรับ​การ​คัดเลือก​เปน​ตัวแทน​ประเทศ​ไทย​ให​เขารวม​กิจกรรม โดย​ คัดเลือก​จาก 16 ประเทศ​ทั่วโลก ชื่อ​โครงการ 6th Asia-Europe Art Camp Ludic Times: The Art of Gaming ตั้งแต​วันที่ 22-29 กรกฎาคม 2551

สำหรับ​หัวขอ​ใน​การ​จัด​สัมมนา​วิชาการ ISEA2008 ครั้งนี้ เนนไ​ ป​ 1. Media Arts and Design - New Space for Thinking (Thailand) ที่​ปรากฏการณ​ของ​ความ​เหลื่อมล้ำ​ไม​เทาเทียม​กัน ของ​การ​กระจาย​และ​ (สือ่ ​ศลิ ปะ​และ​การ​ออกแบบ – พืน้ ที​ใ่ หม​ทาง​ความคิด (ประเทศ​ไทย) การ​เพิ่มจำนวน​อยาง​รวดเร็ว​ของ​ขอมูล​ขาวสาร​ใน​ยุค​โลกาภิวัตน จาก​การ​ ปรากฏตัว​ของ​เทคโนโลยีท​ ี่​ทันสมัย​ซึ่ง​กอ​ให​เกิด​ความ​แตกตาง​และ​โครงสราง​ 2. What Can We Learn From Street Scenario ที่​มี​ความ​สลับซับซอน การ​แพรกระจาย​ของ​ขอมูล​ขาวสาร​ไป​ทั่วโลก แต​ (อะไร​ที่​เรา​สามารถ​เรียนรูไ​ ด​จาก​บน​ทองถนน) ​ อยางไร​ก็ตาม สิ่ง​เหลานี้​ไมได​เกิดขึ้น​อยาง​เทาเทียม​กัน การ​สราง​เทคโนโลยี​ให​มี​ความ​แปลกใหม บางครั้ง​ก็​ทำใหเกิด​การ​ แบงแยก​ระหวาง​เทคโนโลยี​เกา​และ​ใหม​ที่​มี​อิทธิพล​ตอ​การ​ใชชีวิต​และ​ ความคิด​สรางสรรค ใน​ความ​แตกตาง​ทาง​ดาน​สถานการณ​ของโลก วาดวย​ ขอ​สังเกต​ทาง​เทคโนโลยี​ไมวา​เกา​หรือ​ใหม​นั้น ถือเปน​ประเด็น​ที่​ลวน​แลวแต​ มี​ความ​เกี่ยวของ​ทาง​ประวัติ​ศาสตร การเมือง เศรษฐกิจ และ​บริบท​ทาง​ ดาน​ศิลป​วัฒนธรรม ดังนั้น​เทคโนโลยี​ดังกลาว​จึง​มี​ความ​เกี่ยวของ​อยาง​ สลับซับซอน ทั้ง​ประโยชน​และ​โทษ​กับ​สังคม และ​นับเปน​ตัวแปร​หนึ่ง​ของ​ สังคม​ที่​ไม​อาจ​มองขาม​ได เฉพาะ​ใน​สวน​ของโลก​ศิลปะ ปญหา​เกี่ยวกับ​การ​ใช​เทคโนโลยี​ เปนที่​ถกเถียง​กัน​มาก วา​จะ​มี​ หลักการ​ใน​การ​ประเมิน​การ​ ใช​เทคโนโลยีเ​ชิง​สรางสรรค​ได​ เพื่อ​สงเสริม​ให​เยาวชน​ได​ใชเวลา​วาง​ให​เปน​ประโยชน อยางไร และ​ทำ​อยางไร​จึง​จะ​ และ​เพิ่มพูน​ทักษะ​ดาน​ศิลปะ​แขนง​ตางๆ เปด​รับสมัคร​ ทำให​คน​สามารถ​ใช​เทคโนโลยี​ นักเรียน​ที่​มีอายุ​ระหวาง 5-12 ป ชั้นอนุบาล 3 ถึง​ ได​อยาง​พินิจ​วิเคราะห. ISEA ชั้นประถม​ป​ที่ 6 รับสมัคร​ตั้งแต​บัดนีเ้​ปนตนไป ถือเปน​เวที​ของ​การ​ถกเถียง​ ถึง 10 ตุลาคม 2551 (รับจ​ ำนวน​จำกัด) ประเด็น​ปญหา​ดังกลาว​และ​ คณะ​ ว จ ิ ต ิ รศิ ล ป มหาวิ ท ยาลั ย เ ​ ชี ย งใหม หาความ​เปนไปได​ใน​การ​ใช​ ขอรับ​ใบสมัคร​และ​สอบถาม​รายละเอียด​ไดที่ จัด​โครงการ​ฝกอบรม​ศิลปะ​สำหรับ​เด็ก ชวง​ปด​ภาคเรียน เทคโนโลยี​ใน​ยุค​ปจจุบัน​เวที​ สำนั กงาน​เลขานุการ​คณะ​วิจิตรศิลป มหาวิทยาลัย​ ระหวาง​วันที่ 13-24 ตุลาคม 2551 (ไมเวน​วันหยุด​ราชการ) หนึ่ง และ​ประเด็น​ที่​ถูก​กลาว​ขาน​ เชี ย งใหม โทรศัพท/โทรสาร 053-944805, รวม 11 วัน​เวลา 9.00-12.00 น. เกี่ยวกับ​เทคโนโลยี​อยาง​มาก​ก็​คือ 053-211724, 081-6811421, 086-1900699​ ณ หอ​นิทรรศการ​ศิลปวัฒ​ธรรม มหาวิทยาลัย​เชียงใหม มัน​ได​เปลี่ยนแปลง​แนวคิด และ​ ใน​วัน​และ​เวลา​ราชการ Download ใบสมัคร​ไดที่ ขอ​สังเกต​เกี่ยวกับ​ศิลป​วัฒนธรรม​ ถ.นิมมานเห​มิ​นทร ต.สุ​เทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม www.finearts.cmu.ac.th คาส​ มัคร​พรอม​อุปกรณ​และ​ เดิมๆ ของ​พื้น​ที่ทาง​เทคโนโลยีไ​ ป​ (ตรงขาม​ตลาด​พะยอม) อาหารวาง 1,000 บาท อยางไร

เปดฝกอบรม

ศิลปะสำหรับเด็ก

Artsaugust august2008 2008 Arts

5


Article ตอจากหนา 4 วิญญาณ ​(​b​od​ y​ ​​an​ d​ ​​s​ou​ l​)​ ​​ไม​อาจ​ที่​จะ​เหมาะสม​หรือ​ทำได​อีก​ตอไป​แลว.​.​.​​ วิทยาศาสตร​ธรรมชาติ​ไม​อาจ​ที่​จะ​พูด​ถึง​หรือ​อธิบาย​ธรรมชาติ​กัน​อยาง​งายๆ​​ ได ​มัน​เปนเรื่อง​ของ​การ​มี​บทบาท​รวม​กัน​ระหวาง”​ธรรมชาติ”​และ”​ตัว​ของ​เรา​ เอง”​​ตาม​ที่​ฟสิกส​สมัย​ใหม ​ที่ทำการ​สังเกต​และ​ตรวจสอบ​อยาง​ใด​อยาง​หนึ่ง​ ได​ถูก​ทำ​ให​เชื่อมโยง​กัน.​​อาณาเขตภาย​ใน​ของ​ความคิด​ใน​เชิงอัต​วิสัย ​(​s​ub​ ​j​ e​ct​​iv​ ​e​​t​ho​ u​ g​ ​ht​)​ ​​ปรากฏออกมา​เปนการ​เชื่อม​ตอ​กัน​อยาง​ใกล​ชิดกับ​ขอบเขต​ ของโลก​​ภายนอก​ของ​ความ​เปนจริง​ตางๆ​​ทางภว​วิสัย ​(​ob​ ​j​ec​ t​​iv​ ​e​​f​ac​ t​​s​)​​

​J​oh​ n​ ​​W​he​ e​ l​e​ r​ ​ ​หนึ่ง​ใน​นักศึกษา​ของ ​B​oh​ r​ ​​ภายหลัง​ตอมา​ได​ อธิบายความ​เปน​ทวิ​นิยม ​(​d​ua​ l​i​t​​y​)​​ของ ​B​oh​ r​ ​​และ​เสนอ​เรื่อง ​“​จิต​ใจ”​และ”​ จักรวาล”​​(​M​i​nd​ ​​an​ d​ ​​U​ni​v​ ​er​ ​s​e)​ ​​เหมือนกับ”​คลื่น”​และ”​อนุภาค”​,​​ได​สราง​คู​ ประกอบ​ที่​เสริม​กัน​ให​สมบูรณขึ้น​มา​อีก​คู​หนึ่ง ​ทฤษฎี​ของ ​Wh​ e​ e​ l​e​ r​ ​​เสนอ​ถึง​ ความ​เชื่อมโยง​กัน​ระหวาง”​อาณาเขตภาย​ใน​ของ​ความ​สำนึก ​(​M​in​ ​d​)​”​​และ ​“​ ความ​สัมพันธ​กัน​ของ​มัน​กับ​โลก​ภายนอก​ของ​ผัสสะ ​(​U​ni​v​ ​er​ ​s​e)​ ​​ตาม​ทฤษฎี​ ของ ​W​he​ e​ l​e​ r​ ​​“​จิต​ใจ”​และ”​จักรวาล”​​(​M​i​nd​ ​​an​ d​ ​​U​ni​v​ ​er​ ​s​e)​ ​​ได​ถูก​หลอม​ รวม​เปน​ กอน​เดียว​กัน​อยาง​แยก​ไม​ออก ​ จิต​ใจ​และ​จักรวาล ​:​​ศิลปะ​และ​ฟสิกส ​ใน​คัมภีร ​Ta​ l​m ​ ​ud​ ​​(​ธรรมนูญ​ศาสนา​โบราณ​ของ​ชาวยิว)​​ได​แสดง​ ถึง​ความ​สัมพันธ​ที่​ละเอียดออน​อันนี้​ใน​พระคัมภีร​เกา​ทาง​ศาสนา​เรื่อง​หนึ่ง ​ เกี่ยวกับ​การ​สนทนา​กัน​ระหวาง​พระผูเปนเจา​กับ​อับราฮัม.​​พระผูเปนเจา​ ทรง​เริ่มตน​ขึ้น​ดวย​การ​ตรัส​ตำหนิ​อับราฮัม​วา ​“​ถา​มัน​ไม​ใช​สำหรับ​ฉัน​แลว​ ละ​ก็,​​เจา​ก็​จะ​ไมมี​อยู”​​หลังจาก​ชั่วขณะ​ของ​การ​สะทอน​ออก​ทาง​ความคิด.​​ อับราฮัม​ได​ตอบ​ออกมา​อยาง​สุภาพ​ออนโยน​วา ​“​ใช​ขอรับ,​​องค​พระ​ผู​ ประเสริฐ,​​และ​สำหรับ​อัน​นั้น ​ขา​พระองค​จึง​รูสึก​ซาบซึ้ง​เปน​ยิ่งนัก ​และ​รูสึก​ ขอบ​พระคุณ​เหนือ​เกลา ​แต​อยางไร​ก็ตาม ​ถา​มัน​ไม​ใช​เพราะ​ตัว​ขา​พระองค​ แลว​ละ​ก็ ​พระองค​ผู​สูงสุด​ก็​จะ​ไม​เปน​ที่​รูจัก”​​ ​ดวย​เหตุ​ใด​เหตุ​หนึ่ง ​ใน​ความ​ลึกลับ​ที่​ยิ่ง​ใหญ​ของ​จักรวาล ​ความ​ สำนึก​ของ​มนุษย​สามารถ​ที่​จะ​ตั้งคำถาม​ตอ​ธรรมชาติ ​และ​คำ​ตอบ​นั้น​จะ​ ยอนกลับมา​เปน​สิ่ง​ที่​สามารถ​เขา​ใจ​ได​จริงๆ​​บางที ​ดั่ง​ที่ ​Wh​ ​ee​ l​e​ r​ ​​เสนอ​ แนะ ​ทั้งสอง​คือ”​จิต​ใจ”​และ”​จักรวาล”​​(​M​i​nd​ ​​an​ d​ ​​U​ni​v​ ​er​ ​s​e)​ ​​เปน​แงมุม​ ธรรมดา​งายๆ​​ของ​ระบบ​ที่​เปน​คู ​(​b​in​ a​ r​ ​y​​s​y​s​t​em ​ ​)​.​​“​ศิลป”​และ”​ฟสิกส”​​อาจ​ ถูก​มองวา​เปน​กามปู​คู​หนึ่ง ​“​จิต​ใจ”​​(​t​he​ ​​M​in​ d​ ​)​​สามารถ​นำมา​ใช​ยึด​ฉวย​ ธรรมชาติ​เกี่ยวกับ​ภาพลักษณ​ที่​เสริม​กัน​ให​สมบูรณ​ของ ​Wh​ e​ e​ l​e​ r​ ​​ได,​​นั่น​คือ ​ “​จักรวาล”​​(​U​ni​v​ ​er​ ​s​e)​ ​​​ ​ ​P​ri​​nc​ i​​pl​​e​​of​​​S​y​nc​ ​hr​o​ ​ni​c​ ​it​​y​ ​ใน​เวลา​เดียว​กัน ​นัก​ฟสิกส​ควอนตัม​ก็​เริ่ม​ที่​จะ​ดิ้นรน​ปลุกปล้ำ​กับ​ ทฤษฎี​เกี่ยวกับ​การ​เสริม​เติมเต็ม​ให​สมบูรณ ​(​t​he​ o​ r​ ​y​​of​​​co​ m ​ ​p​le​ ​m​en​ t​​ar​ ​il​y​ ​ )​​ของ ​B​oh​ r​ ​​ซึ่ง​ไมได​เปนไป​ใน​ลักษณะ​ของ​วิทยาศาสตร​แบบ​คลาส​สิค ​และ​ ดู​เหมือนวา​จะ​มี​พรม​แดน​ที่​ติดตอ​กับ​เรื่อง​ของ​จิตวิญญาณ.​​นัก​จิตวิทยา​ชาว​ สวิสส ​C​ar​ ​l​​J​un​ g​ ​​ได​ประกาศ​และ​ทำการ​เผย​แพร​ทฤษฎี​ของ​เขา​เกี่ยวกับ​ ความ​สอดคลอง​ที่​เปนจังหวะ​เดียว​กัน ​(​t​he​ o​ r​ ​y​​of​​​s​y​nc​ h​ r​ ​on​ i​c​ i​t​​y​)​​ซึ่ง​ เปนผล​ที่​ตาม​มาภาย​ใน​ประสบการณ​ของ​มนุษย ​ที่​คลายคลึง​กับ​ความคิด​ เรื่อง​ควอนตัม​ของ ​B​oh​ r​ ​,​​J​un​ g​ ​​ไมยอม​รับคำ​สอน​แบบ​จารีต​เกี่ยวกับ​ความ​ สัมพันธ​ของ​เหตุ​และ​ผล ​ ​เขา​ได​เสนอ​วา ​เหตุการณ​ของ​มนุษย​ทั้งหมด​มัน​ผสมผสาน​กัน​บน​ ผืน​ระนาบ​เดียว​กัน ​ซึ่ง​พวกเรา​มิได​มี​ความ​เปน​สวน​ตัวอยาง​แจมชัด ​ดัง​ นั้น ​นอกเหนือ​จาก​เหตุ​และ​ผล ​(​ca​ u​ s​ ​e​​an​ d​ ​​ef​​f​ec​ t​​)​​ที่​ธรรมดา​นาเบื่อ​นี้​ แลว ​เหตุการณข​ อง​มนุษย​ได​ถูก​นำไป​รวมกับ​มิติ​หนึ่ง​ที่​สูงขึ้น​ไป.​​หลักการ​ เกี่ยวกับ​ความ​สอดคลอง​ที่​เปนจังหวะ​เดียว​กัน ​(​p​r​in​ c​ i​p​ ​le​ ​​of​​​s​y​nc​ h​ r​ ​on​ i​c​ i​t​​ y​)​​และ​การ​เสริม​เติมเต็ม​ให​สมบูรณ ​(​co​ m ​ ​p​le​ m ​ ​en​ ​t​ar​ ​it​​y​)​​เปนการ​เชื่อม​ตอ​ กัน​ระหวาง​ดิน​แดน​ตางๆ​​ที่​แยกออกจาก​กัน​อยาง​แทจริง​ของ”​โลก​ทางจิต”​ กับ”​โลก​ทางกายภาพ”​​(​p​s​y​ch​ e​ ​​an​ d​ ​​p​hy​ ​s​i​ca​ l​​​w​or​ ​l​d​)​​ซึ่ง​ได​นำมา​ใชกับ​การ​ เชื่อมโยง​ ​ กัน​ระหวาง”​ศิลป”​กับ”​ฟสิกส”​ดวย ​

​Z​ei​​t​ge​ i​​st​​​-​​t​he​ ​​s​pi​​r​i​t​o​ f​​​t​he​ ​​t​i​me​ ​ ​ใน​ภาษา​เยอรมัน​ได​หุมหอ​ไอเดีย​หรือ​ความคิด​นี้​เขา​ไว​ใน​คำ​วา ​Z​ei​t​​ g​ei​s​ ​t​​ซึ่ง​โชค​ไมดี​ที่​ไมมี​คำ​ใน​ภาษา​อังกฤษ​โดดๆ​​ที่​มีความหมาย​เทา​กัน ​แต​ ความ​หมาย​ของ​มัน​ก็​คือ ​“​จิตวิญญาณ​ของ​หวงเวลา​นั้น”​​(​t​he​ ​​s​p​ir​ ​it​​​of​​​t​he​ ​​t​ i​m​e)​ ​​(​t​he​ ​​m​in​ d​ ​​of​​​t​he​ ​​t​im ​ ​e)​ ​​เมื่อ​การ​คนพบ​ตางๆ​​ใน​ขอบเขต​ที่​ไม​สัมพันธ​ กัน​เริ่มตน​ปรากฏขึ้น​ใน​เวลา​เดียว​กัน​นั้น ​ราวกับวา​มัน​ได​ถูก​ทำ​ให​เชื่อมโยง​ กัน,​​แต​สาย​ใย​ที่​ผูก​โยง​มัน​ตางๆ​​มิได​เปนไปตาม​เหตุ​ปจจัย​อยาง​ชัดเจน,​​ ถัดจาก​นั้น ​ผู​แสดง​ความ​คิดเห็น​ตางๆ​​ได​อาศัย​คำ​ประกาศ​เกี่ยวกับ​การ​มี​อยู​ ของ ​a​​z​ei​t​​g​e​is​ ​t​​(​t​he​ ​​s​p​ir​ ​it​​​of​​​t​h​e​​t​im ​ ​e​​-​​จิตวิญญาณ​ของ​หวงเวลา​นั้น)​​ ​เดิมที ​ได​มี​การ​ใช​ทฤษฎี​เกี่ยวกับ​การ​เสริม​เติมเต็ม​กัน​ให​สมบูรณ ​(​ t​he​ o​ r​ ​y​​of​​​co​ m ​ p​ ​le​ ​m​en​ t​​ar​ ​il​y​ ​)​​เพื่อ​รวม​เอา​แงมุม​ที่​ตรงขาม​และ​ขอสรุป​ที่​ ดูเหมือน​จะ​ขัด​แยง​ของ​แสง​เขา​ไว​ดวย​กัน.​​B​oh​ r​ ​​ได​ดำเนินการ​สู​หลักการ​ ในทาง​ปรัชญา​ของ​เขา​ให​กวางขวาง​ออกไป ​เพื่อ​รวม​คู​ตรงขาม​อื่นๆ​​ดวย.​​ บทความ​ชิ้น​นี้​เปนเรื่อง​ที่​เกี่ยวกับ​การ​เสริม​เติมเต็ม​กัน​ให​สมบูรณ​ของ”​ศิลป”​ กับ”​ฟสิกส”​​(​t​he​ ​​co​ m ​ ​p​le​ m ​ ​en​ t​​ar​ ​it​​y​​of​​​ar​ ​t​​an​ d​ ​​p​hy​ ​s​i​cs​ ​)​​​และ​หนทาง​ที่​ ขอบเขต​ของ​ความรู​ทั้งสอง​นี้​เกี่ยวพันก​ ัน​อยาง​แนบชิด ​เพื่อ​กอ​รูป​โครงราง​ ตาขาย​บน​สิ่ง​ซึ่ง​พวกเรา​ทั้งหมด​สามารถ​ที่​จะ​ปน​ให​สูงขึ้น​ไป​อีก​นิด ​เพื่อ​ที่​จะ​ สรางภาพ​หรือ​ทรรศนะ​ของ​เรา​เกี่ยวกับ​ความ​จริง​เพิ่ม​มากขึ้น.​​การ​ทำความ​ เขา​ใจ​การ​เชื่อมโยง​กัน​อันนี้ ​จะ​ยกระดับ​ความ​ซาบซึ้ง​ของ​เรา​ใน​เรื่อง​ที่​ เกี่ยวกับ​ความ​สำคัญมากๆ​​ของ​ศิลปะ ​และ​ลึก​ลง​ไป​ใน​ความรูสึก​ของ​เรา​ เกี่ยวกับ​ความ​ประหวั่น​พรั่นพรึง ​ตอหนา​ความคิด​ตางๆ​​ของ​ฟสิกส​สมัย​ใหม ​ ​“​ศิลป”​และ”​ฟสิกส”​,​​คลาย​กับ”​คลื่น”​และ”​อนุภาค”​​ตาง​ก็​คือ​ทวิ​ นิยม​ที่​หลอม​รวม​กัน​เปนกอนๆ​​หนึ่ง ​มัน​เปนความ​แตกตาง​กัน​ธรรมดา​สอง​ อยาง ​แต​ก็​เปน​ดาน​ที่​เสริม​เติมเต็ม​ให​กัน​อยาง​สมบูรณ​ใน​คำ​อธิบาย​เกี่ยวกับ​ โลก ​การ​หลอม​รวม​กัน​เปนหนึ่ง​ของ​ศิลปะ​และ​ฟสิกส​จะ​ใหกำเนิด​หรือ​คลอด​ ความรูสึก​รู​ทราบ​มากขึ้น​ใน​เชิง​สังเคราะห ​​ซึ่ง​เริ่มตน​ดวย​ความ​สงสัย ​แต​ จบลง​ดว​ ย​ความ​มี​สติปญญา ​ศิลปะ​นำหนาม​ า​กอน​การ​คนพบ​ทาง​ดาน​ฟสิกส ​ ​ความ​สัมพันธ​กัน​ระหวาง​ศิลปะ​ของ​ยุคสมัย​หนึ่ง ​และ​วิชา​ฟสิกส​ ที่​มาทีหลัง ​กลาย​เปน​สิ่ง​ที่​ชัดเจน​มากขึ้น ​เมื่อ​เรา​ตรวจสอบ​ยอนหลัง ​ขอ​ให​ เรา​ลองหวน​มอง​กลับ​ไปยัง​สมัยค​ลา​สิค​กรีก​ทั้งหมด ​​บางครั้ง ​ยุคสมัย​อัน​ เชื่องชา​ดำรง​อยู​หลาย​รอย​ป ​สวน​ยุค​อื่นๆ​​อาจ​ดำรง​อยู​เพียง​แค​ไม​กี่​ทศวรรษ​ เทา​นั้น.​​ใน​ศตวรรษ​นี้ ​เหตุการณ​ทั้งหลาย​บัง​เกิดขึ้น​พรอมๆ​​กัน​ระหวาง​ ศิลปะ​และ​ฟสิกส ​ซึ่ง​อันนี้​มัน​เกิดขึ้น​มา​ตั้ง​แต​เริ่มตน​ทศวรรษ​แรก​เลย​ทีเดียว ​ ขอบเขต​ของ​ความรู​ทั้งสอง​ได​ระเบิด​ออก​และ​แพรกระจาย​เขา​ไปสู​ทิศทาง​ ใหมๆ​​อยาง​มากมาย

6

Arts august 2008

แตละ​สวน,​​(​หนวย)​,​​พยายาม​ที่​จะ​สืบเสาะ​รองรอย​ยอน​ประสบการณ​ทั้งหมด​ กลับ​ไปยัง​ธาตุ​แท​ดั้งเดิม​อัน​หนึ่ง,​​ใน​ชวง​ราวๆ​​58​ 0​ ​​ปกอน​คริสต​ศักราช,​​Th​ a​ l​​ e​s​​แหง ​M​il​e​ t​​us​ ​​(​62​ 4​ ​​B​C​–​ca​ .​​​54​ 6​ ​​B​C​)​​นัก​ปรัชญา​คน​แรก,​​ประกาศ​วา​ธาตุ​ แท​ขั้น​ปฐม​ของ​สรรพสิ่ง​ทั้งหมด​ก็​คือ ​“​น้ำ”​.​​สวน ​H​er​ ​ac​ l​i​t​​us​ ​​เกือบ​จะ​โดย​ทันที​ ที่​แสดง​ความ​ไม​เห็นดวย,​​เขา​ประกาศ​วา​ธาตุ​แท​ดั่ง​เดิม​ที่สุด​นั้น​คือ ​“​ไฟ”​.​​และ​ ตอมา​ไมนาน ​เสียง​ของ​นักปราชญ​คน​อื่นๆ​​ได​แสดง​ความเห็น​ของ​ตน​วา​คือ ​“​ อากาศ”​​และ”​ดิน”​​ตามลำดับ ​ ​E​m​p​e​d​oc​ l​e​ s​ ​​หนึ่ง​ใน​ผู​ทำการ​สังเคราะห​คน​แรก​เกี่ยวกับ​วิทยาศาสตร​ ที่​ยิ่ง​ใหญ ​(​ซึ่ง​อันนี้ ​ขาพเจา​ใคร​จะ​เพิ่มเติม​วา ​เปน​คน​แรก​ที่​รูจัก​การ​ ประนีประนอม​ดวย)​​ได​เสนอ​วา ​บางที​มัน​อาจ​จะ​ไมมี​ธาตุ​แท​อยาง​หนึ่ง​อยาง​ใด​ โดดๆ​​ที่​เปนตน​กำเนิด​ของ​สรรพสิ่ง​หรือ​จักรวาล ​แต​ธาตุ​แท​ทั้ง​สี่อยาง​นั่น​แหละ​ คือ​ธาตุ​แท​ของ​สรรพสิ่ง ​(​ดิน ​น้ำ ​ลม ​ไฟ)​​ถา​หากวา​รากเหงา​ของ​ความ​จริง​คือ​ เนื้อ​แท​ที่​แตกตาง​กัน​ทั้ง​สี่ ​ดัง​นั้น​สิ่ง​ที่​ดำรง​อยู​ทั้งหมด​ก็​สามารถ​ที่​จะ​ไดรับ​การ​ อธิบาย​ใน​ฐานะ​ที่​เปนการ​รวม​กัน​บางอยาง​ของ​แบบ​หรือ​บล็อก​ของ​สิ่ง​สราง​ พื้นฐาน ​(​b​as​ ​ic​ ​​b​ui​l​d​ ​in​ g​ ​​b​lo​ c​ k​ ​s​)​​อัน​ได​แก ​ดิน,​​น้ำ,​​ลม,​​ไฟ.​​ ความคิด​นี้​ดู​เหมือนวา​จะ​สอดคลอง​ตอง​ตรง​กับ​กลุม​ของ​นัก​ปรัชญา​ ทั้งหลาย​ใน​ยุค​ตนๆ บางที​อาจ​เปน​เพราะวาห​ มายเลข 4 มันป​ ลุกเรา​ความรูสึก​ อัน​หนึ่ง​เกี่ยวกับ​การ​สราง​รากฐาน. ไมก็​เปน​เพราะวาเ​ลข 4 มัน​เปน​จุด​บน​ เสนรอบวง, 4 มุม​ของ​พื้นที่​สี่เหลี่ยม, หรือ 4 ขา​ของ​โตะ, ซึ่ง​ถือเปน​จำนวน​ ตัวเลข​พื้นฐาน​สำคัญ ที่​เปนความ​คาดหวัง​เกี่ยวกับค​ วาม​สมบูรณ​เบื้องตน​ นั่นเอง หนึ่ง​รอย​ป​ตอมา​หลังจาก Empedocles, อยางไร​ก็ตาม Aristotle มิได​ พึงพอใจ​ทีเดียว​นัก​กับ​โครงสราง​หรือ​แบบแผน​อันนี้ เขา​สังเกต​เห็นวา สรรพสิ่ง​ ที่อยู​บน​โลก​ดำรงอยู​ใน​ภาวะ​ตางๆ ที่​แปรผัน​ของ​ความ​เปลี่ยนแปลง​อยู​เสมอ และ​ถกเถียง​วา​บางสิ่ง​บางอยาง​มัน​ ได​สูญสลาย​หายไป โดย​อิทธิพล​ของ​ แนวคิด Plato เกี่ยวกับอ​ ุดมคติ​อัน​ หนึ่ง​ที่​เปน​นิรันดร. Aristotle ไดต​ ั้ง​ สมมุติฐาน​วา นอกจาก​ธาตุแท​ทั้ง 4 ที่​นำเสนอ​โดย Empedocles มันจัก​ ตอง​มี​เนื้อแท​ที่ 5 หรือ quintessence นั่น​คือ​ธาตุ​ที่​คงที่​และ​ไมมี​การ​ เปลี่ยนแปลง และ​ดวยเหตุใด​เหตุ​ หนึ่ง​มัน​เกี่ยวโยง​กับ​ธาตุ​อื่นๆ ทั้ง 4

ลักษณะ​ของ​การ​ปฏิวัติ​ใน​ศิลปะ ​และ​ผลงาน​ ใน​วิชา​ฟสิกส ​จะ​ดูเหมือน​แยกออกจาก​กัน ​ โดยเฉพาะ ​P​i​c​a​s​s​o​​และ ​E​i​n​s​t​e​i​n ​โดย​ทั่วไป​แลว ​ศิลปะ​นั้น​จะ​ลวงหนา​มา​กอน​การ​ปรับปรุง​แกไข​ตางๆ​​ ทาง​ดาน​วิทยาศาสตร​เกี่ยวกับ​เรื่องราว​ของ​ความ​จริง.​​โดย​ปกติ ​ภายหลัง​ จาก​การ​พัฒนา​ปรับปรุง​เหลานี้​แลว ​มัน​จะ​ถูก​นำเสนอ​ใน​นิตยสาร​ตางๆ​​ ทางวิชาการ​เกี่ยวกับ​ฟสิกส ​ศิลปน​จะ​สรางสรรค​จินตภาพ​ตางๆ​​ตอไป​ซึ่ง​ จะ​สอดคลองกับ​ความ​เขา​ใจ​อยาง​ถอง​แท​เหลานี้ ​แต​อยางไร​ก็ตาม ​จาก​ การ​สืบคน​ชีวประวัติ​บุคคล​จาก​จดหมาย​หลาย​ฉบับ​ของ​ศิลปน ​คำ​วิจารณ​ และ​ขอ​คิดเห็น,​​การ​สนทนา,​​ได​เผย​ให​เห็นวา​บรรดา​ศิลปน​ทั้งหมด​ไมเคย​ รับรู​เกี่ยวกับ​ผลงาน​ของ​พวกเขา​เลย​วา ​สามารถ​จะ​ไดรับ​การ​นำไป​ตีความ​ และ​ให​ความ​สวาง​แก​ความ​เขา​ใจ​อัน​ลึกซึ้ง​ของ​วิทยาศาสตร​ใหมๆ​​ได ​ใน​ เรื่อง​ธรรมชาติ​ของ​ความ​จริง.​​​บรรดา​ศิลปน​ยังคง​สรางงาน​กัน​ตอไป​ อยาง​ตอเนื่อง​โดย​ลำพัง​ดวย​อัจฉริยภาพ​ของ​พวกเขา ​และ​ได​คลอด​เอา​ สัญลักษณ​ตางๆ​​ออกมา ​ซึ่ง​ได​ชวย​พวก​ที่เหลือ​อยาง​พวกเรา(​คือ​บรรดา​นัก​ วิทยาศาสตร​ทั้งหลาย)​​ได​ยึด​จับความ​หมาย​เกี่ยวกับ​แนวความคิด​ใหมๆ​​ พวก​นั้น ​แม​ศิลปน ​อาจ​ไมได​บัญญัติ​สูตร ​หรือ​กำหนด​อะไร​ขึ้น​มา​เปนระบบ​ ใน​เชิง​สติปญญา​เลย​ก็ตาม ​หลักการ​เดียว​กัน​นี้​ถือวา​เปนจริง​ดวย​ในทาง​กลับ​กัน ​ใน​การ​คนพบ​ ของ​นัก​ฟสิกส ​โดย​ปกติ​แลว​พวกเขา​ไม​ใครรู​อะไร​เกี่ยวกับ​ภาพเขียน​ตางๆ​​ ที่​ทำ​มา​กอน​ลวงหนา​โดย​ศิลปน​ทั้งหลาย ​แทบ​จะ​ไมเคย​มี​นัก​ฟสิกส​คน​ ใด ​สนทนา​ถึง​การ​กาวหนาอ​ ยาง​สำคัญยิ่ง​ใน​วิทยาศาสตร​ของ​พวกเขา ​ โดย​ยอมรับ​ศิลปน​คน​หนึ่ง​คน​ใด​วา​มี​อิทธิพล ​ซึ่ง​ลวงหนา​มา​กอน​พวกเขา.​​ ถึงอยางไร​ก็ตาม ​มิตรภาพ​ตางๆ​​อยาง​ลึกซึ้ง​เปน​จำนวน​มาก​ตลอดมา​ใน​ ชวงเวลา​ประวัติ​ศาสตร​ระหวาง ​”​ศิลปน”​​และ ​“​นัก​วิทยาศาสตร”,​​​ลักษณะ​ ของ​การ​ปฏิวัติ​ใน​ศิลปะ ​และ​ผลงาน​ใน​วิชา​ฟสิกส ​จะ​ดูเหมือน​แยกออกจาก​ กัน​โดยเฉพาะ P​ ​ic​ a​ s​ ​s​o​​และ ​E​in​ s​ ​t​ei​n​ ​​ผู​ซึ่ง​ขาพเจา​จะ​แสดง​ให​เห็น​ถึง​การ​ มี​สวน​ใน​ทัศน​ภาพ​รวม​กัน(​ใน​บทความ​ชิ้น​ตอไป)​​ทั้งคู​ไมเคย​พบปะ​กัน​เลย​ หรือ ​แม​​แต​จะ​แสดง​ให​เห็นวา​สน​ใจ​ใน​งาน​ของ​กัน​และ​กัน​แต​ประการ​ใด ​งานศิลปะ​ของ​อารยธรรม​ตะวันตก ​ผลงาน​ทาง​ดาน​ทัศนศิลป​นั้น ​ไมได​ดำรง​อยู​อยาง​เปนอิสระ​จาก​ ดนตรี,​​การ​ละคร,​​กวีนิพนธ,​​วรรณคดี,​​ปรัชญา,​​และ​สถาปตยกรรม,​​ ขาพเจา​จะ​ถักทอ​เสน​ใย​เหลานี้​เขาไป​ใน​สิ่งทอ​หรือ​โครงสราง​ของ ​t​he​ s​ ​is​ ​​ (​ขอสรุป)​​นี้​อยาง​เหมาะสม ​แต​อยางไร​ก็ตาม ​สาย​ใย​ทาง​ความคิด​ที่​เปน​ แกนกลาง​ใน​ที่นี้​คือ ​งาน​ทาง​ดาน​ทัศนศิลป​ของ​อารยธรรม​ตะวันตก​ถือเปน​ ฉากหลัง​ของ​วิชา​ฟสิกส.​​กลุม​ดาย​ที่​พัน​กัน​อันนี้​สามารถ​ไดรับ​การ​คลี่​คลาย​ ออกมา ​เพื่อ​ตาม​แกะรอย​ยอนกลับ​ไปได ​โดย​ผาน​ยุคสมัย​ยุค​เมโสโปเต​เมีย​ โบราณ,​​อียิปต,​​กรีก,​​และ​ถัดจาก​นั้น​คือ​โรม ​ตามลำดับ ​ ​สาย​ใย​ทาง​ความคิด​นี้ ​ดูเหมือน​จะ​ถูก​ทำ​ให​แตกออก​ใน​ชวง​ระหวาง​ ภาวะ​การ​แตกตัว​ของ​ยุคมืด ​(​D​ar​ ​k​​A​g​es​ ​)​​แต​ใน​ยุค​แหง​ค่ำคืน​นั้น ​มัน​ ยังคงมี​การ​ปนดาย​หรือ​เสน​ใย​เหลานี้​ตอมา ​ซึ่ง​เรา​ไมได​สังเกตเห็น​สวน​ ใหญ​ใน​ยุโรป ​และ​ได​ปรากฏตัว​ออกมา​อีกครั้ง​ใน​ยุคกลาง ​(M ​ ​id​ ​d​le​ ​​A​g​es​ ​)​​ จนกระทั่ง,​​คลาย​กับ​การ​เกิดขึ้น​ของ​นก​ฟนิคซ ​(​p​ho​ e​ n​ i​x​ ​​คือ ​นก​ขนาด​ใหญ​ ที่​สวยงาม​ใน​ตำนาน ​มีอายุ ​50​ 0​ -​ ​60​ 0​ ​​ป ​มัน​เผา​ตัวเอง​ให​ตาย ​และ​จากเ​ถา​ ถาน​นั้น​มัน​จะ​กลับ​ฟนคืน​ชีวิต​ได​อีก)​,​​มัน​ได​ปรากฏขึ้น​มา​ใหม​อีกครั้ง​ดวย​ ความ​รุงโรจน​ใน​สมัย​เรอ​เนสซ​องค ​วัฒนธรรม​ที่​พวกเรา​เรียกวา​ประเพณี​ แบบ​ตะวันตก ​ตอจาก​นั้น ​ได​แพรกระจาย​คลาย​ตาขาย​ออกไป​ครอบคลุม​ พื้น​ที่​ตางๆ​​อยาง​กวางขวาง ​จนกระทั่ง​โอบลอม​ทั่ว​ทั้งหมด​ของ​ทวีปยุโรป​ และ​อเมริกา ​ ​ธาตุแ​ ท​ของ​สรรพสิ่งใ​ น​จักรวาล ​เพื่อ​ที่​จะ​สรางสรรค​บริบท​หนึ่ง​อัน​จะ​นำมาซึ่ง​การ​สนทนา​กัน​ถึง​ ผลงาน​สวนตัว​ของ​ศิลปน​และ​สืบคน​ดู​วา​ผลงาน​เหลานี้ ​มันส​ ัมพันธ​กัน​ อยางไร​กับ​ทฤษฎี​ตางๆ​​ทาง​ดาน​ฟสิกส ​เรา​จะ​ตอง​เริ่มตน​ขึ้น​โดย​ยอนกลับ​ ไปยัง​ยุคกรีก​โบราณ,​​ณ ​ที่​แหงนี้ ​ขอ​สนับสนุน​ตางๆ​​เปน​จำนวน​มาก​ เกี่ยวกับ​คุณคา​ของ​เรา​ใน​ปจจุบัน​และ​ระบบ​ความ​คิดได​กอ​กำเนิด​ขึ้น ​อันนี้​ ไม​เหมือนกับ​ผูกอตั้ง​ที่​ยิ่ง​ใหญ​ทาง​ดาน​ศาสนา​สำคัญๆ​​ของโลก,​​บรรดา​ นัก​คิด​ชาวกรีก​ใน​ยุค​แรกๆ​​นั้น ​เริ่มตน​การ​สืบสวน​ของ​พวกเขา​โดย​ตั้ง​ สมมุติฐาน​วา ​“​สิ่ง​ทั้งมวล”​(​un​ i​​v​er​ ​s​e)​ ​​อัน​ประจักษ​แจง​และ​หลากหลาย​นั้น ​ เกิดขึ้น​มาจาก​หลักการ​เดียว​ของ​จักรวาล ​(​co​ s​ ​m​ic​ )​ ​​ที่​ไม​อาจ​แบง​แยก​ได.​​

นับตั้งแต​ตำแหนง​ของ​กลุม​ดาว​บน​ฟากฟา ดู​เหมือนวา​มัน​ไมเคย​เปลี่ยนแปลง​ ไป​เลย​ใน​เสนทาง​อัน​ผันแปร​ของ​ดวงดาว​ที่​เดิน​ทางขาม​ขอบฟา, เขา​เสนอ​ วา​ธาตุ quintessence (ธาตุท​ ี่ 5) ไดรับ​การ​กอตัว​เปน​ปจจัย​หรือ​เนื้อแท​ของ​ ดวงดารา​ตางๆ

กาล อวกาศ พลังงาน และ​สสาร + แสง ถึงแมวา​พวกเรา​จะ​ทอดทิ้ง​ความ​คิดเห็น​ที่​ประหลาด​ตางๆ ของ​ กรีก​ใน​ยุค​ตน​นี้​ไปแลว​ก็ตาม แต​ใน​ชวง​ครึ่ง​หลัง​ของ​คริสตศตวรรษ​ที่ 20 แบบแผน​ของ​โบราณ​อันนี้​ยังคง​ถูก​เก็บรักษา​เอา​ไว​เปนความ​คุนเคย​ที่​ลึกลับ​ อัน​หนึ่ง ใน​กระบวนทัศน​ปจจุบัน​ของ​เรา พวกเรา​ยังคง​ยอมรับ​โครงสราง​ พื้นฐาน​ทั้ง​สี่​ของ​ความ​จริง​กัน​อยู: นั่น​คือ อวกาศ (space พื้นที่, ที่วาง), กาล(เวลา) (time), พลังงาน (energy), และ​วัตถุ​สสาร (matter) ใน​การ​เฝาดู​แสงสวาง​จาก​ดวงดาว​ทั้งหลาย, การ​คาดการณ​ของ Aristotle นั้นใ​ กลเคียง​กับ​ความ​จริง​ของ​วิชา​ฟสิกส​ใน​คริสต​วรรษ​ที่ 20, ธาตุ​ ที่ 5 (quintessence) ทีเ่​รา​ได​เรียนรู มิใช​ดวงดาว​ตางๆ แต​คอนขาง​ที่จะ​ เปน”แสง” อันนี้​ดู​เหมาะสม​เหลือเกิน มัน​ยาก​ที่จะ​อธิบาย​และ​เปน​ปริศนา​อัน​ ลึกลับ. ธาตุ​ที่ 5 นี้​ทำใหเกิด​ความ​มหัศจรรย​และ​ยำเกรง​กัน​มาตลอด​ประวัติ​ ศาสตร, ไมก็​มัน​เปนความ​นา​อัศจรรย​ของ​ไฟ หรือ​เปน​รังสี​ที่​ไดรับ​การ​บำรุง​ หลอเลี้ยง​มาจาก​ดวงอาทิตย แสงสวาง​ใน​ตัว​ของ​มัน​เอง และ​เกี่ยวกับ​ตัว​มัน​ มักจะ​เปน​ธาตุแท​ที่​ดู​ลึกลับ​มาก​ที่สุด มัน​ได​ถูก​ทำให​สอดคลอง​และ​ประสานกัน​ไปกับ​ตำแหนง​อัน​สำคัญ​ ใน​ทุกๆ ศาสนา​ของโลก และ​การ​คนพบ​ตางๆ ใน​วิชา​ฟสิกส​สมัยใหม​ได​ เผยใหเห็น​วา มัน​เปน​ธรรมชาติ​ที่​เฉพาะ​พิเศษ​ของ”แสง” ที่ถือ​กุญแจ​เพื่อ​ ไข​ปริศนา​อัน​ลึกลับ​เกี่ยวกับ​ธาตุ​อื่นๆ อีก 4 อยาง, ขอบเขต​ความรู​เกี่ยวกับ​ กลศาสตร​ควอนตัม​และ​ทฤษฎี​สัมพันธภาพ ทั้งคู​เกิดขึ้น​มาจาก​คำ​ถาม​ที่​ ไมมี​ขอยุติ​เกี่ยวกับ​ธรรมชาติ​ของ​แสง. ยิ่ง​ไป​กวา​นั้น Einstein ยังไ​ ด​คนพบ​ วา​ความเร็ว​ของ​แสง​นั้น​มี​คา​ตัวเลข​ที่​คงที่​และ​ไม​เปลี่ยนแปลง. ใน​หนทาง​ที่​ นาประหลาด​บางอยาง แสง​คือ​สิ่ง​ที่​เชื่อมโยง​เกี่ยวของ​กับ​อวกาศ (space), กาล (time), พลังงาน (energy), และ​วัตถุ (matter), สัญลักษณ​สำหรับ​ ความเร็ว​ของ​แสง​ใน​วิชา​ฟสิกส​คือ, c, ซึ่ง​ได​แสดงบทบาท​ที่​สำคัญ​อัน​หนึ่ง​ใน​ การ​เปน​กุญแจ​สมการ​ที่​เกี่ยวของ​กับ​ธาตุ​อื่นๆ ทั้ง 4


Fine Arts News

พิธี​ไหวครู​คณะ​วิจิตรศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม

“กราบครุปูจาสรวงสา อาจารยเจา” คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม จัดพิธีไหวครูคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม “กราบครุปูจาสรวงสาอาจารยเจา” (ART GURU OFFERING CEREMONY) วันพฤหัสบดีที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 เวลา 9.00 – 12.00 น. ณ ลานสักหนาศาลาธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม ถนนหวยแกว อ.เมือง จ.เชียงใหม

พิธี​ไหวครู​ใน​แบบ​ลาน​นา​โบราณ​ของ​คณะ​วิจิตรศิลป​ได​จัด​ขึ้น​ เปนประจำ​ทุกๆ​ป​และ​ถือเปน​ประเพณี​ที่​สำคัญ​โดย​คณะ​วิจิตรศิลป​ซึ่ง​เปน​ ผูนำทาง​ดาน​งานศิลปะ​และ​การ​อนุรักษ​หรือ​สืบทอด​วัฒนธรรม​ประเพณี​ที่​ ดีงาม​ของ​ชาว​ลาน​นา​ไทย​พิธี​ไหวครู​ก็​ถือเปน​ประเพณี​ที่​ชาว​ลาน​นา​ให​ความ​ สำคัญ​เพราะ​เปน​ประเพณี​การ​เคารพ​กราบไหว​ครูบาอาจารย​ภายใน​งาน​พบ​ กับ​ประเพณี​การ​ไหวครู​แบบ​โบราณ​ประกอบดวย​ริ้ว​ขบวนแห​เครื่อง​สักการะ​ ขบวนแห​เครื่องเซน​ไหวครู​โดย​นักศึกษา​5​สาขาวิชา​คือ​สาขาวิชา​ศิลปะ​ไทย​ สาขา​ประติมากรรม​สาขา​จิตรกรรม​สาขา​ภาพพิมพ​และ​สาขา​การ​ออกแบบ​ ที่​แสดงถึง​การ​เคารพ​ธรรมชาติ​และ​สิ่ง​ศักดิ์สิทธิ์​โดย​มี​ขบวนแห​เสลี่ยง​หลวง​ นาง​แกว​การ​บรรเลง​ดนตรี​พื้นเมือง​พรอม​นางรำ​ใน​เครื่อง​แตงกาย​ที่​สวยงาม​ ตระการ​ตาม​การ​แตงกาย​ที่​สวยงาม​พรอมทั้ง​ชม​พิธี​ฮอง​ขวัญ​และ​ผูก​ขอมือ​ นักศึกษา​ใหม​ซึ่ง​เปนการ​ไหวครู​ของ​คณะ​วิจิตรศิลป​ที่​ได​ปฏิบัติ​ยึดถือ​กัน​มา​ ตั้งแต​รุน​แรก​จนถึง​รุน​ปจจุบัน​ พิธ​ไี หวครู​ใน​แบบ​ลา น​นา​โบราณ​ของ​คณะ​วจิ ติ รศิลป​ได​จดั ​ขน้ึ ​เปนประจำ​ ทุกๆ​ป​และ​ถือเปน​ประเพณี​ที่​สำคัญ​เพราะ​คณะ​วิจิตรศิลป​ได​กอ​ตั้งขึ้น​มา​ ภายใต​อุดมการณ​อยาง​หนึ่ง​ที่วา​จะ​เปน​ผูนำทาง​ดาน​งานศิลปะ​และ​การ​ อนุรักษ​หรือ​สืบทอด​วัฒนธรรม​ประเพณี​ที่​ดีงาม​ของ​ชาว​ลาน​นา​ไทย​เอา​ไว​

พิธี​ไหวครู​ก็​ถือเปน​ประเพณี​ที่​ชาว​ลาน​นา​ให​ความ​สำคัญ​เพราะ​เปน​ ประเพณี​การ​เคารพ​กราบไหว​ครูบาอาจารย​โดยเฉพาะ​ความ​เปน​ครู​ใน​ เชิง​ชาง​และ​ทาง​ศิลปะ​นั้น​จะ​ถือวา​สำคัญยิ่ง​ซึ่ง​นักเรียน​หรือ​ลูกศิษย​ลูก​ หา​ทุกคน​พึง​ตอง​ปฏิบัติ​ดังนั้น​คณะ​วิจิตรศิลป​จึง​ได​ถือเอาวา​กอน​เริ่ม​การ​ ศึกษา​ทาง​ศิลปะ​ควร​จะ​มี​พิธีการ​เคารพ​กราบไหว​บวงสรวง​ครูบาอาจารย​ ทั้ง​ใน​ปจจุบัน​และ​ใน​ธรรมชาติ​ตลอดจน​เทพา​อารักษ​ตาม​ความ​เชื่อ​ทั้ง​ ของ​ชาวพุทธ​และ​ชาวฮินดู​เรา​ตาง​ก็​ถือเปน​ครู​แทบ​ทั้งสิ้น​ซึ่งเ​ปน​ครู​นี้​มี​ ผล​อยาง​มาก​ตอ​การ​สรางสรรค​ผลงาน​และ​กอ​ให​เกิด​แรงบันดาลใจ​ให​กับ​ เหลา​ศิลปน​ทั่วไป​ใน​ลาน​นา​อีก​ประการ​จะ​ได​เปนการ​ปลูกฝง​สิ่ง​ที่​ดีงาม​ หรือ​การ​รูจัก​เคารพ​ครูบาอาจารย​ตามแบบ​วัฒนธรรม​ไทย​ให​กับ​นักศึกษา​ นองใหม​ที่จะ​เขามา​ศึกษา​ใน​คณะ​วิจิตรศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​ พิธีการ​จะ​เริ่ม​ตั้งแต​วันกอน​เริ่มงาน​จริง​เรา​เรียกวา​วัน​แตงดา​ หมายถึง​วัน​ตระเตรียม​ขาวของ​สำหรับ​การ​เซน​ไหวครู​อาจารย​ตามแบบ​ ประเพณี​ลาน​นา​ซึ่ง​ประกอบ​ไป​ดวย​เครื่องเซน​ไหวครู​5​สาขาวิชา​คือ​ สาขาวิชา​ศิลปะ​ไทย​สาขา​ประติมากรรม​สาขา​จิตรกรรม​สาขา​ภาพพิมพ​ และ​สาขา​การ​ออกแบบ​นอกจากนี้​ยังมี​เครื่อง​เซนไหว​สำคัญ​ที่​แสดงถึง​ การ​เคารพ​ธรรมชาติ​และ​สิ่ง​ศักดิ์สิทธิ์​ใน​สากล​โลก​ที่​นักศึกษา​ทาง​ศิลปะ​ พึงปฏิบัติ​คือ​ขัน​เทวดา​อัน​ประกอบ​ไป​ดวย​หัวหมู​ไก​ตม​อาหารคาว​หวาน​ หมาก​เมี่ยง​ผลไม​ตลอดจน​ดอกไม​หอม​ที่​ประดับประดา​อยาง​งดงาม​และ​ ใน​วัน​แตงดา​เดียวกัน​นี้​ทาง​นักศึกษา​ได​จัด​พิธี​สำคัญ​คือ​พิธี​เลือก​ตัวแทน​ นักศึกษา​หญิง​เพื่อที่จะ​อัญเชิญ​ขัน​บายศรี​และ​สิ่ง​มงคล​เขาสู​พิธีการ​ ไหวครู​และ​เรียกขวัญน​ ักศึกษา​นองใหม​ก็​คือ​การ​เลือก​นาง​แกว​ นาง​แกว​ตาม​คัมภีร​ภาคเหนือ​โบราณ​หมายถึง​นาง​อิตถี​รัตนะ​คือ​ นาง​ผูวิเศษ​ที่​มี​ความ​เพียบพรอม​ดีงาม​เปน​นาง​แกว​ของ​จักรพรรดิ​และ​ หาก​ออกเรือน​แลวจะ​กลาย​เปน​แมศรีเรือน​ที่​ทรง​คา​ที่สุด​ของ​ชาย​ซึ่ง​มักจะ​ เรียกวา​“เมียน​ าง​ชาง​แกว”​นอกจาก​นาง​แกว​จะ​เปน​ผู​เชิญ​ขัน​บายศรี​ขึ้น​ บน​เสลี่ยง​หลวง​อัน​งดงาม​แลว​ระหวางทาง​ที่​ขบวนแห​เครื่อง​เซนไหว​และ​ นาง​แกว​ผาน​คือ​สัน​เขื่อน​อาง​แกว​ขบวน​จะ​หยุดพัก​ให​นาง​แกว​ได​ลง​จาก​ เสลี่ยง​เพื่อ​ตักน้ำ​อัน​เปนมงคล​จาก​อาง​แกว​คือ​พิธี​รับ​น้ำ “สุ​คนธ​ศรี​สินธุ​ธารา​สุ​เทพา​ธาตุ”​หมายถึงน​ ้ำ​ที่​หลั่งไหล​มาจาก​ ยอดดอย​อัน​ศักดิ​สิทธิ์​ของ​ชาว​เชียงใหม​คือ​ดอยสุ​เทพ ประเพณี​นำ​นักศึกษา​ใหม​ขึ้น​นมัสการ​พระบรมธาตุ​ดอยสุ​เทพ​ ประจำป​2551​วันเสารท​ ี่​5​กรกฎาคม​2551​สโมสร​นักศึกษา​คณะ​ วิจิตรศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​ได​เขารวม​จัดงาน​รับ​นองใหม​เดิน​ขึ้น​ ดอยสุ​เทพ​เพื่อ​นมัสการ​พระบรมธาตุ​ดอยสุ​เทพ​​ซึ่ง​เปน​ประเพณี​ของ​ มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​จัด​ขึ้น​ทุกๆ​ป​นับเปน​ประเพณี​ที่​ดีงาม​ที่​นักศึกษา​ มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​รวมกัน​จัด​ขึ้น​เปนประจำ​ทุกป​ตั้งแต​เริ่ม​กอตั้ง​ มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​ใน​ป​พ.ศ.2507​เปนตนมา​เพื่อค​ วาม​เปน​สิริมงคล​ เสริมสราง​พลานามัย​สราง​ความ​สามัคคี​ให​แก​นักศึกษา​นองใหม​ นักศึกษา​รุนพี่​นักศึกษา​เกา​และ​คณาจารย​ตลอดจน​เปนการ​สืบสาน​ ประเพณี​อัน​ดีงาม​ของ​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​ให​คงอยู​ตอไป ขบวน​เดิน​ขึ้น​ดอยสุ​เทพ​ประกอบดวย​ขบวน​ปาย​ขบวน​ผูบริหาร​ และ​คณะกรรมการ​สมาคม​นักศึกษา​เกา​ธง​มหาวิทยาลัย​และ​ธง​คณะ​ ขบวน​ชาง​ฟอน​และ​นัก​ดนตรี​พื้นเมือง​ขบวน​เครื่อง​สักการะ​และ​ขบวน​ นักศึกษา​21​คณะ​จาก​ประตูหนา​มหาวิทยาลัยเ​ชียงใหม​สู​ถนน​หวย​ แกว​ประกอบพิธี​สักการะ​อนุสาวรีย​ครูบา​ศรี​วิชัย​แลวจึง​มุงหนา​เดินทาง​ ไป​นมัสการ​พระบรมธาตุ​ดอยสุ​เทพ​ซึ่ง​ผู​รวม​ขบวน​ตาง​พรอมใจ​สวม​ชุด​ พื้นเมือง​เพื่อ​สงเสริม​และ​อนุรักษ​อัน​งดงาม​ของ​วัฒนธรรม​ลาน​นา​และ​ เมื่อ​ถึง​จุดหมาย​แลว​จะ​มี​การ​แสดง​ของ​นักศึกษา​นองใหม​พรอม​รวมกัน​ ประกอบพิธี​สักการะ​พระบรมธาตุ​ดอยสุ​เทพ​รับ​โอวาท​จาก​พระ​เถระ​ ผูใหญ​ปฏิญาณตน​เปน​นักศึกษา​ที่​ดี​และ​เปน​พลเมือง​ดี​ของ​ประเทศ​ แลวจึง​เดินทาง​กลับ​สู​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม

นิทรรศการภาพถาย

“เงา​แหง​กรุง​เยรูซาเลม” The Shadow of Jerusalem นิทรรศการระหวางวันที่​14​-​29​สิงหาคม​2551 ​ หอ​นิทรรศการ​ศิลป​วัฒนธรรม​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​รวมกับ​ สถาน​เอกอัครราชทูต​อิสราเอล​จัด​นิทรรศการ​ภาพถาย​​เงา​แหง​กรุง​เยรูซาเลม​ (The​Shadow​of​Jerusalem)​โดย​ศิลปน​ชาว​อิสราเอล​คุณเล​โอ​นิด​พาด​รูว​ (​Mr.​Leonid​Padrul)​​ผลงาน​​​ใน​นิทรรศการ​ได​ถายทอด​เอกลักษณ​ของ​ ประเทศ​อิสราเอล​อัน​มี​เสนห​และ​สะทอน​ให​เห็น​มุมมอง​สวนตัว​ของ​ชางภาพ​ที่​ มี​ตอ​ภูมิทัศน​โดยเล​โอ​นิด​พาด​รูว​ได​พิชิต​ยอดเขา​และ​เก็บ​ภาพ​ความ​งดงาม​ ตระการตา​ของ​ทะเลสาบ​เดดซี​​​​มา​ให​เรา​ได​ชม​ซึ่ง​ใน​พระคัมภีร​คับบา​ลาห​ ทะเลสาบ​เดดซี​มี​อีก​ชื่อวา​“เงา​แหง​กรุง​เยรูซาเลม”​ ​ ผลงาน​ของ​เขา​ได​บันทึก​วิถี​ชีวิต​ทองถิ่น​อันเรียบงาย​เผยความลับ​ แหง​การ​สรางสรรค​ซึ่ง​มี​มา​นานกวา​รอย​ป​กลาว​ได​วา​พาด​รูว​​ได​รังสรรค​ผลงาน​ ระดับ​ชั้นเลิศ​ที่​สามารถ​ผสมผสาน​กวีนิพนธ​​และ​มุมมอง​ของ​ปราชญ​ไว​ได​อยาง​ กลมกลืน​ภาพถาย​ทั้งสิ้น​กวา​41​ภาพ​ทีป่​ รากฏ​ใน​นิทรรศการ​ชุด​นี้​ไมได​ผาน​ การ​ตกแตง​เทคนิค​ทาง​คอมพิวเตอร​แตอยางใด ​

ขอ​เชิญ​ผู​ที่​สนใจ​รวม​ชม​นิทรรศการ​และ​เขารวม​พิธีเปด นิทรรศการในวันพฤหัสบดีที่ 14 สิงหาคม 2551 เวลา 18.00 น. ​ณ​หอง​แสดง​งาน​นิทรรศการ​ชั้น​1​​หอ​นิทรรศการ​ ศิลป​วัฒนธรรม​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม​นิทรรศการ​แสดง​ให​ชม​ ไป​จนถึง​วันที่​29​สิงหาคม​​2551​​เปดท​ ำการ​วันอังคาร​-​อาทิตย​ เวลา​9.00​–​17.00​น.​(ปดว​ ันจันทร​และ​วัน​นักขัตฤกษ)​ เขา​ชม​โดย​ไม​เสีย​คา​ใชจาย​ใดๆ

โครงการ

แลกเปลี่ยนนักศึกษา

จากการดำเนินการที่ผานมา คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดสนับสนุน ใหนักศึกษาไดมีประสบการณในการทำงานรวมกับ สถาบันการศึกษาตางประเทศ ดังตอไปนี้ โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหวางคณะวิจิตรศิลป และ Kungl. Konsthogskolan (Royal University College of Fine Arts) ประเทศสวีเดน ดำเนินการ​ภายใต​โครงการ​Exchange​Program​ (Linnaeus-Palme)​โดย​ไดรับ​การ​สนับสนุน​ทุน​จาก​The​Swedish​state​ organization​Sida​ทุนด​ ังกลาว​จะ​สนับสนุน​คา​ใชจาย​ใน​การ​เดินทาง​คา​ ที่พัก​เบี้ยเลี้ยง​และ​คา​วัสดุ​ใน​การ​ทำงาน​กำหนด​ให​นักศึกษา​เขารวม​ โครงการ​ณ​ประเทศ​สวีเดน​ระยะเวลา​1​ภาคการศึกษา​(4​เดือน)​​ใน​ป​ 2551​มีน​ ักศึกษา​ไดรับ​การ​คัดเลือก​เขารวม​โครงการ​ณ​ประเทศ​สวีเดน​ โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับ The Australian National University ประเทศออสเตรเลีย​ป​2551​มีน​ ักศึกษา​ไดรับ​ทุน​ Australian​Government​Scholarship​​ซึ่งเ​ปน​ทุนรัฐบาล​ออสเตรเลีย​ สำหรับ​โครงการ​แลกเปลี่ยน​นักศึกษา​สนับสนุน​คา​เดินทาง​และ​คา​ครอง​ชีพ​ นักศึกษา​ได​เขารวม​โครงการ​แลกเปลี่ยน​ณ​ประเทศ​ออสเตรเลีย​ ระยะเวลา​1​ภาคการศึกษา​(3​เดือน)​​ โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับ Hue College of Arts, Hue University ประเทศเวียดนาม​เปน​ทุน​ที่​สนับสนุน​โดย​คณะ​วิจิตรศิลป​​ เปน​คา​เดินทาง​คา​ที่พัก​และ​เบี้ยเลี้ยง​ให​แก​นักศึกษา​เพื่อ​เขารวม​โครงการ​ ณ​ประเทศ​เวียดนาม​ป​2551

รายละเอียด​เพิ่มเติม​ติดตอ​คุณ​กุณฑีรา​โทร.​02-​02-204-9237

Arts august 2008

7


Artist จรูญ​บูญสวน กองบรรณาธิการ​ประวัติศิลปน​คณะวิจิตรศิลป​มหาวิทยาลัยเชียงใหม

อ. จรูญ บุญสวน อดีตอาจารยสาขาจิตรกรรม คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม ซึ่งไมมียศตำแหนงทางวิชาการใดๆ แต เปนศิลปนนามกระเดื่องของสังคม ซึ่งมีผูสะสมภาพเขียนของทาน จำนวนมาก ดังปรากฏในหอศิลปในหลายสถาบัน ตลอดรวมถึง หองตอนรับแขกบานแขกเมืองในทำเนียบรัฐบาล(สมัย นายกฯ ชวน หลีกภัย) ​​​ ความ​เปน​ศิลปน​ที่อยู​ใกล​ชิดกับ​ธรรมชาติ​นับจาก​วัยเด็ก​ จนกระทั่ง​ลวง​เขา​ปจฉิมวัย​ทำให​จรูญ​บุญ​สวน​สรางสรรค​ผลงาน​ จิตรกรรม​ทิวทัศน​ธรรมชาติ​ได​อยาง​โดดเดน​นุมนวล​รุมรวย​ดวย​สี​สรร​ งดงาม​แม​สิ่ง​เหลานี้​จะ​ผุด​ขึ้น​มาจาก​หลอด​สี​เพียง​ไม​กี่​หลอด​ใน​จำนวน​ พัน​ที่อุตสาหกรรม​ศิลปะ​ได​ผลิตขึ้น​อาจารย​บอกวา​สี​สรร​ที่​ดู​สุกปลั่ง​ อวด​ความ​เปน​ธรรมชาติ​และ​ความ​อุดม​ของ​สี​มาจาก​การ​เรียนรู​อยาง​ ชาๆ​(slow​knowledge)​ดวย​การ​ปฏิบัติ​การ​มี​วินัย​ความ​ขยัน​และ​ ความ​ใสใจ​ไม​นอยกวา​30​ป​นับจาก​เริ่ม​เรียน​ศิลปะ​ที่​โรงเรียน​ศิลป​ ศึกษา(วิทยาลัย​ชาง​ศิลป)​จวบจน​ปจจุบัน ​ จรูญ​บุญ​สวน​เริ่ม​เขียน​รูป​มา​ตั้งแต​วัยเด็ก​นับจาก​บานเกิด​ ที่​สิงหบุรี​และ​ผูกพัน​อยู​กับ​การ​เขียน​ภาพ​มา​โดย​ตลอด​ทาน​เลา​ให​ฟง​วา​ เมื่อ​โต​แลว​กลับ​ไปเยี่ยม​บาน​ผูใหญ​ทาน​หนึ่ง​บอกวา​เคย​เห็น​ทาน​อุม​นอง​ แลว​ใช​เทา​เขียน​รูป​บน​พื้นทราย​มา​ตั้งแต​เยาววัย​ดวย​ครอบครัว​ที่​มาจาก​ ฐาน​เกษตรกรรม​ซึ่ง​มี​ลูก​9​คน​จรูญ​เปน​บุตรชาย​คน​โต​จึง​รับภาระ​หนาที่​ ชวย​ผอนแรง​ของ​บุพการี​ดวย​การ​เลี้ยง​นองๆ​ทุกคน​แมกระทั่ง​หลัง​จบ​ การ​ศึกษา​แลว​ที่​มหาวิทยาลัย​ศิลปากร ขณะ​ที่​เรียน​อยูที่​โรงเรียน​ศิลป​ศึกษา​ทาน​ได​พบ​กับ​คุณ​ชวน​หลีก​ ภัย​ซึ่ง​ขณะนั้น​เปน​นักเรียน​รุนนอง​ใน​สถาบัน​เดียวกัน​ทั้งสอง​มัก​พบปะ​ พูดคุยกัน​เสมอ​อาจารย​จรูญ​เลา​เกร็ด​ประวัติ​เล็กๆ​นอยๆ​ให​ฟง​วา​คุณ​ ชวน​มี​บุคลิก​ที่​แตกตาง​ไปจาก​นักเรียน​ศิลปะ​โดย​ทั่วไป​และ​พูดคุย​เรื่อง​ ที่​แตกตาง​ไปจาก​คน​อื่นๆ​แต​ทั้งคู​ก็​ชอบ​สนทนา​กัน​เสมอ​จน​คุณ​ชวน​ไป​ เรียนตอ​ที่​มหาวิทยาลัย​ธรรมศาสตร​สวนตัว​ทาน​ได​เขา​ศึกษาตอ​ที่​คณะ​ จิตรกรรมฯ​มหาวิทยาลัย​ศิลปากร อาจารย​เลา​วา…​ผม​เขาเรียน​ศิลปากร​เมื่อ​ป​2501​คน​แถว​บาน​ เขา​คิดวา​ผม​ไป​เรียน​เลน​โขน​ผม​ยัง​เคย​พูดเลน​กับ​พวกเขา​วา​ผม​เลนเปน​ พระราม​เพราะ​ถา​บอกวา​ไป​เรียน​เขียน​รูป​พวกเขา​จะ​ไมเขาใจ​วา​เรียน​ ไป​ทำไม​จึง​ไม​อยาก​อธิบาย​การ​ที่​ผม​เขาเรียน​ศิลปากร​ได​นาจะเปน​ เพราะ​อาจารย​อรุณ​โลหะ​ชา​ละ​ทาน​เคย​เลา​ให​ฟง​วา​อาจารย​ศิลป​พีระ​ ศรี​(ชาว​อิตาเลียน​หนึ่ง​ใน​ผูกอตั้ง​​มหาวิทยาลัย​ศิลปากร)​เรียก​ทาน​ ไป​ถาม​วา​นาย​จรูญ​คะแนน​สอบ​คาบ​ลูก​คาบ​ดอก​ใน​ฐานะ​ที่​เคย​เปน​ อาจารยใหญ​โรงเรียน​ศิลป​ศึกษา​จึง​ขอ​ความเห็น​จาก​อาจารย​อรุณ​วา​จะ​ ให​สอบได​หรือ​สอบตก อาจารย​อรุณ​รับรอง​ผม​วา​นาจะ​เรียน​ได​ผม​จึง​ได​เขาเรียน​คณะ​ จิตรกรรมฯ​ทั้งๆ​ที่​ผม​เคย​เปน​คน​ที่​ทำให​ทาน​ตอง​ออกจาก​การ​เปน​

อาจารยใหญ​ที่​โรงเรียน​ศิลป​ศึกษา​กรรม​อันนี้​หมด​ไปแลว​เพราะ​เมื่อ​ผม​ จบ​จาก​มหาวิทยาลัย​ศิลปากร​และ​ไป​สอนหนังสือ​อยูที่​วิทยาลัย​เทคนิค​ โคราช​​ผม​ก็​เคย​ถูก​นักศึกษา​เดินขบวน​ขับ​เหมือนกัน ตอ​คำ​ถาม​เรื่อง​เกี่ยวกับ​การ​เขียน​รูป​ทิวทัศน​ขนาดใหญ​ซึ่ง​หลาย​ รูป​มี​ขนาด​ยาว​ถึง​3​เมตร​ดวย​พูกัน​เบอร​4​เพียง​ดาม​เดียว​(ขนาด​ของ​ พูกัน​เบอร​4​มี​ความ​กวาง​นอยกวา​1​เซนติเมตร)​จน​แทบจะ​หา​กรอบ​ใส​ รูป​ไมได​ในประเทศ​ไทย​อาจารย​จรูญ​ตอบ​วา…​คุณ​โกวิทย​อเนก​ชัย​ทาน​ เคย​บวช​เปน​พระ​ทาน​เคย​ธุดงค​ผาน​โคราช,​อาจารย​สุวิช​สถิตย​วิทยา​ นันท​ไปเยี่ยม​ทาน​และ​ถาม​วา​จะ​เดิน​ธุดงค​ไป​ไหน?​ทาน​ตอบ​วา​จะ​ไป​อุดร​ อาจารย​สุวิช​ถาม​วา​จะ​ไปถึง​เมื่อไร​ทาน​โกวิทย​ตอบ​ดีมาก​ทาน​บอกวา​ ทาน​ไม​กำหนด​วัน​ที่จะ​ไปถึง​ทาน​ตั้งใจ​แต​จะ​ไป​อุดร​จะ​ถึง​เมื่อไร​ก็ได.​ผม​

8

Arts august 2008

จำ​เรื่อง​นี้​ได​ไม​คิดวา​จะ​มี​โอกาส​นำมา​ใชกับ​การ​เขียน​รูป​ขอ​เพียง​ตั้งใจ​ เขียน​แลว​มัน​ก็​เสร็จ​เอง​ผม​เชื่อ​วาการ​เขียน​รูป​ขนาดใหญ​ก็​คือ​การ​เขียน​ รูป​เล็กๆ​หลายๆ​รูป​มา​ตอกัน​ไมใช​เอา​รูป​เล็ก​มา​ขยาย​ใหญ คุณ​ชวน​หลีก​ภัย​ทาน​ยัง​เคย​เปรย​วา​“บาน​พี่​จรูญ​คง​มี​ สวนดอกไม​ใหญมาก​เห็น​เขียน​รูป​มี​ดง​ดอกไม​มากมาย”​อาจารย​จรูญ​ ตอบ​วา​“มี​สวน​อยู​นิดเดียว​แต​ผม​ไป​ซื้อ​ดอกไม​มา​เปน​กระถาง​แลว​ใช​

ความ​โดดเดน​ใน​ภาพ​ทิวทัศน​สมัย​ที่​เรียน​อยู​ชั้นป​4​อาจารย​ศิลป​ยังอยู​ อาจารย​จรูญ​มักจะ​ได​คะแนน​วิชา​จิตรกรรม​หัวขอ​Nude,​Portrait,​ Figure​ไมดี.​วันหนึ่งอ​ าจารย​ศิลป​เรียก​อาจารย​เขาไป​ใน​หอง​แลว​บอกวา​ “จรูญ​ตอไปนี้​นาย​ไม​ตอง​เขียน​Nude,​Portrait,​และ​Figure​อีกแลว​ให​ เขียน​ภาพ​หุนนิ่ง(Still​life)​และ​ทิวทัศน(Landscape)​มา​แทน”.​อาจารย​ ศิลป​ทาน​เปน​คน​พิเศษ​รูวา​ใคร​ทำ​อะไรได​ทำ​อะไร​ไมได​ทาน​มอง​อนาคต​ ของ​ลูกศิษย​ออก​ทุกวันนี้​อาจารย​จรูญ​จึง​ เขียน​รูป​เฉพาะ”ภาพ​ทิวทัศน”และ”หุนนิ่ง”​ เทานั้น​กับ​เสนสาย​และ​รอย​แตมสี​ จำนวน​ลาน​ที่​เปนตน​กำเนิด​ของ​การ​ผุด​ พราย​ของ​ระยับ​สี​บน​ผาใบ​ที่​ลงพื้น​ดวย​ สี​เหลือง​สุก​ภาพเขียน​ของ​อาจารย​จรูญ​ บุญ​สวน​ใน​หัวขอ​เกี่ยวกับ​ทุง​ดอกไม​และ​ ดอก​ไมกระถาง​สี​สดสวย​ได​ถือกำเนิด​ ขึ้น​ใน​วงการศิลปะ​อยาง​เดน​ตระหงาน​ รอย​แปลง​เหลานั้น​ดุจดัง​อณู​พื้นฐาน​ของ​ สรรพสิ่ง​ที่​ประกอบ​สราง​เปน​วัตถุ​นับ​ลาน​อยาง​แต​สำหรับ​งาน​จิตรกรรม​ ของ​อาจารย​จรูญ​บุญ​สวน​​อณู​พื้นฐาน​เหลานั้น​โดย​เจตจำนงค​ อันเปนอัต​วิสัย​ของ​ตัว​ศิลปน​ทาน​เลือก​ที่จะ​ใหกำเนิด​จักรวาล​แหง​ บุพชาติ​ที่​คอย​ทำหนาที่​เพิ่มเติม​เสริมแตง​ธรรมชาติ​และ​สนาม​กายภาพ​ ของ​สิ่งแวดลอม​ให​งดงาม​อยู​ใน​ตึก​ใหญ​อัน​ไร​ราง​ลมหายใจ​กลับ​กอปร​ ไป​ดวย​ชีวิต​และ​ความ​อบอุน​ชุมชื่น​ภาพเขียน​ของ​อาจารย​จรูญ​จึง​เขา​ เพิ่มเติม​ลมหายใจ​ใหอิฐ​สราง​และ​รูปทรง​คอนกรีต​อมนุษย​ใน​ตัวอาคาร​ที่​ สถาปนิก​ปรับ​แตง​ประยุกต​มาจาก​ถ้ำ​ให​บงบอกถึง​การ​มี​มนุษย​อาศัย ทุกวันนี้​อาจารย​จรูญ​ยังคง​เขียน​รูป​ที่​ตน​เอง​รัก​อยู​และ​บริหารงาน​ หอศิลป​สวนตัว​รวมกัน​กับ​ภรรยา​ที่​มี​อยู​ถึง​สอง​หลัง​ใน​เขต​ตัวบาน​ซึ่ง​ สรางขึ้น​สำหรับ​ให​คน​ลำพูน​และ​ละแวก​ใกลเคียง​ได​เขามา​ใช​ประโยชน​ ทางการ​ศึกษา​ศิลปะ​​แม​วัย​จะ​ลวง​เขา​ป​ที่​70​แลวก​ ็ตาม​อาจารย​ยังคง​ เขียน​รูป​อยาง​มี​วินัย​และ​กระฉับกระเฉง​ทุกวัน​เปน​ที่ปรึกษา​อาจารย​สอน​ ศิลปะ​ใน​หลาย​สถาบัน​และ​ได​รับเชิญ​ให​เปน​อาจารย​พิเศษ​ไป​บรรยาย​ ตาม​สถาบันน​อุดมศึกษา​ตางๆ​ทั่วประเทศ ใน​บั้นปลาย​ชีวิต​อาจารย​ตั้งใจ​ที่จะ​แสดง​ภาพเขียน​ผลงาน​ จิตรกรรม​ภาพ​ทิวทัศน​ให​กับ​บุพการี​ทั้ง​สอง​ทาน​และ​ทุกวันนี้​อาจารย​ จรูญ​ยัง​ระลึกถึง​ครูบาอาจารย​ทุกคน​โดยเฉพาะ​ศ.ศิลป​พีระ​ศรี​ซึ่ง​เปน​ผู​ ใหกำเนิด​ตัวตน​ที่สอง​ของ​ความ​เปน​ศิลปน สำหรับ​นักศึกษา​ประชาชน​หรือ​ผู​สนใจ​เท​ปอัต​ชีวิ​ประวัติ​ ปากเปลา​ของ​อ.จรูญ​บุญ​สวน​ซึ่ง​พูดถึง​ชีวิต​ใน​ชวง​วัยเด็ก​จนถึง​วัยชรา​ และ​ประสบการณ​ทำงาน​ทาง​ดาน​ศิลปะ​มา​อยาง​ยาวนาน​ทั้ง​ใน​ฐานะ​ครู​ สอน​ศิลปะ​และ​การ​เปน​ศิลปน​มืออาชีพ​สามารถ​หยิบยืม​ไดที่​หองสมุด​ คณะ​วิจิตรศิลป​มหาวิทยาลัย​เชียงใหม

จากภาพเขียนบนพื้นทราย​ ถึงจิตรกรรมในทำเนียบ

วิธี​ยาย​ไปเรื่อยๆ​ผม​ได​ความคิด​นี้​มาจาก​อาจารย​ทวี​​นันท​ขวาง​(อดีต​ อาจารย​สอน​ที่​คณะ​จิตรกรรมฯ​มหาวิทยาลัย​ศิลปากร)​เพราะ​ทาน​เคย​ได​ รับคำ​ถาม​ทำนอง​เดียวกันว​ า​“รูป​ดอกบัว”(ปจจุบัน​อยูที่​พิพิธภัณฑศ​ ิลป​ พีระ​ศรี​อนุสรณ)​ที่​ทาน​เขียน​คง​ใช​ดอกบัว​เปน​จำนวน​มาก​ทาน​บอกวา​ ทาน​มี​ดอกบัว​แค​สอง​หอ​นักศึกษา​ซื้อ​มา​ฝาก​ทาน​ใช​วิธี​ยาย​ไปเรื่อยๆ​ จนได​เปน​รูป​ขนาดใหญ.​วิธีการ​นี้​ยอดเยี่ยม​จริงๆ​ทุกวันนี้​ผม​ก็​ใช​วิธีการ​นี้​ ใน​การ​เขียน​รูป หาก​พิจารณา​ผลงาน​จิตรกรรม​ของ​อ.จรูญ​บุญ​สวน​นับจาก​ เริ่มตน​จวบจน​ปจจุบัน​จะ​เห็น​ถึง​ขอเดน​และ​ขอดอย​ที่​ปรากฎ​ขึ้น​มา​ใน​ เสนทาง​สาย​ยาว​ไกล​ของ​ความ​เปน​ศิลปน​อ.จรูญ​ไมมี​ความ​ถนัด​ใน​ การ​เขียน​ภาพเหมือน​ตัว​บุคคล(portrait)​และ​ภาพเปลือย(nude)​แตม​ ี​

อ.จรูญ​บุญ​สวน เกิด:​๒​กรกฎาคม​๒๔๘๑ การ​ศึกษา:​ศิลป​มหาบัณฑิต​(จิตรกรรม)​มหาวิทยาลัย​ศิลปากร ที่อยู:​๓๓/๒​หมู​๑๐​ตำบล​เหมืองงำ​อำเภอ​เมือง​จังหวัด​ลำพูน​๕๑๐๐๐

Faculty of Fine Arts


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.