รวยหุ้นด้วยกราฟ

Page 1


คํานํา นักลงทุนในบานเรา สามารถแบงออกเปน 2 กลุมใหญๆโดยแบงตามวิธีคิดและ วิธีการลงทุน ไดแก นักลงทุนระยะยาว ( Value Investors ) โดยนักลงทุนประเภทนี้จะ ลงทุ นเพื่ อหวังผลตอบแทนในรู ปเงินป นผล และมูลคา ของหุน ในอานาคต ไมคอ ยให ความสําคัญกับราคาหุนที่ขึ้นๆลงๆในแตละวันเทาไรนัก ส ว นนั ก ลงทุ น อี ก ประเภทหนึ่ ง คื อ นั ก ลงทุ น ระยะสั้ น ถึ ง กลาง ( Technical Investors ) เปนนักลงทุนที่หวังผลตอบแทนในรูปผลตางของราคาหุน ( Price gaining ) นักลงทุนประเภทนี้ จะใหความสําคัญกับราคาหุนมากกวาเงินปนผล เนื้ อ หาของหนั ง สื อ เล ม นี้ ถู ก ออกแบบมาสํ า หรั บ นั ก ลงทุ น ประเภท technical investors โดยแบงเนื้อหาออกเปน 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 ความรูเบื้องตนในการวิเคราะหหุนดวยเทคนิค ( technical analysis ) สวนที่ 2 ความรูเรื่อง Elliott Wave สวนที่ 3 แนะนําโปรแกรม RicherStock ขอแนะนําในการใชหนังสือเลมนี้ใหเกิดประโยชนสูงสุด ผูอานหรือผูใชหนังสือเลมนี้ ควรอานและทําความเขาใจในหมวดที่ 1 และ หมวดที่ 2 กอนตามลําดับ หลังจากเขาใจ พื้ น ฐานด า นเทคนิ ค แล ว ขอแนะนํ า ให อ า นหมวดที่ 3 ต อ ไป ซึ่ ง เป น หมวดที่ แ นะนํ า โปรแกรม RicherStock ซึ่งเปนโปรแกรมสําเร็จรูปในการวิเคราะหหุนดานเทคนิค และเปน โปรแกรมที่ ชว ยใหนั กลงทุ นบริห ารความเสี่ ยงในการลงทุ นและสร างความมั่น ใจในการ ลงทุนมากยิ่งขึ้น ดวยความปรารถนาดี RicherStock.com richerstock@yahoo.com


สารบั ญ สารบัญ

สวนที่ 1 ความรูเบื้องตนในการวิเคราะหหุนดานเทคนิค (Basic Technical Analysis) วัฎจักร (Cycle) รายละเอียดของสภาวะตางๆ แนวโนมทิศทางราคาหุน (Trend) แนวโนมขาขึ้น (uptrend) แนวโนมขาลง (downtrend) แนวโนมทรงตัว (sideway) คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average) ประโยชนของ Moving Average เคล็ดลับในการพิชิตหุน รายละเอียดของเคล็ดลับในการพิชิตหุน 1.เลือกหุนพื้นฐานดี (Fundamental Analysis) 2. เขาตลาดใหถูกจังหวะ 3. ตัดขาดทุน 4. ปลอยใหราคาหุนวิ่ง 5. เลนตามกระแส 6. อยาซื้อเฉลี่ย ถาราคาหุนตก


สวนที่ 2 ความรูเรื่อง คลื่นอีเลียต (Elliott Wave Theory) Elliott Wave Basic Impulse Pattern Corrective Pattern Suggestion

สวนที่ 3 แนะนําโปรแกรม RicherStock เกี่ยวกับโปรแกรม Richerstock เริ่มตนที่ www.richerstock.com หนา login การใชงานกราฟหุน (Stock Chart) เมนู Chart Type เมนู Time เมนู Lower Indicator-1 เมนู Lower Indicator-2 เมนู Lower Indicator-3 เมนู “ ตารางเครื่องหมายซื้อขาย ” กติกาการเลนหุน วิธีเลนหุนใหปลอดภัยดวยกราฟ richerstock วิเคราะหกราฟหุน และวิธีการเลนหุนใหปลอดภัย ฟงกชนั่ คนหาหุน สามเหลี่ยมกลวง




ความรูเบื้องตนในการวิเคราะหหุนดานเทคนิค Basic Technical Analysis

วัฏจักร (Cycle) ถาหากคุณรูวาราคาหุน มีพฤติกรรมอยางไร ขึ้นเมื่อไหร ลงเมื่อไหร แนนอนทีเดียววา คุณยอมมีชัยไปกวาครึ่งแลว แตปญหาที่พบเจอนั้นคือ เราไม รู รู ป แบบ (pattern) ของราคาหุ น อย า งถู ก ต อ งร อ ยเปอร เ ซ็ น ต เนื่องจากราคาหุนมัน ขึ้น ลงตามจิตวิท ยาการลงทุน มัน ไมมีสูต รสําเร็จ เหมือนสูตรคณิตศาสตรทั่วไป แตก็ใชวาเราจะไมสามารถคาดคะเนรูปแบบ (pattern) ราคาหุนไดเสีย ทีเดียว มีนักวิเคราะหทั้งไทยและเทศไดเฝาดูรูปแบบ (pattern) ของราคา หุนหลายรอยตัวหรืออาจจะหลายพันตัวแลวตั้งขอสรุปวา pattern ราคาหุน มันเปนวัฏจักร ( CYCLE ) รูปแบบ ( pattern ) ราคาหุนมันมีพฤติกรรมเปนวัฏจักร (cycle) ที่ ประกอบดวย 4 สภาวะ ( state ) ซึ่งผมขออนุญาตเปรียบเทียบวัฏจัก ร (cycle) ที่วานี้ใหดูงายขึ้น โดยเปรียบเทียบกับการเดินทางดวยเครื่องบิน ดังนี้


รายละเอียดของสภาวะตางๆ 1. เตรียมพรอม

เปนชวงที่เครื่องมีความพรอมสูง น้ํามันเต็มถัง ขุมพลังมหาศาล พร อมที่จ ะทะยานขึ้น ถ า เปรียบเทียบกับราคาหุนแลวความหมายมันเปน ดังนี้


Ø มีการเก็บสะสมหุน เพราะผูที่ซื้อเก็บสะสมคิดวาชวงนี้ราคาหุนถูก การที่นัก ลงทุนมองวาหุนที่มีราคาถูกนั้น มีวิธีก ารดูไดหลายอยาง เชนหากใชขอมูลพื้นฐานของหุน ( fundamental analysis ) ก็ สามารถดูไดจากอัตราสวนทางการเงินเชน P/E ratio, P/BV ratio, Dividend yield เปนตน แตถาพิจารณาดานเทคนิค ( technical analysis ) นักลงทุนก็จะมองวา ณ เวลานั้น หุนตัวที่เราพิจารณานั้น ถูกขายออกมามากเกินไปหรือไม ( oversold ) Ø ชวงนี้จะมีการซื้อการขายเกิดขึ้นเปนระยะๆหลายๆรอบ Ø รอขาวดี ขาวปลอย หรือขาวลือ เปนตัวเรงกระทุงหุนใหทะยานขึ้น 2.ทะยานขึ้น

เปนชวงที่เครื่องทะยานขึ้นจากลานวิ่ง ลอเครื่องบินเริ่มพับเก็บ ชวงนี้นักบิน ตองอัดกําลังเครื่องเต็มที่เพื่อเอาชนะแรงโนมถวงของโลก เปรียบกับการซื้อ ขายหุนชวงนี้เปนดังนี้ Ø Demand หรือความตองการในการซื้อหุนมีมาก ราคาเทาไหรก็ซื้อ Ø Demand จะมากกวา Supply ทําใหราคาหุนทะลุแนวตาน ( resistance ) ขึ้นไป


Ø ชวงขณะที่ราคาหุนทะลุแนวตาน จะเปนที่นาสนใจของนักลงทุน อื่นๆ ทําใหเกิด demand มากยิ่งขึ้น 3.รักษาระดับ

เมื่อเครื่องทะยานขึ้นบนทองฟาไดระดับเพดานบินที่ปลอดภัยแลว เครื่องก็จะ ทําการบินรักษาระดับเปรียบกับการเลนหุนไดดังนี้ Ø เมื่อราคาหุนไดขึ้นมาถึงจุดที่นักลงทุนตางก็เริ่มมีความคิดตรงกันวา ราคาเริ่มสูงหรือแพงแลวก็จะทยอยขายกันออกมา Ø มีนักลงทุนบางคนหรือบางกลุมที่ยังมีความเชื่อวา ราคาหุนนาจะวิ่ง ขึ้นไปไดอีก ก็จะทยอยรับซื้อหุนไว Ø ชวงนี้จะมีการซื้อการขายเกิดขึ้นเปนรอบ Ø บางครั้งชวงนี้อาจจะใชเวลาหลายวันหรือหลายสัปดาห แตก็มีบาง เหมือนกันที่ชวงนี้อาจจะกินเวลาแควันเดียว Ø ชวงนี้เปนชวงที่ตองใหความระวังและความสนใจเปนอยางยิ่งเพราะ ถาราคาหุน มันไมสามารถทะยานหรือไตระดับขึ้น ไปไดอีก นัก เก็ง กําไรที่เขาตลาดชวงนี้ก็เริ่มปลอยหุนออกมาเพื่อไปเลนตัวอื่น


4.ลดระดับ เ

มื่อใกลถึงจุดหมายนักบินก็เริ่มลดระดับการบินใหต่ําลง เพื่อลงจอดยังลาน บินตามที่หมาย เปรียบการเลนหุนไดดังนี้ Ø เมื่อราคาหุนมาถึงจุดสูงและมีการ ซื้อขาย (Trade) กันหลายรอบทํา ใหนักลงทุนที่เขามาซื้อหุนชวงนี้ เริ่มเกิดความกังวล ระส่ําระสาย หงุดหงิด และเมื่อราคาหุนขยับขึ้นมาบางก็เริ่มขายออกมา Ø เมื่อราคาหุนผานแนวรับลงมา จะเกิด Supply มากกวา Demand ทําใหเกิดการเทขายกันออกมามาก Ø อัตราการลงของราคาหุนจะลงเร็วกวาอัตราการขึ้นของราคาหุน ในชวงที่ราคาหุนทะยานขึ้น


รูปที่ 1. ตัวอยางวัฏจักรราคาหุน

ชวงตรียมพรอม

: ชวงนี้มีการซื้อขายกันที่หมายเลข 1,2,3,4 โดยเสนตรงดานบนที่เ ชื่อมระหวางจุด 1,3,5 เรียกวา แนวตาน ( resistance ) สวนเสนลาง คือเสนแนวรับ ( support ) ซึ่งการซื้อขายในชวง นี้จะอยูระหวางแนวรับ และแนวตาน


ชวงทะยาน

ชวงรักษาระดับ

: เมื่อมีขาวดี หรือขาวลือ หรือขาวปลอย เขา มาในตลาด จะทําใหเกิด demand อยางมาก ทําใหราคาหุนทะลุแนวตานที่จุด 5 ขึ้นไป และ ทะยานขึ้ น ไปเรื่ อยๆ เมื่ อราคาหุน มาที่จุ ด 6 ตอนนี้แหละสําคัญเหมือนกัน เพราะนักลงทุน หรือนักเก็งกําไร เริ่มมองเห็นความแรงของหุน ตัวนี้ และกลัววาตนเองจะเขาซื้อชาไป หรือศัพท ที่เซียนหุนทั้งหลายเรียกว ตกขบวนรถไฟ ก็เลย พากันเฮโลกันเขามากันอยางสนุกสนาน : เมื่อราคาหุนทะยานมาถึงจุด 8 นักลงทุนก็ เริ่มขายหุน และอีกเชนกัน ก็มีนักลงทุนบางคน หรือบางกลุมที่ยัง มีความเชื่อวาราคาหุน นาจะ ไปไดอีก ก็เลยตั้งแถวรอซื้อเมื่อราคาหุนตกลง มา ลั ก ษณะนี้ จ ะเกิ ด การซื้ อ ขายหลายรอบ ทีเดียว คือระหวางจุด 8,9,10,11,12,13,14 เกิด แนวตานและแนวรับ เมื่อราคามัน ไมสามารถ ทะลุแนวตานไปไดอยางที่คาดคิด นักลงทุน ที่ เงินรอน หรือนักลงทุนที่เลนสั้นรอไมไหว ก็เริ่ม ขายหุน ทิ้ง นักลงทุน กลุมที่รอไมไหวก็จ ะเปน กลุมที่จ ะเจาะลูก โปรงที่มัน อัด ลมแนน มานาน


ชวงลดระดับ

ใหระเบิดออกมา หมายถึงทําใหนักลงทุนอื่นๆ เกิดอาการตระหนกตกใจ รีบขายหุนออกตามๆ กัน ทําให Supply มากกวา Demand ราคาหุน ก็เลยทะลุผานแนวรับที่จุด 15 ลงมา : เมื่อเกิดอาการตกใจและนักลงทุนเริ่มเทขาย หุนออกมา บางคนก็กําไร บางคนก็ขาดทุน แตก็ ตองขายเพราะมันเกิดอาการ panic และขอให จํา ให ขึ้น ใจว า อาการตกใจมัน รา ยแรงกว า อาการดีใจ การเทขายหุนของนักลงทุนจะเทขาย หุนโดยใชเวลาอันรวดเร็วกวาการทะยอยซื้อหุน

ดังนั้นนักลงทุนทุกทานคงมองภาพรวมของราคาหุนวามันมีพฤติกรรม อยางไรไดพอสมควร เมื่อคุณรูวัฏจักร (cycle)ของราคาหุนแลว ก็จะทําให คุณ Ø รูสภาวะของตลาด ( market sate ) ณ เวลานั้นๆ Ø เขาหรือออกจากตลาดไดอยางเหมาะสม Ø ทําการซื้อหรือขายหุนไดอยางมั่นใจ Ø ไมเกิดอาการหวาดผวา


แนวโนมทิศทางราคาหุน ( TREND )

Trend คือกราฟที่แสดงความเคลื่อนไหวของราคาหุนซึ่งมีทิศทางที่เรา สามารถจะคาดคะเนไดก รณีที่ราคาหุน ไรทิศทางไมมีรูปแบบจะไมเ รีย กวา Trend ตามปกติจะมี 3 ลักษณะไดแก Ø Uptrend ( แนวโนมขาขึ้น ) Ø Downtrend ( แนวโนมขาลง ) Ø Sideway ( แนวโนมทรงตัว )

แนวโนมขาขึ้น (Uptrend)

รูปที่ 2 – แสดงรูปแบบราคาหุนแบบ uptrend


ลักษณะ uptrend คือกราฟที่มีทิศทางขึ้นโดยราคาต่ําของกราฟของวัน ลาสุดจะสูงกวาราคาต่ําของวันที่ผานมา และถาลากเสนเชื่อมระหวางจุดราคา ต่ําก็จะไดเสนตรงที่มีทิศทางขึ้น ทั้งนี้การลากเสน uptrend line นั้น จุด lower ควรมีตั้งแต 2 จุดขึ้นไป

แนวโนมขาลง ( Downtrend )

รูปที่ 3- แสดงรูปแบบราคาหุนแบบ downtrend


ลักษณะ Downtrend คือกราฟที่มีทิศทางลงโดยราคาสูงของกราฟของวันลาสุดจะ ต่ํากวาราคาสูงของวันที่ผานมา และถาลากเสนเชื่อมระหวางจุดสูง ก็จะไดเสนตรงที่มี ทิศทางลง ทั้งนี้การลากเสน downtrend line นั้น จุด higher ควรมีตั้งแต 2 จุดขึ้นไป

แนวโนมทรงตัว (Sideway)

รูปที่ 4- แสดงรูปแบบราคาหุนแบบ sideway

Sideway เปนชวงพักไมวาจะเปนการพักในชวงขาขึ้นหรือการพักในชวง ขาลงก็ได เปรียบเสมือนเวลาคนเดินหรือวิ่งขึ้นทางชันเมื่อวิ่งไปไดสักระยะหนึ่ง


ก็เ ริ่มหมดแรงและเปลี่ยนจากการวิ่งมาเปน การเดิน เพื่อเปนการพัก ใหห าย เหนื่อยกอนที่จะวิ่งตอไป ในชวง sideway บางครั้งเราก็เรียกวา trading range ไดเหมือนกัน เพราะชวงนี้จะมีการซื้อขายมี demand และ supply ตอบสนองกัน ดังนั้น ลักษณะของ sideway จึงมีทิศทางออกไปทางแนวราบ


คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ MOVING AVERAGE

เป น การนํ า เอาราคาของหุ น ย อ นหลั ง ตามจํ า นวนวั น ที่ เ ราต อ งการ พิจารณา นํามาหาคาเฉลี่ย เพื่อดูทิศทางของราคาหุน ณ วันที่เราพิจารณา เชน MA10 หมายถึง ราคาหุนยอนหลังจากวันที่เรากําลังพิจารณาไป 10 วัน เปน การนําเอาราคาแตละวันมาเฉลี่ยกัน เหตุที่เรียกวาคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ก็เพราะใน วันถัดไปคาเฉลี่ยก็จะเปลี่ยนไปเชนกัน จํานวนวันที่นํามาหาคาเฉลี่ยเปนที่นิยมกันไดแก MA5, MA12, MA26, MA75, MA200 จํานวนวัน จะบงบอกวาเปน การพิจ ารณาราคาในระยะสั้น กลาง หรือ ระยะยาว ทั้งนี้การเลือกใชคา MA นั้นขึ้นอยูกับนักลงทุนแตละคน ไมจําเปนตองใชคาตามทฤษฎี ซึ่งบางครั้งเราอาจจะใช MA5, MA15, MA30 ก็ได MA5, MA12, MA26 MA 75 MA200

เปนเสนคาเฉลี่ยระยะสั้น เปนเสนคาเฉลี่ยระยะกลาง เปนเสนคาเฉลี่ยระยะยาว

วิธีการหาคาเฉลี่ยเคลื่อนที่นิยมทํากัน 2 แบบคือ 1.) Simple Moving Average ( SMA ) เปนการใหน้ําหนักการเฉลี่ย เทาๆกัน


2.) Exponential Moving Average ( EMA ) เปนการใหน้ําหนักราคา คอนมาทางเวลาใกลปจจุบันมากกวาราคาในชวงอดีต สวนสูตรการหา คาเฉลี่ยแบบ simple หรือ exponential โปรแกรมวิเคราะหหุนสวนใหญ ก็สามารถคํานวณและแสดงกราฟพรอมเสน MAได เชนโปรแกรม MetaStock แตสิ่งที่ผมอยากใหรับรูก็คือ การนํามันไปใชทํานาย หุนมากกวาครับ

ประโยชนของ Moving Average A.) สามารถบอกสภาวะตลาดไดวาเปนภาวะตลาดกระทิง ( Bullish State) หรือ ภาวะตลาดหมี (Bearish State) โดยสังเกตจากการเรียงตัวของเสน MA

A.1) สภาวะตลาดกระทิง ( Bullish State ) รูปที่ 5 แถบเงาสีแดง แสดงสภาวะตลาดกระทิง ( Bullish State ) โดย สังเกตจากเสนคาเฉลี่ย ที่มีการเรียงตัวของเสน MA10(cyan) MA20 (blue) MA30 (red) โดยที่เสน MA ระยะสั้นจะอยูบนสุด และเสน MA ระยะยาวจะอยู ลางสุด ซึ่ง ในที่นี้การเรียงตัวจากบนมาลางของเสน MA คือ MA10, MA20, MA30


รูปที่ 5- แสดงรูปแบบราคาหุนภาวะกระทิงโดยใช Moving Average พิจารณา

A.2 ) สภาวะตลาดหมี ( Bearish State ) รูปที่ 6 สภาวะที่เปนแถบสีแดงเปนสภาวะตลาดหมี (Bearish State) โดยสังเกตจากเสน คาเฉลี่ย ที่มีก ารเรีย งตัวของเสน MA26 (blue), MA12 (magenta) , MA5 (cyan) โดยที่เสน MA ระยะยาวจะอยูบนสุด และเสน MA ระยะสั้น จะอยูลางสุด ซึ่ง ในที่นี้ก ารเรีย งตัวจากบนมาลางของเสน MA คือ MA26, MA12, MA5


รูปที่ 6- แสดงรูปแบบราคาหุนภาวะตลาดหมีโดยใช Moving Average พิจารณา B.) สามารถใชเสน MA ชวยในการตัดสินใจซื้อหรือขายหุนได

B,1 ) สัญญาณซื้อ ( Buy Signal ) เมื่อราคาหุนทะลุและอยูเ หนือเสน MA เปน สัญ ญาณซื้อ จากตัวอยาง กราฟรูปที่-7 ใช MA26 วันเปนตัวพิจารณา เมื่อราคาหุนทะลุผานเสน MA26 และอยูเหนือเสน MA26 ได ลักษณะนี้เกิดสัญญาณซื้อโดยที่เราสามารถเขาซื้อ หุน ณ ระดับราคาจุดตัดไดแลย


รูปที่ 7- แสดงการใชเสนคา moving average ชวยในการกําหนดจุดซื้อ

B.2 ) สัญญาณขาย ( Sell Signal ) เมื่อราคาหุนทะลุและอยูใตเสน MA จะเปนสัญญาณขาย จากตัวอยางรูปที-่ 8 เราใช MA26 วันเปนตัวพิจารณา เมื่อราคาหุนทะลุผานเสน MA26 และอยูใต เสน MA26 ลงมา ลักษณะนี้เกิดสัญญาณขายโดยที่เราควรจะขายหุนออก ณ ระดับราคาจุดตัดไดแลย


รูปที่ 8- แสดงการใชเสนคา moving average ชวยในการหาจุดขาย C).ใชเปนสัญญาณเตือนวาจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของราคาหุนที่

รุนแรง

รูปที่ 9- แสดงการใชเสนคา moving average เตือนลวงหนาการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรง


จากรูปที่ 8 เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ MA5,MA12,MA26 มาบรรจบกัน ซึ่ง มันกําลังสื่อวาจะเกิดเหตุการณที่รุนแรง (กวาปกติ ) ตัวอยางในรูปเสน MA ทั้ง สามเสนมาบรรจบกัน หลังจากนั้นราคามันก็ดิ่งลงอยางมาก การที่เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ทั้ง 3 เสนมาบรรจบกันนั้น มันมีความหมาย วา นัก ลงทุน กํ าลั ง ตั ด สิ น ใจวา ราคาหุน มัน จะวิ่ ง ขึ้ น หรือ วิ่ ง ลง ซึ่ ง ในด า น จิตวิทยาแลว กําลังบอกวา เหลานักลงทุนกําลังวัดใจกันวา จะวิ่งตอหรือจะขาย ทิ้ง สํ า หรั บ นั ก ลงทุ น บางคน ก็ จ ะใช เ ส น ค า เฉลี ย เคลื่ อ นที่ ( moving average ) เพียงตัวเดียวเปนเครื่องมือชวยในการตัดสินใจซื้อ หรือ ขายหุน ซึ่งก็ เปนที่นาพอใจในระดับหนึ่ง

เคล็ดลับในการพิชิตหุน

เคล็ดลับในการเอาชนะตลาดหุนและสามารถทําเงินในตลาดไดอยางนา พอใจ แตในความเปนจริงแลว นักลงทุน ( investors ) สวนมากจะรูและเขาใจ กฎ หรื อเคล็ด ลับ นั้น ๆ แต สุดทา ยแลวก็ ไมสามารถทํ าตามเคล็ดลั บ นั้น ได ดังนั้นหากเรายึดเคล็ดลับหรือวิธีการลงทุน ที่เราคิดวาเปนรูปแบบ ( model ) ที่เหมาะสมกับตัวเราแลว ขอให ยึดถือและปฏิบัติตามเคล็ดลับใหได

-เลือกหุนพื้นฐานดี – -เขาตลาดใหถูกจังหวะ-ตัดขาดทุน ถาหุนไมวิ่ง-


-ปลอยใหราคาหุนวิ่ง ถายังมีกําไร-เลนตามกระแส เพราะทวนกระแสมีแตเจ็บ-อยาซื้อเฉลี่ย ถาราคาหุนตก เพราะจําทําใหยิ่งถลําลึกเคล็ดลับทั้ง 6 ขอนี้รับรองไดวาสามารถเอาชนะตลาดไดแนนอน เพราะ ตัวมันเองคอนขาง simple มาก แตสิ่งที่ยากที่สุดก็คือตัวนักลงทุนนั่นเองที่ไม สามารถปฏิบัติตามกฎได ดังนั้นนักลงทุนตองมีความพรอมในการเลนหุน สิ่งที่ นักลงทุนควรมี หรือ ตองมีคือ - ตองมีความรูเรื่องการลงทุน และ ความรูเรื่อง Technical Analysis พอสมควร - ตองมีวินัย ( discipline ) ในการลงทุน รายละเอียดของเคล็ดลับในการพิชิตหุน 1.) เลือกหุนพื้นฐานดี (Fundamental Analysis ) คุณทราบหรือไมวาคุณจะซื้อหุน ตัวไหน ซื้อดวยเหตุผลอะไร บางทาน ลงทุนระยะยาว ก็จะซื้อหุนที่มีพื้นฐานดี ซื้อแลวซื้อเลยเก็บใสเซฟ ไมตองมา คอยนั่งดูราคาหุนที่มันขึ้นๆลงๆในแตละวัน หรือแตละสัปดาห สําหรับนักลงทุนในบานเราที่จําแนกออกเปน 2 กลุมใหญๆคือ กลุมนัก ลงทุนระยะยาว ( Value Investors ) มีประมาณ 30% สวนนักลงทุนอีกกลุม หนึ่งเปนนักลงทุนระยะสั้น ( Technical Investors ) มีประมาณ 70%


การที่เ ราเลือกหุน ที่มีพื้นฐานดี อยางนอยที่สุด เราก็สามารถลดความ เสี่ยงในการซื้อ-ขายหุนตัวนั้นๆได เนื่องจากหุนที่มีพื้นฐานดีสวนใหญราคาหุน จะไมห วือ หวามาก ราคาหุ น มี รูป แบบการขึ้น และ ลง และมี ทิศ ทางที่ เ รา สามารถทํานายได การเลือกหุนที่มีพื้นฐานดี ( Fundamental Analysis ) ควรดูปจจัย ดังนี้ KEY งบการเงิน Financial Statement

พีอี เรโช P/E ratio

พีบี เรโช P/BV ratio

Meaning บอกสถานภาพของบริษัทๆนั้นวามีสุขภาพแข็งแรง หรือ ปวยเปนโรครายแรงหรือเปลา อันนี้ตองใชเวลาศึกษา เพราะ financial statement analysis เปนวิชาที่ยาก วิชาหนึ่งของการเงิน Price- Earning Ratio เปนตัวเลขอัตราสวนระหวาง ราคาหุน ณ วันที่เรา ตองการซื้อ หารดวย กําไรตอหุนของหุนตัวนั้นๆ แนนอน P/E ratio ยิ่งต่ํา ก็ยิ่งดี เพราะวามันหมายถึง ราคาหุนตัว นั้นไมแพง โดยทั่วไปจะดูกันที่ P/E=10 Price-Book Value ratio Book Value คือราคาเริ่มตนตอหุนในการจัดสรรหุน ตอนตน หรือตอนเริ่มทําธุรกิจ P/BV ยิ่งต่ํา ก็ยิ่งดี แสดง


วาหุน ตัวนั้นๆ มีราคาถูก ยิ่งหากถา P/BV ratio ต่ํากวา 1 นั่นหมายถึงวา เราสามารถซื้อหุนตัวนั้น ไดถูกวาผู กอตั้งบริษัทเสียอีก ประเภทของธุรกิจ ประเภทของธุรกิจ เปนแบบไหน กิจการสามารถยั่งยืน Business Type อยูไดชั่วลูก ชั่วหลานหรือไม เมื่อเลือกหุนที่มีพื้นฐานดีไดดั่งใจที่ตองการแลว ขั้นตอนตอไป คือเราก็ เลือกหุนพื้นฐานดีตัวนั้นๆ มาเลนระยะสั้น ถึง ปานกลางกันดีกวา ( วิธีนี้จะตาง จากนักลงทุนระยะยาวที่เรียกวา ( intrinsic value investor ) สวนทานใดที่ ตองการลงทุนระยะยาวก็ไมวากัน เพียงแตถาคุณเปนนักลงทุนระยะยาวก็คง ไมมีความจําเปนที่จะตองคอยเฝาดูราคาหุนเปนประจํา การเลือกหุนพื้นฐานดีมาเลนระยะสั้น-กลาง จะเปนเกราะปองกันใหเรา อีกชั้นหนึ่ง กรณีที่หุนตัวนั้นเกิดผันผวนดานราคา 2.) เขาตลาดใหถูกจังหวะ จริงๆ แลวการเขาตลาดหุนก็เหมือนกับเขาตลาดสด คําถามคือวาคุณจะ ไปจายตลาดในตอนกลางวันหรือกลางคืน แนนอนถาคุณไปตลาดสดตอน กลางคืนคุณจะหาซื้ออะไรไดบางครับ ? กอนที่คุณจะเขาซื้อหุนตัวใดตัวหนึ่งนั้น คุณตองรูใหแนชัดมากที่สุดเทาที่ จะรูไดวา หุนที่จะซื้อ หรือขายนั้นอยูใน status ไหน เปนชวงขึน้ ( Bullish ) หรือ ชวงลง ( Bearish ) หรือ ทรงๆ ( Sideway ) การที่คุณเขาตลาด หรือเขา trade


ผิดจังหวะ แนนอน เริ่มตนก็ผิดแลว ดังนั้นชวงนี้ถือวาสําคัญยิ่งนัก เขาตลาดถูก จังหวะ ก็มีชัยไปกวาครึ่งแลว สถานะ (status) ของราคาหุน แบงเปน 3 ชวงคือ · Bullish State ( ภาวะตลาดกระทิง ) · Sideway State ( ภาวะตลาดทรงตัว ) · Bearish State ( ภาวะตลาดหมี )

Bullish State ( ภาวะตลาดกระทิง )

รูปที 10 - แสดงภาวะกระทิง bullish ของหุน BIG-C


จากรูปที่ 10 : ราคาหุนของ BIGC ชวงนี้เปนชวงขาขึ้น หรือเรียกวา bullish state มีสิ่ง ที่ควรสังเกตุคือ เสน คา เฉลี่ย MA12 จะอยูเหนือ MA26 ตลอดชวง และเมือลากเสน trend line ระหวางจุดต่ําของราคา เสน trend line มีแนวโนมทแยงขึ้น

Sideway State ( ภาวะตลาดทรงตัว )

รูปที่ 11- แสดงภาวะทรงตัว ( sideway ) ของหุน BIG-C


จากรูปที่ 11: ชวงนี้เปนชวง sideway โดยที่ราคาหุนมีแนวโนมขึ้นและลง สลับกันเปนระยะ สังเกตุจากการลากเสน trend line เชื่อมระหวางจุดสูงของ ราคา 1 เสน และลากเสนเชื่อมระหวางจุดต่ําของราคาอีก 1 เสน เราจะเห็นวา ราคาหุนมันขึ้นๆลงๆในชวงนี้

Bearish State ( ภาวะตลาดหมี )

รูปที่ 12- แสดงภาวะตลาดหมี ( bearish state ) ของหุน BIG-C

จากรูปที่ 11: เปนชวง Bearish State หรือขาลงนั่นเอง ที่ชวงนี้ เสน คาเฉลี่ย MA12 จะอยูต่ํากวาเสนคาเฉลี่ย 26 เกือบตลอดชวง ซึ่งจะตรงขามกับ ชวง Bullish State และหากเราลากเสนเชื่อมระหวางจุดสูงของราคาก็จะเกิด เปนเสนตรงที่มีแนวโนมลง


3.) ตัดขาดทุน ถาคุณเขาตลาดผิดจังหวะโดยราคาหุนมันลงต่ํากวาราคาที่ซื้อมา แลว จะแกปญหาอยางไร มีหลายทานคิดแบบนี้ “ ไมเปนไร หุนมีตก ก็ตองมีขึ้น “ “ ไมกลาขาย เพราะราคามันต่ํามาก “ " ขายตอนนี้กลัวเสียฟอรม " เหตุผลมีอีกมากมายที่กลาวไมหมด เอาเปนวา ทุกๆคํากลาวนั้น อยูใน สถานะเหมือนกัน คือ ขาดทุน ทีนี้หากขาดทุนแลวควรทําอยางไร อันนี้สิเปนสิ่ง ที่นาคิดนายึดถือเปนหลักปฏิบัติ นักลงทุนระดับมืออาชีพสวนใหญเขามีกติกาในใจที่คอนขางเหมือนกัน คือ ตัดขาดทุน STOP LOSS หรือ CUT LOSS แตจะตางกันตรงที่แตละทาน อาจจะตัดขาดทุนไมเทากัน ซึ่งเทาที่พบเห็นบอยก็มี 3% 5% 10% การเลนหุน ก็เหมือนกับ การทําธุรกิจทั่วๆไป คือ มีความเสี่ยง เมื่อเรามั่นใจวาเราเขาตลาด หรือซื้อหุนในจังหวะที่เหมาะสมแลว แต เหตุการณมันกลับยอนศรสวนความคิดเรา โดยราคาหุนที่เราซื้อกลับลวงลง ดังนั้นหาก เราปองกันความเสี่ยงในระดับที่เราสามารถรับ ได หรือไมกระทบกับ port ของเรามากนัก เรา ก็ควรจะรีบดําเนินการทันที นั่นคือ ตอง stop losses ทันทีที่ราคามันลงมาถึงระดับ target ที่ตั้ง ไว


ตัวอยางเชน เราซื้อหุน ABC 1,000 หุน หุนละ 200 บาท ราคาซื้อไมรวม คา broker เทากับ 200,000 บาท เราตั้ง stop losses ไวที่ 5% ดังนั้น หาก มูลคาเงินของเราลดลงเหลือ 190,000 บาท เราตองรักษาวินัยอยางเครงครัด โดยการการขายหุนนั้นเสียทันที

ขอแนะนํา จากรูปที่ 9,10,11 เราก็พอจะมองออกแลววา การเขาตลาดนั้น ควรจะเขาชวงไหนผมมีขอแนะนําดังนี้ 1.

2. 3.

คุณตองเขาตลาดในชวงที่ตลาดเปนชวงขาขึ้น ( BULLISH STATE ) เพราะในชวงนี้ซื้อหุน อยางไร ก็มี กําไร ถาตลาดอยูในชวง sideway คุณก็สามารถทํากําไรได ในชวงสั้น แตก็ตองซื้อขายเร็วและระวัง ถาไมมั่นใจ อยาเขาตลาดในชวงขาลง ( BEARISH STATE ) เพราะอัตราการลงของราคาจะเร็วกวาอัตรา การขึ้น นั่นหมายถึงวา คุณจะมีความเสี่ยงคอนขางมาก แตถาหากคุณมีเวลาเฝามันไดทั้งวัน อันนี้ก็สามารถทํา กําไรชวงสั้นๆ ไดเหมือนกัน


รูปภาพแสดงการตัดขาดทุน ถาคุณ เขาตลาด(ผิดจัง หวะ) ที่ตําแหนง เลข 1 และราคาหุนไดดิ่งลงมาจากวันที่ คุ ณ ซื้ อ กรณี ที่ เ ราตั้ ง ตั ว เลขขาดทุ น ที่ ระดับที่คุณยอมรับได เมื่อราคาหุนตกลง มายัง ตําแหนง เลข 2 คุณ ต องตั ด ขาย ขาดทุ น ทั น ที เพื่ อ ควบคุ ม การขาดทุ น มากกวานี้

4.) ปลอยใหราคาหุนวิ่ง ตามที่ไดแนะนําวา การเขาตลาดควรเขาตลาดชวงที่เปนขาขึ้น Bullish State ถาหุนที่เราซื้อมีกําไร เราก็ควรปลอยใหหุนมันวิ่งไปเรื่อยๆ อยาเพิ่งขาย มันออกไป เพราะ


- ในชวงขาขึ้นจะมีการปรับฐาน ( Retracement ) เปนระยะๆ แตหลัง retrace แลวมันก็จะ rebound ขึ้น ซึ่งอัตราการขึ้นหรือเดง ( Rebound ) มันจะ เร็วกวา อัตราการลง ( Retrace ) - ในแงการวิเคราะหหุนที่ซับซอนยิ่งขึ้น โดยอาศัย Elliot Wave Analysis พบวา ชวงขาขึ้นจะฟอรมตัวเปนลูกคลื่นจําวน 3 ลูก สวนชวงขาลง มันจะ ฟอรมตัวเปนลูกคลื่น 2 ลูก ดังนั้นหากลูกคลื่นที่อยูในชวงตลาดขาขึ้นกําลัง ฟอรมตัวลูกที่ 1 และคุณก็เขาตลาดชวงนี้พอดี ดังนั้นคุณยังสามารถถือหุนนั้น ไปไดจนถึงราคาหุน ณ ลูกคลื่นที่ 5 ได และมีกําไรสูงสุด นี่สิเรียก “ Let The Profit Run “


ปลอยใหราคาหุนวิ่ง

กรณีที่คุณเขาตลาดถูกจังหวะที่ตําแหนงเลขที่ 1 และคุณก็รูวาคุณเขา ตลาดชวงที่เปน Bullish State และมันเปนชวงที่เพิ่งเริ่มตนของ state นี้ เมื่อ ราคาหุนขยับขึ้นมาที่ตําแหนงเลขที่ 2 คุณอยาเพิ่งรีบรอนขายหุนทิ้งออกไป เพราะตําแหนงที่ 2 คุณก็ยังมีกําไร และมีโอกาสที่จะมีกําไรตอไปดวย เพราะ ราคาหุนมันจะขึ้นเปนลูกคลื่น 3 ลูก ( ตามสถิติ ) ดังนั้นรอใหราคาหุนมันขึ้นไปที่ตําแหนงเลขที่ 3 กอนคอยขายหุน ออกไป คุณจะรูไดอยางไรวาราคาหุนมันมาถึงจุดยอดหรือยัง เรื่องนี้มันมี ทฤษฎีที่สามารถ forecast ได คือ Elliott Wave Theory 5.) เลนตามกระแส สุภาษิตที่มีความหมายดีๆมีมากมาย และหนึ่งในนั้น ที่สามารถนํามา apply กับตลาดหุนไดก็คือ “หลิวลูลม “ หรืออีกสํานวนหนึ่ง “ เขาเมืองตา หลิ่ว ใหหลิ่วตาตาม “ ความหมายมันคือ พยายามทําตัวใหกลมกลืน อยาไป ฝนสถานการณ เชนกัน เมื่อหุนขึ้น คุณก็เขาไปซื้อ เมื่อหุนตก อยาทําตัวเปน คนเกงดวยการซื้อสวนทางตลาด เพราะมันเสี่ยง การเลนหุนตามกระแสมันก็มีหลายรูปแบบ แตที่เห็นชัดเจนเปนรูปธรรม ก็พอจะแบงออกไดเปน 2 รูปแบบดวยกันคือ


1. เลนตาม SET INDEX คือเราตองพิจารณา pattern ของ SET ดวย วาเปน state ไหน และโปรดอยาลืมวาควรเขาตลาดในชวง Bullish State เมื่อ พิจารณา SET แลว ก็มาพิจารณาเลือกเลนหุนที่เราสนใจ ซึ่งวิธีการเลือกหุนนั้น ขอใหพิจารณาตามเคล็ดลับ ขอที่ 1. เมื่อเลือกหุนไดแลว ก็มาพิจารณาวา trend ของราคาหุนตัวที่เราเลือกนั้น มันเหมือนกับ trend ของ SET หรือไม ถา เหมือนกันก็เขาเลนเลย อยางนี้เรียกวาเลนตามกระแส SET INDEX 2. ไมเลนตาม SET INDEX เปนการเลนหุนโดยดู pattern ของหุนที่เรา เลือกโดยไมไดอิงหรือพิจารณาใหน้ําหนักกับ SET INDEX มากนัก เปนการ วิเ คราะหเ ฉพาะหุน นั้นๆวามันอยูใ น state ไหน การเขาซื้อหรือขาย ก็ใ หดู จังหวะใหดี แตกรณีเลนแบบนี้ ไมแรงเทากับวิธีตามกระแส SET INDEX 6.) อยาซื้อเฉลี่ย ถาราคาหุนตก หลายคนมีวิธีการเฉลี่ยราคาหุนตอนชวงราคาหุนตก โดยการซื้อหุนตัว เดียวกันหลายรอบในชวงขาลง เพื่อเฉลี่ยตนทุนที่ซื้อแพงไป ใหมีราคาเฉลี่ยถูก ลง อันนี้แลวแต style ของนักเลนหุน แตที่แนๆคือ ราคาหุนมันกําลังตก แสดง วา หุนตัวนั้นมัน ตองผิดปกติ หรือมีขาวไมดี หรืออะไรอีกมากมายที่เราไมรู ความไมรูนี่สิคือความเสี่ยง แลวมีคําถามตอวา คุณจะหยุดเฉลี่ยซื้อเมื่อไหร


ขอแนะนํา แทนที่จะซื้อเฉลี่ยราคาหุนชวงขาลง คุณนาจะตัดขาดทุนดีกวา เพราะ การตัดขาดทุนจะทําใหเรา สามารถ Control ตนทุนได ไมตองหมกมุนกับราคาหุนมากนัก ไมเสียอารมณตลอดหลายชวงเวลา นอนหลับไดเต็มอิ่ม



ทฤษฏี Elliott Wave สรางขึ้นโดย Ralph Nelson Elliott ซึ่งเขาได พัฒนามาจาก Down Theory โดยเนื้อหาบทสรุปของทฤษฎีนี้คือ Pattern ของ ราคาหุนมันจะมีพฤติกรรมเปนลักษณะลูกคลื่น ซึ่งสามารถแจงรายละเอียดใน หลักการไดดังนี้ ถามีแรงกระทํายอมมีแรงโตตอบ ซึ่งอนุมานในการเลน หุนคือ เมื่อหุนมีขึ้น มันก็ตองมีลง และเมื่อมันลงถึงจุดนิ่งแลว มันก็พรอมที่จะขึ้นในรอบตอไป ซึ่งภาษานักวิเคราะหหุน ทั้งหลายเขาเรียกวาหุนรีบาวน ( rebound ) และหุนปรับฐาน ( retrace ) Elliott Wave ประกอบดวยลูกคลื่นในขาขึ้น 5 ลูก ( 12-3-4-5) และลูกคลื่นในขาลง 3 ลูก (a-b-c) ในชวงขาขึ้นเรา เรียกวา Impulse สวนขาลงเราเรียกวา Correction ในหนึ่งรอบหรือ cycles ของ Elliott Wave นั้นจะเปน series ของ impulse และ correction จากนิยามขางตนสามารถแสดงดวยกราฟดังขางลาง และแนะนําวา คุณตองจํา pattern นี้เอาไวใหแมนยํา wave 1,2,3,4,5,a,b,c


รูปที่ 13- แสดงรูปแบบมาตรฐานของ Elliott Wave

จากกราฟรูปที่-13 จะเห็นวาจุดสูงสุดของรอบจะอยูที่คลื่นลูกที่ 5 สวน จุดเริ่มตนคือคลื่นลูกที่ 1 ในชวงที่หุนเปน ขาขึ้น การขึ้นยังไมแรงเทาที่ควร เพราะนัก ลงทุน หรือนักเลน หุน ตางคอยดูเ ชิง ซึ่งกันและกัน ราคาหุน ก็จ ะไต ขึ้นมาที่คลื่นลูกที่ 1 หลังจากนั้น ก็จะมีนักเลนหุนบางกลุมที่คอยจังหวะขายหุน โดยที่หวังกําไรไมมากนัก หรือ อยางนอยก็ขาดทุนไมมาก ทําใหหุนปรับฐาน( retrace ) ลงมาเล็กนอยที่คลื่นลูกที่ 2 หลังจากราคาหุนไดปรับฐานมาที่คลื่นลูกที่ 2 แลว ในชวงนี้เอง volume การซื้อขายเริ่มมากขึ้น ทําใหนักเลนหุนอื่นๆมองเห็นแนวโนมทิศทางของหุนตัว นี้ จึงเริ่มเขาซื้อหุนดวย volume ที่มาก ทําใหราคาหุนปรับตัว ( rebound ) สูงขึ้นมาก โดยทฤษฏีแลว คลื่นลูกที่ 3 จะเปนคลื่นลูกที่ยาวที่สุด


ราคาหุนปรับตัวมาที่คลื่นลูกที่ 3 ทําใหนักเลนหุนมีกําไรเปนกอบเปนกํา จึงเริ่มทยอยขายหุนออกมา ราคาหุนก็เริ่ม retrace มาที่คลื่นลูกที่ 4 การปรับ ฐานของราคาหุนมาที่คลื่นลูกที่ 4 นี้ ดูเหมือนวามันนาจะหยุดขึ้นตอไป แตทั้งนี้ ยังมีนักเลนหุนบางกลุมที่ตกขบวนรถไฟ และยังมีความเชื่อวาหุนตัวนี้สามารถ วิ่งตอได จึงเขาไลซื้ออีกรอบหนึ่ง ทําใหหุนสามารถวิ่งตอไปไดจนถึงคลื่นลูกที่ 5 แตโดยพฤติกรรมแลว คลื่นลูกที่ 5 จะมีขนาดสั้นกวาลูกที่ 3 เนื่องจากความ กลาๆกลัวๆของนักเลนหุนทําใหตัดขาย หรือทํากําไรเพียงเล็กนอยก็เพียงพอ แลว เมื่อราคาหุนปรับตัวมาที่จุดสูงสุดคือคลื่นลูกที่ 5 แลว และมีการขายทํา กําไรกันออกมา ทําใหราคาหุนปรับฐานลงมาที่คลื่น a, การขายรอบนี้นักเลน หุนจะประสานเสีย งหรือรวมมือรวมใจกันขายหุน ออกมาปริมาณมาก หรือ บางครั้งเกิด panic เล็กๆ เมื่อหุนปรับฐานมาที่คลื่น a นักเลนหุนบางคนจะมอง วาราคาหุนมันถูกลงจึงเขาซื้อทําใหราคาหุน rebound เล็กนอยไปที่คลื่นลูกที่ b แตการขึ้นครั้งนี้มันขึ้นไมแรง เพราะมันยังไมสามารถเอาชนะใจคนอื่นๆได พอ ขึ้นไมแรงก็ขายดีกวา ทําใหมีการขายหุนกันออกมาทําใหราคาหุนปรับฐานลงที่ คลื่น c หลัง จากจบคลื่น c แลวก็ถือวามัน ครบรอบหรือ cycle ของหุนอยาง สมบูรณ ผมขอทวนนะครับ คลื่น Elliott Wave ประกอบดวยหุน ขาขึ้น ( impulse) คลื่นลูกที่ 1,2,3,4,5 สวนหุนขาลง ( correction ) มีคลื่นลูก a,b,c


การเขาใจพฤติกรรมของหุนโดยอาศัยหลัก Elliott Wave จะทําใหเรารู สถานะและแนวโนมของมัน ทําใหเรามีความมั่นใจมากขึ้นในการ trade จากที่กลาวขางตนเปนเพียง Basic Concept เทานั้น แตมันยังมีความ ซับซอนมากกวานี้ โดยที่หุนขาขึ้นลูกที่ 1,2,3,4,5 สามารถรวบเปนคลื่นลูกที่ 1 และหุนขาลง a,b,c สามารถรวบเปนคลื่นลูกที่ 2 ได เชนกราฟรูปที1่ 4 -15

รูปที่ 14-แสดงความซับซอนเพิ่มขึ้นของ Elliott Wave


รูปที่ 15 - แสดงความซับซอนของ Elliott Wave อีกแบบหนึ่ง การที่หุนมัน rebound หรือ retrace นั้น ถามวามันจะขึ้นไปถึงไหน และ มัน จะลงมาถึงไหน ตรงจุดนี้ก็มีทฤษฎีที่อธิบายไดเ ชนกัน นั่นคือ Fibonacci Numbers ซึ่งเปน เนื้อหาที่สามารถเขีย นเปน หนัง สือหรือคูมือเปน เลมหนา ประมาณ 1 นิ้วได ซึ่งผมไมสามารถนํามาอธิบายในที่นี้ได แตก็ขอนําเอาผล ของมันมาใชเลยดีกวาครับ


Fibonacci Numbers เปนตัวเลขที่เกิดขึ้นมาพรอมกับธรรมชาติ เปนตัว เลขที่เรียกไดวามหัศจรรยเลยทีเดียว ตัวเลขที่เราสามารถนํามาใชไดเลยมีดังนี้ แบบทศนิยม

แบบเปอรเซ็นต

0.236

23.60 %

0.382

38.20 %

0.500

50.00 %

0.618

61.80 %

0.764

76.40 %

1.000

100.00 %

1.382

138.20 %

1.618

161.80 %

2.618

261.80 %

4.236

423.60 %

หลายคนคงพอจะคุนกับตัวเลขพวกนี้บางนะครับ อยางนอยนักวิเคราะห หุนหลายสังกัดก็นิยม หรือพูดถึงกันมากเชน หุนกําลังปรับฐานลงมาในระดับ 38.20% ซึ่งก็คือแนวรับที่นักวิเคราะหจะทํานายไดวาราคาหุนมันมีแนวรับ ที่ ระดับราคาเทาไหร


เราลองมาดูตัวอยางการใชงาน Fibonacci Numbers

รูปที่ 16- แสดงการใช Fibonacci ในการหาราคาแนวรับ

จากกราฟราคาหุน ( รูปที่ 15 ) เปนตัวอยางของหุน BBL เมื่อราคาหุน มันขึ้นจากจุดที่ 1 ไปจุดที่ 2 และมันก็ปรับฐาน retrace ลงมา ทีนี้หากเราไมมี วิชาติดตัวถามวาราคาหุนมันควรจะลงมาเทาไหรก็ไมสามารถจะคาดคะเนได แตหากเรามีวิชาติดตัว คุณคงบอกไดนะครับวาแนวรับมันควรจะอยูที่ไหน


ถาเราใช Fibonacci หาแนวรับก็จะไดแนวรับหลายระดับไดแก แนวรับที่ 23.6% , 38.2%, 50.0%, 61.80% ในที่นี้แนวรับมันหยุดที่ 50% ที่ราคาใกลๆ 48 และหลังจากนั้นมันก็ rebound ขึ้นตอไป แนนอนครับเราคงไมไดใชเจา Fibonacci Numbers เพียงอยางเดียวมา วิเ คราะหหุน ถาจะใหดีเ ราควรนําเอา indicators ตัวอื่นๆมาวิเ คราะหดวย เชนกัน

ตัวอยางรูปที่ 16 เปนการนําเอา indicator เชน MACD ( Oscillator ) มา ประกอบในการวิเคราะห เพื่อหาวาคลื่นของ ELLIOTT มันวิ่งไปถึงคลื่นลูกที่ 5 หรือ ยัง ซึ่ ง จะสั งเกตุเ ห็ นว า เส น สีแ ดงที่ ล ากเชื่อ มระหวา งจุด 3 และ 5 มี ทิศทางขึ้ น ในขณะที่เสนแดงที่ลากเชื่อมระหวางจุดยอดของ MACD มีทิศทางลง ลักษณะนี้ เรียกวาเกิด divergence คือมันมีทิศทางสวนทางกัน เชนนี้ก็จะสามารถ forecast ไดวากราฟหุนไดมาถึงจุดสูงสุดคลื่นลูกที่ 5 แลว

รูปที่ 17- การใช indicator เขน MACD ชวยในการหาจุดยอดของ wave-5


ชวงขาขึ้นประกอบดวยคลื่น 1,2,3,4,5 สังเกตวาคลื่นลูกที่ 2,4 เปนคลื่น ชวงปรับฐานยอย สวนคลื่น 1,3,5 เปนคลื่น rebound แตถามองเปน Channel แลว ภาพรวมมันเปน Uptrend

ลักษณะของคลื่นลูกที่ 2 จะปรับฐานโดยจะไมต่ํากวาจุดเริ่มตนของ คลื่นลูกที่ 1


การปรับฐานคลื่นลูกที่ 2 นั้นเกิดจากการขายเพื่อหนีตนทุน เนื่องจาก กอนการเกิดคลื่นลูก ที่ 1 มัน ผาน downtrend มากอน ทําใหพอหุน มีก าร rebound ขึ้นมาที่ลูกคลื่นที่ 1 ได นักเลนหุนบางกลุมก็ยอมขายขาดทุนออกมา ทําใหราคาหุนตก และปรับฐานเปนคลื่นลูกที่ 2

การ form ตัวคลื่นลูกที่ 3 นั้นจะสังเกตุไดจากยอดของคลื่นลูกที่ 1จะเปน แนวตานที่สําคัญ หากมันไมสามารถทะลุผานจุดนี้ไปได นั่นแสดงวาคลื่นลูกที่ 3 นั้นมันมีปญหา หรือผิดพลาด แตถาลูกคลื่น สามารถทะลุผานแนวตานนี้ ไป ไดแสดงวาการ form ตัวเปนคลื่นลูกที่ 3 นาจะสมบูรณ


สวนมากแลวคลื่นลูกที่ 3 จะเปนคลื่นที่แรงที่สุด ดังนั้นหากราคาหุนมัน ทะลุยอดของคลื่นลูกที่ 1 พรอมทั้งเกิด Gap กระโดดอยูเหนือยอดคลื่นลูกที่ 1 ได ยอมแสดงถึงทิศทางของหุนกําลังเขาสู Bullish state อยางคึกคัก

สาเหตุที่คลื่นลูกที่ 3 เปนคลื่นลูกที่รอนแรงที่สุดนั้น ก็เพราะวานักเลนหุน ตางก็มองเห็นทิศทาง ของมันอีกทั้งยังเกิด gap ของราคาหุนดวย ทําใหนักเลน หุนที่พลาดโอกาสซื้อ ณ จุดต่ําสุดนั้น ตองรีบกระโดดเขามารวมวงดวย เพื่อ ปองกันไมใหตัวเองตองตกขบวน


เมื่อคลื่นลูกที่ 3 ไดไตระดับขึ้นมามากแลว นักเลนหุนกลุมแรกที่ซื้อหุน ไว ณ ระดับราคาชวงต่ําสุด ก็เริ่มทยอยขายทํากําไรออกมา ทําใหราคาหุนมี การปรับฐานเกิดคลื่นลูกที่ 4 สวนนักเลนหุนกลุมที่ไมไดซื้อหุน ณ ระดับราคาต่ําสุดยังไมไดขายหุน ออกมาก อีกทั้งยังมีการซื้อเฉลี่ยตนทุนดวย และเชื่อวาโอกาสที่หุนจะขึ้นยังมี อยู จึงเขาซื้อ ทําใหราคา rebound ขึ้นไปเปนคลื่นลูกที่ 5 แตการ form ตัวเปน คลื่นลูกที่ 5 จะไมคึกคักเทากับคลื่นลูกที่ 3 แลวจุด peak ของ uptrend ก็มา หยุด ณ คลื่นที่ 5


ชวงขาลง downtrend เปนชวงที่คาดคะเนไดยากพอสมควร นักเลนหุน บางคนสามารถทํากําไรจากสวนตางราคาหุน (price gaining) ไดในชวงหุนขา ขึ้น แตก็ตองขาดทุนในชวงหุนขาลง เพราะการพยากรณ หรือ คาดคะเนหุนขา ลงมันจะยุงยากและซับซอนกวาชวงขาขึ้น หุน ขาลงประกอบดวยคลื่น ลูก ที่ A,B,C ซึ่งเราสามารถหาคลื่น ลูก ที่ A,B,C ไดดังนี้

Simple Correction หรือเรียกวา zig-zag ก็ได โดยการปรับทิศทางลง ของหุนประกอบดวยคลื่นลูกที่ A,B,C ทั้งนี้คลื่นลูก B จะ retrace ไมเกิน 75% ของคลื่น A.และคลื่น C จะมีขนาดมากกวาหรือเทากับคลื่น A


WAVE-B ปกติจะมีขนาดของคลื่นเปน 50% ของคลื่น A และไมควรเกิน 75% ของ คลื่น A WAVE-C เปนไปไดตามกรณี = 1.00 เทาของ คลื่น A. = 1.62 เทาของ คลื่น A. = 2.62 เทาของ คลื่น A.


นี่คือรูปแบบตัวอยางของ ZIG-ZAG Correction

การนํา Elliott Wave มาวิเคราะหหุนนั้นนับวามันมีประโยชนมากทีเดียว แตเชื่อหรือไมครับวา คนสิบคนกําหนดหรือสราง Elliott Wave ไมเหมือนกันคือ บางคนระบุราคาหุนตอนนั้นเปนคลื่นลูกที่ 3 แตบางคนก็ระบุเปนคลื่นลูกที่ 5 ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประสบการณ และเครื่องมือที่นํามาประกอบการวิเคราะห สิ่งสําคัญที่ขอเนนนะครับคือ ไมวาเราจะมีเครื่องมือที่ดีเลิศอะไรก็ ตาม แตสิ่งสําคัญเหนืออื่นใดคือวินัยในการลงทุน หรือวินัยในการเลน หุน ( DISICIPLINE ) อยาลืมนะครับตองยึดมั่นใหดีแลวคุณจะประสบ ความสําเร็จ


แนะนําโปรแกรม RicherStock

www.richerstock.com


รูปที่ 18- www.richerstock.com

เกี่ยวกับโปรแกรม RicherStock ( www.richerstock.com )

RicherStock เปนโปรแกรมวิเคราะหหุนโดยอาศัยดานเทคนิค ( Technical Analysis ) และใชหลักการ Elliott Wave ประกอบกับ Fibonacci Numbers นํามาคํานวณเพื่อหาจุดซื้อ จุดขายหุนที่เหมาะสม ( Buy –Sell signal ) อีกทั้ง โปรแกรมยังแสดงคา indicators ตางๆ เพื่อใชยืนยันจังหวะซื้อ จังหวะขาย เพื่อ ความมั่นใจมากยิ่งขึ้น


ลักษณะของกราฟทีโ่ ปรแกรมแสดงนั้น ประกอบดวยกราฟหุนพรอมลูกศร ซื้อ หรือ ลูกศรขาย ซึ่งเปนลูกศรที่แสดงถึงจังหวะซื้อ หรือจังหวะขายที่เหมาะสม ทั้งนี้จังหวะซื้อขายนั้น จะถูกยืนยันดวย indicators RSI ( Relative Strength Index ) และ Stochastic และ MACD ( Moving Average Convergence and Divergence ) ประโยชนที่จะไดรับจากโปรแกรม RicherStock คือทําใหนักลงทุนเขาซื้อ หรือขายหุนไดถูกจังหวะ ทําใหนักลงทุนรูสถานะหรือภาวะตลาด ณ ขณะนั้นๆวา มีความเสี่ยงมากหรือความเสี่ยงนอยเพียงใด เพื่อที่นักลงทุนจะสามารถบริหาร ความเสี่ยงไดอยางมั่นใจ การลงทุน มีความเสี่ยง แตถานัก ลงทุน สามารถจัดการและบริหารความ เสี่ยงนั้นได ยอมทําใหนักลงทุนประสบความสําเร็จในการลงทุนตอไป เริ่มตนที่ www.richerstock.com เมื่อเขาไปที่ www.richerstock.com สําหรับสมาชิกใหทําการ login โดย ใส username และ password


รูปที่ 19 แสดงหนา Login


หลังจาก Login จะปรากฏหนาจอดังรูปที่ R2. ซึ่งจะมี menu ใหเลือกดาน ซายมือประกอบดวยกลุมเมนู 1.Stock chart function เปนเมนูที่แสดงรายการกราฟดานเทคนิค ซึ่งจะ กลาวถึงในรายละเอียดตอไป 2.ตารางเครื่องหมายซื้อขาย เปนพังกชั่นที่จระสรุปภาพรวมของตลาด หรือ กลุมของหุน วาเกิดสัญญาณซื้อหรือขายอยางไร 3.คนหาหุน เปนฟงกชั่นสําหรับคนหาหุนที่เราตองการ ตามเงื่อนไขที่ user สามารถกําหนดไดในเชิง technical 4.Fundamental Info เปนกลุมฟงกชั่นสําหรับดูขอมูลหุนเชิงพื้นฐาน การใชงานกราฟหุน ( Stock Chart )


หลังจากที่สมาชิก login เขามาในระบบแลว หากตองการดูกราฟหุน พรอม จุดซื้อขาย โดยตองการดูกราฟหุนแตละตัวที่สนใจ ใหใสสัญลักษณหุนตัวนั้นๆที่ ชองวาง “Symbols: “ ตัวอยางเชน ถาตองการดูก ราฟหุน ของ ปตท ใหใ ส สัญลักษณที่ชองวางเปน PTT ( จะเปนอักษรพิมพใหญหรือเล็กก็ได ) เมื่อใส สัญลักษณแลว ให click ที่ icon ก็จะปรากฏกราฟหุนของ PTT ดังรูปที่ -20


รูปที่ 20- แสดงกราฟหุน PTT


สวนประกอบของกราฟ สวนที่ 1 “ Header ” สวนที่ 2. Stock Chart area สวนที่ 3. Volume สวนที่ 4. Indicator 1 สวนที่ 5. Indicator 2 สวนที่ 6. indicator 3 สวนที่ 1. Header

สวนนี้จะแสดงสัญลักษณหุน และชื่อหุนภาษาไทย พรอมกับแสดงรายการ ราคาหุน open ราคาเปดของวัน high low close volume change date

ราคาสูงสุดของวัน ราคาต่ําสุด ราคาปด ปริมาณการซื้อขาย ( x 100 ) ราคาเปลี่ยนแปลงจากวันกอน วันที่ลาสุดของกราฟ


สวนที่ 2. Stock Chart Area

สวนนี้จะแสดงกราฟหุนโดยที่คา default หรือคาที่กําหนดไวเบื้องตน จะ เปนกราฟชนิด candle stick หรือกราฟแทงเทียน และจะแสดงกราฟยอนหลัง 6 เดือน หากตองการแกไ ขชนิดของกราฟ หรือช วงเวลายอนหลังของกราฟ สามารถเปลียนแปลงไดที่เมนู “ Chart type: “, “ Time: ” นอกจากจะแสดงกราฟของหุนแลว ภายในสวนนี้ยังแสดงจังหวะซื้อ และ จังหวะขายดวย โดยจะแสดงจังหวะซื้อ-ขาย 4 รูปแบบดวยกันดังนี้ สัญญลักษณ

ความหมาย

แสดงสัญญาณซื้อระยะกลาง ( Mid-Term Buy )

จังหวะซื้อ ณ จุดนี้ สวนใหญแลวจะเปนจุด turning point จากขาลง เปลี่ยนเปนขาขึ้น หรือ เปลี่ยนจาก downtrend เปน uptrend

แสดงสัญญาณขายระยะกลาง ( Mid-Term Sell ) จังหวะขาย ณ จุดนี้ สวนใหญแลวจะเปนจุด turning point จากขา ขึ้นเปลี่ยนเปนขาลง หรือ เปลี่ยนจาก uptrend เปน downtrend

แสดงสัญญาณซื้อระยะสั้น ( Short-Term Buy ) จังหวะซื้อ ณ จุดนี้ จะเกิดในชวงระยะกลาง คือภายในชวงระหวาง และ ซึ่งสัญญาณระยะสั้นนี้ สามารถเกิดขึ้นได สัญญาณ หลายรอบ

แสดงสัญญาณขายระยะสั้น ( Short-Term Sell ) จังหวะขาย ณ จุดนี้ จะเกิดในชวงระยะกลาง คือภายในชวงระหวาง สัญญาณ และ ซึ่งสัญญาณระยะสั้นนี้ สามารถเกิดขึ้นได หลายรอบ


นอกจากกราฟที่แสดงจังหวะซื้อ และจังหวะขายแลว ภายในกราฟจะมีเสน คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ ( moving averge ) 3 เสนไดแก · เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 5 วัน MA( 5 ) เปนเสนสีมวง · เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 15 วัน MA(15) เปนเสนสีน้ําเงิน · เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 30 วัน MA(30 ) เปนเสนสีแดง เสนคาเฉลี่ยทั้ง 3 เสนจะบอกภาวะตลาดไดวาเปนตลาดหมีหรือกระทิง ( bearish or bullish ) โดยสังเกตจาก ภาวะตลาด ลักษณะกราฟ ความหมาย ภาวะตลาดหมี เสนกราฟราคาหุนจะอยูต่ํา เปนตลาดขาลง การทํากําไรจากการ ( Bearish State ) กวาเสนคาเฉลี่ยทั้ง 3 เสน เลนรอบจะตองเลนเร็วขึ้น ชวงกําไร จะนอย ภาวะตลาด เสนกราฟราคาหุนจะอยู เปนตลาดขาขึ้น การทํากําไรจากการ กระทิง เหนือเสนคาเฉลี่ยทั้ง 3 เสน เลนรอบจะยาวขึ้น ชวงทํากําไรจะ ( Bullish State ) มากกวาภาวะตลาดหมี

การหาคาของเสนคาเฉลี่ยเคลือ่ นที่ ( Moving Average ) เนื่องจากการหาคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ จะมีดวยกันหลายวิธี หลายรูปแบบ เชน SMA ( Simple Moving Average ), EMA ( Exponential Moving Average ) เปนตน แตเนื่องจาก RicherStock ตองการใหสมาชิกมองภาพรวม ไมตองการให


เกิดความซับซอน ดังนั้น การแสดง moving average จะแสดงดวย SMA ( Simple Moving Average ) การหา SMA ก็โดยนําเอาราคาปดนับยอนหลังจากวันนี้ถอยยอนหลังไป ตามจํานวนวันที่ตองการหาคาเฉลี่ย เชนตองการหาคา SMA(10) คือเราตองการ หาคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 10 วัน เราก็ตองเอาราคาปดยอนหลัง 10 วัน โดยเอาราคา ปดแตละวันมารวมกันแลวหารดวย 10 และนําคาเฉลี่ยที่ไดมา plot ในกราฟของ วันนี สวนที่ 3 ปริมาณการซื้อ-ขาย ( Volume )

สวนนี้จะแสดงปริมาณการซื้อ-ขายของหุนตัวนั้นๆ โดยแสดงเปนกราฟแทง ทึบ ซึ่งปริมาณการซื้อขายนี้ ก็สามารถบอกทิศทางหรือแนวโนมของหุนไดเชนกัน เชนวันใดที่ปริมาณการซื้อขายมากขึ้น ประกอบกับราคาหุนเพิ่มขึ้นแสดงวานัก ลงทุนกําลังเลนหุนตัวนั้น ในทางกลับกันหากปริมาณการซื้อขายมากขึ้น ในขณะ ที่ราคาหุนตัวนั้นลดลง แสดงวานักลงทุนกําลังเทขายหุนตัวนั้น สวนที่ 4 Lower Indicator 1

ความหมายของ Indicator โดยทั่วๆไปจะหมายถึง ดัชนีชี้แนะอะไรสัก อยางหนึ่ง ที่จะทําใหเ ราสามารถพยากรณภาวะโดยรวมของเหตุการณนั้น ๆ ได ซึ่งถาหากนําเอาเรื่อง indicator มาใชในกับการวิเคราะหหุนดานเทคนิคแลว indicator จะบอกถึงภาวะของหุนวา ราคาแพงไป ( overbought ) หรือราคาถูก ไป ( oversold ) ก็ได หรืออาจจะนําไปใชในการบอกภาวะหุนวาเปนภาวะหมี


หรือ ภาวะกระทิงก็ไดเชนกัน รายละเอียดของ indicator ที่ใชกับกราฟที่นําเสนอ โดย RicherStock มีดังนี้ Relative Strength Index (RSI)

หุน

จะแบงพื้นที่ออกเปน 3 สวนดวยกันไดแก - Overbought - Trading Range - Oversold ความหมายและสิ่งที่ตองพิจารณาเพื่อนํา RSI ไปใชในการวิเคราะหภาวะ พื้นที่

Overbought

ความหมาย

เปนพื้นที่บริเวณที่อยูเหนือเสนระดับ 70% ขึ้นไป ถา เสนกราฟ RSI วิ่งอยูในพื้นที่บริเวณนี้ หรืออีกนัยหนึ่งคือ เสนกราฟ RSI วิ่งอยูเหนือเสน 70 % เราเรียกวา ขณะนี้หุน เกิด overbought แลว หมายถึงวา ณ ขณะนี้หุนตัวนี้เริ่มมี


Trading Range

Oversold

ราคาแพงแลวสําหรับรอบนั้นๆ เพราะนักลงทุนไดไลซื้อหุนตัว นั้นๆมาตลอดเลยทําใหราคาไตระดับขึ้นไปจนถึง overbought เปนพื้นที่บริเวณที่อยูระหวางเสนระดับ 30% และ เสนระดับ 70% ถาเสนกราฟ RSI วิ่งอยูในพื้นที่บริเวณนี้ หรือ อีกนัยหนึ่งคือเสนกราฟวิ่งมาอยูระหวางเสนระดับ 30 % และเสนระดับ 70 % เปนชวงที่มีการซื้อ-ขายกัน เปนพื้นที่บริเวณที่อยูใตเสนระดับ 30% ลงมา ถา เสนกราฟ RSI วิ่งอยูในพื้นที่บริเวณนี้ หรืออีกนัยหนึ่งคือ เสนกราฟ RSI วิ่งอยูใตเสน 30 % เราเรียกวา ขณะนี้หุนเกิด oversold แลว หมายถึงวา ณ ขณะนี้หุนตัวนี้เริ่มมีราคาถูก แลวสําหรับรอบนั้นๆ เพราะนักลงทุนไดขายหุนตัวนั้นๆมา ตลอดเลยทําใหราคาลดระดับลงมาจนถึง oversold

เสนกราฟ RSI ที่เห็นนั้นจะมี 2 เสน ไดแกเสน RSI ( สีดํา ) เปนเสนที่ คํานวณขอมูลยอนหลังทุกๆ 14 วัน และเสนคาเฉลี่ยของ RSI ( สีขาว ) โดยหา คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 5 วัน เนื่องจากเสน RSI เองไม smooth จะขึ้นๆลงเปนหยัก ดังนั้นจึงตองหาเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ของ RSI เพื่อทําใหเสนกราฟ smooth ขึ้น และเราสามารถใชประโยชนของการตัดกันทั้ง 2 เสนนี้ เพื่อยืนยันจังหวะซื้อ และ จังหวะขายไดดังนี้


จังหวะซื้อ จังหวะขาย กรณีเสน RSI วิ่งจาก oversold ขึ้นไป กรณีเสน RSI วิง่ จาก overbought ลง เปนจังหวะที่เตรียมพรอมเขาซื้อ ทั้งนี้ให มา เปนจังหวะที่เตรียมพรอมขาย ทั้งนี้ สอดคลองกับสัญญาณ ลูกศรซื้อที่ ใหสอดคลองกับสัญญาณลูกศรขายที่ ปรากฏดวย และถาเสน RSI ( สีดํา ) ตัด ปรากฏดวย และถาเสน RSI ( สีดํา ) ตัด ผานเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ ( สีขาว ) ขึ้น ผานเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ ( สีขาว ) ใน ไป แนวโนมราคาจะวิ่งขึ้น ทิศทางลง แนวโนมราคาจะวิ่งลง สวนที่ 5 Lower Indicator 2

Stochastic Oscillator

จะแบงพื้นที่ออกเปน 3 สวนดวยกันไดแก - Overbought - Trading Range - Oversold ความหมายและสิ่งที่ตองพิจารณาเพื่อการนําไปใชในการวิเคราะหภาวะหุน


พื้นที่ Overbought

Trading Range

Oversold

ความหมาย เปนพื้นที่บริเวณที่อยูเหนือเสนระดับ 80% ขึ้นไป ถา เสนกราฟ Stochastic วิ่งอยูในพื้นที่บริเวณนี้ หรืออีกนัยหนึ่ง คือเสนกราฟ Stochastic วิ่งอยูเหนือเสน 80 % เราเรียกวา ขณะนี้หุนเกิด overbought แลว หมายถึงวา ณ ขณะนี้หุนตัว นี้เริ่มมีราคาแพงแลวสําหรับรอบนั้นๆ เพราะนักลงทุนไดไล ซื้อหุนตัวนั้นๆมาตลอดเลยทําใหราคาไตระดับขึ้นไปจนถึง overbought เปนพื้นที่บริเวณที่อยูระหวางเสนระดับ 20% และเสนระดับ 80% ถาเสนกราฟ Stochastic วิ่งมาอยูในพื้นที่บริเวณนี้ หรือ อีกนัยหนึ่งคือเสนกราฟวิ่งมาอยูระหวางเสนระดับ 20 % และ เสนระดับ 80 % เปนชวงที่มีการซื้อ-ขายกัน เปนพื้นที่บริเวณที่อยูใตเสนระดับ 20% ลงมา ถาเสนกราฟ Stochastic วิ่งมาอยูในพื้นที่บริเวณนี้ หรืออีกนัยหนึ่งคือ เสนกราฟ Stochastic วิ่งมาอยูใตเสน 20 % เราเรียกวา ขณะนี้หุนเกิด oversold แลว หมายถึงวา ณ ขณะนี้หุนตัวนี้ เริ่มมีราคาถูกแลวสําหรับรอบนั้นๆ เพราะนักลงทุนไดขายหุน ตัวนั้นๆมาตลอดเลยทําใหราคาลดระดับลงมาจนถึง oversold


เสนกราฟ Stochastic ที่เห็นนั้นจะมี 2 เสน ไดแกเสน Stochastic ( สีดํา ) เปนเสนที่คํานวณขอมูลยอนหลังทุกๆ 14 วัน และเสนคาเฉลี่ยของ Stochastic ( สีขาว )โดยหาคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 5 วัน เนื่องจากเสน Stochastic เองไม smooth จะขึ้นๆลงเปนหยัก ดังนั้นจึงตองหาเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ของ Stochastic เพื่อทํา ใหเสนกราฟ smooth ขึ้น และเราสามารถใชประโยชนของการตัดกันทั้ง 2 เสนนี้ เพื่อยืนยันจังหวะซื้อ และจังหวะขายไดดังนี้ จังหวะซื้อ จังหวะขาย กรณีเสน Stochastic วิ่งจาก กรณีเสน Stochastic วิ่งจาก oversold ขึ้นไป เปนจังหวะที่ overbought ลงมา เปนจังหวะที่ เตรียมพรอมเขาซื้อ ทั้งนี้ให เตรียมพรอมขาย ทั้งนี้ใหสอดคลองกับ สอดคลองกับสัญญาณ ลูกศรซื้อที่ สัญญาณลูกศรขายที่ปรากฏดวย และถา ปรากฏดวย และถาเสน เสน Stochastic ( สีดํา ) ตัดผานเสน Stochastic ( สีดํา ) ตัดผานเสน คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ ( สีขาว ) ในทิศทาง คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ ( สีขาว ) ขึ้นไป ลง แนวโนมราคาจะวิ่งลง แนวโนมราคาจะวิ่งขึ้น ขอสังเกต Indicator RSI และ Stochastic มีลักษณะและการใชงานคลายกัน ทั้ง RSI และ Stochastic ใชวิเคราะหหุนชวงสั้น ทั้งนี้ควรใชทั้ง 2 indicator ประกอบกัน ในการวิเคราะห


สวนที่ 6 : Lower Indicator 3

สวนนี้จะแสดง MACD ( Moving Average Convergence Divergence ) แบงพื้นที่ออกเปนสองสวนโดยมีเสนสีน้ําเงิน หรือเสนศูนย · พื้นที่เหนือเสนศูนยเปนพื้นที่ Bullish · พื้นที่ใตเสนศูนยเปนพื้นที่ Bearish ลักษณะของเสนกราฟ ภาวะตลาด ทิศทางของราคาหุน MACD เสนกราฟ MACD อยู เปนภาวะตลาด เปนชวงขาขึ้น หากสังเกต เหนือเสนศูนย กระทิง ( Bullish ) เสนกราฟราคาจะอยูเหนือเสน moving average ทั้ง 3 เสน เสนกราฟ MACD อยู เปนภาวะตลาดหมี เปนชวงขาลง หากสังเกต ใตเสนศูนย ( Bearish ) เสนกราฟราคาจะอยูใตเสน moving average ทั้ง 3 เสน MACD จะแสดงภาวะตลาดในระยะกลาง ทําใหเราเลนหุนไดถูกจังหวะ หากตลาดอยูในภาวะกระทิง ( bullish ) การทํากําไรในแตละรอบจะมีอัตราที่สูง


ไมตองรีบรอนในการขาย แตถาภาวะตลาดเปนตลาดหมี ( bearish ) การทํากําไร ในแตละรอบจะมีอัตราผลตอบแทนนอย การซื้อขายหรือการเลนหุนในชวงนี้ตอง มีความระมัดระวังเปนพิเศษ เขาเร็ว ออกเร็ว และตองติดตามอยางใกลชิด การหาคา MACD โดยการหาผลตางระหวาง MA(12) – MA(26) คือหา ผลตางของคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 12 วัน ลบดวยคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 26 วัน แลวนํา ผลตางนั้นมา plot กราฟไดเสนกราฟ MACD ( เสนสีดํา ) และหาเสนคาเฉลี่ย เคลื่อนที่ 9 วัน ( เสนสีขาว )

เมนู Chart Type

เปนเมนูใหเลือกแสดงรูปแบบของกราฟ มีดวยกัน 3 รูปแบบ ไดแก Bar Chart, Candlestick, Line Chart โดยคาเริ่มตนหรือคา default จะตั้งใหเปน candlestick


Bar Chart

องคประกอบของ Bar Chart · Open ( ราคาเปด ) เปนราคาเริ่มตนของการซื้อขายในแตละวัน · High ( ราคาสูงสุด ) เปนราคาสูงที่สุดของการซื้อขายในแตละวัน · Low ( ราคาต่ําสุด ) เปนราคาต่ําที่สุดของการซื้อขายในแตละวัน · Close ( ราคาปด ) เปนราคาปดของของแตละวัน วิธีการเขียนกราฟ Bar Chart 1. ราคาเปดจะอยูดานซายมือ เปนเสนแนวนอน 2. ราคาปดจะอยูดานขวามือเปนเสนแนวนอน 3. ราคาสูงสุด และราคาต่ําสุดจะอยูตรงกลาง และลากเสนเชื่อม ระหวางราคาสูงสุดและราคาต่ําสุด


Candle Stick

องคประกอบของ Candle Stick · Open ( ราคาเปด ) เปนราคาเริ่มตนของการซื้อขายในแตละวัน · High ( ราคาสูงสุด ) เปนราคาสูงที่สุดของการซื้อขายในแตละวัน · Low ( ราคาต่ําสุด ) เปนราคาต่ําที่สุดของการซื้อขายในแตละวัน · Close ( ราคาปด ) เปนราคาปดของของแตละวัน วิธีการเขียนกราฟ Candle Stick กรณีราคาปด ( close ) สูงกวาราคาเปด ( open )

1. ลากเสนราคาเปดแนวนอน 2. ลากเสนราคาปดแนวนอน 3. ลากเสนแนวตั้งเชื่อมระหวางเสนราคาเปดและราคาปด จะมีลักษณะเปน เหมือนแทงเทียน 4. แทงเทียนเปนสีขาว 5. ลากเสนตรงแนวตั้งจากราคาปดไปหาราคาสูงสุดเกิดเปนเสนตั้งเหมือนไสเทียน

6. ลากเสนตรงแนวตั้งจากราคาเปดไปหาราคาต่ําสุดเกิดเปนเสนตั้งเหมือนไส เทียน


วิธีการเขียนกราฟ Candle Stick กรณีราคาปด ( close ) ต่ํากวาราคาเปด ( open )

1. ลากเสนราคาเปดแนวนอน 2. ลากเสนราคาปดแนวนอน 3. ลากเสนแนวตั้งเชื่อมระหวางเสนราคาเปดและราคาปด จะมีลักษณะ เปนเหมือนแทงเทียน 4. แทงเทียนเปนสีดําทึบ 5. ลากเสนตรงแนวตั้งจากราคาเปดไปหาราคาสูงสุดเกิดเปนเสนตั้งเหมือน ไสเทียน 6. ลากเสนตรงแนวตั้งจากราคาปดไปหาราคาต่ําสุดเกิดเปนเสนตั้งเหมือน ไสเทียน


Line Chart

เปนการนําราคาปดของแตละวันมา plot กราฟ รูปแบบของกราฟทั้ง 3 ชนิดนี้ จะแสดงลักษณะขั้นพื้นฐานเทานั้น เพื่อให สมาชิกเขาใจรูปแบบในเบื้องตน ซึ่งรายละเอียดที่ซับซอนกวานี้จะขออนุญาตไม นําเสนอ เมนู TIME เปนเมนูที่ใหเลือกระยะเวลาในการแสดงกราฟ โดยที่คา เริ่มตน หรือคา default ไดถูกกําหนดไวที่ ระยะเวลาแสดง กราฟ 6 เดือน ซึ่งผูใชงานสามารถเลือกระยะแสดงกราฟได ตามความเหมาะสม โดยสามารถเลือกเวลาไดตั้งแต 1, 2, 3, 4, 6 เดือน หรือ หากตองการดูยอนหลังรายป ก็สามารถเลือก ไดตั้งแตระยะเวลา 1 1.5 2 2.5 3 ป ตามลําดับ


เมนู Lower Indicator-1 เปนเมนูที่ใหเราเลือกวาตองการให indicator แถวที่ 1 แสดงคาอะไร ซึ่งคาเริ่มตนหรือคา default ที่โปรแกรมตั้งไว นั้นจะเปน RSI-indicator เมนู Lower Indicator-2 เปนเมนูที่ใหเราเลือกวาตองการให indicator แถวที่ 2 แสดงคาอะไร ซึ่งคาเริ่มตนหรือคา default ที่โปรแกรมตั้งไว นั้นจะเปน Stochastic-indicator เมนู Lower Indicator-3 เปนเมนูที่ใหเราเลือกวาตองการให indicator แถวที่ 3 แสดงคาอะไร ซึ่งคาเริ่มตนหรือคา default ที่โปรแกรมตั้งไวนั้น จะเปน MACD-indicator เมนู

เมนูนี้เปนการแสดงตารางเครื่องหมายซื้อ-ขายที่เกิด เปนการอํานวยความ สะดวกใหสมาชิก เพื่อดูภาพรวมของหุนวาสวนใหญแลวเกิดสัญญาณซื้อ หรือ เกิดสัญญาณขาย หลังจากที่ click ที่เมนู “ ตารางเครื่องหมายซื้อขาย “ แลวจะ ปรากฏหนาจอดังรูปที่ 4 ซึ่งเปนหนาที่แสดงตารางสัญญาณซื้อขายของ sector


index ที่ประกอบดวยรายการของ index แตละอุตสาหกรรม โดยเรียงลําดับ ตั้งแต SETINDEX, SETAGRI………….SETOHTER.

รูปที่ 21. แสดงตารางเครื่องหมายซื้อ-ขาย ของ sectors index

สวนนี้จะแสดงรายละเอียดของหุนแตละรายการในแตละกลุม เชนหาก ตองการดูรายการที่อยูในกลุมธนาคาร ให click BANK ตารางเครื่องหมายซื้อ ขายของกลุมธนาคารจะแสดงออกมาดังนี้


รูปที่ 22. “ ตารางเครื่องหมายลูกศรของหุนในกลุมธนาคาร “

จะแสดงรายการหุนที่อยูในกลุมธนาคารทั้งหมด ถาตองการดูกราฟ หุนของแตละตัวสามารถทําไดโดยการ click ไปที่ชื่อ symbol ของหุนตัวนั้น แสดงชื่อหุนเปนภาษาไทย เปนชองที่แสดงสัญญาณซื้อ ซึ่งรายการที่จะเกิดในชองนี้มีดวยกัน 3 แบบ


แบบที่ สัญลักษณ ความหมาย ที่ปรากฏ ในชอง Buy 1 สัญญาณซื้อ ระยะสั้น

2

สัญญาณซื้อ ระยะกลาง

หมายเหตุ

สัญญาณนี้จะเกิดขึ้นภายในวันนี้และ ยอนหลังไปอีก 2 วัน เชนสมมติวาวันนี้เปน วันอังคารที่ 2 กันยายน 2546 ดังนั้นถาเกิด สัญญาณซื้อภายในวันที่ 29 สิงหาคม 2546 ถึงวันอังคารที่ 2 กันยายน ( ไมนับเสารอาทิตย ) เครื่องหมายลูกศรนี้จะปรากฏใน ชอง BUY ซึ่งจะทําใหเราสามารถเขาซื้อหุน ไดตั้งแตเนิ่นๆ สัญญาณนี้จะเกิดขึ้นภายในวันนี้และ ยอนหลังไปอีก 2 วัน เชนสมมติวาวันนี้เปน วันอังคารที่ 2 กันยายน 2546 ดังนั้นถาเกิด สัญญาณซื้อภายในวันที่ 29 สิงหาคม 2546 ถึงวันอังคารที่ 2 กันยายน ( ไมนับเสารอาทิตย ) เครื่องหมายลูกศรนี้จะปรากฏใน ชอง BUY ซึ่งจะทําใหเราสามารถเขาซื้อหุน ไดตั้งแตเนิ่นๆ


3

“ ผานจุด เกิดสัญญาณ ซื้อ “ ซื้อไปแลว มากกวา 3 วัน นับจากวันนี้

สัญญาณนี้จะเกิดขึ้นเมื่อจุดซื้อไดผานไป แลวมากกวา 3 วัน เชนสมมติวาวันนี้เปน วันที่ 2 กันยายน 2546 และสัญญาณซื้อ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2546 ซึ่งเราจะ เห็นวาถานับจํานวนวันจากวันนี้ ( 2 กันยายน ) ไปจนถึงวันที่ 21 สิงหาคม จํานวนวันจะมากกวา 3 วัน ดังนั้นแทนที่จะ ปรากฏเปนสัญลักษณสูกศร ก็เกิด สัญญลักษณ “ผานจุดซื้อ “ แทน

เปนชองที่แสดงสัญญาณขาย ซึ่งรายการที่จะเกิดในชองนี้มีดวยกัน 3 แบบ แบบ สัญลักษณ ความหมาย หมายเหตุ ที่ ที่ปรากฏใน ชอง SELL 1 สัญญาณขาย สัญญาณนี้จะเกิดขึ้นภายในวันนี้และ ระยะสั้น ยอนหลังไปอีก 2 วัน เชนสมมติวาวันนี้ เปนวันอังคารที่ 2 กันยายน 2546 ดังนั้น ถาเกิดสัญญาณขายภายในวันที่ 29 สิงหาคม 2546 ถึงวันอังคารที่ 2 กันยายน ( ไมนับเสารอาทิตย ) เครื่องหมายลูกศรนี้จะปรากฏ


ในชอง SELL ซึ่งจะทําใหเราสามารถ ขายหุนไดตั้งแตเนิ่น 2

3

สัญญาณขาย สัญญาณนี้จะเกิดขึ้นภายในวันนี้และยอนหลัง ไปอีก 2 วัน เชนสมมติวาวันนี้เปนวันอังคารที่ 2 ระยะกลาง

“ ผานจุดขาย เกิดสัญญาณ “ ขายไปแลว มากกวา 3 วัน นับจากวันนี้

กันยายน 2546 ดังนั้นถาเกิดสัญญาณขาย ภายในวันที่ 29 สิงหาคม 2546 ถึงวันอังคารที่ 2 กันยายน ( ไมนับเสารอาทิตย ) เครื่องหมายลูกศรนี้จะปรากฏในชอง SELL ซึ่งจะทําใหเราสามารถขายหุน ไดตั้งแต เนิ่น สัญญาณนี้จะเกิดขึ้นเมื่อจุดขายไดผานไปแลว มากกวา 3 วัน เชนสมมติวาวันนี้เปนวันที่ 2 กันยายน 2546 และสัญญาณขายเกิดขึ้นเมื่อ วันที่ 21 สิงหาคม 2546 ซึ่งเราจะเห็นวาถานับ จํานวนวันจากวันนี้ ( 2 กันยายน ) ไปจนถึง วันที่ 21 สิงหาคม จํานวนวันจะมากกวา 3 วัน ดังนั้นแทนที่จะปรากฏเปนสัญลักษณสู กศร ก็เกิดสัญญลักษณ “ผานจุดขาย “ แทน

กติกาการเลนหุน


กอ นที่ จ ะกล าวถึง วิธี ก ารวิ เ คราะห หุน และการเล น หุ น ใหป ลอดภั ย นั้ น RicherStock ขอทําความเขาใจหรือสร็าง กติกาการเลนหุน เพื่อใหเขาใจตรงกัน และนําไปปฏิบัติไดถูกตอง 1. ราคาหุนเปน Dynamics หมายถึง ราคาหุนไมหยุดกับที่มีการขึ้นๆลง เชนในวันนี้ราคาหุนปรับตัว เพิ่มขึ้นไปจากเมื่อวานนี้ 5 % ไมไดหมายความวาวันพรุงนี้ราคาหุนจะตอง ปรับตัวเพิ่มขึ้นเสมอไป ไมมีใครสามารถฟนธงราคาหุนได 100% 2. การพยากรณหุน การวิเคราะหหุน ดวยกราฟเปน การวิเ คราะหแนวโนมของราคาหุน ที่ใ ช ขอมูลในอดีตเพื่อที่จะพยากรณราคาในอนาคตเพื่อใหความเสี่ยงในการ เลนหุนนอยที่สุด 3. การเลนหุนมีความเสี่ยง ( RISK ) ซึ่งผลตอบแทนจากการลงทุนจะแปรผันตามความเสี่ยงคือ ความเสี่ยงสูง ผลตอบแทนสูง ความเสี่ยงต่ํา ผลตอบแทนก็ต่ํา ( high risk high return ) 4. ตองมีความเชื่อ ( TRUST ) ตองมีความเชื่อในเครื่องมือที่ใชในการวิเคราะหหุน เพราะเครื่องมือหรือ โปรแกรมการวิเคราะหหุนนี้จะวิเคราะหดวย criteria ตางๆที่เรากําหนดไว โดยที่โปรแกรมจะไมมี bias หรือเบี่ยงเบน เชน การกําหนดจังหวะซื้อ จัง หวะขายของโปรแกรม หรือแมก ระทั่งการปรับปรุงหรือปรับเปลี่ย น จังหวะซื้อและจังหวะขาย 5. การเลนหุนดวยเทคนิค เปนเรื่องของจิตวิทยา


ในการกําหนดจังหวะซื้อ จังหวะขาย การวิเคราะหดวยเทคนิค หรือการเลน หุนดวยกราฟเปนการเลนดวยจิตวิทยา เปนการตอสูดวยจิตวิทยาของกลุม นักเลนหุน หุนบางตัวมองในแงพื้นฐาน ( fundamental ) แลวเปนหุนที่ไม นาสนใจ แตราคากลับวิ่งขึ้นไปมาก เปนเพราะหุนตัวนี้มี demand สูงทํา ใหนักลงทุนทั้งหลายลงมารวมวงดวย ซึ่งแนวความคิดของนักเลนหุนดาน เทคนิคนี้ จะตางกับการเลนหุนประเภท value investor ที่ตองการลงทุน ระยะยาว เพื่อหวังผลตอบแทนในรูปแบบของเงินปนผลเปนอันดับแรก 6. ตองมีวินัยในการเลนหุน เราตองสรางกฎเกณฑที่เราสามารถยอมรับไดเพื่อใชบริหารความเสี่ยงที่ จะเกิดขึ้นในการเลนหุน เมื่อไดกฎเกณฑดังกลาวแลว ตองปฏิบัติตามหรือ ตองรักษาวินัยในการปฏิบัติตามกฎเกณฑนั้นดวย 7. การตัดสินใจ การตัดสินใจ ณ เวลานั้นๆใหถือวาเปนการตัดสินใจที่ดีที่สุด เชนการ ตัดสินใจซื้อ หรือการตัดสินใจขาย หากการตัดสินใจใดฯที่ผานไปแลว ตองไม นํามาเปนอารมณ เพราะการซื้อขายใน 1 ป จะมีหลายรอบ การตัดสินใจซื้อแลว ผิดพลาด ราคาหุนไมขึ้นดังที่คิด ใหตัดขาดทุนหรือ cut loss ทันทีที่เปอรเซ็นต ขาดทุนเกินคาที่เรากําหนดไวเชนเราตั้งคา cut loss ไวที่ 3-4 % ดังนั้นหากราคา หุนวิ่งลงกวาราคาที่ซื้อไว 3-4% ให cut loss ทันที และสิ่งสําคัญที่สุดคือ การ ตัดสินใจอยูในวิจารณญาณของนักลงทุนเอง กรณีการตัดสินใจขาย หากราคาที่ ขายปรากฏวาขายถูกเกินไป หรือที่คนเลนหุนเรียกวา “ ขายหมู “ นั้น ตอง


ยอมรับวาไมมีใครที่จะสามารถขายหุนไดที่ราคาสูงที่สุด วิธีการเลนหุนใหปลอดภัยดวยกราฟ RicherStock

1) เขามาที่ www.richerstock.com แลว login username และ password 2) เลือกซื้อหุน ซึ่งวิธีการเลือกซื้อหุนมีแนวทางที่ใชไดผลดังนี้ Ø เลือกซื้อหุนที่มี volume มากๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการปนหุนของ นักลงทุนรายใหญ เชนหุนที่มีมูลคาซื้อขาย 50 ลานบาทตอ วันขึ้นไป Ø เลือกซื้อหุนที่มีสภาพคลองที่คนสวนใหญเลนกัน เพื่อให การซื้อขายเปนไปอยางคลองตัว เมื่อตองการซื้อก็มีคนขาย เมื่อตองการขายก็มีคนซื้อ ซึ่งหุนที่มีสภาพคลองไดแกหุนใน กลุม Ø หลีกเลี่ยงหุนที่ไมมี pattern หรือผันผวนรุนแรง 3) กรณีเลือกหุนไดแลวให key สัญลักษณหุนที่ชอง symbol เพื่อดูกราฟหุนตัวนั้นๆ 4) กรณีที่ยังไมรูวาจะเลือกซื้อหุนตัวไหน ใหเขาไปที่ เมนู เพื่อดูวาหุนในแตละกลุมเกิดสัญญาณ


เตือนซื้อหรือขายอะไรบาง ซึ่งเราสามารถเขาไปเลือกดูในแตละกลุมได ในสวนบนของตารางเครื่องหมายดังภาพ

เชนตองการดูหุนในกลุมธนาคาร ( BANK ) วาหุนแตละตัวเกิดสัญญาณ อะไรบาง เมื่อ click “ BANK “ แลวก็จะแสดงตารางดังรูปที่ 5 ( ขอให ยอนกลับไปดูรูปที่ R5.) 5) วิเคราะหจังหวะซื้อ จากกราฟซึ่งโปรแกรมจะแสดงจังหวะซื้อดวย ลูกศรชี้ขึ้น (มีทั้งสีมวงและสีน้ําเงิน ) ซึ่งการวิเคราะหกราฟเปนหัวใจ สําคัญของโปรแกรม RicherStock เพราะการทํากําไรของนักเลนหุนที่ ใชโปรแกรมนี้จะสําเร็จหรือไมขึ้นอยูกับการวิเคราะห และวินัยในการ เลน 6) เมื่อซื้อหุนไดแลว และราคาหุนไดวิ่งขึ้นไปตามสัญญาณซื้อ ขั้นตอน ตอไปใหถือรอเพื่อขายตอไป 7) เมื่อเกิดสัญญาณขายที่แสดงดวยลูกศรชี้ลง (มีทั้งสีมวงและสีน้ําเงิน ) และยืนยันการเกิดสัญญาณแลว ใหขายหุนตามสัญญาณ 8) รอรอบใหม หลังจากการขายหุนตัวนั้นแลว ใหรอราคาปรับตัวลงเพื่อ เกิดสัญญาณซื้อตอไปในรอบหนา หรือหากตองการเลนอื่นตัวอื่นๆ ก็ ใหใชบวนการตั้งแตขอ 2 เปนตนมา


การวิเคราะหกราฟหุน และวิธีการเลนหุนใหปลอดภัย

A.) กรณีการซื้อหุน ขั้นตอนที่1(STEP-1) เมื่อกราฟเกิดสัญญาณซื้อ ( ลูกศรชี้ขึ้น ) ใหเขาซื้อ 50% ของ PORT

รูปที่ 22 : แสดงการเกิดสัญญาณซื้อที่ตําแหนง A


จากรูปที่ 22 ที่ตําแหนง A เกิดสัญญาณลูกศรชี้ขึ้น ซึ่งเปนการเตือนให ทราบวา ณ จุดนี้เริ่มที่จะเปนจังหวะที่เหมาะสมในการเขาซื้อ ใหเราแบงเงิน ลงทุน 50% ของ port เพื่อเขาซื้อหุน ตัวนั้นๆ ในที่นี้จะยกตัวอยางวาเรามีเงิน ลงทุน 100,000 บาท ดังนั้นในวันนี้เราจะแบงเงินลงทุนออกมา 50,000 บาทเพื่อ ซื้อหุน ขั้นตอนที่ 2 ( STEP-2) ดูราคา Bid-Offer ในวันถัดไป ถาราคาปรับขึ้นใหซื้อ เพิ่ม 50% ของ PORT

รูปที่ 23 : แสดงราคาหุนของวันที่ถัดจากวันเกิดสัญญาณซื้อ


จากรูปที่ A-2 หลังจากผานวันที่เกิดสัญญาณซื้อ ณ จุด A มาแลว ในวัน ถัดมาใหดูราคา เสนอซื้อ เสนอขาย ( BID-OFFER ) ถาราคาหุนมีแนวโนมสูง กวาจุด A เราก็สามารถซื้อหุนเพิ่มขึ้นไดอีก 50% ของ port ในสวนที่เหลือ ทําให การลงทุนในหุนตัวนี้ครบ 100% ของ port ขั้นตอนที3่ ( STEP-3) ถาราคาวิ่งขึ้นตอไปปลอยใหราคาวิ่ง แตถาราคาวิ่งลง เกินกวา 3-4% ให cut loss

รุปที่ 24 : แสดงราคาหุนไมไดเปนไปตามสัญญาณซื้อ


จากรูปที่ 24 ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่สําคัญขั้นตอนหนึ่ง เพราะมันเปน ขั้นตอนที่ทดสอบวินัยของเรา ถาราคาหุนไมเปนไปตามสัญญาณ ซึ่งแทนที่จะวิ่ง ขึ้น ราคากลับวิ่ง เราตองตัดสินใจขายเมื่อราคาวิ่งลงต่ํากวาระดับ cut loss ที่เรา ตั้งไวโดยสวนใหญจะตั้งไวที่ 3-4% เมื่อกราฟเกิดลงมาที่ ตําแหนง C ซึ่งเปนวันที่ราคาหุนวิ่งลงกวาราคาที่เรา ซื้อ อีกทั้งสัญญาณซื้อหรือลูกศรชี้ขึ้นก็หายไป ( ขอเท็จจริงที่สัญญาณหายไป ขอใหดูรายละเอียดในหัวหนาถัดๆไป ) เราตองรักษาวินัย ในการเลน หุน หรือ ลงทุน โดยตั้งขาย cutloss ทันที


ขั้นตอนที่ 4 ( STEP-4) รอความชัดเจน

รูปที่ 25: แสดงราคาหุนยังลงตอเนื่อง

จากรูปที่ 25 ราคาหุนยังคงวิ่งลงตอเนื่องที่ตําแหนง D ซึ่งตองรอใหเกิด สัญญาณซื้ออีกครั้ง มาถึง ณ วันนี้เราขาดทุนไปแลว 3,000 บาท จากเงินลงทุนที่ มีคือ 100,000 บาท


ขั้นตอนที่ 5 ( STEP-5 ) รอใหเกิดสัญญาณซื้ออีกครั้ง

จากรูปที่ 26 : เกิดสัญญาณซื้ออีกครั้ง

จากรูปที่ A.5 ไดเกิดสัญลักษณลูกศรซื้อ หรือสัญญาณซื้อที่จุด E ซึ่งเปน สัญญาณเตือนใหซื้ออีก ครั้ง ขั้น ตอนการปฏิบัติก็ใ หใชเหมือนกับ ขั้นตอนที่ 1 ( STEP-1) โดยซื้อหุนดวยเงินทุน 50% ของ port


ขั้นตอนที่ 6 ( STEP-6) ซื้อหุนเพิ่มอีก 50% ของ PORT

รูปที่ 27: แสดงราคาหุนของวันที่ถัดจากวันเกิดสัญญาณซื้อ


จากรูปที่ 27 หลังจากผานวันที่เกิดสัญญาณซื้อ ณ จุด E มาแลว ในวันถัด มาใหดูราคา เสนอซื้อ เสนอขาย ( BID-OFFER ) ถาราคาหุนมีแนวโนมสูงกวา จุด E ใหซื้อหุนเพิ่มอีก 50% ของ port ขั้นตอนที่ 7 ( STEP-7) รอสัญญาณขาย

รูปที่ 28: แสดงราคาหุนยังคงวิ่งขึ้นตอเนื่อง


จากรูปที่ 28 หลังจากที่ไดซื้อหุนครบ 100% ของ port แลว ขั้นตอนนี้ใหรอ สัญญาณขายที่จะเกิดขึ้น เพื่อตัดสินใจขายตอไป

รูปที่ 29: แสดงราคาหุนไดวิ่งขึ้นตอเนื่องจากวันที่เขาซื้อ


พิจารณารูปที่ 29 มาถึงเวลานี้ราคาไดวิ่งขึ้นไปกวา 10% จากจุดซื้อโดยยัง ไมเกิดสัญญาณขาย หากคํานวณผลตอบแทนตอนี้ ปรากฎวาได ผลตอบแทนเทากับ 10-3%= 7% B.) กรณีการขายหุน ขั้นตอนการขายก็มีลักษณะเดียวกันกับ ขั้นตอนการซื้อหุน คือใหรอ สัญญาณขายเกิดขึ้น และตัดขายไปกอน 50% และในวันถัดไปหากราคา เปดต่ํากวาราคาเมื่อวานนี้ ก็สามารถตัดสินใจขายสวนที่เหลือได การขายหุ น บางครั้ ง อาจจะไม ต อ งรอสั ญ ญาณขายให เ กิ ด ขึ้ น เนื่องจากผลตอบแทนที่ไดรับเปนที่นาพอใจก็สามารถขายได แตการขึ้น เครื่องหมายในกราฟไมวาจังหวะซื้อ หรือจัง หวะขาย เปน ชวงเวลาที่ เหมาะสมในขณะนั้น เนื่องจากเปนการคํานวณเรื่องความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น


เทคนิคเสริมการดูกราฟ

1.) ถาเปนไปได เลนหุนชวงที่เปน Bullish State ดีกวา Bearish State

รูปที่ 30: แสดง Bullish State และ Bearish State

การเลนหุนถาเปนไปไดใหเลนหุนชวงตลาดขาขึ้น ( Bullish Sate ) ดีกวา ชวงที่เปนตลาดขาลง ( Bearish State ) เพราะจะทําใหไดอัตราผลตอบแทน ดีกวา โดยที่ราคาหุนที่จังหวะขายลูกศรชี้ลงจะวิ่งหางจากราคาที่จังหวะซื้อลูกศร


ชี้ขึ้นมากกวา ดังนั้นวิธีการสังเกตวา ชวงไหนเปน Bull ชวงไหนเปน Bear ให สังเกตดังนี้ Bullish State · ดูที่กราฟหุน โดยราคาหุนวิ่งอยูเหนือเสน moving average ทั้ง 3 เสน ( เสนสีมวง สีน้ําเงิน สีแดง ) · ดูที่ MACD โดยเสนกราฟ MACD จะอยูเหนือเสนศูนย Bearish State · ดูที่กราฟหุน โดยราคาหุนวิ่งอยูใตเสน moving average ทั้ง 3 เสน ( เสนสีมวง สีน้ําเงิน สีแดง ) · ดูที่ MACD โดยเสนกราฟ MACD จะอยูใตเสนศูนย


2) ยืนยันลูกศรซื้อดวย RSI

รูปที่ 31 : แสดงจุดซื้อที่ใช RSI ประกอบการยืนยัน

จากรูปที่ C2 เมื่อสัญญาณซื้อเกิดขึ้น เราสามารถยืนยันจุดซื้อดวย RSI ได โดยดูที่ RSI เสนสีดําวิ่งอยูในแดน oversold และถาเสนสีดําตัดผานเสนสีขาวไป ในทิศทางขึ้น ก็จะทําใหจุดซื้อมีความมั่นใจมากยิ่งขึ้น


3 ) ยืนยันลูกศรขายดวย RSI

รูปที่ 32 : แสดงจุดขายที่ใช RSI ประกอบการยืนยัน

จากรูปที่ 32 เมื่อสัญญาณขายเกิดขึ้น เราสามารถยืนยันจุดขายดวย RSI ได โดยดูที่ RSI เสนสีดําวิ่งอยูในแดน overbought และถาเสนสีดําตัดผานเสนสี ขาวไปในทิศทาง ก็จะทําใหจุดขายมีความมั่นใจมากยิ่งขึ้น


4 ) ยืนยันลูกศรซื้อดวย STOCHASTICS

รูปที่ 33: แสดงจุดซื้อที่ใช STOCHASTICS ประกอบการยืนยัน

จากรูปที่ 33 เมื่อสัญญาณซื้อเกิดขึ้น เราสามารถยืนยันจุดซื้อดวย STOCHASTICS ได โดยดูที่ STOCHASTICS เสนสีดําวิ่งอยูในแดน oversold และถาเสนสีดําตัดผานเสนสีขาวไปในทิศทางขึ้น ก็จะทําใหจุดซื้อมี ความมั่นใจมากยิ่งขึ้น


5 ) ยืนยันลูกศรขายดวย STOCHASTICS

รูปที่ 34: แสดงจุดขายที่ใช STOCHASTICS ประกอบการยืนยัน

จากรูปที่ 34 เมื่อสัญญาณขายเกิดขึ้น เราสามารถยืนยันจุดขายดวย STOCHASTICS ได โดยดูที่ STOCHASTICS เสนสีดําวิ่งอยูในแดน overbought และถาเสนสีดําตัดผานเสนสีขาวไปในทิศทาง ก็จะทําใหจุดขายมี ความมั่นใจมากยิ่งขึ้น


6) หลีกเลี่ยงหุนที่ไมมี PATTERN ควรหลีกเลี่ยงหุนที่มีลักษณะกราฟดังรูปขางลางนี้ เนื่องจากราคาหุนไมมี pattern ไมตอเนื่อง กาวกระโดด ยากตอการวิเคราะหแนวโนม


ฟงกชั่นคนหาหุน

ฟง กชั่ น ค น หาหุ น เปน ฟง กชั่ น ที่ อํา นวยความสะดวกสํา หรั บ สมาชิก ที่ ตองการคนหาหุนตามเงื่อนไขที่เรากําหนด ทั้งนี้เพื่อประโยชนในการเลือกหุน ซื้อ หุน เปนการสั่งใหโปรแกรมคัดกรองหุนออกมาเพื่อเขาซื้อหรือขายไดทันทวงที เชนกรณีที่ตองการหาหุนเพื่อซื้อ ใหเรา tick เครื่องหมายหนาลูกศรชี้ขึ้น ทั้ง สีชมพูหรือสีน้ําเงิน หรืออยางใดอยางหนึ่งก็ได และถาตองการกรองหุนที่มีการซื้อ ขายมากพอสมควร ก็ระบุ value การซื้อขายเขาไปพรอมกันเชน กําหนด value 20 ลานบาท จะไดรายการตัวอยางดานลางนี้


จะเห็นไดวาโปรแกรมจะคนหาหุนที่เกิด buy signal ทั้งระยะสั้นและกลาง เปนการ อํานวยความสะดวกในการคัดกรองหุนที่เราจะเขาซื้อได


สามเหลี่ยมกลวงและเสนประ

สามเหลี่ยมกลวงและเสนประคืออะไร โปรแกรม richerstock ใชหลักการคํานวนโดยอาศัย fibonacci และ elliot wave ดัง นั้น ระดับ เสน ประที่เ กิดขึ้น จึงเปน ระดับ ทีสอดคลองกับ ตัวเลข fibonacci นั่นเอง เราจะใชเสนประที่เกิดขึ้น เปนแนว support และ resistant สําหรับหา จังหวะซื้อและจังหวะขาย


PTT

จากกราฟจะพบวามีเสนประที่ระดับ A,B,C และในวันที่ 13 มิย.50 ราคา หุน PTT ปรับตัวลดลงเกิดเปน black candle ลงมาปดและนั่งบนเสนประระดับ A เทคนิคการใชเสนประคือ เมื่อวันที่ 13 ราคาหุน เปดเปน gap ลงและเราจะรู ไดอยางไรวาจะลงไปถึงไหน เราก็จะใชเสนประระดับ A เปนแนวรับตรงจุดนี้เรามี วิธีคิดอยางไร.......????? ถาในวันถัดมา สภาวะตลาดไมอํานวยและคาดวาราคา หุน PTT นาจะลงตอ เราก็จะใชเสนประระดับ B เปนเสนแนวรับถัดไปแตถาในวัน


ถัดมาสภาวะตลาดมีแรงซื้อและปริมาณการซื้อขายมาก เสนประระดับ A จะเปน แนว support ที่ strong นั่นหมายถึงเปนจังหวะที่เราสามารถเขาซื้อได

PTTEP

เมื่อวันที่ 13 มิย 50 ราคาหุน PTTEP ก็ปรับตัวลดลงเชน กัน โดยในวัน นี้เ อง PTTEP ฟอรมตัวเปน black candle ที่ราคาปดลดลงมานั่งอยูบนเสนประระดับ A พอดี ตรงจุดนี้ เราสามารถพิจ ารณาและวิเคราะหตอไปได 2 แนวทางคือ


1. ถาราคาหุนยังปรับตัวลดลงตอเนื่อง เราก็จะรอใหราคาปรับตัวลดลงมาที่ระดับ B กอน หรือถัดไปที่ระดับ C ตอไป 2. ถาราคาหุน ไมเ ลวรายและไมลดลงทะลุผานเสนประระดับ A เราก็จะใช เสนประระดับ A เปนแนวรับที่ strong และหาจังหวะเขาซื้อได

หุนตัวนี้เมื่อชวงวันที่ 11 -12 มิย 50 ราคาหุนก็ยังย่ําอยูในแถบเสนประ ระดับ B ซึ่งเปนบริเวณที่เกิดเสนประถึง 3 เสน ซึ่งก็นาจะเปนแนว support ที่


strong พอที่ จ ะดั น หุ น ขึ้ น ไปได น ะ แต ป รากฏว า วั น ที่ 13 มิ ย 50 เกิ ด อาการ panic จึงทําใหหุนหลายฯตัว พรอมใจกันปรับลดกันถวนหนา ราคาหุนในวันที่ 13 มิย 50 ของ LH ก็ปรับลดลงมา ที่แนวรับระดับ C โดย เราสามารถพิ จ ารณาย อ นหลั ง ไปเพื่ อหาแนวเส น ประเพื่ อ กํ า หนดเป น แนว support ได ในขณะที่ราคาหุน LH เกิดเปน black candle ลงมา เราจะวิเคราะห วาราคาจะลงมาไดที่ระดับไหน เราก็ยอนหลังไปหาแนวเสนประไดระดับ C


TTA การใชเสนประเพื่อกําหนดแนว support หรือ resistant นั้น ไมจําเปนตอง กําหนดคาใหถูกตอง 100% เราสามารถใชระดับเสนประนั้นฯ เผื่อคาบวก/ลบ ได หมายถึ ง พิ จ ารณาเส น ประเป น ค า ยื ด หยุ น เพื่ อ หาแนวระดั บ support / resistant จากกราฟหุน TTA เมื่อวันที่ 12 มิย 50 ราคาหุน TTA ปรับตัวลดลงเกิด รูปแบบ black candle โดยมีราคา low ของวันนั้น ลงมานั่งบนเสนประระดับ A พอดี และในวันถัดมาคือวันที่ 13 มิย 50 กราฟหุนเกิดรูปแบบ doji ซึ่งมีราคาเปด


และราคาปดเทากัน และอยูต่ํากวา ระดับเสนประ A ลงมาเล็กนอย ก็ยังนับได ระดับเสนประ A สามารถเปนแนว support ไดเชนกัน แลวเราจะวิเคราะหอยางไรตอไป ??????? ถาในวันถัดมาราคาหุนสามารถปรับตัวขึ้นไปอยูเหนือเสนประ A ได แสดง วา ระดับนี้นาจะ strong และก็หาจังหวะเขาซื้อหุนได แตถาในวันถัดมาราคาหุน ยังขาด volume ก็จะมีผลทําใหราคาหุนของ TTA ปรับตัวลดลงตอเนื่องได เราจะ ใชเสนประระดับ B และ ระดับ C ถัดลงมาเปนแนว support ตอไป


หลังจากที่ราคาหุนของ PTT ปรับตัวลดลงเมื่อวันที่ 13 มิย 50 และราคา ปดลงมานั่งบนเสน ประระดับ A หลังจากนั้น วันที่ 14,15,18 ราคาหุน PTT ก็ ทะยานขึ้นไปเขาหาแดนเสนประระดับ T จุดที่นาพิจารณาคือ เสนประระดับ T เราจะใช เ ป น ระดั บ แนวต าน resistant แทนการเป น แนวรับ support โดย พิจารณาวา ถาราคาหุน PTTสามารถทะลุระดับนี้ไปได เราจะปลอยใหมันวิ่งไป กอน แลวคอยพิจารณา หาจังหวะขายตอไป


พิจารณาหุน PTTEP หลังวันที่ 13 มิย 50 หลังจากที่ราคาหุน PTTEP ไดปรับตัวลดลงและราคาปดนั่งบนเสนประ ระดับ A ปรากฏวาในวัน ถัด มา คือวันที่ 14,15,18 ราคาหุนไดป รับตัวเพิ่มขึ้น ตอเนื่อง และแทงกราฟของวันที่ 18 มิย 50 มีจุดที่นาสังเกตคือ ราคา high ของ วันนี้ปรับ ตัวเพิ่มขึ้นมาและชนกับเสนประระดัย T พอดี ซึ่งเสนประระดับ T นี้ เอง จะทําตัวเปนแนวตาน resistant

สิ่งที่ตองทําตอไปคืออะไร ???? ราคาหุนในวันที่ 18 ขึ้นมาชนแนวตานเสนประ T เราตองติดตามใกลชิดวา ในวันถัดไป (19 มิย 50) ราคาหุนสามารถที่จะ break out ขึ้นไปไดอีกหรือไม ถา breakt ได เราจะใช breaking out method เพื่อหาราคา target price ในการ ขาย แตถาราคาหุน วิ่งเรียบฯเสนประ และดวยvolume ในการซื้อขาย ที่ ถดถอย ตรงจุดนี้ เราตองพิจารณาหาจังหวะขาย โดยอาจจะขายทั้งหมด หรือ ทยอยขายก็ได


สําหรับหุน LH มีเพิ่มเติมรายละเอียดเล็กนอยคือ ราคาหุนของวันที่ 18 มิย 50 ไดปรับตัวเพิ่มขึ้น และฟอรมตัวเปนwhite candle โดยที่ราคา high ได ทะลุแนวเสนประ B และ A ขึ้นมาได แลวมันจะไปหยุด ที่ระดับแนวตานที่ไหน??


รูปดานซายมือนี้เปนกราฟราคาหุนของ LH โดยที่เราปรับระยะเวลาถอย กลับไป 1 ป เราจะพบวา ชวงเดือนประมาณ Jul-Aug ที่ผานมาเกิดเสนประแนว ตานระดับประมาณ 7.00 พอดี ควรทําอยางไรตอไป ??? ลัก ษณะนี้แสดงวาในวัน ถัดไป ตอ งพิจ ารณาอยางใกลชิด ถาราคาหุ น ถดถอยดวย volume และหรือราคาหุนเกิดอาการลังเล โดยเราจะใชความรูเรื่อง candlestick pattern ชวยในการพิจารณา ถาราคาหุนไมผานระดับนี้ ก็ควรหา จังหวะทยอยขาย หรือขายบางสวน .......แตถาวันถัดไปมี volume และราคาหุน


ยังเดินหนาตอไป เราก็ใชเสนประระดับถัดขึ้นไป ซึ่งก็คือระดับ T เปนแนวตาน เพื่อทดสอบวาจะผานหรือไมผาน...ตอไป

สุดทายนี้ผูเขียนหวังวา ทานคงจะไดรับประโยชน จากหนังสือเลมนี้และสามารถนําไปประยุกตในการซื้อ ขายหุนไดอ ยางมั่นใจ และสามารถบริหารความเสี่ย ง เพื่อการทํากําไรไดตอไป กรณีที่ทานมีคําถามเกี่ยวกับโปรแกรม หรือเนื้อหา ในหนังสือบางสวนบางตอน สามารถสงคําถามมาไดที่ richerstock@yahoo.com

ขอใหทุกทานโชคดี และ สวัสดี Richerstock.com



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.