richerstock

Page 1


คํานํา นักลงทุนในบานเรา สามารถแบงออกเปน 2 กลุมใหญๆโดยแบงตามวิธีคิดและ วิธีการลงทุน ไดแก นักลงทุนระยะยาว ( Value Investors ) โดยนักลงทุนประเภทนี้จะ ลงทุ นเพื่ อหวังผลตอบแทนในรู ปเงินป นผล และมูลคา ของหุน ในอานาคต ไมคอ ยให ความสําคัญกับราคาหุนที่ขึ้นๆลงๆในแตละวันเทาไรนัก สวนนักลงทุนอีกประเภทหนึ่งคือ นักลงทุนระยะสั้นถึงกลาง ( Technical Investors ) เปนนักลงทุนที่หวังผลตอบแทนในรูป ผลตางของราคาหุน ( Price gaining ) นักลงทุนประเภทนี้ จะใหความสําคัญกับราคาหุน มากกวาเงินปนผล เนื้อหาของหนังสือเลมนี้ถูกออกแบบมาสําหรับนักลงทุนประเภท technical investors โดยแบงเนื้อหาออกเปน 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 ความรูเบื้องตนในการวิเคราะหหุนดวยเทคนิค ( technical analysis ) สวนที่ 2 ความรูเรื่อง Elliott Wave สวนที่ 3 แนะนําโปรแกรม RicherStock ขอแนะนําในการใชหนังสือเลมนี้ใหเกิดประโยชนสูงสุด ผูอานหรือผูใชหนังสือเลมนี้ ควรอานและทําความเขาใจในหมวดที่ 1 และ หมวดที่ 2 กอนตามลําดับ หลังจากเขาใจ พื้นฐานดานเทคนิคแลว ขอแนะนําใหอานหมวดที่ 3 ตอไป ซึ่งเปนหมวดที่แนะนํา โปรแกรม RicherStock ซึ่งเปนโปรแกรมสําเร็จรูปในการวิเคราะหหุนดานเทคนิค และเปน โปรแกรมที่ชวยใหนักลงทุนบริหารความเสี่ยงในการลงทุนและสรางความมั่นใจในการ ลงทุนมากยิ่งขึ้น ดวยความปรารถนาดี RicherStock.com richerstock@yahoo.com


สารบั ญ สารบัญ

สวนที่ 1 ความรูเบื้องตนในการวิเคราะหหุนดานเทคนิค (Basic Technical Analysis) วัฎจักร (Cycle) รายละเอียดของสภาวะตางๆ แนวโนมทิศทางราคาหุน (Trend) แนวโนมขาขึ้น (uptrend) แนวโนมขาลง (downtrend) แนวโนมทรงตัว (sideway) คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average) ประโยชนของ Moving Average เคล็ดลับในการพิชิตหุน รายละเอียดของเคล็ดลับในการพิชิตหุน 1.เลือกหุนพื้นฐานดี (Fundamental Analysis) 2. เขาตลาดใหถูกจังหวะ 3. ตัดขาดทุน 4. ปลอยใหราคาหุนวิ่ง 5. เลนตามกระแส 6. อยาซื้อเฉลี่ย ถาราคาหุนตก


หมวดที่ 2 ความรูเรื่อง คลื่นอีเลียต (Elliott Wave Theory) Elliott Wave Basic Impulse Pattern Corrective Pattern Suggestion

หมวดที่ 3 แนะนําโปรแกรม RicherStock เกี่ยวกับโปรแกรม Richerstock เริ่มตนที่ www.richerstock.com หนา login การใชงานกราฟหุน (Stock Chart) เมนู Chart Type เมนู Time เมนู Lower Indicator-1 เมนู Lower Indicator-2 เมนู Lower Indicator-3 เมนู “ ตารางเครื่องหมายซื้อขาย ” กติกาการเลนหุน วิธีเลนหุนใหปลอดภัยดวยกราฟ richerstock วิเคราะหกราฟหุน และวิธีการเลนหุนใหปลอดภัย




ความรูเบื้องตนในการวิเคราะหหุนดานเทคนิค Basic Technical Analysis

วัฏจักร (Cycle) ถาหากคุณรูวาราคาหุนมีพฤติกรรมอยางไร ขึ้นเมื่อไหร ลงเมื่อไหร แนนอน ทีเดียววา คุณยอมมีชัยไปกวาครึ่งแลว แตปญหาที่พบเจอนั้นคือเราไมรรู ูปแบบ (pattern) ของราคาหุนอยางถูกตองรอยเปอรเซ็นต เนื่องจากราคาหุนมันขึ้นลงตาม จิตวิทยาการลงทุน มันไมมีสูตรสําเร็จเหมือนสูตรคณิตศาสตรทั่วไป แตก็ใชวาเราจะไมสามารถคาดคะเนรูปแบบ (pattern) ราคาหุนไดเสียทีเดียว มี นักวิเคราะหทั้งไทยและเทศไดเฝาดูรูปแบบ (pattern) ของราคาหุนหลายรอยตัวหรือ อาจจะหลายพันตัวแลวตั้งขอสรุปวา pattern ราคาหุนมันเปนวัฏจักร ( CYCLE ) รูปแบบ ( pattern ) ราคาหุนมันมีพฤติกรรมเปนวัฏจักร (cycle) ที่ประกอบดวย 4 สภาวะ ( state ) ซึ่งผมขออนุญาตเปรียบเทียบวัฏจักร (cycle) ที่วานี้ใหดูงายขึ้น โดยเปรียบเทียบกับการเดินทางดวยเครื่องบิน ดังนี้


รายละเอียดของสภาวะตางๆ 1. เตรียมพรอม

เปนชวงที่เครื่องมีความพรอมสูง น้ํามันเต็มถัง ขุมพลัง มหาศาล พรอมที่จะทะยานขึ้น ถาเปรียบเทียบกับ ราคาหุนแลวความหมายมันเปนดังนี้


Ø มีการเก็บสะสมหุน เพราะผูที่ ซื้อเก็บสะสมคิดวาชวงนี้ราคาหุนถูก การที่นั ก

ลงทุน มองวา หุ นที่ มีราคาถูก นั้ น มีวิ ธี การดูไ ดห ลายอย า ง เช น หากใช ขอ มู ล พื้นฐานของหุน ( fundamental analysis ) ก็สามารถดูไดจากอัตราสวนทาง การเงินเชน P/E ratio, P/BV ratio, Dividend yield เปนตน แตถาพิจารณา ดานเทคนิค ( technical analysis ) นักลงทุนก็จะมองวา ณ เวลานั้น หุนตัวที่ เราพิจารณานั้นถูกขายออกมามากเกินไปหรือไม ( oversold ) Ø ชวงนี้จะมีการซื้อการขายเกิดขึ้นเปนระยะๆหลายๆรอบ Ø รอขาวดี ขาวปลอย หรือขาวลือ เปนตัวเรงกระทุงหุนใหทะยานขึ้น 2.ทะยานขึ้น

เปนชวงที่เครื่องทะยานขึ้นจากลานวิ่ง ลอเครื่องบินเริ่มพับเก็บ ชวงนี้นักบินตองอัดกําลัง เครื่องเต็มที่เพื่อเอาชนะแรงโนมถวงของโลก เปรียบกับการซื้อขายหุนชวงนี้เปนดังนี้ Ø Demand หรือความตองการในการซื้อหุนมีมาก ราคาเทาไหรก็ซื้อ Ø Demand จะมากกวา Supply ทําใหราคาหุนทะลุแนวตาน ( resistance ) ขึ้น ไป Ø ชวงขณะที่ราคาหุนทะลุแนวตาน จะเปนที่นาสนใจของนักลงทุนอื่นๆ ทําให เกิด demand มากยิ่งขึ้น 3.รักษาระดับ


เมื่อเครื่องทะยานขึ้นบนทองฟาไดระดับเพดานบินที่ ปลอดภัยแลว เครื่องก็จะทําการบินรักษาระดับเปรียบ กับการเลนหุนไดดังนี้ Ø เมื่อราคาหุนไดขึ้นมาถึงจุดที่ นักลงทุนตางก็ เริ่ ม มี ค วามคิ ด ตรงกัน ว า ราคาเริ่ ม สู ง หรื อ แพงแลวก็จะทยอยขายกันออกมา Ø มีนักลงทุน บางคนหรื อบางกลุม ที่ยังมีความ เชื่ อว า ราคาหุน นา จะวิ่ง ขึ้น ไปได อีก ก็ จ ะ ทยอยรับซื้อหุนไว Ø ชวงนี้จะมีการซื้อการขายเกิดขึ้นเปนรอบ Ø บางครั้ ง ช ว งนี้ อ าจจะใช เ วลาหลายวั น หรื อ หลายสัปดาห แตก็มีบางเหมือนกันที่ชวงนี้ อาจจะกินเวลาแควันเดียว Ø ชวงนี้เปนชวงที่ตองใหความระวังและความ สนใจเปนอยางยิ่งเพราะถาราคาหุนมันไมสามารถทะยานหรือไตระดับขึ้นไป ไดอีกนักเก็งกําไรที่เขาตลาดชวงนี้ก็เริ่มปลอยหุนออกมาเพื่อไปเลนตัวอื่น 4.ลดระดับ เมื่อใกลถึงจุดหมายนักบินก็เริ่มลดระดับการบินให ต่ําลง เพื่อลงจอดยังลานบินตามที่หมาย เปรียบการเลน หุนไดดังนี้ Ø เมื่อราคาหุนมาถึงจุดสูงและมีการ ซื้อขาย (Trade) กันหลายรอบทําใหนักลงทุนที่เขามา


ซื้อหุนชวงนี้ เริ่มเกิดความกังวล ระส่ําระสาย หงุดหงิด และเมื่อราคาหุนขยับ ขึ้นมาบางก็เริ่มขายออกมา Ø เมื่อราคาหุนผานแนวรับลงมา จะเกิด Supply มากกวา Demand ทําใหเกิด การเทขายกันออกมามาก Ø อัตราการลงของราคาหุนจะลงเร็วกวาอัตราการขึ้นของราคาหุน ในชวงที่ราคา หุนทะยานขึ้น รูปที่ 1. ตัวอยางวัฏจักรราคาหุน


ชวงตรียมพรอม

ชวงทะยาน

ชวงรักษาระดับ

: ชวงนี้ มีการซื้อขายกัน ที่หมายเลข 1,2,3,4 โดย เสนตรงดานบนที่เชื่อมระหวางจุด 1,3,5 เรียกวา แนว ต า น ( resistance ) ส ว นเส น ล า งคื อ เส น แนวรั บ ( support ) ซึ่งการซื้อขายในชวงนี้จะอยูระหวางแนว รับ และแนวตาน : เมื่อมีขาวดี หรือขาวลือ หรือขาวปลอย เขามาใน ตลาด จะทําใหเกิด demand อยางมากทําใหราคาหุน ทะลุแนวต านที่จุด 5 ขึ้นไป และทะยานขึ้น ไปเรื่อยๆ เมื่อราคาหุนมาที่จุด 6 ตอนนี้แหล ะสําคัญเหมือนกั น เพราะนักลงทุน หรือนักเก็งกําไร เริ่มมองเห็นความแรง ของหุนตั วนี้ และกลัวว าตนเองจะเข าซื้อ ชา ไป หรื อ ศัพทที่เซียนหุนทั้งหลายเรียกว ตกขบวนรถไฟ ก็เลยพา กันเฮโลกันเขามากันอยางสนุกสนาน : เมื่อราคาหุนทะยานมาถึงจุด 8 นักลงทุนก็เริ่มขาย หุน และอีกเชนกัน ก็มีนักลงทุนบางคนหรือบางกลุมที่ ยังมีความเชื่อวาราคาหุนนาจะไปไดอีก ก็เลยตั้งแถวรอ ซื้อเมื่อราคาหุนตกลงมา ลักษณะนี้จะเกิดการซื้อขาย หลายรอบทีเดียว คือระหวางจุด 8,9,10,11,12,13,14 เกิดแนวตานและแนวรับ เมื่อราคามันไมสามารถทะลุ แนวตานไปไดอยางที่คาดคิด นักลงทุนที่เงินรอน หรือ นักลงทุนที่เลนสั้นรอไมไหว ก็เริ่มขายหุนทิ้ง นักลงทุน กลุมที่รอไมไหวก็จะเปนกลุมที่จะเจาะลูกโปรงที่มันอัด ลมแนน มานาน ใหระเบิดออกมา หมายถึง ทําใหนั ก


ชวงลดระดับ

ลงทุ นอื่ นๆเกิ ดอาการตระหนกตกใจ รีบขายหุน ออก ตามๆกัน ทําให Supply มากกวา Demand ราคาหุนก็ เลยทะลุผานแนวรับที่จุด 15 ลงมา : เมื่อเกิดอาการตกใจและนั กลงทุนเริ่มเทขายหุ น ออกมา บางคนก็กําไร บางคนก็ขาดทุน แตก็ตองขาย เพราะมันเกิด อาการ panic และขอให จํา ใหขึ้ นใจว า อาการตกใจมันรายแรงกวาอาการดีใจ การเทขายหุน ของนัก ลงทุน จะเทขายหุน โดยใชเ วลาอัน รวดเร็ว กว า การทะยอยซื้อหุน

ดังนั้นนักลงทุนทุกทานคงมองภาพรวมของราคาหุนวามันมีพฤติกรรมอยางไรได พอสมควร เมื่อคุณรูวัฏจักร (cycle)ของราคาหุนแลว ก็จะทําใหคุณ Ø รูสภาวะของตลาด ( market sate ) ณ เวลานั้นๆ Ø เขาหรือออกจากตลาดไดอยางเหมาะสม Ø ทําการซื้อหรือขายหุนไดอยางมั่นใจ Ø ไมเกิดอาการหวาดผวา


แนวโนมทิศทางราคาหุน ( TREND ) Trend คือกราฟที่แสดงความเคลื่อนไหวของราคาหุนซึ่งมีทิศทางที่เราสามารถ จะคาดคะเนไดกรณีที่ราคาหุนไรทิศทางไมมีรูปแบบจะไมเรียกวา Trend Trend ตามปกติจะมี 3 ลักษณะไดแก Ø Uptrend ( แนวโนมขาขึ้น ) Ø Downtrend ( แนวโนมขาลง ) Ø Sideway ( แนวโนมทรงตัว )

แนวโนมขาขึ้น (Uptrend)

รูปที่ 2 – แสดงรูปแบบราคาหุนแบบ uptrend


ลักษณะ uptrend คือกราฟที่มีทิศทางขึ้นโดยราคาต่ําของกราฟของวันลาสุดจะ สูงกวาราคาต่ําของวันที่ผานมา และถาลากเสนเชื่อมระหวางจุดราคาต่ําก็จะไดเสนตรง ที่มีทิศทางขึ้น ทั้งนี้การลากเสน uptrend line นั้น จุด lower ควรมีตั้งแต 2 จุดขึ้นไป

แนวโนมขาลง ( Downtrend )

รูปที่ 3- แสดงรูปแบบราคาหุนแบบ downtrend ลักษณะ Downtrend คือกราฟที่มีทิศทางลงโดยราคาสูงของกราฟของวันลาสุด จะต่ํากวาราคาสูงของวันที่ผานมา และถาลากเสนเชื่อมระหวางจุดสูง ก็จะไดเสนตรงที่ มีทิศทางลง ทั้งนี้การลากเสน downtrend line นั้น จุด higher ควรมีตั้งแต 2 จุดขึ้นไป


แนวโนมทรงตัว (Sideway)

รูปที่ 4- แสดงรูปแบบราคาหุนแบบ sideway Sideway เปนชวงพักไมวาจะเปนการพักในชวงขาขึ้นหรือการพักในชวงขาลงก็ได เปรี ยบเสมือ นเวลาคนเดินหรือวิ่ งขึ้ นทางชัน เมื่อ วิ่งไปไดสัก ระยะหนึ่ งก็ เริ่ม หมดแรงและ เปลี่ยนจากการวิ่งมาเปนการเดินเพื่อเปนการพักใหหายเหนื่อยกอนที่จะวิ่งตอไป ในชวง sideway บางครั้งเราก็เรียกวา trading range ไดเหมือนกัน เพราะชวง นี้จะมีการซื้อขายมี demand และ supply ตอบสนองกัน ดังนั้นลักษณะของ sideway จึง มีทิศทางออกไปทางแนวราบ



คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ MOVING AVERAGE เปนการนําเอาราคาของหุนยอนหลังตามจํานวนวันที่เราตองการพิจารณา นํามา หาคาเฉลี่ย เพื่อดูทิศทางของราคาหุน ณ วันที่เราพิจารณา เชน MA10 หมายถึง ราคาหุน ยอนหลังจากวันที่เรากําลังพิจารณาไป 10 วัน เปนการนําเอาราคาแตละวันมาเฉลี่ยกัน เหตุที่เรียกวาคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ก็เพราะในวันถัดไปคาเฉลี่ยก็จะเปลี่ยนไปเชนกัน จํานวนวัน ที่นํามาหาคาเฉลี่ยเปนที่นิยมกันไดแก MA5, MA12, MA26, MA75, MA200 จํานวนวันจะบงบอกวาเปนการพิจารณาราคาในระยะสั้น กลาง หรือ ระยะยาว ทั้งนี้การเลือกใชคา MA นั้นขึ้นอยูกับนักลงทุนแตละคน ไมจําเปนตองใชคาตามทฤษฎี ซึ่ง บางครั้งเราอาจจะใช MA5, MA15, MA30 ก็ได MA5, MA12, MA26 MA 75 MA200

เปนเสนคาเฉลี่ยระยะสั้น เปนเสนคาเฉลี่ยระยะกลาง เปนเสนคาเฉลี่ยระยะยาว

วิธีการหาคาเฉลี่ยเคลื่อนที่นิยมทํากัน 2 แบบคือ 1.) Simple Moving Average ( SMA ) เปนการใหน้ําหนักการเฉลี่ยเทาๆกัน 2.) Exponential Moving Average ( EMA ) เปนการใหน้ําหนักราคาคอนมาทาง เวลาใกลปจจุบันมากกวาราคาในชวงอดีต สวนสูตรการหาคาเฉลี่ยแบบ simple หรือ exponential โปรแกรมวิเคราะหหุนสวนใหญก็สามารถคํานวณและแสดง กราฟพรอมเสน MAได เชนโปรแกรม MetaStock แตสิ่งที่ผมอยากใหรับรูก็คือ การนํามันไปใชทํานายหุนมากกวาครับ


ประโยชนของ Moving Average A.) สามารถบอกสภาวะตลาดไดวาเปนภาวะตลาดกระทิง ( Bullish State) หรือ ภาวะตลาดหมี (Bearish State) โดยสังเกตจากการเรียงตัวของเสน MA A.1) สภาวะตลาดกระทิง ( Bullish State ) รูปที่ 5 แถบเงาสีแดง แสดงสภาวะตลาดกระทิง ( Bullish State ) โดยสังเกตจาก เสนคาเฉลี่ยที่มีการเรียงตัวของเสน MA10(cyan) MA20 (blue) MA30 (red) โดยที่เสน MA ระยะสั้นจะอยูบนสุด และเสน MA ระยะยาวจะอยูลางสุด ซึ่งในที่นี้การเรียงตัวจากบน มาลางของเสน MA คือ MA10, MA20, MA30

รูปที่ 5- แสดงรูปแบบราคาหุนภาวะกระทิงโดยใช Moving Average พิจารณา


A.2 ) สภาวะตลาดหมี ( Bearish State ) รูปที่ 6 สภาวะที่เปนแถบสีแดงเปนสภาวะตลาดหมี (Bearish State) โดยสังเกต จากเสนคาเฉลี่ยที่มีการเรียงตัวของเสน MA26 (blue), MA12 (magenta) , MA5 (cyan) โดยที่เสน MA ระยะยาวจะอยูบนสุด และเสน MA ระยะสั้นจะอยูลางสุด ซึ่งในที่นี้การเรียง ตัวจากบนมาลางของเสน MA คือ MA26, MA12, MA5

รูปที่ 6- แสดงรูปแบบราคาหุนภาวะตลาดหมีโดยใช Moving Average พิจารณา B.) สามารถใชเสน MA ชวยในการตัดสินใจซื้อหรือขายหุนได B,1 ) สัญญาณซื้อ ( Buy Signal ) เมื่อราคาหุนทะลุและอยูเหนือเสน MA เปนสัญญาณซื้อ จากตัวอยางกราฟรูปที่-7 ใช MA26 วันเปนตัวพิจารณา เมื่อราคาหุนทะลุผานเสน MA26 และอยูเหนือเสน MA26 ได ลักษณะนี้เกิดสัญญาณซื้อโดยที่เราสามารถเขาซื้อหุน ณ ระดับราคาจุดตัดไดแลย


รูปที่ 7- แสดงการใชเสนคา moving average ชวยในการกําหนดจุดซื้อ B.2 ) สัญญาณขาย ( Sell Signal ) เมื่อราคาหุนทะลุและอยูใตเสน MA จะเปนสัญญาณขาย จากตัวอยางรูปที่-8 เราใช MA26 วันเปนตัวพิจารณา เมื่อราคาหุนทะลุผานเสน MA26 และอยูใตเสน MA26 ลงมา ลักษณะนี้เกิดสัญญาณขายโดยที่เราควรจะขายหุนออก ณ ระดับราคาจุดตัดไดแลย


รูปที่ 8- แสดงการใชเสนคา moving average ชวยในการหาจุดขาย C).ใชเปนสัญญาณเตือนวาจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของราคาหุนที่

รุนแรง

รูปที่ 9- แสดงการใชเสนคา moving average เตือนลวงหนาการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรง


จากรูปที่ 8 เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ MA5,MA12,MA26 มาบรรจบกัน ซึ่งมันกําลังสื่อ วาจะเกิดเหตุการณที่รุนแรง (กวาปกติ ) ตัวอยางในรูปเสน MA ทั้งสามเสนมาบรรจบกัน หลังจากนั้นราคามันก็ดิ่งลงอยางมาก การที่เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ทั้ง 3 เสนมาบรรจบกันนั้น มันมีความหมายวานักลงทุน กําลังตั ดสินใจวา ราคาหุนมัน จะวิ่ง ขึ้น หรือ วิ่ง ลง ซึ่ งในด านจิต วิทยาแลว กําลัง บอกว า เหลานักลงทุนกําลังวัดใจกันวา จะวิ่งตอหรือจะขายทิ้ง สําหรับนักลงทุนบางคน ก็จะใชเสนคาเฉลียเคลื่อนที่ ( moving average ) เพียงตัว เดียวเปนเครื่องมือชวยในการตัดสินใจซื้อ หรือ ขายหุน ซึ่งก็เปนที่นา พอใจในระดับหนึ่ง

เคล็ดลับในการพิชิตหุน เคล็ดลับในการเอาชนะตลาดหุนและสามารถทําเงินในตลาดไดอยางนาพอใจ แต ในความเปนจริงแลว นักลงทุน ( investors ) สวนมากจะรูและเขาใจกฎ หรือเคล็ดลับนั้นๆ แตสุดทา ยแลวก็ ไมสามารถทําตามเคล็ด ลับนั้นได ดังนั้น หากเรายึดเคล็ ดลับหรื อวิธีการ ลงทุน ที่เราคิดว าเปน รูปแบบ ( model ) ที่เหมาะสมกับตั วเราแลว ขอให ยึดถื อและ ปฏิบัติตามเคล็ดลับใหได

-เลือกหุนพื้นฐานดี – -เขาตลาดใหถูกจังหวะ-ตัดขาดทุน ถาหุนไมวิ่ง-ปลอยใหราคาหุนวิ่ง ถายังมีกําไร-เลนตามกระแส เพราะทวนกระแสมีแตเจ็บ-อยาซื้อเฉลี่ย ถาราคาหุนตก เพราะจําทําใหยิ่งถลําลึก-


เคล็ดลับทั้ง 6 ขอนี้รับรองไดวาสามารถเอาชนะตลาดไดแนนอน เพราะตัวมันเอง คอนขาง simple มาก แตสิ่งที่ยากที่สุดก็คือตัวนักลงทุนนั่นเองที่ไมสามารถปฏิบัติตามกฎ ได ดังนั้นนักลงทุนตองมีความพรอมในการเลนหุน สิ่งที่นักลงทุนควรมี หรือ ตองมีคือ - ตองมีความรูเรื่องการลงทุน และ ความรูเรื่อง Technical Analysis พอสมควร - ตองมีวินัย ( discipline ) ในการลงทุน รายละเอียดของเคล็ดลับในการพิชิตหุน

1.) เลือกหุนพื้นฐานดี (Fundamental Analysis )

คุณทราบหรือไมวาคุณจะซื้อหุนตัวไหน ซื้อดวยเหตุผลอะไร บางทานลงทุนระยะ ยาว ก็จ ะซื้อหุน ที่มีพื้นฐานดี ซื้อ แลวซื้อเลยเก็บ ใสเซฟ ไมตองมาคอยนั่ งดูราคาหุนที่มั น ขึ้นๆลงๆในแตละวัน หรือแตละสัปดาห สําหรับนักลงทุนในบานเราที่จําแนกออกเปน 2 กลุมใหญๆคือ กลุมนักลงทุนระยะ ยาว ( Value Investors ) มีประมาณ 30% สวนนักลงทุนอีกกลุมหนึ่งเปนนักลงทุนระยะ สั้น ( Technical Investors ) มีประมาณ 70% การที่เราเลือกหุ นที่มีพื้น ฐานดี อยางนอ ยที่สุดเราก็สามารถลดความเสี่ย งในการ ซื้อ-ขายหุนตัวนั้นๆได เนื่องจากหุน ที่มีพื้นฐานดีสวนใหญราคาหุนจะไมหวือหวามาก ราคา หุนมีรูปแบบการขึ้น และ ลง และมีทิศทางที่เราสามารถทํานายได


การเลือกหุนที่มีพื้นฐานดี ( Fundamental Analysis ) ควรดูปจจัยดังนี้ KEY

Meaning บอกสถานภาพของบริษัทๆนั้นวามีสุขภาพแข็งแรง หรือปวยเปน งบการเงิน โรครายแรงหรือเปลา อันนี้ตองใชเวลาศึกษา เพราะ financial Financial Statement statement analysis เปนวิชาที่ยากวิชาหนึ่งของการเงิน Price- Earning Ratio เปนตัวเลขอัตราสวนระหวาง ราคาหุน ณ วันที่เราตองการซื้อ พีอี เรโช หารดวย กําไรตอหุนของหุนตัวนั้นๆ แนนอน P/E ratio ยิ่งต่ํา ก็ P/E ratio ยิ่งดี เพราะวามันหมายถึง ราคาหุนตัวนั้นไมแพง โดยทั่วไปจะดู กันที่ P/E=10 Price-Book Value ratio Book Value คือราคาเริ่มตนตอหุนในการจัดสรรหุนตอนตน พีบี เรโช หรือตอนเริ่มทําธุรกิจ P/BV ยิ่งต่ํา ก็ยิ่งดี แสดงวาหุนตัวนั้นๆ มี P/BV ratio ราคาถูก ยิ่งหากถา P/BV ratio ต่ํากวา 1 นั่นหมายถึงวา เรา สามารถซื้อหุนตัวนั้น ไดถูกวาผูกอตั้งบริษัทเสียอีก ประเภทของธุรกิจ ประเภทของธุรกิจ เปนแบบไหน กิจการสามารถยั่งยืนอยูไดชั่ว Business Type ลูก ชั่วหลานหรือไม เมื่อ เลื อกหุ นที่ มีพื้ นฐานดี ไดดั่ งใจที่ ตองการแล ว ขั้น ตอนตอ ไป คือ เราก็เ ลือ กหุ น พื้นฐานดีตัวนั้นๆ มาเลนระยะสั้น ถึง ปานกลางกันดีกวา ( วิธีนี้จะตางจากนักลงทุนระยะ ยาวที่เรียกวา ( intrinsic value investor ) สวนทานใดที่ตองการลงทุนระยะยาวก็ไมวากัน


เพียงแตถาคุณเปนนักลงทุนระยะยาวก็คงไมมีความจําเปนที่จะตองคอยเฝาดูราคาหุนเปน ประจํา การเลือกหุนพื้นฐานดีมาเลนระยะสั้น-กลาง จะเปนเกราะปองกันใหเราอีกชั้นหนึ่ง กรณีที่หุนตัวนั้นเกิดผันผวนดานราคา

2.) เขาตลาดใหถูกจังหวะ

จริงๆ แลวการเขาตลาดหุนก็เหมือนกับเขาตลาดสด คําถามคือวาคุณจะไปจาย ตลาดในตอนกลางวันหรือกลางคืน แนนอนถาคุณไปตลาดสดตอนกลางคืนคุณจะหาซื้อ อะไรไดบางครับ ? กอนที่คุณจะเขาซื้อหุนตัวใดตัวหนึ่งนั้น คุณตองรูใหแนชัดมากที่สุดเทาที่จะรูไดวา หุนที่จะซื้อ หรือขายนั้นอยูใน status ไหน เปนชวงขึ้น ( Bullish ) หรือชวงลง ( Bearish ) หรือ ทรงๆ ( Sideway ) การที่คุณเขาตลาด หรือเขา trade ผิดจังหวะ แนนอน เริ่มตนก็ผิด แลว ดังนั้นชวงนี้ถือวาสําคัญยิ่งนัก เขาตลาดถูกจังหวะ ก็มีชัยไปกวาครึ่งแลว สถานะ (status) ของราคาหุน แบงเปน 3 ชวงคือ · Bullish State ( ภาวะตลาดกระทิง ) · Sideway State ( ภาวะตลาดทรงตัว ) · Bearish State ( ภาวะตลาดหมี )


Bullish State ( ภาวะตลาดกระทิง )

รูปที 10 - แสดงภาวะกระทิง bullish ของหุน BIG-C จากรูปที่ 9 : ราคาหุนของ BIGC ชวงนี้เปนชวงขาขึ้น หรือเรียกวา bullish state มี สิ่งที่ควรสังเกตุคือ เสนคา เฉลี่ย MA12 จะอยูเหนือ MA26 ตลอดชวง และเมือลากเสน trend line ระหวางจุดต่ําของราคา เสน trend line มีแนวโนมทแยงขึ้น


Sideway State ( ภาวะตลาดทรงตัว )

รูปที่ 11- แสดงภาวะทรงตัว ( sideway ) ของหุน BIG-C จากรูปที่ 10: ชวงนี้เปนชวง sideway โดยที่ราคาหุนมีแนวโนมขึ้นและลงสลับกัน เปนระยะ สังเกตุจากการลากเสน trend line เชื่อมระหวางจุดสูงของราคา 1 เสน และ ลากเสนเชื่อมระหวางจุดต่ําของราคาอีก 1 เสน เราจะเห็นวาราคาหุนมันขึ้นๆลงๆในชวงนี้


Bearish State ( ภาวะตลาดหมี )

รูปที่ 12- แสดงภาวะตลาดหมี ( bearish state ) ของหุน BIG-C จากรูปที่ 11: เปนชวง Bearish State หรือขาลงนั่นเอง ที่ชวงนี้ เสนคาเฉลี่ย MA12 จะอยูต่ํากวาเสนคาเฉลี่ย 26 เกือบตลอดชวง ซึ่งจะตรงขามกับชวง Bullish State และ หากเราลากเสนเชื่อมระหวางจุดสูงของราคาก็จะเกิดเปนเสนตรงที่มีแนวโนมลง

3.) ตัดขาดทุน

ถาคุณเขาตลาดผิดจังหวะโดยราคาหุนมันลงต่ํากวาราคาที่ซื้อมา แลวจะแกปญหา อยางไร มีหลายทานคิดแบบนี้

“ ไมเปนไร หุนมีตก ก็ตองมีขึ้น “ “ ไมกลาขาย เพราะราคามันต่ํามาก “ " ขายตอนนี้กลัวเสียฟอรม "


เหตุผลมี อีก มากมายที่ก ลา วไมห มด เอาเป นว า ทุก ๆคํ ากลา วนั้ น อยู ในสถานะ เหมือนกัน คือ ขาดทุน ทีนี้หากขาดทุนแลวควรทําอยางไร อันนี้สิเปนสิ่งที่นาคิดนายึดถือ เปนหลักปฏิบัติ นัก ลงทุ นระดั บ มื ออาชี พ ส วนใหญ เ ขามี ก ติ กาในใจที่ค อ นข า งเหมื อ นกัน คื อ ตั ด ขาดทุน STOP LOSS หรือ CUT LOSS แตจะตางกันตรงที่แตละทานอาจจะตัดขาดทุนไม เทากัน ซึ่งเทาที่พบเห็นบอยก็มี 3% 5% 10% การเลนหุน  ก็เหมือนกับ การทําธุรกิจทั่วๆไป คือ มีความเสี่ยง เมื่อเรามั่นใจวาเราเขาตลาด หรือซื้อ หุนในจังหวะที่เหมาะสมแลว แตเหตุการณมันกลับ ยอนศรสวนความคิดเรา โดยราคาหุนที่เราซื้อกลับ ลวงลง ดังนั้นหากเราปองกันความเสี่ยงในระดับที่ เราสามารถรับได หรือไมกระทบกับ port ของเรามาก นัก เราก็ควรจะรีบดําเนินการทันที นั่นคือ ตอง stop losses ทันทีที่ราคามันลงมาถึงระดับ target ที่ตั้งไว

ตัวอยางเชน เราซื้อหุน ABC 1,000 หุน หุนละ 200 บาท ราคาซื้อไมรวมคา broker เทากับ 200,000 บาท เราตั้ง stop losses ไวที่ 5% ดังนั้น หากมูลคาเงินของเราลดลง เหลือ 190,000 บาท เราตองรักษาวินัยอยางเครงครัด โดยการการขายหุนนั้นเสียทันที

ขอแนะนํา


จากรูปที่ 9,10,11 เราก็พอจะมองออกแลววา การเขาตลาดนั้นควรจะเขาชวงไหน ผมมีขอแนะนําดังนี้ 1. 2. 3.

คุณตองเขาตลาดในชวงที่ตลาดเปนชวงขาขึ้น ( BULLISH STATE ) เพราะในชวงนี้ซื้อหุนอยางไร ก็มีกําไร ถาตลาดอยูในชวง sideway คุณก็สามารถทํากําไรไดในชวง สั้น แตก็ตองซื้อขายเร็วและระวัง ถาไมมั่นใจ อยาเขาตลาดในชวงขาลง ( BEARISH STATE ) เพราะอัตราการลงของราคาจะเร็วกวาอัตราการขึ้น นั่นหมายถึง วา คุณจะมีความเสี่ยงคอนขางมาก แตถาหากคุณมีเวลาเฝามัน ไดทั้งวัน อันนี้ก็สามารถทํากําไรชวงสั้นๆ ไดเหมือนกัน


รูปภาพแสดงการตัดขาดทุน ถาคุณเขาตลาด(ผิดจัง หวะ) ที่ตํา แหนง เลข 1 และราคาหุนไดดิ่งลงมาจากวันที่คุณซื้อ กรณีที่ เราตั้ ง ตั ว เลขขาดทุ น ที่ ร ะดั บ ที่ คุ ณ ยอมรั บ ได เมื่ อ ราคาหุน ตกลงมายั ง ตํา แหนง เลข 2 คุ ณ ต อ งตั ด ขายขาดทุ น ทั น ที เพื่ อ ควบคุ ม การ ขาดทุนมากกวานี้

4.) ปลอยใหราคาหุนวิ่ง

ตามที่ไดแนะนําวา การเขาตลาดควรเขาตลาดชวงที่เปนขาขึ้น Bullish State ถา หุนที่เราซื้อมีกําไร เราก็ควรปลอยใหหุนมันวิ่งไปเรื่อยๆ อยาเพิ่งขายมันออกไป เพราะ


- ในชวงขาขึ้นจะมีการปรับฐาน ( Retracement ) เปนระยะๆ แตหลัง retrace แลวมันก็จะ rebound ขึ้น ซึ่งอัตราการขึ้นหรือเดง ( Rebound ) มันจะเร็วกวา อัตราการ ลง ( Retrace ) - ในแงการวิเคราะหหุนที่ซับซอนยิ่งขึ้น โดยอาศัย Elliot Wave Analysis พบวา ชวงขาขึ้นจะฟอรมตัวเปนลูกคลื่นจําวน 3 ลูก สวนชวงขาลง มันจะฟอรมตัวเปนลูกคลื่น 2 ลูก ดังนั้นหากลูกคลื่นที่อยูในชวงตลาดขาขึ้นกําลังฟอรมตัวลูกที่ 1 และคุณก็เขาตลาด ชวงนี้พอดี ดังนั้นคุณยังสามารถถือหุนนั้นไปไดจนถึงราคาหุน ณ ลูกคลื่นที่ 5 ได และมี กําไรสูงสุด นี่สิเรียก “ Let The Profit Run “


ปลอยใหราคาหุนวิ่ง กรณีที่คุณเขาตลาดถูกจังหวะที่ตําแหนงเลขที่ 1 และคุณก็รูวาคุณเขาตลาดชวงที่ เปน Bullish State และมันเปนชวงที่เพิ่งเริ่มตนของ state นี้ เมื่อราคาหุนขยับขึ้นมาที่ ตําแหนงเลขที่ 2 คุณอยาเพิ่งรีบรอนขายหุนทิ้งออกไป เพราะตําแหนงที่ 2 คุณก็ยังมีกําไร และมีโอกาสที่จะมีกําไรตอไปดวย เพราะราคาหุนมันจะขึ้นเปนลูกคลื่น 3 ลูก ( ตามสถิติ )

ดังนั้นรอใหราคาหุนมันขึ้นไปที่ตําแหนงเลขที่ 3 กอนคอยขายหุน ออกไป คุณจะรูไดอยางไรวาราคาหุน มันมาถึงจุดยอดหรือยัง เรื่องนี้มันมี ทฤษฎีที่สามารถ forecast ได คือ Elliott Wave Theory 5.) เลนตามกระแส

สุภาษิต ที่มีความหมายดีๆมีมากมาย และหนึ่ งในนั้น ที่สามารถนํามา apply กั บ ตลาดหุ นได ก็คื อ “หลิว ลูลม “ หรื ออีก สํา นวนหนึ่ ง “ เขา เมื องตาหลิ่ว ให หลิ่ วตา ตาม “ ความหมายมันคือ พยายามทําตัวใหกลมกลืน อยาไปฝนสถานการณ เชนกัน เมื่อ หุนขึ้น คุณก็เขาไปซื้อ เมื่อหุนตก อยาทําตัวเปนคนเกงดวยการซื้อสวนทางตลาด เพราะ มันเสี่ยง การเลน หุนตามกระแสมัน ก็มี หลายรูป แบบ แต ที่เห็ นชั ดเจนเป นรูป ธรรมก็พ อจะ แบงออกไดเปน 2 รูปแบบดวยกันคือ 1. เลนตาม SET INDEX คือเราตองพิจารณา pattern ของ SET ดวยวาเป น state ไหน และโปรดอยาลืมวาควรเขาตลาดในชวง Bullish State เมื่อพิจารณา SET แลว ก็มาพิจารณาเลือกเลนหุนที่เราสนใจ ซึ่งวิธีการเลือกหุนนั้น ขอใหพิจารณาตามเคล็ดลับ


ขอที่ 1. เมื่ อเลือกหุนได แลว ก็มาพิ จารณาวา trend ของราคาหุนตัว ที่เราเลือกนั้น มั น เหมือนกั บ trend ของ SET หรือไม ถาเหมือนกัน ก็เขาเล นเลย อยางนี้เ รียกวา เลนตาม กระแส SET INDEX 2. ไมเลนตาม SET INDEX เปนการเลนหุนโดยดู pattern ของหุนที่เราเลือกโดย ไมไดอิงหรือพิจารณาใหน้ําหนักกับ SET INDEX มากนัก เปนการวิเคราะหเฉพาะหุนนั้นๆ วามันอยูใน state ไหน การเขาซื้อหรือขาย ก็ใหดูจังหวะใหดี แตกรณีเลนแบบนี้ ไมแรง เทากับวิธีตามกระแส SET INDEX

6.) อยาซื้อเฉลี่ย ถาราคาหุนตก หลายคนมี วิ ธีก ารเฉลี่ย ราคาหุ น ตอนชว งราคาหุ น ตก โดยการซื้ อ หุน ตั วเดี ยวกั น หลายรอบในชว งขาลง เพื่ อเฉลี่ ย ตน ทุน ที่ซื้ อ แพงไป ใหมี ราคาเฉลี่ ย ถูก ลง อั น นี้แ ลว แต style ของนักเลนหุน แตที่แนๆคือ ราคาหุนมันกําลังตก แสดงวา หุนตัวนั้นมันตองผิดปกติ หรือมีขาวไมดี หรืออะไรอีกมากมายที่เราไมรู ความไมรูนี่สิคือความเสี่ยง แลวมีคําถามตอ วา คุณจะหยุดเฉลี่ยซื้อเมื่อไหร ขอแนะนํา แทนที่ จ ะซื้ อ เฉลี่ ย ราคาหุ น ช ว งขาลง คุ ณน า จะตั ด ขาดทุ น ดี ก ว า เพราะการตั ด ขาดทุนจะทําใหเรา สามารถ Control ตนทุนได ไมตองหมกมุนกับราคาหุนมากนัก ไมเสียอารมณตลอดหลายชวงเวลา นอนหลับไดเต็มอิ่ม



ทฤษฏี Elliott Wave สรางขึ้นโดย Ralph Nelson Elliott ซึ่งเขาไดพัฒนามาจาก Down Theory โดยเนื้อหาบทสรุปของทฤษฎีนี้คือ Pattern ของราคาหุนมันจะมีพฤติกรรม เปนลักษณะลูกคลื่น ซึ่งสามารถแจงรายละเอียดในหลักการไดดังนี้ ถามีแรงกระทํายอมมีแรงโตตอบ ซึ่งอนุมานในการเลนหุนคือ เมื่อหุนมีขึ้น มันก็ตองมีลง และเมื่อมันลงถึงจุดนิ่งแลว มันก็พรอมที่จะ ขึ้นในรอบตอไป ซึ่งภาษานักวิเคราะหหุนทั้งหลายเขาเรียกวาหุนรีบาวน ( rebound ) และหุนปรับฐาน ( retrace ) Elliott Wave ประกอบดวยลูกคลื่นในขาขึ้น 5 ลูก ( 1-2-3-45) และลูกคลื่นในขาลง 3 ลูก (a-b-c) ในชวงขาขึ้นเราเรียกวา Impulse สวนขาลงเราเรียกวา Correction ในหนึ่งรอบหรือ cycles ของ Elliott Wave นั้นจะเปน series ของ impulse และ correction จากนิยามขางตนสามารถแสดงดวยกราฟดังขางลาง และแนะนําวาคุณตอง จํา pattern นี้เอาไวใหแมนยํา wave 1,2,3,4,5,a,b,c


รูปที่ 13- แสดงรูปแบบมาตรฐานของ Elliott Wave จากกราฟรูปที-่ 13 จะเห็นวาจุดสูงสุดของรอบจะอยูที่คลืน่ ลูกที่ 5 สวนจุดเริ่มตนคือ คลื่นลูกที่ 1 ในชวงที่หุนเปนขาขึ้น การขึ้นยังไมแรงเทาที่ควร เพราะนักลงทุนหรือนักเลน หุนตางคอยดูเชิงซึ่ งกันและกัน ราคาหุน ก็จะไตขึ้นมาที่คลื่น ลูกที่ 1 หลังจากนั้น ก็จะมี นักเลนหุนบางกลุมที่คอยจังหวะขายหุนโดยที่หวังกําไรไมมากนัก หรือ อยางนอยก็ขาดทุน ไมมาก ทําใหหุนปรับฐาน( retrace ) ลงมาเล็กนอยที่คลื่นลูกที่ 2 หลังจากราคาหุนไดปรับฐานมาที่คลื่นลูกที่ 2 แลว ในชวงนี้เอง volume การซื้อขาย เริ่มมากขึ้น ทําใหนักเลนหุนอื่นๆมองเห็นแนวโนมทิศทางของหุนตัวนี้ จึงเริ่มเขาซื้อหุนดวย volume ที่มาก ทําใหราคาหุนปรับตัว ( rebound ) สูงขึ้นมาก โดยทฤษฏีแลว คลื่นลูกที่ 3 จะเปนคลื่นลูกที่ยาวที่สุด ราคาหุนปรับตัวมาที่ คลื่นลูกที่ 3 ทํา ใหนักเลน หุนมีกําไรเปนกอบเปนกํา จึงเริ่ ม ทยอยขายหุนออกมา ราคาหุนก็เริ่ม retrace มาที่คลื่นลูกที่ 4 การปรับฐานของราคาหุนมา ที่คลื่นลูกที่ 4 นี้ ดูเหมือนวามันนาจะหยุดขึ้นตอไป แตทั้งนี้ยังมีนักเลนหุนบางกลุมที่ตก


ขบวนรถไฟ และยังมีความเชื่อวาหุนตัวนี้สามารถวิ่งตอได จึงเขาไลซื้ออีกรอบหนึ่ง ทําให หุนสามารถวิ่งตอไปไดจนถึงคลื่นลูกที่ 5 แตโดยพฤติกรรมแลว คลื่นลูกที่ 5 จะมีขนาดสั้น กวา ลูกที่ 3 เนื่ องจากความกลา ๆกลัวๆของนักเลนหุ นทํ าให ตัดขาย หรือทํ ากํา ไรเพีย ง เล็กนอยก็เพียงพอแลว เมื่อราคาหุนปรับตัวมาที่จุดสูงสุดคือคลื่นลูกที่ 5 แลว และมีการขายทํากําไรกัน ออกมา ทําใหราคาหุนปรับฐานลงมาที่คลื่น a, การขายรอบนี้นักเลนหุนจะประสานเสียง หรือรวมมือรวมใจกันขายหุนออกมาปริมาณมาก หรือบางครั้งเกิด panic เล็กๆ เมื่อหุน ปรับฐานมาที่คลื่น a นักเลนหุนบางคนจะมองวาราคาหุนมันถูกลงจึงเขาซื้อทําใหราคาหุน rebound เล็กนอยไปที่คลื่นลูกที่ b แตการขึ้นครั้งนี้มันขึ้นไมแรง เพราะมันยังไมสามารถ เอาชนะใจคนอื่นๆได พอขึ้นไมแรงก็ขายดีกวา ทําใหมีการขายหุนกันออกมาทําใหราคาหุน ปรับฐานลงที่คลื่น c หลังจากจบคลื่น c แลวก็ถือวามันครบรอบหรือ cycle ของหุนอยางสมบูรณ ผมขอ ทวนนะครับ คลื่น Elliott Wave ประกอบดวยหุนขาขึ้น ( impulse) คลื่นลูกที่ 1,2,3,4,5 สวนหุนขาลง ( correction ) มีคลื่นลูก a,b,c การเขาใจพฤติกรรมของหุนโดยอาศัยหลัก Elliott Wave จะทําใหเรารูสถานะและ แนวโนมของมัน ทําใหเรามีความมั่นใจมากขึ้นในการ trade จากที่กล าวขางตนเปน เพียง Basic Concept เทานั้น แตมันยั งมีความซับซอ น มากกวานี้ โดยที่หุนขาขึ้นลูกที่ 1,2,3,4,5 สามารถรวบเปนคลื่นลูกที่ 1 และหุนขาลง a,b,c สามารถรวบเปนคลื่นลูกที่ 2 ได เชนกราฟรูปที1่ 3 -14


รูปที่ 14-แสดงความซับซอนเพิ่มขึ้นของ Elliott Wave

รูปที่ 15 - แสดงความซับซอนของ Elliott Wave อีกแบบหนึ่ง


การที่หุนมัน rebound หรือ retrace นั้น ถามวามันจะขึ้นไปถึงไหน และ มันจะลง มาถึ งไหน ตรงจุ ดนี้ ก็ มี ทฤษฎีที่ อ ธิบ ายได เช น กั นนั่ น คือ Fibonacci Numbers ซึ่ง เป น เนื้ อ หาที่ สามารถเขี ย นเป น หนั ง สือ หรื อ คู มื อ เป น เล ม หนาประมาณ 1 นิ้ ว ได ซึ่ ง ผมไม สามารถนํามาอธิบายในที่นี้ได แตก็ขอนําเอาผลของมันมาใชเลยดีกวาครับ Fibonacci Numbers เปนตัวเลขที่เกิดขึ้นมาพรอมกับธรรมชาติ เปนตัวเลขที่เรียก ไดวามหัศจรรยเลยทีเดียว ตัวเลขที่เราสามารถนํามาใชไดเลยมีดังนี้ แบบทศนิยม

แบบเปอรเซ็นต

0.236

23.60 %

0.382

38.20 %

0.500

50.00 %

0.618

61.80 %

0.764

76.40 %

1.000

100.00 %

1.382

138.20 %

1.618

161.80 %

2.618

261.80 %

4.236

423.60 %

หลายคนคงพอจะคุนกับตัวเลขพวกนี้บางนะครับ อยางนอยนักวิเคราะหหุนหลาย สังกัดก็นิยม หรือพูดถึงกันมากเชน หุนกําลังปรับฐานลงมาในระดับ 38.20% ซึ่งก็คือแนว รับที่นักวิเคราะหจะทํานายไดวาราคาหุนมันมีแนวรับที่ระดับราคาเทาไหร


เราลองมาดูตัวอยางการใชงาน Fibonacci Numbers

รูปที่ 16- แสดงการใช Fibonacci ในการหาราคาแนวรับ จากกราฟราคาหุน ( รูปที่ 15 ) เปนตัวอยางของหุน BBL เมื่อราคาหุนมันขึ้นจาก จุดที่ 1 ไปจุดที่ 2 และมันก็ปรับฐาน retrace ลงมา ทีนี้หากเราไมมีวิชาติดตัวถามวาราคา หุนมันควรจะลงมาเทาไหรก็ไมสามารถจะคาดคะเนได แตหากเรามีวิชาติดตัว คุณคงบอก ไดนะครับวาแนวรับมันควรจะอยูที่ไหน


ถ า เราใช Fibonacci หาแนวรั บ ก็ จ ะได แ นวรั บ หลายระดั บ ได แ ก แนวรั บ ที่ 23.6% , 38.2%, 50.0%, 61.80% ในที่นี้แนวรับมันหยุดที่ 50% ที่ราคาใกลๆ 48 และ หลังจากนั้นมันก็ rebound ขึ้นตอไป แนนอนครับเราคงไมไดใชเจา Fibonacci Numbers เพียงอยางเดียวมาวิเคราะห หุน ถาจะใหดีเราควรนําเอา indicators ตัวอื่นๆมาวิเคราะหดวยเชนกัน ตัวอยางรูปที่ 16 เปนการนําเอา indicator เชน MACD ( Oscillator ) มาประกอบ ในการวิเคราะห เพื่อหาวาคลื่นของ ELLIOTT มันวิ่งไปถึงคลื่นลูกที่ 5 หรือยัง ซึ่งจะสังเกตุ เห็นวาเสนสีแดงที่ลากเชื่อมระหวางจุด 3 และ 5 มีทิศทางขึ้น ในขณะที่เสนแดงที่ลากเชื่อม ระหวางจุดยอดของ MACD มี ทิศทางลง ลัก ษณะนี้เรี ยกว าเกิ ด divergence คือ มัน มี ทิศทางสวนทางกัน เชนนี้ก็จะสามารถ forecast ไดวากราฟหุนไดมาถึงจุดสูงสุดคลื่นลูกที่ 5 แลว

รูปที่ 17- การใช indicator เขน MACD ชวยในการหาจุดยอดของ wave-5


ชวงขาขึ้นประกอบดวยคลื่น 1,2,3,4,5 สังเกตวาคลื่นลูกที่ 2,4 เปนคลื่นชวงปรับ ฐานยอย สวนคลื่น 1,3,5 เปนคลื่น rebound แตถามองเปน Channel แลว ภาพรวมมัน เปน Uptrend

ลักษณะของคลื่นลูกที่ 2 จะปรับฐานโดยจะไมต่ํากวาจุดเริ่มตนของ คลื่นลูกที่ 1

การปรับฐานคลื่นลูกที่ 2 นั้นเกิดจากการขายเพื่อหนีตนทุน เนื่องจากกอนการเกิด คลื่นลูกที่ 1 มันผาน downtrend มากอน ทําใหพอหุนมีการ rebound ขึ้นมาที่ลูกคลื่นที่ 1 ได นักเลนหุนบางกลุมก็ยอมขายขาดทุนออกมา ทําใหราคาหุนตก และปรับฐานเปนคลื่น ลูกที่ 2


การ form ตัวคลื่นลูกที่ 3 นั้นจะสังเกตุไดจากยอดของคลื่นลูกที่ 1จะเปนแนวตานที่ สําคัญ หากมันไมสามารถทะลุผานจุดนี้ไปได นั่นแสดงวาคลื่นลูกที่ 3 นั้นมันมีปญหา หรือ ผิดพลาด แตถาลูกคลื่น สามารถทะลุผานแนวตานนี้ ไปไดแสดงวาการ form ตัวเปนคลื่น ลูกที่ 3 นาจะสมบูรณ

สวนมากแลวคลื่นลูกที่ 3 จะเปนคลื่นที่แรงที่สุด ดังนั้นหากราคาหุนมันทะลุยอด ของคลื่นลูกที่ 1 พรอมทั้งเกิด Gap กระโดดอยูเหนือยอดคลื่นลูกที่ 1 ได ยอมแสดงถึง ทิศทางของหุนกําลังเขาสู Bullish state อยางคึกคัก


สาเหตุที่ค ลื่นลู กที่ 3 เป นคลื่ นลูก ที่รอ นแรงที่สุด นั้น ก็เพราะวานั กเล นหุน ตางก็ มองเห็ น ทิศ ทาง ของมัน อี กทั้ ง ยั งเกิ ด gap ของราคาหุ น ดว ย ทํ า ให นั กเล นหุ น ที่พ ลาด โอกาสซื้อ ณ จุดต่ําสุดนั้น ตองรีบกระโดดเขามารวมวงดวย เพื่อปองกันไมใหตัวเองตอง ตกขบวน


เมื่อคลื่นลูกที่ 3 ไดไตระดับขึ้นมามากแลว นักเลนหุนกลุมแรกที่ซื้อหุนไว ณ ระดับ ราคาชวงต่ําสุด ก็เริ่มทยอยขายทํากําไรออกมา ทําใหราคาหุนมีการปรับฐานเกิดคลื่นลูกที่ 4 สวนนักเลนหุนกลุมที่ไมไดซื้อหุน ณ ระดับราคาต่ําสุดยังไมไดขายหุนออกมาก อีกทั้งยังมี การซื้อเฉลี่ยตนทุนดวย และเชื่อวาโอกาสที่หุนจะขึ้นยังมีอยู จึงเขาซื้อ ทําใหราคา rebound ขึ้น ไปเปนคลื่นลูกที่ 5 แตการ form ตัวเปนคลื่นลูกที่ 5 จะไมคึกคักเทากับคลื่นลูกที่ 3 แลวจุด peak ของ uptrend ก็มาหยุด ณ คลื่นที่ 5

ชวงขาลง downtrend เปนช วงที่ค าดคะเนไดยากพอสมควร นักเล นหุนบางคน สามารถทํา กํ าไรจาก สว นตา งราคาหุ น (price gaining) ไดใ นชว งหุ นขาขึ้ น แต ก็ต อ ง ขาดทุ นในช วงหุน ขาลง เพราะการพยากรณ หรื อ คาดคะเนหุนขาลงมันจะยุงยากและ ซับซอนกวาชวงขาขึ้น หุนขาลงประกอบดวยคลื่นลูกที่ A,B,C ซึ่งเราสามารถหาคลื่นลูกที่ A,B,C ไดดังนี้


Simple Correction หรือเรียกวา zig-zag ก็ได โดยการปรับทิศทางลงของหุน ประกอบดวยคลื่นลูกที่ A,B,C ทั้งนี้คลื่นลูก B จะ retrace ไมเกิน 75% ของคลื่น A.และ คลื่น C จะมีขนาดมากกวาหรือเทากับคลื่น A

WAVE-B ปกติจะมีขนาดของคลื่นเปน 50% ของคลื่น A และไมควรเกิน 75% ของคลื่น A WAVE-C เปนไปไดตามกรณี = 1.00 เทาของ คลื่น A. = 1.62 เทาของ คลื่น A. = 2.62 เทาของ คลื่น A.


นี่คือรูปแบบตัวอยางของ ZIG-ZAG Correction

การนํา Elliott Wave มาวิเคราะหหุนนั้นนับวามันมีประโยชนมากทีเดียว แตเชื่อ หรือไมครับวา คนสิบคนกําหนดหรือสราง Elliott Wave ไมเหมือนกันคือ บางคนระบุราคา หุนตอนนั้นเปนคลื่นลูกที่ 3 แตบางคนก็ระบุเปนคลื่นลูกที่ 5 ทั้งนี้ขึ้นอยูกับประสบการณ และเครื่องมือที่นํามาประกอบการวิเคราะห

สิ่งสําคัญที่ขอเนนนะครับคือ ไมวาเราจะมีเครื่องมือที่ดีเลิศอะไรก็ ตาม แตสิ่งสําคัญเหนืออื่นใดคือวินัยในการลงทุน หรือวินัยในการเลน หุน ( DISICIPLINE ) อยาลืมนะครับตองยึดมั่นใหดีแลวคุณจะประสบ ความสําเร็จ


แนะนําโปรแกรม RicherStock

www.richerstock.com


www.richerstock.com

เกี่ยวกับโปรแกรม RicherStock ( www.richerstock.com )

RicherStock เปนโปรแกรมวิเคราะหหุนโดยอาศัยดานเทคนิค ( Technical Analysis ) และใชหลักการ Elliott Wave ประกอบกับ Fibonacci Numbers นํามาคํานวณเพื่อหาจุดซื้อ จุดขายหุนที่เหมาะสม ( Buy –Sell signal ) อีกทั้งโปรแกรมยังแสดงคา indicators ตางๆ เพื่อใชยืนยันจังหวะซื้อ จังหวะขาย เพื่อความมั่นใจมากยิ่งขึ้น ลักษณะของกราฟที่โปรแกรมแสดงนั้น ประกอบดวยกราฟหุนพรอมลูกศรซื้อ หรือ ลูกศรขาย ซึ่ง เป น ลู ก ศรที่ แ สดงถึ ง จั ง หวะซื้ อ หรื อ จั ง หวะขายที่ เ หมาะสม ทั้ ง นี้ จั ง หวะซื้ อ ขายนั้ น จะถู ก ยื น ยั น ด ว ย


indicators RSI ( Relative Strength Index ) และ Stochastic และ MACD ( Moving Average Convergence and Divergence )

ประโยชนที่จะไดรับจากโปรแกรม RicherStock คือทําใหนักลงทุนเขาซื้อ หรือขายหุน ไดถูกจังหวะ ทําใหนักลงทุนรูสถานะหรือภาวะตลาด ณ ขณะนั้นๆวามีความเสี่ยงมากหรือ ความเสี่ยงนอยเพียงใด เพื่อที่นักลงทุนจะสามารถบริหารความเสี่ยงไดอยางมั่นใจ การลงทุนมี ความเสี่ย ง แตถานั กลงทุนสามารถจัดการและบริ หารความเสี่ยงนั้นได ยอมทําใหนักลงทุนประสบความสําเร็จในการลงทุนตอไป

เริ่มตนที่ www.richerstock.com เมื่อเขาไปที่ www.richerstock.com สําหรับสมาชิกใหทําการ login โดยใส username และ password


รูปที่ R2. แสดงหนา Login


หลังจาก Login จะปรากฏหนาจอดังรูปที่ R2. ซึ่งจะมี menu ใหเลือกดานซายมือ ประกอบดวยกลุมเมนู 1. Stock chart function เปนเมนูที่แสดงรายการกราฟดานเทคนิค ซึ่งจะกลาวถึงใน รายละเอียดตอไป 2. ตารางเครื่องหมายซื้อขาย เปนพังกชั่นที่จระสรุปภาพรวมของตลาด หรือ กลุมของ หุน วาเกิดสัญญาณซื้อหรือขายอยางไร 3. คนหาหุน เปนฟงกชั่นสําหรับคนหาหุนที่เราตองการ ตามเงื่อนไขที่ user สามารถ กําหนดไดในเชิง technical 4. Fundamental Info เปนกลุมฟงกชั่นสําหรับดูขอมูลหุนเชิงพื้นฐาน

การใชงานกราฟหุน ( Stock Chart )


หลังจากที่สมาชิก login เขามาในระบบแลว หากตองการดูกราฟหุน พรอมจุดซื้อขาย โดยตองการดู กราฟหุนแตละตัวที่สนใจ ใหใสสัญลัก ษณหุนตัวนั้นๆที่ชองวาง “Symbols: “ ตัวอยางเชนถาตองการดูกราฟหุนของ ปตทใ ใหใสสัญลักษณที่ชองวางเปน PTT ( จะเปน อักษรพิมพใหญหรือเล็กก็ได ) เมื่อใสสัญลักษณแลว ให click ที่ icon จะปรากฏกราฟหุนของ LH ดังรูปที่ R3.

ก็


รูปที่ R3- แสดงกราฟหุน PTT


สวนประกอบของกราฟ สวนที่ 1 “ Header ” สวนที่ 2. Stock Chart area สวนที่ 3. Volume สวนที่ 4. Indicator 1 สวนที่ 5. Indicator 2 สวนที่ 6. indicator 3 สวนที่ 1. Header

สวนนี้จะแสดงสัญลักษณหุน และชื่อหุนภาษาไทย พรอมกับแสดงรายการราคาหุน open ราคาเปดของวัน high ราคาสูงสุดของวัน low ราคาต่ําสุด close ราคาปด volume ปริมาณการซื้อขาย ( x 100 ) change ราคาเปลี่ยนแปลงจากวันกอน date

วันที่ลาสุดของกราฟ


สวนที่ 2. Stock Chart Area สวนนี้จะแสดงกราฟหุนโดยที่คา default หรือคาที่กําหนดไวเบื้องตน จะเปนกราฟ ชนิด candle stick หรือกราฟแทงเทียน และจะแสดงกราฟยอนหลัง 6 เดือน หากตองการ แกไขชนิดของกราฟ หรือชวงเวลายอนหลังของกราฟ สามารถเปลียนแปลงไดที่เมนู “ Chart type: “, “ Time: ” นอกจากจะแสดงกราฟของหุนแลว ภายในสวนนี้ยังแสดงจังหวะซื้อ และจังหวะขาย ดวย โดยจะแสดงจังหวะซื้อ-ขาย 4 รูปแบบดวยกันดังนี้ สัญญลักษณ ความหมาย

แสดงสัญญาณซื้อระยะกลาง ( Mid-Term Buy )

จังหวะซื้อ ณ จุดนี้ สวนใหญแลวจะเปนจุด turning point จากขาลง เปลี่ยนเปนขาขึ้น หรือ เปลี่ยนจาก downtrend เปน uptrend

แสดงสัญญาณขายระยะกลาง ( Mid-Term Sell )

จังหวะขาย ณ จุดนี้ สวนใหญแลวจะเปนจุด turning point จากขา ขึ้นเปลี่ยนเปนขาลง หรือ เปลี่ยนจาก uptrend เปน downtrend

แสดงสัญญาณซื้อระยะสั้น ( Short-Term Buy )

จังหวะซื้อ ณ จุดนี้ จะเกิดในชวงระยะกลาง คือภายในชวงระหวาง สัญญาณ และ ซึ่งสัญญาณระยะสั้นนี้ สามารถเกิดขึ้นได หลายรอบ

แสดงสัญญาณขายระยะสั้น ( Short-Term Sell )

จังหวะขาย ณ จุดนี้ จะเกิดในชวงระยะกลาง คือภายในชวงระหวาง สัญญาณ และ ซึ่งสัญญาณระยะสั้นนี้ สามารถเกิดขึ้นได หลายรอบ


นอกจากกราฟที่แสดงจังหวะซื้อ และจังหวะขายแลว ภายในกราฟจะมีเสนคาเฉลี่ย เคลื่อนที่ ( moving averge ) 3 เสนไดแก · เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 5 วัน MA( 5 ) เปนเสนสีมวง · เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 15 วัน MA(15) เปนเสนสีน้ําเงิน · เสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 30 วัน MA(30 ) เปนเสนสีแดง เสนคาเฉลี่ยทั้ง 3 เสนจะบอกภาวะตลาดไดวาเปนตลาดหมีหรือกระทิง ( bearish or bullish ) โดยสังเกตจาก ภาวะตลาด ลักษณะกราฟ ความหมาย ภาวะตลาดหมี เสนกราฟราคาหุนจะอยูต่ํา เปนตลาดขาลง การทํากําไรจากการ ( Bearish State ) กวาเสนคาเฉลี่ยทั้ง 3 เสน เลนรอบจะตองเลนเร็วขึ้น ชวงกําไร จะนอย ภาวะตลาด เสนกราฟราคาหุนจะอยู เปนตลาดขาขึ้น การทํากําไรจากการ กระทิง เหนือเสนคาเฉลี่ยทั้ง 3 เสน เลนรอบจะยาวขึ้น ชวงทํากําไรจะ ( Bullish State ) มากกวาภาวะตลาดหมี

การหาคาของเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ ( Moving Average ) เนื่องจากการหาคา เฉลี่ยเคลื่อนที่ จะมีดวยกันหลายวิธี หลายรูปแบบ เชน SMA ( Simple Moving Average ), EMA ( Exponential Moving Average ) เปนตน แต เนื่องจาก RicherStock ตองการใหสมาชิก มองภาพรวม ไมตองการใหเกิด ความซับซอ น ดังนั้นการแสดง moving average จะแสดงดวย SMA ( Simple Moving Average ) การหา SMA ก็โดยนําเอาราคาปดนับยอนหลังจากวันนี้ถอยยอนหลังไปตามจํานวน วันที่ตองการหาคาเฉลี่ย เชนตองการหาคา SMA(10) คือเราตองการหาคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 10


วัน เราก็ตองเอาราคาปดยอนหลัง 10 วัน โดยเอาราคาปดแตละวันมารวมกันแลวหารดวย 10 และนําคาเฉลี่ยที่ไดมา plot ในกราฟของวันนี สวนที่ 3 ปริมาณการซื้อ-ขาย ( Volume )

สวนนี้จะแสดงปริมาณการซื้อ-ขายของหุนตัวนั้นๆ โดยแสดงเปนกราฟแทงทึบ ซึ่ ง ปริ มาณการซื้ อขายนี้ ก็ สามารถบอกทิ ศ ทางหรือ แนวโน ม ของหุ น ได เช น กัน เช นวั นใดที่ ปริมาณการซื้อขายมากขึ้น ประกอบกับราคาหุนเพิ่มขึ้นแสดงวานักลงทุนกําลังเลนหุนตัวนั้น ในทางกลับกันหากปริมาณการซื้อขายมากขึ้น ในขณะที่ราคาหุนตัวนั้นลดลง แสดงวานัก ลงทุนกําลังเทขายหุนตัวนั้น สวนที่ 4 Lower Indicator 1

ความหมายของ Indicator โดยทั่วๆไปจะหมายถึง ดัชนีชี้แนะอะไรสักอยางหนึ่ง ที่จะ ทํา ให เ ราสามารถพยากรณ ภ าวะโดยรวมของเหตุ การณ นั้ น ๆได ซึ่ ง ถ าหากนํ า เอาเรื่ อ ง indicator มาใชในกับการวิเคราะหหุนดานเทคนิคแลว indicator จะบอกถึงภาวะของหุนวา ราคาแพงไป ( overbought ) หรือราคาถูกไป ( oversold ) ก็ได หรืออาจจะนําไปใชในการ บอกภาวะหุนวาเปนภาวะหมี หรือ ภาวะกระทิงก็ไดเชนกัน รายละเอียดของ indicator ที่ใช กับกราฟที่นําเสนอโดย RicherStock มีดังนี้


Relative Strength Index (RSI)

จะแบงพื้นที่ออกเปน 3 สวนดวยกันไดแก - Overbought - Trading Range - Oversold ความหมายและสิ่งที่ตองพิจารณาเพื่อนํา RSI ไปใชในการวิเคราะหภาวะหุน พื้นที่ ความหมาย เปนพื้นที่บริเวณที่อยูเหนือเสนระดับ 70% ขึ้นไป ถาเสนกราฟ RSI วิ่งอยูในพื้นที่บริเวณนี้ หรืออีกนัยหนึ่งคือเสนกราฟ RSI วิ่งอยู เหนือเสน 70 % เราเรียกวา ขณะนี้หุนเกิด overbought แลว Overbought หมายถึงวา ณ ขณะนีห้ ุนตัวนี้เริ่มมีราคาแพงแลวสําหรับรอบนั้นๆ เพราะนักลงทุนไดไลซื้อหุนตัวนั้นๆมาตลอดเลยทําใหราคาไตระดับ ขึ้นไปจนถึง overbought เปนพื้นที่บริเวณที่อยูระหวางเสนระดับ 30% และเสนระดับ 70% ถาเสนกราฟ RSI วิ่งอยูในพื้นที่บริเวณนี้ หรืออีกนัยหนึ่งคือ Trading Range เสนกราฟวิ่งมาอยูระหวางเสนระดับ 30 % และเสนระดับ 70 % เปน ชวงที่มีการซื้อ-ขายกัน


Oversold

เปนพื้นที่บริเวณที่อยูใตเสนระดับ 30% ลงมา ถาเสนกราฟ RSI วิ่งอยูในพื้นที่บริเวณนี้ หรืออีกนัยหนึ่งคือเสนกราฟ RSI วิ่งอยูใตเสน 30 % เราเรียกวา ขณะนี้หุนเกิด oversold แลว หมายถึงวา ณ ขณะนี้ หุนตัวนี้เริ่มมีราคาถูกแลวสําหรับรอบนั้นๆ เพราะนักลงทุนไดขายหุน ตัวนั้นๆมาตลอดเลยทําใหราคาลดระดับลงมาจนถึง oversold

เสนกราฟ RSI ที่เห็นนั้นจะมี 2 เสน ไดแกเสน RSI ( สีดํา ) เปนเสนที่คํานวณขอมูล ยอนหลังทุกๆ 14 วัน และเสนคาเฉลี่ยของ RSI ( สีขาว ) โดยหาคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 5 วัน เนื่องจากเสน RSI เองไม smooth จะขึ้นๆลงเปนหยัก ดังนั้นจึงตองหาเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ ของ RSI เพื่อทําใหเสนกราฟ smooth ขึ้น และเราสามารถใชประโยชนของการตัดกันทั้ง 2 เสนนี้ เพื่อยืนยันจังหวะซื้อ และจังหวะขายไดดังนี้ จังหวะซื้อ จังหวะขาย กรณีเสน RSI วิ่งจาก oversold ขึ้นไป เปน กรณีเสน RSI วิ่งจาก overbought ลงมา เปน จังหวะที่เตรียมพรอมเขาซื้อ ทั้งนี้ใหสอดคลอง จังหวะที่เตรียมพรอมขาย ทั้งนี้ใหสอดคลอง กับสัญญาณ ลูกศรซื้อที่ปรากฏดวย และถา กับสัญญาณลูกศรขายที่ปรากฏดวย และถา เสน RSI ( สีดํา ) ตัดผานเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ เสน RSI ( สีดํา ) ตัดผานเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ ( สีขาว ) ขึ้นไป แนวโนมราคาจะวิ่งขึ้น ( สีขาว ) ในทิศทางลง แนวโนมราคาจะวิ่งลง


สวนที่ 5 Lower Indicator 2

Stochastic Oscillator

จะแบงพื้นที่ออกเปน 3 สวนดวยกันไดแก - Overbought - Trading Range - Oversold ความหมายและสิ่งที่ตองพิจารณาเพื่อการนําไปใชในการวิเคราะหภาวะหุน

พื้นที่ Overbought

ความหมาย เปนพื้นที่บริเวณที่อยูเหนือเสนระดับ 80% ขึ้นไป ถาเสนกราฟ Stochastic วิ่งอยูในพื้นที่บริเวณนี้ หรืออีกนัยหนึ่งคือเสนกราฟ Stochastic วิ่งอยูเหนือเสน 80 % เราเรียกวา ขณะนี้หุนเกิด overbought แลว หมายถึงวา ณ ขณะนี้หุนตัวนี้เริ่มมีราคาแพงแลว สําหรับรอบนั้นๆ เพราะนักลงทุนไดไลซื้อหุนตัวนั้นๆมาตลอดเลยทําให ราคาไตระดับขึ้นไปจนถึง overbought


Trading Range

Oversold

เปนพื้นที่บริเวณที่อยูระหวางเสนระดับ 20% และเสนระดับ 80% ถา เสนกราฟ Stochastic วิ่งมาอยูในพื้นที่บริเวณนี้ หรืออีกนัยหนึ่งคือ เสนกราฟวิ่งมาอยูระหวางเสนระดับ 20 % และเสนระดับ 80 % เปน ชวงที่มีการซื้อ-ขายกัน เปนพื้นที่บริเวณที่อยูใตเสนระดับ 20% ลงมา ถาเสนกราฟ Stochastic วิ่งมาอยูในพื้นที่บริเวณนี้ หรืออีกนัยหนึ่งคือเสนกราฟ Stochastic วิ่งมาอยูใตเสน 20 % เราเรียกวา ขณะนี้หุนเกิด oversold แลว หมายถึงวา ณ ขณะนี้หุนตัวนี้เริ่มมีราคาถูกแลวสําหรับรอบนั้นๆ เพราะนักลงทุนไดขายหุนตัวนั้นๆมาตลอดเลยทําใหราคาลดระดับลง มาจนถึง oversold

เสนกราฟ Stochastic ที่เห็นนั้นจะมี 2 เสน ไดแกเสน Stochastic ( สีดํา ) เปนเสนที่ คํานวณขอมูลยอนหลั งทุกๆ 14 วัน และเสนคาเฉลี่ยของ Stochastic ( สีขาว )โดยหา คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 5 วัน เนื่องจากเสน Stochastic เองไม smooth จะขึ้นๆลงเปนหยัก ดังนั้น จึงตองหาเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ของ Stochastic เพื่อทําใหเสนกราฟ smooth ขึ้น และเรา สามารถใชประโยชนของการตัดกันทั้ง 2 เสนนี้ เพื่อยืนยันจังหวะซื้อ และจังหวะขายไดดังนี้ จังหวะซื้อ กรณีเสน Stochastic วิ่งจาก oversold ขึ้นไป เปนจังหวะที่เตรียมพรอมเขาซื้อ ทั้งนี้ใหสอดคลองกับสัญญาณ ลูกศรซื้อ ที่ปรากฏดวย และถาเสน Stochastic ( สีดํา ) ตัดผานเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ ( สี ขาว ) ขึ้นไป แนวโนมราคาจะวิ่งขึ้น

จังหวะขาย กรณีเสน Stochastic วิ่งจาก overbought ลง มา เปนจังหวะที่เตรียมพรอมขาย ทั้งนี้ให สอดคลองกับสัญญาณลูกศรขายที่ปรากฏดวย และถาเสน Stochastic ( สีดํา ) ตัดผานเสน คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ ( สีขาว ) ในทิศทาง ลง แนวโนมราคาจะวิ่งลง


ขอสังเกต Indicator RSI และ Stochastic มีลักษณะและการใชงานคลายกัน ทั้ง RSI และ Stochastic ใชวิเคราะหหุนชวงสั้น ทั้งนี้ควรใชทั้ง 2 indicator ประกอบกันในการวิเคราะห สวนที่ 6 : Lower Indicator 3

สวนนี้จะแสดง MACD ( Moving Average Convergence Divergence ) แบงพื้นที่ ออกเปนสองสวนโดยมีเสนสีน้ําเงิน หรือเสนศูนย · พื้นที่เหนือเสนศูนยเปนพื้นที่ Bullish · พื้นที่ใตเสนศูนยเปนพื้นที่ Bearish ลักษณะของเสนกราฟ ภาวะตลาด ทิศทางของราคาหุน MACD เสนกราฟ MACD อยู เปนภาวะตลาดกระทิง เปนชวงขาขึ้น หากสังเกตเสนกราฟ เหนือเสนศูนย ( Bullish ) ราคาจะอยูเหนือเสน moving average ทั้ง 3 เสน เสนกราฟ MACD อยูใต เปนภาวะตลาดหมี เปนชวงขาลง หากสังเกตเสนกราฟ เสนศูนย ( Bearish ) ราคาจะอยูใตเสน moving average ทั้ง 3 เสน


MACD จะแสดงภาวะตลาดในระยะกลาง ทําใหเราเลนหุนไดถูกจังหวะ หากตลาดอยู ในภาวะกระทิง ( bullish ) การทํากําไรในแตละรอบจะมีอัตราที่สูง ไมตองรีบรอนในการขาย แตถาภาวะตลาดเปนตลาดหมี ( bearish ) การทํากําไรในแตละรอบจะมีอัตราผลตอบแทน นอย การซื้อขายหรือการเลนหุนในชวงนี้ตองมีความระมัดระวังเปนพิเศษ เขาเร็ว ออกเร็ว และตองติดตามอยางใกลชิด การหาคา MACD โดยการหาผลตางระหวาง MA(12) – MA(26) คือหาผลตางของ คาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 12 วัน ลบดวยคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 26 วัน แลวนําผลตางนั้นมา plot กราฟได เสนกราฟ MACD ( เสนสีดํา ) และหาเสนคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ 9 วัน ( เสนสีขาว )

เมนู Chart Type

เปนเมนูใหเลือกแสดงรูปแบบของกราฟ มีดวยกัน 3 รูปแบบ ไดแก Bar Chart, Candlestick, Line Chart โดยคาเริ่มตนหรือคา default จะตั้งใหเปน candlestick


Bar Chart

องคประกอบของ Bar Chart · Open ( ราคาเปด ) เปนราคาเริ่มตนของการซื้อขายในแตละวัน · High ( ราคาสูงสุด ) เปนราคาสูงที่สุดของการซื้อขายในแตละวัน · Low ( ราคาต่ําสุด ) เปนราคาต่ําที่สุดของการซื้อขายในแตละวัน · Close ( ราคาปด ) เปนราคาปดของของแตละวัน วิธีการเขียนกราฟ Bar Chart 1. ราคาเปดจะอยูดานซายมือ เปนเสนแนวนอน 2. ราคาปดจะอยูดานขวามือเปนเสนแนวนอน 3. ราคาสูงสุด และราคาต่ําสุดจะอยูตรงกลาง และลากเสนเชื่อมระหวาง ราคาสูงสุดและราคาต่ําสุด


Candle Stick

องคประกอบของ Candle Stick · Open ( ราคาเปด ) เปนราคาเริ่มตนของการซื้อขายในแตละวัน · High ( ราคาสูงสุด ) เปนราคาสูงที่สุดของการซื้อขายในแตละวัน · Low ( ราคาต่ําสุด ) เปนราคาต่ําที่สุดของการซื้อขายในแตละวัน · Close ( ราคาปด ) เปนราคาปดของของแตละวัน วิธีการเขียนกราฟ Candle Stick กรณีราคาปด ( close ) สูงกวาราคาเปด ( open ) 1. ลากเสนราคาเปดแนวนอน 2. ลากเสนราคาปดแนวนอน 3. ลากเสนแนวตั้งเชื่อมระหวางเสนราคาเปดและราคาปด จะมีลักษณะเปนเหมือนแทง เทียน 4. แทงเทียนเปนสีขาว 5. ลากเสนตรงแนวตั้งจากราคาปดไปหาราคาสูงสุดเกิดเปนเสนตั้งเหมือนไสเทียน 6. ลากเสนตรงแนวตั้งจากราคาเปดไปหาราคาต่ําสุดเกิดเปนเสนตั้งเหมือนไสเทียน


วิธีการเขียนกราฟ Candle Stick กรณีราคาปด ( close ) ต่ํากวาราคาเปด ( open ) 1. ลากเสนราคาเปดแนวนอน 2. ลากเสนราคาปดแนวนอน 3. ลากเสนแนวตั้งเชื่อมระหวางเสนราคาเปดและราคาปด จะมีลักษณะเปนเหมือน แทงเทียน 4. แทงเทียนเปนสีดําทึบ 5. ลากเสนตรงแนวตั้งจากราคาเปดไปหาราคาสูงสุดเกิดเปนเสนตั้งเหมือนไสเทียน 6. ลากเสนตรงแนวตั้งจากราคาปดไปหาราคาต่ําสุดเกิดเปนเสนตั้งเหมือนไสเทียน


Line Chart

เปนการนําราคาปดของแตละวันมา plot กราฟ รูปแบบของกราฟทั้ง 3 ชนิดนี้ จะแสดงลักษณะขั้นพื้นฐานเทานั้น เพื่อใหสมาชิก เขาใจรูปแบบในเบื้องตน ซึ่งรายละเอียดที่ซับซอนกวานี้จะขออนุญาตไมนําเสนอ เมนู TIME เปนเมนูที่ใหเลือกระยะเวลาในการแสดงกราฟ โดยที่คาเริ่มตน หรือคา default ไดถูกกําหนดไวที่ ระยะเวลาแสดงกราฟ 6 เดือน ซึ่ง ผูใชงานสามารถเลือกระยะแสดงกราฟไดตามความเหมาะสม โดย สามารถเลือกเวลาไดตั้งแต 1, 2, 3, 4, 6 เดือน หรือ หากตองการดู ยอนหลังรายป ก็สามารถเลือกไดตั้งแตระยะเวลา 1 1.5 2 2.5 3 ป ตามลําดับ


เมนู Lower Indicator-1 เปนเมนูทใี่ หเราเลือกวาตองการให indicator แถวที่ 1 แสดงคา อะไร ซึ่งคาเริ่มตนหรือคา default ที่โปรแกรมตั้งไวนั้นจะเปน RSIindicator

เมนู Lower Indicator-2 เปนเมนูที่ใหเราเลือกวาตองการให indicator แถวที่ 2 แสดงคา อะไร ซึ่งคาเริ่มตนหรือคา default ที่โปรแกรมตั้งไวนั้นจะเปน Stochastic-indicator

เมนู Lower Indicator-3 เปนเมนูที่ใหเราเลือกวาตองการให indicator แถวที่ 3 แสดงคา อะไร ซึ่งคาเริ่มตนหรือคา default ที่โปรแกรมตั้งไวนั้นจะเปน MACDindicator


เมนู

เมนูนี้เปนการแสดงตารางเครื่องหมายซื้อ-ขายที่เกิด เปนการอํานวยความสะดวกให สมาชิ ก เพื่อ ดู ภาพรวมของหุน วา สว นใหญแ ลว เกิ ดสั ญญาณซื้ อ หรือ เกิด สัญญาณขาย หลังจากที่ click ที่เมนู “ ตารางเครื่องหมายซื้อขาย “ แลวจะปรากฏหนาจอดังรูปที่ 4 ซึ่งเปน หนาที่แสดงตารางสัญญาณซื้อขายของ sector index ที่ประกอบดวยรายการของ index แต ละอุตสาหกรรม โดยเรียงลําดับตั้งแต SETINDEX, SETAGRI………….SETOHTER.

รูปที่ R4. แสดงตารางเครื่องหมายซื้อ-ขาย ของ sectors index


สวนนี้จะแสดงรายละเอียดของหุน แตละรายการในแตละกลุม เช นหากต องการดู รายการที่อยูในกลุมธนาคาร ให click BANK ตารางเครื่องหมายซื้อ ขายของกลุมธนาคารจะ แสดงออกมาดังนี้

รูปที่ R5. “ ตารางเครื่องหมายลูกศรของหุนในกลุมธนาคาร “ จะแสดงรายการหุนที่อยูในกลุมธนาคารทั้งหมด ถาตองการดูกราฟหุนของแต ละตัวสามารถทําไดโดยการ click ไปที่ชื่อ symbol ของหุนตัวนั้น แสดงชื่อหุนเปนภาษาไทย เปนชองที่แสดงสัญญาณซื้อ ซึ่งรายการที่จะเกิดในชองนี้มีดวยกัน 3 แบบ


แบบที่

ความหมาย

หมายเหตุ

1

สัญญาณซื้อ ระยะสั้น

2

สัญญาณซื้อ ระยะกลาง

สัญญาณนี้จะเกิดขึ้นภายในวันนี้และยอนหลังไป อีก 2 วัน เชนสมมติวาวันนี้เปนวันอังคารที่ 2 กันยายน 2546 ดังนั้นถาเกิดสัญญาณซื้อภายใน วันที่ 29 สิงหาคม 2546 ถึงวันอังคารที่ 2 กันยายน ( ไมนับเสาร-อาทิตย ) เครื่องหมายลูกศรนี้จะ ปรากฏในชอง BUY ซึ่งจะทําใหเราสามารถเขาซื้อ หุนไดตั้งแตเนิ่นๆ สัญญาณนี้จะเกิดขึ้นภายในวันนี้และยอนหลังไป อีก 2 วัน เชนสมมติวาวันนี้เปนวันอังคารที่ 2 กันยายน 2546 ดังนั้นถาเกิดสัญญาณซื้อภายใน วันที่ 29 สิงหาคม 2546 ถึงวันอังคารที่ 2 กันยายน ( ไมนับเสาร-อาทิตย ) เครื่องหมายลูกศรนี้จะ ปรากฏในชอง BUY ซึ่งจะทําใหเราสามารถเขาซื้อ หุนไดตั้งแตเนิ่นๆ

3

สัญลักษณ ที่ปรากฏใน ชอง Buy

“ ผานจุดซื้อ เกิดสัญญาณซื้อ “ ไปแลวมากกวา 3 วันนับจาก วันนี้

สัญญาณนี้จะเกิดขึ้นเมื่อจุดซื้อไดผานไปแลวมากกวา 3 วัน เชนสมมติวาวันนี้เปนวันที่ 2 กันยายน 2546 และสัญญาณซื้อเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2546 ซึ่งเราจะเห็นวาถานับจํานวนวันจากวันนี้ ( 2 กันยายน ) ไปจนถึงวันที่ 21 สิงหาคม จํานวนวันจะ มากกวา 3 วัน ดังนั้นแทนที่จะปรากฏเปนสัญลักษณ สูกศร ก็เกิดสัญญลักษณ “ผานจุดซื้อ “ แทน


เปนชองที่แสดงสัญญาณขาย ซึ่งรายการที่จะเกิดในชองนี้มีดวยกัน 3 แบบ

แบบ สัญลักษณ ความหมาย หมายเหตุ ที่ ที่ปรากฏใน ชอง SELL 1 สัญญาณขาย สัญญาณนี้จะเกิดขึ้นภายในวันนี้และ ระยะสั้น ยอนหลังไปอีก 2 วัน เชนสมมติวาวันนี้ เปนวันอังคารที่ 2 กันยายน 2546 ดังนั้น ถาเกิดสัญญาณขายภายในวันที่ 29 สิงหาคม 2546 ถึงวันอังคารที่ 2 กันยายน ( ไมนับเสารอาทิตย ) เครื่องหมายลูกศรนี้จะปรากฏ ในชอง SELL ซึ่งจะทําใหเราสามารถ ขายหุนไดตั้งแตเนิ่น 2 สัญญาณขาย สัญญาณนี้จะเกิดขึ้นภายในวันนี้และยอนหลัง ไปอีก 2 วัน เชนสมมติวาวันนี้เปนวันอังคารที่ 2 ระยะกลาง

กันยายน 2546 ดังนั้นถาเกิดสัญญาณขาย ภายในวันที่ 29 สิงหาคม 2546 ถึงวันอังคารที่ 2 กันยายน ( ไมนับเสารอาทิตย ) เครื่องหมายลูกศรนี้จะปรากฏในชอง SELL ซึ่งจะทําใหเราสามารถขายหุนไดตั้งแต เนิ่น


3

“ ผานจุดขาย เกิดสัญญาณ “ ขายไปแลว มากกวา 3 วัน นับจากวันนี้

สัญญาณนี้จะเกิดขึ้นเมื่อจุดขายไดผานไปแลว มากกวา 3 วัน เชนสมมติวาวันนี้เปนวันที่ 2 กันยายน 2546 และสัญญาณขายเกิดขึ้นเมื่อ วันที่ 21 สิงหาคม 2546 ซึ่งเราจะเห็นวาถานับ จํานวนวันจากวันนี้ ( 2 กันยายน ) ไปจนถึง วันที่ 21 สิงหาคม จํานวนวันจะมากกวา 3 วัน ดังนั้นแทนที่จะปรากฏเปนสัญลักษณสู กศร ก็เกิดสัญญลักษณ “ผานจุดขาย “ แทน

กติกาการเลนหุน

กอนที่จะกลาวถึงวิธีการวิเคราะหหุนและการเลนหุนให ปลอดภัยนั้น RicherStock ขอทําความเขาใจหรือสร็าง กติกาการเลนหุน เพื่อใหเขาใจตรงกันและนําไปปฏิบัติไดถูกตอง 1. ราคาหุนเปน Dynamics หมายถึง ราคาหุนไมหยุดกับที่มีการขึ้นๆลง เชนในวันนี้ราคาหุนปรับตัวเพิ่มขึ้นไป จากเมื่อวานนี้ 5 % ไมไดหมายความวาวันพรุงนี้ราคาหุนจะตองปรับตัวเพิ่มขึ้นเสมอ ไป ไมมีใครสามารถฟนธงราคาหุนได 100% 2. การพยากรณหุน การวิเคราะหหุนดวยกราฟเปนการวิเคราะหแนวโนมของราคาหุนที่ใชขอมูลในอดีต เพื่อที่จะพยากรณราคาในอนาคตเพื่อใหความเสี่ยงในการเลนหุนนอยที่สุด 3. การเลนหุนมีความเสี่ยง ( RISK ) ซึ่ ง ผลตอบแทนจากการลงทุ น จะแปรผั น ตามความเสี่ ย งคื อ ความเสี่ ย งสู ง ผลตอบแทนสูง ความเสี่ยงต่ํา ผลตอบแทนก็ต่ํา ( high risk high return )


4. ตองมีความเชื่อ ( TRUST ) ตองมีความเชื่อในเครื่องมือที่ใชในการวิเคราะหหุน เพราะเครื่องมือหรือโปรแกรมการ วิเคราะหหุนนี้จะวิเคราะหดวย criteria ตางๆที่เรากําหนดไว โดยที่โปรแกรมจะไมมี bias หรือ เบี่ย งเบน เช นการกํา หนดจั งหวะซื้ อ จั ง หวะขายของโปรแกรม หรื อ แมกระทั่งการปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนจังหวะซื้อและจังหวะขาย 5. การเลนหุนดวยเทคนิค เปนเรื่องของจิตวิทยา ในการกําหนดจังหวะซื้อ จังหวะขาย การวิเคราะหดวยเทคนิค หรือการเลนหุนดวย กราฟเปนการเลนดวยจิตวิทยา เปนการตอสูดวยจิตวิทยาของกลุมนักเลนหุน หุนบาง ตัวมองในแงพื้นฐาน ( fundamental ) แลวเปนหุนที่ไมนาสนใจ แตราคากลับวิ่งขึ้น ไปมาก เปน เพราะหุน ตั ว นี้มี demand สู งทํ า ให นั ก ลงทุ นทั้ ง หลายลงมารว มวง ดวย ซึ่งแนวความคิด ของนักเล นหุนดานเทคนิคนี้ จะตางกับการเลนหุ นประเภท value investor ที่ตองการลงทุนระยะยาว เพื่อหวังผลตอบแทนในรูปแบบของเงินปน ผลเปนอันดับแรก 6. ตองมีวินัยในการเลนหุน เราตองสรางกฎเกณฑที่เราสามารถยอมรับไดเพื่อใชบริหารความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นใน การเลนหุน เมื่อไดกฎเกณฑดังกลาวแลว ตองปฏิบัติตามหรือตองรักษาวินัยในการ ปฏิบัติตามกฎเกณฑนั้นดวย 7. การตัดสินใจ การตัดสินใจ ณ เวลานั้นๆใหถือวาเปนการตัดสินใจที่ดีที่สุด เชนการตัดสินใจซื้อ หรือ การตัดสินใจขาย หากการตัดสินใจใดฯที่ผานไปแลว ตองไมนํามาเปนอารมณ เพราะการซื้อ ขายใน 1 ป จะมีหลายรอบ การตัดสินใจซื้อแลวผิดพลาด ราคาหุนไมขึ้นดังที่คิด ใหตัด ขาดทุนหรือ cut loss ทันทีที่เปอรเซ็นตขาดทุนเกินคาที่เรากําหนดไวเชนเราตั้งคา cut loss ไวที่ 3-4 % ดังนั้นหากราคาหุนวิ่งลงกวาราคาที่ซื้อไว 3-4% ให cut loss ทันที และสิ่งสําคัญ ที่สุดคือ การตัดสินใจอยูในวิจารณญาณของนักลงทุนเอง กรณีการตัดสินใจขาย หากราคาที่


ขายปรากฏวาขายถูกเกินไป หรือที่คนเลนหุนเรียกวา “ ขายหมู “ นั้น ตองยอมรับวาไมมีใคร ที่จะสามารถขายหุนไดที่ราคาสูงที่สุด วิธีการเลนหุนใหปลอดภัยดวยกราฟ RicherStock

1) เขามาที่ www.richerstock.com แลว login username และ password 2) เลือกซื้อหุน ซึ่งวิธีการเลือกซื้อหุนมีแนวทางที่ใชไดผลดังนี้ Ø เลือกซื้อหุนที่มี volume มากๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการปนหุนของนัก ลงทุนรายใหญ เชนหุนที่มีมูลคาซื้อขาย 50 ลานบาทตอวันขึ้นไป Ø เลือกซื้อหุนที่มีสภาพคลองที่คนสวนใหญเลนกัน เพื่อใหการซื้อขาย เปนไปอยางคลองตัว เมื่อตองการซื้อก็มีคนขาย เมื่อตองการขายก็มี คนซื้อ ซึ่งหุนที่มีสภาพคลองไดแกหุนในกลุม Ø หลีกเลี่ยงหุนที่ไมมี pattern หรือผันผวนรุนแรง 3) กรณีเลือกหุนไดแลวให key สัญลักษณหุนที่ชอง symbol เพื่อดูกราฟหุนตัวนั้นๆ 4) กรณีที่ยังไมรูวาจะเลือกซื้อหุนตัวไหน ใหเขาไปที่ เมนู เพื่อดูวาหุนในแตละกลุมเกิดสัญญาณเตือน ซื้อหรือขายอะไรบาง ซึ่งเราสามารถเขาไปเลือกดูในแตละกลุมไดในสวนบนของ ตารางเครื่องหมายดังภาพ


เชนตองการดูหุนในกลุมธนาคาร ( BANK ) วาหุนแตละตัวเกิดสัญญาณอะไรบาง เมื่อ click “ BANK “ แลวก็จะแสดงตารางดังรูปที่ 5 ( ขอใหยอนกลับไปดูรูปที่ R5.) 5) วิเคราะหจังหวะซื้อ จากกราฟซึ่งโปรแกรมจะแสดงจังหวะซื้อดวยลูกศรชี้ขึ้น (มี ทั้งสีมวงและสีน้ําเงิน ) ซึ่งการวิเคราะหกราฟเปนหัวใจสําคัญของโปรแกรม RicherStock เพราะการทํากําไรของนักเลนหุนที่ใชโปรแกรมนี้จะสําเร็จหรือไม ขึ้นอยูกับการวิเคราะห และวินัยในการเลน 6) เมื่อซื้อหุนไดแลว และราคาหุนไดวิ่งขึ้นไปตามสัญญาณซื้อ ขั้นตอนตอไปใหถือ รอเพื่อขายตอไป 7) เมื่อเกิดสัญญาณขายที่แสดงดวยลูกศรชี้ลง (มีทั้งสีมวงและสีน้ําเงิน ) และยืนยัน การเกิดสัญญาณแลว ใหขายหุนตามสัญญาณ 8) รอรอบใหม หลังจากการขายหุนตัวนั้นแลว ใหรอราคาปรับตัวลงเพื่อเกิด สัญญาณซื้อตอไปในรอบหนา หรือหากตองการเลนอื่นตัวอื่นๆ ก็ใหใชบวนการ ตั้งแตขอ 2 เปนตนมา


การวิเคราะหกราฟหุน และวิธีการเลนหุนใหปลอดภัย

A.) กรณีการซื้อหุน ขั้นตอนที่1(STEP-1) เมื่อกราฟเกิดสัญญาณซื้อ ( ลูกศรชี้ขึ้น ) ใหเขาซื้อ 50% ของ PORT


รูปที่ A-1 : แสดงการเกิดสัญญาณซื้อที่ตําแหนง A จากรูปที่ A-1 ที่ตําแหนง A เกิดสัญญาณลูกศรชี้ขึ้น ซึ่งเปนการเตือนใหทราบวา ณ จุดนี้เริ่มที่จะเปนจังหวะที่เหมาะสมในการเขาซื้อ ใหเราแบงเงินลงทุน 50% ของ port เพื่อ เขาซื้อหุนตัวนั้นๆ ในที่นี้จะยกตัวอยางวาเรามีเงินลงทุน 100,000 บาท ดังนั้นในวันนี้เราจะ แบงเงินลงทุนออกมา 50,000 บาทเพื่อซื้อหุน

ขั้นตอนที่ 2 ( STEP-2) ดูราคา Bid-Offer ในวันถัดไป ถาราคาปรับขึน้ ใหซื้อ เพิ่ม 50% ของ PORT

รูปที่ A-2 : แสดงราคาหุนของวันที่ถัดจากวันเกิดสัญญาณซื้อ


จากรูปที่ A-2 หลังจากผานวันที่เกิดสัญญาณซื้อ ณ จุด A มาแลว ในวันถัดมาใหดู ราคา เสนอซื้อ เสนอขาย ( BID-OFFER ) ถาราคาหุนมีแนวโนมสูงกวาจุด A เราก็สามารถ ซื้อหุนเพิ่มขึ้นไดอีก 50% ของ port ในสวนที่เหลือ ทําใหการลงทุนในหุนตัวนี้ครบ 100% ของ port

ขั้นตอนที3่ ( STEP-3) ถาราคาวิ่งขึ้นตอไปปลอยใหราคาวิ่ง แตถาราคาวิ่งลง เกินกวา 3-4% ให cut loss

รุปที่ A-3 : แสดงราคาหุนไมไดเปนไปตามสัญญาณซื้อ


จากรูปที่ A-3 ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนที่สําคัญขั้นตอนหนึ่ง เพราะมันเปนขั้นตอนที่ ทดสอบวินัยของเรา ถาราคาหุนไมเปนไปตามสัญญาณ ซึ่งแทนที่จะวิ่งขึ้น ราคากลับวิ่ง เรา ตองตัดสินใจขายเมื่อราคาวิ่งลงต่ํากวาระดับ cut loss ที่เราตั้งไวโดยสวนใหญจะตั้งไวที่ 34% เมื่อกราฟเกิดลงมาที่ ตําแหนง C ซึ่งเปนวันที่ราคาหุนวิ่งลงกวาราคาที่เราซื้อ อีกทั้ง สัญญาณซื้อหรือลูกศรชี้ขึ้นก็หายไป ( ขอเท็จจริงที่สัญญาณหายไป ขอใหดูรายละเอียดใน หัวหนาถัดๆไป ) เราตองรักษาวินัยในการเลนหุนหรือลงทุน โดยตั้งขาย cutloss ทันที

ขั้นตอนที่ 4 ( STEP-4) รอความชัดเจน


รูปที่ A-4: แสดงราคาหุนยังลงตอเนื่อง จากรูปที่ A-4 ราคาหุนยังคงวิ่งลงตอเนื่องที่ตําแหนง D ซึ่งตองรอใหเกิดสัญญาณซื้อ อีกครั้ง มาถึง ณ วันนี้เราขาดทุนไปแลว 3,000 บาท จากเงินลงทุนที่มีคือ 100,000 บาท

ขั้นตอนที่ 5 ( STEP-5 ) รอใหเกิดสัญญาณซื้ออีกครั้ง

จากรูปที่ A-5 : เกิดสัญญาณซื้ออีกครั้ง


จากรูปที่ A.5 ไดเกิดสัญลักษณลูกศรซื้อ หรือสัญญาณซื้อที่จุด E ซึ่งเปนสัญญาณ เตือนใหซื้ออีกครั้ง ขั้นตอนการปฏิบัติก็ใหใชเหมือนกับขั้นตอนที่ 1 ( STEP-1) โดยซื้อหุนดวย เงินทุน 50% ของ port

ขั้นตอนที่ 6 ( STEP-6) ซื้อหุนเพิ่มอีก 50% ของ PORT

รูปที่ A-6: แสดงราคาหุนของวันที่ถัดจากวันเกิดสัญญาณซื้อ


จากรูปที่ A-6 หลังจากผานวันที่เกิดสัญญาณซื้อ ณ จุด E มาแลว ในวันถัดมาใหดู ราคา เสนอซื้อ เสนอขาย ( BID-OFFER ) ถาราคาหุนมีแนวโนมสูงกวาจุด E ใหซื้อหุนเพิ่ม อีก 50% ของ port

ขั้นตอนที่ 7 ( STEP-7) รอสัญญาณขาย

รูปที่ A-7: แสดงราคาหุนยังคงวิ่งขึ้นตอเนื่อง


จากรูปที่ A.7 หลังจากที่ไดซื้อหุนครบ 100% ของ port แลว ขั้นตอนนี้ใหรอสัญญาณ ขายที่จะเกิดขึ้น เพื่อตัดสินใจขายตอไป

รูปที่ A-8: แสดงราคาหุนไดวิ่งขึ้นตอเนื่องจากวันที่เขาซื้อ


พิจารณารูปที่ A-8 มาถึงเวลานี้ราคาไดวิ่งขึ้นไปกวา 10% จากจุดซื้อโดยยังไมเกิด สัญญาณขาย หากคํานวณผลตอบแทนตอนี้ ปรากฎวาไดผลตอบแทนเทากับ 103%= 7%

B.) กรณีการขายหุน

ขั้นตอนการขายก็มีลักษณะเดียวกันกับ ขั้นตอนการซื้อหุน คือใหรอสัญญาณ ขายเกิดขึ้น และตัดขายไปกอน 50% และในวันถัดไปหากราคาเปดต่ํากวาราคาเมื่อ วานนี้ ก็สามารถตัดสินใจขายสวนที่เหลือได การขายหุ น บางครั้ ง อาจจะไม ต อ งรอสั ญญาณขายให เ กิ ด ขึ้ น เนื่ อ งจาก ผลตอบแทนที่ไดรับเปนที่นาพอใจก็สามารถขายได แตการขึ้นเครื่องหมายในกราฟไม วาจังหวะซื้อ หรือจังหวะขาย เปนชวงเวลาที่เหมาะสมในขณะนั้น เนื่องจากเปนการ คํานวณเรื่องความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น


เทคนิคเสริมการดูกราฟ

1.) ถาเปนไปได เลนหุนชวงที่เปน Bullish State ดีกวา Bearish State

รูปที่ C-1: แสดง Bullish State และ Bearish State การเลนหุนถาเปนไปไดใหเลนหุนชวงตลาดขาขึน้ ( Bullish Sate ) ดีกวาชวงที่เปน ตลาดขาลง ( Bearish State ) เพราะจะทําใหไดอัตราผลตอบแทนดีกวา โดยที่ราคาหุนที่ จังหวะขายลูกศรชี้ลงจะวิ่งหางจากราคาที่จังหวะซื้อลูกศรชี้ขึ้นมากกวา ดังนั้นวิธีการสังเกต วา ชวงไหนเปน Bull ชวงไหนเปน Bear ใหสังเกตดังนี้


Bullish State · ดูที่กราฟหุน โดยราคาหุนวิ่งอยูเหนือเสน moving average ทั้ง 3 เสน ( เสนสีมวง สีน้ําเงิน สีแดง ) · ดูที่ MACD โดยเสนกราฟ MACD จะอยูเหนือเสนศูนย

Bearish State

· ดูที่กราฟหุน โดยราคาหุนวิ่งอยูใตเสน moving average ทั้ง 3 เสน ( เสนสีมวง สี น้ําเงิน สีแดง ) · ดูที่ MACD โดยเสนกราฟ MACD จะอยูใตเสนศูนย

2) ยืนยันลูกศรซื้อดวย RSI

รูปที่ C2: แสดงจุดซื้อที่ใช RSI ประกอบการยืนยัน


จากรูปที่ C2 เมื่อสัญญาณซื้อเกิดขึ้น เราสามารถยืนยันจุดซื้อดวย RSI ได โดยดูที่ RSI เสนสีดําวิ่งอยูในแดน oversold และถาเสนสีดําตัดผานเสนสีขาวไปในทิศทางขึ้น ก็จะ ทําใหจุดซื้อมีความมั่นใจมากยิ่งขึ้น

3 ) ยืนยันลูกศรขายดวย RSI

รูปที่ C3: แสดงจุดขายที่ใช RSI ประกอบการยืนยัน


จากรูปที่ C3 เมื่อสัญญาณขายเกิดขึ้น เราสามารถยืนยันจุดขายดวย RSI ได โดยดูที่ RSI เสนสีดําวิ่งอยูในแดน overbought และถาเสนสีดําตัดผานเสนสีขาวไปในทิศทาง ก็จะ ทําใหจุดขายมีความมั่นใจมากยิ่งขึ้น

4 ) ยืนยันลูกศรซื้อดวย STOCHASTICS

รูปที่ C4: แสดงจุดซื้อที่ใช STOCHASTICS ประกอบการยืนยัน จากรูปที่ C4 เมื่อสัญญาณซื้อเกิดขึ้น เราสามารถยืนยันจุดซื้อดวย STOCHASTICS ได โดยดูที่ STOCHASTICS เสนสีดําวิ่งอยูในแดน oversold และถาเสนสีดําตัดผานเสนสี ขาวไปในทิศทางขึ้น ก็จะทําใหจุดซื้อมีความมั่นใจมากยิ่งขึ้น


5 ) ยืนยันลูกศรขายดวย STOCHASTICS

รูปที่ C5: แสดงจุดขายที่ใช STOCHASTICS ประกอบการยืนยัน จากรูปที่ C5 เมื่อสัญญาณขายเกิดขึ้น เราสามารถยืนยันจุดขายดวย STOCHASTICS ได โดยดูที่ STOCHASTICS เสนสีดําวิ่งอยูในแดน overbought และถา เสนสีดําตัดผานเสนสีขาวไปในทิศทาง ก็จะทําใหจุดขายมีความมั่นใจมากยิ่งขึ้น


6) หลีกเลี่ยงหุนที่ไมมี PATTERN

ควรหลีกเลี่ยงหุนที่มีลักษณะกราฟดังรูปขางลางนี้ เนื่องจากราคาหุนไมมี pattern ไม ตอเนื่อง กาวกระโดด ยากตอการวิเคราะหแนวโนม


ฟงกชั่นคนหาหุน

ฟงกชั่นคนหาหุน เปนฟงกชั่นที่อํา นวยความสะดวกสําหรับสมาชิก ที่ตองการคนหา หุนตามเงื่อนไขที่เรากําหนด ทั้งนี้เพื่อประโยชนในการเลือกหุน ซื้อหุน เปนการสั่งใหโปรแกรม คัดกรองหุนออกมาเพื่อเขาซื้อหรือขายไดทันทวงที เชนกรณีที่ตองการหาหุนเพือ่ ซื้อ ใหเรา tick เครื่องหมายหนาลูกศรชี้ขึ้น ทั้งสีชมพูหรือ สีน้ําเงิน หรืออยางใดอยางหนึ่งก็ได และถาตองการกรองหุนที่มีการซื้อขายมากพอสมควร ก็ ระบุ value การซื้อขายเขาไปพรอมกันเชน กําหนด value 20 ลานบาท จะไดรายการตัวอยาง ดานลางนี้


จะเห็นไดวาโปรแกรมจะคนหาหุนที่เกิด buy signal ทั้งระยะสั้นและกลาง เปนการอํานวย ความสะดวกในการคัดกรองหุนที่เราจะเขาซื้อได


สามเหลี่ยมกลวงและเสนประ

สามเหลี่ยมกลวงและเสนประคืออะไร โปรแกรม richerstock ใชหลักการคํานวนโดยอาศัย fibonacci และ elliot wave ดังนั้นระดับ เสนประที่เกิดขึ้น จึงเปนระดับทีสอดคลองกับตัวเลข fibonacci นั่นเอง เราจะใชเสนประที่ เกิ ด ขึ้ น เป น แนว support และ resistant สํ า หรั บ หาจั ง หวะซื้ อ และจั ง หวะขาย


PTT

จากกราฟจะพบวามีเสนประที่ระดับ A,B,C และในวันที่ 13 มิย.50 ราคาหุน PTT ปรับตัวลดลงเกิดเปน black candle ลงมาปดและนั่งบนเสนประระดับ A เทคนิคการใช เสนประคือ เมื่อวันที่ 13 ราคาหุน เปดเปน gap ลงและเราจะรูไดอยางไรวาจะลงไปถึงไหน เราก็จะใชเสนประระดับ A เปนแนวรับตรงจุดนี้เรามีวิธีคิดอยางไร.......????? ถาในวันถัดมา สภาวะตลาดไมอํานวยและคาดวาราคาหุน PTT นาจะลงตอ เราก็จะใชเสนประระดับ B เปน เสนแนวรับถัดไปแตถาในวันถัดมาสภาวะตลาดมีแรงซื้อและปริมาณการซื้อขายมาก เสนประระดับ A จะเปนแนว support ที่ strong นั่นหมายถึงเปนจังหวะที่เราสามารถเขาซื้อ ได


PTTEP เมื่อวันที่ 13 มิย 50 ราคาหุน PTTEP ก็ปรับตัวลดลงเชนกันโดยในวันนี้เอง PTTEP ฟอรมตัว เปน black candle ที่ราคาปดลดลงมานั่งอยูบนเสนประระดับ A พอดี ตรงจุดนี้ เราสามารถ พิจารณาและวิเคราะหตอไปได 2 แนวทางคือ 1. ถาราคาหุนยังปรับตัวลดลงตอเนื่อง เราก็จะรอใหราคาปรับตัวลดลงมาที่ระดับ B กอน หรือถัดไปที่ระดับ C ตอไป 2. ถาราคาหุน ไมเลวรายและไมลดลงทะลุผานเสนประระดับ A เราก็จะใชเสนประระดับ A เปนแนวรับที่ strong และหาจังหวะเขาซื้อได


หุนตัวนี้เมื่อชวงวันที่ 11 -12 มิย 50 ราคาหุนก็ยังย่ําอยูในแถบเสนประระดับ B ซึ่ง เปนบริเวณที่เกิดเสนประถึง 3 เสน ซึ่งก็นาจะเปนแนว support ที่ strong พอที่จะดันหุนขึ้น ไปไดนะ แตปรากฏวาวันที่ 13 มิย 50 เกิดอาการ panic จึงทําใหหุนหลายฯตัว พรอมใจกัน ปรับลดกันถวนหนา ราคาหุนในวันที่ 13 มิย 50 ของ LH ก็ปรับลดลงมา ที่แนวรับระดับ C โดยเราสามารถ พิจารณายอนหลังไปเพื่อหาแนวเสนประเพื่อกําหนดเปนแนว support ได ในขณะที่ราคาหุน LH เกิด เปน black candle ลงมา เราจะวิ เคราะหว าราคาจะลงมาได ที่ระดั บไหน เราก็ ยอนหลังไปหาแนวเสนประไดระดับ C


TTA

การใชเสนประเพื่อกําหนดแนว support หรือ resistant นั้น ไมจําเปนตองกําหนดคา ใหถูกตอง 100% เราสามารถใชระดับเสนประนั้นฯ เผื่อ คาบวก/ลบ ได หมายถึงพิจารณา เสนประเปนคายืดหยุนเพื่อหาแนวระดับ support / resistant จากกราฟหุน TTA เมื่อวันที่ 12 มิย 50 ราคาหุน TTA ปรับตัวลดลงเกิดรูปแบบ black candle โดยมีราคา low ของวันนั้น ลง มานั่งบนเสนประระดับ A พอดี และในวันถัดมาคือวันที่ 13 มิย 50 กราฟหุนเกิดรูปแบบ doji ซึ่งมีราคาเปดและราคาปดเทากัน และอยูต่ํากวา ระดับเสนประ A ลงมาเล็กนอย ก็ยังนับได ระดับเสนประ A สามารถเปนแนว support ไดเชนกัน


แลวเราจะวิเคราะหอยางไรตอไป ???????

ถาในวันถัดมาราคาหุนสามารถปรับตัวขึ้นไปอยูเหนือเสนประ A ได แสดงวา ระดับนี้ นาจะ strong และก็หาจังหวะเขาซื้อหุนได แตถาในวันถัดมาราคาหุนยังขาด volume ก็จะมี ผลทําใหราคาหุนของ TTA ปรับตัวลดลงตอเนื่องได เราจะใชเสนประระดับ B และ ระดับ C ถัดลงมาเปนแนว support ตอไป

หลังจากที่ราคาหุนของ PTT ปรับตัวลดลงเมื่อวันที่ 13 มิย 50 และราคาปดลงมา นั่งบนเสนประระดับ A หลังจากนั้น วันที่ 14,15,18 ราคาหุน PTT ก็ทะยานขึ้นไปเขาหาแดน เสนประระดับ T จุดที่นาพิจารณาคือ เสนประระดับ T เราจะใชเปนระดับแนวตาน resistant แทนการเปนแนวรับ support โดยพิจารณาวา ถาราคาหุน PTTสามารถทะลุระดับนี้ไปได เรา จะปลอยใหมันวิ่งไปกอน แลวคอยพิจารณา หาจังหวะขายตอไป


พิจารณาหุน PTTEP หลังวันที่ 13 มิย 50 หลั ง จากที่ ราคาหุ น PTTEP ได ป รั บ ตั ว ลดลงและราคาป ด นั่ ง บนเส นประระดั บ A ปรากฏวาในวันถัดมา คือวันที่ 14,15,18 ราคาหุนไดปรับตัวเพิ่มขึ้นตอเนื่อง และแทงกราฟ ของวันที่ 18 มิย 50 มีจุดที่นาสังเกตคือ ราคา high ของวันนี้ปรับตัวเพิ่มขึ้นมาและชนกับ เสนประระดัย T พอดี ซึ่งเสนประระดับ T นี้เอง จะทําตัวเปนแนวตาน resistant


สิ่งที่ตองทําตอไปคืออะไร ???? ราคาหุนในวันที่ 18 ขึ้นมาชนแนวตานเสนประ T เราตองติดตามใกลชิดวา ในวัน ถัดไป (19 มิย 50) ราคาหุนสามารถที่จะ break out ขึ้นไปไดอกี หรือไม ถา breakt ได เราจะ ใช breaking out method เพื่อหาราคา target price ในการขาย แตถาราคาหุน วิ่งเรียบฯ เสนประ และดวยvolume ในการซื้อขาย ที่ถดถอย ตรงจุดนี้ เราตองพิจารณาหาจังหวะขาย โดยอาจจะขายทั้งหมด หรือ ทยอยขายก็ได

สําหรับหุน LH มีเพิ่มเติมรายละเอียดเล็กนอยคือ ราคาหุนของวันที่ 18 มิย 50 ได ปรับตัวเพิ่มขึ้น และฟอรมตัวเปนwhite candle โดยที่ราคา high ไดทะลุแนวเสนประ B และ A ขึ้นมาได


แลวมันจะไปหยุด ที่ระดับแนวตานที่ไหน??

รูปดานซายมือ นี้เปนกราฟราคาหุนของ LH โดยที่เราปรั บระยะเวลาถอยกลับไป 1 ป เราจะพบวา ชวงเดือนประมาณ Jul-Aug ที่ผานมาเกิดเสนประแนวตานระดับประมาณ 7.00 พอดี ควรทําอยางไรตอไป ??? ลักษณะนี้แ สดงว าในวัน ถัด ไป ต องพิจ ารณาอยา งใกล ชิด ถาราคาหุ นถดถอยดว ย volume และหรื อ ราคาหุ น เกิ ด อาการลั ง เล โดยเราจะใช ค วามรู เ รื่ อ ง candlestick pattern ชวยในการพิจารณา ถาราคาหุนไมผานระดับนี้ ก็ควรหาจังหวะทยอยขาย หรือขาย


บางสวน .......แตถาวันถั ดไปมี volume และราคาหุ นยังเดินหนาตอไป เราก็ใชเสนประ ระดับถัดขึ้นไป ซึ่งก็คือระดับ T เปนแนวตานเพื่อทดสอบวาจะผานหรือไมผาน...ตอไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.