คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
31 มกราคม 2556
สารบัญ 1. บทนา........................................................................................................................................................... 3 2. แนวทางการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานต่อสภาวะวิกฤต .................................................................... 5 2.1 แนวทางการตอบสนองต่อสภาวะวิกฤต .......................................................................................... 5 2.2 แนวทางการบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Management)...................................... 7 3. การพัฒนาแผนความต่อเนื่อง .................................................................................................................... 11 3.1 การทาความเข้าใจองค์กร ............................................................................................................. 11 3 2.การกาหนดกลยุทธ์ในการสร้างความต่อเนื่อง ................................................................................ 17 3 3.การจัดทาแผนความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan - BCP) ................................................ 20 ภาคผนวก ก. ตัวอย่างแผนความต่อเนื่องของหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์…………………………………………………………………………………………………………………..……………..ก-1 ภาคผนวก ข. ตัวอย่างแผนความต่อเนื่องของฝ่ายบริหารทั่วไปของสานักงานปศุสัตว์จังหวัด จังหวัดฉะเชิงเทรา …………………………………………………………………………………………………….……………….…….ข-1
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
2
1. บทนา จากการทีป่ ระเทศไทยเผชิญกับสถานการณ์อุทกภัยรุนแรง ในช่วงระหว่างเดือนกันยายน – เดือน ธันวาคม 2554 ที่ผ่านมา ได้ พบว่า ระบบและกลไกของรัฐ หลายประการมีปัญหาโดยไม่สามารถดาเนิน ภารกิจในสภาวะวิกฤตได้อย่างมีประสิทธิภ าพ ส่ งผลให้การแก้ไขปัญ หาความเดือดร้อนของประชาชน เป็นไปโดยขาดระบบการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งสถานการณ์ที่เกิดขึ้นดังกล่าวเป็นบทเรียนอันสาคัญที่ทุก ส่วนราชการต้องนามาปรับกระบวนการทางานใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องการบริการประชาชน เพื่อให้ มั่นใจว่าภารกิจหลักของราชการหรืองานบริการประชาชนที่สาคัญ สามารถดาเนินงานหรือ ให้บริการได้ อย่างต่อเนื่องไม่สะดุดหยุดลงแม้ว่าจะประสบกับวิกฤตการณ์หรือภัยพิบัติต่าง ๆ โดยที่พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลั กเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 50 บัญญัติว่า “เพื่อให้การบริหารราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของ รัฐ โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี อาจกาหนดให้ส่วนราชการต้องปฏิบัติการใดนอกเหนือจากที่ กาหนดในราชกฤษฎีกานี้ รวมทั้งกาหนดมาตรการอื่นเพิ่มเติมจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา 48 และมาตรา 49 ก็ได้” ดังนั้ น อาศัย อานาจตามความในพระราชกฤษฎี กาดังกล่ าว ก.พ.ร. จึงได้เสนอแนวทางการ ดาเนินการเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต และมาตรการที่เกี่ยวข้องต่อคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อ วันที่ 24 เมษายน 2555 และคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบกรอบแนวทางดังกล่าว ซึ่งกาหนดให้ทุกส่วน ราชการทั้ ง ระดับ กรม จั งหวัด สถาบั น อุ ดมศึกษา องค์กรปกครองส่ ว นท้อ งถิ่ น องค์ การมหาชน และ รัฐ วิสาหกิจ ดาเนิ น การเพื่อสร้ างความพร้อมให้ แก่ห น่ว ยงานเมื่ออยู่ในสภาวะวิกฤต ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ (1) การสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับส่วนราชการ (2) การเตรียมความพร้อมของส่วนราชการ (3) การซักซ้อมแผนและนาไปปฏิบัติจริง และ (4) การส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน พร้อมทั้งมอบหมายให้ส านักงาน ก.พ.ร. เป็นหน่วยงานหลักดาเนินการเพื่อให้ระบบบริหาร จัดการของหน่วยงานของรัฐสามารถตอบสนองต่อปัญหาและแก้ไขความไม่มีประสิทธิภาพของกลไกของรัฐ ในการให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่องไม่สะดุดหยุดลงเมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต เพื่อให้เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี ดังกล่าวสานักงาน ก.พ.ร. จึงได้จัดทาโครงการบริหารความ พร้อมต่อสภาวะวิกฤตขึ้น เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกหน่วยงานของรัฐมีการจัดทาแผนรองรับการ ดาเนินภารกิจการให้บริการประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง (Business continuity plan) ในสภาวะวิกฤต และ สามารถนาไปปฏิบัติได้ โดยดาเนินการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการบริหารจัดการของหน่วยงานในหน่วยงาน นาร่องระดับกรมและจังหวัด อย่างละ 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลราชวิถี สังกัดกรมการแพทย์ คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
3
และจังหวัดฉะเชิงเทราในหน่วยงานสานักงานปศุสัตว์จังหวัด เพื่อเป็นกรณีศึกษาในการจัดทาคู่มือการ บริห ารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต ซึ่งจะเป็นแนวทางและแผนการดาเนินการเตรียมความพร้อมของ หน่วยงานในสถานการณ์วิกฤตต่าง ๆ เพื่อ ช่วยลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และทาให้ไม่สามารถให้บริการ ประชาชนได้อย่างต่อเนื่อง โดยคู่มือดังกล่าวจะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนแรก เป็นแนวทางการ ดาเนินการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานต่อสภาวะวิกฤต ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานสากล BS25999 Business Continuity Management และส่วนที่สอง (ภาคผนวก) เป็นแนวทางในการพัฒนาแผนความ ต่อเนื่อง ที่ได้นาไปนาร่อง กับหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ และสานักงานปศุ สัตว์จังหวัดจังหวัดฉะเชิงเทรา ภายใต้โครงการการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต พร้อมตัวอย่างแผน ความต่อเนื่องของทั้งสองหน่วยงาน เพื่อให้ทุกส่วนราชการนาไปใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อม และสามารถบริ ห ารจั ด การองค์ ก ารให้ ส ามารถปฏิ บั ติง านให้ บ ริ การประชาชนในงานบริก ารหลั ก ที่ มี ความสาคัญได้อย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ แม้ประสบสถานการณ์วิกฤต อันจะส่งผลต่อการสร้างความ เชื่อมั่นในระบบการให้บริการของรัฐ ดังนั้น คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต จะเป็นประโยชน์ ที่ช่วยให้ทุกหน่วยงานของ รัฐมีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการบริหารจัดการองค์การเพื่อเตรียมความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต ทาให้ งานบริการประชาชนหรือภารกิจหลักที่สาคัญ ของหน่วยงานสามารถดาเนินการไปได้ อย่างต่อเนื่อง เป็น ระบบ และมีประสิทธิภาพ
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
4
2. แนวทางการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานต่อสภาวะวิกฤต การบริหารจัดการองค์การในสภาวะวิกฤต/เหตุการณ์ฉุกเฉิน /สถานการณ์ภัยพิบัติ โดยทั่วไปจะ แบ่งวัฎจักรการบริหารจัดการออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังรูปที่ 1 คือ 1) การป้องกันและลดผลกระทบ 2) การ เตรียมพร้อมรับภัย 3) การจัดการในภาวะฉุกฉิน และ 4) การจัดการหลังเกิดภัย วัฎจักรการบริหารจัดการในสภาวะวิกฤต 1) การป้ อ งกั น และลด 2) การเตรียมพร้อมรับภัย ผลกระทบ
4) การจัดการหลังเกิดภัย
3) การจัดการในภาวะฉุกเฉิน
รูปที่ 1 วัฎจักรการบริหารจัดการในสภาวะวิกฤต 2.1
แนวทางการตอบสนองต่อสภาวะวิกฤต
สาหรับแนวคิดการบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานควรเน้นการควบคุมดูแล และป้องกันทรัพยากรที่สาคัญต่อการดาเนินงานหรือให้บริการ เพื่อสร้างประโยชน์สูงสุดสาหรับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยหากการควบคุมภายในที่มีอยู่ ไม่สามารถควบคุมดูแลและป้องกันได้ทั้งหมด เมื่อเกิดอุบัติการณ์ขึ้น ระดับการดาเนินงานหรือให้บริการของหน่วยงานจะลดลง ดังนั้น บทบาทหน้าที่ของ หน่วยงานภาครัฐ คือต้องรีบดาเนินการให้ระดับการดาเนินงานหรือให้บริการกลับมาในระดับที่เหมือนภาวะ ปกติซึ่งจาเป็นต้องใช้เวลา ซึ่งอาจแยกได้เป็น 1) ภายในช่ ว งระยะเวลาแรก จะเป็ น ช่ ว งของการตอบสนองต่ อ อุ บั ติ ก ารณ์ (Incident/ Emergency Management) อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่เหตุการณ์และความเสียหายขยายตัวไปในวงกว้าง การตอบสนองอาจจาเป็นต้องยกระดับเป็นการบริหารจัดการวิกฤต (Crisis Management) 2) ภายหลังจากนั้น จะเป็นช่วงของการทาให้เกิดความต่อเนื่องของกระบวนการทางธุรกิจ (Continuity Management) เพื่อให้หน่วยงานสามารถกลับมาดาเนินงานได้ ซึ่งแยกเป็น 2 ระดับ
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
5
(1) ดาเนินงานหรือให้บริการได้ในระดับที่องค์กรยอมรับกับผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดภายในระยะอันสั้น (2) กลั บ มาให้ บ ริ ก ารได้ ใ นระดั บ ปกติ ต ามระยะเวลาที่ ก าหนด ในช่ ว งการด าเนิ น การกอบกู้ กระบวนการทางธุรกิจ (Recovery) ดังแสดงตามรูปที่ 2.1
รูปที่ 2 - แนวคิดการบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ ที่มา: ISO PAS 22399-2007 Social Security – Guideline for incident preparedness and operational continuity management
สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ หากเกิดขึ้น อาจส่งผลกระทบให้หน่วยงานไม่สามารถ ดาเนินงานหรือให้บริการได้ตามปกติ ดังนั้น จึงเป็นความจาเป็นที่หน่วยงานต้องจัดทาแผนความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan - BCP) เพื่อเตรียมพร้อมรับภัย ซึ่งการเตรียมความพร้อมจะให้ความสาคัญใน กระบวนการเตรี ย มความพร้ อมของทรั พยากรและความรู้ความเข้า ใจในบทบาทความรับผิ ดชอบของ เจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง ซึง่ วัตถุประสงค์ (Objectives) ของการจัดทาแผนความต่อเนื่องมีดงั นี้ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องของการปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤต เพื่อให้หน่วยงานมีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้าในการรับมือกับสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ ฉุกเฉินต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการดาเนินงาน เช่น ผลกระทบด้านเศรษฐกิจการเงิน การให้บริการ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เป็นต้น เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
6
2.2
แนวทางการบริหารความต่อเนื่อง (Business Continuity Management)
ปัจจุบัน มีหลากหลายแนวทางและมาตรฐานในการบริหารความต่อเนื่อง โดยแนวทางที่ได้รับการ ใช้อย่างแพร่หลายคือ BS25999 ซึ่งกาหนดให้มี 6 องค์ประกอบหลักเป็นวงจรการบริหารความต่อเนื่อง (BCM Life Cycle) ทั้งนี้ องค์กรหรือหน่วยงานสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ โดยขอบเขตวิธีการบริหาร จัดการ และทรัพยากรที่ต้องใช้ใน BCM ของแต่ละองค์กรอาจแตกต่างกันไปตามขนาด ประเภทภารกิจ และทรัพยากรที่ใช้งาน ดังนี้
2.2.1 การบริหารโครงการจัดการความต่อเนื่อง (BCM Programme Management) โครงการจัดการความต่อเนื่อง ถือว่าเป็นองค์ประกอบหลักและเป็นขั้นตอนแรกของการบริหาร ความต่อเนื่อง โดยเป็นขั้นตอนการจัดทากรอบนโยบาย BCM โครงสร้าง BCM หน้าที่และความรับผิดชอบ ของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูงลงมาถึงพนักงานระดับต่างๆ รวมถึงการจัดตั้งทีมงานด้าน BCM การกาหนดตัวชี้วัดผลการดาเนินงานของพนักงาน ขั้นตอนการปรับระดับของเหตุการณ์ (Incident Escalation Process) วิธีการบริหารโครงการบริหารความต่อเนื่อง และการติดตามพร้อมทั้งรายงานความ คืบหน้า 2.2.2 การศึกษาและทาเข้าใจองค์กร (Understanding the Organization) การเข้าใจองค์กรเป็นกระบวนการทาความรู้จักกับองค์กรและหน่วยงาน ซึ่งหมายถึงความรู้และ เข้าใจในสภาพและการดาเนินงานขององค์กรและหน่วยงานว่า จะรับผลกระทบหรือความเสี่ยงอย่างไร ผ่านวิธีการวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis – BIA) และ การประเมินความ คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
7
เสี่ยง (Risk Assessment - RA) เพื่อระบุความเร่งด่วนของกิจกรรมต่างๆ และระดับความสามารถที่ ต้องการ เพื่อนาไปเป็นข้อมูลในการจัดระดับความสาคัญของกระบวนงาน การกาหนดแนวทาง และการ กาหนดกลยุทธ์ในข้อต่อไป 2.2.3 การกาหนดกลยุทธ์ในการสร้างความต่อเนื่อง BCM (Determining BCM strategy) การกาหนดแนวทางในการตอบสนองต่อการหยุดชะงักของการดาเนินงานขององค์กร ได้แก่ กลยุทธ์กู้คืนการดาเนินงาน (Recovery Strategy) ซึ่งเป็นขั้นตอนที่ต้องจัดทาก่อนการพัฒนาและ เตรียมการตอบสนองต่อเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉิน และการกาหนดกลยุทธ์ด้านการจัดการทรัพยากรที่ เหมาะสม ตามข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (BIA) ซึ่งประกอบด้วยเรื่อง บุคลากร (People) สถานที่ปฏิบัติงาน (Premise) อุปกรณ์และเครื่องมือ (Equipment) เทคโนโลยี (Technology) ข้อมูล (Information) และผู้ผลิตสินค้าหรือผู้ให้บริการ (Suppliers) 2.2.4 การพั ฒ นาและเตรี ย มการตอบสนองต่อ เหตุก ารณ์ ในภาวะฉุ กเฉิน Implementing BCM Response)
(Developing
and
หลักจากที่ได้มีการกาหนดกลยุทธ์เรียบร้อยแล้ว จะต้องจัดทาแผนงานเตรียมตอบสนองต่อภาวะ ฉุกเฉิน โดยให้เป็นไปตามกรอบยุทธศาสตร์ที่กาหนดไว้ ดังต่อไปนี้ Incident Management Plans (IMP) เพื่อจัดการกับวิกฤติฉุกเฉินที่เกิดขึ้น Emergency/ Crisi Management Plan (CMP) เพื่อจัดการกับวิกฤติฉุกเฉินที่เกิดขึ้น และ ผลกระทบขยายไปในวงกว้าง Business Continuity Plans (BCP) เพื่อบริหารการดาเนินภารกิจอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งทา ขั้นตอนงานที่ฉุกเฉินต่อภารกิจและใช้ทรัพยากรหลักอย่างเหมาะสม พร้อมทั้งเตรียมแผนรับ สถานการณ์ที่ส่งผลกระทบ Recovery Plans (RP) หรือแผนกู้คืนภารกิจหลังภัยพิบัติผ่านพ้นไป 2.2.5 การทดสอบ ปรับปรุง และทบทวนแผน (Exercising Maintaining and Reviewing) เป็นขั้นตอนที่สาคัญ เนื่องจากเป็นกระบวนการที่ทาให้แน่ใจได้ว่า BCM ที่ได้จัดทาขึ้นสามารถใช้ได้ จริง รวมทั้งเพื่อเตรียมความพร้อม ตลอดจนตรวจสอบความสามารถของบุคลากร และประสิทธิภาพของ แผนในการตอบสนองต่อวิกฤติการณ์ โดยรูปแบบการทดสอบอาจมีตั้งแต่ระดับง่ายไปหายาก ดังนี้ Call Tree คือการซ้อมการแจ้งเหตุฉุกเฉินให้กับสมาชิกทีมงานที่เกี่ยวข้องตามผัง รายชื่อทางโทรศัพท์
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
8
Tabletop Testing คือการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับทุกหน่วยที่เกี่ยวข้อง โดย จาลองโจทย์สถานการณ์ขึ้นมา และลองนาแผน BCP มาพิจารณาว่า ใช้ตอบโจทย์แต่ละ ขั้นตอนได้หรือไม่ Simulation คือการทดสอบโดยจาลองสถานการณ์เสมือนจริง และลองใช้แผน BCP มา ประยุกต์ใช้ Full BCP Exercise คือการทดสอบเต็มรูปแบบและใกล้เคียงสถานการณ์จริงมากที่สุด 2.2.6 การปลูกฝัง BCM ให้เป็ นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร (Embedding BCM in the Organisation’s Culture) เป็นขั้นตอนที่สาคัญประการหนึ่งในการทาให้ BCM ผสมกลมกลืนเข้าจนเป็นวัฒนธรรมองค์กร โดยเป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาและจิตวิทยาที่จะทาให้ เจ้าหน้าที่ทุกคนได้ซึมซาบและเข้าใจถึงความสาคัญของ BCM ตลอดจนบทบาทหน้าที่ที่ทุกคนพึงมีเพื่อให้ภารกิจสามารถดาเนินต่อไปได้ในยามที่เกิดเหตุวิกฤต จากแนวทาง BS25999 ที่ได้กล่าวสรุปข้างต้น หน่วยงานภาครัฐ สามารถพิจารณากาหนดกลุ่ ม ผู้รับผิดชอบและโครงสร้างโครงการจัดการความต่อเนื่องได้ ดังนี้ ขั้นตอนตามแนวทาง ผู้รับผิดชอบ BS25999 1) บริหารโครงการจัดการความ ผู้บริหารหน่วยงาน ต่อเนื่อง ผู้ บ ริ ห ารฝ่ า ยงาน/ ส่ ว นงาน ต่างๆ ผู้จัดการและทีมงานโครงการฯ 2) ศึกษาและทาเข้าใจองค์กร ผู้จัดการและทีมงานโครงการฯ ผู้ บ ริ ห ารฝ่ า ยงาน/ ส่ ว นงาน ต่างๆ
3) กาหนดกลยุทธ์ BCM
หมายเหตุ
ผู้บริหารหน่วยงาน หารือกับผู้บริหารฝ่ายงาน/ ส่วนงานต่าง และกาหนดโครงสร้าง ผู้จัดการ และทีมงาน รวมถึงบทบาทความรับผิดชอบใน โครงการจัดการความต่อเนื่อง ผู้จัดการและทีมโครงการจัดการความต่อเนื่อง ร่วมกับผู้บริหารฝ่ายงาน/ส่วนงานต่างๆ ทาการศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (BIA) การประเมินความเสี่ยง/ภัยคุกคาม และ กาหนดแนวทางเลือก ผู้จัดการและทีมโครงการจัดการความต่อเนื่อง ผู้บริหารหน่วยงาน ผู้บริหารฝ่ายงาน/ส่วนงานต่างๆ หารือร่วมกับผู้บริหารฝ่ายงาน/ส่วนงานต่างๆ ผู้จัดการและทีมงานโครงการฯ และกาหนดแนวทาง/กลยุทธ์ นาเสนอต่อ ผู้บริหารหน่วยงานพิจารณาและอนุมัติ
4) พั ฒ น า แ ล ะ เ ต รี ย ม ก า ร ผู้จัดการและทีมงานโครงการฯ ผู้จัดการและทีมโครงการจัดการความต่อเนื่อง ตอบสนองต่ อ เหตุ ก ารณ์ ใ น ร่วมกับตัวแทนจากฝ่ายงาน/ส่วนงานต่างๆ ฝ่ายงาน/ ส่วนงานต่างๆ ภาวะฉุกเฉิน พัฒนาและจัดทาแผนการตอบสนองต่อ เหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉินและแผนความ ต่อเนื่อง คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
9
5) การทดสอบ ปรับปรุ ง และ ผู้จัดการและทีมงานโครงการฯ ผู้จัดการและทีมโครงการจัดการความต่อเนื่อง ทบทวนแผน ร่วมกับผู้บริหารและตัวแทนจากฝ่ายงาน/ส่วน ผู้บริหารและ ตัวแทนฝ่ายงาน/ ส่วนงานต่างๆ งานต่าง ดาเนินการทดสอบแผนทีไ่ ด้มีการ จัดทาขึ้น 6) ปลูกฝัง BCM ให้เป็นส่วน ผู้บริหารของหน่วยงาน ผู้จัดการและทีมโครงการจัดการความต่อเนื่อง หนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร ผู้ บ ริ ห ารฝ่ า ยงาน/ ส่ ว นงาน ร่วมกับผู้บริหารและตัวแทนจากฝ่ายงาน/ส่วน งานต่างๆ นาเสนอแนวทางการปลูกฝัง BCM ต่างๆ แก่ผู้บริหารหน่วยงานนาไปปฏิบตั ิ
นอกจากแนวทาง BS25999 ที่ได้กล่าวสรุปข้างต้น ยังมีมาตรฐาน ISO22310 และ มอก. 22310 ที่หน่วยงานสามารถพิจารณาและประยุกต์ใช้ ในการบริหารจัดการและพัฒนาความต่อเนื่องได้
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
10
3. การพัฒนาแผนความต่อเนื่อง คู่มือฉบับนี้จะนาเสนอแนวทางในการจัดทาแผนความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานของรัฐนาไปปรับ ใช้ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับการดาเนินงานและการให้บริการของหน่วยงาน ซึ่งการบริหารความพร้อม ต่อสภาวะวิกฤตแบ่งโครงสร้างทีส่ าคัญออกเป็น 3 ขั้นตอนหลัก และ 5 ขั้นตอนย่อย ดังรูปที่ 3 การทาความเข้าใจ องค์กร
วิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) ประเมินความเสี่ยงและภัยคุกคาม
การกาหนดกลยุทธ์ใน การสร้างความต่อเนื่อง
ก าหนดแนวทางและกลยุ ท ธ์ ใ น การตอบสนองและสร้ า งความ ต่อเนื่อง
การจัดทาแผนบริหาร ความต่อเนื่อง
กาหนดโครงสร้างในการตอบสนอง และสร้างความต่อเนื่อง จัดทาแผนความต่อเนื่อง
รูปที่ 3 – โครงสร้างของแผนความต่อเนื่อง 3.1 การทาความเข้าใจองค์กร การทาความเข้าใจองค์กรเป็นขั้นตอนแรกในการจัดทาแผนบริหารความต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถ พิจารณาระบุและศึกษาความสาคัญของกระบวนการ กิจกรรม และ/หรือผลิตภัณฑ์ ที่ห น่วยงานกาลั ง ดาเนินการอยู่ อันเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ กาหนดไว้ขององค์กร รวมถึงการเชื่อมโยงและความสัมพันธ์กั บหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกองค์กร รวมทั้งทาให้ทราบและตระหนักถึงความเสี่ยงและภัยคุกคามที่อาจส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานและการ ให้บริการของหน่วยงาน โดยการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤตจะช่วยให้องค์กรลดความสูญเสียที่จะ เกิดขึ้นได้ ดังนี้ ลดโอกาสของการดาเนินงานที่ต้องหยุดชะงัก ลดระยะเวลาในการตอบสนองและกอบกูส้ ถานการณ์ให้กลับสู่สภาวะปกติ จากัดผลกระทบต่อองค์กรจากการหยุดชะงักการดาเนินงาน
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
11
นอกจากนี้ การเข้าใจองค์กรยังทาให้มั่นใจได้ว่าแผนความต่อเนื่อง (BCP) สามารถตอบสนองต่อ กระบวนการ กิจกรรม และ/หรือผลิตภัณฑ์ ของหน่วยงานตามลาดับความสาคัญและความเร่งด่วน ซึ่งใน ขั้นตอนของการทาความเข้าใจองค์กรประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ดังนี้ การระบุกระบวนการ กิจกรรม และ/หรือผลิตภัณฑ์ในการดาเนินงาน การประเมินความเสี่ยงและภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นต่อองค์กร การประเมินผลกระทบต่อกระบวนการดาเนินงาน 3.1.1 การระบุกิจกรรม กระบวนการ และ/หรือผลิตภัณฑ์ เป็นขั้นตอนการพิจารณาและระบุกระบวนการ หรือกิจกรรม หรือผลิตภัณฑ์ ในหน่วยงานของตน ซึง่ มีขั้นตอนการดาเนินการดังนี้ (1) นาโครงสร้างองค์กรและคาบรรยายลักษณะงาน (Functional Description) มา พิจ ารณากาหนดกระบวนการปฏิบั ติงานของหน่ว ยงาน ตัว อย่างเช่น คาบรรยายลั กษณะงานของฝ่ าย บริหารทั่วไป ประกอบด้วย ดาเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณและงานธุรการทั่วไป ดาเนินการเกี่ยวกับงานด้านการเงิน การบัญชี วัสดุ ครุภัณฑ์ การบริหารบุคคล งานติดต่อประสานงาน งานสถิติข้อมูล ดาเนินการเกี่ยวกับการจัดทาแผนงาน งบประมาณ และเร่งรัดติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของหน่วยงาน (2) ศึกษาคาบรรยายลักษณะงาน (Functional Description) และกาหนดกิจกรรมหรือ กระบวนการสาคัญ ๆ ลงในตารางที่ 1 หน่วยงาน กิจกรรม/กระบวนการ หมายเหตุ ฝ่ายบริหารทั่วไป ด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ งานสาร งานสารบรรณและงานธุรการ บรรณและงานธุรการทั่วไป ทั่วไป ฝ่ายบริหารทั่วไป ด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ งานด้ า น การเงิน การบัญชี และพัสดุ การเงิน การบัญชี วัสดุ ครุภัณฑ์ การบริหารบุคคล การบริ ห ารบุ ค คล งานติ ด ต่ อ งานประสานงาน (ทั้งภายใน ประสานงาน งานสถิติข้อมูล และภายนอก) ฝ่ายบริหารทั่วไป ด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การจั ด ท า ง า น จั ด ท า แ ผ น ง า น แ ล ะ แผนงาน งบประมาณ และ งบประมาณ เร่ ง รั ด ติ ด ตามประเมิ น ผลการ งานติ ด ตามประเมิ น ผลการ ปฏิบัติงานของจังหวัด ปฏิบัติงาน ตารางที่ 1 การกาหนดกระบวนการ จากคาบรรยายลักษณะงาน (Functional Description) คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
12
การกาหนดกิจกรรม/กระบวนการในการปฏิบัติงาน ควรมีการสัมภาษณ์หรือนาฝ่ายงานที่เกี่ยวข้อง ทั้ ง หมดมาให้ ข้ อ มู ล และมี ส่ ว นร่ ว มในการก าหนดกระบวนการ และให้ ด าเนิ น การก าหนดกิ จ กรรม/ กระบวนการจนครบทุกฝ่ายงาน/ส่วนงานในหน่วยงาน แล้วจึง นากระบวนการทั้งหมดมาสรุปรวมลงใน ตารางที่ 1 เพื่อประเมินผลกระทบในขั้นตอนที่ 2.3 3.1.2 การประเมินความเสี่ยงและภัยคุกคาม หน่วยงานต้องศึกษาและระบุความเสี่ยง ภัยคุกคามที่มีโอกาสเกิดในพื้นที่ปฏิบัติงาน และส่งผล กระทบรุนแรงต่อองค์กรเป็นลายลักษณ์อักษร พร้อมแจ้งให้ทุกหน่วยงานในองค์กรรับทราบเพื่อตระหนักถึง ความเสี่ยงและภัยคุกคาม รวมทั้งเข้าใจถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับการดาเนินงานและการให้บริการของ หน่วยงาน โดยความเสี่ยงและภัยคุกคาม อาจประกอบไปด้วยเหตุการณ์ต่อไปนี้ เหตุการณ์อุทกภัย เหตุการณ์อัคคีภัย เหตุการณ์ชุมนุมประท้วง/จลาจล เหตุการณ์โรคระบาด ฯลฯ โดยมีแนวทางในการประเมินความเสี่ยงและภัยคุกคาม ดังนี้ (1) หน่วยงานวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงและภัยคุกคามจากเหตุการณ์ ต่าง ๆ โดยสามารถแบ่งประเภทของผลกระทบต่อทรัพยากรได้ 5 ด้าน ดังนี้ (1.1) ผลกระทบด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงานหลัก : เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้ สถานที่ปฏิบัติงานหลักของหน่วยงาน ได้รับความเสียหายและส่งผลให้บุคลากรไม่สามารถเข้าไปปฏิบัติงาน ได้ในช่วงระยะแรก หรือระยะกลาง หรือระยะยาว (1.2) ผลกระทบด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ /การจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ : เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้ไม่สามารถใช้งานวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ หรือไม่สามารถจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่ สาคัญเพื่อนาไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ (1.3) ผลกระทบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ : เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ทาให้ไม่สามารถใช้ระบบงานเทคโนโลยี หรือระบบสารสนเทศ หรือเข้าถึงข้อมูลที่สาคัญในการปฏิบัติงานได้ (1.4) ผลกระทบด้านบุคลากรหลัก: เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้บุคลากรหลักไม่สามารถ มาปฏิบัติงานได้ (1.5) ผลกระทบด้านคู่ค้า /ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สาคัญ: เหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นทาให้คู่ค้า /ผู้ให้บริการแก่หน่วยงาน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่สามารถที่จะให้บริการหรือส่งมอบงาน เพื่อให้หน่วยงานใช้ในการปฏิบัติงานได้
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
13
(2) นาผลวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงและภัยคุกคามไประบุไว้ในตาราง ที่ 2 ทั้งนี้ ความเสี่ยงและภัยคุกคามบางเหตุการณ์อาจส่งผลกระทบต่อทรัพยากรของหน่วยงานได้มากกว่า 1 ด้าน เช่น การเกิดอัคคีภัยอาจเกิดความเสียหายต่ออาคารและสถานที่ปฏิบัติงาน รวมถึงความเสียหายต่อ วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือ ตลอดจนชีวิตและความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และข้อมูลที่สาคัญ แต่คู่ค้า/ผู้ให้บริการแก่หน่วยงาน/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อาจไม่ได้รับผลกระทบ เนื่องจากมี สถานที่ปฏิบัติงานนอกพื้นที่ ด้านอาคาร/ ความเสี่ยงและ สถานที่ ภัยคุกคาม ปฏิบัติงาน หลัก
ด้านวัสดุ อุปกรณ์ที่ สาคัญ
√ √
ผลกระทบ ด้าน เทคโนโลยี สารสนเทศ และข้อมูลที่ สาคัญ
ด้าน บุคลากร หลัก
อุทกภัย อัคคีภัย
√ √
ชุมนุ มประท้ว ง/ จลาจล โรคระบาด
√
√
√
√
√
√ √
ด้านคู่ค้า/ผู้ ให้บริการ/ผู้ มีส่วนได้ ส่วนเสียที่ สาคัญ √ √
ตารางที่ 2 การประเมินความเสี่ยงและภัยคุกคาม และผลกระทบต่อทรัพยากรสาคัญ 3.1.3 การประเมินผลกระทบต่อกระบวนการดาเนินงาน การประเมินผลกระทบต่อกระบวนการ หรือการวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิ จ (Business Impact Analysis) หน่วยงานต้องประเมินผลกระทบ ซึง่ ระดับผลกระทบจะแบ่งออกเป็น 5 ระดับ โดยมีหลักเกณฑ์ การพิจารณาระดับผลกระทบ ดังนี้ ระดับผลกระทบ หลักเกณฑ์การพิจารณาระดับของผลกระทบ สูงมาก เกิดความเสียหายต่อองค์กรเป็นจานวนเงินในระดับสูงมาก ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดาเนินงานหรือให้บริการลดลงมากกว่า ร้อยละ 50 เกิดการสูญเสียชีวิตและ/หรือภัยคุกคามต่อสาธารณชน ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงและความมั่นใจต่อองค์กรในระดับประเทศและนานาชาติ สูง เกิดความเสียหายต่อองค์กรเป็นจานวนเงินในระดับสูง ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดาเนินงานหรือให้บริการลดลงร้อยละ 25-50 เกิดการบาดเจ็บต่อผู้รับบริการ/บุคคล/กลุ่มคน คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
14
ระดับผลกระทบ หลักเกณฑ์การพิจารณาระดับของผลกระทบ ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงและความมั่นใจต่อองค์กรในระดับประเทศ ปานกลาง
ต่า ไม่เป็นสาระสาคัญ
เกิดความเสียหายต่อองค์กรเป็นจานวนเงินในระดับปานกลาง ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดาเนินงานหรือให้บริการ ลดลงร้อยละ 10-25 ต้องมีการรักษาพยาบาล ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงและความมั่นใจต่อองค์กรในระดับท้องถิ่น เกิดความเสียหายต่อองค์กรเป็นจานวนเงินในระดับต่า ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดาเนินงานหรือให้บริการ ลดลงร้อยละ 5-10 ต้องมีการปฐมพยาบาล ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงและความมั่นใจต่อองค์กรในระดับท้องถิ่น ส่งผลให้ขีดความสามารถในการดาเนินงานหรือให้บริการ ลดลงมากกว่าร้อยละ 5 ตารางที่ 3 ระดับผลกระทบและลักษณะของผลกระทบ
นอกจากการพิจารณาประเมินผลกระทบแล้ว หน่วยงานต้องประเมินระดับผลกระทบในแต่ละช่วง ระยะเวลาของการหยุดชะงักที่ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ด้วย ซึง่ แบ่งออกเป็น 6 ช่วงระยะเวลา คือ 1) 0-2 ชั่วโมง 2) 2-4 ชั่วโมง 3) 1 วัน 4) 1 สัปดาห์ 5) 2 สัปดาห์ 6) 1 เดือน โดยมีขั้นตอนในการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับหน่วยงาน ดังนี้ (1) น ากระบวนการที่ได้มี การศึกษา วิเคราะห์ และกาหนดไว้ในตารางที่ 1 มาประเมิน กระบวนการที่สาคัญและระบุระดับผลกระทบ (ตามเกณฑ์การพิจารณาในตารางที่ 3) โดยต้องพิจารณาถึง ความเสี่ยง ภัยคุกคาม และผลกระทบต่อทรัพยากรหลักในการดาเนินงานหรือ การให้บริการของหน่วยงาน ในแต่ละกระบวนการ และจัดทาเป็นข้อมูลตามตารางที่ 4
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
15
กระบวนการ ดาเนินการเกี่ย วกั บงานสารบรรณ และงานธุรการทั่วไป ดาเนินการเกี่ยวกับงานด้านการเงิน การบัญชี วัสดุ ครุภัณฑ์ การบริหาร บุคคล งานติดต่อประสานงาน งาน สถิติข้อมูล ด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การจั ด ท า แผนงาน งบประมาณ และเร่ งรั ด ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน
ระดับ ผลกระทบ สูง
0-2 ชั่วโมง
ระยะเวลาของการหยุดชะงัก 2-4 1 1 2 ชั่วโมง วัน สัปดาห์ สัปดาห์
1 เดือน
สูง
ต่า
ตารางที่ 4 กระบวนการสาคัญและผลกระทบตามช่วงระยะเวลาของการหยุดชะงัก (2) ภายหลั ง การประเมิน และระบุ ร ะดั บ ผลกระทบแล้ ว ขั้ นตอนต่ อ ไปให้ พิ จ ารณาช่ ว ง ระยะเวลาของการหยุดชะงักเมื่อสภาวะวิกฤต/ภัยคุกคามเริ่มส่งผลกระทบกับการดาเนินงานของหน่วยงาน ซึ่งในบางกรณีเหตุการณ์ความเสี่ยงหรือภัยคุกคามอาจยังไม่ส่งผลกระทบในทันที แต่จะเริ่มและ/หรือทวี ความรุนแรงในช่วงระยะเวลาถัดไป ตัวอย่างเช่น งานสารบรรณและงานธุรการทั่วไป เหตุการณ์ความเสี่ยง หรือภัยคุกคามอาจยังไม่ส่งผลกระทบในทันที แต่หากระยะเวลาล่วงเลยไปตั้งแต่ 2-4 ชั่วโมงขึ้นไป อาจ ส่งผลกระทบให้หน่วยงานไม่สามารถออกหนังสือ ซึ่งเป็นงานที่ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบให้แก่หน่วยงาน ภายนอกได้ หรือไม่สามารถดาเนินงานเพื่อให้มีผลบังคับใช้ในกรณีเร่งด่วน(3) กระบวนการ/ขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ประเมินแล้ว หากพบว่าได้รับผลกระทบจาก สภาวะวิกฤตอยู่ในระดับสูงถึงสูงมากและมีช่วงระยะเวลาของการหยุดชะงักในการปฏิบัติงานอยู่ระหว่าง 0-2 ชั่วโมง ถึง 1 วันให้กาหนดเป็นกระบวนการเร่งด่วนที่ต้องจัดทาแผนบริหารความต่อเนื่องตามแนวทาง ที่จะกล่าวต่อไป สาหรับ กระบวนการที่ประเมินแล้ ว พบว่า ผลกระทบอยู่ในระดับปานกลางและมีช่ว ง ระยะเวลาของการหยุดชะงักอยู่ระหว่าง 0-2 ชั่วโมง ถึง 1 วัน ให้หน่วยงานพิจารณาตามความเหมาะใน การจัดทาแผนบริหารความต่อเนื่อง
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
16
3.2 การกาหนดกลยุทธ์ในการสร้างความต่อเนื่อง การกาหนดกลยุทธ์หรือแนวทางในการสร้างความต่อเนื่องของการปฏิบัติงาน เป็นขั้นตอนที่สาคัญ ก่อนมีการจัดทาแผนความต่อเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่าแผนการบริหารความต่อเนื่องที่ได้จัดทาขึ้น มีความ สอดคล้องกับนโยบายขององค์กรและสามารถนาไปปฏิบัติ ได้จริง เนื่องจากการเตรียมความพร้อมด้าน ทรัพยากรขององค์กรในสภาวะวิกฤต ในบางกรณีจาเป็นต้องใช้งบประมาณ อาทิ การสร้างระบบเทคโนโลยี สารสนเทศสารอง เพื่อให้สามารถสนับสนุนการทางานในกรณีที่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศหลักไม่สามารถ ใช้งานได้ ดังนั้น การกาหนดกลยุทธ์หรือแนวทางในการสร้ างความต่อเนื่อง จึงต้องผ่านการพิจารณาของ ผู้บริหารขององค์กร ซึ่งทรัพยากรที่ต้องเตรียมพร้อมมี 5 ด้าน ได้แก่ ด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงานหลัก ด้านวัส ดุอุปกรณ์ที่ส าคัญ /การจัดหาจัดส่ งวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูล ที่ สาคัญ ด้านบุคลากร และด้านคู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สาคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยมีขั้นตอนในการกาหนดกล ยุทธ์การดาเนินการดังนี้ (1) ให้หน่วยงานพิจารณาระบุทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ในกระบวนการสาคัญ ทั้ง 5 ด้าน (ตามตารางที่ 4) โดยให้พิจารณาจากการปฏิบัติงานจริงในปัจจุบัน และปรับลดให้สอดคล้องกับระดับการ ด าเนิ น งานหรื อ การให้ บ ริ ก ารเมื่ อ เกิ ด สภาวะวิ ก ฤต (หน่ ว ยงานไม่ ค วรก าหนดทรั พ ยากรเสมื อ นการ ปฏิบัติงานในสภาวะปกติ ) เช่น หากหน่วยงานกาหนดระดับการดาเนินงานหรือ การให้บริการที่ในสภาวะ ปกติไว้ทรี่ ้อยละ 50 ดังนั้น ในสภาวะวิกฤตการใช้ทรัพยากรควรปรับลดให้เหมาะสมกับสถานการณ์ โดยให้ ระบุรายละเอียดแยกตามประเภทของทรัพยากรในตารางที่ 5
กระบวนการ
อาคาร/สถานที่ ปฏิบัติงาน
งานสารบรรณและงาน ใช้ พท. สารอง ธุรการทั่วไป 10 ตรม. (5 คน)
การกาหนดทรัพยากรทีส่ าคัญ ระบบงาน คู่ค้า/ เครื่องมือและ เทคโนโลยี หรือ บุคลากร ผู้ให้บริการ/ผู้มี อุปกรณ์ ระบบสารสนเทศ ส่วนได้ส่วนเสีย เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบจัดซื้อจัด บุคลากรหลัก ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร (ตั้งโต๊ะหรือพกพา) จ้าง 5 คน เชื่ อ มโยงระบบ พร้ อมเครื่ องพิ มพ์ ระบบ GFMIS เ ค รื อ ข่ า ย 1 ชุด อินเตอร์เนต* ระบบเชื่อมโยง อินเตอร์เนต
งานด้ า นการเงิ น การ ใช้ พท. ส ารอง เครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบจัดซื้อจัด บุคลากรหลัก ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร บั ญ ชี วั ส ดุ ครุ ภั ณ ฑ์ 10 ตรม. (5 คน) (ตั้งโต๊ะหรือพกพา) จ้าง 5 ท่าน เชื่ อ มโยงระบบ การบริหารบุคคล งาน พร้ อมเครื่ องพิ มพ์ ระบบGFMIS เ ค รื อ ข่ า ย ติ ด ต่ อ ปร ะส านงา น 1 ชุด อินเตอร์เนต* ระบบเชื่อมโยง งานสถิติข้อมูล อินเตอร์เนต
ตารางที่ 5 การกาหนดทรัพยากรสาคัญที่ใช้ในการดาเนินงานและการให้บริการ คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
17
(2) ภายหลังการกาหนดและรวบรวมทรัพยากรที่ใช้ในการดาเนินงานและการให้บริการใน กระบวนการที่สาคัญของแต่ละหน่วยงานแล้ว ให้ศึกษาและกาหนดกลยุทธ์ในการบริหารความต่อเนื่อง เสนอผู้บริหารองค์กรพิจารณาอนุมัติ โดยแนวทางในการพิจารณาอาจประกอบด้วยทางเลือก ดังตารางที่ 6 ทรัพยากรสาคัญ
กลยุทธ์และแนวทางในการบริหารความต่อเนื่อง
สรรหาและเตรี ย มการ อาคาร/สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง านส ารอง กั บ หน่ ว ยงาน ราชการอื่น ๆ ในสังกัด หรือนอกสังกัด อาคาร/สถานที่ปฏิบัติงาน สรรหาและเตรียมการ อาคาร/ สถานที่ปฏิบัติงานสารอง กับภาคเอกชน อาทิ โรงแรม มูลนิธิ กาหนดแนวทางให้เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานที่บ้านได้ จัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์สารอง เพื่อใช้ในสภาวะวิกฤต ทาข้อตกลงกับหน่วยงานราชการหรือภาคเอกชน เพื่อขอยืมเครื่องมือและ เครื่องมือและอุปกรณ์ อุปกรณ์ ดาเนินจัดซื้อเครื่องมือและอุปกรณ์ ผ่านกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างพิเศษ ประสานงานกั บ หน่ ว ยงานเทคโนโลยี เพื่ อ จั ด เตรี ย มและให้ มี ร ะบบงาน ระบบงานเทคโนโลยี หรื อ เทคโนโลยี หรือระบบสารสนเทศสารอง ระบบสารสนเทศ ปฏิบัติงานโดยไม่ใช้ ระบบงานเทคโนโลยี (Manual) ไปก่อน แล้วจึงป้อน ข้อมูลเข้าในระบบ เมื่อกลับคืนสู่สภาวะปกติ กาหนดให้ มี บุ ค ลากรหลั ก และบุ ค ลากรส ารอง ท างานทดแทนกั น ได้ ใน สภาวะวิกฤต บุคลากร กาหนดแนวทางและกลุ่มบุคลากรที่สามารถขอให้ช่วยปฏิบัติงานชั่วคราว จากหน่วยงานราชการอื่น ๆ ในสังกัด หรือส่วนกลาง กาหนดให้มคี ู่ค้า/ผู้ให้บริการสารอง/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อเรียกใช้บริการได้ คู่ค้า/ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ ในสภาวะวิกฤต ส่วนเสีย พิจารณากระจายความเสี่ยง โดยมีคู่ค้า/ ผู้ให้บริการ มากกว่า 1 ราย สาหรับ ให้บริการแก่หน่วยงาน ตารางที่ 6 กลยุทธ์และแนวทางในการบริหารความต่อเนื่อง
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
18
ตัวอย่างกลยุทธ์และแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงานราชการระดับจังหวัด ทรัพยากรสาคัญ
กลยุทธ์และแนวทางในการบริหารความต่อเนื่อง
กาหนดให้ใช้พื้นที่ปฏิบัติงานสารองภายในศาลากลางจังหวัด โดยมี อาคาร/สถานที่ปฏิบัติงาน การสารวจความเหมาะสมของสถานที่ ประสานงาน และการเตรียม ความพร้อม กับหน่วยงานเจ้าของพื้นที่ กาหนดให้มีการจัดหาคอมพิวเตอร์สารองที่มีคุณลักษณะเหมาะสมกับ การใช้งาน พร้อมอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมโยงต่อผ่านอินเตอร์เนตเข้าสู่ ระบบเทคโนโลยีของส่วนกลางและกรมบัญชีกลางได้ เครื่องมือและอุปกรณ์ กาหนดให้พิจารณาใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Laptop/ Notebook) ของเจ้าหน้าที่ได้เป็นการชั่วคราว หากมี ความจาเป็นเร่งด่วนในช่วง ระหว่างการจัดหาคอมพิว เตอร์สารอง ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุญาตจาก หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องในการกู้คืน ระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูล ที่มีความสาคัญ มี ลั ก ษณะแบบรวมศู น ย์ แ ละเชื่ อ มโยงระบบเครื อ ข่ ายต่ อ ผ่ า น ระบบงานเทคโนโลยี หรื อ อิน เตอร์เนตกับส่ ว นกลาง ทาให้ ห น่ว ยงานไม่มีระบบคอมพิว เตอร์ ระบบสารสนเทศ ส ารองของตนเอง ดั งนั้ น การกู้ คืน สถานการณ์ อาจต้ องรอจนกว่ า ระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของส่วนกลางจะกลับคืนให้ สามารถใช้งานได้ กาหนดให้ใช้บุคลากรสารอง ทดแทนภายในฝ่ายงานหรือกลุ่มงาน / เดียวกัน บุคลากร กาหนดให้ใช้บุคลากรนอกฝ่ายงานหรือกลุ่มงาน ในกรณีที่บุคลากรไม่ เพียงพอหรือขาดแคลน หน่ ว ยงานเทคโนโลยี ส ารสนเทศของจั ง หวั ด ก าหนดผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร เชื่อมโยงระบบเครือข่ายอินเตอร์เนต 2 ราย คือ ทีโอที และCAT หาก ผู้ให้บริการหลักไม่สามารถให้บริหารได้ ระบบเชื่อมโยงจะปรับเปลี่ยน ไปใช้ระบบของผู้ให้บริการสารองแทน คู่ค้า/ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ กาหนดให้ ใช้ อุปกรณ์เชื่อมโยงระบบเครือข่ายต่อ ผ่ านอินเตอร์เนต ส่วนเสีย แบบพกพา (Air Card) เชื่อมโยงการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและ ข้ อ มู ล ที่ ส าคั ญ ของหน่ ว ยงานกลางผ่ า นอิ น เตอร์ เ นต ในกรณี ที่ ผู้ ให้บริการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายอินเตอร์เนตของจังหวัด ทั้ง 2 ราย ไม่สามารถให้บริการได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
19
(3) กลยุทธ์และแนวทางในการบริหารความต่อเนื่องได้รับการอนุมัติแล้ว หน่วยงานต้องนา กลยุทธ์และแนวทางดังกล่าวไปใช้ในการจัดทาแผนการบริหารความต่อเนื่องต่อไป 3.3 การจัดทาแผนความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan - BCP) การจัดแผนความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan - BCP) เป็นขั้นตอนของการจัดทา แผนงานเพื่อเตรียมความพร้อมให้หน่วยงานสามารถตอบสนองต่อสภาวะฉุกเฉินที่ส่งผลให้การปฏิบัติงาน ของหน่วยงานต้องหยุดชะงัก หรือไม่สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง เช่น อุทกภัย อัคคีภัย การก่อการ ประท้วง การก่อการจลาจล การก่อวินาศกรรม เป็นต้น ถ้าหน่วยงานไม่มีกระบวนการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการดาเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง อาจเกิดผลกระทบในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจการเงิน การ ให้บริการ สังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เป็นต้น การจัดทาแผน ความต่อเนื่องต้องกาหนดไว้เป็นยุทธศาสตร์และได้รับการอนุมัติ ดังนั้น การจัดทาแผนความต่อเนื่อง จึงมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ หน่วยงานมีความพร้อมและสามารถตอบสนองการปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤตหรือ เหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งแผนความต่อเนื่องมีแนวทางในการดาเนินการดังนี้ กาหนดโครงสร้างและทีมงานจัดทาแผนความต่อเนื่อง กาหนดกระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน (Call Tree) กาหนดแนวทางการบริหารความต่อเนื่องในช่วงเกิดเหตุ ในระยะสั้น และการกลับคืนใน ระยะกลาง รวบรวมข้อมูลและรายละเอียด 3.3.1 การกาหนดโครงสร้างและทีมงานจัดทาแผนความต่อเนื่อง เพื่อให้แผนความต่อเนื่อง (BCP) สามารถนาไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล การจัดตั้งคณะบริหารความต่อเนื่อ ง (BCP Team) ของหน่วยงาน จึงเป็นขั้นตอนแรกที่ต้องมีการพิจารณา กาหนดขึ้น โดยอาจมีโครงสร้าง ดังนี้ 1) หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง ได้แก่ ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน มีหน้าที่ในการ ประเมิน ลักษณะ ขอบเขตและแนวโน้มของอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อตัดสินใจประกาศใช้แผนความต่อเนื่อง และดาเนิ นการตามขั้นตอนและแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง ตลอดจนสรรหาทรัพยากรตามที่ได้ กาหนดไว้ในแผนความต่อเนื่อง 2) หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง ได้แก่ ผู้บริหารของฝ่ายงาน/ส่วนงานในหน่วยงาน มี หน้าที่ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องและคณะบริหารความต่อเนื่อง และดาเนินการตามขั้นตอนและแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง ตลอดจนสรรหาทรัพยากรที่ได้กาหนดไว้ ในแผนความต่อเนื่องของฝ่ายงาน/ส่วนงานของตน
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
20
3) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง มีหน้าที่ในการติดต่อและประสานงานภายใน หน่วยงานและให้การสนับสนุนในการติดต่อสื่อสารกับฝ่ายงาน/ส่วนงาน ภายในหน่วยงานและองค์กร และ ดาเนินการตามขั้นตอนและแนวทางการบริหารความต่อเนื่อง
รูปที่ 4 ตัวอย่างโครงสร้างคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน ภายหลั ง การกาหนดโครงสร้ า งคณะบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งของหน่ ว ยงาน ให้ ร ะบุ ร ายชื่ อและ หมายเลขติดต่อของบุคลากรและทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) โดยกาหนดบุคลากรหลักและ บุคลากรสารอง ในกรณีที่บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บุคลากรสารองรับผิดชอบบทบาทของ บุคลากรหลักไปก่อน จนกว่าจะได้มีการมอบหมายและแต่งขึ้นขึ้นโดยหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องใน การบริหารความต่อเนื่องและการกลับคืนสู่สถานการณ์ปกติ บุคลากรหลัก บทบาท ชื่อ เบอร์มือถือ xxxxxxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง
บุคลากรสารอง ชื่อ xxxxxxxxxxxxxxxxx
เบอร์มือถือ 081 XXXX XXX
xxxxxxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX หั ว หน้ า ที ม บริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ฝ่ายงาน 1 xxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX หั ว หน้ า ที ม บริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ฝ่ายงาน 2 xxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX หั ว หน้ า ที ม บริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ฝ่ายงาน 3 xxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX หั ว หน้ า ที ม บริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ฝ่ายงาน 4 xxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX หั ว หน้ า ที ม บริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ฝ่ายงาน 5 xxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX หั ว หน้ า ที ม บริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ฝ่ายงาน 6 xxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX ผู้ประสานงาน คณะบริหารความต่อเนื่อง
xxxxxxxxxxxxxxxxx
081 XXXX XXX
xxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX xxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX xxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX xxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX xxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX xxxxxxxxxxxxxxx 081 XXXX XXX
ตารางที่ 7 ตารางข้อมูลรายชื่อบุคลากรและบทบาทของคณะบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
21
3.3.2 การกาหนดกระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน (Call Tree) กระบวนการ Call Tree คือ กระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉินให้กับสมาชิกในคณะบริหารความ ต่อเนื่องและทีมงานบริหารความต่อเนื่องตามรายชื่อที่ปรากฎในตารางข้อมูลรายชื่อ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้สามารถบริหารจัดการในการติดต่อบุคลากรของหน่วยงาน ภายหลังจากมีการประกาศเหตุการณ์ ฉุกเฉินหรือสภาวะวิกฤต กระบวนการ Call Tree จะเริ่มต้นที่หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องแจ้งให้ผู้ประสานงานคณะ บริหารความต่อเนื่องทราบถึงเหตุการณ์ฉุกเฉิน เพื่อให้ผู้ประสานงานฯ แจ้งให้ หัวหน้าทีมบริหารความ ต่อเนื่องรับทราบเหตุการณ์ฉุกเฉินและการประกาศใช้แผนความต่อเนื่อง ตามสายงานการบังคับบัญชาของ แต่ละงาน จากนั้นหัวหน้าฝ่ายงาน/ส่วนงานมีหน้าที่แจ้งไปยังบุคลากรภายใต้การบังคับบัญชาเพื่อรับทราบ เหตุการณ์ฉุกเฉินและการประกาศใช้แผนความต่อเนื่องของหน่วยงานตามช่องทางติดต่อสื่อสารที่ได้ระบุใน แผนความต่อเนื่อง
รูปที่ 5 กระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน Call Tree 3.3.3 การกาหนดแนวทางการตอบสนองเหตุการณ์และกอบกู้กระบวนการ ขั้น ตอนในการบริ ห ารความต่อเนื่อ งและกอบกู้ กระบวนการ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนตาม ระยะเวลา ดังนี้ การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที ภายใน 24 ชั่วโมง การตอบสนองต่อเหตุการณ์ในระยะแรก ภายใน 7 วัน การตอบสนองต่อเหตุการณ์และกูค้ ือกระบวนการปฏิบัติงานในระยะเวลาเกิน 7 วัน
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
22
1) การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที ภายใน 24 ชั่วโมง การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที เป็นการตอบสนองที่ให้ความสาคัญ ในการติดตาม สอบถาม ประเมินสถานการณ์และผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อทรัพยากรสาคัญในการดาเนินงานหรือ การให้บริการของ หน่วยงาน ตลอดจนการติดต่อสื่อสารกับบุคลากรของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้รับทราบข่าวสารและ กาหนดแนวทางในการปฏิบัติงานของหน่วยงานในระยะต่อไป โดยมีขั้นตอนหลักประกอบด้วย 1.1) ติดตาม สอบถาม และประเมินเหตุฉุกเฉิน/วิกฤติ กับหน่วยงานที่รับผิดชอบในการ บริหารจัดการตามแผนการจัดการอุบัติการณ์ (Incident Management Plan) ขององค์กร เพื่อ ประเมินความจาเป็นในการประกาศใช้แผนบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน 1.2) แจ้งเหตุฉุกเฉิน/วิกฤติ ตามกระบวนการ Call Tree ให้กับบุคลากรหลักและคณะ บริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งของหน่ ว ยงาน เพื่ อ ประชุ ม รั บ ทราบ และประเมิ น ความเสี ย หายและ ผลกระทบต่อการดาเนินงานและการให้บริการ และทรัพยากรสาคัญที่ต้องใช้ในการบริหารความ ต่อเนื่อง ดังนี้ o สถานที่ปฏิบัติงานสารอง o วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ o เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ o บุคลากรหลัก o คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สาคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้งการสรุปจานวนและรายชื่อบุคลากรในหน่วยงานที่ได้รับบาดเจ็บ/เสียชีวิต 1.3) พิจ ารณากระบวนงาน/งานที่มีค วามเร่ง ด่ว น และส่ งผลกระทบอย่างสู ง ต่ อการ ดาเนินงานหรือให้บริการของหน่วยงาน เพื่อให้มีการจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ในการบริหาร ความต่อเนื่องและทรัพยากรทีไ่ ด้รับความเสียหายจนไม่สามารถใช้ในการปฏิบัติงานได้ 1.4) รายงานความเสียหายและความคืบหน้าให้คณะบริหารความต่อเนื่องขององค์กรและ ส่วนกลางให้ทราบและขออนุมัติดาเนินการในขั้นตอนต่อไป 1.5) แจ้งเหตุฉุกเฉิน/วิกฤติ ตามกระบวนการ Call Tree ให้กับบุคลากรของหน่วยงาน เพื่อรับทราบขั้นตอนในการปฏิบัติต่อไป 2) การตอบสนองต่อเหตุการณ์ในระยะแรก ภายใน 7 วัน ภายหลังการการตอบสนองและบริหารจัดการต่อเหตุการณ์ภายใน 24 ชั่วโมงแล้ว การตอบสนอง ในระยะต่อไป เป็นการตอบสนองเพื่อให้หน่วยงานสามารถปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง สาหรับกระบวนการ งานและกิจกรรมทีม่ ีความสาคัญ เพื่อลดผลกระทบต่อการดาเนินงานหรือ การให้บริการของหน่วยงาน โดย การดาเนินการในระยะเวลา 7 วันนี้ จะให้ความสาคัญกับการสรรหาทรัพยากรหลักที่ได้รับผลกระทบ และ ดาเนินงานตามที่ได้รับอนุมัติในวันแรก โดยมีขั้นตอนหลักที่ต้องดาเนินการ ดังนี้ 2.1) ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ได้รับผลกระทบ และประเมิน ความจาเป็นและระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
23
2.2) ติดตามการจัดหาทรัพยากรที่ได้รับผลกระทบและจาเป็น ต้องใช้ในการบริหารความ ต่อเนื่อง ได้แก่ สถานที่ปฏิบัติงานสารอง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ บุคลากรหลัก และคู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สาคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2.3) กาหนดให้ฝ่ายงาน/ส่วนงาน เจ้าของกระบวนการสาคัญที่ได้รับผลกระทบกลับมา ดาเนินงานและให้บริการ 2.4) รายงานความคืบหน้าให้คณะบริหารจัดการวิกฤตขององค์กรและส่วนกลาง ตามที่ได้ กาหนดไว้ 3) การตอบสนองต่อเหตุการณ์ฉุกเฉินและกูค้ ืนกระบวนการปฏิบัติงาน ในระยะเวลาเกิน 7 วัน การตอบสนองและบริหารจัดการต่อเหตุการณ์ ฉุกเฉินในระยะเวลา 1-7 วัน สามารถสร้างความ ต่อเนื่องในการปฏิบัติงาน และความพร้อมของทรัพยากรที่สาคัญได้ระดับหนึ่ง ตามที่ระบุไว้ในแผนความ ต่อเนื่อง ดังนั้น คณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงานต้องพิจารณาการดาเนินการเพื่อตอบสนองต่อ เหตุการณ์ในระยะกลางถึงระยะยาว เพื่อ กอบกู้กระบวนการปฏิบัติงานให้สามารถกลับมาดาเนินการได้ ตามปกติ โดยมีแนวทางในการดาเนิน ดังนี้ 3.1) ติ ด ตามสถานะภาพการกู้ คื น มาของทรั พ ยากรที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ และประเมิ น ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกลับมาดาเนินงานหรือให้บริการได้ตามปกติ 3.2) ทรัพยากรที่ได้รับผลกระทบและเสียหายจนไม่สามารถนากลับมาใช้งานได้อีก เป็น หน้าที่ของคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงานที่ต้องพิจารณาและจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นมาใช้เพื่อ ดาเนินงานและให้บริการได้ตามปกติทั้ง 5 ด้าน ดังนี้ - ด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงาน กรณีอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงานหลัก ได้รับความ เสียหายจนไม่สามารถเข้าไปปฏิบัติได้ ให้พิจารณาและสารวจอาคาร/สถานที่ ปฏิบั ติ งานหลั กชั่ ว คราว ที่ส ามารถรองรับการปฏิบัติ ง านในสภาวะปกติของ หน่วยงานได้ รวมทั้งพิจารณาการซ่อมแซมและ/หรือก่อสร้างอาคารขึ้นใหม่ - ด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ ดาเนินการซ่อมแซมหรือจัดซื้อจัดจ้างวัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือที่ได้รับความเสียหาย - ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศและข้ อ มู ล ที่ ส าคั ญ ประสานงานกั บ หน่ ว ยงาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการกู้ คืนข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้งการร้องขอเอกสาร และข้อมูลสาคัญที่ได้รับความเสียหายจากหน่วยงานภายนอก - ด้านบุ ค ลากรหลั ก ส ารวจบุ คลากรที่ได้รั บผลกระทบและไม่ส ามารถกลั บมา ปฏิบัติงาน เพื่อสรรหาบุคลากรทดแทนชั่วคราว - คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สาคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดาเนินการสรรหาคู่ค้า/ผู้ให้บริการ รายใหม่ สาหรับสินค้าและ/หรือบริการสาคัญที่ได้รับผลกระทบ ทดแทนคู่ค้า/ผู้ ให้บริการทีไ่ ม่สามารถกลับมาดาเนินงานได้อีก คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
24
3.3) รายงานความคืบหน้าให้คณะบริหารจัดการวิกฤตขององค์กรและส่วนกลาง ตามที่ได้ มีการกาหนดไว้ทราบ 3.3.4 การรวบรวมข้อมูลและรายละเอียด ข้อมูล รายละเอียด และแนวทางของการบริหารความต่อเนื่องที่ได้มีการระบุ วิเคราะห์ และจัดทา ขึ้นตามแนวทางที่กล่าวมา จะรวบรวมไว้ในรูปแบบของแผนความต่อเนื่อง ซึ่งประกอบ 6 ส่วน ดังนี้ องค์ประกอบของแผนความต่อเนื่อง 1. จั ด ตั้ ง ที ม งานจั ด ท าแผนบริ ห าร ความต่อเนื่อง (BCM Structure)
แหล่งข้อมูล รูปที่ 4
2. วิเคราะห์ความเสี่ยงและภัยคุกคาม และผลกระทบต่อทรัพยากรสาคัญใน การด าเนิ น งานและการให้ บ ริ ก าร (Risk & Threat Assessment)
ตารางที่ 2
3. วิ เ คราะห์ กระบวนการส าคั ญ (Critical Process) และทรั พยากร สาคัญที่ต้องใช้เพื่อการบริหารงานให้ เกิดความต่อเนื่อง 4. วิ เ คราะห์ ความต้ อ งการด้ า น ทรัพยากรที่จาเป็นต่อการบริหารงาน ให้ เ กิ ด ความต่ อ เนื่ อ ง (Critical Resource Requirement) 5. จั ด ท า กลยุ ท ธ์ คว ามต่ อ เนื่ อ ง (Business Continuity Strategy)
ตารางที่ 4
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ตารางที่ 5
ตารางที่ 6
หมายเหตุ โครงสร้ า งคณะบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง พิ จ า ร ณ า จ า ก โ ค ร ง ส ร้ า ง อ ง ค์ ก ร ข อ ง หน่ ว ยงานและสายการบั ง คั บ บั ญ ชาของ หน่วยงาน ผลจากการระบุ ค วามเสี่ ยงและภั ยคุก คาม และวิเคราะห์ผลกระทบต่อทรัพยากรสาคัญ ในการด าเนิ น งานหรื อ การให้ บ ริ ก ารของ หน่วยงานทั้ง 5 ด้าน อาคาร/สถานที่ปฏิบัติงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ ระบบงานเทคโนโลยี หรื อ ระบบ สารสนเทศ บุคลากร คู่ค้า/ผู้ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กระบวนการส าคั ญ ของหน่ ว ยงาน และ ผลกระทบที่ ไ ด้ รั บ จากความเสี่ ย งและภั ย คุกคามที่เกิดขึ้น ตามช่วงระยะเวลาของการ หยุดชะงักการปฏิบัติงาน ทรัพยากรสาคัญที่ใช้ในการดาเนินงานและ ให้บริการ รวบรวมจากกระบวนการและ ตามประเภทของทรัพยากรสาคัญ กลยุ ท ธ์ แ ละแนวทางในการบริ ห ารความ ต่ อ เนื่ อ ง ที่ ไ ด้ รั บ การปรั บ ให้ เ หมาะสมกั บ หน่วยงานและนาไปปฏิบัติได้จริง 25
องค์ประกอบของแผนความต่อเนื่อง แหล่งข้อมูล 6. ก าหนดแนวทางการด าเนิ น การ ภายใต้หัวข้อ 3.3.3 เพื่อตอบสนองต่อเหตุการณ์และการกู้ การก าหนดแนว คืนกระบวนการในการปฏิบัติงาน ทางการตรอบ สนองเหตุ ก ารณ์ แ ล ะ ก อ บ กู้ กระบวนการ การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที (ภายใน 24 ฃั่วโมง) การตอบสนองต่ อ เหตุ ก ารณ์ ใ น ระยะแรก (ภายใน 1-7 วัน) การตอบสนองต่อเหตุการณ์และ การกู้คืนกระบวนการปฏิบัติงาน ภายหลัง 7 วัน ภาคผนวก ก. รายชื่อเจ้ าหน้ าที่และข้อมูล เพื่อ ฝ่ า ยงาน/ส่ ว นงาน การติดต่อสื่อสาร ทรั พ ยากรบุ ค คล ของหน่วยงาน ข. สรุปรายการและจานวนทรัพยากร ส าคั ญ เพื่อ ใช้ ใ นการด าเนิ น งานได้ อย่างต่อเนื่อง
ตารางที่ 5
ค. รายชื่ อ หน่ ว ยงานราชการที่ หน่วยงานราชการ เกี่ยวข้อง และผู้ที่เกี่ยวข้อง และผู้ที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ คู่ มื อ ฉบั บ นี้ เป็ น เพี ย งแนวทางเบื้ อ งต้ น ดังนั้น ให้หน่วยงานพิจารณาแนวทางในการ ตอบสนองต่ อ เหตุ ก ารณ์ แ ละการกู้ คื น กระบวนการปฏิบัติงานตามความเหมาะสม และสอดคล้องกับบริบทของหน่วยงาน
ให้ระบุรายชื่อและหมายเลขโทรศัพท์ในการ ติดต่อ ทรัพยากรสาคัญที่ใช้ในการดาเนินงานและ ให้บริการ รวบรวมตามกระบวนการและ ประเภทของทรัพยากรสาคัญ ให้ระบุรายชื่อและหมายเลขโทรศัพท์ในการ ติดต่อของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องและ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้ที่เกี่ยวข้องให้รวมถึงลูกค้า กลุ่มประชาชน มูลนิธิ คู่ค้า และผู้ให้บริการ ที่สาคัญๆ
ตัว อย่ า งแผนความต่ อเนื่ อ งได้แ สดงไว้ ใน ภาคผนวก ก หน่ว ยอภิบาลผู้ ป่ว ยหนัก โรงพยาบาลราชวิ ถี กรมการแพทย์ และ ภาคผนวก ข สานักงานปศุสัตว์จังหวัด จังหวัดฉะเชิงเทรา
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
26
ภาคผนวก ก ตัวอย่างแผนความต่อเนื่องของหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก1
ตัวอย่างแผนความต่อเนื่องของหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ 1. บทนา แผนความต่อเนื่อง หรือที่ต่อไปนี้จะเรียกว่า “Business Continuity Plan (BCP)” ฉบับนี้ จัดทาขึ้น เพื่อให้หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ หรือที่ต่อไปนี้จะเรียกว่า “หน่วยงาน” สามารถนาไปใช้ในการตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่างๆ ไม่ว่าจะเกิด จากภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร เช่น อุทกภัย อัคคีภัย การก่อการประท้วง การก่อการ จลาจล การก่อวินาศกรรม เป็นต้น โดยสภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน ดังกล่าวส่งผลให้หน่วยงาน ต้อง หยุดการดาเนินงาน หรือไม่สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง หากหน่วยงานไม่มีกระบวนการรองรับการดาเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง อาจส่งผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อ หน่วยงาน ในด้านต่างๆ เช่น ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบด้านเศรษฐกิจการเงิน การให้บริการ สังคม ชุมชน และ สิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน แผนความต่อเนื่องจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่ว ยให้ หน่ ว ยงาน สามารถรั บ มื อกั บ เหตุ การณ์ ฉุ ก เฉิ น ที่ ไ ม่ค าดคิ ด และท าให้ ก ระบวนการที่ ส าคั ญ (Critical Business Process) สามารถกลับมาดาเนินการได้อย่างปกติ หรือตามระดับการให้บริการที่กาหนดได้ใน ระยะเวลาที่เหมาะสม ซึ่งจะช่วยให้สามารถลดระดับความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อหน่วยงาน วัตถุประสงค์ (Objectives) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานมีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้าในการรับมือกับ สภาวะวิกฤติหรือ เหตุการณ์ ฉุกเฉินต่างๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการดาเนินธุรกิจหรือการให้บริการ เพื่อบรรเทาความเสี ยหายให้ อยู่ระดับที่ยอมรับ ได้ เช่น ผลกระทบด้านเศรษฐกิจการเงิน การ ให้บริการ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เพื่อให้ ป ระชาขน เจ้ าหน้าที่ หน่วยงานรัฐ วิส าหกิจ หน่ว ยงานภาครัฐ และผู้ มีส่ ว นได้ส่ วนเสี ย (Stakeholders) มี่ความเชื่อมั่นในศักยภาพของหน่วยงาน แม้หน่ว ยงานต้องเผชิญกับเหตุการณ์ ร้ายแรงและส่งผลกระทบจนทาให้การดาเนินธุรกิจต้องหยุดชะงัก สมมติฐานของแผนความต่อเนื่อง (BCP Assumptions) เอกสารฉบับนี้จัดทาขึ้นภายใต้สมมติฐาน ดังต่อไปนี้ เหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาสาคัญต่างๆ แต่มิได้ส่งผลกระทบต่อสถานที่ปฏิบัติงาน สารองที่ได้มีการจัดเตรียมไว้ หน่ ว ยงานเทคโนโลยี ส ารสนเทศรั บ ผิ ด ชอบในการส ารองระบบสารสนเทศต่ า งๆ โดยระบบ สารสนเทศสารองนั้น มิได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ฉุกเฉินเดียวกันกับระบบสารสนเทศหลัก คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก2
“บุคลากร” ที่ถูกระบุในเอกสารฉบับนี้ หมายถึง พนักงานและเจ้าหน้าที่ทั้งหมดของหน่วยอภิบาล ผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี 1.1 ขอบเขตของแผนความต่อเนื่อง (Scope of BCP) แผนความต่อเนื่อง (BCP) ฉบับนี้ ใช้รับรองกรณีเกิดสภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน บริเวณสานักงาน ของหน่วยงาน หรือภายในของหน่วยงาน ประกอบด้วยเหตุการณ์ต่อไปนี้
เหตุการณ์อุทกภัย เหตุการณ์อัคคีภัย เหตุการณ์ชุมนุมประท้วง/ จลาจล เหตุการณ์โรคระบาด
อย่างไรก็ตาม แผนความต่อเนื่องฉบับนี้ได้จัดทาขึ้น เพื่อให้สามารถรองรับกับการบริหารความต่อเนื่องของ หน่วยงาน ในหลากหลายรูปแบบของสภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน โดยพิจารณาถึงผลกระทบต่อ ทรัพยากรที่สาคัญในการดาเนินธุรกิจ ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ 1. ผลกระทบด้านอาคาร / สถานที่ปฏิบัติงานหลัก: เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้ไม่สามารถปฏิบัติงานที่ สถานที่ปฏิบัติงานหลักของหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี ได้รับความเสียหายและ ส่งผลให้บุคลากรไม่สามารถเข้าไปปฏิบัติงานยังสถานที่ปฏิบัติงานหลัก ได้เป็นระยะชั่วคราวหรือ ระยะยาว 2. ผลกระทบด้านวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ / การจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ: เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ทาให้ไม่สามารถใช้งานวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ หรือไม่สามารถจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญได้ หรือมีวัสดุอุปกรณ์ ให้สามารถใช้งานในการปฏิบัติงานได้ตามปกติ 3. ผลกระทบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ : เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้ไม่สามารถใช้ ระบบงานเทคโนโลยี หรื อ ระบบสารสนเทศ หรือ ข้ อมู ล ที่ ส าคั ญ ได้ ให้ ส ามารถใช้ ง านในการ ปฏิบัติงานได้ตามปกติ 4. ผลกระทบด้านบุคลากรหลัก : เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้บุคลากรหลักไม่สามารถมาปฏิบัติงานได้ ตามปกติ 5. ผลกระทบด้านคู่ค้า / ผู้ให้บริการที่สาคัญ: เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้คู่ค้า/ ผู้ให้บริการไม่สามารถ ที่จะให้บริการหรือส่งมอบงานได้ ตามที่ระบุไว้กับทางหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก3
สรุปเหตุการณ์ภัยคุกคามและผลกระทบจากเหตุการณ์ ผลกระทบ
เหตุการณ์ภัยคุกคาม
ด้านวัสดุ ด้าน ด้านอาคาร/ อุปกรณ์ที่ เทคโนโลยี สถานที่ สาคัญ การ / ด้านบุคลากร สารสนเทศ ปฏิบัติงาน จัดหาจัดส่ง หลัก และข้อมูลที่ หลัก วัสดุอุปกรณ์ สาคัญ ที่สาคัญ
1
เหตุการณ์อุทกภัย
2
เหตุการณ์อัคคีภัย
3
เ ห ตุ ก า ร ณ์ ชุ ม นุ ม ประท้วง/ จลาจล
4
เ ห ตุ ก า ร ณ์ โ ร ค ระบาด
คู่ค้า ผู้ / ให้บริการที่ สาคัญ
แผนความต่อเนื่อง (BCP) ฉบับนี้ ไม่รองรับการปฏิบัติงานในกรณีที่มีเหตุขัดข้องต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการ ดาเนินธุรกิจปกติ โดยเหตุขัดข้องดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบระดับสูงต่อการดาเนินงานและการให้บริการของ หน่วยงาน และหน่วยงานยังสามารถจัดการหรือปรับปรุงแก้ไขได้ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม โดยผู้บริหาร หน่วยงานหรือผู้บริหารของแต่ละกลุ่มงานและฝ่ายงานสามารถรับผิดชอบและดาเนินการได้ด้วยตนเอง
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก4
2. การบริหารความต่อเนื่องของหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ 2.1 โครงสร้างและทีมงานแผนความต่อเนื่อง เพื่อให้แผนความต่อเนื่อง (BCP) นาไปปฏิบัติใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ควรมีการจัดตั้ง คณะบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) ของหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ ขึ้นโดยมีโครงสร้างดังนี้ 2) หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง 3) หัวหน้าทีมบริหารความต่อเนื่อง 4) ผู้ประสานงานคณะบริหารความต่อเนื่อง
รูปภาพที่ 2.1 – โครงสร้างคณะบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) ของหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ ซึ่งแต่ละตาแหน่งมีหน้าที่ในการร่วมมือดูแล ติดตาม ปฏิบัติงาน และกู้คืนเหตุการณ์ฉุกเฉินในแต่ละส่วน งานให้กลับสู่ภาวะปกติโดยเร็ ว ตามรายชื่อบุคลากรและบทบาทของทีมงานบริหารความต่อเนื่ อง (BCP Team) ที่กาหนดให้เป็นบุคลากรหลัก ในกรณีที่บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บุคลากรสารอง รับผิดชอบบทบาทของบุคลากรหลักไปก่อน จนกว่าจะได้มีการมอบหมายและแต่งขึ้นขึ้นโดยหัวหน้าคณะ บริหารความต่อเนื่องในการบริหารความต่อเนื่องและกอบกู้คืน บุคลากรหลัก ชื่อ นางสาว........
เบอร์มือถือ 08-1...-....
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
บทบาท
บุคลากรสารอง ชื่อ
หั ว ห น้ า ค ณ ะ บ ริ ห า ร นางสาว........ ความต่อเนื่อง หน่ว ย อ ภิ บ า ล ผู้ ป่ ว ย ห นั ก
เบอร์มือถือ 08-1...-....
ก5
บุคลากรหลัก ชื่อ
เบอร์มือถือ
บทบาท
บุคลากรสารอง ชื่อ
เบอร์มือถือ
โรงพยาบาลราชวิถี นางสาว........
08-1...-....
ผู้ ป ร ะ ส า น ง า น ค ณ ะ นางสาว........ บริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี
08-1...-....
นางสาว........
08-1...-....
หัวหน้าทีมบริหารความ นางสาว........ ต่อเนื่อง
08-1...-....
หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรคหัวใจ นางสาว........
08-1...-....
หัวหน้าทีมบริหารความ นางสาว........ ต่ อ เนื่ อ งหน่ ว ยอภิ บ าล ผู้ ป่ ว ยหนั ก ศั ล ยกรรม หัวใจ
08-1...-....
นางสาว........
08-1...-....
หัวหน้าทีมบริหารความ นางสาว........ ต่ อ เนื่ อ งหน่ ว ยอภิ บ าล ผู้ ป่ ว ยหนั ก ศั ล ยกรรม หัวใจเด็ก
08-1...-....
นางสาว........
08-1...-....
หัวหน้าทีมบริหารความ นางสาว........ ต่ อ เนื่ อ งหน่ ว ยอภิ บ าล ผู้ป่วยหนักอายุร-กรรม
08-1...-....
นางสาว........
08-1...-....
หัวหน้าทีมบริหารความ นางสาว........ ต่อเนื่อง
08-1...-....
หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัล ยกรรมประสาทและ สมอง นางสาว........
08-1...-....
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
หัวหน้าทีมบริหารความ นางสาว........ ต่อเนื่อง
08-1...-....
ก6
บุคลากรหลัก ชื่อ
เบอร์มือถือ
บุคลากรสารอง
บทบาท
ชื่อ
เบอร์มือถือ
หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมทั่วไป นางสาว........
08-1...-....
หัวหน้าทีมบริหารความ นางสาว........ ต่อเนื่อง
08-1...-....
หน่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน ตารางที่ 2.1 – รายชื่อบุคลากรและบทบาทของคณะบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) 2.2 กลยุทธ์ความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Strategy) ทรัพยากร อาคาร/ สถานที่ ปฏิบัติงานหลัก
กลยุทธ์ความต่อเนื่องทางธุรกิจ กาหนดให้ใช้พื้นที่ปฏิบัติงานสารองภายในโรงพยาบาลราชวิถี โดยมีการสารวจความเหมาะสมของสถานที่ ประสานงาน และการเตรียมความพร้อม กับหน่วยงานเจ้าของพื้นที่ ในกรณีที่ความเสียหายขยายเป็นวงกว้าง กาหนดให้ใช้หน่วย อภิบาลผู้ป่วยหนักของโรงพยาบาลข้างเคียง โดยมีการสารวจ ความเหมาะสมของสถานที่ ประสานงาน และการเตรียม ความพร้อมล่วงหน้า
วัสดุอุปกรณ์ที่ สาคัญ / การ จัดหาจัดส่งวัสดุ อุปกรณ์ที่สาคัญ
กาหนดให้สรรหาอุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์สารอง ที่มีอยู่ใน โรงพยาบาลก่อน แล้วจึงสรรหาจากภายนอก เช่น บริษัท ตัวแทนจาหน่ายอุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ กาหนดให้จัดเก็บวัสดุสิ้นเปลืองในปริมาณที่เหมาะสม ตาม รอบการสั่งซื้อผ่านหน่วยงานจัดซื้อจัดจ้าง และสรรหาวัสดุ สิ้นเปลืองที่มีอยู่ในโรงพยาบาลก่อน แล้วจึงสรรหาจาก ภายนอก เช่น บริษัทตัวแทนจาหน่าย กาหนดให้มีการจัดหาคอมพิวเตอร์สารอง ที่มีคุณลักษณะ เหมาะสมกับการใช้งาน พร้อมอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมโยงต่อ ผ่านเข้าสู่ระบบเทคโนโลยีของโรงพยาบาลราชวิถี
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก7
ทรัพยากร
กลยุทธ์ความต่อเนื่องทางธุรกิจ
เทคโนโลยี สารสนเทศและ ข้อมูลที่สาคัญ
เนื่องระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่ สาคัญของโรงพยาบาลราชวิถี มีลักษณะแบบรวมศูนย์และ เชื่อมโยงระบบเครือข่าย ทาให้หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถีไม่มีระบบคอมพิวเตอร์สารองของตนเอง และต้องรอจนกว่าระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ สารองของโรงพยาบาลราชวิถี จะกู้กอบให้สามารถใช้งานได้ ดาเนินการบันทึกข้อมูลด้วยระบบมือไปก่อน แล้วจึงบันทึก ข้อมูลระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ
บุคลากรหลัก
กาหนดให้ใช้บุคลากรสารองทดแทนภายในหน่วยงาน ฝ่าย / งานหรือกลุ่มงานเดียวกัน
คู่ค้า ผู้ให้บริการ / การไฟฟ้านครหลวงเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบในการจาหน่ายไฟฟ้า ที่สาคัญ อย่างไรก็ตาม โรงพยาบาลมีระบบไฟฟ้าสารองที่สามารถ จาหน่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่หน่วยงานที่สาคัญได้เป็น ระยะเวลาอย่างน้อย 8 ชั่วโมง หรือสามารถใช้เครื่องกาเนิดไฟ แทนได้โดยใช้น้ามันเป็นเชื้อเพลิง การประปานครหลวงเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบในการจาหน่าย น้าประปา อย่างไรก็ตาม โรงพยาบาลมีระบบสารองน้าให้ สามารถใช้สารองได้ระดับหนึ่ง จากนั้น จึงจะประสานงานและ จัดหาให้มีรถบรรทุกน้าจัดส่งมาให้ มูลนิธิให้การสนับสนุนด้านการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย \ปอเต็กตึ้ง (และมูลนิธิร่วมกตัญลู) 2.3 ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) ในการวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) ของหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี พบว่ากระบวนการหลักส่วนใหญ่มีความสาคัญและจาเป็นต้องดาเนินงานให้บริการได้ ภายในระยะเวลาอันสั้น อันประกอบด้วย
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก8
ระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นคืนสภาพเวลา กระบวนการ
0-2 2-4 ชั่วโมง ชั่วโมง
4-24 ชั่วโมง
2-7 วัน
1-2 สัปดาห์
2 สัปดาห์ ขึ้นไป
การประเมินอาการผู้ป่วยหนัก ก่อนรับเข้า หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก การเตรี ย มความพร้ อ มด้ า นสถานที่ แ ละ อุปกรณ์ การเตรียมงานผลัดเวรและรับมอบหมาย งานดูแลผู้ป่วยหนัก การติ ด ตามและดู แ ลอาการของผู้ ป่ ว ย อย่างต่อเนื่อง การแจ้ ง อาการของผู้ ป่ ว ยหนั ก ให้ แ พทย์ เจ้ า ของไข้ ท ราบ และประสานงาน หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ด าเนิ น การ วินิจฉัยและทดสอบเพิ่มเติม การจ่ายยา ตามแผนการรักษา
-
การให้อาหาร ตามแผนการรักษา
-
-
การดูแลกิจวัตรประจาวันของผู้ป่วย (ทา และดูแลความสุขสบายของความสะอาด ผู้ป่วยหนัก)
-
-
กิ จ กรรมหั ต ถการที่ เ กี่ ย วของกั บ พยาธิ สภาพและอาการของผู้ป่วยหนัก
การเบิกวัสดุสิ้นเปลือง
-
-
-
-
การแจ้ ง ติ ด ต่ อ ญาติ ข องผู้ ป่ ว ยหนั ก ให้ ข้อมูลการรักษา (เมื่อมีความเปลี่ยนแปลง)
การช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วยหนัก (CPR)
การจัดทารายงานสรุปผลการติดตามเพื่อ ส่งงานต่อไป
-
การแจ้ ง ติ ด ต่ อ ญาติ ข องผู้ ป่ ว ยหนั ก ให้
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก9
ระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นคืนสภาพเวลา กระบวนการ
0-2 2-4 ชั่วโมง ชั่วโมง
4-24 ชั่วโมง
2-7 วัน
1-2 สัปดาห์
2 สัปดาห์ ขึ้นไป
ข้อมูลการรักษา(ในกรณีเสียชีวิต) การประสานงานห้องผู้วายชนม์
-
การออกหนังสือรับรองการตาย
-
-
การแจ้ ง ติ ด ต่ อ ญาติ ข องผู้ ป่ ว ยหนั ก ให้ ข้อมูลการรักษาและ ในกรณีที่อาการดีขึ้น ย้ายออกได้
-
-
การย้ายผู้ป่วยออก
-
การประเมิน อาการผู้ ป่ วยหนั ก ก่อนย้ าย ออกจากหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก
การประสานงานกับ หน่ ว ยงานที่รั บ มอบ ผู้ ป่ ว ยและหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ หน่วยงานดูแลเรื่องอาหารและยา ฯลฯ
การรวบรวมและสรุ ป ค่ าใช้จ่ ายที่เ กิดขึ้ น ให้แก่ฝ่ายการเงิน เช่น ค่าทดสอบ, ค่า ตรวจพิเศษ และค่าใช้อุปกรณ์พิเศษ ฯลฯ
-
-
-
สาหรับกระบวนการอื่นๆ ที่ประเมินแล้ว อาจไม่ได้รับผลกระทบในระดับสูงถึงสูงมาก หรือมีความยืดหยุ่น ให้สามารถชะลอการดาเนินงานและให้บริการได้ ให้ผู้บริหารของฝ่ายงานหรือกลุ่มงานประเมินความจาเป็น และเหมาะสม ทั้งนี้ หากมีความจาเป็น ให้ปฏิบัติตามแนวทางการบริหารความต่อเนื่องเช่นเดียวกันกับ กระบวนการหลัก 2.4 กระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉิน Call Tree กระบวนการ Call Tree คือกระบวนการแจ้งเหตุฉุกเฉินให้กับสมาชิก ในคณะบริหารความต่อเนื่องและ ทีมงานบริ หารความต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องตามผังรายชื่อทางโทรศัพท์ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อการบริหาร จัดการขั้นตอนในการติดต่อพนักงาน ภายหลังจากมีการประกาศเหตุการณ์ฉุกเฉินหรือภาวะวิกฤตของ หน่วยงาน คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 10
จุดเริ่มต้นของกระบวนการ Call Tree จะเริ่มจากหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องแจ้งให้ผู้ประสานงาน คณะบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง โดยผู้ ป ระสานงานฯ จะแจ้ งให้ หั ว หน้ า ที ม บริ ห ารความต่ อเนื่ อ งรั บ ทราบ เหตุการณ์ฉุกเฉินและการประกาศใช้แผนความต่อเนื่อง ตามสายงานการบังคับบัญชาของแต่ละสายงาน หัวหน้าหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี แต่ละท่าน จึงติดต่อและแจ้งไปยังบุคลากรภายใต้การ บังคับบัญชาของตน รับทราบเหตุการณ์ฉุกเฉินและการประกาศใช้แผนความต่อเนื่องของหน่วยงานที่ได้รับ ผลกระทบ ตามรายชื่อและช่องทางติดต่อสื่อสารที่ได้ระบุใน ตารางที่ 2.1 สาหรับหัวหน้าคณะบริหารความ ต่อเนื่องในการบริหารความต่อเนื่อง ทีมบริหารความต่อเนื่อง และผู้ประสานงานบริหารความต่อเนื่อง และเอกสารแนบ ก สาหรับรายชื่อและรายละเอียดของบุคลากรทั้งหมดในหน่วยงาน ในกรณีที่ไม่สามารถติดต่อหัวหน้าทีมได้ ให้ติดต่อไปยังบุคลากรสารอง โดยพิจารณา: ถ้าเหตุการณ์เกิดขึ้นในเวลาทาการ ให้ดาเนินการติดต่อบุคลากรหลักโดยติดต่อผ่านเบอร์โทรศัพท์ ของหน่วยงานเป็นช่องทางแรก ถ้าเหตุการณ์เกิดขึ้นนอกเวลาทาการหรือสถานที่ปฏิบัติงานหลักได้รับผลกระทบ ให้ดาเนินการ ติดต่อบุคลากรหลักโดยติดต่อผ่านเบอร์โทรศัพท์มือถือเป็นช่องทางแรก ถ้าสามารถติดต่อบุคลากรหลักได้ให้แจ้งข้อมูลแก่บุคลากรหลักของหน่วยงานทราบ ดังต่อไปนี้: - สรุปสถานการณ์ของเหตุการณ์ฉุกเฉินและการประกาศใช้แผนความต่อเนื่อง - เวลาและสถานที่สาหรับการนัดประชุมเร่งด่วนของหน่วยงาน สาหรับผู้บริหารของหน่วยงาน และทีมงานบริหารความต่อเนื่อง - ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เพื่อบริหารความต่อเนื่องต่อไป เช่น สถานที่รวมพลในกรณีที่มีการย้าย สถานที่ทาการ
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 11
รูปภาพที่ 2.5 – กระบวนการแจ้งเหตุ Call Tree ภายหลังจากได้รับการตอบรับจากบุคลากรหลักครบถ้วนตามผังการติดต่อ (Call Tree) หัวหน้าหน่วยงาน มีห น้ าที่โทรกลั บไปแจ้ งยั ง ผู้ ป ระสานงานคณะบริห ารความต่อเนื่อง เพื่อรวบรวมสรุปความพร้อมของ หน่วยงานในการบริหารความต่อเนื่อง รวมทั้งความปลอดภัยในชีวิติและทรัพย์สินของหน่วยงานและ เจ้าหน้าที่ทั้งหมดในหน่วยงาน ทีมบริหารความต่อเนื่องมีหน้าที่ในการปรับปรุงข้อมูลสาหรับการติดต่อให้เป็นปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ กระบวนการติดต่อพนักงานภายในหน่ ว ยงานสามารถดาเนินได้อย่างต่อเนื่องและส าเร็จลุ ล่ ว งภายใน ระยะเวลาที่คาดหวัง ในกรณีที่ เกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินและมีการประกาศใช้แผนความต่อเนื่อง
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 12
2.5 ขั้นตอนการบริหารความเนื่องและกอบกู้กระบวนการ วันที่ 1 ภายใน(24 ชั่วโมง): การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของหน่วยงาน คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากร อื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กาหนดขึ้น โดยโรงพยาบาลราชวิถีอย่างเคร่งครัด ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
- ติดตาม สอบถาม และประเมินเหตุฉุกเฉินวิกฤติ กับ/ หั ว หน้ า คณะบริ ห ารความ ผู้อานวยการโรงพยาบาลราชวิถีเพื่อประเมินความ ต่อเนื่อง จาเป็นในการประกาศใช้แผนบริหารความต่อเนื่อง o หัวหน้า /หัวหน้าตึก (ในเวลาราชการ) ผู้อานวยการโรงพยาบาลราชวิถี /พยาบาล o ผู้ตรวจการพยาบาล (นอกเวลาราชการ) /หัวหน้าพยาบาล /โรงพยาบาลราชวิถี ผู้อานวยการ /ผู้อานวยการนอกเวลา โรงพยาบาลราชวิถี - แจ้งเหตุฉุกเฉิน วิกฤติ ตามกระบวนการ/Call Tree ให้กบั บุคลากรหลักในหน่วยงาน และกลุ่มงานฯ - จัดประชุมคณะบริหารความต่อเนื่อง เพื่อรับทราบ หั ว หน้ า คณะบริ ห ารความ ต่ อ เนื่ อ งและหั ว หน้ า ที ม งาน และประเมินความเสียหาย ผลกระทบต่อการ ดาเนินงานและให้บริการ และทรัพยากรสาคัญที่ต้อง บริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งของ หน่วยงาน ใช้ในการบริหารความต่อเนื่อง - รับทราบและพิจารณาอนุมัติกระบวนงานงานที่มี / ความเร่งด่วน และส่งผลกระทบอย่างสูงจาเป็นต้อง ดาเนินงานหรือปฏิบัติด้วยมือ(Manual Processing)
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ดาเนินการ แล้วเสร็จ
ก 13
วันที่ 1 ภายใน(24 ชั่วโมง): การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที หั ว หน้ า คณะบริ ห ารความ - รับทราบรายงานจากหน่วยงาน ครอบคลุม • สรุปจานวนและรายชื่อบุคลากรที่ได้รับบาดเจ็บ / ต่อเนื่อง เสียชีวิต • ความเสียหายและผลกระทบต่อการดาเนินงาน และให้บริการ • ทรัพยากรสาคัญที่ต้องใช้ในการบริหารความ ต่อเนื่อง • กระบวนงานงานที่มีความเร่งด่วน และส่งผล / กระทบอย่างสูงจาเป็นต้องดาเนินงานหรือปฏิบัติ ด้วยมือ(Manual Processing) หั ว หน้ า คณะบริ ห ารความ - พิจารณาและอนุมัติเนื้อหาและข้อความ เพื่อใช้ใน ต่ อ เนื่ อ งและหั ว หน้ า ที ม งาน การสื่อสารและรายงานสถานการณ์แก่บุคลากรใน บริหารความต่อเนื่อง หน่วยงานให้ทราบ
- พิจารณาและอนุมัติการจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต้อง หั ว หน้ า คณะบริ ห ารความ ต่ อ เนื่ อ งและหั ว หน้ า ที ม งาน ใช้ในการบริหารความต่อเนื่อง: บริหารความต่อเนื่อง สถานที่ปฏิบัติงานสารอง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ บุคลากรหลัก คู่ค้า /ผู้ให้บริการที่สาคัญ หั ว หน้ า คณะบริ ห ารความ - พิจารณา ประสานงาน จัดสรรเงินสารอง ต่ อ เนื่ อ งและหั ว หน้ า ที ม งาน บริหารความต่อเนื่อง - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ ต่อเนื่องของโรงพยาบาลราชวิถีและหน่วยงานกากับ ต่อเนื่อง ดูแล อย่างสม่าเสมอหรือตามที่ได้มีการกาหนด
หมายเหตุ : ถ้ า เหตุ ก ารณ์ ฉุ ก เฉิ น นั้ น เกิ ด ขี ด ความสามารถที่ โ รงพยาบาลราชวิ ถี จ ะรั บ มื อ ได้ ให้ ติ ด ต่ อ ประสานงานไปยังผู้อานวยการเพื่อขอความช่วยเหลือต่อไป
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 14
วันที่ 2-3การตอบสนองในระยะสั้น ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของหน่วยงาน คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากร อื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กาหนดขึ้น โดยโรงพยาบาลราชวิถีอย่างเคร่งครัด ดาเนินการ
ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
- ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ ได้รับผลกระทบ และประเมินความจาเป็นและ ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน
หั ว หน้ า คณะบริ ห ารความ ต่ อ เนื่ อ งและหั ว หน้ า ที ม งาน บริหารความต่อเนื่อง
- รับทราบและกาหนดแนวทางการเตรียมความพร้อม และข้อจากัดในการจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ ในการบริหารความต่อเนื่อง: สถานที่ปฏิบัติงานสารอง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ บุคลากรหลัก คู่ค้า มูลนิธิให้การ / ผู้ให้บริการที่สาคัญ / สนับสนุนด้านการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
หั ว หน้ า คณะบริ ห ารความ ต่ อ เนื่ อ งและหั ว หน้ า ที ม งาน บริหารความต่อเนื่อง
- รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ ต่อเนื่องของโรงพยาบาลราชวิถีและหน่วยงานกากับ ต่อเนื่อง ดูแล อย่างสม่าเสมอหรือตามที่ได้มีการกาหนด
แล้วเสร็จ
หมายเหตุ : ถ้ า เหตุ ก ารณ์ ฉุ ก เฉิ น นั้ น เกิ ด ขี ด ความสามารถที่ โ รงพยาบาลราชวิ ถี จ ะรั บ มื อ ได้ ให้ ติ ด ต่ อ ประสานงานไปยังผู้อานวยการเพื่อขอความช่วยเหลือต่อไป
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 15
วันที่ 4-7: การตอบสนองระยะกลาง (1 สัปดาห์) ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของหน่วยงาน คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากร อื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กาหนดขึ้น โดยโรงพยาบาลราชวิถีอย่างเคร่งครัด ดาเนินการ
ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
- ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ ได้รับผลกระทบ และประเมินความจาเป็นและ ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน
หั ว หน้ า คณะบริ ห ารความ ต่ อ เนื่ อ งและหั ว หน้ า ที ม งาน บริหารความต่อเนื่อง
- พิจารณาและอนุมัติการจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต้อง หั ว หน้ า คณะบริ ห ารความ ต่ อ เนื่ อ งและหั ว หน้ า ที ม งาน ใช้เพื่อดาเนินงานและให้บริการตามปกติ: บริหารความต่อเนื่อง สถานที่ปฏิบัติงานสารอง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ บุคลากรหลัก คู่ค้า ผู้ให้บริการที่สาคัญ / - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ ต่อเนื่องของโรงพยาบาลราชวิถีและหน่วยงานกากับ ต่อเนื่อง ดูแล อย่างสม่าเสมอหรือตามที่ได้มีการกาหนด
แล้วเสร็จ
หมายเหตุ : ถ้ า เหตุ ก ารณ์ ฉุ ก เฉิ น นั้ น เกิ ด ขี ด ความสามารถที่ โ รงพยาบาลราชวิ ถี จ ะรั บ มื อ ได้ ให้ ติ ด ต่ อ ประสานงานไปยังผู้อานวยการเพื่อขอความช่วยเหลือต่อไป
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 16
3. การบริหารความต่อเนื่องของหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก 3.1 ทีมงานแผนความต่อเนื่อง เพื่อให้แผนความต่อเนื่อง (BCP) ของฝ่ายบริหารทั่วไปนาไปปฏิบัติใช้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล กาหนดให้มีการจัดตั้งทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) ของหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก แต่ละหน่วยในโรงพยาบาลราชวิถีขึ้น ซึ่งประกอบด้วย 3.1.1 3.1.2 3.1.3 3.1.4 3.1.5 3.1.6 3.1.7
หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนักโรคหัวใจ หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนักศัลยกรรมหัวใจ หน่วยผู้อภิบาลป่วยหนักศัลยกรรมหัวใจเด็ก หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนักอายุรกรรม หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนักศัลยกรรมประสาทและสมอง หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนักศัลยกรรมทั่วไป หน่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน
โดย BCP Team ประกอบด้วยตาแหน่ง หัวหน้าทีมงานบริหารความต่อเนื่อง ทีมงานบริหารความต่อเนื่อง แต่ละตาแหน่งมีหน้าที่ในการร่วมมือดูแล ติดตาม ปฏิบัติงาน และกู้คืนเหตุการณ์ฉุกเฉินในฝ่ายบริหารทั่วไป ให้สามารถบริหารความต่อเนื่องและกลับดาเนินงานสู่ภาวะปกติโดยเร็ว ตามรายชื่อบุคลากรและบทบาท ของทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) ในกรณีที่บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ บุคลากรส ารองรั บ ผิ ดชอบบทบาทของบุคลากรหลั ก จนกว่าจะได้มีการมอบหมายและแต่งขึ้นขึ้นโดย หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องในการบริหารความต่อเนื่องและกอบกู้คืน
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 17
บุคลากรหลัก ชื่อ
บุคลากรสารอง เบอร์มือถือ
บทบาท
เบอร์มือ ถือ
ชื่อ
นางสาว........
08-1...-.... หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห าร นางสาว........ ความต่อเนื่อง
08-1...-....
นางสาว........
08-1...-.... ที ม งานบริ ห ารคว าม นางสาว........ ต่อเนื่อง
08-1...-....
ตารางที่ 3.1.1 : รายชื่อบุคลากรในทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) -หน่วยอภิบาล ผู้ป่วยหนักโรคหัวใจ บุคลากรหลัก ชื่อ
เบอร์มือถือ
บทบาท
บุคลากรสารอง ชื่อ
เบอร์มือถือ
นางสาว........
08-1...-....
หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห าร นางสาว........ ความต่อเนื่อง
08-1...-....
นางสาว........
08-1...-....
ที ม งานบริ ห ารคว าม นางสาว........ ต่อเนื่อง
08-1...-....
ตารางที่ 3.1.2 : รายชื่อบุคลากรในทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team)– หน่วยอภิบาล ผู้ป่วยหนักศัลยกรรมหัวใจ บุคลากรหลัก ชื่อ
เบอร์มือถือ
บทบาท
บุคลากรสารอง ชื่อ
เบอร์มือถือ
นางสาว........
08-1...-....
หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห าร นางสาว........ ความต่อเนื่อง
08-1...-....
นางสาว........
08-1...-....
ที ม งานบริ ห ารคว าม นางสาว........ ต่อเนื่อง
08-1...-....
ตารางที่ 3.1.3 : รายชื่อบุคลากรในทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) -หน่วยอภิบาล ผู้ป่วยหนักศัลยกรรมหัวใจเด็ก
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 18
บุคลากรหลัก ชื่อ
เบอร์มือถือ
บทบาท
บุคลากรสารอง ชื่อ
เบอร์มือถือ
นางสาว........
08-1...-....
หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห าร นางสาว........ ความต่อเนื่อง
08-1...-....
นางสาว........
08-1...-....
ที ม งานบริ ห ารคว าม นางสาว........ ต่อเนื่อง
08-1...-....
ตารางที่ 3.1.4 : รายชื่อบุคลากรในทีมงานบริหารความต่อเนื่อง(BCP Team) - หน่วยอภิบาล ผู้ป่วยหนักอายุรกรรม บุคลากรหลัก ชื่อ
เบอร์มือถือ
บทบาท
บุคลากรสารอง ชื่อ
เบอร์มือถือ
นางสาว........
08-1...-....
หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห าร นางสาว........ ความต่อเนื่อง
08-1...-....
นางสาว........
08-1...-....
ที ม งานบริ ห ารคว าม นางสาว........ ต่อเนื่อง
08-1...-....
ตารางที่ 3.1.5 : รายชื่อบุคลากรในทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) -หน่วยอภิบาล ผู้ป่วยหนักศัลยกรรมประสาทและสมอง บุคลากรหลัก ชื่อ
เบอร์มือถือ
บทบาท
บุคลากรสารอง ชื่อ
เบอร์มือถือ
นางสาว........
08-1...-....
หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห าร นางสาว........ ความต่อเนื่อง
08-1...-....
นางสาว........
08-1...-....
ที ม งานบริ ห ารคว าม นางสาว........ ต่อเนื่อง
08-1...-....
ตารางที่ 3.1.6 : รายชื่อบุคลากรในทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) –หน่วยอภิบาล ผู้ป่วยหนักศัลยกรรมทั่วไป
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 19
บุคลากรหลัก ชื่อ
เบอร์มือถือ
บุคลากรสารอง
บทบาท
ชื่อ
เบอร์มือถือ
นางสาว........
08-1...-....
หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห าร นางสาว........ ความต่อเนื่อง
08-1...-....
นางสาว........
08-1...-....
ที ม งานบริ ห ารคว าม นางสาว........ ต่อเนื่อง
08-1...-....
ตารางที่ 3.1.7 : รายชื่อบุคลากรในทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) – หน่วยอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน 3.2 กลยุทธ์ความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Strategy) ทรัพยากร อาคาร/ สถานที่ ปฏิบัติงานหลัก
กลยุทธ์ความต่อเนื่องทางธุรกิจ กาหนดให้ใช้พื้นที่ปฏิบัติงานสารองภายในโรงพยาบาลราชวิถี โดยมีการสารวจความเหมาะสมของสถานที่ ประสานงาน และการเตรียมความพร้อม กับหน่วยงานเจ้าของพื้นที่ ในกรณีที่ความเสียหายขยายเป็นวงกว้าง กาหนดให้ใช้หน่วย อภิบาลผู้ป่วยหนักของโรงพยาบาลข้างเคียง โดยมีการสารวจ ความเหมาะสมของสถานที่ ประสานงาน และการเตรียม ความพร้อมล่วงหน้า
วัสดุอุปกรณ์ที่ สาคัญ / การ จัดหาจัดส่งวัสดุ อุปกรณ์ที่สาคัญ
กาหนดให้สรรหาอุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์สารอง ที่มีอยู่ใน โรงพยาบาลก่อน แล้วจึงสรรหาจากภายนอก เช่น บริษัท ตัวแทนจาหน่ายอุปกรณ์เครื่องมือการแพทย์ กาหนดให้จัดเก็บวัสดุสิ้นเปลืองในปริมาณที่เหมาะสม ตาม รอบการสั่งซื้อผ่านหน่วยงานจัดซื้อจัดจ้าง และสรรหาวัสดุ สิ้นเปลืองที่มีอยู่ในโรงพยาบาลก่อน แล้วจึงสรรหาจาก ภายนอก เช่น บริษัทตัวแทนจาหน่าย กาหนดให้มีการจัดหาคอมพิวเตอร์สารอง ที่มีคุณลักษณะ เหมาะสมกับการใช้งาน พร้อมอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมโยงต่อ ผ่านเข้าสู่ระบบเทคโนโลยีของโรงพยาบาลราชวิถี
เทคโนโลยี สารสนเทศและ ข้อมูลที่สาคัญ คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
เนื่องระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่ สาคัญของโรงพยาบาลราชวิถี มีลักษณะแบบรวมศูนย์และ เชื่อมโยงระบบเครือข่าย ทาให้หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ก 20
ทรัพยากร
กลยุทธ์ความต่อเนื่องทางธุรกิจ โรงพยาบาลราชวิถีไม่มีระบบคอมพิวเตอร์สารองของตนเอง และต้องรอจนกว่าระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ สารองของโรงพยาบาลราชวิถี จะกู้กอบให้สามารถใช้งานได้ ดาเนินการบันทึกข้อมูลด้วยระบบมือไปก่อน แล้วจึงบันทึก ข้อมูลระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากรหลัก
กาหนดให้ใช้บุคลากรสารองทดแทนภายในหน่วยงาน ฝ่าย / งานหรือกลุ่มงานเดียวกัน
คู่ค้า /ผู้ให้บริการ การไฟฟ้านครหลวงเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบในการจาหน่ายไฟฟ้า ที่สาคัญ อย่างไรก็ตาม โรงพยาบาลมีระบบไฟฟ้าสารองที่สามารถ จาหน่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่หน่วยงานที่สาคัญได้เป็น ระยะเวลาอย่างน้อย 8 ชั่วโมง หรือสามารถใช้เครื่องกาเนิดไฟ แทนได้โดยใช้น้ามันเป็นเชื้อเพลิง การประปานครหลวงเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบในการจาหน่าย น้าประปา อย่างไรก็ตาม โรงพยาบาลมีระบบสารองน้าให้ สามารถใช้สารองได้ระดับหนึ่ง จากนั้น จึงจะประสานงานและ จัดหาให้มีรถบรรทุกน้าจัดส่งมาให้ มูลนิธิให้การสนับสนุนด้านการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยมูลนิธิปอ เต็กตึ้งและมูลนิธิร่วมกตัญลู ตารางที่ - 3.2กลยุทธ์ความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Strategy)
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 21
3.3 ความต้องการด้านทรัพยากรที่จาเป็นต่อการบริหารความต่อเนื่อง ในการวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) ของหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราชวิถี พบว่ากระบวนการหลักส่วนใหญ่มีความสาคัญและจาเป็นต้องดาเนินงานให้บริการได้ ภายในระยะเวลาอันสั้น อันประกอบด้วย ระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นคืนสภาพเวลา กระบวนการ
0-2 2-4 ชั่วโมง ชั่วโมง
4-24 ชั่วโมง
2-7 วัน
1-2 สัปดาห์
2 สัปดาห์ ขึ้นไป
การประเมินอาการผู้ป่วยหนัก ก่อนรับเข้า หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก การเตรี ย มความพร้ อ มด้ า นสถานที่ แ ละ อุปกรณ์ การเตรียมงานผลัดเวรและรับมอบหมาย งานดูแลผู้ป่วยหนัก การติ ด ตามและดู แ ลอาการของผู้ ป่ ว ย อย่างต่อเนื่อง การแจ้ ง อาการของผู้ ป่ ว ยหนั ก ให้ แ พทย์ เจ้ า ของไข้ ท ราบ และประสานงาน หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ด าเนิ น การ วินิจฉัยและทดสอบเพิ่มเติม การจ่ายยา ตามแผนการรักษา
-
การให้อาหาร ตามแผนการรักษา
-
-
การดูแลกิจวัตรประจาวันของผู้ป่วย (ทา ความสะอาดและดูแลความสุขสบายของ (ผู้ป่วยหนัก
-
-
กิ จ กรรมหั ต ถการที่ เ กี่ ย วของกั บ พยาธิ สภาพและอาการของผู้ป่วยหนัก
การเบิกวัสดุสิ้นเปลือง
-
-
-
-
การแจ้ ง ติ ด ต่ อ ญาติ ข องผู้ ป่ ว ยหนั ก ให้
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 22
ระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นคืนสภาพเวลา กระบวนการ
0-2 2-4 ชั่วโมง ชั่วโมง
4-24 ชั่วโมง
2-7 วัน
1-2 สัปดาห์
2 สัปดาห์ ขึ้นไป
ข้อมูลการรักษา (เมื่อมีความเปลี่ยนแปลง) การช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วยหนัก (CPR)
การจัดทารายงานสรุปผลการติดตามเพื่อ ส่งงานต่อไป
-
การแจ้ ง ติ ด ต่ อ ญาติ ข องผู้ ป่ ว ยหนั ก ให้ ข้อมูลการรักษา (ในกรณีเสียชีวิต)
การประสานงานห้องผู้วายชนม์
-
การออกหนังสือรับรองการตาย
-
-
การแจ้ ง ติ ด ต่ อ ญาติ ข องผู้ ป่ ว ยหนั ก ให้ ข้อมูลการรักษา (ในกรณีที่อาการดีขึ้นและ (ย้ายออกได้
-
-
การย้ายผู้ป่วยออก
-
การประเมิน อาการผู้ ป่ วยหนั ก ก่อนย้ าย ออกจากหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก
การประสานงานกับ หน่ ว ยงานที่รั บ มอบ ผู้ ป่ ว ยและหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อาทิ หน่วยงานดูแลเรื่องอาหารและยา ฯลฯ
การรวบรวมและสรุ ป ค่ าใช้จ่ ายที่เ กิดขึ้ น ให้แก่ฝ่ายการเงิน เช่น ค่าทดสอบ, ค่า ตรวจพิเศษ และค่าใช้อุปกรณ์พิเศษ ฯลฯ
-
-
-
ตารางที่ 3.3 - ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) สาหรับกระบวนการอื่นๆ ที่ประเมินแล้ว อาจไม่ได้รับผลกระทบในระดับสูงถึงสูงมาก หรือมีความยืดหยุ่น ให้สามารถชะลอการดาเนินงานและให้บริการได้ ให้ผู้บริหารของฝ่ายงานหรือกลุ่มงานประเมินความจาเป็น
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 23
และเหมาะสม ทั้งนี้ หากมี ความจาเป็น ให้ปฏิบัติตามแนวทางการบริหารความต่อเนื่องเช่นเดียวกันกับ กระบวนการหลัก 3.3.1 ความต้องการด้านสถานที่ปฏิบัติงานสารอง (Working Space Requirement) สถานที/่ 1-2 2 0-2 2-4 4-24 2-7 ประเภททรัพยากร แหล่งที่มา สัปดา สัปดา ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง วัน ห์ ห์ขึ้นไป หน่ ว ยอภิบ าลผู้ ป่ ว ยหนั ก โรงพยาบาล 250 โรคหัวใจ ร า ช วิ ถี / ตร.ม. พื้ น ที่ ส า ห รั บ ส ถ า น ที่ ส ถ า น ที่ ภายนอก ปฏิบัติงานสารอง หน่ ว ยอภิบ าลผู้ ป่ ว ยหนั ก โรงพยาบาล 250 ศัลยกรรมหัวใจ ร า ช วิ ถี / ตร.ม. พื้ น ที่ ส า ห รั บ ส ถ า น ที่ ส ถ า น ที่ ภายนอก ปฏิบัติงานสารอง หน่ ว ยอภิบ าลผู้ ป่ ว ยหนั ก โรงพยาบาล 250 ศัลยกรรมหัวใจเด็ก ร า ช วิ ถี / ตร.ม. พื้ น ที่ ส า ห รั บ ส ถ า น ที่ ส ถ า น ที่ ภายนอก ปฏิบัติงานสารอง หน่ ว ยอภิบ าลผู้ ป่ ว ยหนั ก โรงพยาบาล 250 อายุรกรรม ร า ช วิ ถี / ตร.ม. พื้ น ที่ ส า ห รั บ ส ถ า น ที่ ส ถ า น ที่ ภายนอก ปฏิบัติงานสารอง หน่ ว ยอภิบ าลผู้ ป่ ว ยหนั ก โรงพยาบาล 250 ศั ล ยกรรมประสาทและ ร า ช วิ ถี / ตร.ม. สมอง ส ถ า น ที่ พื้ น ที่ ส า ห รั บ ส ถ า น ที่ ภายนอก
250
250
250
250
250
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
250
250
250
250
250
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
250
250
250
250
250
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
250
250
250
250
250
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
250
250
250
250
250
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
250
250
250
250
250
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ปฏิบัติงานสารอง หน่ ว ยอภิบ าลผู้ ป่ ว ยหนั ก โรงพยาบาล 250 ศัลยกรรมทั่วไป ร า ช วิ ถี / ตร.ม. พื้ น ที่ ส า ห รั บ ส ถ า น ที่ ส ถ า น ที่ คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 24
ประเภททรัพยากร ปฏิบัติงานสารอง
สถานที/่ แหล่งที่มา
0-2 2-4 ชั่วโมง ชั่วโมง
4-24 ชั่วโมง
2-7 วัน
1-2 2 สัปดา สัปดา ห์ ห์ขึ้นไป
ภายนอก
หน่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน
โรงพยาบาล 1,000 พื้ น ที่ ส า ห รั บ ส ถ า น ที่ ร า ช วิ ถี / ตร.ม. ส ถ า น ที่ ปฏิบัติงานสารอง ภายนอก
1,000
1,000
1,000
1,000
1,000
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
รวม 2,500
2,500
2,500
2,500
2,500
2,500
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตารางที่ 3.4 - ความต้องการด้านสถานที่ปฏิบัติงานสารอง (Working Space Requirement)
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 25
3.3.2 ความต้องการด้านวัสดุอุปกรณ์ (Equipment & Supplies Requirement) สถานที่ / 2 0-2 2-4 4-24 1-2 ประเภททรัพยากร แหล่งที่มา 2-7 วัน สัปดาห์ ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง สัปดาห์ ขึ้นไป 1. เครื่องตรวจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiograp hy)
โรงพยาบาล 1 ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
2. เครื่องมอนิเตอร์ สัญญาณชีพ (Vital Sign) และความดัน โลหิต
โรงพยาบาล 8 ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
8 เครื่อง
8 เครื่อง
8 เครื่อง
8 เครื่อง
8 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
4. เครื่องกระตุ้นหัวใจ แบบชั่วคราว (Pace Maker Generator)
โรงพยาบาล 4 ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
4 เครื่อง
4 เครื่อง
4 เครื่อง
4 เครื่อง
4 เครื่อง
5. เครื่องช่วยหายใจ
โรงพยาบาล 10 ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
10 เครื่อง
10 เครื่อง
10 เครื่อง
10 เครื่อง
10 เครื่อง
6. เครื่องไตเทียม
โรงพยาบาล 1 ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
7. เครื่องวัดระดับความ อิ่มตัวของออกซิเจน ในกระแสเลือด (Pulse Oximeter)
โรงพยาบาล 1 ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
3. Mobile Monitor
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 26
ประเภททรัพยากร 8. เครื่องควบคุมการ ไหลของสารน้าและ ยา (Infusion Pump)
สถานที่ / แหล่งที่มา
0-2 2-4 ชั่วโมง ชั่วโมง
2 4-24 1-2 2-7 วัน สัปดาห์ ชั่วโมง สัปดาห์ ขึ้นไป
โรงพยาบาล 24 ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
24 เครื่อง
24 เครื่อง
24 เครื่อง
24 เครื่อง
24 เครื่อง
9. เครื่องกระตุกหัวใจ & โรงพยาบาล 1-2 Defibrillator ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
1-2 เครื่อง
1-2 เครื่อง
1-2 เครื่อง
1-2 เครื่อง
1-2 เครื่อง
10. เครื่องดูดเสมหะแบบ โรงพยาบาล 8 ติดผนัง(Suction) ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
8 เครื่อง
8 เครื่อง
8 เครื่อง
8 เครื่อง
8 เครื่อง
11. สายสวนหัวใจ (Swan-Ganz Catheter)
โรงพยาบาล 5 เส้น ร า ช วิ ถี / ตั ว แ ท น จาหน่าย
5 เส้น
5 เส้น
5 เส้น
5 เส้น
5 เส้น
12. Portable X-Ray
โรงพยาบาล 1 ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
13. Portable Ultrasound
โรงพยาบาล 1 ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
14. Echo Cardiography
โรงพยาบาล 1 ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 27
ประเภททรัพยากร 15. เครื่องวัดความดัน กะโหลกศีรษะ
สถานที่ / แหล่งที่มา
0-2 2-4 ชั่วโมง ชั่วโมง
โรงพยาบาล 1 ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
2 4-24 1-2 2-7 วัน สัปดาห์ ชั่วโมง สัปดาห์ ขึ้นไป
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
1 เครื่อง
16. ชุดให้อาหารทางสาย โรงพยาบาล 10 ชุด 10 ชุด ยาง ร า ช วิ ถี / ตั ว แ ท น จาหน่าย
10 ชุด
10 ชุด
10 ชุด
10 ชุด
17. ชุดต่อวัดความดันใน หัวใจ (CVP, Arterial Line, Swan-Ganz, etc)
8 ชุด
8 ชุด
8 ชุด
8 ชุด
โรงพยาบาล 8 ชุด ร า ช วิ ถี / ตั ว แ ท น จาหน่าย
8 ชุด
18. อุปกรณ์ระบายของเห โรงพยาบาล 5-8 ชุด 5-8 ชุด 5-8 ชุด 5-8 ชุด 5-8 ชุด 5-8 ชุด ลงออกจากร่างกาย ร า ช วิ ถี / (Chest Drain) ตั ว แ ท น จาหน่าย 19. อุปกรณ์สายสวนต่าง (Catheter)
โรงพยาบาล 20 ชุด 20 ชุด ร า ช วิ ถี / ตั ว แ ท น จาหน่าย
20 ชุด
20 ชุด
20 ชุด
20 ชุด
20. Emergency Cart
โรงพยาบาล 1 ชุด ร า ช วิ ถี / ตั ว แ ท น จาหน่าย
1 ชุด
1 ชุด
1 ชุด
1 ชุด
21. เตียงไฟฟ้า
โรงพยาบาล 8 เตียง 8 เตียง 8 เตียง 8 เตียง 8 เตียง 8 เตียง ร า ช วิ ถี / ตั ว แ ท น จาหน่าย
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
1 ชุด
ก 28
ประเภททรัพยากร
สถานที่ / แหล่งที่มา
0-2 2-4 ชั่วโมง ชั่วโมง
2 4-24 1-2 2-7 วัน สัปดาห์ ชั่วโมง สัปดาห์ ขึ้นไป
22. Over-Bed
โรงพยาบาล 8 ตัว ร า ช วิ ถี / ตั ว แ ท น จาหน่าย
8 ตัว
8 ตัว
8 ตัว
8 ตัว
8 ตัว
23. โต๊ะข้างเตียงผู้ป่วย
โรงพยาบาล 8 ตัว ร า ช วิ ถี / ตั ว แ ท น จาหน่าย
8 ตัว
8 ตัว
8 ตัว
8 ตัว
8 ตัว
24. Intra-Aortic Balloon Pump (IABP) เครื่องปั้ม เลือดไปเลี้ยงหัวใจ
โรงพยาบาล 2 ร า ช วิ ถี / เครื่อง ตั ว แ ท น จาหน่าย
2 เครื่อง
2 เครื่อง
2 เครื่อง
2 เครื่อง
2 เครื่อง
25. อุปกรณ์ช่วยชีวิต เช่น Ambu bag ท่อ ET Tube ขนาดต่างๆ อย่าง ละ 2 ชิ้น อื่นๆ 26. Pat Slide
โรงพยาบาล 24 ชุด 24 ชุด ร า ช วิ ถี / ตั ว แ ท น จาหน่าย
24 ชุด
24 ชุด
24 ชุด
24 ชุด
โรงพยาบาล 1 แผ่น 1 แผ่น ร า ช วิ ถี / ตั ว แ ท น จาหน่าย
1 แผ่น
1 แผ่น
1 แผ่น
1 แผ่น
27. วัสดุสิ้นเปลืองทั่วไป ทางการแพทย์
โรงพยาบาล ร า ช วิ ถี / ตั ว แ ท น จาหน่าย
28. คอมพิวเตอร์
โรงพยาบาล 4 ร า ช วิ ถี / เครื่อง
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
หมายเหตุ: เบิกใช้ตามความ เหมาะสม
4 เครื่อง
4 เครื่อง
4 เครื่อง
4 4 เครื่อง เครื่อง ก 29
ประเภททรัพยากร
สถานที่ / แหล่งที่มา
0-2 2-4 ชั่วโมง ชั่วโมง
2 4-24 1-2 2-7 วัน สัปดาห์ ชั่วโมง สัปดาห์ ขึ้นไป
ตั ว แ ท น จาหน่าย ตารางที่ 3.5 - ความต้องการด้านวัสดุอุปกรณ์ (Equipment & Supplies Requirement) 3.3.3 ความต้องการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูล (IT & Information Requirement) เนื่องระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญของโรงพยาบาลราชวิถี เป็นลักษณะแบบ รวมศูนย์และเชื่อมโยงระบบเครือข่ายต่อผ่านอินเตอร์เนต ทาให้หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรงพยาบาลราช วิถีจังหวัดไม่มีระบบคอมพิวเตอร์สารองและต้องรอจนกว่าระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของ โรงพยาบาลราชวิถี จะกู้กอบให้สามารถใช้งานได้ แหล่งข้อมูล 2 0-2 2-4 4-24 1-2 ประเภททรัพยากร 2-7 วัน สัปดาห์ ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง สัปดาห์ ขึ้นไป 1. ระบบเวช ระเบียน
ก ลุ่ ม ง า น เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ
2. ระบบการ จัดการด้านยา
ก ลุ่ ม ง า น เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ
3. ผลการตรวจ ทาง ห้องทดลอง ต่างๆ 4. ผลการตรวจ X-Ray, CT, MRI, Ultrasound, and PET Scan ของ โรงพยาบาล
ก ลุ่ ม ง า น เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ
ก ลุ่ ม ง า น เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 30
แหล่งข้อมูล ประเภททรัพยากร
0-2 2-4 ชั่วโมง ชั่วโมง
5. ระบบการเบิก อาหาร
ก ลุ่ ม ง า น เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ
6. ระบบรายงาน ความเสี่ยง (RM: Risk Management ) 7. ระบบรายงาน จานวนเตียง
ก ลุ่ ม ง า น เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ
-
ก ลุ่ ม ง า น เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ
-
8. Email
ก ลุ่ ม ง า น เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ
-
2 4-24 1-2 2-7 วัน สัปดาห์ ชั่วโมง สัปดาห์ ขึ้นไป
-
-
9. ระบบบันทึก ก ลุ่ ม ง า น ทางการ เ ท ค โ น โ ล ยี พยาบาล สารสนเทศ (Optional) ตารางที่ 3.6 - ความต้องการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูล (IT & Information Requirement) 3.3.4 ความต้องการด้านบุคลากรสาหรับความต่อเนื่องเพื่อปฏิบัติงาน (Personnel Requirement) 0-2 2-4 4-24 1-2 ประเภททรัพยากร 2-7 วัน ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง สัปดาห์ แพทย์ (24 ชั่วโมง)
2
2
2
2
2
พยาบาล เวร /(8 ชั่วโมง)
8
8
8
8
8
ผู้ช่วยพยาบาล เวร /(8 ชั่วโมง)
2-3
2-3
2-3
2-3
2-3
บุคลากรสนับสนุน (8 ชั่วโมง) คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 31
0-2 ชั่วโมง
ประเภททรัพยากร เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล แม่บ้าน เสมียน รวม ตารางที่ 3.7 Requirement)
2-4 ชั่วโมง
4-24 ชั่วโมง
2-7 วัน
1-2 สัปดาห์
1
1
1
1
1
1
3
3
3
3
1
1
1
1
1
15-16
17-18
17-18
17-18
17-18
ความต้ อ งการด้ า นบุ ค ลากรส าหรั บ ความต่ อ เนื่ อ งเพื่ อ ปฏิ บั ติ ง าน (Personnel
3.3.5 ความต้องการด้านผู้ให้บริการที่สาคัญ (Service Requirement) ฝ่ายงานกลุ่มงาน / 0-2 2-4 4-24 ชั่วโมง ชั่วโมง ชั่วโมง
2-7 วัน
1-2 สัปดาห์
การไฟฟ้านครหลวง
การประปานครหลวง
มู ล นิ ธิ ใ ห้ ก า รส นั บส นุ นด้ า นก า ร เคลื่อนย้ายผู้ ป่วย (ปอ เต็ก ตึ้ง และ (มูลนิธิร่วมกตัญลู
ตารางที่ 3.8 - ความต้องการด้านผู้ให้บริการที่สาคัญ (Service Requirement)
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 32
3.3.6 ขั้นตอนการบริหารความต่อเนื่องและกอบกู้กระบวนการ วันที่ 1 ( ภายใน24 ชั่วโมง) การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของหน่วยงาน คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและ บุคลากรอื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กาหนดขึ้น โดยโรงพยาบาลราชวิถีอย่างเคร่งครัด ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
- แจ้งเหตุฉุกเฉิน วิกฤติ ตามกระบวนการ/Call Tree หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ ให้กบั บุคลากรในหน่วยงาน ภายหลังได้รับแจ้งจาก ต่อเนื่องของหน่วยงาน หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน - จัดประชุมทีมงานบริหารความต่อเนื่อง เพื่อประเมิน ที ม งานบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ของหน่วยงาน ความเสียหาย ผลกระทบต่อการดาเนินงานและ ให้บริการ และทรัพยากรสาคัญที่ต้องใช้ในการ บริหารความต่อเนื่อง - ทบทวนกระบวนงานงานที่มีความเร่งด่วน และ / ส่งผลกระทบอย่างสูงจาเป็นต้องดาเนินงานหรือ ปฏิบัติด้วยมือ(Manual Processing) หัวหน้าฝ่าย - ระบุและสรุปรายชื่อบุคลากรในหน่วยงาน ที่ได้รับ บาดเจ็บ เสียชีวิต / หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ - รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของ ต่อเนื่องของหน่วยงาน หน่วยงาน ครอบคลุม • สรุปจานวนและรายชื่อบุคลากรที่ได้รับบาดเจ็บ / เสียชีวิต • ความเสียหายและผลกระทบต่อการดาเนินงาน และให้บริการ • ทรัพยากรสาคัญที่ต้องใช้ในการบริหารความ ต่อเนื่อง • กระบวนงานงานที่มีความเร่งด่วน และส่งผล / กระทบอย่างสูงจาเป็นต้องดาเนินงานหรือปฏิบัติ ด้วยมือ(Manual Processing) คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ดาเนินการ แล้วเสร็จ
ก 33
วันที่ 1 ( ภายใน24 ชั่วโมง) การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที - สื่อสารและรายงานสถานการณ์แก่บุคลากรใน หน่วยงาน ให้ทราบ ตามเนื้อหาและข้อความที่ได้รับ การพิจารณาและเห็นชอบจากคณะบริหารความ ต่อเนื่องของหน่วยงาน
หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ ต่อเนื่องของหน่วยงาน
- สื่อสารและรายงานสถานการณ์แก่ญาติผู้ป่วยหนัก เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์ และความปลอดภัยของ ตัวผู้ป่วย
ที ม งานบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ของหน่วยงาน
หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร - ประเมินและระบุกระบวนการหลักของหน่วยงาน และงานเร่งด่วน ที่จาเป็นต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จ ความต่อเนื่องของหน่วยงาน ภายใน 1- 5 วันข้างหน้า - ประเมินศักยภาพและความสามารถของหน่วยงานฯ หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ในการดาเนินการงานเร่งด่วนข้างต้น ภายใต้ข้อจากัด ความต่อเนื่องของหน่วยงาน และสภาวะเหตุฉุกเฉินและวิกฤติ พร้อมระบุ ทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ในการบริหารความต่อเนื่อง 3.3 ถึง 3.8 - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ ต่อเนื่องของหน่วยงาน ต่อเนื่องของหน่วยงาน พร้อมขออนุมัติการ ดาเนินงานหรือปฏิบัติด้วยมือ (Manual Processing) สาหรับกระบวนงานงานที่มีความ / เร่งด่วน และส่งผลกระทบอย่างสูง หากไม่ดาเนินการ ในระหว่างที่ทรัพยากรของหน่วยงานยังไม่สามารถ กอบกู้คืนสู่ภาวะปกติได้ - ติดต่อและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ความต่อเนื่องของหน่วยงาน การจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ในการบริหาร ความต่อเนื่อง: หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก สถานที่ปฏิบัติงานสารอง โรคหัวใจ วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ ศัลยกรรมหัวใจ บุคลากรหลัก หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมหัวใจเด็ก คู่ค้า ผู้ให้บริการที่สาคัญ /
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 34
วันที่ 1 ( ภายใน24 ชั่วโมง) การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที
- พิจารณาดาเนินการหรือปฏิบัติงานด้วยมือ (Manual) เฉพาะงานเร่งด่วนที่ส่งผลกระทบอย่าง สูงและไม่สามารถรอได้ ทั้งนี้ ต้องได้รับการอนุมัติ
หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก อายุรกรรม หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมประสาทและ สมอง หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมทั่วไป หน่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ความต่อเนื่องของหน่วยงาน
- ระบุหน่วยงานเกษตรกร สาหรับ /ผู้ใช้บริการ /คู่ค้า / หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร งานเร่งด่วนที่ระบุข้างต้น เพื่อแจ้งสถานการณ์และ ความต่อเนื่องของหน่วยงาน แนวทางในการบริหารความต่อเนื่องตามเนื้อหาและ ข้อความที่ได้รับการพิจารณาและเห็นชอบจากคณะ บริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน - บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและงาน ที ม งานบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ต่างๆ ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน ของหน่วยงาน (พร้อมระบุรายละเอียด ผู้ดาเนินการ และเวลา) อย่างสม่าเสมอ หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ - แจ้งสรุปสถานการณ์และขั้นตอนการดาเนินการ ต่อเนื่องของหน่วยงาน ต่อไป สาหรับในวันถัดไป ให้กับบุคลากรหลักใน หน่วยงาน เพื่อรับทราบและดาเนินการ อาทิ แจ้งวัน เวลา และสถานที่ปฏิบัติงานสารอง - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ ที ม งานบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ต่อเนื่องของหน่วยงาน อย่างสม่าเสมอหรือตามที่ได้มี ของหน่วยงาน การกาหนด
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 35
วันที่ 2- 3 การตอบสนองในระยะสั้น ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของหน่วยงาน คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากร อื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กาหนดขึ้น โดยโรงพยาบาลราชวิถีอย่างเคร่งครัด ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
- ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ความต่อเนื่องของหน่วยงาน ได้รับผลกระทบ และประเมินความจาเป็นและ ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน - ตรวจสอบกับหน่วยงาน ความพร้อมและข้อจากัด หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ในการจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ในการบริหาร ความต่อเนื่องของหน่วยงาน ความต่อเนื่อง: หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก สถานที่ปฏิบัติงานสารอง โรคหัวใจฝ่ายบริหาร วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ ทั่วไป เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมหัวใจ บุคลากรหลัก หน่วยงาน คู่ค้า ผู้ให้บริการที่สาคัญ / หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมหัวใจเด็ก หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก อายุร-กรรม หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมประสาทและ สมอง หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมทั่วไป หน่วยอุบัตเิ หตุฉุกเฉิน ทีมงานบริหารความต่อเนื่อง - รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของ หน่วยงาน ความพร้อม ข้อจากัด และข้อเสนอแนะ ของหน่วยงาน ในการจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ในการบริหาร ความต่อเนื่อง คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ดาเนินการ แล้วเสร็จ
ก 36
วันที่ 2- 3 การตอบสนองในระยะสั้น - ประสานงานและดาเนินการจัดหาทรัพยากรที่ จาเป็นต้องใช้ในการบริหารความต่อเนื่อง: สถานที่ปฏิบัติงานสารอง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ บุคลากรหลัก คู่ค้า ผู้ให้บริการที่สาคัญ /
หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ความต่อเนื่องของหน่วยงาน
หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก โรคหัวใจฝ่ายบริหาร ทั่วไป หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมหัวใจ หน่วยงาน หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมหัวใจเด็ก หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก อายุรกรรม หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมประสาทและ สมอง หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมทั่วไป หน่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน - ดาเนินการกอบกู้และจัดหาข้อมูลและรายงานต่างๆ ฝ่ายบริหารทั่วไป ที่จาเป็นต้องใช้ในการดาเนินงานและให้บริการตาม) ตาราง3.6) - ดาเนินงานและให้บริการ ภายใต้ทรัพยากรที่จัดหา เพื่อบริหารความต่อเนื่อง: สถานที่ปฏิบัติงานสารอง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ บุคลากรหลัก คู่ค้า ผู้ให้บริการที่สาคัญ / - แจ้งสถานการณ์และแนวทางในการบริหารความ ต่อเนื่อง แก่หน่วยงานผู้ใช้บริการ /คู่ค้า / คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ความต่อเนื่องของหน่วยงาน
ก 37
วันที่ 2- 3 การตอบสนองในระยะสั้น - บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและงาน ทีมงานบริหารความต่อเนื่อง ต่างๆ ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน ของหน่วยงาน (พร้อมระบุรายละเอียด ผู้ดาเนินการ และเวลา) อย่างสม่าเสมอ หัวหน้า ทีมงานบริหารความ - แจ้งสรุปสถานการณ์และขั้นตอนการดาเนินการ ต่อเนื่องของหน่วยงาน ต่อไป สาหรับในวันถัดไป ให้กับบุคลากรใน หน่วยงาน ทีมงานบริหารความต่อเนื่อง - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหาร ของหน่วยงาน ความต่อเนื่องของหน่วยงาน ตามเวลาที่ได้มีการ กาหนด
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ก 38
วันที่ 4-7: การตอบสนองระยะกลาง (1 สัปดาห์) ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของหน่วยงาน คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากร อื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่กาหนดขึ้น โดยโรงพยาบาล ราชวิถีอย่างเคร่งครัด ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
- ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ความต่อเนื่องของหน่วยงาน ได้รับผลกระทบ และประเมินความจาเป็นและ ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน
ดาเนินการ แล้วเสร็จ
- ระบุทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ เพื่อดาเนินงานและ ให้บริการตามปกติ หัวหน้า ทีมงานบริหารความ - รายงานหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของ ต่อเนื่องของหน่วยงาน หน่วยงานสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของ ทรัพยากรที่ได้รับผลกระทบ และทรัพยากรที่ จาเป็นต้องใช้เพื่อดาเนินงานและให้บริการตามปกติ หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร - ประสานงานและดาเนินการจัดหาทรัพยากรที่ ความต่อเนื่องของหน่วยงาน จาเป็นต้องใช้เพื่อดาเนินงานและให้บริการ ตามปกติ: หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก า ทีวมใจฝ่ งานบริ ปสถานการณ์ สถานที่ปฏิบแัตละการเตรี ิงานสารองยมความพร้อมด้าน หัวหน้ - แจ้งสรุ โรคหั ายบริหหารความ าร ต่อเนืทั่อ่วงของหน่ ทรัพยากรต่ เพื่อดทาเนิ วัสดุางๆ อุปกรณ์ ี่สาคันญงานและให้บริการ ไป วยงาน ตามปกติ ให้กบั บุคลากรในหน่ วยงานอมูลที่สาคัญ หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก เทคโนโลยี สารสนเทศและข้ หารความต่ ศัลยกรรมหั วใจ อเนื่อง - บันทึก (Log Book)กและทบทวนกิจกรรมและงาน ทีมงานบริ บุคลากรหลั หน่วยงาน ต่างๆ ที่ทคูีม่คงานบริ ้า ผู้ให้บหริารความต่ การที่สาคัอญเนื่อ/งของหน่วยงาน ของหน่ (พร้อมระบุรายละเอียด ผู้ดาเนินการ และเวลา) หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก อย่างสม่าเสมอ ศัลยกรรมหัวใจเด็ก ทีมงานบริ หารความต่ อเนื่อกง หน่วยอภิ บาลผู้ป่วยหนั - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหาร ของหน่ อายุวรยงาน -กรรม ความต่อเนื่องของหน่วยงาน ตามเวลาที่ได้มีการ กาหนด หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมประสาทและ สมอง หน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก ศัลยกรรมทั่วไป คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต หน่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน
ก 39
ภาคผนวก ข ตัวอย่างแผนความต่อเนื่องของฝ่ายบริหารทั่วไปของสานักงานปศุสัตว์จังหวัด จังหวัดฉะเชิงเทรา
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข1
ตัวอย่างแผนความต่อเนื่องของฝ่ายบริหารทั่วไปของสานักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา แผนความต่อเนื่อง หรือต่อไปนี้จะเรียกว่า “Business Continuity Plan (BCP)” จัดทาขึ้น เพื่อให้ “หน่วยงาน” สามารถนาไปใช้ในการตอบสนองและปฏิบัติงานในสภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ ทั้งที่เกิดจากภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ หรือการมุ่งร้ายต่อองค์กร โดยไม่ให้สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน ดังกล่าวส่งผลให้หน่วยงานต้องหยุดการดาเนินงาน หรือไม่สามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง การที่ ห น่ ว ยงานไม่มีก ระบวนการรองรั บ ให้ การดาเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่อ ง อาจส่ งผลกระทบต่ อ หน่วยงานในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจการเงิน การให้บริ การ สังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม ตลอดจนชีวิต และทรั พย์ สิ น ของประชาชน เป็ น ต้น ดังนั้น การจัดทาแผนความต่อเนื่องจึงเป็นสิ่ งส าคัญที่จะช่ว ยให้ หน่ ว ยงานสามารถรั บ มื อ กั บ เหตุ ก ารณ์ ฉุ ก เฉิ น ที่ ไ ม่ ค าดคิ ด และท าให้ ก ระบวนการที่ ส าคั ญ (Critical Business Process) สารได้อย่างปกติ หรือตาามารถกลับมาดาเนินกมระดับการให้บริการที่กาหนดไว้ ซึ่ง จะช่วยให้สามารถลดระดับความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อหน่วยงานได้ วัตถุประสงค์ (Objectives)
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานมีการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับสภาวะวิกฤต เพื่อลดผลกระทบจากการหยุดชะงักในการดาเนินงานหรือการให้บริการ เพื่อบรรเทาความเสียหายให้อยู่ระดับที่ยอมรับได้ เพื่อให้ ป ระชาขน เจ้ าหน้าที่ หน่วยงานรัฐ วิส าหกิจ หน่ว ยงานภาครัฐ และผู้ มีส่ ว นได้ส่ วนเสี ย (Stakeholders) มีความเชื่อมั่นในศักยภาพของหน่วยงาน แม้หน่วยงานต้องเผชิญกับเหตุการณ์ ร้ายแรงและส่งผลกระทบจนทาให้การดาเนินงานต้องหยุดชะงัก
สมมติฐานของแผนความต่อเนื่อง (BCP Assumptions) เอกสารฉบับนี้จัดทาขึ้นภายใต้สมมติฐาน ดังต่อไปนี้ เหตุการณ์ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาสาคัญต่าง ๆ แต่มิได้ส่งผลกระทบต่อสถานที่ปฏิบัติงาน สารองที่ได้มีการจัดเตรียมไว้ หน่ ว ยงานเทคโนโลยี ส ารสนเทศรั บผิ ด ชอบในการส ารองระบบสารสนเทศต่ าง ๆ โดยระบบ สารสนเทศสารองมิได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ฉุกเฉินเหมือนกับระบบสารสนเทศหลัก “บุคลากร” ที่ถูกระบุในเอกสารฉบับนี้ หมายถึง เจ้าหน้าที่และพนักงานทั้งหมดของหน่วยงาน
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข2
ขอบเขตของแผนความต่อเนื่อง (Scope of BCP) แผนความต่อเนื่อง (BCP) ฉบับนี้ ใช้รับรองสถานการณ์ กรณีเกิดสภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉิน ในพื้นที่ สานักงานของหน่วยงาน หรือภายในหน่วยงาน ด้วยเหตุการณ์ต่อไปนี้
เหตุการณ์อุทกภัย เหตุการณ์อัคคีภัย เหตุการณ์ชุมนุมประท้วง/จลาจล เหตุการณ์โรคระบาด
การวิเคราะห์ทรัพยากรที่สาคัญ สภาวะวิกฤตหรือเหตุการณ์ฉุกเฉินมีหลากหลายรูปแบบ ดังนั้นเพื่อให้หน่วยงานสามารถบริหารจัดการการ ดาเนินงานขององค์กรให้มีความต่อเนื่อง การจัดหาทรัพยากรที่สาคัญจึงเป็นสิ่ งจาเป็น และต้องระบุไว้ใน แผนความต่อเนื่อง ซึ่งการเตรียมการทรัพยากรที่สาคัญ จะพิจารณาจากผลกระทบใน 5 ด้าน ดังนี้ 1. ผลกระทบด้านอาคาร/สถานที่ปฏิบัติงานหลัก หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้ สถานที่ ปฏิบัติงานหลักได้รับความเสียหายหรือไม่สามารถใช้สถานที่ปฏิบัติงานหลักได้ และส่งผลให้ บุคลากรไม่สามารถเข้าไปปฏิบัติงานได้ชั่วคราวหรือระยะยาว 2. ผลกระทบด้ า นวัสดุ อุปกรณ์ ที่สาคัญ /การจัดหาจัดส่งวัสดุอุปกรณ์ ที่สาคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้ ไม่สามารถใช้งานวัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ หรือไม่สามารถจัดหา/จัดส่ง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญได้ 3. ผลกระทบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้ ระบบงานเทคโนโลยี หรื อระบบสารสนเทศ หรือข้อมูลที่สาคัญไม่สามารถนามาใช้ ในการ ปฏิบัติงานได้ตามปกติ 4. ผลกระทบด้านบุคลากรหลัก หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้บุคลากรหลักไม่สามารถมา ปฏิบัติงานได้ตามปกติ 5. ผลกระทบด้านคู่ค้า / ผู้ให้บริการที่สาคัญ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทาให้คู่ค้า /ผู้ ให้บริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่สามารถติดต่อหรือให้บริการหรือส่งมอบงานได้
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข3
สรุปเหตุการณ์สภาวะวิกฤตและผลกระทบจากเหตุการณ์ ผลกระทบ
เหตุการณ์สภาวะวิกฤต
ด้านอาคาร/ สถานที่ ปฏิบัติงาน หลัก
ด้านวัสดุ อุปกรณ์ที่ สาคัญ /การจัดหา จัดส่งวัสดุ อุปกรณ์ที่ สาคัญ
ด้าน คู่ค้า/ผู้ เทคโนโลยี ด้านบุคลากร ให้บริการ/ผู้ สารสนเทศ หลัก มีส่วนได้ส่วน และข้อมูลที่ เสีย สาคัญ
1
เหตุการณ์อุทกภัย
2
เหตุการณ์อัคคีภัย
3
เ ห ตุ ก า ร ณ์ ชุ ม นุ ม ประท้วง/ จลาจล
4
เหตุการณ์โรคระบาด
แผนความต่อเนื่อง (BCP) ฉบับนี้ ไม่รองรับการปฏิบัติงานในกรณีที่เหตุขัดข้องเกิดขึ้นจากการดาเนินงาน ปกติ และเหตุขัดข้องดังกล่าวไม่ส่งผลกระทบในระดับสูงต่อการดาเนินงานและการให้บริการของหน่วยงาน เนื่องจากหน่วยงานยังสามารถจัดการหรือปรับปรุงแก้ไขสถานการณ์ได้ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม โดย ผู้บริหารหน่วยงานหรือผู้บริหารของแต่ละกลุ่มงานและฝ่ายงานสามารถรับผิดชอบและดาเนินการได้ด้วย ตนเอง ทีมงานแผนความต่อเนื่อง (Business Continuity Plan Team) เพื่อให้แผนความต่อเนื่อง (BCP) ของฝ่ายบริหารทั่วไปสามารถนาไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล จะต้องจัดตั้งทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) ขึ้น โดย BCP Team ประกอบด้วย หัวหน้าทีมงานบริหารความต่อเนื่อง และทีมงานบริหารความต่อเนื่อง โดยทุกตาแหน่งจะต้องร่วมมือกันดูแล ติดตาม ปฏิบัติงาน และกู้คืนเหตุการณ์ฉุกเฉินในฝ่ายงานของตนเอง ให้สามารถบริหารความต่อเนื่องและกลับสู่สภาวะปกติได้โดยเร็ว ตามบทบาทหน้าที่ที่กาหนดไว้ของทีมงาน บริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) และในกรณีที่บุคลากรหลักไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้บุคลากร สารองรับผิดชอบทาหน้าที่ในบทบาทของบุคลากรหลัก ปรากฏดังตารางที่ 1 คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข4
ตารางที่ 1 รายชื่อบุคลากรและบทบาทของทีมงานบริหารความต่อเนื่อง (BCP Team) บุคลากรหลัก ชื่อ
เบอร์โทรศัพท์
นาย........
เบอร์โทรศัพท์
หัว หน้าทีมงานบริห าร นางสาว.......... 08-1...-.... ความต่อเนื่อง (หั ว หน้ า กลุ่ ม งาน ธุรการ)
08-1...-....
ที ม งานบริ ห ารความ ต่อเนื่อง
(หัวหน้ากลุ่มงานธุรการ) นาง ....
ชื่อ
08-6...-....
กลุ่ ม ยุ ท ธ ศ าสตร์ แ ล ะ สารสนเทศ) นางสาว........
บุคลากรสารอง
บทบาท
08-X...-....
08-X...-.... 08-X...-....
(ฝ่ายการเงินและบัญชี) กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy) กลยุทธ์ความต่อเนื่อง เป็นแนวทางในการจัดหาและบริหารจัดการทรัพยากรให้มีความพร้อมเมื่อเกิดสภาวะ วิกฤต ซึ่งพิจารณาทรัพยากรใน 5 ด้าน ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 กลยุทธ์ความต่อเนื่อง (Business Continuity Strategy) ทรัพยากร
กลยุทธ์ความต่อเนื่อง
อาคาร/ สถานที่ กาหนดให้ใช้พื้นที่ปฏิบัติงานสารองภายในศาลากลาง โดยมี ปฏิบัติงานสารอง การสารวจความเหมาะสมของสถานที่ ประสานงาน และการ เตรียมความพร้อม กับหน่วยงานเจ้าของพื้นที่ วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์ ที่ กาหนดให้ มีก ารจัด หาคอมพิ ว เตอร์ ส ารอง ที่มี คุณ ลั ก ษณะ ส า คั ญ / ก า ร เหมาะสมกับการใช้งาน พร้อมอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมโยงต่อ จั ด หาจั ด ส่ ง วั ส ดุ ผ่านอินเตอร์เนตเข้าสู่ ระบบเทคโนโลยีของหน่ว ยงานกลาง อุปกรณ์ที่สาคัญ และกรมบัญชีกลางได้ กาหนดให้ใช้คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Laptop/ Notebook) ของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานได้เป็นการชั่วคราว หากมีความ จาเป็นเร่งด่วนในช่วงระหว่างการจัดหาคอมพิวเตอร์สารอง ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุญาตจากหัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่อง ในการกอบกู้คืนก่อน คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข5
ทรัพยากร
กลยุทธ์ความต่อเนื่อง
เทคโนโลยี สารสนเทศและ ข้อมูลที่สาคัญ
ระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญของ หน่วยงาน มีลักษณะแบบรวมศูนย์ ที่ส่วนกลาง (กรมปศุสัตว์) และเชื่อมโยงระบบเครือข่ายต่อผ่านอินเตอร์เนตเพื่อการใช้ งาน ทาให้ ห น่ว ยงานจั งหวัดไม่มีร ะบบคอมพิว เตอร์ส ารอง ดังนั้น หากเกิดภาวะฉุกเฉินต้อ งรอจนกว่าระบบการบริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานกลางจะกอบกู้ให้สามารถ ใช้งานได้
บุคลากรหลัก
กาหนดให้ใช้บุคลากรสารอง ทดแทนภายในฝ่ายงานหรือกลุ่ม งานเดียวกัน กาหนดให้ ใช้บุ คลากรนอกฝ่ า ยงานหรือกลุ่ ม งานในกรณี ที่ บุคลากรไม่เพียงพอหรือขาดแคลน
คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของจังหวัดฉะเชิงเทรากาหนดให้ สาคัญ /ผู้มีส่วนได้ มีผู้ให้บริการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายอินเตอร์เนต 2 ราย คือ ส่วนเสีย ทีโอที และ CAT ซึ่งหากผู้ให้บริการหลักไม่สามารถให้บริหาร ได้ ระบบเชื่ อ มโยงจะปรั บ เปลี่ ย นไปยั ง ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารส ารอง ภายใน .. ชั่วโมง ก าหนดให้ จั ด หาอุ ป กรณ์ เ ชื่ อ มโยงระบบเครื อ ข่ า ยต่ อ ผ่ า น อิ น เตอร์ เ นต แบบพกพา (Air Card) ของผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร โทรศัพท์มือถือ เชื่อมโยงการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและ ข้อมูลที่สาคัญของหน่วยงานกลางผ่านอินเตอร์เนต ในกรณี ที่ ผู้ให้บริการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายอินเตอร์เนตของจังหวัด ทั้ง 2 ราย ไม่สามารถให้บริการได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข6
ความต้องการด้านทรัพยากรที่จาเป็นในการบริหารความต่อเนื่อง การวิเคราะห์ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) พบว่ากระบวนการทางานที่ฝ่ายงานต้อง ให้ความสาคัญและกลั บมาดาเนิ นงานหรือฟืนคืนสภาพให้ ได้ภายในระยะเวลาตามที่กาหนดปรากฎดัง ตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ผลกระทบทางธุรกิจ (Business Impact Analysis) กระบวนการหลัก ระยะเวลาเป้าหมายในการฟื้นคืนสภาพ ระดับความเร่งด่วน ดาเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ สูง และงานธุรการทั่วไป ด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ งานด้ า น ปานกลาง การเงิน การบัญชี วัสดุ ครุภัณฑ์ การบริ ห ารบุ ค คล งานติ ด ต่ อ ประสานงาน งานสถิติข้อมูล
4 ชั่วโมง
1 วัน
1 2 1 เดือน สัปดาห์ สัปดาห์
(2-3 วัน)
ด าเนิ น การเกี่ ย วกั บ การจั ด ท า ต่า แผนงาน งบประมาณ และเร่งรัด ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน ของจังหวัด
(เร่งด่วน ช่วง เดือน (ก.ค.)
สาหรับกระบวนงานอื่น ๆ ที่ประเมินแล้ว อาจไม่ได้รับผลกระทบในระดับสูงถึงสูงมาก หรือมีความยืดหยุ่น สามารถชะลอการดาเนินงานและการให้บริการได้ โดยให้ผู้บริหารของฝ่ายงานประเมินความจาเป็นและ เหมาะสม ทั้ ง นี้ หากมี ค วามจ าเป็ น ให้ ป ฏิ บั ติ ต ามแนวทางการบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งเช่ น เดี ย วกั บ กระบวนงานหลัก การวิเคราะห์เพื่อกาหนดความต้องการทรัพยากรที่สาคัญ 1) ด้านสถานที่ปฏิบัติงานสารอง (Working Space Requirement) ดังตารางที่ 4
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข7
ตารางที่ 4 การระบุพื้นที่การปฏิบัติงานสารอง ประเภททรัพยากร
ที่มา
พื้ น ที่ ส า ห รั บ ส ถ า น ที่ ศาลากลาง ปฏิบัติงานสารอง ปฏิบัติงานงานที่บ้าน -
4 ชั่วโมง 2 ตร.ม. (1 คน) 8 ตร.ม. (4 คน) -
พื้ น ที่ ส า ห รั บ ส ถ า น ที่ ตามที่ ปฏิ บั ติ ง านใหม่ ใ นกรณี กาหนดไว้ใน จาเป็น แผนบริ ห าร ความ ต่อเนื่อง รวม 10 ตร.ม. ( 5 คน)
1 วัน 4 ตร.ม. (2คน) 6 ตร.ม. (3 คน) -
1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ 1 เดือน 6 ตร.ม. (3 คน) 4 ตร.ม. (2 คน) -
10 ตร.ม. (5 คน) -
10 ตร.ม. ( 5 คน)
10 ตร.ม. 10 ตร.ม. 10 ตร.ม. 10 ตร.ม. ( 5 คน)
( 5 คน)
( 5 คน)
( 5 คน)
2) ความต้องการด้านวัสดุอุปกรณ์ (Equipment & Supplies Requirement) ดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 การระบุจานวนวัสดุอุปกรณ์ ประเภททรัพยากร
ที่มา
4 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
2 สัปดาห์
1 เดือน
คอมพิว เตอร์ ส ารองที่มี ร้านค้า 1 เครื่อง 1 เครื่อง คุณลักษณะเหมาะสม ผ่ า นกระบวนการ จัดซื้อพิเศษ GFMIS Token Key เจ้าหน้าที่ฝ่ายฯ ที่ 1 เครื่อง 1 เครื่อง เก็บรักษา EGP (ระบบจัดซื้อจัด เจ้าหน้าที่ฝ่ายฯ ที่ 1 เครือ่ ง 1 เครือ่ ง เก็บรักษา จ้าง( Token Key
1 เครื่อง 2 เครื่อง 2 เครื่อง
เครื่องพิมพ์ รองรับการ ใช้งานกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ โ ท ร ศั พ ท์ พ ร้ อ ม หมายเลข
1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง
ร้านค้า 1 เครื่อง 1 เครื่อง ผ่ า นกระบวนการ จัดซื้อพิเศษ ร้านค้า 1 เครื่อง 1 เครื่อง ผ่ า นกระบวนการ
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง
1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง
ข8
ประเภททรัพยากร
ที่มา
4 ชั่วโมง
1 สัปดาห์
1 วัน
2 สัปดาห์
1 เดือน
จัดซื้อพิเศษ โทรสาร เครื่องสแกนด์ / ร้านค้า 1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง (Fax/Document Scan ผ่ า นกระบวนการ Machine) พร้อม จัดซื้อพิเศษ หมายเลข เครื่องถ่ายเอกสาร ร้านค้า 1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง 1 เครื่อง ผ่ า นกระบวนการ จัดซื้อพิเศษ 3) ความต้องการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูล (IT & Information Requirement) เนื่องจากระบบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญของหน่วยงานอยู่ในความ ดูแลของหน่ ว ยงานกลาง เป็ น ลั กษณะแบบรวมศูนย์ ดังนั้น หน่ว ยงานจึงใช้ข้อมูล สารสนเทศโดยการ เชื่อมโยงระบบของหน่ว ยงานกับหน่ว ยงานกลางผ่านเครือข่ายอินเตอร์เนต ทาให้ห น่วยงานไม่มี ระบบ คอมพิว เตอร์ส ารองและหากระบบมีปั ญหาต้องรอให้ห น่วยงานกลางกู้คืน ระบบการบริห ารเทคโนโลยี สารสนเทศก่อนหน่วยงานจึงจะสามารถใช้งานของระบบได้ ตารางที่ 6 การระบุความต้องการด้านเทคโนโลยี แหล่งข้อมูล 1 2 ประเภททรัพยากร 4 ชั่วโมง 1 วัน 1 เดือน สัปดาห์ สัปดาห์ Email
ห น่ ว ย ง า น ร ะ บ บ IT จังหวัด
GFMIS (ระบบเบิกจ่ายเงิน) ห น่ ว ย ง า น ร ะ บ บ IT จังหวัด EGP (ระบบจัดซื้อจัดจ้าง)
หนังสือสั่งการต่าง ๆ ออกโดยหน่วยงาน คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ห น่ ว ย ง า น ร ะ บ บ IT จังหวัด ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ ที่
(2-3 วัน)
(2-3 วัน)
ข9
ประเภททรัพยากร
แหล่งข้อมูล
4 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์
2 สัปดาห์
1 เดือน
(2-3 วัน)
ได้รับ หนังสือสั่งการต่าง ๆ
ห น่ ว ย ง า น ต้นสังกัด
เอกสารใบแจ้งหนี้
คู่ค้า
ข้ อ มู ล ประกอบการจั ด ท า ห น่ ว ย ง า น แผนงบประมาณ ประจาปี ต่ า ง ๆ ใ น งบประมาณ จั ง หวั ด และ ห น่ ว ย ง า น กลาง
(เร่ ง ด่ ว น ช่วงเดือน ก.ค.)
4) ความต้องการด้านบุคลากรสาหรับความต่อเนื่องเพื่อปฏิบัติงาน (Personnel Requirement) ปรากฏดังตารางที่ 7 ตารางที่ 7 การระบุจานวนบุคลากรหลักที่จาเป็น ประเภททรัพยากร จานวนบุคลากรปฏิบัติงานที่ สานักงาน /สถานที่ปฏิบัติงานสารอง จานวนบุคลากรปฏิบัติงานที่บ้าน รวม
4 ชั่วโมง
1 วัน
1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์
1 เดือน
1
2
3
5
5
4 5
3 5
2 5
5
5
5) ความต้องการด้านผู้ให้บริการที่สาคัญ (Service Requirement) ตารางที่ 8 การระบุจานวนผู้ให้บริการที่ต้องติดต่อหรือขอรับบริการ ฝ่ายงาน /กลุ่มงาน
1 วัน
1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ 1 เดือน
ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารเชื่ อมโยงระบบเครื อ ข่ า ย 1 อินเตอร์เนต*
1
1
1
1
รวม
1
1
1
1
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
4 ชั่วโมง
1
ข 10
หมายเหตุ - ให้จัดหาอุปกรณ์เชื่อมโยงระบบเครือข่ายต่อผ่านอินเตอร์เนต แบบพกพา (Air Card) ของ ผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ เชื่อมโยงการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญของหน่วยงาน กลางผ่านอินเตอร์เนต ในกรณีผู้ให้บริการหลักและสารองไม่สามารถให้บริการได้ภายในระยะเวลาที่ กาหนด ขั้นตอนการบริหารความเนื่องและกอบกู้กระบวนการ วันที่ 1 (ภายใน 24 ชั่วโมง) การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของฝ่ายฯ คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่หน่วยงานตนเองและสานักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกาหนดขึ้นอย่างเคร่งครัด ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
ดาเนินการ แล้วเสร็จ
- แจ้งเหตุฉุกเฉิน วิกฤติ ตามกระบวนการ Call Tree หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ ให้ กั บ บุ ค ลากรในฝ่ า ยฯ ภายหลั ง ได้ รั บ แจ้ ง จาก ต่อเนื่องของฝ่ายฯ หัวหน้าคณะบริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน - จัดประชุมทีมงานบริหารความต่อเนื่อง เพื่อประเมิน ที ม งานบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ความเสี ย หาย ผลกระทบต่ อ การด าเนิ น งาน การ ของฝ่ายฯ ให้ บ ริ ก าร และทรั พ ยากรส าคั ญ ที่ ต้ อ งใช้ ใ นการ บริหารความต่อเนื่อง - ทบทวนกระบวนงานที่ มี ค วามเร่ ง ด่ ว น หรื อ ส่ ง ผล กระทบอย่ า งสู ง (หากไม่ ด าเนิ น การ) ดั ง นั้ น จาเป็น ต้องดาเนินงานหรื อปฏิบั ติด้วยมือ (Manual Processing) - ระบุ แ ละสรุ ป รายชื่ อ บุ ค ลากรในฝ่ า ยฯ ที่ ไ ด้ รั บ หัวหน้าฝ่าย บาดเจ็บหรือเสียชีวิต - รายงานหั ว หน้ า คณะบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งของ หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ ต่อเนื่องของฝ่ายฯ หน่วยงานทราบ โดยครอบคลุมประเด็นดังนี้ • จ านวนและรายชื่อ บุ ค ลากรที่ไ ด้ รับ บาดเจ็บ / เสียชีวิต • ความเสียหายและผลกระทบต่อการดาเนินงาน และการให้บริการ คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข 11
วันที่ 1 (ภายใน 24 ชั่วโมง) การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของฝ่ายฯ คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่หน่วยงานตนเองและสานักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกาหนดขึ้นอย่างเคร่งครัด • ทรั พ ยากรส าคั ญ ที่ ต้ อ งใช้ ใ นการบริ ห ารความ ต่อเนื่อง • กระบวนงานที่มีความเร่งด่วนและส่งผลกระทบ อย่ า งสู ง หากไม่ ด าเนิ น การ และจ าเป็ น ต้ อ ง ดาเนินงานหรือปฏิบัติงานด้วยมือ - สื่อสารและรายงานสถานการณ์แก่บุคลากรในฝ่ายฯ หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ ให้ ท ราบ ตามเนื้ อ หาและข้ อ ความที่ ไ ด้ รั บ การ ต่อเนื่องของฝ่ายฯ พิจารณาและเห็นชอบจากคณะบริหารความต่อเนื่อง ของหน่วยงานแล้ว - ประเมินและระบุกระบวนการหลัก และงานเร่งด่วน หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ที่จาเป็นต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จ ภายใน 1- 5 วัน ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ ข้างหน้า - ประเมินศักยภาพและความสามารถของหน่วยงานฯ หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ในการดาเนินงานเร่งด่วนข้างต้น ภายใต้ข้อจากัดและ ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ สภาวะวิกฤต พร้อมระบุทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ใน การบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งตามแผนการจั ด หา ทรัพยากร - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ ต่ อ เนื่ อ งของหน่ ว ยงานทราบ พร้ อ มขออนุ มั ติ ก าร ต่อเนื่องของฝ่ายฯ ด าเนิ น งานหรื อ ปฏิ บั ติ งาน ด้ ว ยมื อ (Manual Processing) สาหรับกระบวนงานที่มีความเร่งด่วน และส่งผลกระทบอย่างสูงหากไม่ดาเนินการ - ติดต่อและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร การจั ด หาทรั พ ยากรที่ จ าเป็ น ต้อ งใช้ ในการบริ ห าร ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ ความต่อเนื่อง ได้แก่ ฝ่ายบริหารทั่วไป สถานที่ปฏิบัติงานสารอง ฝ่ายบริหารทั่วไป วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ทั่ ว ไ ป / คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข 12
วันที่ 1 (ภายใน 24 ชั่วโมง) การตอบสนองต่อเหตุการณ์ทันที ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของฝ่ายฯ คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่หน่วยงานตนเองและสานักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกาหนดขึ้นอย่างเคร่งครัด เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ บุคลากรหลัก คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สาคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย -
-
-
-
-
หน่วยงาน หน่วยงาน หน่ ว ยงาน/ฝ่ า ยบริ ห าร ทั่วไป พิ จ าร ณาด าเนิ น การ หรื อ ป ฏิ บั ติ งานด้ ว ยมื อ หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร (Manual) เฉพาะงานเร่งด่วน หากไม่ดาเนินการจะ ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ ส่งผลกระทบอย่างสูงและไม่สามารถรอได้ ทั้งนี้ ต้อง ได้รับการอนุมัติ ระบุ ห น่ ว ยงานที่ เ ป็ น คู่ ค้ า /ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารส าหรั บ งาน หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร เร่ ง ด่ ว น เพื่ อ แจ้ ง สถานการณ์ แ ละแนวทางในการ ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ บริหารงานให้มีความต่อเนื่องตามความเห็นของคณะ บริหารความต่อเนื่องของหน่วยงาน บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและงาน ที ม งานบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ต่างๆ ที่ทีมงานบริหารความต่อเนื่องของฝ่ายฯ ต้อง ของฝ่ายฯ ดาเนิ น การ (พร้ อ มระบุ ร ายละเอีย ด ผู้ ด าเนิ น การ และเวลา) อย่างสม่าเสมอ แจ้ ง สรุ ป สถานการณ์ แ ละขั้ น ตอนการด าเนิ น การ หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ สาหรับในวันถัดไป ให้กับบุคลากรหลักในฝ่ายฯ เพื่อ ต่อเนื่องของฝ่ายฯ รั บ ทราบและด าเนิ น การ อาทิ แจ้ ง วั น เวลา และ สถานที่ปฏิบัติงานสารอง รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ต่อเนื่องของหน่วยงานอย่างสม่าเสมอหรือตามที่ได้ ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ กาหนดไว้
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข 13
วันที่ 2-7 การตอบสนองในระยะสั้น ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของฝ่ายฯ คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่หน่วยงานตนเองและสานักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกาหนดขึ้นอย่างเคร่งครัด ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
ดาเนินการ แล้วเสร็จ
- ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ได้รับผลกระทบ ประเมินความจาเป็นและระยะเวลา ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ ที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน - ตรวจสอบกับหน่วยงาน ความพร้อมและข้อจากัดใน การจั ด หาทรั พ ยากรที่ จ าเป็ น ต้องใช้ ในการบริห าร ความต่อเนื่อง ได้แก่ สถานที่ปฏิบัติงานสารอง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ บุคลากรหลัก คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สาคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ทั่ ว ไ ป / หน่วยงาน หน่วยงาน หน่วยงาน
- รายงานหั ว หน้ า คณะบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งของ หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ หน่วยงาน ความพร้อม ข้อจากัด และข้อเสนอแนะ ต่อเนื่องของฝ่ายฯ ในการจัดหาทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้ในการบริหาร ความต่อเนื่อง - ประสานงานและด าเนิ น การจั ด หาทรั พ ยากรที่ จาเป็นต้องใช้ในการบริหารความต่อเนื่อง ได้แก่ สถานที่ปฏิบัติงานสารอง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ บุคลากรหลัก คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สาคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ
ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายบริหารทั่วไป/หน่วยงาน หน่วยงาน หน่วยงาน
- ดาเนินการกอบกู้และจัดหาข้อมูลและรายงานต่างๆ ฝ่ายบริหารทั่วไป ที่จาเป็นต้องใช้ในการดาเนินงานและให้บริการตาม คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข 14
วันที่ 2-7 การตอบสนองในระยะสั้น -
-
-
-
ตารางที่ 6 ดาเนินงานและให้บริการ ภายใต้ทรัพยากรที่จัดหา เพื่อบริหารความต่อเนื่อง: สถานที่ปฏิบัติงานสารอง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ บุคลากรหลัก คู่ค้า ผู้ให้บริการที่สาคัญ / แจ้ ง สถานการณ์ แ ละแนวทางในการบริ ห ารความ ต่อเนื่องแก่หน่วยงานเกษตรกร /ผู้ใช้บริการ /คู่ค้า / ที่ได้รับผลกระทบ บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและงาน ต่ า งๆ ที่ ที ม งานบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งของฝ่ า ยฯ (พร้ อ มระบุ ร ายละเอี ย ด ผู้ ด าเนิ น การ และเวลา ) อย่างสม่าเสมอ แจ้ ง สรุ ป สถานการณ์ แ ละขั้ น ตอนการด าเนิ น การ ต่อไป สาหรับในวันถัดไป ให้กับบุคลากรในฝ่ายฯ
หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ ที ม งานบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ของฝ่ายฯ
หั ว หน้า ที มงานบริ ห ารความ ต่อเนื่องของฝ่ายฯ
- รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ต่อเนื่องของหน่วยงาน ตามเวลาที่ได้กาหนดไว้ ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข 15
วันที่ 8 การตอบสนองระยะกลาง (1 สัปดาห์) ในการปฏิบัติการใดๆ ให้บุคลากรของฝ่ายฯ คานึงถึงความปลอดภัยในชีวิตของตนเองและบุคลากรอื่นๆ และปฏิบัติตามแนวทางและแผนเผชิญเหตุและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่หน่วยงานตนเองและสานักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกาหนดขึ้นอย่างเคร่งครัด ขั้นตอนและกิจกรรม
บทบาทความรับผิดชอบ
ดาเนินการ แล้วเสร็จ
- ติดตามสถานะภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ได้ รั บ ผลกระทบ และประเมิ น ความจ าเป็ น และ ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ ระยะเวลาที่ต้องใช้ในการกอบกู้คืน - ระบุทรัพยากรที่จ าเป็น ต้องใช้ เพื่อดาเนินงานและ ให้บริการตามปกติ - รายงานหั ว หน้ า คณะบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งของ หั ว หน้ า ที ม งานบริ ห ารความ หน่วยงานสถานภาพการกอบกู้คืนมาของทรัพยากรที่ ต่อเนื่องของฝ่ายฯ ได้รับผลกระทบ และทรัพยากรที่จาเป็นต้องใช้เพื่อ ดาเนินงานและให้บริการตามปกติ - ประสานงานและด าเนิ น การจั ด หาทรั พ ยากรที่ หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร จาเป็นต้องใช้เพื่อดาเนินงานและให้บริการตามปกติ: ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ
สถานที่ปฏิบัติงานสารอง วัสดุอุปกรณ์ที่สาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูลที่สาคัญ บุคลากรหลัก คู่ค้า/ผู้ให้บริการที่สาคัญ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ให้บริการที่สาคัญ /
ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ทั่ ว ไ ป / หน่วยงาน หน่วยงาน หน่ ว ยงาน ฝ่ า ยบริ ห าร / ทั่วไป
- แจ้งสรุปสถานการณ์และการเตรียมความพร้อมด้าน หั ว หน้า ที มงานบริ ห ารความ ทรั พ ยากรต่ า งๆ เพื่ อ ด าเนิ น งานและให้ บ ริ ก าร ต่อเนื่องของฝ่ายฯ ตามปกติ ให้กับบุคลากรในฝ่ายฯ - บันทึก (Log Book) และทบทวนกิจกรรมและงาน ที ม งานบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ ง ต่ า งๆ ที่ ที ม งานบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งของฝ่ า ยฯ ของฝ่ายฯ (พร้ อ มระบุ ร ายละเอี ย ด ผู้ ด าเนิ น การ และเวลา ) คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข 16
วันที่ 8 การตอบสนองระยะกลาง (1 สัปดาห์) อย่างสม่าเสมอ - รายงานความคืบหน้าให้แก่หัวหน้าคณะบริหารความ หั ว หน้ า และที ม งานบริ ห าร ต่อเนื่องของหน่วยงาน ตามเวลาที่ได้กาหนดไว้ ความต่อเนื่องของฝ่ายฯ
คู่มือการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต
ข 17