Ndrm plan (thai)

Page 1

ความเป็นมา

แผนการ

ป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558

พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 เป็นกฎหมายหลักของประเทศ เพื่อให้ หน่วยงานทุกภาคส่วนใช้เป็นกรอบและทิศทางในการ บริหารจัดการสาธารณภัยร่วมกันได้อย่างเป็นระบบ โดยมาตรา 44 ก�ำหนดว่า หากข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ สาธารณภัยหรือการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่ ก� ำ หนดไว้ ใ นแผนต่า ง ๆ ตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ เปลี่ยนแปลงไป หรือแผนดังกล่าวได้ใช้มาครบห้าปีแล้ว ให้ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องผู ้ ซึ่ ง รั บ ผิ ด ชอบในการจั ด ท� ำ แผน ปรั บ ปรุ ง หรื อ ทบทวนแผนที่ อ ยู ่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบ ของตนโดยเร็ว กอรปกับมาตรา 11 (1) ก�ำหนดให้ กรมป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภั ย จั ด ท� ำ แผนการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ เสนอคณะ กรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช.) เพื่อขออนุมัติคณะรัฐมนตรีอนุมัติแผนต่อไป การจัดท�ำแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ พ.ศ. 2558 ได้ผา่ นการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม โดยได้เสนอ แผนฯ ต่อคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ เพื่อให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2558 และได้เสนอแผนฯ ต่อคณะรัฐมนตรีเพือ่ พิจารณา อนุมัติ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2558 อนุมัติแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ พ.ศ. 2558 พร้อมมอบหมายให้หน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคส่วนอื่น ๆ ปฏิบัติการ ให้เป็นไปตามแผน และก�ำหนดให้หน่วยงานแต่ละระดับ จั ด ท� ำ แผนปฏิ บั ติ ก ารรองรั บ ยุ ท ธศาสตร์ และบรรจุ แผนงาน/โครงการทีเ่ กีย่ วข้องกับการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจ�ำปี ตลอดจน ให้ ส� ำ นั ก งบประมาณ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ให้ ค วามส� ำ คั ญ ในการ จั ด สรรงบประมาณเพื่ อ การป้ อ งกั น ลดผลกระทบ เตรี ย มความพร้ อ มและการจั ด การในภาวะฉุ ก เฉิ น รวมถึงการฟื้นฟูอย่างยั่งยืน

สาระส�ำคัญแผนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ พ.ศ. 2558 นโยบายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติได้ก�ำหนดนโยบายไว้ 4 ด้าน และเชื่อมโยงกับ 4 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1 การพัฒนา และส่งเสริม การลด ความเสี่ยง จากสาธารณภัย

ยุทธศาสตร์ที่ 1 มุ่งเน้น การลด ความเสี่ยง จากสาธารณภัย

2 การบูรณาการ ความร่วมมือ กับทุกภาคส่วน

ยุทธศาสตร์ที่ 2 บูรณาการ จัดการ ในภาวะ ฉุกเฉิน

3 การพัฒนาระบบ การฟื้นฟู ให้ตอบสนองต่อ ความต้องการ ของผู้ประสบภัย

ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่ม ประสิทธิภาพ การฟื้นฟู อย่างยั่งยืน

“หลักการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย” (Disaster Risk Management: DRM) โดยการน�ำแนวคิดเรื่อง การลดความเสี่ ยงจากสาธารณภัย (Disaster Risk Reduction: DRR) มาเป็นปัจจัยหลักในการจัดการ สาธารณภัยจากเชิงรุกไปสูค่ วามยัง่ ยืน รวมทัง้ ให้สอดรับ กับทิศทางการพัฒนาประเทศ โดยให้ค�ำนึงถึงการลด ความเสี่ ย งจากสาธารณภั ย ในการด� ำ เนิ น โครงการ และแผนงานของหน่วยงานทุกภาคส่วน เพื่อน�ำไปสู่ การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน

4 การพัฒนาส่งเสริม มาตรฐาน ความร่วมมือ ระหว่างประเทศ ในการจัดการ สาธารณภัย ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริม ความร่วมมือ ระหว่างประเทศ ในการจัดการ สาธาณภัย

กรอบแนวคิด แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558 ได้มกี ารน�ำแนวคิดการพัฒนาระบบการป้องกัน การเตรี ย มความพร้ อ ม และการสร้ า งภู มิ คุ ้ ม กั น ในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยของประเทศ ให้เข้มแข็งภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยการ เสริมสร้างศักยภาพให้ชุมชนและประชาชนสามารถรู้รับ และปรั บ ตั ว กั บ ผลกระทบจากสาธารณภั ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้อย่างรวดเร็ว และสามารถด�ำรงชีวิตได้อย่างปลอดภัย จากการประมวลองค์ความรู้และเทคนิควิชาการ จากแหล่ ง ต่ า งๆ บทเรี ย นจากสาธารณภั ย ที่ ผ ่ า นมา ข้อคิดเห็นจากทุกภาคส่วน ตลอดจนหลักการสากลและ กรอบการด�ำเนินงานต่างๆ อาทิ กรอบการด�ำเนินงาน เซนไดเพือ่ ลดความเสีย่ งจากภัยพิบตั ิ พ.ศ. 2558 – 2573 (Sendai Framework for Disaster Risk Reduction 2015 – 2030) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559 ซึง่ ได้กลัน่ กรองออกมาเป็น

วงจรการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย

เป้าหมายการจัดการความเสี่ยง จากสาธารณภัย 1. ระบบการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ของประเทศมีความพร้อมรับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น โดยการบูรณาการร่วมกันทุกภาคส่วนทัง้ ในประเทศและ ต่างประเทศ 2. สังคมไทยเป็นสังคมทีม่ กี ารเรียนรูแ้ ละมีภมู คิ มุ้ กัน ในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย 3. ประชาชนมีความตระหนักถึงความปลอดภัย โดยให้ความส�ำคัญกับการสร้างองค์ความรู้ ความตระหนัก และวัฒนธรรมความปลอดภัย รวมถึงการพัฒนาศักยภาพ สังคมและท้องถิ่นเพื่อมุ่งเข้าสู่ “การรู้รับ – ปรับตัว – ฟื้นเร็วทั่ว – อย่างยั่งยืน” (Resilience)

วัตถุประสงค์ของแผน 1. เพื่อเป็นกรอบแนวคิดในการปฏิบตั ิ (Concept of Operations) ให้แก่หน่วยงานทุกภาคส่วน ตัง้ แต่ระดับ ท้องถิ่นถึ ง ระดั บ ประเทศในการป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัยอย่างบูรณาการ เป็นระบบ และมีทิศทาง เดียวกัน 2. เพื่ อ เป็ น การประมวลแนวทางปฏิ บั ติ แ ละ ทิศทางการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยที่นานา ประเทศใช้อยู่ในปัจจุบันมาประยุกต์ใช้ในการจัดการ ความเสี่ยงจากสาธารณภัยที่สอดคล้องกับบริบทของ ประเทศไทย และสามารถน�ำไปปรับใช้ในการจัดท�ำแผน ระดับต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 3. เพื่ อ พั ฒนาขี ด ความสามารถในการจั ด การ ความเสี่ ย งจากสาธารณภั ย ประกอบด้ ว ย การลด ความเสี่ยงจากสาธารณภัย การจัดการในภาวะฉุกเฉิน และการฟื้นฟูที่ดีกว่าและปลอดภัยกว่าเดิม ตั้งแต่ระดับ ชุมชนถึงระดับประเทศ รวมถึงระดับนานาชาติ เพื่อให้มี ความเสียหายน้อยที่สุด

กลไกการจัดการความเสี่ยง จากสาธารณภัย ระดับนโยบาย

คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ (กปภ.ช.) หน้าที่ : ก�ำหนดนโยบายการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ บูรณาการพัฒนาระบบการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยระหว่างหน่วยงานภาครัฐและ ภาคเอกชนให้มีประสิทธิภาพ

ระดับปฏิบัติ บกปภ.ช. (ผบ.บกปภ.ช.) กอปภ.กลาง (ผอ.กอปภ.กลาง) กอปภ.จ (ผู้อ�ำนวยการจังหวัด)

กอปภ.กทม. (ผู้อ�ำนวยการ กทม.)

กอปภ.อ. (ผู้อ�ำนวยการอ�ำเภอ) กอปภ.ในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่ (ผู้อ�ำนวยการท้องถิ่น) ทน.

ทม.

ทต.

อบต.

พัทยา

กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ (บกปภ.ช.) หน้าที่ : บังคับบัญชา อ�ำนวยการ ควบคุม ก�ำกับ ดูแล และประสานการปฏิบัติการป้องกันและบรรเทา สาธารณภั ย ของกองอ� ำ นวยการป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัยแต่ละระดับ กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กลาง (กอปภ.ก.) หน้าที่ ดังนี้ ภาวะปกติ : ประสานงาน บูรณาการข้อมูลและ การปฏิบัติการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภาวะใกล้เกิดภัย : เตรียมการเผชิญเหตุ เฝ้าระวัง ประเมินสถานการณ์ แจ้งเตือนภัย และเสนอความเห็น ต่อผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ หรือนายกรัฐมนตรีตามแต่ระดับการจัดการสาธารณภัย ภาวะเกิ ด ภั ย : กรณี ก ารจั ด การสาธารณภั ย ขนาดเล็ก(ระดับ 1 ) และขนาดกลาง (ระดับ 2) รับผิดชอบ ในการอ�ำนวยการ ประเมินสถานการณ์ และสนับสนุน กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแต่ละระดับ พร้อมเสนอความเห็นต่อผูบ้ ญ ั ชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภั ย แห่ ง ชาติ เพื่ อ ตั ด สิ น ใจยกระดั บ ในกรณี การจัดการสาธารณภัยขนาดใหญ่ (ระดับ 3) และเสนอ นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรี มอบหมาย ในกรณีการจัดการสาธารณภัยร้ายแรงอย่างยิง่ (ระดับ 4)

กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด (กอปภ.จ.) หน้าที่ : อ�ำนวยการ ควบคุม สนับสนุน และ ประสานการปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดที่รับผิดชอบ กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร (กอปภ.กทม.) หน้าที่ : อ�ำนวยการ ควบคุม สนับสนุน และ ประสานการปฏิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อ�ำเภอ (กอปภ.อ.) หน้าที่ : อ�ำนวยการ ควบคุม สนับสนุน และ ประสานการปฏิบตั กิ บั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในเขต พื้นที่รับผิดชอบ กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เมืองพัทยา (กอปภ.เมืองพัทยา) หน้าที่ : อ�ำนวยการ ควบคุม ปฏิบตั กิ ารและเผชิญเหตุ เมื่ อ เกิ ด สาธารณภั ย พร้ อ มทั้ ง จั ด ท� ำ แผนปฏิ บั ติ ก าร ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาล (กอปภ.ทน./ทม./ทต.) หน้าที่ : อ�ำนวยการ ควบคุม ปฏิบตั กิ ารและเผชิญเหตุ เมื่ อ เกิ ด สาธารณภั ย พร้ อ มทั้ ง จั ด ท� ำ แผนปฏิ บั ติ ก าร ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กองอ�ำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย องค์การบริหารส่วนต�ำบล (กอปภ.อบต.) หน้าที่ : อ�ำนวยการ ควบคุม ปฏิบตั กิ ารและเผชิญเหตุ เมื่ อ เกิ ด สาธารณภั ย พร้ อ มทั้ ง จั ด ท� ำ แผนปฏิ บั ติ ก าร ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.
Ndrm plan (thai) by Pongsatorn Sirisakorn - Issuu