1
ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ (National Incident Management System : NIMS) คืออะไร ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้กาหนดวิธกี ารเชิงระบบและเชิงรุก เพื่อเป็ นแนวทางให้กระทรวง และหน่ วยงานรัฐบาลทุกระดับ องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชนสามารถปฏิบตั งิ านร่วมกันได้ อย่าง ราบรืน่ ในการป้องกัน ปกป้อง ตอบโต้ ฟื้นฟู และบรรเทาผลกระทบจากเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยไม่คานึงถึง สาเหตุ ขนาด สถานที่ หรือ ความซับซ้อ นของเหตุ ฉุ กเฉิ นที่ เ กิดขึ้น เพื่อ ที่จะลดการสูญ เสียชีว ิต และ ทรัพย์สนิ และลดภาวะอันตรายต่อสิง่ แวดล้อม ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิ นแห่งชาติสามารถนามาใช้ ปฏิบตั งิ านร่วมกับกรอบการตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติ (National Response Framework) ได้ ระบบการ จัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้กาหนดแม่แบบสาหรับการจัดการเหตุการณ์ต่าง ๆ ในขณะที่กรอบ การ ตอบโต้ภาวะฉุ กเฉินแห่งชาติได้กาหนดโครงสร้างและกลไกในการกาหนดนโยบายระดับชาติเพื่อการ จัดการเหตุฉุกเฉิน
2
บทนา เมื่อ วัน ที่ 28 กุ ม ภาพันธ์ ประธานาธิบ ดีส หรัฐอเมริกาออกค าสัง่ ประธานาธิบ ดี (Homeland Security Presidential Directive – 5 : HSPD – 5) เรื่อง “การจัดการเหตุฉุกเฉินภายในประเทศ. (Management of Domestic Incidents) สังการให้ ่ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูม ิ (Secretary for Homeland Security) พัฒนาระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ และมอบหมายให้เป็ นผู้ ถือปฏิบตั ริ ะบบดังกล่าว ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้กาหนดรูปแบบทีม่ คี วามสอดคล้องกัน ทัว่ ประเทศเพื่อช่วยให้รฐั บาลกลาง (Federal) รัฐบาลแห่งรัฐ (State) ชนพืน้ เมืองอเมริกา (Tribal) และรัฐบาล ท้องถิน่ (Local Government) รวมถึงองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) และภาคเอกชนสามารถทางานร่วมกัน เพื่อป้องกัน ปกป้อง ตอบโต้ ฟื้ นฟู และบรรเทาผลกระทบจากเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ โดยไม่คานึงถึงสาเหตุ ขนาด สถานที่ หรือความซับซ้อนของเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึ้น ความสอดคล้องดังกล่าว ช่วยให้มพี น้ื ฐาน สาหรับ การน าระบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ นแห่ง ชาติม าใช้เ ป็ น ประโยชน์ ใ นการจัด การ เหตุ ฉุ ก เฉิ น ทัง้ หลาย นับแต่เหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ประจาวันไปจนถึงเหตุฉุกเฉินทีจ่ าเป็นต้องมีการประสานงานในระดับ รัฐบาลกลางเพื่อตอบโต้ ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิ นแห่ งชาติ ไม่ใช่ แผนปฏิ บตั ิ การสาหรับการจัดการเหตุฉุกเฉิ น หรือแผนจัดสรรทรัพยากร แต่เป็ นระบบหลักทีป่ ระกอบด้วยกฏเกณฑ์ กรอบความคิด หลักการ ศัพท์ เฉพาะทางและกระบวนการหรือขัน้ ตอนการทางานขององค์กรทีจ่ ะช่วยให้การจัดการเหตุฉุกเฉินร่วมกัน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คาสังประธานาธิ ่ บดีท่ี HSPD – 5 ยังได้กาหนดให้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูม ิ จัดทา “แผนการตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติ” (National Response Plan) ซึง่ ต่อมาถูกแทนทีโ่ ดย “กรอบ การตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติ” (National Response Framework : NRF) ; กรอบการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน แห่งชาติเป็ นคู่มอื วิธกี ารตอบโต้ภยั ทุกประเภทของประเทศ กรอบการตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้ กาหนดหลักการที่สาคัญ รวมถึงการกาหนดบทบาทและโครงสร้างสาหรับการจัดระบบการตอบโต้เหตุ ฉุ กเฉินของประเทศ นอกเหนือจากนี้ กรอบการตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้จดั ทาคาอธิบายถึงกรณี หรือ สภาวะการณ์ พ ิเศษที่รฐั บาลกลางจาเป็ นต้อ งเข้าไปมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น รวมถึงเหตุฉุ กเฉิ น ที่ เกีย่ วข้องกับผลประโยชน์ของรัฐบาลกลาง และเหตุฉุกเฉิน ทีจ่ ะก่อให้เกิดความหายนะอย่างใหญ่หลวง ที่ รัฐบาลแห่งรัฐจาเป็นต้องได้รบั การสนับสนุนในการรับมือ
3
คาสังประธานาธิ ่ บดีท่ี HSPD – 5 มีความประสงค์ให้ทุกกระทรวงและทุกหน่ วยงานของรัฐบาลกลาง รับและนาระบบการจัดการเหตุการณ์แห่งชาติมาใช้ในการดาเนินกิจกรรมและแผนงาน จัดการเหตุการณ์ ของแต่ละองค์กร รวมไปถึงการนามาใช้เพื่อสนับสนุ นการดาเนินงานทัง้ ปวงทีจ่ ะนาไปสู่การให้ความช่วยเหลือ รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าพืน้ เมืองอเมริกนั และรัฐบาลท้องถิน่ คาสังดั ่ งกล่างได้กาหนดให้ทุกกระทรวงและ หน่ วยงานของรัฐบาลกลางระบุประเด็นการยอมรับระบบการจัดการเหตุ ฉุกเฉินแห่งชาติเป็ นเงื่อนไข สาหรับการให้ความช่วยเหลือแก่องค์กรต่าง ๆ ในระดับรัฐ ชนเผ่าพื้นเมืองอเมริกาและท้องถิ่นในการ เตรียมความพร้อม (โดยผ่านทางการให้เงินอุดหนุ น การทาสัญญา และกิจกรรมอื่นๆ ) ระบบการจัดการ เหตุฉุกเฉินแห่งชาติตระหนักถึงบทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชนในการเตรียมพร้อมและ การดาเนินกิจกรรม ป้องกัน ปกป้อง ตอบโต้ ฟื้นฟูจากและบรรเทาผลกระทบของเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ด้วยการอาศัยวิธกี ารจัดการเหตุฉุกเฉินและระบบการตอบโต้เหตุฉุกเฉินทีข่ อบเขตอานาจหน้าที่ องค์กร และกลุ่มสาขาวิชาชีพต่าง ๆ ในทุกระดับใช้อยู่ เป็ นฐาน ระบบการจัดการเหตุการณ์แห่งชาติได้ บูรณาการวิธปี ฏิบตั ทิ ด่ี ที ่สี ุด (Best Practices) เข้ากับกรอบปฏิบตั กิ ารแบบครอบวงจร สาหรับเจ้าหน้าที่ ด้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้นามาใช้ในการจัดการภัยทุกประเภท ทัวประเทศ ่ วิธปี ฏิบตั ทิ ด่ี ที ่สี ุดเหล่านี้ได้ปพู ้นื ฐานให้กบั องค์ประกอบต่างๆ ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ และได้ก าหนดให้ม ีก ลไกเพื่อ พัฒ นาและปรับ ปรุ ง มาตรฐาน แนวทาง ระเบีย บวิธ ีก าร ระบบ และ เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุ นการปฏิบตั งิ านในระดับชาติ ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติส่งเสริมให้เกิด การพัฒนาเทคโนโลยีเฉพาะทางเพื่อช่วยให้การจัดการสภาวะฉุ กเฉิน และการดาเนินการตอบโต้เหตุ ฉุ กเฉินง่ายและสะดวกขึ้น และระบบการจัดการเหตุฉุ กเฉินแห่งชาติเ ป็ นระบบที่เตรียมเอาไว้เพื่อรับ วิธกี ารใหม่ ๆ ทีจ่ ะช่วยให้สามารถปรับปรุงระบบได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมมิ อบหมายให้ศูนย์บูรณาการแห่งชาติ (National Integration Center : NIC) แผนกบูรณาการระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิน (Incident Management Systems Integration Division : เดิมเรียกว่าศูนย์บูรณาการการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ) ดาเนินการจัดพิมพ์ มาตรฐาน แนวทาง และขัน้ ตอนการปฏิบตั ติ ามระเบียบปฏิบตั เิ พื่อกระตุ้นให้รฐั บาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่ า พื้น เมือ งอเมริก า และรัฐ บาลท้ อ งถิ่ น น าระบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ ง ชาติ ไปปฏิบ ัติ นอกเหนือ จากนี้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุ ภูมยิ งั ได้มอบหมายให้ศูนย์บู รณาการ แห่ งชาติดาเนินการจัดพิมพ์ เผยแพร่ และร่ว มมือ กับกระทรวงและหน่ ว ยงานอื่น ๆ จัดทามาตรฐาน แนวทาง ขัน้ ตอนการปฏิบตั ติ ามระบบ และระเบียบปฏิบตั สิ าหรับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติใน ทุกด้าน เอกสารฉบับนี้จดั ทาขึน้ โดยอาศัยความร่วมมือระหว่า งหน่ วยงานภาครัฐและการสนับสนุ นจาก หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบการจัดการเหตุฉุกเฉิน องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน ได้รบั การตีพมิ พ์เป็ น ครัง้ แรก เมื่อ วัน ที่ 1 มีน าคม 2548 การปรับ ปรุง แก้ไขเอกสารฉบับ นี้ใ นปี 2551 สะท้อ นให้เ ห็น ถึง
4
การสนับสนุนและการมีส่วนร่วมของบรรดาผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียและบทเรียนทีไ่ ด้รบั ในช่วงเกิดเหตุฉุกเฉิน ครัง้ ล่าสุด
บทนาและภาพรวม ก. บทนา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เหตุ การณ์ การโจมตีของผู้ก่ อการร้ายเมื่อ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2544 และเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้น ในช่วงฤดูพายุเฮอร์รเิ คนในปี 2548 และ 2549 ย้าให้เ ห็ นถึงความจาเป็ นต้อ งมุ่งเน้ นการพัฒนาและ ปรับ ปรุงระบบการจัด การภาวะฉุ ก เฉิ น ขีด ความสามารถในการปฏิบตั ิการตอบโต้เ หตุ ฉุ ก เฉิ น และ กระบวนการประสานงานทัวทั ่ ง้ ประเทศเพื่อให้ได้วธิ กี ารจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติทม่ี ลี กั ษณะครอบคลุม ครบวงจร สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับของขอบเขตอานาจหน้าที่/พื้นที่รบั ผิดชอบและในทุก กลุ่ มอาชีพ สามารถน าไปปรับปรุงประสิท ธิ ภาพของเจ้าหน้ าที่ด้านการจัด การเหตุ ฉุ กเฉิ น/ด้า นการ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้และสถานการณ์ภยั พิบ ัตทิ ุกประเท และทุกระดับความรุนแรง (รวมไปถึงและไม่จากัด เพียงภัยธรรมชาติ การดาเนินการก่อการร้าย และภัยทีเ่ กิดจากมนุ ษย์) วิธกี ารจัดการเหตุฉุกเฉินดังกล่าวนี้ ยังช่วยในการพัฒนาปรับปรุงการประสานงาน และความร่วมมือระหว่างหน่ วยงานภาครัฐ และหน่ วยงาน ภาคเอกชน/องค์กรเอกชนในการจัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินทีห่ ลากหลาย กรอบของระบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่งชาติ ได้ก าหนดวิธ ีการจัด การเหตุ ฉุ กเฉิ นในระดับชาติท่ี ครอบคลุมทุกด้าน (ดูตารางที่ 1) เหตุ ฉุ ก เฉิ นต่ างๆ ที่เ กิดขึ้นมัก จะเริม่ ต้น และสิ้นสุ ด ลงในพื้นที่ และมี หน่ ว ยงานที่อ ยู่ใ นระดับ ล่างสุดขององค์กร ขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ และหน่ วยงานในพื้นที่ทาหน้ าที่จดั การ เหตุฉุกเฉินดังกล่าวในลักษณะงานประจา อย่างไรก็ตามมีหลายกรณีทก่ี ารดาเนินการจัดการเหตุฉุกเฉินที่ ประสบความสาเร็จจาเป็ นต้องพึ่งพาการมีส่วนร่วมของหลายฝ่ายทีเ่ กี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็ นขอบเขตอานาจ หน้าทีแ่ ละพื้นที่รบั ผิดชอบ รัฐบาลในแต่ละระดับ หน่ วยงาน และ/หรือวิธกี ารตอบโต้หลากหลายรูปแบบ การดาเนินการจัดการเหตุ ฉุก เฉิน ในกรณีเหล่ านี้จาเป็ นต้องมีการประสานงานที่มปี ระสิทธิภาพและ ประสิทธิผลระหว่างองค์กร และการประสานการดาเนินงาน ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติใช้วธิ กี ารเชิงระบบในการบูรณาการกระบวนการและวิธกี าร ดานิน งานที่ดีท่สี ุ ด ที่ม ีอ ยู่เ ข้า กับ กรอบการด าเนิ นงานระดับชาติท่ีเ ป็ น เอกภาพเพื่อ ใช้ใ นการจัดการ เหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ การจัดการเหตุฉุกเฉิน หมายถึง การดาเนินกิจกรรมทีเ่ กี่ยวข้องเพื่อรักษาความมันคง ่
5
ปลอดภัยของมาตุ ภูมทิ ุกกิจกรรม ซึ่งรวมถึงการป้องกัน การปกป้องและการตอบโต้ การบรรเทาและ การฟื้นฟูบรู ณะ ----------------------------------------------เจ้าหน้าที่ดา้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิ น/ปฏิบตั ิการตอบโต้หมายถึง บุคลากรของรัฐบาลในระดับต่าง ๆ ได้แก่ รัฐบาลกลาง รัฐ ดิ น แดนในอาณั ติ ชนเผ่ า พื้ น เมื อ งอเมริ กัน และท้อ งถิ่ น องค์ก รพัฒ นาเอกชน องค์ก รของภาคเอกชน เจ้า ของและ กรอบการดาเนิ หลักาคัพืญ้นอย่ฐานส บการทกางานร่ มกันและความเข้ ากันได้ใ นการ ผูป้ ระกอบการโครงสร้ า งพืน้ นงานนี ฐานที่ ม้ เ ป็ี ค นวามส า งยิ่งาหรั ยวดและองค์ รอื่ น ๆวและบุ ค คลที่ มี บ ทบาทในการจั ด การ ทางานร่ เหตุ ฉุกเฉิ นวมกัน ซึง่ ช่วยให้บรรดาองค์กรภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องสามารถดาเนินการจัดการและการ
ปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินในลักษณะทีม่ กี ารบูรณาการกันเป็ นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ การจัดการ ภาวะฉุ กเฉิน (Emergency Management) เป็ นการประสานและการบูรณาการกิจกรรมทัง้ หมด ที่ จาเป็ นต้องดาเนินการเพื่อเสริมสร้าง รักษา และปรับปรุงขีดความสามารถในการเตรียมความพร้อม การ ป้องกัน การฟื้ นฟูบูรณะ การบรรเทาภัยธรรมชาติทค่ี ุกคามและทีเ่ กิดขึน้ จริง รวมไปถึงภัยการก่อการร้ายหรื อภัยทีเ่ กิดกจามนุษย์ประเภทอื่นๆ ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ สามารถนามาใช้ดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ดังกล่าวได้เพราะ ระบบนี้ป ระกอบขึ้น ด้ว ยชุดหลัก ของกรอบความคิด หลักการ ขัน้ ตอนการดาเนิน งาน กระบวนการ เชิงองค์กร ศัพท์เฉพาะทางและข้อกาหนดมาตรฐาน ซึง่ บรรดาผูท้ ใ่ี ช้ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างกว้างขวาง ตารางที่ 1 : ภาพรวมของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิ นแห่งชาติ สิ่ งที่ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิ นแห่งชาติ เป็ น สิ่ งที่ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิ นแห่งชาติ ไม่ได้เป็ น • วิธกี ารจัดการเหตุฉุกเฉินที่เป็ นระบบ ครอบคลุม ทุกด้าน และสามารถนาไปใช้ได้ทวประเทศ ั่ รวมถึง ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System) ระบบการประสานงานระหว่างหน่ วยงาน (Multiagency Coordination System) และข้อ มูล ข่าวสารสาธารณะ • ชุดของกรอบความคิดและหลักการเตรียมความ พร้อมสาหรับภัยทุกประเท • หลักการที่จาเป็ นสาหรับการปฏิบตั ิงานร่วมกัน และการสนธิระบบการสื่อสารให้สามารถใช้ร่วมกัน ได้ รวมถึงการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสาร • กระบวนการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรที่ ม ี มาตรฐานที่ช่วยให้ขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่ รับผิดชอบและองค์กรต่าง ๆ สามารถประสานงาน กันได้ • ระบบที่ส ามารถปรับ เปลี่ย นขนาดได้ เพื่อ ให้
• แผนตอบโต้ • ระบบที่นาไปใช้ในระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉินขนาด ใหญ่เท่านัน้ • แผนการสื่อสาร • ระบบที่น าไปใช้จ ัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น ได้เ พีย งบาง ประเภท และ/หรือใช้กบั เจ้าหน้าทีต่ อบโต้เหตุฉุกเฉิน เพียงบางทีมงานเท่านัน้ • เพียงแต่ระบบการบัญชาการเหตุการณ์หรือแผนผัง องค์กรเท่านัน้ • ระบบคงทีห่ รือตายตัว (Static System)
6
สามารถนาไปใช้จดั การเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นได้ทุก ประเภทและทุกขนาด (ตัง้ แต่เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้น รายวัน จนถึงเหตุฉุกเฉินทีม่ ขี นาดใหญ่ • ระบบพลวัต (Dynamic System) หรือระบบที่ไม่ คงที่ท่ี ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ ม ีก ารพัฒ นาระบบอย่ า ง ต่อเนื่องและการทานุบารุงระบบ
ข. กรอบความคิ ดและหลักการ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติตงั ้ อยู่บนสมมติฐานทีว่ ่าการนากรอบการจัดการเหตุการณ์ เดียวกันไปใช้เป็ นประโยชน์จะช่วยให้เจ้าหน้าทีด่ ้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ม ี ระบบทีม่ คี วามยืดหยุ่นแต่มมี าตรฐานใช้สาหรับดาเนินกิจกรรมการจัดการและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุ ฉุกเฉิน ระบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ งชาติม ีค วามยืด หยุ่น เพราะองค์ป ระกอบต่ า ง ๆ ของระบบ สามารถนาไปใช้ในการพัฒนาและจัดทาแผน กระบวนการ ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ ข้อตกลง และกาหนด บทบาทในการจัดการและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ภาวะฉุ กเฉินได้ทุกประเภท และระบบนี้สามารถนาไป ประยุกต์ใช้กบั เหตุฉุกเฉินก็ได้โดยไม่ต้องคานึงถึงสาเหตุ ขนาด สถานที่ หรือ ความซับซ้อนของเหตุ ฉุกเฉินเหล่านัน้ นอกจากนี้ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้กาหนดโครงสร้างของการปฏิบตั งิ านที่ มีมาตรฐาน (Standardized Operational Structure) ซึง่ เป็ นองค์ประกอบทีส่ าคัญยิง่ ที่จะช่วยให้องค์กรและ หน่ ว ยงานที่ม ีค วามแตกต่ า งกัน สามารถท างานร่ ว มกัน ในลัก ษณะที่ส ามารถคาดการณ์ แ ละมีก าร ประสานงานกันได้ 1. ความยืดหยุ่น (Flexibility) องค์ประกอบต่ าง ๆ ของระบบการจัด การเหตุ ฉุ กเฉิ นแห่ง ชาติส ามารถที่จะปรับใช้ไ ด้ใ นทุ ก สถานการณ์ ตัง้ แต่เหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ เป็ นประจาในท้องถิน่ ไปถึงเหตุฉุกเฉินทีจ่ าเป็ นต้องนาข้อตกลงว่า ด้วยความช่วยเหลือซึง่ กันและกันระหว่างรัฐ (Interstate Mutual Aid) มาใช้ และรวมถึงเหตุฉุกเฉิน ที่ จาเป็นต้องมีการประสานงานในระดับรัฐบาลกลางเพื่อตอบโต้ ทัง้ นี้ ไม่ว่าจะเป็ นเหตุการณ์ทม่ี ี การ วางแผนไว้ (เช่น การจัดงานแข่งขันกีฬาทีส่ าคัญ หรือการจัดงานทีส่ าคัญในชุมชน) หรือจะเป็ น เหตุ ฉุ กเฉินทีส่ ามารถแจ้งให้ทราบล่วงหน้า (เช่น พายุเฮอร์รเิ คน) หรือเหตุฉุกเฉินที่ไม่สามารถแจ้งให้ทราบ ล่วงหน้ า (เช่น แผ่นดินไหว) ความยืดหยุ่นเป็ นสิง่ จาเป็ นสาหรับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ เพื่อที่สามารถนาไปใช้กบั เหตุ ฉุกเฉิ นที่อ าจจะเกิดขึ้นทุกประเภท และทุกขนาด รวมถึงเหตุฉุกเฉินที่ จาเป็นต้องอาศัยการประสานงานระหว่างหน่วยงาน ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ (เช่น เหตุ
7
ฉุ กเฉินทีเ่ กิดขึน้ บริเวณพรมแดนระหว่างประเทศ) และ/หรือระหว่างสาขาวิชาชีพต่าง ๆ ลักษณะความ ยืดหยุ่นภายในกรอบระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติช่วยทาให้เกิดความสะดวกในการปรับเปลี่ ยน ปริมาณและระดับของกิจกรรมเพื่อการจัดการภาวะฉุ กเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ นอกจากนี้ ระบบ การจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติยงั สามารถปรับเปลี่ยนเพื่อใช้ในการดาเนินงานเฉพาะด้านได้ทวประเทศ ั่ ศูน ย์บูร ณาการแห่ ง ชาติจะทบทวนและให้ก ารสนับ สนุ น แผนปฏิบ ัติก ารตามความเหมาะสมเพื่อ ให้ สอดคล้องกับกรอบความคิดและหลักการของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึง การปรับเปลีย่ นตามความประสงค์ของผูใ้ ช้และตามโครงสร้างองค์กร
2. การสร้างมาตรฐานปฏิ บตั ิ (Standardization) ความยืดหยุ่นในการจดัก ารเหตุ ฉุ กเฉิ นทุกขนาดจาเป็ นต้อ งมีกาปรระสานงานและการสร้าง มาตรฐานปฏิบตั ิร่วมกันระหว่างเจ้าหน้ าที่ด้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ และ องค์กรเครือข่าย ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้กาหนดชุด ของโครงสร้างองค์กรที่มมี าตรฐาน ที่จ ะช่ ว ยในการปรับ ปรุง การบูรณาการ และการเชื่อ มโยงระหว่า งขอบเขตอ านาจหน้ า ที่แ ละพื้น ที่ รับ ผิด ชอบและโดยเริ่ม ต้ น ด้ว ยการวางรากฐานร่ว มกัน ในการเตรีย มความพร้อ มและการวางแผน เจ้าหน้าทีแ่ ละองค์กรทีใ่ ห้การยอมรับกรอบระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติจะสามารถทางานร่วมกันได้ จึงทาให้เกิดการประสานเชื่อมโยงกันระหว่างอค์กรต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องในทุกแง่มุมของเหตุฉุกเฉิน ระบบ การจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติยงั ได้บญ ั ญัตศิ พั ท์เฉพาะทีเ่ ป็ นมาตรฐาน และส่งเสริมการใช้ศพั ท์ดงั กล่าว ร่วมกัน ซึง่ ช่วยให้การประสานงานระหว่างหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ ทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีต่ อบโต้เหตุฉุกเฉิน ร่วมกัน มีประสิทธิภาพมากขึน้
ค. ภาพรวมขององค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิ นแห่งชาติ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้บูรณาการวิธปี ฏิบตั ิท่ดี ที ่สี ุดต่าง ๆ ที่มอี ยู่เข้าด้วยกัน เป็ นวิธ ีดาเนินการจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ นที่เ ป็ นระบบ มีค วามสอดคล้อ งกันทัวประเทศที ่ ่รฐั บาลทุกระดับ องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคเอกชนและสาขาวิชาชีพต่าง ๆ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการภัย ทุกประเภท วิธดี าเนินการของระบบนี้ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก คือ : การเตรียมความพร้อม การสื่อ สาร และการบริห ารจัด การข้อ มูล ข่า วสาร การบริห ารจัด การทรัพยากร การบัญ ชาการและ การจัดการ และการบริหารจัดการระบบอย่างต่อเนื่องและการดารงรักษาระบบ 1. องค์ประกอบของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิ นแห่งชาติ (NIMS Components) องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบการจัดการเหตุการณ์แห่งชาติไม่ได้รบั การออกแบบมาเพื่อให้ แต่ละองค์ประกอบต่างเป็ นอิสระต่อกัน แต่ได้รบั การออกแบบให้ทางานร่วมกันในลักษณะทีม่ คี วามยืดหยุ่น
8
และเป็นระบบ เพื่อให้มกี รอบการดาเนินงานในระดับชาติสาหรับการจัดการเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ได้มกี าร แจกแจงรายละเอียดของแต่ละองค์ประกอบไว้ในส่วนต่าง ๆ ของเอกสารฉบับนี้ ดังต่อไปนี้ ก. การเตรียมความพร้อม (Preparedness) การจัดการสภาวะฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินทีม่ ปี ระสิทธิภาพจะต้องเริม่ ต้น จากการดาเนินกิจกรรมเตรียมความพร้อมอย่างต่อเนื่องล่วงหน้า เพื่อรองรับเหตุฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึน้ การเตรียมความพร้อมเกี่ยวข้องกับการสนธิเชิงบูรณาการของการคาดการณ์ การวางแผน การกาหนด วิธดี าเนินการและระเบียบปฏิบตั ิ การฝึ กอบรมและการฝึ กซ้อ ม การกาหนดคุ ณสมบัติของเจ้าหน้ าที่ การออกใบรับ รองให้เ ข้า ร่ว มปฏิบ ัติง านและประกาศนี ย บัต ร การออกหนั ง สือ รับ รองคุ ณ ภาพและ สมรรถนะของเครือ่ งมืออุปกรณื และรวมไปถึงการประเมินผลและกระบวนการแก้ไขปรับปรุง
ข. การสื่อสารและการบริ หารจัดการสารสนเทศ การจัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ จาเป็นต้องพึง่ พาการสื่อสารและระบบข้อมูล เพื่อผลิตและแจกจ่ายภาพรวมสถานการณ์และการปฏิบตั กิ ารร่วม (Common Operating Picture : COP) ไปยังศูนย์บญ ั ชาการและศูนย์ประสานงานทัง้ หมดในคราวเดียวกัน ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ ได้อธิบายถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีกรอบที่เป็ นมาตรฐานสาหรับการสื่อสารและเน้นถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้อง มีวธิ กี ารนาเสนอข้อมูลภาพรวมของเหตุการณ์ เพื่อช่วยให้ผู้มอี านาจหน้าที่ สามารถตัดสินใจได้อย่างมี ประสิทธิภาพและทันการณ์ องค์ประกอบส่วนนี้มรี ากฐานมาจากกรอบความคิดเกี่ยวกับขีดความสามารถ ในการทางานข้ามระบบ ความเชื่อถือได้ ความสามารถในการปรับเปลีย่ นขนาดของระบบ ความสามารถ ในการนาไปใช้งานในสภาพแวดล้อ มที่ต่ างกันได้ รวมถึงความสามารถกลับคืนสู่ส ภาพเดิมได้อ ย่าง รวดเร็วหากระบบล้มเหลว และการมีระบบสารองทางานควบคู่กบั ระบบหลักของระบบการสื่อสารและ ระบบสารสนเทศ ค. การบริ หารจัดการทรัพยากร ทรัพ ยากรต่ า ง ๆ (เช่ น บุ ค ลากร เครื่อ งมือ หรือ วัส ดุ ) เป็ น สิ่ง จ าเป็ น ส าหรับ การบรรลุ วัตถุประสงค์ทส่ี าคัญของการจัดการเหตุวกิ ฤต การไหลเวียนของทรัพยากรจะต้องดาเนินไปอย่างราบรื่น และสามารถปรับให้เข้ากับสภาวการณ์ของเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้ กาหนดกลไกมาตรฐานและสร้างกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากร เพื่อนามาใช้ใ นการระบความ ต้องการ การสังซื ่ อ้ และการได้มา การระดมและการใช้ประโยชน์ การติดตามและการรายงาน การนาคืน และการถอนกาลัง การเบิกหักผลักส่ง และการจัดทารายการทรัพยากร ง. การบัญชาการและการจัดการ องค์ประกอบด้านการบัญชาการและการจัดการของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้รบั การออกแบบมาเพื่อช่วยให้การจัดการณ์เหตุฉุกเฉินและการประสานงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
9
โดยการกาหนดโครงสร้างของการจัดการเหตุฉุกเฉินให้มลี กั ษณะยืดหยุ่นและเป็ นมาตรฐาน โครงสร้าง ดังกล่าวนี้มพี ้นื ฐานมาจากส่ วนประกอบหลักขององค์กรสามด้าน คือ ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System) ระบบการประสานงานระหว่างหน่ วยงาน (Multiagency Coordination Systems) และระบบการบริหารจัดการข้อมูลสาธารณะ (Public Information) จ. การบริ หารระบบอย่างต่อเนื่ องและการบารุงรักษาระบบ ภายใต้องค์ประกอบด้านการบริหารระบบอย่างต่อเนื่องและการบารุงรักษาระบบจะประกอบด้วย ส่วนเสริมสองส่วน คือ ศูนย์บูรณาการแห่งชาติ (National Integration Center) และเทคโนโลยีสนับสนุ น ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ (1) ศูนย์บรู ณาการแห่งชาติ (National Integration Center) คาสังประธานาธิ ่ บที ่ี 5 มอบหมายให้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมจิ ดั ตัง้ กลไกเพื่อทาให้มนใจในการตรวจสอบการบริ ั่ หารระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิ นแห่งชาติอย่างต่อเนื่อ ง รวมถึงการบารุงรักษาระบบและสังให้ ่ ปรึกษาหารืออย่างสม่าเสมอกับกระทรวงและหน่ วยงานต่าง ๆ ใน ระดับรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่ าพื้นเมืองอเมริกาและผู้มสี ่ว นได้เสียในระดับท้อ งถิ่น รวมถึง องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน ศูนย์บู รณาการแห่งชาติได้กาหนดทิศทางเชิงกลยุทธ์ (Strategic Direction) ก าหนดแนวทางในการก ากับ ดูแ ลและแนวทางการประสานระบบการจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่งชาติ ศูนย์บูรณาการแห่งชาติยงั เป็ นหน่ วยให้การสนับสนุ นในการทานุ บารุงระบบอย่างสม่ าเสมอ รวมถึงการปรับแต่งระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ และองค์ประกอบทัง้ หมดของระบบ ศูนย์บูรณาการ แห่งชาติยงั ทาหน้าที่กากับดูแลแผนงานและประสานงานกับรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าพืน้ เมือง อเมริกา และพันธมิตรท้องถิน่ ในการกาหนดหลักเกณฑ์วธิ กี ารปฏิบตั แิ ละการดาเนินงานต่าง ๆ หน้าที่ ของศูนย์บูรณาการแห่งชาติอีกประการ คือ แนะนาและสนับสนุ นรอบขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่ รับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ดา้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ และองค์กรเครือข่ายให้การ ยอมรับระบบ ศูนย์บูรณาการแห่งชาติยงั ทาหน้าที่กากับดูแลการจัดพิมพ์และเผยแพร่ระบบการจัดการ เหตุการณ์แห่งชาติและผลงานทีเ่ กีย่ วข้องอีกด้วย การกากับดูแลดังกล่าวนี้ ครอบคลุมถึงการทบทวนและ การรับรองหลักสูตรการฝึกอบรมและข้อมูลข่าวสารทีไ่ ด้จากการฝึกซ้อมด้วย (2) เทคโนโลยีรองรับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิ นแห่งชาติ ในขณะที่ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติและระบบการจัดการภาวะฉุ กเฉิน/การปฏิบตั กิ าร ตอบโต้ทเ่ี กี่ยวข้องค่อย ๆ ได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เจ้าหน้าที่ดา้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้จะต้องพึง่ พาเทคโนโลยีและระบบในการดาเนินงานมากขึน้ และจะต้องปรับแต่งระบบ การจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติอย่างต่อเนื่อง ศู นย์บูรณาการแห่งชาติร่วมมือกับกรมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีกระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูม ิ ทาหน้าทีก่ ากับดูแลและประสานงานการพัฒนาเทคโนโลยี ทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการเหตุฉุกเฉินอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการทาวิจยั และพัฒนาเชิงกลยุทธ์
10
องค์ประกอบ 1 : การเตรียมความพร้อม ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้กาหนดกลไกสาหรับเจ้าหน้าทีด่ ้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และองค์กรเครือข่ายในการปฏิบตั ิงานร่ วมกันโดยการเสนอเครื่องมือในการ เพิม่ ประสิทธิภาพของการเตรียมความพร้อม การเตรียมความพร้อ มและการดารงรักษาความพร้อ ม สามารถบรรลุผลสาเร็จได้ผ่านทางวงจรทีต่ ่อเนื่องของการวางแผน การจัดระบบ การฝึกอบรม การเตรียม เครื่องมืออุปกรณ์ การฝึกซ้อม การประเมินผลและการดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง ความพยายามในการ เตรียมความพร้อมร่วมกันอย่างต่อเนื่องในหมู่ผทู้ ม่ี หี น้าทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดการและการดาเนินกิจกรรม ตอบโต้เหตุฉุกเฉินช่วยทาให้มนใจในการประสานงานระหว่ ั่ างกันในช่วงเวลาวิกฤต ยิง่ กว่านัน้ การเตรียม ความพร้อมยังช่วยทาให้การจัดการเหตุฉุกเฉินและการดาเนินกิจกรรมการตอบโต้เหตุฉุกเฉินเป็ นไป อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในองค์ประกอบนี้ได้อธิบายถึงมาตรการทีเ่ ฉพาะเจาะจงและขีดความสามารถทีเ่ จ้าหน้าทีด่ า้ นการ จัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และองค์กรเครือข่ายควรต้องพัฒนา พร้อมทัง้ ผนวกเข้ากับ แผนงานการเตรียมความพร้อมโดยรวมของพวกเขาเพื่อเพิม่ ศักยภาพในการเตรียมความพร้อมซึง่ จาเป็ น สาหรับการจัดการและการดาเนินกิจกรรมตอบโต้ภยั ทุกประเภท ในการจัดทา ปรับปรุง และเพิม่ เติม แผนงานและกิจกรรมการเตรียมความพร้อมในองค์กรหรือในขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพื้นที่รบั ผิดชอบ เจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ ควรต้องเพิม่ ระดับความพยายามในการ
11
เตรียมความพร้อมและการร่วมมือกันในทุกด้านทีม่ อี ยูแ่ ล้วให้มากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะเป็ นไปได้ การเตรียมความ พร้อมส่วนบุคคลซึ่งเป็ นส่วนประกอบที่สาคัญส่วนหนึ่งของความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมนิ ัน้ มีความแตกต่าง จากการเตรียมความพร้อมเพื่อเพิม่ ศักยภาพในการจัดการและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ภาวะฉุ กเฉินของ ประเทศ และอยูน่ อกขอบเขตของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ
ก. กรอบความคิ ดและหลักการ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ภายใต้ ร ะบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ ง ชาติ การเตรีย มความพร้อ มมุ่ง เน้ น ส่ ว นประกอบ ดังต่อไปนี้ : การวางแผน ; ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านและระเบียบปฏิบตั ิ ; การฝึ กอบรมและการฝึ กซ้อ ม ; คุณสมบัตขิ องบุคลากร ; การรับรองให้เข้าร่วมปฏิบตั งิ านและการออกประกาศนียบัตร ; และการรับรอง คุณ ภาพของเครื่อ งมือ อุ ปกรณ์ การยอมรับและการนาองค์ประกอบต่ างๆ ของระบบการจั ด การเหตุ ฉุกเฉินแห่งชาติไปใช้ตลอดถึงการฝึกอบรมทีม่ ปี ระสิทธิภาพก่อนทีจ่ ะเกิดเหตุฉุกเฉิน จะช่วยอานวยความ สะดวกในการจัดการและการดาเนินกิจกรรมตอบโต้เหตุฉุกเฉิน ด้วยเหตุท่กี ารเตรียมความพร้อมเป็ น ขัน้ ตอนพื้นฐานในการจัดการและการดาเนินกิจกรรมตอบโต้เ หตุ ฉุกเฉิ น ดังนัน้ กรอบความคิ ดและ หลักการที่ประกอบขึ้นเป็ นฐานสาหรับการเตรียมความพร้อมจึงเป็ นการบูรณาการกรอบความคิดและ หลักการขององค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติเข้าด้วยกัน 1. วีการที่เป็ นเอกภาพ (Unified Approach) การเตรียมความพร้อ มจาเป็ นต้อ งมีวธิ ีการที่ส ามารถใช้ร่ว มกันในการจัดการและการดาเนิน กิจกรรมตอบโต้ภาวะฉุ กเฉิน เพื่อให้ได้มาซึ่งวิธกี ารดังกล่ าวควรต้องบูรณาการองค์ประกอบต่างๆ ของ ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติเข้ากับโครงสร้างการจัดการและการดาเนินกจิกรรมตอบโต้เหตุฉุกเฉิน ภายใต้ข อบเขตอ านาจหน้ าที่แ ละพื้นที่รบั ผิดชอบและภายในองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเตรีย ม ความพร้อมควรจะผนวกอยู่ในการสื่อสารและการบริหารจัดการสารสนเทศ การบริหารจัดการทรัพยากร และการบัญ ชาการและการบริห ารจัดการเพื่อ สร้างระบบที่มปี ระสิท ธิภาพขึ้นมาก นอกจากนี้ก รอบ แนวความคิดของวิธกี ารทีเ่ ป็ นเอกภาพและสามารถใช้ร่ วมกันยังเป็ นแกนหลักขององค์ประกอบด้านการ บัญ ชาการและการบริห ารจัด การ เพราะว่า วิธ ีการดังกล่ า วยึด เอาสายการบังคับบัญ ชา (Chain of Command)1 เอกภาพของการบังคับบัญชา (Unity of Command) ความเป็ นเอกภาพของความพยายาม (Unity of Efforts) เป็ นฐานและจาเป็ นต้องมีการจัดตัง้ หน่ วยบัญชาการร่วม (Unified Command) เมื่อ นาไปใช้ คุณสมบัตหิ รือลักษณะพิเศษเหล่านี้ช่วยให้องค์กรต่าง ๆ ที่มคี วามแตกต่างกันทางด้านความ รับผิดชอบ อานาจหน้ าที่ และทรัพยากรทัง้ ในเชิงขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ เขต ภูมศิ าสตร์ หรือเชิงภารกิจ สามารถทีจ่ ะประสานงาน วางแผนและทางานร่วมกันเพื่อสนับสนุ น การ ดาเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงค์ทด่ี ที ุกฝา่ ยยอมรับร่วมกัน 2. ระดับความสามารถ
12
การเตรีย มความพร้อ มเป็ นเรื่อ งที่เ กี่ยวข้อ งกับการด าเนิน การเสริมสร้างและด ารงรักษาขีด ความสามารถในการจัดการภาวะฉุ กเฉินและการดาเนินกิจกรรมตอบโต้อย่างเต็มรูปแบบ เพื่อให้ ระบบ การจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ และองค์ก รต่ า ง ๆ ควรต้อ งก าหนดความคาดหวัง เกี่ย วกับ ขีด ความสามารถในการปฏิบ ัติง านและ ทรัพยากรทีจ่ ะได้รบั ทัง้ ในช่วงก่อน ระหว่างและหลังการเกิดเหตุฉุกเฉิน การจัดทารายการสิง่ ของและการ จาแนกประเภททรัพยากรที่มอี ยู่เพื่อใช้ในการจัดการเหตุฉุกเฉินหรือเพื่อสนับสนุ นการจัดการจาแนก ประเภททรัพ ยากรที่ม ีอ ยู่เ พื่อ ใช้ใ นการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น หรือ เพื่อ สนับสนุ น การจัด งานมหกรรมที่ วางแผนไว้ เป็ นส่ ว นประกอบที่ส าคัญ ของการเตรีย มความพร้อ ม เพราะว่า ส่ ว นประกอบดังกล่ าวนี้ สามารถช่วยเสริมสร้างและยืนยันถึงระดับความสามารถทีจ่ าเป็ นสาหรับการปฏิบตั ภิ ารกิจ นอกเหนือจาก นี้ กรอบความคิดในการกาหนดระดับความสามารถนี้ ได้รบั การผนวกเข้ากับองค์ประกอบต่าง ๆ ทัง้ หมด ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติรวมถึงระบบการรับรองสมรรถนะบุคลากรเพื่อออกใบรับรองให้
ข. การบรรลุความสาเร็จในการเตรียมความพร้อม -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบแต่ละแห่งควรต้องมีการเตรียมความพร้อมล่วงหน้ า ตามสมควรและตามความเหมาะสมก่อนที่เหตุฉุกเฉินจะเกิดขึน้ โดยการประสานงานและการได้รบั การ สนับสนุ นจากพันธมิตรในระดับรัฐบาลกลางและรัฐ องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน เพื่อให้การ ดาเนินการจัดการ และการตอบโต้เหตุฉุกเฉินประสบความสาเร็จ เจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และองค์กรเครือข่ายจะต้องมีความเข้าใจในบทบาทและความรับผิดชอบของ พวกเขาอย่างถ่องแท้และชัดเจน ความชัด เจนในบทบาทและความรับผิดชอบไม่ใช่เป็ นเรื่องทีส่ าคัญและ จาเป็นเฉพาะต่อเจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เท่านัน้ แต่ยงั เป็ นเรื่องที่ จาเป็ นสาหรับผู้ทม่ี บี ทบาทและความรับผิดชอบด้านนโยบาย การประสานงานหรือการให้การสนับสนุ น อีกด้วย • บทบาทด้านนโยบาย : การพัฒนาหรือการจัดทา การทบทวน การทาให้เป็ นทางการ และ/หรือ การลงนามในนโยบาย ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน ข้อตกลงช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Mutual Aid Agreement) ข้อตกลงว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือ (Assistance Agreement) และ/หรือแผนทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดการเหตุ ฉุกเฉินและโครงการหรือกิจกรรมการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน • บทบาทด้านการประสานงาน : การบริหารจัดการทรัพยากร หรือความพยายามในการ ประสานงานอื่นใดที่จาเป็ นสาหรับการจัดการเหตุฉุกเฉิน และการดาเนินการตามแผน หรือกิจกรรมการ ตอบโต้เหตุฉุกเฉิน • บทบาทด้านการให้การสนับสนุ น : การให้ความช่วยเหลือในการจัด การเหตุฉุกเฉินและการ ดาเนินการตามแผนและกิจกรรมการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน 1. ความสัมพันธ์ระหว่างระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิ นแห่ งชาติ และความพยายามในการเตรียม ความพร้อมอื่นๆ
13
เพื่อให้การเตรียมความพร้อมแห่งชาติและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ท่ปี ระสานสอดคล้องกันบรรลุ ความสาเร็จ จาเป็ นต้องมีการประสานงานในการจัดการเหตุฉุกเฉินและการดาเนินกิจกรรมการตอบโต้ เหตุฉุกเฉินระหว่างรัฐบาลในระดับต่าง ๆ และควรต้องครอบคลุมถึงการประสานงานกับองค์กรพัฒนา เอกชนและภาคเอกชนตามที่เห็นสมควรและตามความเหมาะสม คาสังประธานาธิ ่ บดีด้านความมันคง ่ แห่ ง มาตุ ภู ม ิท่ี 5 ได้ ก าหนดวิธ ีก ารจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น ไว้ ซึ่ง เป็ น วิธ ีก ารหนึ่ ง เดีย วและมีล ัก ษณะ ที่ครอบคลุมด้วยวัตถุประสงค์ท่จี ะสร้างความมันใจว่ ่ ารัฐบาลในทุกระดับทัวประเทศมี ่ ขดี ความสามารถ ในการทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิท ธิผ ล มีค าสังประธานาธิ ่ บดีด้านความมันคง ่ แห่งมาตุภูมอิ ่นื ๆ ที่เชื่อมโยงอย่างแยกไม่ออกกับคาสังที ่ ่ 5 (HSPD – 5) เนื่องจากคาสังดั ่ งกล่าวนี้ เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเตรียมความพร้อมแห่งชาติและการป้องกันโครงสร้างพื้นฐานที่มคี วามสาคัญ อย่างยิง่ ยวด รายละเอียดของคาสังกล่ ่ าวสรุปได้ดงั นี้ ก. ค าสัง่ ประธานาธิ บดี ด้ า นความมัน่ คงแห่ ง มาตุ ภ ูมิ ที่ 7 “การระบุ โ ครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ มี ความสาคัญอย่างยิ่ งยวด การจัดลาดับความสาคัญและการป้ องกัน” คาสังที ่ ่ 7 สังการให้ ่ กระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมกิ าหนดนโยบายระดับชาติสาหรับกระทรวง และหน่วยงานต่าง ๆ ในระดับรัฐบาลกลางสาหรับการระบุและจัดลาดับความสาคัญของโครงสร้างพืน้ ฐาน ทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวด และของทรัพยากรทีส่ าคัญเพื่อประโยชน์ในการป้องกัน ยับยัง้ และบรรเทา ผลกระทบที่เ กิดขึ้น จากความพยายามโดยเจตนาที่จ ะทาลาย สร้า งความเสีย หายต่ อ และแสวงหา ผลประโยชน์โดยมิชอบจากโครงสร้างพืน้ ฐานและทรัพยากรดังกล่าว กระทรวงและหน่ วยงานต่าง ๆ ใน ระดับรัฐบาลกลางต้องทางานร่วมกับรัฐบาลแห่งรัฐ รัฐบาลกลาง ชนเผ่าท้องถิ่นอเมริกัน และรัฐบาล ท้องถิน่ องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว ความพยายามในการ ป้ อ งกัน ดัง กล่ า วยัง รวมถึง การจัด ท า การน าไปใช้ และการปรับ ปรุ ง และธ ารงรัก ษา “แผนป้ องกัน โครงสร้างพืน้ ฐานแห่งชาติ” (National Infrastructure Protection Plan : NIPP) แผนป้องกันโครงสร้าง พืน้ ฐานแห่งชาติและแผนเฉพาะด้าน (Sector – Specific Plan) ซึง่ เป็ นแผนเสริมของแผนป้องกันโครงสร้าง พืน้ ฐานแห่งชาติได้กาหนดโครงสร้างระบบงานที่เป็ นเอกภาพสาหรับการบูรณาการกิจกรรมการป้องกัน โครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวดและทรัพยากรทีส่ าคัญที่มอี ยู่แล้ว และรวมถึงกิจกรรมทีจ่ ะ กาหนดขึน้ ในอนาคต ข. คาสังประธานาธิ ่ บดีด้านความมันคงแห่ ่ งมาตุภมู ิ ที่ 8 “การเตรียมความพร้อมแห่งชาติ ” คาสังที ่ ่ 8 สังการให้ ่ กระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมเิ ป็ นหน่ วยทาให้มกี ารริเริม่ จัด “ระบบการ เตรียมความพร้อมแห่งชาติ” (National Preparedness System)... ซึง่ เป็ นวิธกี ารทีเ่ ป็ นเอกภาพและสามารถ ใช้ปฏิบตั งิ านร่วมกันเพื่อ “เสริมสร้างประสิทธิภาพการเตรียมความพร้อมของประเทศสหรัฐอเมริกาใน การป้องกันและตอบโต้การโจมตีของผู้ก่อการร้ายที่อาจจะเกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นจริงภายในประเทศ การ ป้องกันและตอบโต้สาธารณภัยขนาดใหญ่ และสภาวะฉุ กเฉินอื่น ๆ “ ข้อกาหนดตามคาสังที ่ ่ 8 นาไปสู่
14
การพัฒนาและจัดทา “คู่มอื การเตรียมความพร้อมแห่งชาติ” (National Preparedness Guidelines) ซึง่ ได้ นาเสนอช่องทางสาหรับประเทศในการตอบคาถามพืน้ ฐาน 3 คาถาม : • เราจาเป็นต้องมีความพร้อมมากแค่ไหน • เรามีความพร้อมอยูแ่ ล้วเพียงใด • เราจัดล าดับความสาคัญ ความพยายามที่จะเพิม่ เติมช่องว่างระหว่างความพร้อมที่มอี ยู่กับ ความพร้อมทีต่ อ้ งการอย่างไร คาสังที ่ ่ 8 ยังกาหนดให้กระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมพิ ฒ ั นากลไกในการส่งความช่วยเหลือ เกีย่ วกับการเตรียมความพร้อมจากรัฐบาลกลางให้กบั รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าพืน้ เมืองอเมริกนั และรัฐบาล ท้องถิน่ และกลไกในการเสริมสร้างขีดความสามารถในการเตรียมความพร้อมของประเทศ ภาคผนวก 1 ของคาสังที ่ ่ 8 ภายใต้หวั ข้อเรือ่ ง “การวางแผนระดับชาติ” ได้กาหนดวิธกี ารทีม่ ลี กั ษณะครอบคลุมสาหรับ ใช้ในการวางแผนระดับชาติและแนวทางในการจัดทาแผนให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์แห่งชาติเพื่อความ มันคงแห่ ่ งมาตุภูม ิ (National Strategy for Homeland Security) ภาคผนวก 1 เรียกร้องให้มกี ารพัฒนาและ ปรับปรุงระบบการวางแผนเชิงบูรณาการ (Integrated Planning System) ให้ทนั สมัย ได้มกี ารจัดทาแผน ระดับชาติเพื่อรับสถานการณ์ทค่ี าดว่าจะเกิดขึน้ (National Planning Scenarios) จานวน 15 สถานการณ์ เพื่อ แสดงให้เ ห็น ถึง พิส ัย ขอบเขต ระดับความรุนแรง และความซับ ซ้อ นของเหตุ ฉุ กเฉิ น ที่ป ระเทศ จาเป็นต้องเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือ การนาสถานการณ์สมมติทค่ี รอบคลุมถึงการก่อการร้าย ภัยพิบตั ิ ธรรมชาติประเภทต่างๆ และภาวะฉุ กเฉินทางสาธารณสุขไปใช้ประโยชน์จะช่วยลดความไม่แน่ นอนในการ วางแผน หลังจากได้ดาเนินการกาหนดภารกิจหรือการปฏิบตั กิ ารที่สาคัญที่สุดที่จาเป็ นต้องดาเนินการ ในแต่ละสถานการณ์สมมติทุกสถานการณ์แล้ว กระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมไิ ด้พฒ ั นา “บัญชีกาหนด ระดับสมรรถนะที่เป็ นเป้าหมายเพื่อการบรรลุภารกิจด้านความมันคงของประเทศ” ่ (Target Capabilities List) ซึง่ ได้รบั การออกแบบมาเพื่อเป็ นแนวทางสาหรับความพยายามทีจ่ ะสร้างเครือข่ายที่มสี มรรถนะใน การปฏิบตั ภิ ารกิจด้านต่าง ๆ ที่สามารถนามาใช้ได้ทุกเวลาและสถานที่ บัญชีดงั กล่าวได้ร่างแนวทางใน การพัฒนาขีดความสามารถทีค่ รอบคลุมถึงภัยทุกประเภทซึง่ จาเป็ นต่อการรับมือกับภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ และเกิดขึ้น โดยมนุ ษย์ห รือเหตุฉุก เฉินขนาดใหญ่อ่นื ๆ และได้กาหนดบทบาทเบื้องต้นของรัฐบาลใน ทุกระดับ องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคเอกชน และปจั เจกบุคคลในการดาเนินการเตรียมความพร้อมแห่งชาติ บัญชีดงั กล่าวยังได้กาหนดวิธกี ารในการบรรลุภารกิจและการบรรลุผลตามทีต่ ้องการโดยการปฏิบตั งิ าน ทีส่ าคัญภายใต้เงือ่ นไขทีก่ าหนดไว้ได้สาเร็จถึงระดับทีเ่ ป็ นเป้าหมย ผูท้ ร่ี บั ผิดชอบในการถ่ายทอดภารกิจ ทีก่ าหนดไว้ในบัญชีดงั กล่าวคือบรรดาบุคลากรทีไ่ ด้จดั เตรียม จัดตัง้ มีความพร้อม ผ่านการฝึกอบรมและ การฝึกหัดมาแล้วอย่างเหมาะสม 2. ความเกี่ยวข้องระหว่างระบบการตอบโต้ เหตุฉุกเฉิ นแห่ งชาติ กบั กรอบการดาเนิ นการตอบโต้ เหตุฉุกเฉิ นแห่งชาติ
15
ระบบการตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้กาหนดแม่แบบสาหรับการจัดการเหตุฉุกเฉินโดยไม่ ค านึ ง ถึง สาเหตุ ข นาด สถานที่เ กิด หรือ ความซับ ซ้ อ นของเหตุ ฉุ ก เฉิ น แม่แ บบดัง กล่ ว นี้ ไ ด้ก าหนด โครงสร้างกรอบความคิด หลักเกณฑ์ กระบวนการและคาพูดทีใ่ ช้ส่อื สารเพื่อช่วยให้การใช้ขดี ความสามารถ ที่มอี ยู่เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพทัวประเทศ ่ ไม่ว่าจะเป็ นขีดความสามารถขอบเขตอานาจหน้าที่และ พื้นที่ท่รี บั ผิดชอบของรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าพื้นเมืองอเมริกนั หรือรัฐบาลท้องถิน่ หรือขีด ความสามารถขององค์กรพัฒนาเอกชนหรือภาคเอกชน กรอบการดาเนินการตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติ กรอบการดาเนินการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน (National Response Framework) ซึง่ เข้ามาแทนทีแ่ ผนตอบ แห่งชาติเป็ นคู่มอื วิธกี ารดาเนินการของ โต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติ (National Response Plan) เป็ น ประเทศในการตอบโต้ภยั ทุกประเทศ กรอบสาหรับการตอบโต้ภ ัยพิบตั ิทุก ประเภทที่ส ร้างขึ้น จากระบบการจัดการเหตุฉุ กเฉิ นแห่งชาติและเป็ นกรอบที่ได้ระบุถึงบทบาทและโครงสร้างเพิม่ เติมที่ เฉพาะเจาะจงของรัฐบาลกลางเกี่ยวกับเหตุฉุกเฉินที่จาเป็ นต้องใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ของรัฐบาลกลางใน การดาเนินการ กรอบการดาเนินการตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้กาหนดโครงสร้างและกลไกสาหรับนโยบาย และทิศทางการดาเนินการในระดับชาติ สาหรับการจัดการเหตุฉุกเฉินเพื่อให้เกิดความมันใจว่ ่ ารัฐบาลกลาง ให้ความช่วยเหลือและการสนับสนุ นรัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าพื้นเมืองอเมริกนั และรัฐบาลท้องถิน่ ในการ ดาเนินกิจกรรมทีเ่ กี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเวลา กรอบการดาเนินการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน แห่งชาติสามารถนาไปใช้ได้กบั ทุกกระทรวงและหน่ วยงานในระดับรัฐบาลกลางทีม่ สี ่วนร่วมในปฏิบตั กิ าร ทีร่ ฐั บาลกลางเข้าไปมีส่วนเกีย่ วข้อง ระบบการตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติและ ระบบการตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติและกรอบ กรอบการดาเนินการตอบโต้เ หตุฉุ กเฉิ นห่งชาติ การดาเนินการตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้รบั ได้ ร ั บ การออกแบบมาเพื่ อ การปรั บ ปรุ ง ขี ด การออกแบบมาเพื่อช่วยให้มนใจว่ ั ่ าขอบเขต ความสามารถและประสิท ธิภ าพโดยรวมของ อานาจหน้าทีใ่ นพืน้ ทีย่ งั คงเป็นองค์กรทีก่ ุม ประเทศในการจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ น ในช่ว งที่เ กิด อานาจการบัญชาการ ควบคุมการดาเนิน เหตุฉุกเฉินทีจ่ าเป็นต้องร้องขอให้รฐั บาลกลางเข้า กิจกรรมตอบโต้เหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ที่ มาปฏิบตั ิก ารร่ว ม กรอบการดาเนินการตอบโต้ รับผิดชอบของตนอยู่ เหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ ง ชาติ ไ ด้ ก าหนดแนวทางและ กระบวนการสาหรับการบูรณาการขีดความสามารถและทรัพยากรของรัฐบาลกลางเข้ากับขอบเขตอานาจ หน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบในพืน้ ทีก่ รอบปฏิบตั กิ าร ทีช่ ่วยทาให้การดาเนินการจัดการเหตุฉุกเฉินร่วมกัน เป็นไปอย่างกลมกลืน และราบรืน่
16
สมมติฐานพืน้ ฐานของทัง้ ระบบการตอบโต้เหตุ ฉุกเฉินแห่งชาติและกรอบการดาเนินการตอบโต้ เหตุฉุกเฉินแห่งชาติคอื โดยปกติองค์กรท้องถิ่นจะเป็ นหน่ วยงานแรกที่ทาหน้ าที่จดั การเหตุฉุกเฉินที่ เกิดขึน้ ส่วนใหญ่ของเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ นัน้ ทรัพยากรของท้องถิน่ และข้อตกลงช่วยเหลือซึง่ กันและกัน ระหว่างหน่ วยตอบโต้เ หตุฉุ กเฉิ นรวมถึงข้อตกลงด้านการให้ค วามช่ว ยเหลือจะเป็ นปจั จัยหลักในการ กาหนดการจัดการเหตุฉุกเฉินและการตอบโต้เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในเบื้องต้น ในกรณีท่จี าเป็ นต้องใช้ ทรัพยากรหรือขีดความสามารถพิเศษหรือเพิม่ เติม ผูว้ ่าการรัฐอาจจะร้องขอความช่วยเหลือจากรัฐบาลกลาง อย่างไรก็ตาม ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติตงั ้ อยู่บนกรอบความคิดพืน้ ฐานทีว่ ่าขอบเขตอานาจ หน้ าที่ใ นระดับท้อ งถิ่นยังคงกุมอ านาจการบัญ ชาการและการควบคุมการดาเนินกิจกรรมตอบโต้เหตุ ฉุ กเฉินที่เกิดขึ้นในพื้นที่รบั ผิดชอบของตนอยู่ การยึดมันและปฏิ ่ บตั ิตามระบบการตอบโต้เหตุฉุก เฉิ น แห่งชาติจะช่วยให้หน่ วยงานระดับท้องถิน่ สามารถใช้ทรัพยากรที่กาลังจะได้รบั ให้เป็ นประโยชน์ได้มาก ยิง่ ขึน้ บทบาทของผู้ม ีส่ ว นเกี่ย วข้อ งการเตรีย มพร้อ มการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น และการตอบโต้เ ป็ น แนวความคิดที่เป็ นสากลทีไ่ ด้รบั การผนวกเข้ากับทัง้ ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิน แห่งชาติและกรอบการ ดาเนินการตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติ ถึงแม้ว่าส่วนประกอบที่เฉพาะเจาะจงของการจัดกเตรียมความ พร้อมที่ได้อธิบายเอาไว้ในเอกสารแต่ละฉบับอาจจะแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย แต่แนวความคิดดังกล่าว ยังคงมีความครบถ้วนสมบูรณ์อยู่ มีคาอธิบายและการจัดรูปแบบของส่ว นประกอบย่อยทีส่ าคัญ ๆ ของ องค ์์ ป ระกอบด้า นการเตรีย มความพร้อ มของระบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ ง ชาติแ ละกรอบการ ดาเนินการตอบโต้เหตุฉุกเฉินในลักษณะทีจ่ ะช่วยผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนาขีดความสามารถในการ จัดการภาวะฉุกเฉินและการตอบโต้เหตุฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล 3. บทบาทของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียในการเตรียมความพร้อม ควรต้อ งมีก ารประสานกิจกรรมการเตรียมความพร้อ มระหว่างหน่ ว ยงานและองค์กรที่ต งั ้ อยู่ ภายในขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบเดียวกันและควรต้องมีการประสานข้ามขอบเขตและ พืน้ ทีด่ ว้ ย องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชนควรต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมการเตรียม ความพร้อมด้วย เพราะว่าทัง้ องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชนมักจะให้บริการที่เกี่ยวกับเหตุฉุกเฉิน เป็ นประจา อีกทัง้ ยังเป็ นเจ้าของและเป็ นผู้ป ระกอบการโครงสร้างพื้นฐานที่มคี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวด รวมถึง ทรัพ ยากรที่ส าคัญ ที่อ าจจะมีส่ ว นร่ ว มหรือ ส่ ว นเกี่ย วข้อ งในการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น และการ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้ ถึงแม้ว่าจะไม่ได้รบั การผนวกเข้ากับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติโดยตรง แต่ บุคคลทัวไปก็ ่ มบี ทบาทสาคัญในการเตรียมความพร้อมด้วยเช่นกัน และได้รบั การคาดหวังว่าบุคคลทัว่ ไป แต่ละคนจะมีการเตรียมความพร้อมให้กบั ตัวเองและครอบครัวเพื่อเผชิญกับเหตุฉุกเฉินทุกประเภทที่ อาจจะเกิดขึน้ ขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบต่าง ๆ ควรจะต้องขยายโครงการส่งเสริมและ สนับสนุ นการเตรียมความพร้อมให้ครอบคลุมถึงการเตรียมความพร้อมของบุคคลทัวไปและชุ ่ มชน (เช่น การให้ความรูก้ บั สาธารณะ การจัดฝึ กอบรม การสาธิต) รวมถึงการเตรียมความพร้อมให้กบั ผู้ทต่ี ้องการ ความช่วยเหลือเป็นพิเศษ
17
ก. การจัดตัง้ องค์กรทาหน้ าที่เตรียมความพร้อม องค์ก รเพื่อ เตรียมความพร้อ มช่วยให้มกี ารประสานงานในการจัดการสภาวะฉุ กเฉินและการ ดาเนินกิจกรรมการตอบโต้เหตุฉุกเฉินระหว่างกันล่วงหน้าก่อนทีเ่ หตุฉุกเฉินหรือก่อนทีจ่ ะจัดงานมหกรรม ทีว่ างแผนเอาไว้ องค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ รวมตัง้ แต่กลุ่มบุคคลไปถึงคณะกรรมการคณะเล็ก ๆ และรวมถึง องค์กรถาวรขนาดใหญ่ท่มี คี ณะกรรมการหลายคณะ คณะผู้ทาหน้าที่วางแผน หรือองค์กรประเภทอื่นๆ (เช่ น หน่ ว ยอาสาสมัค รพลเรือ น (Citizen Corps) ชุ ด ปฏิบ ัติ ก ารตอบโต้ ส ภาวะฉุ ก เฉิ น ชุ ม ชน คณะกรรมการวางแผนฉุ กเฉินท้องถิน่ คณะกรรมการประสานงานภาคโครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ คี วามสาคัญ อย่างยิง่ ยวด) องค์ก รเพื่อ การเตรียมพร้อ มต่ าง ๆ ควรต้อ งมีการประชุมร่ว มกันเป็ นประจาและต้ อง ประสานงานซึ่งกันและกัน เพื่อให้แน่ ใจถึงการมุ่งเน้นที่จะให้ความช่วยเหลือขอบเขตอานาจหน้าที่และ พืน้ ที่รบั ผิดชอบหรือกลุ่มขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบให้ประสบความสาเร็จในการเตรียม ความพร้อมตรงตามความต้องการ ความต้องการขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นทีร่ บั ผิดชอบต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องจะเป็ นปจั จัยกาหนดว่า องค์การเหล่านี้ควรต้องดาเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้องบ่อยครัง้ เพียงใด และรวมถึงการกาหนดวิธกี ารจัดตัง้ องค์กรเหล่านี้ และในกรณีกิจกรรมการเตรียมความพร้อมจาเป็ นต้องดาเนินร่วมกันระหว่างขอบเขต อานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ จึงจะประสบความสาเร็จนัน้ องค์กรเพื่อการเตรียมความพร้อมทีเ่ ข้ามา มีส่ ว นร่ว มจะต้อ งเป็ นองค์ก รที่มผี ู้แ ทนจากหลายขอบเขตอ านาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบร่ว มเป็ น คณะกรรมการหรือเป็นองค์กรเพื่อการเตรียมความพร้อมทีป่ ระกอบด้วยหลายหน่ วยงาน ซึง่ รวมถึงผูเ้ ป็ น เจ้าของหรือ ผู้ดาเนินกิจการโครงสร้างพื้นฐานที่มคี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวด องค์กรพัฒนาเอกชน และ ภาคเอกชน หากมีส่วนเกี่ยวข้อง ควรต้องมีการจัดทาบันทึกความจา หรือข้อตกลงระหว่างฝ่ายต่าง ๆ ที่ จาเป็ นเพื่อให้แต่ละฝา่ ยตระหนักถึงขีดความสามารถ ความคาดหวังและบทบาทของกันและกัน องค์กรเพื่อการเตรียมความพร้อมอาจจะดาเนินการ ดังต่อไปนี้ : • จัดทาและประสานแผนปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉิน ระเบียบปฏิบตั ิ วิธดี าเนินการ รวมถึงทางสื่ อสาร สาธารณะและการสร้างความตระหนักให้กบั ประชาชน • บูรณาการและประสานกิจกรรม และภารกิจภายในเครือข่าย • กาหนดหรือจัดทามาตรฐาน คู่มอื และระเบียบปฏิบตั ทิ จ่ี าเป็ นสาหรับการส่งเสริมความสามารถ ในการทางานร่วมกัน และการคานึงถึงความปลอดภัยของผูป้ ฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉิน • ยอมรับมาตรฐาน คู่มอื และวิธดี าเนินการสาหรับการร้องขอ และการจัดมอบทรัพยากร • ระบุทรัพยากรและสิง่ จาเป็นอื่นๆ พร้อมทัง้ จัดลาดับความสาคญเพื่อการใช้ประโยชน์ • ส่งเสริมให้มกี ารจัดโครงการฝึกอบรม การฝึกปฏิบตั ิ การประเมินผล และการปรับปรุง แก้ไข • สร้างความมันใจว่ ่ ามีการจัดทาข้อตกลงช่วยเหลือซึง่ กันและกัน และข้อตกลงให้ความช่วยเหลือ ซึ่ง มีค วามจ าเป็ น และขยายให้ ค รอบคลุ ม ถึง การจัด ท าข้อ ตกลงร่ ว มกับ องค์ ก รพัฒ นาเอกชนและ ภาคเอกชน
18
• ใช้ร ะบบการประสานงานระหว่ า งหน่ ว ยงานตามที่จ าเป็ น และในส่ ว นที่เ หมาะสมส าหรับ เหตุการณ์ทม่ี กี ารเตรียมการไว้ เช่น การจัดงานกีฬาทีย่ งิ่ ใหญ่ การเดินขบวนพาเหรด หรือสาหรับภาวะ ฉุกเฉินเฉพาะประเภท (เช่น โรคไข้หวัดใหญ่ ซึง่ ระบาดทัวโลก ่ หรือพายุเฮอร์รเิ คน) • วางแผนให้การสนับสนุนปฏิบตั กิ ารทางด้านวิทยาศาสตร์ ซึ่งดาเนินการโดยรัฐบาลในระดับต่าง ๆ และร่วมแสดงข้อคิดเห็นสาหรับการวิจยั และการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทีก่ าลังดาเนินการอยู่ • ทบทวนการดาเนินการเตรียมความพร้อมที่แล้วเสร็จเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะของการเตรียม ความพร้อมในอนาคต ข. เจ้าหน้ าที่ระดับสูงที่มาจากการเลือกตัง้ และจากการแต่งตัง้ ทัง้ เจ้าหน้าที่ระดับสูงที่มาจากการเลือกตัง้ และจากการแต่งตัง้ ต้องมีความเข้าใจในบทบาทและ ความรับผิดชอบของตนเองอย่างชัดเจนเพื่อความสาเร็จในการจัดการเหตุฉุกเฉิน และการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ เจ้าหน้าทีด่ งั กล่าวนี้ประกอบด้วยบุคลากรทางด้านบริหารและทางการเมือง และผูบ้ ริหารระดับกระทรวง/ หน่ วยงาน ซึง๋ มีบทบาทหน้าที่เป็ นผู้นาในแต่ละขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ รวมถึง ผู้ทา หน้ า ที่อ อกกฎหมายและผู้บ ริห ารสู ง สุ ด ขององค์ก ร ไม่ ว่ า จะมาจากการเลือ กตัง้ (เช่ น ผู้ว่ า การรัฐ นายกเทศมนตรี นายอาเภอ ผู้นาชนเผ่าพื้นเมืองอเมริกนั และฝ่ายบริหารเทศมณฑล) หรือมาจากการ แต่ ง ตัง้ (เช่ น ผู้บ ริห ารเทศมณฑล และผู้จ ัด การเทศบาลนคร) ถึง แม้ว่ า บทบาทของพวกเขาอาจ จาเป็ นต้อ งชี้ทางและให้คาแนะนาแก่ประชาชนในเขตเลื อกตัง้ ในขณะกาลังเกิดเหตุฉุกเฉิ นก็ตาม แต่ กิจกรรมในแต่ละวันของพวกเขาไม่จาเป็ นต้องมุ่งเน้นทีก่ ารจัดการสภาวะฉุ กเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ เหตุฉุกเฉิน เจ้าหน้าที่ระดับสูงที่มาจากการเลือกตัง้ และจากการแต่งตัง้ ควรต้องดาเนินการดังต่อไปนี้ เพื่อ ให้บริการประชาชนในเขตเลือกตัง้ ของตนดียงิ่ ขึน้ • ทาความเข้าใจ จดจาระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติและเข้ารับการฝึ กอบรมหลักสูตร ระบบดังกล่าว รวมถึงเข้าร่วมการฝึกซ้อม • ธารงรักษาความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการสภาวะฉุ กเฉินขัน้ พื้นฐาน ความต่อเนื่องของการ ปฏิบตั ิการและความต่อเนื่องของแผนของรัฐบาล ขีดความสามารถในการปฏิบตั ิการตอบโต้ขอบเขต อานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ และการจัดทาประกาศภัยพิบตั ิ • ริเริม่ และกระตุ้นความพยายามในการเตรียมความพร้อมของชุมชน องค์กรในขอบเขตอานาจ หน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ องค์กรพัฒนาเอกชนและของภาคเอกชนตามความเหมาะสม • ช่วยในการสร้างความสัมพันธ์ (รวมถึงข้อตกลงช่วยเหลือซึง่ กันและกัน และข้อตกลงด้านการ ให้ความช่วยเหลือ) กับขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบอื่นๆ และกับองค์กรพัฒนาเอกชนและ ภาคเอกชนตามความเหมาะสม • ให้การสนับสนุ นและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในความพยายามในการบรรเทาผลกระทบของภัย ทีเ่ กิดขึน้ ภายในขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ และการมีส่วนร่วมกับองค์กรพัฒนาเอกชนและ ภาคเอกชนตามความเหมาะสม
19
• ให้ข้อ แนะน าแก่ ข อบเขตอ านาจหน้ า ที่แ ละพื้น ที่ร ับ ผิด ชอบของตน กระทรวง และ/หรือ หน่ วยงานเกี่ยวกับนโยบายที่กาหนดไว้อย่างชัดเจนสาหรับการนาระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ ไปปฏิบตั ิ • ทาความเข้าใจในกฎหมายและกฎข้อบังคับของขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบของ ตนเกีย่ วกับการจัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ • ธารงรักษาความตะหนักต่อโครงสร้างพื้นฐานที่มคี วามสาคัญอย่างยิ่ งยวดและต่อทรัพยากร ทีส่ าคัญภายในขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นทีร่ บั ผิดชอบ รวมถึงต่อผลกระทบจากเหตุฉุกเฉินที่อาจจะ เกิดขึน้ และลาดับความสาคัญในการฟื้นฟูบรู ณะ ทัง้ เจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงทีม่ าจากการเลือกตัง้ และจากการแต่งตัง้ อาจจะได้รบั การเรียกร้องให้เข้ามา ช่วยเหลือในการปรับและแก้ไข กฎหมาย นโยบาย และงบประมาณทีเ่ กี่ยวข้องกับการให้ความช่วยเหลือ ในการเตรียมความพร้อมหรือเพื่อเป็ นประโยชน์ต่อการปรับปรุงกิจกรรมการจัดการเหตุฉุกเฉินและการ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้ เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นอาจจะมีผลกระทบต่อด้านต่าง ๆ ในลักษณะที่ผสมผสานกัน เช่น ต่อต้าน การเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม ความปลอดภัยของประชาชน สาธารณสุข และทางการคลัง ที่ อาจทาให้เกิดผลกระทบระยะยาวที่รุนแรงได้ บ่อยครัง้ ที่มเี หตุฉุกเฉินเกิดขึน้ และจาเป็ นต้องดาเนินการ ตอบโต้ร่วมกัน (ระหว่างหน่ วยงาน ขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิด ชอบ และ/หรือรวมถึงองค์กร พัฒนาเอกชนและภาคเอกชน) ซึ่งเป็ นช่วงเวลาที่เจ้าหน้ าที่ระดับสูงที่มาจากการเลือกตัง้ และจากการ แต่ ง ตัง้ ควรต้อ งรู้ว่า วิธ ีก ารของระบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ง ชาติ สามารถช่ ว ยเสริม สร้า งความ พยายามในการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินร่วมกันได้อย่างแน่ นอน ดังนัน้ วิธกี ารดังกล่าวนี้จงึ สามารถ ช่วยลดความรุนแรงของผลกระทบทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากเหตุฉุกเฉิน
(1) การปฏิ บตั ิ ภารกิ จของเจ้าหน้ าที่ ระดับสูงที่ มาจากการเลือกตัง้ และจากการแต่ งตัง้ ระหว่างเกิ ด เหตุฉุกเฉิ น โดยปกติแล้ว ทัง้ เจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงทีม่ าจากการเลือกตัง้ และจากการแต่งตัง้ ไม่ได้อยู่ในทีเ่ กิดเหตุ แต่ พ วกเขาต้อ งมีค วามสามารถในการติด ต่ อ สื่อ สารและประชุม กับ ผู้บญ ั ชาการเหตุ การณ์ (Incident Commnader)/หน่ วยบัญชาการร่วม (Unified Command) ตามความจ าเป็ น เจ้ า หน้ า ที่ร ะดับ สู ง ที่ม าจากการ ความรับผิดชอบหลักของเจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงทีม่ า เลือ กตัง้ และจากการแต่ ง ตัง้ สามารถปฏิบ ัติภารกิจใน จากการเลือกตัง้ และจากการแต่งตัง้ สถานที่ด ัง ต่ อ ไปนี้ ทัง้ นี้ ขึ้น อยู่ ก ับ ลัก ษณะของเหตุ • กาหนดนโยบายหน่วยงาน/ขอบเขตอานาจ หน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบอย่างชัดเจน • ประเมินประสิทธิภาพและแก้ไขข้อบกพร่อง • สนับสนุนแนวทางการทางานร่วมกันระหว่าง องค์กร
20
ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ หรือระดับความรุนแรงโดยรวมของสภาวะฉุกเฉิน •หน่วยงานหรือทีท่ าการของขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ • ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉิน (Emergency Operations Center) • สถานทีท่ ใ่ี ช้เป็นศูนย์การประสานงานระหว่างหน่วยงาน เจ้า หน้ า ที่ร ะดับ สูง ที่ม าจากการเลือ กตัง้ และจากการแต่ ง ตัง้ ควรต้อ งให้ข้อ มูล ด้า นนโยบาย การอานวยการและอานาจหน้าทีแ่ ก่ผบู้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่วยบัญชาการร่วม การประสานงานระหว่าง เจ้าหน้าที่ระดับสูงที่มาจากการเลือกตัง้ และจากการแต่งตัง้ และผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์ /หน่ วยบัญชาการ ร่วมเป็นเรือ่ งทีม่ คี วามสาคัญต่อความสาเร็จในการจัดการเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ เจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงดังกล่าว ควรต้องสื่อสารความคิดเห็นที่ชดั เจนของตนสู่ผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วยบัญชาการร่วม เนื่ องด้วย เงื่อนไขของเวลาและนโยบายของหน่ วยงาน จึงจาเป็ นต้องมีการสื่อสารข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับประเด็นที่ ควรต้องคานึงถึง จัดทาเป็นเอกสารมอบให้กบั ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่วยบัญชาการร่วม ประเด็นทีค่ วร ต้องคานึงถึงดังกล่าวประกอบด้วย : • การคานึงถึงความปลอดภัย • ประเด็นทีเ่ กีย่ วกับสิง่ แวดล้อม • ข้อจากัดด้านกฎหมายและนโยบาย • ประเด็นที่เกี่ยวกับบริการโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญอย่างยิง่ ยวดและการฟื้ นฟูบูรณะบริการ ดังกล่าว • ความห่วงใยต่อด้านเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม • การพิจารณาถึงค่าใช้จา่ ย ในสถานการณ์ ถ้าหากข้อมูลข่าวสารในประเด็น ดังกล่าวไม่ได้มกี ารทาความเข้าใจไว้ในนโยบาย ของหน่ ว ยงานหรือ ในกฎหมายที่เ กี่ย วข้อ ง จาเป็ น ต้อ งก าหนดข้อ มูล ข่า วสารดัง กล่ า วผ่ า นทางการ มอบหมายอานาจหน้าทีอ่ ย่างเป็ นทางการ (Formal Delegation of Authority) หรือการจัดทาบันทึกสิง่ ที่ คาดหวัง (Letter of Expectation) ค. องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชนต่าง ๆ เช่น องค์กรที่ใช้ชุมชนเป็ นฐาน องค์กรที่ใช้ความศรัทธาในศาสนา เป็ นฐาน หรือองค์กรระดับชาติ (องค์กรการกุศลเพื่อช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ (Salvation Army) องค์กร อาสาสมัครเพื่อปฏิบตั ภิ ารกิจเกี่ยวกับภัยพิบตั แิ ห่งชาติ (National Voluntary Organizations Active in Disaster) สภากาชาดแห่งสหรัฐอเมริกา) มีบทบาทสาคัญยิง่ ในการดาเนินกิจกรรมการจัดการ เหตุ ฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ องค์กรพัฒนาเอกชนทีม่ คี วามสามารถและมีความประสงค์เข้ามามีส่วน ร่วมควรต้องได้รบั การบูรณากรเข้ากับการดาเนินการเตรียมความาพร้อมของขอบเขตอานาจหน้าทีและ พื้น ที่ร บั ผิดชอบอย่า งเต็มรูป แบบโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการวางแผน การฝึ ก อบรมและการฝึ กซ้อ ม นอกเหนือจากนี้ ควรต้องจัดทาบันทึกข้อตกลง (Memorandum of Agreement) กับองค์กรพัฒนาเอกชน
21
เหล่านี้ก่อนหน้าที่จะเกิดเหตุฉุกเฉิน เพือให้แ ต่ละองค์กรได้รบั รูถ้ งึ ขีดความสามารถ สิง่ ที่คาดหวังและ บทบาทของกันและกัน มีข้อแนะนาให้ผู้จดั การและผู้บริหารขององค์กรพัฒนาเอกชนนาระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิ น แห่งชาติไปใช้ในการดาเนินกิจกรรมที่ได้วางแผนไว้หรือในการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉิน เพราะว่า การใช้ร ะบบดัง กล่ า วจะช่ว ยปรับ ปรุง ความสามารถขององค์ก รในการบูร ณาการเข้า กับ การจัด การ เหตุฉุ กเฉิ น ถึงแม้ว่าการปฏิบตั ิใ ห้เป็ นไปตามระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติไม่เป็ นการบังคับ สาหรับองค์กรภาคเอกชน แต่การยึดมันในขั ่ น้ ตอนการดาเนินงานและคาศัพท์มาตรฐานเฉพาะของระบบ การจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติและการกาหนดให้เจ้าหน้าที่ขององค์กรที่มภี ารกิจเกี่ยวกับภัยพิบตั ติ ้อง เข้ารับการฝึกอบรม จะช่วยส่งเสริมสนับสนุนการบูรณาการอย่างต่อเนื่องขององค์กรพัฒนาเอกชนเข้ากับ ความพยายามในการเตรียมความพร้อมของขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ ง. ภาคเอกชน ภาคเอกชนมีบทบาทสาคัญในการจัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และควรต้องได้รบั การผนวกเข้ากับระบบการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิ นแห่งชาติทุก ๆ ด้าน โดยปกติอ งค์กรบริการสาธารณะ โรงงานอุตสาหกรรม บริษทั องค์กรธุรกิจและสมาคมผูป้ ระกอบวิชาชีพและสมาคมการค้าจะเข้ามามี ส่วน ร่วมในปฏิบตั ิการตอบโต้และการจัดการเหตุฉุกเฉิน องค์กรเหล่านี้ควรต้องเตรียมความพร้อมเพื่อที่จะ รับมือกับภัยพิบตั ทิ ุกประเภททีอ่ าจจะส่งผลกระทบต่อความสามารถในการนาส่งสินค้าและการให้บริการ ขององอค์ก ร ดังนัน้ จึงเป็ นเรื่องจาเป็ นที่อ งค์กรในภาคเอกชนที่เ กี่ยวข้อ งโดยตรงในการจัดการเหตุ ฉุกเฉินหรือในการปฏิบตั กิ ารตอบโต้หรือองค์กรทีไ่ ด้รบั การระบุว่าเป็ นองค์ประกอบของโครงสร้างพืน้ ฐาน ทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวด (เช่น โรงพยาบาล องค์กรบริการสาธารณะของรัฐและเอกชน โรงเรียน) ควร ต้อ งได้รบั การผนวกเข้าไว้ใ นความพยายามเตรีย มความพร้อ มของขอบเขตอ านาจหน้ าที่แ ละพื้น ที่ รับผิดชอบตามความเหมาะสม ถึงแม้ว่าไม่สามารถจะกาหนดให้หน่ วยงานในภาคเอกชนปฏิบตั ิ การให้ สอดคล้องกับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้ก็ตาม แต่ ควรต้องกระตุ้นให้องค์กรภาคเอกชนที่ เกี่ยวข้องกับปฏิบตั กิ ารตอบโต้ส่งเจ้าหน้าที่ปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินเข้ารับการฝึ กอบรมระบบการ จัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ และกาหนดให้องค์ประกอบของการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ขององค์กรภาคเอกชน สอดคล้องกับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ รัฐบาลทุกระดับควรต้องร่วมกับภาคเอกชนจัดทาบันทึกสิง่ ที่คาดหวังร่วมกันของทัง้ สองฝ่ายที่ สอดคล้อ งกับบทบาท ความรับผิดชอบและวิธ ีปฏิบตั ิภารกิจของรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่ า พืน้ เมืองอเมริกนั และรัฐบาลท้องถิน่ ควรต้องเผยแพร่บนั ทึกสิง่ ที่คาดหวังดังกล่าวอย่างแพร่หลายและ ควรต้องจัดการฝึ กอบรมและฝึ กปฏิบตั ทิ ่จี าเป็ นเพื่อให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้าใจในสิง่ ที่คาดหวังร่วมกัน อย่างทัวถึ ่ งล่วงหน้าก่อนเหตุฉุกเฉินเกิดขึน้ จริง สิง่ ทีค่ าดหวังดังกล่าวมีความสาคัญโดยเฉพาะอย่างยิง่ ต่อ หน่ วยงานในภาคเอชนที่เกี่ยวข้องด้านโครงสร้างพื้นฐานที่มคี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวดและทรัพยากรที่ สาคัญ นอกเหนือจากนี้ องค์กรในภาคเอกชนอาจจะมีความประสงค์ท่จี ะทาข้อตกลงให้ความช่วยเหลือ กับรัฐบาลหรือกับองค์กรในภาคเอกชนอื่น ๆ เพื่อความชัดเจนในเรื่องขีดความสามารถ บทบาทและสิง่ ที่
22
คาดหวังของฝา่ ยต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการเตรียมความพร้อมในการจัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ าร ตอบโต้ ประการสุดท้าย ภาคเอกชนอาจจะเป็ นแหล่งที่มาของวิธปี ฏิบตั ทิ ่ดี ที ่สี ุด (Best Practice0 ในการ จัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ สถาบัน การศึ ก ษาก็ ม ีบ ทบาทที่ ส าคัญ ต่ อ ระบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ ง ชาติ เ ช่ น กั น สถาบันการศึกษาหลายแห่งช่วยจัด การฝึ กอบรมให้กบั ผู้ปฏิบตั ิการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน และผู้นาชุมชน นอกเหนือจากนี้ หลายสาขาวิชาได้ผนวกการฝึ กอบรมและกรอบความคิดระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิน แห่งชาติเข้าไว้ในในหลักสูตรการเรียนการสอน กลุ่มสถาบันการศึกษายังเป็ นตัวขับเคลื่อนหลักในการ พัฒนาแนวความคิดและหลักการใหม่ ๆ อีกด้วย A ส่วนประกอบของการเตรียมความพร้อม การพยายามในการเตรียมความพร้อ มจะช่ว ยตรวจสอบและทาให้แผนนโยบายและขัน้ ตอน ปฏิบตั มิ คี วามถูกต้องและสมบูรณ์ และช่วยธารงรักษาความสมบูรณ์ดงั กล่าวไว้ เนื่องจากได้มกี ารอธิ บาย ถึงวิธกี ารทีจ่ ะจัดลาดับความสาคัญ ประสานงานบริหารจัดารและสนับสนุ นข้อมูลข่าวสารและทรัพยากร ต่าง ๆ ส่วนประกอบของการเตรียมความพร้อมที่อธิบายไว้ขา้ งล่างนี้ช่วยสร้างรากฐานทีจ่ าเป็ นสาหรับ การปฏิบตั กิ ารตอบโต้และการฟื้นฟูบูรณะทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล ศูนย์บูรณาการแห่งชาติจะให้ การสนับสนุ นในด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้อย่างต่อเนื่อง : การฝึ กอบรมและการฝึ กซ้อม ; การกาหนด คุณสมบัตขิ องบุคลากร การออกใบอนุ ญาตหน่ วยประกอบภารกิจและปรากาศนีบตั ร ; การออกหนังสือ รับรองคุณภาพของเครือ่ งมืออุปกรณ์ ก. การวางแผนการเตรียมความพร้อม แผนต่าง ๆ ควรต้องเป็ นแผนที่สามารถปฏิบตั ไิ ด้จริง ปรับเปลี่ยนขนาดได้และสามารถนาไปใช้ กับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ได้ทุกประเภท ตัง้ แต่เหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ รายวันไปถึงเหตุฉุกเฉินทีจ่ าเป็ นต้องใช้ การปฏิบตั ิการร่วมกันระหว่างรัฐ และเหตุฉุกเฉินที่จาเป็ นต้องประสานการปฏิบตั ิการตอบโต้ร่วมกับ รัฐบาลกลาง แผนควรจะเป็นส่วนประกอบหลักของการฝึกอบรมและควรต้องมีการซ้อมแผนเป็ นระยะเพื่อ สร้า งความมัน่ ใจว่ า เจ้า หน้ า ที่ท่ีเ กี่ย วข้อ งกับ การปฏิบ ัติก ารตอบโต้ ส ามารถปฏิบ ัติภ ารกิจ ที่ไ ด้ร ับ มอบหมายได้ เป็ นเรื่องที่สาคัญที่แผนจะต้องกล่างถึงการฝึ กอบรมและการฝึ กปฏิบตั ิและช่วยให้มกี าร รวบรวมผลทีไ่ ด้รบั จากการทบทวนหลังปฏิบตั กิ าร (After – actions Reviews) บทเรียน และการดาเนินการ แก้ไข พร้อมกับข้อตกลงเกี่ยวกับหน้าที่ความรับผิดชอบที่เกิดขึ้นหลังจากการเผชิญเหตุการณ์ฉุกเฉิน ขนาดใหญ่ หรือการฝึ กซ้อมเข้ามาไว้ในแผน ควรต้องปรับปรุงแผนให้เป็ นปจั จุบนั เป็ นระยะ ๆ เพื่อให้ สอดคล้อ งกับการเปลี่ย นแปลงของสภาวการณ์ ใ นการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิ นและการปฏิบตั ิการตอบโต้ รวมถึงการเปลีย่ นแปลงเชิงองค์กรและสถาบัน แผนควรต้องอธิบายถึงวิธกี ารทีจ่ ะนาบุคลากร เครื่องมือ และทรัพยากรอื่น ๆ ทัง้ ของภาครัฐและ องค์กรพัฒนาเอกชนไปใช้เพื่อรองรับความจาเป็ นในการจัดการเหตุฉุกเฉิน และการปฏิบตั กิ ารตอบโต้
23
แผนเป็ น ส่ ว นส าคัญ ในการด าเนิ น การเตรีย มความพร้อ มและก าหนดกลไกส าหรับ การจัด ล าดับ ความส าคัญ การูร ณาการขอบเขตอ านาจหน้ า ที่และพื้น ที่ร บั ผิด ชอบ/องค์ก รและภารกิจ การสร้า ง ความสัมพันธ์ใ นการทางานร่ว มกัน และการทาให้มนใจว่ ั ่ าระบบการสื่อ สารและระบบอื่นๆ สามารถ สนับสนุ นการดาเนินกิจกรรมการจัดการเหตุฉุกเฉินและกิจกรรมการตอบโต้เหตุฉุกเฉินทุกด้านอย่างมี ประสิทธิภาพ แผนจะต้องรวบรวมกลยุทธ์ในการดารงรักษาความต่อเนื่ องของการปฏิบตั ภิ ารกิจทีส่ าคัญ และจาเป็ นของรัฐบาลและความต่อเนื่องของการดาเนินงานของแต่ละองค์ กรทัง้ ในระหว่างและหลังเกิด เหตุฉุกเฉิน และควรต้องนาเสนอกลไกที่จะทาให้มนใจในความสามารถในการกลั ั่ บคืนสู่สภาวะปกติได้ อย่างรวดเร็วของโครงสร้างพื้นฐานที่มคี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวดและของความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จของ ชุมชน และควรต้องผนวกการวางแผนล่ว งหน้ าเกี่ยวกับการปกป้องคุ้มครองผู้ปฏิบตั ิการตอบโต้เหตุ ฉุ ก เฉิ น การบริห ารจัดการทรัพยากร และการบริหารจัดการการสื่อ สารและการบริหารจัดการข้อ มูล ข่าวสาร แผนควรต้องบูรณาการกระทรวง หน่ วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน (รวมถึงองค์กร พัฒ นาเอกชนและภาคเอกชนตามความเหมาสะม) เพื่อ ช่ ว ยท าให้ก ารจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น และการ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้มคี วามสะดวกยิง่ ขึน้ เพื่อความเหมาะสมแผนควรจะรวมกระบวนการทีก่ าหนดไว้อย่าง ชัดเจนสาหรับการแสวงหาและร้อ งขอความช่ว ยเหลือ จากกระทรวง หน่ ว ยงานหรือ องค์กรที่จาเป็ น ในขณะทีเ่ ป็ นที่ยอมรับกันว่าขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพื้นที่รบั ผิดชอบ และองค์กรต่าง ๆ จะจัดทาแผน หลายประเภท เช่น แผนปฏิบตั ิการตอบโต้ แผนบรรเทาและแผนพื้นฟูบูรณะ ดังนัน้ จาเป็ นต้องทาให้ แผนต่ าง ๆ เหล่านี้มคี วามสอดคล้องกันและช่วยเสริมซึ่งกันและกัน ควรต้องกระตุ้นให้รฐั บาลแห่งรัฐ ชนเผ่ า พื้น เมือ งของอเมริก ัน และรัฐ บาลท้อ งถิ่น ปฏิบ ัติต ามระบบการวางแผนบูร ณาการ (Integrated Planning System) โดยการใช้ คู่ ม ือ การเตรีย มความพร้ อ มแบบเบ็ ด เสร็จ 101 (Comprehensive Preparedness Guide 101) ในส่วนที่เกี่ยวกับ “การวางแผนปฏิบตั กิ ารสาหรับรัฐบาลแห่งรัฐ ดินแดนใน อาณัติ ชนเผ่าพื้นเมือ งอเมริกนั และรัฐบาลท้องถิ่น ” คู่มอื การเตรียมความพร้อ มแบบเบ็ดเสร็จ 101 สามารถตอบสนองข้อกาหนดในภาคผนวก 1 ทีว่ ่าระบบการวางแผนแบบบูรณาการรวมถึง “คู่มอื สาหรับ การวางแผนครอบคลุมภัยทุกประเท...ซึ่งสามารถนามาใช้ในระดับรัฐบาลกลาง รัฐ ท้องถิน่ และชนเผ่า พื้นเมืองอเมริกนั เพื่อช่วยในกระบวนการวางแผน” ระบบการวางแผนแบบบูรณาการมีความยืดหยุ่น เพียงพอทีจ่ ะรองรับรูปแบบ วิธกี าร และขัน้ ตอนการจัดทาแผนทีห่ ลากหลายทีร่ ฐั บาล รัฐ ชนเผ่าเพืน้ เมือง อเมริกนั และรัฐบาลท้องถิน่ นามาใช้ ตลอดเวลาทีผ่ ่านมามีความคาดหวังว่าการนาระบบการวางแผนแบบ บูรณาการไปใช้จะช่วยอานวยความสะดวกในการทาให้แผนในทุกระดับของรัฐบาลมีความเป็ นมาตรฐาน เดียวกันทัวประเทศ ่ และช่วยเสริมสร้างการเตรียมความพร้อมอีกด้วย ทัง้ ระบบการวางแผนบูรณาการ และคู่มอื การเตรียมความพร้อมแบบเบ็ดเสร็จ 101 ช่วยเสริมสร้างการบูรณาการในแนวดิง่ ของประเทศ โดยการเชื่อมต่อขัน้ ตอนการวางแผนในระดับรัฐบาลกลางเข้ ากับขัน้ ตอนการวางแผนของรัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าพืน้ เมืองอเมริกนั และท้องถิน่ และโดยการสร้างกระบวนการวางแผนทีส่ อดคล้องกันระหว่างรัฐบาล ในระดับต่าง ๆ ทุกระดับ
24
โดยการประสานงานกับหน่ วยงานและองค์กรทีเ่ หมาะสม แต่ละขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่ รับผิดชอบควรต้องจัดทาแผนซึง่ กาหนดขอบเขตของกิจกรรมทีจ่ าเป็ นสาหรับการเตรียมความพร้อม การ จัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ของตนเอง และเพื่อความเหมาะสมขอบเขตอานาจหน้าที่ และพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบควรต้องดาเนินการวางแผนด้วยสถานการณ์จาเพาะ (Scenario – specific Planning) เพื่อรองรับเหตุ ฉุก เฉิ นที่คาดว่ าจะเกิดขึ้น หรือ จัดทาเป็ นภาคผนวกโดยอาศัยผลการประเมินสภาวะ คุ ก คามของภัย นัน้ ๆ เป็ น ฐาน แผนเหล่ า นี้ ค วรต้ อ งแจกแจงโครงสร้า งองค์ก ร บทบาทและความ รับผิดชอบ นโยบาย และระเบียบปฏิบตั ิสาหรับการให้การสนับสนุ น ; ควรต้องมีความยืดหยุ่นเพียง พอที่จะนาไปใช้กบั เหตุการณ์ทุกประเภท ; และควรต้องมีลกั ษณะที่ครอบคลุมเพื่อสามารถตอบสนอง ความต้องการทีห่ ลากหลายของประชาชนทีอ่ าจจะเกิดขึน้ โดยทัวไปแล้ ่ วการเตรียมความพร้อมประชาชน อยู่นอกขอบเขตของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ ดังนัน้ แผนต่าง ๆ ควรต้องรวมถึงเรื่องความ ตระหนักของประชาชน การให้ความรูแ้ ละแผนการสื่อสารและระเบียบปฏิบตั ใิ นการสื่อสาร (1) การมีขีดความสามารถในการปฏิ บตั ิ ภารกิ จที่สาคัญอย่างต่อเนื่ อง เหตุ ก ารณ์ ภยั ธรรมชาติแ ละที่มนุ ษ ย์สร้างขึ้นที่ผ่านมาเมื่อ ไม่นานมานี้ แสดงให้เ ห็นถึงความ จาเป็ นที่รฐั บาลในทุกระดับตัง้ แต่รฐั บาลกลาง รัฐ ดินแดนอาณัติ ชนเผ่าพื้นเมืองอเมริกนั และท้องถิ่น รวมถึงภาคเอกชน ต้องมีขดี ควาสามารถทีแ่ ข็งแกร่งในการปฏิบตั ภิ ารกิจทีส่ าคัญอย่างต่อเนื่อง เพื่อการ ธารงรักษารูปแบบการปกครองภายใต้รฐั ธรรมนู ญและในการทาให้การปฏิบตั ภิ ารกิจที่สาคัญเกิดความ ต่อเนื่องภายใต้ทุกสถานการณ์ การทาให้มคี วามมันใจว่ ่ าในขณะทีก่ าลังเกิดเหตุการณ์ภยั พิบตั นิ นั ้ ยังคง มีความต่อเนื่องและความถูกต้องชัดเจนในด้านผูท้ จ่ี ะเป็ นผูน้ า เจ้าหน้าทีฝ่ ่ายสนับสนุ น ระบบการสื่อสาร สถานที่ทาการ โครงสร้างพื้นฐาน และทรัพยกรอื่น ๆ พร้อมทัง้ การวางแผนรองรับการปฏิบตั ิ ภารกิจที่ สาคัญอย่างต่อเนื่อง (Continuity Planning) และการบริหารจัดการโครงการที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อเป็ น การสนั บ สนุ น การปฏิบ ัติง านของขอบเขตอ านาจหน้ า ที่แ ละพื้น ที่ร ับ ผิด ชอบนั ้น มีค วามส าคัญ ต่ อ ความสาเร็จในการจัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ เป้าประสงค์ของการมีขดี ความสามารถในการปฏิบตั ภิ ารกิจทีส่ าคัญอย่างต่อเนื่องทีแ่ ข็งแกร่งคือ การมีความยืดหยุน่ ในการเผชิญกับสิง่ ท้าทาย การคุกคามหรือความล่อแหลมใด ๆ ก็ตามทีม่ อี ยู่ ควรต้อง วางกฎเกณฑ์ให้ทุกองค์กรจัดทาแผนรองรับการปฏิบตั ภิ ารกิจที่สาคัญอย่างต่อเนื่อง...องค์กรดังกล่ าว รวมถึงรัฐบาลในระดับต่างๆ และภาคเอกชน...และโดยเฉพาะอย่างยิง่ องค์กรที่ให้การสนับสนุ นภารกิจที่ สาคัญของประเทศ (National Essential Functions) ที่ปรากฏอยู่ในคาสังประธานาธิ ่ บดีดา้ นความมันคง ่ แห่งชาติท่ี 51/คาสังประธานาธิ ่ บดีด้านความมันคงของมาตุ ่ ภูมทิ ่ี 20 (National Security Presidential Directive 51/Homeland Security Presidential Directive 20) และใน “นโยบายความต่อเนื่องของประเทศ” (National Continuity Policy) ลงวันที่ 4 พฤษภาคม 2007 คาสังที ่ ่ 51/คาสังที ่ ่ 20 และคาสังว่ ่ าด้วยความ ต่อเนื่องของรัฐบาลกลาง 1 (Federal Continuity Directive 1) ลงวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2007 ได้กาหนดความ จาเป็นทีจ่ ะต้องมีความต่อเนื่องของประเด็นต่าง ๆ ซึง่ รวมถึงภารกิจทีส่ คัญทีต่ อ้ งดาเนินการ ลาดับการสืบ ทอดอานาจหน้ าที่ การมอบหมายอานาจหน้ าที่ ความต่อเนื่อง สถานที่ทาการ ความต่อเนื่องของการ ติดต่อสื่อสาร การบริหารจัดการงานเอกสารทีส่ าคัญและการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
25
(2) ข้ อ ตกลงว่ า ด้ ว ยการช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กัน และกัน และข้ อ ตกลงว่ า ด้ ว ยการให้ ค วาม ช่วยเหลือ ข้อ ตกลงว่ า ด้ว ยการช่ว ยเหลือ ซึ่งกัน และกัน และข้อ ตกลว่า ด้ว ยการให้ค วามช่ว ยเหลือ เป็ น ข้ อ ตกลงระหว่ า งหน่ วยงาน อง ค์ ก ร และ ขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ ซึ่ง ข้อตกลงซึง่ ต้องจัดทาเป็นลายลักษณ์อกั ษรควร ก าหนดกลไกที่ ช่ ว ยท าให้ ก ารได้ ร ับ ความ ครอบคลุมส่วนประกอบหรือข้อกาหนดดังต่อไปนี้ ช่วยเหลือในด้านบุคลากร เครือ่ งมือ สิง่ ของและ • คาจากัดความของคาศัพท์ทใ่ี ช้ในข้อตกลง บริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง วัตถุประสงค์เบือ้ งต้น • บทบาทและความรับผิดชอบของแต่ละฝา่ ย ของข้อตกลงคือ การอานวยความสะดวกในการ • ขัน้ ตอนปฏิบตั ใิ นการร้องขอและการให้ความ จัดส่ งความช่ว ยเหลือ ระยะสัน้ ทัง้ ในช่ว งก่ อ น ช่วยเหลือ ระหว่าง และหลังจากการเกิดเหตุฉุกเฉินดาเนิน • ขัน้ ตอนปฏิบตั ิ อานาจหน้าทีแ่ ละกฎระเบียบ ไปด้ ว ยความรวดเร็ว ข้อ ตกลงที่ไ ด้ ล งนาม สาหรับการจ่ายเงิน การชาระเงินคืนและการแบ่ง ร่ ว มกัน ไม่ ไ ด้เ ป็ น ข้อ ผู ก มัด ในการให้ห รือ รับ สรรค่าใช้จ่าย ความช่ ว ยเหลือ แต่ เ ป็ น การสร้า งเครื่อ งมือ • ขัน้ ตอนการแจ้งให้ทราบ สาหรับ ใช้เ ป็ น ประโยชน์ ถ้า หากเหตุ ก ารณ์ ที • ระเบียบปฏิบตั สิ าหรับการสื่อสารร่วมกัน เกิ ด ขึ้ น เป็ นตั ว ก าหนดให้ ม ี ค ว ามจ าเป็ น • ความเกีย่ วโยงสัมพันธ์กบั ข้อตกลงอื่น ๆ ทีจ่ ดั ทา ข้อตกลงเหล่านี้มอี ยู่หลายประเภท ซึ่งรวมถึง ขึน้ ระหว่างขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ที่ แต่ไม่จากัดเฉพาะข้อตกลงดังต่อไปนี้ : รับผิดชอบต่างๆ • ข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือซึง่ กัน • ค่าตอบแทนผูป้ ฏิบตั งิ าน และกันโดยอัตโนมัติ (Automatic Mutual Aid) : • การดูแลด้านความรับผิดชอบตามกฎหมายและ เป็ น ข้ อ ตกลงที่ย ิน ยอมให้ ม ีก ารส่ ง และการ การให้ความคุม้ ครอง สนองตอบต่อการร้องขอทรัพยากรโดยอัตโนมัติ • การยอมรับในเรือ่ งคุณสมบัติ ใบอนุญาตและใบ โดยไม่ จ าเป็ น ต้ อ งได้ ร ับ การอนุ ม ัติ เ ป็ น การ ประกาศนียบัตร เฉพาะเหตุ ก ารณ์ ท่ีเ กิดขึ้น โดยปกติข้อ ตกลง • การใช้ขอ้ ตกลงร่วมกันตามความจาเป็น ประเภทนี้จะเป็ นสัญญาขัน้ พื้นฐานหรืออาจจะ • อนุมาตราว่าด้วยสิน้ สุดของข้อตกลง เป็นการตกลงร่วมกันอย่างไม่เป็นทางการ • ข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือซึง่ กัน และกันในระดับท้องถิน่ (Local Mutual Aid) : เป็นข้อตกลงระหว่างขอบเขตหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบต่ าง ๆ ที่มอี าณาเขตติดกันหรือระหว่างองค์กรสาหรับการร้อ งขอความช่ว ยเหลือ อย่างเป็ นทางการ และ โดยทัว่ ไปแล้ว ข้อ ตกลงดัง กล่ า วนี้จ ะครอบคลุ ม พื้นที่ทางภูม ิศ าสตร์ก ว้า งกว่ า ข้อ ตกลงว่ า ด้ว ยความ ช่วยเหลือซึง่ กันและกันโดยอัตโนมัติ • ข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในระดับภาค (Regional Mutual Aid) : เป็ น ข้อตกลงระหว่างขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบหลายขอบเขตในระดับต่ ากว่ารัฐ ส่วนใหญ่ ข้อตกลงประเภทนี้ได้รบั การสนับสนุ นจากสภาแห่งรัฐหรือองค์กรอื่นใดทีม่ ลี กั ษณะคล้ายคลึงกัน
26
• ข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือ ซึ่งกันและกันทัวทั ่ ง้ รัฐ/ภายในรัฐ (State wide/Intrastate Mutual Aid) : เป็ นข้อตกลงทีจ่ ดั ทาขึ้นโดยการประสานงานผ่านทางรัฐเพื่อรวบรวมทรัพยากรต่าง ๆ ทัง้ ของรัฐและของท้องถิ่น รวมถึงขององค์กรพัฒนาเอกชนเข้าด้วยกันเพื่อสนับสนุ นความพยายามที่จะ เพิม่ พูนการเตรียมความพร้อมทัวทั ่ ง้ รัฐ • ข้อตกลงว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือ ระหว่างรัฐ (Interstate Agreement) : เป็ นความ ช่วยเหลือทีม่ าจากภายนอกรัฐ โดยผ่านทางข้อตกลงร่วมกันว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือระหว่างรัฐใน การจัดการเหตุฉุกเฉินหรือผ่านทางข้อตกลงภายใต้รูปแบบรัฐต่อรัฐประเภทอื่น ๆ ที่ให้การสนับสนุ นใน การปฏิบตั กิ ารตอบโต้ • ข้อตกลงระหว่างประเทศ (International Agreement) : เป็ นข้อตกลงระหว่างประเทศ สหรัฐอเมริกากับประเทศอื่น ๆ เพื่อแลกเปลีย่ นทรัพยากรของรัฐบาลกลางในกรณีฉุกเฉิน • ข้อตกลงอื่น ๆ : ข้อตกลงประเภทอื่นใดไม่ว่าจะเป็ นแบบทางการหรือไม่เป็ นทางการทีน่ าไปใช้ ในการร้องขอหรือการให้ความช่วยเหลือ และ/หรือการร้องขอและการจัดมอบทรัพยากรระหว่างขอบเขต อานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบต่างๆ ในแต่ละระดับของรัฐบาล (รวมทัง้ รัฐบาลต่างประเทศ) องค์กร พัฒนาเอกชนหรือระหว่างภาคเอกชน ขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบต่าง ๆ ควรต้องเป็ นฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในข้อตกลงที่ทา ร่วมกับอีกขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ และ/หรือกับองค์กรทีม่ คี วามเหมาะสม (ซึง่ รวมถึง องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน ตามความเหมาะสม) ทีค่ าดหวังจะได้รบั หรือคาดหวังว่าจะให้ความ ช่วยเหลือ รัฐต่าง ๆ ควรต้องมีส่วนร่วมในข้อตกลงร่วมกันระหว่างรัฐและมุ่งทีจ่ ะจัดทาข้อตกลงระหว่างรัฐ ที่ครอบคลุมถึงขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบในท้องถิ่นทัง้ หมด เจ้าหน้ าที่ผู้มอี านาจจาก แต่ละขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ และ/หรือองค์กรที่มสี ่วนร่วมควรต้องร่วมกันให้ความ เห็นชอบข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และข้อตกลงว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือที่ได้ จัดทาขึน้ ทัง้ หมด มีความจาเป็ นทีจ่ ะต้องจัดทาบันทึกความเข้าใจ (Memorandums of Understanding) และบันทึกข้อตกลง (Memorandums of Agreement) กับภาคเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน รวมถึง องค์กรที่ใ ช้ชุมชนเป็ นฐาน องค์กรที่ใช้ความศรัทธาในศาสนาเป็ นฐาน และองค์กรระดับประเทศ เช่น สภากาชาดแห่งสหรัฐอเมริกา และองค์กรการกุศลเพื่อบรรเทาทุกข์เพื่อช่วยให้การส่งมอบความช่วยเหลือ ในขณะกาลังเกิดเหตุฉุกเฉินมีความสะดวกยิง่ ขึน้ ข. ขัน้ ตอนปฏิ บตั ิ และระเบียบปฏิ บตั ิ ขัน้ ตอนปฏิบตั ิแ ละระเบียบปฏิบตั ิค วรต้อ งชี้แจงรายละเอียดของการปฏิบ ัติท่เี ฉพาะเจาะจง สาหรับการนาแผนหรือระบบไปใช้ เจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ และ องค์กรเครือข่ายของพวกเขาควรต้องพัฒนาขัน้ ตอนปฏิบตั ิ และระเบียบปฏิบตั ทิ ส่ี ามารถนามาแปลงเป็ น แบบฟอร์มหรือตารางที่ใช้สาหรับตรวจสอบขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน (checklist) ในขณะที่กาลังปฏิบตั ิ หน้าทีต่ อบโต้เหตุฉุกเฉิน
27
ควรต้องจัดทาขัน้ ตอนปฏิบตั ิเป็ นเอกสารและนามาใช้พร้อมกับตารางที่ใช้สาหรับตรวจสอบ ; รายการทรัพยากร ; แผนที่ ; แผนภูม ิ ; และข้อมูลอื่น ๆ ทีต่ รงประเด็น ; กลไกสาหรับการแจ้งให้ ผูป้ ฏิบตั งิ านทราบ ; กระบวนการในการรับมอบและใช้เครื่องมือ สิง่ ของ และยานพาหนะ ; วิธกี ารได้มา ซึง่ ข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือซึง่ กันและกันและข้อตกลงว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือ ; กลไกสาหรับ การรายงานข้อมูลข่าวสารต่อศูนย์ปฏิบตั กิ ารกระทรวงและศูนย์ปฏิบตั กิ ารสภาวะฉุ กเฉิน ; และคาแนะนา ในการติดต่อสื่อสาร รวมถึงการเชื่อมโยงการสื่อสารระหว่างหน่ วยงานภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชนชน และภาคเอกชน มีเอกสารเกี่ยวกับขัน้ ตอนปฏิ บตั ิ ระดับมาตรฐานอยู่ 4 ฉบับ คือ • ขัน้ ตอนปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็ นมาตรฐาน (Standard Operating Procedure) หรือคู่มอื การปฏิบตั งิ าน (Operations Manual) : เป็ นเอกสารอ้างอิงที่ส มบูรณ์ แบบที่กาหนดจุดประสงค์ อ านาจหน้ าที่ ช่ว ง ระยะเวลาและรายละเอียดต่าง ๆ สาหรับวิธกี ารทีต่ ้องการใช้ในการปฏิบตั หิ น้าที่เพียงหน้าทีเ่ ดียว หรือ การปฏิบตั หิ น้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้องกันหลายหน้าทีใ่ นลักษณะทีเ่ ป็ นเอกภาพ • คู่มอื ปฏิบตั งิ านภาคสนามหรือคู่มอื การจัดการเหตุฉุกเฉิน : เป็ นคู่มอื ทีค่ งทนถาวรสาหรับแบบ พกพาหรือ ใช้งานในสถานที่ปฏิบตั ิงาน และเป็ นคู่มอื ที่มขี ้อมูล ที่สาคัญ และจาเป็ นสาหรับการปฏิบตั ิ ภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมายโดยเฉพาะเจาะจงหรือหน้ าทีอ่ ่นื ๆ • คู่มอื ตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน (Job Aid) : ตารางที่ใช้ในการตรวจสอบ (Checklist) หรือสิง่ สัญญลักษณ์ (Visual Aid) ทีม่ วี ตั ถุประสงค์หรือตรวจสอบให้มนใจว่ ั ่ าขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านทีก่ าหนดไว้ บรรลุผลทุกขัน้ ตอน คู่มอื ตรวจสอบการปฏิบตั งิ านสามารถนามาใช้เป็นสื่อในการฝึกอบรมเพื่อทีจ่ ะสอนให้ ทุกคนทราบถึงวิธกี ารทีจ่ ะทางานทีไ่ ด้รบั มอบหมายเป็นการเฉพาะให้สาเร็จสมบูรณ์ ระเบียบปฏิบตั ิเป็ นชุดของแนวทางที่กาหนดไว้สาหรับการปฏิบตั ิงาน (ซึ่งอาจจะกาหนดโดย ปจั เจกบุคคล คณะทางานหรือถูกกาหนดโดยหน้าทีห่ รือขีดความสามารถทีม่ อี ยู่) ภายใต้เงื่อนไขทีร่ ะบุไว้ การจัดทาระเบียบปฏิบตั ชิ ่วยให้เกิดกฏปฏิบตั ทิ ว่ี างไว้ประจา (Standing Orders) การมอบอานาจในการ สังการ ่ (Authorization) และการให้อานาจตัดสินใจ (Delegation) ในการปฏิบตั ภิ ารกิจ หน้าทีอ่ ย่างหนึ่ง อย่างใดหรือหลากหลายหน้ าที่ท่เี กี่ยวเนื่องกัน โดยไม่ต้องขออนุ ญาต โดยอาศัยการฝึ กอบรมและการ มอบหมายหน้าทีค่ วามรับผิดชอบเป็นฐานระเบียบปฏิบตั เิ ปิดโอกาสให้บุคลากรเฉพาะดาเนินการประเมิน สถานการณ์ ลงมือปฏิบตั ิการตามขัน้ ตอนโดยเร่งด่วนเพื่อเข้าแทรกแซงและเพิม่ ความพยายามจนถึง ระดับทีก่ าหนดก่อนทีจ่ ะจาเป็นต้องมีการขอแนวทางหรือานาจในการสังการเพิ ่ ม่ เติม ค. การฝึ กอบรมและฝึ กปฏิ บตั ิ เจ้าหน้าทีท่ ่มี บี ทบาทในการจัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ในทุกระดับของรัฐบาล รวมถึงบุคคลทีด่ ารงตาแหน่ งผูน้ าอย่างเช่น เจ้าหน้าทีร่ ะดับสูงทีม่ าจากการเลือกตัง้ และการแต่งตัง้ ทัวทั ่ ง้ ประเทศ ควรต้องได้รบั การฝึกอบรมอย่างเหมาะสมเพื่อปรับปรุงขีดความสามารถในการจัดการภัยพิบตั ิ ทุกประเภท นอกเหนือจากนี้ องค์กรพัฒนาเอกชนและหน่วยงานภาคเอกชนทีม่ บี ทบาทในการปฏิบตั กิ าร
28
ตอบโต้ควรต้องได้รบั การส่งเสริมอย่างจริงจังให้เข้าร่วมการฝึกอบรมและฝึ กปฏิบตั ริ ะบบการจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ นแห่ งชาติ หลัก สูต รการฝึ ก อบรมระบบการจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ นแห่ งชาติเ น้ น ถึง โครงสร้า งและ กระบวนการและระบบการประสานปฏิบตั กิ าร รวมไปถึงหลักสูตรทีเ่ น้นถึงความเชีย่ วชาญเฉพาะทางและ ความเชีย่ วชาญเฉพาะหน่ วยงาน ซึง่ ช่วยทาให้มนใจว่ ั ่ าเจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิ นและด้านการ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้สามารถทาหน้าที่ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพในระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉิน ควรต้องมี การปรับแต่งรูปแบบการฝึ กอบรมและการฝึ กปฏบัตใิ ห้มคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับหน้ าที่ความ รับผิดชอบขอบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเหตุฉุกเฉิน ควรต้องผนวกโอกาสเรียนรูง้ านและการ สังเกตแบบอย่าง เพื่อช่วยให้เจ้าหน้าทีท่ ม่ี ปี ระสบการณ์น้อยกว่าได้เรียนรูแ้ ละสังเกตผูท้ ม่ี ปี ระสบการณ์สูง กว่าปฏิบตั งิ านในระหว่างที่เกิดเหตุฉุกเฉินจริง เข้าในหลักสูตรการฝึ กอบรมเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพของ การฝึ กอบรมและการฝึ กปฏิบตั ิ นอกเหนือจากนี้ ควรกาหนดรูปแบบการฝึ กปฏิบตั ใิ ห้บุคลากรสามารถ จาลองบทบาทในการบัญชาการ การให้คาปรึกษาและการเป็นผูน้ าได้อย่างหลากหลายหากเป็นไปได้ ระดับของการฝึกอบรมระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติขน้ึ อยู่กบั ระดับของการมีส่วนร่วมใน การดาเนินกิจกรรมการจัดการสภาวะฉุ กเฉินและกิจกรรมการปฏิบตั ิการตอบโต้เหตุฉุกเฉินของแต่ละ บุคคล ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบและของแต่ละองค์กร การฝึ กอบรมควรต้องเปิ ดโอกาสให้ผ้ฝู ึ กปฏิ บตั ิ : • ใช้ก รอบความคิดและหลัก การของระบบการจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ ง ชาติใ นการฝึ กปฏิบ ัติ การจัดงานมหกรรมทีม่ กี ารวางแผนล่วงหน้าและในการจัด การเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ จริง • รู้ส ึก สะดวกสบายในการใช้ร ะบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ ง ชาติร วมถึง การใช้ร ะบบการ บัญชาการเหตุการณ์มากขึน้ เพื่ อ เป็ น การปรับ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพในการ ดาเนินงานตามระบบการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิ นแห่งชาติ การฝึกปฏิบตั คิ วรต้องมีกลไกในการ บุ ค ลากรที่ม ีห น้ า ที่ใ นการจัด การสภาวะฉุ ก เฉิ น /การ ผสมผสานผลของการดาเนินการแก้ไข ปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินควรต้องเข้าร่วมในการฝึก เข้ากับกระบวนการวางแผน ปฏิบ ัติจ ริง รวมถึง เหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่จ าเป็ น ต้ อ งใช้ค วาม เชีย่ วชาญสหสาขาวิชาชีพและความร่วมมือจากหลายขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพื้นทีร่ บั ผิดชอบ รวมถึง การทางานร่วมกันกับองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชนในการจัดการและตอบโต้เพื่อที่จะปรับปรุง การประสานงานและความสามารถในการปฏิบตั งิ านร่วมกัน การฝึ กปฏิบตั เิ กี่ยวกับองค์ประกอบต่างๆ ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติอย่างครบถ้วน อาจจะใช้วธิ กี ารฝึกปฏิบตั เิ พียงครัง้ เดียว หรือใช้ วิธกี ารฝึ กปฏิบตั อิ ย่างต่อเนื่ อง ซึง่ แต่ละวิธจี ะประเมินลักษณะที่เฉพาะเจาะจงด้านต่าง ๆ ของระบบการ จัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติและองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบ
29
การฝึ กปฏิบตั คิ วรต้องดาเนินการร่วมกันกับฝ่ายต่าง ๆ ตามที่ได้กาหนดไว้ในแผนกลยุทธ์และ แผนปฏิบตั ิการ (เช่น แผนปฏิบตั ิการฉุ กเฉิน) ซึ่งรวมถึ ง กระทรวง หน่ วยงาน พันธมิต รในข้อตกลง ว่าด้วยความช่วยเหลือซึง่ กันและกันและข้อตกลงว่าด้วยการให้ความช่วยเหลือ องค์กรพัฒนาเอกชนและ ภาคเอกชน การฝึกปฏิบตั คิ วรต้องมีกลไกสาหรับการผสมผสานผลของการดาเนินการแก้ไขและบทเรียน ทีไ่ ด้รบั จากเหตุฉุกเฉินเข้ากับกระบวนการวางแผน สาหรับคาแนะนาในการจัดทารูปแบบการฝึกปฏิบตั ิ ระเบียบวิธกี าร และการประเมินผลสามารถดูได้จากโครงการฝึกปฏิบตั ดิ า้ นความมันคงของมาตุ ่ ภูม ิ และ การประเมิน หรือเครื่องมือในการพัฒนาการฝึกปฏิบตั อิ ่นื ๆ การฝึกปฏิบตั คิ วรต้องครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ : • ทุกด้านของการวางแผน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านกระบวนการและขัน้ ตอนปฏิบตั สิ าหรับการเริม่ ใช้ข้อ ตกลงว่าด้ว ยความช่ว ยเหลือ ซึ่งกันและกันและข้อ ตกลงว่าด้ว ยการให้ค วามช่ว ยเหลือ ในระดับ ท้องถิน่ ทัวทั ่ ง้ รัฐ และ/หรือระหว่างรัฐ • องค์ความรูท้ จ่ี าเป็นสาหรับการลงมือปฏิบตั ติ ามข้อตกลง ง. คุณสมบัติของเจ้าหน้ าที่และการรับรอง ส่ ว นประกอบที่ส าคัญ อย่า งยิ่ง ของการเตรีย มความพร้อ มตามระบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่งชาติ คือ การนาเอามาตรฐานแห่งชาติทม่ี อี งค์ประกอบทีส่ อดคล้องกันและเป็ นมาตรฐานเดียวกันมา ใช้ใ นการก าหนดคุ ณ สมบัติ ; การออกใบอนุ ญ าตให้ประกอบวิชาชีพและการรับรอง (Certification) เจ้าหน้ าที่ด้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั ิการตอบโต้ มาตรฐานแห่งชาติจะช่วยให้มนใจว่ ั่ า เจ้าหน้าที่เหล่านี้มคี วามรู้ ความชานาญ และประสบการณ์ขนั ้ ต่ าทีจ่ าเป็ นสาหรับการดาเนินกิจกรรมการ จัดการสภาวะฉุ กเฉินและการปฏิบตั ิการตอบโต้ได้อย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ โดยปกติมาตรฐาน ดังกล่าวจะครอบคลุมถึงการผ่านการฝึกอบรม ประสบการณ์ การออกหนังสือรับรอง การตรวจสอบความ ถูกต้อง และสมรรถภาพทางกายและสุขภาพ ควรต้องส่งเสริมหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบในการออกใบรับรอง ของรัฐบาลกลาง รัฐ ชนเผ่าพื้นเมืองอเมริกนั และท้องถิน่ รวมถึงองค์กรเอกชนและสมาคมผู้ประกอบ วิชาชีพทีม่ บี ุคลากรทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดการสภาวะฉุ กเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินให้ออก หนังสือ รับองให้ก ับ บุค คลดังกล่าวเหล่านัน้ ตามสาขาวิชาชีพและตามขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่ รับผิดชอบที่พ วกเขาปฏิบ ัติงาน ศูนย์บูรณาการแห่งชาติเ ป็ น หน่ ว ยรับผิด ชอบในการกาหนดเกณฑ์ พื้นฐานสาหรับการให้การรับรองโดยสมัครใจ หลังจากได้มกี ารปรึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญ พันธมิตร และ/หรือหน่ วยงานที่มอี านาจหน้ าที่ซ่งึ ได้รบั การยอมรับที่มคี วามเหมาะสม เกณฑ์พ้นื ฐานดังกล่าวจะ กาหนดรายละเอีย ดของมาตรฐานพร้อ มกับเกณฑ์ขนั ้ ต่ าสาหรับต าแหน่ งเฉพาะในการจัดการสภาวะ ฉุกเฉิน และสาหรับช่วยให้บุคลากรทีไ่ ด้รบั การรับรองเหล่านัน้ สามารถเข้าร่วมปฏิบตั งิ านในเหตุฉุกเฉินที่ เกิดขึน้ ระดับชาติ จ. การรับรองเครื่องมืออุปกรณ์ เจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการสภาวะฉุ กเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และองค์กรเครือข่ายของพวก เขาต้องพึง่ พาเครือ่ งมืออุปกรณ์หลายประเภทและหลายชนิดในการปฏิบตั ภิ ารกิจทีส่ าคัญ องค์ประกอบที่
30
สาคัญยิง่ ของการเตรียมความพร้อมคือ การได้มาซึง่ เครื่องมืออุปกรณ์ทส่ี ามารถทางานได้ตามมาตรฐาน ในระดับหนึ่ง (ตามที่อ งค์ก รต่ าง ๆ เช่ น สมาคมป้อ งกันอัค คีภยั แห่ ง ชาติห รือ สถาบันมาตรฐานและ เทคโนโลยีแ ห่ งชาติก าหนดขึ้น) รวมถึงเครื่อ งมือ อุ ปรกรณ์ ท่สี ามารถใช้ทางานร่ว มกันกับเครื่อ งมือ อุปกรณ์ของขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ หรือองค์กรอื่น ๆ ทีร่ ่วมปฏิบตั งิ าน ยังมีประเด็นที่ เกีย่ วข้องกับเรื่องนี้อกี ประเด็นคือ ความจาเป็ นต้องมีความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับสมรรถนะของเครื่องมือ อุปกรณ์ประเภทต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้การวางแผนการใช้งานดีขน้ึ และช่วยในการปรับเปลี่ยนขนาดและ ความยืดหยุน่ ได้อย่างรวดเร็วเพื่อให้สอดคล้องกับขนาดของเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ 5. การบรรเทา การบรรเทาเป็ นส่วนประกอบที่สาคัญส่วนหนึ่งของการจัดการเหตุฉุกเฉิน และการปฏิบตั กิ าร ตอบโต้การบรรเทาเป็ นรากฐานที่สาคัญต่อความพยายามที่จะลดการสูญเสียชีวติ และทรัพย์สนิ และลด ความเสียหายของสิง่ แวดล้อมที่เกิดขึน้ จากภัยธรรมชาติและภัยที่เกิดจากมนุ ษย์ โดยการหลีกเลี่ ยงหรือ ลดความรุนแรงของผลกระทบของภัยพิบตั ลิ ง การบรรเทาให้สงิ่ ที่มคี ุณค่ากับประชาชนโดยการทาให้ ชุมชนมีความปลอดภัยมากยิง่ ขึน้ ; โดยการก่อสร้างขึน้ ใหม่ ; และโดยการขัดขวางวงจรความเสียหาย จากภัยพิบตั แิ ละการเกิดความเสียหายซ้าแล้วซ้าอีก การดาเนินการบรรเทาควรต้องมีการประสานงาน อย่างมีประสิทธิภาพระหว่างผู้ บญ ั การเหตุ การณ์ /หน่ ว ยบัญ ชาการร่ว ม กับผู้ประกอบการหรือ ผู้เ ป็ น เจ้าของโครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวดและทรัพยากรรทีส่ าคัญ โดยส่วนใหญ่แล้ว กิจกรรม หรือการดาเนินการเหล่านี้จะบังเกิดผลทีย่ งยื ั ่ นในระยะยาว การจัดการความเสีย่ งซึง่ เป็ นกระบวนการจัด หรือประเมินความเสี่ยงและการพัฒนากลยุทธ์ในการจัดการความเสีย่ งนัน้ ๆ เป็ นส่วนทีส่ าคัญส่วนหนึ่ง ของการบรรเทากลยุทธ์สาหรับการจัดการความเสี่ยง อาจจะรวมถึงการหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (เช่น การ ย้ายสิง่ ก่อสร้างออกจากที่ราบลุ่มที่น้ าท่วมถึง) การลดผลกระทบเชิงลบของความเสี่ยง (เช่น การเสริม ความคงทนถาวรของอาคารเพื่อให้สามารถต้านทานความเสียหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ) หรือการยอมรับผลที่ เกิดตามมาของความเสีย่ งเฉพาะประเภทบางส่วนหรือทัง้ หมด ตัวอย่างกิ จกรรมการบรรเทารวมถึงกิ จกรรมดังต่อไปนี้ : • กิจกรรมการให้ความรูแ้ ก่ประชานและการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทก่ี าหนดและจัดทาขึน้ เพื่อลด การสูญเสียชีวติ และการทาลายทรัพย์สนิ • การปฏิบตั ิตามหรือปฏิบตั ิล้าหน้ ามาตรการจัดการพื้นที่ราบน้ าท่วมถึง และข้อบังคับการใช้ ประโยชน์จากทีด่ นิ • การบังคับใช้ข้อบังคับอาคาร มาตรฐานการออกแบบโครงสร้างภายใต้แรงแผ่นดินไหวและ ข้อกาหนดการติดตัง้ โครงเหล็กต้านแรงลมอย่างเข้มงวดสาหรับการก่อสร้างอาคารใหม่ หรือการซ่อมแซม หรือการเสริมความแข็งแกร่งของอาคารทีม่ อี ยูเ่ ดิม ้ องกันและการฟื้นฟูสภาพเดิมได้อย่างรวดเร็ว • การสนับสนุ นมาตรการทีส่ ร้างความมันใจในการป ่ ของโครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวดและทรัพยากรทีส่ าคัญทีไ่ ด้รบั การออกแบบเพื่อรองรับ ความต่อเนื่องของการดาเนินธุรกิจและความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จของชุมชน
31
• การซื้อ คืน บ้า นหรือ อาคารธุ ร กิจ ที่ไ ด้รบั ความเสียหยายในพื้น ที่ร าบที่น้ า ท่ ว มถึง การย้า ย สิง่ ปลูก สร้าง และการเปลี่ยนกลับพื้นที่ดงั กล่าวให้เ ป็ นพื้นที่โล่ ง ใช้เ ป็ นพื้นที่ชุ่มน้ า หรือ เป็ นสถานที่ ท่องเทีย่ วเชิงนันทนาการ • การกาหนดการใช้ประโยชน์และการปรับปรุงสถานทีห่ ลบภัย และการจัดเตรียมห้องทีป่ ลอดภัย ภายในทีอ่ ยู่อาศัยเพื่อปกป้องประชาชน อาคารสาธารณะและโรงเรียนที่ตงั ้ อยู่พน้ื ทีท่ ่เี กิดพายุทอร์นาโด และพายุเฮอร์รเิ คนบ่อย • การใช้โปรแกรมการบันทึกเอกสารทีส่ าคัญในทุกระดับของรัฐบาล เพื่อป้องกันการสูญหายของ เอกสารและหลักฐานต่าง ๆ • การเชื่อ มโยงและการใช้ข่ า วกรองร่ ว มกัน ซึ่ง น าไปสู่ก ารปฏิบ ัติก ารอื่น ๆ ตามกฎหมาย อย่างเช่น การใช้ข่าวกรองเกี่ยวกับการแทรกซึมของกลุ่มผู้ปฏิบตั ิก ารก่ อการร้ายร่วมกันเพื่อป้อ งกัน การโจมตีของผูก้ ่อการร้าย • การจัดทาแผนทีแ่ สดงเขตพืน้ ทีท่ ป่ี ระสบภัยหรือเขตพืน้ ทีท่ อ่ี าจจะประสบภัย (Hazard Mapping) ขึน้ ใหม่เป็นระยะ ๆ โดยการใช้เทคนิคเชิงพืน้ ที่ (Geospatial Techniques) • การบริหารจัดการข้อมูลเกี่ยวกับเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในอดีตเพื่อใช้สนับสนุ นการวางแผน กลยุทธ์และการวิเคราะห์ • การพัฒนาเส้นทางอพยพเฉพาะประเภทของภัย
องค์ประกอบ 2 : การสื่อสารและการบริหารจัดการสารสนเทศ
32
การจัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ทม่ี ปี ระสิทธิภาพจาเป็ นต้องอาศัยระบบสื่อสาร และระบบสารสนเทศที่สามารถแสดงภาพสถานการณ์และการปฏิบตั กิ ารร่วม (Common Operating Picture) ให้เจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการสภาวะฉุกเฉิน/ด้านระบบการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และองค์กรเครือข่าย ของพวกเขาเห็นพร้อมกันได้ การผลิตและรักษาภาพสถานการณ์และการปฏิบตั กิ ารร่วม และการสร้าง ความมัน่ ใจในความสามารถเข้า ถึง ได้ (Accessibility) และความสามารถในการท างานร่ ว มกัน ได้ (Interoperability) คือเป้าประสงค์หลักขององค์ประกอบด้านการสื่อสารและการบริหารจัดการสารสนเทศ ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ การสื่อสารทีม่ กี ารวางแผน การติดตัง้ และการประยุกต์ใช้อย่าง ถูกต้องจะทาให้สามารถแจกจ่าย สารสนเทศระหว่างหน่ วยบัญชาการและหน่ วยสนับสนุ น และหน่ วย/ องค์กรทีใ่ ห้ความร่วมมือตามความเหมาะสม การสื่อสารในระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉินจะดาเนินไปด้วยความสะดวก ถ้าหากมีการจัดทาและการใช้ แผนการสื่อสารร่วมกันและเครื่องมือสื่อสารที่สามารถทางานร่วมกันได้ รวมถึงการกาหนดและการใช้ กระบวนการ มาตรฐานและรูปแบบเดียวกัน ในระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉิน วิธกี ารบูรณาการดังกล่าวนี้จะ เชื่อมโยงหน่ วยปฏิบตั กิ ารและหน่ วยสนับสนุ นขององค์กรต่ าง ๆ เพื่อดารงรักษาการเชื่อมต่อการสื่อสาร ระหว่ า งกัน และเพื่อ การรับ รู้ส ถานการณ์ ท่ีเ กิด ขึ้น การวางแผนการสื่อ สารและการบริห ารจัด การ สารสนเทศควรต้องกล่าวถึงนโยบายทีเ่ กี่ยวข้องกับเหตุฉุกเฉิน เครื่องมืออุปกรณ์ ระบบ มาตรฐาน และ การฝึกอบรมทีจ่ าเป็นเพื่อบรรลุความสาเร็จในการสื่อสารแบบบูรณาการ
ก. กรอบความคิ ดและหลักการ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------กรอบความคิดและหลักการที่สาคัญขององค์ประกอบนี้ ส่งเสริมและสนับสนุ นให้ใช้ ระบบการ สื่อสารและสารสนเทศที่มลี กั ษณะยืดหยุ่น ซึ่งจะช่วยให้เจ้าหน้าที่ด้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้ สามารถดารงรักษาการไหลอย่างต่อเนื่องของสารสนเทศในระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉิน กรอบความคิดและหลักการเหล่านี้ย้าถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้องดารงรักษาขีดความสามารถในการ แสดงภาพสถานการณ์และการปฏิบตั กิ ารร่วมกันของระบบสื่อสารและสารสนเทศ รวมถึงคุณลักษณะอื่น ๆ ของระบบส่ ว นประกอบของระบบ เช่ น ความสามารถในการท างานข้า มระบบ ความเชื่อ ถือ ได้ ความสามารถในการปรับเปลี่ยนชนาดของระบบและความสามารถนาไปใช้งานในสภาพแวดล้อ มที่ ต่างกันได้ รวมถึงความสามารถกลับคืนสู่สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็วหากระบบล้มเหลว และการมีระบบ สารองทางานร่วมกับระบบหลัก
33
1. ภาพแสดงข้อมูลสถานการณ์ และการ ภาพแสดงข้อมูลสถานการณ์ และการปฏิ บตั ิ การร่วม ปฏิ บตั ิ การร่วม ภาพแสดงข้อ มูล สถานการณ์ แ ละ การปฏิบตั กิ ารร่วมทีจ่ ดั ทาขึน้ และเก็บรักษา ภาพรวมของเหตุฉุกเฉินทีจ่ ดั ทาขึน้ โดยการเรียงลาดับ โดยการรวบรวม จัด ล าดับ ประกอบเข้า และการรวบรวมสารสนเทศด้านต่าง ๆ เช่น ด้าน ด้วยกัน และแจกจ่ายสารสนเทศที่เกี่ยวกับ การจราจร สภาพอากาศ ความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ จริง เหตุ ฉุ กเ ฉิ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใ ห้ แ ก่ ทุ ก ฝ่ า ย ที่ ทรัพยากรทีม่ อี ยูแ่ ละพร้อมใช้งาน – จากหน่วยงาน/ เหมาะสม การบรรลุ ผ ลส าเร็จในการผลิต องค์กรต่างๆ เพื่อใช้สนับสนุนการตัดสินใจ ภาพ ภาพแสดงข้ อ มู ล สถานการณ์ แ ละการ ดังกล่าวจะจัดทาในรูปแบบใดก็ได้ (เช่น เป็นเสียง เป็ น ปฏิ บ ั ติ ก ารร่ ว มช่ ว ยให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ท ั ้ง ที่ ข้อมูล ฯลฯ) ปฏิบ ัติง านอยู่ใ นและนอกพื้น ที่เ กิด เหตุ อย่า งเช่ น เจ้า หน้ า ที่ ท่ีป ฏิบ ัติห น้ า ที่ใ นสถานที่ต ัง้ ของศู น ย์ บัญชาการ (Incident Command Post) ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉิน (Emergency Operations Center) หรือ ในคณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กร (Multiagency Coordination Group) – จะได้รบั หรือมี สารสนเทศเกี่ยวกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ เหมือนกัน รวมถึงองค์ กรสารสนเทศเกี่ยวกับความพร้อมใช้และ แหล่ ง ทรัพ ยากร และสถานะของการแจ้ง ขอความช่ ว ยเหลือ นอกเหนื อ จากนี้ ภาพแสดงข้อ มู ล สถานการณ์ และการปฏิบ ัติก ารร่ว มได้น าเสนอภาพรวมของเหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิด ขึ้น ซึ่ง จะช่ ว ยให้ผู้ บัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ หน่ ว ยบัญ ชาการร่ ว มและหน่ ว ยงานและองค์ก รที่ใ ห้ก ารสนั บ สนุ น สามารถ ดาเนินการตัดสินใจได้อย่างต่อเนื่อง ทันเวลา และมีประสิทธิภาพ ในการทีจ่ ะดารงรักษาความตระหนักถึง สถานการณ์ จาเป็ นต้องมีการปรับการสื่อ สารและสารสนเทศเกี่ยวกับเหตุ ฉุกเฉินให้เป็ นป้จจุบนั อย่าง ต่อเนื่อง การจัดทาและการแจกจ่ายภาพแสดงข้อมูลสถานการณ์แ ละการปฏิบตั กิ ารร่วมในระหว่างเกิด เหตุฉุ กเฉินจะช่ว ยให้เกิดความมันใจในความสอดคล้ ่ อง และต่อ เนื่อ งให้กับเจ้าหน้ าที่ด้านการจั ดการ สภาวะฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ทเ่ี ข้าร่วมปฏิบตั งิ านทุกคน 2. ความสามารถในการทางานร่วมกันระหว่างระบบ ความสามารถในการทางานร่วมกันระหว่างระบบของระบบสื่อสารช่วยทาให้เจ้าหน้าที่ด้านการ จัดการสภาวะฉุ กเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และองค์ กรเครือข่ายของพวกเขาสามารถติดต่อสื่อสาร กันภายในและข้ามหน่วยงานและขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบได้ ผ่านทางเสียง ข้อมูล หรือ จอภาพในช่วงเวลาที่เกิดเหตุฉุกเฉินจริงเมื่อต้องการและเมื่อได้รบั มอบอานาจหน้าที่ ดังนั ้น จึงเป็ นสิง่ สาคัญอย่างยิง่ ที่ระบบการสื่อสารเหล่านี้จะต้องสามารถใช้ทางานร่วมกันได้ เนื่องจากความสาเร็จในการ จัดการสภาวะฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้จาเป็นต้องมีการไหลอย่างต่อเนื่องของสารสนเทศระหว่ าง ขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ กลุ่มสาขาอาชีพ องค์กรและหน่ วยงานการวางแผนเพื่อให้ สามารถใช้ในการปฏิบตั งิ านร่วมกันได้ของระบบสื่อสารและระบบสารสนเทศควรต้องนาเหตุการณ์ท่ไี ม่ คาดคิดและสิง่ ท้าทายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในการจัดการสภาวะฉุกเฉิน และการปฏิบตั กิ ารโต้มาพิจารณาด้วย แผนการใช้ร ะบบสื่อ สารและสารสนเทศที่ส ามารถท างานร่ว มกัน ได้ ควรต้อ งครอบคลุ ม ถึง ข้อเสนอแนะในการกากับดูแล ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านที่เป็ นมาตรฐาน เทคโนโลยี การฝึ กอบรมและการ
34
ฝึกซ้อม และการใช้งานในบริบทของความเครียด และความโกลาหลของความพยายามในการปฏิบตั กิ าร ตอบโต้ขนาดใหญ่เป็ นสิง่ จาเป็ นที่จะต้องกาหนดวิธกี ารกากับดูแลที่เหมาะสมและสอดคล้องกันสาหรับ การดาเนินการตัดสินใจทีต่ ้องอาศัยการประสานงานกันระหว่างหน่ วยงานและขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละ พืน้ ที่รบั ผิดชอบต่างๆ และมีความสาคัญต่อการบรรลุผลสาเร็จในการทาให้ระบบสื่อสารและสารสนเทศ สามารถใช้ทางานร่วมกันได้ ข้อตกลงและขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็ นมาตรฐานทีจ่ ดั ทาขึน้ ควรต้องระบุ ถึง กระบวนการ ขัน้ ตอนปฏิบ ัติ และระเบีย บปฏิบ ัติท่ีจ าเป็ น เพื่อ การบรรลุ ผ ลส าเร็จ ในการท าให้ ระบบสื่อสารและสารสนเทศสามารถใช้ทางานร่วมกันได้ 3. ความเชื่ อถือได้ ความสามารถปรับเปลี่ยนขนาดของระบบและความสามารถในการนาไปใช้ งาน ในสภาพแวดล้อมที่ต่างกันได้ ระบบการสื่อสารและระบบสารสนเทศควรต้องได้รบั การออกแบบให้มลี กั ษณะยืดหยุ่น เชื่อถือได้ และปรับเปลีย่ นขนาดได้ เพื่อให้สามารถใช้ทางานได้กบั ทุกประเภทของเหตุฉุกเฉินโดยไม่ต้องคานึงถึง สาเหตุ ขนาด สถานทีห่ รือความซับซ้อนของเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ ระบบการสื่อสารและระบบสารสนเทศ ควรต้องมีความเหมาะสมสาหรับการปฏิบตั กิ ารภายในขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบขอบเขต เดียวหรือหน่วยงานเดียว หรือภายในขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบขอบเขตเดียวแต่มหี ลาย หน่ วยเข้ามาเกี่ยวข้อง หรือหลายขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ที่รบั ผิดชอบและมีหลายหน่ วยงานเข้ามา เกี่ยวข้อง ระบบการสื่อสารควรต้องสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้และเป็ นที่ยอมรับของผู้ใช้ ; พร้อมที่จะ ปรับให้เข้ากับเทคโนโลยีใหม่และมีความน่ าเชื่อถือในบริบทของเหตุฉุ กเฉินทุกประเภทที่เจ้าหน้าทีด่ ้าน การจัดการภัยพิบตั /ิ ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้คาดว่าจะต้องรับมือ ความสามารถนาไปใช้งานในสภาพแวดล้อมทีต่ ่างกันได้ของเทคโนโลยีวทิ ยุ ระเบียบปฏิบตั แิ ละ ช่องความถี่สาหรับเจ้าหน้าทีด่ ้านการจัดการหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้จะช่วยให้การบูรณาการ การขนย้าย และการใช้งานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสาเร็จในกรณีท่มี คี วามจาเป็ น ความสามารถในการนาไปใช้งานในสภาพแวดล้อมที่ต่างกันได้ รวมถึงการกาหนดช่องความถี่วทิ ยุท่มี ี มาตรฐานทีส่ ามารถใช้ขา้ มขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ ซึ่งจะช่วยให้เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ าร ตอบโต้สามารถเข้าร่วมปฏิบตั งิ านในเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ นอกขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ ของพวกเขาได้ และยังคงใช้เครือ่ งมือหรืออุปกรณ์เดิมทีค่ ุน้ เคย ความสามารถในการปรับเปลีย่ นขนาดระบบได้ มีความแตกต่างจากความสามารถในการนาไปใช้งาน ในสภาพแวดล้อ มที่ต่ า งกัน ได้ใ นส่ ว นที่ว่ า ความสามารถในการปรับ เปลี่ย นขนาดของระบบช่ ว ยให้ เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารตอบโต้สามารถเพิม่ จานวนผู้ใช้ในระบบสื่อสารของตนได้ ส่วนความสามารถในการ นาไปใช้งานได้ในสภาพแวดล้อมทีต่ ่างกันได้จะช่วยอานวยความสะดวกในการปฏิสมั พันธ์ข องระบบซึ่ง โดยปกติจะเป็นระบบทีต่ ่างกัน หรือในการทางานข้ามระบบ 4. ความสามารถในการกลับมาใช้ งานได้ ตามปกติ อย่ างรวดเร็วและการมีระบบสารองทางาน แทนในกรณี ระบบหลักล่ม
35
ความสามารถในการกลับมาใช้งานได้เหมือนเดิมของระบบสื่อสารคือความทนทานและสามารถที่ จะใช้งานได้ต่อเนื่องหลังจากโครงสร้างพืน้ ฐานการสื่อสารล่มหรือประสบความเสียหาย เพื่อให้ระบบการ สื่อสารสามารถต้านทานและทางานได้อย่างต่อเนื่อง ควรต้องหลีกเลี่ยงการพึ่งพาอาศัยเครือข่ายของ ระบบสนับสนุ นที่ทนั สมัย แต่มคี วามเสี่ยงเพียงเครือข่ายเดียว การดาเนินการเพื่อให้ระบบการสื่อสาร กลับมาใช้งานได้ตามปกติอย่างรวดเร็ว ครอบคลุมถึงการเพิม่ ความสามรถในการกลับสู่สภาพเดิมให้กบั ศูนย์ส่งข้อความและระบบส่งสัญญาณหรือโครงสร้างพืน้ ฐานการสื่อสารทีส่ ามารถต้านทานความเสีย่ งทีร่ ู้ ว่ามีอยูไ่ ด้ ตัวอย่างเช่น ทีส่ ถานีทวนสัญญาณควรติดตัง้ ระบบไฟฟ้าแยกเป็ นอิสระเพื่อสร้างความมันใจใน ่ ความต่อเนื่องในการทางานของระบบไฟฟ้าในระหว่างทีก่ ระแสไฟฟ้าขัดข้อง การมีระบบส ารองทางานร่ว มกับระบบหลัก เป็ นส่ ว นประกอบที่สาคัญ ยิง่ ของโครงสร้างการ สื่อ สารของขอบเขตอ านาจหน้ า ที่แ ละพื้น ที่รบั ผิด ชอบ/องค์ก ร ถึงแม้ว่ า การจัด ท าระบบส ารองหรือ จัดทาซ้าระบบที่เหมือนกันให้มมี ากกว่าหนึ่งหน่ วยเพื่อให้ทางานแทนกันได้ จะเป็ นวิธหี นึ่งที่สามารถ ทาให้ระบบสื่อสารใช้งานได้อ ย่างต่อ เนื่อง นอกจากนี้ ระบบสารองจะได้มาจากความสามารถในการ ติดต่อสื่อสารผ่านวิธที างเลือกอื่น ๆ หากสมรรถนะในการทางานของระบบมาตรฐานได้ร ั บผลกระทบ ตัวอย่างเช่น หน่วยงานด้านความปลอดภัยของประชาชนอาจจะมีระบบเสีย่ งที่มเี ทคโนโลยีสูงขนาด 400 เมกะเฮิรตซ์ใช้เป็ นระบบส่งข้อความหลัก แต่ยงั มีระบบ VHF ติดตัง้ สารองได้ในยานพาหนะ เพื่อสามารถ ใช้ตดิ ต่อสื่อสารกับศูนย์ส่งข้อความได้ในกรณีท่รี ะบบสื่อสารหลักล่ม ทัง้ ความสามารถในการกลับมาใช้ งานได้เหมือนเดิมอย่างรวดเร็วและการมีระบบสารองทางานแทนในกรณีระบบหลักล่มมีความสาคัญอย่าง ยิง่ ต่อการเกิดความมันใจด้ ่ านความต่อเนื่องของการไหลของสารสนเทศในระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉิน
ข. คุณลักษณะของการบริ หารจัดการ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เจ้าหน้าที่ดา้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ควรต้องสามารถบริหารจัดการ สื่อสารและสารสนเทศเกี่ยวกับเหตุฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่า จะใช้วธิ กี ารสื่อสารวิธใี ดหรือการ ส่ ง สารสนเทศด้ว ยวิธ ีใ ดก็ต าม จ าเป็ น ต้อ งปฏิบ ัติต ามขัน้ ตอนปฏิบ ัติแ ละระเบีย บปฏิบ ัติ ในขณะที่ เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงไปและวิธกี ารแลกเปลี่ยนสารสนเทศได้รบั การปรับปรุง ดังนัน้ ขัน้ ตอนในการ บริหารจัดการควรต้องมีววิ ฒ ั นาการด้วยเช่นกัน 1. ประเภทของการสื่อสารที่เป็ นมาตรฐาน เพื่อให้การบริหารจัดการการสื่อสารและสารสนเทศประสบความสาเร็จ เจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการ เหตุ ฉุ ก เฉิ น/ด้านการปฏิบตั ิก ารตอบโต้และองค์กรเครือ ข่ายของพวกเขาต้อ งใช้ว ิธ ีการสื่ อสารที่เ ป็ น มาตรฐาน ได้มกี ารถกประเด็นการตัดสินใจหรือพิจารณาเลื อกใช้ประเภทของการสื่อสารของบุคคลหรือ หน่ วยงาน/องค์กรที่รบั ผิดชอบในการสื่อสารไว้ในองค์ประกอบของการบัญชาการและการบริหารจัดการ และในภาคผนวก ข. ประเภทของการสื่อสารทีเ่ ป็นมาตรฐานมีดงั ต่อไปนี้ :
36
• การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ : (Strategic Communication) การสังการด้ ่ านต่ าง ๆ ในระดับสูง ซึ่ง รวมถึงการตัดสินใจในการจัดลาดับความสาคัญของทรัพยากร การกาหนดบทบาทและความรับผิดชอบ และวิธปี ฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินโดยรวม • การสื่อสารเชิงยุทธวิธ ี : (Tactic Communication) การสื่อสารระหว่างองค์ประกอบด้านการ บัญชาการและการให้การสนับสนุ นและการสื่อสารกับหน่วยงานและองค์กรทีใ่ ห้ความร่วมมือทีเ่ หมาะสม • การสื่อสารเพื่อสนับสนุ น : (Support Communication) การประสานงานเพื่อสนับสนุ น การ สื่อสารเชิงกลยุทธ์และเชิงยุทธวิธ ี (ตัวอย่างเช่น การสื่อสารระหว่างโรงพยาบาลต่าง ๆ เกี่ยวกับ การสัง่ การส่ง และการติดตามทรัพยากรจากศูนย์สนับสนุ นกาลังบารุง การสื่อสารด้านการจราจรและงานการ ก่อสร้างสาธารณูปโภค • การสื่อสารเพื่อแจ้งประกาศประชาชน : (Public Address Communications) การแจ้งเตือนภัย และ การเตรียมพร้อมของประชาชน การจัดแถลงข่าว ฯลฯ 2. นโยบายและการวางแผน นโยบายและการวางแผนการสื่อสารร่วมกันเป็ นพื้นฐานสาหรับการบริหารจัดการสื่อสารและ สารสนเทศ ถึงแม้ว่าการบริหารจัดการการสื่อสารและสารสนเทศเป็ นเรื่องที่สาคัญในช่วงเวลาของการ ปฏิบตั ภิ ารกิจประจา แต่ขนั ้ ตอนปฏิบตั แิ ละระเบียบปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉิน การวางแผนการสื่อสาร อย่างระมัดระวังควรต้องกาหนดว่าจะต้องใช้ระบบการสื่อสารระบบใดและประเภทการสื่อสารประเภทใด ใครเป็ นผูใ้ ช้ สารสนเทศใดบ้างทีม่ คี วามสาคัญในสภาวะแวดล้อมทีต่ ่างกัน ตัวแปรของเครื่องมืออุปกรณ์ และระบบ และสิง่ ทีต่ อ้ งคานึงถึงอื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง การไกลของสารสนเทศระหว่างผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายมีความสาคัญยิง่ แต่ความสามารถในการ นามาใช้ปฏิบตั งิ านร่วมกันอาจจะทาให้เกิดอุปสรรคเพิม่ ขึน้ ได้เมื่อต้องครอบคลุมถึงองค์กรพัฒนาเอกชน ภาคเอกชน และเจ้าของและผูป้ ระกอบการโครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวด ดังนัน้ ผูม้ สี ่วน ได้ส่วนเสียทัง้ หมดควรต้องเข้าร่วมการประชุมและการวางแผนเพื่อจัดทาแผนและกลยุทธ์การสื่อสารแบบ บูรณาการและครอบคลุ ม ควรต้อ งใช้เ ทคโนโลยีและมาตรฐานเครื่อ งมือ อุ ปกรณ์ เ ดียวกันตามความ เหมาะสมเพื่อให้ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียมีโอกาสทีจ่ ะทางานร่วมกันและเข้ากันได้ นโยบายและแผนการบริห ารจัดการการสื่อ สารที่ถู กต้อ งสมบูรณ์ ค วรต้อ งรวมถึงสารสนเทศ เกีย่ วกับการบริหารจัดการการสื่อสารและสารสนเทศในด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ : • ขอบเขตอ านาจหน้ า ที่แ ละพื้น ที่ร ับ ผิด ชอบ/องค์ ก รต่ า ง ๆ เป็ น ผู้ ก าหนดความต้ อ งการ สารสนเทศ ความต้อ งการเหล่านี้มกั จะได้รบั การตอบสนองในระดับ รัฐบาลกลาง รัฐ ชนเผ่าพื้นเมือ ง อเมริกนั และท้องถิน่ โดยพร้อมเพรียงกับองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน โดยผ่านทางองค์กรด้าน การเตรียมความพร้อมเป็นหลัก
37
• ระบบการบริห ารจัด การการสื่อ สารและสารสนเทศของขอบเขตอ านาจหน้ า ที่แ ละพื้น ที่ รับผิดชอบ หรือองค์กรควรต้องกาหนดแนวทางมาตรฐานและเครื่องมือเพื่อช่วยให้สามารถบูรณาการ ความต้องการสารสนเทศเป็นภาพแสดงสถานการณ์และการปฏิบตั กิ ารร่วมหากจาเป็ น • ขัน้ ตอนปฏิบตั แิ ละระเบียบปฏิบตั ใิ นการเตือนภัย การแจ้งเหตุฉุกเฉิน การสื่อสารสาธารณะและ สารสนเทศอื่น ๆ ทีม่ คี วามสาคัญได้รบั การแจกจ่าย ผ่านทางเครือข่ายร่วมทีก่ าหนดเอาไว้ และทีใ่ ช้โดย ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉิน สาหรับการแจ้งเตือนจะมีการแจ้งเตืนอไปถึงระดับขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ที่ รับผิดชอบที่เหมาะสมและแจ้งเตือนไปยังองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน ผ่านทางกลไกที่กาหนด และระบุไว้ในแผนปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินและแผนเผชิญเหตุ (Incident Action Plan) • หน่ วยงานในทุกระดับควรต้องวางแผนการใช้เทคโนโลยีการบริหารจัดการสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลไว้ล่วงหน้ า (เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครือข่ายและกลไกสาหรับการใช้ สารสนเทศร่วมกัน) เพื่อทีจ่ ะบูรณาการการบัญชาการ การประสานงานและภารกิจสนับสนุ นทีเ่ กี่ยวข้อง กับการจัดการเหตุฉุกเฉินและช่วยให้สามารถใช้สารสนเทศร่วมกันและการจัดทาสารบัญแฟ้มวิธกี ารแก้ไข ทีจ่ าเป็นต้องใช้ 3. ข้อตกลง ทุกฝ่ายที่ได้รบั การระบุไว้ในกระบวนการวางแผนที่ใช้ในแผนปฏิบตั ิการฉุ กเฉินของขอบเขต อานาจหน้ าที่แ ละพื้นที่รบั ผิดชอบ จาเป็ นต้อ งจัดทาข้อ ตกลงไว้ใ ห้เป็ นที่เ รียบร้อ ยเพื่อ ทาให้มนใจว่ ั่ า ประเด็นต่างๆ ทีร่ ะบุไว้ในแผนและขัน้ ตอนปฏิบตั จิ ะมีผลในทางปฏิบตั ใิ นช่วงเวลาทีเ่ หตุฉุกเฉินเกิดขึน้ ใน ข้อตกลงควรต้องระบุระบบการสื่อสารและรูปแบบทัง้ หมด ซึ่งคู่สญ ั ญาทั ง้ หมดตกลงทีจ่ ะใช้ตดิ ต่อสื่อสาร หรือใช้สารสนเทศร่วมกัน 4. มาตรฐานเครื่องมือและการฝึ กอบรม เครื่องมือสื่อสารทีเ่ จ้าหน้าทีด่ ้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ใช้ปฏิบตั งิ าน ส่วนใหญ่ประกอบด้วยองค์ประกอบและระบบทีอ่ าจจะเชื่อมต่อผ่านอุปกรณ์เชื่อมโยงทีใ่ ช้ร่วมกั น ซึง่ ต้อง พึง่ พาอาศัยภาคเอกชนเป็ นแกนหลักในการให้บริการการเชื่อมต่อเครือข่าย ระบบสื่อสารและเครื่องมือ ที่เกี่ยวข้องของทัง้ ภาครัฐและเอกชนควรต้องได้รบั การปรับปรุงให้ดขี ้นึ อย่างสม่ าเสมอ เนื่องจากการ บารุงรักษาระบบและเครื่องทีเ่ กี่ยวข้องมีความสาคัญต่อการจัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ เหตุ ฉุก เฉิ นที่มปี ระสิทธิภาพ ในการกาหนดมาตรฐานเกี่ยวกับระบบสื่อ สารและเครื่องมือที่เกี่ยวข้อ ง ควรต้อ งค านึงถึงการนาระบบและเครื่อ งมือ สื่อ สารไปใช้ภายใต้เ งื่อนไขหรือสภาวการณ์ หลากหลาย การฝึกอบรมและการฝึกซ้อมทีใ่ ช้ระบบและเครื่องมือทีส่ ามารถใช้ทางานร่วมกันได้เป็ นสิง่ ทีจ่ าเป็ นสาหรับ เจ้า หน้ า ที่ท่ีเ กี่ย วข้อ ง ที่จ ะเข้ า ใจถึง สมรรถนะและข้อ จ ากัด ของระบบและเครื่อ งมือ สื่อ สารดัง กล่ า ว นอกเหนือจากนี้ ในการจัดทาแผนการสื่อสารควรต้องพิจารณาถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีแล็ปท็อปทีไ่ ด้รบั การออกแบบมาเป็ นพิเศษเพื่อใช้งานได้ในทุกสภาพแวดล้อมและมีความคงทน (Hardened Laptop) และ เครื่องช่วยจัดการข้อมูลส่วนบุคคลที่สามารถทาหน้ าที่ได้หลากหลายและพกพาได้ (Personal Digital Assistant)
38
ค. การจัดระบบและการใช้งาน ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1. สารสนเทศเกี่ยวกับเหตุฉุกเฉิ น ในระหว่ า งการเกิด เหตุ ฉุ ก เฉิ น สารสนเทศเป็ น ปจั จัย ส าคัญ ที่จะช่ ว ยผู้บญ ั ชาการเหตุ ก ารณ์ การบัญชาการร่วมและหน่ วยงานที่ให้การสนับสนุ นในการตัดสินใจ สารสนเทศส่วนใหญ่ถูกนามาใช้ใน การปฏิบตั ภิ ารกิจหลายด้านในระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ตัวอย่างเช่น สารสนเทศชิน้ เดียวกันอาจจะ : • เป็นประโยชน์ในกระบวนการวางแผนเพื่อจัดทาแผนเผชิญเหตุ • เป็นสาระสาคัญในการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารสาธารณะ • เป็นประโยชน์ต่อส่วนการเงิน/การบริหารในการกาหนดค่าใช้จา่ ยในการจัดการเหตุฉุกเฉิน • ใช้กาหนดความจาเป็ นในการเข้ามามีส่ วนร่วมของทรัพยากรจากองค์กรพัฒนาเอกชนและ ภาคเอกชนเป็นการเพิม่ เติม • กาหนดประเด็นความปลอดภัย • ติดตามการขอรับข้อมูลข่าวสาร ตัว อย่ า งของสารสนเทศที่ไ ด้ ม าจากเหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิด ขึ้น ดัง ต่ อ ไปนี้ ส ามารถน ามาใช้ เ พื่อ วัตถุประสงค์ในการตัดสินใจ : (ก) การแจ้งเตือนเหตุฉุกเฉิ น รายงานสถานการณ์ และการรายงานสถานะของทรัพยากร ขัน้ ตอนปฏิบตั ใิ นการรายงานและการจัดทาเอกสารรายงานเหตุการณ์ท่เี กิดขึน้ ควรต้องทาให้ม ี รูปแบบเดียวกัน เพื่อทาให้มนใจในความต่ ั่ อเนื่องของการรับรูส้ ถานการณ์ และมันใจว่ ่ าเจ้าหน้าทีด่ า้ นการ จัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ น/ด้านการปฏิบตั ิก ารตอบโต้ ส ามารถเข้าถึงสารสนเทศที่สาคัญ ได้ง่า ย ในรายงาน สถานการณ์ ม ีภ าพรวมของช่ ว งเวลาการปฏิบ ัติก ารที่ผ่ า นมาและสารสนเทศที่ไ ด้ร บั การยืน ยัน และ ตรวจสอบเกี่ยวกับรายละเอียดที่ชดั เจน (ใคร อะไร เมื่อไหร่ ที่ไหน และอย่างไร) เกี่ยวกับเหตุฉุกเฉิน ที่เกิดขึน้ รายงานสถานะซึ่งอาจจะประกอบอยู่ในรายงานสถานการณ์ จะถ่ายทอดสารสนเทศเกี่ยวกับ สถานะของทรัพยากรโดยเฉพาะ (เช่น ความพร้อมใช้และการสังใช้ ่ งานทรัพยากรต่าง ๆ ) สารสนเทศทีป่ รากฎอยู่ในการแจ้งเตือนเหตุฉุกเฉิน ในรายงานสถานการณ์และรายงานสถานะ จะต้องเป็นรูปแบบเดียวกัน เพื่อความสะดวกในการประมวลผลสารสนเทศดังกล่าว อย่างไรก็ตามการทา ให้สารสนเทศเป็ นรูปแบบเดียวกันควรต้องไม่ทาให้เกิดอุปสรรคต่อการเก็บรวบรวม และการแจกจ่าย สารสนเทศที่มลี กั ษณะพิเศษเฉพาะส าหรับรูปแบบรายงาน การส่งข้อ มูลโดยการใช้รูปแบบเดียวกัน ช่วยทาให้การส่งสารสนเทศที่ตรงประเด็นไปยังขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ และองค์กร ที่ส มควรได้รบั และส่งเข้าสู่ระบบสารสนเทศระดับประเทศซึ่งสามารถดาเนินการสืบค้นหาข้อ มูลและ สามารถประเมินและวิเคราะห์สารสนเทศ/ข่าวกรองได้
39
(ข) ข้อมูลเชิ งวิ เคราะห์ ข้อ มู ล อย่ า งเช่ น สารสนเทศเกี่ย วกับ ภารกิจ ติด ตามตรวจสอบด้ า นสาธารณสุ ข และด้ า น สิง่ แวดล้อมควรต้องเก็บรวบรวมในลักษณะที่ต้องค านึงถึงเทคนิคและคาจากัดความาตรฐานการเก็บ รวบรวม การส่งข้อมูลดังกล่าวควรใช้กระบวนการวิเคราะห์ ท่เี ป็ นมาตรฐาน ในระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉิน ที่จาเป็ นต้องมีการสุ่มตัวอย่างด้านสาธารณะสุขและสิง่ แวดล้อม จะมีองค์กรของรัฐบาลในระดับต่าง ๆ จานวนมากช่วยกันเก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่าว ดังนัน้ จึงมีความจาเป็ นต้องทาให้วธิ กี ารเก็บรวบรวมและ การวิเคราะห์ขอ้ มูลเป็ นรูปแบบหรือมาตรฐานเดียวกัน นอกเหนือจากนี้ การจัดทาให้การสุ่มตัวอย่างและ การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นรูปแบบหรือมาตรฐานเดียวกันจะช่วยให้การวิเคราะห์ขอ้ มูลมีความน่ าเชื่อถือ มากขึน้ และช่วยปรับปรุงคุณภาพของการประเมินข้อมูลทีจ่ ะเสนอต่อผูม้ อี านาจในการตัดสินใจ (ค) สารสนเทศเชิ งพื้นที่ สารสนเทศเชิงพื้นที่หมายถึงสารสนเทศที่แสดงตาแหน่ งที่ตงั ้ ทางภูมศิ าสตร์ของลั กษณะ และ ขอบเขตของพื้นที่ทงั ้ ที่เป็ นธรรมชาติหรือสร้างขึ้น ส่วนใหญ่สารสนเทศเชิงพื้นที่จะถูกนาไปใช้ในการ บูรณาการการประเมินผล รายงานสถานการณ์และการแจ้งเตือนเหตุฉุกเฉินเข้าด้วยกั นเป็ นภาพแสดง สถานการณ์แ ละการปฏิบตั ิการร่ว มและเป็ นเครื่อ งมือในการผสมผสานและวิเ คราะห์ข้อ มูล เพื่อ ที่จะ สังเคราะห์ประเภทและแหล่งที่มาทีห่ ลากหลายของข้อมูลและภาพการใช้สารสนเทศเชิงพื้นที่ (และการ ยอมรับในสมรรถนะด้านข้อมูลข่าวสารของสารสนเทศเชิงพืน้ ที)่ มีความสาคัญเพิม่ ขึน้ ในระหว่างเกิดเหตุ ฉุ กเฉิน การประยุกต์ใช้ สมรรถนะของสารสนเทศ (อย่างเช่น ระบบอ้างอิงตาแหน่ งที่ตงั ้ หรือพิกดั (Grid System) หรือระบบบอกตาแหน่ งบนผิวโลก (Global Positioning System) ซึง่ อาศัยเส้นแวงและเส้นรุง้ เป็ น ฐาน) ควรต้องดาเนินการผ่านทางความพยายามในการเตรียมความพร้อมและควรต้องรวมอยู่ในส่วนของ การบัญชาการ การประสานงาน และการสนับสนุ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน และรวมถึงการบริหารจัดการ ทรัพยากรและสารสนเทศสาธารณะ การใช้ ส ารสนเทศเชิ ง พื้ น ที่ ค วรต้ อ งผู ก ติ ด อยู่ กั บ มาตรฐานที่ ส อดคล้ อ งกั น เนื่ องจาก การตีความหมายสารสนเทศเชิงพืน้ ทีผ่ ดิ พลาดมีความเป็นไปได้สงู และการสลับการแสดงข้อมูลไม่ถูกต้อง หรือไม่กน็ าไปใช้ในทางทีผ่ ดิ ซึง่ ก่อให้เกิดความผิดพลาดทีไ่ ม่เป็ นทีส่ งั เกตแต่มคี วามร้ายแรง มาตรฐานที่ ครอบคลุมสารสนเทศเชิงพื้นที่ควรต้องช่วยทาให้สามารถนาระบบไปใช้ในภาคสนามที่ห่างไกลหรือใน พืน้ ทีท่ ไ่ี ด้รบั ความเสียหายทีก่ ารสื่อสารโทรคมนาคมอาจจะไม่สามารถจัดทาและแสดงภาพขนาดใหญ่ได้ หรืออาจจะมีขอ้ จากัดในแง่ของเครือ่ งคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วข้อง 2. มาตรฐานการสื่อสารและรูปแบบ มาตรฐานการสื่อสารและมาตรฐานข้อมูล การทดสอบทีเ่ กีย่ วข้องและกลไกสาหรับการปฏิบตั ติ าม มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เป็ นสิง่ ที่จาเป็ นที่จะช่วยให้องค์กรที่หลากหลายสามารถทางานร่วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มาตรฐานเหล่านี้รวมถึงชุดของมาตรฐานด้านองค์ประกอบและภารกิจขององค์กร วิธกี ารที่ ใช้รว่ มกันในการ : จาแนกทรัพยากรเพื่อสะท้อนถึงสมรรถนะทีเ่ ฉพาะเจาะจง และเครื่องหมายหรือรหัสที่
40
กาหนดไว้ส าหรับใช้แทนสิ่งอ านวยความสะดวกที่ใ ช้ส นับสนุ นการปฏิบตั ิการตอบโต้เ หตุ ฉุกเฉิ นและ สถานที่ปฏิบตั ิก ารควรต้องก าหนดค าศัพท์มาตรฐานเดียวกัน มาตรฐานและขัน้ ตอนปฏิบตั ิท่ตี ้อ งใช้ ร่วมกัน พร้อมทัง้ อธิบายในรายละเอียดเอาไว้ในแผนงานและข้อตกลงเท่าที่เป็ นไปได้ ขอบเขตอานาจ หน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบต่าง ๆ จาเป็ นต้องปฏิบตั ิตามมาตรฐานแห่งชาติว่าด้วยการสื่อ สารร่วมกัน ถ้าหากการกาหนดมาตรฐานดังกล่าวแล้วเสร็จ ศูนย์การบูรณาการแห่งชาติจะเป็ นผู้กาหนดมาตรฐาน ทีเ่ หมาะสมสาหรับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติดว้ ยการร่วมมือกับองค์กรทีม่ หี น้าทีใ่ นการจัดทา มาตรฐานทีไ่ ด้รบั การยอมรับ (ก) ขัน้ ตอนปฏิ บตั ิ การใช้งานวิ ทยุสื่อสาร ขัน้ ตอนปฏิบตั แิ ละระเบียบปฏิบตั เิ พื่อการสื่อสารเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ เป็ นการเฉพาะและเพื่อการ สื่อสารสารสนเทศสาคัญอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับเหตุฉุกเฉินควรต้องได้รบั การกาหนดไว้ในข้อตกลงหรือใน แผนล่วงหน้าก่อนทีจ่ ะเกิดเหตุฉุกเฉินหากเป็ นไปได้ ขัน้ ตอนปฏิบตั แิ ละระเบียบปฏิบตั เิ หล่านี้สามารถใช้ เป็นฐานในการจัดทาแผนการสื่อสารในระหว่างทีเ่ กิดเหตุฉุกเฉิน ศูนย์รบั ส่งวิทยุควรจาเป็ นต้องรับทราบ การได้รบั สารสนเทศฉุ ก เฉิ น นอกเหนือ จากนี้ แต่ ล ะหน่ ว ยงาน/องค์ก รควรต้อ งแจกจ่ายสารสนเทศ ดังกล่าวไปให้เ จ้าหน้ าที่ในสังกัด เจ้าหน้ าที่ด้านการจัดการสภาวะฉุ กเฉิน/ด้านการปฏิบตั ิการตอบโต้ ทุก คนที่เ ข้าร่ว มปฏิบตั ิภารกิจ ควรต้อ งปฏิบตั ิต ามขัน้ ตอนปฏิบตั ิและระเบียบปฏิบตั ิท่ี เ ป็ นที่ยอมรับ เพื่อทีจ่ ะทาให้สามารถทางานร่วมกันได้ และในการประสานงานรวมถึงการบัญชาการและการควบคุม (ข) ศัพท์มาตรฐานเดียวกัน ภาษาที่เข้าใจง่าย (ข้อความชัดเจน) การใช้ด้วยกันได้ สมรรถนะของเจ้าหน้ าที่ด้านการจัดการเหตุฉุกเฉิ น/ด้านการปฏิบตั ิการตอบโต้ซ่งึ มาจาสาขา วิชาชีพ ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ องค์กรและหน่ วยงานทีห่ ลากหลายทีจ่ ะเข้ามาทางาน ร่ว มกันนัน้ จาเป็ น ต้อ งพึ่งพาอาศัยขีดความสามารถในการติด ต่ อ สื่อ สารซึ่งกันและกันของแต่ ล ะคน อย่างมาก คาศัพท์เฉพาะที่บญ ั ญัตขิ น้ึ สาหรับใช้ร่วมกันจะช่วยให้เจ้าหน้าที่ด้า นการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้สามารถติดต่อสื่อสารซึง่ กันและกันได้อย่างชัดเจน และช่วยให้การประสานงาน เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพไม่ว่าเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ จะมีขนาด ขอบเขตหรือความซับซ้อนแค่ไหนหรือ เกิดขึน้ ทีใ่ ดก็ตาม การใช้ภาษาทีอ่ ่านเขียนและเข้าใจได้ง่าย (การใช้ขอ้ ความทีช่ ดั เจน) ในการจัดการสภาวะฉุ กเฉิน และการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เป็นเรือ่ งทีม่ คี วามสาคัญต่อความปลอดภัยของสาธารณชน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความปลอดภัยของเจ้าหน้าทีด่ ้านการจัด การเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และบรรดาผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ดังนัน้ จึงเป็ นเรื่องสาคัญทีท่ ุกคนทีเ่ กี่ยวข้องกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ควรต้อ งรู้แ ละใช้โครงสร้างการปฏิบตั ิการ ค าศัพท์มาตรฐานเดีย วกัน นโยบายและขัน้ ตอนปฏิบตั ิท่ี ก าหนดไว้ร่ว มกัน การกระท าเช่น นี้จ ะช่ ว ยทาให้เ กิด ความสะดวกในการปฏิบ ัติง านร่ว มกันระ หว่า ง หน่วยงาน/องค์กร ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบและสาขาวิชาชีพต่าง ๆ
41
การสื่อสารทัง้ หมดระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ขององค์ กรในช่วงกาลังเกิดเหตุฉุกเฉิน ไม่ว่าจะ เป็นการติดต่อสื่อสารด้วยวาจาหรือเป็นลายลักษณ์อกั ษร ควรต้องใช้ภาษาทีเ่ ขียน อ่าน และเข้าใจได้ ง่าย เพื่อทาให้มนใจได้ ั่ ว่าการแจกจ่ายสารสนเทศทันต่อเวลา มีความชัดเจน เป็ นที่รบั รูแ้ ละเข้าใจของผู้รบั ที่ ตัง้ ใจส่งไปให้ทุกคน ไม่ควรใช้รหัส และการติดต่อสื่อสารทัง้ หมดควรต้องจากัดเฉพาะข้อความที่สาคัญ ควรหลีก เลี่ย งการใช้อ ัก ษรย่อ ในระหว่ า งที่เ กิด เหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่จ าเป็ น ต้อ งมีก ารมีส่ ว นร่ว มของหลาย หน่วยงานหรือหลายองค์กร ควรต้องกาหนดนโยบายและขัน้ ตอนปฏิบตั ทิ ส่ี ่งเสริม ให้เกิดความสอดคล้อง ในการทางาน เพื่อช่วยให้มกี ารใช้สารสนเทศร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าทีด่ ้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้าน การปฏิบตั กิ ารตอบโต้และองค์กรเครือข่ายของพวกเขามากทีส่ ุดเท่าทีเ่ ป็ นไปได้ (ค) การเข้ารหัสลับและการใช้ภาษาเชิ งยุทธวิ ธี ควรต้องมีการกาหนดระเบียบวิธกี ารและระบบการเข้ารหัสหรือการเปลี่ยนข้อความเป็ นรหัสไว้ ล่วงหน้า เพื่อให้เจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการสภาวะฉุ กเฉิน/ด้านปฏิบตั กิ ารตอบโต้ใช้เมื่อมีความจาเป็ น เพื่อ คงไว้ซง่ึ ความมันคงปลอดภั ่ ย ถึงแม้ว่าภาษาทีเ่ ข้าใจง่ายอาจจะมีความเหมาะสมในระหว่างการปฏิบตั กิ าร ตอบโต้เหตุฉุก เฉินส่วนใหญ่ แต่ภาษาเชิงยุทธวิธกี ็สามารถนามาใช้ได้ตามลักษณะของเหตุฉุกเฉินที่ เกิดขึน้ (อย่างเช่น ระหว่างเหตุการณ์ก่อการร้ายอย่างต่อเนื่อง) การใช้รหัสลับหรื อภาษาเชิงยุทธวิธคี วร ต้อ งได้รบั การผนวกในแผนเผชิญ เหตุ ท่มี ลี กั ษณะครอบคลุ ม หรือ ในแผนการสื่อ สารเพื่อ การจัดการ เหตุฉุกเฉิน (จ) ระบบข้อมูลร่วมและศูนย์ข้อมูลร่วม ระบบข้อมูลร่วมและศูนย์ขอ้ มู่ลร่วมได้รบั การออกแบบมาเพื่อสนับสนุ นการใช้รปู แบบสารสนเทศ แบบเดีย วกัน ระบบข้อ มูล ร่ว มจะบู ร ณาการสารสนเทศเหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิด ขึ้น และกิจ การสาธารณะ เข้าด้วยกัน กลายเป็ นระบบเดียวกันทีไ่ ด้รบั การออกแบบมาเพื่ อให้ได้รบั สารสนเทศทีม่ คี วามสอดคล้อง กัน ถูกต้อง เข้าถึงได้งา่ ยและทันการณ์ในช่วงวิกฤตหรือในระหว่างปฏิบตั กิ ารตอบโต้ ศูนย์ขอ้ มูลร่วมได้กาหนดรูแบบสาหรับการเขียนและการส่งข้อความเกี่ยวกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ศูนย์ข้อ มูลร่ว มยังทาหน้ าที่จดั ทาแผนและกลยุทธ์ข้อมูล สาธารณะ และนาแผนและกลยุทธ์ไปปฏิบตั ิ รวมถึงการให้คาแนะนา อีกทัง้ ให้คาปรึกษาแก่ผบู้ ญ ั ชาการเหตุการณ์และศูนย์บญ ั ชาการร่วม และให้การ สนับ สนุ นหน่ ว ยงานหรือ องค์ก รในเรื่อ งที่เ กี่ยวข้อ งกับกิจการสาธารณะ ที่อ าจมีผ ลกระทบต่ อ ความ พยายามในการตอบโต้เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ ; และทาหน้าทีค่ วบคุมข่าวลือและสารสนเทศทีไ่ ม่ถูกต้องที่ สามารถบ่อนทาลายความเชื่อมันของสาธารณชนที ่ ่มตี ่อความพยายามในการตอบโต้เหตุ สภาวะฉุ กเฉิน ศูนย์น้ีเป็ นจุดศูนย์กลางการติดต่อสาหรับสื่อข่าวในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุทงั ้ หมด เจ้าหน้าทีด่ ้านข้อมูลสาธารณะ ของหน่ วยงาน/องค์กรทีร่ ว่ มปฏิบตั กิ ารควรต้องจัดพืน้ ทีท่ างานร่วมกันภายในศูนย์น้ี (ฉ) ขัน้ ตอนปฏิ บตั ิ สาหรับอิ นเตอร์เน็ตและเว็บ
42
อินเตอร์เน็ตและเครื่องมือทีใ่ ช้เว็บเป็ นฐานอื่น ๆ อินเตอร์เน็ตและเครือ่ งมืออื่น ๆ ทีใ่ ช้เว็บ สามารถเป็ นทรัพ ยากรอีก ประเภทหนึ่งของเจ้าหน้ าที่ เป็นฐาน สามารถนามาใช้ในระหว่างเกิด ด้านการจัดการสภาวะฉุ กเฉิน/ด้านการปฏิบตั ิการตอบ เหตุฉุกเฉินตามความเหมาะสม เพื่อช่วย โต้ แ ละองค์ ก รเครือ ข่ า ยของพวกเขา ตัว อย่ า งเช่ น ในด้านการรับรูถ้ งึ สถานการณ์และการ เครื่องมือเหล่านี้สามารถนามาใช้ในช่วงเวลาก่อนและ บริหารจัดการสารสนเทศสภาวะวิกฤต ระหว่างเกิดเหตุฉุ กเฉิน เพื่อเป็ นกลไกช่ว ยให้อ งค์กร/ หน่วยงานทีเ่ ข้าร่วมปฏิบตั งิ านได้รบั รูถ้ งึ สถานการณ์ และรวมถึงประชาชนเมือ่ มีความเหมาะสม ควรต้องกาหนดขัน้ ตอนปฏิบตั แิ ละระเบียบปฏิบตั สิ าหรับการใช้เครื่องมือเหล่านี้ในระหว่างเกิด เหตุ ฉุ ก เฉิ น เพื่อ ที่จ ะยกระดับ เป็ น ทรัพ ยากรระบบการสื่อ สารที่ม ีคุ ณ ประโยชน์ ก ารส่ ง และการใช้ สารสนเทศร่วมกันทางอินเตอร์เน็ตหรือเว็บในระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉิน ควรต้องปฏิบตั ติ ามวิธกี ารที่เป็ น มาตรฐานและได้วางแผนไว้ และโดยทัวไปแล้ ่ วจะต้องสอดคล้องกับมาตรฐาน ขัน้ ตอนปฏิบตั แิ ละระเบียบ ปฏิบตั โิ ดยรวม (ช) ความปลอดภัยของสารสนเทศ ควรต้องกาหนดขัน้ ตอนปฏิบตั ิและระเบียบปฏิบตั ิเพื่อสร้างความมันใจในความปลอดภั ่ ยของ สารสนเทศ การทีส่ ารสนเทศไม่มคี วามปลอดภัยอย่างเพียงพอจะส่งผลให้การเปิ ดเผยสารสนเทศไม่ทนั ต่อเหตุการณ์และกระท่อนกระแท่น ซึ่งเป็ นการเพิม่ โอกาสในการเข้าใจผิดและสามารถทาให้ประเด็น ความปลอดภัยของประชาชนมีความสับสนมากยิง่ ขึน้ การเปิดเผยสารสนเทศสาธารณสุขหรือการบังคับ ใช้ก ฎหมายที่ไ ด้รบั การจาแนกว่าเป็ นความลับหรือ มีค วามสาคัญ ยิง่ อย่างไม่เ หมาะสม สามารถเป็ น อันตรายต่ อ ความมันคงของชาติ ่ การสืบสวนสอบสวนที่ก าลังดาเนินการอยู่หรือ ต่ อ การสาธารณสุ ข สารสนเทศทีไ่ ม่ถูกต้องสามารถทาให้บุคคลตกอยู่ในอันตราย ก่อให้เกิดความตื่น ตระหนกของประชาชน และการรบกวนการไหลของสารสนเทศที่เ หมาะสมและมีค วามจ าเป็ น ต้อ งใช้ก ารด าเนิ น การแก้ไ ข สารสนเทศที่ผ ิดทาให้สูญเสียเวลาที่มคี ่า และความพยายามของบุค ลากรด้านการปฏิบตั ิการตอบโต้ เหตุฉุกเฉิน บุคคลและองค์กรที่สามารถเข้าถึงสารสนเทศเกี่ยวกับเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ และโดยเฉพาะอย่าง ยิง่ บุคคลหรือองค์กรทีป่ ้ อนสารสนเทศเข้าสู่ระบบ (เช่น รายงานสถานการณ์) จะต้องได้รบั สิทธิ ์และได้รบั การรับ รองอย่ า งถู ก ต้ อ งและเหมาะสมเพื่อ ความปลอดภัย ในการให้ ส ิท ธิแ์ ละการรับ รองดัง กล่ า ว จาเป็นต้องวางมาตรฐานระดับชาติ เพื่อตรวจสอบและรับรองความปลอดภัย มาตรฐานระดับชาติดงั กล่าว นี้ควรต้องมีความยืดหยุ่นและเข้มแข็งเพียงพอเพื่อทาให้มนใจว่ ั ่ าสารสนเทศจะได้รบั การตรวจสอบและ ปกป้องอย่างเหมาะสม ถึงแม้ว่าศูนย์บูรณาการแห่งชาติจะรับผิดชอบในการอานวยความสะดวกในการ ก าหนดมาตรฐานดังกล่ า ว แต่ ร ฐั บาลในทุ ก ระดับ องค์ก รพัฒ นาเอกชนและภาคเอกชนควรต้อ งให้ ความร่วมมือในกระบวนการให้การรับรอง
43
องค์ประกอบ 3 : การบริหารจัดการทรัพยากร การบริหารจัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้จาเป็ นต้องมีทรัพยากรต่าง ๆ (บุคลากร คณะทางาน สถานทีท่ างาน เครื่องมือ และ/หรือพัสดุ) ที่ได้รบั การบริหารจัดการอย่างระมัดระวังเพื่อให้ ตอบสนองความต้อ งการในการรับมือ เหตุ ฉุ กเฉิ นที่เ กิดขึ้น การนากรอบความคิดการบริหารจัดการ ทรัพ ยากรที่เ ป็ น มาตรฐานอย่ า งเช่ น การจ าแนก ประเภท การจัด ท ารายการ การจัด ระบบ และ สาหรับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ บางประเภท เรา ่ องการทรัพยากร การติด ตามมาใช้ใ ห้เ ป็ น ประโยชน์ จะช่ ว ยอ านวย สามารถหยังทราบความต้ ความสะกวดในการจัดส่ ง การใช้งานและการเรียก ได้ล่วงหน้าเป็ นอยางดีพอทีจ่ ะพัฒนากลยุทธ์ และเก็บกลับคืนในช่วงก่อน ในระหว่างและหลังการ การใช้ทรัพยากร และรวบรวมองค์ประกอบ เกิดเหตุฉุกเฉิน การบริหารจัดการทรัพยากรควรต้อง ของการบริหารจัดการทรัพยากรทุกด้านได้ มีความยืดหยุ่นและสามารถเพิ่มหรือลดขนาดเพื่อให้ • การกาหนดตัวเจ้าหน้าทีไ่ ว้ล่วงหน้า : เป็น สามารถรองรับเหตุฉุกเฉินใด ๆ ที่เกิดขึ้นก็ ได้ และ การมอบหมายภารกิจจาเพาะแก่เจ้าหน้าที่ สามารถปรับเปลี่ยนให้เ หมาะสมกับสถานการณ์ ท่ี และคณะทางานก่อนลงมือปฏิบตั กิ ารตอบโต้ เปลี่ยนแปลง การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ • กลยุทธ์การเคลื่อนเข้าไปใกล้หรือการเติม และประสิท ธิผ ลจ าเป็ น ต้อ งน ากรอบความคิด และ เต็ม : การเคลื่อนย้ายทรัพยากรทีอ่ ยู่ใกล้ หลักการด้านการบริห ารจัดการมาใช้ในทุกขัน้ ตอน บริเวณทีเ่ กิดเหตุมากทีส่ ุดเข้าไปในพืน้ ที่ ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน และการปฏิบตั กิ ารตอบ เกิดเหตุ และเคลื่อนย้ายทรัพยากรทีอ่ ยูไ่ กล โต้ ออกไปเข้ามาแทนทีท่ รัพยากรทีก่ าลังใช้ ปฏิบตั ภิ ารกิจ ไม่ว่าจะเป็นเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ประจาวันใน • การกาหนดทีต่ งั ้ ของทรัพยากรล่วงหน้าใน ท้อ งถิ่น หรือ เหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่จ าเป็ น ต้อ งประสานการ ระดับภูมภิ าค : การใช้พน้ื ทีท่ ก่ี าหนดไว้เป็น ปฏิบตั กิ ารจากรัฐบาลกลางก็ตาม การบริหารจัดการ สถานทีส่ าหรับการเตรียมความพร้อมด้าน ทรัพ ยากรเป็ นเรื่อ งเกี่ยวกับการประสานงาน การ ทรัพยากรครัง้ สุดท้ายก่อนการระดมและการ ควบคุ ม และกระบวนการที่ ช่ ว ยให้ ก ารจั ด หา เรียกกลับคืนในระหว่างการเลิกระดม ทรัพยากรรองรับเหตุฉุกเฉินเป็ นไปอย่างเหมาะสม
44
และทันเวลา ทรัพยากรต่าง ๆ ทีอ่ าจจะสนับสนุ นการปฏิบตั การในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ และการบัญชาการโดย ผ่านศูนย์บญ ั ชาการเหตุการณ์ หรือผ่านการทางานภายในระบบการประสานงานระหว่างหน่ วยงานทีศ่ ูนย์ ปฏิบตั การฉุกเฉินใช้อยู่ หรือผ่านสถานทีท่ าการอื่น ๆ ทีม่ ลี กั ษณะคล้ายคลึงกัน ในขณะทีม่ กี ารจัดลาดับความสาคัญของเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ได้มกี ารระบุความต้อง การจัดหา ทรัพยากรมีการนาเอาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรมาใช้ในการนาคาร้องขอทรัพยากรไปดาเนินการ ในระยะเริม่ แรกที่เ กิด เหตุ ฉุ ก เฉิ น ค าร้อ งขอทรัพ ยากรจะได้ ร บั การจัดการในระดับท้อ งถิ่นหรือ ผ่ า น ข้อ ตกลงช่ ว ยเหลือ ซึ่ง กัน และกัน และ/หรือ ข้อ ตกลงให้ค วามช่ ว ยเหลือ แต่ เ มื่อ เหตุ ฉุ ก เฉิ น ลุ ก ลาม ขยายขนาดหรือมีความซับซ้อนยิง่ ขึน้ หรือเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ เป็ นเหตุการณ์ขนาดใหญ่ตงั แต่เริม่ เกิด อาจจะต้องนาทรัพยากรจากแหล่งอื่นมาสมทบเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการทรัพยากรได้ตรง และเพียงพอ ในกรณีท่ตี ้องมีการแก่งแย่งทรัพยากรทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ อาจจะต้องนาเอาระบบการ ประสานงานระหว่างหน่วยงานมาใช้ในการจัดลาดับความสาคัญ และประสานการจัดสรรและการกระจาย ทรัพยากรตามทีส่ ามารถหามาได้ ตามความจาเป็ นของเหตุฉุกเฉินอื่น ๆ ทีเ่ กิดขึน้ และตามข้อจากัดและ การพิจารณาด้านอื่น ๆ
ก. กรอบความคิ ดและหลักการ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1. กรอบความคิ ด กรอบความคิดพืน้ ฐานของการบริหารจัดการทรัพยากรมีดงั ต่อไปนี้ : • ความสอดคล้อง (Consistency) : การกาหนดวิธกี ารทีเ่ ป็ นมาตรฐานสาหรับการระบุ การได้มา การจัดสรรและการติดตามทรัพยากร • การทาให้เป็นมาตรฐาน (Standardization) : การจาแนกประเภทของทรัพยากรเพื่อทีจ่ ะปรับปรุง ประสิทธิภาพของข้อ ตกลงว่าด้ว ยการช่ว ยเหลือ ซึ่งกันและกัน และข้อ ตกลงว่า ด้วยการให้ ความ ช่วยเหลือ • การประสานงาน (Coordination) : การอานวยความสะดวกและการบูรณาการทรัพยากรเพื่อให้ เกิดประโยชน์มากทีส่ ุด • การบริหารจัดการสารสนเทศ (Information Management) : การกาหนดให้มกี ารบูรณาการอย่าง ทัวถึ ่ งขององค์ประกอบต่ าง ๆ ของการบริหารจัด การการสื่อ สารและสารสนเทศเข้ากับการจัดระบบ กระบวนการ เทคโนโลยีและการสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารจัดการทรัพยากร • การรับรองความน่ าเชื่อถือ (Credentialing) : การใช้หลักเกณฑ์เพื่อสร้างความมันใจในด้ ่ านการ จัดให้มกี ารฝึ กอบรมอย่างต่อ เนื่อง การออกใบอนุ ญาตให้ประกอบวิชาชีพ และมาตรฐานในการออก หนังสือรับรอง 2. หลักการ
45
รากฐานของการบริห ารจัด การทรัพ ยากรมาจากหลัก การที่ผ สมผสานจ านวนห้า หลัก การ ดังต่อไปนี้ (ก) การวางแผน การวางแผนร่วมกัน การฝึ กอบรมตามมาตรฐานเดียวกันและการฝึ กซ้อมที่ครอบคลุมช่วยให้ม ี พืน้ ฐานสาหรับการทาให้ทรัพยากรต่าง ๆ สามารถทางานร่วมกันและเข้ากันได้ทุกขณะทีเ่ กิดเหตุฉุกเฉิน ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบต่าง ๆ ควรต้องทานร่วมกันล่วงหน้าก่อนที่จะเกิดเหตุฉุกเฉิน จัดทาแผนเพื่อกาหนดการสังซื ่ อ้ จัดการและค่าจ้างทรัพยากรต่าง ๆ กระบวนการวางแผนควรต้องรวมถึง การกาหนดความต้องการทรัพยากรโดยใช้ความล่อแหลมและสภาวะการคุกคามของภัยทีข่ อบเขตอานาจ หน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบเผชิญอยูเ่ ป็นฐานและจัดทากลยุทธ์ทางเลือกเพื่อให้ได้ทรัพยากรทีต่ อ้ งการ การวางแผนอาจจะรวมถึงการกาหนดนโยบายใหม่เพื่อส่งเสริม ให้มกี ารกาหนดสถานที่ตงั ้ ของ ทรัพ ยากรให้ใ กล้ก ับ พื้นที่ท่ีค าดว่า จะเกิดเหตุ ฉุ ก เฉิ น เพื่อ ตอบสนองความต้อ งการใช้ท รัพ ยากรใช้ ทรัพยากรที่กาหนดไว้ล่วงหน้า แผนควรต้องคาดการณ์สถานการณ์หรือกรณีแวดล้อมที่อาจจะทาให้ม ี ความจาเป็นทีจ่ ะต้องตอบสนองความต้องใช้ทรัพยากรเป็ นกรณีพเิ ศษเฉพาะเจาะจง อย่างเช่น การจัดหา สิง่ ของทีจ่ าเป็นมาใส่เพิม่ เติมเมื่อจานวนสิง่ ของคงคลังลดลงถึงขัน้ ต่ าสุดทีก่ าหนดไว้ องค์กรและขอบเขต อานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ ควรต้องประเมินสถานะทรัพยากรของตนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบ ถึงความถูกต้องของรายการทรัพยากรที่มอี ยู่ในช่วงเวลาใดก็ตาม นอกเหนือจากนี้ เจ้าหน้ าที่ด้านการ จัดการเหตุฉุ กเฉิน/ด้านการปฏิบตั ิการตอบโต้ควรต้อ งสร้างความคุ้นเคยกับกรอบปฏิบตั ิการตอบโต้ แห่งชาติ (National Response Framework) และควรต้องเตรียมพร้อมทีจ่ ะบูรณาการ และ/หรือประสาน กับทรัพยากรของรัฐบาลกลาง (ข) การนาข้อตกลงมาใช้ ข้อตกลงระหว่างทุกฝ่ายในการให้และการขอความช่วยเหลือด้านทรัพยากรเป็ นสิง่ ที่จาเป็ นทีจ่ ะ ช่วยให้สามารถบริหารจัดการทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในระหว่างปฏิบตั กิ าร ตอบโต้เหตุฉุกเฉิน รวมถึงการจัดทาและการดารงรักษาข้อตกลงและพันธกรณีดา้ นการให้บริการและวัสดุ สิง่ ของทีจ่ าเป็นในระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉิน (ค) การจาแนกทรัพยากร การจัดระบบทรัพยากรสามารถกระทาได้โดยการจาแนกเป็นหมวดหมู่ ชนิด และประเภท รวมถึง การจ าแนกตามขนาด ความสามารถ สมรรถนะ ความช านาญ และคุ ณ ลัก ษณะอื่น ๆ การจ าแนก ทรัพยากรช่วยทาให้กระบวนการจัดหาและจัดส่งทรัพยากรภายในและข้ามขอบเขตอานาจหน้าที่และ พืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ และระหว่างรัฐบาลในระดับต่าง ๆ องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชนมีประสิทธิภาพ ยิง่ ขึน้ และทาให้มนใจว่ ั ่ าทรัพยากรทีต่ อ้ งการจะถึงมือผูร้ บั
46
(ง) การระบุและการจัดหาทรัพยากร กระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรใช้วธิ ีการมาตรฐานการกาหนด จัดหา ระดม จัดส่ง และ ติดตามทรัพยากรที่จาเป็ นต้อ งใช้สนับสนุ นการจัดการเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้น ผู้ท่รี บั ผิดชอบการบริหาร จัดหาทรัพยากรจะปฏิบตั ภิ ารกิจดังกล่าวข้างต้นตามการร้องขอของผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ หรือให้เป็ นไป ตามที่ก าหนดไว้ใ นแผน การก าหนดและการจัด หาทรั พ ยากรเป็ น เรื่อ งที่เ กี่ย วพัน กัน ในบางกรณี กระบวนการกาหนดและการจัดหาทรัพยากรได้รบั การกดดัน เมื่อผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์เป็ นผู้กาหนด ทรัพยากรที่จาเป็ นสาหรับการปฏิบตั ภิ ารกิจและระบุวธิ กี ารจัดหาทรัพยากรโดยตรง อย่างไรก็ตาม ใน กรณีทเ่ี กิดเหตุฉุกเฉินทีม่ ขี นาดใหญ่และซับซ้อนกว่าผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ อาจจะไม่ได้ตระหนักหรือรับ ผู้ถึงทรัพยากรที่มอี ยู่และนาไปใช้ได้ เมื่อถึงจุดนี้ ผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์อาจจะกาหนดความต้องการ ทรัพ ยากร โดยใช้ว ตั ถุ ป ระสงค์ใ นการจัด การหตุ ฉุ ก เฉิ น เป็ น ฐานและน ากระบวนการบริหารจัด การ ทรัพยากรมาใช้เพื่อเติมเต็มความต้องการดังกล่าว (จ) การบริ หารจัดการทรัพยากรที่มีประสิ ทธิ ภาพ การบริหารจัดการทรัพยากรเป็ นเรื่องทีเ่ กี่ยวข้องกับขัน้ ตอนการจัดซื้อจัดหา การบริหารจัดการ สารสนเทศและระบบการสารองและระเบียบพิธกี ารในการสังซื ่ อ้ การระดม การจัดส่งทรัพยากร และการ เรียกกลับคืน (1) ขัน้ ตอนปฏิ บตั ิ ในการจัดซื้อจัดหา ขัน้ ตอนปฏิบตั ใิ นการจัดซือ้ จัดหา ถูกนามาใช้ เพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพยากรที่จาเป็ นสาหรับการปฏิ บตั ิ การสารองไว้ในคลังพัสดุกบั การจัดซือ้ จัดหา ภารกิจ ตัว อย่ า งของขัน้ ตอนดัง กล่ า วรวมถึง การ ให้ทนั เวลาพอดี มอบหมายภารกิจ การทาสัญญา การเบิกจ่ายพัสดุทม่ี ี อยู่ และการจัดซื้อจัดหาเพียงเล็กน้ อย ส่วนที่สาคัญ ทรัพยากรต่าง ๆ อาจจะจัดซือ้ จัดหาไว้ ของกระบวนการจัด ท าบัญ ชีพ ัส ดุ ค งคลัง คือ การ ล่วงหน้าและเก็บรักษาไว้ในคลังพัสดุ (เช่น ตัด สิน ใจว่ า องค์ ก รมีค วามจ าเป็ น ต้ อ งส ารองพัส ดุ การสารองไว้) หรือจัดซือ้ จัดหาให้ทนั เวลาไว้ สิง่ ของที่เ ฉพาะเจาะจงไว้ใ นคลังพัส ดุ ก่อ นที่จะเกิด ล่วงหน้าก่อนเกิดเหตุฉุกเฉิน ขัน้ ตอนปฏิบตั ใิ น เหตุ ฉุ ก เฉิ น หรือ ไม่ ทรัพ ยากรประเภทวัส ดุ อ าจจะ การวางแผนและการทาบัญชีทรัพยากรควร จัดซื้อจัดหาไว้ล่วงหน้ าและเก็บสารองไว้หรืออาจจะ ต้องสามารถรองรับการจัดหาทรัพยากรทัง้ สอง จัด หาให้ ท ัน เวลาพอดี โ ดยผ่ า นวิ ธ ี ก ารท าสัญ ญา รูปแบบได้ ล่วงหน้าอย่างเหมหาะสมก่อนเกิดเหตุฉุกเฉิน ผูท้ ต่ี ้อง รับ ผิดชอบในการบริห ารจัดการทรัพ ยากรจะเป็ น ผู้ ตัดสินใจในเรื่องนี้ โดยการพิจารณาถึงความเร่งด่วนของความต้องการใช้ จานวนวัสดุสงิ่ ของที่จาเป็ น ต้องใช้มอี ยู่เพียงพอ และสิง่ ของที่จาเป็ นสามารถผลิตออกมาได้เร็วพอที่จะตอบสนองความต้องการได้ ทันเวลา
47
ส่วนสาคัญอีกส่วนหนึ่งของกระบวนการคือการบริหารจัดพัสดุคงคลังโดยคานึงถึงอายุการเก็บ (Shelf life) ของวัสดุสงิ่ ของหรือการบารุงรักษาเป็ นพิเศษ ความเชื่อมันอย่ ่ างยิง่ ยวดต่อการสารองวัสดุ ั หาเกี่ ย วกับ อายุ ก ารเก็ บ และความทนทานของวัส ดุ ส ิ่ง ของ อย่ า งไรก็ ต าม สิ่ง ของท าให้ เ กิ ด ป ญ ความเชื่อมันอย่ ่ างยิง่ ยวดต่อวิธกี ารจัดซื้อจัดหาให้ทนั เวลาพอดีกท็ าให้เกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการ นาส่ งวัส ดุสงิ่ ของทันเวลาตามสัญญาหรือไม่ จาเป็ นต้องมีการชี้แจงรายการทรัพยากรที่ได้มาด้วยวิธ ี ทัน เวลาพอดีเ พื่อ ท าให้ม นใจว่ ั ่ า ขอบเขตอ านาจหน้ า ที่แ ละพื้น ที่ร บั ผิด ชอบทัง้ หลาย หรือ องค์ก รใน ภาคเอกชนไม่ได้พ่งึ พาอาศัยทรัพยากรสาหรับใช้ในการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ท่เี หมือนกันเพียงชนิดเดียว เท่านัน้ ซึง่ จะนาไปสู่ปญั หาความไม่เพียงพอได้ ผูท้ ่รี บั ผิดชอบในการบริหารจัดการทรัพยการความต้อง ระดมเงินทุนให้เพียงพอเพื่อใช้เป็ นงบประมาณสาหรับการจัดซื้อจัดหามาเพิ่ มเติม การบารุงรักษาเชิง ป้องกันการเสื่อมสภาพและการปรับปรุงเงินทุน ส่วนที่สาคัญของขัน้ ตอนการจัดซื้อจัดหาสื่อการพัฒนา วิธ ีก ารและระเบียบปฏิบตั ิเ พื่อ ดาเนินการกับทรัพยากรที่ได้รบั บริจาครวมถึงการแจกจ่ายทรัพยากร ดังกล่าวนี้ดว้ ย (2) ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หาร (Management Information System : MIS) ระบบสารสนเทศถูกนามาใช้เพื่อให้สารสนเทศสนับสนุ นการตัดสินของผูท้ าหน้าทีบ่ ริหารจัดการ โดยการรวบรวมข้อ มูล ปรับปรุง ให้เ ป็ น ปจั จุบนั และการประมวลรวมถึง การติด ตามทรัพยากรระบบ สารสนเทศ เพื่อการบริหาร ช่วยเพิม่ พูนประสิทธิภาพของการไหลของสารสนเทศเกี่ยวกับสถานะของ ทรัพยากรและให้ข้อมูลในเวลาจริงในขอบเขตอ านาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบที่เ จ้าหน้ าที่ด้านการ จัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และองค์กรเครือข่ายของพวกเขากาลังปฏิบตั ภิ ารกิจด้าน ต่าง ๆ แข่งกับเวลาและต้องมีการประสานความพยายามร่วมกันอยู่ ตัวอย่างของระบบสารสนเทศเพือ การบริหาร รวมถึงระบบการติดตามทรัพยากร ระบบการติดตามการขนส่งทรัพยากร ระบบการบริหาร จัด การพัส ดุ ค งคลัง ระบบการรายงานและระบบสารสนเทศภูม ิศ าสตร์ การเลือ กและการน าระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรควรต้อ งยึดการกาหนดความต้องการสารสนเทศภายใน ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบเป็นหลัก (3) ระบบสารสนเทศสารอง ผู้ท่ตี ้อ งรับผิดชอบการบริหารจัดการทรัพยากรควรต้องสามารถกาหนดและเปิ ดใช้งานระบบ สารสนเทศสารองเพื่อบริห ารจัดการทรัพยากรได้ในกรณีท่รี ะบบสารสนเทศเพื่อการบริหารที่เป็ นระบบ หลักถูกรบกวนหรือไม่สามารถใช้งานได้ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารควรต้องมีอุปกรณ์ จ่ายไฟสารอง อย่างเพียงพอและหลากหลาย และมีสมรรถนะในการสื่อสาร ถ้าเป็ นไปได้หน่ วยเก็บข้อมูลสารองต้องไม่ ติดตัง้ อยู่รวมกับหน่ วยเก็บข้อมูลหลัก และควรต้องจัดเก็บสารองไว้อย่างน้อยทุก 24 ชัวโมงในระหว่ ่ างที่ เกิดเหตุฉุกเฉิน (4) ระเบียบปฏิ บตั ิ ในการสังซื ่ ้อ การระดม และการเรียกกลับคืน ในการร้อ งขอทรัพ ยากร การจัด ล าดับ ความส าคัญ ของการร้อ งขอ การเปิ ด ใช้ง านและการ เคลื่อนย้ายทรัพยากรไปยังพื้นทีเ่ กิดเหตุ และการเรียกทรัพยากรกลับคืนสู่สถานะเดิม จาเป็ นต้องปฏิบตั ิ
48
ตามระเบียบปฏิบตั ิท่กี าหนดไว้ องค์กรที่รบั ผิดชอบในการเตรียมความพร้อมควรต้องกาหนดระเบียบ ปฏิบตั ทิ ่เี ป็ นมาตรฐานสาหรับใช้ปฏิบตั ิในขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่ของตน ตัวอย่างของระเบียบ ปฏิบตั ิดงั กล่าวรวมถึงระบบการติดตามที่สามารถระบุตาแหน่ ง และสถานะของทรัพยากรที่ได้รบั การ เคลื่อนย้ายหรือส่งไปให้ และควรต้องกาหนดขัน้ ตอนปฏิบตั สิ าหรับการเรียกทรัพยากรกลับคืนสู่ ทต่ี งั ้ และ สถานะเดิมด้วย
ข. การบริ หารจัดการทรัพยากร -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เพื่อที่จะใช้กรอบความคิดและหลักการเหล่านี้ในภารกิจหลักของการบริหารจัดการทรัพยากร ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้รวมขัน้ ตอนปฏิบตั ทิ เ่ี ป็ นมาตรฐาน ระเบียบวิธแี ละภารกิจเอาไว้ ใน 7 ขัน้ ตอนของกระบวนการบริห ารจัดการทรัพยากร กระบวนการดังกล่าวนี้สะท้อนให้เห็นถึงการ คานึงถึงภารกิจ ปจั จัยทางภูมศิ าสตร์ และวิธปี ฏิบตั ทิ ไ่ี ด้ผลภายในวงการวิชาชีพเดียวกัน หรือข้ามวงการ วิชาชีพ และการได้รบั การปรับและแก้ไขอย่างต่อเนื่องในขณะทีไ่ ด้เรียนรู้จากบทเรียนทีไ่ ด้รบั มาใหม่ การบารุงรักษาทรัพยากรมีความสาคัญต่อการบริหารจัด การทรัพยากรทุกด้าน การบารุงรักษา ก่ อ นที่จ ะมีก ารใช้งานทาให้เ กิด ความมันใจในความพร้ ่ อ มและสมรรถนะ การบ ารุง รัก ษาในระหว่า ง ช่ว งเวลาที่ก าลังใช้งานทาให้ม ีค วามมันใจในความต่ ่ อ เนื่ อ งของสมรรถนะ อย่า งเช่ น ปริม าณน้ ามัน เชื้อเพลิงมีเพียงพอในระหว่างการปฏิบตั ิงาน การตรวจสภาพและการบารุงรักษาหลังจากการใช้งาน ทาให้เกิดความมันใจในการที ่ จ่ ะได้รบั มาใช้งานและความพร้อมใช้งานในอนาคต รากฐานส าหรับ การบริห ารจัด การทรัพ ยากรที่ก าหนดไว้ใ นองค์ป ระกอบด้า นนี้ ข องระบบ การจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติจะได้รบั การขยายและปรับปรุงโดยศูนย์บูรณาการแห่งชาติเป็ นหน่ วยนา และโดยความร่วมมือระหว่างขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบและวงการวิชาชีพต่าง ๆ กระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ส่วนคือ : การบริหารจัดการ ทรัพ ยากรในฐานะที่เ ป็ นส่ วนประกอบของการเตรียมความพร้อ มและการบริหารจัด การทรัพยากรใน ระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉิน กิจกรรมการเตรียมความพร้อมในส่วนของการบริห ารจัดการทรัพยากร (การ จาแนกทรัพยากร การรับรองสมรรถนะ และการจัดทาบัญชีพสั ดุคงคลัง) จะต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่ อง เพื่อช่วยให้มนใจในความพร้ ั่ อมทีจ่ ะระดมและจัดส่งไปยังพืน้ ทีเ่ กิดเหตุเมือ่ มีการสังการ ่
49
การบริหารจัดการทรัพยากรในช่วงกาลังเกิดเหตุฉุกเฉินเป็ นกระบวนการทีม่ ขี อบเขตจากัดทีก่ าร เริม่ ต้นและการสิ้นสุดของการบริหารจัดการมีความแตกต่างกันออกไปตามความจาเป็ นต้องใช้ในการ จัดการเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ เป็นการเฉพาะดังแสดงในรูปที่ 1.
รูปที่ 1. การบริ หารจัดการทรัพยากรในช่วงเกิ ดเหตุฉุกเฉิ น การดาเนินการเตรียมความพร้อม เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากร - การจาแนกประเภททรัพยากร - การรับรองสมรรถนะ
เหตุฉุกเฉิน
ระบุความต้องการ จัดทาบัญชีพศั ดุคงคลัง
สังซื ่ อ้ & รับของ ชาระเงินคืน ระดม & เคลื ่อนย้ ระดม/เคลื ่อนย้ ายาย ฟื้นฟู/ถอนกาลัง - ไม่สามารถนามาใช้ได้อกี - สามารถนามาใช้ได้อกี
ติดตาม & รายงาน
50
1. ระบุความต้องการ เมื่อ มีเ หตุ ฉุ ก เฉิ น เกิดขึ้นผู้ท่มี ีห น้ า ที่ร บั ผิ ดชอบด้า นการบริหารจัด การทรัพ ยากรจะต้อ งระบุ ปรับแต่ง และตรวจสอบความต้องการทรัพยากร กระบวนดังกล่วนี้เกี่ย วข้องกับการระบุอย่างถูกต้อง แม่นยาว่าต้องการอะไร และจานวนเท่าใด จาเป็ นต้องใช้ท่ไี หน เมื่อไหร่ และใครจะเป็ นผู้รบั และผู้ใ ช้ ทรัพยากรที่จาเป็ นต้องระบุในลักษณะนี้รวมถึงเครื่องมือ วัสดุ สถานที่และเจ้าหน้าที่หรือชุดปฏิบตั กิ าร ฉุกเฉิน ถ้าผูร้ อ้ งขอไม่สามารถอธิบายรายการทรัพยากรทีข่ อมาโดยการจาแนกประเภทหรือจัดหมวดหมู่ ของทรัพยากรได้ ผูท้ ม่ี หี น้าทีร่ บั ผิดชอบการบริหารจัดการทรัพยากรควรต้องให้คาแนะนาทางเทคนิคเพื่อ ช่ว ยให้ผู้ร้อ งขอสามารถระบุแ ละแปลงความต้อ งการทรัพยากรให้เ ป็ นข้อ กาหนดคุ ณลักษณะเฉพาะ ทรัพยากร ทรัพยากรทีเ่ ฉพาะเจาะจงสาหรับโครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวดและทรัพยากร หลักจาเป็ นต้องได้รบั การระบุและการประสานงานผ่านทางข้อตกลงว่าด้วยการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน หรือข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือระหว่างฝ่ายต่าง ๆ เป็ นการเฉพาะ และควรจะสามารถเข้าถึงได้โดย ผ่านทางองค์กรทีร่ บั ผิดชอบการเตรียมความพร้อม และ/หรือระบบการประสานงานระหว่างองค์กร ความมีพร้อมของทรัพยากรและความต้องการทรัพยากรจะเปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนื่องในขณะที่ สภาพการณ์ เ หตุ ฉุ กเฉิ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น เปลี่ ย นแปลงไป ด้ ว ยเหตุ น้ี เจ้ า หน้ าที่ ด้ า นการจั ด การ เหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และองค์กรเครือข่ายทีเ่ ข้าร่วมการปฏิบตั กิ ารควรต้องประสานงาน กันอย่างใกล้ชดิ ตลอดกระบวนการ ควรเริม่ ต้นการประสานงานให้เร็วที่สุดเท่าที่ จะเป็ นไปได้ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ควรต้องเริม่ ประสานงานกันก่ อนที่จะจาเป็ นต้องดาเนินกิจกรรมตอบโต้เหตุฉุกเฉิ นที่เกิดขึ้น ร่วมกัน ในกรณี เมือ่ คาดว่าเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ จะทาให้เกิดความหายนะตามมา (เช่น เหตุการณ์น้ าท่วม ใหญ่หรือพายุเฮอร์รเิ คนที่รุนแรง) รัฐต่าง ๆ และ/หรือรัฐบาลกลางอาจจะจัดวางทรัพยากรในพืน้ ที่ทค่ี าด ว่าจะเกิดเหตุฉุกเฉินขึน้ ในกรณีท่มี เี วลาเพียงพอที่จะประเมินความต้องการทรัพยากรและแผนในการ รับมือหายนะภัย หน่ วยปฏิบตั กิ ารตอบโต้ของรัฐบาลกลางจะประสานงานกับขอบเขตอานาจหน้าที่และ พืน้ ทีร่ บั ผิดชอบในระดับรัฐ ชนเผ่าพื้นเมืองอเมริกนั และระดับท้องถิน่ และการจัดวางทรัพยากรจะได้รบั
ศูนย์ ปฏิบตั กิ าร 51 ฉุกเฉิน งรัฐ การไหลของการร้องขอและการให้ความช่วยเหลือ การปรับให้เหมาะสมเพื่อแก้ไขสถานการณ์จแห่ าเพาะ แสดงไว้ในรูปที่ 2.
รูปที่ 2 : การไหลของการร้องขอและการให้ความช่วยเหลือระหว่างเกิ ดเหตุฉุกเฉิ นขนาดใหญ่
52
53
2. สังซื ่ ้อและรับของ การร้องขอทรัพยากรทีไ่ ม่อาจจะจัดหาให้ได้ หลีกเลีย่ งการใช้ระบบแบบไม่องิ กฎเกณฑ์ ในท้อ งถิ่นจะต้อ งดาเนินการยื่นเสนอตามขัน้ ตอน สังซื ่ อ้ ทรัพยากรทีเ่ ป็ นมาตรฐาน โดยทัวไป ่ การร้อง บุคคลทีต่ อ้ งรับผิดชอบด้านการบริหารจัดการ ขอประเภทนี้ จ ะถู ก ส่ ง ไปยัง ท้อ งถิ่น หรือ เขตการ ทรัพยากร ซึง่ รวมถึงเจ้าหน้าทีข่ องรัฐบาลควรต้อง ปกครองระดับต่ ากว่ารัฐที่อยู่ติดต่อกันก่อนแล้วจึง รับรูถ้ งึ ข้อบกพร่องทีม่ อี ยูใ่ นการร้องขอทรัพยากร โดยการหลีกเลีย่ งกระบวนการประสานงาน การ ส่งต่อไปยังรัฐ วงจรการตัดสินใจในการสังซื ่ ้อ และการรับ ร้องขอทรัพยากรอย่างเป็นทางการภายในระบบ ทรัพ ยากรส าหรับ เจ้า หน้ าที่ภาคสนาม/เจ้าหน้ า ที่ การประสานงานระหว่างอค์กรทีใ่ ห้การสนับสนุน ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ท่มี หี น้าที่รบั ผิดชอบการ การปฏิบตั กิ ารร้องขอเหล่านี้ ไม่ดาเนินการให้ บริห ารจัด การทรัพ ยากรแตกต่ า งกับ วงจรการ เป็นไปตามบริบทของระบบบริหารจัดการ ตัด สิน ใจส าหรับ กระบวนการประสานงานด้ า น ทรัพยากรตามขัน้ ตอน ซึง่ นาไปสู่การใช้งานทีไ่ ม่ม ี ทรัพยากร อย่างเช่นระบบการประสานงานระหว่าง ประสิทธิภาพและการขาดความรับผิดชอบต่อ องค์ก ร ผู้บญ ั ชาการเหตุ ก ารณ์ จะจัด ทาค าร้อ งขอ ทรัพยากร ทรัพ ยากรโดยอาศัย ล าดับ ความส าคัญ ที่เ ป็ น ป จั จุ บ ัน และระยะเวลาปฏิบ ัติก ารที่ต่ อ เนื่ อ งเป็ น ฐาน การตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพ ยากรจะค านึงถึงระเบียบปฏิบตั ิขององค์กรหรือ หน่ ว ยงานและ ความต้อ งการทรัพ ยากรส าหรับ ใช้ร บั มือ เหตุ ฉุ ก เฉิ น ออื่น ๆ ที่อ าจจะเกิด ขึ้น การระดรมและจัด ส่ ง ทรัพยากรหทีร่ อ้ งขอจะเริม่ ลงมือดาเนินการได้กต็ ่อเมื่อได้รบั ความยินยอมจากขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละ พื้นที่รบั ผิด ชอบที่ไ ด้ร บั การร้อ งขอ ควารต้อ งประสานงานกับ ฝ่ายที่ร้อ งขอเกี่ย วกับความไม่ต รงกัน ระหว่างทรัพยากรทีร่ อ้ งขอมากับทรัพยากรทีม่ อี ยูแ่ ละพร้อมใช้งาน 3. ระดม/เคลื่อนย้าย การระดมเจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั การตอบโต้จะเริม่ ขึน้ เมื่อได้รบั การ แจ้งล่วงหน้าผ่านช่องทางที่กาหนดไว้ ในช่วงเวลาของการแจ้งเตือนพวกเขาจะทราบถึงวันที่ เวลา และ สถานที่ทจ่ี ะออกเดินทาง ; วิธกี ารเดินทางไปยังพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ ; วันทีแ่ ละเวลาที่คาดว่าจะเดินทางถึง ; สถานที่ทร่ี ายงานตัว (ที่อยู่ ชื่อผู้ตดิ ต่อ และหมายเลขโทรศัพท์) ; หน้าทีท่ ่คี าดว่าจะได้รบั มอบหมาย ; ระยะเวลาทีต่ อ้ งปฏิบตั หิ น้าที่ ; หมายเลขหนังสือสังใช้ ่ ทรัพยากร ; หมายเลขกากับเหตุฉุกเฉินค่าใช้จ่ายที่ สามารถนาไปใช้ได้และรหัสเงินกองทุน กระบวนการติดตามและการระดมทรัพยากรมีความเกี่ยวโยงกัน เมื่อทรัพยากรบุคคลเดินทางไปถึงพื้นที่เกิดเหตุ พวกเขาจะต้องเข้ารายงานตัวอย่างเป็ นทางการ นี่เป็ น การเริม่ กระบวนการรายงานตัว ณ พืน้ ทีเ่ กิดเหตุและการตรวจสอบความจาเป็ นในการสังใช้ ่ งาน การแจ้ง ให้ทราบล่วงหน้าถึงการเดินทางมาถึงของทรัพยากรจะดาเนินการผ่านช่องทางทีเ่ หมาะสม กระบวนการระดมทรัพยากรอาจจะรวมถึงการวางแผนการเรียกกลับคืนโดยยึ ดคู่มอื การระดม ทรัพยากรระหว่างองค์กรเป็นฐาน ; การรจัดหาและมอบเครื่องมือ ; การฝึกอบรม ; การกาหนดจุดรวมพล ทีม่ สี งิ่ อานวยความสะดวกที่เหมาะสมสาหรับการสนับสนุ นการส่งกาลังบารุง ; และการจัดหาระบบการ
54
ขนส่ งเพื่อ ล าเลียงทรัพ ยากรไปยังพื้นที่เ กิดเหตุ ใ ห้เ ร็ว ที่สุ ด โดยสอดคล้อ งกับล าดับความสาคัญ และ งบประมาณ แผนการระดมทรัพยากรต้องยอมรับว่าทรัพยากรบางอย่างเป็ นทรัพยากรกายภาพที่ไม่ สามารถเคลื่อนย้ายได้ อย่างเช่น ห้องทดลอง โรงพยาบาล ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉิน สถานที่หลบภัยและ ระบบการจัดการของเสีย ทรัพยากรกายภาพเหล่านี้มสี ่วนช่วยในการปฏิบ ัตกิ ารโดยไม่ได้เคลื่อนย้ายเข้า ไปในพืน้ ทีท่ เ่ี กิดเหตุ ซึง่ เป็นวิธกี ารทีแ่ ตกต่างไปจากทรัพยากรอื่น ๆ ทีร่ ะดมเข้าไปในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ แผน และระบบทีน่ ามาใบช้ในการติดตามสถานะการระดมทรัพยากรควรต้องมีความยืดหยุ่นเพียงพอทีจ่ ะปรับ ให้เข้ากับการระดมทรัพยากรทัง้ สองประเภท ผูบ้ ริหารจัดการทรัพยากรควรต้องวางแผนและจัดเตรียมกระบวนการถอนกาลังในขณะเดียวกัน กับการเริม่ กระบวนการระดมทรัพยากร การวางแผนการถอนกาลังไว้ล่วงหน้าเพื่อความสะดวกในการรับ การตรวจสอบ และช่วยทาให้การขนส่งทรัพยากรมีประสิทธิภาพทีส่ ุดทัง้ ในด้านค่าใช้จ่ายและเวลาในการ นาส่งคืน 4. ติ ดตามและรายงาน การติดตามทรัพ ยากรเป็ นกระบวนการเชิงบูรณาการและเป็ นมาตรฐานที่เ จ้าหน้ าที่ด้านการ จัดการสภาวะฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และองค์กรเครือข่ายของพวกเขานามาใช้ทงั ้ ในช่วงก่อน ระหว่าง และหลังจากการเกิดเหตุฉุกเฉินตามความเหมาะสม กระบวนการนี้ทาให้มองเห็นภาพอย่าง ชัดเจนว่าทรัพยากรอยู่ทไ่ี หน ; ช่วยเจ้าหน้าที่เตรียมความพร้อมเพื่อรับทรัพยากร ; ปกป้องและรักษา ความปลอดภัยของเครื่องมือ พัสดุและเจ้าหน้าที่ ; และช่วยในการประสานงานและการเคลื่อนย้าย ผู้ท่ี ต้อ งรับผิดชอบด้านการบริหารจัดการทรัพยากรจะนาขัน้ ตอนปฏิบตั ิท่กี าหนดไว้มาใช้ในการติดตาม ทรัพยากรอย่างต่อเนื่องโดยเริม่ จากการระดมถึงการส่งทรัพยากรกลับคืน ผูบ้ ริหารจัดการทรัพยากรควร ต้ อ งปฏิบ ัติ ต ามขัน้ ตอนปฏิบ ัติ ใ นการจัด ซื้อ จัด หาและการบริห ารจัด การทรัพ ยากร รวมถึง การ ประนีประนอม การจัดทาบัญชี การตรวจสอบ และการจัดทารายการพัสดุคงคลัง 5. ฟื้ นฟู/ถอนกาลัง การฟื้ นฟูเกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากรทัง้ หมดเป็ นครัง้ สุดท้าย ซึ่งรวมถึงทรัพยากรที่ใช้ใน พื้น ที่เ กิด เหตุ และทรัพ ยากรในอาคารสถานที่ ในระหว่ า งการด าเนิ น การกระบวนการดัง กล่ า วนี้ ทรัพยากรต่าง ๆ จะได้รบั การบูรณะซ่อมแซม ทาให้สมบูรณ์ใหม่ กาจัดทิง้ และ/หรือปลดระวาง การถอนกาลัง คือ การส่งทรัพยากรที่ใช้ในการจัดการและตอบโต้เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นกลับคืน ที่ตงั ้ และสถานะเดิมอย่างเป็ นระเบียบ ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าการถอนกาลังทรัพยากร สามารถทีจ่ ะกระทาได้ในช่วงใดช่วงหนึ่งของการจัดการเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ ก็ตาม แต่ควรต้องเริม่ ลงมือ โดยเร็วที่สุดเพื่อความสะดวกในการรับการตรวจสอบ การดาเนินกระบวนการถอนกาลังควรต้องมีการ ประสานงานกันระหว่างฝ่ายปฏิบตั งิ านในพื้นที่ท่เี กิดเหตุกบั ฝ่ายระบบการประสานงานระหว่างองค์กร เพือที่จะมอบหมายหน้ าที่ใ ห้ใหม่ และเพื่อที่จะจัดลาดับความสาคัญของความต้องการใช้ทรัพยากรใน ระหว่างการถอนกาลังถ้าหากมีความจาเป็ น
55
หน่ วยถอนกาลัง (Demobilization Unit) ซึง่ ขึน้ อยู่กบั ส่วนแผนงาน (Planning Section) เป็ น หน่วยรับผิดชอบในการจัดทาแผนการถอนกาลังจากพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ (Incident Demobilization Plan) และ ระบุขอ้ แนะนาในการถอนกาลังไว้ในแผนดังกล่าวซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของแผนเผชิญเหตุ การวางแผนและ กระบวนการถอนกาลังควรต้องรวมถึงการกาหนดเงื่อนไขทีจ่ ะช่วยให้การส่งทรัพยากรกลับคืนสู่ทต่ี งั ้ และ สถานที่เ ดิมที่มคี วามปลอดภัย และรวมการแจ้งให้ทราบถึงการส่ งคืน การถอนกาลังควรต้อ งรวมถึง กระบวนการติดตามทรัพยากร และกระบวนการชาระเงินคืนทีเ่ หมาะสม นอกเหนือจากนี้ เอกสารต่าง ๆ เกีย่ วกับการขนส่งทรัพยากรควรต้องเก็บรวบรวมและรักษาไว้เพื่อใช้ประกอบการเบิกคืนในกรณีทเ่ี บิกคืน ได้ เงือ่ นไขในการถอนกาลังอาจจาเป็นต้องเป็นไปตามข้อกาหนดทีเ่ ฉพาะเจาะจงขององค์กร (ก) ทรัพยากรที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ (Nonexpendable Resources) ทรัพยากรทีส่ ามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ (เช่น บุคลากร รถดับเพลิงและเครื่องมือทีท่ นทาน) เป็ น องค์ประกอบหลักทัง้ ในช่วงทีก่ าลังเกิดเหตุฉุกเฉินและเพื่อส่งกลับคืนองค์กรต้นสังกัด หลังจากนัน้ องค์กร ที่เป็ นต้นสังกัดหรือเจ้าของจะดาเนินการฟื้ นฟูสมรรถนะในการทางานของทรัพยากรให้กลับสู่สภาพที่ สมบูรณ์เพื่อให้มคี วามพร้อมที่จะใช้งานในการระดมครัง้ ต่อไป ทรัพยากรรายการใดที่เสียหายหรือสูญ หายไปจะต้องจัดซือ้ จัดหามาแทนทีผ่ ่านขัน้ ตอนการจัดหาใหม่ทเ่ี หมาะสม โดยองค์กรทีร่ บั ผิดชอบในการ ทารายการพัสดุท่จี ดั ซื้อจัดหาทรัพยากรที่จาเป็ นในการจัดการเหตุฉุกเฉินหรือโดยองค์กรที่ระบุไว้ใ น ข้อตกลง เป็ นเรื่องทีส่ าคัญยิง่ ทีจ่ ะต้องฟื้นฟูสมรรถนะของทรัพยากรในสถานทีป่ ฏิบตั งิ านให้กลับสู่สภาพ ที่สมบูรณ์และพร้อมที่จะใช้งานในการระดมครัง้ ต่อไป ในกรณีของทรัพยากรมนุ ษย์ (เช่น คณะทางาน จัดการเหตุฉุกเฉิน (Incident Management Team) ควรต้องมีเวลาพักผ่อนและฟื้นตัวอย่างเพียงพอ อาชีวอนามัยและสุขภาพของบุคลากรด้านการจัดการสภาวะฉุกเฉิน/การปฏิบตั กิ ารตอบโต้ ควรต้องได้รบั การดูแลรักษา รวมถึงการติดตามตรวจสอบผลกระทบแบบทันทีทนั ใดหรือในระยะยาวของเหตุฉุกเฉินทีม่ ี ต่อบุคลากรดังกล่าว (แบบเรือ้ รังและเฉียบพลัน) (ข) ทรัพยากรที่ไม่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ (Expandable Resources) ทรัพยากรที่ไม่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ อย่างเช่น น้ า อาหาร น้ ามันเชื้อเพลิง และวัสดุท่ี ใช้ได้เพียงครัง้ เดียวอื่น ๆ จะต้องมีการชีแ้ จงหรือยืนยันว่านาไปใช้จานวนมากน้อยเพียงใด องค์กรทีท่ า หน้าทีจ่ ดั การเหตุฉุกเฉินจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับทรัพยากรประเภทนี้ตามทีไ่ ด้รบั มอบอานาจตาม สัญญาทางการเงินทีด่ าเนินการโดยองค์กรด้านการเตรียมความพร้อม การจัดหาทรัพยากรทีไ่ ม่สามารถ นากลับมาใช้ใหม่มาเพิม่ เติมสามารถกระทาได้ในช่วงทีม่ กี ารจาหน่ ายทรัพยการทีม่ อี ยู่ออกไป ทรัพยากร ที่ส่งคืนที่อ ยู่ในสภาพที่ไม่สามารถจะซ่อมแซมได้ไม่ว่าจะเป็ นทรัพยากรที่ส ามารถหรือไม่ส ามา รถนา กลับมาใช้ใหม่ได้จะต้องแจ้งเป็นทรัพยากรส่วนเกินความจาเป็นตามกฎข้อบังคับและนโยบายทีก่ าหนดไว้ ของขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ หน่ วยงานหรือองค์กรทีค่ วบคุมดูแล มีการหมายเหตุไว้ใน กระบวนการฟื้ นฟูทรัพยากรเป็ นกรณีพเิ ศษสาหรับการจัดการกากของเสียว่าเป็ นทรัพยากรทีต่ ้องได้รบั
56
การจัดการและการกาจัดเป็ นกรณีพเิ ศา (เช่น กากของเสียทางชีวภาพและวัสดุปนเปื้อน ซากสลักหักพัง และเครือ่ งมือปนเปื้อน) ตามกฏข้อบังคับและนโยบายทีก่ าหนดไว้ 6. ชาระเงิ นคืน การชาระเงินคืนได้กาหนดกลไกในการชดใช้งบประมาณที่ใช้จ่ายในการจัดการเหตุฉุ กเฉินที่ เกิดขึน้ กระบวนการในการชดใช้เงินคืนมีบทบาทสาคัญในการสร้างและการดารงรักษาความพร้อมใช้ของ ทรัพยากรและควรต้องกาหนดกระบวนการดังกล่าวนี้เอาไว้เพื่อทาให้มนใจว่ ั ่ าฝ่ายที่ให้ความช่วยเหลือ ด้านทรัพยากรจะได้รบั การชดใช้คนื ทันเวลา กระบวนการดังกล่าวควรต้องรวมถึงการเก็บรวบรวมใบเสร็จ การตรวจสอบค่าใช้จา่ ยเปรียบเทียบกับขอบเขตของงาน การสร้างความมันใจว่ ่ าเจ้าหน้าทีท่ เ่ี หมาะสมเข้า มามีส่วนเกี่ยวข้องและการเข้าถึงโครงการการชาระเงินคืน กลไกในการชาระเงินคืนควรต้องได้รบั การ ผนวกไว้ในแผนการเตรียมความพร้อม ในข้อตกลงว่าด้วยการช่วยเหลือซึง่ กันและกันและในข้อตกลงว่า ด้วยการให้ความช่วยเหลือ ทรัพยากรบางอย่างที่ส่งกลับคืนอาจจะหรืออาจจะไม่ได้รบั เงินชดเชย ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั ข้อตกลงทีก่ าหนดไว้ก่อนเกิดเหตุฉุกเฉิน 7. จัดทาบัญชีพสั ดุคงคลัง การบริหารจัดการทรัพยากรใช้ระบบบริหารทรัพยากรคงคลังต่าง ๆ เพื่อที่จะประเมินความมี พร้อมของทรัพยการทีข่ อบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบจะมอบให้ใช้ปฏิบตั งิ าน องค์กรด้านการ เตรียมความพร้อมควรต้องจัดทาบัญชีพสั ดุคงคลังและรักษาข้อมูลปจั จุบนั ของทรัพยากรที่มอี ยู่พร้อม หลัง จากนัน้ ศู น ย์ป ระสานงาน/ศู น ย์จ ดั ส่ ง และศู น ย์ป ฏิบ ัติก ารฉุ กเฉิ น และองค์ก รภายใต้ร ะบบการ ประสานงานเชิงระบบพหุภาคีสามารถใช้บริการข้อมูลดังกล่าวได้ ทรัพยากรทีร่ ะบุไว้ในบัญชีพสั ดุค งคลัง ไม่ได้เป็นเครือ่ งบ่งชีว้ ่าสามารถจะนาเอาไปใช้ได้โดยอัตโนมัติ ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ และ/หรือผูเ้ ป็นเจ้าของทรัพยากรจะเป็นผูว้ นิ ิจฉัยสังการขั ่ น้ สุดของความพร้อมใช้ของทรัพยากร ระบบพัสดุคงคลังสาหรับการบริหารจัดการทรัพยากรควรต้องสามารถดัดแปลงและปรับเปลีย่ น ขนาดได้ และควรต้องสามารถแก้ไขปญั หาการนับตัวเจ้าหน้าที่ และ/หรือเครือ่ งมือซ้าซ้อนทีอ่ าจจะเกิดขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การสรุปยอดรวมของทรัพยากรควรต้องแสดงให้เห็นอย่างชั ดเจนหากมีการนับตัว เจ้าหน้ าที่ซ้ากันระหว่างศูนย์รวมทรัพยากรต่ าง ๆ การจัด ทาบัญ ชีรายชื่อ บุค ลากรควรต้อ งแสดงใน ลักษณะทรัพยการเดีย่ ว (Single Resource) ทีม่ คี วามชานาญหลายด้าน เพื่อเป็ นการป้องกันไม่ให้ยอด รวมทัง้ สิน้ ของทรัพยากรมีจานวนเกินความเป็ นจริง ตัวอย่างเช่น พนักงานดับเพลิงจานวนมากมีหนังสือ รับรองว่าเป็ นเจ้าหน้ าที่กู้ชพี ฉุ กเฉินด้วย (Emergency Medical Technician) ดังนัน้ ในการสรุปยอด ทรัพยการสามารถที่จะนับพนักงานดับเพลิงเหล่านัน้ เป็ นพนักงานดับเพลิงหรือนับเป็ นเจ้าหน้าที่กู้ชพี ฉุกเฉินอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านัน้ แต่จะต้องไม่นบั เป็นทัง้ สองอย่าง จานวนรวมทัง้ สิน้ ควรต้องแสดงให้เห็น ถึงจานวนบุคลากรทีพ่ ร้อมสังใช้ ่ งาน ไม่ใช่ผลรวมของจานวนพนักงานดับเพลิงและเจ้าหน้าทีก่ ู้ชพี ฉุ กเฉิน ทัว่ ๆ ไป
57
ทรัพยากรที่สามารถจัดส่งไปใช้งานมีระบบการจัดการพัสดุคงคลัง การสังซื ่ ้อสังจ้ ่ าง และประวัติ การใช้งานด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ท่แี ตกต่างกัน ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั งานหลักทีไ่ ด้รบั มอบหมายในระหว่าง ขัน้ ตอนการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ การวางแผนการใช้ทรัพยากร การจัดทาบัญชีพสั ดุคงคลังและการติดตาม ตรวจสอบควรต้องคานึงถึงหรือยอมรับความแตกต่างขัน้ พื้นฐานของการจัดเตรียมเพื่อใ ช้ในช่วงการ ปฏิบตั ิการตอบโต้ และเพื่อใช้ในระยะการฟื้ นฟูบูรณะ การจัดเตรียมเพื่อใช้ในระยะปฏิบตั ิการตอบโต้ ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่ก ับข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน และข้อตกลงว่าด้ว ยการให้ความ ช่วยเหลือ ในขณะทีก่ ารจัดเตรียมทรัพยากรเพื่อใช้ในระยะการฟื้ นฟูบูรณะจะได้มาจากการทาสัญญากับ องค์กรพัฒนาเอกชน และ/หรือองค์กรภาคเอกชน ก. การทวนสอบเพื่อรับรอง (Credentialing) กระบวนการทวนสอบเพื่อรับรองครอบคลุมการตรวจสอบและการประเมินภาวะความเป็ นจริง และกระบวนการจัดทาเอกสารอ้างอิงที่เป็ นปจั จุบนั ของแต่ละบุคคล เช่น ประกาศนียบัตร ใบอนุ ญาต หรือปริญญาบัตร รวมถึงคุณสมบัตติ ่างๆ เช่น การผ่านการฝึ กอบรมและประสบการณ์ ; ความสามารถ และความจัดเจน เพื่อให้ตรงกับมาตรฐานที่เป็ นที่ยอมรับในระดับประเทศ และเพื่อให้มนใจว่ ั ่ าสามารถ ให้บริการ และ/หรือทาหน้ าที่นัน้ ๆ ได้ หรือ สามารถปฏิบตั ิภารกิจเฉพาะเจาะจงภายใต้สถานการณ์ จาเพาะระหว่างเกิดเหตุการณ์ได้ สาหรับจุดประสงค์ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติแล้ว การทวนสอบเพื่อออกหนังสือ รับรองเป็ นกระบวนการบริหารจัดการเพื่อตรวจสอบคุณสมบัตขิ องเจ้าหน้าทีแ่ ละเพื่อให้สทิ ธิและอนุ ญาต ให้ปฏิบตั หิ น้าที่เฉพาะเจาะจง และเพื่อให้มกี ารเข้าถึงข้อตกลงให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการ จัดการเหตุฉุกเฉินเป็นการเฉพาะ รูปที่ 3. แสดงถึงขัน้ ตอนของกระบวนการทวนสอบเพื่อออกหนังสือรับรองภายใต้ระบบการจัดการเหตุ ฉุกเฉินแห่งชาติ ซึง่ แนะนาโดยศูนย์บรู ณาการแห่งชาติ เมือ่ ได้รบั การร้องขอความช่วยเหลือ กระทรวงหรือหน่วยงานทีจ่ ะให้การสนับสนุ นจะต้องประเมิน ขีดความสามารถของตนเพื่อให้มนใจว่ ั ่ าการสูญเสียทรัพยากรจากการทีจ่ ะส่งมอบให้ฝ่ายที่รอ้ งขอมา จะ ไม่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการปฏิบตั ภิ ารกิจของตนเองด้วยทรัพยากรที่เหลืออยู่ (เช่น แผนก ดับเพลิงแห่งหนึ่งสามารถอนุญาตให้นาร้อยละ 20 ของอุปกรณ์และพนักงานดับเพลิงไปใช้และปฏิบตั งิ าน ในขอบเขตอ านาจหน้ าที่แ ละพื้นที่รบั ผิดชอบอื่นเป็ นเวลา 30 วัน และหน่ ว ยดับเพลิงดังกล่ าว ยังคง สามารถทีจ่ ะปฏิบตั ภิ ารกิจตอบสนองความต้องการของชุมชนทีต่ นเองรับผิดชอบได้ตามปกติหรือไม่) ถ้าหากกระทรวงหรือ หน่ ว ยงานที่ใ ห้ก ารสนับสนุ น ตัด สิน ใจว่าตนเองสามารถที่จ ะสนับ สนุ น ทรัพยากรตามจานวนทีร่ อ้ งขอเพื่อนาไปใช้งานได้แล้ว ขัน้ ตอนต่อไป หน่ วยงานสนับสนุ นแต้องกาหนด ตัวบุคคลโดยจาเพาะเจาะจงที่จะส่งไปฏิบตั ภิ ารกิจ แล้วจึงยื่นใบสมัครของบุคคลทีไ่ ด้คดั เลือกเพื่อส่งไป
58
ปฏิบตั ิงานแต่ละคนต่อหน่ วยงานที่มอี านาจในการทวนสอบเพื่อรับรอง ซึ่งหน่ วยงานที่มอี านาจหน้ าที่ ในการออกหนังสือรับรองของรัฐเป็นผูก้ าหนด และเป็นหน่วยงานทีจ่ ะให้ความช่วยเหลือได้ หน่ ว ยงานที่มอี านาจในการทวนสอบเพื่อ รับ รองดาเนิ นการตรวจสอบประเมินใบสมัค รของ ผูส้ มัครแต่ละคนว่ามีคุณสมบัตติ รงตามเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้สาหรับตาแหน่ งตามภารกิจหรือไม่ ใบสมัครใด ทีห่ น่ วยงานทีม่ อี านาจในการทวนสอบเพื่อรับรองตัดสินว่าไม่ผ่านเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้จะถูกส่งกลับคืนไป ยังกระทรวงหรือหน่ วยที่อ่ ืน และอาจจะยื่นกลับมาใหม่พร้อ มทัง้ แนบเอกสารอ้างอิงเพิม่ เติมหรื อ เมื่อ คุณสมบัตขิ องผู้สมัครเปลี่ยนแปลง ส่วนใบสมัครที่ผ่านความเห็นชอบจากหน่ วยงานที่มอี านาจในการ ทวนสอบเพื่อรับรอง จะมีการดาเนินการตามขัน้ ตอนดังต่อไปนี้ • กระทรวงหรือหน่วยงานต้นสังกัดของผูส้ มัครจะได้รบั การแจ้งให้ทราบ • การบันทึกข้อมูลประวัตผิ ู้สมัครที่ผ่านความเห็นชอบแต่ละบุคคลลงในฐานข้อมูลการผ่านการ รับรองของทางราชการ • การออกบัตรประจาตัวหรือหนังสือรับรองให้กบั แต่ละบุคคล (บัตรประจาตัวหรือหนังสือรับรอง ควรต้องระบุวนั หมดอายุ และการออกให้ใหม่ตามความเหมาะสม) • การย้ายข้อมูลเกีย่ วกับผูส้ มัครไปยังอุปกรณ์การจัดเก็บข้อมูลสาหรับการบริหารจัดการ เหตุ ฉุกเฉิน ในขณะทีร่ ะบบการทวนสอบออกหนังสือรับรองครอบคลุมถึงการออกบัตรประจาตัวหรือเอกสาร รับรอง แต่ระบบดังกล่าวนี้แยกออกจากและแตกต่างไปจากกระบวนการติดเครื่องหมายหรือสัญญลักษณ์ เมือ่ การผ่านเข้าไปในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุถูกควบคุมโดยการติดสัญญลักษณ์พเิ ศษ กระบวนการติดเครื่องหมาย หรือ สัญ ญลักษณ์จะยึดวิธกี ารตรวจสอบตัวตน คุณสมบัติ และการได้รบั อนุ ญาตให้เ ข้าไปปฏิบตั ิงาน เป็นหลัก องค์กรที่ใช้อาสาสมัครโดยเฉพาะอย่างยิง่ อาสาสมัครที่เกิดขึ้นแบบฉับพลัน ต้องรับผิดชอบใน การสร้างความมันใจในการมี ่ สทิ ธิเข้าร่วมปฏิบตั ิการตอบโต้ของอาสาสมัครเหล่านี้ ส่วนองค์กรต่างๆ ดัง ต่ อ ไปนี้ - หน่ ว ยงานของรัฐ บาลซึ่ง รับ ผิด ชอบในการประสานปฏิบ ัติก ารตอบโต้ส ภาวะฉุ ก เฉิ น หน่ วยงานที่ทาหน้าที่บริหารจัดการอาสาสมัคร (เช่น สภากาชาด ระบบเร่งด่วนสาหรับการลงทะเบียน ล่ว งหน้ าของอาสาสมัครผู้ประกอบโรคศิลป์ หน่ วยแพทย์สารอง ฯลฯ) และผู้ท่จี ะใช้อาสาสมัค ร (ช่น โรงพยาบาล หน่ วยตารวจและหน่ วยดับเพลิง ฯลฯ) – จะต้องจัดทาระเบียบปฏิบตั หิ รือเกณฑ์วธิ ใี นการ ปฏิบตั งิ านของอาสาสมัครและการใช้อาสาสมัคร จาเป็ นต้องมีการประสานงานด้วยความระมัดระวังเพื่อ สร้างความมันใจว่ ่ าการปฏิบตั งิ านให้บริการไม่ถูกขัดขวางโดยประเด็นความปลอดภัยที่ยงั ไม่ได้แก้ไข การคานึงถึงความมันคง ่ หรือประเด็นทางกฎหมาย หรือระเบียบบังคับ
59
รูปภาพ 3 : กระบวนการทวนสอบเพื่อออกหนังสือรับรองเจ้าหน้ าที่ที่แนะนาโดยระบบการจัดการ เหตุฉุกเฉิ นแห่งชาติ กระทรวง/หน่วยงาน ตัดสินใจเข้าร่วมปฏิบตั กิ าร กระทรวง/หน่วยงาน คัดเลือกสมาชิกทีจ่ ะเข้าร่วม ปฏิบตั กิ าร กระทรวง/หน่วยงาน ยืน่ ใบสมัครของแต่ละบุคคล ต่อหน่วยงานทีม่ อี านาจในการ ทวนสอบเพื่อรับรอง ขาดคุณสมบัติ สมัครใหม่เมือ่ มี คุณสมบัตคิ รบ มีคุณสมบัตคิ รบ
มีคุณสมบัตคิ รบถ้วนหรือไม่ การตรวจสอบองค์กรทีม่ ี อานาจในการทวนสอบเพื่อ รับรองโดยบุคคลทีส่ าม
บันทึกข้อมูลและการ ปรับฐานข้อมูลให้ เป็ นปจั จุบนั
องค์กรทีม่ อี านาจในการ รับรองลงมือดาเนินการ
ตอกบัตร/บัตร ประจาตัว และออกบัตร ให้ใหม่เป็นครัง้ คราว
กระทรวง/หน่วยงาน ได้รบั แจ้ง
ถ่ายโอนข้อมูลไปยัง อุปกรณ์จดั เก็บข้อมูล สาหรับการบริหาร จัดการ
ข. การกาหนดและการจาแนกประเภททรัพยากร (Identifying and Typing Resources) การจาแนกประเภททรัพยากร คือการจัดมหวดหมู่ทรัพยากรตามสมรรถนะทรัพยากรที่รอ้ งขอ ทรัพยากรที่เตรียมจัดส่งไปให้ใช้ และจัดตามลักษณะการใช้งาน มาตรฐานที่สามารถวั ดได้ท่นี ามาใช้ กาหนดระดับสมรรถนะและประสิทธิภาพของทรัพยากร สามารถนามาใช้เป็ นฐานในการจัดหมวดหมู่ได้ ผู้ใ ช้ทรัพ ยากรในทุก ระดับใช้มาตรฐานเหล่านี้กาหนดและทาบัญชีค งคลังทรัพยากรต่ าง ๆ ชนิดของ
60
ทรัพยากรอาจแบ่งออกเป็ นหมวดหมู่ย่อย ๆ เพื่อจะให้สามารถกาหนดสมรรถนะได้อย่างแม่นยายิง่ ขึ้น ซึ่งเป็ นสิ่งที่จาเป็ นส าหรับการตอบสนองความต้องการที่เฉพาะเจาะจงของผู้ใช้ การจาแนกประเภท ทรัพยากรเป็ นกระบวนการต่อเนื่องที่กาหนดขึ้นมาให้ง่ายต่อการปฏิบตั ิมากที่สุดเท่าที่เป็ นไปได้ การ จาแนกประเภททรัพ ยากรช่ ว ยอ านวยความสะดวกในการใช้บ่อ ยและช่ ว ยให้ก าร ได้ร บั ทรัพยากรที่ ต้องการถูกต้องแม่นยา การยินยอมให้มกี ารจัดเตรียมทรัพยากรเพื่อนาไปใช้งาน และการใช้ทรัพยากรใน ระดับประเทศนัน้ ศูนย์บูรณาการแห่งชาติ (ด้วยการสนับสนุ นจากรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่ า พื้น เมือ งอเมริก ัน รัฐ บาลท้อ งถิ่น ภาคเอกชน องค์ก รพัฒ นาเอกชน และองค์ก รผู้ป ระกอบวิช าชีพ แห่งชาติ) รับผิดชอบในการอานวยความสะดวกในการพัฒนาและจัดทามาตรฐานการจาแนกประเภท ทรัพยากรระดับชาติ และสร้างความมันใจว่ ่ าทรัพยากรทีม่ กี ารจาแนกประเภทเหล่านี้จะสะท้อนให้เห็นถึง สมรรถนะในการปฏิบตั ภิ ารกิจของทรัพยากรดังกล่าว (1) หมวดหมู่ (Category) การจัดหมวดหมู่จ ะช่ว ยให้ก ารใช้ประโยชน์ จ ากทรัพยากรได้มากที่สุ ด ตาราง 2 ลงรายการ ตัวอย่างของวิธกี ารจัดหมวดหมูท่ ใ่ี ช้ในการจาแนกประเภททรัพยากรในระดับชาติ ตาราง 2 ตัวอย่างการจาแนกหมวดหมู่สาหรับการจัดประเภททรัพยากรในระดับชาติ • การขนส่ง • การสื่อสาร • โยธาธิการและวิศวกรรม • การดับเพลิง • ข่าวสารและการวางแผน • การบังคับใช้กฎหมายและ ความมันคง ่ • การดูแลรักษาผูป้ ว่ ย จานวนมาก • การจัดการทรัพยากร
• สาธารณสุขและการแพทย์ • การค้นหาและกูช้ พี • การตอบโต้เหตุฉุกเฉินกรณี วัตถุอนั ตราย • อาหารและน้ า • พลังงาน • ข่าวสารสาธารณะ • ประเด็นเกี่ยวกับสัตว์และ การเกษตร • อาสาสมัครและการบริจาค
(2) ชนิ ด ชนิ ด หมายถึงการจัดกลุ่ มแบบกว้า ง ๆ ส าหรับ ทรัพ ยากรที่มลี ักษณะเหมือ นกัน อย่า งเช่ น คณะทางาน บุคลากร เครือ่ งมือ วัสดุสน้ิ เปลือง ยานพาหนะ และเครือ่ งบิน (ก) ส่วนประกอบ
61
ส่วนประกอบ หมายถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เป็ นส่วนหนึ่งของทรัพยากร ตัวอย่างเช่น บริษัท เครือ่ งกลอาจจะจัดทารายการว่ามีส่วนประกอบ 8 อย่าง ตามทีแ่ สดงไว้ในตาราง 3 ตาราง 3 ตัวอย่างทรัพยากรพร้อมกับส่วนประกอบหลายอย่าง (บริ ษทั รถดับเพลิ ง) ั ้ ้า (1) ปมน (2) สายส่งน้ าขนาด 2½” (3) สายส่งน้ าขนาด 1¾” (4) เครือ่ งมือช่าง
(5) ถังน้า (6) บันได (7) หัวฉีดน้าแรงดันสูง (8) พนักงาน
อีกตัวอย่างหนึ่ง : ทีมเจ้าหน้าที่คน้ หาและกู้ภยั ในเขตเมือง ซึง่ ประกอบด้วยทีมผู้ปฏิบตั ิ จานวน 31 คน จานวน 2 ทีม สุนขั กูภ้ ยั 4 ตัว และกล่องเครื่งมืออุปกรณ์ครบชุด กล่องเครื่องมืออุปกรณ์แบ่งออกเป็ นห้า ชุดแต่ละชุดจะลงรหัสต่างกันและจัดเก็บไว้ในหีบบรรจุ (ข) หน่ วยการวัด หน่ วยการวัด คือมาตรฐานที่ใช้กาหนดสมรรถนะ และ/หรือประสิทธิภาพ หน่ วยการวัดจาเพาะ ทีน่ ามาใช้จะขึน้ อยู่กบั ประเภทของทรัพยากรทีไ่ ด้รบั การจาแนกและภารกิจทีค่ าดคิดเอาไว้ หน่ วยการวัด ที่ก าหนดขึ้น จะเป็ น ประโยชน์ ใ นการอธิบ ายถึง สมรรถนะของทรัพ ยากรในการสนั บ สนุ น ภารกิจ ดังตัวอย่างเช่น หน่วยการวัดของทีมปฏิบตั กิ ารช่วยเหลือด้านการแพทย์ คือจานวยผูป้ ่วยทีท่ มี ปฏิบตั กิ าร สามารถรักษาได้ต่อวัน หน่ วยการวัดที่เหมาะสมสาหรับสายส่งน้ าดับเพลิงอาจจะเป็ นจานวนแกลลอน ของน้าทีไ่ หลผ่านต่อชัวโมง ่ (3) ประเภท ประเภท หมายถึงระดับสมรรถนะของทรัพยากร การทาเครื่องหมายว่าเป็ น ทรัพยากรประเภท 1 แสดงว่าทรัพยากรนัน้ มีระดับสมรรถนะสูงกว่าทรัพยากรประเภทเดียวกันทีท่ าเครื่องหมายเป็ นทรัพยากร ประเภท 2 (ตัวอย่างเช่น เนื่องมาจากความแตกต่างกันในด้านขนาด ประสิทธิภาพ และสมรรถนะ) และ อื่น ๆ จนถึงประเภท 4 การจาแนกประเภททาให้ผบู้ ริหารจัดการได้รบั ข้อมูลเพิม่ เติมเพื่อช่วยในการเลือก ทรัพยากรและการใช้งานให้เป็ นประโยชน์มากทีส่ ุด ในบางกรณีประเภททรัพยากรอาจจะมีน้อยกว่าหรือ มากกว่า 4 ประเภท ในกรณีดงั กล่าวนี้ ประเภททีเ่ พิม่ ขึน้ มาจะได้รบั การระบุ หรือจะได้รบั การอธิบายว่า “ไม่มขี อ้ มูล” การกาหนดประเภททรัพยากร หรือองค์ประกอบจะใช้ระดับต่ าสุดของสมรรถนะซึง่ ระบุโดย ั่ หน่ ว ยการวัด ที่ก าหนดขึ้นส าหรับ ทรัพ ยากรนัน้ ๆ เป็ น ฐาน ตัว อย่า งเช่ น หน่ ว ยป้อ งกันชายฝ งของ สหรัฐอเมริกาได้จาแนกประเภทเครือ่ งแยกน้ามันออกจากน้าโดยใช้จานวนบาร์เรลต่อวันตามทีแ่ สดงไว้ใน ตาราง 4 ตาราง 4 ตัวอย่างของทรัพยากรที่มีหลายประเภท
62
(เครื่องแยกน้ามันออกจากน้าของหน่ วยป้ องกันชายฝัง)่ ประเภท 1 9,600 บาร์เรล/วัน
ประเภท 3
430 บาร์เรล/วัน
(4) ข้อมูลเพิ่ มเติ ม ประเภท 2 2,880 บาร์เรล/วัน ประเภท 4 ไม่มขี อ้ มูล ระเบีย บปฏิบ ัติใ นการจ าแนกประเภททรัพ ยากรแห่ ง ชาติย งั ช่ ว ยให้ส ามารถใช้ข้อ มูล เพิ่ม ที่ เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเรื่องทรัพยากร ตัวอย่างเช่น ถ้าหากมีทรัพยากรที่จาเพาะเจาะจงอยู่ชุดหนึ่งที่ สามารถจัดส่ ง ไปสนับสนุ น ปฏิบ ัติก ารตอบโต้เ หตุ ฉุ ก เฉิ น ได้ ภายใต้ข้อ จ ากัดของอ านาจหน้ าที่ห รือ กฎหมายใด ๆ เป็ นการเฉพาะ ควรต้องแจ้งให้ฝา่ ยต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องได้รบั ทราบถึงข้อจากัดดังกล่าว
63
องค์ประกอบ 4 : การบัญชาการและการจัดการ องค์ประกอบอื่น ๆ ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติทไ่ี ด้กล่าวถึงไปก่อนหน้านี้ - การ เตรียมพร้อมการสื่อสารและการบริหารจัดการสารสนเทศและการบริหารจัดการทรัพยากร – ได้กาหนด กรอบโครงสร้างที่ท าให้เ กิดอ านาจในการสังการการปฏิ ่ บตั ิการตอบโต้ท่ีชดั เจน ท าให้ การได้ม าซึ่ง ทรัพยากรสะดวกขึน้ และช่วยให้การจัดการเหตุการณ์มปี ระสิทธิภาพในระหว่างปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุ ฉุ กเฉิน ระบบการบัญชาการ ระบบการประสานงานแบบพหุภาคีและระบบข้อมูลสาธารณะล้วนแล้วแต่ เป็นส่วนประกอบขัน้ พืน้ ฐานของการจัดการเหตุฉุกเฉิน ส่วนประกอบเหล่านี้ช่วยสร้างความเป็ นมาตรฐาน โดยการใช้คาศัพท์มาตรฐานเฉพาะอย่างสอดคล้องและคงเส้นคงวาและผ่านโครงสร้างองค์กรทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ การจัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้หมายถึงความหลากหลายของกิจกรรมและองค์กรทีท่ า ให้เ กิดการปฏิบตั ิก าร การประสานงานและการสนับสนุ นที่มปี ระสิทธิภ าพและประสิท ธิผ ล โดยการ แยกแยะแล้ ว การจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น รวมถึง การก ากับ ดู แ ล การปฏิบ ัติก ารตอบโต้ เ หตุ ฉุ ก เฉิ น ที่ เฉพาะเจาะจง ; การจัดหา การประสาน และการจัดส่งทรัพยากรไปยังสถานที่เกิดเหตุ ; และการใช้ สารสนเทศเกีย่ วกับเหตุฉุกเฉินร่วมกับสาธารณะชน เมื่อนามาโยงใยกัน ส่วนประกอบต่าง ๆ เหล่านี้ของ การบัญชาการและการจัดการเป็ นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของการจัดการเหตุการณ์ท่เี ห็นได้ชดั เจนที่สุด ซึง่ โดยปกติจะต้องดาเนินการอย่างเร่งด่วน องค์ประกอบที่ 4 จะบรรยายถึงระบบที่นามาใช้เพื่อช่วยให้ การบัญชาการและการจัดการเหตุฉุกเฉินมีความสะดวกและง่ายขึน้
ก. ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ ส่วนใหญ่จะได้รบั การจัดการในพืน้ ทีแ่ ละโดยปกติแล้ว ศูนย์การสื่อสาร/ศูนย์ มอบหมายงานและจัดส่ งทรัพ ยากรไปปฏิบตั ิงาน และเจ้าหน้ าที่ด้านการจัดการเหตุฉุ กเฉิน/ด้านการ ปฏิบ ัติก ารตอบโต้ใ นพื้น ที่เ ป็ น ผู้ดาเนิ น การภายในขอบเขตอ านาจหน้ า ที่แ ละพื้น ที่ร บั ผิด ชอบเพีย ง ขอบเขตเดียว การปฏิบตั กิ ารตอบโต้ส่วนใหญ่ไม่มคี วามจาเป็ นต้องปฏิบตั กิ ารข้ามเขต ส่วนในกรณีอ่นื ๆ ที่มกี ารปฏิบตั กิ ารตอบโต้เริม่ ขึน้ โดยหน่ วยงานเพียงหน่ วยเดียวภายในขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่ รับผิดชอบเพียงขอบเขตเดียวได้ขยายสู่ระดับสหสาขาวิชาชีพ และเกี่ยวข้องกับหลายขอบเขตอานาจ หน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ ซึ่งจาเป็ นต้อ งใช้ทรัพยากรเพิ่มเติมจานวนมากและจาเป็ นต้องได้รบั การ สนับสนุ นในการปฏิบตั กิ าร ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ได้กาหนดกลไกหลักทีม่ คี วามยืดหยุ่นสาหรับ การจัดการเหตุฉุกเฉินที่จาเป็ นต้องมีการประสานงานและการปฏิบตั ภิ ารกิจร่ว มกัน ไม่ว่าเหตุฉุกเฉินที่ เกิดขึน้ นัน้ จาเป็ นต้องใช้ทรัพยากรเพิม่ เติม หรือจาเป็ นต้องได้รบั การสนับสนุ นทรัพยากรจากองค์กรต่าง ๆ ภายในขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบหรือจากนอกขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ
64
และสาหรับเหตุฉุกเฉินทีม่ ลี กั ษณะซับซ้อนและมีนยั ทีจ่ ะส่งผลกระทบในระดับประเทศ (การเกิดโรคติดต่อ ที่เกิดขึ้นใหม่ หรือการโจมตีจากการก่อการร้ายทางชีวภาพ) เมื่อเหตุฉุกเฉินที่เ กิดขึ้น เพียงเหตุเดียว ครอบคลุมพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ทม่ี ขี นาดใหญ่ อาจจาเป็ นใช้หน่ วยงานจัดการสภาวะฉุ กเฉินและหน่ วยงาน ตอบโต้เหตุฉุกเฉินท้องถิน่ หลายหน่วยเข้าดาเนินการ “หน่ วยงาน” ทีท่ าหน้าทีต่ อบโต้เหตุการณ์จะได้รบั การระบุว่าเป็นหน่วยงานของรัฐบาล ถึงแม้ว่าในบางสถานการณ์อาจจะมีองค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กร ของภาคเอกชนรวมอยู่ด้วย ในสถานการณ์เช่นนี้การประสานงานข้ามขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่ รับผิดชอบมีความจาเป็นอย่างยิง่ ระบบการบัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ เ ป็ น ระบบการจัด การที่ส ามารถน าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ไ ด้อ ย่ า ง กว้า งขวาง ได้ร ับ การออกแบบมาเพื่อ ให้ส ามารถจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น ได้อ ย่ า งมีป ระสิท ธิภ าพ และ ประสิทธิผล โดยการบูรณาการผสมผสานกันระหว่างสถานที่ทาการ เครื่องมือ บุคลากร ขัน้ ตอนการ ดาเนินงาน และการสื่อสาร เพื่อปฏิบตั ภิ ารกิจภายใต้โ ครงการสร้างอค์กรเดียวกัน ระบบการบัญชาการ เหตุการณ์เป็นรูปแบบการจัดการพืน้ ฐานทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มาในรูปแบบมาตรฐาน โดยมีจุดประสงค์ทจ่ี ะช่วยให้ ผูจ้ ดั การเหตุฉุกเฉินสามารถระบุประเด็นปญั หาหลักหรือความกังวลเกี่ยวกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ - ทีม่ กั อยู่ภ ายใต้เ งื่อ นไขที่เ ร่ง ด่ ว น – โดยไม่ต้ อ งเสีย เวลากับ การทุ่ ม เทความสนใจต่ อ องค์ป ระกอบหนึ่ ง องค์ประกอบใดของระบบการบัญชาการ มีการนาระบบการบัญชาการเหตุการณ์ไปใช้ในการจัดโครงสร้างองค์กร การปฏิบตั กิ ารตอบโต้ เหตุฉุกเฉินหลายหลายประเภทในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ ตัง้ แต่เหตุฉุกเฉินขนาดเล็กไปจนถึงเหตุฉุกเฉินทีม่ คี วาม ซับซ้อนที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติหรือจากมนุ ษ ย์ การปฏิบตั ิการตอบโต้ระดับพื้นที่เ กิดเหตุ เป็ นระดับที่ เจ้าหน้าที่ด้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ดาเนินการตัดสินใจ และปฏิบตั ภิ ารกิจ ตอบโต้เหตุฉุกเฉินหรือสภาวะคุกคามโดยตรง ทรัพยากรจากระดับรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่า พืน้ เมือง และรัฐบาลท้องถิน่ ทีจ่ ะจัดส่งไปให้ใช้เมื่อถึงเวลาที่สมควรนัน้ จะกลายเป็ นส่วนหนึ่งของระบบ การบัญชาการเหตุการณ์ในพืน้ ทีต่ ามทีผ่ มู้ อี านาจหน้าทีใ่ นพืน้ ทีเ่ ป็นผูก้ าหนด ในฐานะที่เป็ นระบบ ระบบการบัญชาการเหตุการณ์มปี ระโยชน์ อย่างยิง่ เนื่องจากไม่เพียงแต่ กาหนดโครงสร้างองค์กรเพื่อการจัดการเหตุฉุกเฉินไว้ให้แล้ว ยังชีน้ ากระบวนการวางแผน การจัด และ การปรับโครงสร้างดังกล่าวด้วย การนาระบบการบัญชาการเหตุการณ์ไปใช้ในการจัดการเหตุฉุกเฉิน ทุกประเภทหรือใช้ในการจัดงานมหกรรมทีม่ กี ารวางแผนไว้ จะช่วยเพิม่ พูนและดารงรักษาความชานาญ ซึง่ เป็นสิง่ ทีจ่ าเป็นในการจัดการและตอบโต้เหตุฉุกเฉินขนาดใหญ่ รัฐบาลทุกระดับ – รัฐบาลกลาง รัฐ ชนเผ่าพื้นเมืองอเมริกนั และท้องถิน่ – รวมถึงองค์กรพัฒนา เอกชนและภาคเอกชนนาเอาระบบการบัญชาการเหตุการณ์ไปใช้ ระบบการบัญชาการเหตุการณ์สามารถ นาไปประยุกต์ใช้ขา้ มวงการวิชาชีพได้ โดยปกติแล้วระบบนี้ได้รบั การจัดทาขึน้ มาเพื่อช่วยให้เกิดความ สะดวกในการด าเนิ น ภารกิจ ที่ส าคัญ 5 ด้า น ซึ่ง ประกอบด้ว ย : การบัญ ชาการ การปฏิบ ัติก าร
65
การวางแผน การสนับสนุ นกาลังบารุง และการเงิน/การบริหารจัดการ การข่าวกรอง/การสืบสวนเป็ น ภารกิจทางเลือกที่ 6 ทีจ่ ะลงมือดาเนินการตามแต่กรณี การดาเนินการก่อการร้ายด้วยอาวุธชีวภาพ อาวุธเคมี รังสี และนิวเคลียร์ อาจจะสร้างปญั หาหรือ สิง่ ท้าทายทีแ่ ตกต่างออกไปต่อโครงสร้างการบัญชาการเหตุการณ์แบบดัง้ เดิม เหตุฉุกเฉินทีไ่ ม่ไ ด้เกิดขึน้ และมีผลกระทบต่อพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใดเป็ นการเฉพาะ และเป็ นเหตุฉุกเฉินที่กระจายครอบคลุมพื้นที่ทาง ภูมศิ าสตร์ หรือมีววิ ฒ ั นาการในช่ว งเวลาที่ยาวนานจะต้องการการประสานงานเพื่อจุดประสงค์พเิ ศษ ระหว่างผู้มสี ่ ว นร่วมซึ่งรวมถึงรัฐบาลทุกระดับ ได้แก่ รัฐบาลกลาง รั ฐ ชนเผาพื้นเมือ งอเมริกัน และ ท้องถิน่ ตลอดจนองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน 1. ลักษณะเฉพาะของการจัดการ ระบบการบัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ ย ึด ลัก ษณะเฉพาะของการจัดการที่ไ ด้รบั การพิสูจน์ แ ล้ว 14 ประการเป็ นหลัก ลักษณะเฉพาะแต่ละประการช่วยเสริมสร้างสมรรถนะและประสิทธิภาพของระบบการ บัญชาการเหตุการณ์โดยรวม (ก) การใช้คาศัพท์มาตรฐานเดียวกัน (Common Terminology) ระบบการบัญชาการเหตุการณ์มาตรฐานเป็ นการเฉพาะทีจ่ ะใช้ร่วมกันเพื่อช่วยให้องค์กรต่าง ๆ ทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบด้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน และองค์กรทีใ่ ห้การสนับสนุ นสามารถปฏิบตั ภิ าระหน้าที่ ข้ามสายงานและสถานการณ์ภยั ที่หลากหลายและแตกต่างกันร่วมกันได้ คาศัพท์มาตรฐานที่ใช้ร่วมกัน ครอบคุลมถึงคาศัพท์มาตรฐานในด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ (1) ภารกิ จและหน่ วยปฏิ บตั ิ ภารกิจหลักและหน่ วยปฏิบตั ิท่จี ดั ตัง้ ขึ้นตามภารกิจหลักเพื่อรับผิดชอบการจัดการเหตุฉุก เฉิน และได้รบั การตัง้ ชื่อ และการนิยามหรือให้คาจากัดความ คาศัพท์มาตรฐานสาหรับส่ วนประกอบของ องค์กรจะเป็นมาตรฐานและคงเส้นคงวาไม่เปลีย่ นแปลง (2) รูปพรรณสันฐานทรัพยากร ทรัพยากรหลัก – รวมถึงบุคลากร สถานทีท่ าการ และเครื่องและวัสดุรายการทีส่ าคัญ - ซึง่ ใช้ใน การสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมการจัดการเหตุฉุกเฉินจะได้รบั การตัง้ ชื่อทีใ่ ช้เรียกขานร่วมกัน และได้รบั ”การจาแนกประเภท“ ตามสมรรถนะ เพื่อช่วยหลีกเลี่ยงความสับสนและเพื่อเพิม่ พูนความสามารถใน การทางานร่วมกัน (3) สถานที่ทาการ/บริ การ มีการนาคาศัพท์มาตรฐานมาใช้ระบุสถานทีต่ ่ าง ๆ ทีต่ งั ้ อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับพืน้ ทีเ่ กิดเหตุท่ี จะใช้ปฏิบตั ภิ ารกิจระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉิน
66
(ข) โครงสร้างองค์กรมีความยืดหยุ่นปรับเปลี่ยนขนาดได้ (Modular Organization) โครงสร้างองค์ก รของระบบการบัญ ชาการเหตุ การณ์ ได้รบั การพัฒนาให้เ ป็ นแบบแยกส่ ว นที่ สามารถปรับเปลีย่ นได้ ขึน้ อยูก่ บั ขนาดและความซับซ้อนของเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ รวมถึงลักษณะจาเพาะ ของภาวะแวดล้อ มของภัย ซึ่งเป็ นผลมาจากเหตุ ฉุกเฉิ นที่เ กิดขึ้น เมื่อ มีค วามจาเป็ นก็ส ามารถจัดตัง้ ส่วนประกอบขององค์กรตามภารกิจขึน้ ได้ ส่วนประกอบดังกล่าวนี้แต่ละส่วนสามารถแบ่งย่ อยออกไปได้ อีก เพื่อเพิม่ ศักยภาพในการบริหารจัดการภายในองค์กร และการประสานงานกับภายนอกองค์กร ความ รับผิดชอบในการจัดตัง้ และการขยายส่วนต่าง ๆ ของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ในขัน้ สุดท้าย เป็ น หน้าทีข่ องหน่ วยบัญชาการ (Incident Command) ซึง่ ยึดความจาเป็ นตามสถานการณ์เ ป็ นหลักในการ จัดรูปแบบองค์กรของการบัญชาการเหตุการณ์ ในขณะที่เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นมีความซับซ้อนเพิม่ ขึ้น องค์ก รนี้จะขยายตัว จากระดับบนสู่ระดับล่ างในระหว่างที่มกี ารมอบหมายหน้ าที่รบั ผิดชอบให้ปฏิบตั ิ พร้อมกันกับทีม่ กี ารขยายตัวด้านโครงสร้าง จานวนตาแหน่ งด้านการจัดการและการควบคุมดูและจะเพิม่ มากขึน้ ด้วย เพื่อตอบสนองความจาเป็นในการปฏิบตั ภิ ารกิจเกี่ยวกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ได้เพียงพอ (ค) การจัดการโดยยึดวัตถุประสงค์เป็ นหลัก (Management by Objective) มีการสื่อสารการจัดการโดยยึดวัตถุประสงค์เป็ นหลักทัวทั ่ ง้ องค์กรการบัญชาการเหตุการณื การ จัดการเหตุฉุกเฉินในลักษณะดังกล่าว ประกอบด้วย • การกาหนดวัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน • การพัฒนากลยุทธ์โดยใช้วตั ถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉินเป็นฐาน • การพัฒนาและการมอบหมายหน้ าที่ การจัดทาแผน การกาหนดขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านและ ระเบียบปฏิบตั ิ • การกาหนดยุทธวิธหี รือภารกิจทีเ่ ฉพาะเจาะจงและสามารถวัดผลได้สาหรับกิจกรรมตามภารกิจ ในการจัดการเหตุฉุกเฉิน และการกากับความพยายามในการดาเนินกิจกรรมดังกล่าวให้ประสบผลสาเร็จ เพื่อเป็นการสนับสนุนส่งเสริมกลยุทธ์ทก่ี าหนดไว้ • การจัดทาเอกสารเกี่ยวกับผลการปฏิบตั ิภารกิจ เพื่อใช้วดั ประสิทธิภาพและเพื่อช่วยให้การ ดาเนินการแก้ไขได้สะดวกและง่ายขึน้ (ง) การวางแผนเผชิ ญเหตุ (Incident Action Planning) การวางแผนเผชิญเหตุจากศูนย์กลางร่วมกัน สามารถช่วยกาหนดทิศทางและควบคุมการดาเนิน กิจกรรมปฏิบตั กิ ารตอบโต้ทงั ้ หมดไป แผนเผชิญเหตุจะระบุวธิ กี ารกระชับและสอดคล้องสาหรับการรับรู้ และการสื่อสารเกี่ยวกับลาดับความสาคัญ วัตถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนยุทธวิธใี นภาพรวมของเหตุ ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ ในบริบทของกิจกรรมการตอบโต้และการสนับสนุ น
67
ควรต้อ งมีแผนเผชิญ เหตุ ส าหรับเหตุ ฉุ กเฉิ นทุกเหตุ อย่า งไรก็ต ามไม่ได้หมายความว่า เหตุ ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมดจาเป็ นต้องใช้แผนเผชิญเหตุทเ่ี ป็ นลายลักษณ์อกั ษร ความจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีแผน ที่เ ป็ นลายลัก ษณ์ อ ัก ษรและสิ่งที่แ นบประกอบมากับแผน จะขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ของเหตุ ฉุ กเฉิ น ที่ เกิดขึน้ และการตัดสินใจของผูบ้ ญ ั ชาการเหตุก ารณ์ (Incident Commander) หรือหน่ วยบัญชาการร่วม (Unified Command) ส่วนใหญ่แล้วการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ในขัน้ ต้นจะไม่ใช้แผนเผชิญเหตุทเ่ี ป็ นทางการ อย่างไรก็ตาม ถ้าหากเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ มีท่าทีว่าจะขยายออกไปจนไม่สามารถจะควบคุมได้โดยการ ปฏิบตั กิ ารเพียงครัง้ เดียวหรือภายในช่วงเวลาการปฏิบตั กิ ารเพียงช่วงเดียว หรือมีความซับซ้อนมากขึน้ หรือเกีย่ ข้องกับหลายขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ และ/หรือหลายหน่ วยงาน การจัดทาแผน เผชิญเหตุท่เี ป็ นลายลักษณ์อกั ษรจะมีความสาคัญและจาเป็ นยิง่ ขึน้ เพื่อดารงรักษาการปฏิบตั กิ ารที่ม ี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและปลอดภัย (จ) ขอบเขตการควบคุมที่เหมาะสม (Manageable Span of Control) ขอบเขตของการควบคุมเป็ นกุญแจนาไปสู่ การจั ด การเหตุ ฉุ กเฉิ น ที่ ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ตัวอย่างของขอบเขตการควบคุมทีเ่ หมาะสม ประสิทธิผล ผูท้ ท่ี าหน้าทีค่ วบคุมดูแลต้องสามารถดู ในระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ขอบเขต และควบคุมผูใ้ ต้บงั คับบัญชา รวมถึงสามารถสื่อสาร ของการควบคุมของบุคคลหนึ่งบุคคลใดที่ กับ ผู้ ใ ต้ บ ัง คับ บัญ ชาและสามารถบริห ารจัด การ รับผิดชอบในการควบคุมดูแลการจัดการเหตุ ทรัพยากรทีอ่ ยูภ่ ายใต้การควบคุมดูแลของตนเองได้ ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ควรจะมีจานวน ประเภทของเหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิด ขึ้น ลัก ษณะของ ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาระหว่าง 3 ถึง 7 คน และ ภารกิจ ปจั จัยทีเ่ กี่ยวกับภัยและความปลอดภัย และ จานวน 5 คน น่ าจะเหมาะสมทีส่ ุด ในระหว่าง ระยะห่างระหว่างบุคลากรกับทรัพยากร ล้วนแล้วแต่ การปฏิบตั กิ ารบังคับใช้กฏหมายขนาดใหญ่ มี ผ ลหรื อ อิ ท ธิ พ ลต่ อ ข้ อ คิ ด เห็ น หรื อ สิ่ ง ที่ ค วร จานวนผูใ้ ต้บงั คับบัญชาระหว่าง 8 ถึง 10 คน พิจารณาเกีย่ วกับขอบเขตการควบคุมทัง้ สิน้ อาจจะเหมาะสมทีส่ ุด (ฉ) สถานที่ทาการและที่ตงั ้ (Incident Facilities and Locations) มีการจัดตัง้ สถานทีท่ าการประเภทต่าง ๆ เพื่อสนับสนุ นการปฏิบตั กิ ารขึน้ ในบริเวณใกล้เคียงกับ พืน้ ทีเ่ กิดเหตุ ทัง้ นี้ประเภทของสถานทีท่ าการทีจ่ ดั ตัง้ จะขึน้ อยู่กบั ขนาดและความซับซ้อนของเหตุฉุกเฉิน ทีเ่ กิดขึน้ เพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ท่หี ลากหลาย ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์จะทาหน้าทีอ่ านวยการ กาหนด ประเภทและทีต่ งั ้ ของสถานที่ทาการให้เป็ นไปตามความจาเป็ นของสถานการณ์ โดยปกติแล้วสถานทีท่ า การทีก่ าหนดให้จดั ตัง้ ขึน้ ประกอบด้วย ศูนย์บญ ั ชาการ (Incident Command Post) ฐาน ค่ายพัก พืน้ ที่ เตรียมปฏิบตั กิ าร (Staging Areas) พื้นทีส่ าหรับการตรวจคัดแยกผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บจานวนมาก สถานที่ท่ี เป็นจุดแจกจ่ายพัสดุครุภณ ั ฑ์ (Point – of – Distribution) และสถานทีท่ าการอื่น ๆ ตามความจาเป็น (ช) การบริ หารจัดการทรัพยากรแบบครบวงจร (Comprehensive Resource Management)
68
การดารงรักษาตัวอย่างทีส่ มบูรณ์แบบถูกต้องและเป็ นปจั จุบนั ของการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญยิง่ ของการจัดการเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ ทรัพยากรที่จะได้รบั การระบุ โดยยึดหลักการใช้ประโยชน์ เป็ นหลัก จะรวมถึง บุคลากร คณะทางาน เครื่องมือ วัส ดุ และ สถานที่ทาการที่มอี ยู่หรือที่อาจหาได้เพื่อการมอบหมายภารกิจและจัดสรร มีการอธิบายถึงการบริหาร จัดการทรัพยากรโดยละเอียดแล้วในองค์ประกอบทีส่ าม (ซ) การสื่อสารแบบบูรณาการ (Integrated Communications) มีการดาเนินการให้การสื่อสารเกี่ยวกับเหตุการณ์ท่เี กิดขึน้ มีความสะดวกและง่ายขึ้น โดยการ พัฒนาและการใช้แผนการสื่อสารร่วมและกระบวนการและรูปแบบการสื่อสารที่สามารถใช้ปฏิบตั ิงาน ร่วมกันได้ แบบฟอร์ม ICS 205 ทีม่ อี ยู่ สามารถช่วยในการพัฒนาแผนการสื่อสารร่วมได้ วิธกี ารเชิงบูรณา การดังกล่าวนี้จะเชื่อมโยงหน่ วยปฏิบตั กิ ารและหน่ วยสนับสนุ นของหน่ วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และ วิธกี ารดังกล่าวเป็นสิง่ จาเป็ นต่อการดารงรักษาการเชื่อมโยงของการสื่อสาร และระเบียบข้อบังคับในการ สื่อสาร และช่วยให้เกิดความตระหนักต่อสถานการณ์รว่ มกันและการปฏิสมั พันธ์กนั (ฌ) การกาหนดและการถ่ายโอนการบัญชาการ (Establishment and Transfer of Command) ต้องมีการกาหนดหน้าที่ในการบัญชาการไว้อย่างชัดเจนตัง้ แต่เริม่ ลงมือปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุ ฉุกเฉิน หน่วยงานทีม่ อี านาจในการบัญชาการเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ภายในขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ที่ รับผิดชอบจะกาหนดบุคคลหนึ่งบุคคลใดในสถานทีเ่ กิดเหตุให้รบั ผิดชอบในการบัญชาการ เมื่อมีการถ่าย โอนการบัญชาการ กระบวนการถ่ายโอนต้องรวมถึงการบรรยายสรุปทีค่ รอบคลุมสารสนเทศทีจ่ าเป็ นและ สาคัญสาหรับการปฏิบตั กิ ารทีป่ ลอดภัยและมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง (ญ) สายการบังคับบัญชาและเอกภาพในการบังคับบัญชา (Chain of Command and Unity of Command) สายการบังคับบัญชา (Chain of Command) หมายถึงสายของอ านาจหน้ าที่ (Line of Authority) ตามลาดับของตาแหน่งต่าง ๆ ภายในโครงสร้างองค์กรของการจัดการเหตุการณ์ เอกภาพใน การบังคับบัญชา (Unity of Command) หมายความว่าบุคคลทัง้ หมดมีผคู้ วบคุมดูแลทีไ่ ด้รบั มอบหมาย และเป็ นผู้ทบ่ี ุคคลทัง้ หมดต้องไปรายงานตัวต่อในพื้นที่เกิดเหตุ หลักการเหล่านี้ช่วยให้ความสัมพันธ์ใน การรายงานตัว ตามล าดับ ขัน้ ตอนมีค วามชัด เจน และช่ ว ยขจัด ความสับ สนที่เ กิด จากการสัง่ การที่ หลากหลายและขัดแย้งกัน (ฎ) การบัญชาการที่เป็ นเอกภาพ (Unified command) ในเหตุฉุกเฉินทีเ่ กี่ยวข้องกับหลายขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ หรือเกี่ยวข้องกับ ขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบเพียงขอบเขตเดียวแต่ มหี น่ วยงานหลายหน่ วยงานเข้ามา เกี่ยวข้อง หรือเป็ นเหตุฉุกเฉินทีเ่ กี่ยวข้องกับหลายขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพื้นที่รบั ผิดชอบและหลาย หน่ วยงาน การบัญชาการทีเ่ ป็ นเอกภาพจะช่วยให้บรรดาองค์กรทีม่ คี วามแตกต่างกันในด้านกฎหมายที่
69
ใช้พ้นื ที่ และอานาจในการปฏิบตั หิ น้าที่และความรับผิดชอบ สามารถทางานร่วมกันได้ โดยปราศจาก ผลกระทบต่ออานาจหน้าที่ ภาระหน้าที่ และความสานึกในหน้าทีร่ บั ผิดชอบ (ฏ) ความสานึ กในหน้ าที่ รบั ผิดชอบ (Accountability) ความสานึกในหน้าที่รบั ผิดชอบที่มปี ระสิทธิภาพของทรัพยากรในทุกระดับของขอบเขตอานาจ หน้าทีแ่ ละพื้นทีร่ บั ผิดชอบทุกระดับ และในการปฏิบตั หิ น้ าที่แต่ละด้านในระหว่างการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ เหตุ ฉุ ก เฉิ น เป็ น สิ่ง จ าเป็ น เพื่อ ให้บ รรลุ จุด หมายจ าเป็ น ต้ อ งยึด มัน่ ในหลัก การของส านึ ก ในหน้ า ที่ รับผิดชอบซึ่งครอบคลุมถึง การรายงานตัว/การแจ้งออก การวางแผนเผชิญเหตุ เอกภาพในการบังคับ บัญชา ความรับผิดชอบส่วนบุคคล ขอบเขตของการควบคุม และการติดตามการใช้ทรัพยากร (ฐ) การจัดส่ง/การจัดลงพื้นที่เพื่อพร้อมปฏิ บตั ิ การในทันที (Dispatch/Deployment) ควรต้อ งจัดส่ งทรัพ ยากรไปให้ใช้งานต่อเมื่อได้รบั การร้องขอเท่านั ้น หรือเมื่อมีการจัดส่งโดย หน่ วยงานที่มอี านาจหน้าที่โดยผ่านระบบการบริหารจัดการทรัพยากรทีก่ าหนดไว้ ทรัพยากรทีไ่ ม่ได้รบั การร้อ งขอจะต้ อ งงดเว้น จากการจัด ลงพื้น ที่เ พื่อ พร้อ มปฏิบ ัติก ารในทัน ที เพื่อ หลีก เลี่ย งการสร้า ง ภาระหน้าทีท่ ห่ี นักเกินไปต่อผูร้ บั และการทาให้ปญั หาเกีย่ วกับความสานึกในหน้าทีร่ บั ผิดชอบเพิม่ มากขึน้ (ฑ) การบริ หารจัดการสารสนเทศและข่าวกรอง (Information and Intelligence Management) องค์กรการจัดการเหตุฉุกเฉินต้องกาหนดกระบวนการรวบรวม การวิเคราะห์ การประเมิน การใช้ ร่วมกันและการบริหารจัดการสารสนเทศและข่าวกรองทีเ่ กีย่ วข้องกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ 2. หน่ วยบัญชาการและทีมงานบัญชาการ (Incident Command and Command Staff) หน่ วยบัญชาการทาหน้ าที่รบั ผิดชอบการจัดการเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นภาพรวม การจัดการเหตุ ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ในภาพรวมครอบคลุมถึงการกาหนดทีมงานบัญชาการทีจ่ าเป็ นเพื่อทีจ่ ะสนับสนุ นการทา หน้าทีบ่ ญ ั ชาการ โดยทัวไปที ่ มงานบัญชาการ/ทีมงานปฏิบตั กิ าร (General Staffs) จะปฏิบตั หิ น้าทีท่ ศ่ี ูนย์ บัญชาการเหตุการ (Incident Command Post) (ก) หน่ วยบัญชาการ (Incident Command) ภาระหน้าทีบ่ ญ ั ชาการสามารถทาได้โดยวิธใี ดในสองวิธที วไปคื ั่ อ : (1) ผูบ้ ญ ั ชาการเดี่ยว (Single Incident Commander) เมือ่ มีเหตุฉุกเฉินเกิดขึน้ ภายในขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ และไม่มกี ารคาบเกี่ยว กันในด้านอานาจหน้ าที่ในการจัดการและหน่ วยงานที่ทาหน้าที่ ในกรณีน้ี องค์กรที่มอี านาจหน้าที่เหม เหมาะสมควรต้อ งก าหนดตัว ผู้บญ ั ชาการเดี่ยวให้รบั ผิดชอบการบริหารจัดการเหตุ ฉุ กเฉิ นที่เ กิดขึ้น โดยรวม (ในบางกรณีท่กี ารจัดการเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ จาเป็ นต้องดาเนินการข้ามขอบเขตอานาจหน้าที่ และพื้นที่รบั ผิดชอบ และ/หรือขอบเขตอานาจหน้าที่ของหน่ วยงานที่ทาหน้ าที่ อาจจะต้องกาหนดตัวผู้ บัญชาการเดีย่ วขึน้ รับผิดชอบถ้าหากตกลงกันได้) ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบต่าง ๆ ควร
70
ต้องพิจารณากาหนดตัวผูบ้ ญ ั ชาการสาหรับทีมงานจัดการเหตุฉุกเฉิน (Incident Management Teams) ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ผู้บญ ั ชาการเหตุ ก ารณ์ ท่ไี ด้รบั การแต่ งตัง้ จะกาหนดวัต ถุ ประสงค์ของการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิ น สาหรับใช้เป็ นบานในการวางแผนเผชิญเหตุต่อไป ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุ การณ์จะเป็ นผูใ้ ห้ความเห็นชอบแผน เผชิญเหตุและคาร้องขอทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดซือ้ และการนาส่งทรัพยากรสาหรับการจัดการเหตุฉุกเฉิน (2) หน่ วยบัญชาการร่วม (Unified Command) หน่ วยบัญชาการร่วมเป็ นส่วนประกอบ ทีส่ าคัญในการจัดการเหตุฉุกเฉินทีค่ าบเกี่ยวกับ ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบหลาย เขต และหน่ วยงานดาเนินการหลายหน่ วยงาน หน่ วยบัญชาการได้กาหนดแนวทางทีจ่ ะช่วยให้ หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ที่ม ีห น้ า ที่ร ับ ผิด ชอบทาง กฎหมาย พืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์และภาระหน้าทีท่ ่ี แตกต่างกันสามารถประสานงาน วางแผน และ ปฏิบตั งิ านร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วย วิธ ีก ารด าเนิ น งานในรู ป แบบทีม งาน หน่ ว ย บัญ ชาการร่ว มจะช่ ว ยให้ห น่ ว ยงานที่ม ีหน้ า ที่ รับ ผิด ชอบตามกฎหมายและหน่ ว ยงานที่ม ี หน้าทีร่ บั ผิดชอบตามภารกิจร่วมกันกาหนดทิศ ท า ง ก า ร จั ด ก า ร เ ห ตุ ฉุ ก เ ฉิ น โ ด ย อ า ศั ย วัต ถุ ป ระสงค์ แ ละกลยุ ท ธ์ ใ นการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น และแผนเผชิญ เหตุ เ ดีย วกั น เป็ น ฐาน หน่ ว ยงานแต่ ล ะหน่ ว ยที่เ ข้า ร่ ว มด าเนิ น งาน ยังคงมีแ ละรัก าอ านาจหน้ าที่ภาระรับผิดชอบ และความสานึกในหน้ าที่รบั ผิดชอบของหน่ วย ต้นสังกัด
ข้อดีของการใช้หน่วยบัญชาการร่วม • กาหนดวัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉินไว้ เพียงชุดเดียว • ใช้วธิ กี ารทีท่ ุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนากลยุทธ์ เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน • การไหลเวียนของสารสนเทศและการประสานงาน ระหว่างขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องจะได้รบั การปรับปรุง • หน่วยงานทุกหน่วยทีร่ บั ผิดชอบเกี่ยวกับเหตุ ฉุกเฉินมีความเข้าใจต่อลาดับความสาคัญและ ข้อจากัดร่วมกัน • ไม่มกี ารต่อรองหรือการเพิกเฉยต่ออานาจทาง กฎหมายทีม่ อี ยูเ่ ดิมของหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง • ความพยายามร่วมกันของทุกหน่วยงานจะได้รบั การปรับให้เหมาะสมและเพื่อประโยชน์มากทีส่ ุดใน ระหว่างทีแ่ ต่ละหน่วยปฏิบตั ภิ ารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมายภายใต้แผนเผชิญเหตุเดียว
หน่วยบัญชาการร่วมทาหน้าทีเ่ ป็ นองค์กรการจัดการแบบบูรณาการทีเ่ กีย่ วข้องกัน : • การตัง้ การบัญชาการอยูร่ ว่ มกับศูนย์บญ ั ชาการ • มีหวั หน้าส่วนปฏิบตั กิ ารหนึ่งคนทาหน้าทีค่ วบคุมดูแลการดาเนินการขับเคลื่อนยุทธวิธ ี • กระบวนการสังซื ่ อ้ ทรัพยากรเดียวกัน • ภาระหน้าทีใ่ นการวางแผน การสนับสนุนกาลังบารุง และการเงิน และการบริหารจัดการร่วมกัน ตามทีเ่ ป็นไปได้
71
• การให้ความเห็นชอบร่วมกันในการแถลงข่าว หน่วยงานทุกหน่วยภายใต้โครงสร้างหน่วยบัญชาการร่วมต่างมีส่วนช่วยส่งเสริมกระบวนการ • การเลือกวัตถุประสงค์ • การกาหนดกลยุทธ์การจัดการเหตุฉุกเฉินในภาพรวม • การสร้างความมันใจว่ ่ าการวางแผนร่วมกันสาหรับกิจกรรมทางยุทธวิธจี ะประสบความสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉินทีก่ าหนดไว้ • การสร้างความมมันใจในการบุ ่ รณาการการปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธ ี • การให้ความเห็นบชอบ การให้คามันสั ่ ญญา และการใช้ทรัพยากรที่ได้รบั มอบหมายทัง้ หมด อย่างเหมาะสมทีส่ ุด องค์ประกอบที่แน่ นอนของโครงสร้างของหน่ วยบัญ ชาการร่วมจะขึ้นอยู่กับสถานที่ท่เี กิดเหตุ ฉุ กเฉิน (เช่น พืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ของขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบหรือองค์กรทีเ่ กี่ยวข้อง) และประเภทของเหตุฉกเฉินที่เกิดขึน้ เช่น เป็ นหน่ วยปฏิบตั งิ านหน่ วยใดของเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ที่ รับผิดชอบที่เ กี่ยวข้อ ง หรือ จาเป็ นต้อ งให้อ งค์กรใดดาเนินการ) อาจต้อ งมีการวางแผนกาหนดตัว ผู้ บัญชาการเดี่ยวเพื่อบัญชาการเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นคาบเกี่ยวกับหลายขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่ รับผิดชอบไว้ล่วงหน้าเพื่อทีจ่ ะเสริมสร้างให้การดาเนินงานมีเอกภาพและประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ เจ้ า หน้ า ที่ จ ากหน่ วยงานที่ ไ ด้ ร ั บ มอบหมายให้มสี ่ว นร่ว มในหน่ วยบัญ ชาการ ร่ว มมีอ านาจหน้ าที่ต ามกฎหมายและหน้ าที่ รั บ ผิ ด ชอบเดิ ม ที่ แ ตกต่ า งกั น และได้ ใ ช้ กระบวนการทางานร่ว มกัน จัดท า ก าหนด และจัดล าดับความส าคัญ ของเหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่ เกิดขึ้นและกาหนดวัต ถุประสงค์ท่เี หมาะสม และสอดคล้องกับลาดับความสาคัญดังกล่าว ส่ ว นหน่ ว ยงานที่ เ ข้ า มาเกี่ ย วข้ อ งแต่ ไ ม่ ม ี อ านาจหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบตาม กฎหมายจะได้รบั การกาหนดเป็ นหน่ วยงาน สนับสนุ น และ/หรือหน่ วยให้ความช่วยเหลือ เจ้าหน้าทีด่ งั กล่าวปรากฏอยู่ในโครงสร้างการ บังคับบัญ ชาในนามของหน่ วยงานต้นสัง กัด ผ่ า นทางเจ้ า หน้ า ที่ ป ระสานงาน หน้ า ที่ รับ ผิด ชอบที่ไ ด้ร ับ มอบหมายจากขอบเขต อ านาจหน้ าที่ แ ละพื้ น ที่ ร ั บ ผิ ด ชอ บขอ ง
การเปรียบเทียบกันระหว่างผูบ้ ญ ั ชาการเกี่ยวกับ หน่ วยบัญชาการร่วม ผูบ้ ญ ั ชาการเดีย่ ว : มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบเพียง ผูเ้ ดียว ภายในขอบเขตอานาจของตน) ในการ กาหนดวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ ; รับผิดชอบ โดยตรงในการสร้างความมันใจว่ ่ าการดาเนิน กิจกรรมตามภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมายจะได้รบั การ ควบคุมและเพื่อให้ประสบความสาเร็จตามกลยุทธ์ หน่วยบัญชาการร่วม : คณะบุคคลทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากองค์กรต่างๆ ทีเ่ ป็นต้นสังกัดหรือจาก หน่วยงานต่าง ๆ ทีอ่ ยูใ่ นขอบเขตอานาจหน้าที่ หรือ พืน้ ทีร่ บั ผิดชอบต่าง ๆ (หรือจากหน่วยงานต่าง ๆ ภายในขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ ขอบเขตเดียว) ทีต่ อ้ งร่วมกันกาหนดวัตถุประสงค์ จัดทากลยุทธ์ แผน จัดสรรทรัพยากร และจัดลาดับ ความสาคัญร่วมกัน และร่วมกันดาเนินการจัดการ เหตุฉุกเฉินแบบบูรณาการและบริหารการใช้ ทรัพยากรทีไ่ ด้รบั ให้เกิดประโยชน์สงู สุด
72
เจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการเหตุฉุกเฉินทีห่ ลากหลายจะได้รบั การรวบรวมกันเข้าเป็ นกระบวนการวางแผนที่ เป็นเอกภาพ ซึง่ รวมถึง • ความรับผิดชอบด้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน • วัตถะประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน • ความพร้อมใช้และสมรรถนะของทรัพยากร • ข้อจากัดต่าง ๆ • ประเด็นทีม่ คี วามเห็นตรงกันและทีไ่ ม่ตรงกัน ระหว่างเจ้าหน้าทีห่ น่วยงานต่าง ๆ เหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิ ด ขึ้น จะได้ ร ับ การจัด การโดยใช้ ว ิธ ีก ารท างานร่ ว มกัน เพีย งวิธ ีเ ดีย ว ซึ่ง ประกอบด้วย : • โครงสร้างองค์กรเดียวกัน • ศูนย์บญ ั ชาการเพียงศูนย์เดียว • กระบวนการวางแผนทีเ่ ป็นเอกภาพ • การบริหารจัดการทรัพยากรทีเ่ ป็นเอกภาพ ภายใต้หน่ วยบัญชาการร่วมส่วนแผนงาน (Planning Section) ทาหน้าทีร่ วบรวมแผนเผชิญเหตุ ทีห่ น่ วยบัญชาการร่วมให้ความเห็นชอบ ; หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ าร (Op[orations Section chief) ทา หน้าทีก่ ากับดูแลการดาเนินการทางยุทธวิธตี ามแผนเผชิญเหตุ โดยปกติแล้วหัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ ารจะมา จากองค์กรที่มคี วามเกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิการในพื้นที่รบั ผิดชอบมากที่สุด ผู้ท่เี ข้าร่วมปฏิบตั ิงานใน หน่วยบัญชาการร่วมจะเห็นด้วยกับการแต่งตัง้ หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ าร หน่ วยบัญชาการร่วมจะทาหน้าที่ได้ดที ส่ี ุดเมื่อสมาชิกที่เข้าร่วมปฏิบตั งิ านในหน่ วยบัญชาการมี สถานทีท่ าการตัง้ อยูร่ ว่ มกันกับศูนย์บญ ั ชาการและใช้วธิ ปี ฏิบตั กิ ารดังต่อไปนี้ : • เลือกสรรหัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ ารสาหรับแต่ละช่วงระยะเวลาปฏิบตั งิ าน • ให้แต่ละบุคคลได้รบั ทราบข้อกาหนดหน้าทีเ่ ฉพาะเจาะจงของกันและกัน • กาหนดวัตถุประสงค์ ลาดับความสาคัญ และกลยุทธ์ของการจัดการเหตุฉุกเฉินร่วมกัน • สร้างระบบการสังซื ่ อ้ ทรัพยากรเพียงระบบเดียว • พัฒนาแผนเผชิญเหตุร่วมทัง้ ทีเ่ ป็ นลายลักษณ์อกั ษรและด้วยวาจา และจัดให้ม ีการประเมินและ ทาให้เป็ นปจั จุบนั เป็ นระยะ ๆ อย่างสม่าเสมอ • กาหนดขัน้ ตอนปฏิบตั สิ าหรับการตัดสินใจร่วมกัน และการจัดทาเอกสารหลักฐาน (ข) ทีมงานบัญชาการ (Command Staff)
73
โดยปกติ ในองค์กรการบัญชาการเหตุการณ์จะประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ (Public Information Officer) เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย และเจ้าหน้าทีป่ ระสานงาน (Liaison Officer) ซึง่ ขึน้ ตรง ต่ อ ผู้บญ ั ชาการเหตุ ก ารณ์ ห รือ หน่ ว ยบัญ ชาการร่ว ม และอาจจะมีผู้ช่ว ยตามความจาเป็ น (ดูภาพ 4) อาจจะจาเป็ นต้องกาหนดตาแหน่ งเพิม่ เติม ทัง้ นี้ ขึน้ อยู่กบั ลักษณะ ขอบเขต ความซับซ้อน และสถานที่ (แห่งเดียวหรือหลายแห่ง) ของเหตุ ฉุกเฉิ น (เหตุ เดียวหรือหลายเหตุ ) หรือให้เ ป็ นไปตามข้อกาหนด เฉพาะเจาะจงทีผ่ บู้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่วยบัญชาการร่วมกาหนดไว้ (1) เจ้าหน้ าที่สารสนเทศสาธารณะ (Public Information Officer) เจ้าหน้ าที่ส ารสนเทศสาธารณะทาหน้ า ที่เ ป็ น ตัว ประสานกับ ประชาชนและสื่อ และ/หรือ กับ หน่ วยงานอื่น ๆ ที่ต้องการสารสนเทศเกี่ยวกับหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้น เจ้าหน้าที่สารสนเทศสาธารณะจะ รวบรวม ยืนยันความถูกต้องเป็ นจริง ประสาน และเผยแพร่สารสนเทศที่ถูกต้อง สามารถเข้าถึงได้ และ ทัน ต่ อ เวลาเกี่ย วกับ สาเหตุ ขนาด และสถานการณ์ ท่ีเ ป็ น ป จั จุ บ ัน ของเหตุ ก ารณ์ ท่ีเ กิด ขึ้น รวมถึง สารสนเทศเกี่ยวกับทรัพยากรที่จะได้รบั และเรื่อ งอื่น ๆ ที่น่าสนใจของทัง้ บุค คลภายในและภายนอก เจ้าหน้าทีส่ ารสนเทสสาธารณะอาจมีบทบาททีส่ าคัญในการติดตามสารสนเทศสาธารณะด้วย ไม่ว่าจะเป็ น การบัญชาการในรูปแบบผู้บญ ั ชาการเดี่ยวกับแบบหน่ วยบัญชาการร่วมก็ตาม ควรจะแต่งตัง้ เจ้าหน้าที่ สารสนเทศสาธารณะเพียงคนเดียวต่อหนึ่งเหตุฉุกเฉิน อาจจะมีการแต่งตัง้ ผูช้ ่วยจากหน่ วยงาน แผนงาน หรือองค์กรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง การเผยแพร่สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นทัง้ หมดต้อง ได้รบั ความเห็นชอบจากผู้บญ ั ชาการเดี่ยว/หน่ วยบัญชาการร่วม ในกรณีท่เี หตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ มีขนาด ใหญ่ หรือมีการจัดตัง้ ศูนย์บญ ั ชาการขึน้ หลายศูนย์ เจ้าหน้าทีส่ ารสนเทศสาธารณะควรต้องเข้าไปมีส่วน ร่วม หรือเป็ นหัวหน้าศูนย์ร่วมการประสานงานสารสนเทศ (Joint Information Center) เพื่อสร้างความ มันใจในความต่ ่ อเนื่อง และสอดคล้องของการให้ขอ้ มูลข่าวสารต่อประชาชน (2) เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการปฏิ บตั ิ งาน (Safety Officer) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านทาหน้ าที่ดูแลเฝ้าสังเกตการปฏิบตั ิการตอบโต้เหตุ ฉุ กเฉินและให้ค าแนะนาต่ อผู้บงั คับบัญชาเดี่ยว/หน่ ว ยบัญชาการร่วมในทุกเรื่องที่เกี่ยวข้อ งกับความ ปลอดภัยในการปฏิบตั กิ าร รวมไปถึงสุขอนามัยและความปลอดภัยของเจ้าหน้าทีด่ า้ นการปฏิบตั กิ ารตอบ โต้ ความรับผิดชอบสูงสุดในการทาให้เกิดพฤติกรรมความปลอดภัย ในการปฏิบตั กิ ารและการจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิด ขึ้น นั ้น เป็ น หน้ า ที่ร ับ ผิด ชอบของผู้ บ ัง คับ บัญ ชาเดี่ย ว/หน่ ว ยบัญ ชาการร่ ว ม และผู้ ควบคุ ม ดู แ ลในทุ ก ระดับ ของการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น ล าดับ ต่ อ มา เจ้า หน้ า ที่ค วามปลอดภัย มีค วาม รับผิดชอบต่อผู้บงั คับบัญชาเดี่ยว/หน่ วยบังคับบัญชาร่วมในด้านระบบและขัน้ ตอนปฏิบตั ทิ ่จี าเป็ น เพื่อ สร้างความมันใจในการประเมิ ่ นสภาพแวดล้อมที่เป็ นอันตรายที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมถึง ประเด็น แผนความปลอดภัย (Safety Plan) การประสานความพยายามสร้างความปลอดภัยของหน่ วยงานต่าง ๆ และการดาเนินมาตรการเสริมสร้างความปลอดภัยในการปฏิบตั หิ น้าที่ของเจ้าหน้าทีต่ อบโต้เหตุฉุกเฉิน เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยมีอานาจเฉพาะหน้าในการสังให้ ่ หยุด และ/หรือป้องกันการกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย ในระหว่างการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉิน เป็ นเรื่องที่สาคัญที่จะตัง้ ข้อสังเกตว่า หน่ วยงาน องค์กร
74
ขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบต่างๆ ที่มสี ่วนสนับสนุ นความพยายามในการบริหารจัดการ ความปลอดภัยร่วมกันจะไม่สูญเสียอัตลักษณ์ หรือความรับผิดชอบต่อโครงการ นโยบาย และบุคลากร ของตนเอง (3) เจ้าหน้ าที่ประสานงาน (Liaison Officer) เจ้าหน้าทีป่ ระสานงานเป็ นผูป้ ระสานติดต่อ (Point of Contact) ของหน่ วยบัญชาการกับผูแ้ ทน จากหน่ ว ยงานภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน และภาคเอกชน (ที่ไม่มอี านาจตามกฎหมายหรือตามที่ ขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบมอบให้) ที่จะให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับนโยบาย ความพร้อมใช้ของ ทรัพยากรและเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ ของหน่ วยงานของตน ไม่ว่าจะเป็ นภายใต้ โครงสร้างของผู้บญ ั ชาการเดี่ยวหรือของหน่ วยบัญชาการร่วม ตัวแทนจากหน่ วยงานและองค์ กรที่ใ ห้ ความช่วยเหลือ และให้ความร่ว มมือจะประสานงานผ่ านทางเจ้าหน้ าที่ประสานงาน ผู้แทนหน่ วยและ องค์กรทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ปฏิบตั หิ น้าทีค่ วรต้องมีอานาจในการพูดแทนหน่ วยงานแม่ (Parent Agency) หรือองค์กรแม่ (Parent Organization) ในทุกเรื่องหลังจากได้มกี ารปรึกษาหารืออย่างเหมาะสมกับผูน้ า หน่วยงานของพวกเขาแล้ว อาจจะมีการมอบหมายให้ผชู้ ่วยและบุคลากรจากหน่ วยงาน และองค์กรอื่นๆ ไม่ว่า จะเป็ น ภาครัฐหรือ เอกชนที่เ กี่ย วข้อ งในการด าเนิน งานการจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ นท าหน้ าที่ช่ว ยผู้ ประสานงาน เพื่อช่วยให้การประสานงานสะดวกและง่ายขึน้ (4) ทีมงานบัญชาการที่แต่งตัง้ เพิ่ มเติ ม อาจมีความจาเป็นทีจ่ ะต้องกาหนดตาแหน่งทีมงานบัญชาการเพิม่ เติม ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั ลักษณะและ สถานทีท่ เ่ี กิดเหตุฉุกเฉิน หรือความต้องการเฉพาะเจาะจงทีห่ น่ ว ยบัญชาการกาหนด ตัวอย่างเช่น อาจมี การกาหนดให้มที ป่ี รึกษาทางกฎหมายในส่วนการวางแผนปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง หรือให้ขน้ึ ตรงต่อทีมงานบัญชาการเพื่อให้คาแนะนาต่อหน่ วยบัญชาการในเรื่องทางการประกาศสภาวะ ฉุกเฉิน ความถูกต้องตามกฎหมายของคาสังให้ ่ อพยพและการกักกันไว้อย่างเข้มงวดเพื่อป้องกันการแพร่ ของเชื้อโรค และสิทธิและข้อจากัดตามกฎหมายที่เกี่ยวกับการเข้าถึงของสื่อต่าง ๆ ในทานองเดียวกัน อาจมีการแต่งตัง้ ทีป่ รึกษาทางด้านการแพทย์ เพื่อให้คาปรึกษาและข้อแนะนาต่อหน่ วยบัญชาการในส่วน ทีต่ ้องคานึงถึงด้านบริการด้านการแพทย์และสุขภาพจิต อุบตั ภิ ยั หมู่ (Mass Casualty) การดูแลรักษาใน ระยะเฉียบพลัน การควบคุมพาหะนาโรค ระบาดวิทยา การป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นในหมู่ประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินจากการก่อการร้ายด้วยอาวุธชีวภาพ นอกจากนี้ อาจะต้อ งแต่งตัง้ ที่ปรึก ษาตามความต้อ งการพิเศษ เพื่อให้ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการ สื่อ สาร การขนส่ ง การควบคุ มดูแ ล และบริการที่จาเป็ นด้านอื่น ๆ สาหรับประชาชนในพื้นที่ท่ไี ด้รบั ผลกระทบ
75
ภาพที่ 4 : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ : ทีมงานบัญชาการและทีมงานปฏิ บตั ิ การ การบัญชาการ เหตุการณ์
ทีมงานบัญชาการ เจ้าหน้าทีส่ ารสนเทศ สาธารณะ เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย ในการปฏิบตั งิ าน เจ้าหน้าที่ ประสานงาน
หัวหน้าส่วน ปฏิบตั กิ าร
หัวหน้าส่วน แผนงาน
หัวหน้าส่วน สนับสนุ นกาลังบารุง
หัวหน้าส่วนการเงิน/ บริหารจัดการ
ทีมงานปฏิบตั กิ าร (ค) การจัดองค์กรการบัญชาการเหตุการณ์ องค์กรการจัดการและบัญชาเหตุการณ์ตงั ้ อยูใ่ นสถานทีเ่ ดียวกับศูนย์บญ ั ชาการ หน่ วยบัญชาการ เหตุการณ์กากับดูแลการปฏิบตั หิ น้าที่ศูนย์ปฏิบตั กิ าร ซึง่ โดยทัวไปแล้ ่ วจะตัง้ อยู่ในพื้นที่เกิดเหตุหรือใน บริเวณทีใ่ กล้เคียงกับพืน้ ทีเ่ กิดเหตุมากทีส่ ุด โดยปกติทวไปจะมี ั่ การจัดตัง้ ศูนย์ปฏิบตั กิ ารเพียงศูนย์เดียว ต่อหนึ่งเหตุฉุกเฉิน เมื่อเจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการเหตุการณ์ และด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ได้รบั การจัด ลงในพื้นที่และโดยไม่คานึงถึงหน่ วยงานต้นสังกัด พวกเขาทัง้ หมดต้องไปรายงานตัวเป็ นครัง้ แรก และ ลงทะเบียนที่พ้นื ที่เตรียมปฏิบตั ิการ (Staging Area) ฐาน ค่ายพัก หรือสถานที่ท่กี าหนด และแจ้งผู้ บัญชาการเหตุการณ์ /หน่ ว ยบัญชาการเพื่อรับมอบหมายภาระหน้ าที่ให้เ ป็ นไปตามขัน้ ตอนปฏิบตั ิท่ผี ู้ บัญชาการเหตุการณ์/หน่วยบัญชาการกาหนด 3. ทีมงานปฏิ บตั ิ การ (General Staff) ทีมงานปฏิบตั กิ ารรับผิดชอบการปฏิบตั ภิ ารกิจด้านต่าง ๆ ตามโครงสร้างบัญชาการเหตุการณ์ โดยปกติทวไปที ั่ มงานปฏิบตั ิการประกอบด้วยหัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ าร ส่วนการวางแผน ส่วนส่งกาลัง
76
บารุง และส่วนการเงิน/การบริหารจัดการ หัวหน้ าส่วนต่าง ๆ อาจมีรองหัว หน้ าส่วนตามที่ได้กาหนด เอาไว้หนึ่งคนหรือมากกว่า มีการสนับสนุ นให้กาหนดตัวรองหัวหน้าจากหน่ วยงานอื่น ๆ ในกรณีท่เี กิด เหตุก ารณ์ คาบเกี่ยวกับหลายขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ ส่ วนต่าง ๆ ที่จดั ตัง้ ขึ้นตาม ภารกิจกายในองค์กรการบัญชาการเหตุการณ์มดี งั นี้ : (ก) ส่วนปฏิ บตั การ (Operations Section) ส่วนนี้รบั ผิดชอบการดาเนินกิจกรรมยุทธวิธที งั ้ หมดทีเ่ น้นการลดอันตรายทีเ่ กิดขึน้ อย่างฉับพลัน การช่วยชีวติ และทรัพย์สนิ การเข้าควบคุมสถานการณ์ การฟื้ นฟูบูรณะสู่สภาวะปกติ การช่วยชีวติ และ ความปลอดภัย ของเจ้ า หน้ า ที่ด้ า นการปฏิ บ ัติ ก ารตอบโต้ จ ะมีล าดับ ความส าคัญ สู ง สุ ด และเป็ น วัตถุประสงค์ลาดับแรกสุดในแผนเผชิญเหตุ ภาพ 5 แสดงรูปแบบองค์กรของส่วนปฏิบตั กิ าร การแบ่งขยายโครงสร้างองค์กรพืน้ ฐานของส่วน ปฏิบตั กิ ารอาจจะแตกต่างกันไปตามสิง่ ควรพิจารณาและปจั จัยทีม่ ผี ลต่อการปฏิบตั งิ าน ในบางกรณี จะใช้ วิธ ีการพิจารณาถึงบทบาทหน้ าที่ (Functional Approach) อย่างเคร่งครัดเป็ นหลักในการขยาย โครงสร้า ง ในบางกรณีโครงสร้า งองค์กรจะถู ก กาหนดโดยเส้น แบ่ ง ขอบเขตอ านาจหน้ า ที่ แ ละพื้น ที่ รับผิดชอบทางภูมศิ าสตร์ และในกรณีอ่นื ๆ อาจจะใช้ทงั ้ วิธกี ารพิจารณาถึงบทบาทหน้าที่ผสมผสานกับ เส้นแบ่งขอบเขตจึงจะเหมาะสม ระบบการบัญชาการเหตุการณ์เป็ นระบบทีม่ คี วามยืดหยุ่นในการกาหนด แนวทางหรือ วิธ ีก ารขยายโครงสร้า งองค์ก รที่ถู ก ต้อ งเหมาะสมส าหรับ สภาวะที่เ ฉพาะเจาะจงของ เหตุการณ์เฉพาะหน้า ภาพ 5 : ส่วนประกอบที่สาคัญขององค์กรส่วนปฏิ บตั ิ การ ส่วนปฏิบตั กิ าร สาขา (ต่าง ๆ) พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร/ กลุ่มภารกิจ ทรัพยากร (1) หัวหน้ าส่วนปฏิ บตั ิ การ (Operations Section Chief) หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ ารรรับผิดชอบต่อหน่วยบัญชาการในด้านบริหาร การดาเนินกิจกรรมยุทธวิธ ี ทัง้ หมดโดยตรง หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ ารจะสร้างยุทธวิธเี พื่อดาเนินการในช่วงระยะเวลาการปฏิบตั กิ ารที่
77
ได้รบั มอบหมาย ควรมีการกาหนดตัวหัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ ารสาหรับแต่ละช่วงระยะเวลาการปฏิบตั กิ าร และกาหนดความรับผิดชอบให้ครอบคลุมถึงการเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนเผชิญเหตุโดยตรง
(2) สาขา (Branch) การจัดตัง้ สาขาอาจจะตัง้ ตามภารกิจหรือตามพื้นที่ทางภูมศิ าสตร์ หรือพิ จารณารวมกันทัง้ สอง ด้าน ทัง้ นี้ ขึน้ อยู่กบั สภาวะของเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ โดยทัวไปแล้ ่ วจะมีการจัดตัง้ สาขาขึน้ ต่อเมื่อมีจานวน ของพื้นที่ปฏิบตั กิ ารหรือกลุ่มภารกิจมากเกิ นขอบเขตการควบคุม การระบุสาขาต่าง ๆ จะใช้เลขโรมัน หรือระบุโดยบทบาทหน้าทีท่ ร่ี บั ผิดชอบ (3) พื้นที่ปฏิ บตั ิ การ/กลุ่มภารกิ จ (Division/Group) จะมีก ารก าหนดพื้น ที่ป ฏิบตั ิก ารและจัดตัง้ กลุ่ มภารกิจ เมื่อ จานวนของทรัพยากรมีม ากเกิน ขอบเขตการควบคุมหรือมากเกินกว่าที่หน่ วยบัญชาการเหตุการณ์ และหัวหน้าส่วนปฏิบตั ิการสามารถ บริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Management Span of Control) พืน้ ที่ปฏิบตั กิ ารได้รบั การ กาหนดขึน้ มาเพื่อแบ่งย่อยบริเวณทีเ่ กิดเหตุฉุกเฉินตามพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ ส่วนกลุ่มภารกิจกาหนดขึน้ เพื่อแบ่งย่อยบริเวณที่เกิดเหตุฉุกเฉินตามภารกิจ ตัวอย่างเช่น ในกรณีท่เี กิดเหตุฉุกเฉินบางประเภท หน่วยบัญชาการอาจมอบหมายภารกิจหรือหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการอพยพ หรือการดูแลผู้ป่วยเป็ นจานวน มากให้กบั กลุ่มภารกิจทีจ่ ดั ตัง้ ภายในส่วนปฏิบตั กิ าร นอกจากนี้ อาจจะมีหน่ วยที่ทาหน้าที่กากับดูแลอยู่ ในระดับต่ากว่าพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารหรือกลุ่มภารกิจ (4) ทรัพยากร (Resources) การจัดระบบและการบริหารจัดการอาจจะดาเนินการได้โดยใช้แนวทางทีแ่ ตกต่างกันสามแนวทาง ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั ความจาเป็นในแต่ละเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ • ทรัพยากรเดี่ยว (Single Resources) : เจ้าหน้าที่แต่ละคนหรือเครื่องมือพร้อมกับเจ้าหน้าที่ ประจาเครือ่ งมือ • ชุดปฏิบตั กิ ารผสม (Task Forces) : การผสมผสานรวมตัวกันของทรัพยากรเพื่อสนับสนุ นการ ปฏิบตั ทิ ภ่ี ารกิจเฉพาะเจาะจงหรือเพื่อรองรับความจาเป็นในการปฏิบตั กิ าร ทรัพยากรทีป่ ระกอบอยู่ในชุด ปฏิบตั กิ ารผสมจะต้องมีระบบการสื่อสารที่สามารถใช้ปฏิบตั ิงานร่วมกันได้และมีหวั หน้าชุดที่ได้รบั การ แต่งตัง้ • ชุดปฏิบตั กิ ารทีม (Strike Team) : กลุ่มทรัพยากรทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีห่ รือภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย อย่างเดียวกันนี้ ประกอบขึน้ ด้วยเจ้าหน้าทีต่ ามจานวนขัน้ ต่ าทีก่ าหนดไว้ ทรัพยากรทีป่ ระกอบขึน้ เป็ นชุด ปฏิบตั ิการทีมจะต้องมีระบบการสื่อสารที่สามารถใช้ปฏิบตั ิงานร่วมกันได้และมีหวั หน้ าชุดที่ได้รบั การ แต่งตัง้
78
มีก ารสนับ สนุ น ให้ใ ช้ชุ ดปฏิบ ัติการผสมและชุดปฏิบตั ิการทีมเมื่อ มีค วามเหมาะสม เพื่อ เพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร เพื่อลดขนาดของขอบเขตการควบคุมดูแลทรัพยากรเดีย่ วที่ มจี านวนมาก และเพื่อลดความซับซ้อนในการประสานงานและการสื่อสารในการจัดการเหตุการณ์
(ข) ส่วนแผนงาน (Planning Section) ส่ ว นแผนงานท าหน้ า ที่ร วบรวม ประเมิน และแจกจ่ า ยสารสนเทศและข่ า วกรองเกี่ย วกับ สถานการณ์ของเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ ให้ผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วยบัญชาการร่วมและเจ้าหน้าที่ด้าน การจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ น จากนัน้ ส่ ว นแผนงานจะจัด เตรีย มรายงานสถานะของทรัพยากรสารสนเทศ (Status Report) นาเสนอข้อมูลสถานการณ์ รักษาสถานะของทรัพยากรที่มอบหมายให้ทาหน้าที่รบั มือ เหตุฉุกเฉิน และจัดเตรียมและจัดทาเอกสารแผนเผชิญเหตุ ทัง้ นี้ส่วนแผนงานจะต้องใช้สารสนเทศทีไ่ ด้รบั จากส่วนปฏิบตั กิ ารเป็ นฐานในการดาเนินการ และให้เป็ นไปตามคาแนะนาจากผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์/ หน่วยบัญชาการร่วม ดังที่แสดงในภาพ 6 ส่ วนแผนงานประกอบด้วยหน่ วยหลักสี่หน่ ว ย รวมถึงผู้เชี่ยวชาญพิเศษ เฉพาะ (Technical Specialist) จานวนหนึ่ง ทาหน้าที่ให้ความช่วยเหลือในการประเมินสถานการณ์ การพัฒนาจัดทาทางเลือกในการวางแผน และการคาดการณ์ความต้องการทรัพยากรเพิม่ เติม หน่ วยหลัก ในส่วนแผนงานทีท่ าหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบมอบหมายให้ประสบความสาเร็จประกอบด้วย : • หน่ วยทรัพยากร (Resources Unit) : รับผิดชอบในการบันทึกสภาวะของทรัพยากรทีจ่ ะจัดส่ง หรือมอบหมายให้สาหรับการจัดการเหตุการณ์ท่เี กิดขึน้ หน่ วยนี้ยงั ต้องทาหน้าที่ป ระเมินทรัพยากรที่ จัดส่งไปให้และกาลังใช้ปฏิบตั กิ ารอยู่ ประเมินประสิทธิผลของทรัพยากรที่ใช้ในการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ท่ี จัดส่งไปให้เพิม่ เติม และประเมินความต้องการทรัพยากรล่วงหน้า • หน่วยสถานการณ์ (Situation Unit) : รับผิดชอบในการรวบรวม การจัดระบบและการวิเ คราะห์ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถานะเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ และการวิเคราะห์สถานการณ์ในขณะที่กาลังทวีความ รุนแรง • หน่วยถอนกาลังและส่งกลับ (Demobilization Unit) : รับผิดชอบในการสร้างความมันใจในการ ่ ถอนกาลังและส่งกลับทรัพยากรทีใ่ ช้ในการปฏิบตั กิ ารเป็นไปอย่างปลอดภัยมีระเบียบและประสิทธิภาพ • หน่ วยเอกสารสิง่ พิมพ์ (Documentation Unit) : รับผิดชอบในการรวบรวม การบันทึกหลักฐาน และการเก็บรักษาเอกสารเกีย่ วกับเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ • ผู้เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะทาง (Technical Specialist(s)) : เจ้าหน้าทีม่ คี วามชานาญพิเศษที่ สามารถนามาใช้ในส่วนใด ๆ ก็ได้ภายในองค์กรการบัญชาการเหตุการณ์
79
ภาพ 6 ; การจัดผังองค์กรภายในส่วนแผนงาน
ส่วนแผนงาน
หน่วยทรัพยากร หน่วยสถานการณ์ หน่วยถอนกาลัง และส่งกลับ หน่วยเอกสารสิง่ พิมพ์ ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษ เฉพาะทาง โดยปกส่ ว นแผนงานรับ ผิด ชอบในการรวมและแจกจ่ า ยข้อ มู ล ข่ า วสารและข่ า วกรองที่ม ี ความสาคัญต่อเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ เว้นแต่ผบู้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่วยบัญชาการร่ วมมอบหมายหน้าทีท่ ่ี ให้กบั ส่วนอื่น ส่วนแผนงานยังต้องรับผิดชอบในการบูรณาการแผนเผชิญเหตุเข้าด้วยกัน แผนเผชิญเหตุ จะครอบคุลมถึงวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ของการจัดการเหตุการณ์ในภาพรวมทีห่ น่ วยบัญชาการกาหนด ไว้ ในกรณีท่ีใ ช้ร ะบบการบัญ ชาการร่ ว ม แผนเผชิญ เหตุ จ ะต้ อ งตอบสนองความต้อ งการที่จ าเป็ น เชิงภารกิจและนโยบายของหน่ วยงานทีม่ อี านาจหน้าทีไ่ ด้อย่างเพียงพอตลอดถึงการปฏิสมั พันธ์ระหว่าง ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ หน่วยงานทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามภารกิจและองค์กรเอกชน แผนเผชิญ เหตุควรต้องระบุยุทธวิธแี ละกิจกรรมสนับสนุ นทีจ่ าเป็ นสาหรับช่วงระยะเวลาการปฏิบตั กิ ารทีไ่ ด้กาหนด ไว้ ซึง่ โดยปกติจะเป็น 12 ถึง 24 ชัวโมง ่
80
แผนเผชิญเหตุควรรวมการเปลีย่ นแปลงในกลยุทธ์และยุทธวิธโี ดยยึดบทเรียนรูท้ ไ่ี ด้รบั ในระหว่าง ช่ ว งระยะเวลาของการปฏิบ ัติก ารที่ผ่ า นมาเป็ น หลัก แผนเผชิญ เหตุ ท่ีเ ป็ น ลายลัก ษณ์ อ ัก ษรจะมี ความสาคัญเป็นกรณีพเิ ศษ เมือ่ : • มีทรัพยากรจากหลายหน่ วยงาน และ/หรือหลายขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบเข้า มาเกีย่ วข้อง • เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ จะครอบคลุมช่วงระยะเวลาของการปฏิบตั กิ ารหลายช่วง • มีความจาเป็นต้องเปลีย่ นแปลงช่วงเวลาในการทางานของบุคลากร หรือเครือ่ งมือ หรือ • มีความจาเป็ นต้องจัดทาเอกสารประกอบการดาเนินงานและการตัดสินใจ โดยปกติแผนเผชิญเหตุจะประกอบด้วยองค์ประกอบจานวนหนึ่งตามทีแ่ สดงในตาราง 5 : ตาราง 5 : ตัวอย่างเค้าโครงของแผนเผชิ ญเหตุ องค์ประกอบ
โดยปกติ จดั เตรียมโดย
วัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุการณ์ (แบบฟอร์ม ICS 202) ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ รายการหรือแผนภูมคิ วรระบุ/กาหนดองค์กร (แบบฟอร์ม หน่วยทรัพยากร ICS 203 รายการมอบหมายงาน (แบบฟอร์ม ICS 204) หน่วยทรัพยากร แผนการสื่ อ สารทางวิ ท ยุ เ พื่ อ ตอบโต้ เ หตุ ฉุ กเฉิ น หน่วยสื่อสาร (แบบฟอร์ม ICS 205) แผนทางการแพทย์ (แบบฟอร์ม ICS 206) หน่วยบริการทางการแพทย์ แผนทีเ่ หตุฉุกเฉิน หน่วยสถานที่ ข้ อ ความเกี่ ย วกั บ ความปลอดภัย ทัว่ ไป/แผนความ เจ้าหน้าทีด่ า้ นความปลอดภัย ปลอดภัยของสถานทีป่ ฏิบตั กิ าร องค์ประกอบอื่น ๆ ทีจ่ าเป็น (ขึน้ อยูก่ บั เหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ) การสรุปการปฏิบตั กิ ารทางอากาศ การปฏิบตั กิ ารทางอากาศ แผนการจราจร หน่วยสนับสนุนภาคพืน้ ดิน แผนการชาระล้างสิง่ ปนเปื้อน ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง แผนการบริหารจัดการของเสีย/การกาจัดของเสีย ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง แผนการถอนกาลังและส่งกลับ หน่วยถอนกาลังและส่งกลับ แผนความปลอดภัยและสถานทีป่ ฏิบตั กิ าร เจ้าหน้าทีบ่ งั คับใช้กฎหมาย ; ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง ; หรือ ผูบ้ ริหารจัดการความปลอดภัย แผนสืบสวน เจ้าหน้าทีผ่ บู้ งั คับใช้กฎหมาย แผนการกูค้ นื หลักฐาน เจ้าหน้าทีผ่ บู้ งั คับใช้กฎหมาย
81
แผนการอพยพ แผนการจัดตัง้ ศูนย์พกั พิง/การดูแลมวลชนผูป้ ระสบภัย อื่น ๆ (ตามความจาเป็น)
ตามทีก่ าหนด ตามทีก่ าหนด ตามทีก่ าหนด
(ค) ส่วนสนับสนุนกาลังบารุง (Logistics Section) ส่วนสนับสนุ นกาลังบารุง (ดูภาพ) รับผิดชอบในการให้บริการในการตอบสนองการร้องขอการ สนั บ สนุ น ในทุ ก ๆ ด้า นที่จ าเป็ น เพื่อ ให้ก ารจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น ด าเนิ น ไปอย่ า งมีป ระสิท ธิภ าพและ ประสิทธิผล รวมถึงความรับ ผิดชอบในการสังซื ่ อ้ สังจ้ ่ างทรัพยากรจากสถานทีห่ รือแหล่งทีอ่ ยู่นอกพืน้ ที่ท่ี เกิดเหตุ ส่วนนี้ยงั ต้องรับผิดชอบในการให้บริการด้านต่างๆ ซึง่ รวมถึงการจัดหาสถานทีท่ าการ การดูแล รักษาความปลอดภัย (ของสถานทีต่ งั ้ หน่วยบัญชาการเหตุการณ์และของเจ้าหน้าที)่ การขนส่ง พัสดุ การ บารุงรักษาเครื่องมือและน้ ามันเชือ้ เพลิง การสนับสนุ นด้านการสื่อสารและสารสนเทศ การให้บริการด้าน การแพทย์แก่เจ้าหน้าที่ปฏิบตั กิ ารตอบโต้สภาวะฉุ กเฉิน รวมถึงการฉีดวัคซีนตามความจาเป็ น ภายใน ส่วนการสนับสนุ นกาลังบารุงมีหน่ วยหลักหกหน่ วยรับผิดชอบการปฏิบตั ิภารกิจที่ไ ด้รบั มอบให้ประสบ ผลสาเร็จประกอบด้วย : • หน่วยพัสดุ (Supply Unit) : สังซื ่ อ้ รับ จัดเก็บ และดาเนินการตามขัน้ ตอนเกี่ยวกับทรัพยากรที่ ใช้ในการรับมือเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ เจ้าหน้าทีแ่ ละวัสดุสงิ่ ของ • หน่วยสนับสนุนภาคพืน้ ดิน (Ground Support Unit) : ดูแลและให้บริการด้านการขนส่งทางบก ทัง้ หมดในระหว่างเกิดเหตุ พร้อมกันกับการให้บริการด้านการขนส่งทางบก หน่ วยนี้ยงั รับผิดชอบในการ บารุงรักษาและจัดหายานพาหนะให้ รวมถึงการจัดเก็บบันทึกการใช้งาน และการจัดทาแผนจราจรเพื่อ การจัดการเหตุฉุกเฉิน • หน่วยจัดเตรียมสถานทีท่ าการ (Facilities Unit) : จัดหา ติดตัง้ ดูแลรักษา และจัดเก็บ และถอน กลับสถานที่ทาการที่ใช้เพื่อสนับสนุ นการปฏิบตั ิการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน หน่ วยนี้ยงั ทาหน้ าที่ให้บริการ ด้านการบารุงรักษาและการดูแลรักษาความปลอดภัยของสถานที่ทาการที่จาเป็ นสาหรับการสนับสนุ น การปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉิน • หน่วยเสบียง (Food Unit) : กาหนดความต้องการอาหารและน้า วางแผนรายการอาหาร สังซื ่ อ้ อาหาร จัดหาสถานทีใ่ ช้เป็นโรงครัว ทาอาหาร บริการอาหาร ดูแลรักษาพืน้ ทีท่ ใ่ี ช้สาหรับให้บริการอาหาร และบริหารจัดการเรือ่ งความเพียงพอและความปลอดภัยของเสบียงอาหาร • หน่วยสื่อสาร (Communication Unit) : ความรับผิดชอบหลักของหน่วยทีค่ รอบคลุมถึงการวาง แผนการสื่อ สารที่ม ีป ระสิท ธิภ าพ และการได้ม า การติด ตัง้ การดูแ ลรักษา และจัด ท าบัน ทึก การใช้ เครือ่ งมือสื่อสาร • หน่ วยบริการทางการแพทย์ (Medical Unit) : รับผิดชอบในการให้บริการทางการแพทย์ท่มี ี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลแก่เจ้าหน้าทีท่ ป่ี ฏิบตั งิ าน
82
ภาพ 7 : การจัดผังองค์กรภายในส่วนสนับสนุนกาลังบารุง ส่วนสนับสนุนกาลังบารุง
หน่วยพัสดุ
หน่วยเสบียง
หน่วยสนับสนุน ภาคพืน้ ดิน
หน่วยสื่อสาร
หน่วยเตรียม สถานทีท่ าการ
หน่วยบริการ ทางการแพทย์
(ง) ส่วนการเงิ น/การบริ หารจัดการ (Finance/Administration Section) จะมีการจัดตัง้ ส่วนนี้ขน้ึ เมื่อการดาเนินกิจกรรมการจัดการเหตุ ฉุกเฉินจาเป็ นต้องได้รบั บริการ หรือการสนับสนุนในด้านงานการเงินและการบริหารจัดการ ทีต่ ้องดาเนินการในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุหรือในกรณี ทีเ่ กิดเหตุฉุกเฉินทีเ่ ฉพาะเจาะจง ภารกิจบางอย่างทีอ่ ยูภ่ ายในขอบเขตรับผิดชอบของส่วนนี้จะรวมถึงการ บันทึกเวลา การปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าที่ การรักษาสัญญาว่าจ้าง การบริหารจัดการค่าชดเชยและสิทธิ เรียกร้องและดาเนินการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายโดยรวมสาหรับการจัดการเหตุฉุกเฉิน หากมีการจัดตัง้ ส่วน การเงิน/การบริหารจัดการแยกต่างหาก จาเป็ นต้องมีการประสานงานกันอย่างใกล้ชดิ กับส่วนแผนงาน และส่วนสนับสนุนกาลังบารุง เพื่อให้เกิดความสอดคล้องระหว่างเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการปฏิบตั กิ าร กับเอกสารทางการเงิน ส่วนการเงิน/การบริหารจัดการ เป็ นส่วนประกอบทีจ่ าเป็ นและสาคัญยิง่ ของระบบการบัญชาการ เหตุการณ์ในกรณีเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ มีขนาดใหญ่และมีความซับซ้อน แลเกี่ยวข้องกับเงินกองทุนจานวน มากที่มาจากแหล่งต่าง ๆ หลายแหล่ง นอกเหนือจากการติดตามตรวจสอบแหล่งของเงินกองทุนต่าง ๆ แล้ว หัวหน้าส่วนการเงิน/การบริหารจัดการจะต้องติดตามและรายงานค่าใช้จ่ายที่เพิม่ มากขึน้ ในขณะที่ เหตุการณ์ยงั คงดาเนินไปต่อผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วยบัญชาการร่วม การดาเนิน การเช่นนี้จะช่วยให้
83
ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วยบัญชาการร่วม สามารถคาดการณ์ความต้องการเงินกองทุนเพิม่ เติมก่อนที่ การปฏิบตั กิ ารจะได้รบั กระทบในเชิงลบ ภาพ 8 แสดงผังโครงสร้างองค์กรขัน้ พื้นฐานของส่วนการเงิน/ การบริหารจัดการ เมื่อมีการจัดตัง้ ส่วนนี้ขน้ึ มาจะต้องมีการจัดเจ้าหน้าทีเ่ ข้าประจาการในหน่ วยต่าง ๆ ที่ จัดตัง้ ตามทีจ่ าเป็ น ภายในส่วนการเงิน/การบริหารจัดการมีหน่ วยหลักสีห่ น่ วยรับผิดชอบปฏิบตั ภิ ารกิจที่ ได้รบั มาให้ประสบผลสาเร็จ ประกอบด้วย • หน่ วยค่าชดเชย/สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย (Compensation/Claims Unit) : รับผิดชอบเรื่อง การเงินทีเ่ กิดจากความเสียหายของทรัพย์สนิ การบาดเจ็บ และการเสียชีวติ จากเหตุฉุกเฉิน • หน่ วยค่าใช้จ่าย (Cost Unit) : รับผิดชอบในการติดตามค่าใช้จ่าย การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับ ค่าใช้จา่ ย การประมาณการ และการแนะนามาตรการประหยัดค่าใช้จ่าย • หน่วยจัดซือ้ จัดจ้าง (Procurement Unit) : รับผิดชอบเรือ่ งการเงินทีเ่ กีย่ วกับสัญญาว่าจ้าง • หน่วยบันทึกเวลา (Time Unit) : รับผิดชอบในการบันทึกเวลาการปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าทีแ่ ละ เครือ่ งมือทีเ่ ช่ามา ภาพ 8 : การจัดผังองค์กรภายในส่วนการเงิ น/การบริ หารจัดการ ส่วนการเงิ น/การบริ หารจัดการ
หน่วยค่าชดเชย/สิทธิ เรียกร้องตามกฎหมาย
หน่วยจัดจ้าง
หน่วยค่าใช้จา่ ย
หน่วยบันทึกเวลา ปฏิบตั งิ านของ เจ้าหน้าทีส่ ่อื สาร
(จ) การข่าวกรอง/ภารกิ จการสืบสวน (Intelligence/Investigations Function) การเก็บ รวบรวม การวิเ คราะห์แ ละการแบ่ ง ป นั ข่ าวกรองเกี่ย วกับ เหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิด ขึ้น เป็ น องค์ประกอบทีส่ าคัญของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ โดยปกติการบริหารจัดการสารสนเทศเกี่ยวกับ การปฏิบตั กิ ารและข่าวกรองเกี่ยวกับสถานการณ์ เป็ นภารกิจของส่วนแผนงาน ซึ่งมุ่งเน้นไปทีข่ ่าวกรอง เกี่ยวกับเหตุฉุกเฉินในสามด้าน คือ : สถานะของสถานการณ์ สถานะของทรัพยากร และสถานะของ เหตุการณ์ท่คี าดการณ์ไว้ หรือการเพิม่ ระดับความรุนแรงหรือการขยายขอบเขต (เช่น การพยากรณ์ อากาศและสถานทีจ่ ดั เก็บพัสดุ) สารสนเทศและข่าวกรองทีจ่ ะได้รบั การนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ ในการจัดการเหตุฉุกเฉิน นอกจากนี้ ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทางทีป่ ฏิบตั งิ านอยู่ในส่วนแผนงานอาจจะ นาสารสนเทศและข่าวกรองไปใช้ในการให้ขอ้ มูลทีเ่ ฉพาะเจาะจงเพื่อสนับสนุ นการตัดสินใจเชิงยุทธวิธ ี
84
การจัดผังองค์ก รการบัญ ชาการเหตุ การณ์ ควรต้อ งสร้างระบบสาหรับการเก็บรวบรวม การ วิเคราะห์ และการแบ่งปนั สารสนเทศทีไ่ ด้รบั ในระหว่างการดาเนินข่าวกรอง/การสืบสวน การจัดการเหตุ ฉุ กเฉินบางประเภทจาเป็ นต้องใช้ข่าวกรอง และข้อมูลข่าวสารที่ได้จากการสืบสวนที่ได้รบั การอธิบาย ความหมายไว้สองทาง ทางแรกหมายความว่าเป็ นสารสนเทศทีน่ ไปสู่การสืบหา การป้องกันการกระทา ความผิดทางอาญา หรือการจับกุม และการดาเนินการตามกฎหมายต่อบุคคลที่มสี ่วนร่วมในการกระทา ความผิด รวมไปถึงเหตุการณ์ก่อการร้าย ทางที่สองหมายถึงสารสนเทศที่นาไปสู่การระบุสาเหตุ การ คาดการณ์การแพร่กระจายหรือลุกลาม การประเมินผลกระทบ หรือการเลือกใช้มาตรการตอบโต้เหตุ ฉุ กเฉินที่เกิดขึน้ (โดยไม่คานึงถึงแหล่งที่มา) เช่น เหตุฉุกเฉินทางสาธารณสุข การเกิดโรคระบาดหรือ อัคคีภยั ทีไ่ ม่ทราบต้นกาเนิด ระบบการบัญชาการเหตุการณ์มคี วามยืดหยุ่นในการจัดโครงสร้างอค์ก ร ดังนัน้ จึงสามารถที่จะ เลือกจัดวางงานการข่าวกรอง/การสืบสวนไว้ในส่ว นหนึ่งส่ วนใดของโครงสร้างขององค์กรระบบการ บัญชาการเหตุการณ์กไ็ ด้ ดังนี้ : • จัดวางไว้ในส่วนแผนงาน : เป็ นวิธกี ารจัดวางงานการข่าวกรอง/การสืบสวนแบบดัง้ เดิมและ เหมาะสาหรับเหตุการณ์ทไ่ี ด้รบั สารสนเทศจากการสืบสวนน้อยหรือไม่มเี ลย • จัดตัง้ แยกออกไปเป็นส่วนทีมงานปฏิบตั กิ าร : ทางเลือกนี้อาจเหมาะสมเมื่อเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ มีองค์ประกอบด้านการข่าวกรอง/การสืบสวนที่มนี ับสาคัญเมื่อจุดประสงค์ด้านอาชญากรรมหรือด้าน ระบาดวิทยา หรือเมื่อมีหน่ วยงานสืบสวนหลายหน่ วยเข้า มาเกี่ยวข้อง การจัดตัง้ ส่วนการข่าวกรอง/การ สืบสวน (Intelligence/Investigation Section) แยกออกไปต่างหาก อาจจะจาเป็ นหากสารสนเทศ เกีย่ วกับเหตุฉุกเฉินเป็นสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชาเชิงลึก (Highly Specialized Information) ทีต่ ้องการ การวิเคราะห์ทางวิชาการทีม่ คี วามจาเป็ นหรือสาคัญยิง่ ต่อการปฏิบตั กิ ารช่วยชีวติ ในช่วงเวลาจากัด (เช่น เหตุฉุกเฉินเกีย่ วกับสารเคมี สารชีวภาพ สารรังสี หรือนิวเคลียร์) หรือเมื่อมีความต้องการข่าวกรองทีเ่ ป็ น ความลับ • จัดวางไว้ในส่วนปฏิบตั กิ าร : ทางเลือกนี้อาจจะเหมาะสมสาหรับเหตุฉุกเฉินทีจ่ าเป็ นต้องมีก าร เชื่อมโยงและการประสานกันอย่างใกช้ชดิ เป็ นพิเศษ ระหว่างข้อมูลที่ได้รบั จากากรสืบสวนและยุทธวิธ ี ปฏิบตั กิ ารทีน่ ามาใช้ • จัดวางไว้ในทีมงานบัญชาการ : ทางเลือกนี้อาจจะเหมาะสมสาหรับเหตุฉุกเฉินทีจ่ าเป็ นต้องใช้ สารสนเทศเชิงยุทธวิธหี รือข้อมูลลับไม่มาก และในเหตุฉุกเฉินทีผ่ แู้ ทนของหน่ วยงานสนับสนุ นสามารถให้ สารสนเทศแบบเวลาจริง (Real Time Information) แก่ผบู้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่วยบัญชาการร่วมได้ ภาระหน้ าที่ของหน่ ว ยข่าวกรอง/การสืบสวน คือ การสร้างความมันใจว่ ่ าภาระหน้ าที่ท่ไี ด้ร บั มอบหมายการปฏิบตั กิ ารด้านการข่าวกรองและการสืบสวน และกิจกรรมการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ทงั ้ หมดได้ มีการจัดการการประสานงานและการกากับดูแลอย่างถูกต้องเพื่อทีจ่ ะ : • ป้องกัน/ยับยัง้ ไม่ให้เกิดเหตุฉุกเฉิน การกระทา หรือการโจมตีทเ่ี กิดขึน้ เพิม่ เติม
85
• รวบรวม ประมวลผล วิเคราะห์ และแจกจ่ายข้อมูลข่าวสารอย่างถูกต้องเหมาะสม • ดาเนินการสืบสวนอย่างละเอียดและครอบคลุม • กาหนด ประมวลผล รวบรวม และจัดทาระบบหรือลูกโซ่การเก็บรักษาคุม้ ครองหลักฐาน (Chain of Custody) เพื่อทีจ่ ะเก็บรักษา ตรวจสอบ/วิเคราะห์และจัดเก็บพยานหลัก ฐานเกี่ยวกับการสืบสวนทีใ่ ช้ พิสจู น์ยนื ยันได้ • ระบุหรือกาหนดแหล่งทีม่ าหรือสาเหตุ และควบคุมการแพร่กระจายหรือลุกลามและผลกระทบ ในการสืบสวนเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ใหม่ (อัคคีภยั การระบาดของโรค ฯลฯ) หน่ ว ยข่า วกรอง/การสืบสวนมีหน้ าที่รบั ผิดชอบที่ไม่เ อื้อ อ านวยต่ อ การเข้ามามีส่ ว นร่ว มของ หน่ วยงานอื่น ๆ เกี่ยวข้อ งในระหว่างเกิดเหตุ ฉุก เฉิ น อย่างไรก็ต าม ภาระหน้ าที่บางอย่างยังคงเป็ น ภาระหน้ าที่ท่จี าเพาะของฝ่ายที่ใช้การบังคับใช้กฎหมาย ตัวอย่างของกรณีน้ีคอื กรณีเพื่อที่จะระบุและ จับกุมผูก้ ระทาผิดหรือผูก้ ่อการทัง้ หมดให้ได้อย่างรวดเร็ว และกรณีทจ่ี ะประสบผลสาเร็จในการดาเนินคดี จาเลยทัง้ หมด โดยไม่ค านึ ง ว่า จะมีว ิธ ีก ารจัดวางหน่ ว ยการข่าวกรอง/สืบ สวนไว้ใ นส่ ว นใดขององค์กร การ ประสานงานอย่างใกล้ชดิ ยังคงดาเนินการอยูต่ ่อไป และสารสนเทศต่าง ๆ จะถูกส่งไปยังหน่ วยบัญชาการ ส่วนปฏิบตั กิ าร และส่วนแผนงาน อย่างไรก็ตามข้อมูลข่าวสารลับที่จาเป็ นต้องได้รบั การตรวจสอบด้าน ความปลอดภัยในการรัก ษาความลับ ข้อ มูล ข่า วสารที่มคี วามละเอียดอ่ อ น หรือ กลยุทธ์การสืบสวน เฉพาะทีจ่ ะมีผลกระทบในเชิงลบต่อการสืบสวน จะมีการแบ่งปนั ให้เฉพาะงานหรือเฉพาะบุคคลทีผ่ ่านการ ตรวจสอบการรักษาความลับอย่างเหมาะสม หรือบุคคลทีจ่ าเป็นต้องให้รเู้ ท่านัน้ การจัดรูปแบบองค์กรของหน่วยข่าวกรอง/สืบสวนอาจจะกระทาได้หลายทาง ต่อไปนี้คอื ตัวอย่าง ของกลุ่ม (Group) ทีอ่ าจจะต้องเปิดใช้งานในกรณีทจ่ี าเป็น : • กลุ่มภารกิจปฏิบตั กิ ารสืบสวน (Investigative Operations Group) : รับผิดชอบการดาเนินงาน สืบสวนในภาพรวม • กลุ่มภารกิจข่าวกรอง (Intelligence Group) : รับผิดชอบในการรับข่าวทีไ่ ม่เป็ นความลับ ข่าว ลับ และข่าวทีม่ าจากแหล่งข่าวสาธารณะ • กลุ่มภารกิจนิตเิ วช (Forensic Group) : รับผิดชอบในการเก็บรวบรวมและเก็บรักษาหลักฐาน ทางนิตเิ วช รวมถึงการเก็บรวบรวมหลักฐานทางนิตเิ วชในเหตุฉุกเฉินทีม่ ลี กั ษณะเป็ นอาชญากรรม และ การปกป้องและรักษาหลักฐานในทีเ่ กิดเหตุอาชญากรรมไม่ให้ถูกทาลายหรือได้รบั ความเสียหาย • กลุ่มภารกิจสนับสนุนการสืบสวน (Investigative Supporting Group) : รับผิดชอบในการสร้าง ความมันใจว่ ่ ามีเจ้าหน้ าที่สบื สวนอยู่พร้อมที่จ ะปฏิบตั ิงานได้ทนั ที รวมถึงการสร้างความมันใจในการ ่ แจกจ่ายทรัพยากรที่จาเป็ น รวมถึงการบารุงรักษา การคุม้ ครอง การจัดเก็บ และการส่งคืนอย่างถูกต้อง เมือ่ มีความเหมาสม
86
อาจจะมีการจัดตัง้ กลุ่มอื่น ๆ เพื่อทาหน้าที่รบั ผิดชอบในด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ : การทาให้ม ี ความมันใจว่ ่ าบุคคลทีส่ ูญหาย หรือศพนิรนามและซากศพมนุ ษย์จะได้รบั การสืบสวนและพิสูจน์เอกลัษณ์ อย่างรวดเร็ว และในกรณีต้องการให้แจ้งผลให้ทราบจะดาเนินการให้ทนั ตามเวลาที่เหมาะสม หน้ าที่ รับผิดชอบดังกล่าวนี้ค รอบคลุ มถึงการเก็บรวบรวมข้อ มูล ก่ อนการเสียชีว ิต และตัว อย่างภายในศูน ย์ ช่วยเหลือครอบครัว 4 ทีมงานจัดการเหตุฉุกเฉิ น (Incident Management Team) ทีมงานจัดการเหตุฉุกเฉินเป็ นการจัดรูปแบบการบัญชาการเหตุการณ์ ที่ประกอบด้วยทีมงาน บัญ ชาการและทีม งานปฏิบ ัติก าร และเจ้า หน้ า ที่ท่ีเ หมาะสมภายในโครงสร้า งระบบการบัญ ชาการ เหตุการณ์ ซึง่ สามารถจะจัดส่งไปปฏิบตั งิ านหรือลงมือปฏิบตั งิ านได้ตามความจาเป็ น ในการจัดตัง้ ทีมงาน จัดการเหตุฉุกเฉินในระดับรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ และรัฐบาลท้องถิน่ บางแห่งมีการกาหนดคุณสมบัติ และการรับรองอย่างเป็ นทางการของผู้ท่จี ะเป็ นสมาชิกในทีมงาน ขัน้ ตอนในการแจ้งให้ทราบล่วงหน้ า การจัดส่งไปปฏิบตั งิ านและขัน้ ตอนในการดาเนินไว้เป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว แต่ในบางกรณี การจัดตัง้ ทีมงาน จัดการเหตุฉุก เฉินจะกระทาเมื่อมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึน้ หรือมีการจัดตัง้ เมื่อมีการจัดงานมหกรรมพิเศษ ระดับของการฝึ กอบรมและประสบการณ์ของสมาชิกทีมงานจัดการเหตุฉุกเฉินควบคู่ กบั ความจาเป็ นที่ ต้องใช้ให้ปฏิบตั หิ น้าที่ และภาระรับผิดชอบในการตอบโต้ตามที่ได้ระบุไว้ของทีมงานจัดการเหตุฉุกเฉิน จะเป็ นปจั จัยในการกาหนดประเภทหรือระดับของทีมงานจัดการเหตุฉุกเฉิน 5 เขตพื้นที่ เกิ ดเหตุฉุกเฉิ นเชิ งซ้ อน : การจัดการเหตุฉุกเฉิ นที่ เกิ ดขึ้นพร้อมกันหลายเหตุการณ์ ภายใต้ องค์กรตามระบบการบัญชาการเหตุการณ์ องค์กรเดียว (Incident Complex : Multi Incident Management Within A Single ICS Organization) (ก) คาอธิ บาย เหตุฉุกเฉินเชิงซ้อน หมายถึงการทีม่ เี หตุฉุกเฉินสองหรือมากกว่าสองเหตุการณ์เกิดขึน้ ใกล้เคียง กันในบริเวณพื้นที่เดียวกันและได้มอบหมายให้อยู่ภายใต้การบัญชาการของผู้บญ ั ชาการเดี่ยวเพียงคน เดียว หรือขอบหน่ วยบัญชาการเพียงหน่ วยเดียว เมื่อได้มกี ารกาหนดเขตพืน้ ทีเ่ กิดเหตุฉุกเฉินเชิงซ้อน ครอบคลุมเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมดแล้ว แนวทางทีถ่ อื ปฏิบตั โิ ดยทัวไปคื ่ อเหตุฉุกเฉิ นทีไ่ ด้รบั การระบุ ไว้ก่ อนหน้ านัน้ จะกลายเป็ นสาขาปฏิบตั ิการ (Branch) ภายในส่ว นปฏิบตั ิการของทีมงานจัดการเหตุ ฉุกเฉิน ซึง่ จะช่วยให้มศี กั ยภาพสาหรับขยายโครงสร้างเพิม่ ขึน้ ต่อไปหากมีความจาเป็ น ดังนัน้ แต่ละสาขา ปฏิบตั กิ ารจะมีความยืดหยุ่นเพิม่ มากขึน้ และสามารถจัดตัง้ พื้นทีป่ ฏิบตั กิ าร (Divisions) หรือกลุ่มภารกิจ (Groups) ขึ้น นอกเหนื อ จากนี้ อาจเป็ นเพราะว่า ได้จ ดั ตัง้ พื้นที่ปฏิบตั ิการและกลุ่ ม ภารกิจไว้เ พื่อ รับผิดชอบการจัดการเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ แต่ละเหตุการณ์ไว้แล้ว ดังนัน้ โครงสร้างขัน้ พืน้ ฐานขององค์กร เดียวกันจึงสามารถทีจ่ ะขยายเพิม่ ขึน้ ได้ถ้าหากเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ภายในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุฉุกเฉินเชิงซ้อน เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งมีศกั ยภาพเพียงพอทีจ่ ะกลายเป็ นเหตุฉุกเฉินขนาดใหญ่ ทางทีด่ ที ส่ี ุดคือการ
87
ก าหนดแยกเหตุ ฉุ ก เฉิ น ดังกล่ าวออกมาต่ างหาก พร้อ มกับ กาหนดองค์กรตามระบบการบัญ ชาการ เหตุการณ์เป็นการเฉพาะสาหรับเหตุฉุกเฉินดังกล่าว ตัวอย่างดังต่ อไปนี้เป็ นเหตุฉุกเฉินที่เหมาะที่จะใช้วธิ กี ารจัดการภายใต้องค์กรตามระบบการ บัญชาการเหตุการณ์เพียงองค์กรเดียว • แผ่นดินไหว พายุทอร์นาโด อุทกภัย หรือสถานการณ์อ่นื ๆ ที่มเี หตุฉุกเฉินหลายเหตุเกิดขึน้ พร้อมกันในบริเวณพืน้ ทีใ่ กล้เคียงกัน • เหตุฉุกเฉินทีม่ ลี กั ษณะเหมือนกันหลายเหตุการณ์เกิดขึน้ ใกล้เคียงกัน • มีเหตุฉุกเฉินหนึ่งเหตุการณ์กาลังดาเนินอยู่และได้มอบหมายให้ทมี งานบัญชาการเหตุการณ์ รับผิดชอบแล้ว และมีเหตุฉุกเฉินทีม่ ขี นาดเล็กกว่าเกิดขึน้ ในบริเวณพืน้ ทีเ่ ดียวกัน เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ หลายเหตุการณ์ในเขตพื้นที่เดียวกัน อาจจะสามารถจัดการได้ภายใต้การ บัญชาการของผูบ้ ญ ั ชาการเดีย่ วเพียงผูเ้ ดียวหรือของหน่ วยบัญชาการช่วยเพียงหน่ วยเดียว ต่อไปนี้เป็ น ข้อควรพิจารณาเพิม่ เติมสาหรับการจัดการเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ หลายเหตุการณ์ ภายใต้องค์กรตามระบบ การบัญชาการเหตุการณ์องค์กรเดียว • ระยะทางระหว่างจุดเกิดเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ ใกล้พอทีจ่ ะใช้ทมี งานจัดการเหตุฉุกเฉินทีมเดียวกัน ได้ • วีธกี ารจัดการเหตุฉุกเฉินหลายเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในพืน้ ทีใ่ กล้เคียงกันโดยใช้องค์กรตามระบบ การบัญชาการเหตุการณ์ เพียงองค์กรเดียวจะช่วยลดภาระการให้การสนับสนุ นด้านกาลังคนและกาลัง บารุง • จ านวนเหตุ ฉุ ก เฉิ น ทัง้ หมดที่เ กิด ขึ้น ภายในขอบเขตอ านาจหน้ า ที่แ ละพื้น ที่ร ับ ผิด ชอบ จาเป็ นต้องมีการรวมเข้าด้วยกันไว้ในเขตพืน้ ทีใ่ ดพืน้ ทีห่ นึ่งทีเ่ ป็ นไปได้ เพื่อถนอมกาลังเจ้าหน้าทีแ่ ละลด ค่าใช้จา่ ย • หน่วยบัญชาการหน่วยเดียวสามารถดาเนินงานด้านการวางแผน การสนับสนุ นกาลังบารุง และ การเงิน/การบริหารจัดการเหตุฉุกเฉินหลายเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในพืน้ ทีใ่ กล้เคียงกัน 6 หน่ วยบัญชาการพื้นที่ (Area Command) หน่ วยบัญชาการพืน้ ที่เป็ นองค์กรทีท่ าหน้าที่กากับดูแลการจัดการเหตุฉุกเฉินแต่ละเหตุการณ์ท่ี เกิดขึ้นพร้อ มกันของแต่ ละองค์กรตามระบบการบัญชาการเหตุการณ์ หรือกากับดูแลการจัดการเหตุ ฉุกเฉินทีม่ ขี นาดใหญ่มากหรือเหตุฉุกเฉินทีก่ าลังขยายตัวทีท่ มี งานจัดการเหตุฉุกเฉินหลายทีมงานเข้ามา มีส่วนร่วม โดยปกติ ผู้อานวยการ/ผู้บริหารของหน่ วยงานหรือเจ้าหน้าที่ราชการที่มอี านาจหน้าที่และ ความรับผิดชอบการจัดการเหตุฉุกเฉินตามหมายเป็ นผู้ตดั สินใจในการจัดตัง้ หน่ วยบัญชาการพืน้ ที่ การ เบิกใช้งานหน่ ว ยบัญ ชาการพื้นที่จะกระทาในกรณีท่จี าเป็ นเท่านัน้ ทัง้ นี้ ขึ้นอยู่กับความซับซ้อ นของ เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ และการพิจารณาถึงช่วงการควบคุมในการจัดการเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้
88
หน่วยบัญชาการพืน้ ทีจ่ ะเกีย่ วข้องเป็นพิเศษกับเหตุฉุกเฉินทีโ่ ดยทัวไปแล้ ่ วจะเป็ นเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ไม่ เฉพาะเจาะจงพื้นที่ เหตุฉุกเฉินที่ไม่อาจจะรุบุแหล่งที่มาได้ในทันที เหตุฉุกเฉินที่แพร่ขยายครอบคลุม พื้น ที่ก ว้า ง และมีว ิว ัฒ นาการในช่ ว งเวลาที่ย าวนานกว่ า ปกติ (เช่ น ภาวะฉุ ก เฉิ น ด้า นสาธารณสุ ข แผ่นดินไหว พายุทอร์นาโด การก่อความวุ่นวายของประชาชน หรือในพืน้ ทีห่ นึ่งพืน้ ทีใ่ ดทีต่ ้องใช้ทมี งาน จัดการเหตุฉุกเฉินหลายทีมเข้าไปจัดการ และมีการร้องขอทรัพยากรทีค่ ล้ายคลึงกันเพื่อใช้ในการจัดการ เหตุฉุกเฉินเหล่านี้) เหตุฉุกเฉินต่าง ๆ เช่นนี้ รวมถึงการกระทาการก่อการร้ายด้วยอาวุธชีวภาพ เคมี รังสี และนิวเคลียร์ จาเป็ นต้องมีการประสานการตอบโต้ระหว่างรัฐบาลในระดับต่าง ๆ องค์กรพัฒนาเอกชน และภาคเอกชน ซึ่ง จะต้อ งมีก ารประสานงานกัน อย่ า งกว้า งขวางระหว่ า งผู้ม ีอ านาจหน้ า ที่ร ะดับ สูง นอกจากนี้ ม ีก ารใช้ห น่ ว ยบัญ ชาการพื้น ที่เ มื่อ มีเ หตุ ป ระเภทเดีย วกัน เกิด ขึ้น ในพื้น ที่เ ดีย วกัน หลาย เหตุการณ์ และมีการแก่งแย่งชิงทรัพยากรทีเ่ หมือน ๆ กัน อย่างเช่นเหตุฉุกเฉินที่เกิดจากสารอันตราย หลายประเภท การรัวไหลของสารอั ่ นตราย หรืออัคคีภยั เมื่อ เหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิด ขึ้น พร้อ มกัน มีห ลายประเภท และ/หรือ ไม่ ม ีก ารร้อ งขอทรัพ ยากรที่ เหมือนกันมาพร้อม ๆ กัน โดยปกติแล้ว เหตุฉุกเฉินเหล่านี้มกั จะได้รบั การจัดการแยกต่างหากจากกัน แต่ละเหตุการณ์หรือได้รบั การจัดการผ่านทางศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉิ น (Emergency Operations Center) หรือผ่านทางคณะกรรมการประสานงานระหว่างอค์กร (Multiagency Coordination Group) ถ้าหากเหตุฉุกเฉินทีอ่ ยู่ภายใต้อานาจหน้าทีข่ องหน่ วยบัญชาการพืน้ ทีข่ ยายครอบคุลมขอบเขต อานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบหลายเขต ควรต้องจัดตัง้ หน่ วยบัญชาการพื้นที่ร่วม (Unified Area Command) (ดูภาพที่ 9) การดาเนินการเช่นนี้จะช่วยให้แต่ละขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ มีผแู้ ทนร่วมอยูใ่ นหน่วยบัญชาการพืน้ ที่ ไม่ควรจะทาให้เกิดความสับสนระหว่างหน่ วยบัญชาการพืน้ ทีก่ บั ภารกิจทีร่ ะบบการประสานงาน แบบพหุภาคี (Multiagency Coordination System : MACS) ดาเนินการ หน่ วยบัญชาการพืน้ ทีท่ าหน้าที่ ก ากับ ดูแ ลการประสานงานในการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น ในขณะที่อ งค์ป ระกอบต่ า ง ๆ ของระบบการ ประสานงานแบบพหุ ภาคี เช่ น ศูน ย์ก ารสื่อ สาร/รับแจ้ง เหตุ แ ละสังการ ่ ศูน ย์ป ฏิบ ัติก ารฉุ ก เฉิ นหรือ คณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กรทาหน้าทีป่ ระสานการให้การสนับสนุ น ภาพที่ 9 : ความเกี่ยวโยงระหว่างสายการบังคับบัญชากับการรายงาน ผูอ้ านวยการ/ ผูบ้ ริหารของหน่วยงาน ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉิน/ คณะกรรมการประสานงาน ระหว่างองค์กร
ผูบ้ ญ ั ชาการพืน้ ที/่ หน่วยบัญชาการพืน้ ทีรว่ ม
89
เส้น ประที่เ ชื่อ มต่ อ ศู น ย์ป ฏิบ ัติก ารฉุ ก เฉิ น /คณะกรรมการประสานงานระหว่ า งอ งค์ก รกับ ผู้อ านวยการ/ผู้บ ริห ารของหน่ ว ยงานและกับ ผู้บ ัญ ชาการพื้น ที่/ หน่ ว ยบัญ ชาการพื้น ที่แ สดงถึง การ เชื่อมโยงด้านการสื่อสารและการประสานงานระหว่างศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉิน/คณะกรรมการประสานงาน ระหว่างองค์กรกับโครงการสร้างการบัญชาการ (ข) ความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบของหน่วยบัญชาการพืน้ ทีต่ ่อเหตุฉุกเฉินทีอ่ ยูภ่ ายใต้อานาจหน้ าทีม่ ดี งั ต่อไปนี้ • กาหนดวัตถุประสงค์ในวงกว้างสาหรับการฟื้นฟู พืน้ ทีท่ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบ • ประสานการกาหนดวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน • จัดสรรทรัพยากร (อีกครัง้ เมือ่ ลาดับความสาคัญเปลีย่ นแปลง • สร้างความมันใจว่ ่ าเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ จะได้รบั การจัดการอย่างถูกต้อง • จัดให้มกี ารสื่อสารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ • สร้างความมันใจว่ ่ าได้มกี ารดาเนินการตรงตามวัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน และ วัตถุประสงค์ดงั กล่าวไม่ขดั แย้งกัน หรือไม่ขดั แย้งกับนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด • ระบุค วามต้อ งการทรัพ ยากรที่สาคัญ และรายงานให้ศูนย์ปฏิบตั ิการฉุ กเฉิน/คณะกรรมการ ประสานงานระหว่างองค์กรทราบ • ทาให้มนใจว่ ั ่ ามีการประสานงานการฟื้นฟูเร่งด่วนในระยะสัน้ เพื่อช่วยในการเปลีย่ นผ่านไปสู่การ ปฏิบตั กิ ารฟื้นฟูอย่างเต็มรูปแบบ ค. ระบบการประสานงานแบบพหุภาคี (Multiagency Coordination Systems) การประสานงานแบบพหุภาคี เป็ น กระบวนการ ที่ช่วยทาให้ รัฐ บาลทุ ก ระดับ และสาขาวิช าชีพ ต่ า ง ๆ ท างานร่ ว มกัน ได้อ ย่า งมี การประสานงานแบบพหุภาคี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล การประสานงานแบบพหุภาคี เป็ นการ เป็นระบบ... ประสานงานข้ามสาขาวิชพี ที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการเหตุ ไม่เพียงแต่เป็ นสถานที่ ฉุ ก เฉิ นที่เกิดขึ้นข้ามขอบเขตอ านาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบหรือ อานวยความสะดวก ข้ามระดับต่าง ๆ ของรัฐบาล การประสานงานแบบพหุภาคี สามารถเกิดและจะเกิดขึน้ เสมอ เมื่อไหร่กต็ ามทีเ่ จ้าหน้าทีจ่ ากต่าง หน่ วยงานมีปฏิสมั พันธ์ในการดาเนินกิจกรรมร่วมกัน อย่างเช่นในการเตรียมความพร้อมการป้องกัน การ
90
ปฏิบตั ิ การตอบโต้ การฟื้นฟู และการบรรเทา บ่อยครัง้ ที่หน่ วยงานทีใ่ ห้ความร่วมมือ มักจะพัฒนาระบบ การประสานงานแบบพหุภาคีข้นึ มา เพื่อช่วยให้พวกเขาสามารถกาหนดวิธกี ารทางานร่วมกันได้ดขี ้นึ และสามารถช่วยให้พ วกเขาสามารถทางานร่ว มกันได้อย่างมีประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น อย่างไรก็ต าม การ ประสานงานแบบพหุภาคีสามารถเกิดขึ้นได้ โดยไม่ต้องใช้ระเบียบปฏิบตั ิท่กี าหนดขึน้ อาจจะมีการนา ระบบการประสานงานแบบพหุ ภ าคีไ ปใช้โ ดยไม่ ต้อ งค านึ ง ถึง สถานที่ ต าแหน่ ง ของเจ้า หน้ า ที่ห รือ โครงสร้างขององค์กร ระบบการประสานงานแบบพหุภาคีครอบคลุมถึงการวางแผนและการประสานการ จัดการทรัพ ยากรและการสนับสนุ นอื่น ๆ สาหรับการจัดงานที่มกี ารวางแผนไว้ล่ ว งหน้ า รวมถึงเหตุ ฉุ กเฉินทีม่ กี ารแจ้งและไม่มกี ารแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ระบบการประสานงานแบบพหุภาคีได้กาหนดแนว ทางการดาเนินกิจกรรม มาตรฐานวิธกี ารปกิบตั งิ าน (Standard Operations Procedures) กระบวนการ และระเบีย บปฏิบ ัติ ซึ่ง องค์ก รที่เ ข้า มาที่ม ีส่ ว นร่ว มถือ ปฏิบ ัติใ นการประสานการปฏิบ ัติง านร่ว มกัน องค์ประกอบทีส่ าคัญของระบบการประสานงานแบบพหุภาคีคอื ขัน้ ตอนดาเนินงาน และระเบียบปฏิบตั ใิ น การจัดส่งทรัพยากร โครงสร้างองค์กรการบัญชาการเหตุการณ์ และการประสานงาน และการดาเนิน กิจ กรรมสนับ สนุ น ที่เ กิด ขึ้น ภายในศู น ย์ป ฏิบ ัติก ารฉุ ก เฉิ น ที่เ ปิ ด ใช้ง าน โดยพื้น ฐานแล้ว ระบบการ ประสานงานแบบพหุภาคีจะให้การสนับสนุ น ดูแลการประสานงาน และให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการ ตัดสินใจแก่โครงสร้างระบบการบัญชาการเหตุการณ์ทท่ี าหน้าทีจ่ ดั การเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึ้น ข้อตกลงทีเ่ ป็ นลายลักษณ์อกั ษรจะช่วยให้หน่ วยงายภายในระบบสามารถดาเนินกิจกรรมโดยใช้ กฏที่ตงั ้ ไว้ และส่วนใหญ่มกั จะกาหนดขึน้ เองโดยองค์กรต่าง ๆ ที่เข้ามามีส่วนร่วม การดาเนินการตาม ระบบการประสานงานแบบพหุ ภาคีอ ย่างเต็มรูปแบบเป็ นสิ่งสาคัญยิง่ สาหรับการดาเนินกิจกรรมก าร ประสานงานระหว่างหน่ ว ยงานต่าง ๆ และเป็ นสิง่ ที่จาเป็ นเพื่อความสาเร็จและความปลอดภัยในการ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้ เมื่อใดก็ตามที่มหี น่ วยงานในขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพื้นทีร่ บั ผิดชอบมากกว่าหนึ่ง หน่วยปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ นอกเหนือจากนี้ การนาระบบการประสานงานแบบพหุภาคี มาใช้ เป็ นองค์ประกอบพื้นฐานองค์ประกอบหนึ่งของการบัญ ชาการและการจัดการภายในระบบการ จัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ เนื่องจากระบบการประสานงานแบบพหุภาคีจะช่วยเสริมสร้างความสามารถ ในการปรับเปลี่ยนขนาด (Scalability) และความยืดหยุ่น (Flexibility) ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิน แห่งชาติ ซึง่ เป็นสิง่ จาเป็นสาหรับการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ทต่ี อ้ งมีการประสานงานกัน 1. คานิ ยามของระบบการประสานงานแบบพหุภาคี ภารกิจหลักของระบบการประสานงานแบบพหุภาคี คือการประสานการดาเนินกิจกรรมในระดับ ที่สูงกว่าภาคสนาม และการจัดล าดับความสาคัญ ของความต้อ งการทรัพยากรหลักหรือ ทรัพยากรที่ แก่งแย่งกัน เพื่อใช้ในการจัดการเหตุฉุกเฉิน ทีเ่ กิดขึน้ ดังนัน้ ระบบดังกล่ าวนี้จะช่วยในการประสานการ ปฏิบ ัติก ารในภาคสนาม ระบบการประสานงานแบบพหุ ภ าคีป ระกอบขึ้น ด้ว ยการผสมผสานของ องค์ประกอบต่าง ๆ เช่น เจ้าหน้าที่ ขัน้ ตอนการดาเนิ นงาน ระเบียบปฏิบตั ิ การปฏิบตั ิภารกิจและการ สื่อ สารที่ไ ด้รบั การบูรณาการเข้า ด้ว ยกัน เป็ น ระบบที่ส ามารถใช้ร่ว มกัน ได้ เพื่อ วัต ถุ ป ระสงค์ใ นการ ประสานการร้องขอทรัพยากรและการสนับสนุ นอื่น ๆ ระหว่างขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ
91
สามารถนาระบบการประสานงานแบบพหุภาคีไปนาในการประสานงานจากสถานที่ทาการหรือ โดย วิธกี ารอื่นใดทีร่ ะบุไว้ในระบบ ในบางกรณีระบบการประสานรงานแบบพหุภาคีจะเป็ นแบบไม่เป็ นทางการ และจะยึดข้อตกลง ด้วยวาจาระหว่างขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบต่าง ๆ เป็ นหลัก แต่โดยปกติแล้วระบบการ ประสานแบบพหุภาคีมกั จะเป็ นแบบทางการมากกว่า และได้รบั การรองรับโดยข้อตกลงทีเ่ ป็ นลายลักษณ์ อักษร ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านและระเบียบปฏิบตั ิ กระบวนการจัดตัง้ ระบบการประสานงานแบบพหุภาคีท่ี เป็ นทางการเป็ นวิธที ่เี ป็ นทีน่ ิยมและแนะนาให้เลือกเพราะสามารถแก้ไขปญั หาต่าง ๆ ได้ล่วงหน้าก่อนที่ เหตุ ฉุ ก เฉิ นจะเกิดขึ้น เนื่อ งจากวิธ ีก ารนี้จะช่ว ยเพิ่มประสิทธิภาพและความคล่ อ งตัว ของภารกิจการ ประสานงาน ในขณะที่ก ารจัดเตรียมระบบด้ว ยวิธ ีเ ฉพาะกิจระหว่างขอบเขตอ านาจหน้ าที่และพื้น ที่ รับผิดชอบอาจส่งผลให้การประสานงานระหว่างหน่ วยงานต่าง ๆ ในการจัดการเหตุฉุกเฉินขนาดเล็กมี ประสิทธิภาพมากขึ้น ส่ ว นการประสานงานในการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิ นที่ม ีขนาดใหญ่ กว่ าและมีค วาม ซับซ้อนกว่าจะประสบความสาเร็จมากทีส่ ุดเมื่อมีการประสานงานกันภายใต้ระบบการประสานงานทีไ่ ด้ม ี การวางแผนและจัดตัง้ เอาไว้เป็นอย่างดีล่วงหน้า ภาพที่ 10 แสดงให้เ ห็นถึงภาพรวมของระบบการประสานงานแบบพหุภ าคีใ นขณะที่ระบบ ดังกล่าวนี้ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ของเหตุฉุกเฉินที่เปลีย่ นไป ภาพกราฟฟิ กแสดงให้เห็นว่าเหตุ ฉุ กเฉินเริม่ ขึน้ อย่างไร พร้อมกับระบบการบัญชาการเดี่ยวในพื้นที่เกิดเหตุและการที่เหตุฉุกเฉินลุกลาม ขยายตัว และมีค วามซับซ้อนมากขึ้น ระบบการบัญ ชาการอาจพัฒนาไปสู่การบัญ ชาการร่ว มและการ จัดการเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ จาเป็ นต้องมีการประสานงานกันและขอรับการสนับสนุ นจากหน่ วยงานนอก พืน้ ทีเ่ กิดเหตุ 2. องค์ประกอบของระบบการประสานงานแบบพหุภาคี ระบบการประสานงานแบบพหุภาคีครอบคลุมถึงการรวมองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น สถานทีท่ าการ เครื่องมือ เจ้าหน้ าที่และขัน้ ตอนการปฏิบตั ิเข้าด้ว ยกันเป็ นระบบ เพื่อรับผิดชอบในการประสานงาน เกีย่ วกับการจัดสรรทรัพยากรและการให้การสนับสุนต่อการปฏิบตั กิ ารฉุกเฉิน
92
ภาพที่ 10 : ระบบการประสานงานแบบพหุภาคี (Multiagency Coordination System) การประสานงานแบบ พหุภาคีในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ ปฏิบตั งิ าน ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินนอกพืน้ ที่ เกิดเหตุ และ/หรือคณะกรรมการ ประสานงานระหว่างองค์กร ปฏิบตั งิ าน
ผู้บัญชาการ เหตุการณ์/หน่วย บัญชาการร่วม ในขณะที่
เจ้าหน้าที่ เหตุการณ์ลุกลามและ ประสานงาน เปลีย่ นผ่านจาเป็น
ต้องมีการประสานงาน กับหน่วยงานนอกพืน้ ที่ เกิดเหตุ
ในขณะทีเ่ หตุการณ์ลุกลาม และเปลีย่ นผ่าน จาเป็ นต้อง มีการประสานงานกับ หน่วยงานนอกพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ
(ก) สถานที่ทาการ
ศูนย์จัดส่งทรัพยากร ออกปฏิบัติงาน ผู้บัญชาการ เหตุการณ์/ หน่วยบัญชาการ เหตุการณ์
การสนับสนุ นและ การประสานงาน
ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน ในเขตอานาจหน้าที่ และพื้นที่รับผิดชอบ คณะกรรมการ ประสานงาน ระหว่างองค์กร ศูนย์ปฏิบัติการระดับ กระทรวง
93
ความจาเป็ นที่ต้อ งมีแ ละใช้ส ถานที่ - เช่น ศูน ย์การสื่อ สาร/จัดส่ งทรัพยากร ศูนย์ปฏิบตั ิการ ฉุ กเฉิน ศาลาว่าการ สิง่ ที่เสมือนสานักงาน – เพื่อเป็ นที่ดาเนินกิจกรรมในระบบการประสานงานแบบ พหุภาคีจะขึน้ อยูก่ บั ภารกิจของระบบทีค่ าดการณ์ไว้ (ข) อุปกรณ์ ต้องระบุและจัดซื้อจัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ (เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์) เพื่อนามาใช้ ในการดาเนินกิจกรรมในระบบการประสานงานแบบพหุภาคีให้ประสบความสาเร็จ (ค) บุคลากร บุคลากรทัวไปจะรวมถึ ่ งผู้อานวยการ/ผู้บ ริหารของหน่ วยงาน หรือผูแ้ ทนทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ของ ผูอ้ านวยการ/ผูบ้ ริหาร ซึ่งได้รบั มอบอานาจในการยินยอมให้ใช้ทรัพยากรและเงินกองทุนของหน่ วยงาน ของตน สาหรับการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ทไ่ี ด้มกี ารประสานกันไว้ บุคลากรยังหมายถึงตัวแทนทีไ่ ด้รบั มอบ อานาจจากหน่ วยสนับสนุ น องค์ก รพัฒนาเอกชน และภาคเอกชนทีช่ ่วยเหลือในการประสานการดาเนิน กิจกรรมในระดับทีส่ งู กว่าระดับสนาม (ง) ขัน้ ตอนปฏิ บตั ิ ขัน้ ตอนปฏิบตั คิ รอบคลุมถึง กระบวนการ ระเบียบปฏิบตั ิ ข้อตกลงและการประกอบภารกิจทีเ่ ป็ น ปจั จัยกาหนดกิจกรรม ความสัมพันธ์และการทางานของระบบการประสานงานแบบพหุภาคี การกาหนด กิจกรรมการสื่อสารเชิงโต้ตอบระหว่างกัน และแผนการดาเนินงานทีเ่ กี่ยวข้องเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญ ของระบบการประสานงานแบบพหุภาคี 3. ตัวอย่างองค์ประกอบของระบบ องค์ประกอบของระบบการประสานงานแบบพหุภาคีท่นี ิยมใช้กนั มากที่สุด คือศูนย์ปฏิบตั ิการ ฉุ กเฉิน (Emergency Operations Center) กับคณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กร (Multiagency Coordination Group) (ก) ศูนย์ปฏิ บตั ิ การฉุกเฉิ น (Emergency Operations Center) ศูนย์ปฏิบตั ิการฉุ กเฉินอาจจะจัดตัง้ ขึน้ ตามสาขาวิชาชีพหลัก (เช่น การดับเพลิง การบังคับใช้ กฎหมาย หรือการบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ; ตามภารกิจด้านการสนับสนุ นในสภาวะฉุ กเฉิน (เช่น การ ขนส่ง การสื่อสาร โยธาธิการและวิศวกรรม หรือการสนับสนุ นด้านทรัพยากร) ; ตามขอบเขตอานาจ หน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ (เช่น เมืองใหญ่, อาเภอ หรือภาค) ; หรือส่ วนใหญ่จะจัดตัง้ ขึ้นโดยการ ผสมผสานกัน ของสาขาวิช าชีพ ภารกิ จ และพื้น ที่ด ัง กล่ า ว ศู น ย์บ ัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ (Incident Command Post) จาเป็ นต้องมีการเชื่อมโยงการสื่อสารทีด่ กี บั ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉินเพื่อสร้างความ มันใจว่ ่ าการจัดการเหตุฉุกเฉินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
94
บ่อยครัง้ ทีห่ น่ วยงานภายในเขตการปกครองจะกาหนดภารกิจด้านการประสานงาน การสื่อสาร การควบคุม การส่งกาลังบารุง ฯลฯ ไว้ในระดับกระทรวง เพื่อดาเนินงานบริหารจัดการทรัพยากรทีไ่ ด้รบั มอบหมายโดยรวม กระทรวงต่าง ๆ (หรือหน่ ยงาน กรม กอง ฯลฯ) หรือองค์กรภาคเอกชนอาจจะมีการ จัดตัง้ ศูนย์ปฏิบตั ิการของหน่ วย (ในที่น้ีเรียกว่าศูนย์ปฏิบตั ิการกระทรวง (Department Operations Centers) ซึ่ ง ท าหน้ า ที่ เ ป็ น จุ ด ต่ อ ประสาน ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ป ฏิ บ ั ติ ก า ร ที่ อ ง ค์ ก ร ห รื อ ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินเปิดใช้งานเพื่อ : หน่ วยงานกาลังดาเนินการกับการปฏิบตั กิ าร • สนับสนุนการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุใน ในสภาวะฉุกเฉินทีอ่ งค์กรหรือหน่วยงานกาลัง ขณะทีเ่ หตุการณ์ลุกลามขยายตัวโดยการแบ่งเบาภาระ ให้ก ารสนับ สนุ น ศู น ย์ป ฏิบ ัติก ารกระทรวง ในการประสานงานกับหน่วยภายนอก และสร้างความ ่ จ่ ะได้รบั ทรัพยากรเพิม่ เติม อาจจะให้การสนับสนุ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน มันใจในการที ทีเ่ กิดขึน้ โดยตรง จะได้รบั ข้อมูลเกี่ยวกับการ ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉิน : ปฏิ บ ั ติ ก ารของศู น ย์ ส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว ศู น ย์ • เป็นทาเลทีต่ งั ้ ทางกายภาพ ปฏิบ ัติก ารกระทรวงจะมีต ัว แทนผู้ม ีอ านาจ • มีเจ้าหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั การฝึกอบรมมาโดยเฉพาะและ ของกระทรวง หรือของหน่ วยงานอยู่ในศูนย์ ได้รบั มอบอานาจให้เป็นผูแ้ ทนของหน่วยงานต้นสังกัด ปฏิบตั ิการฉุ กเฉินที่มหี น่ วยงานหลายหน่ วย ให้ปฏิบตั งิ านทีศ่ ูนย์ ร่วมปฏิบตั งิ าน • มีกลไกสาหรับการติดต่อสื่อสารกับพืน้ ทีท่ เ่ี กิดเหตุ ฉุกเฉินและได้รบั ทรัพยากรเพื่อใช้ในการปฏิบตั งิ านที่ ศู น ย์ ป ฏิ บ ั ติ ก ารฉุ กเฉิ น อาจจะมี กาลังดาเนินการ และทรัพยากรทีค่ าดว่าจะได้รบั เจ้าหน้ าที่ประจาศูนย์ท่เี ป็ นผู้แทนจากหลาย เพิม่ เติม ขอบเขตอ านาจหน้ า ที่แ ละพื้น ที่ร ับ ผิด ชอบ • ยึดระเบียบปฏิบตั เิ ป็นหลักในการบริหารจัดการ และหลากหลายสาขาอาชีพ และอาจจะมี • รัฐบาลในระดับต่าง ๆ สามารถนาไปใช้ได้ ทรัพยากรที่มคี วามหลากหลาย ตัวอย่างเช่น ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินถูกนามาใช้ ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉินท้องถิน่ ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพื่อ • ในแนวทางทีแ่ ตกต่างกันไปในรัฐบาลทุกระดับและใน ตอบโต้ เ หตุ ก ารณ์ ก่ อ การร้ า ยด้ ว ยอาวุ ธ ภาคเอกชน ชีว ภาพส่ว นใหญ่ เจ้าหน้ าที่ไ ด้รบั มอบหมาย • เพื่อช่วยในการประสานงาน กากับดูแลและการ ภารกิ จ ให้ ป ฏิ บ ั ติ ก ารที่ ศู น ย์ จ ะเป็ นการ สนับสนุ นในระหว่างเกิดสภาวะฉุกเฉิน ผสมผสานของเจ้า หน้ า ที่ด้า นการบัง คับ ใช้ ก ฎ ห ม า ย ก า ร จั ด ก า ร ส ภ า ว ะ ฉุ ก เ ฉิ น ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินอาจจะ : สาธารณสุข และการแพทย์ (เจ้าหน้ าที่ด้าน • อานวยความสะดวกในการทางานของระบบการ สาธารณสุขของรัฐบาลท้องถิน่ รัฐบาลแห่งรัฐ ประสานงานแบบพหุภาคี และอาจจาเป็ นทีต่ อ้ งใช้ หรือ รัฐ บาลกลาง และอาจจะมีผู้ แ ทนของ เพื่อให้การสนุนหน่วยบัญชาการร่วมในกรณีทค่ี วาม สถานพยาบาลที่มหี น้ าที่ในการดูแลสุ ขภาพ ต้องการทรัพยากรในการปฏิบตั ภิ ารกิจมากเกินขีด ความสามารถของท้องถิน่ ทีจ่ ะตอบสนอง การบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน เป็นต้น) ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินไม่ : ั ชาการในระดับพืน้ ทีท่ เ่ี กิดเหตุการณ์ ข น า ด ท า ง ก า ย ภ า พ ข อ ง ศู น ย์ • ทาหน้าทีบ่ ญ ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉิน การจัดเจ้าหน้าทีป่ ระจาศูนย์และการติดตัง้ เครื่องมืออุปกรณ์ประจาศูนย์ จะขึน้ อยู่กบั
95
ขนาดของขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่ทร่ี บั ผิดชอบ จานวนทรัพยากรที่ ได้รบั และปริมาณงานในการ จัดการเหตุฉุกเฉินทีค่ าดการณ์ไว้ การจัดตัง้ ศู นย์ปฏิบตั ฉิ ุ กเฉินและการจัดเจ้าหน้าทีป่ ระจาศูนย์สามารถ กระทาได้หลายวิธ ี โดยไม่คานึงถึงโครงสร้างองค์กรที่เฉพาะเจาะจงของศูนย์ปฏิบ ั ตกิ ารฉุ กเฉิน ศูนย์ฯ จะต้องครอบคลุมภารกิจหลักดังต่อไปนี้ : การประสานงาน ; การติดต่อสื่อสาร ; การจัดสรรและการ ติดตามทรัพยากร ; และการรวบรวมการวิเคราะห์และการเผยแพร่ข่าวสาร เมื่อมีการเปิ ดใช้งานศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉินท้องถิน่ จะต้องจัดให้มกี ารเชื่อมโยงด้านการสื่อสาร และการประสานงานระหว่างหน่ ว ยบัญชาการเหตุการณ์กับศูนย์ปฏิ บตั ิการฉุ กเฉิ น หน่ วยบัญ ชาการ เหตุการณ์สนามจะกาหนดระบบการประสานงานกับศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉินท้องถิน่ ทีก่ าลังปฏิบตั งิ าน ไม่ ว่าจะเป็ นการประสานงานโดยตรงหรือผ่ านทางองค์กรแม่ นอกเหนือจากนี้ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉินในทุก ระดับของรัฐและหน่ วยงานที่ร่วมปฏิบตั ภิ ารกิจ ควรต้ องมีขดี ความสามารถในการติดต่อสื่อสารกับศูนย์ ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉินอื่น ๆ ของทางราชการ รวมถึงศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉินของภาคเอกชนได้อย่างเหมาะสม การสื่อสารระหว่างศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉินจะต้องเป็ นทีเ่ ชื่อถือได้และต้องมีระบบสารองทีท่ างานควบคู่กบั ระบบหลักอยูพ่ ร้อม ส่วนใหญ่แล้วการปฏิบตั ภิ ารกิจทีม่ ปี ระสิทธิภาพของศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉินขึน้ อยู่กบั ข้อตกลงว่าด้วยความช่วยเหลือซึง่ กันและกัน และระเบียบปฏิบตั กิ ารสื่อสารร่วมกันระหว่างหน่ วยงานต่าง ๆ ทีเ่ ข้ามามีส่วนร่วมทีม่ อี ยู่ (ข) คณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กร (Multiagency Coordination Group) โดยปกติผอู้ านวยการ/ผู้บริหารหรือผูไ้ ด้รบั การแต่งตัง้ จากผู้อานวยการ/ผูบ้ ริหารของหน่ วยงาน ซึ่ง ได้ร บั มอบอ านาจให้เ ป็ น ผู้แ ทนหน่ ว ยงานหรือ ได้ร บั มอบอ านาจให้อ นุ ม ตั ิก ารใช้ท รัพ ยากรหรือ เงินกองทุนของหน่วยงานต้นสังกัด จะได้รบั เชิญ ให้เข้าร่วมจัดตัง้ และร่วมเป็ นคณะกรรมการประสานงาน ระหว่างองค์กร คณะกรรมการชุดนี้อาจจะเรียกว่าคณะกรรมการแบบพหุภาคี คณะกรรมการจัดการเหตุ ฉุกเฉินหรืออื่น ๆ แล้วแต่ระบบจะกาหนด เจ้าหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั การมอบหมายให้ปฏิบตั งิ านทีศ่ ูนย์ปฏิบตั กิ าร ฉุกเฉินทีม่ คี ุณทีม่ คี ุณสมบัตติ ามเกณฑ์สาหรับการมีส่วนร่วมในคณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กร อาจจะได้รบั เชิญให้เข้าร่วมปฏิบตั งิ านในคณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กร คณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กรไม่ได้เข้าไปเกี่ยวข้องกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ โดยตรง และส่ ว นใหญ่ จ ะมีส ถานที่ท าการตัง้ อยู่ห่ า งไกลจากพื้น ที่เ กิ ด แหตุ ในหลายกรณี ท่ีค ณะกรรมการ ประสานงานระหว่างองค์กรสามารถปฏิบตั ภิ ารกิจได้อย่างแท้จริง เพื่อให้งานทีไ่ ด้รบั มอบหมายบรรลุผล คณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กรอาจจาเป็ นต้องมีองค์กรรองรับด้านการสนับสนุ นกาลัง บารุงและงานเอกสารของตนเอง เพื่อบริหารจัดการสารสนเทศสนั บสนุ นการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ เหตุฉุกเฉินอย่างเช่น การติดตามทรัพยากรทีส่ าคัญ สถานะของสถานการณ์ และสารสนเทศเกี่ยวกับการ สืบสวนและข่าวกรอง และการแจกจ่ายสารสนเทศให้ผู้ส่อื ข่าวและประชาชน จานวนและระดับความ ชานาญของสมาชิก ในคณะกรรมการจะขึ้นอยู่กับความซับ ซ้อ นของเหตุ ฉุ กเฉิ น ที่เ กิด ขึ้น ระดับ ของ กิจกรรม ความจาเป็นทีจ่ ะต้องจัดตัง้ คณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กรหรือปจั จัยอื่น ๆ ทีก่ าหนด
96
ไว้ในข้อตกลงหรือทีก่ าหนดโดยองค์กรที่ทาหน้าที่เตียมความพร้อม คณะกรรมการประสานงานระหว่าง องค์กรสามารถจัดตัง้ ขึน้ ในระดับใดก็ได้ (เช่น ระดับชาติ ระดับรัฐหรือท้องถิน่ ) หรือจัดตัง้ ขึน้ ภายในสาขา วิชาชีพใดก็ได้ (เช่น การจัดการสภาวะฉุกเฉินสาธารณสุข โครงสร้างพืน้ ฐานทีส่ าคัญยิง่ หรือภาคเอกชน) 4. ภารกิ จหลักของระบบการประสานงานแบบพหุภาคี ระบบการประสานงานแบบพหุภาคี ควรต้องมีความยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนขนาดได้ เพื่อให้ม ี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยทัวไปแล้ ่ วในระหว่างที่เกิดเหตุฉุกเฉิน ระบบการประสานงานแบบ พหุภาคีจะทาหน้ าที่อย่างเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ในกรณีเหตุฉุกเฉินที่เป็ นภัยที่เกิดขึ้นประจาวันที่ไม่ จาเป็ นต้องทาหน้าที่ทก่ี าหนดเอาไว้ในระบบเพียงบางประการไม่ ต้องทาทัง้ หมดทุกขัน้ ตอน และภารกิจ ของระบบการประสานงานแบบพหุภาคีอาจจะไม่เกิดขึน้ ตามลาดับขัน้ ตอนแต่อย่างใด (ก) การประเมิ นสถานการณ์ การประเมินนี้ครอบคลุมถึงการเก็บรวบรวม การประมวลและการแสดงข้อมูลทีจ่ าเป็ นทัง้ หมด ซึง่ อาจจะต้องใช้รปู แบบของการรวมรายงานสถานการณ์ การได้รบั ข้อมูลเพิม่ เติมและการจัดทาแผนที่และ การจัดบอร์ดแสดงสถานการณ์ (ข) การกาหนดลาดับความสาคัญของเหตุฉุกเฉิ น องค์ประกอบทีส่ าคัญยิง่ อีกประการหนึ่งของระบบการประสานงานแบบพหุภาคี คือการจัดลาดับ ความสาคัญของเหตุฉุกเฉินหลายเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ภายในพืน้ ทีท่ ร่ี ับผิดชอบทีก่ าหนดไว้ โดยปกติแล้ว จะมีก ารก าหนดขัน้ ตอนหรือ กระบวนการส าหรับการติด ต่ อ สื่ อ สารกับ หน่ ว ยบัญ ชาการ หรือ หน่ ว ย บัญชาการพื้นที่ เพื่อที่จะจัดลาดับความสาคัญของเหตุฉุกเฉินที่จาเป็ นต้องใช้ทรัพยากรที่สาคัญในการ จัดการ ข้อควรพิจารณาเพิม่ เติมในการจัดลาดับความสาคัญมีดงั ต่อไปนี้ : • สถานการณ์ทค่ี ุกคามชีวติ • ภัยคุกคามต่อทรัพย์สนิ • ภัยทีม่ ศี กั ยภาพทีจ่ ะสร้างความเสียหายสูง • ความซับซ้อนของเหตุฉุกเฉิน • ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม • ผลกระทบทางเศรษฐกิจ • มาตรการอื่น ๆ ทีก่ าหนดไว้ในระบบการประสานงานแบบพหุภาคี
(ค) การจัดหาและการจัดสรรทรัพยากรสาคัญ หากเป็นไปได้ทรัพยากรสาคัญทีก่ าหนดไว้จะได้รบั จากหน่ วยงานหรือขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละ พืน้ ที่รบั ผิดชอบที่เกี่ยวข้องกับหน่ วยงานหรือขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบดังกล่าว อาจจะ สับเปลีย่ นหมุนเวียนทรัพยากรเป็นการภายในเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการทรัพยากรในการจัดการ
97
เหตุฉุกเฉิน ซึง่ เป็นผลมาจากการกาหนดลาดับความสาคัญของเหตุ ฉุกเฉินดังกล่าว ทรัพยากรทีไ่ ด้รบั มา จากพื้น ที่ป ฏิบ ัติก ารที่อ ยู่ใ นระหว่ า งการถอนกลับ สู่ ท่ีต ัง้ นั น้ อาจจะได้ร ับ การสับ เปลี่ย นหมุ น เวีย น ตัวอย่างเช่น การนาไปใช้จดั การเหตุการณ์ทไ่ี ด้รบั การจัดลาดับความสาคัญสูงกว่า เป็นต้น ทรัพยากรต่าง ๆ อาจจะได้มาจากพืน้ ทีภ่ ายนอกทีไ่ ม่ได้รบั ผลกระทบ วิธกี ารแสวงหาทรัพยากร จากนอกพืน้ ทีจ่ ะแตกต่างกันออกไป ขึน้ อยูก่ บั ปจั จัยต่างๆ เช่น หน่ วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง และข้อตกลงทีเ่ ป็ น ลายลักษณ์อกั ษร (ง) การสนับสนุนนโยบายการจัดการเหตุฉุกเฉิ นและกิ จกรรมที่เกี่ยวข้องระหว่างหน่ วยงาน ภารกิจหลักของระบบการประสานงานแบบพหุภาคี คือประสานงานให้การสนับสนุ นและให้ความ ช่วยเหลือในการตัดสินใจระดับนโยบายและในการดาเนินกิจกรรมด้านต่าง ๆ ร่วมกัน ระหว่างหน่ วยงาน ซึง่ รวมถึงกิจกรรมการจัดการเหตุฉุกเฉิน การกาหนดนโยบาย การจัดลาดับความสาคัญและการกาหนด กลยุทธ (จ) การประสานงานกับองค์ประกอบอื่น ๆ ของระบบการประสานงานแบบพหุภาคี ส่วนที่สาคัญของระบบการประสานงานแบบพหุภาคี คือการกาหนดวิธกี ารที่องค์ประกอบของ ระบบการประสานงานแบบพหุภาคีแต่ละองค์ประกอบจะติดต่อสื่อสารและประสานงานกับองค์ประกอบ ของระบบอื่น ๆ ทัง้ ที่อยู่ใ นระนาบเดียวกัน ที่อยู่ใ นระดับเหนือขึ้นไปและที่อ ยู่ในระดับต่ ากว่า บรรดา เจ้าหน้าที่ทม่ี สี ่วนเกี่ยวข้องกับภารกิจการประสานงานระหว่างองค์กรต่าง ๆ เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินจะต้อง รับผิดชอบในการผนวกบทเรีย นที่ได้รบั เข้ากับวิธกี าร ระเบียบปฏิบตั ิ การดาเนินงาน และกลยุทธ์การ สื่อสาร การปรับปรุงเหล่านี้อาจจาเป็ นต้องมีการประสานงานกับองค์กรทีเ่ หมาะสมอื่นๆ ทีม่ หี น้าทีเ่ ตรียม ความพร้อม (ฉ) การประประสานงานกับเจ้าหน้ าที่ที่มาจากการเลือกตัง้ และจากการแต่งตัง้ ภารกิจหลักอีกประการหนึ่งที่กาหนดไว้ในระบบการประสานงานแบบพหุภาคี คือกระบวนการ หรือขัน้ ตอนวิธกี ารที่จะแจ้งให้เจ้าหน้าที่ท่มี าจากการเลือกตัง้ และจากการแต่งตัง้ ในรัฐบาลทุกระดับได้ รับทราบ การดารงรักษาสภาวะการรับรู้ และการสนับสนุนของเจ้าหน้าทีเ่ หล่านี้ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทีท่ ่ีมา จากขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพื้นที่รบั ผิดชอบที่อยู่ภายในพื้นที่ทไ่ี ด้รบั ผลกระทบยิง่ มีความสาคัญอย่าง ยิง่ เนื่องจากอาจจะจาเป็ นต้องโยกย้ายหรือเคลื่อนย้ายทรัพยากรที่มอี ยู่อย่างจากัดไปให้หน่ วยงานหรือ ไปให้ขอบเขตอานาจหนต้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบทีม่ ลี าดับความสาคัญสูงกว่า (ช) การประสานสารสนเทศที่เป็ นส่วนสรุป อาศัยอ านาจหน้ าที่ใ นการประเมิน สถานการณ์ เจ้าหน้ า ที่ท่ดี าเนินการตามขัน้ ตอนของการ ประสานงานแบบพหุภาคีอาจจะให้ขอ้ มูลข่าวสาร ส่วนที่เป็ นผลสรุปของเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นเฉพาะใน ด้า นที่ต นรับ ผิด ชอบ รวมถึง ท าหน้ า ที่เ ป็ น จุดเชื่อ มหรือ ช่อ งทางในการติดต่ อ ส าหรับ สื่อ ต่ าง ๆ และ หน่วยงานอื่น ๆ ทีส่ นใจข้อมูลข่าวสาร
98
5. ความแตกต่างระหว่างคณะกรรมการประสานงานแบบพหุภาคีกบั หน่ วยบัญชาการพื้นที่ มักจะเกิดความสับสนระหว่างคณะกรรมการประสานงานแบบพหุภาคี กับหน่ วยบัญชาการพืน้ ที่ (ตามทีไ่ ด้ให้คาจากัดความไว้ก่อนหน้านี้ในองค์ประกอบที่ 4) ตาราง 6 เน้นให้เห็นถึงประเด็นหลัก ๆ ของ ความแตกต่างระหว่างคณะกรรมการประสานงานแบบพหุภาคีกบั หน่วยบัญชาการพืน้ ที่ ดังนี้ ตารางที่ 6 : ความแตกต่างระหว่างคณะกรรมการประสานงานแบบพหุภาคีกบั หน่ วยบัญชาการพื้นที่ คณะกรรมการประสานงานแบบพหุภาคี
หน่ วยบัญชาการพื้นที่
เป็ นหน่ ว ยประสานงานและให้ก ารสนับสนุ นนอก เป็ น ภารกิ จ การจัด การฉุ กเฉิ น ตามระบบการ พืน้ ทีเ่ กิดเหตุ ทีไ่ ม่มอี านาจหรือหน้าทีร่ บั ผิดชอบใน บัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ ท่ีม ีทีม งานจัด การสภาวะ การจัดการเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ โดยตรง ฉุ กเฉิ น ที่ ไ ด้ ร ั บ มอบหมายอ านาจและหน้ า ที่ รับผิดชอบ ในการกากับดูแลพื้นที่ท่มี เี หตุฉุ กเฉิ น เกิดขึน้ พร้อมกันหลายเหตุการณ์ หน่ วยบัญชาการ พื้นที่อ าจจะจัดตัง้ เป็ นหน่ ว ยบัญ ชาการพื้น ที่ร่ว ม (Unified Area Command) ก็ได้ คณะกรรมการประกอบด้วยผู้อานวยการ/ผูบ้ ริหาร เจ้ า หน้ า ที่ ข องหน่ ว ยประกอบด้ ว ยผู้ ท่ี ม ี ค วาม ของหน่ ว ยงาน หรื อ ผู้ ไ ด้ ร ั บ มอ บหมายจาก ชานาญในการจัดการเหตุฉุกเฉินสูงสุด หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งหรือ มี พ ัน ธกรณี ใ นการ สนับสนุนการจัดการเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ โดยทัวไปองค์ ่ กรของคณะกรรมการประกอบด้วย โดยทั ว่ ไปองค์ ก รของหน่ วยบั ญ ชาการพื้ น ที่ เจ้ า หน้ า ที่ ด้ า นการประสานงานแบบพหุ ภ าคี ประกอบด้วย ผู้บญ ั ชาการพื้นที่ ผูช้ ่วยผูบ้ ญ ั ชาการ (รวมถึงผู้อ านวยการ/ผู้บริห ารของหน่ ว ยงาน) ผู้ พืน้ ทีด่ า้ นการวางแผน และผูช้ ่วยผูบ้ ญ ั ชาการพืน้ ที่ ประสานงานของคณะกรรมการ และเจ้า หน้ า ที่ ด้านการส่งกาลังบารุง สนับสนุนด้านการข่าวกรองและสารสนเทศ คณะกรรมการประกอบด้วย ผูอ้ านวยการ/ผูบ้ ริหาร อ า น า จ ใ น ก า ร บั ญ ช า ก า ร ณ์ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ที่ ของหน่วยงานหรือผูแ้ ทน เฉพาะเจาะจงที่ ไ ด้ ร ับ มอบจากผู้ อ านวยการ/ ผูบ้ ริหารของหน่วยงาน จัด สรรทรัพ ยากรส าคัญ และจัด สรรให้ใ หม่ ผ่ า น ก าหนดภารกิ จ และก าหนดภารกิ จ ใหม่ ใ ห้ กั บ ระบบการสื่อ สาร/การมอบหมายภารกิจและการ ทรัพ ยากรที่ส าคัญ ที่ไ ด้ร ับ จัด สรรผ่ า นระบบการ จั ด ส่ ง ท รั พ ย า ก ร โ ด ย มี ก า ร ก า ห น ด ล า ดั บ ประสานงานแบบพหุภาคีหรือระบบการสื่อสาร/การ ความสาคัญของเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ มอบหมายภารกิจและการจัดส่งทรัพยากรปกติ ตั ด สิ น ใ จ เ รื่ อ ง ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น ใ น ร ะ ดั บ ท าให้ ม ัน่ ใจว่ า วัต ถุ ป ระสงค์ แ ละกลยุ ท ธ์ ใ นการ ผูอ้ านวยการ/ผูบ้ ริหารของหน่ วยงานในประเด็นทีม่ ี จัดการเหตุการณ์ของทีมงานจัดการเหตุการณ์ต่าง ๆ ผลกระทบต่อหลายหน่วยงาน สามารถช่วยเติมเต็มซึง่ กันและกันได้
99
ค. ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ ------------------------------- -------------- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 1. บทนา ข้อ มูล ข่าวสารสาธารณะประกอบด้วยกระบวนการ ขัน้ ตอนปฏิบตั ิ และระบบในการแจ้งหรือ สื่อสารข้อมูลข่าสารที่ถู กต้องและสามารถเข้าถึงได้เกี่ยวกับสาเหตุ ขนาด และสถานการณ์ ปจั จุบนั ของ เหตุ ฉุ ก เฉิ นที่เ กิด ขึ้น กับสาธารณชน เจ้า หน้ า ที่ด้านการปฏิบตั ิการตอบโต้ และผู้ม ีส่ ว นได้เ สียอื่น ๆ นอกจากนี้ (ทัง้ ที่ได้รบั ผลกระทบโดยตรงและโดยทางอ้อม) ได้ทนั การณ์ จาเป็ นต้องมีการประสานและ บูรณาการข้อมูลข่าวสารสาธารณะข้ามขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ หน่ วยงานและข้าม องค์กร ; การประสานงานและบูรณาการข้อมูลข่าวสารสาธารณะระหว่างรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชน เผ่าพื้นเมืองอเมริกา และรัฐบาลท้องถิน่ ; และจาเป็ นต้องมีการประสานและบูรณาการข้อมูลข่าวสาร สาธารณะกับองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน ทัง้ นี้ บรรดาข้อมูลข่าวสารสาธารณะ กลยุทธ์ดา้ นการ ให้ความรูแ้ ละแผนการสื่อสารทีจ่ ดั ทาขึน้ เป็ นอย่างดี จะช่วยให้มนใจได้ ั่ ว่าจะมีการประสานและการสื่อสาร ข้อมูลข่าวสารด้านมาตรการการช่วยชีวติ เส้นทางอพยพหนีภยั ระบบการเตือนภัยและสภาวะคุกคาม และข้อมูลข่าวสารสาธารณะด้านความปลอดภัยของประชาชนไปสู่บรรดาผูท้ ต่ี ้องการทราบจานวนมากได้ ทันเวลา และมีความสอดคล้องกัน 2. รายละเอียดและองค์ประกอบของระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณะ (ก) เจ้าหน้ าที่ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ เจ้าหน้ า ที่ข้อ มูล ข่า วสารสาธารณะให้ก ารสนับสนุ น บทบาทของเจ้าหน้าทีข่ อ้ มูล โครงสร้า งหน่ ว ยบัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ ใ นฐานะสมาชิก ของ ข่าวสารสาธารณะเจ้าหน้าทีข่ อ้ มูล ทีมงานบัญ ชาการ เจ้า หน้ าที่ข้อ มูล ข่าวสารสาธารณะจะให้ สาธารณะทาหน้าทีร่ วบรวมยืนยัน คาแนะนาแก่ผบู้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วยบัญชาการร่วมด้าน ความถูกต้อง ประสาน และเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารสาธารณะทัง้ หมดทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดการเหตุ ข้อมูลทีถ่ ูกต้อง สามารถเข้าถึงได้ ฉุ ก เฉิ นที่เ กิดขึ้น เจ้าหน้ า ที่ข้อ มูล ข่าวสารสาธารณะยัง ต้อ ง และทันการณ์เกีย่ วกับสาเหตุ ขนาด รับผิดชอบในการจัดการเรื่องอื่น ๆ เช่น การตอบข้อสอบถาม และสถานการณ์ปจั จุบนั ของ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ จากสื่อ ประชาชน เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ รวมถึงข้อมูล และจากเจ้าหน้าที่ท่มี าจากการเลือกตัง้ ; การจัดการข้อมูล เกีย่ วกับทรัพยากรทีค่ าดว่าจะได้รบั ข่าวสารสาธารณะฉุ กเฉิน และการเตือนภัย ; การติดตาม และข้อมูลด้านอื่น ๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ ตรวจสอบและการตอบโต้ข่าวลือ ; การสื่อ สัมพันธ์ ; และ ทัว่ ๆ ไป เพื่อนามาใช้ภายในและ ด าเนิ น ภารกิ จ อื่ น ๆ ที่จ าเป็ น ตเพื่อ ที่จ ะรวบรวม ยืน ยัน ภายนอกหน่วยบัญชาการ ความถู ก ต้อ ง ประสานและเผยแพร่ข้อ มูล ข่าวสารที่ถู กต้อ ง สามารถที่เ ข้า ถึง และน าไปใช้ไ ด้ และทัน การณ์ เ กี่ย วกับ เหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิด ขึ้น ข้อ มูล ข่ า วสารด้า น สาธารณสุข ความปลอดภัยและการป้องกันจะเป็ นข้อมูลทีม่ คี วามสาคัญเป็ นการเฉพาะ เจ้าหน้าที่ขอ้ มูล
100
ข่าวสารสาธารณะสามารถที่จะจัดทาข้อความที่มกี ารประสานงานกัน และมีความสอดคล้องกันโดยการ ร่วมมือกันเพื่อทีจ่ ะ • ระบุขอ้ มูลข่าวสารสาคัญทีจ่ าเป็นต้องสื่อสารกับสาธารณะชน • จัดทาข้อความอย่างชานาญเพื่อถ่ายทอดข้อมูลที่สาคัญทีม่ คี วามชัดเจนและเข้าใจง่ายสาหรับ ทุกฝา่ ย รวมถึงบรรดาผูท้ ม่ี คี วามต้องการเป็ นพิเศษด้วย • จัดลาดับความสาคัญของข้อความเพื่อทาให้มนใจว่ ั ่ าสามารถส่งข้อความได้ทนั การณ์โดยไม่ม ี การครอบงาบรรดาผูท้ อ่ี ยากรูข้ อ้ มูลข่าวสาร • ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทางทีเ่ หมาะสม • เผยแพร่ขอ้ ความโดยใช้วธิ ที ม่ี ปี ระสิทธิภาพมากทีส่ ุดทีม่ อี ยู่ (ข) ระบบข้อมูลข่าวสารร่วม ระบบข้อมูลข่าวสารร่วมได้กาหนดกลไกสาหรับการจัด การ บูรณาการและประสานข้อมูลข่าวสาร เพื่อให้แน่ใจว่าการส่งข้อความข้ามขอบเขตพืน้ ทีห่ รืออานาจหน้าที่ และ/หรือข้ามสาขาอาชีพไปให้องค์กร พัฒนาเอกชนและภาคเอกชนทันเวลา ถูกต้อง สามารถเข้าถึงและนาไปใช้ได้ และสอดคล้องกัน ระบบ ข้อ มูล ข่าวสารร่ว มจะครอบคลุ มถึงระเบียบปฏิบตั ิ ขัน้ ตอนและโครงสร้างที่ใ ช้ใ นการให้บริการข้อ มูล ข่าวสารสาธารณะ เจ้าหน้าที่ข้อมูลข่าวสารสาธารณะและศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่ วม (Joint Information Center) ของรัฐบาลกลาง รัฐ ชนเผ่าพืน้ เมืองอเมริกา ดินแดนในอาณัติ ภูมภิ าคหรือของท้องถิน่ เป็ น องค์ประกอบสนับสนุนทีส่ าคัญของระบบข้อมูลข่าวสารร่วม องค์ประกอบทีส่ าคัญดังกล่าวรวมถึง • การประสานงานและการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน • การรวบรวม การยืนยันความถูกต้อง การประสาน และการเผยแพร่ขอ้ ความ • การสนับสนุนผูท้ ท่ี าหน้าทีต่ ดั สินใจ • ความยืดหยุ่น ความสามารถในการดัดแปลงได้ และความสามารถทีจ่ ะแบ่งออกเป็ นส่วนย่อย ๆ ได้ (ค) ศูนย์ข้อมูลข่าวสารร่วม (Joint Information Center) ศูนย์ข้อมูลข่าวสารร่วมเป็ นแหล่ งศูนย์กลางในการอานวยความสะดวกในการดาเนินงานของ ระบบข้อมูลข่าวสารร่วม และเป็ นสถานที่ท่บี ุคลากรที่มหี น้ าที่รบั ผิดชอบด้านข้อมูลข่าวสารสาธารณะ ปฏิบตั ภิ ารกิจสาคัญเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารฉุ กเฉิน การสื่อสารสภาวะวิกฤต และภารกิจเกี่ยวกับกิจการ สาธารณะ ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมอาจจะจัดตัง้ ขึน้ ในระดับต่าง ๆ ของรัฐบาล หรือจัดตัง้ ขึน้ ในสถานทีเ่ กิด เหตุ หรืออาจจะเป็ นส่วนประกอบของระบบการประสานงานแบบพหุภาคีของรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าพื้นเมืองอเมริกา ดินแดนในอาณัต ภูมภิ าค หรือรัฐบาลท้องถิน่ (เช่น คณะกรรมการประสานงาน แบบพหุภาคี หรือศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉิน (Emergency Operations Center) โดยปกติจะมีการจัดตัง้ ศูนย์ ข้อมูลข่าวสารร่วมเป็ นการจาเพาะสาหรับเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นในพื้นที่เกิดเหตุเพียงจุดเดียว โดยการ ประสานงานกับหน่วยรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ และรัฐบาลท้องถิน่ ทัง้ นี้ ขึ้นอยูก่ บั ความจาเป็นของเหตุ
101
ฉุ ก เฉิ นที่เ กิดขึ้น หรือ าจจะจัดตัง้ ศูนย์ข้อ มูล ความเป็ นไปได้ของศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมทีเ่ ป็ น เสมือนศูนย์ทจ่ี ดั ตัง้ ขึน้ จริง ข่า วสารร่ว มในระดับ ชาติต ามความจ าเป็ น ของสถานการณ์ ข้อมูลข่าวสารที่จะเผยแพร่ ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมอาจจะเกีย่ วข้องกับการ หรือ แจกจ่ายออกไปจะได้รบั การตรวจสอบ ติดต่อสื่อสารเชื่อมโยงกับสถานทีต่ ่าง ๆ แบบเวลา แก้ไขผ่านทางผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วย จริงและอย่างต่อเนื่อง ดังนัน้ จึงเกิดศูนย์ขอ้ มูล บัญ ชาการร่ ว ม ศู น ย์ ป ฏิ บ ั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น / ข่าวสารร่วมทีเ่ ป็นเสมือนศูนย์ทจ่ี ดั ตัง้ ขึน้ จริง ๆ คณะกรรมการประสานงานรแบบพหุ ภ าคี ดังนัน้ สมควรต้องบูรณาการและเชื่อมโยงผูร้ ว่ ม และ/หรือเจ้าหน้าที่รฐั บาลกลางในกรณีท่เี ป็ น ปฏิบตั งิ านทัง้ หมดเข้าสู่ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วม เหตุฉุกเฉินที่มกี ารประสารนงานจากรัฐบาล เพื่อทีจ่ ะให้ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมเป็ นสถานที่ กลาง เพื่อ ให้แ น่ ใ จในความสอดคล้อ งของ ดาเนินงานเพียงแห่งเดียว ข้อ ความ หลีก เลี่ย การส่ ง ข้อ มู ล ข่ า วสารที่ ขัด แย้ง กันและเป็ นการป้อ งกันไม่ใ ห้เ กิด ผล ข้อได้เปรียบรวมถึง ก ร ะ ท บ เ ชิ ง ล บ ต่ อ ก า ร ป ฏิ บ ั ติ ภ า ร กิ จ • การกาหนดภารกิจของศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารได้ อย่างรวดเร็ว กระบวนการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารแบบเป็ น ้ อ ง • การเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสารเพิม่ ขึน้ ทางการนี้ จะช่ ว ยท าให้ม นใจในการปกป ั่ ข้อ มูล ที่ม ีค วามอ่ อ นไหว หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ • การสร้างความสัมพันธ์ อาจจะจัด ท าข้ อ ความหรือ ข้ อ มู ล ข่ า วสาร เกี่ยวกับนโยบาย ขัน้ ตอนปฏิบตั กิ ารโครงการและขีดความสามารถของหน่ วยงานเองได้ อย่างไรก็ตาม ควรต้องประสานงานกับศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมจาเพาะเหตุฉุกเฉิน การจัดตัง้ ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมจาเพาะเหตุฉุกเฉิน ควรจัดตัง้ เพียงศูนย์เดียวจะเหมาะสมกว่า แต่ระบบข้อมูลร่วมควรต้องมีความยืดหยุน่ และปรับเปลีย่ นได้พอทีจ่ ะรองรับศูนย์ขอ้ มูลร่วมทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ จริง และศูนย์ข้อมูลข่าวสารร่วมที่เป็ นเสมือนศูนย์ท่จี ดั ตัง้ ขึ้นจริงหลายแห่งได้ ตัวอย่างเช่น อาจจะมีความ จาเป็นต้องจัดตัง้ ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมหลายศูนย์ ในกรณีทเ่ี กิดเหตุฉุกเฉินเชิงซ้อนและครอบคุลมพืน้ ที่ กว้าง หรือครอบคลุมหลายขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ ในกรณีเมื่อเปิ ดใช้งานศูนย์ขอ้ มู ล ร่วมหลายศูนย์ จะต้องมีการประสานข้อมูลข่าวสารระหว่างศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมที่เหมาะสมทัง้ หมด ; แต่ละศูนย์ขอ้ มูลร่วมต้องมีขนั ้ ตอนและระเบียบปฏิบตั ใิ นการติดต่อสื่อสารและในการประสานงานซึ่งกัน และกัน เมื่อไรก็ตามทีม่ ศี ูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมหลายศูนย์ อานาจในการอนุ ญ าตให้เผยแพร่หรือแจกจ่าย ข้อมูลข่าวสารขัน้ สุดท้ายจะอยู่ทผ่ี ู้บญ ั ชาการเหตุการณ์ท่อี าวุโส ไม่ว่าจะใช้เป็ นโครงสร้างการบัญชาการ เหตุการณ์แบบหน่วยบัญชาการร่วม หรือแบบการบัญชาการพืน้ ที่ อาจจะมีการเปิดใช้ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสาร ร่วมระดับชาติเมื่อจาเป็ นต้องมีการประสานงานกับรัฐบาลกลางในการจัดการเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ และ คาดว่าเหตุฉุกเฉินนัน้ จะดาเนินต่อเนื่องเป็ นระยะเวลานาน (เช่น หลายสัปดาห์ หรือหลายเดือน) หรือ เมือ่ เกิดเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ส่งผลกระทบต่อพืน้ ทีข่ องประเทศเป็นวงกว้าง
102
เมื่อมีเหตุการณ์ทจ่ี าเป็ นต้องมีการสื่อสารแบบเวลาจริง (Real – time Communications) การ จัดตัง้ ศูนย์ข้อ มูล ข่าวสารร่วมสามารถกระทาได้หลายวิธ ี ขึ้นอยู่กับลักษณะพื้นฐานของเหตุ ฉุ กเฉิ นที่ เกิดขึน้ ตารางที่ 7 แสดงประเภทต่าง ๆ ของศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วม ตารางที่ 7 : ประเภทของศูนย์ข้อมูลข่าวสารร่วม • เป็ นสถานที่ทาการที่จดั ตัง้ ขึ้น จริงและมีค วามเหมาะสมอย่า งยิง่ สาหรับ เจ้า หน้ า ที่ข้อ มูล ข่ า วสารสาธารณะ ที่ไ ด้ร ับ มอบหมายจากผู้บ ัญ ชาการ เหตุการณ์ และเจ้าหน้าที่ขอ้ มูลข่าวสารสาธารณะ รัฐบาลท้องถิน่ จะเข้าไป ปฏิบตั งิ านร่วมกัน • การเข้าถึงสื่อได้งา่ ยเป็นสิง่ สาคัญยิง่ ต่อความสาเร็จ ศูนย์เสมือนจริง • จัดตัง้ ขึน้ ในกรณีทเ่ี จ้าหน้าทีจ่ ากหน่วยต่างๆ ไม่สามารถเข้าไปใช้สถานที่ ทาการร่วมได้ • รวมเทคโนโลยี และระเบียบปฏิบตั ใิ นการสื่อสารเข้าด้วยกัน ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสาร • มีขนาดเล็กกว่าศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมประเภทอื่น • จัดตัง้ ขึน้ เพื่อสนับสนุนศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมจาเพาะเหตุฉุกเฉินเป็ นหลัก • ดาเนินงานภายใต้การควบคุมของศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมหลักสาหรับเหตุ ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ • ต้องปฏิบตั ติ ามคาแนะนาโดยเคร่งครัดและไม่มอี สิ ระในการตัดสินใจ ศูนย์พน้ื ที่ • สนับสนุนโครงสร้างระบบการบัญชาการเหตุการ์ในกรณีทม่ี เี หตุฉุกเฉิน เกิดขึน้ พร้อมกันหลายเหตุการณ์ และครอบคลุมพืน้ ทีก่ ว้าง • อาจจัดตัง้ ขึน้ ในระดับท้องถิน่ หรือทัวทั ่ ง้ รัฐ • การเข้าถึงสื่อเป็นเรือ่ งทีส่ าคัญยิง่ ศูนย์สนับสนุน • จัดตัง้ เพื่อให้การสนับสนุนศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมจาเพาะเหตุฉุกเฉิน หลายศูนย์ในหลาย ๆ รัฐ • เพิม่ เจ้าหน้าทีแ่ ละทรัพยากรจากภายนอกพืน้ ทีเ่ กิดเหตุให้ ศูนย์ระดับชาติ • จัดตัง้ ขึน้ ในกรณีเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ดาเนินอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน • จัดตัง้ ขึน้ เพื่อให้การสนับสนุนปฏิบตั กิ ารตอบโต้ของรัฐบาลกลาง • เจ้าหน้าทีจ่ านวนมากทีป่ ฏิบตั งิ านเป็ นเจ้าหน้าทีจ่ าก กระทรวง และ/หรือ หน่วยงานของรัฐบาลกลาง • การเข้าถึงสื่อเป็นเรือ่ งสาคัญยิง่ ศูนย์จาเพาะเหตุการณ์
103
(ง) ความเป็ นอิ สระขององค์กร องค์กรต่ารง ๆ เข้ามามีส่วนในการจัดการเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นยังคงรักษาความเป็ นอิ สระของ องค์กรไว้ หน่ วยบัญชาการเหตุการณ์และระบบการประสานงานระหว่างองค์กร จะรับผิดชอบในการ จัดตัง้ และกากับดูแลศูนย์ข้อมูลข่าวสารร่วม รวมถึงกระบวนการในการประสานงานและการเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร ในกรณีของหน่ วยบัญชาการร่วมนัน้ กระทรวง หน่ วยงาน องค์กร หรือขอบเขตอานาจ หน้ า ที่แ ละพื้น ที่ร บั ผิด ชอบที่ม ีส่ ว นร่ว มในการบริห ารจัด การข้อ มูล ข่า วสารสาธารณะ จะไม่สูญ เสีย อัตลักษณ์และความรับผิดชอบต่อนโยบายและแผนงานเดิมของแต่ละหน่ วย ตรงกันข้ามแต่ละหน่ วยงาน/ องค์กรมีส่วนในการจัดทาข้อความร่วมกัน (จ) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสู่สาธารณะชนและผูม้ ีส่วนได้เสียอื่น ๆ กระบวนการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารสู่สาธารณะชนและผู้มสี ่วนได้เสียอื่น ๆ ในระหว่างเกิดเหตุ ฉุกเฉินเป็นวงจรทีด่ าเนินไปอย่างต่อเนื่อง และเกีย่ วข้องกับขัน้ ตอนการดาเนินงานสีข่ นั ้ ตอน คือ (1) การรวบรวมข้อมูลข่าวสาร การรวบรวมข้อมูลเป็นขัน้ ตอนแรกในกระบวนการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารต่อสาธารณะชนและผูม้ ี ส่วนได้เสียอื่น ๆ ข้อมูลข่าวสารดังกล่าวเก็บรวบรวมจาก : • การบัญชาการในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ : เป็นแหล่งข้อมูลข่าวสารต่อสาธารณะชนและผูม้ สี ่วนได้เสียอื่น ๆ ข้อมูลข่าวสารดังกล่าวเก็บรวบรวมจาก : • เจ้าหน้าทีข่ อ้ มูลข่าวสารสาธารณะในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ : รายงานให้ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมทราบถึง สิง่ ที่พ วกเขาเฝ้ าสัง เกตและได้ฟ งั ในสถานที่เกิด เหตุ จากสื่อ ข่าว เจ้าหน้ าที่ท่มี าจากการเลือ กตัง้ และ เจ้าหน้าทีใ่ นสังกัดและจากสาธารณะชน • การติดตามประมวลข่าวประจาวัน : ใช้ในการประเมินความถูกต้องและเนื้อหาของรายงานข่าว ของสื่อ การติดตามประมวลข่าวประจาวันยังช่วยในการระบุแนวโน้มและประเด็นข่าวทีท่ นั เหตุการณ์ทส่ี ุด • สื่อข่าว : แหล่งพัฒนาข้อมูลข่าวสารและประเด็นข่าวทีเ่ ป็ นปจั จุบนั ทีม่ คี ุณค่า • สาธารณะชนและเจ้าหน้าทีท่ ม่ี าจากเลือกตัง้ /แต่งตัง้ : การสอบถามข้อมูลข่าวสารจากเจ้าหน้าที่ ที่ม าจาการเลือ กตัง้ /แต่ ง ตัง้ ผู้ น าชุ ม ชน และประชาชาชนทัว่ ไปจะสะท้ อ นถึง ความวิต กกัง วลที่ เฉพาะเจาะจงของผูท้ อ่ี ยูใ่ นพืน้ ทีท่ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบ (2) การตรวจสอบข้อมูลข่าวสารของสื่อ ขัน้ ตอนที่สองในกระบวนการคือการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลข่าวสารที่รวบรวมมาได้ โดยการปรึกษาหารือกับแหล่งข้อมูลดังต่อไปนี้ • เจ้าหน้าที่ขอ้ มูลข่าวสารสาธารณะอื่น ๆ ในศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วม : การเปรียบเทียบบันทึก ข้อความ - โดยเฉพาะอย่างยิง่ กับเจ้าหน้ าที่ข้อมูลข่าวสารสาธารณะระดั บผู้นาและกับเจ้าหน้ าที่ข้อมูล ข่าวสารสาธารณะทีม่ สี ่วนเกี่ยวข้องกับโครงการความช่วยเหลือต่าง ๆ หรือมีความสัมพันธ์กบั เจ้าหน้าที่
104
ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้/ด้านการบูรณะฟื้นฟู - เป็นวิธกี ารตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลข่าวสารวิธ ี หนึ่ง • แหล่งข้อมูลข่าวสารในศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุกเฉิน : รวมถึงหัวหน้าโครงการทีค่ วรต้องขอร้องให้ช่วย ยืนยันข้อมูลข่าวสาร • เจ้าหน้ าที่ข้อ มูล ข่าวสารสาธารณะในสถานที่เ กิดเหตุ : เป็ นแหล่ งที่มคี ุ ณค่ ายิง่ สาหรับการ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลข่าวสารที่รายงานไปยังศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมที่แนบรายงานจากสื่อ ข่าว สานักงานของเจ้าหน้าทีท่ ม่ี าจากการเลือกตัง้ และจากประชาชนในสถานทีเ่ กิดเหตุ (3) การประสานข้อมูลข่าวสาร ขัน้ ตอนต่อไปของกระบวนการคือการประสานงานกับเจ้าหน้ าที่ขอ้ มูลข่าวสารซึ่งเป็ นส่วนหนึ่ง ของศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วม เจ้าหน้าทีด่ งั กล่าวนี้รวมถึงทัง้ ผูท้ เ่ี ป็ นตัวแทนหน่ วยงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ ปฏิบตั งิ านทีศ่ ูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วมและผู้ท่เี ป็ นเจ้าหน้าที่ส่วนหนึ่งของศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารร่วม แต่ยงั ไป ปฏิบตั หิ น้าทีท่ ส่ี ถานทีอ่ ่นื ๆ การประสานข้อมูลข่าวสารจะเกีย่ วข้องกับ • การจัดทาข้อความสาคัญ : หลังจากการรวบรวมข้อมูลข่าวสารจากแหล่งต่าง ๆ ทัง้ หมด จะมี การบูรณาการข้อความเป็นระบบเดียวกันและรวมอยูใ่ นแหล่งเดียวกัน เพื่อความสะดวกในการเข้าถึงและ เพื่อตอบสนองความต้องการข้อมูลข่าวสาร และมีการจัดลาดับความสาคัญของข้อความตามกลยุทธ์การ ตอบโต้/การฟื้ นฟูบูรณะโดยรวมของรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่ง รัฐ ชนเผ่าพื้นเมืองอเมริกา และรัฐบาล ท้องถิน่ ภารกิจนี้จะรวมถึงการส่งข้อมูลข่าวสารทีถ่ ูกต้อง และสอดคล้องต่อเนื่องไปยังบุคคลทีต่ ้องการใช้ ข้อมูลข่าวสารได้ทนั เวลา เพื่อช่วยให้บุคคลเหล่านัน้ มีขอ้ มูลเพียงพอในการตัดสินใจ • การได้รบั ความเห็นชอบ/การอนุ ญาตจากผูม้ อี านาจ : เป็ นการทาให้มนใจว่ ั ่ าข้อมูลข่าวสารทีจ่ ะ ส่งไปหรือเผยแพร่มคี วามสอดคล้อง ถูกต้องและสารมารถเข้าถึงได้ อย่างไกร็ตาม กระบวนการให้ความ เห็นชอบ ควรต้องมีความคล่องตัวเพื่อทาให้มนใจในการเผยแพร่ ั่ ขอ้ มูลข่าวสารได้ทนั เวลา (4) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ขัน้ ตอนต่อไปของกระบวนการคือการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารไปสู่สาธารณะชนและผูม้ สี ่วนได้เสีย อื่น ๆ ทีน่ อกเหนือจากนี้ ขัน้ ตอนนี้จะเกีย่ วข้องกับ : • การใช้ว ิธ ีท่หี ลากหลาย : ในสภาวะฉุ กเฉิ นอาจจะไม่มที างเลือ กมาก โทรศัพท์แ ละการ สัมภาษณ์อาจจะเป็ นวิธหี ลักในการส่งหรือเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารไปสู่ส่อื ข่าว การเยีย่ มเยียนส่วนตัว และ การประชุ ม ของประชาคมในเมือ งอาจจะเป็ น หนทางหรือ วิธ ีท่ีม ีป ระสิท ธิภ าพส าหรับ สาธารณะชน เจ้าหน้าทีท่ ม่ี าจากการเลือกตัง้ /แต่งตัง้ หรือผูม้ สี ่วนได้เสียอื่น ๆ การให้การสนับสนุ นต่อความพยายามใน การเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารสู่ภายนอกเหล่านี้สามารถกระทาได้โดยการจัดหาสถานที่พบปะพูดคุย หรือ จัดทาใบปลิวให้กบั เจ้าหน้าทีข่ อ้ มูลข่าวสารทีป่ ฏิบตั งิ านอยูใ่ นพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ • การตรวจสอบข้อมูลข่าวสารของสื่อ : การติดตามตรวจสอบข้อมูลข่าวสารของสื่อเป็ นวิธที ่มี ี ประโยชน์อย่างยิง่ ต่อการทาให้มนใจว่ ั ่ าสื่อข่าวต่าง ๆ เข้าใจข้อมูลข่าวสารอย่างถ่องแท้ และรายงานข้อมูล
105
ข่าวสารอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ ความไม่ถูกต้องหรือความคาดเคลื่อนทีส่ าคัญ ๆ ควรจะต้องได้รบั การ แก้ไขก่อนทีจ่ มีการงานโดยไม่ถูกต้องซ้าเป็นครัง้ ทีส่ อง 3. การวางแผนการสื่อสารข้อมูลข่าวสารสาธารณะ กลยุทธ์การสื่อสารข้อมูลข่าวสารและการวางแผนมีความสาคัญต่อข้อมูลข่าวสารสาธารณะทุก ด้าน แผนการสื่อสารข้อมูลสาธารณะควรต้องรวมถึงกระบวนการ ระเบียบปฏิบตั แิ ละขัน้ ตอนทีจ่ าเป็ นต้อง มีการจัดทาแบบร่างการประชาสัมพันธ์ ; บัญชีรายชื่อสื่อ ; และข้อมูลการติดต่อสาหรับเจ้าหน้ าทีท่ ม่ี าจาก การเลือกตัง้ /การแต่งตัง้ ผูน้ าชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรทีท่ าหน้าที่ให้บริการสาธารณะเพื่อ อ านวยความสะดวกในการเผยแพร่ข้อ มูล ข่าวสารที่ถู กต้อ ง สามารถเข้า ถึงได้และทันการ ควรต้อ ง กาหนดให้การสื่อสารข้อมูลข่าวสารสาธารณะเป็ นองค์ ประกอบส่วนหนึ่งของโครงการฝึ กอบรมและการ ฝึกซ้อมแผน ง. ความเกี่ยวโยงระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ของการบัญชาการและการจัดการ ได้มกี ารอธิบายถึงระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ระบบการประสานงานแบบพหุภาคีและข้อมูล ข่าวสารสาธารณะไว้ในทีน่ ้ี ในลักษณะที่เป็ นองค์ประกอบทีแ่ ยกออกจากกันของการบัญชาการและการ จัดการภายในระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ อย่างไรก็ตาม ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ ต้องพึง่ พาอาศัยหรือขึน้ อยูก่ บั ความเกีย่ วโยงระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านี้ พร้อมด้วยองค์ประกอบ ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติเอง มีการกาหนดความเกี่ยวโยงบางอย่างไว้เป็ นการเฉพาะ ตัวอย่างเช่น หน่ วยบัญชาการพืน้ ทีห่ รือ หน่ ว ยบัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ จะประสานงานกับหน่ ว ยบริการข้อ มูล ข่าวสารสาธารณะ เกี่ยวกับข้อ มูล ข่าวสารสาธารณะที่เ ฉพาะเจาะจงของเหตุ ฉุ กเฉิ น ที่เ กิดขึ้น โดยผ่ า นทางเจ้า หน้ า ที่ข้อ มูล ข่า วสารที่ ปฏิบ ัติง านอยู่ใ นศู น ย์ข้อ มู ล ข่ า วสารร่ ว ม ความเกี่ย วโยงระหว่ า งหน่ ว ยบัญ ชาการพื้น ที่ห รือ หน่ ว ย บัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ ก ับระบบการประสานงานแบบพหุภาคี ได้ถู ก กาหนดไว้ล่ ว งหน้ าโดยผ่ า นข่า ย เชื่อ มโยงการสื่อ สารระหว่างหน่ ว ยบัญ ชาการ และ/หรือ เจ้าหน้ าที่ใ นระดับภาคสนามกับเจ้าหน้ าที่ท่ี รับผิดชอบด้านการบริหารจัด การทรัพยากร และกับพนักงานที่ทาหน้ าที่ใ ห้การสนับสนุ นและบริการ ภายในระบบการประสานงานแบบพหุภาคี ความเกี่ยวโยงเหล่านี้ – รวมถึงความเกี่ยวโยงอื่น ๆ ระหว่างองค์ประกอบของหน่ วยบัญชาการ และระบบการจัดการเหตุการณ์ท่ยี งั ไม่ได้รบั กาหนดไว้ล่วงหน้าอย่างชัดเจน – ควรต้องมีการกาหนดไว้ เป็ นลายลัก ษณ์อกั ษรอย่างชัดเจนในขณะที่แต่ล ะองค์ประกอบจะค่อย ๆ ปรากฏขึ้นในช่วงที่เ กิดเหตุ ฉุกเฉิน
106
องค์ประกอบ 5 : การบริหารจัดการและการบารุงรักษาระบบอย่างต่อเนื่ อง องค์ประกอบด้านการบริหารจัดการและการบารุงรักษาระบบการจัดการเหตุฉุ กเฉินแห่งชาติ อย่างต่อเนื่องประกอบด้วยส่วนย่อยสองส่วน คือ ; ศูนย์บูรณาการแห่งชาติ (National Integration Center) และเทคโนโลยีท่นี ามาใช้สนับสนุ นระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ ในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับ ศูนย์บรู ณาการแห่งชาติ ในเอกสารเล่มนี้ได้กาหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของศูนย์ บูรณาการแห่งชาติไว้ ในส่วนทีเ่ กี่ยวกับเทคโนโลยีสนับสนุ นได้กล่าวถึงหลักการที่จาเป็ นในการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่อปรับปรุงขีดความสามารถของระบบและลดค่าใช้จา่ ยในการจัดการ
ก. ศูนย์บรู ณาการแห่งชาติ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ค าสัง่ ประธานาธิบ ดีท่ี 5 โดยกระทรวงความมันคงแห่ ่ ง มาตุ ภู ม ิ ก าหนดให้ร ัฐ มนตรีว่ า การ กระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภมู ิ พัฒนากลไกทีจ่ ะทาให้มนใจว่ ั ่ าระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ จะ ได้ร ับ การพัฒ นาปรับ ปรุ ง และการบ ารุ ง รัก ษาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง รวมถึง การท าให้ม นั ่ ใจได้ว่ า จะมีก าร ปรึกษาหารืออย่างสม่าเสมอกับกระทรวงและหน่ วยงานอื่น ๆ ของรัฐบาลกลาง ; ผูม้ สี ่วนได้เสียอื่น ๆ ใน ระดับรัฐ ชนเผ่าพืน้ เมืองอเมริกา และระดับท้องถิน่ ; องค์กรพัฒนาเอกชน ; และภาคเอกชน เพื่อการนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมไิ ด้จดั ตัง้ ศูนย์บูรณาการแห่งชาติขน้ึ เพื่อทาหน้าที่เป็ น แหล่งให้ความช่วยเหลือด้านข้อมูลข่าวสารแก่หน่วยงานของรัฐบาลในทุกระดับ องค์กรพัฒนาเอกชน และ ภาคเอกชนที่นาเอาระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติไปใช้ ศูนย์บูรณาการแห่งชาติได้จดั ทาทิศทาง เชิงกลยุทธ์ (Strategic Direction) และกาหนดวิธกี ารกากับดูแลระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ รวมถึงการให้การสนับสนุ นการบารุงรักษาและการปรับปรุงระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ และ องค์ประกอบของระบบอย่างสม่ าเสมอและต่อเนื่ องในระยะยาว ศูนย์บูรณาการแห่งชาติได้โน้มน้า วให้ กระทรวงและหน่ วยงานในระดับรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าพืน้ เมืองอเมริกา และรัฐบาลท้องถิน่ เจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการสภาวะฉุ กเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ 24 รวมถึงเจ้าหน้าทีจ่ ากองค์กรพัฒนา เอกชนและภาคเอกชนให้เข้ามามีส่วนร่วม บรรดาองค์กรหรือหน่ วยงานทีน่ าระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิน แห่งชาติไปใช้ (รวมถึงรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนพืน้ เมืองอเมริกา เขตการปกครองในระดับต่ ากว่า รัฐ และรัฐบาลท้องถิ้น รวมถึงภาคเอกชน องค์กรอาสาสมัคร นักวิชาการ องค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร และสมาคมวิชาชีพอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ สามารถที่จะเสนอการ แก้ไขปรับปรุงระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติและประเด็นอื่น ๆ ได้ -----------------------------------------24
เจ้าหน้าที่ด้านการจัดการสภาวะฉุ กเฉิน/การปฏิบตั ิการตอบโต้ห มายความรวมถึงบุคลากรจากรัฐบาล กลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ดินแดนในอาณัติ ชนพื้นเมืองอเมริกนั เขตการปกครองระดับต่ ากว่ารัฐ และรัฐบาล ท้องถิ่น องค์กรพัฒนาเอกชน เจ้าของและผู้ประกอบการโครงสร้างพื้นฐานที่มคี วามสาคัญยิง่ ยวด และ องค์กรอื่น ๆ และบุคคลทัวไป ่ ทีม่ บี ทบาทในการจัดการสภาวะฉุกเฉิน
107
นอกเหนือจากนี้ ศูนย์บูรณาการแห่งชาติยงั ทาหน้าที่อานวยการให้มกี ารปฏิ บตั ติ ามข้อกาหนด ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ อานวยความสะดวกในการจัดทาข้อแนะนาเกี่ยวกับมาตรฐาน ในการจาแนกประเภทและการออกเอกสารรับรองคุณสมบัติ การสนับสนุ นการฝึกอบรมและการฝึ กซ้อม ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ และการบริหารจัดการการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ เกี่ ยวกับระบบการ จัดการเตหุฉุกเฉินแห่งชาติเพื่อเผยแพร่ 1. แนวความคิ ดและหลักการ กระบวนการบริหารจัดการและการบารุงรักษาระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติจะทาให้มนใจ ั่ ได้ว่า ผูท้ ม่ี สี ่วนได้เสียและผูน้ าระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติไปใช้ทงั ้ หมด – รวมถึงรัฐบาลในทุก ระดับ สาขาวิชาชีพต่าง ๆ องค์กรพัฒนาเอกชน และภาคเอกชน – จะได้รบั โอกาสเข้ามามีส่วนร่วมใน กิจกรรมต่าง ๆ ของศูนย์บูรณาการแห่งชาติ กระบวนการบริหารจัดการและการบารุงรักษาระบบการ จัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ ง ชาติ จ าเป็ น ต้อ งพึ่ง พาอาศัยบทเรีย นรู้จ ากเหตุ ฉุ ก เฉิ นที่เ กิด ขึ้น จริง แ ละการ ฝึ ก อบรมและการฝึ ก ซ้อ มการจัดการเหตุ การณ์ ส มมติ รวมถึง วิธ ีป ฏิบตั ิท่ีดีท่สี ุ ด ที่เ ป็ น ที่ย อมรับ ของ ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบและสาขาอาชีพต่าง ๆ 2. กระบวนการปรับปรุงแก้ไขระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิ นแห่งชาติ จะมีการทบทวนเอกสารเกี่ยวกับระบบการจัดการเหตุ ฉุกเฉินแห่งชาติทุกรอบสองปี และมีการ ปรับ ปรุ ง แก้ ไ ขเพื่อ ผนวกค าสัง่ ประธานาธิบ ดรที่อ อกมาใหม่ การเปลี่ย นแปลงกฎหมายและการ เปลีย่ นแปลงกระบวนการโดยอาศัยบทเรียนรูจ้ ากการฝึกซ้อม เหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ จริง และงานมหกรรม ทีม่ กี ารวางแผนไว้ล่วงหน้าเป็นฐาน ข้อเสนอเพื่อเปลี่ยนแปลงระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติจะถูก ส่งไปยังศูนย์บูรณาการแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและจัดพิมพ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมมิ หี น้าที่รบั ผิดชอบในการจัดพิมพ์เอกสารที่เกี่ยวข้องกับระบบการจัดการเหตุ ฉุกเฉินแห่งชาติ ส่วนทีม่ กี ารปรับปรุงแก้ไขและการเปลีย่ นแหลงเพิม่ เติม รวมถึงการจัดพิมพ์มาตรฐานที่ กาหนดเพิม่ เติมและเอกสารอื่น ๆ และในการจัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่ดงั กล่าวจะมีการปรึกษาหารืออย่าง สม่าเสมอกับกระทรวงและหน่วยงานในระดับรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ และรัฐบาลท้องถิน่ อื่น ๆ 3. หน้ าที่รบั ผิดชอบของศูนย์บรู ณาการแห่งชาติ (ก) การบริ หารและการปฏิ บตั ิ ตาม ในการกากับดูแลการบริหารจัดการและการดาเนินการตามระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ รวมถึงข้อ ก าหนดให้ปฏิบตั ิตามมาตรการที่วางไว้ ศูนย์บูรณาการแห่งชาติมหี น้ าที่รบั ผิดชอบในการ ปฏิบตั ภิ าระหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้ • พัฒนาและดารงรักษาโครงการระดับชาติในการให้ความรูแ้ ละการสร้างความตระหนักเกี่ยวกับ ระบบการจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ นแห่ งชาติ รวมทัง้ ข้อ แนะนาที่เ ฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับความมุ่งหมายและ สารัตถะของเอกสารฉบับนี้และของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติโดยทัว่ ๆ ไป • เสริมสร้างความสอดคล้องกันระหว่างมาตรฐานระดับชาติสาหรับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉิน แห่งชาติกบั มาตรฐานทีจ่ ดั ทาโดยกลุ่มประชาชน เอกชน และกลุ่มวิชาชีพอื่น ๆ
108
• การอ านวยความสะดวกในการจัดทาและการทานุ บารุงระบบการจัดทาเอกสารและระบบ ฐานข้อมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติ หนังสือรับรองและการรับรองเอกสารประจาตัวเจ้าหน้าที่ด้านการจัดการ สภาวะฉุ ก เฉิ น/ด้านปฏิบตั ิการตอบโต้และขององค์กรต่าง ๆ ซึ่งรวมถึงการทบทวนและการให้ความ เห็นชอบข้อกาหนดเกีย่ วกับสาขาวิชาชีพทีเ่ ฉพาะเจาะจง (โดยได้รบั ข้อมูลจากรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนพื้นเมืองอเมริกนั รัฐบาลท้องถิน่ ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรวิชาชีพแห่งชาติตาม ความเหมาะสม • การพัฒนาเกณฑ์ประเมินองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ พร้อม ทัง้ ข้อ ก าหนดที่จะต้อ งปฏิบตั ิต าม และแผนผังแสดงการเกิด เหตุ ฉุ กเฉิ น ตามล าดับ เวลา (Timeline) สาหรับ รัฐ บาลกลาง รัฐบาลแห่ ง รัฐ ชนพื้นเมือ งอเมริกัน และรัฐบาลท้อ งถิ่น เกี่ยวกับมาตรฐานและ แนวทางของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ • การบูรณาการความต้องการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการเหตุ ฉุ กเฉินแห่งชาติของกระทรวง หน่ วยงาน สาขาอาชีพ องค์กรพัฒนาเอกชน และภาคเอกชนที่ปฏิบตั ิ ภาระหน้าที่ภายในระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติเข้ากับนโยบายแห่งชาติด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี โดยการประสานงานกับรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงความมันคงปลอดภั ่ ยแห่งมาตุภูมดิ ้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ข) มาตรฐานและการรับรองเอกสารข้อมูลประวัติ ศู น ย์ บู ร ณาการแห่ ง ชาติ จ ะท างาน ร่ ว มกับ องค์ ก รก าหนดมาตรฐาน (Standard ศูนย์บูรณาการแห่งชาติเ สนอแนะให้รฐั บาลแห่งรัฐ Development Organization) ทีเ่ หมาะสมเพื่อ และรัฐ บาลท้ อ งถิ่น น ามาตรฐานของสมาคมการ สร้างความมันใจในการให้ ่ การยอมรับและการ ป้องกันอัคคีภยั แห่ งชาติดงั ต่ อไปนี้ไ ปใช้ด้วยความ นามาตรฐานร่วมแห่งชาติ และระบบการรับรอง สมัครใจ : สมาคมการป้องกันอัคคีภยั แห่งชาติ ความน่าเชื่อถือและการยืนยันเอกสารประจาตัว 1600 “มาตรฐานเกี่ ย วกับ การจัด การภัย พิบ ัติ / เจ้าหน้าที่ (Credentialing System) ทีส่ ามารถ สภาวะฉุ กเฉินและโครงการความต่อ เนื่องของธุรกิจ เข้ากันได้และสอดคล้องกับการดาเนินงานตาม และสมาคมการป้ องกัน อัค คีภ ัย แห่ ง ชาติ 1561” ระบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ ง ชาติไ ปใช้ มาตรฐานเกี่ยวกับ การให้บริการฉุ กเฉิ นและระบบ แผนงานการก าหนด การยอมรับ และการ การจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น ” ; หากองค์ก รที่ม ีอ านาจ นาไปใช้และการจัดทามาตรฐานร่ว ม และการ หน้าทีใ่ นการจัดการเหตุฉุกเฉินนามาตรฐานดังกล่าว รับรองเอกสารประจาตัวเจ้าหน้าทีป่ ระกอบด้วย ไปใช้จะสามารถช่วยในการดาเนินงานตามระบบการ ประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ จัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้ • การอานวยความสะดวกในการจัดทาและการพิมพ์เผยแพร่มาตรฐาน แนวทางและระเบียบ ปฏิบตั แิ ห่งชาติเกี่ยวกับคุณสมบัติ การออกใบอนุ ญาตให้ปฏิบตั ภิ ารกิจและหนังสือรับรองของเจ้าหน้าที่ ด้านการจัดการ/ปฏิบตั กิ ารตอบโต้สภาวะฉุกเฉินตามความเหมาะสม
109
• การทบทวนและการให้ความเห็นชอบข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณสมบัตเิ ฉพาะสาขาวิช าชีพและ หนังสือรับรอง (โดยได้รบั ข้อมูลจากรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าพืน้ เมืองอเมริกา รัฐบาลท้องถิน่ องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรภาคเอกชน และองค์กรวิชาชีพแห่งชาติตามความเหมาะสม) • การจัด ท าระบบการดูแ ลรัก ษาข้อ มูล ประวัติส่ ว นบุ ค คลของเจ้า หน้ า ที่เ พื่อ จัด หาข้อ มูล ใน รายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติ ประสบการณ์และการฝึกอบรมให้กบั ผูจ้ ดั การเหตุฉุกเฉิน ซึง่ เป็ นข้อมูลที่ จาเป็ นสาหรับเจ้าหน้าทีด่ ้านข้อมูลประวัตบิ ุคคล สาหรับตาแหน่ งการจัดการเหตุฉุกเฉินที่กาหนดขึน้ ใน ระดับประเทศ • การประสานงานด้านการกาหนดมาตรฐานขัน้ ต่ าสาหรับการรับรองวิชาชีพและการอานวย ความสะดวกในการจัดทาระบบการรับรองความน่ าเชื่อถือของเอกสารข้อมูลประวัตเิ จ้าหน้าที่ และการ ดาเนินการตามระบบทัวประเทศ ่ • โดยอาศัยข้อมูลจากหน่ วยงานของรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าพืน้ เมืองอเมริกา รัฐบาล ท้องถิน่ องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคเอกชน และองค์กรวิชาชีพแห่งชาติ – การอานวยความสะดวกในการ กาหนดมาตรฐานสาหรับสมรรถนะ ความสามารถในการใช้แทนกัน และความสามารถใช้ทางานร่วมกัน ได้ของเครือ่ งมือและระบบการสื่อสารสาหรับการจัดการเหตุฉุกเฉิน รวมถึงการดาเนินการดังต่อไปนี้ - การอานวยความสะดวกในการพัฒนาและจัดพิมพ์เผยแพร่มาตรฐาน แนวทางและระเบียบ ปฏิบตั แิ ห่งชาติสาหรับการรับรองสมรรถนะของเครื่องมือ รวมถึงการรวบรวมข้อกาหนดมาตรฐานและ ระบบการรับรองสมรรถนะของเครื่องมือทีม่ อี ยู่เดิม และที่องค์กรด้านการจัดการและการปฏิบตั กิ ารตอบ โต้สภาวะฉุกเฉินทัวประเทศใช้ ่ อยูเ่ ข้าไว้ดว้ ยกัน - การทบทวนและการให้ความเห็นชอบรายการเครื่องมือทีม่ คี ุณสมบัตติ รงตามข้อกาหนดการ รับรองสมรรถนะ - การทางานร่วมกันกับองค์กรที่มหี น้าที่รบั ผิดชอบในการประเมินและทดสอบเครื่องมือของ เจ้าหน้าทีด่ า้ นการปฏิบตั กิ ารตอบโต้สภาวะฉุกเฉิน • การอ านวยความสะดวกในการพัฒ นาและการออกมาตรฐานแห่ ง ชาติส าหรับ การจ าแนก ทรัพยากร • การอานวยความสะดวกในการกาหนดและธารงรักษา กรอบข้อมูลข่าวสารซึ่งจาเป็ นต่อการ พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ และรวมถึงการพัฒนามาตรฐานของ ข้อมูลข่าวสาร • การประสานงานเกี่ยวกับการกาหนดมาตรฐานเทคนิคและเทคโนโลยีสาหรับผู้นาระบบการ จัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติไปใช้ ทัง้ นี้มาตรฐานดังกล่าวจะต้องได้รบั การเห็นพ้องร่วมกันกับรัฐมนตรีช่วย ว่าการกระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมดิ า้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และองค์กรกาหนดมาตรฐานที่ เป็นทีย่ อมรับ (ค) การสนับสนุนด้านการฝึ กอบรมและการฝึ กซ้อม เพื่อเป็ นองค์กรนาในการพัฒนาการฝึ กอบรมและการฝึ กซ้อ ม ซึ่งจะช่วยเพิ่มพูนความรู้ การ ยอมรับ และการด าเนิ น การตามระบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ ง ชาติข องหน่ ว ยงานและองค์ก รที่
110
เหมาะสม ศู น ย์บูร ณาการแห่ ง ชาติจ ะประสานงานกับ หน่ ว ยงานและองคืก รเหล่ า นี้ เพื่อ ด าเนิ น การ ดังต่อไปนี้ : • อานวยความสะดวกในการกาหนดความต้องการการฝึ กอบรมทัวไปและการพั ่ ฒนามาตรฐาน การฝึกอบรมระดับชาติ และรายวิชาหลักสูตรการสอนทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ ซึง่ ครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ : - การใช้แบบจาลองและการจาลองสถานการณ์เพื่อเพิม่ ชีดความสามารถในแผนการฝึกอบรม และการฝึกซ้อม - การฝึกอบรมภาคสนาม ; การกาหนดภารกิจสาคัญทีจ่ าเป็ นต้องปฏิบตั ใิ ห้สาเร็จ ; ข้อกาหนด สาหรับการเรียนการสอนให้เชี่ยวชาญเฉพาะทางและการฝึ กอบรมครูผู้สอน ; และการดาเนินการด้าน เอกสารหลักฐานหลังจากจบหลักสูตรการฝึกอบรมสาหรับผูท้ น่ี าระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติไป ใช้ - การทบทวนและการเสนอข้อแนะนา (โดยการประสานงานกับรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชน พื้นเมืองอเมริกนั องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคเอกชนและองค์กรวิชาชีพแห่งชาติ) เกี่ยวกับหลักสูตรการ ฝึกอบรมเฉพาะสาขาวิชาชีพของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ • อานวยความสะดวกในการกาหนดมาตรฐาน แนวทางและระเบียบปฏิบตั สิ าหรับการฝึกอบรม และการฝึกปฏิบตั กิ ารจัดการเหตุฉุกเฉิน รวมถึงการพิจารณาโครงการฝึกอบรมและการฝึกซ้อมทีม่ อี ยู่ใน ทุกระดับของขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ • อานวยความสะดวกในการพัฒนาการฝึ กอบรมที่จาเป็ นต่อการรวบรวมระบบการจัดการเหตุ ฉุกเฉินแห่งชาติในทุกระดับชัน้ ของขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบเข้าด้วยกัน • จัดเตรียมแหล่งจัดเก็บข้อมูลที่ได้จากเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ จริง และจากการฝึ กอบรมและการ ฝึกซ้อม เพื่อใช้จดั ทารายงาน บทเรียนรู้ ตลอดจนการจัดทาวิธปี ฏิบตั ทิ ด่ี ที ส่ี ุด โครงสร้างแบบจาลองและ การจัดทากระบวนการสาหรับภารกิจเกี่ยวกับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ (ง) การบริ หารจัดการสื่อสิ่ งพิ มพ์ การบริหารจัดการสื่อสิง่ พิมพ์ของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติครอบคลุมถึงการพัฒนาวิธ ี ปฏิบตั ิในการตัง้ ชื่อเรื่อง และการลงเลขกากับสิง่ พิมพ์ การทบทวนและการรับรองสิง่ พิมพ์ การพัฒนา วิธกี ารควบคุมสิง่ พิมพ์ การระบุแหล่งและผูข้ ายสินค้าปจั จัยการผลิตสาหรับการพิมพ์สงิ่ พิมพ์และบริการ อื่น ๆ การบริหารจัดการแจกจ่ายสิง่ พิมพ์ และการให้ความมันใจในการเข้ ่ าถึงผลิตภัณฑ์ส่อื สิง่ พิมพ์ การ บริห ารจัดการสื่อ สิ่งพิมพ์ของระบบการจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ นแห่งชาติ จะรวมถึงผลิต ภัณ ฑ์ส่อื สิ่งพิม พ์ ประเภทต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ : • ข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับคุณสมบัตทิ ก่ี าหนดไว้ • ข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับหลักสูตรการฝึกอบรมและการฝึกซ้อม • สมุดรายงาน (Task Books) • การฝึ ก อบรมระบบการบัญ ชาการเหตุ การณ์ แบบฟอร์ม และแผ่ นแบบ (Template) (และ แบบฟอร์มทีจ่ าเป็นอื่น ๆ )
111
• คู่มอื แนะแนวทางการปฏิบตั งิ าน • โปรแกรมคอมพิวเตอร์ • ทรัพยากรเครือ่ งเสียงและวีดโี อ • คู่มอื วิธกี ารปกฺบตั งิ านทีด่ ที ส่ี ุด/แบบจาลอง/ข้อเสนอแนะ การบริห ารจัดการสื่อ สิ่งพิมพ์เ กี่ยวกับระบบการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิ นแห่งชาติ ศูน ย์บูรณาการ แห่ ง ชาติจ ะประสานงานกับ หน่ ว ยงานและองค์กรที่ไ ด้ก าหนดไว้และจะทาหน้ าที่เ ป็ นองค์กรนาเพื่อ ดาเนินการดังต่อไปนี้ : • การอานวยความสะดวกการจัดทาและการทานุ บารุงระบบการบริหารจัดการสื่อสิง่ พิมพ์สาหรับ วัสดุสงิ่ พิมพ์ และเอกสารอื่น ๆ เกี่ยวกับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ รวมถึงการพัฒนาหรือการ ประสานงานเกีย่ วกับสิง่ พิมพ์ทวั ่ ๆ ไป สาหรับผูท้ น่ี าระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติไปใช้ • การออกเอกสารหลักฐาน หรือการให้ขอ้ มูลข่าวสารโดยวิธกี ารตามระบบการบริหารจัดการสื่อ สิง่ พิมพ์สาหรับระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ • การอานวยความสะดวกในการพัฒนาและการจัดทาแม่แบบงานพิมพ์ และเอกสารต่าง ๆ เช่น เอกสารประกอบและคู่มอื ทางานของเจ้าหน้ าที่ เพื่อรองรับการดาเนินงานและการปรั บแต่งระบบการ จัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติอย่างต่อเนื่อง • การทบทวนข้อกาหนดในการบริหารจัดการสื่อสิง่ พิมพ์เฉพาะสาขาวิชาชีพ (โดยได้รบั ข้อมูล จากรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนพื้นเมืองอเมริกนั และรัฐบาลท้องถิน่ ตลอดจนองค์กรพัฒนาเอกชน ภาคเอกชน และองค์กรวิชาชีพแห่งชาติ
ข. เทคโนโลยีสนับสนุน -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------การพัฒนาทางด้า นวิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยีอ ย่างต่ อ เนื่อ งมีค วามสาคัญ อย่างยิ่งต่ อ การ ปรับปรุงและปรับแต่งระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ การวิจยั และพัฒนาเชิงกลยุทธ์ จะทาให้มนใจ ั่ ว่าการพัฒนาด้านดังกล่าวจะเกิดขึน้ ระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติยงั ต้องพึง่ พาอาศัยมาตรฐาน ทางเทคนิค ตามหลัก วิทยาศาสตร์ เพื่อ รองรับหรือสนับสนุ นการจัดการเหตุฉุ กเฉิ น การยังคงมุ่ งเน้ น วิธกี ารแก้ไขปญั หาช่องว่างของความสามารถในการปฏิบตั ิภารกิจด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ี เหมาะสม จะทาให้จาเป็นต้องมีความพยายามร่วมกันในระยะยาวระหว่างบรรดาผูม้ สี ่วนร่วมในระบบการ จัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ เพื่อ ท าให้ม นั ่ ใจว่ า การพัฒ นาวิธ ีก ารแก้ ไ ขในการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น ด้ว ยวิท ยาศา สตร์แ ละ เทคโนโลยี เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ศูนย์บูรณาการแห่งชาติจะต้องทางานร่วมกันอย่างใกล้ชดิ กับ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมดิ า้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อประเมินความ ต้องการของเจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการสภาวะฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ และองค์กรเครือข่ายของ เจ้าหน้าทีด่ งั กล่าว
112
1. แนวความคิ ดและหลักการ ระบบการจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ นแห่งชาติใ ช้ประโยชน์ จากวิท ยาศารสตร์แ ละเทคโนดลยีใ นการ ปรับปรุง สมรรถนะและลดค่ าใช้จ่า ยในการจัดการเหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิดขึ้น และได้ยดึ หลัก การสาคัญ 5 ประการ ทีไ่ ด้กาหนดไว้ดงั ต่อไปนี้ (ก) ความสามารถใช้ปฏิ บตั ิ งานร่วมกันได้และความสอดคล้องกัน ระบบที่ใ ช้ใ นการปฏิบตั ิก ารในสภาวะแวดล้อ มของการจัดการเหตุฉุ กเฉิ นที่เ กิดขึ้น ควรต้อ ง สามารถทางานร่วมกันข้ามสายงานวิชาชีพและขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบได้อย่างราบรื่น ความสามารถใช้ป ฏิบตั ิงานร่ว มกันและความสอดคล้อ งกัน จะเกิด ขึ้นได้โดยการใช้เ ครื่อ งมือ ต่ าง ๆ ร่วมกัน เช่น การสื่อสาร มาตรฐานข้อมูล (Data Standards) รูปแบบข้อมูลดิจติ อล มาตรฐานเครื่องมือ และมาตรฐานการออกแบบ (ข) การสนับสนุนด้านเทคโนโลยี การสนับสนุนด้านเทคโนโลยีคอื การใช้และการรวบรวมเทคโนโลยีใหม่ และทีม่ อี ยู่เดิมเข้าด้วยกัน เพื่อ ปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผ ลของระบบการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิ นแห่งชาติใ นทุ กด้าน การ สนับ สนุ น ด้า นเทคโนโลยีจ ะเปิ ด โอกาสให้อ งค์ก รที่จ ะน าระบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ นแห่ งชาติไ ปใช้ สามารถที่จะเพิม่ พูนประสิทธิภาพในการจัดการสภาวะฉุ กเฉิน และการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ให้สูงขึน้ ในทุก ด้าน ระบบการสนับสนุ นด้านเทคโนโลยีจะช่วยเอื้ออานวยและสนับสนุ นการปฏิบตั ภิ าระหน้าที่และช่วย คงไว้ซ่งึ แผนงานวิจยั และพัฒนา ที่ส นับสนุ นให้มกี ารลงทุนระยะยาวในการเสริมสร้างสมรรถนะการ จัดการเหตุฉุกเฉินของประเทศในอนาคต (ค) มาตรฐานเทคโนโลยี ระบบสนับสนุ นและเทคโนโลยีมรี ากฐานมาจากข้อกาหนดที่จดั ทาร่วมกับรัฐบาลกลาง รัฐบาล แห่งรัฐ ชนพื้นเมืองอเมริกนั และรัฐบาลท้องถิ่น รวมถึงองค์กรพัฒนาเอกชน ภาคเอกชนและองค์กร วิชาชีพแห่งชาติ อาจจาเป็ นต้องใช้มาตรฐานระดับชาติเพื่อเอื้ออานวยให้ ระบบหลักต่าง ๆ สามารถทีจ่ ะ นามาใช้ปฏิบตั งิ านร่วมกันได้ และมีความสอดคล้องกันข้ามขอบเขตอานาจหน้าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ และ/หรือสาขาวิชาและอาชีพ (ง) ความต้องการในวงกว้าง ควรต้องระบุและกาหนดความต้องการเทคโนโลยี ขัน้ ตอนการดาเนินงาน ระเบียบปฏิบตั แิ ละ มาตรฐานใหม่ เพื่อสนับสนุ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน ทัง้ ในช่วงก่อน ระหว่าง และหลังจากเกิดเหตุ ระบบ การจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติได้กาหนดกลไกเพื่อรวบรวมและจัดลาดับความสาคัญของความต้องการ และทรัพยากรไว้ เพื่อแก้ไขปญั หาในกรณีท่คี วามต้องการเหล่านี้มมี ากเกินกว่าจานวนทรัพยากรทีม่ อี ยู่
113
ความต้อ งการเหล่ านี้จะได้รบั การตอบสนองตรงตามที่ต้อ งการโดยการทดสอบความสามารถในการ ประสานสัมพันธ์ และการดาเนินกิจกรรมการประเมินผลสาหรับการวิจยั ประเภทต่าง ๆ เช่น การวิจยั เบือ้ งต้น ประยุกต์ เชิงพัฒนา และการวิจยั แบบอ้างอิงสาธิต (จ) การวางแผนการวิ จยั และพัฒนาเชิ งกลยุทธ์ การวางแผนการวิจยั และพัฒนาเชิงกลยุทธ์จะช่วยกาหนดเทคโนโลยีในอนาคตทีส่ ามารถนามาใช้ ในการปรับปรุงขีดความสามารถในการจัดการเหตุฉุกเฉินทีม่ อี ยู่ หรือช่วยลดค่าใช่จ่ายในการจัดการเหตุ ฉุ กเฉินเพื่อให้เกิดความมันใจว่ ่ าจะมีการวิจยั และพัฒนาที่มปี ระสิทธิภาพ ศู นย์บูรณาการแห่งชาติจะ บูรณาการความต้องการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนลี เพื่อการจัดการเหตุฉุกเฉินของเจ้าหน้าทีด่ า้ นการ จัดการสภาวะฉุ กเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และองค์กรเครือข่ายของเจ้าหน้าที่เหล่านี้เข้าในวาระ แห่งชาติดา้ นการวิจยั และพัฒนา 2. การสนับสนุนการจัดการเหตุฉุกเฉิ นด้วยวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การสนับสนุ นด้านเทคโนโลยีจะช่วยเพิม่ พูนขีดความสามารถในการจัดการเหตุฉุกเฉินและช่วย ลดค่าใช้จา่ ยโดยผ่านกิจกรรมหลัก ซึง่ ได้อธิบายในรายละเอียดไว้ ดังนี้ : (ก) การใช้วิทยาศาสตร์สนับสนุนการปฏิ บตั ิ การ การใช้วทิ ยาศาสตร์สนับสนุ นการปฏิบตั กิ ารจะช่วยในการระบุและโดยการร้องขอจะช่วยในการ ระดมทรัพยากรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสามารถนามาใช้สนับสนุ นการดาเนินกิจกรรมการจัดการ เหตุการณ์ การสนับสนุ นการปฏิบตั กิ ารด้วยวิทยาศาสตร์สามารถช่วยในการนาเอาความรู้ ความชานาญ ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของหน่วยงานและองค์กรอื่น ๆ มาใช้ประโยชน์ รัฐบาลในแต่ละระดับจะ ดาเนินการวางแผนการสนับสนุ นด้านนี้ โดยผ่านทางหน่ วยประสานการเตรียมความพร้อมของระบบการ จัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ การร้องขอและการให้การสนับสนุ นด้านวิทยาศาสตร์จะดาเนินการผ่านทาง แผนงานต่าง ๆ ทีก่ ระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภมู ิ และองค์กรและหน่วยงานอื่น ๆ ประสานงานร่วมกัน (ข) การสนับสนุนด้านมาตรฐานทางเทคนิ ค การสนับสนุ นด้านมาตรฐานทางเทคนิคจะช่วยให้เกิดการพัฒนามาตรฐานทางเทคนิคสาหรับ ระบบการจัดการหตุฉุกเฉินแห่งชาติ และทาให้มกี ารประสานงานเพื่อสร้างความมันใจว่ ่ าเจ้ าหน้าที่ ระบบ การสื่อสาร และระบบสารสนเทศ และเครื่องมืออื่น ๆ จะทาหน้าที่และประสานงานกันอย่างสอดคล้อง ต่อ เนื่อ ง มีประสิทิภาพและสามารถไว้ใ จได้ โดยไม่ทาให้เ สียระบบหรือ รบกวนซึ่งกันและกัน ในการ ประสานงานกับกลุ่มผู้บริหารในกระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมดิ ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์ บูรณาการในการจัดทามาตรฐานทางเทคนิคดังกล่าวจะใช้หลักการดังต่อไปนี้ : (1) การวัดประสิ ทธิ ภาพการทางาน การวัดประสิทธิภาพการทางาน (การรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงตัวเลข) เป็ นเกณฑ์ท่ี น่ าเชื่อถือมากที่สุดสาหรับมาตรฐานทางเทคนิคที่ทาให้มนใจในความปลอดภั ั่ ยและประสิทธิผลในการ
114
ปฏิบตั ภิ ารกิจของเจ้าหน้าทีด่ ้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน และเจ้าหน้าทีด่ ้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ภายใน กระบวนการมาตรฐานเทคโนโลยี จะมีระบบหรือส่วนประกอบพืน้ ฐานทาหน้าทีพ่ ฒ ั นาแนวทาง มาตรฐาน การปฏิบตั งิ าน ระเบียบปฏิบตั ใิ นการทดสอบขีดความสามารถ การรับรองบุคลากร การตรวจประเมินใหม่ และขัน้ ตอนการดาเนินการฝึ กอบรม เพื่อช่วยให้กลุ่มบุคคลหรือองค์กรที่มหี น้าที่รบั ผิดชอบการจัดการ เหตุการณ์สามารถใช้กลไกของระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) การวัดประสิ ทธิ ภาพการทางานโดยยึดความคิ ดเห็นร่วมกันเป็ นหลัก วิธกี ารฝึกความคิดเห็นร่วมกันเป็นหลักทีใ่ ช้ในการพัฒนาและปรับแต่งมาตรฐานทางเทคนิคจะใช้ ประโยชน์องค์กรกาหนดมาตรฐานที่มอี ยู่ ซึง่ มีความสนใจและมีความเชี่ยวชาญในการจัดการเหตุการณ์ มาเป็ นเวลายาวนาน องค์กรเหล่านี้รวมถึง สถาบันยุตธิ รรมแห่งชาติ สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยี แห่งชาติ สถาบันอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแห่งชาติ สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา สมาคมทดสอบและวัสดุระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา และสมาคมป้องกันอัคคีภยั แห่งชาติ โดยผ่าน ทางศู น ย์บูร ณาการแห่ ง ชาติ ระบบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น แห่ ง ชาติช่ ว ยสร้า งความสัม พัน ธ์ใ นการ ปฏิบตั งิ านระหว่างองค์กรเหล่านี้และระหว่างองค์กรที่มหี น้าที่รบั ผิดชอบในการจัดการเหตุฉุกเฉิน เพื่อ พัฒนามาตฐานทางเทคนิคสาหรับการวัดประสิทธิภาพการจัดการเหตุฉุกเฉิน (3) การทดสอบและการประเมิ นผล เกณฑ์ดา้ นเทคโนโลยีของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติจะต้องพึง่ พาอาศัยห้อ งปฏิบตั กิ าร ทดสอบขององค์กร ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อประเมินเครื่องมืออุปกรณ์เปรียบเทียบกับมาตรฐาน ด้านเทคโนโลยีของระบบการจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ องค์กรเหล่านี้จะได้รบั การคัดให้สอดคล้องกับ แนวทางทีก่ าหนดเพื่อให้มนใจได้ ั่ ว่าองค์กรทีใ่ ห้บริการทดสอบดังกล่าวมีความเชีย่ วชาญทางด้านเทคนิค และตัง้ อยูบ่ นฐานของความเป็ นจริง (ปราศจากผลประโยชน์ทข่ี ดั แย้งกัน) ในการทดสอบ ศูนย์บูรณาการ แห่งชาติจะกาหนดหลักเกณฑ์ท่เี หมาะสมให้เป็ นส่ วนหนึ่งของหน้าทีร่ บั ผิดชอบของศูนย์ ในการพัฒนา มาตรฐานและการอานวยความสะดวก (4) แนวทางด้ า นเทคนิ คส าหรับ การฝึ กอบรมเจ้ า หน้ าที่ ป ฏิ บัติ การฉุ ก เฉิ นเกี่ ย วกับ การใช้ เครื่องมือ ข้อ มูล ที่ไ ด้รบั จากนัก วิเ คราะห์ความล่ อแหลม นักพัฒนาเครื่องมือ ผู้ใ ช้ และผู้เ ชี่ยวชาญด้าน มาตรฐาน จะถูกนาไปใช้ในการพัฒนาแนวทางทางด้านเทคนิคที่ใช้วทิ ยาศาสตร์เป็ นฐาน สาหรับการ ฝึ กอบรมเจ้าหน้ าที่ด้านการจัดการสภาวะฉุ กเฉิน/ด้านการปฏิบตั ิการตอบโต้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ อย่างถูก ต้อ ง โดยการยึดระเบียบปฏิบตั ิ ใ นการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิ นและระบบการวัดค่ าเป็ นหลัก แนว ทางการฝึ กอบรมเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับภัยคุกคามและสภาวะความล่อแหลม สมรรถนะของเครื่อ งมือ และระบบต่ า ง ๆ และขอบเขตของเงื่อ นไขในการปฏิบ ัติง านที่ค าดหวัง ไว้ นอกเหนือจากนี้ตวั วัดผลการดาเนินงาน (Performance Measures) และระเบียบปฏิบตั ทิ ดสอบทีพ่ ฒ ั นา จากแนวทางการฝึ กอบรมเหล่านี้จะช่วยให้มวี ิธกี ารวัดประสิทธผลของเครื่องมือและระบบต่ าง ๆ ซึ่ง สามารถทีจ่ ะนามาใช้วดั ซ้าได้
115
(ค) การสนับสนุนด้านการวิ จยั และพัฒนา การวางแผนการวิจยั และพัฒนาจะยึดความต้อ งการใช้ใ นการปฏิบตั ิงานของผู้ท่นี าระบบการ จัดการเหตุการณ์ไปใช้ทงั ้ หมดเป็ นหลัก ความจาเป็ นหรือความต้องการใช้เหล่านี้จะเป็ นข้อมูลสาคัญ สาหรับการจัดทาวาระแห่ งชาติด้ านการวิจยั และพัฒนาของประเทศ เพื่อการพัฒนาขีดความสามารถ ขึ้นมาใหม่ รวมถึงการพัฒนาขีด ความสามารถที่ได้ร บั การปรับ ปรุงมาแล้ว เพิ่ม เติม เนื่อ งจากความ ต้อ งการใช้ใ นการปฏิบ ัติง านอาจจะมีม ากกว่ า เกิน กว่ า ที่ท รัพ ยากรเพื่อ การวิจ ัย ที่ม ีอ ยู่ส ามารถจะ ตอบสนองได้ ดังนัน้ จึงจาเป็ นต้องตรวจสอบความสมเหตุสมผล บูรณาการและจัดลาดับความสาคัญความ ต้องการใช้เหล่านี้ กระทรวงความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมมิ หี น้าที่รบั ผิดชอบในการบูรณาการความต้องการ ของผูใ้ ช้ในทุกระดับเข้าสู่วาระแห่งชาติดา้ นการวิจยั และพัฒนา
116
ภาคผนวก ก : ตัวอย่างของทรัพยากรที่ได้รบั การจาแนกประเภทแล้วเสร็จสมบูรณ์ เพื่อเป็นภาพประกอบของวิธกี ารจาแนกประเภททรัพยากรทีใ่ ช้ในระดับประเทศ ตารางที่ ก – 1 แสดงให้เห็นถึงทรัพยากรเดีย่ ว “รถแทรกเตอร์ตนี ตะขาบ” ทีไ่ ด้รบั การจาแนกประเภทแล้วเสร็จ ตารางที่ ก – 2 เป็นตัวอย่างของทรัพยากรประเภททีมงาน “ทีมงานกู้ภยั ทางน้า” (กระแสน้ าเชีย่ วกราก/อุทกภัย) ทรัพยากร : รถแทรกเตอร์ตีนตะขาบ หมวด : ชนิ ด : งานโยธาและวิ ศวกรรม เครื่องมือ สมรรถนะขัน้ ตา่ : ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 ประเภท 4 อื่น ๆ องค์ประกอบ มาตรการ D10R WHA D10R(สมรรถนะในการ Cat 3412E จัดการเศษวัสดุ/ขยะ) D6ND3G – - Cat 3412E อากาศ ระบบอัด Cat 3126B Cat 3046 ระบบอัดอากาศ เครือ่ งมือ ตัวอย่าง ดีเซล ดีเซล ดีเซล ดีเซล กาลังสุทธิ รอบต่อ 1,900 2,100 2,400 1,900 นาที กาลังสุทธิ กิโลวัตต์/ 457/613 127/170 57/77 457/613 แรงม้า น้าหนักปฏิบตั กิ าร ปอนด์ 144,191 34,209 16,193 144,986 3 ความจุของใบมีด หลา 24.2 5.6 1.88 63.9 ระยะขุดลึก นิ้ว 26.5 20.5 21.8 26.5 6’11” 4’1’ 3’.8” 10’5” ความสูง ฟุต/นิ้ว 4’11” 3’2.7’ 4’10” ระยะต่าสุดจากพืน้ ฟุต/นิ้ว 3’3’ 2’2.2’ 1’2.5” 3’6.3” ระยะเอียงของ ฟุต/นิ้ว ใบมีด 15’11’ 10’6’ 8’.9” 17’3” ความกว้างของ ฟุต/นิ้ว ใบมีด ความสูงของการ นิ้ว 27.1 ยกใบมีด ความลึกในการขุด นิ้ว 21.8 1 to 3 1 to 3 การติดตัง้ 3
117
เครือ่ งคราด ทรัพยากร : รถแทรกเตอร์ตีนตะขาบ หมวด : ชนิ ด : งานโยธาและวิ ศวกรรม เครื่องมือ สมรรถนะขัน้ ตา่ : ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 ประเภท 4 องค์ประกอบ มาตรการ
เครือ่ งมือ ระยะความสูงของ ใบมีดจากพืน้ ระยะต่าสุดของ เครือ่ งจักร ระยะกดของใบมีด ระยะสูงสูดจากพืน้ ความกว้าง ความจุของเครือ่ ง กว้าน ความจุของถัง น้ามันเชือ้ เพลิง แรงฉุดดึงสูงสุด แรงฉุดดึงที่ เหมาะสม เครือ่ งมือ
ตัวอย่าง นิ้ว
D10RCat 3412E อากาศ ระบบอัด ดีเซล 35
นิ้ว
D3G – Cat 3046 ดีเซล 16.2
D10R WHA (สมรรถนะในการ จัดการเศษวัสดุ/ขยะ) - Cat 3412E ระบบอัดอากาศ ดีเซล 35
14.7
นิ้ว นิ้ว ฟุต/นิ้ว ฟุต
14.2 29.1
37 29.1
แกลลอ น ปอนด์ ปอนด์ ตัวอย่าง D10R
ข้อคิดเห็น
D6NCat 3126B ดีเซล 19.9
อื่น ๆ
D6N D3G D10R WH รถแทรกเตอร์ตนี ตะขาบนามาใช้ประกอบเป็นตัวอย่างเท่านัน้ ความ แตกต่างหลักสาหรับ D10RWHA (สมรรถนะในการจัดการเศษวัสดุ/ กากของเสีย) – Cat 3412 E เทอร์โบชาร์จ ดีเซล คือมีใบมีดทีใ่ หญ่ กว่าและมีอุปกรณ์ป้องกันไม่ให้เศษวัสดุทจ่ี ะฝงั กลบเข้าไปติดขัดเป็ น อุปสรรคในการขับเคลื่อน
118
ตัวอย่างทัวไป ่ ตารางที่ ก – 2 ทรัพยากรประเภททีมงาน (ทีมค้นหาและกู้ภยั ทางน้า : กระแสน้าเชี่ยวกราก/ อุทกภัย) ทรัพยากร : ทีมงานค้นหาและกู้ภยั ทางน้า (กระแสน้าเชี่ยวกราก/อุทกภัย) หมวด : ชนิ ด : การค้นหาและกู้ชีพ ขีดความสามารถขัน้ ตา่ : ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 องค์ประกอบ มาตรการ เจ้าหน้าที่ องค์ประกอบของ สมาชิกทีม 14 สมาชิกทีมงาน สมาชิกทีมงาน ทีมงาน คน 6 คน 6 คน ประกอบด้วย : ประกอบด้วย : ประกอบด้วย : ผูจ้ ดั การทีมงาน หัวหน้าทีมงาน หัวหน้าทีมงาน 2 คน 1 คน 1 คน หัวหน้าทีมงาน เจ้าหน้าทีท่ มี งาน เจ้าหน้าทีท่ มี งาน 2 คน 5 คน 5 คน เจ้าหน้าที่ 10 คน เจ้าหน้าที่ จานวนต่าสุด : 2 1 1 เทคนิคการกูภ้ ยั สัตว์ เจ้าหน้าที่ 2 จานวนต่าสุด : ได้รับการรับรอง ความสามารถด้าน การปฏิบตั ิการ ช่วยชีวติ ขั้นสู ง เจ้าหน้าที่ 4 2 จานวนต่าสุด : การปฏิบตั ิการกูภ้ ยั ทางน้ าด้วย เครื่ องบิน เฮลิคอปเตอร์ เจ้าหน้าที่ 4 2 จานวนต่าสุด : พนักงานขับเรื อ ยนต์ เจ้าหน้าที่ 4 2 2 จานวนต่าสุด : เจ้าหน้าที่ สนับสนุนที่ผา่ น การฝึ กอบรมการ
ทีมงาน ประเภท 4 สมาชิกทีมงาน 6 คน ประกอบด้วย : หัวหน้าทีมงาน 1 คน เจ้าหน้าทีท่ มี งาน 5 คน
119
ดาน้ ากูภ้ ยั พร้อม อุปกรณ์ ทรัพยากร : ทีมงานค้นหาและกู้ภยั ทางน้า (กระแสน้าเชี่ยวกราก/อุทกภัย) หมวด : ชนิ ด : การค้นหาและกู้ชีพ ขีดความสามารถขัน้ ตา่ : ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 องค์ประกอบ มาตรการ เจ้าหน้าที่ จานวนและระดับ เจ้าหน้าทีก่ ชู้ พี เช่นเดียวกับ เช่นเดียวกับ ของเจ้าหน้าทีก่ ชู้ พี ขัน้ พืน้ ฐาน 14 ประเภท 3 ประเภท 4 คน เจ้าหน้าทีก่ ชู้ พี ขัน้ สูง 2 คน ทีมงาน องค์ประกอบของ สมาชิกทีม 14 สมาชิกทีมงาน สมาชิกทีมงาน ทีมงาน คน 6 คน 6 คน ประกอบด้วย : ประกอบด้วย : ประกอบด้วย : ผูจ้ ดั การทีมงาน หัวหน้าทีมงาน หัวหน้าทีมงาน 2 คน 1 คน 1 คน หัวหน้าทีมงาน เจ้าหน้าทีท่ มี งาน เจ้าหน้าทีท่ มี งาน 2 คน 5 คน 5 คน เจ้าหน้าที่ 10 คน ทีมงาน ช่วงระยะเวลา เช่นเดียวกับ ปฏิบตั กิ าร 24 เช่นเดียวกับ ปฏิบตั กิ ารต่อเนื่อง ประเภท 2 ชั ่วโมง ประเภท 4 ทีมงาน ขีดความสามารถ การจัดการการ การจัดการการ ช่วยเหลือในการ ปฏิบตั กิ ารค้นหา ปฏิบตั กิ ารค้นหา ปฏิบตั กิ ารค้นหา การใช้เรือยนต์ใน การใช้เรือยนต์ใน การใช้ยานพาหนะ การปฏิบตั กิ าร การปฏิบตั กิ าร ทางน้ าทีไ่ ม่ม ี เครื่องยนต์ในการ การกูภ้ ยั ด้วย การกูภ้ ยั ด้วย ปฏิบตั กิ าร เครื่องบิน เครื่องบิน เฮลิคอปเตอร์ เฮลิคอปเตอร์
ทีมงาน ประเภท 4 เจ้าหน้าทีก่ ชู้ พี ขัน้ พืน้ ฐาน 1 คน
สมาชิกทีมงาน 6 คน ประกอบด้วย : หัวหน้าทีมงาน 1 คน เจ้าหน้าทีท่ มี งาน 5 คน เจ้าหน้าทีก่ ชู้ พี ขัน้ พืน้ ฐาน 1 คน การปฏิบตั กิ ารที่ มีความเสีย่ งต่า ปฏิบตั กิ าร ภาคพืน้ ดิน
การกูภ้ ยั สัตว์
การกูภ้ ยั สัตว์
การกูภ้ ยั สัตว์
วัตถุอนั ตราย
วัตถุอนั ตราย
วัตถุอนั ตราย
วัตถุอนั ตราย
การปฏิบตั กิ าร ช่วยชีวติ ขัน้ สูง
การปฏิบตั กิ าร ช่วยชีวติ ขัน้ พืน้ ฐาน
การปฏิบตั กิ าร ช่วยชีวติ ขัน้ พืน้ ฐาน
การช่วยชีวติ ขัน้ พืน้ ฐาน
120
ทรัพยากร : ทีมงานค้นหาและกู้ภยั ทางน้า (กระแสน้าเชี่ยวกราก/อุทกภัย) หมวด : ชนิ ด : การค้นหาและกู้ชีพ ขีดความสามารถขัน้ ตา่ : ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 องค์ประกอบ มาตรการ ทีมงาน ขีดความสามารถ เช่นเดียวกับ เช่นเดียวกับ การช่วยเหลือ ในการค้นหาและกู้ ประเภท 2 ประเภท 3 แต่ ผูป้ ระสบภัยทาง ชีพเฉพาะกิจ เพิม่ เติม : น้ าแบบประชิดตัว เทคนิคการใช้ การดาน้ ากูภ้ ยั ระบบเชือกใน การกูภ้ ยั ทีมงาน การฝึ กอบรม เช่นเดียวกับ เช่นเดียวกับ เช่นเดียวกับ ประเภท 2 ประเภท 3 แต่ ประเภท 4 แต่ เว้นแต่ : เพิม่ เติม : เพิม่ เติม : นักประดาน้ า การฝึ กอบรม นักประดาน้ าจะต้อง จะต้องผ่านการ เกีย่ วกับความ ผ่านการฝึ กอบรม ฝึ กอบรม ตระหนักต่อความ หลักสูตรการฝึ กนัก หลักสูตรการฝึ ก ปลอดภัยในการ ประดาน้ า เพือ่ นักประดาน้ า เพือ่ ปฏิบตั กิ ารด้วย ปฏิบตั กิ ารค้นหา ปฏิบตั กิ ารค้นหา เครือ่ งบิน อย่างเป็ นทางการ อย่างเป็ นทางการ เฮลิคอปเตอร์ 60 ชั ่วโมง 80 ชั ่วโมง เทคนิคในการใช้ เชือกในการกูภ้ ยั
ทีมงาน
การได้การรับรองขีด การปฏิบตั กิ าร ความสามารถ ช่วยชีวติ ขัน้ สูง การปฐมพยาบาล ขัน้ สูงและการ ปฏิบตั กิ ารช่วย
เช่นเดียวกับ ประเภท 4
เช่นเดียวกับ ประเภท 4
ทีมงาน ประเภท 4
ทักษะและความ ชานาญในการพาย ในระดับ 3 ทักษะและความ ชานาญในการช่วย ตัวเองและช่วย ผูป้ ระสบภัยทาง น้ าอื่นแบบประชิด ตัว วัตถุอนั ตราย เจ้าหน้าที่ ช่วยชีวติ ผูป้ ระสบภัยใน กระแสน้ าเชีย่ ว กราก การปฏิบตั กิ าร ช่วยชีวติ ขัน้ พืน้ ฐาน การปฐมพยาบาล ขัน้ สูงและการ ปฏิบตั กิ ารช่วย
121
ฟื้นคืนชีพ
ทรัพยากร : ทีมงานค้นหาและกู้ภยั ทางน้า (กระแสน้าเชี่ยวกราก/อุทกภัย) หมวด : ชนิ ด : การค้นหาและกู้ชีพ ขีดความสามารถขัน้ ตา่ : ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 องค์ประกอบ มาตรการ เครือ่ งมือ ทรัพยากรการ เครือ่ งมือรถลาก ขนส่ง จูง ยานพาหนะ สนับสนุ น สาหรับ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ องค์ประกอบของ สมาชิกทีมงาน สมาชิกทีมงาน สมาชิกทีมงาน ทีมงาน 14 คน 6 คน 4 คน ประกอบด้วย : ประกอบด้วย : ประกอบด้วย : ผูจ้ ดั การทีมงาน หัวหน้าทีมงาน หัวหน้าทีมงาน 2 คน 1 คน 1 คน หัวหน้าทีมงาน เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าทีท่ มี งาน 2 คน ทีมงาน 3 คน เจ้าหน้าที่ 5 คน ทีมงาน 10 คน เครือ่ งมือ การสือ่ สาร เครือ่ งมือ การแพทย์ กระเป๋าอุปกรณ์ เช่นเดียวกับ เช่นเดียวกับ สาหรับการ ประเภท 3 แต่ ประเภท 4 แต่ ช่วยชีวติ ขัน้ สูง เพิม่ เติม : เพิม่ เติม : เปล แผ่นกระดานรอง หาม ผ้าห่ม หลังสาหรับ เคลื่อนย้าย เปลหาม ผูป้ ว่ ย เครือ่ งมือ เจ้าหน้าที่ เช่นเดียวกับ เช่นเดียวกับ เช่นเดียวกับ ประเภท 2 ประเภท 3 แต่ ประเภท 4 แต่ เพิม่ เติม : เพิม่ เติม : เสือ้ ชูชพี ตีนกบ ตะเกียง เครือ่ งช่วย หายใจในน้ า แต่ไม่รวมถึง : อุปกรณ์ช่วยการ ลอยตัวแบบที่ 5
ฟื้ นคืนชีพ
ทีมงาน ประเภท 4
สมาชิกทีมงาน 3 คน ประกอบด้วย : หัวหน้าทีมงาน 1 คน เจ้าหน้าทีท่ มี งาน 2 คน
กระเป๋าอุปกรณ์ สาหรับช่วยชีวติ ขัน้ พืน้ ฐาน ผ้าห่ม
แท่งไฟเรืองแสง พลุสญ ั ญาณ สิง่ ทีใ่ ช้ทา เครือ่ งหมาย ไฟฉาย ถุง, ถุงมือ, มีด หมวกครอบหัว สาหรับดาน้ า อุปกรณ์ช่วยใน การลอยตัวแบบ
122
ที่ 4 รองเท้า นกหวีด
ทรัพยากร : ทีมงานค้นหาและกู้ภยั ทางน้า (กระแสน้าเชี่ยวกราก/อุทกภัย) หมวด : ชนิ ด : การค้นหาและกู้ชีพ ทีมงาน ขีดความสามารถขัน้ ตา่ : ประเภท 1 ประเภท 2 ประเภท 3 ประเภท 4 องค์ประกอบ มาตรการ เช่นเดียวกับ เช่นเดียวกับ ถังเก็บอากาศ เครือ่ งมือ อุปกรณ์สาหรับ ประเภท 3 เครือ่ งช่วยควบคุม ช่วยหายใจในการ ประเภท 3 การลอยตัว ดาน้ าลึก เข็มขัดถ่วง น้ าหนัก เครือ่ งมือตัด 2 ชิน้ สายรัดอกและห่วง ทีม่ ตี ะขอเกีย่ ว หน้ากากดาน้ า แบบเต็มหน้า การสือ่ สารใต้น้ า ชุดดาน้ าแบบแห้ง อุปกรณ์เชือกใช้ใน การค้นหา ถังเก็บอากาศ สารอง ใช้น้ ามันเป็ น ใช้น้ ามันเป็ น ไม่ใช้น้ ามันเป็ น พาหนะ เรือกูภ้ ยั เชือ้ เพลิง เชือ้ เพลิง เชือ้ เพลิง จานวน จานวน 2 ลา จานวน 1 ลา 1 ลา ขนาด 4 คน นั ่ง ข้อคิดเห็น : ปฏิบตั กิ ารค้นหาและกูภ้ ยั ในน้ าทุกสภาพรวมถึงในสภาพทีน่ ้ าไหลเชีย่ วกรากและอุทกภัย ทีมงาน กูภ้ ยั ทางน้ าจะมาพร้อมกับอุปกรณ์ประจาทีมงานทัง้ หมดทีจ่ าเป็ นต้องใช้ เพือ่ ปฏิบตั กิ ารได้อย่าง ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
.
123
ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ก จุดประสงค์ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ในภาคผนวก ข จะมีคาอธิบายและตัวอย่างเกี่ยวกับระบบการบัญชาการเหตุการณ์เพิม่ เติม อย่างไรก็ดตี ามภาคผนวก ข ไม่ได้เป็ นเอสการทีจ่ ะนามาศึกษาด้วยตนเองแทนการเข้ารับการฝึกอบรม ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ รัฐบาลทุกระดับ – รัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนพืน้ เมืองอเมริกนั และรัฐบาลท้องถิน่ – รวมถึง องค์กรพัฒนาเอกชน และภาคเอกชน นาระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ไปใช้ในหลากหลายเหตุการณ์ ตัง้ แต่เหตุฉุกเฉินในชีวติ ประจาวันไปจนถึงเหตุฉุกเฉินทีม่ คี วามซับซ้อน ไม่ว่าจะเป็นเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิด จากธรรมชาติหรือเกิดจากมนุษย์ ระบบการบัญชาการเหตุการณ์เป็ นการผสมผสานองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น สถานทีท่ าการ เครือ่ งมือ บุคลากร ขัน้ ตอนการดาเนินการ การสื่อสารเข้าด้วยกัน เพื่อปฏิบตั ภิ ารกิจ ภายใต้โครงสร้างองค์กรเดียวกัน ทีไ่ ด้รบั การออกแบบมาเพื่อช่วยในการดาเนินกิจกรรมการจัดการเหตุ ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ “ขัน้ ตอนการเปลีย่ นผ่าน” ทีส่ าคัญบางส่วนทีจ่ าเป็ นต้องนาระบบการบัญชาการเหตุการณ์มา ประยุกต์ใช้ในสภาพแวดล้อมของสถานทีเ่ กิดเหตุจะครอบคลุมถึงประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ : • การตระหนักและการคาดการณ์ถึงความจาเป็ นที่จะต้องเปิ ดใช้งานองค์ประกอบต่าง ๆ ของ ระบบและการดาเนินการตามขัน้ ตอนทีจ่ าเป็ นในการมอบอานาจตามความเหมาะสม • การจัดตัง้ ทีท่ าการในพืน้ ทีต่ ามความจาเป็ นเพื่อสนับสนุนการปฏิบตั กิ ารภาคสนาม • การกาหนดให้มกี ารใช้คาศัพท์เฉพาะทีเ่ ป็ นมาตรฐานร่วมกัน สาหรับเรียกองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบ ชื่อตาแหน่ง สถานทีท่ าการ และทรัพยากรต่าง ๆ • การมีววิ ฒ ั นาการอย่างรวดเร็วจากการสังการด้ ่ วยวาจาไปสู่การจัดทาแผนเผชิญเหตุเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษร
124
ข การจัดทาภาคผนวก ข -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------องค์ประกอบหลัก ของระบบการบัญ ชาการเหตุ การณ์ ไ ด้ร บั การจัดทาเป็ นตาราง 10 ตาราง ดังต่อไปนี้ : • ตารางที่ 1 – การจัดองค์กรของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ • ตารางที่ 2 – ส่วนปฏิบตั กิ าร • ตารางที่ 3 – ส่วนแผนงาน • ตารางที่ 4 – ส่วนสนับสนุนกาลังบารุง • ตารางที่ 5 – ส่วนการเงิน/การบริหาร • ตารางที่ 6 – การจัดตัง้ หน่วยบัญชาการพืน้ ที่ • ตารางที่ 7 – สถานทีท่ าการและทีต่ งั ้ • ตารางที่ 8 – กระบวนการวางแผนและแผนเผชิญเหตุ • ตารางที่ 9 – แบบฟอร์มต่าง ๆ ของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ • ตารางที่ 10 – การสรุปตาแหน่ งหลักของระบบการบัญชาการเหตุการณ์
125
ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์
ตารางที่ 1 – การจัดรูปแบบองค์กรระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ก โครงสร้างตามภารกิ จหน้ าที่ ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ประกอบด้วยภารกิจหลักห้าด้าน คือ ; การบัญชาการ การ ปฏิบตั กิ าร การวางแผน การส่งกาลังบารุง และการเงิน/การบริหารจัดการ (อาจจะกาหนดภารกิจหน้าทีท่ ่ี หก คือ การข่าวกรอง/การตรวจสอบข้อเท็จจริง หากมีความจาเป็ น) ข การขยายรูปแบบองค์กรเฉพาะส่วน ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------โครงสร้างองค์กรของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ทีแ่ ยกออกจากกัน ที่สามารถรวมกันได้ และมีความยืดหยุ่น สามารถปรับขยายเพื่อรวมองค์ประกอบที่จาเป็ นทัง้ หมดเข้า ด้วยกัน สอดคล้องกับประเภทหรือชนิด ขนาด ขอบเขต และความซับซ้อนของเหตุฉุกเฉิน โครงสร้างของ องค์ก รจะขยายจากบนลงล่ า ง ; หน้ า ที่ร บั ผิด ชอบและการปฏิบ ัติภ ารกิจ ต่ า ง ๆ จะเริ่ม ต้น จากการ บัญชาการเหตุการณ์ และในกรณีทจ่ี าเป็ นส่วนต่าง ๆ ส่วนทีจ่ ดั ตัง้ แยกจากกันไว้ สามารถนามาใช้จดั ตัง้ เป็ นทีมงานปฏิบตั กิ ารได้ ส่วนต่าง ๆ ดังกล่ าว อาจจะมีหน่ วยย่อยหรือสาขาอยู่ภายใต้การบังคับบัญชา หลายหน่วย หรือหลายสาขา ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั ความจาเป็ นในการจัดการเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ถ้าหากบุคคล เดียวสามารถจัดการภารกิจหลักด้านต่าง ๆ เหล่านี้พร้อมกันได้ ก็ไม่มคี วามจาเป็ นที่จะต้องจัดรูปแบบ องค์กรอื่นขึ้นมาเพิม่ เติมอีก แต่ถ้าหากภารกิจด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้านจาเป็ นต้องมีการจัดการ อย่างเป็นอิสระ จะมีการมอบหมายให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งรับผิดชอบในการจัดการภารกิจดังกล่าวนัน้ เพื่อที่จะคงขอบเขตของการควบคุมทีเ่ หมาะสมเอาไว้ ผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์ท่ที าหน้าทีจ่ ดั การ การปฏิบตั ิการตอบโต้ต งั ้ แต่เริม่ ต้น อาจตัดสินใจมอบหมายภารกิจในการบัญ ชาการเหตุการณ์ให้กับ หัวหน้าส่วนคนหนึ่งคนใด หรือหลายคน เมือ่ เห็นว่าจาเป็ น หัวหน้าส่วนอาจจะมอบหมายอานาจหน้าทีใ่ น การจัด การต่ อ ไปภายในพื้น ที่ท่ีร บั ผิด ชอบก็ไ ด้ หัว หน้ า ส่ ว นอาจจะจัด ตัง้ สาขา กลุ่ ม ภารกิจ พื้น ที่ ปฏิบตั กิ าร หรือหน่ วยขึน้ มา ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั ความจาเป็ นของแต่ละส่วน ในทานองเดียวกันหัวหน้าหน่ วย ภารกิจแต่ละหน่วยจะมอบหมายหน้าทีก่ ารงานให้กบั แต่ละบุคคลภายในหน่วยตามความจาเป็น การกาหนดให้มรี องผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์และผูช้ ่วยเป็ นส่วนทีส่ าคัญส่วนหนึ่งของทัง้ โครงสร้าง องค์กรและแนวความคิดในการปรับขยายโครงสร้างของระบบ ในระบบการบัญชาการเหตุการณ์อาจจะมี รองผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์หนึ่งคน หรือมากกว่าหนึ่งคนทีอ่ าจจะมาจากหน่วยงานเดียวกันกับผู้บญ ั ชาการ เหตุการณ์ หรือจากหน่ วยสนับสนุ น การใช้งานรองผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์อาจจะกระทาได้ในระดับส่วน
126
และระดับสาขาขององค์กร รองผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์ ไม่ว่าจะเป็ นระดับการบัญชาการ ระดับส่วนหรือ ระดับสาขาจะต้องเป็นบุคคลทีม่ คี ุณสมบัตคิ รบถ้วนทีจ่ ะดารงตาแหน่ง เหตุผลหลักในการแต่งตัง้ รองผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์มดี งั นี้ • เพื่อปฏิบตั หิ น้าทีท่ เ่ี ฉพาะเจาะจงตามทีผ่ บู้ ญ ั ชาการเหตุการณ์รอ้ งขอ • เพื่อปฏิบตั ภิ ารกิจหน้าที่ในการบัญชาการเหตุการณ์แทนผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์ (เช่น เข้ารับ ช่วงต่อการปฏิบตั กิ ารช่วงต่อไป ; ในกรณีน้รี องผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์จะทาหน้าทีห่ ลักแทน) • เพื่อเป็ นตัวแทนของหน่ วยงานที่ให้ความช่วยเหลือที่อาจจะต้องใช้อานาจหน้าที่ในการจัดการ เหตุฉุกเฉินร่วมกัน หรืออาจจะเป็ นหน่ วยงานที่จะมีอานาจหน้าที่เต็มในการจัดการเหตุฉุกเฉินต่อไปใน อนาคต ผูช้ ่วยผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ได้รบั การกาหนดให้ปฏิบตั หิ น้าทีส่ งั กัดทีมงานบัญชาการ ซึง่ รวมถึง เจ้าหน้าที่ขอ้ มูลข่าวสารสาธารณะ เจ้าหน้าที่ด้านความปลอดภัยและเจ้าหน้าที่ประสานงาน ผู้ช่วยจะมี ระดับความสามารถ คุณสมบัตแิ ละหน้าทีร่ บั ผิดชอบรองจากตาแหน่งหลัก แนวความคิดในการปรับขยายองค์กรทีไ่ ด้อธิบายไว้ขา้ งต้นมีพน้ื ฐานมาจากข้อคิดเห็นดังต่อไปนี้ : • การพัฒนาโครงสร้างอค์กรเพื่อให้ตรงและเหมาะกับภารกิจและหน้าทีท่ จ่ี ะต้องปฏิบตั ิ • การจัดบุคคลเข้าปฏิบตั งิ านเฉพาะองค์ประกอบขององค์กรทีจ่ ะต้องปฏิบตั ภิ ารกิจเท่านัน้ • การปฏิบตั หิ น้าทีภ่ ารกิจหลักขององค์ประกอบขององค์กรทีอ่ ยู่ในระดับสูงสุดระดับถัดไปทีย่ งั ไม่ เปิดใช้งาน • ปิดการใช้งานองค์ประกอบของค์กรทีไ่ ม่มคี วามจาเป็ น เพื่อการอ้างอิง ตาราง ข – 1 อธิบายชื่อตาแหน่ งพิเศษเฉพาะทีก่ าหนดไว้ในองค์ประกอบต่ าง ๆ ขององค์กรระบบการบัญชาการเหตุการณ์อย่างสอดคล้องกันในแต่ละระดับ รวมถึงชื่อตาแหน่ งผู้นาที่ สอดคล้องกับองค์ประกอบแต่ละด้าน
127
ตาราง ข – 1 องค์กรระบบการบัญชาการเหตุการณ์ องค์ประกอบขององค์กร • หน่วยบัญชาการเหตุการณ์ • ทีมงานบัญชาการ • ส่วน • สาขา • พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารและกลุ่มภารกิจ • หน่วย • ชุดปฏิบตั กิ ารทีม/ชุดปฏิบตั กิ าร ผสม ผูค้ วบคุมทรัพยากรเดีย่ ว ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง
ชื่อตาแหน่ งผู้นา
ตาแหน่ งสนับสนุน
ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ เจ้าหน้าที่ (Officer) หัวหน้าส่วน ผูอ้ านวยการสาขา ผูค้ วบคุม
รองผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ ผูช้ ่วย รองหัวหน้าส่วน รองผูอ้ านวยการสาขา ไม่ม ี
ผูน้ าหน่วย หัวหน้า
ผูจ้ ดั การ ผูป้ ระสานงาน ผูค้ วบคุมทรัพยากรเดีย่ ว ชุดปฏิบตั กิ าร/คณะทางาน ไม่ม ี ไม่ม ี
ผูค้ วบคุม ผูเ้ ชีย่ วชาญ
1. ทีมงานบัญชาการ (Command Staff) ในองค์กรของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ หน่ วยบัญชาการอาจจะประกอบด้วยตาแหน่ งผู้ บัญชาการเหตุการณ์และตาแหน่งทีมงานบัญชาการหลายตาแหน่ ง ทีมงานบัญชาการจะได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นทางการเฉพาะ และขึ้นตรงต่ อผู้บญ ั ชาการเหตุ การณ์ และได้รบั มอบหมายให้มหี น้ าที่รบั ผิดชอบ กิจกรรมหลักที่ไม่ได้เ ป็ นส่ว นหนึ่งขององค์ประกอบภารกิจของทีมงานปฏิบตั ิการ โดยทัวไปจะมี ่ การ กาหนดตาแหน่ งทีมงานไว้ในระบบการบัญชาการเหตุการณ์สามตาแหน่ ง ซึง่ ประกอบด้วย : เจ้าหน้าที่ ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ เจ้าหน้าทีด่ า้ นความปลอดภัย และเจ้าหน้าทีป่ ระสานงาน ในกรณีทจ่ี าเป็ นอาจจะ ก าหนดต าแหน่ งอื่น ๆ เพิ่มเติม ตัว อย่า งเช่น ต าแหน่ งผู้เ ชี่ยวชาญพิเ ศษเฉพาะทาง ทัง้ นี้ข้นึ อยู่กับ ลักษณะ ขอบเขต ความซับซ้อนของเหตุฉุกเฉินและสถานที่ทเ่ี กิดเหตุฉุกเฉิน หรือกาหนดขึน้ ตามความ ต้องการทีเ่ ฉพาะเจาะจงทีห่ น่วยบัญชาการระบุไว้ (ก) เจ้าหน้ าที่ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ เจ้าหน้าทีบ่ ริหารข้อมูลข่าวสารสาธารณะมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการต่อประสานกับสาธารณชนและ สื่อ รวมถึง หน่ ว ยงานอื่น ๆ ในด้า นความต้อ งการข้อ มูล ข่า วสารที่เ กี่ย วข้อ งกับ เหตุ ฉุ ก เฉิ นที่เ กิด ขึ้น เจ้าหน้ าที่บริห ารข้อ มูล ข่าวสารสาธารณะจะรวบรวมข้อ มูล ที่ถู ก ต้อ ง สามารถเข้าถึง ได้แ ละสมบูร ณ์ เกีย่ วกับสาเหตุ ขนาด และสถานการณ์ปจั จุบนของเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ; ข้อมูลข่าสารเกี่ยวกับทรัพยากร ที่จะได้รบั จัดสรรและเรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจและเป็ นประโยชน์ ต่อบุ คคลทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร เจ้าหน้ าที่ข้อมูลข่าวสารสาธารณะอาจจะต้องมีบทบาทสาคัญในการติดตามตรวจสอบข้อมูลสาธารณะ
128
ตัว อย่า งเช่ น การด าเนิ น มาตรการควบคุ ม ข่า วลือ ไม่ว่ า โครงสร้า งของการบัญ ชาก ารจะเป็ น แบบผู้ บัญชาการเดี่ยวหรือแบบการบัญชาการร่วมก็ตาม ควรจะแต่งตัง้ เจ้าหน้ าทีข่ อ้ มูลข่าวสารสาธารณะเพียง คนเดียวต่อเหตุฉุ กเฉินหนึ่งเหตุก ารณ์ ผู้ช่วยเจ้าหน้ าที่ข้อมูล ข่าวสารสาธารณะอาจจะแต่งตัง้ มาจาก กระทรวงหรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องอื่น ๆ ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ต้องให้ความเห็นชอบการแจกจ่ายข้อมูล ข่าวสารทีเ่ กี่ยวกับเหตุฉุกเฉินทัง้ หมด ในกรณีทเ่ี หตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ เป็ นเหตุฉุกเฉินขนาดใหญ่ หรือเป็ น เหตุฉุกเฉินทีจ่ าเป็นต้องจัดตัง้ ศูนย์บญ ั ชาการขึน้ หลายศูนย์ เจ้าหน้าทีข่ อ้ มูลข่าวสารสาธารณะควรจะต้อง เข้าไปมีส่วนร่วมหรือทาหน้าที่อานวยการศูนย์ร่วมการประสานงานสารสนเทศ เพื่อทาให้มนใจในความ ั่ สอดคล้องของการให้ขอ้ มูลข่าวสารแก่สาธารณชน (ข) เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการปฏิ บตั ิ งาน เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยติดตามตรวจสอบการปฏิบตั ิการตอบโต้เหตุการณ์ และให้ค าแนะนา หน่วยบัญชาการในทุก ๆ เรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน รวมถึง ความปลอดภัยและ อาชีวอนามัยของเจ้าหน้าทีด่ า้ นการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ ความรับผิดชอบขัน้ สูงสุดต่อการจัดการเหตุฉุกเฉิน ด้วยความปลอดภัยเป็ นภาระหน้าที่ของผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์หรือหน่ วยบัญชาการ และผู้ควบคุมดูแล การดาเนินงานการจัดการเหตุการณ์ทุกระดับ โดยสลับกัน เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านจะ รับผิดชอบในการจัดทาแผนความปลอดภัยในการจัดการเหตุการณ์ (Incident Safety Plan) - กาหนด ระบบและขัน้ ตอนการดาเนินงานที่จาเป็ นเพื่อให้แน่ ใจว่ามีการดาเนินการในด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น การประเมินสภาวะแวดล้อมทีเ่ ป็ นอันตราย การประสานความพยายามของหน่ วยงานต่าง ๆ ในการ สร้างความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน รวมถึงความปลอดภัยโดยทัวไปในการปฏิ ่ บตั ิการตอบโต้เหตุ ฉุ กเฉิน เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านมีอานาจทาการหรือสังให้ ่ ทาการเฉพาะหน้าในการสัง่ ให้หยุด และ/หรือป้องกันการกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัยในระหว่างปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉิน ในโครงสร้าง หน่ วยบัญชาการร่วม ควรต้องแต่งตัง้ เจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านเพียงคนเดียว โดยไม่ คานึงถึงการเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องของหลายขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ หรือหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้องหลายหน่ วย เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน หัวหน้าหน่ วยปฏิบตั กิ าร หัวหน้าส่วน แผนงาน และหัวหน้าส่วนสนับสนุนกาลังบารุงต้องประสานงานกันอย่างใกล้ชดิ ในประเด็นความปลอดภัย ในการปฏิบตั ภิ ารกิจ และสุขอนามัย และความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ตอบโต้ สภาวะฉุ กเฉิน เจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานต้อ งทาให้เ กิดความมัน่ ใจในการประสานการด าเนินการด้านความ ปลอดภัยในการปฏิบ ัติงาน ระหว่า งขอบเขตอ านาจหน้ าที่และพื้น ที่ร บั ผิด ชอบหน่ ว ยงานที่เ ข้าร่ว ม ปฏิบตั กิ ารและประสานงานกับองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน เป็ น เรื่อ งส าคัญ ที่จะตัง้ ข้อ สัง เกตว่ าหน่ ว ยงาน องค์ก ร และขอบเขตอ านาจหน้ าที่แ ละพื้ น ที่ รับผิดชอบต่าง ๆ ที่มสี ่ว นช่วยในความพยายามร่วมกันจัดการความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานจะไม่ สูญเสียเอกลักษณ์ของตน หรือขาดความรับผิดชอบต่อแผนงาน นโยบายและเจ้าหน้าทีข่ องต้นสังกัด แต่ ละหน่ ว ยงาน องค์กร และขอบเขตอ านาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบต่างมีส่วนช่ว ยในความพยายาม โดยรวม ทีจ่ ะเป็ นกันเจ้าหน้าทีด่ ้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ทุกคนที่ร่วมปฏิบตั งิ าน ผู้ช่วยเจ้าหน้าทีค่ วาม ปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านอาจจะแต่งตัง้ จากหน่ วยงานหรือกระทรวงทีป่ ระกอบขึน้ เป็ นหน่ วยบัญชาการ
129
ร่วม เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ บางประเภทอย่างเช่น เหตุฉุกเฉินที่เกิด จากวัตถุอนั ตรายจาเป็ นต้องมีผู้ช่วย เจ้า หน้ า ที่ค วามปลอดภัย ในการปฏิบ ัต านที่ม ีล ัก ษณะพิเ ศษ ต าแหน่ ง หน้ า ที่ผู้ช่ ว ยเจ้า หน้ า ที่ค วาม ปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานประเภทต่ าง ๆ ที่ได้อ ธิบายไว้ด้านล่ างนี้เ ป็ นตัวอย่างของต าแหน่ งหน้ าที่ ดังกล่าว และภาพประกอบที่ ข – 1 แสดงให้เห็นถึงวิธกี ารวางตาแหน่ งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการ ปฏิบตั งิ านและตัวอย่างตาแหน่งผูช้ ่วยในระบบการบัญชาการเหตุการณ์ • ผูช้ ่วยเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านด้านวัตถุอนั ตราย ควรต้องได้รบั การแต่งตัง้ ให้ ปฏิบตั ภิ ารกิจที่ได้ระบุไว้ใน 29 CFR1910.120 (ปฏิบตั กิ ารกาจัดของเสียอันตรายและการตอบโต้สภาวะ ฉุกเฉิน) บุคคลทีจ่ ะได้รบั การแต่งตัง้ ให้ปฏิบตั งิ านนี้จาเป็ นต้องมีความรู้ ความชานาญ และความสามารถ ทีจ่ ะทาหน้าทีค่ วบคุมดูแลการปฏิบตั กิ ารกาจัดของเสียอันตรายทีเ่ ฉพาะเจาะจงในระดับภาคสนาม • ผูช้ ่วยเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานด้านอัคคีภยั ควรจะได้รบั การมอบหมายให้ทา หน้าทีช่ ่วยผูค้ วบคุมสาขา (Branch Director) ควบคุมดูแลการปฏิบตั กิ ารระงับอัคคีภยั บุคคลผูน้ ้ีจะต้องมี ความรู้ ความชานาญ และความสามารถทีจ่ าเป็นสาหรับการทาหน้าทีน่ ้ี • ผูช้ ่วยเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยด้านอาหารควรจะได้รบั การแต่งตัง้ ให้ปฏิบตั งิ านทีห่ น่ วยเสบียง อาหาร (Food Unit) เพื่อควบคุมดูแลการจัดการและการแจกจ่ายอาหาร บุคคลผูน้ ้ีจะต้องมีความรู้ ความ ชานาญ และความชานาญที่จาเป็ นส าหรับการทาหน้ าที่น้ี ตัว อย่างเช่น ผู้เ ชี่ยวชาญด้านอาหารจาก กระทรวงสาธารณสุขของรัฐบาลท้องถิน่
130
ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ภาพประกอบ ข – 1 ตัวอย่างบทบาทของเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน และผูช้ ่วยเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการปฏิบตั งิ านในระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ในกรณีเหตุการณ์ทจ่ี าเป็นต้องจัดตัง้ สาขาหลายสาขา หน่วยบัญชาการ เหตุการณ์ เจ้าหน้าที่ ข้อมูลสาธารณะ
เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย ในการปฏิบตั งิ าน
เจ้าหน้าที่ ประสานงาน
การเงิน
ปฏิบตั กิ าร
สนับสนุ นกาลัง บารุง
ผูจ้ ดั การพืน้ ที่ เตรียมปฏิบตั กิ าร
หน่วยเสบียง อาหาร ผูช้ ่วยเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัย ด้านอาหาร
สาขาด้านวัตถุ อันตราย
สาขาการระงับ อัคคีภยั
สาขาด้าน กฎหมาย
ผูช้ ่วยเจ้าหน้าทีค่ วาม ปลอดภัยในการ ปฏิบตั งิ านด้านอัคคีภยั ผูช้ ่วยเจ้าหน้าทีค่ วาม ปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน ด้านวัตถุอนั ตราย
แผนงาน ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษ เฉพาะทาง หน่วยทรัพยากร หน่วยสถานการณ์ เหตุการณ์
131
การเชื่อมโยงด้วยเส้นประ หมายถึง การประสานงานและการติดต่อสื่อสารระหว่างจุดสองจุดซึง่ ไม่ จาเป็ นต้องเป็นการเชื่อมโยงโดยตรงภายในสายการบังคับบัญชา ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ (ค) เจ้าหน้ าที่ประสานงาน เจ้าหน้ าที่ประสานงานทาหน้ าที่เป็ นคนกลางหรือ จุดติดต่ อประสานงานของหน่ ว ยบัญ ชาการ เหตุการณ์กบั ตัวแทนของหน่วยงานภาครัฐ กระทรวง องค์กรพัฒนาเอกชน และ/หรือภาคเอกชน (ซึง่ ไม่ม ี ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบหรืออานาจหน้าทีต่ ามกฎหมาย) เพื่อให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับนโยบาย และทรัพยากรทีม่ อี ยู่ และพร้อมใช้ขององค์กรต่าง ๆ เหล่านัน้ รวมถึงเรื่องอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวกับเหตุฉุกเฉินที่ เกิดขึน้ แห่หน่วยบัญชาการเหตุการณ์ ไม่ว่าจะเป็ นโครงสร้างแบบการบัญชาการเกี่ยวหรือการบัญชาการ ร่ว ม ผู้แ ทนจากองค์ก รที่ใ ห้ค วามช่ ว ยเหลือ หรือ ให้ค วามร่ว มมือ จะประสานงานผ่ า นทางเจ้า หน้ า ที่ ประสานงาน ผู้แทนจากองค์กรต่าง ๆ ที่ได้รบั มอบหมายให้เข้าร่วมปฏิบตั ิงานจะต้องมีอานาจที่ จะพูด แทน หรือเป็ นปากเสียงให้ก ับ องค์ก ร และ/หรือ หน่ ว ยงานต้นสังกัดในทุก ๆ เรื่อง หลังจากได้มกี าร ปรึกษาหารือกับผูน้ าขององค์กรต้นสังกัดของตน ผูช้ ่วยเจ้าหน้าทีท่ ป่ี ระสานงานและเจ้าหน้า ทีจ่ ากองค์กร พัฒ นาเอกชน และภาคเอกชนที่เ ข้า ร่ ว มด าเนิ น กิจ กรรมการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น อาจจะได้ร ับ การ มอบหมายให้ปฏิบตั งิ านกับเจ้าหน้าทีป่ ระสานงาน เพื่ออานวยความสะดวกในการประสานงาน (ง) ตาแหน่ งหน้ าที่ในทีมงานบัญชาการที่ กาหนดเพิ่ มเติ ม การกาหนดตาแหน่ งหน้าทีเ่ พิม่ เติมในทีมงานบัญชาการอาจจะเป็ นเรื่องที่จาเป็ น ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั ลักษณะของเหตุฉุกเฉินที่กิดขึ้น และสถานที่เกิดเหตุหรือเพื่อให้เป็ นไปตามความประสงค์ของหน่ ว ย บัญชาการเหตุการณ์ ตัวอย่างเช่น อาจจะมอบหมายให้ท่ปี รึกษาด้านกฎหมายเป็ นผู้เชี่ยวชาญพิเศษ เฉพาะทางในส่วนแผนงาน หรือแต่งตัง้ ให้ขน้ึ ตรงต่อทีมงานบัญชาการเพื่อให้คาปรึกษาด้านกฎหมายแก่ หน่ วยบัญชาการเหตุการณ์ เช่น ให้คาปรึกษาในการประกาศสภาวะฉุ กเฉิน ความถูกต้องตามกฎหมาย ของคาสังอพยพหนี ่ ภยั การแยกกักบุคคลและการกักกันโรค และเรื่องสิทธิตามกฎหมาย และข้อจากัดใน การเข้าถึงของสื่อ ในทานองเดียวกัน อาจจะแต่งตัง้ และมอบหมายที่ปรึกษาด้านการแพทย์ข้นึ ตรงต่อ ทีมงานบัญชาการเพื่อทาหน้าทีใ่ ห้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อหน่ วยบัญชาการในบริบทของเหตุการณ์ ที่เ กิ ด ขึ้น ในส่ ว นที่เ กี่ย วกับ การให้ บ ริก ารทางการแพทย์แ ละสุ ข ภาพจิต การให้ ค วามช่ ว ยเหลือ ผูไ้ ด้รบั บาดเจ็บจานวนมาก การดูและรักษาในระยะเฉียบพลัน การควบคุมพาหะของโรค ระบาดวิทยา ข้อพิจารณาเกีย่ วกับการป้องกันโรคให้กบั คนจานวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในการตอบโต้เหตุการณ์ก่อ การร้ายด้วยอาวุธวี ภาพ
132
ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์
ตารางที่ 2 ส่วนปฏิ บตั ิ การ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ส่วนปฏิบตั กิ ารมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการปฏิบตั กิ ารเพื่อทีจ่ ะลดอันตรายทีเ่ กิดขึน้ โดยฉับพลันใน สถานทีเ่ กิดเหตุ เพื่อรักษาชีวติ และทรัพย์สนิ การควบคุมสถานการณ์ และเพื่อให้กลับคืนสู่สภาวะปกติ เหตุฉุกเฉิน หมายความรวมถึง การกระทาการก่อการร้าย ไฟปา่ และอัคคีภยั ในเขตเมือง อุทกภัย การรัว่ ไกลของวัตถุอนั ตราย อุบตั เิ หตุนิวเคลียร์ อุบตั เิ หตุเครือ่ งบิน แผ่นดินไหว พายุเฮอร์รเิ คน พายุหมุน พายุ โซนร้อน ภัยพิบตั เิ กีย่ วกับสงคราะห์ สภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์และสาธารณสุข และเหตุฉุกเฉินอื่น ๆ ทีจ่ าเป็นต้องดาเนินการตอบโต้โดยเร่งด่วน เนื่องจากระบบการบัญชาการเหตุการณ์มโี ครงสร้างขององค์กรในการจัดการทีแ่ บ่งภาระหน้าทีใ่ น การดาเนินงานออกเป็ นด้านต่าง ๆ เป็ นการเฉพาะ จึงได้ มกี ารนาเอาระบบนี้ไปใช้ประยุกต์ในการจัดการ เหตุ ฉุ ก เฉิ นต่ าง ๆ ที่มคี วามแตกต่ างกัน ทัง้ ในด้านขนาด ขอบเขตและความซับซ้อ น ประเภทของ หน่วยงานทีส่ ามารถรวมอยู่ในส่วนปฏิบตั กิ ารได้แก่ งานดับเพลิง งานบังคับใช้กฎหมาย งานสาธารณสุข งานโยธาธิการ งานการจัดการสภาวะฉุ กเฉิน เพื่อสร้างความปลอดภัยให้กบั ประชาชน หน่ วยงานต่าง ๆ เหล่านี้อาจจะทางานร่วมกันโดยการจัดตัง้ เป็ นหน่ วย (Unit) หรือโดยการรวมตัวในรูปแบบอื่น ๆ มีเหตุ ฉุ กเฉินหลายเหตุการณ์ทจ่ี าเป็ นต้องให้หน่ วยงานภาครัฐ องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน เข้ามามี ส่วนร่วมในฐานะหุน้ ส่วนหรือพันธมิตรในส่วนปฏิบตั กิ าร การจัด การเหตุ ก ารณ์ ส ามารถจัดรูปแบบองค์ ก รและด าเนินการได้หลายวิธ ี วิธ ีการจัดการที่ เฉพาะเจาะจงที่เลือกใช้ข้นึ อยู่กบั ประเภทของเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ หน่ วยงานที่เข้ามามีส่วนร่วม และ วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ของความพยายามในการจัดการเหตุฉุกเฉิน ความคิดเชิงวิเคราะห์ดงั ต่อไปนี้ได้ นาเสนอวิธ ีการต่าง ๆ ในการจัดรูปแบบองค์กรการปฏิบตั ิการเชิงยุทธวิธใี นการตอบโต้เ หตุฉุกเฉินที่ เกิดขึน้ ในบางกรณีวธิ กี ารทีใ่ ช้จะเป็ นวิธที เ่ี น้นถึงภารกิจขององค์กรเป็ นหลัก ส่วนกรณีนอกเหนือจากนี้ อาจจะใช้ว ิธ ีผสมผสานกันระหว่างวิธ ีก ารที่เน้ นภารกิจขององค์กรเป็ นหลักกับวิธกี ารที่เ น้ นพื้นที่ทาง ภูมศิ าสตร์จงึ จะเหมาะสม ในขณะที่รูปแบบองค์กรของระบบการบัญชาการเหตุการณ์มคี วามเกี่ยวพัน โดยตรงกับขนาด และความซับซ้อ นของเหตฉุ กเฉิ นที่เ กิดขึ้น ดังนัน้ ความจาเป็ นในการดารงรั ก ษา ขอบเขตของการควบคุมทรัพยากรทัง้ หมดทีส่ ามารถบริหารจัดการได้โดยง่ายเอาไว้ จึงหมายถึง จานวน หน่ วยองค์กรและทรัพยากรเดีย่ วทีอ่ ยูภ่ ายใต้การบังคับบัญชา เป็ นปจั จัยทีข่ บั เคลื่อนภารกิจของระบบการ บัญชาการเหตุการณ์ ระบบการบัญชาการเหตุการณ์มคี วามยืดหยุ่นสูงมากพอสาหรับการกาหนดวิธที ่ี เหมาะสม โดยใช้ปจั จัยต่าง ๆ ทีไ่ ด้อธิบายไว้ขา้ งต้น
133
ก. หัวหน้ าส่วนปฏิ บตั ิ การ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หัว หน้ าส่ ว นปฏิบตั ิก ารทาหน้ าที่จดั การการดาเนิน กิจกรรมเชิงกลยุทธ์ท่เี กี่ยวกับเหตุ การณ์ ทัง้ หมดโดยตรง และการดาเนินการตามแผนเผชิญเหตุ หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ ารอาจจะมีรองหรือผูท้ าการ แทนหนึ่งคนหรือมากกว่าหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ที่แต่งตัง้ จากหน่ วยงานอื่น ๆ การแต่งตัง้ หัวหน้าส่วน ปฏิบตั กิ ารควรแต่งตัง้ สาหรับรอบระยะเวลาในการปฏิบตั กิ ารแต่ละรอบ และจะเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้อง โดยตรงในการจัดทาแผนเผชิญเหตุ สาหรับผู้ท่จี ะต้องรับผิดชอบรอบระยะเวลาในการปฏิบตั กิ ารรอบ ต่อไป ข สาขา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------สาขาอาจจะตัง้ ขึน้ เพื่อตอบสนองต่อปญั หาท้าทายต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ : 1 เพื่ อ ด ารงรัก ษาขอบเขตการควบคุ ม ที่ ไ ด้ ร บั การรับ รองว่ า เหมาะสมส าหรับ หัว หน้ าส่ ว น ปฏิ บตั ิ การ ขอบเขตการควบคุมที่ได้รบั การรับรองว่าเหมาะสมสาหรับหัวหน้ าส่วนปฏิบตั ิ คือ 1 : 5 – เช่นเดียวกับสาหรับผู้จดั การและเจ้าหน้ าที่ท่ที าหน้ าที่กากับดูแล – หรือสูงที่สุด 1 : 10 สาหรับการ ปฏิบตั กิ ารบังคับใช้กฎหมาย เมื่ออัตราส่วนสูงกว่านี้ หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ ารควรต้องจัดตัง้ สาขาขึน้ สอง สาขา (ดูภาพประกอบ ข – 2) และกาหนดพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร (Division) และกลุ่มภารกิจระหว่างสาขาต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น ถ้ามีกลุ่มภารกิจหนึ่งกลุ่มและพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารสีพ่ น้ื ทีท่ ข่ี น้ึ ตรงต่อหัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ าร และ จาเป็ นต้อ งมีก ารเพิ่มเติมพื้นที่ป ฏิบตั ิการขึ้นใหม่อีกสองพื้นที่ และกับอีกหนึ่งกลุ่ มภารกิจ ในกรณี นี้ จาเป็นต้องใช้รปู แบบองค์กรทีม่ สี าขาสองสาขา ประเภทของเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ลักษณะของภารกิจ อันตรายและปจั จัยด้านความปลอดภัยและ ระยะทาง ระหว่างเจ้าหน้าทีแ่ ละทรัพยากร ล้วนแต่มอี ทิ ธิพลต่อการพิจารณาขอบเขตของการควบคุม ภาพประกอบ ข – 2 การจัดองค์กรสาขาตามพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ ส่วนปฏิบตั กิ าร
สาขา 2
สาขา 1
กลุ่มภารกิจ (การอพยพ)
เขตพืน้ ที่ ปฏิบตั กิ าร ก
เขตพืน้ ที่ ปฏิบตั กิ าร ข
เขตพืน้ ที่ ปฏิบตั กิ าร ค
เขตพืน้ ที่ เขตพืน้ ที่ ปฏิบตั กิ าร (ใหม่) ปฏิบตั กิ าร (ใหม่)
134
2. เหตุฉุกเฉิ นที่ควรจัดโครงสร้างองค์กรตามภารกิ จหน้ าที่ระดับสาขา ตัวอย่างดังต่อไปนี้แสดงให้เห็นถึงโครงสร้างองค์กรตามภารกิจหน้าที่ (Function Structure) ระดับสาขา : ถ้าหากเกิดเหตุฉุกเฉิน เครือ่ งบินขนาดใหญ่ตกในเขตเมืองใหญ่ แผนงานต่าง ๆ ภายในเขต เมืองใหญ่นนั ้ (รวมถึง ตารวจ ดับเพลิง บริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน และบริการด้านสาธารณสุข) อาจจะ มีสาขาตามภารกิจหน้าทีท่ ก่ี าลังปฏิบตั งิ านภายใต้การกากับดูแลของหัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ ารเพียงคนเดียว ในตัวอย่างนี้ (แสดงในภาพประกอบ ข – 3) หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ ารมาจากแผนกงานดับเพลิง และรอง หัวหน้าส่วนมาจากแผนกงานตารวจและแผนกงานบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน การจัดตาแหน่ งทีต่ งั ้ ของ องค์กรสาขาในรูปแบบอื่นอาจจะกระทาได้ ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั ผังเมืองและประเภทของสภาวะฉุ กเฉิน ขอให้ตงั ้ ข้อสังเกตว่า ในสถานการณ์ เช่นนี้รูปแบบของโครงสร้างการบัญชาการสามารถจะเป็ นได้ทงั ้ แบบการ บัญชาการเดีย่ วหรือการบัญชาการร่วม ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ภาพประกอบ ข – 3 : การปฏิบตั งิ านของรองหัวหน้าส่วน ในโครงสร้างองค์กรตามภารกิจ หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ าร (จากแผนกดับเพลิง)
รองหัวหน้าส่วน (จากแผนกกฎหมาย)
กฎหมาย
รองหัวหน้าส่วน (จากแผนกบริการการแพทย์ฉุกเฉิน)
อัคคีภยั
ผูบ้ าดเจ็บ จานวนมาก
ภาพประกอบ ข – 4 : เหตุฉุกเฉินทีค่ าบเกีย่ วกับหลายขอบเขตอานาจหน้าที่ หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ าร รอง/ผูท้ าการแทน (ถ้าจาเป็น)
รอง/ผูท้ าการแทน (ถ้าจาเป็น) สาขา (อาเภอ)
สาขา (ชนพืน้ เมืองอเมริกา)
สาขา (เมืองใหญ่)
สาขา (รัฐบาลแห่งรัฐ)
สาขา (รัฐบาลกลาง)
135
ค. เขตพื้นที่ ปฏิ บตั ิ การและกลุ่มภารกิ จ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------การจัดตัง้ เขตพื้นที่ปฏิบตั ิแ ละกลุ่ มภารกิจเมื่อ จานวนทรัพยากรมีมากเกินกว่าที่หวั หน้ าส่ ว น ปฏิบตั กิ ารจะสามารถควบคุมดูแลได้อย่างทัวถึ ่ งและมีประสิทธิภาพ เขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารเป็ นการแบ่งย่อย พืน้ ทีป่ ฏิบตั ใิ นพืน้ ทีเ่ หตุฉุกเฉินตามพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์หรือเชิงกายภาพเพื่อปฏิบตั กิ าร ส่วนกลุ่มภารกิจ เป็นการแบ่งแยกการปฏิบตั กิ ารตามภารกิจ ภาคผนวก ข : ระบบการจัดการเหตุการณ์ การให้คาศัพท์สองคานี้ เป็ นเรื่องที่จาเป็ นเพราะว่าคาว่าเขตพื้นที่ป ฏิบตั กิ าร (Division) มักจะ หมายความถึงการกาหนดเขตปฏิบตั กิ ารตามพื้นที่ทางภูมศิ าสตร์ และคาว่ากลุ่มภารกิจ (Group) มักจะ หมายความถึง การกาหนดตามภาระหน้าที่ ทัง้ พื้นที่ปฏิบตั กิ ารและกลุ่มภารกิจอาจจะนาไปใช้กบั เหตุ ฉุ ก เฉิ นที่เ กิด ขึ้น เพีย งเหตุ ก ารณ์ เ ดียว การด ารงรัก ษาการประสานงานที่ถู ก ต้อ งเหมาะสมเอาไว้ มี ความสาคัญต่อความสาเร็จของการปฏิบตั กิ ารเหล่านี้ เมื่อมีการจัดส่งทรัพยากรเพิม่ เติมให้กบั องค์กร ทรัพยากรดังกล่าวควรต้องได้รบั การมอบหมาย ให้อยูภ่ ายในโครงสร้างของพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร 1. เขตพื้นที่ปฏิ บตั ิ การตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ วิธหี นึ่งที่จะใช้ในการจัดตัง้ พื้นที่ปฏิบตั กิ ารตามพื้นที่ทางภูมศิ าสตร์ คือ การแบ่งแยกพื้นที่ตาม แนวแบ่งเขตภูมปิ ระเทศตามธรรมชาติ หรือลักษณะทางภูมศิ าสตร์ทโ่ี ดดเด่นอื่น ๆ เช่น แม่น้ า เมื่อมีการ นาเอารูปพรรณสัณฐานทางภูมศิ าสตร์มาใช้ในการกาหนดอาณาเขต ดังนัน้ ขนาดของเขตพืน้ ที่ปฏิบตั กิ าร ควรจะต้องตรงกับแนวทางปฏิบตั สิ าหรับขอบเขตการควบคุมทีเ่ หมาะสม (ดูภาพประกอบ ข – 5)
ภาพประกอบ ข – 5 : การใช้พน้ื ทีป่ ฏิบตั กิ ารทางภูมศิ าสตร์ ส่วนปฏิบตั กิ าร
เขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ก (พืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ ก)
เขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ข (พืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ ข)
เขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร ค (พืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ ค)
136
2. กลุ่มตามการกิ จ กลุ่มตามภารกิจ สามารถนามาใช้อธิบายถึงกิจกรรมด้านต่าง ๆ ทีเ่ หมือนกัน (เช่น การกู้ภยั การ อพยพ หรือ การแพทย์) ดังทีแ่ สดงในภาพประกอบ ข – 6 ภาพประกอบ ข – 6 : การใช้ประโยชน์จากการจัดตัง้ กลุ่มภารกิจ ส่วนปฏิบตั กิ าร
กลุ่มภารกิจ การระงับเหตุ
กลุ่มภารกิจ การกู้ภยั
กลุ่มภารกิจ การแพทย์
กลุ่มภารกิจดูแลรักษา ผูป้ ว่ ยจานวนมาก
ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ 3 การรวมเขตพื้นที่ปฏิ บตั ิ การทางภูมิศาสตร์และกลุ่มภารกิ จ เป็ นสิง่ ที่เป็ นไปได้ท่จี ะมีทงั ้ เขตพื้นที่ปฏิบตั กิ ารทางภูมศิ าสตร์และกลุ่มตามภารกิจภายในส่วน ปฏิบตั กิ าร ตัวอย่างเช่น เขตพื้นทีป่ ฏิบตั กิ าร ก, ข, และ ค (จัดตัง้ ตามรูปพรรณสัณฐานทางภูม ศาสตร์) อาจจะปฏิบตั งิ านร่วมกับกลุ่มตามภารกิจที่ได้รบั มอบหมายให้รบั ผิดชอบ ภารกิจที่เฉพาะเจาะจง (เช่น การควบคุ มการจราจร และการรระบายควัน) ในสถานที่ต งั ้ เหล่ านัน้ อีก ทางเลือ กหนึ่ง อาจจะมีการ มอบหมายภารกิจให้กลุ่มภารกิจดาเนินการจนกระทังเหตุ ่ ฉุกเฉินยุติ และอาจจะปฏิ บตั ภิ ารกิจโดยอิสระ หรือทางานร่วมกับเขตพื้นที่ปฏิบตั กิ าร กล่าวในเชิงของการจัดรูปแบบองค์กรระดับอานาจหน้าที่ของผู้ ควบคุมดูแลเขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารและกลุ่มภารกิจจะอยูใ่ นระดับเดียวกัน ง การจัดระบบทรัพยากรบุคคล ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เมื่อ มีเ หตุฉุ กเฉินใดเกิดขึ้นก็ตามในเบื้อ งต้น ทรัพยากรบุคคลรายบุคคล/ทีมงาน (ทรัพยากร บุคคลเดีย่ ว ชุดปฏิบตั กิ ารผสม และชุดปฏิบตั กิ ารทีม) จะต้องรายงานตัวต่อผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วย บัญชาการ การจัดทรัพยากรบุคคลเป็ นชุดปฏิบตั ผิ สมและชุดปฏิบตั กิ ารทีม เป็ นวิธลี ดขอบเขตของการ ควบคุมทรัพยากรบุคคลเดี่ยวที่มจี านวนมากได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะที่เหตุฉุกเฉินลุกลามบาน ปลาย หรือมีความซับซ้อนมากขึ้น ทรัพยากรบุคคลรายบุคคล/ทีมงานอาจจะปฏิบตั ิหน้ าทีภายในเขต พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร และ/หรือภายในกลุ่มภารกิจ
137
1 ทรัพยากรเดี่ยว การใช้งานทรัพยากรอาจจะต้องใช้แบบเดีย่ ว เช่น บุคลากรแต่ละบุคคล เครือ่ งมือ และเจ้าหน้าที่ ประจาเครือ่ งมือ การใช้งานแบบนี้ เป็ นกรณีปกติในบริบทของการเริม่ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินที่ เกิดขึน้ 2 ชุดปฏิ บตั ิ การผสม ชุดปฏิบตั กิ ารผสม เป็ นการผสมผสานหรือการนาทรัพยากรมารวมกันในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง แล้วปฏิบตั ภิ ารกิจทีเ่ ฉพาะเจาะจงให้ลุล่วง และจะเป็นการรวมตัวแบบเฉพาะกิจหรือการรวมตัวตามแผนก็ ได้ ชุดปฏิบตั กิ ารผสม จะรวมถึงหัวหน้าชุดทีแ่ ต่งตัง้ ไว้ และปฏิบตั งิ านโดยใช้ระบบสื่อสารระบบเดียวกัน มีองค์ประกอบของทรัพยากรหลายองค์ประกอบที่สามารถบริหารจัดการได้ภายใต้การควบคุมดูแลของ บุค คลเพียงคนเดียว จึงมีส่ ว นช่ว ยในเรื่อ งของขอบเขตการควบคุ มได้ ตัว อย่างเช่น ในระหว่า งเกิด เหตุการณ์น้ าท่วม อาจจะมีการจัดตัง้ ชุดปฏิบตั กิ ารผสมด้านโยธาธิการขึน้ เพื่อปฏิบตั ภิ ารกิจในการเปิ ด ระบบระบายน้ าฝน ชุดปฏิบตั ิการผสมนี้อาจจะประกอบด้วยรถบรรทุกเทท้าย รถขุดดิน รถตัก ทีมงาน เจ้าหน้าที่โยธาห้าคนพร้อมพลัว่ และพาหนะขนส่ง และหัวหน้าชุดปฏิบตั กิ ารผสม (เช่น ผู้ควบคุมงาน โยธาธิการพร้อมยานพาหนะและระบบการติดต่อสื่อสาร) 3 ชุดปฏิ บตั ิ การทีม ชุดปฏิบตั กิ ารทีมประกอบด้วยทรัพยากรชนิดและประเภทเดียวกันตามจานวนทีก่ าหนดไว้ปฏิบตั ิ ภารกิจ ภายใต้หวั หน้าชุดทีแ่ ต่งตัง้ ไว้โดยใช้ระบบการสื่อสารระบบเดียวกัน ชุดปฏิบตั กิ ารทีมเป็ นสัญญลักษณ์ ของสมรรถนะที่เป็ นที่ทราบกันดี และเป็ นหน่ วยจัดการเหตุฉุกเฉินที่มปี ระสิทธิภาพสูง ขอยกตัวอย่าง กรณีการปฏิบตั กิ ารระงับอัคคีภยั ชุดปฏิบตั กิ ารทีม ควรต้องประกอบด้วย รถดับเพลิงประเภท 1 จานวน ห้าคัน และหัวหน้าชุดปฏิบตั กิ ารทีมหนึ่งคน หัวหน้าชุดจาเป็ นต้องมียานพาหนะที่ตดิ ตัง้ อุปกรณ์ส่อื สาร เพื่อติดต่อสื่อสารกับเจ้าหน้าทีใ่ นทีมงาน จ สาขาการปฏิ บตั ิ การทางอากาศ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ ารอาจจะจัดตัง้ สาขาการปฏิบตั กิ ารทางอากาศ และแต่งตัง้ ผูก้ ากับดูแ ล เมื่อ ความซับซ้อนของการปฏิบตั กิ ารทางอากาศทาให้จาเป็ นต้องมีการให้การสนับสนุ นและการปฏิบตั ิการ เพิม่ เติม หรือเพื่อสภาวะของเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ทาให้จาเป็ นต้องนาเฮลิคอปเตอร์และอากาศยานอื่นมา ใช้ประโยชน์เชิงยุทธวิธ ี และการสนับสนุ นกาลังบารุง ความปลอดภัยในการบิน ถือเป็ นเรื่องทีส่ าคัญสูงสุด ในการปฏิบตั กิ ารที่มคี วามซับซ้อน/มีเหตุฉุกเฉินเกิดขึน้ พร้อมกันมากกว่าหนึ่งเหตุการณ์ และสาขาการ ปฏิบตั ิการทางอากาศที่จดั ตัง้ ขึ้นจะมีหน้ าที่รบั ผิดชอบในการสร้างความมันใจในความปลอดภั ่ ยและ ประสิทธิภาพของการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรการบิน ภาพประกอบ ข – 7 แสดงให้เห็นถึงโครงสร้าง
138
องค์ก รแบบอย่า งของการปฏิบ ัติก ารทางอากาศ เมื่อ ไหร่ก็ต ามที่จ าเป็ น ต้อ งใช้เ ฮลิค อปเตอร์ และ เครื่อ งบิน ปี ก ตรึง ปฏิบตั ิง านพร้อ ม ๆ กัน ในเขตการบิน เหนื อ พื้นที่เ กิดเหตุ ควรต้อ งมีก ารแต่ ง ตัง้ ผู้ ควบคุมดูแลกลุ่มภารกิจยุทธวิธที างอากาศ (Air Tactical Group Supervisor) บุคคลผูน้ ้ีจะทาหน้าทีใ่ น การประสานกิจกรรมทางอากาศทัง้ หมดโดยได้รบั ความช่ว ยเหลือ จากเจ้าหน้ าที่ประสานการใช้งาน เฮลิคอปเตอร์และนักบิน (Helicopter Coordinator) และจากเจ้าหน้าทีป่ ระสานการใช้งานอากาศยานปีก ตรึงและนักบิน (Fixed – Wing Coordinator) อย่างไรก็ตามเมื่อมีการใช้งานเฮลิคอปเตอร์เพียงเครื่อง เดียว เฮลิคอปเตอร์เครือ่ งดังกล่าวนี้อาจจะอยูภ่ ายใต้การควบคุมของหัวหน้าส่วนการปฏิบตั กิ ารโดยตรง กลุ่มภารกิจการสนับสนุ นทางอากาศ (Air Support Group) จะจัดตัง้ และดาเนินงานฐานบิน สาหรับอากาศยานปีกหมุน และดารงการติดต่อประสานงานทีม่ คี วามจาเป็นกับฐานบินอากาศยานปีกตรึง ที่หยุดปฏิบตั ภิ ารกิจ กลุ่มภารกิจสนับสนุ นทางอากาศยานมีหน้ าที่รบั ผิดชอบในการบันทึกชัวโมงการ ่ ทางานของทรัพยากรอากาศยานทัง้ หมดทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ปฏิบตั ภิ ารกิจเกีย่ วกับหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ภาพประกอบ ข – 7 : การจัดองค์กรการปฏิบตั กิ ารทางอากาศ หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ าร ผูก้ ากับดูแลสาขาการปฏิบตั กิ าร ทางอากาศ
ผูค้ วบคุมดูแลกลุ่มภารกิจ สนับสนุ นทางอากาศ
ผูจ้ ดั การฐานบิน เฮลิคอปเตอร์
ผูจ้ ดั การฐานบิน อากาศยานปีกตรึง
ผูจ้ ดั การลานจอด/จุด ขึน้ ลงเฮลิคอปเตอร์
ผูค้ วบคุมดูแลกลุ่มภารกิจ ยุทธวิธที างอากาศ
เจ้าหน้าทีป่ ระสาน การใช้งาน เฮลิคอปเตอร์
เจ้าหน้าทีป่ ระสาน การใช้งานอากาศยาน ปีกตรึง
เฮลิคอปเตอร์
อากาศยานปีกตรึง
139
ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์
ตาราง 3 ส่วนแผนงาน ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ส่วนแผนงานมีหน้าที่รบั ผิดชอบในการเก็บรวมรวม การประเมินและการแจกจ่ายข้อมูลข่าวสาร การดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ ส่วนที่จะทาหน้า ที่รกั ษาข้อมูลข่าวสารและข่าวกรอง เกีย่ วกับสถานการณ์ปจั จุบนั และทีค่ าดการณ์ไว้ รวมถึงการรักษาสถานะของทรัพยการทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ให้ปฏิบตั ภิ ารกิจรับมือเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ ส่วนแผนงานทาหน้าที่เตรียมการและจัดทาแผนเผชิญเหตุ และแผนทีแ่ สดงเหตุฉุกเฉิน และรวบรวมและแจกจ่ายข้อมูลข่าวสารและข่าวกรองทีม่ คี วามสาคัญต่อเหตุ ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ส่วนแผนงานประกอบด้วยหน่ วยหลักสีห่ น่ วย และอาจจะมีผเู้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง เพื่อช่วยในการประเมินสถานการณ์ และคาดการณ์ความต้องการเจ้าหน้าทีแ่ ละเครือ่ งมือเพิม่ เติม ก หัวหน้ าส่วนแผนงาน ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หัวหน้ าส่วนแผนงานทาหน้ าที่ควบคุมตรวจสอบการเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการ ปฏิบตั ิก ารและทรัพ ยากรที่ไ ด้รบั มอบหมายให้ป ฏิบ ัติภ ารกิจ หน้ าที่ ด าเนิน การประชุม วางแผนและ จัดเตรียมแผนเผชิญ เหตุ ส าหรับแต่ ล ะช่ว งระยะเวลาการปฏิบตั ิการแต่ ล ะรอบ โดยปกติห ั ว หน้ าส่ ว น แผนงานจะมาจากเขตอ านาจหน้ าที่แ ละพื้นที่รบั ผิดชอบที่มหี น้ าที่รบั ผิดชอบหลักในการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิน และอาจจะมีรองหัวหน้าส่วนหนึ่งคนหรือมากกว่าหนึ่งคน ที่มาจากขอบเขตอานาจหน้ าที่และ พืน้ ทีร่ บั ผิดชอบอื่น ๆ ทีเ่ ข้ามามีส่วนร่วม ข หน่ วยทรัพยากร (Resource Unit) ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1 หัวหน้ าที่รบั ผิดชอบ หน่วยทรัพยากรทาหน้าทีส่ ร้างความมันใจว่ ่ าเจ้าหน้าทีแ่ ละทรัพยากรอื่น ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ ปฏิบตั ิภารกิจหน้ าที่ได้เข้ารายงานตัวเมื่อไปถึงพื้นที่เกิดเหตุ ทรัพยากรต่าง ๆ ประกอบด้วยบุคลากร ทีมงาน กลุ่มบุคคลที่ทางานร่วมกัน อากาศยาน และเครื่องมือที่มอี ยู่ เพื่อรองรับการมอบหมายหน้าที่ หรือเพื่อใช้งานในระหว่างการเกิดเหตุฉุกเฉิน หน่ วยทรัพยากรยังมีหน้าที่ในการรักษาระบบการติดตาม ตาแหน่ งที่ตงั ้ และสถานที่เป็ นปจั จุบนั ของทรัพยากรที่ได้รบั มอบหมายภารกิจทัง้ หมด รวมถึง การดูแล รักษาบัญชีรายการหลักของทรัพยากรทัง้ หมดทีจ่ ะมอบหมายให้ไปปฏิบตั ภิ ารกิจในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุฉุกเฉิน
140
2 สถานะของทรัพยากร ทรัพยากรต่าง ๆ จะต้องได้รบั การจาแนกชนิดและประเภท (ขีดความสามารถและสมรรถนะ) และจะต้องดาเนินการติดตามสถานะของทรัพยากรอย่างต่ อเนื่อง เพื่อ ช่วยให้ส ามารถบริหารจัดการ ทรัพยากรเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพในช่วงทีเ่ กิดเหตุฉุกเฉิน สภาพสถานะของทรัพยากรและขัน้ ตอน การดาเนินงานทีน่ ามาใช้ในการรักษาภาพทีเ่ ป็ นปจั จุบนั และถูกต้องของสภาวะของทรัพยากร (ก) สภาพสถานะ ทรัพยากรสาหรับการปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธ ี (Tactical Resources) ที่ใช้ในการเผชิญเหตุจะมี สภาพสถานะใดสถานะหนึ่งในสามสถานะ คือ : • ปฏิบตั งิ านอยู่ (Assigned) : ทรัพยากรที่เข้ารายงานตัวและผ่านขัน้ ตอนพิธกี ารต่าง ๆ แล้ว และได้รบั อนุญาตให้ออกปฏิบตั งิ านในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ • พร้อมปฏิบตั งิ าน (Available) : บุคลากร ทีมงาน เครื่องมือหรือสถานทีท่ าการทีไ่ ด้รบั การระบุ ให้ไปปฏิบตั ใิ นพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ และพร้อมทีจ่ ะปฏิบตั กิ ารทันทีทไ่ี ด้รบั การมอบหมายภารกิจหน้าทีห่ รือได้รบั รายละเอียดของภารกิจทีเ่ ฉพาะเจาะจงทีจ่ ะต้องปฏิบตั ิ • ไม่พร้อมปฏิบตั งิ าน (Out of Service) : ทรัพยากรทีไ่ ด้รบั มอบหมายภารกิจทีอ่ ยู่ในสถานะทีไ่ ม่ สามารถปฏิบตั งิ านได้ดว้ ยเหตุผลส่วนบุคคล เหตุผลด้านสุขภาพและเหตุผลด้านระบบเครือ่ งยนต์กลไก ข การเปลี่ยนแปลงสถานะ โดยปกติ เมื่อสถานะของทรัพยากรเปลี่ยนไป (เช่น หน่ วยปฏิบตั กิ ารที่ได้รบั การลงรายการไว้ ก่ อ นหน้ า นี้ ว่ า เป็ น หน่ ว ยที่ “ไม่ พ ร้อ มปฏิบ ัติง าน” แต่ ไ ด้ ร ับ การจ าแนกใหม่ เ ป็ น หน่ ว ยที่ “พร้อ ม ปฏิบตั ิงาน”) ผู้นาหน่ ว ยหรือ ผู้ค วบคุ มดูแลหน่ ว ย ผู้ท่ใี ห้ค วามเห็นชอบการเปลี่ยนแปลงสถานะควร จะต้องแจ้งให้หวั หน้าหน่ วยทรัพยากร (Resource Unit Leader) ทราบทันที หัวหน้าหน่ วยทรัพยากรจะ เป็นผูด้ าเนินการจาแนกสถานะใหม่ตามความเหมาะสมเป็นลาดับต่อไป ค หน่ วยสถานการณ์ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หน่ วยสถานการณ์ทาหน้าที่รวบรวม ประมวลและจัดระบบข้อมูลข่าวสารสถานการณ์ท่เี ป็ นอยู่ เตรีย มจัด ท าบทสรุป สถานการณ์ และคาดคะเนหรือ คาดการณ์ เ หตุ ก ารณ์ ท่ีจ ะเกิด ขึ้น ในอนาคตที่ เกี่ยวเนื่องกับเหตุฉุกเฉินที่กาลังดาเนินอยู่ หน่ วยสถานการณ์ยงั ต้องจัดเตรีย มแผนที่พร้อมทัง้ รวบรวม และแจกจ่ายข้อมูลข่าวสารและข่าวกรอง สาหรับใช้ในการจัดทาแผนเผชิญเหตุอกี ด้วย หน่ วยนี้ ควรต้อง พร้อ มที่จะส่ ง รายงานสถานการณ์ ใ ห้ท ันตามเวลาที่ก าหนด หรือ ตามที่ห ัว หน้ าส่ ว นแผนงาน หรือ ผู้ บัญชาการเหตุการณ์รอ้ งขอ หน่ วยสถานการณ์อาจจาเป็ นต้องมีผู้เชี่ ยวชาญ หรือผูช้ านาญพิเศษเฉพาะ ทางปฏิบตั งิ านอยูใ่ นหน่วย
141
ง หน่ วยเอกสาร -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หน่ วยเอกสารทาหน้ าที่ดูแลรักษาแฟ้มข้อมูลเอกสารเกี่ยวกับเหตุ การณ์ ท่ถี ูกต้องและสมบูรณ์ เอาไว้ รวมถึงการดูแ ลรัก ษาหลัก ฐานบันทึกที่ส มูบู รณ์ ของมาตรการหรือ วิธ ีการที่นามาใช้แก้ไขเหตุ ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ทาหน้าทีใ่ ห้บริการทาสาเนาเอกสารแก่เจ้าหน้าที่ ; และทาหน้าทีจ่ ดั รักษาและเก็บแฟ้ม เอกสารเกีย่ วกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมาย การวิเคราะห์ และทางประวัตศิ าสตร์ หน่ วยนี้ ยัง ต้องทาหน้ าที่รวบรวมและจัด พิมพ์แ ผนเผชิญเหตุ และดูแลรักษาแฟ้มข้อมูลเอกสาร และ หลักฐานบันทึกทีจ่ ดั ทาขึน้ เป็ นส่วนหนึ่งของแผนเผชิญเหตุโดยรวมและของภารกิจในการวางแผน จ หน่ วยถอนกาลัง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หน่ วยถอนก าลังมีห น้ าที่ใ นการพัฒนาแผนการถอนกาลังทรัพยากรออกจากพื้นที่ปฏิบตั ิการ (Incident Demobilization Plan) ในแผนดังกล่าวจะมีคาแนะนาทีเ่ ฉพาะเจาะจงสาหรับเจ้าหน้าที่และ ทรัพยากรทัง้ หมดที่จาเป็ นต้องถอนออกจากพื้นที่ หน่ วยนี้ควรต้องเริม่ ต้นทางานตัง้ แต่ในช่ วงต้นที่เกิด เหตุฉุกเฉินขึน้ โดยการจัดทาบัญชีรายชื่อเจ้าหน้าที่และบัญชีรายการทรัพยากรและการได้มาซึ่งข้อมูล ข่าวสารใด ๆ ทีข่ าดหายไป ซึง่ เป็นเหมือนกับการดาเนินการต่อจากขัน้ ตอนการรายงานตัวของทรัพยากร ขอให้ตงั ้ ข้อสังเกตว่าทรัพยากรจานวนมากที่เมืองใหญ่และอาเภอจัดหาให้นัน้ เป็ นทรัพยากรในพื้นที่ ดังนัน้ ทรัพยากรเหล่านี้ไม่จาเป็ นต้องมีคาแนะนาทีเ่ ฉพาะเจาะจงในการถอนออกจากพืน้ ที่ เมื่อแผนการ ถอนกาลังทรัพยากรออกจากพืน้ ทีไ่ ด้รบั การเห็นชอบจากหน่วยถอนกาลัง ภาคผนวก ข – ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ จะต้องทาให้มนใจว่ ั ่ าจะมีการแจกจ่ายแผนดังกล่าวไปให้หน่ วยทีเ่ กี่ยวข้องทัง้ ในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุและ ทีอ่ ่นื ๆ เท่าทีจ่ าเป็น ฉ ผูเ้ ชี่ยวชาญพิ เศษเฉพาะทาง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ได้รบั การออกแบบมาเพื่อให้สามารถใช้ในการรับมือเหตุฉุกเฉิน ที่ เกิดขึน้ ได้หลากหลายสถานการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เหตุฉุกเฉินที่จาเป็ นต้องใช้งานผู้เชี่ยวชาญพิ เศษ เฉพาะทาง บุ ค ลากรเหล่ า นี้ มคี วามชานาญพิเ ศษและจะลงมือ ปฏิบ ัติง านเมื่อ มีค วามจ าเป็ น เท่ า นัน้ ผูเ้ ชีย่ วชาญเหล่านี้อาจจะทาหน้าทีท่ ใ่ี ดก็ได้ภายในองค์กร รวมถึงในทีมงานบัญชาการ ไม่ได้มกี ารกาหนด หรือจาเป็นต้องกาหนดคุณสมบัตจิ าเพาะเหตุการณ์ สาหรับผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง เพราะตามปกติ บุคคลเหล่านี้จะปฏิบตั ภิ ารกิจเดิม ไม่ว่าจะเป็ นช่วงทีเ่ กิดเหตุฉุกเฉิ นหรือช่วงการปฏิบตั หิ น้าทีป่ ระจาและ โดยปกติ บุคคลเหล่านี้ลว้ นแต่ได้รบั การรับรองในสาขาหรือวิชาชีพอยูแ่ ล้ว
142
ส่ ว นใหญ่ ผู้เ ชี่ย วชาญพิเ ศษเฉพาะ ทางจะได้รบั การมอบหมายให้ไ ปปฏิบตั ิงาน ตัวอย่างผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง ในหน่ วยในพืน้ ทีท่ เ่ี ฉพาะเจาะจง (ส่วน สาขา หน่ วยปฏิบตั ิการ เขตพื้นที่ปฏิบตั ิการ ฯลฯ) • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการเกษตร ที่จาเป็ นต้องใช้บริการทางด้านวิชาการของ • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการกาจัดการปนเปื้อน พวกเขาในบางสถานการณ์อาจจะได้รบั การ สารเคมีและรังสี มอบหมายให้ปฏิบตั งิ านในหน่ วยปฏิบตั กิ ารที่ • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการสื่อสาร จัดตัง้ แยกออกต่างหาก ภายในส่วนแผนงาน • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านทรัพยากรทางวัฒนธรรม ในลัก ษณะเดียวกันกับศู นย์รวมผู้เชี่ยวชาญ • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการบริหารจัดการข้อมูล (Talent Pool) และมอบหมายให้ไปปฏิบตั ิ • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ภารกิ จ หน้ าที่ ต่ า ง ๆ เป็ นการชั ว่ คราว • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ตัว อย่างเช่น ผู้เชี่ยวชาญพิเ ศษด้านยุทธวิธ ี • นักระบาดวิทยา อาจจะได้ร ับ การส่ ง ตัว ไปปฏิบ ัติง านที่ส่ ว น • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านวัตถุระเบิด ปฏิบตั กิ าร เพื่อช่วยในเรื่องที่เกี่ยวกับยุทธวิธ ี • ผูแ้ ทนจากองค์กรศาสนาในชุมชน ของส่วนปฏิบตั กิ าร ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงิน • เจ้าหน้าทีด่ บั เพลิงระดับผูเ้ ชีย่ วชาญ อาจจะได้ร ัก การส่ ง ตัว ไปปฏิบ ัติง านที่ส่ ว น • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการควบคุมอุทกภัย การเงิน/การบริหารจัดการเพื่อช่วยในเรื่องที่ • นิตพิ ยาธิแพทย์ เกี่ยวกับการเงิน หรือผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้าน กฎหมายหรือที่ปรึกษาด้านกฎหมาย อาจจะ • นักวิชาการด้านวัตถุอนั ตราย ่ งมาตุภูม ิ ได้ร บั มอบหมายให้ป ฏิบ ัติห น้ าที่ก ับ ทีม งาน • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านความมันคงแห่ บัญชาการเพื่อให้ค าแนะนาในเรื่องเกี่ยวกับ • นักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม กฎหมายต่อผู้บญ ั ชาการ เพื่อให้คาแนะนาใน • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการข่าวกรอง เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ กฎหมายต่ อ ผู้ บ ั ญ ชาการ • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการบังคับใช้กฎหมาย เหตุ ก ารณ์ / หน่ ว ยบัญ ชาการร่ ว มอย่ า งเช่ น • ทีป่ รึกษาด้านกฎหมาย เรือ่ งการประกาศสภาวะฉุ กเฉิน ความถูกต้อง • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการดูแลรักษาผูป้ ว่ ยจานวน ตามกฎหมายของคาสังให้ ่ อพยพหนีภยั การ มาก แยกกักบุคคล/การกัก กันโรค และเรื่อ งสิทธิ • นักอุตุนิยมวิทยา ตามกฎหมายและข้อจากัดในการเข้าถึงของ • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการทหาร สื่อ โดยทัวไปแล้ ่ ว ถ้าหากมีความจาเป็ นต้อง • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการจัดการศพผูเ้ สียชิวติ ใช้ ท ั ก ษ ะความรู้ ห รื อ ความคิ ด เห็ น ขอ ง • ผูเ้ ชีย่ วชาญแบบจาลองเชิงตัวเลข ผู้เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะทางในช่วงระยะสัน้ • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านความปลอดภัยและ ๆ เท่ า นั ้น และเป็ นเรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อาชีวอนามัย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะทางเพียงคนเดียวเท่านัน้ ในกรณีเช่นนี้ควรมอบหมายให้ผู้เชี่ยวชาญผู้นัน้ ไป • เภสัชกร ปฏิบตั หิ น้าทีท่ ห่ี น่ วยสถานการณ์ แต่ถ้าหากจาเป็ นต้องใช้บริการด้านทักษะความรูแ้ ละความคิดเห็นของ • ผูเ้ ชีย่ เวชาญพิ เศษด้านสาธารณสุ ข องจัดตัง้ หน่ วย ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทางระยะยาว และผูเ้ ชีย่ วชาญพิ ศษเฉพาะทางหลายคน ควรจะต้ สนับสนุนทางวิชาการ (Technical Unit) แยกออกมาต่างหากภายในส่วนแผนงาน
143
ตัว อย่างจาเพาะของความจาเป็ น ที่ จะต้อ งจัด ตัง้ หน่ ว ยสนับ สนุ นทางวิชาการที่ • เภสัชกร แยกออกไปอย่ า งชั ด เจนภายในที ม งาน • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านสาธารณสุข ปฏิ บ ั ติ ก าร เช่ น ความจ าเป็ นที่ จ ะต้ อ ง • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการประชาสัมพันธ์ ประสานงานและบริห ารจัดการตัวอย่างทาง • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านรังสีสุขภาพ สิง่ แวดล้อม หรือข้อมูลเชิงวิเคราะห์ปริมาณที่ • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการบริหารจัดการเอกสาร เก็บจากแหล่งต่าง ๆ หลายแหล่งที่เกี่ยวข้อง หลักฐาน กั บ เหตุ ฉุ กเฉิ น ที่ ม ี ค ว ามซั บ ซ้ อ น และที่ • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านทรัพยากร/ค่าใช้จา่ ย เฉพาะเจาะจง โดยเฉพาะอย่างยิง่ เหตุฉุกเฉิน • ผูป้ ระสานงานการสนับสนุ นด้านวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับภัยอันตรายจากอาวุธชีวภาพ • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านวิศวกรรมโครงสร้าง สารเคมี และรังสี เพื่อให้สอดคล้องกับความ • ทีป่ รึกษาด้านบุคคลทีต่ อ้ งการการดูแลเป็ นพิเศษ จ า เ ป็ น ดั ง กล่ า ว ค ว รต้ อ งจั ด ตั ้ง ห น่ ว ย • นักพิษวิทยา สิง่ แวดล้อม (Environment Unit) ขึน้ ภายใน • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการขนส่ง ส่ ว นแผนงาน เพื่อ ท าหน้ า ที่อ านวยความ • สัตวแพทย์ สะดวกในการบริหารจัดการ การติดตาม การ • ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษด้านการบริหารจัดการกากของ สุ่ ม ตัว อย่า ง การวิเ คราะห์แ ละการประเมิน ข้ อ มู ล ด้ า นสิ่ง แวดล้ อ ม ระหว่ า งอ งค์ ก รที่ เสีย ชีย่ ง่ วชาญพิ ศษด้กาบั นการใช้ น้า เกี่ยวข้อง หน่ วยสิง่ แวดล้อมอจะจัดเตรียมข้อมูล•ด้ผูาเ้ นสิ แวดล้อเมให้ หน่ วยสถานการณ์ และทางาน ประสานกันอย่างใกช้ชดิ กับหน่ วยและส่วนอื่น ๆ ภายในโครงสร้างระบบการบัญชาการเหตุ การณ์ เพื่อ ช่ว ยสนับ สนุ น ให้ผู้บ ัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ / หน่ ว ยบัญ ชาการสามารถตัด สิน ใจได้อ ย่า งมีป ระสิท ธิภ าพ ผู้เ ชี่ยวชาญพิเศษที่จะมอบหมายให้ไปปฏิบตั ิงานในหน่ วยสิง่ แวดล้อ มควรต้อ งรวมถึงผู้ประสานการ สนับสนุ นด้านวิทยาศาสตร์ และเจ้าหน้าทีเ่ ทคนิคทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในเทคโนโลยี การปฏิบตั กิ ารตอบโต้ การพยากรณ์อากาศ ทรัพยากรทีม่ คี วามเสีย่ ง การสุ่มตัวอย่าง การประเมินการทาความสะอาดชาระล้าง และการกาจัด ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ภารกิจทีห่ น่วยสิง่ แวดล้อมดาเนินการให้ลุล่วงอาจรวมถึงภารกิจดังต่อไปนี้ • การก าหนดพื้นที่ม ีค วามอ่ อ นไหวและการให้ค าแนะนาในการจัด ล าดับความสาคัญ ในการ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้ • การพัฒนาจัดทาแผนสาหรับการเก็บรวบรวม การจัดส่งและการวิเคราะห์ตวั อย่าง • การให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับยุทธวิธกี ารคุม้ ครองสัตว์ปา่ • การกาหนดขอบเขตของพืน้ ทีท่ จ่ี ะปนเปื้อน รวมถึงการคาดการณ์ผลกระทบ • การพัฒนาแผนสาหรับการทาความสะอาดชาระล้างพืน้ ทีป่ นเปื้อนและการกาจัดวัตถุอนั ตราย • การกาหนดความจาเป็นและการได้รบั การอนุญาตและการได้มาซึง่ อานาจหน้าทีอ่ ่นื ๆ
144
ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์
ตาราง 4 ส่วนสนับสนุนกาลังบารุง --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ส่วนสนับสนุ นกาลังบารุงทาหน้าทีจ่ ดั หาสิง่ จาเป็ นต่าง ๆ เพื่อสนับสนุ นการตอบโต้เหตุฉุกเฉินที่ เกิดขึน้ เช่น การสังซื ่ ้อทรัพยากรและการจัดหาสถานทีท่ าการ การขนส่ง วัสดุ ครุภณ ั ฑ์ การบารุงรักษา เครือ่ งมือและน้ามันเชือ้ เพลิงการบริการอาหาร การสื่อสาร และการบริการด้านการแพทย์แก่เจ้าหน้าทีท่ ่ี ปฏิบตั ภิ ารกิจรับมือเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ส่วนสนับสนุนกาลังบารุงปฏิบตั หิ น้าทีภ่ ายใต้การนาของหัวหน้าส่วน ซึ่งอาจจะมีรองหัวหน้าส่วน หนึ่ ง คน หรือ มากกว่ า หนึ่ ง คน ได้ม ีก ารสนั บ สนุ น ให้ม ีร องหัว หน้ า ส่ ว นในกรณี ท่ีม ีก ารจัด ตัง้ หน่ ว ย ปฏิบตั กิ ารต่าง ๆ ตามทีไ่ ด้กาหนดไว้ขน้ึ ในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ เมื่อเหตุฉุกเฉินขนาดใหญ่มากเกิดขึน้ หรือเมื่อ เกิดเหตุฉุกเฉินทีจ่ าเป็นต้องมีการจัดตัง้ สถานทีท่ าการหลายจุดพร้อมเครื่องมือจานวนมาก ในกรณีเช่นนี้ สามารถทีจ่ ะแบ่งส่วนสนับสนุ นกาลังบารุงออกเป็ นสาขาได้ ซึง่ จะช่วยในการกาหนดขอบเขตการควบคุม โดยการท าให้ม ีก ารควบคุ ม ดูแ ลและการประสานงานที่ม ีป ระสิท ธิภ าพมากขึ้น ระหว่ า งแต่ ล ะหน่ ว ย ปฏิบตั กิ าร ในทางกลับกันในกรณีทเ่ี ป็นเหตุฉุกเฉินทีม่ ขี นาดเล็กกว่า หรือเป็ นเหตุฉุกเฉินทีจ่ าเป็ นต้องใช้ ทรัพยากรในการรับมือน้ อยกว่า อาจจะนารูปแบบโครงสร้างสาขามาใช้ในการรวมเอาภารกิจที่ได้รบั มอบหมายของแต่ละหน่ วยเข้าไว้ด้วยกัน ภาพประกอบ ข – 8 แสดงตัวอย่างของการจัดรูปแบบองค์กร ของส่วนสนับสนุนกาลังบารุงทีม่ สี าขาบริการ (Service Branch) และสาขาสนับสนุน (Support Branch) ภาพประกอบ ข – 8 ส่วนสนับสนุ นกาลังบารุงกับโครงสร้างองค์กรสาขา ส่วนสนับสนุ นกาลังบารุง
สาขาบริการ
สาขาสนับสนุ น
หน่วยสื่อสาร
หน่ วยพัสดุ
หน่วยบริการทาง การแพทย์
หน่วยจัดเตรียม สถานทีป่ ฏิบตั งิ าน
หน่วยเสบียง
หน่วยสนับสนุน ภาคพืน้ ดิน
145
ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ก. หน่ วยพัสดุ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หน่ วยพัสดุทาหน้าที่สงซื ั ่ อ้ รับ จัดการตามขัน้ ตอน จัดเก็บ จัดทาบัญชีรายการพัสดุค งคลัง และ แจกจ่ายทรัพยากรและพัสดุทใ่ี ช้ในการปฏิบตั ภิ ารกิจ นอกจากนี้ เมื่อมีการจัดตัง้ ขึน้ มาหน่ วยพัสดุยงั มีหน้ าที่รบั ผิดชอบเบื้องต้นในการสั ง่ ซื้อ/จัดหา ทรัพยากรอื่น ๆ นอกเหนือจากทรัพ ยากรที่เกี่ยวข้องกับการตอบโต้เหตุ ฉุกเฉินที่เกิดขึ้นโดยตรง ซึ่ง รวมถึงทรัพยากรดังต่อไปนี้ ; • ทรัพ ยากรส าหรับใช้ใ นการปฏิบตั ิก ารเชิงยุทธวิธ ี และทรัพ ยากรที่ใ ช้ใ นการสนับ สนุ น การ ปฏิบตั กิ าร (รวมถึงบุคลากร) • วัสดุส้นิ เปลืองและพัสดุครุภณ ั ฑ์คงทนถาวรทัง้ หมดที่จาเป็ นสาหรับสนับสนุ นการปฏิบตั กิ าร หน่ วยพัสดุในการสนับสนุ นที่จาเป็ นในการรับ การจัดการตามขัน้ ตอน การจัดเก็บและการแจกจ่าย การ สังซื ่ อ้ พัสดุทงั ้ หมด หน่ วยพัสดุยงั ต้องทาหน้าทีด่ ูแลการใช้งานอุปกรณ์ ซึง่ รวมถึงการจัดเก็บ การจัดสรร และการบารุงรักษาอุปกรณ์ และเครื่องมือคงทนถาวรทีส่ ามารถพกพาได้ นอกจากนี้ หน่ วยพัสดุยงั ช่วย ในการคาดการณ์ความต้องการใช้ทรัพยากรโดยใช้ขอ้ มูลทีป่ รากฏอยูใ่ นแผนเผชิญเหตุเป็นฐาน ข หน่ วยจัดเตรียมสถานที่ปฏิ บตั ิ งาน หน่วยจัดเตรียมสถานทีป่ ฏิบตั กิ ารทาหน้าทีจ่ ดั ตัง้ บารุงรักษา และการถอนกลับ สถานทีท่ ใ่ี ช้เป็ น ทีป่ ฏิบตั งิ าน เพื่อให้การสนับสนุ นปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉิน หน่ วยนี้ยงั ให้บริการด้านการบารงุรกั ษา สถานที่ปฏิบตั งิ าน และบริการด้านการบังคับใช้กฎหมาย/ความปลอดภัยที่จาเป็ นสาหรับการสนับสนุ น ปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุการณ์ หน่ วยจัดเตรียมสถานที่ปฏิบตั งิ านทาหน้าทีจ่ ดั ตัง้ ศูนย์บญ ั ชาการ (Incident Command Post) ฐานปฏิบ ัติก าร (Incident Base) และที่พ ัก (Camp) (รวมถึง รถบ้านเคลื่อนที่หรือที่พกั อาศัย การจัดหาและให้ทพ่ี กั แก่ผปู้ ระสบภัยเป็ นกิจกรรม รูปแบบอื่น ๆ ทีจ่ ะนามาใช้พกั อาศัยในพืน้ ที่ หรือ การปฏิบตั กิ ารทีส่ าคัญยิง่ ทีค่ วรต้องผนวกไว้ใน รอบ ๆ พื้น ที่เ กิดเหตุ ) หน่ ว ยจัดเตรียมสถานที่ แผนเผชิญเหตุ โดยปกติการจัดหาทีพ่ กั อาศัย จะ ปฏิบตั ิงานยังทาหน้ าที่จดั หาและจัดตัง้ สถานที่ท่ี ดาเนินการโดยเจ้าหน้าทีข่ ององค์กรพัฒนาเอกชน จาเป็นสาหรับเจ้าหน้าที่ รวมถึงพืน้ ทีส่ าหรับ : ทีเ่ หมาะสม อย่างเช่นสภากาชาดอเมริกนั หรือ • การบริห ารอาหารและเครื่อ งดื่มบารุง องค์กรอื่น ๆ ทีค่ ล้ายคลึงกัน สุขภาพ • การพักผ่อนหลับนอน
146
• การสุขาภิบาลและห้องอาบน้า • การเตรียมปฏิบตั กิ าร ค หน่ วยสนับสนุนภาคพื้นดิ น -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หน่วยสนับสนุนภาคพืน้ ดินมีหน้าที่ : • บารุงรัก ษาและซ่อ มแซมยานพาหนะทางยุทธวิธ ีหลักและเครื่อ งกลสนับสนุ นภาคพื้นดินที่ เคลื่อนทีไ่ ด้ • บันทึกชัวโมงการท ่ างานของเครื่องกลภาคพืน้ ดินทัง้ หมด (รวมถึงเครื่องกลทีไ่ ด้มาจากการทา สัญญา) ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ • จัดหาน้ามันเชือ้ เพลิงสาหรับเครือ่ งกลทีเ่ คลื่อนทีไ่ ด้ทงั ้ หมด • ให้บริการการขนส่งเพื่อสนับสนุ นการดาเนินการจัดการและการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน (ยกเว้น อากาศยาน) • จัดทาแผนการจราจรเพื่อสนับสนุนการดาเนินการจัดการและการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน นอกเหนือจากภารกิจพืน้ ฐานในการบารุงรักษาและการให้บริการซ่อมยานพาหนะ และเครื่องกล ทีเ่ คลื่อนทีไ่ ด้แล้ว หน่ วยสนับสนุ นภาคพืน้ ดินยังทาหน้าทีด่ ูแลรักษาศูนย์รวมการขนส่ง (Transportation Pool) ส าหรับ การด าเนิ น การจัดการและการตอบโต้เ หตุ ฉุ กเฉิ น ขนาดใหญ่ ศู น ย์รวมการขนส่ ง จะมี ยานพาหนะ (เช่ น รถยนต์นัง่ ส าหรับเจ้า หน้ า ที่ รถบัส หรือ รถกะบะ) ที่เ หมาะสมสาหรับ การขนส่ ง เจ้าหน้ าที่ หน่ ว ยสนับสนุ นภาคพื้นดินยังมีหน้ าที่รบั ผิดชอบในการให้ข้อ มูลข่าวสารที่เป็ นปจั จุบนั แก่ หน่ วยทรัพยากรเกี่ยวกับสถานที่จดั เก็บและสถานะของยานพาหะนที่ใช้ในการขนส่งที่หน่ วยสนับสนุ น ภาคพืน้ ดินได้รบั มา ง หน่ วยสื่อสาร -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หน่วยสื่อสารทาหน้าทีจ่ ดั ทาแผนการสื่อสาร (ICS 205) เพื่อเป็นแนวทางทีจ่ ะช่วยสนับสนุ นการใช้ เครื่อ งมือ สื่อ สารและทรัพ ยากรกายภาพด้า นการสื่อ สารในการปฏิบ ัติภ ารกิจ มีป ระสิท ธิภ าพสูง สุ ด นอกจากนี้ หน่วยนี้ยงั ทาหน้าทีต่ ดิ ตัง้ และทดสอบเครือ่ งมือการสื่อสาร ควบคุมดูแลและดาเนินงานภายใน ศูนย์การสื่อสาร แจกจ่ายเครื่องมือสื่อสารให้แก่เจ้าหน้าที่ทป่ี ฏิบตั ภิ ารกิจรับมือเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ และ เก็บคืนเมือ่ ปฏิบตั ภิ ารกิจแล้วเสร็จ และทาหน้าทีบ่ ารุงรักษาและซ่อมเครือ่ งมือสื่อสารในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร หน่ วยสื่อสารมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการวางแผนการสื่อสารในการจัดการ และตอบโต้เหตุฉุกเฉิน ให้มปี ระสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกรณีท่มี หี ลายหน่ วยงานเข้าร่วมปฏิบตั กิ าร การสื่อสารทัง้ หมด ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ขององค์กรในระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉินควรจะต้องใช้ภาษาธรรมดาทีง่ ่ายต่อ
147
การเข้าใจ (ข้อความทีต่ ดิ ต่อสื่อสารต้องชัดเจน) เพื่อให้แน่ ใจว่าข้อมูลข่าวสารทีส่ ่อื สารมีความชัดเจนและ เป็ นที่เข้าใจของผู้รบั ที่เป็ นเป้าหมายทัง้ หมด การวางแผนเป็ นสิง่ สาคัญในการกาหนดเครือข่ายวิทยุท่ี ต้องการ การกาหนดและการจัดสรรคลื่นความถีร่ ะหว่างหน่วยงาน และในการสร้างความมันใจว่ ่ าสามารถ ทีจ่ ะนามาใช้ปฏิบตั งิ านร่วมกัน การนาเอาสมรรถนะของเครือ่ งมือการสื่อสารมาใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด หัวหน้าหน่วยสื่อสารควรจะต้องเข้าร่วมการวางแผนการดาเนินการจัดการและตอบโต้เหตุฉุกเฉิน ทุกครัง้ เพื่อสร้างความมันใจว่ ่ าระบบการสื่อสารทีไ่ ด้รบั มาสามารถทีจ่ ะสนับสนุ นการปฏิบตั กิ ารเชิงยุทธวิธ ี ทีไ่ ด้วางแผนเอาไว้สาหรับการดาเนินงานในช่วงต่อไป การบริหารจัดการสื่อสารเพื่อการจัดการและการตอบโต้เหตุฉุกเฉินจะใช้แผนการสื่อสารเป็ นฐาน และโดยผ่านทางศูนย์การสื่อสารทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพื่อใช้ทรัพยากรสาหรับปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธ ีและทรัพยากร สนับสนุนทีไ่ ด้รบั การมอบหมายให้ปฏิบตั หิ น้าทีจ่ ดั การและตอบโต้เหตุการณ์เท่านัน้ การวางแผนล่วงหน้า เป็ นเรื่องจาเป็ นเพื่อทาให้มนใจว่ ั ่ ามีระบบการสื่อสารที่เหมาะสม และพร้อมใช้สนับสนุ นการจัดการและ การตอบโต้เหตุการณ์ตามความจาเป็น การวางแผนดังกล่าวนี้จะรวมถึงการพัฒนาวิธกี ารและการควบคุม คลื่นความถี่ ข้อตกลงในการใช้คลื่นความถีพ่ ฒ ั นาอุปกรณ์เสริมสาหรับวิทยุส่อื สารทีใ่ ช้ระหว่างหน่วยงาน เหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่ม ีค วามซับ ซ้อ นส่ ว นใหญ่ จ าเป็ น ต้ อ งมีแ ผนการสื่อ สาร หน่ ว ยสื่อ สารมีห น้ า ที่ รับผิดชอบในการวางแผนการใช้คลื่นความถี่วทิ ยุ ; การสร้างเครือข่ายสาหรับการบัญชาการ เครือข่าย ทางยุท ธวิธ ี เครือ ข่ า ยสนั บ สนุ แ ละหน่ ว ยบิน ; ติด ตัง้ เครื่อ งมือ อุ ป กรณ์ โ ทรศัพ ท์แ ละเครื่อ งมือ ด้า น อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการสื่อสารหรือถ่ายทอดข่าวสารในพื้นทีเ่ กิดเหตุ ; และสร้างเครือข่ายเชื่อมโยงการ สื่อสารกับพื้นที่ภายนอกตามความจาเป็ น ไม่ควรนารหัสมาใช้ในการสื่อสารทางวิทยุ ข้อความที่พูดที่ม ี ความชัดเจน – ยึดคาศัพท์เฉพาะกลุ่มที่เป็ นมาตรฐานเดียวกันเป็ นหลัก เพื่อหลีกเลี่ยงการเข้าใจผิดใน สถานการณ์ท่สี บั สนและมีเสียงรบกวน – จะช่วยลดโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดได้ การใช้ค าศัพท์ มาตรฐานเฉพาะร่วมกัน จะช่ว ยให้เ จ้าหน้ าที่ด้านการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิ น/ด้านการปฏิบตั ิการตอบโต้ สามารถติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้อย่างชัดเจนและเข้าใจง่าย และสามารถประสานการดาเนินกิจกรรม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ จะมีขนาด ขอบเขต ความซับซ้อนแค่ไหน หรือเกิดขึน้ ในสถานทีใ่ ดก็ตาม การจัดตัง้ เครือข่ายวิทยุส่อื สารสาหรับเหตุฉุกเฉินขนาดใหญ่อาจจะครอบคลุมเครือข่ายดังต่อไปนี้ : 1 เครือข่ายการบัญชาการ เครือข่ายเพื่อการบัญ ชาการจะเชื่อ มโยงหน่ ว ยบัญ ชาการ ทีมงานบัญ ชาการ หัว หน้ าส่ว น ผู้ ควบคุมดูแลสาขา และเขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารและผูก้ ากับดูแลกลุ่มภารกิจเข้าด้วยกัน 2 เครือข่ายทางยุทธวิ ธี
148
อาจจะจัดตัง้ เครือข่ายทางยุทธวิธขี น้ึ หลายเครือข่ายเพื่อทีจ่ ะเชื่อมต่อกระทรวง หน่ วยงาน หน่ วย ที่จดั ตัง้ ตามพื้นที่ภูมศิ าสตร์ หรือหน่ วยที่จดั ตัง้ ขึ้นตามภารกิจที่เฉพาะเจาะจงเข้าด้วยกัน การกาหนด วิธกี ารจัดตัง้ เครือข่ายวิทยุควรจะต้องดาเนินการร่วมกันระหว่างส่วนแผนงาน ส่วนปฏิบตั ิการและส่วน สนับสนุนกาลังบารุง 3 เครือข่ายสนับสนุน เครือข่ายสนับสนุนจัดตัง้ ขึน้ มาเพื่อบริหารจัดการการเปลีย่ นแปลงสถานะของทรัพยากรเป็ นหลัก แต่กน็ ามาใช้ในการบริหารจัดการการร้องขอการสนับสนุนกาลังบารุง และการปฏิบตั ภิ ารกิจอื่น ๆ ทีไ่ ม่ใช่ ภารกิจทางยุทธวิธ ี 4 เครือข่ายสาหรับติ ดต่อสื่อสารระหว่างอากาศยานกับภาคพื้นดิ น ในการประสานการจราจรทางอากาศระหว่างอากาศยานกับภาคพื้นดิน อาจจะต้อ งกาหนด ความถีเ่ ชิงยุทธวิธที เ่ี ฉพาะเจาะจง หรืออาจจะใช้เครือข่ายเชิงยุทธวิธที ใ่ี ช้อยูต่ ามปกติกไ็ ด้ 5 เครือข่ายสาหรับติ ดต่อสื่อสารระหว่างอากาศยานกับอากาศยาน อาจจะกาหนดเครือข่ายวิทยุส่อื สารสาหรับติดต่อสื่อสารระหว่างอากาศยานกับอากาศยานเพื่อใช้ ในการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น /การปฏิบ ัติก ารตอบโต้ เครือ ข่ า ยนี้ ไ ด้ร บั การออกแบบมาเพื่อ ใช้ส า หรับ ทรัพยากรอากาศยานเท่านัน้ หน่วยภาคพืน้ ดินไม่ควรนาเครือข่ายนี้ไปใช้ ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์
ตาราง 5 ส่วนการเงิ น/การบริ หารจัดการ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ส่วนการเงิน/การบริห ารจัดการจะได้รบั การ จัดตัง้ ขึ้นต่ อเมื่อ มีความจาเป็ นเฉพาะเจาะจงที่จะใช้ ในขณะทีภ่ ารกิจหน้าทีข่ องส่วนการเงิน/การ บริการด้านการเงิน และ/หรือการบริหารจัดการเพื่อ บริหารจัดการเป็นส่วนประกอบทีส่ าคัญของการ สนับสนุ นการดาเนินกิจกรรมการจัดการเหตุฉุกเฉินที่ บัญชาการและการจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ แต่ก็ เกิดขึน้ เมื่อมีเหตุฉุก เฉินขนาดใหญ่เกิดขึ้น หรือเมื่อ ไม่มคี วามจาเป็ นทีจ่ ะต้องจัดเจ้าหน้าทีไ่ ป เหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิ ด ขึ้น ลุ ก ลามขยายตัว ซึ่ง จะต้ อ ง ปฏิบตั งิ านในส่วนประกอบต่าง ๆ ของส่วน เกี่ยวกับข้องกับการระดมกองทุนเพื่อใช้จ่ายจานวน การเงิน/การบริหารจัดการในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ มากจากแหล่งต่าง ๆ นอกเหนือจากการติดตามแหล่ง ระบบการสื่อสารไร้สายจะช่วยให้สามารถปฏิบตั ิ กองทุนเพื่อใช้จ่ายในการดาเนินงานแล้ว หัวหน้าส่วน ภารกิจหน้าทีด่ า้ นการเงิน/การบริหารจัดการได้ การเงิน /การบริห ารจัด การยัง ต้ อ งท าหน้ า ที่ค อย แม้จะอยูไ่ กลจากสถานทีเ่ กิดเหตุ ซึง่ โดยทัวแล้ ่ ว ติดตามและรายงานค่าใช้จ่ายที่ค้างจ่ายในขณะที่เหตุ หน้าทีด่ งั กล่าวจะดาเนินการในสถานทีท่ าการ ฉุ ก เฉิ น ยัง คงด าเนิ น อยู่ ให้ผู้บ ัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ / เดิมทีเ่ คยทาตามปกติ
149
หน่ วยบัญชาการทราบ วิธกี ารนี้จะช่วยให้ผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์ /หน่ วยบัญชาการสามารถคาดการณ์ ความต้องการเงินกองทุนเพิม่ เติมได้ ก่อนที่จะส่งผลกระทบในทางลบต่อการปฏิบตั กิ ารและเป็ นเรื่องที่ สาคัญเป็นพิเศษ ถ้าหากทรัพยากรทีใ่ ช้ในการปฏิบตั กิ ารเป็ นทรัพยากรทีอ่ ยู่ภายใต้สญ ั ญากับภาคเอกชน หัวหน้าส่วนการเงิน/การบริหารจัดการอาจจาเป็ นต้องติดตามการใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อสร้าง ความมันใจว่ ่ าเป็นไปตามกฎระเบียบทีบ่ งั คับใช้หรือไม่ การประสานงานอย่างใกล้ชดิ กับส่วนแผนงานและ ส่วนสนับสนุนกาลังบารุงเพื่อให้หลักฐานการปฏิบตั กิ ารสอดคล้องกับเอกสารทางการเงิน โดยอาศัยความ จาเป็ นในปจั จุบนั และความจาเป็ นในอนาคตที่ค าดการณ์ไว้เป็ นฐาน หัวหน้ าส่ วนการเงิน/การบริหาร จัดการจะเป็ นผูก้ าหนดความจาเป็ นที่จะต้องจัดตัง้ หน่ วยรองขึน้ มา เนื่องจากภารกิจหน้าที่ ด้านการเงินมี ลักษณะเป็นงานเชีย่ วชาญเฉพาะทาง ดังนัน้ หัวหน้าส่วนการเงิน/บริหารจัดการควรต้องมาจากหน่ วยงาน ทีส่ ามารถให้การสนับสนุ นบริการทางด้านการเงิน/การบริหารจัดการได้ดที ่สี ุด หัวหน้าส่วนการเงิน/การ บริหารจัดการอาจจะมีรองหัวหน้าส่วนหนึ่งคนหรือมากกว่าหนึ่งคนก็ได้ ก หน่ วยบันทึกเวลา (Time Unit) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หน่ วยบันทึกเวลามีหน้าที่รบั ผิดชอบหลักในการทาให้มนใจว่ ั ่ ามีการบันทึกเวลาปฏิบตั งิ านของ เจ้าหน้าที่เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่ วยบันทึกเวลายังต้องสร้างความ มันใจว่ ่ าส่วนสนับสนุ นกาลังบารุงดาเนินการบันทึกและจับเวลาการใช้งานเครื่องมือกลด้วย ในกรณีท่มี ี การนาไปประยุกต์ใช้ (ขึน้ อยู่กบั หน่ วยงานที่เข้ามามีส่วนร่วม) จะมีการเก็บรวบรวมและประมวลบันทึก เวลาปฏิบตั ิงานของเจ้าหน้ าที่ในแต่ละช่วงระยะเวลาในการปฏิบตั ิงาน หัวหน้ าหน่ วยบันทึกเวลาอาจ ต้องการความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ท่คี ุ้นเคยกับนโยบายของหน่ วยงานที่จาเป็ นต้องบันทึกเวลาการ ปฏิบตั ิง าน บัน ทึก เหล่ านี้ จ ะต้อ งได้ร บั การตรวจสอบความถู กต้อ ง การยืน ยัน ความเป็ นจริง และปิ ด ประกาศเพื่อ ให้เ ป็ นไปตามนโยบายที่มอี ยู่ ควรต้อ งมีการระบุชวโมงการท ั่ างานที่เ กินกาหนดไว้ด้ว ย เพื่อทีจ่ ะรักษาข้อมูลทีบ่ นั ทึกแยกออกจากชัวโมงท ่ างานปกติเอาไว้ ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ข หน่ วยจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement Unit) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หน่วยจัดซือ้ จัดจ้างทาหน้าทีบ่ ริหารจัดการเรือ่ งการเงินทัง้ หมดทีเ่ กี่ยวข้องกับข้อตกลงหรือ สัญญาซือ้ ขาย หน่วยนี้จะประสานงานกับขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบในท้องถิน่ ในพืน้ ที่ เพื่อกาหนดแหล่งขายเครือ่ งมือ ; จัดเตรียมและลงนามในข้อตกลงเช่าเครือ่ งมือและดาเนินการตาม กรรมวิธที จ่ี าเป็นสาหรับการเช่าเครือ่ งมือและสัญญาซือ้ ขายพัสดุ ในบางกรณีหน่วยพัสดุซง่ึ ขึน้ อยูก่ บั ส่วน สนับสนุ นกาลังบารุงจะทาหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการดาเนินการจัดซือ้ จัดจ้างบางอย่าง หน่วยจัดซือ้ จัดจ้าง จะต้องทางานอย่างใกล้ชดิ กับเจ้าหน้าทีท่ อ้ งถิน่ ในเรือ่ งค่าใช้จ่ายด้วย
150
ค หน่ วยค่าชดเชยและการเรียกร้องค่าสิ นไหมทดแทน (Compenstion and Claims Unit) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ภายใต้ระบบการบัญชาการเหตุการณ์จะมีหน่ วยงานเพียงหน่ วยเดียวทาหน้าที่จดั การการจ่าย ค่ า ชดเชยและการเรีย กร้อ งค่ า สิน ไหมทดแทน กิจกรรมหรือ การด าเนิ น การจ่า ยค่ า ชดเชยหรือ การ เรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจะแตกต่างกันไปและอาจจะไม่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จได้โดย บุคคลเดียวกันเสมอไป ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ เจ้าหน้าที่ทร่ี บั ผิดชอบการจ่ายค่าชดเชยการ ได้รบั บาดเจ็บจะต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าแบบฟอร์มทัง้ หมดทีท่ างโครงการจ่ายค่าชดเชย และหน่ วยงาน ท้องถิน่ ต้องการจะแล้วเสร็จสมบูรณ์ เจ้าหน้าทีผ่ นู้ ้ยี งั ต้องเก็บรักษาแฟ้มเอกสารและข้อมูลเกี่ยวกับอาการ บาดเจ็บและการเจ็บปว่ ยทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินและสร้างความมันใจว่ ่ าจะได้รบั คาให้การของพยานที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษรทัง้ หมด ด้วยเหตุท่หี น่ วยบริการทางการแพทย์อาจจะต้อง ปฏิบตั ภิ ารกิจดังกล่าวนี้บางส่วน ดังนัน้ จะต้องมีการประสานงานอย่างใกล้ชดิ ระหว่างหน่ วยบริการทาง การแพทย์กบั หน่ วยค่าชดเชยและการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน ภารกิจด้านการเรียกร้องค่าสินไหม ทดแทนจะเกีย่ วข้องกับการสืบสวน การเรียกร้องเกีย่ วกับการละเมิดทางแพ่งทีเ่ กี่ยวข้องกับความเสียหาย ของทรัพ ย์ส ินที่เ ป็ นผลมาจากการปฏิบตั ิการตอบโต้หรือที่เ กี่ยวเนื่อ งกับเหตุ ฉุ กเฉิ นที่เกิดขึ้น หน่ ว ย ค่าชดเชยและการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนทาหน้าทีร่ กั ษาข้อมูลทีบ่ นั ทึกไว้เกี่ยวกับการเรียกร้อง การ ได้รบั คาให้การของพยานมาเพื่อใช้งาน และจัดทาเอกสารการสืบสวนและความจาเป็ นในการติดตามงาน ของหน่วยงาน ง หน่ วยค่าใช้จ่าย (Cost Unit) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หน่ ว ยค่ าใช้จ่า ยทาหน้ าที่ใ ห้ข้อ มูล ที่ได้จาการวิเ คราะห์ต้นทุนส าหรับการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิ น หน่ ว ยนี้จะต้อ งสร้างความมันใจว่ ่ าเครื่องมือ และบุค ลากรที่ทาให้จาเป็ นต้อ งมีค่ าใช้จ่ายนัน้ ได้รบั การ กาหนดอย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้ ยังทาหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการขอรับและบันทึกข้อมูลค่าใช้จ่าย ทัง้ หมด พร้อมทัง้ วิเคราะห์และจัดทาประมาณการค่าใช้จ่ายสาหรับการใช้งานทรัพยากรแก่ส่วนแผนงาน และเก็บรักษาข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายที่แท้จริงของทรัพยากรที่ได้รบั มอบหมายให้ภารกิจให้ ปฏิบตั ทิ งั ้ หมด ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์
ตาราง 6 การจัดตัง้ หน่ วยบัญชาการพืน้ ที่ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ดังที่ได้อธิบายไว้ องค์ประกอบด้านการบัญชาการและการจัดการเหตุฉุกเฉิน เป้าประสงค์ของ หน่วยบัญชาการพืน้ ทีค่ อื กากับดูแลการจัดการเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงเวลาเดียวกันหลายเหตุการณ์ และมีองค์กรระบบการบัญชาการเหตุการณ์หลายองค์กรแยกกันทาหน้าทีจ่ ดั การเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ แต่
151
ละเหตุการณ์ ; หรือทาหน้าที่กากับดูแลการจัดการเหตุฉุกเฉินขนาดใหญ่หรือเหตุฉุกเฉินที่กาลังลุกลาม ขยายตัว ซึง่ มีทมี งานจัดการเหตุฉุกเฉินหลายทีมงานเข้ามามีส่วนเกีย่ วข้อง ก หน้ าที่รบั ผิดชอบ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------หน่ วยบัญชาการพื้นที่ไม่มหี น้ าที่รบั ผิดชอบในการปฏิบตั ิการ ภาระหน้ าที่ท่เี กี่ยวข้องกับเหตุ ฉุ กเฉินทีเ่ กิดขึน้ ของหน่ วยบัญชาการพืน้ ที่ทเ่ี กี่ยวข้องกับเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ ของหน่ วยบัญชาการพืน้ ที่ จะครอบคลุมถึง : • กาหนดวัตถุประสงค์กว้าง ๆ สาหรับพืน้ ที่ (พืน้ ทีเ่ ดียว/หลายพืน้ ที)่ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ • ประสานการกาหนดวัตถุประสงค์และยุทธวิธสี าหรับแต่ละเหตุฉุกเฉิน • จัดสรร (จัดสรรใหม่) ทรัพยากรในขณะทีล่ าดับความสาคัญทีจ่ ดั ไว้มกี ารเปลีย่ นแปลง • ทาให้มนใจว่ ั ่ าการจัดการเหตุฉุกเฉินดาเนินไปอย่างถูกต้อง • ทาให้มนใจในประสิ ั่ ทธิภาพของการสื่อสาร • ทาให้มนใจว่ ั ่ าการจัดการเหตุฉุกเฉินเป็ นไปตามวัตถุประสงค์และไม่ขดั แย้งกันหรือไม่ขดั แย้ง กับนโยบายของหน่วยงาน • ระบุค วามต้อ งการทรัพ ยากรส าคัญ และรายงานความต้อ งการดัง กล่ าวให้ศูน ย์ป ฏิบ ัติก าร ฉุกเฉิน/คณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กรทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ทราบ • ทาให้มนใจว่ ั ่ ามีการประสานการปฏิบตั กิ ารบูรณะฟื้ นฟูฉุกเฉินในระยะสัน้ เพื่อช่วยให้มคี วาม ต่อเนื่องในการเปลีย่ นผ่านไปสู่การปฏิบตั กิ ารบูรณะฟื้นฟูเต็มรูปแบบในระยะยาว ภาระหน้าทีข่ องหน่ วยบัญชาการพืน้ ที่คอื การกาหนดวัตถุประสงค์กว้าง ๆ สาหรับพื้นทีท่ ่ไี ด้รบั ผลกระทบ และประสานการก าหนดวัต ถุ ป ระสงค์แ ละยุ ท ธวิธ ีใ นการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิด ขึ้น นอกเหนือจากนี้ ผู้บญ ั ชาการหน่ วยบัญชาการพืน้ ทีจ่ ะจัดลาดับความสาคัญสาหรับการใช้งานทรัพยากร สาคัญทีจ่ ะจัดส่งไปยังพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ ข การจัดองค์กร ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------การจัดองค์กรหน่ วยบัญชาการพื้นที่จะใช้หลักการพื้นฐานเดียวกันกับการจัดองค์กรระบบการ บัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ โดยทัว่ ไปหน่ ว ยบัญ ชาการพื้น ที่จ ะประกอบด้ว ยเจ้า หน้ า ที่ส าคัญ ๆ ที่ต้อ งมี คุณสมบัตแิ ละหนังสือรับรองทีเ่ หมาะสมดังต่อไปนี้ : 1 ผู้บญ ั ชาการหน่ วยบัญชาการพื้นที่ - หน่ วยบัญชาการพื้นที่ ร่วม (Area Commander : Unified Area Command) ผูบ้ ญ ั ชาการหน่ วยบัญชาการพืน้ ทีม่ หี น้าที่รบั ผิดชอบในการกาหนดทิศทางในการดาเนิน งานใน ภาพรวมของทีมงานจัดการเหตุฉุกเฉินทีไ่ ด้รบั การมอบหมาย หน้าทีร่ บั ผิดชอบดังกล่าวนี้ รวมถึงการทา
152
ให้มนใจว่ ั ่ าความขัดแย้งต่าง ๆ จะได้รบั การแก้ไข การกาหนดวัตถุประสงค์ในการจัดการเหตุฉุกเฉินและ การเลือกยุทธวิธ ีในการใช้ทรัพยากรที่สาคัญ ผู้บญ ั ชาการหน่ ว ยบัญชาการพื้นที่ยงั รับผิดชอบในการ ประสานงานกับกระทรวงและหน่ วยงานของรัฐบาล รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าอเมริกนั และรัฐบาลท้องถิ่น และรวมถึงองค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน 2. ผู้ช่ วยผู้บญ ั ชาการหน่ วยบัญชาการพื้นที่ – ฝ่ ายสนั บสนุ นกาลัง บารุง (Assistant Area Commander – Logistics) หัวหน้าส่วนสนับสนุ นกาลังบารุงของหน่ วยบัญชาการพื้นที่ทาหน้า ที่จดั หาสถานที่ทาการ วัสดุ อุปกรณ์และบริการต่าง ๆ ในระดับหน่ วยบัญชาการพื้นที่ และสร้างความมันใจในการจั ่ ดสรรทรัพยากร สาคัญ และพัสดุให้กบั ทีมงานจัดการเหตุฉุกเฉินทัง้ หลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 ผูช้ ่วยผูบ้ ญ ั ชากรหน่ วยบัญชาการพื้นที่ – ฝ่ ายแผนงาน หัว หน้ าส่ ว นแผนงานของหน่ ว ยบัญ ชาการพื้น ที่ทาหน้ าที่ร วบรวมข้อ มูล ข่าวสารจากทีมงาน จัดการเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ เพื่อใช้ในการคาดการณ์และการประเมินข้อขัดแย้งในด้านต้าง ๆ เช่น ในการ กาหนดวัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน การกาหนดยุทธวิธ ี และการจัดลาดับความสาคัญในการ จัดสรรทรัพยากรสาคัญ 4 ผูป้ ระสานงานการบิ น – หน่ วยบัญชาการพื้นที่ (Area Command Aviation Coordination) ผูป้ ระสานงานการบินประจาหน่ วยบัญชาการพืน้ ทีจ่ ะได้รบั การแต่งตัง้ เมื่อทรัพยากรการบินหรือ อากาศยานแก่ ง แย่ ง น่ านฟ้ า และทรัพ ยากรส าคัญ ที่ใ ช้ร่ว มกัน และผู้ป ระสานงานจะทาหน้ าที่ใ นการ ประสานงานกับหน่วยการบินต่าง ๆ ทีท่ าหน้าทีใ่ ห้การสนับสนุนทางอากาศในการจัดการเหตุฉุกเฉิน เพื่อ ประเมินความขัดแย้งที่จะเกิดขึน้ ; เพื่อกาหนดขัน้ ตอนปฏิบตั สิ าหรับการบริหารจัดการน่ านฟ้า ; สร้าง ความมันใจในความปลอดภั ่ ยในการบิน และจัดสรรทรัพยากรสาคัญให้สอดคล้องกับลาดับความสาคัญที่ หน่วยบัญชาการพืน้ ทีก่ าหนดไว้ 5 ตาแหน่ งสายงานสนับสนุนในหน่ วยบัญชาการพื้นที่ (Area Command Support Positions) จะมีการเปิ ดใช้งานผู้ดารงตาแหน่ งสายงานสนับสนุ นในหน่ วยบัญ ชาการพื้นที่ดงั ต่อไปนี้ตาม ความจาเป็น : • หัวหน้าหน่ วยทรัพยากร : ทาหน้าทีต่ ดิ ตามและดารงรักษาสถานะและความพร้อมใช้งานของ ทรัพยากรสาคัญทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ไปปฏิบตั ภิ ารกิจรับมือเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ แต่ละเหตุการณ์ ภายใต้ การกากับดูแลของผูช้ ่วยผูบ้ ญ ั ชาการพืน้ ทีฝ่ า่ ยแผนงาน • หัวหน้าหน่ วยสถานการณ์ : ทาหน้าทีต่ ดิ ตามตรวจสอบสถานะของวัตถุประสงค์ในการจัดการ ของแต่ละเหตุฉุ กเฉิ นหรือของแต่ล ะทีมงานจัดการเหตุ ฉุกเฉินที่อ ยู่ภายใต้การกากับดูแลของผู้ช่วยผู้ บัญชาการหน่ วยบัญชาการพืน้ ทีฝ่ า่ ยแผนงาน
153
• เจ้าหน้าทีข่ อ้ มูลข่าวสารสาธารณะ : ทาหน้าทีใ่ นการประสานงานระหว่างสถานทีเ่ กิดเหตุ และ ทาหน้าทีเ่ ป็นจุดการติดต่อสาหรับการร้องขอของสื่อไปยังหน่วยบัญชาการพืน้ ที่ • เจ้าหน้าที่ประสานงาน : ทาหน้าที่ดารงรักษาการติดต่อและการประสานงานระหว่างองค์กร นอกพื้น ที่ป ฏิบ ัติก าร หน่ ว ยบัญ ชาการพื้น ที่กับ ผู้บญ ั ชาการเหตุ การณ์ ส ามารถพบปะหารือ และ ติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้งา่ ยขึน้ • อย่างไรก็ตามจะเป็ นการดีทส่ี ุดทีจ่ ะไม่จดั ตัง้ หน่ วยบัญชาการพื้นทีใ่ ห้อยู่ในสถานทีเ่ ดียวกันกับ ศูนย์บญ ั ชาการเหตุการณ์ศูนย์ใดศูนย์หนึ่ง การจัดตัง้ ให้อยู่ในสถานที่ทาการเดียวกันจะทาให้เกิดความ สับสนกับกิจกรรมการบัญชาการ และกิจกรรมการบริหารจัดการเหตุฉุกเฉินทีเ่ ฉพาะเจาะจงนัน้ • หน่ วยบัญชาการพื้นที่จะต้องกาหนดกระบวนการประสานงานและระเบียบปฏิบตั ิ และติดตัง้ ระบบการสื่อสารทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อสื่อสารและประสานงานกับผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ท่ี อยู่ภายใต้การควบคุมดูแล และรวมถึงการสื่อสารและประสานงานกับองค์กรจัดการเหตุฉุกเฉิ นอื่น ๆ ที่ ร่วมปฏิบตั กิ าร • อาคารหรือสถานที่ท่ใี ช้จดั ตัง้ หน่ ว ยบัญ ชาการพื้นที่ค วรต้อ งกว้างใหญ่ เ พียงพอที่จะรองรับ เจ้าหน้ าที่ของหน่ วยบัญ ชาการพื้นที่เ ต็มจานวน และสามารถรองรับการจัดประชุมระหว่างเจ้าหน้ าที่ หน่ วยบัญชาการพื้นที่ ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์และผู้อานวยการ/ผูบ้ ริหารหน่ วยงานต่าง ๆ รวมถึงผูแ้ ทน ของสื่อข่าว ง ความสัมพันธ์ตามสายการบังคับบัญชา (Reporting Relationships) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เมื่อหน่ วยบัญชาการพื้นที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการประสานการดาเนินกิจกรรมจัดการเหตุ ฉุกเฉินทีห่ ลากหลาย ควรจะต้องใช้ความสัมพันธ์ตามสายการบังคับบัญชาดังต่อไปนี้ : • ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ทร่ี บั ผิดชอบเหตุฉุกเฉิน ทีอ่ ยูภ่ ายใต้อานาจในการควบคุมดูแลของหน่ วย บัญชาการพืน้ ทีจ่ ะต้องขึน้ ตรงต่อผูบ้ ญ ั ชาการหน่วยบัญชาการพืน้ ที่ • ผู้บญ ั ชาการหน่ วยบัญชาการพื้นที่ จะต้องรับผิดชอบต่อหน่ วยงานหรือต่อผู้อานวยการหรือ ผูบ้ ริหารทีม่ อี านาจหน้าทีต่ ามกฎหมายในการจัดการเหตุฉุกเฉิน • ควรจัดตัง้ หน่วยบัญชาการพืน้ ทีร่ ว่ ม (Unified Area Command) ขึน้ ถ้าเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ไม่ ว่าจะเป็ นเหตุการณ์เดียวหรือหลายเหตุการณ์พร้อมกันที่คาบเกี่ยวในหลายขอบเขตอานาจหน้ าที่และ พืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ
154
ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์
ตารางที่ 7 สถานที่ทาการและที่ตงั ้ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------อาจจะมีการจัดตัง้ สถานที่ทาการหลากหลายรูปแบบและประเภทภายในและรอบ ๆ พื้นที่เกิด เหตุ ความจาเป็นทีเ่ กีย่ วเนื่องกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ และความต้องการของผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วย บัญชาการร่วมจะเป็ นปจั จัยกาหนดประเภทและทีต่ งั ้ ของสถานทีท่ าการ ซึง่ อาจจะประกอบด้วยสถานทีท่ า การดังต่อไปนี้ ก ศูนย์บญ ั ชาการเหตุการณ์ (Incident Command Post) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ศูนย์บญ ั ชาการเหตุการณ์บ่งชีถ้ งึ ทีต่ งั ้ ขององค์กรระดับยุทธวิธที ท่ี าหน้าทีบ่ ญ ั ชาการเหตุการณ์ใน พืน้ ทีเ่ กิดเหตุ โดยทัวไปศู ่ นย์บญ ั ชาการเหตุการณ์ หน่ วยบัญชาการเหตุการณ์และทีมงานบัญชาการและ ทีมงานปฏิบตั กิ าร แต่อาจจะรวมถึงเจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิ น/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้จาก กระทรวงและหน่ วยงานของรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าอเมริกนั และรัฐบาลท้องถิ่นตลอดจน เจ้าหน้าทีจ่ ากองค์กรพัฒนาเอกชน และภาคเอกชน โดยปกติศูนย์บญ ั ชาการเหตุการณ์จะตัง้ อยู่ทห่ี รือใน บริเวณใกล้เคียงกับสถานที่เกิดเหตุและเป็ นที่ตงั ้ สาหรับการควบคุมการปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธโี ดยตรง การวางแผนการจัดการเหตุฉุกเฉิน/การปฏิบตั กิ ารตอบโต้จะดาเนินการทีศ่ ูนย์บญ ั ชาการเหตุการณ์ ; โดย ปกติจะมีการจัดตัง้ ศูนย์ส่อื สารฉุ กเฉินขึน้ ในสถานทีเ่ ดียวกัน อาจจะจัดตัง้ ศูนย์บญ ั ชาการเหตุการณ์ขน้ึ ใน สถานที่ทาการเดียวกันกับฐานปฏิบตั กิ าร (Incident Base) ถ้าหากระบบการสื่อสารได้รบั การติดตัง้ ตรง ตามทีต่ อ้ งการ ข ฐานปฏิ บตั ิ การ (Incident Base) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ฐานปฏิบตั กิ ารเป็ นสถานที่สาหรับการดาเนินกิจกรรมหลักด้านการสนับสนุ น จะมีการจัดตัง้ ฐาน ปฏิบ ัติก ารเพีย งฐานเดีย ว เพื่อ เป็ น ที่เ ก็บ เครื่อ งมือ และเป็ น ที่พ ัก ของเจ้า หน้ า ที่ด้า นการปฏิบ ัติก าร สนับสนุ น ฐานปฏิบตั กิ ารควรได้รบั การออกแบบให้สามารถให้การสนับสนุ นการปฏิบตั กิ ารในพื้นที่เกิด เหตุได้หลายพืน้ ที่ ค ค่ายพัก (Camp) -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ค่ ายพัก จะได้รบั การจัด ตัง้ แยกต่ า งหากจากฐานปฏิบ ัติก าร และจะตัง้ อยู่ร อบ ๆ ฐานปฏิบ ัติ เพื่อให้เป็ นที่ทส่ี ามารถให้การสนับสนุ นการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินได้ดที ่สี ุด ค่ายพักจะให้บริการ ด้านต่าง ๆ เช่น อาหาร ที่หลับนอน และสุขาภิบาล ค่ายพักอาจจะเป็ นที่ให้บริการด้านการบารุงรักษา
155
ย่อยเครื่องมือต่าง ๆ อีกด้วย อาจจะต้องมีการเคลื่อนย้ายค่ายพักไปจัดตัง้ ในพื้นทีใ่ หม่ เพื่อตอบสนอง ความจาเป็นในการปฏิบตั กิ ารทีเ่ ปลีย่ นแปลง ง พื้นที่เตรียมปฏิ บตั ิ การ (Staging Area) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------พื้นที่เตรียมปฏิบตั กิ ารจัดตัง้ ขึ้น เพื่อใช้เป็ นสถานที่จดั เก็บและพักรอชัวคราวของทรั ่ พยากรที่ ได้มาและพร้อมใช้งาน หัวหน้ าส่วนปฏิบตั ิการทาหน้ าที่ รบั ผิดชอบในการจัดตัง้ พื้นที่เ ตรียมปฏิบตั กิ าร เพื่อใช้เป็ นทีท่ าการจัดวางตาแหน่ งและกาหนดความรับผิดชอบให้กบั ทรัพยากรทีย่ งั ไม่ได้รบั มอบหมาย ภารกิจให้ปฏิบตั ใิ นทันที พืน้ ทีเ่ ตรียมปฏิบตั กิ ารคือสถานทีใ่ ด ๆ ก็ตามทีใ่ ช้เป็ นทีพ่ กั จัดเก็บหรือจอดพัก ชัวคราวส ่ าหรับบุคลากร พัสดุสงิ่ ของ หรือเครือ่ งมือในระหว่างทีร่ อการมอบหมายหน้าทีใ่ นการปฏิบตั กิ าร พืน้ ทีเ่ ตรียมปฏิบตั กิ ารอาจจะรวมถึงการใช้เป็ นสถานทีใ่ ห้บริการด้านต่างๆ เป็ นการชัวคราว ่ เช่น อาหาร น้ า มัน เชื้อ เพลิง และสุ ข อนามัย หัว หน้ า ส่ ว นปฏิบ ัติก ารจะแต่ ง ตัง้ ผู้อ านวยการประจ าพื้น ที่เ ตรีย ม ปฏิบตั กิ ารแต่ละพืน้ ทีเ่ พื่อทาหน้าทีต่ รวจสอบทรัพยากรทัง้ หมดทีเ่ ข้ามาในพืน้ ทีเ่ ตรียมปฏิบตั กิ าร ; จัดส่ง ทรัพยากรตามที่หวั หน้ าส่วนปฏิบตั ิการร้อ งขอและร้องขอให้ส่วนสนับสนุ นกาลังบารุงให้การสนับสนุ น ทรัพยากรทีอ่ ยูภ่ ายในพืน้ ทีเ่ ตรียมปฏิบตั กิ ารตามความจาเป็ น ภาคผนวก ข : การบัญชาการเหตุการณ์
ตาราง 8 : กระบวนการวางแผนและแผนเผชิ ญเหตุ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ก การอธิ บายโดยสรุป --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------การวางแผนที่ถู ก ต้อ งสมบูร ณ์ แ ละทัน การณ์ เ ป็ น รากฐานน าไปสู่ก ารจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่ม ี ประสิทธิภาพ กระบวนการวางแผนระบบการบริหารจัดการเหตุ ฉุกเฉินแห่งชาติท่อี ธิบายไว้ด้านล่าง แสดงให้เห็นถึงแม่แบบหรือแบบตัวอย่างสาหรับการวางแผนเชิงกลยุทธ์ การวางแผนปฏิบตั กิ ารและการ วางแผนยุทธวิธ ี ที่รวบรวมขัน้ ตอนในการวางแผนทัง้ หมดเอาไว้สาหรั บผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วย บัญชาการร่วมและเจ้าหน้าที่อ่นื ๆ ในทีมงานบัญชาการ และทีมงานปฏิบตั กิ ารควรต้องนาไปใช้ในการ จัดทาและการแจกจ่ายแผนเผชิญเหต กระบวนการวางแผนอาจจะเริม่ ต้นด้วยการจัดทาตารางเวลาของ เหตุการณ์ท่ไี ด้วางแผนเอาไว้แล้ว ; การระบุสภาวะการณ์ท่เี ชื่อว่ าเป็ นภัยคุกคามหรือการตอบโต้เหตุ ฉุ ก เฉิ น ที่เ กิด ขึ้น จริง หรือ ที่ก าลัง จะเกิด ขึ้น ในเบื้อ งต้ น ขัน้ ต่ อ ไปของกระบวนการวางแผนคือ การ ดาเนินการตามขัน้ ตอนทีไ่ ด้กาหนดไว้และการจัดเจ้าหน้าทีต่ ามความจาเป็ นเพื่อจัดทาแผนเผชิญเหตุเป็ น ลายลักษณ์อกั ษร
156
แม่ แ บบแผนเผชิญ เหตุ ท่ีช ัด เจน กระชับ รัด กุ ม เป็ น สิ่ง ที่จ าเป็ น ส าหรับ ใช้ เ ป็ น แนวทางใน กระบวนการตัดสินใจในการจัดการเหตุฉุกเฉิน และสาหรับกิจกรรมการวางแผนร่วมกันอย่างต่อเนื่องของ ทีมงานจัดการเหตุฉุกเฉิน ในกระบวนการวางแผนการจะต้องจัดให้มสี งิ่ ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ : • ข้อมูลข่าวสารทีเ่ ป็ นปจั จุบนั ทีอ่ ธิบายถึงสถานการณ์ของเหตุฉุกเฉินและสถานะของทรัพยากร เอาไว้อย่างถูกต้อง • การคาดการณ์ทศิ ทางทีน่ ่าจะเป็นไปได้ของเหตุฉุกเฉิน • กลยุทธ์ทางเลือกพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ทส่ี าคัญ ๆ ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน • แผนเผชิญเหตุทถ่ี ูกต้องและปฏิบตั ไิ ด้จริงสาหรับการปฏิบตั ิภารกิจในช่วงต่อไป ขัน้ ตอนหลักห้าขัน้ ตอนที่ค วรต้องปฏิบตั ิตามลาดับ เพื่อทาให้มนใจว่ ั ่ าจะได้แผนเผชิญเหตุท่มี ี ลักษณะครอบคุลมครบวงจร ขัน้ ตอนเหล่านี้ได้รบั การกาหนดมาเพื่อช่วยให้สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ ของการจัดการเหตุฉุกเฉินภายในระยะเวลาที่กาหนด ในแผนเผชิญเหตุต้ องระบุทศิ ทางเชิงกลยุทธ์ท่ี ชัดเจนและรวมถึงการกาหนดยุทธวิธ ี รายการทรัพยากรที่มอี ยู่ ทรัพยากรสารอง และการสนับสนุ นที่ จาเป็ นส าหรับ การปฏิบ ัติก ารกิจ ให้บรรลุ ว ตั ถุ ป ระสงค์ท่ีค รอบคุ ล มของการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิ น แต่ ล ะ วัตถุประสงค์ แผนเผชิญเหตุทค่ี รอบคลุมจะระบุลาดับหรือความต่อเนื่องของเหตุฉุกเฉินเพื่อให้การจัดการ เหตุฉุกเฉินบรรลุวตั ถุประสงค์โดยวิธปี ระสานงานกัน อย่างไรก็ตามแผนเผชิญเหตุเป็ นเอกสารที่มชี วี ติ (สามารถเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง แก้ไ ขได้) ที่จดั ทาขึ้นโดยอาศั ย ข้อ มูล ข่าวสารที่ดีท่สี ุ ดที่ได้รบั มาใน ระหว่างที่มกี ารประชุมการวางแผน ในที่ประชุมการวางแผนไม่ควรจะรีรอหรือ ล่าช้าในการคาดคะเน ข้อมูลข่าวสารในอนาคต ขัน้ ตอนหลักของกระบวนการวางแผนดังกล่าว เป็ นขัน้ ตอนหลักเดียวกันสาหรับผู้บญ ั ชาการ เหตุการณ์ใช้ในการจัดทาแผนเบื้องต้น ; สาหรับผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์และหัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ ารใช้ใน การแก้ไขแผนเบื้องต้นให้สอดคล้องกับการปฏิบตั ิการที่มกี ารขยายเวลาออกไป ; และสาหรับทีมงาน จัดการเหตุฉุกเฉินใช้ในการจัดทาแผนเผชิญเหตุทเ่ี ป็นทางการ ในช่วงระยะแรกของการจัดการ ภาคผนวก ข : การบัญชาการเหตุการณ์ เหตุฉุกเฉินผู้จดั ทาแผนควรต้อ งจัดทาแผนที่ง่ายไม่ซบั ซ้อนที่สามารถสื่อสารกันได้ โดยวิธกี าร สรุปอย่างรวบรัดด้วยวาจา มีบ่อยครัง้ ที่จะต้องจัดทาแผนนี้อย่างรวดเร็ว และในขณะที่มขี อ้ มูลข่าวสาร เกี่ยวกับสถานการณ์ทไ่ี ม่สมบูรณ์ ในขณะทีค่ วามพยายามในการจัดการเหตุฉุกเฉินดาเนินไปนัน้ ปจั จัย ต่าง ๆ ที่ได้รบั หรือเกิดขึ้นเพิม่ เติม เช่น ช่วงระยะเวลาระหว่างการวางแผนกับการปฏิบตั กิ าร จานวน เจ้าหน้าที่ ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีจะช่วยให้การวางแผนทีม่ รี ายละเอียดเพิม่ มากขึน้ และช่วยให้ สามารถจัดลาดับเหตุการณ์และบทเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ภิ ารกิจได้ ขัน้ ตอนหลักของกระบวนการวางแผนห้าขัน้ ตอนประกอบด้วย : 1 สร้างความเข้าใจในสถานการณ์
157
ขัน้ ตอนแรกนี้ ร วมถึง การรวบรวม การบัน ทึก การวิเ คราะห์ และการน าเสนอข้อ มูล ข่า สาร เกีย่ วกับสถานการณ์ ทรัพยากร และเหตุฉุกเฉินทีก่ าลังจะเกิดขึน้ ในลักษณะทีจ่ ะช่วยให้ : • มีความตระหนักและการรับรูต้ ่อสถานการณ์เกี่ยวกับขนาดความรุนแรง ความซับซ้อนของเหตุ ฉุกเฉินและผลกระทบทีอ่ าจจะเกิดขึน้ • มีค วามสามารถที่ จ ะก าหนดทรัพ ยากรที่ จ าเป็ น ส าหรับ การจัด ท าแผนเผชิญ เหตุ ท่ี ม ี ประสิทธิภาพและสาหรับการปฏิบตั ติ ามแผน 2 กาหนดวัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉิ นและกลยุทธ์ ขัน้ ตอนที่สองรวมถึงการกาหนดวัตถุประสงค์ท่ีสามารถวัดได้ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน พร้อม ทัง้ การจัดลาดับความสาคัญของวัตถุประสงค์ดงั กล่าว และการกาหนดกลยุทธ์ท่เี หมาะสม วัตถุประสงค์ ของการจัดการเหตุฉุกเฉินและกลยุทธ์จะต้องสอดคล้องกับภาระผูกพันทางกฎหมาย และวัตถุประสงค์ ของการจัดการของหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อ งทัง้ หมด และอาจจาเป็ นต้อ งรวมถึง ประเด็นปญั หาเฉพาะที่ เกีย่ วกับโครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ คี วามสาคัญยิง่ กลยุทธ์ทางเลือกทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะช่วยให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉินโดยรวมจะ ได้รบั การกาหนด วิเคราะห์และประเมินเพื่อทีจ่ ะกาหนดกลยุทธ์ทเ่ี หมาะสมทีส่ ุดในการรับ มือสถานการณ์ เฉพาะหน้า เกณฑ์ในการประเมินจะครอบคลุมถึงปจั จัยด้านสาธารณสุข และความปลอดภัย การใช้จ่ายที่ ประมาณการไว้ และข้อควรพิจารณาด้านสิง่ แวดล้อม กฎหมาย และการเมือง ก่อนทีจ่ ะมีการประชุมอย่างเป็ นทางการสมาชิกของทีมงานบัญชาการและทีมงานปฏิบตั กิ ารแต่ ละคนมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารเฉพาะบางอย่าง เพื่อใช้สนับสนุ นแผนทีจ่ ะเสนอต่อ ทีป่ ระชุม 4 การจัดเตรียมและการแจกจ่ายแผน ขัน้ ตอนทีส่ จ่ี ะเกี่ยวข้องกับการจัดเตรียมด้านรูปแบบของแผนทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกับระดับ ความซับซ้อนของเหตุฉุกเฉิน สาหรับการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ในระยะเริม่ ต้น รูปแบบของแผนควรจะเป็ น การสรุปประเด็นสาคัญ ซึง่ ได้เตรียมไว้เป็ นอย่างดีสาหรับการบรรยายสรุปด้วยวาจา สาหรับเหตุฉุกเฉิน ส่ว นใหญ่ ท่จี ะต้อ งขยายช่วงเวลาในการปฏิบตั ิการออกไปนัน้ รูปแบบของแผนควรจะจัดทาเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรตามขัน้ ตอนปฏิบตั ขิ องระบบการบัญชาการเหตุการณ์
158
5 นาแผนไปปฏิ บตั ิ การประเมิ นผล และแก้ไขแผน กระบวนการวางแผนจะรวมถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้องดาเนินกิจกรรมทีไ่ ด้กาหนดไว้ในแผน และ ประเมินผลการดาเนินงาน รวมถึงตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลข่าวสารทีจ่ ะใช้ในการวางแผนสาหรับ ช่วงระยะเวลาการปฏิบตั กิ ารรอบที่ตามมาภายหลัง ทีมงานปฏิบตั กิ ารควรต้องดาเนินการเปรียบเทียบ ความก้าวหน้าของการปฏิบตั กิ ารที่วางแผนไว้กบั ความก้าวหน้าที่เป็ นจริงเมื่อมีความเบี่ยงเบนเกิดขึ้น และเมือ่ มีขอ้ มูลข่าวสารใหม่เกิดขึน้ ควรจะต้องรวมไว้ในขัน้ ตอนแรกของกระบวนการวางแผน สาหรับใช้ ในการปรับเปลีย่ นแผนหรือใช้ในการจัดทาแผนสาหรับช่วงระยะเวลาการปฏิบตั กิ ารรอบทีต่ ามมาภายหลัง ข. หน้ าที่ความรับผิดชอบและกิ จกรรมวางแผนเฉพาะเจาะจง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1 วงจรการวางแผนช่วงระยะเวลาการปฏิ บตั ิ การ ภาพประกอบ ข – 9 เป็นการแสดงวงจรการวางแผน ภาพประกอบ ข – 9 : วงจรการวางแผนช่วงระยะเวลาการปฏิบตั งิ าน การประชุมยุทธวิธ ี
การจัดเตรียมการ ประชุมวางแผน
การเตรียมแผน เผชิญเหตุ & การให้ ความเห็นชอบ
การจัดเตรียม การประชุมยุทธวิธ ี การประชุมทีมงาน บัญชาการ และทีมงาน ปฏิบตั กิ าร
การประชุมเบือ้ งต้นของผูบ้ ญ ั ชาการ เหตุการณ์/หน่วยบัญชาการร่วม การบรรยายสรุปโดยใช้ แบบฟอร์ม ICS 201 การปฏิบตั กิ ารตอบโต้ในเบือ้ งต้น และการประเมินผลการปฏิบตั กิ าร การแจ้งเหตุ เกิดเหตุฉุกเฉิน/ มีการจัดงานมหกรรม
การบรรยายสรุป การปฏิบตั กิ าร นาแผนไปปฏิบตั ิ และประเมิน ความก้าวหน้า
การปฏิบตั กิ ารตอบโต้ ในเบือ้ งต้น
การประชุมผูบ้ ญ ั ชาการเหตุ การณ์/หน่วยบัญชาการร่วม เพื่อกาหนดวัตถุประสงค์ และปรับให้เป็ นปจั จุบนั
การประชุมวางแผน
เริม่ ต้นช่วงระยะเวลา การปฏิบตั กิ ารรอบใหม่
159
* ในระหว่างช่วงเวลานี้ สามารถทีจ่ ะจัด้ ให้มกี ารประชุมกับผูอ้ านวยการ/ผูบ้ ริหารของหน่วยงาน ภาคผนวก ข : การบัญชาการเหตุการณ์ 2 ขัน้ ตอนการวางแผน : การสร้างความเข้าใจในสถานการณ์ แ ละการกาหนดวัตถุประสงค์และ กลยุทธ์ ก่อนมีการประชุมการวางแผนครัง้ แรก (ถ้าเป็ นไปได้ ต้องได้รบั แบบฟอร์มการบรรยายสรุปเหตุ ฉุกเฉินทีแ่ ล้วเสร็จสมบูรณ์ (ICS 201) หัวหน้าส่วนแผนงานควรจะต้องดาเนินการดังต่อไปนี้ • ประเมินสถานการณ์ปจั จุบนั และตัดสินใจว่าแผนในปจั จุบนั มีเพียงพอสาหรับช่วงระยะเวลาการ ปฏิบตั กิ ารทีเ่ หลืออยูห่ รือไม่ (เช่น จนกว่าจะถึงเวลาทีจ่ ะนาแผนต่อไปมาใช้) • แนะนาผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์และหัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ าร เกี่ยวกับการแก้ไขแผนทีก่ าลังใช้อยู่ ตามทีไ่ ด้รบั การแนะนาตามความจาเป็น • กาหนดวงจรการจัดทาแผนการรับมือเหตุฉุกเฉิน • เข้า ร่ว มประชุ ม การก าหนดวัต ถุ ป ระสงค์เ มื่อ ได้ร ับ การร้อ งขอ เพื่อ ช่ ว ยก าหนด/ปรับ ปรุ ง วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์การจัดการเหตุฉุกเฉิน ส่วนใหญ่การกาหนดวัตถุประสงค์และกลยุทธ์จะเป็ น ภาระหน้าทีข่ องผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่วยบัญชาการร่วมเพียงลาพัง • เข้าร่วมประชุมยุทธวิธหี ากมีการจัดประชุมเพื่อทบทวนยุทธวิธที ห่ี วั หน้าส่วนปฏิบตั กิ ารกาหนด ขึน้ • กาหนดตัวบุคคลที่จะเข้าร่วมประชุมวางแผน โดยปรึกษาหารือกับผู้บญ ั ชากรเหตุการณ์ ใน กรณีเกิดเหตุฉุกเฉินขนาดใหญ่ ผูท้ จ่ี ะเข้าร่วมประชุมควรต้องรวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ : - ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ - สมาชิกทีมงานบัญชาการ - สมาชิกทีมงานปฏิบตั กิ าร - หัวหน้าหน่วยทรัพยากร - หัวหน้าหน่วยสถานการณ์ - ผูก้ ากับดูแลสาขาปฏิบตั กิ ารทางอากาศ (ถ้ามีการจัดตัง้ ) - หัวหน้าหน่วยสื่อสาร - ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง (หากจาเป็น) - ผูแ้ ทนหน่วยงาน (หากจาเป็น) • กาหนดสถานทีแ่ ละเวลาสาหรับการประชุมวางแผน • จัดให้มอี ุปกรณ์และแบบฟอร์มสาหรับใช้ในการจัดทาแผน • แจ้งเรื่องการประชุมให้เ จ้าหน้ าที่ด้านการสนับสนุ นเท่าที่จาเป็ นทราบ พร้อ มทัง้ มอบหมาย ภารกิจให้เจ้าหน้าทีด่ งั กล่าวด้วย • ดาเนินการให้ได้มาซึง่ การประมาณการทรัพยากรทีจ่ ะได้รบั เพื่อใช้ในการวางแผนสาหรับช่วง ระยะเวลาการปฏิบตั ภิ ารกิจรอบต่อไป
160
• ดาเนินการให้ได้มาซึ่งข้อจากัดด้านนโยบาย ด้านกฎหมายและด้านการเงินของหน่ วยงานที่ จาเป็นเพื่อใช้ในการประชุม 3 การดาเนิ นการประชุมวางแผน โดยปกติหวั หน้าส่วนแผนงานจะทาหน้าทีด่ าเนินการประชุมวางแผน ลาดับขัน้ ตอนดาเนินการที่ อธิบายไว้ด้านล่างนี้ มีจุดมุ่งหมายที่ช่วยหัวหน้าส่วนแผนงานในการจัดทาแผนเผชิญเหตุ ขัน้ ตอนการ วางแผนเหล่านี้จะใช้กบั แผ่นตารางแผนปฏิบตั กิ าร (Operational Planning Worksheet : ICS 215) ก บรรยายสรุปเกี่ยวกับสถานการณ์ สถานะของทรัพยากรและความน่ าจะเป็ นของเหตุฉุกเฉิ น หัวหน้าส่วนแผนงานและ/หรือ หัวหน้าหน่ วยทรัพยากรและสถานการณ์ ควรต้องบรรยายสรุป สถานการณ์ปจั จุบนั ข้อมูลข่าวสารทีใ่ ช้สาหรับการบรรยายสรุปอาจมาจากแหล่งใดแหล่งหนึ่งหรือจากทุก แหล่งดังต่อไปนี้ • ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ในเบือ้ งต้น • การบรรยายสรุปเกีย่ วกับเหตุฉุกฉินทีเ่ กิดขึน้ (ICS 201) • การสังเกตุการณ์ในพืน้ ที่ • การรายงานการปฏิบตั กิ าร • แหล่งข้อมูลระดับภูมภิ าค และรายงานสถานการณ์ ข กาหนดวัตถุประสงค์/ทบทวนวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วยบัญชาการร่วมจะรับผิดชอบขัน้ ตอนนี้ วัตถุประสงค์ของการบริหาร จัดการเหตุฉุกเฉินทีก่ าหนดขึน้ จะไม่จากัดเฉพาะช่วงระยะเวลาปฏิบตั กิ ารรอบหนึ่งรอบใดเพียงรอบเดียว แต่จะพิจารณาถึงสถานการณ์เหตุฉุกเฉินโดยรวม ผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วยบัญชาการร่วม จะทา หน้าทีก่ าหนดกลยุทธ์ทวั ่ ๆ ไปทีจ่ ะต้องใช้ ; ระบุขอ้ จากัดทีส่ าคัญ (ด้านนโยบาย ด้านกฎหมาย หรือด้าน การเงิน) ทีม่ ผี ลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ ; และเสนอข้อพิจารณาฉุกเฉินทีเ่ หมาะสม ค ทาเครื่องหมายแสดงเส้ นแบ่งเขตการปฏิ บตั ิ การ กาหนดขอบเขตสาขา/พื้นที่ ปฏิ บตั ิ การ และ กาหนดภาระหน้ าที่ของกลุ่มภารกิ จ โดยปกติหวั หน้าส่วนปฏิบตั กิ ารจะเป็ นผูด้ าเนินการขัน้ ตอนนี้ให้บรรลุผล (สาหรับการปฏิบตั กิ าร ในช่ ว งระยะเวลาต่ อ ไป) โดยร่ ว มมือ กับ หัว หน้ า ฝ่า ยแผนงาน และจะท าหน้ า ที่ก าหนดขอบเขตการ ปฏิบตั ิการตามพื้นที่ทางภูมศิ าสตร์ สาหรับสาขาและพื้นที่ปฏิบตั ิ การ และกาหนดความจาเป็ นในการ มอบหมายภาระหน้าทีใ่ ห้กลุ่มภารกิจในช่วงระยะเวลาการปฏิบตั กิ ารรอบต่อไป ขอบเขตการปฏิบตั กิ ารจะ ได้รบั การทาเครือ่ งหมายลงในแผนที่
161
ง กาหนดยุทธวิ ธีสาหรับแต่ละเขตพื้นที่ปฏิ บตั ิ การ/กลุ่มภารกิ จ หลังจากการกาหนดขอบเขตการปฏิบตั กิ ารตามพื้นที่ทางภูมศิ าสตร์ให้กบั เขตพื้นที่ปฏิบตั กิ าร (Division) หรือ การก าหนดภาระหน้ าที่ใ ห้กับกลุ่ มภารกิจ แล้ว หัว หน้ าส่ ว นปฏิบตั ิก ารจะกาหนดและ มอบหมายภาระหน้าที่เฉพาะเจาะจงที่จะต้องปฏิบตั ิในช่วงระยะเวลาการปฏิบตั กิ ารรอบต่อไป ยุทธวิธ ี (การมอบหมายภาระหน้าที)่ จะต้องมีความเฉพาะเจาะจงและอยู่ภายในขอบเขตวัตถุประสงค์ทวไป ั ่ และ กลยุทธ์ทก่ี าหนดโดยผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วยบัญชาการร่วม การมอบหมายภาระหน้าทีเ่ หล่านี้ควร จะต้องบันทึกไว้ในแผ่นตารางแผนปฏิบตั กิ าร (ICS 215) และในช่วงเวลานี้ผบู้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วย บัญชาการร่วม หัวหน้ าส่วนปฏิบตั กิ ารและหัวหน้ าส่วนแผนงานควรจะต้องพิจารณาถึงความจาเป็ นที่ จะต้องมีกลยุทธ์ และยุทธวิธที างเลือกและจะต้องทาให้มนใจได้ ั่ ว่า กลยุทธ์และยุทธวิธที างเลือกเหล่านี้ ได้รบั การบันทึกลงในแผ่นตารางแผนปฏิบตั กิ าร จ กาหนดทรัพยากรที่เขตพื้นที่ปฏิ บตั ิ การ/กลุ่มภารกิ จจาเป็ นต้องใช้ หลังจากการกาหนดยุทธวิธสี าหรับแต่ละพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร/กลุ่มภารกิจแล้ว หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ าร ร่วมกับหัวหน้าส่วนแผนงานจะกาหนดทรัพยากรทีจ่ าเป็ นสาหรับปฏิบตั ภิ าระหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมายให้ บรรลุผล ทรัพยากรทีจ่ าเป็ นเหล่านี้จะได้รบั การบันทึกลงในแผ่นตารางแผนปฏิบตั กิ าร (ICS 215) การ พิจารณาทรัพยากรทีจ่ าเป็ นต้องใช้ควรต้องคานึงถึงประเภทของทรัพยากรทีจ่ าเป็ นสาหรับปฏิบตั ภิ ารกิจ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้สาเร็จลุล่วง ฉ ระบุสถานที่ทาการสนับสนุนการปฏิ บตั ิ การและรายงานตัวและทาเครื่องหมายลงในแผนที่ หัวหน้ าส่ว นปฏิบตั ิก ารร่วมกับหัวหน้ าส่วนแผนงานและหัวหน้ าส่ วนสนับสนุ นกาลังบารุงควร จะต้องกาหนดและจัดหาสถานที่ทาการสนับสนุ นการปฏิบตั กิ าร และสถานทีร่ ายงานตัวที่จาเป็ นสาหรับ การปฏิบตั ภิ ารกิจที่ส่วนปฏิบตั ิการมอบหมายให้บรรลุผล หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ ารควรต้องระบุเวลาการ รายงานตัว ตามข้อ กาหนดส าหรับทรัพยากร และเวลาในการมอบหมายภาระหน้ าที่ใ ห้กับทรัพยากร ประเภทใดประเภทหนึ่งเป็ นพิเศษ ช พัฒนาวิ ธีการจัดซื้อทรัพยากร หัวหน้าส่วนแผนงานควรต้องประเมินความต้องการทรัพยากร โดยยึดหลักความจาเป็ นทีจ่ ะต้อง ใช้ทส่ี ่วนปฏิบตั กิ ารกาหนดและข้อมูลเกีย่ วกบทรัพยากรทีไ่ ด้รบั จากหน่ วยทรัพยากร เป็ นฐาน แผ่นตาราง แผนปฏิบตั ิการที่ดาเนินการแล้วเสร็จอย่างถูกต้องสมบูรณ์ (ICS 215) จะแสดงให้เห็นถึงจานวนและ ประเภทของทรัพยากรทีจ่ าเป็นต้องใช้ และทรัพยากรทีม่ อี ยูเ่ พื่อตอบสนองความต้องการเหล่านัน้ การหัก ลบจานวนทรัพยากรที่มอี ยู่ออกจากจานวนทรัพยากรที่ต้ องการใช้ จะชี้ให้แห็นถึงความจาเป็ นที่จะต้อง ได้รบั ทรัพยากรอย่างใดอย่างหนึ่งเพิม่ เติม จากการดาเนินการประเมินดังกล่าวนี้จะช่วยให้สามารถพัฒนา วิธกี ารสังซื ่ ้อทรัพยากรขึ้นใหม่ และเสนอให้ผู้บญ ั ชาการเหตุ การณ์หรือหน่ วยบัญชาการร่วมให้ความ เห็นชอบ และหลังจากนัน้ ส่วนสนับสนุนกาลังบารุงจะนาเข้าสู่ช่องทางการจัดส่งตามปกติต่อไป
162
ซ พิ จารณาความจาเป็ นของแผนการสื่อสาร แผนการบริ หารทางการแพทย์และแผนการจราจร โดยปกติแผนเผชิญเหตุจะประกอบด้วยวัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน (ICS 202) ผัง องค์กร (ICS 203) บัญชีการมอบหมายภาระหน้าที่ (ICS 204) และแผนที่สถานที่เกิดเหตุ สาหรับเหตุ ฉุ กเฉินที่มขี นาดใหญ่ขน้ึ อาจจาเป็ นต้องมีแผนสนับสนุ นด้านอื่น ๆ แนบเพิม่ เติม เช่น แผนการสื่อสาร ทางวิทยุ เพื่อการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน (ICS 205) แผนการบริการทางการแพทย์ (ICS 206) และอาจจะมี แผนการจราจรเพิม่ เติมด้วย หัวหน้ าส่วนแผนงานควรต้องกาหนดสิง่ ที่จะต้องแนบเพิม่ เติมและทาให้ มันใจได้ ่ ว่าหน่ วยทีเ่ หมาะสมได้จดั เตรียมสิง่ ทีต่ ้องแนบเพิม่ เติม โดยปกติ แผนเผชิญเหตุและสิง่ ทีจ่ ะต้อง แนบเพิม่ เติมจะรวมถึงรายการต่าง ๆ ทีร่ ะบุไว้ในตาราง ข – 2 ตาราง ข – 2 แผนเผชิญเหตุและเอกสารแนบประกอบ เอกสารที่ต้องแนบประกอบ - วัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน (ICS 202) - รายชื่อหรือแผนภูมอิ งค์กรและเจ้าหน้าทีท่ ก่ี าลังปฏิบตั ิ ภาระหน้าที่ (ICS 203) - บัญชีการมอบหมายภาระหน้าที่ (ICS 204) - แผนการสื่อสารทางวิทยุเพื่อการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน (ICS 205) - แผนการบริการทางการแพทย์ (ICS 206) - แผนทีแ่ สดงพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ - แผนความปลอดภัย/ข้อมูลข่าวสารความปลอดภัย (ICS 208)
โดยปกติ จดั เตรียมโดย - ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ - หน่วยทรัพยากร - หน่วยทรัพยากร - หน่วยสื่อสาร - หน่วยบริการทางการแพทย์ - หน่วยสถานการณ์ - เจ้าหน่ ายทีฝ่ า่ ยความปลอดภัย
เอกสารอื่น ๆ ที่จาเป็ นต้องแนบประกอบ (ขึ้นอยู่กบั เหตุฉุกเฉิ นที่เกิ ดขึ้น) - การสรุปการปฏิบตั กิ ารทางอากาศ (ICS 220) - แผนการจราจร - แผนการจัดทาเอกสาร - แผนการจัดการหรือการกาจัดของเสีย - การแจ้งถอนกาลังออกจากพืน้ ที่ (ICS 221) - แผนความปลอดภัยของสถานทีท่ าการ
- แผนการสืบสวน - แผนการค้นหาหลักฐาน - แผนการอพยพหนีภยั - แผนการจัดทีพ่ กั พิง/การดูแลผูเ้ จ็บปว่ ยจานวนมาก - อื่น ๆ (ตามความจาเป็น)
- การปฏิบตั กิ ารทางอากาศ - หน่วยสนับสนุ นภาคพืน้ ดิน - ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง - ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง - หน่วยถอนกาลัง - ฝา่ ยบังคับใช้กฎหมาย ผูเ้ ชีย่ วชาญ พิเศษเฉพาะทาง หรือผูจ้ ดั การด้าน ความปลอดภัย - ฝา่ ยบังคับใช้กฎหมาย - ฝา่ ยบังคับใช้กฎหมาย - ตามความจาเป็น - ตามความจาเป็น - ตามความจาเป็น
163
ฌ ทาให้เสร็จสมบูรณ์ ให้ความเห็นชอบ และนาแผนเผชิ ญเหตุไปปฏิ บตั ิ ส่วนแผนงานร่วมกับส่วนปฏิบตั กิ ารจะรับผิดชอบในการติดตาม เพื่อให้แน่ ใจได้ว่าแผนเผชิญเหตุ แล้วเสร็จสมบูรณ์ และได้รบั การทบทวน และได้แจกจ่ายไปให้ผทู้ เ่ี กี่ยวข้องนาไปปฏิบตั ิ ต่อไปนี้คอื ลาดับ ขัน้ ตอนในการดาเนินการให้บรรลุผล : • กาหนดเส้นตายสาหรับการจัดทาเอกสารที่จะต้องแนบประกอบแผนเผชิญเหตุให้แล้วเสร็จ สมบูรณ์ (ดูตาราง ข – 3) • ดาเนินการให้ได้มาซึ่งแผนต่าง ๆ ที่จะต้องแนบประกอบและทบทวนแผนเหล่านี้เพื่อความ ถูกต้องสมบูรณ์ และได้รบั ความเห็นชอบ ก่อนที่แผนจะแล้วเสร็จสมบูรณ์ หัวหน้าส่วนแผนงานควรต้อง ทบทวนภาระหน้าที่ทม่ี อบหมายให้กลุ่มภารกิจและเขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารดาเนินการนัน้ มีการเปลีย่ นแปลง ไปเนื่อ งจากการขาดทรัพ ยากรที่พ ร้อ มใช้ง านหรือ ไม่ ดัง นัน้ หน่ ว ยทรัพ ยากรอาจจะถ่ า ยโอนข้อ มูล เกีย่ วกับการมอบหมายภาระหน้าทีข่ องกลุ่มภารกิจ และเขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารรวมทัง้ ทางเลือกต่าง ๆ จาก แผ่นตารางแผนปฏิบตั กิ าร (ICS 215) ไปยังบัญชีการมอบหมายภาระหน้าทีข่ องเขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร (ICS 204) • กาหนดจานวนแผนเผชิญเหตุทต่ี อ้ งการ • เตรียมการร่วมกับหน่วยจัดทาเอกสารเพื่อจัดพิมพ์แผนเผชิญเหตุเพิม่ เติม • ทบทวนแผนเผชิญเหตุ เพื่อให้มนใจได้ ั่ ว่าทันต่อเหตุการณ์ และจะแล้วเสร็จสมบูรณ์ก่อนทีจ่ ะมี การบรรยายสรุปการปฏิบตั กิ ารและการแจกจ่ายแผน • บรรยายสรุ ป แผนเผชิญ เหตุ ต ามความจ าเป็ น และแจกจ่า ยแผนก่ อ นที่ช่ ว งระยะเวลาการ ปฏิบตั กิ ารรอบใหม่จะเริม่ ขึน้ เอกสารอื่น ๆ ที่จาเป็ นต้องแนบประกอบ (ขึ้นอยู่กบั เหตุฉุกเฉิ นที่เกิ ดขึ้น) ICS 201 (หน้า 1)** แผนทีส่ าหรับการบรรยายสรุปเหตุฉุกเฉิน ICS 201 (หน้า 2)** การสรุปการดาเนินการในปจั จุบนั ICS 201 (หน้า 3)** การจัดองค์กรในปจั จุบนั ICS 201 (หน้า 4)** การสรุปเกีย่ วกับทรัพยากร ICS 202 วัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน ICS 203 บัญชีรายชื่อองค์กรและเจ้าหน้าทีท่ ก่ี าลังปฏิบตั ภิ ารกิจ ICS 204 บัญชีการมอบหมายภารกิจ ICS 205 แผนการสื่อสารเหตุฉุกเฉินทางวิทยุ ICS 206 แผนการบริการทางการแพทย์ ICS 207 แผนภูมกิ ารจัดองค์กรในการจัดการเหตุฉุกเฉิน (ติดไว้ทผ่ี นังห้องในทีท่ าการ) ICS 209 การสรุปสถานะเหตุฉุกเฉิน ICS 210 การเปลีย่ นแปลงของสถานะ ICS 211 บัญชีการรายงานตัวของทรัพยากร ICS 213 ข้อความทัวไป ่ ข้อมูลข่าวสารทัวไป ่ ICS 215 แผ่นตารางแผนปฏิบตั กิ าร ICS 215 A การวิเคราะห์ความเสีย่ งภัย
164
* แบบฟอร์ม ICS เป็นเอกสารแนะนาในการจัดเขียนแผนเผชิญเหตุของหน่ วยงาน การเปลีย่ นแปลงแก้ไข แบบฟอร์ม เพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการของหน่ วยงานมากยิง่ ขึน้ นัน้ สามารถที่จะกระทาได้ ตราบ เท่าทีไ่ ม่มกี ารเปลีย่ นแปลงแก้ไขลักษณะและตัวเลขกากับแบบฟอร์ม ** แบบฟอร์ม ICS 201 เป็นแบบฟอร์มทีใ่ ช้สาหรับการสรุปซึง่ จะแจกจ่ายให้เมื่อเริม่ เกิดเหตุ ฉุกเฉิน ข้อมูล ข่าวทีไ่ ด้จากแบบฟอร์ม ICS 201 สามารถนามาใช้ในการจัดทาแผนเผชิญเหตุ แต่อาจจะไม่จาเป็ นต้อง แนบแบบฟอร์มนี้รวมกับแผนเผชิญเหตุทเ่ี ป็นลายลักษณ์อกั ษรอย่างเป็ นทางการ ภาคผนวก ข : ระบบการบัญชาการเหตุการณ์
ตาราง 9 แบบฟอร์มของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------เอกสารส่ว นนี้จะอธิบายเกี่ยวกับแบบฟอร์มทัวไปของระบบการบั ่ ญชาการเหตุ การณ์ บางแบบฟอร์ม แบบฟอร์มแต่ละแบบอาจจะสร้างขึน้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของหน่ วยงานต่าง ๆ ทีส่ าคัญยิง่ กว่านี้ คือ ถึงแม้ว่ารูปแบบของแบบฟอร์มจะมีความยืดหยุ่น แต่ตวั เลขกากับแบบฟอร์มและจุดประสงค์ของ แบบฟอร์มที่เฉพาะเจาะจงบางแบบฟอร์ม (เช่น บัญชีการมอบหมายภารกิจ (ICS 204) ที่ใช้เพื่อการ มอบหมายภาระหน้าทีใ่ ห้กลุ่มภารกิจหรือ เขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร) จะต้องรักษารูปแบบเดิมเอาไว้ เพื่อรักษา ความคงเส้นคงวาไว้และเพื่ออานวยความสะดวกในการจาแนกและการใช้ในการปฏิบตั งิ านร่วมกัน และ เพื่อความสะดวกในการใช้งาน ก แบบฟอร์มของระบบการบัญชากรเหตุการณ์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ต่อไปนี้จะเป็นการอธิบายแบบฟอร์มของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ทค่ี ดั เลือกมาเป็ น บางส่วนโดยย่อ รายการแบบฟอร์มนี้ไม่ได้รวมเอาแบบฟอร์มทัง้ หมด แบบฟอร์มนอกเหนือจากนี้จานวน มากสามารถดูได้จากระบบออนไลน์ 1 ICS 201 – การบรรยายสรุปเหตุการณ์ ส่วนใหญ่ผู้ท่ใี ช้แบบฟอร์มนี้คอื ผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์ท่ที าหน้ าที่ในช่วงที่เริม่ เกิดเหตุฉุกเฉิน แบบฟอร์มนี้แบ่งออกเป็ นสีส่ ่วน (ส่วนใหญ่จะจัดทาขึน้ เป็ นสีห่ น้า) จะช่วยให้ได้รบั ข้อมูลข่า วสารทีส่ าคัญ เกีย่ วกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ก่อนทีจ่ ะดาเนินการตามขัน้ ตอนการวางแผนอย่างเป็ นทางการ แบบฟอร์ม ICS 201 จะช่วยให้การบรรยายสรุปการบัญชาการในช่วงการเปลีย่ นผ่านให้กบั ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์คน ใหม่ท่จี ะเข้ามารับหน้ าที่แทนมีความกระชับและสมบูรณ์ นอกเหนือจากนี้ แบบฟอร์มนี้อาจใช้ใ นการ จัดท าเอกสารอ้างอิงเกี่ยวกับ ขอบเขตสูง สุ ดของการบัญ ชาการและการควบคุ ม เหตุ ฉุ กเฉิ น ถ้า หาก สถานการณ์ได้รบั การแก้ไขให้สาเร็จลุล่วงได้โดยการปฏิบตั กิ ารของทรัพยากรตอบโต้ชุดแรก และองค์กร ตอบโต้อ งค์กรแรก แบบฟอร์มนี้ได้รบั การออกแบบมาให้สามารถ่ ายโอนได้ไม่ยากให้กบั สมาชิกของ ทีมงานบัญชาการและทีมงานปฏิบตั กิ ารทีเ่ พิง่ เดินทางมาถึง และเพิง่ เริม่ ต้นปฏิบตั งิ าน แบบฟอร์มนี้ไม่ได้ รวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของแผนเผชิญเหตุทท่ี าเป็นลายลักษณ์อกั ษรอย่างเป็นทางการ
165
2 ICS 202 – วัตถุประสงค์ของการบริ หารจัดการเหตุการณ์ แบบฟอร์ม ICS 202 จะใช้จดั เป็ นหน้าแรกของแผนเผชิญเหตุทเ่ี ป็ นลายลักษณ์อกั ษร ในแบบฟอร์มนี้ จะครอบคลุ มถึงข้อ มูล ข่าวสารเกี่ยวกับเหตุ ฉุ กเฉิ นที่เ กิดขึ้น ; รายการวัต ถุ ประสงค์ของผู้บญ ั ชาการ เหตุการณ์สาหรับช่วงระยะเวลาปฏิบตั กิ ารนัน้ ; ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสภาพอากาศทีเ่ กี่ยวข้องกับเหตุ ฉุ กเฉิน ; ข้อมูลข่าวสารความปลอดภัย ; และสารบัญหรือบัญชีเรื่องในแบบฟอร์มนี้จะมีช่องสาหรับผู้ กรอกลงชื่อด้วย 3 ICS 203 – รายชื่อองค์กรและเจ้าหน้ าที่ที่ได้รบั มอบหมายภารกิ จ โดยทัวไปแบบฟอร์ ่ ม ICS 203 จะเป็นหน้าทีส่ องของแผนเผชิญเหตุ ในแบบฟอร์มนี้จะมีการ อธิบายถึงการจัดการเหตุฉุกเฉินทีค่ รอบคลุมทุกด้าน รวมถึงรายชื่อเจ้าหน้าทีท่ ก่ี ากับดูแลในช่วง ระยะเวลาการปฏิบตั กิ ารในช่วงนัน้ 4 ICS 204 – บัญชีรายการการมอบหมายภาระหน้ าที่ แบบฟอร์ม ICS 204 ทีต่ ้องรวบรวมไว้ในแผนเผชิญเหตุจะมีหลายชุด จานวนแบบฟอร์มดังกล่ าว จะขึน้ อยู่กบั การจัดโครงสร้างองค์กรของส่วนปฏิบตั กิ ารในช่วงระยะเวลาการปฏิบตั กิ ารนัน้ แต่ละเขต พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร/กลุ่มภารกิจต้องจัดพิมพ์รายชื่อของผูก้ บั ดูแลเขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร/กลุ่มภารกิจ (รวมถึงผู้ ควบคุ มดูแ ลสาขา หากมีก ารแต่ งตัง้ ) และทรัพยากรที่ได้รบั มอบหมายภารกิจที่เฉพาะเจาะจงพร้ อ ม รายชื่อหัวหน้า และจานวนหน้าทีป่ ระจาทรัพยากรดังกล่าว ลงในหนึ่งหน้ากระดาษ เพื่อประกอบในแผน เผชิญ เหตุ ดัง นัน้ เอกสารดังกล่ า วนี้จ ะชี้แจงในรายละเอียดการปฏิบตั ิการเฉพาะเจาะจงที่เ ขตพื้น ที่ ปฏิบตั ิการและกลุ่มภารกิจจะต้องดาเนินการเพื่อสนับสนุ นการบรรลุวตั ถุประสงค์ของการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิน นอกจากนี้จะมีการรวมเอาคาสังหรื ่ อข้อชีแ้ นะพิเศษต่าง ๆ รวมทัง้ แผนการสื่อสารทางวิทยุเพื่อ การตอบโต้เหตุฉุกเฉิน ((CS 205) เฉพาะทีใ่ ช้กบั เขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารหรือกลุ่มภารกิจ 5 ICS 205 – แผนการสื่อสารทางวิ ทยุ แบบฟอร์มนี้ใช้เพื่อให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการกาหนดคลื่นความถีว่ ทิ ยุทงั ้ หมดจนถึงระดับเขตพืน้ ที่ ปฏิบตั กิ าร/กลุ่มภารกิจ 6 ICS 206 – แผนการบริ หารทางการแพทย์ ใช้ในการนาเสนอแผนการบริหารทางการแพทย์ฉุกเฉินสาหรับเจ้าหน้าทีด่ า้ นการปฏิบตั กิ าร ฉุกเฉิน 7 ICS 209 – การสรุปสถานะเหตุฉุกเฉิ น แบบฟอร์มนี้ใช้ในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารสาคัญ เพื่อสนับสนุ นการตัดสินใจและเป็นเอกสาร สาคัญสาหรับการรายงานข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับสถานการณ์ต่อองค์กรประสานงานและสนับสนุนการ จัดการเหตุฉุกเฉิน และผูอ้ านวยการ/ผูบ้ ริหารของหน่วยงาน
166
8 ICs 211 – บัญชีการรายงานตัวของทรัพยากร แบบฟอร์ม ICS 211 ใช้สาหรับบันทึกกระบวนการการรายงานตัว เจ้าหน้าทีบ่ นั ทึกจะส่งข้อมูล การรายงานตัวของทรัพยากรไปยังหน่วยทรัพยากร 9 ICS 215 – ตารางแผ่นตารางแผนปฏิ บตั ิ การ ใช้ในการประชุมวางแผนการจัดการเหตุการณ์ เพื่อกาหนดภารกิจทางยุทธวิธแี ละทรัพยากรที่ จาเป็ นเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์และกลยุทธ์ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน 10 ICS 215 A – การวิ เคราะห์ความเสี่ยงอันตราย แบบฟอร์มนี้ใช้สาหรับการประสานงานกับหัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ าร และหัวหน้าส่วนแผนงาน เกีย่ วกับเรือ่ งความปลอดภัยและสุขภาพทีเ่ จ้าหน้าทีด่ า้ นความปลอดภัยระบุ ตาราง 10 – สรุปตาแหน่ งสาคัญในระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ในส่วนนี้ของเอกสารได้จดั ทารายการภาระหน้าทีห่ ลักของแต่ละตาแหน่งในระบบการบัญชาการ เหตุการณ์ ตาราง ข – 4 : ตารางสรุปตาแหน่งทีส่ าคัญในระบบการบัญชาการเหตุการณ์* ตาแหน่ งที่สาคัญในระบบ ภาระหน้ าที่หลัก การบัญชาการเหตุการณ์ ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์หรือ • มีอานาจหน้าทีท่ ช่ี ดั เจนและรูน้ โยบายของหน่วยงาน หน่วยบัญชาการร่วม • สร้างความมันใจในความปลอดภั ่ ยในการปฏิบตั งิ าน • จัดตัง้ ศูนย์บญ ั ชาการเหตุการณ์ • จัดลาดับความสาคัญและกาหนดวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ทจ่ี ะต้อง ปฏิบตั ติ าม • จัดตัง้ องค์กรของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ทจ่ี าเป็ นสาหรับการ จัดการเหตุฉุกเฉิน • ให้ความเห็นชอบแผนเผชิญเหตุ • ประสานการดาเนินกิจกรรมของทีมงานบัญชาการและทีมงาน ปฏิบตั กิ าร • อนุมตั กิ ารร้องขอทรัพยากรและการใช้งานอาสาสมัครและเจ้าหน้าที่ สายสนับสนุ นการปฏิบตั ภิ ารกิจ • สังการถอนก ่ าลังตามความจาเป็ น • สร้างความมันใจว่ ่ ามีการจัดทารายงานหลังการปฏิบตั กิ าร (After – Action Report) ให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ • อนุญาตการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารต่อสื่อ
167
ตาแหน่ งที่สาคัญในระบบ การบัญชาการเหตุการณ์ เจ้าหน้าทีป่ ระชาสัมพันธ์
ภาระหน้ าที่หลัก • กาหนดการจากัดการเปิดเผยข้อมูลตามคาสังของผู ่ ช้ าการณ์เหตุการณ์ • จัดทาข้อมูลข่าวสารถูกต้อง สามารถเข้าถึงได้และทันการณ์เพื่อใช้ใน การบรรยายสรุปให้กบั หนังสือพิมพ์/สื่อ • ดาเนินการใด ๆ เพื่อให้ได้รบั ความเห็นชอบจากผูบ้ ญ ั ชากรเหตุการณ์ ในการเปิดเผยข่าวสาร • ดาเนินการบรรยายสรุปสื่อเป็นครัง้ คราว • เตรียมการสาหรับการตรวจเยีย่ มหรือการบรรยายสรุปอื่น ๆ ทีอ่ าจ จาเป็ น • ติดตามและจัดส่งข้อมูลข่าวสารจากสื่อทีอ่ าจเป็นประโยชน์สาหรับการ วางแผนการจัดการเหตุฉุกเฉิน • เก็บรักษาประเด็นสรุปข้อมูลข่าวสาร และ/หรือข้อมูลข่าวสารทีเ่ ป็ น ปจั จุบนั ทีจ่ ดั แสดงไว้ • อานวยความสะดวกให้เจ้าหน้าทีท่ ป่ี ฏิบตั ภิ ารกิจสามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับเหตุฉุกเฉิน • เข้าร่วมประชุมการวางแผนเป็น • ใช้วธิ กี ารติดตามการควบคุมข่าวลือ
* ภาระหน้าทีก่ ารข่าวกรอง/การสืบสวนอาจจะอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของตาแหน่งทีมงานบัญชาการ ทีจ่ ดั ตัง้ แยกออกไปต่างหาก ตาแหน่ งที่สาคัญในระบบ การบัญชาการเหตุการณ์ เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย
ภาระหน้ าที่หลัก • ระบุและบรรยายสถานการณ์ทเ่ี ป็ นอันตราย • จัดทาแผนความปลอดภัย • สร้างความมันใจว่ ่ ามีการจัดทาข้อความและการบรรยายสรุปเกี่ยวกับ ความปลอดภัย • ใช้อานาจฉุกเฉินเพื่อหยุดหรือป้องกันการกระทาทีเ่ ป็ นอันตราย • ทบทวนแผนเผชิญเหตุ เพื่อให้มคี วามปลอดภัยในการปฏิบตั ิ • มอบหมายให้ผชู้ ่วยทีม่ คี ุณสมบัตเิ หมาะสมประเมินอันตรายทีจ่ าเพราะ เจาะจง • ดาเนินการสืบสวนเบือ้ งต้นเกีย่ วกับอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึน้ ภายในพืน้ ทีเ่ กิด เหตุแกเฉิน • ทบทวนและให้ความเห็นชอบแผนการบริการทางการแพทย์
168
• เข้าร่วมประชุมการวางแผน เพื่อเสนอแนวทางการแก้ไขอันตรายทีค่ าด ว่าจะเกิดขึน้ เกีย่ วเนื่องกับการปฏิบตั กิ ารในอนาคต • ใช้วธิ กี ารติดตามการควบคุมข่าวลือ ตาแหน่ งที่สาคัญในระบบ การบัญชาการเหตุการณ์ เจ้าหน้าทีป่ ระสานงาน
หัวหน้าส่วนปฏิบตั กิ าร
หัวหน้าส่วนแผนงาน
ภาระหน้ าที่หลัก • ทาหน้าทีเ่ ป็ นจุดติดต่อประสานงานสาหรับผูแ้ ทนของหน่วยงานต่าง ๆ • เก็บรักษาบัญชีรายชื่อหน่ วยงานทีใ่ ห้ความช่วยเหลือและความร่วมมือ รวมถึงรายชื่อผูแ้ ทนของหน่ วยงานต่าง ๆ • ช่วยกาหนดให้มกี ารติดต่อระหว่างหน่วยงานและทาหน้าทีต่ ดิ ต่อ ประสานงาน • ติดตามการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินเพื่อระบุปญั หาระหว่างองค์กร ทีเ่ กิดขึน้ ในปจั จุบนั และทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในอนาคต • เข้าร่วมการประชุมการวางแผน เพื่อให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับสถานะของ ทรัพยากรทีเ่ ป็ นปจั จุบนั รวมถึงข้อจากัดและสมรรถนะของทรัพยากรของ หน่วยงาน • ให้ขอ้ มูลข่าวสารและความจาเป็ นในการถอนกาลังของหน่วยงานที่ เฉพาะเจาะจง • สร้างความมันใจในความปลอดภั ่ ยของการปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธ ี • บริหารจัดการการปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธ ี • จัดทาแผนเผชิญเหตุเฉพาะในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั กิ าร • ควบคุมดูแลการดาเนินการในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบตั กิ ารของ แผนเผชิญเหตุ • ร้องขอทรัพยากรเพิม่ เติมเพื่อใช้สนับสนุ นการปฏิบตั กิ ารทางยุทธวิธ ี • ให้ความเห็นชอบในการปลดปล่อยทรัพยากรจากภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมายทีก่ าลังปฏิบตั อิ ยู่ • ดาเนินการหรือให้ความเห็นชอบการเปลีย่ นแปลงแผนเผชิญเหตุเพื่อ ความเหมาะสม และเป็นประโยชน์ในทางปฏิบตั ิ • ดารงรักษาการติดต่อสื่อสารอย่างใกล้ชดิ กับผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ เจ้าหน้าทีใ่ ต้บงั คับบัญชาในส่วนปฏิบตั กิ าร และหน่วยงานอื่น ๆ ทีม่ สี ่วน เกีย่ วข้องในการรับมือเหตุฉุกเฉิน • รวบรวมและบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารรับมือ เหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ • ควบคุมดูแลการเตรียมการจัดทาแผนเผชิญเหตุ • ให้ขอ้ มูลผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์และส่วนปฏิบตั กิ ารในการเตรียมการ จัดทาแผนเผชิญเหตุ • ผนวกแผนการจราจร แผนการบริหารทางการแพทย์และแผนการ
169
สื่อสารพร้อมทัง้ เอสการ ข้อมูล และส่วนประกอบอื่น ๆ เข้ากับแผน เผชิญเหตุ • จัด/อานวยความสะดวกการประชุมวางแผน
ตาแหน่ งที่สาคัญในระบบ การบัญชาการเหตุการณ์ หัวหน้าส่วนแผนงาน
หัวหน้าส่วนสนับสนุ นกาลัง บารุง
ภาระหน้ าที่หลัก • มอบหมายภาระหน้าทีใ่ ห้กบั เจ้าหน้าทีภ่ ายในองค์กรระบบการ บัญชาการเหตุการณ์ทจ่ี ดั ตัง้ ขึน้ ในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุอกี ครัง้ หนึ่งตามความ เหมาะสม • รวบรวมและจัดแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถานะของเหตุฉุกเฉิน • กาหนดตารางเวลาการรายงานและความจาเป็นต้องใช้ขอ้ มูลสาหรับ หน่วยต่าง ๆ (เช่น หน่วยทรัพยากร หน่วยสถานการณ์ เป็นต้น) • ระบุความต้องการทรัพยากรพิเศษเฉพาะทาง • สร้างระบบการเก็บรวบรวมข้อมูลพิเศษเฉพาะทาง (เช่น ข้อมูล เกีย่ วกับลมฟ้าอากาศ) • รวมและสลายตัวเจ้าหน้าทีช่ ุดปฏิบตั กิ ารผสมและชุดปฏิบตั กิ ารทีมทีย่ งั ไม่ได้มอบหมายให้กบั ส่วนปฏิบตั กิ าร • รวมข้อมูลเกีย่ วกับกลยุทธ์ทางเลือก • จัดให้มกี ารคาดการณ์ความเป็ นไปได้ของการเกิดเหตุฉุกเฉินเป็ นระยะ ๆ • รายงานการเปลีย่ นแปลงทีส่ าคัญของสถานะของเหตุฉุกเฉิน • ควบคุมดูแลแผนการถอนกาลัง • จัดให้มสี ถานทีท่ าการ การบริการด้านการขนส่ง การสื่อสาร วัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ การซ่อมบารุงและการเติมน้ ามัน อาหาร และการบริการ ทางการแพทย์ • บริการจัดการการส่งกาลังบารุงเพื่อการรับมือเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด • ให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับการส่งกาลังบารุงสาหรับการจัดทาแผนเผชิญเหตุ • จัดบรรยายสรุปแก่เจ้าหน้าทีส่ ่วนสนับสนุนกาลังบารุงตามความจาเป็ น • ระบุบริการต่าง ๆ ทีจ่ าเป็ นและคาดว่าจาเป็นสาหรับการจัดการเหตุ ฉุกเฉินและให้การสนับสนุ นความจาเป็ นนัน้ ๆ • ร้องขอทรัพยากรเพิม่ เติมตามความจาเป็ น • กากับดูแลการถอนตัวของส่วนส่งกาลังบารุงและทรัพยากรของส่วนนี้
170
อภิธานศัพท์หลัก คาศัพท์และความหมายของคาศัพท์เหล่านี้ได้รบั การนาไปประยุกต์ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ข องระบบ การบริหารจัดการเหตุการณ์แห่งชาติ : Accessible : สามารถเข้าถึงได้ : การมีคุณลักษณะ และ/หรือคุณสมบัตติ ามทีก่ ฎหมายกาหนดซึง่ ทาให้ บุคคลมีความมันใจในการผ่ ่ านเข้าไปยัง การมีส่ว นร่ว มในและการใช้ประโยชน์ จากสถานที่ แผนงาน บริการ และกิจกรรมต่าง ๆ ได้โดยง่ายดายโดยทีย่ งั มีผทู้ ถ่ี ูกตัดสิทธิอกี จานวนมาก Acquisition Procedures : กระบวนการทีน่ ามาใช้เพื่อให้ได้มาซึง่ ทรัพยากรเพื่อสนับสนุนความจาเป็ นใน การปฏิบตั กิ าร Agency : หน่วยงาน : แผนกงานของรัฐบาลทีม่ ภี าระหน้าทีเ่ ฉพาะเจาะจงในการให้ความช่วยเหลือเฉพาะ ด้าน ในระบบการบัญชาการเหตุการณ์ หน่ วยงานได้รบั การกาหนดให้เป็ นหน่ วยทีม่ หี น้าที่รบั ผิดชอบใน การจัดการเหตุฉุกเฉินตามทีก่ ฎหมายกาหนด (Jurisdictional) หรือเป็ นหน่ วยให้ความช่วยเหลือหรือให้ ความร่วมมือ (ในการจัดหาทรัพยากรให้หรือให้ความช่วยเหลือด้านอื่น ๆ) โดยส่วนใหญ่แล้วหน่ วยงาน ของรัฐบาลจะมีหน้าที่รบั ผิดชอบในการจัดการเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ ถึงแม้ว่าในบางสภาวการณ์อาจจะ รวมถึงองค์กรของภาคเอกชนด้วยก็ตาม นอกเหนือจากนี้ยงั อาจจะรวมถึงองค์กรพัฒนาเอกชนที่ให้การ สนับสนุนการปฏิบตั กิ ารด้วย Agency Administrator/Executive : ผูอ้ านวยการ/ผูบ้ ริหาร หน่ วยงาน : เจ้าหน้าทีท่ ม่ี หี น้าทีร่ บั ผิดชอบ ในการบริหารจัดการนโยบายของหน่ วยงานหรือขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ โดยปกติ ผู้อานวยการ/ผู้บริหารของหน่ วยงาน (หรือเจ้าหน้ าที่ภาครัฐอื่น ๆ ที่มหี น้ าที่รบั ผิดชอบในการจัดการ เหตุการณ์ตามกฎหมาย) จะทาหน้าทีต่ ดั สินใจในการจัดตัง้ หน่วยบัญชาการพืน้ ที่ (Area Command) Agency Dispatch : หน่วยจัดส่งทรัพยากร : หน่วยงานหรือสถานทีท่ าการทีม่ อี านาจหน้าทีใ่ นการจัดการ เหตุฉุกเฉินตามกฎหมายทีเ่ ป็นจุดทีจ่ ดั ส่งทรัพยากรไปปฏิบตั ภิ าระหน้าทีใ่ นพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ Agency Representatives : ผูแ้ ทนหน่ วยงาน : บุคคลทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากหน่ วยงานหลัก หน่ วยงานที่ ให้ค วามช่ว ยเหลือ หรือ หน่ ว ยงานที่ใ ห้ค วามร่ว มมือ ของรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่ าพื้นเมือ ง
171
อเมริกนั หรือรัฐบาลท้องถิน่ หรือขององค์กรเอกชนหรือขององค์กรพัฒนาเอกชน และได้รบั มอบอานาจ ในการตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ ทีม่ ผี ลกระทบต่อการมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมการจัดการเหตุฉุกเฉิน ของหน่วยงานหรือขององค์กรเหล่านัน้ หลังจากได้มกี ารปรึกษาหารือกับผูน้ าของหน่วยงานนัน้ ๆ All – Hazards : ภัยทุกประเภท : การบอกลักษณะของเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ จากธรรมชาติหรือโดยการ กระทาของมนุ ษย์ท่ที าให้มเี หตุ ผ ลอันควรที่จะต้องลงมือ ปฏิบตั ิการ เพื่อปกป้องรัก ษาชีว ิต ทรัพย์ส ิน สิง่ แวดล้อมและสุขอนามัยหรือความปลอดภัย และเพื่อ ลดภาวะชะงักงันของการดาเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ สังคม และการดาเนินกิจกรรมของรัฐบาล Allocated Resource : ทรัพยากรทีไ่ ด้รบั จัดสรร : ทรัพยากรทีจ่ ดั ส่งไปยังพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ Area Command : หน่ วยบัญชาการพืน้ ที่ : องค์กรทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพื่อทาหน้าทีก่ ากับดูแลการจัดการเหตุ ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ พร้อม ๆ หลายเหตุการณ์ และมีหน่วยบัญชาการเหตุการณ์หลายหน่ วยทาหน้าทีค่ วบคุม และจัดการแต่ละเหตุการณ์แยกต่างหากจากกัน หรือเป็ นองค์กรที่จดั ตัง้ ขึน้ เพื่อทาหน้าที่กากับดูแลการ บริหารจัดการเหตุการณ์ขนาดใหญ่ หรือเหตุการณ์ทม่ี ที มี งานบริหารจัดการเหตุการณ์หลายทีมงานเข้า ไปมีส่วนเกี่ยวข้อง โดยปกติผอู้ านวยการ/ผู้บริหารของหน่ วยงาน หรือเจ้าหน้าทีข่ องรัฐอื่น ๆ ทีม่ อี านาจ หน้าทีร่ บั ผิดชอบในการจัดการเหตุการณ์ตามกฎหมายจะเป็ นผูต้ ดั สินใจจัดตัง้ หน่ วยบัญชาการพืน้ ที่ จะมี การเปิดใช้งานหน่ วยบัญชาการพื้นทีต่ ่อเมื่อมีความจาเป็ นเท่านัน้ ทัง้ นี้ ขึน้ อยู่กบั ความซับซ้อนของเหตุ ฉุกเฉินและการพิจารณาถึงขอบเขตการควบคุมในการจัดการเหตุฉุกเฉิน Assessment : การประเมิน : กระบวนการของการได้รบั การรวบรวม การประมวล การตรวจสอบ การ วิเคราะห์การประเมิน การติดตามและการแปลความหมายของข้อมูล สารสนเทศ หลักฐาน วัตถุสงิ่ ของ เกณฑ์ ภาพ เสียง ฯลฯ ไม่ว่าจะมีลกั ษณะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรม เพื่อใช้เป็นฐานสาหรับการตัดสินใจ Assigned Resource : ทรัพยากรทีเ่ ข้ารายงานตัวและได้รบั มอบหมายภาระหน้าทีเ่ กี่ยวกับการรับมือเหตุ ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ Assignment : งาน/ภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย : ภาระหน้าทีท่ ม่ี อบให้ทรัพยากรบุคคลปฏิบตั ภิ ายในช่วง ระยะเวลาของการปฏิบตั กิ ารทีม่ พี น้ื ฐานมาจากวัตถุประสงค์ของการปฏิบตั กิ ารทีก่ าหนดไว้ในแผนเผชิญ เหตุ Assistant : ผูช้ ่วย : ชื่อตาแหน่ งสาหรับผูใ้ ต้บงั คับบัญชาของผูด้ ารงตาแหน่ งหลักของทีมงานบัญชาการ ชื่อตาแหน่ งนี้บ่งชีว้ ่าระดับความสามารถทางเทคนิค คุณสมบัตแิ ละหน้าทีร่ บั ผิดชอบเป็ นรองจากผูด้ ารง ตาแหน่งหลัก ผูช้ ่วยอาจได้รบั มอบหมายให้เป็นหัวหน้าหน่วย
172
Assisting Agency : หน่ วยงานทีใ่ ห้ความช่วยเหลือ ; หน่ วยงานหรือองค์กรทีท่ าหน้าที่จดั หาบุคลากร บริการ และทรัพยากรอื่นๆ ให้กบั หน่ วยงานที่มหี น้าทีร่ บั ผิดชอบในการจัดการเหตุฉุกเฉินโดยตรง ให้ดู คาจากัดความของหน่วยงานทีใ่ ห้การสนับสนุ น (Supporting Agency) ด้วย Available Resource : ทรัพยากรทีพ่ ร้อมปฏิบตั ภิ ารกิจ : ทรัพยากรทีไ่ ด้รบั การจัดส่งไปยังพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ ผ่านกระบวนการรายงานตัว และพร้อมทีจ่ ะรับการมอบหมายภารกิจ โดยปกติทรัพยากรทีพ่ ร้อมปฏิบตั ิ ภารกิจจะพัก/จอดรออยูภ่ ายในพืน้ ทีเ่ ตรียมปฏิบตั กิ าร (Staging Area) Badging : การจัดทาเครือ่ งหมาย/สัญญลักษณ์ : การกาหนดสิง่ ทีเ่ ป็ นหลักฐานอ้างอิงเพื่อแสดงถึงความมี สิทธิตามกฎหมายและข้อจากัดในการเข้าถึงสถานทีต่ ่าง ๆ ในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ Branch : สาขา : ระดับขององค์กรทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามภารกิจหรือตามพืน้ ที่ทางภูมศิ าสตร์เพื่อรับผิดชอบการ ปฏิบตั กิ ารด้านสาคัญ ๆ ตามรูปแบบของการจัดองค์กร สาขาจะได้รบั การจัดวางไว้ระหว่างหัวหน้าส่วน กับเขตพื้นที่ปฏิบตั กิ าร หรือกลุ่มภารกิจในส่วนปฏิบตั กิ าร และระหว่างส่วนกับหน่ วยในส่วนสนับสนุ น กาลังบารุง การระบุสาขาต่าง ๆ จะใช้ตวั เลขโรมันกากับหรือระบุตามภารกิจ Cache : อุปกรณ์ เครื่องมือ และ/หรือวัสดุทส่ี ารองเอาไว้ล่วงหน้าและจัดเก็บไว้ในสถานทีก่ าหนดเพื่อใช้ งาน Camp : ค่ายพัก/ทีพ่ กั : สถานทีต่ ามพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ท่จี ดั ตัง้ ขึน้ ในบริเวณทีใ่ กล้เคียงพื้นทีเ่ กิดเหตุ (แยกห่างจากฐานปฏิบตั กิ าร) ซึ่งมีสงิ่ อานวยความสะดวกและเจ้าหน้าที่ดูแล และให้บริการด้านอาหาร น้าดื่ม ทีห่ ลับนอน และสุขาภิบาลแก่เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ าร Categorizing Resources : การจาแนกทรัพยากร : กระบวนการจัดระบบ/กลุ่มทรัพยากรโดยแยก ออกเป็ นหมวดหมู่ ชนิด และประเภท รวมถึงการแยกตามขนาด สมรรถนะ ขีดความสามารถ ความ ช านาญ และคุ ณ ลัก ษณะอื่น ๆ การจ าแนกทรัพ ยาการจะช่ ว ยให้ก ระบวนการจัด ซื้อ และการจัด ส่ ง ทรัพยากรภายในและข้ามองค์กรหรือหน่วยงาน และระหว่างองค์กรภาครัฐ กับองค์กรภาคเอกช นมีประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น และสร้างความมันใจว่ ่ าทรัพยากรที่ได้รบั ตรงกับความต้องการของหน่ วยงาน/ องค์กร Certifying Personnel : การรับรองบุคลากร : กระบวนการการยืนยันโดยมีหลักฐานพิสูจน์ ได้ว่าบุคคล ต่าง ๆ มีคุ ณสมบัติครบตามมาตรฐานวิชาชีพในการเข้ารับการฝึ กอบรม การสร้างประสบการณ์ และ สมรรถนะในการปฏิบตั งิ าน ซึ่งเป็ นคุณสมบัตจิ าเป็ นสาหรับผู้ท่จี ะปฏิบตั ภิ ารกิจสาคัญในการรับมือเหตุ ฉุกเฉิน
173
Chain of Command : สายการบังคับบัญชา : สายของอานาจหน้าทีต่ ามลาดับชัน้ ในตาแหน่ งต่าง ๆ ของโครงสร้างองค์กรการจัดการเหตุฉุกเฉิน Check – in : การรายงานตัว : กระบวนการแรกสุดทีท่ รัพยากรต้องผ่านเพื่อรายงานตัวเมื่อเดินทางไปถึง สถานทีเ่ กิดเหตุ ผูป้ ฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินทุกคนไม่ว่าจะสังกัดหน่ วยงานใด จะต้องรายงานตัวเพื่อ รับมอบหมายภารกิจตามขัน้ ตอนปฏิบตั ทิ ผ่ี บู้ ญ ั ชาการเหตุการณ์กาหนด Chief : หัวหน้า : ชื่อตาแหน่ งในระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ทก่ี าหนดไว้สาหรับบุคคลทีม่ หี น้าที่ รับผิดชอบในการบริหารจัดการส่วนต่าง ๆ ที่จดั ตัง้ ขึน้ ตามภารกิจ ประกอบด้วย : ส่วนปฏิบตั กิ าร ส่วน แผนงาน ส่วนสนับสนุ นกาลังบารุง ส่วนการเงิน/บริหารจัดการและส่วนการข่าวกรอง/การสืบสวน (ถ้า ได้รบั การจัดตัง้ เป็นส่วนแยกต่างหาก) Command : การบัญชาการ : การทาหน้าทีอ่ านวยการ สังการหรื ่ อการควบคุมโดยอาศัยอานาจทีก่ าหนด ไว้อย่างชัดเจนในกฎหมาย กฎระเบียบหรืออานาจหน้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบ Command Staff : ทีมงานบัญชาการ : บรรดาเจ้าหน้าทีท่ ข่ี น้ึ ตรงต่อผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ ซึง่ รวมถึง เจ้าหน้าทีข่ อ้ มูลสาธารณะ เจ้าหน้าทีด่ า้ นความปลอดภัยในการปฏิบตั ภิ ารกิจ เจ้าหน้าทีป่ ระสานงานและ ตาแหน่งอื่น ๆ ตามความจาเป็น บรรดาเจ้าหน้าทีเ่ หล่านี้อาจจะมีผชู้ ่วยหนึ่งคนหรือหลายคนก็ได้ Common Operating Picture : ภาพสถานการณ์และการปฏิบตั กิ ารร่วม : การอธิบายโดยสรุปถึง ภาพรวมของเหตุฉุกเฉินและการปฏิบตั กิ ารโดยฝ่ายต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องเพื่อให้ขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกับเหตุ ฉุกเฉิน ซึง่ จะช่วยให้ผบู้ ญ ั ชาการเหตุการณ์/หน่ วยบัญชาการและหน่ วยงานและองค์กรทีใ่ ห้การสนับสนุ น อื่นใด สามารถตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อเนื่องและทันการณ์ Common Terminology : คาศัพท์มาตรฐานเดียวกัน : คาและวลีทใ่ี ช้ตามปกติ – หลีกเลีย่ งการใช้คา/วลี ทีแ่ ตกต่างออกไปสาหรับข้อคิดเห็นเดียวกัน – เพื่อทาให้มนใจในความสอดคล้ ั่ องและช่วยให้องค์กรต่าง ๆ ทีท่ าหน้าทีจ่ ดั การเหตุฉุกเฉิน และองค์กรต่าง ๆ ทีใ่ ห้การสนับสนุ นสามารถปฏิบตั ภิ าระหน้าทีจ่ ดั การเหต ฉุกเฉินทีม่ คี วามหลากหลายและในสถานการณ์อนั ตรายทีแ่ ตกต่างกันออกไปร่วมกันได้ Communications : การสื่อสาร : กระบวนการของการส่งข้อมูลข่าวสารผ่านทางวาจา ลายลัก ษณ์อกั ษร หรือการใช้สญ ั ญลักษณ์ Communications/Dispatch Center : ศูนย์ส่อื สาร/ศูนย์รบั แจ้งเหตุและสังการ ่ : ศูนย์รบั แจ้งเหตุและสัง่ การของหน่วยงาน หรือศูนย์รบั แจ้งเหตุและสังการร่ ่ วมระหว่างหน่วยงาน สายด่วน 911 ศูนย์ควบคุมหรือ ศูนย์ส งการฉุ ั่ ก เฉิ น หรือ ชื่อ เรียกอื่นใดที่ต งั ้ ขึ้นตามธรรมเนี ยมปฏิบตั ิเ พื่อ ใช้เ รีย กสถานที่ทาการและ
174
เจ้าหน้ าที่ท่ที าหน้ าที่จดั การสายด่วนฉุ กเฉินจากประชาชนและการติดต่อสื่อสารกับเจ้าหน้ าที่ด้านการ จัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ ศูนย์ทส่ี ามารถทีจ่ ะใช้เป็ นส่วนประกอบด้านการสื่อสารและ การสนับสนุ นในเบือ้ งต้นของระบบการประสานงานแบบพหุภาคี (Multiagency Coordination System) ในการจัดารเหตุฉุกเฉินจนกว่าจะมีการจัดตัง้ ส่วนประกอบอื่น ๆ ของระบบนี้ขน้ึ อย่างเป็นทางการ Complex : เหตุฉุกเฉินเชิงซ้อน : เหตุฉุกเฉินสองหรือมากกว่าสองเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ แยกต่างหากจาก กัน ในพื้น ที่ท วั ่ ๆ ไปเดีย วกัน และได้ม ีก ารมอบหมายให้ผู้บ ัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ ห นึ่ ง คนหรือ หน่ ว ย บัญชาการหน่วยเดียวรับผิดชอบ Comprehensive Preparedness Guide 101 : คู่มอื การเตรียมความพร้อม 101 : เป็ นคู่มอื ทีไ่ ด้รบั การ ออกแบบมาเพื่อช่ว ยขอบเขตอ านาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ พัฒนาแผนปฏิบตั ิการ คู่มอื นี้จะช่ว ย เสริมสร้างความเข้าใจร่วมกันต่อหลักเบื้องต้นของการวางแผน และในการตัดสินใจ เพื่อช่ว ยให้ผู้จดั ทา แผนสามารถวิเคราะห์ภยั และจัดทาแผนทีม่ กี ารบูรณาการ การประสานงานและการปรับข้อมูลให้ตรงกัน ได้สาเร็จ Continuity of Governement : ความต่อเนื่องในการดาเนินภารกิจของรัฐบาล : ความพยาบามร่วมกัน ของฝา่ ยบริหารของรัฐบาลกลาง เพื่อสร้างความมันใจว่ ่ าภารกจิทส่ี าคัญของประเทศยังคงดาเนินไปอย่าง ต่อเนื่องในระหว่างทีเ่ กิดหายนะภัย (ตามทีก่ าหนดไว้ในคาสังประธานาธิ ่ บดีว่าด้วยความมันคงแห่ ่ งชาติท่ี 51/คาสังประธานาธิ ่ บดีว่าด้วยความมันคงแห่ ่ งมาตุภูมทิ ่ี 20) Continution of Operations : ความต่อเนื่องของการดาเนินภารกิจ : ความพยายามภายในแต่ละองค์กร ในการทีจ่ ะดาเนินภารกิจขององค์กรอย่างต่อเนื่องในระหว่างทีเ่ กิดหายนะภัย Cooperating Agency : หน่ วยงานให้ความร่วมมือ : หน่ วยงานที่ให้ความช่วยเหลือด้านอื่น ๆ นอกเหนื อ ไปจากภารกิจ การสนับ สนุ น หรือ การปฏิบ ัติก ารโดยตรง หรือ การให้ก ารสนั บ สนุ น ด้า น ทรัพยากรเพื่อการจัดการเหตุฉุกเฉิน (เช่น สภากาชาด เป็นต้น) Coordinate : ประสานงาน : การให้การวิเคราะห์และการแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสารมีความคืบหน้าอย่าง เป็ น ระบบระหว่ า งเจ้า หน้ า ที่ระดับ สูง ที่ม ี หรือ อาจจะมีค วามต้อ งการรู้ข้อ มูล ข่า วสารบางอย่าง เพื่อ ดาเนินการด้านความรับผิดชอบต่อการจัดการเหตุฉุกเฉิน Corrective Action : การลงมือแก้ไข : การนาข้อปฏิบตั ไิ ปดาเนินการโดยใช้บทเรียนรูท้ ่ไี ด้รบั จาก เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ จริง หรือจากการฝึกอบรม หรือการฝึกซ้อม
175
Credentialing : การทวนสอบเพื่อรับรอง : การรับรองความน่ าเชื่อถือ (Authentication) และการยืนยัน ความเป็ น จริง (Verification) ของเอกสารรับ รองและตัว ตนของผู้ท าหน้ า ที่จ ัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น และ เจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารตอบโต้ทไ่ี ด้รบั การกาหนดตัวให้ปฏิบตั ภิ ารกิจ Critical Infrastructure : โครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวด : ทรัพย์สนิ ระบบและโครงข่าย ไม่ว่าจะเชิงกายภาพหรือเสมือนกายภาพ ทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวดต่อประเทศสหรัฐอเมริกา ถึงขนาด ว่าการทาลายหรือ การทาให้ทรัพย์สนิ ระบบหรือโครงข่ายเหล่ านัน้ เสียหาย ไม่สามารถใช้งานได้ จะ ก่อให้เกิดผลกระทบที่บนทอนความมั ั่ นคง ่ ความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จของประเทศ ระบบสาธารณสุขและ ความปลอดภัยของประเทศหรือบันทอนทุ ่ กด้านรวมกัน Delegation of Authority : การมอบอานาจหน้าที่ : คาแถลงที่ผู้บริหารของหน่ วยงานมอบให้ผู้ บัญชาการเหตุ การณ์เพื่อมอบอานาจและมอบหมายหน้ าที่รบั ผิดชอบ การมอบอานาจหน้ าที่สามารถ ครอบคลุมถึงวัตถุประสงค์ ลาดับความสาคัญ ความคาดหวัง ข้อจากัด และสิง่ ทีค่ วรพิจารณาอื่น ๆ หรือ แนวทางต่ าง ๆ เท่าที่จาเป็ น มีห น่ วยงานหลายหน่ ว ยที่มคี วามจาเป็ นต้องมอบอานาจหน้ าที่ใ ห้กับผู้ บัญชาการเหตการณ์ ก่อนทีจ่ ะเข้าปฏิบตั หิ น้าทีบ่ ญ ั ชาการเหตุการณ์ทม่ี ขี นาดใหญ่ (เรียกอีกในชื่อหนึ่งว่า สารแสดงความคาดหวัง : Leter of Expectation) Demobilization : การถอนกาลัง : การส่งคืนทรัพยากรทีใ่ ช้ในการตอบโต้เหตุฉุกเฉินกลับสู่ท่ตี งั ้ และ สภาวะเดิมอย่างเป็นระเบียบ ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ Deputy : รองผู้ทาการแทน) : บุคคลทีม่ คี ุณสมบัตคิ รบถ้วนที่สามารถมอบหมายอานาจหน้าทีใ่ นการ บริหารจัดการการปฏิบตั กิ ารตามภารกิจได้ในกรณีทไ่ี ม่มผี บู้ งั คับบัญชา หรือสามารถมอบหมายให้ปฏิบตั ิ หน้าที่ทเ่ี ฉพาะเจาะจงได้ ในบางกรณี รอง (ผูท้ าการแทน) สามารถทาหน้าทีแ่ ทนหรือแบ่งเบาภาระของ ผู้บงั คับ บัญ ชาได้ ดังนัน้ บุ ค คลผู้ท่ีจะต้อ งมีคุ ณสมบัติค รบถ้ ว นเหมาะสมกับ ต าแหน่ ง โดยปกติแล้ว ตาแหน้งผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ หัวหน้าทีมงานปฏิบตั กิ าร และผูก้ ากับดูแลสาขาจะได้รบั การกาหนดให้ม ี รอง (ผูท้ าการแทน) Director : ผูก้ ากับดูแล : ชื่อตาแหน่ งในระบบการบัญชาการสาหรับเรียกขานบุคคลทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบ ในการกากับดูแลสาขา Dispatch : การจัดส่งทรัพยากรไปฏิบตั ภิ ารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมายตามคาสัง่ หรือการโยกย้ายจากสถานที่ หนึ่งไปยังอีกทีห่ นึ่ง เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ Division : เขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร : ระดับองค์กรทีม่ หี น้าทีค่ วามรับผิดชอบในการปฏิบตั กิ ารภายในขอบเขต พืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ทก่ี าหนด เขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารจะได้รบั การจัดตัง้ ขึน้ ในกรณีทจ่ี านวนทรัพยากรมีมาก เกิดขอบเขตการควบคุมทีส่ ามารถจะควบคุมได้ทวถึ ั่ ง
176
Emergency : ภาวะฉุ กเฉิน ; เหตุการณ์ใด ๆ ไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากการกระทาของมนุ ษย์ท่ี จาเป็ นต้องดาเนินการตอบโต้เพื่อปกป้องชีวติ และทรัพย์สนิ ภายใต้พระราชบัญญัตกิ ารบรรเทาภัยพิบตั ิ ความช่วยเหลือในภาวะฉุ กเฉินโรเบิรต์ ที่ สตาฟฟอร์ด ภาวะฉุ กเฉินหมายถึงโอกาสหรือกรณีใด ๆ ตาม การตัดสินใจของประธานาธิบดีท่ที าให้การให้ความช่วยเหลือของรัฐบาลกลางเป็ นสิง่ ที่จาเป็ นเพื่อเสริม ความพยายามและขีดความสามารถของรัฐบาลแห่งรัฐ และรัฐบาลท้องถิน่ ในการช่วยชีวติ และปกป้อง ทรัพย์สนิ และการสาธารณสุข และความปลอดภัย หรือเพื่อลด หรือหลีกเลีย่ งภาวะคุกคามของหายนะภัย (Catastrophe) ในดินแดนส่วนใด ๆ ของสหรัฐอเมริกา Emergency Management Assistance Compact : ข้อตกลงร่วมกันในการให้ความช่วยเหลือระหว่างรัฐ ในการจัดการภาวะฉุ กเฉิ น : เป็ นองค์กรที่รฐั สภาให้ค วามเห็นชอบให้ทาหน้ าที่กาหนดรูปแบบและ โครงสร้างสาหรับการให้ความช่วยเหลือซึง่ กันและกันระหว่างรัฐ โดยอาศัยข้อตกลงร่วมกันดังกล่าวนี้ รัฐ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากภัยพิบตั สิ ามารถจะร้องขอและรับความช่วยเหลือจากรัฐอื่น ๆ ที่เข้าร่วมข้อตกลงได้ อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ และสามารถทีจ่ ะแก้ไขปญั หาหลักสองปญั หาได้โดยตรง คือปญั หาความ รับผิดชอบด้านค่าใช้จา่ ยและการชาระเงินคืน Emergency Management/Response Personnel : เจ้าหน้าที่ด้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้ รวมถึงเจ้าหน้าทีข่ องรัฐบาลในระดับต่าง ๆ ได้แก่ รัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ดินแดน ในอาณัต ชนเผ่ า อเมริก ัน หน่ ว ยการปกครองในส่ ว นภูมภิ าคที่มฐี านะต่ า กว่า รัฐ และรั ฐ บาลท้อ งถิ่น องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรภาคเอกชน เจ้าของและผู้ประกอบการโครงสร้ างพื้นฐานที่มคี วามสาคัญ อย่างยิง่ ยวด และองค์กร และบบุคลอื่น ๆ ทีม่ บี ทบาทในการจัดการภาวะฉุ กเฉิน (หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ผูป้ ฏิบตั กิ ารตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน : Emergency Responder) Emergency Operations Center : ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉิน : โดยปกติเป็ นสถานที่ทางกายภาพทีใ่ ช้เพื่อ ประสานงานด้านข้อมูลข่าวสารและทรัพยากรเพื่อสนับสนุ นการดาเนินกิจกรรมการจัดการเหตุฉุกเฉิน (การปฏิบตั กิ ารในสถานทีเ่ กิดเหตุ) ศูนย์ปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉินอาจจะเป็ นสถานทีช่ วคราวหรื ั่ ออาจจะตัง้ อยู่ใน สถานทีท่ เ่ี ป็ นศูนย์กลางหรือสถานทีท่ ม่ี นคงถาวรมากขึ ั่ น้ หรืออาจจะจัดตัง้ ในองค์กรในระดับสูงกว่า การ จัดองค์กรของศูนย์อาจจะจัดตามภารกิจหลักแต่ละสาขา (เช่น การดับเพลิง การบังคับใช้กฎหมาย การ บริการทางการแพทย์) หรือจัดตามขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ (เช่น รัฐบาลกลาง รัฐบาล แห่งรัฐ ส่วนภูมภิ าค ชนพื้นเมืองอเมริกนั เมืองใหญ่ อาเภอ) หรือโดยการผสมผสานทัง้ สองแนวทาง ดังกล่าว Emergecy Operations Plan : แผนปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉิน : แผนต่อเนื่องใช้สาหรับการตอบโต้ภยั ทัง้ หลายที่ อาจจะเกิดขึน้
177
Emergency Public Information : ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ : ข้อมูลข่าวสารทีไ่ ด้รบั การเผยแพร่ออกไป เมือ่ มีการคาดการณ์ว่าจะเกิดเหตุฉุกเฉินหรือเผยแพร่ในระหว่างเกิดเหตุเป็นส่วนใหญ่ นอกเหนือจากเป็ น การให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถานการณ์ต่ อประชาชนแล้ว บ่อยครัง้ จะเป็ นการแจ้งข้อควรปฏิบตั ิใ ห้ ประชาชนทัวไปได้ ่ ทราบและปฏิบตั ติ าม Evacuation : การอพยพหนีภยั : การเคลื่อนย้าย การกระจาย และการนาพลเรือนออกจากพืน้ ทีอ่ นั ตราย หรือพืน้ ทีท่ อ่ี าจเป็ นอันตรายอย่างเป็ นระบบ ตามขัน้ ตอนและมีการกากับดูแล รวมถึงการรับรองและการ ดูแลบุคคลเหล่านี้ในสถานทีป่ ลอดภัยด้วย Federal : เป็นของหรือเกีย่ วกับรัฐบาลกลางของสหรัฐอเมริกา Field Operations Guide : คู่มอื การปฏิบตั งิ านภาคสนาม : คู่มอื ทีค่ งทนฉบับกระเป๋าหรือแบบตัง้ โต๊ะทีม่ ี ข้อ มูล ข่าวสารสาคัญ จาเป็ นส าหรับการปฏิบตั ิงานที่ได้รบั มอบหมายที่เฉพาะเจาะจงหรือ ภาระหน้ าที่ ประจา Finance/Administration Section : ส่วนการเงิน/การบริหารจัดการ : เป็ นส่วนในระบบการบัญชาการ เหตุ ก ารณ์ ท่ีม ีห น้ า ที่ร บั ผิด ชอบสิ่ง ที่ค วรต้อ งพิจ ารณาด้า นการบริห ารจัด การและการเงิน ทัง้ หมดที่ เกีย่ วข้องกับการจัดการเหตุฉุกเฉิน Function : ภาระหน้าที่ : หนึ่งในห้ากิจกรรมหลักในระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ซึง่ ประกอบด้วยการ บัญชาการ การปฏิบตั กิ าร การวางแผน การสนับสนุนกาลังบารุง และการเงิน/การบริหารจัดการ อาจจะมี การกาหนดภาระหน้าทีท่ ห่ี ก คือการข่าวกรอง/การสืบสวนในกรณีทจ่ี าเป็ นเพื่อให้ตรงกับความจาเป็ นใน การจัดการเหตุฉุกเฉิน มีการนาคาว่า “ภาระหน้ าที่” ไปใช้เพื่อสื่อความหมายถึงกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง (เช่น ภาระหน้าทีใ่ นการวางแผน) General Staff : ทีมงานปฏิบตั กิ าร ; กลุ่มเจ้าหน้าทีด่ า้ นการบริหารจัดการเหตุฉุกเฉินทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตาม ภาระหน้าทีแ่ ละขึน้ ตรงต่อผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ โดยปรกติเจ้าหน้าทีก่ ลุ่มนี้จะประกอบด้วยหัวหน้าส่วน ปฏิบตั กิ าร หัวหน้าส่วนแผนงาน หัวหน้าส่วนสนับสนุ นกาลังบารุง และหัวหน้าส่วนการงาน/การบริหาร จัดการ อาจจะมีการกาหนดหัวหน้าส่วนขาวกรอง/การสืบสวนขึน้ หากมีความจาเป็ น เพื่อให้ตรงกับความ ต้องการสาหรับการจัดการเหตุฉุกเฉิน Group : กลุ่มภารกิจ : ส่วนย่อยขององค์กรทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพื่อแบ่งแยกโครงสร้างการจัดการเหตุฉุกเฉินตาม ภารกิจด้านต่าง ๆ ทีจ่ ะต้องปฏิบตั ิ กลุ่มภารกิจจะประกอบด้วยทรัพยากรต่าง ๆ ทีร่ ะดมมารวมตัวกันเพื่อ ปฏิบตั ภิ ารกิจทีเ่ ฉพาะเจาะจง ทัง้ นี้ไม่จาเป็ นว่าจะต้องปฏิบตั ภิ ารกิจภายในพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารเชิงภูมศิ าสตร์ แห่งหนึ่งแห่งใดเพียงแห่งเดียว
178
Hazard : ภัย : สิง่ ทีอ่ าจจะเป็ นอันตรายหรือมีผลร้าย ซึง่ มักจะเป็ นต้นตอหรือสาเหตุรากเหง้าของผลที่ เกิดขึน้ ตามมาทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ Incident : เหตุฉุกเฉิน : สิง่ ที่เกิดขึน้ ไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากการกระทาของมนุ ษย์ ที่ทาให้ จาเป็ นต้องดาเนินการตอบโต้เพื่อปกป้องชีวติ หรือทรัพย์สนิ ตัวอย่างของสิง่ ที่เกิดขึ้นหรือเหตุฉุกเฉิน ดังกล่าวสามารถครอบคุลมถึง ภัยพิบตั ขิ นาดใหญ่ สภาวะฉุ กเฉิน การโจมตีของผูก้ ่อการร้าย การคุกคาม ของผู้ก่ อ การร้า ย การก่ อ ความไม่ส งบ อัค คีภยั ในเขตเมือ งและไฟป่า อุ ท กภัย การรัวไหลของวั ่ ต ถุ อันตราย อุบตั เิ หตุนิวเคลียร์ อากาศยานอุ บตั เิ หตุ แผ่นดินไหว พายุเฮอร์รเิ คน พายุทอร์นาโด พายุโซน ร้อน คลื่นสึนามิ ภัยพิบตั ทิ เ่ี กีย่ วเนื่องกับสงคราม สภาวะฉุ กเฉินทางสาธารณสุข และการแพทย์ และเหตุ ฉุกเฉินอื่น ๆ ทีจ่ าเป็นต้องดาเนินการตอบโต้อย่างฉับพลัน Incident Action Plan : แผนเผชิญเหตุ : แผนซึ่งจัดทาเป็ นลายลัษณ์อกั ษรหรือสังด้ ่ วยวาจา ซึ่ง ประกอบด้วยวัตถุประสงค์ทวไปที ั ่ ส่ ะท้อนหรือแสดงถึงกลยุทธ์ในภาพรวม สาหรับการจัดการเหตุฉุกเฉิน แผนทีอ่ าจจะรวมถึงการกาหนดทรัพยากรที่จะใช้ในการปฏิบตั งิ าน และภารกิจที่มอบหมาย และอาจจะ รวมถึงสิง่ ที่แนบมากับแผนซึ่งมีคาแนะนา และข้อมูลข่าวสารสาหรับการจัดการเหตุฉุกเฉินระหว่างช่วง ระยะเวลาการปฏิบตั กิ ารช่วงหนึ่งหรือหลายช่วง Incident Base : ฐานที่ตงั ้ : สถานทีท่ ใ่ี ช้ในการประสานงานและการดาเนินภารกิจหลักด้านการให้การ สนับสนุ นกาลังบารุง จะมีการจัดตัง้ ฐานที่ตงั ้ เพียงฐานเดียวต่อหนึ่งเหตุฉุก เฉิน (ชื่อเรียกเหตุฉุกเฉินที่ เกิดขึ้นหรือชื่อเรียกอื่น ๆ จะได้รบั การนามาผนวกกับคาว่า “ฐาน”) ศูนย์บญ ั ชาการอาจจะตัง้ อยู่ในที่ เดียวกันกับฐานทีต่ งั ้ Incident Command : การบัญชาการเหตุการณ์ : องค์ประกอบเชิงองค์กรของระบบการบัญชาการ เหตุ ก ารณ์ ท่ีม ีห น้ า ที่ร ับ ผิด ชอบการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น ในภาพรวม และประกอบด้ว ยผู้บ ัญ ชาการ เหตุการณ์ (อาจจะเป็นโครงสร้างการบัญชาการเดีย่ วหรือหน่วยบัญชาการร่วม) และเจ้าหน้าทีส่ นับสนุ นที่ ได้รบั การมอบหมาย Incident Commander : ผูบ้ ญ ั ชาการเหตุการณ์ : บุคคลทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบการดาเนินกิจกรรมทัง้ หมด ทีเ่ กีย่ วข้องกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ และรับผิดชอบการพัฒนากลยุทธ์ และยุทธวิธ ี และการสังใช้ ่ และการ จัดส่งทรัพยากร ผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์มอี านาจหน้ าที่และความรับผิดชอบโดยรวมต่อการดาเนินการ ตอบโต้เหตุฉุกเฉิน และรับผิดชอบการจัดการการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินในสถานทีเ่ กิดเหตุทงั ้ หมด
179
Incident Command Post : ศูนย์บญ ั ชาการเหตุการณ์ในพืน้ ที่ : สถานทีท่ จ่ี ดั ตัง้ ขึน้ ในพืน้ ทีเ่ พื่อใช้ในการ ดาเนินภารกิจหลัก ศูนย์บญ ั ชาการอาจจะตัง้ อยู่รวมกันกับฐานที่ตงั ้ หรือสถานที่อ่นื ๆ ที่จดั ตัง้ ขึ้นเพื่อ วัตถุประสงค์ในการจัดการเหตุฉุกเฉิน Incident Command System : ระบบการจัดการสภาวะฉุ กเฉินในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุทไ่ี ด้รบั การออกแบบและ การจัดตัง้ ขึน้ เป็ นการเฉพาะ เพื่อให้มโี ครงสร้างองค์กรแบบบูรณาการทีส่ ะท้อนให้เห็นถึงความซับซ้อน และขนาด และความรุนแรงของเหตุฉุกเฉินหนึ่งเหตุการณ์หรือหลายเหตุการณ์ สาหรับใช้ในการจัดการ เหตุ ฉุ ก เฉิ นที่เ กิดขึ้นโดยปราศจากอุ ปสรรคจากเส้นแบ่งขอบเขตอ านาจหน้ าที่ ระบบการบัญ ชาการ เหตุการณ์เป็นการผสมผสานกันของสถานทีท่ าการ เครือ่ งมือ เจ้าหน้าที่ วิธกี ารปฏิบตั แิ ละการสื่อสารเพื่อ ทาหน้หาทีร่ ่วมกันภายใต้โครงสร้างองค์กรเดีย่ วกันทีไ่ ด้รบั การออกแบบมาเพื่อช่วยในการบริหารจัดการ ทรัพยากรในระหว่างเกิดเหตุ ฉุก เฉิ น ระบบการบัญชาการเหตุ การณ์ส ามารถที่จะนาไปใช้กับสภาวะ ฉุ กเฉินทุกประเภท และสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั เหตุฉุกเฉินขนาดเล็ก ตลอดถึงเหตุฉุกเฉินขนาด ใหญ่และเหตุฉุกเฉินที่ซบั ซ้อน มีหลายขอบเขตอานาจหน้ า ที่และพื้นที่รบั ผิดชอบ รวมถึงหน่ วยงานที่ จัดตัง้ ขึน้ ตามภารกิจ ทัง้ ในภาครัฐ และเอกชน นาระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ไปใช้ในการจัดองค์กร เพื่อจัดการการตอบโต้เหตุฉุกเฉินในระดับพืน้ ทีเ่ กิดเหตุ Incident Management : การจัดการเหตุฉุกเฉิน : บรรดากิจกรรมและองค์การจัดรูป แบบองค์กรทีท่ าให้ มีการปฏิบตั กิ าร การประสานงาน และการสนับสนุนทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลทีร่ ฐั บาลในทุกระดับ นาไปใช้เพื่อวางแผน ตอบโต้ และฟื้นฟู โดยใช้ทรัพยากรของทัง้ รัฐบาลและองค์กรพัฒนาเอกชน โดยไม่ คานึงสาเหตุ ขนาด และความซับซ้อนของเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ Incident Management Team : ทีมงานจัดการเหตุฉุกเฉิน ; ผู้บญ ั ชาการเหตุการณ์ และเจ้าหน้าที่ ทีมงานบัญชาการและทีมงานปฏิบตั กิ ารทีม่ คี วามเหมาะสม และได้รบั มอบหมายภารกิจในการจัดการเหตุ ฉุ กเฉิน ปจั จัยทีใ่ ช้กาหนด “ประเภท” หรือระดับของทีมงานจัดการเหตุฉุกเฉินประกอบด้วย ระดับของ การฝึ กอบรม และประสบการณ์ของสมาชิกของทีมงาน พร้อมทัง้ คุณสมบัตแิ ละหน้ าที่ความรับผิดชอบ ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ทก่ี าหนดไว้อย่างเป็นทางการ Incident Objectives : วัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉิน : ข้อความทีร่ ะบุถงึ แนวทางและการชีน้ า ที่จาเป็ นในการเลือ กกลยุทธ์ และแนวยุทธวิธ ีของทรัพยากรต่ าง ๆ วัต ถุประสงค์ของการจัดการเหตุ ฉุ กเฉินจะยึดความคาดหวังที่สมจริงของสิง่ ที่สามารถทาให้บรรลุผลได้ เมื่อมีการนาทรัพยากรที่ได้รบั จัดสรรทัง้ หมดไปใช้เป็ นฐาน วัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉินจะต้องมีลกั ษณะที่สามารถทาให้ สาเร็จและอีกทัง้ ต้องมีความยืดหยุน่ พอทีจ่ ะเลือกใช้กลยุทธ์ และยุทธวิธที างเลือกได้ Information Management : การบริหารจัดการสารสนเทศ : การรวบรวม การจัดระบบ และการควบุคม โครงสร้าง การประมวลและการจัดส่ง ข้อมูลข่าวสารจากหนึ่งแหล่งหรือจากหลายแหล่ง และการแบ่งปนั ให้กบั บุคคลหนึ่งหรือกับบรรดาบุคลทีม่ สี ่วนได้ส่วนเสียกับข้อมูลข่าวสารดังกล่าว
180
Integrated Planning System : ระบบการวางแผนเชิงบูรณาการ : ระบบทีไ่ ด้รบั การออกแบบมาเพื่อให้ม ี กระบวนการการพัฒนาและการบูรณาการแผนร่วมกันสาหรับรัฐบาลกลางเพื่อกาหนดวิธกี ารทีค่ รอบคลุม สาหรับการวางแผนระดับชาติให้สอดคล้องกับระบบการบริหารจัดการความมันคงแห่ ่ งมาตุภูม ิ ตามทีร่ ะบุ ไว้ในกลยุทธ์ระดับชาติเพื่อความมันคงแห่ ่ งมาตุภูม ิ (National Strategy for Homeland Security) Intelligence/Investigation : การข่าวกรอง/การสืบสวน : หน่ วยย่อยขององค์กรภายในระบบการ บัญชาการเหตุการณ์ ข่าวกรองทีเ่ ก็บรวบรวมตามภารกิจการข่าวกรอง/การสืบสวนจะเป็ นข้อมูลข่าวสาร ทีน่ าไปสู่การสืบหา การป้องกันการกระทาความผิดทางอาญา - หรือการจับกุมและการดาเนินการตาม กฎหมายต่อบุคคลทีม่ สี ่วนร่วมในการกระทาความผิด – รวมถึงเหตุการณ์ก่อการร้ายหรือข้อมูลข่าวสารที่ น าไปสู่ก ารระบุ ส าเหตุ ข องเหตุ ก ารณ์ ท่ีก าหนด (โดยไม่ค านึ ง ถึง แหล่ ง ที่ม า) เช่ น เหตุ ฉุ ก เฉิ น ทาง สาธารณสุขหรืออัคคีภยั ที่ไม่ทราบต้นกาเนิด ข่าวกรองดังกล่าวนี้จะแตกต่างจากข่าวกรองเกี่ยวกับการ ปฏิบตั กิ ารและสถานการณ์ทเ่ี ก็บรวบรวมและรายงานโดยส่วนแผนงาน Interoperability : ความสามารถใช้ทางานร่วมกันได้ : ความสามารถของระบบ บุคคล และเครื่องมือใน การใช้ปฏิบ ัติง านร่ว มกัน ในการให้แ ละรับ ข่า วสาร และ/หรือ บริก ารแก่ และจากระบบ บุ ค คล และ เครื่องมืออื่น ๆ และระหว่างหน่ วยงานในภาครัฐ และเอกชน แผนงาน และระหว่างองค์กรในลักษณะที่ ช่วยทาให้ระบบ บุคคล เครื่องมือ และหน่ วยงาน และองค์กรเหล่านี้สามารถทางานร่วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ความสามารถใช้ทางานร่วมกันได้ ยังช่วยให้บุคลากรด้านการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้และองค์กรในเครือสามารถติดต่อสื่อสารกัน ภายในหรือข้ามหน่ วยงาน และขอบเขต อานาจหน้าทีแ่ ละพื้นทีร่ บั ผิดชอบได้ โดยผ่านทางเสียง ข้อมูลข่าสาร หรือระบบการเรียกดูวดิ โี อตามสัง่ (Video – on – Demand) ตามเวลาจริง เมือ่ จาเป็นและเมือ่ ได้รบั มอบอานาจ Job Aid : เอกสารอธิบายประกอบการทางาน : แบบฟอร์ม ตารางตรวจสอบ หรือทัศนูปกรณ์ทน่ี ามาใช้ เพื่อสร้างความมันใจว่ ่ าได้ดาเนินการตามขัน้ ตอนทีเ่ ฉพาะเจาะจงของการปฏิบตั ภิ ารกิจ หรืองานทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้แล้วเสร็จและบรรลุผล Joint Field Office : สาหรับงานประสานการปฏิบตั กิ ารร่วมในพืน้ ที่ : องค์กรหลักในการบริหารจัดการ เหตุฉุกเฉินในพืน้ ที่ของรัฐบาลกลาง สานักงานนี้ เป็ นสถานที่ทาการชัวคราวของรั ่ ฐบาลกลางทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพื่อศูนย์กลางสาหรับการประสานงานของรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนพื้นเมืองอเมริกนั และรัฐบาล ท้องถิน่ และของภาคเอกชน และองค์กรพัฒนาเอกชนที่มหี น้าทีร่ บั ผิดชอบหลักด้านการปฏิบตั กิ ารตอบ โต้และการฟื้นฟูบรู ณะ โครงสร้างของสานักงานประสานการปฏิบตั ริ ่วมภาคสนามมีการจัดรูปแบบองค์กร การจัดกาลังเจ้าหน้าทีแ่ ละการบริหารจัดการในลักษณะทีส่ อดคล้องกับหลักการของระบบการจัดการเหตุ ฉุ กเฉินแห่งชาติ ถึงแม้ว่าสานักงานประสานการปฏิบตั ิการร่วมภาคสนามจะใช้โครงสร้างเดียวกันกับ ระบบการบัญชาการเหตุการณ์ แต่สานักงานนี้ไม่ได้ทาหน้าทีจ่ ดั การการปฏิบตั กิ ารในสถานทีเ่ กิดเหตุ แต่
181
มุ่งเน้นถึงการให้การสนับสนุ นความพยายามในการปฏิบตั ภิ ารกิจในสถานทีเ่ กิดเหตุ และการดาเนินการ สนับสนุนการปฏิบตั กิ ารทีค่ รอบคลุมพืน้ ทีก่ ว้างขึน้ ทีอ่ าจจะขยายเกินขอบเขตพืน้ ทีท่ เ่ี กิดเหตุ Joint Information Center : ศูนย์ข่าวร่วม ; สถานทีท่ จ่ี ดั ตัง้ ขึน้ เพื่อทาหน้าทีป่ ระสานข้อมูลข่าวสาร สาธารณะทีเ่ กี่ยวข้องกับการดาเนินกิจกรรมการบริหารจัดการเหตุการณ์ ศูนย์ข่าวร่วมเป็ นจุดกลางของ การติดต่อสาหรับสื่อข่าวทุกประเภท เจ้าหน้าทีข่ อ้ มูลข่าวสารสาธารณะจากหน่ วยงานทีม่ สี ่วนร่วมทัง้ หมด ควรต้องเข้ามาอยูร่ วมกันในศูนย์น้ี Joint Inforamation System : ระบบข้อมูลร่วม : โครงสร้างเครือข่ายหรือระบบการบูรณาการข้อมูล ข่าวสารทีเ่ กีย่ วข้องกับเหตุฉุกเฉินและกิจการสาธารณะเข้าด้วยกันเป็ นระบบเดียวทีไ่ ด้รบั การออกแบบมา เพื่อสามารถให้ขอ้ มูลข่าวสารทีส่ อดคล้องต่อเนื่อง มีการประสานงาน ถูกต้อง ไม่มขี อ้ ผิดพลาด สามารถ เข้าถึงได้ ทันการณ์ และมีค วามสมบูรณ์ ในช่ว งวิกฤตหรือ ระหว่างการปฏิบตั ิการตอบโต้เ หตุ ฉุกเฉิ น ภารกิจของระบบข้อมูลร่วมคือจัดให้มโี ครงสร้างและระบบสาหรับการจัดทาและการส่งข้อความระหว่ าง หน่ วยงานที่ประสานงานกัน ; การให้การชี้แนะ และการปฏิบตั ติ ามแผนและกลยุทธ์ด้านข้อมูลข่าวสาร สารธารณะในนามของผู้บญ ั ชาการเหตุ ก ารณ์ ; ให้ค าแนะนาแก่ ผู้บญ ั ชาการเหตุ ก ารณ์ ใ นประเด็น ที่ เกี่ยวข้องกับกิจการสาธารณะที่สามารถส่งผลกระทบต่อความพยายามในการตอบโต้เหตุฉุกเฉิน ; การ ควบคุมข่าวลือหรือข้อมูลข่าวสารทีไ่ ม่ถูกต้องทีส่ ามารถทาลายความเชื่อมันของสาธารณชน ่ ทีม่ ตี ่อความ พยายามในการตอบโต้สภาวะฉุกเฉิน Jurisdiciton : ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ : ขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบใน การจัดการเหตุฉุ กเฉินของหน่ ว ยงานภาครัฐจะสัมพันธ์หรือเชื่อ มโยงกับหน้ าที่ความรับผิดชอบ และ อานาจหน้าทีต่ ามกฎหมายของหน่ วยงาน อานาจหน้าทีห่ รือพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบตามกฎหมายอาจจะกาหนด ตามเขตการเมืองการปกครอง หรือพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ (เช่น รัฐบาลกลาง เส้นเขตแดนรัฐ ชนพืน้ เมือง อเมริก ัน และเส้นเขตแดนรัฐบาลท้อ งถิ่น) หรือ ตามภารกิจ (เช่น ภารกิจด้านการบังคับใช้กฎหมาย ภารกิจด้านสาธารณสุข) Jurisdictional Agency : หน่ วยงานที่มอี านาจหน้ าที่และความรับผิดชอบต่อพื้นที่ทางภูมศิ าสตร์ท่ี เฉพาะเจาะจง หรือต่อภารกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมาย Key Resource : ทรัพ ยากรหลัก : ทรัพยากรที่อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐหรือเอกชนที่เป็ น ปจั จัยพืน้ ฐานทางด้านเศรษฐกิจและการดาเนินงานของรัฐบาล Liasion : รูปแบบของการประสานงานเพื่อสร้างและดารงรักษาความเข้าใจอันดีท่มี ตี ่อกันและความ ร่วมมือระหว่างกัน
182
Liason Officer : เจ้าหน้ าที่ประสานงาน : สมาชิกในทีมงานบัญชาการที่มหี น้ าที่รบั ผิดชอบในการ ประสานงานกับตัวแทนจากหน่วยงานหรือองค์กรทีใ่ ห้ความร่วมมือและความช่วยเหลือ Logistics : กระบวนการ และข้อปฏิบตั สิ าหรับการจัดหาทรัพยากรและบริการอื่น ๆ ให้ เพื่อสนับสนุ นการ จัดการเหตุฉุกเฉิน Logistics Section : ส่วนสนับสนุ นกาลังบารุง : หน่ วยองค์กรระดับส่วนภายในระบบการบัญชาการ เหตุ ก ารณ์ ท่ีม ีห น้ า ที่ร บั ผิด ชอบในการจัด หาสถานที่ท าการ การบริการ และพัส ดุเ พื่อ สนับสนุ นการ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉิน Management by Objectives : การบริหารจัดการโดยยึดวัตถุประสงค์เป็ นหลัก : วิธกี ารบริหารจัดการที่ เกีย่ วข้องกับกระบวนการห้าขัน้ ตอนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการจัดการเหตุฉุกเฉินประกอบด้วย ; การ กาหนดวัตถุประสงค์ของการจัดการเหตุฉุกเฉินที่ครอบคลุม ; การจัดทากลยุทธ์โดยยึดวัตถุประสงค์ท่ี ครอบคลุมเป็นฐาน ; การจัดทาแผน และการกาหนดขัน้ ตอน ระเบียบปฏิบตั แิ ละการมอบหมายงาน ; การ กาหนดยุทธวิธหี รือภารกิจทีเ่ ฉพาะเจาะจงและสามารถวัดผลได้สาหรับกิจกรรมตามภารกิจในการจัดการ เหตุฉุกเฉิน และการกากับดูแลการดาเนินงานให้ลุล่วง เพื่อเป็ นการสนับสนุ นกลยุทธ์ท่ไี ด้กาหนดไว้ ; และจดบันทึกผลสาเร็จเพื่อใช้วดั ผลการปฏิบตั งิ านและเพื่อช่วยให้การดาเนินการปรับปรุงแก้ไขสะดวกขึน้ Manager : ผู้จดั การ : บุคคลในหน่ วยองค์กรระบบการบัญชาการเหตุการณ์ท่ไี ด้รบั มอบหมายให้ รับ ผิด ชอบในการบริห ารจัด การด้า นต่ า ง ๆ ที่มลี ัก ษณะเฉพาะเจาะจง (เช่น (ผู้จ ดั การพื้น ที่เ ตรีย ม ปฏิบตั กิ าร หรือผูจ้ ดั การค่ายพัก) Mitigation : การบรรเทา : กิจกรรมต่าง ๆ ทีช่ ่วยสร้างรากฐานทีส่ าคัญสาหรับความพยายามทีจ่ ะลดการ สูญ เสีย ชีว ิต และทรัพ ย์ส ินจากภัย พิบ ัติธ รรมชาติ และ/หรือ ที่เ กิด จากการกระทาของมนุ ษ ย์โ ดยการ หลีกเลี่ยงหรือการลดผลกระทบจากภัยพิบตั ใิ ห้น้อยลง และโดยการให้คุณประโยชน์ ต่อสาธารณชนโดย การทาให้ชุมชนมีความปลอดภัยยิง่ ขึน้ การบรรเทาภัยมุ่งทีจ่ ะแก้ไขวงจรของความเสียหายทีเ่ กิดจากภัย พิบตั ิ การสร้างขึน้ ใหม่ และความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ ซ้าซาก กิจกรรมและการงานต่าง ๆ เหล่านี้ โดยส่วน ใหญ่จะมีผลอย่างยังยื ่ นในระยะยาว Mobilization : การระดมทรัพยากร/การเคลื่อนย้ายทรัพยากร : กระบวนการและขัน้ ตอนปฏิบตั ทิ ่ที ุก องค์กรของ – รัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนเผ่าอเมริกนั และรัฐบาลท้องถิน่ – นามาใช้ในการลงมือใช้ งาน การรวบรวมเข้าด้วยกัน และการขนส่งทรัพยากรทุกประเภททีม่ กี ารร้องขอเพื่อการปฏิบตั กิ ารตอบ โต้ หรือเพื่อสนับสนุนการจัดการเหตุฉุกเฉิน
183
Mobilization Guide : คู่มอื ระดมทรัพยากร : เอกสารอ้างอิงทีอ่ งค์กรต่าง ๆ นามาใช้ มีการสรุปข้อตกลง กระบวนการ และขัน้ ตอนปฏิบตั ิไว้ใ นคู่มอื ดังกล่าว เพื่อ ให้หน่ ว ยงาน/องค์กรต่าง ๆ ที่เข้ามีส่ วนร่ว ม นาไปใช้ในการลงมือใช้งาน การรวบรวมเข้าด้วยกันและการขนย้ายทรัพยากร Multiagency Coordination (MAC) Group) : คณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กร : คณะผูบ้ ริหาร หรือผูจ้ ดั การหรือผูแ้ ทน โดยปกติบุคคลเหล่านี้จะได้รบั มอบอานาจในการให้การยินยอมให้ใช้ทรัพยากร และเงินกองทุนของหน่ วยงาน คณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กรสามารถประสานการตัดสินใจ และการจัดสรรทรัพยากรระหว่างหน่ วยงานต่าง ๆ ทีใ่ ห้ความร่วมมือในการปฏิบตั กิ าร และอาจจัดลาดับ ความสาคัญของเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ รวมถึงการปรับนโยบายของหน่ วยงานต่าง ๆ ให้สอดคล้อง กัน และให้ค าแนะน า และก าหนดทิศ ทางเชิง กลยุท ธ์เ พื่อ สนับ สนุ น กิจ กรรมการจัด ก ารเหตุ ฉุ ก เฉิ น คณะกรรมการประสานงานระหว่างองค์กรอาจเป็ นที่รู้จกั ในชื่ออื่น เช่น คณะกรรมการระหว่างองค์กร คณะกรรมการจัดการเหตุฉุกเฉิน หรือในชื่ออื่นตามที่กาหนดไว้ในระบบการประสานงานเชิงพหุภาคี (Multiagency Coordination System) Multiagency Coordination System (MACS) : ระบบการประสานงานเชิงพหุภาคี : ระบบทีก่ าหนดให้ม ี รูปแบบหรือโครงสร้างสนับสนุ นการประสานงานเพื่อจัดลาดับความสาคัญของเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ การ จัดสรรทรัพยากรที่สาคัญอย่างยิง่ ยวด การบูรณาการระบบการสื่อสาร และการประสานข้อมูลข่าวสาร ระบบการประสานงานเชิงพหุภาคีสามารถทีจ่ ะช่วยหน่ วยงานและองค์กรต่าง ๆ ในการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ เหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ ส่วนประกอบของระบบการประสานงานเชิงพหุภาคีประกอบด้วย สถานที่ทาการ เครื่องมือ บุคลากร ขัน้ ตอนปฏิบตั แิ ละการสื่อสาร ส่วนประกอบหลักของระบบการประสานงานเชิงพหุ ภาคีท่ีน ามาใช้ก ัน ทัว่ ไปส่ ว นใหญ่ ม ีอ ยู่ส องส่ ว นประกอบคือ ศู น ย์ป ฏิบ ัติฉุ ก เฉิ น และคณะกรรมการ ประสานงานระหว่างองค์กร Multijurisdictional Incident : เหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ ทีจ่ าเป็ นต้องใช้หน่ วยงานหลายหน่ วยเข้ามามีส่วน ร่วมดาเนินการ และแต่ ละหน่ วยมีขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบด้านหนึ่งด้านใดเป็ นการ เฉพาะ ในระบบการบัญชาการเหตุ การณ์ หากเกิดเหตุฉุกเฉินลักษณะนี้จะมีการมอบหมายให้หน่ ว ย บัญชาการร่วมมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการจัดการ Mutual Aid Agreement or Assistance Agreement : ข้อตกลงช่วยเหลือซึง่ กันและกันหรือข้อตกลงให้ ความช่วยเหลือ : ข้อตกลงที่เป็ นลายลักษณ์ อกั ษรหรือด้วยวาจาระหว่างหน่ วยงาน/องค์กร และ/หรือ ระหว่างขอบเขตอานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ ที่ทาให้มกี ลไกช่วยให้ได้รบั ความช่วยเหลือฉุ กเฉินใน ด้านเจ้าหน้าที่ เครื่องมือ วัสดุ และบริการอื่น ๆ ที่ควบคู่กบั ทรัพยากรดังกล่าวรวดเร็วขึน้ วัตถุ ประสงค์ หลักของข้อตกลงดังกล่าวคือการอานวยความสะดวกในการจัดเตรียมและการให้การสนับสนุ นฉุ กเฉินที่ รวดเร็วและในระยะสัน้ ก่อน ระหว่าง และ/หรือหลังจากเกิดเหตุฉุกเฉิน
184
National Essential Functions : ภาระหน้าที่ทส่ี าคัญของชาติ : ชุดย่อยของภาระหน้าที่จาเป็ นของ รัฐบาลทีจ่ ะต้องดาเนินการเพื่อนาพาและจรรโลงประเทศในระหว่างทีป่ ระสบมหันตภัย และดังนัน้ จึงต้อง ได้รบั การสนับสนุนและรองรับโดยความต่อเนื่องของการดาเนินงาน และความต่อเนื่องของความสามารถ ในการดาเนินงานของรัฐบาล National Incident Management System : ระบบการจัดการเหตุการณ์แห่งชาติ : บรรดาหลักการทีไ่ ด้ กาหนดวิธกี ารทีเ่ ป็นระบบและเชิงรุกทีห่ น่วยงานรัฐบาลในทุกระดับ องค์กรพัฒนาเอชกน และภาคเอกชน ใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ริ ว่ มกันได้อย่างกลมกลืนเพื่อทีจ่ ะป้องกัน ปกป้อง ตอบโต้ ฟื้ นฟู และบรรเทา ผลกระทบของเหตุการณ์ โดยไม่คานึงถึงสาเหตุ ขนาด สถานที่ หรือความซับซ้อน เพื่อที่จะลดความ สูญเสียในชีวติ และทรัพย์สนิ และอันตรายต่อสิง่ แวดล้อม National Response Framework : กรอบปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินแห่งชาติ : คู่มอื วิธกี ารตอบโต้ภยั ทุกประเภทของประเทศ Nongovernmental Organization (NGO) : องค์กรพัฒนาเอกชน : นิตบิ ุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ม ี ความสัมพันธ์และรวมตัวกันโดยยึดความสนใจของสมาชิก ของบุคคลหรือของอองค์กรเป็ นหลัก องค์กร พัฒนาเอกชนเป็ นองค์ก รที่ไม่ได้จดั ตัง้ ขึ้นโดยรัฐบาล แต่ อาจทางานร่วมกับรัฐบาล องค์กรเหล่านี้ทา หน้าที่ตอบสนองความต้องการของสาธารณชน ไม่ใช่ เพื่อผลประโยชน์ส่วนบุคคล ตัวอย่างขององค์กร พัฒนาเอกชนรวมถึงองค์กรการกุศล สภากาชาดอเมริกา องค์กรพัฒนาเอกชนยังรวมถึงกลุ่มความเชื่อ ทางศาสนา และกลุ่มอาสาสมัครทีใ่ ห้การช่วยเหลือสงเคราะห์ในการดารงชีวติ ลดและบรรเทาความทุกข์ ยากทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ และสนับสนุ นการฟื้ นฟูผู้ประสบภัย บ่อยครัง้ ที่กลุ่มบุคคลเหล่านี้ให้บริการ เฉพาะทางเพื่อช่วยเหลือบุคคลพิการ องค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรอาสาสมัคร มีบทบาทสาคัญในการ ช่วยผูจ้ ดั การสภาวะฉุกเฉินทัง้ ในช่วงก่อน ระหว่าง และหลังการเกิดสภาวะฉุกเฉิน Operational Period : ช่วงระยะเวลาปฏิบตั งิ าน ; ตารางเวลาสาหรับการลงมือปฏิบตั หิ น้าทีท่ ก่ี าหนดให้ ตามทีไ่ ด้ระบุไว้ในแผนเผชิญเหตุ โดยปกติจะมีการกาหนดช่วงระยะเวลาปฏิบตั งิ านเป็ นช่วง ๆ และแต่ละ ช่วงจะใช้เวลา 12 ถึง 24 ชัวโมง ่ Operational Section : ส่วนปฏิบตั กิ าร : เป็ นองค์กรในระดับส่วนของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ มี หน้าที่รบั ผิดชอบในการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินเชิงกลยุทธ์ และการนาแผนเผชิญเหตุไปปฏิบตั ใิ น ระบบการบัญชาการเหตุการณ์โดยปกติ ส่วนปฏิบตั กิ ารจะรวมถึงสาขาเขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร และ/หรือกลุ่ม ภารกิจทีอ่ ยูภ่ ายใต้การบังคับบัญชา Organization : องค์กร : สมาคมหรือกลุ่มบุคคลใดทีม่ วี ตั ถุประสงค์เหมือนกัน ตัวอย่างขององค์กรจะรวบ ถึง แต่ไม่จากัดเฉพาะกระทรวงหรือหน่วยงานของรัฐบาล องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชน
185
Personal Responsibility : ความรับผิดชอบส่วนบุคคล : ความจาเป็ นหรือพันธะทีเ่ ป็ นเหตุผลของการ กระทาหรือการดาเนินงานของบุคคล Personnel Accountability : ความรับผิดชอบต่อผูป้ ฏิบตั หิ น้าที่ : ความสามารถทีจ่ ะชีแ้ จงหรือเหตุผล เกี่ยวกับพื้นที่หรือสถานที่ปฏิบตั ิงาน และสวัสดิภาพของเจ้าหน้ าที่ด้านการปฏิบตั ิการตอบโต้ได้ การ ดาเนินการดังกล่าวสามารถจะบรรลุผลได้กต็ ่อเมือ่ ผูค้ วบคุมดูแลการปฏิบตั กิ ารทาการตรวจสอบให้แน่ ใจ ว่าหลัก การและกระบวนการของระบบการบัญ ชาการเหตุ การณ์ ส ามารถนาไปใช้ปฏิบตั ิการได้ และ เจ้าหน้าทีด่ า้ นการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ทางานภายใต้แนวทางการบริหารจัดการเหตุการณ์ทก่ี าหนดไว้ Plain Language : ภาษาธรรมดา : การติดต่อสื่อสารทีฝ่ ่ายผูร้ บั สามารถเข้าใจในเรื่องทีต่ ดิ ต่อสื่อสารและ เป็ นไปตามจุดประสงค์ของผู้ตดิ ต่อสื่อสาร เพื่อให้เป็ นไปตามจุดประสงค์ของระบบการจัดการเหตุกาณ์ แห่งชาติ ได้มกี ารกาหนดภาษาธรรมดาขึน้ มาใช้ตามความเหมาะสม และเพื่อขจัดหรือจากัดการใช้รหัส หรือตัวย่อในการสื่อสารในระหว่างการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินทีม่ หี น่ วยงานมากกว่าหนึ่งหน่ วยเข้า มาเกีย่ วข้อง Planned Event : เหตุการณ์ทม่ี กี ารวางแผน : กิจกรรมปกติทก่ี าหนดขึน้ (เช่น มหกรรมกีฬา มหกรรม ดนตรี ขบวนพาเหรด เป็นต้น) Planning Meeting : การประชุมวางแผน ; การประชุมทีจ่ ดั ขึน้ ตามความจาเป็ นก่อนและตลอดระยะเวลา ทีเ่ กิดเหตุฉุกเฉินเพื่อทีจ่ ะสรรหากลยุทธ์ และยุทธวิธเี ฉพาะเจาะจงสาหรับใช้ในการปฏิบตั กิ ารควบคุมเหตุ ฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ และเพื่อวางแผนการให้การสนับสนุ นและบริการ สาหรับกรณีทเ่ี กิดเหตุฉุกเฉินทีม่ ขี นาด ใหญ่ การประชุมวางแผนจะเป็นองค์ประกอบสาคัญในการจัดทาแผนเผชิญเหตุ Planning Section : ส่วนแผนงาน : เป็ นองค์กรระดับส่วนของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ มีหน้าที่ ความรับผิดชอบในการรวบรวม ประเมินผลและการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร การปฏิบตั ิการทีเ่ กี่ยวเนื่องกับ เหตุฉุกเฉิน และรับผิดชอบการจัดเตรียม และจัดพิมพ์แ ผนเผชิญเหตุ ส่วนแผนงานยังทาหน้ าที่รกั ษา ข้อ มูล ข่ า วสารเกี่ย วกับ สถานการณ์ ป จั จุ บ ัน และที่ค าดการณ์ ไ ว้ รวมถึง ข้อ มู ล เกี่ย วกับ สถานะของ ทรัพยากรทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉิน Portability : ความสามารถในการนาไปใช้งานในสภาพแวดล้อมทีต่ ่างกันได้ : วิธกี ารทีช่ ่วยให้การสื่อสาร และการทางานร่ว มกันของระบบต่ าง ๆ ที่โดยปกติจะมีค วามแตกต่ างกันมีค วามสะดวกและง่ายขึ้น ความสามารถในการนาไปใช้งานในสภาพแวดล้อมทีต่ ่างกันได้ของเทคโนโลยีส่อื สาร ระเบียบปฏิบตั ิ และ ความถี่วทิ ยุท่เี จ้าหน้าที่ดา้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบ ัตกิ ารตอบโต้ใช้อยู่จะช่วยทาให้การบูร ณาการ การขนส่ งและการใช้งานระบบสื่อ สารในเวลาที่จาเป็ น ความสามารถในการนาไปใช้งานใน
186
สภาพแวดล้อมทีต่ ่างกันได้ จะรวมถึงการกาหนดช่องทางวิทยุส่อื สารทีเ่ ป็ นมาตรการ เพื่อใช้ขา้ มขอบเขต อานาจหน้าทีแ่ ละพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร โดยทีย่ งั คงใช้อุปกรณ์ส่อื สารเดิมทีเ่ คยใช้ Pre - Positioned Resource : ทรัพยากรทีจ่ ดั วางไว้ล่วงหน้า : ทรัพยากรทีไ่ ด้รบั การเคลื่อนย้ายไปยัง พื้นที่ใ กล้เ คียงกับพื้นที่ท่คี าดว่าจะเกิดเหตุ ฉุ กเฉิ นเพื่อ เป็ นการตอบสนองความต้อ งการทรัพยากรที่ คาดการณ์ไว้ Preparedness : การเตรียมควมพร้อม : วงจรทีต่ ่อเนื่องของการวางแผน การจัดระบบ การฝึกอบรม การ จัดหาทรัพยากรให้ การฝึ กซ้อม การประเมินผล และการดาเนินการแก้ไข เพื่อที่จะสร้างความมันใจใน ่ ความพยายามที่จะให้มกี ารประสานงานที่มปี ระสิทธิภาพในระหว่างการปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินที่ เกิดขึน้ อนึ่ง ภายใต้ระบบการจัดการเหตุการณ์แห่งชาติ การเตรียมความพร้อมจะเน้นถึงส่วนประกอบ ดังต่อไปนี้ : การวางแผน ; ขัน้ ตอนการดาเนินงานและระเบียบปฏิบตั ิ ; การฝึกอบรมและฝึกซ้อม ; การ กาหนดคุณสมบัตแิ ละการรับรองขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ ; และการรับรองสมรรถนะของเครือ่ งมือ Preparedness Organization : องค์กรประสานการเตรียมความพร้อม : องค์กรทีท่ าหน้าทีป่ ระสานการ ดาเนินกิจกรรมการจัดการเหตุฉุกเฉิน และการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ก่อนที่จะมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึน้ องค์กร เหล่านี้มตี งั ้ แต่กลุ่มของบุค คลไปจนถึงคณะกรรมการชุดเล็ก และองค์กรที่จดั ตัง้ ขึ้ นเป็ นการถาวร ที่ม ี คณะกรรมการหลายชุ ด กลุ่ ม วางแผน และรวมถึง องค์ก รอื่น ๆ (เช่ น หน่ ว ยอาสาสมัค รพลเรือ น คณะกรรมการวางแผนฉุ ก เฉิ นระดับท้อ งถิ่น คณะกรรมการประสานงานภาคโครงสร้า งพื้นฐานที่ม ี ความสาคัญยิง่ Prevention : การป้องกัน : การกระทาใด ๆ เพื่อหลีกเลีย่ งงานเหตุฉุกเฉินหรือเข้าไปแทรกแซงเพื่อไม่ให้ เหตุฉุกเฉินเกิดขึน้ การป้องกันและเกี่ยวข้องกับการกระทาการเพื่อปกป้องชีวติ และทรัพย์สนิ และเป็ น เรื่องทีเ่ กี่ยวข้องกับการนาข่าวกรองและข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้กบั กิจกรรมต่าง ๆ เช่น การ ใช้มาตรการตอบโต้เพื่อเป็ นการป้องปราม ; การตรวจตราดูแลที่เข้มงวดมากขึ้น ; การดาเนินการเฝ้า ระวังและการรักษาความปลอดภัยทีด่ ขี น้ึ ; การดาเนินการสืบสวนเพื่อระบุลกั ษณะ และแหล่งทีม่ าของภัย คุกคามอย่างเต็มรูปแบบ ; กระบวนการเฝ้าระวังและการทดสอบทางด้านสาธารณสุขและการเกษตร ; การสร้างภูมคิ ุ้มกันโรค การแยกออก และการกักกัน ; และการดาเนินการบังคับใช้กฎหมายตามความ เหมาะสม เพื่อทีจ่ ะขัดขวางหรือยับยัง้ ป้องปราบ ห้ามหรือก่อกวนการดาเนินกิจกรรมทีผ่ ดิ กฎหมาย และ การจับกุมผูท้ ต่ี อ้ งสงสัยและดาเนินคดี Primary Mission Essential Functions : ภารกิจของรัฐบาลทีจ่ าเป็ นต้องดาเนินการเพื่อสนับสนุ น หรือ ทาให้เ กิด ความต่ อ เนื่ อ งของการด าเนิ นภารกิจ ที่จ าเป็ น ยิ่ง ในช่ ว งก่ อ น ระหว่ า ง และในช่ ว งที่ไ ด้ร บั ผลกระทบจากเหตุฉุกเฉิน
187
Private Sector : ภาคเอกชน : องค์กรหรือบุคคลที่ไม่ได้เป็ นส่วนหนึ่งของโครงสร้างของรัฐบาล ภาคเอกชน จะรวมถึงองค์กรที่แสวงหาผลกาไรและที่ไม่แสวงหาผลกาไร องค์กรที่มรี ูปแบบโครงสร้าง อย่างไม่เป็นทางการ และเป็นทางการ องค์กรพาณิชย์ และองค์กรอุตสาหกรรม Protocol : ระเบียบปฏิบตั ิ : ชุดของแนวทางทีก่ าหนดขึน้ สาหรับการปฏิบตั งิ าน (ซึง่ อาจจะกาหนดโดย บุคคล ทีมงาน ภารกิจ หรือ ความสามารถ) ภายใต้เงือ่ นไขทีเ่ ฉพาะเจาะจงต่าง ๆ Public Information : ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ : กระบวนการ ขัน้ ตอนปฏิบตั แิ ละระบบเพื่อการสื่อสาร ข้อมูลที่ถูกต้อง ทันการณ์และสามารถเข้าถึงได้เกี่ยวกับสาเหตุ ขนาด และสถานการณ์ปจั จุบนั ของเหตุ ฉุ ก เฉินที่เกิดขึ้น ; ทรัพ ยากรที่จะได้รบั ตามพันธกรณี ; และเรื่องราวที่เป็ นที่สนใจกับสาธารณชน เจ้าหน้ าที่ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้และผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ (ที่ได้รบั ผลกระทบโดยตรง และโดย ทางอ้อม) ให้ได้รบั ทราบ Public Information Officer : เจ้าหน้าที่ขอ้ มูลสาธารณะ : สมาชิกของทีมงานบัญชาการที่มหี น้าที่ รับผิดชอบในการติดต่ อประสานกับสาธารณชนและสื่อ และ/หรือกับหน่ วยงานอื่น ๆ ที่มคี วามต้องการ ข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ Recovery : การฟื้นฟูบูรณะ : การจัดทาแผนการประสานงานและการดาเนินการตามแผนฟื้ นฟูบูรณะ การให้บริการ และสถานที่ท่ไี ด้รบั ผลกระทบ ; การสร้างหรือฟื้ นฟูบูรณะการดาเนินงานของรัฐบาลและ การบริการภาครัฐขึน้ มาใหม่ ; โครงการให้ความช่วยเหลือของบุคคล ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน และของรัฐในการจัดหาที่พกั อาศัย และสนับสนุ นการฟื้ นฟูบูรณะ ; การดูแลรักษาระยะยาวสาหรับผู้ท่ี ได้รบั ผลกระทบ ; มาตรการเสริมสาหรับการฟื้นฟูบรู ณะด้านสังคม การเมือง สิง่ แวดล้อม และเศรษฐกิจ ; การประเมินผลเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ หรือเพื่อกาหนดบทเรียนรู้ ; การจัดทารายงานหลังจากการเกิดเหตุ ฉุ กเฉิน ; และการพัฒนาแนวคิดการปฏิบตั กิ ารเชิงรุกเพื่อบรรเทาผลกระทบจากเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึน้ ใน อนาคต Recovery Plan : แผนฟื้นฟูบรู ณะ : แผนทีจ่ ดั ทาขึน้ เพื่อฟื้นฟูบรู ณะพืน้ ทีห่ รือชุมชนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ Reimbursement : การชาระเงินคืน : กลไกในการชดใช้ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึน้ จากการดาเนินกิจกรรมที่ เฉพาะเจาะจงเกีย่ วกับการจัดการเหตุฉุกเฉิน/การปฏิบตั กิ ารตอบโต้ Resource Management : การบริหารจัดการทรัพยากร : ระบบสาหรับการระบุทรัพยากรที่มอี ยู่และ พร้อมใช้งาน เพื่อช่วยทาให้สามารถเข้าถึงทรัพยากรทีจ่ ะเป็ นต้องใช้เพื่อเตรียมพร้อม ตอบโต้ และฟื้นฟู บูรณะได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทันการณ์และปราศจากอุปสรรค การบริหารจัดการทรัพยากรภายใต้ระบบ การจัดการเหตุฉุกเฉินแห่งชาติ รวมถึง การตกลงช่วยเหลือซึง่ กันและกัน และข้อตกลงให้ความช่วยเหลือ ;
188
การใช้งานทีมงานพิเศษของรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ ชนพื้นเมืองอเมริกนั และรัฐบาลท้องถิน่ ; และ ระเบียบปฏิบตั ใิ นการระดมและเคลื่อนย้ายทรัพยากร Resource Tracking : การติดตามการใช้ทรัพยากร : กระบวนการทีเ่ ป็ นมาตรฐานและเชิงบูรณาการที่ เจ้าหน้าทีด่ า้ นการจัดการเหตุฉุกเฉิน/ด้านการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ พร้อมทัง้ องค์กรเครือข่ายของเจ้าหน้าที่ ดังกล่าว ได้ดาเนินการทัง้ ในช่วงก่อน ระหว่าง และหลังจากเกิดเหตุฉุกเฉิน Resources : ทรัพยากร : บุคลากร และเครื่องมืออุปกรณ์ทส่ี าคัญและสถานทีท่ าการทีม่ อี ยู่หรือทีค่ าดว่า จะได้รบั มา เพื่อที่จะมอบหมายงานและจัดส่งไปปฏิบตั หิ น้าทีต่ อบโต้เหตุฉุกเฉินและทีย่ งั คงมีสถานภาพ การใช้ง านอยู่ ทรัพ ยากรต่ า ง ๆ จะได้ร บั การระบุ แ ยกเป็ น ชนิ ด และประเภท และอาจจะใช้ใ นการ สนับสนุนการปฏิบตั กิ ารหรือในการกากับดูแล ในพืน้ ทีเ่ กิดเหตุฉุกเฉินหรือทีศ่ ูนย์)กบัตกิ ารฉุกเฉิน Response : การตอบโต้ : การดาเนินการในระยะสัน้ เพื่อแก้ไขผลกระทบโดยตรงจากเหตุฉุกเฉินทีเ่ กิดขึน้ การตอบโต้จะรวมถึงการลงมือปฏิบตั กิ ารโดยฉับพลันเพื่อช่วยชีวติ ปกป้องทรัพย์สนิ และตอบสนองความ ต้องการขัน้ พืน้ ฐานของมนุ ษย์ การตอบโต้ยงั รวมถึงการดาเนินการตามแผนปฏิบตั กิ ารฉุ กเฉิน และการ ดาเนินกิจกรรมการบรรเทาภัยทีก่ าหนดไว้ เพื่อลดการสูญเสียชีวติ การได้รบั บาดเจ็บ ความเสียหายต่อ ทรัพย์สนิ และผลทีเ่ กิดขึน้ ตามมาทีไ่ ม่พงึ ประสงค์อ่นื ๆ ตามสถานการณ์กาหนดการตอบโต้จะรวมถึงการ ประยุกต์ใช้ขา่ วกรอง และข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ เพื่อลดผลกระทบ หรือผลทีเ่ กิดขึน้ ตามมาจากเหตุฉุ กเฉิน ; การรรักษาความปลอดภัยที่เพิม่ ขึน้ ; การสืบสวนลักษณะและแหล่งทีม่ าของภัยคุกคาม ; กระบวนการ เฝ้าระวังและการทดสอบทางด้านสาธารณสุข และการเกษตร ; การสร้างภูมคิ ุม้ กันโรค การแยกออกและ การกักกัน ; และการดาเนินการบังคับใช้กฎหมายที่เฉพาะเจาะจงเพื่อยับยัง้ ป้องปราบ หรือก่อกวนการ ดาเนินการทีผ่ ดิ กฎหมาย และจับกุมผูท้ ต่ี อ้ งสงสัยและดาเนินคดี Retrograde : การส่งคืนทรัพยากรกลับสถานทีต่ งั ้ เดิม Safety Officer : เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน : สมาชิกของทีมงานบัญชาการทีม่ หี น้าที่ รับผิดชอบด้านการติดตามดูแ ลการปฏิบตั ิการตอบโต้เ หตุ ฉุ ก เฉิ น และให้ค าแนะนาต่ อ ผู้บญ ั ชาการ เหตุการณ์ในทุกเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน รวมถึงการติดตามดูแลสุขภาพ และ ความปลอดภัยของเจ้าหน้าทีด่ า้ นการปฏิบตั กิ ารตอบโต้ Section : ส่วน : ระดับขององค์กรในระบบการบัญชาการเหตุการณ์ทม่ี หี น้าทีร่ บั ผิดชอบภาระหน้าทีห่ ลัก ด้า นต่ า ง ๆ ในการจัด การเหตุ ฉุ ก เฉิ น (เช่ น การปฏิบ ัติการ การวางแผน การสนับ สนุ น ก าลัง บารุง การเงิน/การบริหารจัดการ และการข่าวกรอง/การสืบสวน (ถ้ามีการจัดตัง้ )) ตามโครงสร้างขององค์กร ส่วนจะจัดตัง้ อยูร่ ะหว่างสาขากับการบัญชาการเหตุการณ์
189
Single Resource : ทรัพยากรเดีย่ ว : บุคคลใดบุคคลหนึ่ง เครื่องมือชิน้ ใดชิน้ หนึ่งพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ ประจาเครื่องมือ หรือกลุ่มคน/ทีมงานทีป่ ฏิบ ัตหิ น้าที่ร่วมกันภายใต้การควบคุมดูแลของหัวหน้าหน่ วยที่ พร้อมเข้ามาปฏิบตั ภิ ารกิจ Situation Report : การรายงานสถานการณ์ : ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับรายละเอียดที่เฉพาะเจาะจงที่ เกีย่ วข้องกับเหตุฉุกเฉินซึง่ ได้รบั การยืนยันหรือตรวจสอบแล้ว Span of Control : ขอบเขตการควบคุม : จานวนทรัพยากรทีผ่ คู้ วบคุมดูแลจะต้องรับผิดชอบ โดยทัวไป ่ ขอบเขตการควบคุมจะได้รบั การกาหนดให้เป็ นอัตราส่วนระหว่างผู้ควบคุมดูแลกับบุคคลที่อยู่ภายใต้ ความรับผิดชอบ ภายใต้ระบบการจัดการเหตุการณ์แห่งชาติ อัตราส่วนของขอบเขตการควบคุมจะอยู่ ระหว่าง 1 : 3 และ 1 : 7 ซึง่ อัตราส่วนทีเ่ หมาะสมทีส่ ุดจะเป็ น 1 : 5 หรืออัตราส่วน 1 : 8 และ 1 : 10 สาหรับการปฏิบตั กิ ารขนาดใหญ่เกีย่ วกับการบังคับใช้กฎหมาย Special Needs Population : ประชากรที่มคี วามต้องการพิเศษ : กลุ่มประชาชนทีอ่ าจจะมีความ ต้อ งการด้านอื่น ๆ เพิม่ เติมเพื่อ ประกอบภารกิจในช่ว งก่อ น ระหว่างและหลังจากเกิดเหตุการณ์ ซึ่ง รวมถึง แต่ไม่จากัดเฉพาะแต่การรักษาความเป็ นอิสระ การสื่อสาร การขนส่ง การควบคุมดูแลและการ รักษาพยาบาล บุคคลทีม่ คี วามต้องการความช่วยเหลือเพิม่ เติมในการรับมือกับภัย อาจจะรวมถึงผูพ้ กิ าร : ผูท้ อ่ี าศัยอยู่ในสถานสงเคราะห์/สถานคุม้ ครองสวัสดิภาพ ; ผูส้ ูงวัย ; เด็ก ; บุคคลทีม่ าจากวัฒนธรรมที่ หลากหลาย ซึ่ง มีค วามสามารถในการพู ด ภาษาอัง กฤษค่ อ นข้า งจ ากัด หรือ ผู้ ท่ีไ ม่ ส ามารถพู ด ภาษาอังกฤษได้ ; ผูท้ ด่ี อ้ ยโอกาสด้านการขนส่ง Staging Area : พืน้ ทีเ่ ตรียมปฏิบตั กิ าร : สถานทีต่ งั ้ ชัวคราวที ่ จ่ ดั ไว้สาหรับจัดเก็บหรือรวบรวมทรัพยากร ทีไ่ ด้รบั มาเพื่อใช้งาน พืน้ ทีเ่ ตรียมปฏิบตั กิ าร เป็นสถานทีใ่ ด ๆ ก็ได้ทส่ี ามารถใช้เป็นทีจ่ ดั วางหรือจอดเก็บ เครื่อ งมือ อุ ป กรณ์ วัส ดุ และเป็ น ที่พ ัก ของเจ้า หน้ า ที่เ ป็ น การชัว่ คราวในขณะที่ร อการมอบหมาย ภาระหน้าที่ Standard Operating Guideline : แนวทางการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็ นมาตรฐาน : บรรดาคาแนะนาทีม่ ผี ล บังคับเช่นเดียวกับคาสังที ่ ค่ รอบคลุมการดาเนินงาน หรือการปฏิบตั กิ ารทุกลักษณะทีส่ ามารถปรับเปลีย่ น ให้เข้ากับขัน้ ตอนปฏิบตั ทิ ช่ี ดั เจน และเป็นมาตรฐานได้โดยไม่ทาให้สญ ู เสียประสิทธิภาพ Standard Operating Procedure : ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐาน : เอกสารอ้างอิงทีส่ มบูรณ์แบบ หรือคู่มอื การปฏิบตั ิงานที่ได้กาหนดจุดประสงค์ อานาจหน้ าที่ ช่วงระยะเวลา และรายละเอียดต่าง ๆ สาหรับวิธกี ารที่ต้องการใช้ในการปฏิบตั ภิ ารกิจเพียงภารกิจเดียว หรือในการปฏิบตั กิ ารที่เกี่ยวข้องกับ หลายภารกิจในลักษณะทีเ่ ป็นเอกภาพ
190
State : รัฐ : เมื่อเขียนขึน้ ต้นด้วยอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ จะหมายถึงรัฐต่าง ๆ ของประเทศสหรัฐอเมริกา ; กรุงวอชิงตัน ดี. ซี. เครือรัฐเปอร์โตริโก้ : หมู่เกาะเวอร์จนิ ; เกาะกวม ; อเมริกนั ซามัว ; เครือรัฐหมู่เกาะ นอร์ธเทิรน์ มาเรียน่า ; และดินแดนอื่น ๆ ของประเทศสหรัฐอเมริกา State Report : รายงานสถานะทรัพยากร : ข้อมูลข่าวสารทีเ่ กีย่ วข้องกับสถานะของทรัพยากร (การได้มา และความพร้อมใช้งาน หรือการมอบหมายภาระหน้าทีใ่ ห้กบั ทรัพยากร) . Strategy : กลยุทธ์ : แผนทัว่ ๆ ไป หรือคาแนะนาทีเ่ ลือกมาใช้เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของการจัดการ เหตุฉุกเฉิน Strike Team : ชุดปฏิบตั กิ ารทีม : กลุ่มทรัพยากรที่ปฏิบตั หิ น้าที่หรือภารกิจที่ได้รบั มอบหมายอย่าง เดียวกันที่ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ตามจานวนขัน้ ต่ าทีไ่ ด้กาหนดไว้และมีระบบการสื่อสารที่ใช้ร่วมกันได้ และมีหวั หน้าชุด Substate Regfion : เขตการปกครองในระดับภูมภิ าคทีม่ ฐี านะต่ ากว่ารัฐ ; การรวมขอบเขตอานาจหน้าที่ และพื้น ที่ร ับ ผิด ชอบ อ าเภอ และ/หรือ ท้ อ งถิ่น ภายในรัฐ เข้า ด้ ว ยกัน เป็ น กลุ่ ม เพื่อ จุ ด ประสงค์ ท่ี เฉพาะเจาะจง (เช่น เพื่อความมันคงของมาตุ ่ ภูม ิ การศึกษาหรือสาธารณสุข และมักจะมีโครงสร้างเชิง การบริหาร/การปกครอง Supervisor : ผู้ควบคุมดูแล ; ชื่อตาแหน่ งของระบบการบัญชาการเหตุการณ์สาหรับบุคคลที่มหี น้าที่ รับผิดชอบเขตพืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ าร (Division) และกลุ่มภารกิจ Supporting Agency : หน่ วยสนับสนุ น : หน่ วยงานทีใ่ ห้การสนับสนุ น และ/หรือให้ความช่วยเหลือด้าน ทรัพยากรแก่หน่วยงานอื่น ๆ Supporting Technology : เทคโนโลยีรองรับ : เทคโนโลยีใด ๆ ทีอ่ าจนามาใช้สนับสนุ นระบบการจัดการ เหตุการณ์แห่งชาติ เช่น การทาแผนทีภ่ าพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข สถานีตรวจสภาพอากาศระยะไกลระบบ อัตโนมัติ เทคโนโลยีอนิ ฟราเรดหรือการสื่อสาร System : ระบบ : การบูรณาการสถานทีท่ าการ เครือ่ งมือ บุคลากร กระบวนการ ขัน้ ตอนปฏิบตั ิ และการ สื่อสารเข้าด้วยกัน เพื่อจุดประสงค์ทเ่ี ฉพาะเจาะจง Tactics : ยุทธวิธ ี : การใช้งานและการกากับดูแลทรัพยากรทีป่ ฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ทก่ี าหนดขึน้ ด้วยกลยุทธ์
191
Task Force : ชุดปฏิบตั กิ ารผสม : การผสมผสานรวมตัวกันของทรัพยากรเพื่อสนับสนุ นการปฏิบตั ิ ภารกิจที่เฉพาะเจาะจงหรือเพื่อรองรับความจาเป็ นในการปฏิบตั กิ าร ทรัพยากรทีป่ ระกอบอยู่ภายใต้ชุด ปฏิบตั ิก ารผสม จะต้อ งมีก ารสื่อ สารที่ส ามารถจะใช้ปฏิบตั ิงานร่ว มกันได้ และหัวหน้ าชุดที่ได้รบั การ แต่งตัง้ Technical Specialist : ผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง : บุคคลทีม่ คี วามชานาญพิเศษทีส่ ามารถนาไปใช้ ปฏิบตั ภิ ารกิจในส่วนหนึ่งส่วนใดภายในองค์กรของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ ไม่ได้มกี ารกาหนด คุณสมบัตขิ นั ้ ต่ าของผู้เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะทางไว้ เนื่องจากโดยปกติแล้วหน้าที่ท่บี ุคลเหล่านี้จะต้อง ปฏิบตั ใิ นระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉินจะเป็ นหน้าทีเ่ ดียวกันกับทีป่ ฏิบตั เิ ป็ นประจาอยู่แล้ว และโดยทัวไปแล้ ่ ว บุคคลเหล่านี้ต่างได้รบั การรับรองความเชีย่ วชาญเฉพาะทางและในวิชาชีพต่าง ๆ อยูแ่ ล้ว Technology Standards : มาตรฐานเทคโนโลยี : เงื่อนไข แนวทางหรือลักษณะเฉพาะที่อาจจาเป็ น สาหรับการช่วยสร้างเสริมและทาให้ระบบหลักต่าง ๆ สามารถทางานร่วมกันข้ามเส้นขอบเขตอานาจ หน้าที่ ขอบเขตพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ และขอบข่ายภาระหน้าทีไ่ ด้ง่ายและสะดวกขึน้ และมีความสอดคล้อง กัน Technology Support : การสนับสนุ นทางเทคโนโลยี : การให้ความช่วยเหลือที่จะช่วยทาให้การ ปฏิบตั กิ ารตอบโต้เหตุฉุกเฉินสะดวกและง่ายขึน้ และช่วยจรรโลงแผนงานวิจยั และพัฒนาทีช่ ่วยสนับสนุ น การลงทุนในระยะยาวเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของประเทศในการจัดการเหตุฉุกเฉินในอนาคต Terrorism : การก่อการร้าย : ตามทีไ่ ด้ให้คาจากัดความไว้ในพระราชบัญญัตคิ วมมันคงแห่ ่ งมาตุภูม ิ 2002 ว่าหมายถึงกิจกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับการกระทาหรือการเคลื่อนไหวใด ๆ ทีก่ ่อให้เกิดภัยอันตรายต่อ ชีวติ ของมนุ ษย์หรืออาจทาลายโครงสร้างพื้นฐานทีม่ คี วามสาคัญอย่างยิง่ ยวด หรือทรัพยากรหลัก ; เป็ น การละเมิดกฎหมายอาญาของประเทศสหรัฐอเมริกาหรือของรัฐ หรือของหน่ วยปกครองย่อยอื่น ๆ ของ ประเทศสหรัฐอเมริกา ; เป็ นการกระทาปรากฏให้เห็นว่ามีเจตนาทีจ่ ะข่มขูห่ รือบีบบังคับประชากรพลเรือน พยายามมีอทิ ธิพลต่อนโยบายของรัฐบาลโดยการข่มขู่หรือการบีบบังคับ หรือทาให้เกิดผลกระทบต่อการ ดาเนินงานของรัฐบาลโดยการทาลายชีวติ ประชาชนจานวนมาก การลอบสังหารหรือการลักพาตัว Threat : การคุกคาม : ภัยทีเ่ กิดขึน้ จากธรรมชาติหรือจากการกระทาของมนุ ษย์ บุคคล องค์กร หรือการ กระทาใด ๆ ที่เป็ นอันตราย หรือบ่งชี้ให้เห็น ว่าจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวติ ข้อมูลข่าวสาร การปฏิบตั ิ ภากริจ สิง่ แวดล้อม และ/หรือทรัพย์สนิ Tools : เครื่องมือ : เครื่องใช้หรือเครื่องช่วยต่าง ๆ และรวมถึงขีดความสามารถทีช่ ่วยให้การทางานมี ประสิทธิภาพและสัมฤทธิ ์ผล ตัวอย่างเช่น ระบบข้อมูล ข้อตกลง หลักการ หรือทฤษฎี สมรรถนะ และ อานาจนิตบิ ญ ั ญัติ
192
Tribal : ชนเผ่า : หมายถึงชนเผ่าอินเดียน กลุ่มชนชาติ ประเทศชาติ หรือกลุ่มจัดตัง้ อื่น ๆ หรือชุมชน รวมถึง หมู่บา้ นชนพืน้ เมืองอลาสก้า ตามทีก่ าหนดไว้ หรือจัดตัง้ ไว้ตามพระราชบัญญัตกิ ารจัดตัง้ ถิน่ ฐาน ของชาวพืน้ เมืองอลาสก้า ซึง่ ได้รบั การรับรองว่ามีคุณสมบัตทิ เ่ี หมาะสมสาหรับการได้การช่วยเหลือและ บริการต่าง ๆ ที่ประเทศสหรัฐอเมริกาจัดหาให้แก่ชนพืน้ เมืองอินเดียนเนื่องจากการมีสถานภาพเป็ นชน เผ่าอินเดียนของพวกเขา Type : ประเภท : การจัดหมวดหมู่หรือ การจาแนกทรัพยากรในระบบการบัญชาการเหตุการณ์ซ่ึง หมายถึงขีดความสามารถของทรัพยากร โดยทัวไปทรั ่ พยากรประเภท 1 จะถือว่ามีขดี ความสามารถสูง กว่าประเภท 2, 3, หรือ 4 ตามลาดับ ทัง้ นี้ เนื่องจากขนาด พลัง สมรรถนะ หรือ (ในกรณีของทีมงานการ จัดการเหตุฉุกเฉิน) ประสบการณ์และคุณสมบัตทิ ส่ี งู กว่า Unified Approach : วิธกี ารทีเ่ ป็นเอกภาพ : การบูรณาการการบริหารจัดการทรัพยากร การสื่อสาร และ การบริห ารจัด การสารสนเทศ รวมถึง การบัญ ชาการและการบริห ารจัด การ เพื่อ สร้า งระบบที่ม ี ประสิทธิภาพ Unified Area Command : หน่วยบัญชาการพืน้ ทีร่ ว่ ม : รูปแบบของการบัญชาการทีก่ าหนดขึน้ เพื่อใช้ใน กรณีท่เี หตุฉุกเฉินที่อยู่ภายใต้การบัญชาการมีหลายขอบเขตอานาจหน้ าที่และพื้นที่รบั ผิดชอบเข้ามา เกีย่ วข้อง Unified Command : หน่ วยบัญชาการร่วม : การประยุกต์ใช้ระบบการบัญชาการเหตุการณ์เมื่อมี หน่วยงานทีม่ อี านาจหน้าทีต่ ามกฎหมายในการจัดการเหตุฉุกเฉิน ทีเ่ กิดขึน้ มากกว่า หนึ่งหน่ วยงาน หรือ เมื่อเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นขยายตัวข้ามขอบเขตอานาจหน้ าที่ทางการเมือง หน่ วยงานต่าง ๆ จะทางาน ร่วมกันผ่านทางตัวแทนของแต่ละหน่ วยงานทีไ่ ด้รบั แต่งตัง้ เป็ นสมาชิกในหน่ วยบัญชาการร่วม ตัวแทน เหล่านี้ส่วนใหญ่มกั จะเป็นเจ้าหน้าทีร่ ะดับอาวุโสของหน่วยงาน และ/หรือสาขาวิชาการ ซึง่ มีหน้าทีห่ ลักใน การกาหนดวัตถุประสงค์และกลยุทธ์รว่ ม และจัดทาแผนเผชิญเหตุทจ่ี ะใช้รว่ มกันเพียงแผนเดียว Unit : หน่ วย : ส่วนประกอบขององค์กรทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบในการดาเนินกิจกรรมทีเ่ ฉพาะเจาะจงด้าน การสนับสนุนกาลังบารุง หรือการเงิน/การบริหารจัดการเพื่อตอบโต้เหตุฉุกเฉิน Unit Leader : หัวหน้าหน่วย : บุคคลทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบในการบริหารจัดการองค์กรระดับหน่ วยภายใน ส่ ว นที่จ ดั ตัง้ ขึ้น ตามภารกิจ ภายในระบบการบัญ ชาการเหตุ ก ารณ์ ภายในหน่ ว ยจะมีเ จ้า หน้ า ที่ฝ่ า ย สนับสนุ นปฏิบตั ิห น้ าที่ใ ห้บริก ารในด้านต่าง ๆ ตาแหน่ ง ฝ่ายสนับสนุ นบางต าแหน่ งภายในระบบการ บัญชาการเหตุการณ์ได้รบั การกาหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว (เช่น ผู้จดั การฐาน/ค่ายพัก) แต่บุคคลอื่น ๆ จะ ได้รบั การมอบหมายภาระหน้าที่ หรือแต่งตัง้ เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเฉพาะทาง
193
Unity of Command : เอกภาพในการบัญชาการ : หลักการของระบบการบัญชาการเหตุการณ์ทก่ี าหนด ว่า แต่ละบุคคลทีท่ าหน้าทีต่ อบโต้เหตุฉุกเฉินจะได้รบั การกาหนดให้อยู่ภายใต้ผคู้ วบคุมดูแลเพียงหนึ่งคน เท่านัน้ Vital Records : หลักฐานสาคัญ : หลักฐานรูปแบบต่างๆ ทีม่ คี วามสาคัญมาและจาเป็ นต้องเก็บรักษาและ ใช้เพื่อให้เป็ นไปตามหรือสอดคล้ องกับความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิหน้าที่ ภายใต้สภาวะฉุ กเฉินที่ม ี ผลกระทบต่อความมันคงของประเทศหรื ่ อในสถานการณ์ฉุกเฉินหรือเกิดภัยพิบตั ิ (หลักฐานเกี่ยวกับการ ปฏิบตั กิ ารในสภาวะฉุ กเฉิน) หรือเพื่อเป็ นการปกป้องสิทธิประโยชน์ ทางกฎหมายและทางการเงิน และ เพื่อบุคคลต่าง ๆ ที่ได้รบั ผลกระทบจากากรดาเนินกิจกรรมของรัฐบาล (หลักฐานเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ ทางกฎหมายและทางการเงิน) Volunteer : อาสาสมัคร : ตามจุดประสงค์ของระบบการจัดการเหตุการณ์แห่งชาติ หมายถึงบุคคลใด ๆ ทีห่ น่ วยประสานระหว่างองค์กร (ซึง่ มีอานาจในการรับรองหรือเห็นชอบ) ให้การเห็นชอบหรือรับรองให้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ให้บริการด้านต่าง ๆ ในกรณีท่บี ุคคลผู้นัน้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ให้บริการโดยปราศจากข้อตกลง ความคาดหวังทีจ่ ะได้รบั หรือการรับค่าตอบแทนจากการให้บริการดังกล่าว