Prof_Vicha

Page 1

วาระแห่งชาติดา้ นค ุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาล การป้องกันและปราบปรามการท ุจริตและประพฤติมิชอบ โดย ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาค ุณ


ความหมายของธรรมาภิบาล - Good Governance - ธรรมาภิบาล - การบริหารจัดการที่ดี - การกำากับด ูแลกิจการที่ดี - การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี


พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 6 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่

1. เกิดประโยชน์ส ุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 3. มีประสิทธิภาพและความคม้ ุ ค่าในเชิงภารกิจของรัฐ 4. ไม่มีขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงานเกินความจำาเป็น 5. มีการปรับปร ุงภารกิจของส่วนราชการให้ทนั ต่อสถานการณ์ 6. ประชาชนได้รบั การอำานวยความสะดวกและได้รบั การตอบสนอง ความต้องการ 7. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการอย่างสม่าำ เสมอ


องค์ประกอบพื้นฐานของ “ธรรมาภิบาล” 1. ความรับผิดชอบตามหน้าที่ 2. ความโปร่งใส 3. การปราบปรามท ุจริตคอร์รปั ชัน 4. การให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมในการตัดสิน ใจ 5. มีกฎหมายและระบบย ุติธรรมที่เข้มแข็ง


จริ ยธรรม (ETHICS)


อุดมการณ์หรื อมาตรฐานความประพฤติของมนุษย์ที่เป็ นจุดมุ่งหมาย เพื่อความดีสูงสุ ด

แยกเป็ น 2 แนวทาง

1. ช่วยอธิบายการตัดสิ นใจของมนุษย์ 2. ช่วยก่อตั้งหรื อส่ งเสริ มการกระทำาหรื อจุดมุ่งหมายของมนุษย์ให้เป็ นไป ตามแนวทางที่ถกู ต้อง

แยกเป็ น 2 ลักษณะ

1. การตัดสิ นใจในเรื่ องของคุณค่า ทฤษฎีที่วา่ ด้วยคุณค่า 2. การตัดสิ นใจในเรื่ องของภาระหน้าที่ ทฤษฎีที่วา่ ด้วยภาระหน้าที่


สิ่ งทีต่ ้ องมีจริยธรรมอย่ างยิง่ คือ การปกครองบ้ านเมือง เพราะ ต้ องอาศัยความดีงามของมนุษย์ •  ต้องใช้ศิลปะทุกประเภท  ต้องเกี่ยวข้องกับการออกกฎหมาย


จริยธรรม (Ethics) คืออะไร มาตรฐานความประพฤติที่ใช้ในการกำากับด ูแล พฤติกรรมของบ ุคคล หรือของกลมุ่ บ ุคคล หรือ ของช ุมชน และรัฐบาลที่ดีจะต้องมีหน้าที่เกี่ยวกับ จริยธรรมอย่างน้อย 2 ประการ ได้แก่ 1. ออกกฎหมายที่ดี สอดคล้องกับศีลธรรม และ จริยธรรมของผูค้ นที่อยูใ่ นสังคม 2. ไม่ออกกฎหมายที่ทำาลายหลักศีลธรรม และ จริยธรรมของผูค้ น


จริยธรรมที่สาำ คัญของผูบ้ ริหารองค์กร

1. ความซื่อตรง (Integrity) 2. ความส ุจริต (Honesty) 3. ความมีศีลธรรม (Morality) 4. ความย ุติธรรม (Fairness) 5. การรักษาคำามัน่ สัญญา (Promise Keeping) 6. การไม่ขดั แย้งผลประโยชน์ (Conflict of Interest) 7. การปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อบังคับ (Compliance With Laws and Regulation) 8. การรักษาชื่อเสียงและศักดิ์ศรี (Reputation and Dignity)


หลักทศพิธราชธรรม 1. ทาน 2. ศีล 3. บริจาค 4. อาชวะ 5. มัทวะ 6. ตบะ

คือ คือ คือ คือ คือ คือ

การให้ วินยั ความเสียสละ ความซื่อตรง ความอ่อนโยน ความเพียร


หลักทศพิธราชธรรม (ต่อ) 7. อักโกธะ คือ ความไม่โกรธ 8. อวิหิงสา คือ ไม่เบียดเบียนผูอ้ ื่น 9. ขันติ คือ ความอดทน 10. อวิโรธนะ คือ ความเที่ยงธรรม


ธรรมาภิบาลกับประชาสังคม 1. การอ ุทิศตนในการทำางานโดยส ุจริตและ ชอบธรรม 2. การทำางานด้วยความโปร่งใส รอบคอบ และระมัดระวัง 3. การทำางานด้วยอ ุดมการณ์ และมีเหต ุมีผล 4. การทำางานให้สงั คมตามแนวทางแห่ง จริยธรรม และถ ูกต้อง


ธรรมาภิบาลกับประชาสังคม 5. การทำางานที่เปิดโอกาสให้ท ุกคนเข้ามามี ส่วนร่วมท ุกขัน้ ตอน 6. การดำาเนินกิจการสาธารณะที่ไม่ขดั ต่อ กฎหมาย หรือความสงบเรียบร้อย และศีล ธรรมอันดีของประชาชน


ธรรมาภิบาลกับธรรมชาติของมน ุษย์ - หลักธรรมาภิบาล ช่วยให้มน ุษย์อยูใ่ นกฎเกณฑ์ มีหลักการ มีอ ุดมการณ์ นำาไปสูก่ ารพัฒนาสังคม มน ุษย์ให้ดีข้ ึน - มน ุษย์สามารถสร้าง และอยูใ่ นระบบธรรมาภิบาลได้ เมื่อใช้หลักความพอเพียง - มน ุษย์ผม้ ู ีชีวิตที่พอเพียง มีความส ุจริต เปิดเผย พร้อมที่จะให้ผอ้ ู ื่นตรวจสอบได้เสมอ ย่อมเป็นมน ุษย์ ที่ถึงพร้อมด้วยหลักธรรมาภิบาล


ธรรมาภิบาลช่วยส่งเสริมชีวิตที่พอเพียง - การตรวจสอบที่เข้มงวดของธรรมาภิบาล เช่น การ แสดงทรัพย์สินและหนี้สิน ตามที่กฎหมายกำาหนด ย่อมก่อให้เกิดการใช้ชีวิตที่พอเพียงสำาหรับบ ุคคลนัน้ - คนที่ใช้ชีวิตที่พอเพียง ย่อมมีความมัน่ ใจในตนเอง ไม่ หวาดหวัน่ พรัน่ พรึงต่อการตรวจสอบ ดำาเนินชีวิต อย่างคม้ ุ ค่า สามารถดำาเนินชีวิตบรรล ุประโยชน์ทงั้ สามด้าน ได้แก่


ธรรมาภิบาลช่วยส่งเสริมชีวิตที่พอเพียง (ต่อ)

1. ประโยชน์ปัจจุบนั คือ ส ุขภาพดี มีงาน มีทรัพย์ จากความส ุจริต พึ่งตนเองได้ มีศกั ดิ์ศรี เป็นที่ ยอมรับ ครอบครัวผาส ุก 2. ประโยชน์เบื้องหน้า คือ มีศรัทธา มีความภ ูมิใจ อิ่มเอมใจ มีปัญญาแก้ไขปัญหา มีความโล่งใจ จากการทำากรรมดี 3. ประโยชน์สงู ส ุด คือ ไม่หวัน่ ไหวด้วยความผันแปร ของโลก ไม่ผิดหวังเพราะยึดมัน่ ถือมัน่ มีความ เบิกบานใจ และดำารงอยูด่ ว้ ยปัญญา


หลักความพอเพียง 1. มีศีล มีวินยั ประพฤติส ุจริต 2. ได้สดับมาก ศึกษาอย่างลึกซึ้งในสิ่งที่ตนเรียนร ้ ู และใช้ได้จริง 3. รจ้ ู กั คบคนดี 4. เป็นคนไม่ด้ ือรัน้ ดันท ุรัง รับฟังข้อคิดเห็นของผู้ อื่น 5. เอาใจใส่ช่วยเหลือกิจธ ุระของผูอ้ ื่น โดยเฉพาะ ช ุมชน และสังคม 6. เป็นผูร้ กั ในธรรมะ 7. มีความขยันหมัน่ เพียร ไม่ยอ่ ท้อ


หลักความพอเพียง (ต่อ) 8. มีความพึงพอใจในผลงาน และผลสำาเร็จของตน ซึ่งแสวงหามาด้วยความชอบธรรม ไม่มวั เมา ทางวัตถ ุ 9. มีสติมนั่ คง ไม่ประมาท 10. มีปัญญาเหนืออารมณ์


การทุจริตคอร์รปั ชัน่ คือ ปัญหาร้ายแรง และเป็ นภัยคุกคามความมันคงของประเทศ ่ ทุกชาติต่างยอมรับว่า ภัยของการทุจริต คอร์รปั ชัน่ ส่งผลกระทบถึงความมันคง ่ ทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ตลอดจน บ่อนทำาลายคุณค่าทางจริยธรรมของ มนุษยชาติ เป็ นส่วนรวม


เปรียบเทียบผลการจัดอันดับการทุจริตของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ปี 2549 และ 2550 โดย Political & Economic Risk Consultancy Ltd-PERC 2549 1. Singapore 2. Japan 3. Hong Kong 4. Macao 5. Korea 6. Taiwan 7. Malaysia 8. India 9. China 10. Thailand 11. Philippines 12. Vietnam 13. Indonesia

1.30 3.01 3.13 4.78 5.44 5.91 6.13 6.76 7.58 7.64 7.80 7.91 8.16

2550 1. Singapore 2. Hong Kong 3. Japan 4. Macao 5. Taiwan 6. Malaysia 7. China 8. Korea 9. India 10. Vietnam 11. Indonesia 12. Thailand 13. Philippines

1.20 1.87 2.10 5.11 6.23 6.25 6.29 6.30 6.67 7.54 8.03 8.03 9.40

เปลี่ยนแปลง ดีขึน้ 0.10 ดีขึน้ 1.14 ดีขึน้ 1.03 แย่ลง 0.33 แย่ลง 0.32 แย่ลง 0.12 ดีขึน้ 1.29 แย่ลง 0.86 ดีขึน้ 0.09 ดีขึน้ 0.37 ดีขึน้ 0.13 แย่ลง 0.39 แย่ลง 1.60


ปัญหาการทุจริตคอร์รปั ชันในปั ่ จจุบนั 1. การท ุจริตเชิงนโยบาย 2. การท ุจริตต่อตำาแหน่งหน้าที่ราชการ 3. การท ุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง 4. การท ุจริตในการให้สมั ปทาน 5. การท ุจริตโดยการทำาลายระบบตรวจสอบอำานาจรัฐ 6. การขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือประโยชน์ทบั ซ้อน (conflict of interest)


วิสยั ทัศน์ ป.ป.ช. สามารถขยายบทบาทการป้ องกันปราบปรามการทุจริ ต ทั้งภาครัฐและเอกชนเพือ่ การขจัดเครื อข่ายการทุจริ ตที่ฝังรากลึกใน สังคม รวมทั้งมีการปลูกฝังค่านิยมและจริ ยธรรมให้เกิดการเมืองที่ โปร่ งใส สังคมมีจิตสำานึก ซื่อสัตย์สุจริ ต รับผิดชอบต่อส่ วนรวม และ มีความเป็ นธรรม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง


พันธกิจ เร่งรัดให้เกิดความร่วมมืออย่างเป็ นเครือข่ายของรัฐ เอกชน องค์กรประชาชน องค์กรพัฒนาเอกชน สื่อมวลชนและองค์กร ระหว่างประเทศควบคูไ่ ปกับการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขัน้ ตอนการปฏิบตั แิ ละการประสานงานให้เกิดการพัฒนารูปแบบ การบริหารที่มกี ารวางแผนการปรับระบบงาน การพัฒนา บุคลากร และการติดตามประเมินผลอย่างทันการโดยการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการปฏิบตั ภิ ารกิจ


วัตถ ุประสงค์ 1. เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือและการมีสว่ นร่วมทัง้ บทบาท และหน้าทีจ่ ากทุกฝา่ ยในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 2. ปรับปรุงกฎหมายของ ป.ป.ช. รวมทัง้ กฎหมายว่าด้วยการขัดกันแห่งผล ประโยชน์ กฎ ระเบียบ และขัน้ ตอนการบริหารและการประสานงาน 3. ปรับโครงสร้างและรูปแบบการดำาเนินงาน ตลอดจนมีการกระจายอำานาจ แก่หน่วยงานทุกระดับ 4. พัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยีในการสนับสนุนการปฏิบตั ภิ ารกิจอย่าง เหมาะสมทันการณ์


ย ุทธศาสตร์ 6 ย ุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ท่ี ยุทธศาสตร์ท่ี ยุทธศาสตร์ท่ี ยุทธศาสตร์ท่ี

1 2 3 4

เสริมสมรรถนะบุคลากร พัฒนาเครือข่ายพลังป้องกันและปราบปรามการทุจริต เสริมสร้างภาวะผูน้ ำา ขวัญกำาลังใจของบุคลากรและค่านิยมร่วม ปรับปรุงกฎหมายตลอดจนกลไกและวิธกี ารทำางานเพือ่ กระตุน้ สังคมให้ต่อต้านการทุจริต ยุทธศาสตร์ท่ี 5 เป็ นแกนนำาปลูกจิตสำานึก ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ท่ี 6 กำากับดูแลคุณธรรม จริยธรรมของผูด้ าำ รงตำาแหน่งทางการเมือง


การดำาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์จากการติดตามผลการดำาเนินงาน และ จากสถานการณ์สภาพแวดล้อมที่ผา่ นมาคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสำานักงาน ป.ป.ช. ประสบปัญหาอุปสรรคหลักดังนี้ 1. การถูกสังคมมองว่าคณะกรรมการ ป.ป.ช. ถูกแทรกแซงจากฝ่ าย การเมือง 2. คณะกรรมการ ป.ป.ช. ปฏิบตั ิหน้าที่ไม่ได้ต้ งั แต่วนั ที่ 22 ตุลาคม 2547 เป็ นต้นมา จนถึง วันที่ 6 ตุลาคม 2549 ทำาให้ขาดกลไกในการผลัก ดันแผนยุทธศาสตร์ ให้ดาำ เนินการไปตามแผนงานโครงการที่กาำ หนด


3. ขาดการสนับสนุนความร่วมมือจากภาคเอกชน องค์กร ประชาชนในการสร้างเครือข่ายการป้องกันและปราบปรามการทุจริต สาเหตุหลักของการขาดการสนับสนุนจากเครือข่ายภาครัฐ ภาค เอกชน และองค์กรประชาชน เนื่องมาจากไม่มกี ารจัดทำาข้อตกลงร่วมกันของ ภาคีเครือข่ายทุกฝา่ ย และภาครัฐ ส่วนราชการ และหน่วยงานต่างๆ ไม่ ให้การสนับสนุน จากประสบการณ์ทผ่ี า่ นมา ป.ป.ช. สามารถติดตามประเมินผล กำากับแนวทางปฏิบตั กิ ารป้องกันและปราบปรามการทุจริตของประเทศทีไ่ ด้ หากมีการกำาหนดยุทธศาสตร์ชาติชน้ี ำา


วัตถ ุประสงค์ 1. เพือ่ กำาหนดยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปรามการทุจริตระดับ ชาติโดยมีภาคีทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วมให้เกิดข้อตกลงร่วมกัน เพือ่ ใช้เป็ นแนวทาง ร่วมกันรับผิดชอบโดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. จะเป็ นภาคีหนึ่งในการดำาเนิน การดังกล่าว 2. เพือ่ ให้มแี ผนยุทธศาสตร์สาำ นักงาน ป.ป.ช. ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ ชาติเพือ่ ให้สาำ นักงาน ป.ป.ช. สามารถดำาเนินการได้อย่างสัมฤทธิ ์ผล 3. เพือ่ ให้เกิดเครือข่ายพันธมิตรในการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตทีม่ ปี ระสิทธิภาพสอดรับกับแผนกลยุทธ์สาำ นักงานคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทีก่ าำ หนดไว้ในแผนปฏิบตั กิ าร 4. เพือ่ ให้เกิดกลไกเครือ่ งมือแนวทางสนับสนุนร่วมกันในการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตของประเทศและกับนานาชาติ


ข้อเสนอแนะ (ระยะแรก) เกี่ยวกับนโยบายด้านจริยธรรม ธรรมาภิบาล และการป้ องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ ด้านกฎหมาย - ให้มกี ารลงสัตยาบันตามอนุสญ ั ญาขององค์การสหประชาชาติวา่ ด้วยการต่อต้าน คอร์รปั ชัน่ (The United Nations Convention Against Corruption) - ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และอนุวตั ติ ามอนุสญ ั ญา รวมทัง้ ปรับปรุงกฎหมายให้ สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญฉบับใหม่


ภาคการเมือง - ให้มีการจัดทำาประมวลจริ ยธรรมหรื อจรรยาบรรณ (Code of Ethics/Conduct) สำาหรับผูด้ าำ รงตำาแหน่งทางการเมือง และเจ้าหน้าที่ของรัฐ


ภาคสังคม - ให้ม ี/พัฒนาหลักสูตรเกีย่ วกับการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และศีลธรรม ในทุกระดับการศึกษา ตลอดจนปรับเนื้อหาการเรียนการสอนให้ทนั สมัย - ปรับเปลีย่ นเจตคติและค่านิยมของคนในสังคมเกีย่ วกับคุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาล และการป้องกันการทุจริตและการประพฤติมชิ อบด้วยวิธกี ารที่ สร้างสรรค์ และผ่านสือ่ ในรูปแบบต่างๆ เพือ่ ให้สอ่ื สารและเข้าถึงประชาชนทุกระดับ - ส่งเสริมให้สอ่ื และภาคประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมในการเฝ้าระวัง ติดตาม ตรวจสอบ ป้องกันและแก้ไขปญั หาการทุจริตและการประพฤติมชิ อบ รวมทัง้ เผยแพร่และการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล


ภาคธุรกิจ - สนับสนุนให้ภาคธุรกิจตระหนักและมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาลและการป้องกันการทุจริตและการประพฤติมชิ อบ รวมทัง้ การขัดกันแห่งผลประโยชน์ - กำาหนดมาตรการป้องกันการใช้ชอ่ งว่างทางกฎหมายเพือ่ ประโยชน์ทาง ธุรกิจโดยไม่สจุ ริต และกำากับติดตามการบังคับใช้มาตรการทาง กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับภาคธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ


ภาคราชการ - ให้ภาคราชการนำาระบบคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลมาปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง และต่อเนื่อง รวมทัง้ ให้มกี ลไกต่าง ๆ ทีส่ นับสนุนการดำาเนินงาน - เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความโปร่งใสและความซื่อสัตย์สจุ ริตของเจ้าหน้าที่ ภาครัฐ ด้วยการใช้กลไกของรัฐทีม่ อี ยูอ่ ย่างมีประสิทธิภาพ - ส่งเสริมให้ภาคราชการนำาผลการศึกษาวิจยั ด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการป้องกันการทุจริตทีด่ าำ เนินการโดยสำานักงาน ก.พ. และส่วนราชการต่างๆ มาใช้ หรือประยุกต์ใช้อย่างจริงจังและเป็ นรูปธรรม


อนึง่ ในการดำาเนินการระยะยาว คณะที่ปรึกษาด้านการเสริม สร้างจริยธรรม ธรรมาภิบาล และการป้องกันการทุจริตและการ ประพฤติมิชอบ จะจัดทำาเค้าโครงร่างวาระแห่งชาติว่าด้วยการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม และ ธรรมาภิบาล และการป้องกันการทุจริต และการประพฤติมชิ อบรวมทัง้ การขัดกันแห่งผลประโยชน์ตอ่ ไป


ขอบคุณ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.