รายงานการวิจัย การรับรู้ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI และความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท.
งานกํากับดูแลที่ดี บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด
๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔
คํานํา บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด (บวท.) ในฐานะหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การกํากับ ดูแลของรัฐ ให้ความสําคัญกับการพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการ ภายใต้การกํากับดูแลที่ดีของ รัฐวิสาหกิจ โดยมุ่งหวังให้พนักงานของ บวท. เป็นส่วนหนึ่งของความสําเร็จในการกํากับดูแลที่ดีฯ จึงต้องมีการสํารวจการรับรู้ ความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับ ดูแลที่ดีฯ ของพนักงาน บวท. เพื่อนําผลการสํารวจมาจัดทําแผนพัฒนาระบบการกํากับดูแลที่ดีฯ โดยในปี ๒๕๕๓ ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้กําหนดตัวชี้วัดไว้ว่าร้อยละ ๘๐.๐๐ ของพนักงานและฝ่าย จัดการ ในการรับรู้และตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของบริษัทฯ และร้อยละ ๘๐.๐๐ ของพนักงานและฝ่ายจัดการ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการกํากับดูแลที่ดีใน รัฐวิสาหกิจของบริษัทฯ สําหรับในปีงบประมาณ ๒๕๕๔ บริษัทฯ ยังคงมุ่งเน้นให้ผ้บู ริหารและบุคลากรทุกระดับมีการ รับรู้และตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. อย่างต่อเนื่อง โดยกําหนดเป้าหมายใหม่ให้เพิ่มขึ้นร้อยละ ๒๕.๐๐ และคาดหวังว่าพนักงานทั่วทั้งองค์กรจะได้รับรู้ และตระหนักรู้ถึงความสําคัญในการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น บริษัทฯ จึงได้ทบทวนสภาวะแวดล้อม/ศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง พบว่าคุณค่าร่วมของ องค์กร น่าจะมีอิทธิพลต่อความตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. จึงได้นําคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI เข้ามาร่วมศึกษาด้วย เพื่อเป็นแนวทางผลักดันให้ SMART AEROTHAI ที่เป็นคุณค่าร่วม พัฒนาเป็นค่านิยมร่วมขององค์กร และเกิดเป็นวัฒนธรรม องค์กรในที่สุด ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้ทําการวิจัยเชิงสํารวจในเรื่องการรับรู้ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI และตระหนักในความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ของพนักงานและ ฝ่ายจัดการ มาตั้งแต่เดือนเมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๔ และจัดทํารายงานผลการสํารวจฯ ภายใน เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๔ เพื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการกํากับดูแลที่ดีของ บวท. และคณะกรรมการ บริษัทฯ ตามลําดับ
งานกํากับดูแลที่ดี บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔
ง
บทสรุปผู้บริหาร จากการสํารวจการรับรู้ ความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการ กํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. โดยในปี ๒๕๕๓ ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้กําหนดตัวชี้วัดไว้ว่า ร้อยละ ๘๐.๐๐ ของพนักงานและฝ่ายจัดการในการรับรู้ และตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการ กํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของบริษัทฯ และร้อยละ ๘๐.๐๐ ของพนักงานและฝ่ายจัดการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของบริษัทฯ นั้น และผลจากการสํารวจพบว่าการ รับรู้ฯ ของฝ่ายจัดการและพนักงาน คิดเป็นร้อยละ ๗๙.๕๕ ส่วนความรู้ความเข้าใจฯ คิดเป็นร้อยละ ๘๘.๓๕ ความตระหนักรู้ถึงความสําคัญฯ คิดเป็นร้อยละ ๘๓.๗๑ และความตระหนักรู้ในการ ปฏิบัติฯ คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๐๑ และผลการทดสอบสมมติฐานปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีผล ต่ อ ความตระหนั ก รู้ ถึ ง ความสํ า คั ญ เกี่ ย วกั บ การกํ า กั บ ดู แ ลที่ ดี ข องบริ ษั ท ฯแตกต่ า งกั น อย่ า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ สําหรับในปีงบประมาณ ๒๕๕๔ นี้ บริษัทฯ ยังคงมุ่งเน้นให้ผู้บริหารและบุคลากรทุกระดับ มีการรับรู้และตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. โดยบริษัทฯ มีการกําหนดนโยบายส่งเสริมให้พนักงานทั่วทั้งองค์กรได้รับรู้และตระหนักถึงความสําคัญในการ ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบกับบริษัทฯ ได้ส่งเสริมกิจกรรม SMART AEROTHAI อย่างต่อเนื่อง โดยความคาดหวังผลสําเร็จของการดําเนินการดังกล่าว คือ ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายในการรับรู้ และตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีของ บวท. โดยกลุ่มเป้าหมาย คือพนักงานและ ฝ่ายจัดการที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับแนวปฏิบัติภายใต้นโยบายการกํากับดูแลองค์กรที่ดี โดยนําข้อมูล ร้อยละของจํานวนพนักงานและฝ่ายจัดการที่รับรู้ ตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดี ของ บวท. ซึ่งเท่ากับร้อยละ ๘๑.๖๓ ปรับเป็นร้อยละ ๘๐.๐๐ และกําหนดเป้าหมายใหม่ให้เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๒๕.๐๐ ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้ทําการสํารวจการรับรู้ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI และความ ตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ประจําปี ๒๕๕๔ ขึ้น โดยมี วัตถุประสงค์ คื อ ๑) เพื่อศึกษาการรับรู้ถึงความสําคัญเกี่ยวกับการกํากับดูแ ลที่ดี คุ ณค่าร่วม SMART AEROTHAI และความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. และ ๒) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ที่มีอิทธิพลหรือมีผลต่อ ความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. โดยสํารวจจากฝ่าย จัดการและพนักงานรวมทั้งสิ้น ๑,๐๕๐ คน แจกแบบสํารวจตามสัดส่วนอัตรากําลังแต่ละสายงาน
จ ผลการศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. พบว่าฝ่ายจัดการ และพนักงาน มีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. อยู่ใน ระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๐๙ ในความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีใน รัฐวิสาหกิจของ บวท. พบว่าฝ่ายจัดการและพนักงานมีระดับความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของ การกํากับดูแลองค์กรที่ดีฯ อยู่ในระดับสูง ( X =๔.๑๒๒) หรือคิดเป็นร้อยละ ๘๒.๔๔ และด้าน คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI พบว่าฝ่ายจัดการและพนักงานมีระดับความคิดเห็นในคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ที่มีต่อการกํากับดูแลองค์กรที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. อยู่ในระดับเห็นด้วย มาก ( X =๔.๑๐๕) หรือ คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๑๐ สรุปได้ว่าการรับรู้เกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดี และความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลองค์กรที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. อยู่ ในระดับสูงมาก คิดเป็นร้อยละ ๘๓.๗๗ หรือคิดเป็นเป้าหมายใหม่เพิ่มขึ้นร้อยละ ๒๐.๙๔ จากการประเมินผลจากปี ๒๕๕๓ ที่ผ่านมา ส่วนผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่าสมมติฐานวิจัยที่ ๑ ปัจจัยบุคคลของฝ่ายจัดการและ พนักงาน บวท. ที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ของ บวท. แตกต่างกัน มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ บางส่วน คือ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทํางาน สถานภาพการทํางาน และหน่วยงานในสังกัดที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน สมมติฐานการวิจัยที่ ๒ การรับรู้เกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีของฝ่ายจัดการและพนักงาน บวท. ที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ทุกส่วน คือ การรับคู่มือ GCG การศึกษาคู่มือ GCG การรั บ ทราบกลไกการพั ฒ นาระบบการบริ ห ารจัดการ การรับ ทราบกรอบและแนวทางในการ ดําเนินงาน ความพึงพอใจ ความสําคัญ ความพอเพียงของข่าวสาร และช่องทางการรับรู้ข่าวสารที่ เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการที่ดีในรัฐวิสาหกิจของบริษัทฯ ที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน สมมติฐานที่ ๓ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้ถึงความสําคัญ ของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ บางส่วน คือ คุณค่าร่วมความปลอดภัย (Safety) มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแล ที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท.
ฉ ผลการสํารวจทําให้มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ๑. บริษัท ฯ ควรจัดทํานโยบายส่งเสริมความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับการกํากับ ดูแ ลที่ดีใ น รัฐวิสาหกิจของ บวท. โดยให้ความสําคัญกับคุณลักษณะส่วนบุคคลเฉพาะกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มอายุ กลุ่มระดับการศึกษา กลุ่มประสบการณ์ทํางาน กลุ่มสถานภาพการทํางาน และกลุ่ม หน่วยงานในสังกัด ๒. บริษัทฯ ควรจัดทํานโยบายสร้างเสริม/ส่งเสริมช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ในด้าน ความพึงพอใจและความเพียงพอในข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับเรื่องการกํากับดูแลที่ดีของบริษัทฯ ให้ เป็นวาระแห่งบริษัทฯ ๓. บริษัทฯ ควรจัดทํานโยบายสร้างคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ให้ปฏิบัติเป็นคุณค่าร่วม เพื่อใช้เป็นเป้าหมายของการปฏิบัติงานเป็นประจํา จนกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติหรือเอกลักษณ์ ของ บวท. โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณค่าร่วมจริยธรรมเพื่อส่วนรวม (Morality) คุณค่าร่วมความ รับผิดชอบต่อตนเองและหน้าที่ (Accountability) คุณค่าร่วมการเป็นที่ยอมรับในความเป็นมืออาชีพใน ระดับสากล (Recognition) และคุณค่าร่วมความเป็นน้ําหนึ่งใจเดียวกัน (Teamwork) ให้เป็นวาระแห่ง บริษัทฯ ๔. บริษัทฯ ควรจัดทํานโยบายส่งเสริมความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดี ในรัฐวิสาหกิจของ บวท. และสามารถนําไปปฏิบัติได้จริงอย่างทั่วถึงและสม่ําเสมอ ให้เป็นวาระแห่ง บริษัทฯ ข้อเสนอแนะเชิงบริหารจัดการ ๑. บริษัทฯ ควรเจาะกลุ่มพนักงานเกี่ยวกับช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และความ ตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ผ่านเครือข่ายกํากับดูแลที่ดี ทั้งภายในและภายนอกบริษัทฯ ๒. บริษัทฯ ควรเพิ่มช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับเรื่องการกํากับดูแลที่ดีของ บวท. ผ่านเครือข่ายกํากับดูแลที่ดีท้งั ภายในและภายนอกบริษัทฯ ๓. บริษัทฯ ควรมุ่งเน้นผลักดันคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ให้ปฏิบัติเป็นค่านิยมร่วม เพื่อใช้เป็นเป้าหมายของการปฏิบัติงานเป็นประจํา จนกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติหรือเอกลักษณ์ ของ บวท. ๔. บริษัทฯ ควรจัดทําโครงการ/แผนงาน/กิจกรรมส่งเสริมความตระหนักรู้ถึงความสําคัญ ของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. อย่างทั่วถึงและสม่ําเสมอ
ช ๕. บริษัทฯ ควรจัดทําโครงการ/แผนงาน/กิจกรรมส่งเสริมการรับรู้เกี่ยวกับการกํากับดูแล ที่ดีให้ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจและความพอเพียงในข่าวสาร/ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ การกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ข้อเสนอแนะในการวิจัย เนื่องจากการสํารวจในครั้งนี้มีการประเมินการรับรู้และความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของ การกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ของฝ่ายจัดการและพนักงาน โดยการใช้แบบสอบถาม เพียงอย่างเดียว ในการสํารวจครั้งต่อไปควรจะเพิ่มวิธีการประเมินความตระหนักรู้ถึงความสําคัญฯ ของฝ่ายจัดการและพนักงาน ด้วยวิธีการอื่น ๆ เช่น การสัมภาษณ์ หรือการสังเกต เป็นต้น ควบคู่ไป กับการประเมินด้วยแบบสอบถามเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุด สําหรับช่วงเวลาในการวิจัยเชิงสํารวจด้วยแบบสอบถาม ควรดําเนินการอย่างน้อย ๒ ปีครั้ง ด้วยเหตุผลเพื่อให้บริษัทฯ สามารถนําข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/เชิงบริหารจัดการ ไปดําเนินการ ส่งเสริมหรือปรับปรุง/พัฒนาการดําเนินงานให้เป็นรูปธรรมและอย่างจริงจัง
ซ
สารบัญ บทสรุปผู้บริหาร สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ ส่วนที่ ๑. บทนํา ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมติฐานในการวิจยั กรอบแนวคิดในการวิจยั ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั จากการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย ข้อจํากัดของการวิจยั นิยามศัพท์ ๒. เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ๑. แนวคิดและทฤษฎีทีเ่ กี่ยวข้องกับการรับรู้ ๒. แนวคิดและทฤษฎีทีเ่ กี่ยวข้องกับความตระหนักรู้ ๓. แนวคิดและทฤษฎีทีเ่ กี่ยวข้องกับคุณค่าร่วมขององค์การและ การสร้างคุณค่าร่วม ๔. แนวคิดเกีย่ วข้องกับบริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด และ SMART AEROTHAI ๕. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ๓ วิธีดําเนินการวิจัย การกําหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือในการวิจยั ลักษณะของแบบสอบถาม การจัดทําข้อมูลและวิเคราะห์ผล สถิติทใี่ ช้ในการวิจัย
หน้า ง ซ ญ ฐ ๑ ๑ ๓ ๓ ๓ ๔ ๔ ๕ ๕ ๗ ๗ ๑๒ ๑๘ ๒๕ ๒๗ ๓๐ ๓๐ ๓๓ ๓๔ ๓๖ ๓๗ ๓๘
ฌ สารบัญ (ต่อ) หน้า ส่วนที่ ๔ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์การตอบแบบสอบถาม ตอนที่ ๒ การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ ๓ การวิเคราะห์ระดับการรับรู้ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI และ ความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ของ บวท. ตอนที่ ๔ การวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างในการรับรู้ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI และความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการ กํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจฯ ของผู้ตอบแบบสอบถามโดยจําแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคล ตอนที่ ๕ สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน ๕ สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ วิธีดําเนินการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการวิจัย ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถามทีใ่ ช้ในการวิจัย ภาคผนวก ข การทดสอบคุณภาพแบบสอบถาม ภาคผนวก ค ผลการทดสอบสมมติฐาน ภาคผนวก ง ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาเครื่องมือวัด ภาคผนวก จ คณะผู้วิจัย
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๓
๕๐ ๙๐ ๙๓ ๙๓ ๙๔ ๙๕ ๑๐๐ ๑๐๒ ๑๐๓
ญ สารบัญตาราง ตารางที่
หน้า
0
๒-๑ ๓-๑ ๓-๒ ๔-๑ ๔-๒ ๔-๓ ๔-๔ ๔–๕ ๔–๖ ๔-๗ ๔–๘ ๔-๙ ๔–๑๐ ๔-๑๑ ๔–๑๒ ๔–๑๓
ลําดับขั้นของพฤติกรรมด้านจิตพิสัยของ แครทโวล และคณะ กลุ่มตัวอย่าง (ฝ่ายจัดการ) กลุ่มตัวอย่าง (พนักงาน) แสดงจํานวนแบบสอบถามและร้อยละของข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล แสดงค่าความถี่ของการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการกํากับดูแลองค์กรที่ดี ในรัฐวิสาหกิจของ บวท. แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าระดับของความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญ เกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. การวิเคราะห์เปรียบเทียบเพศกับความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการ กํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. การวิเคราะห์เปรียบเทียบอายุ กับความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการ กํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ รายคู่ของอายุทแี่ ตกต่างกันมีความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. การวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการศึกษา กับความตระหนักรู้ถึงความสําคัญ ของการกํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ รายคู่ของระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีความ ตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. การวิเคราะห์เปรียบเทียบประสบการณ์ทาํ งาน กับความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ รายคู่ (post hoc) ของประสบการณ์ทํางานทีแ่ ตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลทีด่ ีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. การวิเคราะห์เปรียบเทียบสถานภาพการทํางาน กับความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. การวิเคราะห์เปรียบเทียบหน่วยงานในสังกัด กับความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท.
๑๗ ๓๑ ๓๑ ๔๑ ๔๔ ๔๕ ๔๘ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๙ ๖๐
ฎ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่
1
๔-๑๔ การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ รายคู่ของหน่วยงานในสังกัดที่แตกต่างกันมีความ ตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๑๕ การวิเคราะห์เปรียบเทียบสถานทีป่ ฏิบตั ิงาน กับความตระหนักรู้ถึงความสําคัญ ของการกํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๑๖ การวิเคราะห์เปรียบเทียบลักษณะการปฏิบตั ิงาน กับความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๑๗ การวิเคราะห์เปรียบเทียบการรับคู่มือกับความตระหนักรู้ถึงความสําคัญ ของการกํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๑๘ การวิเคราะห์เปรียบเทียบการศึกษาคู่มือกับความตระหนักรู้ถึงความสําคัญ ของการกํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๑๙ การวิเคราะห์เปรียบเทียบการรับทราบกลไกการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ กับความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔-๒๐ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ของการรับทราบกลไกการพัฒนาระบบการ บริหารจัดการทีแ่ ตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับ ดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๒๑ การวิเคราะห์เปรียบเทียบการรับทราบกรอบและแนวทางในการดําเนินงานกับ ความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔-๒๒ การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ รายคู่ของการรับทราบกรอบและแนวทางใน การดําเนินงานที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับ ดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๒๓ การวิเคราะห์เปรียบเทียบความพึงพอใจในข่าวสาร กับความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔-๒๔ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ของการรับทราบความพึงพอใจในข่าวสาร ที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลทีด่ ีใน รัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๒๕ การวิเคราะห์เปรียบเทียบการให้ความสําคัญกับข่าวสาร กับความตระหนักรู้ ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท.
หน้า ๖๒ ๖๕ ๖๖ ๖๘ ๖๗ ๖๙
๗๐ ๗๑
๗๒ ๗๓
๗๔ ๗๕
ฏ สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ ๔-๒๖ การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ รายคู่ของการให้ความสําคัญกับข่าวสาร ที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลทีด่ ีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๒๗ การวิเคราะห์เปรียบเทียบความเพียงพอของข่าวสาร กับความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔-๒๘ การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ รายคู่ของความเพียงพอของข่าวสาร ทีแ่ ตกต่างกันมี ความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๒๙ การวิเคราะห์เปรียบเทียบช่องทางการรับข้อมูลข่าวสาร กับความตระหนักรู้ ถึงความ สําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔-๓๐ การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ รายคู่ของช่องทางการรับข้อมูลข่าวสารทีแ่ ตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลทีด่ ีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๓๑ การวิเคราะห์อิทธิพลของคุณค่าร่วมความปลอดภัย (Safety) มีอิทธิพลต่อความ ตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๓๒ การวิเคราะห์อิทธิพลของคุณค่าร่วมคุณค่าร่วมจริยธรรมเพื่อส่วนรวม (Morality) มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจ ของ บวท. ๔–๓๓ การวิเคราะห์อิทธิพลของคุณค่าร่วมความรับผิดชอบต่อตนเองและหน้าที่ (Accountability) มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแล ที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ของ บวท. ๔–๓๔ การวิเคราะห์อิทธิพลของคุณค่าร่วมการเป็นที่ยอมรับในความเป็นมืออาชีพ ในระดับสากล (Recognition) มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของ การกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔–๓๕ การวิเคราะห์อิทธิพลของคุณค่าร่วมความเป็นน้ําหนึง่ ใจเดียวกัน (Teamwork) มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจ ของ บวท. ๔–๓๖ การวิเคราะห์อิทธิพลของคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI มีอิทธิพลต่อ ความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๔.๓๗ สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน
หน้า ๗๖ ๗๗ ๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๑
๘๒
๘๓
๘๕
๘๖ ๘๘ ๙๐
ฐ สารบัญภาพ ภาพที่
2
๒-๑ วงจรการรับรู้ข่าวสารของฮูสและโบว์ดิทช์ ๒-๒ กระบวนการรับรู้ ๒-๓ แสดงกระบวนการรับรู้ทําให้เกิดการเรียนรู้ ๒-๔ ขั้นตอนและกระบวนการเกิดความตระหนักรู้ ๒-๕ กรอบแนวคิดของแมคคินซีย์ (McKinsey 7s Framework) ๒-๖ แสดงกรอบแนวคิดในการวิจยั ๓-๑ วิธีการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
หน้า ๗ ๘ ๙ ๑๓ ๒๒ ๒๙ ๓๕
๖๔ ตารางที่ ๓-๑ กลุ่มตัวอย่าง (ฝ่ายจัดการ) ลําดับ หน่วยงาน/สังกัด (ฝ่ายจัดการ) ๑ กรรมการผู้อาํ นวยการใหญ่ ๒ รองกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ฯ และนักวิชาการ (เทียบเท่ารองกรรมการผู้อาํ นวยการใหญ่) ๓ ผู้อํานวยการใหญ่ฯ และนักวิชาการ (เทียบเท่าผู้อํานวยการใหญ่) ๔ ผู้อํานวยการฝ่ายฯ และนักวิชาการ (เทียบเท่าผู้อํานวยการฝ่าย) ๕ ผู้อํานวยการกองฯ และนักวิชาการ (เทียบเท่าผู้อํานวยการกอง) รวมฝ่ายจัดการ
จํานวน (คน) ๑ ๔
รับคืน ๑ ๒
๑๑ ๒๖ ๗๒ ๑๑๔
๑๐ ๒๖ ๕๔ ๙๓
คิดเป็น
(๑๐.๘๖%)
(๘.๘๖%)
จํานวน (คน) ๑๐ ๒๓ ๔ ๑๐ ๒ ๓ ๓ ๘ ๑๙ ๗ ๓ ๘ ๑๕ ๑๑ ๖
รับคืน ๗ ๒๑ ๔ ๗ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑๙ ๗ ๓ ๘ ๑๒ ๑๑ ๕
ตารางที่ ๓-๒ กลุ่มตัวอย่าง (พนักงาน) ลําดับ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐
หน่วยงาน/สังกัด (พนักงาน) ตน. กญ. นต.กญ. สท.กญ.. กธ.ธก. ธน.ธก. ธป.ธก. สธ.ธก. บส.บว. บข.วบ. บบ.วบ. มว.วบ. กผ.วบ. ปบ.ทส. วอ.ทส.
๖๕ ตารางที่ ๓-๒ (ต่อ) ลําดับ ๒๑ ศจ๑.บจ. ๒๒ ศจ๒.บจ.. ๒๓ ศห.บจ. ๒๔ ศอ.บจ.. ๒๕ ศส.บข.. ๒๖ ศด.บข. ๒๗ ศบ.บข. ๒๘ ศภ.บภ๑.. ๒๙ ศญ.บภ๑. ๓๐ ศร.บภ๑. ๓๑ ศน.บภ๑.. ๓๒ ศช.บภ๒. ๓๓ ศล.บภ๒. ๓๔ ศอ.บภ๒.. ๓๕ ศบ.บภ๒.. ๓๖ ศม.บภ๒. ๓๗ วส.บว. ๓๘ วช.บว. ๓๙ วต.บว. ๔๐ ศว.บว. ๔๑ วว.สว. ๔๒ วข.สว. ๔๓ อว.สว. ๔๔ คม.มป. ๔๕ คป.มป.. ๔๖ คส.มป. ๕๗ คก.มป. ๔๘ บผ.มป.
หน่วยงาน/สังกัด (พนักงาน)
จํานวน(คน) ๓๖ ๓๘ ๑๑ ๓๑ ๔๖ ๔๓ ๑๘ ๔๗ ๔๕ ๒๖ ๒๐ ๔๘ ๓๙ ๒๘ ๑๒ ๑๓ ๒๒ ๑๖ ๒๐ ๑๕ ๗ ๗ ๖ ๖ ๕ ๓ ๒ ๓
รับคืน ๓๒ ๓๘ ๖ ๒๕ ๔๑ ๔๓ ๑๑ ๔๓ ๔๔ ๒๔ ๑๓ ๓๖ ๓๖ ๒๒ ๑๐ ๑๓ ๒๒ ๑๑ ๘ ๑๕ ๗ ๗ ๖ ๖ ๑ ๓ ๒ ๓
๖๖ ตารางที่ ๓-๒ (ต่อ) ลําดับ ๔๙ ผค.กอ. ๕๐ ผจ.กอ. ๕๑ ผว.กอ.. ๕๒ สอ.สส. ๕๓ วส.สส. ๕๔ บค.ทบ. ๕๕ ลข.ทบ. ๕๖ สก.ทบ.. ๕๗ พบ.พส. ๕๘ พว.พส. ๕๙ พก.พส. ๖๐ งน.งบ. ๖๑ บช.งบ. ๖๒ งป.งบ. ๖๓ ผก.ศป. ๖๔ ฟท.ศป.. ๖๕ อส.ศป. ๖๖ บก.บท. ๖๗ กพ.บท.
หน่วยงาน/สังกัด (พนักงาน)
รวมพนักงาน รวมฝ่ายจัดการและพนักงานทั้งสิ้น
จํานวน(คน) ๖ ๓ ๓ ๑๐ ๖ ๖ ๑๑ ๑๕ ๑๒ ๓ ๑๒ ๘ ๗ ๓ ๑๒ ๒๓ ๒๖ ๑๓ ๑๒ ๙๓๖
รับคืน ๕ ๓ ๒ ๑๐ ๖ ๖ ๓ ๗ ๑๐ ๓ ๖ ๘ ๗ ๓ ๑๐ ๑๘ ๒๖ ๘ ๑๐ ๗๙๑
(๘๙.๑๔%)
(๗๕.๓๔%)
๑,๐๕๐
๘๘๔
(๑๐๐.๐๐%)
(๘๔.๑๙%)
๖๗ การวิเคราะห์อิทธิพลของคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้ถึงความสําคัญ ของการกํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. ตัวพยากรณ์ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI คุณค่าร่วมความปลอดภัย (Safety) คุณค่าร่วมจริยธรรมเพื่อส่วนรวม (Morality) คุณค่าร่วมความรับผิดชอบต่อตนเองและหน้าที่ (Accountability) คุณค่าร่วมการเป็นที่ยอมรับในความเป็นมืออาชีพ ในระดับสากล (Recognition) คุณค่าร่วมความเป็นน้ําหนึง่ ใจเดียวกัน (Teamwork)
สัมประสิทธิถ์ ดถอย t Sig B Beta ๐.๐๘๗ ๐.๑๑๒ ๒.๙๙๕ ๐.๐๐๓** ๐.๐๔๒ ๐.๐๖๙ ๑.๕๒๖ ๐.๑๒๗ ๐.๐๗๐ ๐.๐๙๔ ๑.๖๔๕ ๐.๑๐๐ ๐.๐๒๙
๐.๐๔๔ ๐.๗๓๗
๐.๔๖๑
๐.๐๖๓
๐.๐๙๒
๐.๐๘๙
๑.๗๐๓
ดังนั้น บริษัทฯ จึงควรผลักดันให้คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI เป็นค่านิยมร่วมขององค์กร โดยมุ่งเน้นที่คุณค่าร่วม M A R T ให้มีความเข้มแข็งขึ้น ส่วนคุณค่าร่วม S ก็ให้รักษามาตรฐานความ เข้มแข็งให้มีความยั่งยืน
๖๘ สมมติฐานในการวิจัย ๑. ปัจจัยบุคคลของฝ่ายจัดการและพนักงาน บวท. ที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของ การกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติ ผลการทดสอบ สถิติที่ใช้ ๑.๑ เพศทีแ่ ตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของ ปฏิเสธสมมติฐาน t-Test การกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน ๑.๒ อายุที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญ ยอมรับสมมติฐาน One-way ANOVA ของการกํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน F-test ๑.๓ ระดับการศึกษาทีแ่ ตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึง ยอมรับสมมติฐาน One-way ANOVA ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. F-test แตกต่างกัน ๑.๔ ประสบการณ์ทํางานที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ ยอมรับสมมติฐาน One-way ANOVA ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ F-test บวท. แตกต่างกัน ๑.๕ สถานภาพการทํางานที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ ยอมรับสมมติฐาน t-Test ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน ๑.๖ หน่วยงานในสังกัดที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึง ยอมรับสมมติฐาน One-way ANOVA ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. F-test แตกต่างกัน ๑.๗ สถานทีป่ ฏิบัติงานที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึง ปฏิเสธสมมติฐาน One-way ANOVA ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. F-test แตกต่างกัน ๑.๘ ลักษณะการปฏิบตั ิงานที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ ปฏิเสธสมมติฐาน t-Test ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน
๖๙ สมมติฐานในการวิจัย ๒. การรับรู้เกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีทแี่ ตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแล ที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน สมมติฐานทางสถิติ ผลการทดสอบ สถิติที่ใช้ ๒.๑ การได้รบั คู่มือทีแ่ ตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึง ยอมรับสมมติฐาน t-Test ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน ยอมรับสมมติฐาน t-Test ๒.๒ การศึกษาคู่มือที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน ๒.๓ การรับทราบการพัฒนาระบบบริหารจัดการทีแ่ ตกต่าง ยอมรับสมมติฐาน One-way ANOVA กัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดี F-test ในรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน ๒.๔ ปัจจัยการรับทราบกรอบและแนวทางในการดําเนินงาน ยอมรับสมมติฐาน One-way ANOVA ที่แตกต่างกัน มีความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการ F-test กํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน ๒.๕ ความพึงพอใจของข่าวสารที่แตกต่างกัน มีความ ยอมรับสมมติฐาน One-way ANOVA ตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีใน F-test รัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน ๒.๖ ความสําคัญของข่าวสารที่แตกต่างกัน มีความตระหนัก ยอมรับสมมติฐาน One-way ANOVA รู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ F-test บวท. แตกต่างกัน ยอมรับสมมติฐาน One-way ANOVA ๒.๗ ความเพียงพอของข่าวสารที่แตกต่างกัน มีความ F-test ตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีใน รัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน ๒.๘ ช่องทางการรับข้อมูลข่าวสารที่แตกต่างกัน มีความ ยอมรับสมมติฐาน One-way ANOVA ตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีใน F-test รัฐวิสาหกิจของ บวท. แตกต่างกัน
๗๐ สมมติฐานในการวิจัย ๓. คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดใี น รัฐวิสาหกิจของ บวท. สมมติฐานทางสถิติ ผลการทดสอบ สถิติที่ใช้ ๓.๑ คุณค่าร่วมความปลอดภัย (Safety) มีอิทธิพลต่อความ ยอมรับสมมติฐาน Simple Linear ตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีใน Regression รัฐวิสาหกิจของ บวท. Analysis ๓.๒ คุณค่าร่วมจริยธรรมเพื่อส่วนรวม (Morality) มีอิทธิพล ปฏิเสธสมมติฐาน Simple Linear Regression ต่อความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีใน Analysis รัฐวิสาหกิจของ บวท. ๓.๓ คุณค่าร่วมความรับผิดชอบต่อตนเองและหน้าที่ ปฏิเสธสมมติฐาน Simple Linear (Accountability)มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้ถึงความสําคัญ Regression ของการกํากับดูแลที่ดใี นรัฐวิสาหกิจของ บวท. Analysis ๓.๔ คุณค่าร่วมการเป็นทีย่ อมรับในความเป็นมืออาชีพใน ปฏิเสธสมมติฐาน Simple Linear ระดับสากล (Recognition) มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้ถึง Regression ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. Analysis ๓.๕ คุณค่าร่วมความเป็นน้ําหนึง่ ใจเดียวกัน (Teamwork) มี ปฏิเสธสมมติฐาน Simple Linear อิทธิพลต่อความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับ Regression ดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. Analysis
๗๑
สรุป และข้อเสนอแนะ การสํารวจการรับรู้ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI และความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของ การกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ประจําปี ๒๕๕๔ นี้ มีวัตถุประสงค์ คือ ๑. เพื่อศึกษาปัจจัยด้านบุคคลของฝ่ายจัดการและพนักงาน บวท. ๒. เพื่อศึกษาระดับระดับการรับรู้ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI และความตระหนักรู้ถึง ความ สําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจฯ ๓. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างในปัจจัยส่วนบุคคล กับความตระหนักรู้ถึงความสําคัญ ของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจฯของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจําแนกปัจจัยส่วนบุคคล ๔. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างในการรับรู้ กับความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการ กํ า กั บ ดู แ ลที่ ดี ใ นรั ฐ วิ ส าหกิ จ ฯของผู้ ต อบแบบสอบถาม โดยจํ า แนกปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คล กั บ ความ ตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจฯของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจําแนก ปัจจัยส่วนบุคคล ๕. เพื่อศึกษาอิทธิพลของคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ที่มีต่อความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ด้านการรับรู้เกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. พบว่าฝ่ายจัดการและพนักงานมีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีใน รัฐวิสาหกิจของ บวท. อยู่ในระดับมากที่สุด หรือคิดเป็นร้อยละ ๘๔.๙๐ ด้านความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. พบว่าฝ่ายจัดการและพนักงานมีระดับความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแล องค์กร ที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. อยู่ในระดับสูง ( X = ๔.๑๐๔) หรือคิดเป็นร้อยละ ๘๒.๐๘ ด้านคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI พบว่าฝ่ายจัดการและพนักงานมีระดับความคิดเห็นในคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ที่มี ต่อการกํากับดูแลองค์กรที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. อยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ( X = ๔.๐๙๕) หรือคิดเป็นร้อยละ ๘๒.๐๐
๗๒ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากผลการสํารวจการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI และความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. มีดังนี้ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ๑. บริษั ท วิท ยุ ก ารบิ น แห่ ง ประเทศไทย จํากัด ควรมีการจั ดทํานโยบายส่ งเสริ ม ความรู้ ความเข้ าใจเกี่ ย วกั บ การกํ ากั บ ดูแ ลที่ดี ใ นรั ฐ วิ ส าหกิ จ ของ บวท. โดยให้ ค วามสํ า คัญ กั บ คุ ณ ลั ก ษณะส่ ว นบุ ค คลเฉพาะกลุ่ ม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง กลุ่ ม อายุ กลุ่ ม ระดั บ การศึ ก ษา กลุ่ ม ประสบการณ์ทํางาน กลุ่มสถานภาพการทํางาน และกลุ่มหน่วยงานในสังกัด ๒. บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด ควรมีการจัดทํานโยบายสร้างเสริม/ ส่งเสริมช่องทางการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในด้านความพึงพอใจและความเพียงพอในข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับเรื่องการกํากับดูแลที่ดีของบริษัทฯ ให้เป็นวาระแห่งบริษัทฯ ๓. บริ ษัท วิท ยุการบินแห่ งประเทศไทย จํากัด ควรมีการผลัก ดันนโยบายสร้า ง คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ให้ปฏิบัติเป็นค่านิยมร่วม (Shared/Common Value) เพื่อใช้เป็น เป้าหมายของการปฏิบัติงานเป็นประจําจนกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติหรือเอกลักษณ์ของ บวท. โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณค่าร่วมจริยธรรมเพื่อส่วนรวม (Morality) คุณค่าร่วมความรับผิดชอบต่อตนเอง และหน้าที่ (Accountability) คุณค่าร่วมในความเป็นมืออาชีพในระดับสากล (Recognition) และคุณค่า ร่วมความเป็นน้ําหนึ่งใจเดียวกัน (Teamwork) ให้เป็นวาระแห่งบริษัทฯ ๔. บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด ควรมีการจัดทํานโยบายส่งเสริมความ ตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. อย่างทั่วถึงและสม่ําเสมอ ให้เป็นวาระแห่งบริษัทฯ ข้อเสนอแนะเชิงบริหารจัดการ ๑. บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด ควรเจาะกลุ่มพนักงานในการช่องทาง การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ผ่านเครือข่ายกํากับดูแลที่ดีท้งั ภายในและภายนอกบริษัทฯ ๒. บริ ษั ท วิ ท ยุ ก ารบิ น แห่ ง ประเทศไทย จํากั ด ควรเพิ่ม ช่ อ งทางการรับ รู้ ข้ อมู ล ข่ าวสารที่ เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ งการกํ า กับ ดู แ ลที่ ดี ของ บวท. ผ่ านเครื อข่ ายกํากั บ ดู แ ลที่ ดี ท้ัง ภายในและ ภายนอกบริษัทฯ ๓. บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด ควรมุ่งเน้นผลักดันคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ให้ปฏิบัติเป็นค่านิยมร่วม (Shared/Common Value) เพือ่ ใช้เป็นเป้าหมายของการปฏิบัติ งานเป็นประจําจนกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติหรือเอกลักษณ์ของ บวท.
๗๓ ๔. บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด ควรมีโครงการ/แผนงาน/กิจกรรม ส่งเสริมความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. อย่างทั่วถึง และสม่ําเสมอ ๕. บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด ควรมีโครงการ/แผนงาน/กิจกรรม ส่งเสริมการรับรู้เกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีให้ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจและความ พอเพียงในข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับการกํากับดูแลที่ดีให้ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป เนื่องจากการสํารวจในครั้งนี้มีการประเมินความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการ กํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ของฝ่ายจัดการและพนักงาน โดยการใช้แบบสอบถามเพียง อย่างเดียว ในการสํารวจครั้งต่อไปควรจะเพิ่มวิธีการประเมินความตระหนักรู้ถึงความสําคัญฯ ของ ฝ่ายจัดการและพนักงาน ด้วยวิธีการอื่น ๆ เช่น การสัมภาษณ์ หรือการสังเกต เป็นต้น ควบคู่ไป กับการประเมินด้วยแบบสอบถามเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุด สําหรับช่วงเวลาในการวิจัยเชิงสํารวจด้วยแบบสอบถาม ควรดําเนินการอย่างน้อย ๒ ปีค รั้ ง ด้ วยเหตุ ผ ลเพื่อ ให้ บ ริ ษั ท ฯ สามารถนํ า ข้ อ เสนอแนะเชิ ง นโยบาย/เชิ ง บริ ห ารจั ด การ ไป ดําเนินการส่งเสริมหรือปรับปรุง/พัฒนาการดําเนินงานให้เป็นรูปธรรมและอย่างจริงจัง
๑๐๒
บรรณานุกรม เกศรา รักชาติ. (๒๕๕๐). ความหมายค่านิยม.ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๓. วันที่เข้าถึงข้อมูล ๒๒ เมษายน ๒๕๕๔. เข้าถึงได้จากhttp://www.tistr.or.th/KM/index.php?Option=com_ content&task=view&id=16&Itemid=34 เทียนชัย ไชยเศรษฐ. (๒๕๕๒). ความหมายค่านิยม. ลงวันที่ ๑๖ ธันวาคม.วันที่เข้าถึงข้อมูล ๒๒ เมษายน ๒๕๕๔. เข้าถึงได้จากhttp://www.medtechtoday.org/index.php?option= com_content&task=view&id=519&Itemid=45 นภกมล ใจชอบสันเทียะ. (๒๕๕๑). ลักษณะหรือมิติ ที่องค์กรยึดถือต่อเนื่องเป็นเวลานาน ๗ ลักษณะ.ลงวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓. วันที่เข้าถึงข้อมูล ๒๒ เมษายน ๒๕๕๔, เข้าถึง ได้จาก http://www.itie.org/eqi/modules.php? name=Journal&file=display&jid =1034 ประชาสรรค์ แสนภักดี. (๒๕๕๐). Shared value สําหรับผู้นํา. วันที่เข้าถึงข้อมูล ๒๒ เมษายน ๒๕๕๔. เข้าถึงได้จาก http://www.prachasan.com/kmcorner/SharedValue.pdf ประภาศรี ดําสะอาด. (๒๕๕๐). วัฒนธรรมองค์กรของสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนา ชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. สารนิพนธ์ สาขาวิชารัฐศาสตร์(ภาคพิเศษ). ภาควิชารัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์,คณะสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ศิริพร พันธุลี. (๒๕๔๕). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในคุณลักษณะงาน คุณภาพชีวิต ในการทํางานและค่านิยมการบริหารของพนักงานโรงแรมจังหวัดเชียงใหม่. สารนิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์กร. มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. อนุพงศ์ อวิรทุ ธา. (๒๕๕๑). ความหมายค่านิยม.ลงวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๓. วันที่เข้าถึง ข้อมูล ๒๒ เมษายน ๒๕๕๔. เข้าถึงได้จาก http://dr-anupong.igetweb.com/index. Php?mo=3&art=83738 Daft, R.L. (2002). The leadership experience.
๑๐๓
ภาคผนวก
๑๐๔
ภาคผนวก ก แบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัย
๑๐๕
แบบสอบถาม เรื่อง “การรับรู้ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI และความตระหนักรู้ถึงความสําคัญ ของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท.” สํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ ได้จัดทําแบบสอบถาม เพื่อสํารวจข้อมูลของระดับการรับรู้ และความ ตระหนักรู้ถึงความสําคัญ ของฝ่ายจัดการและพนักงาน ที่มีต่อการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. โดยขอความ ร่วมมือจากฝ่ายจัดการและพนักงานทุกท่าน ช่วยกรุณากรอกแบบสอบถาม ให้ข้อมูลและความเห็นที่มีต่อการกํากับดูแลที่ ดีในรัฐวิสาหกิจ ของ บวท. ตามความคิดเห็นของท่านอย่างแท้จริง ให้ครบทุกข้อ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดจะได้มีการ ประมวลผลในภาพรวมเสนอต่อบริษัทฯ เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาวิจัยเท่านั้น โดยความคิดเห็นของท่านแต่ละ บุคคลจะถือเป็นความลับและไม่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของท่าน วัตถุประสงค์
: ๑. เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI และความตระหนักรู้ถึงความสําคัญ ของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. เปรียบเทียบกับปี ๒๕๕๓ ๒. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์หรืออิทธิพลของการรับรู้ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ของฝ่ายจัดการ และพนักงานที่มีต่อความตระหนักถึงรู้ความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ประโยชน์ท่ไี ด้รับ : ๑. ทําให้ทราบถึงระดับการรับรู้ ระดับการปฏิบัติในคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI และ ความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๒. ทําให้ทราบถึงความสัมพันธ์หรืออิทธิพลของการรับรู้ คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ที่มีต่อ ความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. กลุ่มเป้าหมาย : ฝ่ายจัดการ และพนักงาน บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด (ตามกลุ่มเป้าหมาย) จัดทําโดย : งานกํากับดูแลที่ดี สํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ ๑. แบบสอบถามชุดนี้มีทั้งหมด ๕ ส่วน ส่วนที่ ๑ : ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที่ ๒ : สอบถามการรับรู้เกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ส่วนที่ ๓ : สอบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ของพนักงาน ส่วนที่ ๔ : สอบถามความตระหนักรู้ถึงความสําคัญถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดี ในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ส่วนที่ ๕ : ข้อเสนอแนะ ๒. โปรดส่งแบบสอบถามกลับคืนที่ งานการกํากับดูแลที่ดี / สํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ ชั้น ๗ อาคาร อํานวยการสํานักงานใหญ่ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด ภายในวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๔
๑๐๖
ส่วนที่ ๑ : ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม ชาย หญิง ๒๐-๓๐ ปี ๓๑-๔๑ ปี ๔๑-๕๐ปี ๕๑-๖๐ ปี ต่ํากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ไม่เกิน ๕ ปี ๕ ปี ไม่เกิน ๑๐ ปี ๑๐ปี ไม่เกิน ๑๕ปี ๑๕ ปี ไม่เกิน ๒๐ ปี ๒๐ ปี ไม่เกิน ๒๕ ปี มากกว่า ๒๕ ปี ๕. สถานภาพการทํางาน ฝ่ายจัดการ (ไม่ต้องกาเครื่องหมายในข้อ ๖) พนักงาน ๖. หน่วยงานในสังกัด สํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ สํานักตรวจสอบภายใน สายพัฒนาธุรกิจ (ตามโครงสร้างใหม่) สายปฏิบัติการ สายวิศวกรรม มาตรฐานความปลอดภัย สายการเงินบัญชี สายกลยุทธ์และสื่อสาร สายทรัพยากรบุคคล สายอํานวยการ ๗. สถานที่ปฏิบัติงาน ทุ่งมหาเมฆ ดอนเมือง สุวรรณภูมิ ศูนย์ควบคุมการบิน ศช.บภ ๒ ศล.บภ ๒ ศม.บภ ๒ ศอ.บภ ๒ ศบ.บภ ๒ ศภ.บภ ๑ ศญ.บภ ๑ ศร.บภ ๑ ศน.บภ ๑ ๘. ลักษณะการปฎิบัติงาน Daywork เข้ากะ
๑. เพศ ๒. อายุ ๓. ระดับการศึกษา ๔. ประสบการณ์ทํางาน
ส่วนที่ ๒ : สอบถามการรับรู้เกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. - เพื่อวัดการรับรู้ของท่านต่อการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๑. ท่านได้รับคู่มือ Good Corporate Governance การกํากับดูแลที่ดีของ บวท. ได้รับแล้ว ยังไม่ได้รับ ๒. เมื่อท่านได้รับคู่มือแล้ว ท่านได้อ่านหรือศึกษาในรายละเอียดของคู่มือการกํากับดูแลที่ดีของ บวท. อ่าน ไม่อ่าน ๓. ท่านทราบว่าการกํากับดูแลที่ดีในองค์กร จะเป็นกลไกสําคัญในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ แบบยั่งยืน และคุ้มครองผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทราบ ไม่แน่ใจ ไม่ทราบ ๔. ท่านทราบว่าหลักเกณฑ์และแนวทางการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจที่กระทรวงการคลังกําหนด จะช่วยเป็นกรอบและแนวทางในการดําเนินงานขององค์กร ทราบ ไม่แน่ใจ ไม่ทราบ ๕. ท่านได้รับรู้ จากการอ่านหรือได้ยินในเรื่องดังกล่าวตามข้อ ๑ และ ๒ ข้างต้นจากสื่อประเภทใด (ตอบได้มากกว่า ๑ ข้อ) คู่มือการกํากับดูแลที่ดีของ บวท. เสียงตามสาย ประชาสัมพันธ์ของบริษัทฯ Intranet/Internet ฟังการบรรยาย /เสวนา กิจกรรม/สื่ออื่นๆ..................
๑๐๗ ๖. ท่านมีความพึงพอใจในข่าวสารเกี่ยวกับเรื่องการกํากับดูแลที่ดีของบริษัทฯ พอใจ ไม่แน่ใจ ไม่พอใจ ๗. ท่านให้ความสําคัญกับข่าวสารเรื่องการกํากับดูแลที่ดีของบริษัทฯ ให้ความสําคัญ ไม่แน่ใจ ไม่ให้ความสําคัญ ๘. ข่าวสารเกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีของบริษัทฯ เพียงพอหรือไม่ เพียงพอ ไม่แน่ใจ ไม่เพียงพอ
ส่วนที่ ๓ : สอบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ของพนักงาน -เพื่อวัดการปฏิบัติตนในคุณค่าร่วม SMART AEROTHAI ของท่านที่สัมพันธ์กับหลักการและ แนวปฏิบัติท่ีดีของการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท.
๑.๑ ท่านคิดว่า SMART AEROTHAI มีอิทธิพลต่อความตระหนักรู้ในการปฏิบัติ เกี่ยวกับการกํากับ ดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๑.๒ ท่านคิดว่าการส่งเสริมจริยธรรมเพื่อการมีส่วนร่วมในองค์กร เป็นกิจกรรมที่สร้างความ ตระหนักรู้ในการปฏิบัติ เกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. ๑.๓ ท่านคิดว่า ควรเลี่ยงในการกระทําใดๆ ที่ท่านมีความรู้ความเข้าใจไม่เพียงพอ เพื่อมิให้เกิด ความผิดพลาด ๑.๔ ท่านคิดว่าพฤติกรรมที่เห็นดีเห็นงามกับความคิดที่ว่า สิ่งที่ทําอยู่ทุกวันนี้ก็ดีแล้ว ไม่เห็นต้อง ปรับปรุงอะไรอีก ๑.๕ ท่านคิดว่าการยึดมั่นในระบบและมาตรฐานจะดีมากกว่าการยึดมั่นตัวบุคคล ๑.๖ ท่านคิดว่าการถ่ายทอด ปลูกฝังความตระหนักในการประพฤติปฏิบัติที่ดี สมควรกระทําอย่าง สม่ําเสมอต่อเนื่อง ๑.๗ ท่านคิดว่าการยอมละเมิดข้อบังคับการทํางาน เพื่อประโยชน์ส่วนตน เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทํา ๑.๘ ท่านคิดว่าการเอาประโยชน์จากเวลาทํางาน ไปใช้ทํางานส่วนตัวเป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทํา ๑.๙ ท่านคิดว่าการใช้อํานาจหน้าที่หรือการนําข้อมูลสําคัญของบริษัทฯ ไปเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก เพื่อแสวงหาผลประโยชน์กับตนเอง ครอบครัวหรือพวกพ้อง หรือบุคคลภายนอกสมควรได้รับ การลงโทษ ๑.๑๐ ท่านคิดว่า การทุ่มเทแรงกายแรงใจ ในการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ก็เพื่อ ประโยชน์และความสําเร็จขององค์กรแบบยั่งยืน
น้อย
ค่อนข้างน้อย
ปานกลาง
ระดับความคิดเห็น ค่อนข้างมาก
รายละเอียด มาก
ลําดับ
๑๐๘
๑.๑๑ ท่านคิดว่า พฤติกรรมในการควบคุมอารมณ์ให้เป็นปกติได้ แม้อยู่ในภาวะกดดันหรือไม่พอใจ ๑.๑๒ ท่านคิดว่า ทุกคนควรเสียสละ ทุ่มเทในการปฏิบัติงาน สามารถควบคุมตนเองให้อยู่ใน กรอบของวินัยแห่งความถูกต้องเป็นธรรม ๑.๑๓ ท่านคิดว่า ความมุ่งมั่นในการทํางานให้สําเร็จ แม้จะมีปัญหา/อุปสรรค เป็นสิ่งที่ควรกระทํา เพื่อ ความเจริญขององค์กร ๑.๑๔ ท่านคิดว่า ผู้ท่มี ีความเชื่อมั่นในตนเองสูงเกินไป อาจทําให้งานเกิดความเสียหายได้ ๑.๑๕ ท่านคิดว่า ไม่เป็นการสมควรอย่างยิ่งที่จะหลีกเลี่ยงการปฏิบัติงานและปัดความรับผิดชอบงาน ที่ผิดพลาดให้ผอู้ ื่น ๑.๑๖ ท่านคิดว่า ความหนักแน่น เสมอต้นเสมอปลาย เป็นพฤติกรรมที่เป็นที่ยอมรับใน ความเป็น มืออาชีพ ๑.๑๗ ท่านคิดว่า การแบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้เพิ่มเติม เพื่อประโยชน์ของการทํางาน เป็นสิ่งควร ปฏิบัติอย่างจริงจัง ๑.๑๘ ท่านคิดว่า การเบื่อหน่ายที่จะเรียนรู้วิธีการ/สิ่งใหม่ๆ เป็นผลเสียต่อการเจริญเติบโตของบริษัทฯ ๑.๑๙ ท่านคิดว่า การหาข้อแก้ตัวเพื่อหลีกเลี่ยง หรือต่อต้านการเปลี่ยนแปลง เป็นสิ่งที่ไม่ควร ประพฤติปฏิบัติ ๑.๒๐ ท่านคิดว่า การให้เกียรติผู้อาวุโส การมีสัมมาคารวะ และรู้จักกาลเทศะ เป็นพืน้ ฐานของ การนําไปสู่วัฒนธรรมองค์กรที่ยั่งยืน ๑.๒๑ ท่านคิดว่า การยอมรับความสามารถ ทักษะที่ดีเด่นหรือแตกต่างกันของเพื่อนร่วมงาน เพื่อนํามาเพื่อสร้างความสําเร็จและความก้าวหน้าขององค์กร ๑.๒๒ ท่านคิดว่า ควรละลายพฤติกรรมของการแบ่งพรรค แบ่งพวก ให้หมดไปจากองค์กร ๑.๒๓ ท่านคิดว่า ไม่ควรซ้ําเติมหรือเหยียดหยามเพื่อร่วมงานที่ถูกตําหนิ หรือทํางานผิดพลาด
น้อย
ค่อนข้างน้อย
ปานกลาง
ระดับความคิดเห็น ค่อนข้างมาก
รายละเอียด มาก
ลําดับ
๑๐๙
ส่วนที่ ๔ : สอบถามความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลทีด่ ีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. -เพื่อวัดของความตระหนักรู้ถึงความสําคัญในการนําไปปฏิบัติตามแนวปฏิบัติท่ดี ีของการกํากับดูแลที่ดี ในรัฐวิสาหกิจของ บวท.
๑.๑ ท่านจะทําอย่างไรเมื่อท่านเห็น เพื่อนพนักงานลงเวลาปฏิบัติงานไม่ตรงกับความเป็นจริง ๑.๒ หากท่านพบว่ามีการรายงานผลการสอบสวนการทุจริตเบี่ยงเบนจากความเป็นจริง เพื่อช่วยเหลือพวกพ้อง ๑.๓ หากท่านพบว่า มีเพื่อนพนักงานปลอมแปลงเอกสารการเงินที่ใช้ประกอบในการเบิกจ่ายเงิน ๑.๔ หากพบว่าเพื่อนร่วมงานขาดความระมัดระวัง จนทําให้เข้าใจผิดว่าเป็นการก้าวก่ายการทํางาน ตามหน้าที่ความรับผิดชอบของผูอ้ ื่น โดยไม่รู้หรือไม่มีเจตนา ๑.๕ หากท่านทราบว่ามีการนําข้อมูลสําคัญของบริษัทฯ ไปเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก เพื่อแสวงหา ผลประโยชน์กับตนเอง ครอบครัว หรือพวกพ้อง ๑.๖ หากพบว่าเพื่อนพนักงาน ไม่รายงานข้อร้องเรียนของคู่ค้าที่มีผลกระทบจนก่อให้เกิดความ เสียหายกับบริษัทฯ ๑.๗ หากเห็นเพื่อนพนักงานปฏิบัติงานด้วยความเลินเล่อ หรือเผอเรอ ต่อมาตรฐานการปฏิบัติงาน อยู่เป็นประจํา ๑.๘ หากพบว่าเพื่อนพนักงานชอบเลี่ยงหรือละเลยกระทําการใดๆ ที่มีความรู้ความเข้าใจไม่ เพียงพอ และอาจจะก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยหรือเกิดความเสียหายกับบริษัทฯ ๑.๙ หากท่านพบเห็นการกระทําของเพื่อนพนักงานในการใช้อํานาจหน้าที่แสวงหาผลประโยชน์แก่ ตนเองและพรรคพวก ๑.๑๐ หากพบว่า เพื่อนของท่านมีพฤติกรรมที่ยึดผลประโยชน์ส่วนตนมากกว่าประโยชน์ขององค์กร ๑.๑๑ หากท่านพบว่า เพื่อนของท่านใช้ช่วงเวลาทํางานของบริษัทฯ ไปทํางานส่วนตัวเป็นประจํา ๑.๑๒ หากท่านพบว่า เพื่อนของท่านโยนความผิด หรือหลีกเลี่ยง โดยปัดความรับผิดชอบงานที่ ตนเองทําผิดพลาดให้ผู้ร่วมงาน ๑.๑๓ หากท่านพบว่า เพื่อนของท่านซุกซ่อนปัญหาหรือความผิดพลาดที่เกิดขึ้น ๑.๑๔ หากท่านพบว่า เพื่อนของท่านชอบหาข้อแก้ตัว เพื่อหลบเลี่ยงหรือต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ที่จะเรียนรู้วิธีการใหม่หรืองานใหม่ท่ยี ากขึ้น ๑.๑๕ หากท่านพบว่าเพื่อนของท่านชอบยุยง ยุแหย่ หรือขยายผลให้ส่งิ ที่ไม่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดความ เกลียดชัง หรือ การเข้าใจผิดต่อกัน
เพิกเฉย
สอบถาม
ให้คําแนะนํา
รายละเอียด
ว่ากล่าวตักเตือน
ลําดับ
รายงาน
ระดับความตระหนักถึง ความสําคัญ
๑๑๐
ส่วนที่ ๕ : ข้อเสนอแนะ Ø ความคิดเห็น ข้อแนะนํา หรือปัญหาอุปสรรค อื่นๆ เพื่อให้เกิดการปรับปรุง และพัฒนาการกํากับ ดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของ บวท. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................................
***ขอขอบคุณผู้กรอกแบบสอบถามทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการสํารวจข้อคิดเห็นครั้งนี้*** งานกํากับดูแลที่ดี สํานักกรรมการผู้อํานวยการใหญ่ โทรศัพท์ ๙๒๒๕, ๘๑๘๖ โทรสาร ๘๔๑๖
๑๑๑
ภาคผนวก ข การทดสอบคุณภาพแบบสอบถาม
๑๑๒ การทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญระเบียบวิธีวิจยั ทางรัฐประศาสนศาสตร์ท้งั ๓ ท่าน มีความเห็นว่าประเด็นคําถาม ทั้ง ๔ ส่วน เนื้อหามีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Index of Item – Objective Congruence : IOC = ๑.๐) ครบทุก ประเด็นคําถาม ดังตาราง
ข้อคําถามที่
๑. ข้อมูลเบื้องต้นของ ผู้ตอบแบบสอบถาม
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘
๒. การรับรู้เกีย่ วกับ การกํากับดูแลที่ดีใน รัฐวิสาหกิจของ บวท.
ดร.อุษณีย์ฯ
ส่วนที่
ผศ.ดร.สุกัลยาฯ
ความคิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ พลเอกดร.บัณฑิตฯ
แบบสอบถาม
+๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑
+๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑
+๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑
IOC
๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐
หมายเหตุ (ข้อเสนอแนะของ ผู้เชี่ยวชาญ)
๑๑๓
ดร.อุษณีย์ฯ
๓. คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI
ข้อคําถาม ที่
ผศ.ดร.สุกัลยาฯ
ส่วนที่
ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ พลเอก ดร.บัณฑิตฯ
แบบสอบถาม
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓
+๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑
+๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑
+๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑
IOC
๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐
หมายเหตุ (ข้อเสนอแนะของ ผู้เชี่ยวชาญ)
๑๑๔
ส่วนที่
ข้อคําถาม ที่
ผศ.ดร.สุกัลยาฯ
ดร.อุษณีย์ฯ
ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ พลเอก ดร.บัณฑิตฯ
แบบสอบถาม
๔. ความตระหนักรู้ถึง ความสําคัญของการ กํากับดูแลที่ดฯี
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕
+๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑
+๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑
+๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑ +๑
IOC
๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐ ๑.๐๐
หมายเหตุ (ข้อเสนอแนะของ ผู้เชี่ยวชาญ)
๑๐๓ ความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม (Reliability : ∞) Item-Total Statistics
Scale Mean if Item Deleted 89.87
Scale Variance if Item Deleted 213.568
Corrected Item-Total Correlation .397
Cronbach's Alpha if Item Deleted .962
ethic promotion
89.27
208.133
.547
.961
safety1
88.50
204.810
.719
.959
safety2
88.77
197.220
.869
.957
safety3
88.37
204.516
.751
.959
safety4
88.33
207.609
.610
.960
morality1
88.57
205.289
.733
.959
morality2
88.27
205.995
.662
.960
morality3
88.20
209.683
.594
.960
morality4
88.37
202.447
.733
.959
accountability1
88.50
211.431
.532
.961
accountability2
88.67
199.747
.839
.958
accountability3
88.43
201.289
.876
.957
accountability4
88.53
212.878
.419
.962
accountability5
88.30
195.390
.862
.957
recognition1
88.47
204.395
.721
.959
recognition2
88.33
200.368
.838
.958
recognition3
88.57
202.047
.795
.958
recognition4
88.73
196.823
.863
.957
teamwork1
88.53
213.430
.421
.962
teamwork2
88.40
205.076
.782
.958
teamwork3
88.30
204.217
.744
.959
teamwork4
88.20
203.683
.784
.958
smart shair value
Case Processing Summary N Cases
Valid
30
Excluded(a) Total
% 100.0
0
.0
30
100.0
a Listwise deletion based on all variables in the procedure. Reliability Statistics Cronbach's Alpha .961
N of Items 23
๑๐๔
ส่วนความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีฯ ดังตาราง Item-Total Statistics
awareness CG1
Scale Mean if Item Deleted 19.53
Scale Variance if Item Deleted 29.361
Corrected Item-Total Correlation .499
Cronbach's Alpha if Item Deleted .878
awareness CG2
19.53
29.223
.597
.875
awareness CG3
19.63
28.378
.742
.869
awareness CG4
19.10
28.714
.485
.880
awareness CG5
19.50
29.224
.578
.876
awareness CG6
19.10
28.576
.430
.884
awareness CG7
19.07
27.857
.494
.881
awareness CG8
19.07
28.340
.435
.884
awareness CG9
19.70
29.459
.740
.873
awareness CG10
19.60
28.386
.710
.870
awareness CG11
19.67
28.989
.787
.870
awareness CG12
19.30
28.286
.565
.876
awareness CG13
19.43
28.599
.664
.872
awareness CG14
19.53
29.499
.476
.879
awareness CG15
19.43
29.978
.422
.881
Case Processing Summary N Cases
Valid Excluded(a) Total
30
% 100.0
0
.0
30 100.0 a Listwise deletion based on all variables in the procedure.
Reliability Statistics Cronbach's Alpha .884
N of Items 15
๑๐๕
ภาคผนวก ค ค่าเฉลี่ย ( X ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าความถี่ (F) และค่าร้อยละ (%) และ ผลการทดสอบสมมติฐาน
๑๐๖ ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) คุณค่าร่วม SMART AEROTHAI Descriptive Statistics N 826
Minimum 1
Maximum 5
Mean 3.51
Std. Deviation 1.041
826
1
5
3.95
.903
826
1
5
3.76
.968
826
1
5
2.33
1.122
safety3
826
1
5
4.21
.870
safety4
826
1
5
4.49
.739
morality1
826
1
5
4.50
.874
morality2
826
1
5
4.45
.846
morality3
826
1
5
4.50
.802
morality4
826
1
5
4.53
.761
accountability1
826
1
5
4.15
.765
accountability2
826
1
5
4.33
.755
accountability3
826
1
5
4.43
.699
accountability4
826
1
5
4.01
.883
accountability5
826
1
5
4.49
.758
recognition1
826
1
5
4.35
.747
recognition2
826
1
5
4.48
.691
recognition3
826
1
5
4.20
.849
recognition4
826
1
5
4.25
.802
teamwork1
826
1
5
4.38
.751
teamwork2
826
1
5
4.37
.718
teamwork3
826
1
5
4.45
.763
teamwork4
826
1
5
4.46
.753
tsmart
826
1.98
5.00
4.0958
.51053
Valid N (listwise)
826
smart shair value ethic promotion safety1 safety2
๑๐๗
ค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของการ กํากับดูแลทีด่ ีฯ Descriptive Statistics
adaware1
N 826
Minimum 3.00
Maximum 5.00
Mean 3.6743
Std. Deviation .83803
adaware2
826
3.00
5.00
4.2191
.82780
adaware3
826
3.00
5.00
4.6441
.75907
adaware4
826
3.00
5.00
3.5799
.82772
adaware5
826
3.00
5.00
4.4189
.84068
adaware6
826
3.00
5.00
4.2736
.88910
adaware7
826
3.00
5.00
3.9419
.96560
adaware8
826
3.00
5.00
3.8632
.95190
adaware9
826
3.00
5.00
4.3923
.85770
adaware10
826
3.00
5.00
4.0690
.94392
adaware11
826
3.00
5.00
4.1429
.92713
adaware12
826
3.00
5.00
4.3874
.85282
adaware13
826
3.00
5.00
4.0508
.89569
adaware14
826
3.00
5.00
3.6998
.89412
adaware15
826
3.00
5.00
4.2082
.91598
tadaware2
826
3.00
5.00
4.1044
.54992
Valid N (listwise)
826
ค่าความถี่ (F) และค่าร้อยละ (S.D.) การรับรู้ถึงความสําคัญของการกํากับดูแลที่ดีฯ perceived CG
Valid
not get GCG manual
Frequency 38
Percent 4.6
Valid Percent 4.6
Cumulative Percent 4.6 100.0
get GCG manual
788
95.4
95.4
Total
826
100.0
100.0
perceived CG
Valid
Frequency 151
Percent 18.3
Valid Percent 18.3
Cumulative Percent 18.3
read
675
81.7
81.7
100.0
Total
826
100.0
100.0
not read
๑๐๘ perceived CG
Valid
unknown
Frequency 25
Percent 3.0
Valid Percent 3.0
not sure
Cumulative Percent 3.0
98
11.9
11.9
14.9
known
703
85.1
85.1
100.0
Total
826
100.0
100.0
perceived CG
Valid
unknown
Frequency 42
not sure
Percent 5.1
Cumulative Percent 5.1
Valid Percent 5.1
76
9.2
9.2
14.3
known
708
85.7
85.7
100.0
Total
826
100.0
100.0
perceived CG
Valid
Frequency 73
Percent 8.8
Valid Percent 8.8
Cumulative Percent 8.8
not sure
132
16.0
16.0
24.8
satisfaction
621
75.2
75.2
100.0
Total
826
100.0
100.0
unsatisfaction
perceived CG
Valid
un important
Frequency 56
Percent 6.8
Valid Percent 6.8
Cumulative Percent 6.8
not sure
81
9.8
9.8
16.6
important
689
83.4
83.4
100.0
Total
826
100.0
100.0
perceived CG
Valid
Frequency 45
Percent 5.4
Valid Percent 5.4
Cumulative Percent 5.4
not sure
181
21.9
21.9
27.4
enought
600
72.6
72.6
100.0
Total
826
100.0
100.0
not enought
๑๐๙ perceived CG
Valid
GCG manual
Frequency 252
Percent 30.5
Valid Percent 30.5
Cumulative Percent 30.5
annoucement
10
1.2
1.2
31.7
public relation
79
9.6
9.6
41.3
intranet internet
67
8.1
8.1
49.4
semina
17
2.1
2.1
51.5
other media
29
3.5
3.5
55.0
2
.2
.2
55.2
GCG manual+public ralation
65
7.9
7.9
63.1
GCG manual+intranet internet
83
10.0
10.0
73.1
GCG manual+semina
GCG manual+annoucement
10
1.2
1.2
74.3
GCG manual+annoucement+pu blic realtion
9
1.1
1.1
75.4
GCG manual+annoucement+int ranet internet
56
6.8
6.8
82.2
GCG manual+annoucement+se mina
28
3.4
3.4
85.6
GCG manual+anncement+publi c relation+intranet internet+semin
66
8.0
8.0
93.6
annoucement+public relation
2
.2
.2
93.8
annoucement+intranet internet
3
.4
.4
94.2
annoucement+public relation+intranet internet
4
.5
.5
94.7
annoucement+public relation+semina
1
.1
.1
94.8
public relation+intranet internet
23
2.8
2.8
97.6
public relation+semina
6
.7
.7
98.3
public relation+intranet internet+semina
7
.8
.8
99.2 100.0
intranet internet+semina Total
7
.8
.8
826
100.0
100.0
๑๑๐ ผลการทดสอบสมมติฐาน 1 T-Test Group Statistics
tadaware2
perceived CG man
481
Mean 4.1232
Std. Deviation .56942
Std. Error Mean .02596
345
4.0781
.52119
.02806
N
women
Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances
F tadaware 2
Equal variances assumed Equal variances not assumed
3.663
Sig. .056
t-test for Equality of Means
t
df
Sig. (2-tailed)
Mean Difference
Std. Error Difference
95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper
1.164
824
.245
.04515
.03879
-.03099
.12129
1.181
777.008
.238
.04515
.03823
-.02990
.12019
๑๑๑ ONEWAY Descriptives tadaware2 Mean
N
Std. Deviation
Std. Error
95% Confidence Interval for Mean
Minimum
Maximum
20-30 years
101
4.1221
.55040
.05477
Lower Bound 4.0135
31-40 years
257
4.0171
.54834
.03420
3.9498
41-50 years
371
4.1042
.54275
.02818
4.0488
4.1596
3.00
5.00
51-60 years
97
4.3175
.52869
.05368
4.2110
4.4241
3.00
5.00
826
4.1044
.54992
.01913
4.0668
4.1419
3.00
5.00
Total
Upper Bound 4.2308
3.00
5.00
4.0845
3.00
5.00
ANOVA tadaware2 Sum of Squares 6.395
3
Mean Square 2.132
Within Groups
243.093
822
.296
Total
249.489
825
Between Groups
df
F 7.209
Sig. .000
* The mean difference is significant at the .05 level.
Post Hoc Tests Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD (I) perceived CG 20-30 years
31-40 years
31-40 years 41-50 years
Mean Difference (I-J) .10499 .01789
Std. Error .06387 .06103
Sig. .101 .770
Lower Bound -.0204 -.1019
Upper Bound .2303 .1377
51-60 years
-.0437
(J) perceived CG
95% Confidence Interval
-.19541(*)
.07731
.012
-.3472
20-30 years
-.10499
.06387
.101
-.2303
.0204
41-50 years
-.08710(*)
.04413
.049
-.1737
-.0005
51-60 years 41-50 years
20-30 years 31-40 years 51-60 years
-.30041(*) -.01789 .08710(*) -.21330(*)
.06480 .06103 .04413 .06202
.000 .770 .049 .001
-.4276 -.1377 .0005 -.3350
-.1732 .1019 .1737 -.0916
51-60 years
20-30 years
.19541(*)
.07731
.012
.0437
.3472
31-40 years
.30041(*)
.06480
.000
.1732
.4276
.21330(*) * The mean difference is significant at the .05 level.
.06202
.001
.0916
.3350
41-50 years
๑๑๒ ONEWAY Descriptives tadaware2 95% Confidence Interval for Mean N
Mean
Std. Deviation
Std. Error
Lower Bound
Minimum
Upper Bound
Maximum
below bachelor bechelor
38
4.2772
.54789
.08888
4.0971
4.4573
3.33
5.00
446
4.0659
.56562
.02678
4.0133
4.1186
3.00
5.00
master
337
4.1306
.52389
.02854
4.0744
4.1867
3.00
5.00
5
4.4533
.53831
.24074
3.7849
5.1217
3.73
5.00
826
4.1044
.54992
.01913
4.0668
4.1419
3.00
5.00
docterial Total
ANOVA tadaware2
Between Groups
Sum of Squares 2.634
df 3
Mean Square .878 .300
Within Groups
246.854
822
Total
249.489
825
F 2.924
Sig. .033
* The mean difference is significant at the .05 level.
Post Hoc Tests Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD (I) perceived CG below bachelor
(J) perceived CG bechelor master docterial
bechelor
Mean Difference (I-J) .21127(*) .14663
95% Confidence Interval Std. Error .09261 .09378
Sig. .023 .118
Lower Bound .0295 -.0374
Upper Bound .3930 .3307
-.17614
.26070
.499
-.6879
.3356
-.21127(*)
.09261
.023
-.3930
-.0295
master
-.06464
.03955
.103
-.1423
.0130
docterial
.24645 .09378 .03955 .24689
.116 .118 .103 .191
-.8711 -.3307 -.0130 -.8074
.0963 .0374 .1423 .1618
below bachelor
master
below bachelor bechelor docterial
-.38741 -.14663 .06464 -.32277
docterial
below bachelor
.17614
.26070
.499
-.3356
.6879
bechelor
.38741
.24645
.116
-.0963
.8711
.32277 * The mean difference is significant at the .05 level.
.24689
.191
-.1618
.8074
master
๑๑๓ ONEWAY Descriptives tadaware2 N under 5 years between 5 to 10 years between 10 to 15 years between 15 to 20 years between 20 to 25 years over 25 years Total
Mean
Std. Deviation
Std. Error
95% Confidence Interval for Mean
Minimum
Maximum
85
4.1035
.53606
.05814
Lower Bound 3.9879
Upper Bound 4.2192
3.00
5.00
135
4.0341
.59377
.05110
3.9330
4.1351
3.00
5.00
106
4.0358
.52696
.05118
3.9344
4.1373
3.00
5.00
206
4.0343
.53656
.03738
3.9606
4.1080
3.00
5.00
230
4.1875
.53979
.03559
4.1174
4.2577
3.00
5.00
64
4.2938
.52166
.06521
4.1634
4.4241
3.00
5.00
826
4.1044
.54992
.01913
4.0668
4.1419
3.00
5.00
ANOVA tadaware2
Between Groups
Sum of Squares 6.062
df 5
Mean Square 1.212 .297
Within Groups
243.426
820
Total
249.489
825
F 4.084
Sig. .001
* The mean difference is significant at the .05 level.
Post Hoc Tests Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD Mean Difference (I-J) .06946 .06768
Std. Error .07544 .07933
Sig. .358 .394
Lower Bound -.0786 -.0880
Upper Bound .2175 .2234
between 15 to 20 years
.06923
.07024
.325
-.0686
.2071
between 20 to 25 years
-.08401
.06916
.225
-.2198
.0517
over 25 years
-.19022(*)
.09017
.035
-.3672
-.0132
under 5 years
-.06946
.07544
.358
-.2175
.0786
between 10 to 15 years
-.00177
.07071
.980
-.1406
.1370
between 15 to 20 years
-.00023
.06033
.997
-.1187
.1182
between 20 to 25 years
-.15346(*) -.25968(*) -.06768 .00177 .00154 -.15169(*)
.05907 .08269 .07933 .07071 .06513 .06396
.010 .002 .394 .980 .981 .018
-.2694 -.4220 -.2234 -.1370 -.1263 -.2772
-.0375 -.0974 .0880 .1406 .1294 -.0261
-.06923
.07024
.325
-.2071
.0686
.00023
.06033
.997
-.1182
.1187
between 10 to 15 years
-.00154
.06513
.981
-.1294
.1263
between 20 to 25 years
-.15323(*)
.05227
.003
-.2558
-.0506
over 25 years
-.25945(*)
.07797
.001
-.4125
-.1064
(I) perceived CG under 5 years
between 5 to 10 years
(J) perceived CG
between 5 to 10 years between 10 to 15 years
between 10 to 15 years
over 25 years under 5 years between 5 to 10 years between 15 to 20 years between 20 to 25 years
between 15 to 20 years
under 5 years between 5 to 10 years
95% Confidence Interval
๑๑๔ between 20 to 25 years
under 5 years
.08401
.06916
.225
-.0517
.2198
between 5 to 10 years
.15346(*)
.05907
.010
.0375
.2694
between 10 to 15 years
.15169(*)
.06396
.018
.0261
.2772
between 15 to 20 years
.15323(*)
.05227
.003
.0506
.2558
over 25 years
-.10621
.07700
.168
-.2574
.0449
under 5 years
.19022(*)
.09017
.035
.0132
.3672
between 5 to 10 years
.25968(*)
.08269
.002
.0974
.4220
between 10 to 15 years
.25790(*)
.08625
.003
.0886
.4272
between 15 to 20 years
.25945(*)
.07797
.001
.1064
.4125
.10621 * The mean difference is significant at the .05 level.
.07700
.168
-.0449
.2574
87
Mean 4.4690
Std. Deviation .40122
739
4.0614
.54935
over 25 years
between 20 to 25 years
T-Test Group Statistics
tadaware2
perceived CG management
N
employee
Std. Error Mean .04302 .02021
Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances
F tadaware 2
Equal variances assumed Equal variances not assumed
12.621
Sig. .000
t-test for Equality of Means
t
df
Sig. (2-tailed)
Mean Difference
Std. Error Difference
95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper
6.710
824
.000
.40753
.06073
.28832
.52674
8.575
127.427
.000
.40753
.04753
.31349
.50157
๑๑๕ ONEWAY
Descriptives
N director office internal audit office business office operational office engineering office safety standard office account finance office strategic communication office human resource office administration office administrater officer Total
Mean
Std. Deviation
95% Confidence Interval for Mean
Std. Error
Minimum
Maximum
29
4.0667
.52190
.09691
Lower Bound 3.8681
Upper Bound 4.2652
3.00
5.00
13
4.0308
.59168
.16410
3.6732
4.3883
3.27
5.00
52
3.9910
.49345
.06843
3.8536
4.1284
3.00
5.00
250
4.0947
.54149
.03425
4.0272
4.1621
3.00
5.00
192
4.0885
.56156
.04053
4.0086
4.1685
3.00
5.00
15
3.7911
.70412
.18180
3.4012
4.1810
3.00
4.93
23
4.0696
.47757
.09958
3.8630
4.2761
3.13
5.00
22
4.0333
.50090
.10679
3.8112
4.2554
3.33
4.93
39
3.8974
.50722
.08122
3.7330
4.0619
3.00
5.00
110
4.1055
.58072
.05537
3.9957
4.2152
3.00
5.00
81
4.4551
.42042
.04671
4.3622
4.5481
3.13
5.00
826
4.1044
.54992
.01913
4.0668
4.1419
3.00
5.00
tadaware2
ANOVA tadaware2
Between Groups
Sum of Squares 14.099
df 10
Mean Square 1.410 .289
Within Groups
235.390
815
Total
249.489
825
* The mean difference is significant at the .05 level.
F 4.881
Sig. .000
๑๑๖ Post Hoc Tests Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD Mean Difference (I-J) .03590 .07564
Std. Error .17938 .12455
Sig. .841 .544
Lower Bound -.3162 -.1688
Upper Bound .3880 .3201
operational office
-.02800
.10543
.791
-.2349
.1789
engineering office
-.02188
.10707
.838
-.2320
.1883
safety standard office
.27556
.17092
.107
-.0599
.6111
account finance office
-.00290
.15006
.985
-.2974
.2916
.03333
.15195
.826
-.2649
.3316 .4279
(I) perceived CG director office
(J) perceived CG
internal audit office business office
strategic communication office human resource office
95% Confidence Interval
.16923
.13178
.199
-.0894
administration office
-.03879
.11218
.730
-.2590
.1814
administrater officer
-.38848(*)
.11630
.001
-.6168
-.1602
-.03590
.17938
.841
-.3880
.3162
.03974
.16665
.812
-.2874
.3669
operational office
-.06390
.15288
.676
-.3640
.2362
engineering office
-.05777
.15402
.708
-.3601
.2445
safety standard office
.23966
.20365
.240
-.1601
.6394
account finance office
-.03880
.18648
.835
-.4048
.3272
-.00256
.18800
.989
-.3716
.3665
.13333
.17211
.439
-.2045
.4712
-.07469 -.42437(*) -.07564 -.03974 -.10364 -.09752 .19991 -.07854
.15762 .16057 .12455 .16665 .08191 .08402 .15751 .13458
.636 .008 .544 .812 .206 .246 .205 .560
-.3841 -.7396 -.3201 -.3669 -.2644 -.2624 -.1093 -.3427
.2347 -.1092 .1688 .2874 .0571 .0674 .5091 .1856
-.04231
.13668
.757
-.3106
.2260
.09359 -.11443
.11384 .09044
.411 .206
-.1299 -.2920
.3170 .0631
director office
.02800
.10543
.791
-.1789
.2349
internal audit office
.06390
.15288
.676
-.2362
.3640
business office
.10364
.08191
.206
-.0571
.2644
engineering office
.00613
.05157
.905
-.0951
.1074
safety standard office
.30356(*)
.14286
.034
.0231
.5840
account finance office
.02510
.11710
.830
-.2048
.2550
.06133
.11951
.608
-.1733
.2959
.19723(*)
.09253
.033
.0156
.3788
-.01079
.06149
.861
-.1315
.1099
-.36048(*) * The mean difference is significant at the .05 level.
.06871
.000
-.4953
-.2256
internal audit office
director office business office
strategic communication office human resource office administration office business office
operational office
administrater officer director office internal audit office operational office engineering office safety standard office account finance office strategic communication office human resource office administration office
strategic communication office human resource office administration office administrater officer
๑๑๗ Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD (I) perceived CG engineering office
(J) perceived CG
director office internal audit office business office
Sig. .838 .708
Lower Bound -.1883 -.2445
Upper Bound .2320 .3601
.08402
.246
-.0674
.2624
.05157
.905
-.1074
.0951
safety standard office
.29743(*)
.14408
.039
.0146
.5802
account finance office
.01898
.11858
.873
-.2138
.2517
.05521
.12097
.648
-.1822
.2926
.19111(*)
.09439
.043
.0058
.3764
administration office
-.01691
.06426
.792
-.1431
.1092
administrater officer
-.36660(*)
.07120
.000
-.5064
-.2268
director office
-.27556
.17092
.107
-.6111
.0599
internal audit office
-.23966
.20365
.240
-.6394
.1601
business office
-.19991
.15751
.205
-.5091
.1093
operational office
-.30356(*)
.14286
.034
-.5840
-.0231
engineering office
-.29743(*)
.14408
.039
-.5802
-.0146
-.27845
.17836
.119
-.6286
.0716
-.24222
.17995
.179
-.5954
.1110
account finance office strategic communication office human resource office administration office administrater officer director office internal audit office business office operational office engineering office safety standard office strategic communication office human resource office administration office administrater officer strategic communicatio n office
Std. Error .10707 .15402
.09752
strategic communication office human resource office
account finance office
95% Confidence Interval
-.00613
operational office
safety standard office
Mean Difference (I-J) .02188 .05777
director office
-.10632
.16328
.515
-.4268
.2142
-.31434(*) -.66403(*) .00290 .03880 .07854 -.02510 -.01898 .27845
.14792 .15106 .15006 .18648 .13458 .11710 .11858 .17836
.034 .000 .985 .835 .560 .830 .873 .119
-.6047 -.9606 -.2916 -.3272 -.1856 -.2550 -.2517 -.0716
-.0240 -.3675 .2974 .4048 .3427 .2048 .2138 .6286
.03623
.16027
.821
-.2784
.3508
.17213 -.03589
.14129 .12322
.223 .771
-.1052 -.2778
.4495 .2060
-.38558(*)
.12698
.002
-.6348
-.1363
-.03333
.15195
.826
-.3316
.2649
internal audit office
.00256
.18800
.989
-.3665
.3716
business office
.04231
.13668
.757
-.2260
.3106
operational office
-.06133
.11951
.608
-.2959
.1733
engineering office
-.05521
.12097
.648
-.2926
.1822
safety standard office
.24222
.17995
.179
-.1110
.5954
account finance office
-.03623
.16027
.821
-.3508
.2784
human resource office
.13590
.14330
.343
-.1454
.4172
-.07212 * The mean difference is significant at the .05 level.
.12551
.566
-.3185
.1742
administration office
๑๑๘ Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD (I) perceived CG human resource office
administration office
(J) perceived CG
director office internal audit office business office
Mean Difference (I-J) -.16923 -.13333
95% Confidence Interval Std. Error .13178 .17211
Sig. .199 .439
Lower Bound -.4279 -.4712
Upper Bound .0894 .2045
-.09359
.11384
.411
-.3170
.1299
operational office
-.19723(*)
.09253
.033
-.3788
-.0156
engineering office
-.19111(*)
.09439
.043
-.3764
-.0058
safety standard office
.10632
.16328
.515
-.2142
.4268
account finance office
-.17213
.14129
.223
-.4495
.1052
strategic communication office administration office
-.13590
.14330
.343
-.4172
.1454
-.20802(*)
.10016
.038
-.4046
-.0114
administrater officer
-.55771(*)
.10474
.000
-.7633
-.3521
director office
.03879
.11218
.730
-.1814
.2590
internal audit office
.07469
.15762
.636
-.2347
.3841
business office
.11443
.09044
.206
-.0631
.2920
operational office
.01079
.06149
.861
-.1099
.1315
engineering office
.01691
.06426
.792
-.1092
.1431
safety standard office
.31434(*)
.14792
.034
.0240
.6047
account finance office
.03589
.12322
.771
-.2060
.2778
.07212
.12551
.566
-.1742
.3185
.20802(*)
.10016
.038
.0114
.4046
-.34969(*) .38848(*) .42437(*) .46412(*) .36048(*) .36660(*) .66403(*) .38558(*)
.07869 .11630 .16057 .09550 .06871 .07120 .15106 .12698
.000 .001 .008 .000 .000 .000 .000 .002
-.5041 .1602 .1092 .2767 .2256 .2268 .3675 .1363
-.1952 .6168 .7396 .6516 .4953 .5064 .9606 .6348
.42181(*)
.12921
.001
.1682
.6754
.55771(*) .34969(*) * The mean difference is significant at the .05 level.
.10474 .07869
.000 .000
.3521 .1952
.7633 .5041
strategic communication office human resource office administrater officer administrater officer
director office internal audit office business office operational office engineering office safety standard office account finance office strategic communication office human resource office administration office
๑๑๙ ONEWAY Descriptives tadaware2 N
Mean
Std. Deviation
Std. Error
95% Confidence Interval for Mean
Maximum
mk
437
4.0918
.55038
.02633
3.00
5.00
dm
48
4.0111
.61106
.08820
3.8337
4.1885
3.00
5.00
sbia
100
4.0847
.61758
.06176
3.9621
4.2072
3.00
5.00
cm
36
4.1704
.56556
.09426
3.9790
4.3617
3.00
5.00
pl
36
4.0074
.44701
.07450
3.8562
4.1587
3.20
5.00
kt
13
4.1590
.46071
.12778
3.8806
4.4374
3.47
4.80
ud
22
4.2727
.53131
.11328
4.0372
4.5083
3.20
5.00
ub
10
4.1267
.40789
.12898
3.8349
4.4185
3.60
4.87
pu
43
4.1287
.59883
.09132
3.9444
4.3130
3.07
5.00
hy
44
4.2318
.45295
.06829
4.0941
4.3695
3.13
5.00
sr
24
4.1583
.44907
.09167
3.9687
4.3480
3.20
5.00
hn
13
4.1385
.49251
.13660
3.8408
4.4361
3.27
5.00
826
4.1044
.54992
.01913
4.0668
4.1419
3.00
5.00
Total
Upper Bound 4.1436
Minimum
Lower Bound 4.0401
ANOVA tadaware2
Between Groups
Sum of Squares 2.513
df 11
Mean Square .228 .303
Within Groups
246.976
814
Total
249.489
825
* The mean difference is significant at the .05 level.
F .753
Sig. .688
๑๒๐ Post Hoc Tests Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD Mean Difference (I-J) .08073 .00717
Std. Error .08376 .06106
Sig. .335 .907
Lower Bound -.0837 -.1127
Upper Bound .2451 .1270
cm
-.07853
.09551
.411
-.2660
.1089
pl
.08443
.09551
.377
-.1030
.2719
kt
-.06714
.15503
.665
-.3714
.2372
ud
-.18089
.12036
.133
-.4171
.0554
ub
-.03483
.17617
.843
-.3806
.3110
pu
-.03684
.08804
.676
-.2096
.1360
hy
-.13998
.08712
.108
-.3110
.0310
sr
-.06650
.11548
.565
-.2932
.1602
hn
-.04662
.15503
.764
-.3509
.2577
mk
-.08073
.08376
.335
-.2451
.0837
sbia
-.07356
.09672
.447
-.2634
.1163
cm
-.15926
.12145
.190
-.3976
.0791
pl
.00370
.12145
.976
-.2347
.2421
kt
-.14786
.17222
.391
-.4859
.1902
ud
-.26162
.14182
.065
-.5400
.0168
ub
-.11556
.19147
.546
-.4914
.2603
pu
-.11757
.11566
.310
-.3446
.1095
hy
-.22071
.11496
.055
-.4464
.0050
sr
-.14722
.13771
.285
-.4175
.1231
hn
.17222 .06106 .09672 .10706 .10706 .16240 .12971 .18269 .10045 .09965 .12520 .16240
.460 .907 .447 .424 .471 .647 .147 .818 .661 .140 .556 .741
-.4654 -.1270 -.1163 -.2959 -.1329 -.3931 -.4427 -.4006 -.2412 -.3427 -.3194 -.3726
.2107 .1127 .2634 .1244 .2874 .2445 .0666 .3166 .1532 .0484 .1721 .2650
(I) perceived CG mk
dm
dm sbia
(J) perceived CG
95% Confidence Interval
sbia
mk dm cm pl kt ud ub pu hy sr hn
-.12735 -.00717 .07356 -.08570 .07726 -.07431 -.18806 -.04200 -.04402 -.14715 -.07367 -.05379
cm
mk
.07853
.09551
.411
-.1089
.2660
dm
.15926
.12145
.190
-.0791
.3976
sbia
.08570
.10706
.424
-.1244
.2959
pl
.16296
.12983
.210
-.0919
.4178
kt
.01140
.17823
.949
-.3385
.3612
ud
-.10236
.14906
.492
-.3949
.1902
ub
.04370
.19690
.824
-.3428
.4302
pu
.04169
.12444
.738
-.2026
.2859
hy
-.06145
.12379
.620
-.3044
.1815
sr
.01204
.14516
.934
-.2729
.2970
hn
.03191
.17823
.858
-.3179
.3818
๑๒๑ Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD Mean Difference (I-J) -.08443 -.00370
Std. Error .09551 .12145
Sig. .377 .976
Lower Bound -.2719 -.2421
Upper Bound .1030 .2347
sbia
-.07726
.10706
.471
-.2874
.1329
cm
-.16296
.12983
.210
-.4178
.0919
kt
-.15157
.17823
.395
-.5014
.1983
ud
-.26532
.14906
.075
-.5579
.0273
ub
-.11926
.19690
.545
-.5057
.2672
pu
-.12127
.12444
.330
-.3655
.1230
hy
-.22441
.12379
.070
-.4674
.0186
sr
-.15093
.14516
.299
-.4358
.1340
hn
-.13105
.17823
.462
-.4809
.2188
mk
.06714
.15503
.665
-.2372
.3714
dm
.14786
.17222
.391
-.1902
.4859
sbia
.07431
.16240
.647
-.2445
.3931
cm
-.01140
.17823
.949
-.3612
.3385
pl
.15157
.17823
.395
-.1983
.5014
ud
-.11375
.19269
.555
-.4920
.2645
ub
.03231
.23169
.889
-.4225
.4871
pu
.03029
.17434
.862
-.3119
.3725
hy
-.07284
.17388
.675
-.4142
.2685
sr
.00064
.18969
.997
-.3717
.3730
hn
.21605 .12036 .14182 .12971 .14906 .14906 .19269 .21008 .14439 .14383 .16258 .19269
.924 .133 .065 .147 .492 .075 .555 .487 .319 .776 .482 .486
-.4036 -.0554 -.0168 -.0666 -.1902 -.0273 -.2645 -.2663 -.1394 -.2414 -.2047 -.2440
.4446 .4171 .5400 .4427 .3949 .5579 .4920 .5584 .4275 .3232 .4335 .5125
(I) perceived CG pl
kt
mk dm
(J) perceived CG
95% Confidence Interval
ud
mk dm sbia cm pl kt ub pu hy sr hn
.02051 .18089 .26162 .18806 .10236 .26532 .11375 .14606 .14405 .04091 .11439 .13427
ub
mk
.03483
.17617
.843
-.3110
.3806
dm
.11556
.19147
.546
-.2603
.4914
sbia
.04200
.18269
.818
-.3166
.4006
cm
-.04370
.19690
.824
-.4302
.3428
pl
.11926
.19690
.545
-.2672
.5057
kt
-.03231
.23169
.889
-.4871
.4225
ud
-.14606
.21008
.487
-.5584
.2663
pu
-.00202
.19338
.992
-.3816
.3776
hy
-.10515
.19297
.586
-.4839
.2736
sr
-.03167
.20732
.879
-.4386
.3753
hn
-.01179
.23169
.959
-.4666
.4430
๑๒๒ Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD Mean Difference (I-J) .03684 .11757
Std. Error .08804 .11566
Sig. .676 .310
Lower Bound -.1360 -.1095
Upper Bound .2096 .3446
sbia
.04402
.10045
.661
-.1532
.2412
cm
-.04169
.12444
.738
-.2859
.2026
pl
.12127
.12444
.330
-.1230
.3655
kt
-.03029
.17434
.862
-.3725
.3119
ud
-.14405
.14439
.319
-.4275
.1394
ub
.00202
.19338
.992
-.3776
.3816
hy
-.10314
.11812
.383
-.3350
.1287
sr
-.02965
.14035
.833
-.3051
.2458
hn
-.00978
.17434
.955
-.3520
.3324
mk
.13998
.08712
.108
-.0310
.3110
dm
.22071
.11496
.055
-.0050
.4464
sbia
.14715
.09965
.140
-.0484
.3427
cm
.06145
.12379
.620
-.1815
.3044
pl
.22441
.12379
.070
-.0186
.4674
kt
.07284
.17388
.675
-.2685
.4142
ud
-.04091
.14383
.776
-.3232
.2414
ub
.10515
.19297
.586
-.2736
.4839
pu
.10314
.11812
.383
-.1287
.3350
sr
.07348
.13978
.599
-.2009
.3479
hn
.17388 .11548 .13771 .12520 .14516 .14516 .18969 .16258 .20732 .14035 .13978 .18969
.591 .565 .285 .556 .934 .299 .997 .482 .879 .833 .599 .917
-.2480 -.1602 -.1231 -.1721 -.2970 -.1340 -.3730 -.4335 -.3753 -.2458 -.3479 -.3525
.4347 .2932 .4175 .3194 .2729 .4358 .3717 .2047 .4386 .3051 .2009 .3922
(I) perceived CG pu
hy
mk dm
(J) perceived CG
95% Confidence Interval
sr
mk dm sbia cm pl kt ud ub pu hy hn
.09336 .06650 .14722 .07367 -.01204 .15093 -.00064 -.11439 .03167 .02965 -.07348 .01987
hn
mk
.04662
.15503
.764
-.2577
.3509
dm
.12735
.17222
.460
-.2107
.4654
sbia
.05379
.16240
.741
-.2650
.3726
cm
-.03191
.17823
.858
-.3818
.3179
pl
.13105
.17823
.462
-.2188
.4809
kt
-.02051
.21605
.924
-.4446
.4036
ud
-.13427
.19269
.486
-.5125
.2440
ub
.01179
.23169
.959
-.4430
.4666
pu
.00978
.17434
.955
-.3324
.3520
hy
-.09336
.17388
.591
-.4347
.2480
-.01987 * The mean difference is significant at the .05 level.
.18969
.917
-.3922
.3525
sr
๑๒๓ T-Test Group Statistics
tadaware2
perceived CG daywork
596
Mean 4.1253
Std. Deviation .55436
Std. Error Mean .02271
230
4.0501
.53564
.03532
N
watch
Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances
F tadaware 2
Equal variances assumed Equal variances not assumed
.543
Sig. .461
t-test for Equality of Means
t
df
Sig. (2-tailed)
Mean Difference
Std. Error Difference
95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper
1.762
824
.078
.07513
.04263
-.00855
.15882
1.789
429.217
.074
.07513
.04199
-.00739
.15766
๑๒๔ ผลการทดสอบสมมติฐาน 3 Regression Variables Entered/Removed(b)
Model 1
Variables Entered
Variables Removed
safety4, safety2, safety1, safety3(a)
Method .
Enter
a All requested variables entered. b Dependent Variable: tadaware2
Model Summary
Model 1
R .264(a)
Adjusted R Square .065
R Square .070
Std. Error of the Estimate .40553
a Predictors: (Constant), safety4, safety2, safety1, safety3
ANOVA(b) Model 1
Regression
Sum of Squares 10.118
Residual
df
135.015
4
Mean Square 2.529
821
.164
F 15.381
Sig. .000(a)
Total
145.132 825 a Predictors: (Constant), safety4, safety2, safety1, safety3 b Dependent Variable: tadaware2
Coefficients(a) Model
Unstandardized Coefficients B
1
(Constant)
Standardized Coefficients
Std. Error
t
Beta
Sig
3.016
.104
safety1
.032
.016
.075
28.941 2.083
safety2
.019
.013
.051
1.469
.142
safety3
.045
.019
.094
2.358
.019
.095 a Dependent Variable: tadaware2
.024
.167
4.018
.000
safety4
.000 .038
ŕš‘ŕš’ŕš• Regression Variables Entered/Removed(b)
Model 1
Variables Entered
Variables Removed
morality4, morality1, morality3, morality2(a)
Method .
Enter
a All requested variables entered. b Dependent Variable: tadaware2
Model Summary Adjusted R Std. Error of Square the Estimate R R Square .263(a) .069 .065 .40564 a Predictors: (Constant), morality4, morality1, morality3, morality2 Model 1
ANOVA(b) Model 1
Regression
Sum of Squares 10.044
Residual
df
135.088
4
Mean Square 2.511
821
.165
F 15.261
Sig. .000(a)
Total
145.132 825 a Predictors: (Constant), morality4, morality1, morality3, morality2 b Dependent Variable: tadaware2
Coefficients(a) Model
1
Unstandardized Coefficients
Standardized Coefficients t
Std. Error .097
31.635
.000
morality1
.008
.023
.017
.348
.728
morality2
.051
.027
.103
1.898
.058
morality3
.027
.026
.051
1.041
.298
morality4
.077
.023
.141
3.349
.001
a Dependent Variable: tadaware2
Beta
Sig
B 3.064
(Constant)
๑๒๖ Regression Variables Entered/Removed(b)
Model 1
Variables Removed
Variables Entered
Method
accountability5, accountability1, accountability4, accountability2, accountability3(a)
.
Enter
a All requested variables entered. b Dependent Variable: tadaware2
Model Summary
Model 1
R .291(a)
Adjusted R Square .079
R Square .085
Std. Error of the Estimate .40248
a Predictors: (Constant), accountability5, accountability1, accountability4, accountability2, accountability3
ANOVA(b) Model 1
Regression Residual
Sum of Squares 12.302
df
132.830
5
Mean Square 2.460
820
.162
F 15.189
Sig. .000(a)
Total
145.132 825 a Predictors: (Constant), accountability5, accountability1, accountability4, accountability2, accountability3 b Dependent Variable: tadaware2
Coefficients(a) Model
Unstandardized Coefficients
Standardized Coefficients t
Std. Error .107
27.066
.000
accountability1
.027
.022
.050
1.224
.221
accountability2
.054
.028
.097
1.904
.057
accountability3
.040
.032
.067
1.266
.206
accountability4
.025
.017
.052
1.426
.154
.063 a Dependent Variable: tadaware2
.024
.114
2.629
.009
(Constant)
accountability5
Beta
Sig
B 2.892
1
๑๒๗ Regression Variables Entered/Removed(b)
Model 1
Variables Entered
Variables Removed
recognition4, recognition1, recognition3, recognition2(a)
Method
.
Enter
a All requested variables entered. b Dependent Variable: tadaware2
Model Summary
Model 1
R .283(a)
Adjusted R Square .075
R Square .080
Std. Error of the Estimate .40330
a Predictors: (Constant), recognition4, recognition1, recognition3, recognition2
ANOVA(b) Model 1
Regression
Sum of Squares 11.595
df 4
Mean Square 2.899 .163
Residual
133.537
821
Total
145.132
825
F 17.822
Sig. .000(a)
a Predictors: (Constant), recognition4, recognition1, recognition3, recognition2 b Dependent Variable: tadaware2
Coefficients(a) Model
1
Unstandardized Coefficients
Standardized Coefficients t
Std. Error .100
29.541
.000
recognition1
.046
.024
.082
1.894
.059
recognition2
.083
.029
.136
2.825
.005
recognition3
.011
.021
.022
.501
.617
recognition4
.051
.024
.098
2.146
.032
(Constant)
a Dependent Variable: tadaware2
Beta
Sig
B 2.967
๑๒๘ Regression Variables Entered/Removed(b)
Model 1
Variables Entered
Variables Removed
teamwork4, teamwork1, teamwork3, teamwork2(a)
Method
.
Enter
a All requested variables entered. b Dependent Variable: tadaware
Model Summary
Model 1
R .293(a)
Adjusted R Square .081
R Square .086
Std. Error of the Estimate .40205
a Predictors: (Constant), teamwork4, teamwork1, teamwork3, teamwork2
ANOVA(b) Model 1
Regression
Sum of Squares 12.422
df 4
Mean Square 3.106 .162
Residual
132.710
821
Total
145.132
825
F 19.212
Sig. .000(a)
a Predictors: (Constant), teamwork4, teamwork1, teamwork3, teamwork2 b Dependent Variable: tadaware2 Coefficients(a) Model
Unstandardized Coefficients
Standardized Coefficients t
B 2.966
Std. Error .102
29.067
.000
teamwork1
.054
.026
.096
2.093
.037
teamwork2
.071
.029
.122
2.469
.014
teamwork3
.084
.024
.153
3.507
.000
-.020 a Dependent Variable: tadaware2
.025
-.035
-.792
.429
teamwork4
Beta
Sig
(Constant)
1
๑๒๙ Regression Variables Entered/Removed(b)
Model 1
Variables Entered
Variables Removed
tt, ts, tm, ta, tr(a)
Method .
Enter
a All requested variables entered. b Dependent Variable: tadaware
Model Summary Adjusted R Square R R Square .329(a) .108 .103 a Predictors: (Constant), tt, ts, tm, ta, tr
Std. Error of the Estimate .39726
Model 1
ANOVA(b) Model 1
Regression
Sum of Squares 15.723
df 5
Mean Square 3.145 .158
Residual
129.409
820
Total
145.132
825
F 19.926
Sig. .000(a)
a Predictors: (Constant), tt, ts, tm, ta, tr b Dependent Variable: tadaware2
Coefficients(a) Model
1
Unstandardized Coefficients
Standardized Coefficients
B 2.585
Std. Error .123
ts
.087
.029
tm
.042
.028
ta
.070
tr tt
(Constant)
t
Beta
Sig
21.003
.000
.112
2.995
.003
.069
1.526
.127
.042
.094
1.645
.100
.029
.040
.044
.737
.461
.063
.037
.092
1.703
.089
a Dependent Variable: tadaware2
๑๓๐ ผลการทดสอบสมมติฐาน 2 T-Test Group Statistics
tadaware2
perceived CG not get GCG manual
38
Mean 3.9341
Std. Deviation .53852
Std. Error Mean .05841
788
4.1239
.54819
.02014
N
get GCG manual
Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances
F tadaware 2
Equal variances assumed
.455
Sig. .500
Equal variances not assumed
t-test for Equality of Means
t
df
Sig. (2-tailed)
Mean Difference
Std. Error Difference
95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper
-3.028
824
.003
-.18977
.06267
-.31277
-.06677
-3.071
104.989
.003
-.18977
.06178
-.31228
-.06726
T-Test Group Statistics
tadaware2
perceived CG not get GCG manual
151
Mean 3.9612
Std. Deviation .56140
Std. Error Mean .03960
675
4.1504
.53859
.02154
N
get GCG manual
Independent Samples Test Levene's Test for Equality of Variances
F tadaware 2
Equal variances assumed Equal variances not assumed
1.365
Sig. .243
t-test for Equality of Means
t
df
Sig. (2-tailed)
Mean Difference
Std. Error Difference
95% Confidence Interval of the Difference Lower Upper
-4.288
824
.000
-.18921
.04413
-.27582
-.10259
-4.197
326.744
.000
-.18921
.04508
-.27789
-.10052
๑๓๑ ONEWAY
Descriptives 95% Confidence Interval for Mean N
Mean
unknown not sure known Total
Std. Deviation
Std. Error
25
3.8240
.56137
.11227
Lower Bound 3.5923
Upper Bound 4.0557
Minimum
Maximum
1.00
4.73
98
4.0046
.56481
.04108
3.9235
4.0856
1.00
5.00
703
4.1466
.53825
.02176
4.1039
4.1894
1.00
5.00
826
4.1044
.54992
.01913
4.0668
4.1419
1.00
5.00
tadaware2 ANOVA tadaware2
Between Groups
Sum of Squares 4.940
df 2
Mean Square 2.470 .297
Within Groups
244.549
823
Total
249.489
825
F 8.312
Sig. .000
* The mean difference is significant at the .05 level.
Post Hoc Tests
Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD Mean Difference (I-J) -.18059 -.32262(*)
Std. Error .11601 .11123
Sig. .120 .004
Lower Bound -.4083 -.5409
.18059
.11601
.120
-.0471
.4083
-.14204(*) known unknown .32262(*) not sure .14204(*) * The mean difference is significant at the .05 level.
.04536 .11123 .04536
.002 .004 .002
-.2311 .1043 .0530
-.0530 .5409 .2311
(I) perceived CG
(J) perceived CG
unknown
not sure known
not sure
unknown known
95% Confidence Interval Upper Bound .0471 -.1043
๑๓๒ ONEWAY
Descriptives 95% Confidence Interval for Mean N unknown not sure known Total
Mean
Std. Deviation
Std. Error
42
3.9254
.51895
.08008
Lower Bound 3.7637
Upper Bound 4.0871
Minimum
Maximum
1.00
5.00
76
3.9928
.57980
.03735
3.9192
4.0664
1.00
5.00
708
4.1677
.52825
.02267
4.1232
4.2122
1.00
5.00
826
4.1044
.54992
.01913
4.0668
4.1419
1.00
5.00
tadaware2 ANOVA tadaware2
Between Groups
Sum of Squares 6.523
df 2
Mean Square 3.262 .295
Within Groups
242.965
823
Total
249.489
825
F 11.048
Sig. .000
* The mean difference is significant at the .05 level.
Post Hoc Tests
Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 (I) perceived CG
(J) perceived CG
unknown
not sure known
not sure
unknown known
known
unknown not sure
Mean Difference (I-J) -.06741 -.24231(*)
Std. Error .09085 .08702
Sig. .458 .005
Lower Bound -.2457 -.4131
.06741
.09085
.458
-.1109
.2457
-.17490(*) .24231(*) .17490(*)
.04206 .08702 .04206
.000 .005 .002
-.2575 .0715 .0924
-.0924 .4131 .2575
LSD * The mean difference is significant at the .05 level.
95% Confidence Interval Upper Bound .1109 -.0715
๑๓๓ ONEWAY
Descriptives tadaware2 N
Mean
Std. Deviation
95% Confidence Interval for Mean
Std. Error
Minimum
Maximum
73
4.0320
.52010
.06087
Lower Bound 3.9106
Upper Bound 4.1533
1.00
5.00
not sure
132
3.9963
.53827
.02923
3.9388
4.0538
1.00
5.00
satisfaction
621
4.2056
.54682
.02587
4.1528
4.2585
1.00
5.00
Total
826
4.1044
.54992
.01913
4.0668
4.1419
1.00
5.00
unsatisfaction
ANOVA tadaware2 Sum of Squares 8.590
2
Mean Square 4.295
Within Groups
240.899
823
.293
Total
249.489
825
Between Groups
df
F 14.674
Sig. .000
* The mean difference is significant at the .05 level.
Post Hoc Tests
Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD (I) perceived CG
(J) perceived CG
unsatisfaction
not sure satisfaction
not sure
unsatisfaction satisfaction
Mean Difference (I-J) .03570 -.17367(*)
Std. Error .06981 .06868
Sig. .609 .012
Lower Bound -.1013 -.3085
-.03570
.06981
.609
-.1727
.1013
.03963 .06868 .03963
.000 .012 .000
-.2872 .0389 .1316
-.1316 .3085 .2872
-.20937(*) satisfaction unsatisfaction .17367(*) not sure .20937(*) * The mean difference is significant at the .05 level.
95% Confidence Interval Upper Bound .1727 -.0389
๑๓๔ ONEWAY
Descriptives
N
Mean
Std. Deviation
Std. Error
95% Confidence Interval for Mean
Minimum
Maximum
56
3.9690
.46571
.06223
Lower Bound 3.8443
Upper Bound 4.0938
1.00
5.00
not sure
81
3.9404
.53537
.03353
3.8744
4.0064
1.00
5.00
important
689
4.2003
.54406
.02397
4.1532
4.2474
1.00
5.00
Total
826
4.1044
.54992
.01913
4.0668
4.1419
1.00
5.00
unimportant
tadaware2 ANOVA tadaware2
Between Groups
Sum of Squares 12.617
df 2
Mean Square 6.309 .288
Within Groups
236.871
823
Total
249.489
825
F 21.919
Sig. .000
* The mean difference is significant at the .05 level.
Post Hoc Tests
Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 (I) perceived CG
(J) perceived CG
unimportant
not sure important
not sure
unimportant important
important
unimportant not sure
Mean Difference (I-J) .02866 -.23121(*)
Std. Error .07917 .07549
Sig. .717 .002
Lower Bound -.1267 -.3794
-.02866
.07917
.717
-.1841
.1267
-.25987(*) .23121(*) .25987(*)
.04108 .07549 .04108
.000 .002 .000
-.3405 .0830 .1792
-.1792 .3794 .3405
LSD * The mean difference is significant at the .05 level.
95% Confidence Interval Upper Bound .1841 -.0830
๑๓๕ ONEWAY
Descriptives tadaware2 N
Mean
Std. Deviation
95% Confidence Interval for Mean
Std. Error
Maximum
45
4.0584
.48802
.03239
1.00
5.00
not sure
181
4.0295
.56920
.03133
3.9679
4.0911
1.00
5.00
enought
600
4.2349
.55367
.03376
4.1685
4.3014
1.00
5.00
Total
826
4.1044
.54992
.01913
4.0668
4.1419
1.00
5.00
not enought
Upper Bound 4.1223
Minimum
Lower Bound 3.9946
ANOVA tadaware2
Between Groups
Sum of Squares 6.915
df 2
Mean Square 3.458 .295
Within Groups
242.574
823
Total
249.489
825
F 11.731
Sig. .000
* The mean difference is significant at the .05 level.
Post Hoc Tests
Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD (I) perceived CG
(J) perceived CG
not enought
not sure enought
not sure
not enought enought
Mean Difference (I-J) .02895 -.17650(*)
Std. Error .04681 .04893
Sig. .537 .000
Lower Bound -.0629 -.2725
-.02895
.04681
.537
-.1208
.0629
.04460 .04893 .04460
.000 .000 .000
-.2930 .0805 .1179
-.1179 .2725 .2930
-.20545(*) enought not enought .17650(*) not sure .20545(*) * The mean difference is significant at the .05 level.
95% Confidence Interval Upper Bound .1208 -.0805
๑๓๖ ONEWAY
Descriptives tadaware2 N
Mean
Std. Deviation
95% Confidence Interval for Mean
Std. Error
Minimum
Maximum
one channel
454
4.0470
.47777
.11227
Lower Bound 3.5923
Upper Bound 4.0557
two-three channels
1.00
5.00
253
4.0176
.57881
.04108
3.9235
4.0856
1.00
5.00
four-six channels
119
4.2456
.56425
.02176
4.1039
4.1894
1.00
5.00
Total
826
4.1044
.54992
.01913
4.0668
4.1419
1.00
5.00
ANOVA tadaware2 Sum of Squares 4.940
2
Mean Square 2.470
Within Groups
244.549
823
.297
Total
249.489
825
Between Groups
df
F 11.371
Sig. .000
* The mean difference is significant at the .05 level.
Post Hoc Tests
Multiple Comparisons Dependent Variable: tadaware2 LSD (I) perceived CG
(J) perceived CG
one channel
two-three channels four-six channels
two-three channels
one channel four-six channels
Mean Difference (I-J) -.18059 -.33622(*)
Std. Error .11601 .11123
Sig. .120 .004
Lower Bound -.4083 -.5409
.18059
.11601
.120
-.0471
.4083
.04536 .11123 .04536
.002 .004 .002
-.2311 .1043 .0530
-.0530 .5409 .2311
-.15564(*) four-six channels one channel . 33622(*) two-three channels . 15564(*) * The mean difference is significant at the .05 level.
95% Confidence Interval Upper Bound .0471 -.1043
๑๓๗
ภาคผนวก ง ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาเครือ่ งมือวัด
๑๓๘ ชื่อ-สกุล : ตําแหน่ง :
ที่ทํางานปัจจุบัน : สถานทีต่ ้งั ที่ทาํ งาน :
วัน เดือน ปีเกิด : สถานทีเ่ กิด : สถานที่อยู่ปัจจุบัน : ตําแหน่งและประวัติการทํางาน : ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
พลเอก ดร. บัณฑิต พิริยาสัยสันติ อาจารย์ประจําหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ 96 หมู่.3 ถนน พุทธมณฑล สาย 5 ตําบล ศาลายา อําเภอ พุทธมณฑล จังหวัด นครปฐม 73170 โทรศัพท์ : 02-889-4585-7 กด 2001 ติดต่อ ประชาสัมพันธ์ โทรสาร : 02-889-4588 ๒๘ เดือนกรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๘๖ ลําพูน ๑๐๓ หมู่ ๔ ฉางข้าวน้อย ต.ป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลําพูน
วิทยาศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต โรงเรียนเสนาธิการทหารบก (Command and General Staff College) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
๑๓๙
ชื่อ-สกุล : ตําแหน่ง : ที่ทํางานปัจจุบัน : สถานทีต่ ้งั ที่ทาํ งาน : หมายเลขโทรศัพท์ : e-mail : ที่อยู่ปัจจุบนั : หมายเลขโทรศัพท์ : ประวัติการศึกษา : ระดับปริญญาตรี
ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุกัลยา ปริญโญกุล รองคณบดีเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตะวันออก คณะเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เลขที่ 131 หมู่ 10 ตําบล พลวง อําเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี 22210 0 3930 7278 หมายเลขโทรสาร 0 3930 7277 sukulyaa@hotmail.com บ้านเลขที่ 86 ถนนท่าแฉลบ ซอยท่าแฉลบ 4 ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี รหัสไปรษณีย์ 22000 08 1982 0826 คบ. ครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย วิทยาลัยครูพระนคร ปีที่สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2521 ศษ.บ. ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปีที่สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2525 กศ.ม. การศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอก การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2542 ปร.ด. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต วิชาเอก รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2551
๑๔๐
ชื่อ-สกุล : ตําแหน่ง : ที่ทํางานปัจจุบัน : สถานทีต่ ้งั ที่ทาํ งาน : หมายเลขโทรศัพท์ : ที่อยู่ปัจจุบนั :
หมายเลขโทรศัพท์ : ประวัติการศึกษา : ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
อาจารย์ ดร. อุษณี มงคลพิทักษ์สุข อาจารย์ประจําโครงการรัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก 43/1111 อนุสาวรีย์ - หลักสี่ ถนนรามอินทรา กรุงเทพฯ 10220 02 9706407 บ้านเลขที่ 202/11 ม.3 หมู่บ้านสัมมากร ซอย เอฟ4 ถนน รามคําแหง แขวง สะพานสูง เขตสะพานสูง จังหวัดกรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10240 086 9974141 สศ.บ. สังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) ปีที่สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2534 สศ.ม. สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต (สวัสดิการแรงงาน) ปีที่สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2536 ปร.ด. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต วิชาเอก รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่สําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2551
๑๔๑
ภาคผนวก จ คณะผู้วิจัย
๑๔๒
คณะผู้วิจัย หัวหน้าโครงการวิจัย ผู้ร่วมวิจยั
นางสาวสุมณฑา เชิดชื่น นางสุธี อึ้งกิจจานุกจิ ดร.วัชระ ยาคุณ นางพจนา ศรีอําไพ นางสาวจีรพรรณ ณ สงขลา
นักวิชาการระดับผู้อํานวยการฝ่าย นักวิชาการระดับผู้อํานวยการกอง ผู้จัดการงานวิศวกรรม กญ. ผู้จัดการงานบริหารทั่วไป กญ. เจ้าหน้าทีบ่ ริหารทั่วไป กญ.