รายงานประจำปี 2555

Page 1

COVER nn.pdf 3 10/9/2013 11:59:11 AM


COVER nn.pdf 2 10/9/2013 11:59:10 AM


“งานราชการทุกอย่าง ไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ ง่ายหรือยาก ย่อมมี ความส�ำคัญอยูใ่ นงานของแผ่นดินด้วยกันทัง้ สิน้ อีกทัง้ งานทุกด้านทุกสาขา ย่ อ มสั ม พั น ธ์ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั น เป็ น ปั จ จั ย เกื้ อ กู ล ส่ ง เสริ ม กั น และกั น อยู ่ ข้าราชการทุกคน ทุกฝ่าย ทุกระดับ จึงต้องไม่ถอื ตัวแบ่งแยกกัน หากต้อง พิจารณาให้เห็นความส�ำคัญของกันและกัน แล้วร่วมงานประสานสัมพันธ์กนั ด้ ว ยความเป็ น มิ ต ร ด้ ว ยความเข้ า ใจเห็ น ใจกั น และด้ ว ยความเมตตา ปรองดองกันงานของแผ่นดินทุกส่วน จักได้ดำ� เนินก้าวหน้าไปพร้อมเสมอกัน และยั ง ประโยชน์ ที่พึง ประสงค์ คือ ความเจริญมั่น คง ให้เกิด แก่บุค คล แก่งาน และแก่ส่วนรวมได้แท้จริง” ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช วันที่ ๓๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๕ (พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน เนื่องในโอกาสวันข้าราชการพลเรือน ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕)


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สารบัญ

CONTENTS

TABLE OF P.4 P.8 P.9 P.9 P.10 P.11

สารจากผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ Message from the Director - General วิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ : Vision, Values, Mission ประเด็นยุทธศาสตร์ : Strategies เป้าประสงค์ : Objectives ประวัติความเป็นมาของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กลยุทธ์ : Strategic Implementation Plan

P.12 P.14 P.15 P.27 P.31 P.32 P.37 P.40 P.43

โครงสร้างส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ จ�ำนวนข้าราชการ ณ 30 กันยายน 2555 คณะผู้บริหารส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ บุคลากรส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ผลการปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณ 2555 ตามแผนปฏิบัติราชการของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ยุทธศาสตร์ที่ 1 : บริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาตลาดตราสารหนีใ้ ห้เป็นเสาหลักทางการเงนิ เพือ่ เสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงิน ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ งบการเงินของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

สารบัญ : TABLE2 OF CONTENTS


Annual Report

2012 2555

P.59 P.60 P.62 P.66 P.68 P.77

บทความวิ ช าการของส� ำ นั ก งาน บริหารหนี้สาธารณะ การจัดหาเงินกู้โครงการรับจ�ำน�ำ ผลิตผลทางการเกษตร ค่าธรรมเนียมการค�ำ้ ประกันและการให้กู้ต่อ ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะกบั การสร้างวัฒนธรรมแห่งการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ “เปิดกรุการเรียนรู้ ขุมทรัพย์ทางปัญญาของ สบน.” สบน. กับการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานของประเทศด้านการคมนาคมขนส่ง Logistics ในทศวรรษต่อไป การพัฒนาเเละบริหารจัดการเงินกู้รัฐวิสาหกิจในทศวรรษเเรก การกูย้ มื เงินของรัฐวิสาหกิจ : กรณีการให้กยู้ มื เงินต่อเเก่รฐั วิสาหกิจ

P.79 P.80 P.83 P.85 P.86 P.90 P.93 P.101 P.109 P.115 P.126 P.130

บทความพิเศษของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ สัมภาษณ์อดีตผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ คุณพรรณี สถาวโรดม สัมภาษณ์อดีตผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ คุณพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ สัมภาษณ์ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ คุณจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล 1 ทศวรรษ การซือ้ เงินตราต่างประเทศเพือ่ การช�ำระหนีเ้ งินกูต้ า่ งประเทศ ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (EIS) การบริหารจัดการหนี้เงินกู้ FIDF ด้วยพระราชก�ำหนดปรับปรุงการ บริหารหนี้เงินกู้ฯ FIDF พ.ศ. 2555 การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ ภาพรวมหนี้สาธารณะ ปีงบประมาณ 2555 ประมวลภาพกิจกรรม ท�ำเนียบผู้บริหาร ณ 30 กันยายน 2556 คณะผู้จัดท�ำรายงานประจ�ำปี พ.ศ. 2555

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

3 OF CONTENTS สารบัญ : TABLE


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ หรือ สบน. เป็นองค์กร เล็ ก ๆ มี บุ ค ลากรไม่ ม ากนั ก แต่ มี ภ ารกิ จ ครอบคลุ ม หนีส้ าธารณะของประเทศนับเป็นวงเงินมหาศาล จากวันที่ เริม่ จัดตัง้ สบน. นับจนถึงปัจจุบนั สบน. ได้จดั ตัง้ ขึน้ โดยยก สถานะเป็นกรม ครบรอบปีที่ 10 ในปี 2555 การก�ำหนดกลยุทธ์ในการท�ำงานเป็นสิ่งที่ผู้บริหาร ทุกคนให้ความส�ำคัญนับจากวันที่ สบน. ได้กอ่ ตัง้ ขึน้ ดังนัน้ จึงเห็นได้ว่า สบน. มีความก้าวหน้าในการบริหารจัดการ หนีส้ าธารณะอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ และโปร่งใส สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ที่ว่า เป็นมืออาชีพในการบริหาร หนี้สาธารณะ เพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน การด�ำเนินงานของ สบน. ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เรา ผ่านปัญหาอุปสรรคซึ่งนับเป็นความท้าทายหลากหลาย รูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาค่าเงินบาทในประเทศ ปัญหา ความขัดแย้งทางการเมือง ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ ในภูมิภาค ปัญหาเศรษฐกิจ Hamburger Crisis จาก สหรัฐอเมริกา รวมทั้งปัญหาหนี้สาธารณะในยุโรปซึ่งยัง The Public Debt Management Offifice (PDMO) is คงเป็นปัญหามาจนถึงปัจจุบัน a small government agency; with a big responsibility of managing the country’s entire public debt. In 2012, PDMO celebrated its 10-year anniversary since it’s establishment as a department. Since the day PDMO was founded, defifining organizational strategies has been one of the key focus of every Director-General. Hence, PDMO is always improving in terms of managing public debt systematically, effificiently and transparently. This corresponds with our vision of becoming a professional in public debt management, with the goal of fostering Thailand’s sustainable economic and social development. During the past 10 years, PDMO has encountered a variety of problems and obstacles. Challenges we have come across include

Message from the Director - General of the Public Debt Management Offifice

สารจาก ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

4


Annual Report

2012 2555

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

5


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

อย่างไรก็ดี ด้วยความร่วมแรงร่วมใจของเจ้าหน้าที่ ทุกระดับใน สบน. พวกเราสามารถหาแนวทางแก้ไขปัญหา และป้องกันผลกระทบของเศรษฐกิจในประเทศได้เป็น อย่างดี โดยสามารถระดมเม็ดเงินที่ใช้อัดฉีดเข้าสู่ระบบ เศรษฐกิจเพื่อการลงทุนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ของประเทศ รักษาระดับการว่างงานในภาวะวิกฤติ โดย สามารถรักษาระดับหนีส้ าธารณะให้อยูภ่ ายใต้กรอบความ ยั่งยืนทางการคลัง เมือ่ ประเทศต้องการการลงทุนแต่งบประมาณมีจำ� กัด ในอดีตการจัดหาแหล่งเงิน เน้นการกู้จากสถาบันการเงิน ระหว่างประเทศ หรือรัฐบาลต่างประเทศซึ่งมีต้นทุนที่ ต�่ำกว่าอัตราการกู้เงินในประเทศ แต่ภาพการระดมทุน ของภาครัฐได้เปลี่ยนไป เมื่อ สบน. วางรากฐานของตลาด ตราสารหนี้ เพื่อให้เป็นหนึ่งในเสาหลักของการระดมทุน การจัดหาแหล่งระดมทุนเพื่อการลงทุนของประเทศด้วย ต้นทุนทีเ่ หมาะสม การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ การบริหาร การช�ำระหนี้ การดูแลระดับเครดิตของประเทศ นับเป็น ภารกิจที่มีความท้าทายของ สบน.

having to work under conditions of volatile foreign exchange rates, political conffl l icts, regional economic problems, impact of the Hamburger Crisis in the United States of America, as well as the on-going public debt problems in Europe. However, with the cooperation of PDMO’s personnel from all levels, we overcame those problems and was able to protect the country’s domestic economy. In doing so, we supported funds for investment in the national infrastructure network and kept unemployment stable during crisis, whilst still maintaining public debt level within fif ifiscal sustainability framework. In the past, when there was a demand for domestic investment but the budget was limited, the government mainly borrowed from international ffi inancial institutions or foreign governments due to their lower cost in relative to domestic borrowings. Today, the government’s practice has changed after PDMO laid the foundations for the domestic bond market and making the domestic market a reliable and sustainable source of funding. Nevertheless, bond market development, debt repayment management, and sovereign credit rating supervision remains a challenge for the years to come.

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

6


Annual Report

2012 2555

ในโอกาสนี้ ผมหวั ง ว่ า รายงานประจ� ำ ปี ฉ บั บ นี้ จ ะ เป็นประโยชน์กับสาธารณชน เพื่อรับทราบเกี่ยวกับการ ด�ำเนินงานของ สบน. และในนามของเจ้าหน้าที่ สบน. ทุกคน ผมขอขอบคุณหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทุกๆ หน่วยงานที่ ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการด�ำเนินงานของ สบน. ด้วยดีเสมอมา ผมหวังว่า สบน. จะได้รับความร่วมมือที่ดี อย่างนี้ต่อไปในอนาคต

นายจักรกฤศฎิ์ พาราพันธกุล

In these regards, I very much hope that this annual report will be useful for the public in providing knowledge about PDMO’s operations. On behalf of PDMO, I would like to express sincere appreciation and gratitude to all relevant agencies for continuous support and cordial coordination. I also wish that PDMO will continue receiving your support in the future.

Chakkrit Parapuntakul

ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

Director-General

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

7


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

วิสัยทัศน์ เป็นมืออาชีพในการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน

ค่านิยม โปร่งใส วินัยดี มีเครดิต ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม

พันธกิจมกฎหมาย/ภารกิจหลักของหน่วยงาน บริหารหนี้สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารหนี้สาธารณะโดยการวางแผนก�ำกับ และ ด�ำเนินการก่อหนี้ ค�้ำประกัน และปรับโครงสร้างหนี้ของรัฐบาล หน่วยงานในก�ำกับดูแลของรัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ และรัฐวิสาหกิจ ซึง่ รวมทัง้ การช�ำระหนีข้ องรัฐบาล และการติดตามและประเมินผล การด�ำเนินงาน เพื่อให้การบริหารหนี้สาธารณะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเสริมสร้างความยั่งยืน ทางการคลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ

Vision A Professional in Public Debt Management for Sustainable Economic and Social Development

Values Transparent, Disciplined, Trustworthy, Driving Social and Economic Development

Mission Formulate sound public debt management policies and strategies as well as conduct, monitor and evaluate public debt management operations under the relevant legal framework and guidelines.

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

8


Annual Report

2012 2555 ประเด็นยุทธศาสตร์ • บริหารจัดการหนีส้ าธารณะในเชิงรุก (Pro-active Debt Management) • พัฒนาตลาดตราสารหนีใ้ ห้เป็นเสาหลักทางการเงิน เพือ่ เสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงิน • พัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ

เป้าประสงค์

1. แผนการบริหารหนีส้ าธารณะมีความชัดเจน สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศตามนโยบายรัฐบาล 2. การบริหารหนีส้ าธารณะให้มตี น้ ทุนทีเ่ หมาะสมและอยูภ่ ายใต้กรอบความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ 3. ช�ำระหนีใ้ ห้ถกู ต้อง ครบถ้วนและตรงตามก�ำหนดเวลา 4. ผูร้ บั บริการและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียมีความพึงพอใจ 5. เป็นแหล่งระดมทุนทีย่ งั่ ยืนในประเทศ 6. มีการออกพันธบัตรรัฐบาลอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ สร้างอัตราดอกเบีย้ อ้างอิง และสภาพคล่องในตลาดรอง 7. มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทหี่ ลากหลายเพือ่ รองรับความต้องการของนักลงทุน 8. มีระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศทีท่ นั สมัยและสร้างความเชือ่ มโยงในการท�ำงาน 9. มีระบบการบริหารงานและระบบทรัพยากรบุคคลทีม่ ปี ระสิทธิภาพ 10. บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพ 11. มีสถานทีใ่ นการด�ำเนินงานทีเ่ หมาะสมกับสภาพขององค์กรและบุคลากร

Strategies • Pro-active public debt management • Develop domestic bond market to be a sustainable source of funding for the stability of Thailand’s ffi inancial system • Foster organisation’s strength and efficiency

Objectives

1. Public debt management plan is clear and consistent with the direction of the government development policies 2. Minimize cost of funding under acceptable risk level 3. Accurate and timely debt repayment 4. Maintain stakeholders’ satisfaction 5. Develop a sustainable domestic source of funding 6. Issue regular benchmark bond to develop reliable government bond yield curve and enhance liquidity in the Secondary Market 7. Diversify Government securities diversification to deepen the domestic bond market and to serve investors’ need 8. Develop effective data and information technology system 9. Develop effective workflflflow and human resource management 10. Build highly capable and professional personnel 11. Create modern and stimulating workplace ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

9


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ประวัติความเป็นมาของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2542 โดยในระยะแรก มีสถานะเป็นหน่วยงานในสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ก่อนจะได้รบั การยก ระดั บ เป็ น ส่ ว นราชการในระดั บ กรม สั ง กั ด กระทรวงการคลั ง ตามพระราชบั ญ ญั ติ ป รั บ ปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 โดยได้รวมงานของ 2 หน่วยงานเข้าด้วยกัน ได้แก่ ส�ำนักงาน เศรษฐกิจการคลังในส่วนของกองนโยบายเงินกู้ กองนโยบายเงินกูต้ ลาดเงินทุน กองโครงการลงทุนเพือ่ สังคม ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย และกรมบัญชีกลางในส่วนงานหนี้สาธารณะและเงินคงคลัง และกลุ่ม วิเคราะห์หนี้สาธารณะและเงินคงคลัง การรวมงานของ 2 หน่วยงานข้างต้นเข้าไว้ด้วยกันก็เพื่อสร้าง ความเป็นเอกภาพในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะของประเทศ โดยมีหน้าที่ความรับผิดชอบในการ บริหารจัดการหนี้ของประเทศเบ็ดเสร็จเพียงหน่วยงานเดียว ทั้งนี้ เพื่อให้การด�ำเนินการเป็นไปอย่างมี ระบบ มีประสิทธิภาพและสามารถควบคุมดูแลการก่อหนีโ้ ดยรวมเพือ่ ให้ภาระหนีส้ าธารณะอยูใ่ นระดับ ที่สอดคล้องกับฐานะการเงินการคลังของประเทศ และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 สบน. ได้ทบทวน บทบาทและปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการภายใน เพือ่ รองรับกระบวนการ และแนวทางการด�ำเนินงาน โดยยึดหลักเกณฑ์ให้ผู้รับบริการต้องได้รับความสะดวก รวดเร็วและความพึงพอใจ ซึ่งสอดคล้องกับ ทิศทางการปฏิบัติราชการแนวใหม่

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

10


Annual Report

2012 2555 กลยุทธ์ 1. บริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก 2. ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำทางด้านข้อมูลและวิชาการ รวมถึงการประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ ด้านหนี้สาธารณะในเชิงรุก 3. พัฒนางานวิจัยและวิชาการเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ 4. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานตลาดตราสารหนี้ 5. พัฒนาผลิตภัณฑ์ตราสารหนี้ให้มีความหลากหลาย มีนวัตกรรมทางการเงินที่ใช้ในตลาดสากล และสอดคล้องกับความต้องการของนักลงทุน 6. พัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ 7. พัฒนาระบบบริหารงานและระบบทรัพยากรบุคคล 8. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ และมีความเป็นมืออาชีพ

Strategic Implementation Plan 1. Manage public debt pro-actively 2. Provide information and academic advisory and promote the understanding on pro-active debt management 3. Develop academic research in public debt management 4. Develop domestic bond market infrastructure 5. Diversify government securities and use international financial innovation that serve investor’s need 6. Enhance data and information technology system 7. Enhance workflflow and human resource management system 8. Enhance personnel’s capabilities and professionalism

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

11


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงาน บริหารหนี้ สาธารณะ

ทีป่ รึกษาด้าน หนีส้ าธารณะ

รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ

ส�ำนัก จัดการหนี้ 1

ส�ำนัก จัดการหนี้ 2

ส�ำนักบริหารการ ระดมทุนโครงการ ลงทุนภาครัฐ

ส�ำนักนโยบาย และแผน

ผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน เงินกู้โครงการ ส่วนจัดการ เงินกู้รัฐบาล 1 (ขาดดุล) ส่วนจัดการ เงินกู้รัฐบาล 2 (กฎหมายพิเศษ) ส่วนจัดการ เงินกูร้ ฐั บาล 3 (โครงการรัฐบาล)

ส่วนบริหารจัดการ เงินกู้ต่างประเทศ รัฐวิสาหกิจ ส่วนบริหารจัดการ เงินกู้ในประเทศ รัฐวิสาหกิจ ส่วนเงินกู้ตลาด เงินทุนต่างประเทศ และการจัดอันดับ ความน่าเชื่อถือ ส่วนบริหารจัดการ เงินให้กู้ต่อและการ ช�ำระหนี้รัฐวิสาหกิจ

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หนี้สาธารณะ และภาระผูกพัน

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หนี้สาธารณะและ เงินคงคลัง

ส่วนจัดการเงินกู้ หน่วยงานอืน่ (อปท.)

ส่วนนโยบายและ แผนการระดมทุน ส่วนวิเคราะห์และ จัดการเงินทุน โครงการ 1 ส่วนวิเคราะห์และ จัดการเงินทุน โครงการ 2 ศูนย์ข้อมูล ที่ปรึกษาไทย

ส่วนความร่วมมือ ระหว่างประเทศ

Project Implementing Unit : PIU

ส่วนวิจัยนโยบาย หนี้สาธารณะ

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

12

ส่วนนโยบาย และแผน

ส่วนวิเคราะห์ แผนการบริหาร ความเสี่ยง


Annual Report

2012 2555

รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ

กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร

กลุ่ม กฎหมาย

กลุ่มตรวจสอบ ภายใน

ส�ำนักพัฒนา ตลาดตราสารหนี้

ส�ำนักบริหารการ ระดมทุนระบบบริหาร จัดการน�ำ้

ส�ำนักบริหาร การช�ำระหนี้

ส�ำนักงาน เลขานุการกรม

ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ

ส่วนพัฒนาตลาด ตราสารหนี้รัฐบาล

ส่วนนโยบายและ แผนการลงทุน

ผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้านการบริหาร การช�ำระหนี้

ฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป

ส่วนวิเคราะห์นโยบาย และแผนสารสนเทศ

ส่วนบริหาร กองทุนและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน ส่วนนโยบายตลาด ตราสารหนี้ ระหว่างประเทศ

ส่วนก�ำกับ ติดตาม และประเมินผล โครงการ

ส่วนบริหารการ ช�ำระหนี้ในประเทศ

ฝ่ายคลัง

ส่วนบริหารระบบ ข้อมูลสารสนเทศ

ส่วนบริหารการ ช�ำระหนี้ต่างประเทศ

ฝ่ายการเจ้าหน้าที่

ส่วนบริหาร เงินกองทุน

ฝ่ายพัสดุ

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

13


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

จ�ำนวนข้าราชการ ณ 30 กันยายน 2555 จ�ำนวนคน ประเภทต�ำแหน่ง

ระดับต�ำแหน่ง

ชาย

หญิง

รวม

บริหาร

สูง ต้น

1 2

- -

1 2

อ�ำนวยการ

สูง ต้น

5 -

2 1

7 1

วิชาการ

ทรงคุณวุฒ ิ เชีย่ วชาญ ช�ำนาญการพิเศษ ช�ำนาญการ ปฏิบตั กิ าร

1 2 7 9 24

- 1 19 29 38

1 3 26 38 62

ทัว่ ไป

ช�ำนาญงาน

2

2

4

53

92

145

รวม

หมายเหตุ : ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2555 ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะมีบคุ ลากรทัง้ สิน้ 232 คน ประกอบด้วย ข้าราชการ 145 คน พนักงานราชการ 8 คน และลูกจ้างชัว่ คราว 79 คน ต�ำแหน่งบริหารระดับสูง นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล

ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ

ต�ำแหน่งวิชาการทรงคุณวุฒิ นายประวิช สารกิจปรีชา

ทีป่ รึกษาด้านหนีส้ าธารณะ

ต�ำแหน่งบริหารระดับต้น นายสุวชิ ญ โรจนวานิช นายทวี ไอศูรย์พศิ าลศิร ิ

รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

14


Annual Report

2012 2555

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สวนที่

1

คณะผูบร�หาร

สำนักงานบร�หารหนี้สาธารณะ

(1ตุลาคม 2554 - 30 กันยายน 2555)

2012 ทศวรรษ 2555 Annual

Report

รายงานประจำป

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PUBLIC 2012 DEBT MANAGEMENT ANNUAL REPORT : PUBLIC OFFICE DEBT MANAGEMENT OFFICE

15


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

คณะผู้บริหาร : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PDMO Management Team

นายจักรกฤศฎิ์ พาราพันธกุล

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

Mr.Chakkrit Parapuntakul Director - General

นายประวิช สารกิจปรีชา ที่ปรึกษาด้านหนี้สาธารณะ

Mr.Prawit Sarakitprija Public Debt Advisor

นายสุวิชญ โรจนวานิช

รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

Mr.Suwit Rojanavanich Deputy Director - General

นายทวี ไอศูรย์พิศาลศิริ

รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

Mr.Thavee Aisoonpisarnsiri Deputy Director - General

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

16


Annual Report

คณะผู้บริหาร : ส�ำนักจัดการหนี้ 1

2012 2555

Debt Management Bureau 1

นายวิสุทธิ์ จันมณี

ผู้อำ� นวยการส�ำนักจัดการหนี้ 1

Mr.Wisut Chanmanee

Executive Director of the Debt Management Bureau 1

นายณรงค์ แก้วเศวตพันธุ์

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเงินกู้โครงการ

Mr.Narong Keowsawetabhan Senior Expert on Loan Project

นางสาวยอดเยาวมาลย์ สุคนธพันธุ์ ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 2

Ms.Yodyaovamarn Sukonthaphant

Director of the Government Debt Management Division 2

นายฐิติเทพ สิทธิยศ

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้หน่วยงานอื่น

Mr.Thitithep Sitthiyot

Director of the other Government Debt Management Division

นายถาวร เสรีประยูร

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 1

Mr.Tharwon Seareeprayoon Director of the Government Debt Management Division 1

นายยุทธพงศ์ เอี่ยมแจ้ง

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 3

Mr.Yuthapong Eamchang

Director of the Government Debt Management Division 3 ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

17


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

คณะผู้บริหาร : ส�ำนักจัดการหนี้ 2

Debt Management Bureau 2

นางสาวศิรสา กันต์พิทยา ผู้อำ� นวยการส�ำนักจัดการหนี้ 2

Ms.Sirasa Kanpittaya

Executive Director of the Debt Management Bureau 2

นางสาวอรุณวรรณ ยมจินดา

ผู้อำ� นวยการส่วนเงินกู้ตลาดเงินทุนต่างประเทศและ การจัดระดับความน่าเชื่อถือ

Ms.Arunwan Yomjinda

Director of the Debt Capital Market Division

นางชนันภรณ์ พิศิษฐวานิช

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารจัดการเงินกู้ในประเทศ รัฐวิสาหกิจ

Mrs.Chanunporn Phisitvanich

Director of the State Enterprise Domestic Debt Management Division

นางปัณฑารีย์ ศรีแก้วพันธ์

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารจัดการเงินให้กู้ต่อและ การช�ำระหนี้รัฐวิสาหกิจ

Mrs.Puntaree Srikaewpun

Director of the On-Lending and Payment of State Enterprise Management Division

นางสาวเสาวนีย์ จันทพันธ์

ผู้อำ� นวยการส่วนบริหารจัดการเงินกู้ต่างประเทศ รัฐวิสาหกิจ

Ms.Saowanee Chantapun

Director of the State Enterprise Foreign Debt Management Division

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

18


Annual Report

คณะผู้บริหาร : ส�ำนักนโยบายและแผน

2012 2555

Policy and Planning Bureau นายธาดา พฤฒิธาดา

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผน

Mr.Tada Phutthitada

Executive Director of the Policy and Planning Bureau

นางสุณี เอกสมทราเมษฐ์

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านหนี้สาธารณะและเงินคงคลัง

Mrs.Sunee Eksomtramate

Senior Expert on Public Debt and Treasury

นางสาวอุปมา ใจหงษ์

ผู้อำ� นวยการส่วนความร่วมมือระหว่างประเทศ

Ms.Upama Jaihong

Director of the International Cooperation Division

นางสาวรานี อิฐรัตน์

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิจัยนโยบายหนี้สาธารณะ

Ms.Ranee Itarat

Director of the Public Debt Policy Research Division

นางสาวนีรชา มรกตราภรณ์ ผู้อำ� นวยการส่วนนโยบายและแผน

Ms.Neeracha Morakottaporn Director of the Policy and Planning Division

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

19


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

คณะผู้บริหาร : ส�ำนักบริหารการช�ำระหนี้

Payment Administration Bureau

นายเอด วิบูลย์เจริญ

ผู้อำ� นวยการส�ำนักบริหารการช�ำระหนี้

Mr.Ace Viboolcharern

Executive Director of the Payment Administration Bureau

นายเอกราช เขื่อนขันธ์สถิตย์

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านบริหารการช�ำระหนี้

Mr.Ekaraj Khuankhunsathid

Senior Expert on Debt Payment Management

นางสาวชิดชไม ไมตรี

ผู้อำ� นวยการส่วนบริหารการช�ำระหนี้ต่างประเทศ

Ms.Chidchamai Maitree

Director of the External Debt Payment Division

นายอัคนิทัต บุญโญ

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารการช�ำระหนี้ในประเทศ

Mr.Aknetat Boonyo

Director of the Internal Debt Payment Division

นางพรพิมล บุนนาค

ผู้อำ� นวยการส่วนบริหารเงินกองทุน

Mrs.Pornpimol Boonnag

Director of the Fund Management Division รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

20


Annual Report

2012 2555

คณะผู้บริหาร : ส�ำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

Public Infrastructure Project Financing Bureau นายธีรัชย์ อัตนวานิช

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารการระดมทุน โครงการลงทุนภาครัฐ

Mr.Theeraj Athanavanich

Executive Director of the Public Infrastructure Project Financing Bureau

นางสาวอัญจนา วงศ์สว่าง

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์และจัดการเงินทุนโครงการ 1

Ms.Anchana Wongsawang

Director of the Project Financing Division 1

นางสาวเบญจมาศ เรืองอ�ำนาจ

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์และจัดการเงินทุนโครงการ 2

Ms.Benjamart Ruangamnart Director of the Project Financing Division 2

นางสาวสิริภา สัตยานนท์

ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและแผนการระดมทุน

Ms.Siribha Satayanon

Director of the Financing Policy and Planning Division

นางอนงค์นาฏ โมราสุข

ผู้อำ� นวยการศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย

Mrs.Anongnart Morasook Director of the Consultant Database Center

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

21


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

คณะผู้บริหาร : ส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้

Bond Market Development Bureau

นางจินดารัตน์ วิริยะทวีกุล

ผู้อำ� นวยการส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำ� นวยการส�ำนักบริหาร การระดมทุนระบบบริหารจัดการน�ำ้

Mrs.Jindarat Viriyataveekul

Executive Director of the Bond Market Development Bureau for Director of the Water Management Project Financing Bureau

นางสาวพิมพ์เพ็ญ ลัดพลี

ผู้อำ� นวยการส่วนพัฒนาตลาดตราสารหนี้รัฐบาล ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพัฒนา ตลาดตราสารหนี้

Ms.Pimpen Ladpli

Director of the Government Bond Market Development Division for Director of the Offifice of the Bond Market Development Bureau

นายณัฐการ บุญศรี

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารกองทุนและพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน

Mr.Nattakarn Boonsri

Director of the Fund Management and Bond Market Infrastructure Development Division

นางฉัตรมณี สินสิริ

ผู้อำ� นวยการส่วนนโยบายตลาดตราสารหนี้ ระหว่างประเทศ

Mrs.Chatmanee Sinsiri

Director of the International Bond Market Policy Division รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

22


Annual Report

คณะผู้บริหาร : ส�ำนักงานเลขานุการกรม

2012 2555

Offifice of the Secretary

นายธีรลักษ์ แสงสนิท เลขานุการกรม

Mr.Teeralak Sangsnit

Secretary

นางสาวมนัสนันท์ ประเสริฐผล หัวหน้าฝ่ายคลัง

Ms.Manusanan Prasertphol

Chief of Budgetary Division

นางรุ่งระวี รุกเขต

หัวหน้าฝ่ายการเจ้าหน้าที่

Mrs.Rungrawee Roogkate

Chief of Human Resource Division

นางสาวสุพรรณพิมพ์ บุญทิพย์

หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป (ต.ค. – พ.ย. 54)

Ms.Supanpim Bunthip

Chief of General Administration Division

นางเสาวรส สีวรรณ์ หัวหน้าฝ่ายพัสดุ

Mrs.Sawaros Srivan

Chief of the Logistics Division ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

23


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

คณะผู้บริหาร : ส�ำนักบริหารการระดมทุนระบบบริหารจัดการน�้ำ

Water Management Project Financing Bureau นางจินดารัตน์ วิริยะทวีกุล

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหาร การระดมทุนระบบบริหารจัดการน�้ำ

Mrs.Jindarat Viriyataveekul

Executive Director of the Bond Market Development Bureau for Director of the Water Management Project Financing Bureau

นางอรพร ถมยา

ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบาย และแผนการลงทุน

Mrs.Oraporn Thomya

Acting Director of Financing Policy and Planning Division

ร.ต.ต.หญิงจารุณี เล็กด�ำรงศักดิ์ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำ� นวยการส่วนก�ำกับ ติดตาม และประเมินผลโครงการ

Sub.Lt.Pol.Jarunee Lekdamrongsak Acting Director of Project Monitoring and Evaluation Division

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

24


Annual Report

คณะผู้บริหาร : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

2012 2555

Information Technology Center

นางสาววราภรณ์ ปัญญศิริ

ผู้อ�ำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

Ms.Waraporn Panyasiri

Director of the Information Technology Center

นายวศิน ชูจิตารมย์

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารระบบข้อมูล สารสนเทศ

Mr.Vasin Choojitarom

Director of the Information System and Management Division

นายครรชิต พะลัง

ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์ นโยบายและแผนสารสนเทศ

Mr.Kanchit Bhalang

Acting Director of Senior Computer Technical Offificer Division

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

25


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

คณะผู้บริหาร : กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

Public Sector Development Group

นางสาวพรทิพย์ พันเลิศยอดยิ่ง ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

Ms.Porntip Phunleartyodying

Director of the Public Sector Development Group

คณะผู้บริหาร : กลุ่มตรวจสอบภายใน

Internal Audit Group นางสาวโสภิดา ศรีถมยา

ผู้อ�ำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน

Ms.Sophida Sritomya

Director of the Internal Audit Group

คณะผู้บริหาร : กลุ่มกฎหมาย

Legal Advisory Group นายธีรเดช ลิขิตตระกูลวงศ์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มกฎหมาย

Mr.Teeradet Likitragolwong

Director of the Legal Advisory Group

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

26


Annual Report

2012 2555

บุคลากร

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ส�ำนัก จัดการหนี้ 1

ส�ำนัก จัดการหนี้ 2

ส�ำนักนโยบาย และแผน

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

27


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

บุคลากร

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ส�ำนักบริหาร การช�ำระหนี้

ส�ำนักบริหารการ ระดมทุนโครงการ ลงทุนภาครัฐ

ส�ำนักพัฒนา ตลาดตราสารหนี้

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

28


Annual Report

2012 2555

บุคลากร

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ส�ำนักงาน เลขานุการกรม

ส�ำนักบริหาร การระดมทุนระบบ บริหารจัดการน�ำ้

ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

29


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

บุคลากร

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร

กลุ่มตรวจสอบ ภายใน

กลุ่ม กฎหมาย

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

30


Annual Report

2012 2555

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สวนที่

2

ผลการปฏิบัติราชการประจำปงบประมาณ 2555

ตามเเผนปฏิบัติราชการของสำนักงานบร�หารหนี้สาธารณะ

2012 ทศวรรษ 2555 Annual

Report

รายงานประจำป

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PUBLIC 2012 DEBT MANAGEMENT ANNUAL REPORT : PUBLIC OFFICE DEBT MANAGEMENT OFFICE

31


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : บริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะมีแผนงานตามแผนปฏิบัติราชการที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของ กระทรวงการคลัง ดังนี้ แผนงานการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะมีหน้าที่หลักในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะของประเทศ โดยการวางแผน ก�ำกับ และด�ำเนินการก่อหนีใ้ หม่ การบริหารหนีเ้ ดิม และการช�ำระหนี้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับสถานะการเงินการคลังของ ประเทศ และอยูภ่ ายใต้กรอบความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ อยูภ่ ายใต้กรอบความยัง่ ยืนทางการคลัง ทีก่ ำ� หนดให้สดั ส่วน หนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 และภาระหนี้ต่องบประมาณ ไม่เกินร้อยละ 15 ในปีงบประมาณ 2555 สบน. ได้มีการด�ำเนินการตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะประจ�ำปีงบประมาณ 2555 รวมทั้งสิ้น 2,278,478.72 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น (1) การก่อหนี้ใหม่ จ�ำนวน 1,184,527.01 ล้านบาท (2) การปรับโครงสร้างหนี้ จ�ำนวน 752,938.64 ล้านบาท (3) การบริหารความเสี่ยง จ�ำนวน 177,000.00 ล้านบาท (4) การบริหารจัดการหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่ต้องขออนุมัติภายใต้กรอบแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำ ปีงบประมาณ จ�ำนวน 134,013.06 ล้านบาท และ (5) การก่อหนี้ใหม่ของหน่วยงานอื่นของรัฐที่ไม่ต้องขออนุมัติคณะรัฐมนตรีภายใต้กรอบแผนฯ จ�ำนวน 30,000.00 ล้านบาท

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

32


Annual Report

2012 2555 ตารางที่ 1 แผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ 2555 วงเงินเดิม

รายการแผน

วงเงินปรับปรุงครั้งที่ 4 ในประเทศ ต่างประเทศ รวม

หน่วย : ล้านบาท

การ เปลี่ยนแปลง

I. แผนการก่อหนี้ใหม่ 1.1 รัฐบาล 1.2 รัฐวิสาหกิจ II. แผนการปรับโครงสร้างหนี้

1,186,087.78 1,153,527.01 846,372.06 815,372.06 339,715.72 338,154.95 734,938.64 752,938.64

31,000.00 31,000.00 0.00 -

1,184,527.01 846,372.06 338,154.95 752,938.64

-1,560.77 18,000.00

2.1 รัฐบาล 2.2 รัฐวิสาหกิจ III. แผนการบริหารความเสี่ยง รวม (I+II+III) IV. แผนการบริหารหนี้ของ รัฐวิสาหกิจทีไม่ตอ้ งขออนุมตั ิ ครม. ภายใต้กรอบแผนฯ

614,923.25 632,923.25 - 120,015.39 120,015.39 - 177,000.00 177,000.00 2,098,026.42 134,013.06 83,154.00 50,859.06

632,923.25 120,015.39 177,000.00 2,114,465.65 134,013.06

18,000.00 -

V. แผนการก่อหนีข้ องหน่วยงานอืน่ 30,000.00 30,000.00 - ของรัฐทีไ่ ม่ตอ้ งขออนุมตั ิ ครม. ภายใต้กรอบแผนฯ รวม I ถึง V 2,262,039.48

30,000.00

2,278,478.72

-

16,439.24

รวมทั้งได้มีการจัดท�ำแผนการบริหารหนี้สาธารณะประจ�ำปีงบประมาณ 2556 โดยแผนดังกล่าวเป็นแผนที่แสดง ให้เห็นภาพรวมของการก่อหนี้ใหม่และการบริหารหนี้เดิมของทั้งส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในรอบระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ เพื่อเป็นการก�ำหนดทิศทางและแนวทางการด�ำเนินงานด้านหนี้สาธารณะในปีงบประมาณ 2556 ให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ตลอดจนนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมทัง้ มีความเหมาะสมภายใต้ กรอบความยั่งยืนทางการคลัง นอกจากการก่อหนี้ใหม่และการบริหารหนี้เดิมแล้ว ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ยังมีหน้าที่ต้องด�ำเนินการบริหารงบประมาณรายจ่ายช�ำระหนี้เงินกู้ของรัฐบาล โดยในปีงบประมาณ 2555 ส�ำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 เพื่อการช�ำระคืนหนี้เงินกู้ของ รัฐบาล จ�ำนวน 171,009.89 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 7.19 ของงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี และมีแนวโน้มที่ ภาระหนีเ้ งินกูข้ องรัฐบาลจะเพิม่ สูงขึน้ เนือ่ งจากการด�ำเนินนโยบายของรัฐบาลทีใ่ ห้ความส�ำคัญต่อนโยบายในการพัฒนา ประเทศโดยการลงทุนจากภาครัฐ แต่ดว้ ยข้อจ�ำกัดของรายได้ทไี่ ม่เพียงพอต่อรายจ่ายภาครัฐ จึงจ�ำเป็นต้องมีการก่อหนี้ สาธารณะ ซึ่งจะส่งผลให้หนี้สาธารณะมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

33


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ผลการปฏิบัติราชการโครงการส�ำคัญภายใต้แผนงานการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ สรุปได้ ดังนี้ 1. หนี้สาธารณะคงค้างต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ ราคาประจ�ำปี ณ สิน้ ปีงบประมาณ 2555 มีหนีส้ าธารณะคงค้าง จ�ำนวน 4,937,239.62 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 43.91 ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ ราคาประจ�ำปี โดยแบ่งเป็นหนี้ของรัฐบาล จ�ำนวน 3,515,010.95 ล้านบาท หนี้ของ รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน จ�ำนวน 1,064,289.11 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงินที่รัฐบาล ค�้ำประกัน จ�ำนวน 352,207.35 ล้านบาท และหนี้ของหน่วยงานอื่นของรัฐ จ�ำนวน 5,732.21 ล้านบาท 352,207.35

5,732.21

1 หนี้ของรัฐบาล 2 หนีข้ องรัฐวิสาหกิจทีไ่ ม่เป็นสถาบัน การเงิน 3 หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบัน การเงินที่รัฐบาลค�้ำประกัน 4 หนี้ของหน่วยงานอื่นของรัฐ

1,064,289.11 3,515,010.95 หน่วย : ล้านบาท

หนี้สาธารณะคงค้างต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ สิ้นปีงบประมาณ 2555

2. ภาระหนี้ต่องบประมาณ เป็นการวัดภาระหนี้ของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจเปรียบเทียบกับงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี ตามกรอบความ ยั่งยืนทางการคลัง ซึ่งก�ำหนดไว้ไม่เกินร้อยละ 15 และ ณ สิ้นปีงบประมาณ 2555 มีภาระหนี้ต่องบประมาณเท่ากับ ร้อยละ 9.33 3. การจัดท�ำแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ 2556 ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะมีการจัดท�ำแผนการบริหารหนีส้ าธารณะประจ�ำปีงบประมาณและการปรับปรุงแผน เป็นระยะๆ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการใช้เงินกู้ที่แท้จริง โดยแผนดังกล่าวเป็นแผนที่แสดงให้เห็นภาพรวมของ การก่อหนีใ้ หม่และการบริหารหนีเ้ ดิมของทัง้ ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในรอบระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ เพือ่ เป็นการ ก�ำหนดทิศทางและแนวทางการด�ำเนินงานด้านหนีส้ าธารณะให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ตลอดจนนโยบายการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมทัง้ อยูภ่ ายใต้กรอบความยัง่ ยืนทางการคลัง โดยส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะได้ จัดท�ำแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ 2556 และเสนอแผนดังกล่าวพร้อมผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่าจะ ได้รับและผลกระทบต่อกรอบความยั่งยืนทางการคลังต่อคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2555 และแผนได้รับ ความเห็นชอบเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2555 รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

34


Annual Report

2012 2555 4. แผนการบริหารความเสี่ยงด้านหนี้สาธารณะ ในปีงบประมาณ 2555 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะได้บริหารความเสี่ยงหนี้ของรัฐบาล โดยช�ำระหนี้ใน ประเทศก่อนครบก�ำหนด จ�ำนวน 9,336.82 ล้านบาท ท�ำให้สามารถลดภาระดอกเบีย้ ได้ 1,325.62 ล้านบาท และช�ำระหนี้ ต่างประเทศก่อนครบก�ำหนด จ�ำนวน 150.43 ล้านบาท ท�ำให้สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้ 1.27 ล้านบาท รวมทั้งปิด ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนโดยการท�ำ Swap เงินกู้จากธนาคารโลก (World Bank) และธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank : ADB) จ�ำนวน 12,302 ล้านบาท หรือเทียบเท่า 400 ล้านเหรียญสหรัฐ และรัฐวิสาหกิจ ได้มกี ารด�ำเนินการบริหารความเสีย่ งหนีข้ องรัฐวิสาหกิจ โดยช�ำระหนีใ้ นประเทศก่อนครบก�ำหนด จ�ำนวน 18,423.91 ล้านบาท ท�ำให้สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้ 1,038.29 ล้านบาท ตารางการแปลงหนี้เงินกู้ต่างประเทศของรัฐบาล ปีงบประมาณ 2555 Cross Currency Swap เงินกู ้ Capital Market Development Program (ADB งวดที่ 1) Capital Market Development Program (ADB งวดที่ 2) Capital Market Development Program (ADB งวดที่ 3) Public Sector Reform Development Policy Loan (World Bank) รวม

จ�ำนวน

ประหยัด งบประมาณ

100 ล้านเหรียญสหรัฐ 100 ล้านเหรียญสหรัฐ 100 ล้านเหรียญสหรัฐ 100 ล้านเหรียญสหรัฐ 400 ล้านเหรียญสหรัฐ

82.00 ลบ. 278.00 ลบ. 136.00 ลบ. 41.00 ลบ. 546.00 ลบ.

5. แผนงานการจัดท�ำแผนการลงทุนและแผนการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ การจัดท�ำแผนการลงทุนและแผนการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐส�ำหรับสาขาเชิงยุทธศาสตร์ตามนโยบาย รัฐบาล ซึง่ เน้นการลงทุนในโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศ เป็นการด�ำเนินการตามทีก่ ระทรวงการคลังได้รบั มอบหมาย ให้จดั ท�ำแผนการลงทุน โดยส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะจะต้องด�ำเนินการพิจารณากลัน่ กรองโครงการทีม่ คี วามพร้อม และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 พระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจ กระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 พระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจ กระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อวางระบบบริหารจัดการน�้ำและสร้างอนาคตประเทศไทย พ.ศ. 2555 และเงินกู้เพื่อฟื้นฟู เศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (Development Policy Loan : DPL) รวมทั้งจัดท�ำแผนการระดมทุนของ โครงการให้มคี วามสอดคล้องกับแผนความต้องการใช้จา่ ยเงิน และมีตน้ ทุนอยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม ตลอดจนด�ำเนินการ บริหารหนี้ดังกล่าวให้สอดคล้องกับสถานะทางการคลังของรัฐบาล พร้อมทั้งเสนอขออนุมัติโครงการต่อคณะรัฐมนตรี

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

35


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ผลการปฏิบัติราชการโครงการส�ำคัญภายใต้แผนงานการจัดท�ำแผนการลงทุนและแผนการระดมทุนโครงการ ลงทุนภาครัฐ • การจัดท�ำแผนการลงทุนและแผนการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ เป็นการพิจารณากลัน่ กรองโครงการทีม่ คี วามพร้อมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาประเทศ รวมทัง้ จัดท�ำแผนการลงทุนและแผนการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐส�ำหรับสาขาเชิงยุทธศาสตร์ตามนโยบายรัฐบาล ให้สอดคล้องกับแผนความต้องการใช้เงิน ตลอดจนด�ำเนินการบริหารหนีใ้ ห้สอดคล้องกับสถานะทางการคลังของรัฐบาล รวมทั้งเสนอขออนุมัติโครงการต่อคณะรัฐมนตรี • แผนการลงทุนภายใต้พระราชก�ำหนดให้อำ� นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งินเพือ่ ฟืน้ ฟูและเสริมสร้างความมัน่ คงทาง เศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 และแผนการลงทุนในโครงการเงินกูเ้ พือ่ ฟืน้ ฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน (DPL) ปีงบประมาณ 2555 มีหน่วยงานแจ้งขอใช้เงินกู้ตามพระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟู และเสริมสร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 จ�ำนวน 4 หน่วยงาน คือ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง (สป.กค.) มหาวิทยาลัยมหิดล และสภากาชาดไทย และมีหน่วยงานแจ้งขอใช้ เงินกู้ DPL จ�ำนวน 2 หน่วยงาน คือ กระทรวงคมนาคม และกรมศุลกากร โดยส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะได้จัด ประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองและบริหารโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 และคณะกรรมการ กลั่นกรองและบริหารโครงการเงินกู้ DPL เพื่อหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดล�ำดับความส�ำคัญของโครงการ และจัดท�ำแผนการลงทุน รวมทั้งได้เสนอแผนดังกล่าวที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการฯ ที่เกี่ยวข้องเพื่อขอ อนุมัติต่อคณะรัฐมนตรีต่อไป

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

36


Annual Report

2012 2555 ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาตลาดตราสารหนี้ให้เป็นเสาหลักทางการเงิน เพื่อ เสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงิน

แผนงานการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะได้วางแผนการกู้เงินโดยการออกตราสารหนี้ที่สอดคล้องกับความต้องการใช้เงินกู้ ตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะประจ�ำปีงบประมาณ พร้อมทั้งก�ำหนดรูปแบบและวิธีการ รวมทั้งเครื่องมือในการ ระดมทุน และเพิ่มวงเงินพันธบัตรในแต่ละรุ่นให้มีขนาดใหญ่ขึ้น เพียงพอที่จะท�ำให้เกิดสภาพคล่องในตลาดรองได้ รวมทั้งได้มีการหารือและชี้แจงกับผู้ร่วมตลาดและนักลงทุนให้ได้รับทราบแนวทางการระดมทุนของรัฐบาลอย่าง สม�่ำเสมอ ในการประชุม Market Dialogue ซึ่งจะจัดเป็นรายไตรมาสและประจ�ำปี รวมทั้งได้มีการก�ำหนด แผนการกู้เงินเป็นรายไตรมาส และประกาศตารางการประมูลพันธบัตรเป็นรายไตรมาส พร้อมทั้งได้มีการประมูล พันธบัตรอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีการพัฒนาเครื่องมือการระดมทุนในรูปแบบใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับการระดมทุน ก้าวต่อไปของตลาดตราสารหนี้ในประเทศ ระดมทุนเพื่อลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ การเชื่อมโยงสู่ ASEAN

ก้าวต่อไปของตลาดตราสารหนี้ในประเทศ

ระดมทุนเพื่อลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ การเชื่อมโยงสู่ ASEAN (2556-2563)

การพัฒนาตลาดตราสารหนี้เชิงลึก (2553-2555) ความยั่งยืนของแหล่งระดมทุน

พ.ร.ก. บริหารจัดการน�้ำ (350,000 ลบ.) พ.ร.ก. ไทยเข้มแข็ง (350,000 ลบ.)

ลงทุนระยะยาวในโครงสร้างพื้นฐาน (2 ล้านล้านบาท) ภาคเอกชนที่มีส่วนร่วมในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน

เชื่อมโยงระหว่างภูมิภาค/ ประชาคมอาเซียน (AEC)

Baht Bond (พันธบัตรสกุลเงินบาทที่ออกโดยต่างชาติ)

Credit Guarantee Investment Facility (CGIF) พันธบัตรสกุลเงินต่างประเทศ

อายุคงเหลือของตราสารหนี้เฉลี่ย (ATM) เพิ่มขึ้น ต้นทุนเฉลี่ยลดลง

กระจายฐานนักลงทุน

ปรับปรุง Portfolio หนี้ของรัฐบาล

ผ่าน กม. FIDF ท�ำให้ลดภาระรัฐบาล ในการจ่ายดอกเบีย้ ของ FIDF ถึงปีละ 70,000 ลบ.

สัดส่วนหนี้ Fixed : Floating อยู่ในระดับที่ท�ำให้ ต้นทุนมีความยืดหยุ่นและสะท้อนราคาตลาด การกระจายตัวของหนี้มีความสมดุล

พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

แต่งตั้ง MOF-Outright PD 13 ราย จัดตัง้ กองทุนบริหารเงินกูเ้ พือ่ การปรับโครงสร้างหนีส้ าธารณะ

Bond Switching Bond Consolidation

นวั ต กรรมและการพั ฒ นา ตราสารหนี้ของรัฐบาล

พันธบัตรชดเชยเงินเฟ้อครัง้ แรกของประเทศไทย (10 ปี) ตัว๋ สัญญาใช้เงินระยะยาวอัตราดอกเบีย้ คงที่ (25-35-45 ปี) พันธบัตรรัฐบาลเพือ่ รายย่อยผ่านเครือ่ ง ATM (3-5 ปี)

พัฒนาและสร้างเส้นอัตราผลตอบแทนอ้างอิงของพันธบัตรชดเชย เงินให้ยาว ถึง 30 ปี ภายในปี 2558

สร้ า งเส้ น ผลตอบแทน อ้ า งอิ ง /ส่ ง เสริ ม การสร้ า ง สภาพคล่องในตลาดรอง

5 3

7

10

15

20

พันธบัตรรัฐบาลประเภททยอยคืนเงินต้น พันธบัตรรัฐบาลเพื่อรายย่อย แบบไร้ใบ ส่งเสริมสภาพคล่อง Zero Coupon Bond รุ่นอายุยาว

50

30

8 รุ่นอายุของพันธบัตร Benchmark

มุ่งเน้นการส่งเสริมสภาพคล่อง 100,000 ลบ. ยอดคงค้าง 3 5 7 10 15 20

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

37

30

50


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ผลการปฏิบัติราชการโครงการส�ำคัญภายใต้แผนงานการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ 1. การออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อใช้เป็นอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (Benchmark Bond) ปีงบประมาณ 2555 ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะสามารถออกพันธบัตรรัฐบาลเพือ่ ใช้เป็นอัตราดอกเบีย้ อ้างอิง ได้จ�ำนวนทั้งสิ้น 357,751 ล้านบาท โดยแบ่งตามรุ่นอายุได้ ดังนี้ ตารางที่ 2 การออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อใช้เป็นอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง รุ่นอายุ (ปี) 5 7 10 15 20 30 50 รวม

วงเงิน (ล้านบาท) 100,000 69,000 64,110 35,000 35,000 26,436 28,205 357,751

2. การออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัว (Floating Rate Bond: FRB) ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะได้จดั ท�ำแผนการออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบีย้ ลอยตัวเพือ่ เป็นเครือ่ งมือ ในการระดมทุนรูปแบบใหม่ของรัฐบาลรองรับความต้องการระดมทุนที่สูงขึ้น และเป็นการเพิ่มทางเลือกส�ำหรับ นักลงทุนทีต่ อ้ งการลดความเสีย่ งจากการปรับตัวของอัตราดอกเบีย้ โดยมีการวางแผนการออกพันธบัตรรัฐบาล 22,000 ล้านบาท ผลการปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณ 2555 สามารถออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบี้ยลอยตัวจ�ำนวน ทั้งสิ้น 28,850 ล้านบาท 3. การออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบีย้ แปรผันตามการเปลีย่ นแปลงของเงินเฟ้อ (Infiffl lation Linked Bond : ILB) ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะได้พัฒนาพันธบัตรรัฐบาลที่อัตราดอกเบี้ยแปรผันตามเงินเฟ้อ หรือ “พันธบัตร ชดเชยเงินเฟ้อ” ซึ่งมีแนวคิดจากการที่สภาพเศรษฐกิจทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยก�ำลังอยู่ในช่วงฟื้นตัวจากวิกฤติ เศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น ดังนั้น การลงทุนในพันธบัตรชดเชยเงินเฟ้อจะช่วยให้นักลงทุนรักษา อ�ำนาจซื้อของเงินต้นได้อย่างสมบูรณ์ โดยในปีงบประมาณ 2555 มีแผนการออก ILB วงเงินทั้งสิ้น 60,000 ล้านบาท และสามารถออกพันธบัตรได้ทั้งสิ้น 50,872 ล้านบาท 4. การออกพันธบัตรออมทรัพย์เพื่อรายย่อยพิเศษ ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะมีความประสงค์ทจี่ ะให้พนั ธบัตรออมทรัพย์เพือ่ รายย่อยพิเศษเป็นเครือ่ งมือในการ ส่งเสริมให้สังคมไทยเข้าสู่สังคมแห่งการออมอย่างแท้จริง โดยได้มีการพัฒนาช่องทางการจ�ำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ผ่านเครื่อง ATM และพัฒนาไปสู่ระบบไร้ใบตราสาร (Scripless) โดยก�ำหนดวงเงินซื้อขั้นต�่ำจ�ำนวน 1,000 บาท ุ ภาพให้กบั ประชาชนทีม่ รี ายได้นอ้ ย สามารถเข้าถึงได้งา่ ย โดยในปีงบประมาณ 2555 เพือ่ เป็นทางเลือกในการออมทีม่ คี ณ มีแผนการจ�ำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์เพื่อรายย่อยพิเศษ 2 รุ่น คือ รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

38


Annual Report

2012 2555 1. พันธบัตรออมทรัพย์เพื่อรายย่อยพิเศษปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ระหว่างวันที่ 7 ต.ค. 2554 - 9 มี.ค. 2555 รุ่นอายุ 3 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.75 จ�ำหน่ายได้ 782.34 ล้านบาท 2. พันธบัตรออมทรัพย์รัฐบาลเพื่อรายย่อยพิเศษปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 23 เม.ย. - 13 ก.ค. 2555 รุ่นอายุ 3 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.75 จ�ำหน่ายได้ 1,956.04 ล้านบาท 3. พันธบัตรออมทรัพย์พิเศษของกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ 2555 รุ่นอายุ 6 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.99 จ�ำหน่ายได้ 31,577.24 ล้านบาท ตารางที่ 3 การออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทต่างๆ ในปีงบประมาณ 2555 เครื่องมือ รุ่นอายุ (ปี) ชื่อรุ่น พันธบัตรรัฐบาล 5 LB176A 7 LB193A 10 LB21DA LB236A 15 LB27DA 20 LB326A 30 LB416A 50 LB616A รวม พันธบัตรรัฐบาลรุ่นอื่นๆ 3 LB155A LB15DA รวม พันธบัตรรัฐบาลประเภท FRB 28,850 พันธบัตรรัฐบาลประเภท ILB 10 LB217A รวมทั้งหมด

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

39

วงเงิน (ล้านบาท) 100,000.00 69,000.00 52,110.00 12,000.00 35,000.00 35,000.00 26,436.00 28,205.00 357,751.00 51,000.00 19,000.00 70,000.00 50,872.00 935,224.00


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ

ในปีงบประมาณ 2555 ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) ด�ำเนินการพัฒนาองค์กรเพือ่ ยกระดับการปฏิบตั ริ าชการ สู่ความเป็นมืออาชีพในการบริหารหนี้สาธารณะ โดยมีแผนการด�ำเนินงาน ดังนี้ แผนงานด้านพัฒนาบุคลากร 1. แผนอัตราก�ำลัง สบน. อนุมตั แิ ผนอัตราก�ำลังระยะ 3 ปี (2554 - 2556) โดยการจ้างบริษทั ทีป่ รึกษาด�ำเนินการวิเคราะห์ปริมาณงาน และภารกิจทีส่ ะท้อนถึงการปฏิบตั งิ านจริงประกอบกับจ�ำนวนบุคลากรทีม่ อี ยู่ และให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ สบน. ทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต ซึง่ เป็นการก�ำหนดแผนก�ำลังคนทีเ่ หมาะสมทัง้ ในด้านกรอบอัตราก�ำลังและด้านต�ำแหน่งงาน รวมทัง้ สามารถน�ำเสนอแผนอัตราก�ำลังดังกล่าวเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาขอรับการจัดสรรอัตราก�ำลังคนเพิม่ เติม 2. แผนสืบทอดต�ำแหน่ง สบน. อนุมตั แิ ผนสืบทอดต�ำแหน่งเพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการวางแผนผูส้ บื ทอดต�ำแหน่งส�ำหรับต�ำแหน่งประเภท บริหาร ตัง้ แต่ระดับฝ่ายถึงระดับรองหัวหน้าส่วนราชการ ได้แก่ ทีป่ รึกษา รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงาน ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนัก ผู้เชี่ยวชาญ ผู้อ�ำนวยการส่วน ผู้อ�ำนวยการกลุ่ม และหัวหน้าฝ่าย เพื่อให้ สบน. มีหลักเกณฑ์ กระบวนการ แนวทาง การพัฒนา และแบบประเมินในการคัดสรรข้าราชการให้เลื่อนเข้าสู่ต�ำแหน่งประเภทบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. แผนทางเดินสายอาชีพ สบน. อนุมตั แิ ผนเส้นทางเดินสายอาชีพส�ำหรับทุกประเภทต�ำแหน่ง และทุกระดับ พร้อมด�ำเนินการประชาสัมพันธ์ และสื่อสารให้บุคลากรทราบโดยทั่วกัน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานให้เป็นไปตาม เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ 4. ระบบบริหารผลการปฏิบัติราชการ สบน. น�ำระบบบริหารผลการปฏิบัติราชการมาใช้ โดยการก�ำหนดตัวชี้วัดระดับบุคคล (Key Performance Indicator : KPI) และสมรรถนะหลัก (Competency) ที่เข้มข้น เนื่องจากผู้บริหารระดับสูงของ สบน. ให้ความส�ำคัญ กับการน�ำระบบดังกล่าวมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการปฏิบัติราชการ โดยคณะผู้บริหารระดับสูง ประกอบด้วย ที่ปรึกษา และรองผู้อ�ำนวยการ สบน. จะเป็นผู้พิจารณาพร้อมแก้ไข KPI รายบุคคลของบุคลากรทุกคนใน สบน. ก่อนจะประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน ซึ่งจะพิจารณาถึงความเป็นไปได้ ความยากง่าย และการถ่ายทอดตัวชี้วัดของ หน่วยงานลงสู่ส�ำนักและลงสู่บุคคลเป็นหลัก 5. แผนพัฒนาบุคลากร สบน. อนุมตั แิ ผนพัฒนาบุคลากรประจ�ำปี เพือ่ สร้างและพัฒนาผูบ้ ริหารและบุคลากรทุกรายให้เป็นมืออาชีพในการ บริหารหนี้สาธารณะ และการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน โดยการให้บุคลากรของ สบน. ได้รับการฝึกอบรมและพัฒนา ในหลักสูตรต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานทีร่ บั ผิดชอบ มีการพัฒนาโดยผ่านการสอนงานและมอบหมายงาน รวมทัง้ การแลกเปลีย่ น เรียนรู้และแบ่งปันข้อมูลในฐานการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 6. ระบบฐานข้อมูล สบน. มีระบบฐานข้อมูลบุคลากร 2 ระบบ คือ ระบบ Departmental Personnel Information System : DPIS (ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ) และ ก.พ. 7 (ระบบฐานข้อมูลเอกสาร) ซึ่งในปัจจุบัน สบน. มีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ บุคลากรในระบบถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

40


Annual Report

2012 2555 7. การประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล สบน. มีการประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลข่าวสารด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลทีน่ า่ สนใจ เช่น หนังสือเวียนของส�ำนักงาน ก.พ. และระเบียบใหม่ๆ สิทธิประโยชน์ ประกาศต่างๆ รวมถึงหลักสูตรฝึกอบรม และทุนการศึกษา ในรูปแบบต่างๆ ผ่าน สื่อ Internet Intranet การประชุมชี้แจง บอร์ดประชาสัมพันธ์ โทรทัศน์ภายใน หนังสือเวียน และ E-mail รายบุคคล 8. การปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ สบน. จัดปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ประจ�ำปี ปีละ 2 ครัง้ เพือ่ ให้บคุ ลากรใหม่เข้าใจระบบราชการและภารกิจงานของ สบน. โดยก�ำหนดระยะเวลาฝึกอบรม ประมาณ 6 วัน 9. กิจกรรมสัมพันธ์ สบน. จัดกิจกรรมสัมพันธ์ประจ�ำปี ปีละ 2 ครั้ง เพื่อเพิ่มพูนความรู้และความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้บริหารและ บุคลากรผู้ปฏิบัติงานของ สบน. ให้มีความเข้าใจและมีปฏิสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน รวมทั้งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในการท�ำงานตามภารกิจ 10. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมในการท�ำงาน สบน. มีการปรับปรุงสถานทีท่ ำ� งานให้มคี วามกว้างขวาง สะดวกสบายและทันสมัย โดยมีอปุ กรณ์การท�ำงานที่ ครบครัน เพือ่ รองรับบุคลากรให้เหมาะสมกับภารกิจและปริมาณงานทีเ่ พิม่ มากขึน้ โดยปัจจุบนั มีสถานทีป่ ฏิบตั งิ าน 2 แห่ง คือ ชั้น 4 อาคารส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง และชั้น 32 อาคารทิปโก้ แผนงานด้านระบบบริหารจัดการภายในองค์กร สบน. ได้นำ� ระบบบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่มาใช้ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในองค์กร มีการวางแผน กลยุทธ์ขององค์กรอย่างเป็นระบบ ใช้ระบบการบริหารจัดการแบบมุง่ ผลสัมฤทธิ์ ถือเป็นส่วนส�ำคัญในการพัฒนาองค์กร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการจัดท�ำและถ่ายทอดแผนกลยุทธ์ขององค์กรเป็นแผนปฏิบตั ริ าชการ 4 ปี และแผนปฏิบตั ิ ราชการประจ�ำปี รวมทั้งจัดท�ำค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ เพื่อใช้เป็นกรอบในการวัดผลการด�ำเนินงาน นอกจากนี้ สบน. ได้ส่งเสริมการด�ำเนินการด้านการจัดการความรู้ผ่านกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริม ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กร การวางแผนกลยุทธ์ สบน. มีการวางแผนกลยุทธ์อย่างเป็นระบบ โดยเปิดโอกาสให้ผรู้ บั บริการและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียได้มสี ว่ นร่วมในการ เสนอความคิดเห็นและความคาดหวังต่อการด�ำเนินงานขององค์กร และน�ำข้อมูลทีไ่ ด้รบั มาก�ำหนดทิศทางขององค์กรใน อนาคต รวมทัง้ ได้มกี ารแปลงจากนโยบายรัฐบาลทีส่ ำ� คัญมาจัดท�ำแผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบตั ริ าชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจ�ำปี เพื่อเป็นแนวทางในการน�ำแผนกลยุทธ์มาสู่การปฏิบัติ ค�ำรับรองการปฏิบัติราชการระดับหน่วยงานภายใน การถ่ายทอดแผนกลยุทธ์สกู่ ารปฏิบตั งิ าน บุคลากรทุกระดับต้องเข้ามามีสว่ นร่วมในการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ โดยหน่วยงานภายในมีส่วนในการก�ำหนดเป้าหมายในการด�ำเนินงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กร เพื่อให้การ ด�ำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ขององค์กรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการระบุผู้รับผิดชอบหลัก การประสานงาน ระหว่างหน่วยงานภายใน และการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานวางแผนและหน่วยงานปฏิบัติ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความ ร่วมมือจากบุคลากรในทุกระดับขององค์กร

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

41


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

การจัดการความรู้ภายในองค์กร สบน. ได้ดำ� เนินการด้านการจัดการความรูม้ าอย่างต่อเนือ่ ง เป็นเครือ่ งมือในการขับเคลือ่ นการเปลีย่ นแปลงในองค์กร โดยมีการจัดท�ำแผนการจัดการความรู้ประจ�ำปี เพื่อสนับสนุนข้อมูลและองค์ความรู้ในการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ รวมทั้งเป็นการส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ท�ำงานในองค์ความรู้ต่างๆ ทั้งนี้ แผนการจัดการ ความรู้ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Morning Talk/Lunch Talk) กิจกรรม การศึกษาดูงานกับหน่วยงานภายนอก (KM Journey) โดยกิจกรรมต่างๆ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ เกิดการสื่อสารแลกเปลี่ยนภายในองค์กร เกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดการ ปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ผลการด�ำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล และภารกิจเร่งด่วน (Flagship Project) โครงการรับจ�ำน�ำสินค้าทางการเกษตร สบน. ได้ จั ด ท� ำ แผนการกู ้ เ งิ น และจั ด หาเงิ น กู ้ เ พื่ อ โครงการรั บ จ� ำ น� ำ ข้ า วเปลื อ กและสิ น ค้ า เกษตรอื่ น ๆ ให้ สอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการใช้ เ งิ น ในการด� ำ เนิ น โครงการ โดยในปี ง บประมาณ 2555 มี แ ผนการจั ด หาเงิ น กู ้ ให้แก่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยการกู้เงินจากธนาคารพาณิชย์ วงเงินรวม 269,160 ล้านบาท เพือ่ เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการด�ำเนินโครงการทีม่ วี ตั ถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหาราคาผลิตผลทางการเกษตร ตามนโยบายรัฐบาล โดยกระทรวงการคลังค�้ำประกัน และ ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 สามารถด�ำเนินการจัดหา เงินกู้ได้จ�ำนวนทั้งสิ้น 215,750 ล้านบาท แผนการลงทุนในสาขาทรัพยากรน�ำ้ และการเกษตร ตามพระราชก�ำหนด (พ.ร.ก.) ให้อํานาจกระทรวงการคลังกูเ้ งินเพือ่ การวางระบบบริหารจัดการน�ำ้ และสร้างอนาคต ประเทศ พ.ศ. 2555 ได้ก�ำหนดกรอบวงเงินรวมในการด�ำเนินโครงการทั้งสิ้น 350,000 ล้านบาท โดยในปีงบประมาณ 2555 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะได้จัดท�ำแผนการกู้เงินและแผนบริหารเงินสดส�ำหรับการลงทุนระบบบริหาร จัดการน�ำ้ รวมทัง้ ได้ประสานกับกรมบัญชีกลางเพือ่ เปิดบัญชีนำ� ฝากเงินกูใ้ นบัญชีเพือ่ การวางระบบบริหารจัดการน�ำ้ และ สร้างอนาคตประเทศเรียบร้อยแล้ว และได้ด�ำเนินการกู้เงินไปแล้ว 10,000 ล้านบาท โดยกระทรวงการคลังได้ลงนาม ในสัญญากูเ้ งินเพือ่ การวางระบบบริหารจัดการน�ำ้ และสร้างอนาคตประเทศ จ�ำนวน 10,000 ล้านบาท กับธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) ระยะเวลาการกู้เงิน 4 ปี มีระยะเวลาในการเบิกจ่ายเงินกู้ 6 เดือน นับจากวันที่ลงนามในสัญญาเงินกู้ ซึ่งเป็นการกู้ในรูปแบบ Term Loan อัตราดอกเบี้ยร้อยละ Bibor+0.40 และ Bibor+0.43 คิดเป็นอัตราเฉลี่ย ร้อยละ 3.63 และร้อยละ 3.66 ต่อปี ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ได้มกี ารเบิกจ่ายเงินกูส้ ำ� หรับด�ำเนินโครงการตาม พ.ร.ก. ดังกล่าวเป็นวงเงินรวม 1,800 ล้านบาท

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

42


Annual Report

2012 2555

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สวนที่

3

งบการเง�น

ของสำนักงานบร�หารหนี้สาธารณะ

2012 ทศวรรษ 2555 Annual

Report

รายงานประจำป

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE MANAGEMENT OFFICE ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT

43


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2555

(หน่วย:บาท) หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน 3 50,716,967,965.99 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ระยะสั้น 4 1,138,509,687.32 ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง 305,454.30 ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า 5 1,455,976,112.88 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 53,311,759,220.49 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 6 34,864,372,289.58 เงินให้กู้ระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ เงินลงทุนทั่วไปบริษัทนอกตลาด 72,206,266.35 อุปกรณ์(สุทธิ) 7 101,590,586.47 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 35,038,169,142.40 รวมสินทรัพย์ 88,349,928,362.89 หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ 8 3,145,864,292.97 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 9 2,528,973.25 เงินรับฝากระยะสั้น 4,563,426,985.93 เงินกู้ระยะสั้น 10 188,485,000,000.00 รวมหนี้สินหมุนเวียน 196,196,820,252.15 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินทดรองราชการรับจากคลัง 1,000,000.00 เงินประกัน 11 3,495,773.28 ดอกเบี้ยจ่ายรับล่วงหน้า 12 3,037,502,726.46 เงินกู้ระยะยาว 13 3,283,063,643,054.63 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น 5,181,200,000.00 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 3,291,286,841,554.37 รวมหนี้สิน 3,487,483,661,806.52 สินทรัพย์สุทธิ 3,399,133,733,443.63 สินทรัพย์สุทธิ ทุน 14 1,745,948,795,386.54 รายได้สูง/(ต�่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 1,653,184,938,057.09 รวมสินทรัพย์ 3,399,133,733,443.63 สินทรัพย์สุทธิ 88,349,928,362.89 รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

44


Annual Report

2012 2555 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 30 กันยายน 2555

(หน่วย:บาท) หมายเหตุ รายได้จากการด�ำเนินงาน รายได้รับจากรัฐบาล 15 169,673,753,594.62 รายได้ระหว่างหน่วยงาน 16 185,701,000,393.14 รวมรายได้จากการด�ำเนินงาน 355,374,753,987.76 ค่าใช้จ่ายจากการด�ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายบุคลากร 17 69,720,887.10 ค่าบ�ำเหน็จบ�ำนาญ 18 2,669,548.14 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม 19 15,618,059.85 ค่าวัสดุและค่าใช้สอย 20 104,304,483.75 ค่าสาธารณูปโภค 21 4,829,856.38 ค่าเสื่อมราคา 22 25,297,989.48 ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน 34,446,319.84 ค่าใช้จ่ายอื่น 23 599,578,084,890.42 รวมค่าใช้จ่ายจากการด�ำเนินงาน 599,834,972,034.96 รายได้สูง/(ต�่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายจากการด�ำเนินงาน 244,460,218,047.20 รายได้/ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการด�ำเนินงาน รายการอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวกับการด�ำเนินงาน 24 213,255,859.54 รวมรายได้/ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการด�ำเนินงาน 213,255,859.54 รายได้สูง/(ต�่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 244,673,473.906.74 รายได้แผ่นดินที่จัดเก็บ รายได้แผ่นดิน - นอกจากภาษี รายได้อื่น 201,798,739.88 รายได้แผ่นดิน 25 460,696,833.45 รวมรายได้แผ่นดิน - นอกจากภาษี 662,495,573.33 รายได้แผ่นดินน�ำส่งคลัง 434,811,157.35 รวมรายได้แผ่นดินที่จัดเก็บ 227,684,415.98 รายได้แผ่นดินสูง/(ต�ำ่ ) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 244,445,789,490.76

หมายเหตุประกอบรายงานการเงินเป็นส่วนหนึ่งของรายงานการเงินนี้ ** ยังไม่ผ่านการรับรองจากส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

45


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ หมายเหตุประกอบรายงานทางการเงิน ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2555 หมายเหตุที่ 1 - ข้อมูลทั่วไป

1.1 ความเป็นมา ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) เป็นส่วนราชการในระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลัง จัดตัง้ เมือ่ วันที่ 9 ตุลาคม 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 สบน. เป็นองค์กรที่มีภารกิจในการเสนอแนะนโยบาย รวมทั้งด�ำเนินการก่อหนี้และบริหารหนี้สาธารณะ โดย ค�ำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของประเทศ มีบทบาทด้านงานบริหารจัดการหนี้สาธารณะในฐานะหน่วยงาน (Agency) ซึ่ง เป็นการด�ำเนินการตามภารกิจเช่นเดียวกับส่วนราชการอืน่ และงานบริหารหนีส้ าธารณะในฐานะหน่วยงานกลาง (Core Agency) ซึ่งประกอบไปด้วย การก่อหนี้ที่กระทรวงการคลังได้ผูกพันในฐานะผู้กู้ในนามรัฐบาลของราชอาณาจักรไทย ทั้งหนี้ในประเทศและต่างประเทศ การบริหารจัดการหนี้คงค้าง รวมถึงการบริหารการช�ำระหนี้ ปี 2548 “พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548” ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2548 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เหตุผลในการประกาศ ใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ เพื่อให้การบริหารหนี้สาธารณะมีประสิทธิภาพ ซึ่งเดิมได้บัญญัติไว้ในกฎหมายหลายฉบับ และสมควรให้มีหน่วยงานกลางเป็นหน่วยงานเดียวท�ำหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารหนี้สาธารณะอย่างมีระบบ มีประสิทธิภาพ และควบคุมดูแลการก่อหนีโ้ ดยรวม เพือ่ ให้ภาระหนีส้ าธารณะอยูใ่ นระดับทีส่ อดคล้องกับฐานะการเงิน การคลั ง ของประเทศ ซึ่ ง ก� ำ หนดให้ ก ระทรวงการคลั ง เป็ น ผู ้ มี อ� ำ นาจในการกู ้ เ งิ น หรื อ ค�้ ำ ประกั น ในนามรั ฐ บาล แต่เพียงผูเ้ ดียว โดยอนุมตั คิ ณะรัฐมนตรีกำ� หนดให้มคี ณะกรรมการนโยบายและก�ำกับการบริหารหนีส้ าธารณะ ซึง่ มีอำ� นาจ หน้าที่รายงานสถานะหนี้สาธารณะเสนอแผนการบริหารหนี้สาธารณะ จัดท�ำหลักเกณฑ์ในการบริหารหนี้ แนะน�ำการ ออกกฎกระทรวงและปฏิบัติการอื่น สบน. มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับกิจการทัว่ ไปของคณะกรรมการนโยบายและก�ำกับการบริหารหนีส้ าธารณะและ มีอำ� นาจหน้าทีใ่ นการศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างหนีส้ าธารณะ หนีร้ ฐั วิสาหกิจทีท่ ำ� ธุรกิจให้กยู้ มื และสถาบันการเงินภาครัฐ ทีก่ ระทรวงการคลังไม่ได้คำ�้ ประกัน รวบรวมข้อมูลประมาณการความต้องการเงินภาครัฐ และการบริหารหนีส้ าธารณะ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายและก�ำกับการบริหารหนี้สาธารณะ ด�ำเนินการเกี่ยวกับการบริหารหนี้สาธารณะ ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ส่งเสริมหน่วยงานของรัฐในการบริหารจัดการหนี้ ติดตามการปฏิบัติตามสัญญาและประเมินผล การใช้จ่ายเงินกู้ ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการนโยบายและก�ำกับการบริหารหนี้สาธารณะและปฏิบัติการอื่น 1.2 การน�ำเสนอรายงานการเงิน การจัดท�ำรายงานการเงินนีเ้ ป็นไปตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.2/ว.497 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2548 เรื่องรูปแบบรายงานการเงินมาตรฐานส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐ และตามหนังสือส�ำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร 0506/ว166 ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 เรื่อง การจัดท�ำรายงานการเงินแผ่นดิน รอบระยะเวลาบัญชี ใช้ปีงบประมาณเป็นเกณฑ์ คือเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคมของปีหนึ่ง ถึงวันที่ 30 กันยายน ของปีถัดไป

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

46


Annual Report

2012 2555 หมายเหตุที่ 2 - สรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ

2.1 งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นตามเกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis) โดยเป็นไปตามข้อก�ำหนดในหลักการและนโยบาย บัญชีส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 ตามประกาศกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2546 2.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เช่น เช็ค ตั๋วแลกเงินสด เป็นต้น รับรู้ตามมูลค่าที่ตราไว้ เงินทดรอง ราชการบันทึกรับรู้เมื่อได้รับเงินควบคู่ไปกับการบันทึกเงินทดรองราชการรับเงินจากคลังระยะยาว 2.3 ลูกหนีเ้ งินยืม บันทึกรับรูต้ ามจ�ำนวนเงินในสัญญายืม ไม่วา่ จะจ่ายจากเงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณ 2.4 รายได้จากเงินงบประมาณค้างรับ บันทึกเป็นรายได้จากเงินงบประมาณค้างรับ ณ วันที่จัดท�ำรายงานหรือ ณ สิ้นปีงบประมาณ ตามจ�ำนวนเงินงบประมาณที่ยังไม่ได้รับตามฎีกาเหลื่อมจ่าย 2.5 รายได้คา้ งรับ บันทึกตามจ�ำนวนที่ยังไม่ได้รับจนถึงสิ้นปีงบประมาณ 2.6 วัสดุคงเหลือ แสดงในราคาทุน โดยตีราคาวัสดุคงเหลือตามวิธีเข้าก่อนออกก่อน 2.7 ดอกเบีย้ จ่ายล่วงหน้า เป็นส่วนลดทีใ่ ห้แก่เจ้าหนีต้ วั๋ เงินคลังและตัว๋ สัญญาใช้เงินระยะสัน้ โดยบันทึกเป็นดอกเบีย้ จ่าย เมื่อครบก�ำหนดไถ่ถอนตั๋ว 2.8 เงินให้กู้ระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ เป็นเงินให้ยืมแก่รัฐวิสาหกิจ บันทึกรับรู้ตามจ�ำนวนเงินในสัญญากู้เงิน 2.9 อุปกรณ์ (สุทธิ) เป็นสินทรัพย์ที่มีมูลค่าต่อหน่วย ต่อชุดหรือต่อกลุ่ม ตั้งแต่ 30,000 บาท ขึ้นไปเฉพาะที่ ซื้อหรือได้มาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2540 - 2545 ส�ำหรับรายการที่จัดซื้อหรือได้มาในปีงบประมาณ 2546 เป็นต้นไป จะนับเฉพาะที่มีมูลค่าตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป โดยแสดงราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม 2.10 เจ้าหนี้ บันทึกรับรูเ้ จ้าหนีจ้ ากการซือ้ สินค้าหรือบริการ เมือ่ หน่วยงานได้ตรวจรับสินค้าหรือบริการจากผูข้ ายแล้ว แต่ยังไม่ได้ช�ำระเงิน และสามารถระบุมูลค่าสินค้าหรือบริการได้ชัดเจน 2.11 ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เกิดขึน้ จากข้อก�ำหนดของกฎหมาย ข้อตกลงในสัญญา หรือจากบริการทีไ่ ด้รบั เช่น เงินเดือน หรือค่าจ้างค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายด�ำเนินงานค้างจ่ายและดอกเบี้ยค้างจ่าย เป็นต้น โดยการประมาณค่าตามระยะเวลา ทีเ่ กิดค่าใช้จา่ ยนัน้ ๆ ส�ำหรับใบส�ำคัญค้างจ่ายจะรับรูเ้ มือ่ ได้รบั ใบขอเบิกเงินจากข้าราชการ พนักงานราชการ หรือลูกจ้าง รวมถึงการรับใบส�ำคัญที่ทดรองจ่ายจากเงินทดรองราชการ 2.12 รายได้รบั ล่วงหน้า บันทึกรับรูร้ ายได้รบั ล่วงหน้าเมือ่ ได้รบั เงินตามจ�ำนวนการใช้จา่ ยเงิน รวมถึงการรับเงินสนับสนุน 2.13 เงินกูร้ ะยะสัน้ เป็นเงินกูท้ กี่ ระทรวงการคลังกูใ้ นนามรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย ซึง่ เป็นส่วนของงานหนีส้ าธารณะ ประกอบด้วย 2.13.1 เงินกู้ในประเทศ ได้แก่ เงินกู้เกิดจากการออกตั๋วเงินคลัง สัญญาเงินกู้ระยะสั้น และส่วนที่จะครบ ก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปีของตั๋วสัญญาใช้เงิน พันธบัตรรัฐบาล และเงินกู้ตามสัญญากู้เงินที่เป็นเงินบาท 2.13.2 เงินกูต้ ่างประเทศ ได้แก่ ตัว๋ Euro Commercial Paper (ECP) และส่วนทีจ่ ะครบก�ำหนดช�ำระภายใน หนึ่งปีของ Samurai Bond และเงินกู้ตามสัญญากู้เงินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ 2.14 เงินกูร้ ะยะยาว เป็นเงินกูท้ กี่ ระทรวงการคลังกูใ้ นนามรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย ซึง่ เป็นส่วนของงานหนีส้ าธารณะ ประกอบด้วย 2.14.1 เงินกูใ้ นประเทศ ได้แก่ เงินกูท้ เี่ กิดจากการออกตัว๋ สัญญาใช้เงิน พันธบัตรรัฐบาล และเงินกูต้ ามสัญญา กูเ้ งินทีเ่ ป็นเงินบาท ส่วนเกินมูลค่าพันธบัตรและส่วนต�ำ่ กว่ามูลค่าพันธบัตรรับรูเ้ ป็นรายได้หรือค่าใช้จา่ ยทันทีทงั้ จ�ำนวน เมื่อมีการออกจ�ำหน่ายพันธบัตร 2.14.2 เงินกู้ต่างประเทศ ได้แก่ เงินกู้ที่เกิดจากการออก Samurai Bond และเงินกู้ตามสัญญากู้เงินที่เป็น สกุลเงินตราต่างประเทศ ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

47


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

2.15 หนี้สาธารณะ หมายถึง หนี้ที่กระทรวงการคลัง หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจกู้ หรือหนี้ที่กระทรวง การคลังค�้ำประกัน (ค�้ำประกันรวมถึงการอาวัลตั๋วเงิน) แต่ไม่รวมถึงหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ท�ำธุรกิจให้กู้ยืมเงินโดย กระทรวงการคลังมิได้ค�้ำประกัน การกู้เงินจะท�ำเป็นสัญญาหรือออกตราสารหนี้ก็ได้ 2.16 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ ได้บนั ทึกสินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศตามวันทีเ่ กิดรายการ ด้วยสกุลเงินตราต่างประเทศนัน้ ๆ และแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิดรายการ โดยสินทรัพย์ และหนี้สินคงเหลือ ณ วันที่จัดท�ำรายงาน หรือ ณ วันสิ้นปีงบประมาณ ได้แปลงค่าเงินตราต่างประเทศของทรัพย์สิน และหนี้สินคงเหลือ โดยใช้อัตราซื้อส�ำหรับสินทรัพย์ และอัตราขายส�ำหรับหนี้สิน ตามอัตราแลกเปลี่ยนอ้างอิงตาม ประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ก�ำไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการแปลงค่าดังกล่าวรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่าย จากอัตราแลกเปลี่ยน 2.17 ทุน รับรู้เมื่อเริ่มปฏิบัติตามระบบบัญชีเกณฑ์คงค้างซึ่งเกิดจากผลต่างระหว่างสินทรัพย์และหนี้สิน 2.18 การรับรู้รายได้ 2.18.1 รายได้จากเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณรับรู้เมื่อได้รับอนุมัติค�ำขอเบิกจากกรมบัญชีกลาง 2.18.2 รายได้ระหว่างหน่วยงาน - กรณียืมเงินจากงบประมาณเพื่อให้ลูกหนี้รัฐวิสาหกิจกู้ต่อ 2.18.3 รายได้อื่น รับรู้ตามเกณฑ์คงค้างเมื่อเกิดรายการ 2.19 ค่าใช้จ่ายบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานและค่าใช้จ่ายงบกลาง รับรู้เมื่อเกิดค่าใช้จ่าย 2.20 ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ ค�ำนวณโดยวิธีเส้นตรงไม่มีราคาซาก (ราคาซาก = 0) สินทรัพย์ที่หมดอายุการ ใช้งานแล้ว ให้คงมูลค่าไว้ในบัญชี 1 บาท จนกว่าจะมีการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ออกจากระบบบัญชี การตีราคาสินทรัพย์ และคิดค่าเสื่อมราคาได้ ก�ำหนดประเภทสินทรัพย์และอายุการใช้งานของสินทรัพย์ต่างๆ ดังนี้ ประเภทสินทรัพย์ ครุภัณฑ์ส�ำนักงาน ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์และเครื่องใช้ไฟฟ้า

อายุการใช้งาน (ปี) 10 5 5

หมายเหตุที่ 3 - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

เงินทดรองราชการเป็นเงินสด จ�ำนวน 50,000 บาท และเงินฝากธนาคาร จ�ำนวน 950,000 บาท ส่วนราชการ ส�ำนักบริหารหนีส้ าธารณะ เงินทดรองราชการ (หมายเหตุที่ 2.2) 1,000,000.00 เงินฝากคลัง 34,533,079,463.63 เงินฝาก ธปท. จากการกูเ้ งินเพือ่ ช่วยเหลือกองทุนฟืน้ ฟู 2,159,355,115.19 เงินฝาก ธปท. จากเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างหนี้ 10,793,283,248.76 เงินฝาก ธปท. จากเงินกู้เพื่อการบริหารหนี้ 2,483,230,529.34 เงินฝาก ธปท. เพื่อปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ TKK 747,019,609.07 รวมเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 34,533,079,463.63 16,182,888,502.36 รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

48

(หน่วย:บาท) รวม 1,000,000.00 34,533,079,463.63 2,159,355,115.19 10,793,283,248.76 2,483,230,529.34 747,019,609.07 50,716,967,965.99


Annual Report

2012 2555 หมายเหตุที่ 4 - ลูกหนี้ระยะสั้น ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ เงินให้ยืม-ยาว Rel รวม

(หน่วย:บาท) 1,230,579.32 2,279,108.00 1,135,000,000.00 1,138,509,687.32

หมายเหตุที่ 5 - ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า

ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า จ�ำนวน 1,455,976,112.88 บาท เกิดจากการประมูลขายตั๋วเงินคลัง ซึ่งเมื่อครบก�ำหนดจะ จ่ายคืนผู้ซื้อตามมูลค่าหน้าตั๋ว ผลต่างระหว่างราคาขายและมูลค่าหน้าตั๋วบันทึกเป็นดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า โดย สบน. จะบันทึกตัดบัญชีดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้ารับรู้เป็นดอกเบี้ยจ่ายเมื่อครบก�ำหนดไถ่ถอนตั๋วเงินคลัง

หมายเหตุที่ 6 - เงินให้กู้ระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ

เงินให้กู้ระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 34,864,372,289.58 บาท เงินตราต่างประเทศ อัตราแลกเปลี่ยน

(หน่วย:บาท) เทียบเท่าเงินบาท

เหรียญสหรัฐ (USD) 40,000,000.00 30.5939 เยนญี่ปุ่น (JPY) - - 11,404,950.97 31.0895 เหรียญแคนาดา (CAD) โครนเดนมาร์ก (DKK) - - ยูโร (EUR) 260,295.56 39.4300 บาท (THB) 33,275,778,612.47 - รวม เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ

1,223,756,000.00 354,574,223.18 10,263,453.93 33,275,778,612.47 34,864,372,289.58

ณ 30 ก.ย. 55

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

49


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

หมายเหตุที่ 7 - อุปกรณ์ (สุทธิ) ประกอบด้วย

ราคาทุน 3,875,000.00 9,176,308.72 8,426,800.00 2,278,774.87 2,152,176.57 198,485.00 103,115,967.88 51,650.02 12,317,000.05 6,727,334.55 43,225,879.00 7,415,348.50 198,960,725.16

ครุภัณฑ์สิ่งปลูกสร้าง ครุภัณฑ์ส�ำนักงาน ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ ครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ ครุภัณฑ์ก่อสร้าง ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว ครุภัณฑ์อื่น ครุภัณฑ์ไม่ระบุรายละเอียด ครุภัณฑ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ส/ท ไม่มีตัวตน รวมอุปกรณ์ (สุทธิ)

ค่าเสื่อมราคาสะสม 791,986.29 3,848,601.82 4,869,285.90 1,578,600.59 1,067,804.03 80,264.07 51,276,039.76 19,458.40 1,320,069.77 6,636,128.67 24,347.869.70 1,534,029.69 97,370,138.69

(หน่วย:บาท) สุทธิ 3,083,013.71 5,327,706.90 3,557,514.10 700,174.28 10,847,372.54 118,220.93 51,839,928.12 32,191.62 10,996,930.28 91,205.88 18,878,009.30 5,881,318.81 101,590,586.47

สบน. ใช้อาคารส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ชั้น 4 และ 5 เป็นที่ตั้งส�ำนักงาน โดยส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ใช้พื้นที่ของที่ราชพัสดุ ครุภณ ั ฑ์ไม่ระบุรายละเอียด คือ ครุภณ ั ฑ์ทไี่ ด้มาจากเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศทีไ่ ด้รบั จากธนาคารพัฒนาเอเชีย ตามโครงการเสริมสร้างสมรรถนะของ สบน. ซึ่งรับโอนจากส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลังในปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 ที่มีราคาต่อหน่วยเกินกว่า 5,000 บาท ขึ้นไป จ�ำนวน 136 รายการ มีราคาสินทรัพย์ ณ วันรับโอน 6.73 ล้านบาท โดยมียอดคงเหลือสุทธิจ�ำนวน 0.26 ล้านบาท

หมายเหตุที่ 8 - เจ้าหนี้ เจ้าหนี้ - หน่วยงานภายนอก เจ้าหนี้อื่น - หน่วยงานรัฐ รวม

(หน่วย:บาท) 820,422,931.43 2,325,441,361.54 3,145,864,292.97

หมายเหตุที่ 9 - ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ใบส�ำคัญค้างจ่าย ค้างจ่ายอื่น - ภายนอก รวม รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

50

(หน่วย:บาท) 109,159.30 2,419,813.95 2,528,973.25


Annual Report

2012 2555 หมายเหตุที่ 10 - เงินกู้ระยะสั้น ตั๋วเงินคลัง ตั๋วสัญญาใช้เงินเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ รวมเงินกู้ระยะสั้น

(หน่วย:บาท) 94,135,000,000.00 94,135,000,000.00 188,485,000,000.00

ตั๋วเงินคลัง เป็นตราสารหนี้ระยะสั้น อายุไม่เกิน 12 เดือน ออกภายใต้พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 เเละที่เเก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 โดยการออกตั๋วเงินคงคลังมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการบริหาร เงินสดของรัฐบาล เงินทีไ่ ด้จากการออกตัว๋ เงินคลังให้นำ� ไปสมทบเงินคงคลัง ในการออกตัว๋ เงินคลังจะมีคา่ ใช้จา่ ย ได้เเก่ ค่าธรรมเนียมในการจ�ำหน่ายและการเป็นนายทะเบียน ร้อยละ 0.01 ต่อปี วงเงินที่ออกตั๋วเงินคลังอยู่ในกรอบวงเงินที่ คณะรัฐมนตรีอนุมัติให้กู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณและเพื่อเสริมสภาพคล่อง ตัว๋ สัญญาใช้เงินเพือ่ การปรับโครงสร้างหนี้ เป็นตราสารหนีร้ ะยะสัน้ อายุไม่เกิน 12 เดือน ซึง่ มีคณ ุ สมบัตคิ ล้ายคลึง กับตั๋วเงินคลัง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความคล่องตัวในการบริหารหนี้ภายใต้กฎหมายฉบับต่างๆ

หมายเหตุที่ 11 - เงินประกัน เงินประกันผลงาน เงินประกันอื่น รวม

(หน่วย:บาท) 3,277,942.33 217,830.95 3,495,773.28

หมายเหตุที่ 12 - ดอกเบี้ยจ่ายรับล่วงหน้า

ดอกเบี้ยจ่ายรับล่วงหน้า จ�ำนวน 3,037,502,726.46 บาท เกิดจากราคาขายพันธบัตรรัฐบาล ณ วันประมูล ซึ่งได้ รวมดอกเบี้ยค้างจ่ายในส่วนนี้ไว้ด้วย

หมายเหตุที่ 13 - เงินกู้ระยะยาว

พันธบัตรรัฐบาล ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ยาว ส่วนเกินมูลค่า ส่วนต�่ำกว่ามูลค่า เงินกู้ ผ/ด (บาท) - ยาว เงินกู้ ผ/ด (ตปท.) - ยาว ปรับเงินกู้ ตปท. - ยาว รวม

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

51

(หน่วย:บาท) 2,885,264,382,000.00 303,104,618,259.80 6,939,123,487.21 (5,203,752,738.61) 40,052,298,854.18 43,093,836,997.78 9,813,136,194.27 3,283,063,643,054.63


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

พันธบัตรรัฐบาลทีอ่ อกเพือ่ ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ คือ พันธบัตรทีอ่ อกภายใต้พระราชบัญญัตกิ ารบริหาร หนีส้ าธารณะ พ.ศ. 2548 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 มาตรา 20 (1) ประกอบมาตรา 21 ซึง่ เงินทีไ่ ด้จาก การจ�ำหน่ายพันธบัตรได้นำ� ส่งคลังเพือ่ น�ำไปชดเชยการขาดดุลงบประมาณ โดยในการออกพันธบัตรจะมีคา่ ใช้จา่ ย ได้แก่ ค่าธรรมเนียมในการจ�ำหน่ายและการเป็นนายทะเบียน ร้อยละ 0.1 ต่อปี พั น ธบั ต รรั ฐ บาลเพื่ อ การบริ ห ารหนี้ คื อ พั น ธบั ต รที่ อ อกภายใต้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ก ารบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ พ.ศ. 2548 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 มาตรา 20 (3) ประกอบมาตรา 24 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ปรับ โครงสร้างหนีส้ าธารณะ ซึง่ เงินทีไ่ ด้จากการจ�ำหน่ายพันธบัตรได้นำ� ไปใช้เพือ่ ปรับโครงสร้างหนี้ โดยในการออกพันธบัตรจะ มีคา่ ใช้จา่ ย ได้แก่ ค่าธรรมเนียมในการจ�ำหน่ายและการเป็นนายทะเบียน ร้อยละ 0.1 ต่อปี พันธบัตรรัฐบาลกรณีพเิ ศษและพันธบัตรรัฐบาลเพือ่ การปรับโครงสร้างหนี้ คือ พันธบัตรทีอ่ อกภายใต้พระราชก�ำหนด ให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2541 (FIDF1) มีวงเงินกู้ 500,000 ล้านบาท ออกเพือ่ ชดใช้ความเสียหายและปรับโครงสร้างแหล่งเงินทุนของกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ซึง่ เงินทีไ่ ด้จากการกูไ้ ม่ตอ้ งน�ำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน และสามารถด�ำเนินการปรับ โครงสร้างหนี้ ขยายระยะเวลาช�ำระหนี้ หรือลดภาระหนีเ้ ดิมได้ เงินทีน่ ำ� มาช�ำระคืนต้นเงินกูม้ าจากเงินในบัญชีกองทุนเพือ่ การช�ำระคืนต้นเงินกูช้ ดใช้ความเสียหายของกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ประกอบด้วย 1. เงินก�ำไรสุทธิที่ธนาคารแห่งประเทศไทยน�ำส่งเป็นรายได้ตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารแห่งประเทศไทย ในแต่ละปีจำ� นวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 90 2. เงินรายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจในจ�ำนวนตามหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขทีร่ ฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง ก�ำหนดโดยอนุมตั คิ ณะรัฐมนตรี 3. ดอกผลของกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พันธบัตรรัฐบาลกรณีพเิ ศษและพันธบัตรรัฐบาลเพือ่ การปรับโครงสร้างหนี้ คือ พันธบัตรทีอ่ อกภายใต้พระราชก�ำหนด ให้อำ� นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งินและจัดการเงินกูเ้ พือ่ ช่วยเหลือกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่ 2 พ.ศ. 2545 (FIDF3) มีวงเงินกู้ 780,000 ล้านบาท ออกเพือ่ ชดใช้ความเสียหายและปรับโครงสร้างแหล่งเงินทุนของ กองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน เงินทีไ่ ด้จากการกูไ้ ม่ตอ้ งน�ำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน และสามารถด�ำเนินการ ปรับโครงสร้างหนี้ ขยายระยะเวลาช�ำระหนี้ หรือลดภาระหนีเ้ ดิมได้ เงินทีน่ ำ� มาช�ำระคืนต้นเงินกูม้ าจากบัญชีสะสมเพือ่ การช�ำระคืนต้นเงินกูช้ ดใช้ความเสียหายของกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ทีเ่ ปิดไว้ทธี่ นาคารแห่ง ประเทศไทย โดยเป็นเงินจากสินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ประจ�ำปีตามกฎหมายว่าด้วยเงินตรา พันธบัตรรัฐบาลเพือ่ การปรับโครงสร้างหนี้ คือ พันธบัตรทีอ่ อกภายใต้พระราชก�ำหนดให้อำ� นาจกระทรวงการคลัง กู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 (TKK) ออกเพื่อปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ตาม พระราชก�ำหนดฉบับนี้ อย่างไรก็ตาม ในปีงบประมาณ 2552 ได้มกี ารออกเพือ่ สมทบเป็นเงินคงคลัง จ�ำนวน 50,000 ล้านบาท โดยในการออกพันธบัตรจะมีคา่ ใช้จา่ ย ได้แก่ ค่าธรรมเนียมในการจ�ำหน่ายและการเป็นนายทะเบียน ร้อยละ 0.1 ต่อปี ตัว๋ สัญญาใช้เงิน (Promissory Note : PN) เป็นตราสารหนีท้ อี่ อกภายใต้พระราชบัญญัตกิ ารบริหารหนีส้ าธารณะ พ.ศ. 2548 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ซึง่ เงินได้จากการออกตัว๋ สัญญาใช้เงินได้นำ� ส่งคลังเพือ่ น�ำไปชดเชย การขาดดุลงบประมาณ ซึง่ กระทรวงการคลังสามารถออกตัว๋ สัญญาใช้เงินให้กบั ผูใ้ ห้กโู้ ดยตรง จึงไม่มคี า่ ใช้จา่ ยในส่วนนี้ นอกจากนี้ ปัจจุบนั ยังมีตวั๋ สัญญาใช้เงินทีอ่ อกตาม FIDF1 FIDF3 และ TKK ด้วย

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

52


Annual Report

2012 2555 สัญญาเงินกูร้ ะยะยาว เป็นการท�ำสัญญาเงินกูภ้ ายใต้ FIDF3 เพือ่ ปรับโครงสร้างหนีเ้ งินกู้ และภายใต้ TKK เพือ่ ด�ำเนินโครงการตามแผนปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็ง 2555 และภายใต้พระราชบัญญัตกิ ารบริหารหนีส้ าธารณะ พ.ศ. 2548 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 เพือ่ น�ำมาให้รฐั วิสาหกิจกูต้ อ่ ซึง่ กระทรวงการคลังสามารถท�ำสัญญากูเ้ งินกับ ผูใ้ ห้กโู้ ดยตรง จึงไม่มคี า่ ใช้จา่ ยในส่วนนี้

หมายเหตุที่ 14 - ทุน จ�ำนวน 1,745,948,795,386.54 บาท ประกอบด้วย

สินทรัพย์และหนีส้ นิ ทีร่ บั โอนจากกรมบัญชีกลางเนือ่ งจากการโอนงานบริหารหนีส้ าธารณะมาให้ สบน. ด�ำเนินการ โดยบันทึกยอดสินทรัพย์สุทธิไว้ในบัญชีทุน จ�ำนวน 1,745,948,795,386.54 บาท

หมายเหตุที่ 15 - รายได้รับจากรัฐบาล

รายได้จากงบบุคลากร รายได้จากงบลงทุน รายได้จากงบด�ำเนินงาน รายได้จากงบกลาง รายได้เงินกู้ รายได้จากงบรายจ่ายอื่น รายได้จากงบรายจ่ายอื่นช�ำระหนี้ เบิกเกินส่งคืนเงินงบประมาณ รวมรายได้รับจากรัฐบาล

(หน่วย:บาท) 47,590,126.40 23,870,321.86 30,250,520.42 10,027,876.11 89,022,707.29 143,480,893.39 169,331,154,113.92 (1,642,964.77) 169,673,753,594.62

หมายเหตุที่ 16 - รายได้ระหว่างหน่วยงาน

รายได้บริการ - ภายนอก รายได้ช่วยพนง. - รัฐ รายได้ดอกเบี้ยเงินฝาก รายได้ดอกเบี้ยเงินให้กู้ TR ปรับเงินฝากคลัง TR รับจากหน่วยอื่น TR เงินนอกตั๋วเงินคลัง TR เงินทดรองราชการ รวม รายได้ระหว่างหน่วยงาน

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

53

(หน่วย:บาท) 147,102.50 8,969,024,804.64 173,732,774.38 335,099,814.88 11,561,199,738.56 45,372,163.44 164,722,973,994.74 (106,550,000.00) 185,701,000,393.14


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

หมายเหตุที่ 17 - ค่าใช้จ่ายบุคลากร เงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินตอบแทนข้าราชการ ค่าจ้างชั่วคราว เงินตอบแทนพนักงานราชการ เงินรางวัล เงินชดเชยสมาชิก กบข. เงินสมทบ กบข. เงินสมทบกองทุนประกันสังคม ตอบแทนรถประจ�ำต�ำแหน่ง เงินช่วยการศึกษาบุตร เงินช่วยค่ารักษาพยาบาลข้าราชการและลูกจ้าง - คนไข้นอก เงินช่วยค่ารักษาพยาบาลข้าราชการลูกจ้าง - คนไข้ใน เงินช่วยค่ารักษาพยาบาลข้าราชการลูกจ้าง - คนไข้ในเอกชน รวม ค่าใช้จ่ายบุคลากร

(หน่วย:บาท) 44,324,571.72 176,930.00 24,316.68 13,103,059.52 1,391,928.87 2,094,045.02 748,385.70 1,122,578.55 531,946.00 991,200.00 199,201.00 3,528,145.75 1,461,940.29 22,638.00 69,720,887.10

หมายเหตุที่ 18 - ค่าบ�ำเหน็จบ�ำนาญ บ�ำนาญปกติ เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบ�ำนาญ บ�ำเหน็จด�ำรงชีพ เงินชดเชยกรณีเลิกจ้าง รวม บ�ำเหน็จบ�ำนาญ

(หน่วย:บาท) 2,124,437.76 166,958.88 200,000.00 178,151.50 2,669,548.14

หมายเหตุที่ 19 - ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ค่าหลักสูตรอบรมในประเทศ ค่าเดินทางอบรมในประเทศ ค่าฝึกอบรม - ภายนอก ค่าเบี้ยเลี้ยงอบรมในประเทศ ค่าที่พักอบรมในประเทศ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางภายในประเทศ ค่าเบี้ยเลี้ยงอบรมต่างประเทศ ค่าที่พักอบรมต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายด้านทุนการศึกษาต่างประเทศ รวม ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

54

(หน่วย:บาท) 86,000.00 4,907,005.58 1,650,318.00 10,665.00 13,850.00 218,493.24 1,169,570.55 2,073,109.61 5,489,047.87 15,618,059.85


Annual Report

2012 2555 หมายเหตุที่ 20 - ค่าวัสดุและค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษา ค่าปิโตรเลียมส�ำหรับการใช้งาน ค่าจ้างเหมาบริการ - ภายนอก ค่าจ้างเหมาบริการ - รัฐ ค่าจ้างที่ปรึกษา ค่าเบี้ยประกัน ค่าครุภัณฑ์ต�่ำกว่าเกณฑ์ ค่าเบี้ยประชุม ค่ารับรอง ค่าเช่าอสังหา - นอก ค่าเช่าเบ็ดเตล็ด - นอก ค่าวิจัยและพัฒนา - รัฐ ค่าประชาสัมพันธ์ ค่าใช้สอยอื่นๆ ค่าตอบแทนเฉพาะงาน รวม ค่าวัสดุและค่าใช้สอย

(หน่วย:บาท) 3,610,066.51 398,553.43 205,477.60 11,689,516.90 403,122.00 60,450,827.40 4,048.00 738,101.38 672,260.50 38,834.00 852,220.60 2,141,026.70 6,742,092.07 13,080,348.50 3,070,468.66 207,519.50 104,304,483.75

หมายเหตุที่ 21 - ค่าสาธารณูปโภค ค่าไฟฟ้าส�ำหรับการใช้งาน ค่าโทรศัพท์ส�ำหรับการใช้งาน ค่าไปรษณีย์และค่าขนส่ง ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม รวม ค่าสาธารณูปโภค

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

55

(หน่วย:บาท) 1,823,731.47 997,996.99 329,402.00 1,678,725.92 4,829,856.38


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

หมายเหตุที่ 22 - ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคา - สิ่งปลูกสร้าง ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์ส�ำนักงาน ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์ยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ ค่าเสื่อมราคา - ก่อสร้าง ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว ค่าเสื่อมราคา - ครุภัณฑ์อื่น ตัดจ�ำหน่าย - Software ตัดจ�ำหน่าย - Inte Org รวม ค่าเสื่อมราคา

(หน่วย:บาท) 258,333.33 997,471.64 664,878.04 157,535.04 97,060.27 39,697.00 13,465,204.37 5,259.38 1,317,278.79 7,097,959.74 1,197,311.88 25,297,989.48

หมายเหตุที่ 23 - ค่าใช้จ่ายอื่น

ดอกเบี้ยจ่าย ในประเทศ ระยะสั้น ดอกเบี้ยจ่าย ในประเทศ ระยะยาว ดอกเบี้ยจ่าย ต่างประเทศ ระยะสั้น ดอกเบี้ยจ่าย ต่างประเทศ ระยะยาว T/E บก. โอนเงินกู้ T/E โอนเงินให้ส่วนราชการ T/E ปรับเงินฝากคลัง T/E ส่วนราชการกับส่วนราชการ T/E ตั๋วเงินคลัง T/E กู้ชดเชยขาดดุล TR ภายในกรม T/E ภายในกรม T/E เงินกู้แปลงตั๋ว TR หน่วยงานรับเงินนอกงบประมาณจากกรมบัญชีกลาง รวม ค่าใช้จ่ายอื่น

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

56

(หน่วย:บาท)

1,798,052,746.62 108,508,717,657.41 187,020,678.21 742,759,586.40 31,433,497,615.32 11,561,246,248.58 32,860,636,617.69 1,747,558,580.39 140,595,456,184.34 296,751,775,775.56 (3,151,855,576.33) 3,151,855,576.33 6,434,293,065.00 (33,042,929,865.10) 599,578,084,890.42


Annual Report

2012 2555 หมายเหตุที่ 24 - รายการอื่นๆ ที่ไม่เกิดจากการด�ำเนินงาน ก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินกู้ต่างประเทศ ก�ำไรที่รับรู้แล้วจากอัตราแลกเปลี่ยนจากเงินกู้ต่างประเทศ ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินกู้ต่างประเทศ ขาดทุนที่รับรู้แล้วจากอัตราแลกเปลี่ยนจากเงินกู้ต่างประเทศ ค่าธรรมเนียมเงินกู้ ค่าใช้จ่ายทางการเงินอื่น รวม รายการอื่นๆ ที่ไม่เกิดจากการด�ำเนินงาน

(หน่วย:บาท) 97,063,687.70 (43,531,013.54) (668,290,518.21) 260,776,677.29 431,637,546.33 135,599,479.97 213,255,859.54

หมายเหตุที่ 25 - รายได้แผ่นดิน

รายได้จากค่าปรับอื่น รายได้จากค่าธรรมเนียมอื่น รายได้จากค่าธรรมเนียมให้กู้ค�้ำ ดอกเบี้ยเงินฝากที่สถาบันการเงิน ดอกเบี้ยเงินให้ก ู้ รายได้ดอกเบี้ยอื่น รายได้เงินปันผลอื่น เงินเหลือจ่ายปีเก่า รายได้รับช�ำระหนี ้ รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีอื่น รวม รายได้แผ่นดิน

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

57

(หน่วย:บาท)

4,602.92 27,060.00 234,937,223.86 60,186.85 7,814,187.00 54,122,588.17 122,474,353.69 279,665.52 34,446,319.84 6,530,645.60 460,696,833.45


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

หมายเหตุที่ 26 - รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่ายปีปัจจุบัน รายการ

งบสุทธิ

การส�ำรองเงิน

เงินประจ�ำงวด

ใบสัง่ ซือ้ /สัญญา เบิก แผนงาน ส่งเสริมการบริหารการเงิน 99,873,400.00 4,792,000.00 10,875,452.32 82,117,446.50 และการคลังทีย่ งั่ ยืน งานบริหารจัดการหนีส้ าธารณะ 99,873,400.00 4,792,000.00 10,875,452.32 82,117,446.50 งบบุคลากร 47,749,600.00 45,716,500.59 งบด�ำเนินงาน 24,366,200.00 2,410,000.00 1,775,452.32 20,175,572.73 งบลงทุน 10,316,500.00 - - 10,266,565.00 งบอุดหนุน - - - - งบรายจ่ายอืน่ 17,441,100.00 2,382,000.00 9,100,000.00 5,958,808.18 รวม 99,873,400.00 4,792,000.00 10,875,452.32 82,117,446.50 แผนงาน บริหารจัดการหนีภ้ าครัฐ 171,009,894,300.00 170,990,514,462.29 งานบริหารการช�ำระหนีข้ องรัฐบาล 171,009,894,300.00 170,990,514,462.29 งบรายจ่ายอืน่ 171,009,894,300.00 170,990,514,462.29 รวม 171,009,894,300.00 170,990,514,462.29 รวมทัง้ สิน้ 171,109,767,700.00 4,792,000.00 10,875,452.32 171,072,631,908.79

หมายเหตุที่ 27 - รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่ายปีก่อน

คงเหลือ 2,088,501.18 2,088,501.18 2,033,099.41 5,174.95 49,935.00 291.82 2,088,501.18 19,379,837.71 19,379,837.71 19,379,837.71 19,379,837.71 21,468,338.89 หน่วย : บาท

เบิกกันไว้ คงเหลือ เบิก เบิกเหลื่อมปี แผนงาน การเงินการคลัง 56,650,297.32 47,000,020.38 9,650,276.94 งานบริหารจัดการหนี้สาธารณะ 56,650,297.32 47,000,020.38 9,650,276.94 งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน 4,156,753.32 4,111,736.11 45,017.21 งบลงทุน 3,230,544.00 3,230,544.00 งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น 49,263,000.00 39,657,740.27 9,605,259.73 รวม 56,650,297.32 47,000,020.38 9,650,276.94 แผนงาน งานบริหารการช�ำระหนีข้ องรัฐบาล 800,000,000.00 772,536,498.12 27,463,501.88 งานบริหารจัดการหนี้สาธารณะ 800,000,000.00 772,536,498.12 27,463,501.88 งบรายจ่ายอื่น 800,000,000.00 772,536,498.12 27,463,501.88 รวม 800,000,000.00 772,536,498.12 27,463,501.88 รวมทั้งสิ้น 856,650,297.32 819,536,518.50 37,113,778.82 รายการ

หน่วย : บาท

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

58


Annual Report

2012 2555

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สวนที่

4

บทความว�ชาการ

ของสำนักงานบร�หารหนี้สาธารณะ

2012 ทศวรรษ 2555 Annual

Report

รายงานประจำป

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PUBLIC 2012 DEBT MANAGEMENT ANNUAL REPORT : PUBLIC OFFICE DEBT MANAGEMENT OFFICE

59


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

การจัดหาเงินกูโ้ ครงการรับจ�ำน�ำผลิตผลทางการเกษตร ดร. สุเนตรา เล็กอุทยั ส�ำนักจัดการหนี้ 2

ถึงแม้ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการจะเป็นภาคเศรษฐกิจส�ำคัญของประเทศไทยในปัจจุบัน แต่เนื่องจาก ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมแต่ดั้งเดิม ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศยังคงอยู่ในภาคเกษตรกรรม และยัง คงมี ชีวิ ต ความเป็น อยู่แ ละรายได้ที่ไม่ดีนัก จึ ง เป็ นสาเหตุ ใ ห้ รัฐ บาลมี นโยบายช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรของประเทศ เพือ่ ยกระดับรายได้และชีวติ ความเป็นอยูใ่ ห้ดขี นึ้ โดยรัฐบาลปัจจุบนั ได้เลือกใช้นโยบายการจ�ำน�ำผลิตผลทางการเกษตร เป็นนโยบายส�ำคัญในการช่วยเหลือเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 รัฐบาลได้อนุมัติการด�ำเนินโครงการรับจ�ำน�ำสินค้าเกษตรที่ส�ำคัญ ได้แก่ ข้าวเปลือก นาปี ข้าวเปลือกนาปรัง และได้ขยายการรับจ�ำน�ำครอบคลุมถึงมันส�ำปะหลังและยางพารา ซึ่งมีกระทรวงพาณิชย์และ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นหน่วยงานหลักในการด�ำเนินโครงการรับจ�ำน�ำ และกระทรวงการคลังเป็นหน่วยงานที่ รับผิดชอบในการจัดหาเงินกู้และค�้ำประกันเงินกู้ให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ซึ่งมีหน้าที่ ในการจัดท�ำสัญญาเงินกู้และจ่ายเงินกู้ โดยรับจ�ำน�ำประทวนสินค้าเป็นประกันเงินกู้ให้แก่เกษตรกร แหล่งเงิน โครงการรับจ�ำน�ำในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ใช้แหล่งเงินหลักจากเงินกู้ โดยมีกรอบเงินกู้ 269,160 ล้านบาท และ เงินทุน ธ.ก.ส. ทีส่ นับสนุนโครงการ 90,000 ล้านบาท รวมเป็นวงเงิน 359,160 ล้านบาท ทัง้ นี้ เนือ่ งจากโครงการดังกล่าว ใช้เงินในการด�ำเนินโครงการค่อนข้างสูง อยู่ในระดับใกล้เคียงกับการขาดดุลงบประมาณปี 2555 วงเงิน 400,000 ล้านบาท อีกทั้งรัฐบาลเป็นผู้รับภาระเงินกู้และค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินโครงการรับจ�ำน�ำทั้งหมด ส�ำนักงานบริหาร หนีส้ าธารณะ (สบน.) ซึง่ รับหน้าทีใ่ นการจัดหาเงินกูจ้ งึ ต้องด�ำเนินการโดยมีการวางแผนทีช่ ดั เจน ทัง้ เครือ่ งมือในการจัดหา และระยะเวลาในการระดมเงินส�ำหรับโครงการ เพื่อให้โครงการสามารถด�ำเนินการได้ราบรื่น และขณะเดียวกัน ไม่กระทบสภาพคล่องในตลาดมากเกินไป รวมทั้งมีต้นทุนการจัดหาเงินกู้ที่เหมาะสม การจัดหาเงินกู้ในปีงบประมาณ 2555 ภายใต้กรอบวงเงินกู้โครงการรับจ�ำน�ำผลิตผลทางการเกษตร ปีการผลิต 2554/55 วงเงิน 269,160 ล้านบาท ในปีงบประมาณ 2555 (30 กันยายน 2555) สบน. ได้จดั หาเงินกูท้ งั้ สิน้ 215,750 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 80 ของกรอบเงินกู้ ทัง้ นี้ ส�ำหรับในส่วนทีจ่ ดั หาไม่ครบเนือ่ งจากมีการขยายกรอบวงเงินการรับจ�ำน�ำในช่วงปลายปีงบประมาณ สบน. ได้วางแผน และได้ดำ� เนินการจัดหาเงินกูต้ อ่ เนือ่ งภายใต้กรอบเงินกูท้ ไี่ ด้รบั อนุมตั จิ ากคณะรัฐมนตรีแล้วในวงเงิน 269,160 ล้านบาท ในปีงบประมาณ 2556 เนื่องจากสินค้าเกษตรเป็นสินค้าที่มีการเสื่อมคุณภาพ มีอายุสินค้าสั้น และในขณะเดียวกันจ�ำเป็นต้องใช้เวลาใน การระบายสินค้า โดยจะต้องทยอยระบายสินค้าออกทัง้ ในและต่างประเทศตามราคาและภาวะตลาดทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ ในการจัดหาเงินกู้ สบน. ได้กระจายอายุเงินกูต้ งั้ แต่ 6 เดือนจนถึง 4 ปี เพือ่ ไม่ให้ภาระเงินกูก้ ระจุกตัวในปีใดปีหนึง่ รวมทัง้ ไม่ให้มีภาระการปรับโครงสร้างหนี้ที่สูงเกินไปในแต่ละปีในระหว่างรอการระบายสินค้า นอกจากนั้น ในการจัดหาเงินกู้ สบน. จะต้องศึกษาวิเคราะห์อุปทานและตารางการกู้เงินในตลาดทั้งของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจอื่นๆ และธนาคารแห่ง ประเทศไทย ทัง้ ในด้านอายุเงินกู้ เครือ่ งมือในการจัดหาเงินกู้ และระยะเวลาทีจ่ ะจัดหาเพือ่ ให้ได้ตน้ ทุนการกูเ้ งินทีเ่ หมาะสม และหลีกเลี่ยงการแย่งสภาพคล่องในตลาด เครื่องมือส�ำคัญที่ สบน. ใช้ในการจัดหาเงินกู้ ได้แก่ 1. เงินกูส้ ถาบันการเงิน หรือ Term Loan ซึง่ เป็นรูปแบบการกูเ้ งินทีส่ อดคล้องกับการด�ำเนินโครงการ เนือ่ งจากสามารถ ช�ำระคืนก่อนก�ำหนดได้ โดยแจ้งสถาบันการเงินล่วงหน้าเพียง 3 วัน เมื่อได้รับเงินจากการระบายสินค้าเกษตร อย่างไรก็ตาม ความคล่องตัวดังกล่าวมีตน้ ทุนทีต่ อ้ งจ่าย ดังนัน้ สบน. จึงไม่จดั หาเงินกูใ้ นรูปแบบ Term Loan ทัง้ หมด และ รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

60


Annual Report

2012 2555

ได้กระจายเงินกู้ลักษณะนี้ในอายุเงินกู้ต่างๆ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 32.44 ของรูปแบบการจัดหาเงินกู้ทั้งหมด เพื่อให้สามารถช�ำระคืนเงินกู้ได้เมื่อมีการทยอยระบายสินค้า 2. ตั๋วสัญญาใช้เงิน หรือ Promissory Note (P/N) เป็นรูปแบบการกู้เงินที่ สบน. ใช้เพื่อขยายฐานนักลงทุนให้ กว้างขึ้น นอกเหนือจากสถาบันการเงิน ซึ่งส่งผลให้ต้นทุนการจัดหาต�่ำลง รวมทั้งในภาวะตลาดไม่เหมาะสม สบน. ได้ ใช้ P/N เป็นเครื่องมือในการจัดหาเงินกู้ระยะสั้น (6 เดือน และ 1 ปี) ในการระดมเงิน ก่อนที่จะปรับโครงสร้างหนี้เป็น พันธบัตรหรือ Term Loan ต่อไปตามความเหมาะสมของอายุโครงการและแผนการระบายสินค้า โดยคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 10.78 ของการจัดหาเงินกู้ทั้งหมด 3. พันธบัตร หรือ Bond เป็นรูปแบบการจัดหาเงินกูท้ มี่ ตี น้ ทุนต�ำ่ ทีส่ ดุ แต่มขี อ้ จ�ำกัดทีไ่ ม่สามารถช�ำระคืนก่อนก�ำหนดได้ สบน. ได้จดั หาเงินกูใ้ นรูปแบบพันธบัตร คิดเป็นร้อยละ 56.78 ของการจัดหาเงินกูท้ งั้ หมดในปีงบประมาณ 2555 โดยก�ำหนด อายุเงินกูร้ ปู แบบพันธบัตรทีห่ ลากหลายแต่ไม่ยาวจนเกินไป ตัง้ แต่ 9 เดือน ถึง 3 ปี 6 เดือน เพือ่ ทยอยการครบก�ำหนด ผลการจัดหาเงินกู้ให้กับธนาคารเพื่อการเกษตรเเละสหกรณ์การเกษตร โครงการรับจ�ำน�ำผลผลิตทางการเกษตร ปีงบประมาณ 2555 จัดหาเงินกู้ใน ปีงบประมาณ 2555 จ�ำนวน 215,750 ลบ.

70,000 60,000 50,000 40,000 30,000 30,000 20,000 10,000 ม.ค. ก.พ.

53,250

หน่วย : ล้านบาท

42,500

30,000

มี.ค.

เม.ย. พ.ค.

มิ.ย.

23,250 ลบ. P/N

อายุ 9-42 เดือน แบ่งตามเครื่องมือ ในการจัดหา

60,000

Bond

ก.ค.

ส.ค. ก.ย.

อายุ 6 เดือน เเละ 1 ปี

Term Loan 70,000 ลบ.

122,500 ลบ.

Fixed อายุ 2 ปี / Float อายุ 1 ปี และ 4 ปี

สบน. ในฐานะหน่วยงานภายใต้สงั กัดกระทรวงการคลัง นอกจากจะท�ำหน้าทีต่ ามความรับผิดชอบหลักในการจัดหา เงินกูแ้ ล้ว สบน. ยังได้เสนอแนะและตัง้ ข้อสังเกตในคราวทีต่ อ้ งเสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีเกีย่ วกับโครงการรับจ�ำน�ำ อยูเ่ สมอเพือ่ ให้หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบโครงการศึกษาแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพโครงการ รวมทัง้ แก้ไขปัญหา โครงการที่เกิดขึ้น เช่น การดูแลเรื่องการสวมสิทธิ์ การตรวจสอบคุณภาพข้าว การน�ำส่งเงินระบาย และการประเมิน โครงการ ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ด�ำเนินการแล้วในหลายประเด็น เพื่อให้โครงการน�ำประโยชน์สูงสุดแก่เกษตรกร และบรรลุวตั ถุประสงค์ของโครงการได้อย่างแท้จริง นอกจากนัน้ ในฐานะผูร้ บั ผิดชอบจัดหาเงินกูแ้ ละบริหารจัดการหนี้ ของโครงการ สบน. อยูร่ ะหว่างศึกษาโอกาสความสูญเสียทีเ่ กิดจากโครงการ ผลกระทบต่อระดับหนีส้ าธารณะและภาระ หนี้สาธารณะของประเทศที่เพิ่มขึ้นจากการด�ำเนินโครงการ รวมทั้งศึกษาแนวทางการด�ำเนินโครงการอย่างยั่งยืน โดย ใช้การหมุนเวียนของเงินกู้และเงินระบายสินค้าเกษตร เพื่อลดภาระการก่อหนี้ใหม่ในอนาคต ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย ของรัฐบาลที่ต้องการจ�ำกัดงบประมาณและการกู้เงินส�ำหรับโครงการดังกล่าว ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

61


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ค่าธรรมเนียมการค�ำ้ ประกันและการให้กตู้ อ่ นางสาวปวีณา ส�ำเร็จ นางสาวสุธาวรรณ วรรณสุกใส ส�ำนักจัดการหนี้ 2

การค�ำ้ ประกันและการให้กตู้ อ่ เป็นเครือ่ งมือหนึง่ ของภาครัฐทีช่ ว่ ยสนับสนุนการด�ำเนินงานตามนโยบายรัฐ โดยการ เข้าไปช่วยให้ผกู้ ซู้ งึ่ อาจมีปญ ั หาเรือ่ งฐานะการเงินหรือมีระดับความน่าเชือ่ ถือไม่ดเี ท่าทีค่ วรสามารถจัดหาเงินกูท้ มี่ ตี น้ ทุนที่ ต�ำ่ ลงได้ อย่างไรก็ดี การค�ำ้ ประกันและการให้กตู้ อ่ ได้กอ่ ให้เกิดภาระผูกพันในอนาคตกับผูค้ ำ�้ ประกันและผูใ้ ห้กตู้ อ่ ในกรณีที่ ผูข้ อค�ำ้ ประกันและขอกูเ้ งินต่อไม่สามารถจ่ายช�ำระหนีไ้ ด้ ส่งผลให้ผคู้ ำ�้ ประกันและผูใ้ ห้กตู้ อ่ ต้องรับภาระช�ำระหนีด้ งั กล่าวแทน ในกรณีของกระทรวงการคลังทีใ่ ห้การค�ำ้ ประกันและให้กตู้ อ่ กับรัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินภาครัฐ ได้กอ่ ให้เกิดภาระ ผูกพันในอนาคตหากรัฐวิสาหกิจหรือสถาบันการเงินภาครัฐไม่สามารถช�ำระหนี้เงินกู้ที่กระทรวงการคลังค�้ำประกัน และให้กตู้ อ่ ได้ กระทรวงการคลังในฐานะผูค้ ำ�้ ประกันและให้กตู้ อ่ จึงต้องเข้ามารับภาระช�ำระหนีเ้ งินกูด้ งั กล่าวแทน ดังนัน้ ภาระหนีท้ เี่ กิดจากการค�ำ้ ประกันและให้กตู้ อ่ แก่รฐั วิสาหกิจและสถาบันการเงินภาครัฐจึงเป็นความเสีย่ งทีก่ ระทรวงการคลัง อาจจะต้องเผชิญในอนาคต กระทรวงการคลัง โดยส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) จึงได้เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการค�ำ้ ประกัน และการให้ กูต้ อ่ (Guarantee Fee and On-lending Fee) ทีไ่ ด้ประยุกต์หลักการคิดค่าธรรมเนียมฯ ตามต้นทุนและความเสีย่ งของ รัฐวิสาหกิจหรือสถาบันการเงินภาครัฐทีไ่ ด้รบั การค�ำ้ ประกันหรือเป็นผูก้ ตู้ อ่ ตลอดอายุของการค�ำ้ ประกันหรือให้กตู้ อ่ ประเทศ พัฒนาแล้วหลายประเทศได้นำ� หลักการดังกล่าวพิจารณาก�ำหนดอัตราค่าธรรมเนียมฯ ยกตัวอย่างเช่น ประเทศออสเตรเลีย ซึง่ ก�ำหนดค่าธรรมเนียมฯ จากการวิเคราะห์ความเสีย่ งทางเครดิตของผูก้ หู้ รือผูข้ อค�ำ้ ประกัน (Stand-alone Analysis) เพือ่ วิเคราะห์ถงึ ความสามารถในการช�ำระหนีข้ องหน่วยงาน และประเทศสวีเดนได้กำ� หนดอัตราค่าธรรมเนียมฯ ทีค่ รอบคลุม ต้นทุนความเสีย่ งทีค่ าดว่าจะเกิดในอนาคตประกอบด้วย (Expected Costs) เป็นต้น อย่างไรก็ดี ค่าธรรมเนียมฯ ทีก่ ระทรวง การคลังเรียกเก็บไม่สามารถเรียกเก็บในอัตราทีส่ งู เพือ่ ให้ครอบคลุมความเสีย่ งได้ทงั้ หมด เนือ่ งจากรัฐวิสาหกิจและสถาบัน การเงินภาครัฐถือเป็นหน่วยงานภาครัฐและเป็นกลไกของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ ดังนั้น วัตถุประสงค์หลัก ในการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมฯ ของกระทรวงการคลังจึงมุง่ ทีจ่ ะใช้คา่ ธรรมเนียมฯ ดังกล่าวเป็นเครือ่ งมือเพือ่ สะท้อนให้ รัฐวิสาหกิจหรือสถาบันการเงินภาครัฐตระหนักถึงต้นทุนเงินกูแ้ ละความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในอนาคต ตลอดจนเพือ่ ลด ความเสีย่ งจากการค�ำ้ ประกันและให้กตู้ อ่ ของกระทรวงการคลัง ในมุ ม มองของ สบน. นอกจากจะพิ จ ารณาความเสี่ ย งทางเครดิ ต ของรั ฐ วิ ส าหกิ จ ในฐานะผู ้ ข อรั บ การ ค�้ ำ ประกั น และขอกู ้ เ งิ น ต่ อ จากกระทรวงการคลั ง แล้ ว สบน. ยั ง มุ ่ ง ที่ จ ะพั ฒ นารั ฐ วิ ส าหกิ จ และยกระดั บ การ ด�ำเนินงานของรัฐวิสาหกิจให้มปี ระสิทธิภาพ และมีความมัน่ คงทางการเงิน โดยได้ปรับใช้หลักการคิดค่าธรรมเนียมฯ ตามแนวทาง ข้างต้นเพื่อสะท้อนให้รัฐวิสาหกิจตระหนักถึงต้นทุนเงินกู้ และสะท้อนถึงระดับความเสี่ยงทางเครดิตของรัฐวิสาหกิจ อย่างเป็นรูปธรรม ซึง่ สามารถน�ำไปวิเคราะห์เพือ่ ประกอบการพัฒนาประสิทธิภาพการด�ำเนินงาน สร้างวินยั ทางการเงิน สร้างความน่าเชือ่ ถือและเชือ่ มัน่ ให้กบั รัฐวิสาหกิจเป็นส�ำคัญอีกด้วย ซึง่ จะส่งผลให้รฐั วิสาหกิจสามารถลดต้นทุนการกูเ้ งิน รวมทัง้ สามารถจัดหาเงินกูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง โดยกระทรวงการคลังไม่ตอ้ งให้การค�ำ้ ประกันหรือให้กตู้ อ่ อันส่งผลต่อการลดภาระ ผูกพันของรัฐบาลทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

62


Annual Report

2012 2555 การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมฯ ของกระทรวงการคลัง พระราชบัญญัตกิ ารบริหารหนีส้ าธารณะ พ.ศ. 2548 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ก�ำหนดให้กระทรวงการคลัง มีอ�ำนาจเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการค�้ำประกันและการให้กู้ต่อกับหน่วยงานภาครัฐ โดยมีอัตราและเงื่อนไขที่เกี่ยวข้อง ก�ำหนดไว้ภายใต้กฎกระทรวงก�ำหนดอัตราและเงือ่ นไขการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการค�ำ้ ประกันของกระทรวงการคลัง พ.ศ. 2551 กฎกระทรวงก�ำหนดอัตราและเงื่อนไขการเรียกเก็บดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมการให้กู้ต่อของกระทรวง การคลัง พ.ศ. 2551 และประกาศส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ เรือ่ ง หลักเกณฑ์และวิธกี ารประเมินระดับความน่าเชือ่ ถือ ของรัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินภาครัฐ ซึง่ กระทรวงการคลัง โดย สบน. ได้เริม่ ด�ำเนินการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการ ค�ำ้ ประกันและให้กตู้ อ่ กับรัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินภาครัฐทีม่ เี งินกูท้ กี่ ระทรวงการคลังค�ำ้ ประกันและให้กตู้ อ่ โดยเริม่ เรียกเก็บตัง้ แต่วนั ทีก่ ฎกระทรวงฯ มีผลบังคับใช้ คือ เมือ่ เดือนกรกฎาคม 2551 เป็นต้นมา และปัจจุบนั มีเฉพาะรัฐวิสาหกิจ และสถาบันการเงินภาครัฐเท่านัน้ ทีม่ เี งินกูท้ เี่ ข้าข่ายทีก่ ระทรวงการคลังเรียกเก็บค่าธรรมเนียมฯ ส�ำหรับวิธกี ารเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมฯ ปัจจุบนั เรียกเก็บเป็นรายปีงบประมาณ ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อค่าธรรมเนียมฯ ส�ำหรับค่าธรรมเนียมฯ ทีก่ ระทรวงการคลังเรียกเก็บจากรัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินภาครัฐ มีลกั ษณะวิธกี าร ค�ำนวณเช่นเดียวกับการค�ำนวณดอกเบีย้ โดยมีปจั จัยทีเ่ กีย่ วข้อง 3 ปัจจัย ได้แก่ 1. อัตราค่าธรรมเนียมฯ : ใช้อตั ราทีก่ ำ� หนดไว้ในกฎกระทรวงฯ โดยขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยหลัก 2 ปัจจัย คือ 1.1 ระดับความน่าเชือ่ ถือ เป็นเครือ่ งมือทีใ่ ช้สำ� หรับระบุความเสีย่ งทางเครดิตของหน่วยงานทีข่ อให้กระทรวงการคลัง ค�้ำประกันเงินกู้ และหน่วยงานที่ขอกู้ต่อจากกระทรวงการคลัง เพื่อส่งสัญญาณเตือนถึงความเสี่ยงทางเครดิตของ พอร์ตการค�้ำประกันและการให้กู้ต่อของรัฐวิสาหกิจ และสถาบันการเงินภาครัฐ ให้กับผู้ก�ำหนดนโยบาย โดย สบน. จะมีหน้าทีใ่ นการจัดระดับความน่าเชือ่ ถือ รั ฐ วิ ส าหกิ จ และสถาบั น การเงิ น ภาครั ฐ ซึ่ ง ต้ อ ง ด�ำเนินการทุกปี เพื่อประกอบการพิจารณาเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมฯ ทัง้ นี้ สบน. ได้แบ่งระดับความน่าเชือ่ ถือ ออกเป็ น 8 ระดั บ โดยระดั บ เครดิ ต ที่ ดี ที่ สุ ด คือ ระดับ “1” ซึง่ สะท้อนว่าหน่วยงานมีระดับเครดิตดี และมีความเสี่ยงต�่ำสุด และระดับเครดิตรองลงมา จะมีความเสี่ยงสูงขึ้นตามล�ำดับ โดยระดับที่แย่ที่สุด คือ ระดับ “8” ซึง่ สะท้อนว่าหน่วยงานมีความเสีย่ งที่ จะผิดนัดช�ำระหนีส้ งู สุด 1.2 อายุเงินกู้ สะท้อนถึงระยะเวลาทีก่ ระทรวง การคลังจะต้องรับความเสีย่ งจากการค�ำ้ ประกันและให้ กูต้ อ่ ดังนัน้ อายุเงินกูท้ ยี่ าว จะมีอตั ราค่าธรรมเนียมฯ สูงกว่าเงินกูร้ ะยะสัน้ และหากอายุเงินกูล้ ดลง อัตรา ค่าธรรมเนียมฯ ก็จะลดลงไปด้วยตามล�ำดับ

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

63


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

โดยกฎกระทรวงฯ ได้กำ� หนดตารางอัตราค่าธรรมเนียมการค�ำ้ ประกันและการให้กตู้ อ่ ของรัฐวิสาหกิจและสถาบัน การเงินภาครัฐ ดังนี้ ระดับ ความน่าเชื่อถือ 8

0.35%

0.40%

0.45%

0.50%

7

0.30%

0.35%

0.40%

0.45%

6

0.25%

0.30%

0.35%

0.40%

5

0.20%

0.25%

0.30%

0.35%

4

0.15%

0.20%

0.25%

0.30%

3

0.10%

0.15%

0.20%

0.25%

2

0.05%

0.10%

0.15%

0.20%

1

0.01%

0.05%

0.10%

0.15%

p.a. p.a. p.a. p.a. p.a. p.a. p.a. p.a.

<1 ปี

p.a.

p.a.

p.a.

p.a.

p.a.

p.a.

p.a.

p.a.

p.a.

p.a.

p.a.

p.a.

p.a.

p.a.

p.a.

1-5 ปี

p.a.

5-10 ปี

p.a.

p.a. p.a. p.a. p.a. p.a. p.a. p.a.

>10 ปี

อายุเงินกู้

2. ระยะเวลา : คิดจากจ�ำนวนวันที่กระทรวงการคลังได้มีการค�้ำประกันและให้กู้ต่อในแต่ละสัญญาเงินกู้ ในปีงบประมาณนัน้ ๆ โดยไม่นบั รวมวันทีช่ ำ� ระคืนต้นเงินกู้ 3. วงเงินกูค้ งค้าง : ค�ำนวณตาม Flow ของการเบิกจ่ายและช�ำระคืนเงินกูท้ กี่ ระทรวงการคลังค�ำ้ ประกันและให้กตู้ อ่ โดยแยกค�ำนวณเป็นรายสัญญา

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

64


Annual Report

2012 2555 การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมฯ และการน�ำส่งเงินรายได้เข้าคลัง ภายหลั ง จากการค� ำ นวณค่ า ธรรมเนี ย มฯ สบน. จะมี ห นั ง สื อ เเจ้ ง รั ฐ วิ ส าหกิ จ และสถาบั น การเงิ น ภาครั ฐ เพือ่ เรียกเก็บค่าธรรมเนียมฯ พร้อมทัง้ ก�ำหนดระยะเวลาการช�ำระค่าธรรมเนียมฯ ในแต่ละปีงบประมาณ ทัง้ นี้ หน่วยงาน จะช�ำระค่าธรรมเนียมฯ ภายในระยะเวลาที่ สบน. ก�ำหนด อย่างไรก็ดี หากหน่วยงานใดมีเงินกู้ที่กระทรวงการคลัง ค�ำ้ ประกันและให้กตู้ อ่ ซึง่ เข้าข่ายตามหลักเกณฑ์การขอลดหย่อนหรือยกเว้นได้ตามทีก่ ำ� หนดในกฎกระทรวงฯ หน่วยงาน ดังกล่าวสามารถจัดท�ำข้อมูลและรายละเอียดส่งให้กบั สบน. เพือ่ ขอยกเว้นค่าธรรมเนียมฯ ก่อนวันทีค่ รบก�ำหนดช�ำระ ค่าธรรมเนียมฯ เพือ่ สบน. จะได้จดั ท�ำความเห็นและน�ำเสนอรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังพิจารณาตามเงือ่ นไขและ หลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดในกฎกระทรวงฯ ต่อไป ส�ำหรับค่าธรรมเนียมฯ ที่ สบน. ได้รบั ช�ำระจากรัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินภาครัฐนัน้ สบน. ได้นำ� ส่งคลังเพือ่ เป็น รายได้แผ่นดินหลังจากได้รบั ช�ำระทันที ผลการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 - 2554 นับตั้งแต่กฎกระทรวงฯ มีผลบังคับใช้ คือ ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2551 กระทรวงการคลังสามารถเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมฯ จากรัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินภาครัฐทีม่ เี งินกูท้ กี่ ระทรวงการคลังค�ำ้ ประกันและให้กตู้ อ่ 17 แห่ง เป็นเงินประมาณ 350 ล้านบาท แนวทางการพัฒนาในระยะต่อไป สบน. ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของค่าธรรมเนียมการค�ำ้ ประกันและให้กตู้ อ่ ทีเ่ รียกเก็บได้ ดังนัน้ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนางานด้านการจัดระดับความน่าเชือ่ ถือและการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมฯ สบน. ได้ศกึ ษาแนวทางในการบริหาร จัดการค่าธรรมเนียมฯ จากหน่วยงานทีม่ กี ารเรียกเก็บค่าธรรมเนียมฯ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ทัง้ นี้ ผูบ้ ริหารของ สบน. มีนโยบายทีจ่ ะบริหารจัดการเงินค่าธรรมเนียมฯ ทีเ่ รียกเก็บได้ให้เกิดประโยชน์ทงั้ ต่อรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ซึง่ จะ น�ำรายได้จากค่าธรรมเนียมฯ มาบริหารจัดการเพือ่ ลดความเสีย่ งของกระทรวงการคลัง ตลอดจนเพือ่ สนับสนุนการพัฒนา ประสิทธิภาพการด�ำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ ซึง่ จะช่วยลดภาระผูกพันในอนาคตของรัฐบาลได้ ติดต่อข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ ส่วนเงินกูต้ ลาดเงินทุนต่างประเทศและการจัดระดับความน่าเชือ่ ถือ ส�ำนักจัดการหนี้ 2 โทร. 02 265 8050 ต่อ 5408, 5418 E-mail paweena@pdmo.go.th, suthawan@pdmo.go.th

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

65


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะกับการสร้างวัฒนธรรมแห่งการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ “เปิดกรุการเรียนรู้ ขุมทรัพย์ทางปัญญา ของ สบน.” นางสาวสมหญิง ด�ำรงเเสง กลุม่ พัฒนาระบบบริหาร

องค์กรทุกๆ องค์กรย่อมมีขุมทรัพย์ทางปัญญาซ่อนเร้นอยู่ในองค์กร และขึ้นอยู่วา่ องค์กรนั้นจะมีความสามารถใน การแสวงหาขุมทรัพย์เหล่านั้นมาด้วยวิธีการอย่างไร ขุมทรัพย์ทางปัญญาที่ส�ำคัญ คือ ความรู้ที่มีอยู่ภายในคนที่เป็นสมาชิกขององค์กรนั่นเอง ความรู้เหล่านี้ ถ้าหาก ไม่ตระหนักถึง ไม่ให้คุณค่า และไม่มีวิธีการที่จะท�ำให้ได้มา ก็เป็นการสูญเสียทรัพยากรที่มีค่าไปโดยเปล่าประโยชน์ เนื่องจากความรู้ที่บุคคลได้รับมานั้น เป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในการท�ำงาน ผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์มาแล้ว ซึ่งไม่มีอยู่ในคู่มือหรือในต�ำราใดๆ มาก่อนเลย ดังนั้น ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) จึงได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการน�ำความรูท้ มี่ อี ยูใ่ นตัวบุคลากรของ สบน. ออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด โดยการ เปิดกรุขมุ ทรัพย์ทางปัญญาทีม่ อี ยูภ่ ายในองค์กร หรือในทางเศรษฐศาสตร์กค็ อื จะต้องน�ำ “สินทรัพย์มาเป็นทุน” นัน่ เอง แนวคิดหรือวิธีการที่ สบน. ได้น�ำมาใช้ในการปลดปล่อย หรือแสวงหาขุมทรัพย์ทางปัญญา คือ การจัดการความรู้ หรือ Knowledge Management : KM ซึ่งเป็นแนวคิดหลักที่ใช้ ในการพัฒนากิจกรรมการจัดการความรู้ของ สบน. โดยใช้ กระบวนการสร้างความรู้ SECI Model ของ Dr.Nonaka1 ซึ่งเชื่อว่า ความรู้นั้นสามารถถ่ายเทกันได้ตลอดเวลา ขึ้นอยู่ กับสถานการณ์ที่จะน�ำพาให้เกิดความรู้ใหม่ๆ ได้ และเป็นการ น�ำเอาความรู้ที่ซ่อนเร้นออกจากกรุ แสดงออกสู่เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งเป็นเวทีที่สะท้อนความเป็นมิตร สร้าง บรรยากาศให้มคี วามสนุก เกิดความภาคภูมใิ จ และสร้างนวัตกรรม รวมทัง้ ก่อให้เกิดมิตรภาพอันดีตอ่ กัน และสิง่ ส�ำคัญ ของแนวคิดนี้ คือ เป็นเครื่องมือที่จะน�ำพาไปสู่ความส�ำเร็จได้ โดยแปลงความรู้ไปสู่การปฏิบัติงานได้อย่างเป็นรูปธรรม เกิดความเป็นพลวัตและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั่วทั้งองค์กร จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้น สบน. ได้นำ� มาประยุกต์และก�ำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมเวทีแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ซึ่งเป็นกิจกรรมหลักที่ใช้ในการขับเคลื่อนการจัดการความรู้ของ สบน. โดยเวทีแลกเปลี่ยนดังกล่าว เป็นการเปิด โอกาสให้บุคลากรของ สบน. ได้มโี อกาสในการแบ่งปันและแลกเปลีย่ นความรูใ้ นเรือ่ งทีเ่ ป็นหัวข้อที่น่าสนใจในขณะนัน้ (Hot Issue) ความรู้ที่ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เช่น ประสบการณ์จากการปฏิบัติงาน หรือความรู้ที่ได้รับจากการ เข้าร่วมการฝึกอบรม/สัมมนาทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ เป็นต้น โดยการจัดกิจกรรมเวทีแลกเปลีย่ นความคิดเห็นนัน้ จะจัดให้สอดคล้องกับบริบทของ สบน. กล่าวคือ จัดในรูปแบบ Morning Talk ระหว่างเวลา 8.00-9.00 น. หรือ Lunch Talk ระหว่างเวลา 11.30-13.30 น. เพือ่ ให้ผบู้ ริหารระดับต่างๆ สามารถเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ร่วมกับบุคลากรของ สบน. ได้ รวมทั้งเป็นการหลีกเลี่ยงช่วงเวลาในการปฏิบัติงานของบุคลากรด้วย Knowledge Spiral : SECI Model เป็นทฤษฎีที่สำ� นักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ร่วมกับสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติใช้ในการให้ความรู้เรื่องการจัดการความรู้แก่ส่วนราชการ โดยอ้างอิงจากหนังสือเรื่อง The Knowledge Creating Company (1995) ซึ่ง Ikujiro Nonaka และ Hirotaka Takeuk เป็นผู้เขียน

1

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

66


Annual Report

2012 2555 การจัดกิจกรรมเวทีแลกเปลีย่ นความคิดเห็น (Morning Talk/Lunch Talk) ในระยะแรกนัน้ จะเป็นการแลกเปลีย่ น ความรูแ้ ละประสบการณ์ระหว่างบุคลากรภายในองค์กรด้วยกันเอง โดยหัวข้อเรือ่ งส่วนใหญ่จะมุง่ เน้นไปทีก่ ารปฏิบตั งิ าน เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และภารกิจหลักขององค์กร และต่อมาได้มีการพัฒนาการจัดกิจกรรมให้มีความหลากหลาย มากยิง่ ขึน้ เช่น การให้ความรูใ้ นเรือ่ งเกีย่ วกับการดูแลสุขภาพ เรือ่ งการพัฒนาคุณภาพชีวติ เรือ่ งการออมและการลงทุน ในระดับบุคคล เป็นต้น รวมทัง้ เปิดโอกาสให้บคุ ลากรรุน่ ใหม่ๆ ได้มโี อกาสใช้เวทีแลกเปลีย่ นความคิดเห็นในการเพิม่ ทักษะ และศักยภาพในการน�ำเสนอผลงาน พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้สามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างเสรี ส�ำหรับการจัดการ ความรู้ของ สบน. ได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 และได้ให้ความส�ำคัญมาโดยตลอด โดยเห็นว่าองค์ความรูท้ มี่ อี ยูใ่ นองค์กรอาจไม่เพียงพอต่อการปฏิบตั งิ าน และจ�ำเป็นต้องมีการแสวงหาความรูใ้ หม่ๆ จาก หน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อมาเติมเต็มและเป็นการเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรให้มากขึ้นด้วย จึงได้จัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับหน่วยงานภายนอก ซึ่งจะเป็นการเชิญผู้บริหารหรือผู้เชี่ยวชาญจาก หน่วยงานภายนอกทีม่ กี ารปฏิบตั งิ านร่วมกัน เช่น กรมบัญชีกลาง ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง และธนาคารพาณิชย์ตา่ งๆ เป็นต้น มาแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ และสร้างบรรยากาศการเรียนรู้นวัตกรรม รวมถึงค่านิยมที่ส่งผลต่อการ เรียนรู้ การแบ่งปันความรู้ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งถือว่าเป็นการสร้างสินทรัพย์ใหม่ๆ ให้เกิดขึ้นในองค์กร และ ถือเป็นการจุดประกายความคิดสร้างสรรค์ใหม่ๆ ให้แก่บุคลากรเพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้ในองค์กร นอกจากนี้ สบน. ได้ มีการพัฒนารูปแบบกิจกรรม โดยการไปศึกษาดูงานกับหน่วยงานภายนอก หรือที่เรียกว่า KM Journey ซึ่งกิจกรรม ดังกล่าวจะเน้นการเรียนรูแ้ นวคิดในการบริหารจัดการองค์กรทีเ่ ป็นเลิศและมีวธิ กี ารปฏิบตั ทิ ไี่ ด้ผล (Best Practice) ซึง่ เป็นการเปิดโอกาสให้บคุ ลากรได้รบั แนวคิดและวิธกี ารในการบริหารจัดการองค์กรและการพัฒนางานในรูปแบบใหม่ๆ จากแนวคิดทีเ่ ห็นว่า “คน” คือ “ขุมทรัพย์ทางปัญญา” เป็น “ทรัพย์สนิ ทีม่ คี า่ ขององค์กร” ดังนัน้ สบน. จึงตระหนัก ถึงความส�ำคัญและมีความพยายามในการเก็บทรัพย์สนิ ทีม่ คี า่ ขององค์กรให้เป็นระบบ จึงได้คน้ หาผูร้ ู้ (Guru) ในภารกิจ หลักด้านต่างๆ ของ สบน. โดยจ�ำแนกเป็น 8 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการจัดท�ำแผนการบริหารหนี้สาธารณะ 2) ด้านการ วิเคราะห์โครงการ 3) ด้านการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ 4) ด้านการกูเ้ งิน 5) ด้านการค�ำ้ ประกัน/การให้กตู้ อ่ 6) ด้านการ บริหารการช�ำระหนี้ 7) ด้านการติดตามประเมินผลโครงการ และ 8) ด้านการบริหารความเสี่ยง โดยการค้นหา Guru จะด�ำเนินการผ่านกิจกรรมที่มีชื่อเรียกว่า KM Guru และข้าราชการที่ได้รับคัดเลือกให้เป็น Guru จะเป็นผู้ มาถ่ายทอดวิธกี าร และแลกเปลีย่ นความรูแ้ ละประสบการณ์ทยี่ อดเยีย่ มให้แก่บคุ ลากร รวมทัง้ เพือ่ ส่งเสริมให้บคุ ลากร ไปขอเรียนรู้จาก Guru เหล่านั้น การจัดการความรู้เปรียบได้กับการเปิดกรุสมบัติขึ้นมา ซึ่งจะประสบผลส�ำเร็จได้ โดยต้องมีการบริหารจัดการที่ดี มีการแลกเปลี่ยน ถ่ายเท ขยายผล และสร้างสินทรัพย์ใหม่ๆ ให้เกิดขึน้ ในองค์กร รวมทัง้ หมุนความรูใ้ ส่กลับไปในกรุสมบัติ หรือตัวบุคคลตลอดเวลา ซึ่ง สบน.มั่นใจว่า การพัฒนา อย่างต่อเนือ่ งจะสามารถน�ำพา สบน. ไปสูว่ ถิ กี ารเป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ได้ในที่สุด

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

67


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สบน. กับการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศ ด้านการคมนาคมขนส่ง Logistics ในทศวรรษต่อไป นายฐิตพิ นั ธุ์ ไพโรจน์ธรี ะรัชต์ ส�ำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

ในภาพรวมของการลงทุนด้านโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศไทย สัดส่วนการลงทุนภาครัฐจากงบประมาณรายจ่าย ในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมาเฉลีย่ อยูท่ รี่ อ้ ยละ 19 ต่อปี ซึง่ ต�ำ่ กว่ากรอบความยัง่ ยืนทางการคลังของประเทศทีก่ ำ� หนดให้สดั ส่วน งบลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายควรอยู่ที่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ต่อปี ท�ำให้งบประมาณมีไม่เพียงพอต่อการลงทุนเพื่อ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องและขาดการด�ำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับ ประเทศไทยประสบกับปัญหาความผันผวนทางเศรษฐกิจและความไม่มเี สถียรภาพทางการเมือง ท�ำให้ประเทศขาดการ ลงทุนในโครงสร้างพืน้ ฐานขนาดใหญ่ซงึ่ ส่งผลต่อการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะยาวและ ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง จึงส่งผลให้ต้นทุนด้าน โลจิสติกส์ของประเทศไทยอยูใ่ นระดับค่อนข้างสูงเมือ่ เปรียบเทียบกับประเทศอืน่ โดยสัดส่วนต้นทุนด้านโลจิสติกส์ตอ่ ผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ของไทยอยู่ที่ร้อยละ 15.2 และร้อยละ 14.5 เมื่อปี 2553 และ 2554 ในขณะที่สัดส่วนดังกล่าวของประเทศสิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา มาเลเซียและจีน เท่ากับร้อยละ 8 8.3 13 และ 17 ตามล�ำดับ เพื่อเตรียมความพร้อมประเทศไทยเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ประเทศต้อง มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งเพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและการเพิ่มขึ้นของประชากรที่ เกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว และรองรับการขยายตัวด้านเศรษฐกิจการค้าและการลงทุนทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ เชือ่ มโยงฐาน การผลิตกับฐานการส่งออกระหว่างภูมิภาคต่างๆ ของประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งลดต้นทุนค่าใช้จ่ายการ บริหารจัดการระบบการขนส่ง และอ�ำนวยความสะดวกในการเดินทางของประชาชน ปัจจัยต่างๆ ดังกล่าวจึงเป็นที่มา ของการยกร่างพระราชบัญญัติให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ของประเทศ พ.ศ. …. (ร่าง พ.ร.บ.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านโลจิสติกส์ของประเทศ

แผนภาพที่ 1 โครงสร้างการขนส่งหลักของประเทศไทย โครงสร้างการขนส่งหลักของประเทศยังพึง่ พาทางถนนอยูใ่ นสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 82.4 ของการขนส่งสินค้าภายในประเทศทัง้ หมด 5.7% 2.2%

9.5%

0.02% ถนน ราง ชายฝั่งทะเล ทางน�้ำในประเทศ อากาศ

82.4% ทีม่ า : กระทรวงคมนาคม ณ เดือนพฤศจิกายน 2555 รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

68


Annual Report

2012 2555 ภาพรวมการขนส่งของประเทศไทยพึ่งพาการขนส่งทางถนนมากกว่าร้อยละ 80 ของปริมาณการขนส่งสินค้า โดยรวมของประเทศ เนือ่ งจากความสะดวกรวดเร็วและเกิดจากข้อจ�ำกัดของการพัฒนารูปแบบการขนส่งทางเลือกอืน่ ๆ อาทิ ระบบรางและบริการขนส่งสินค้าทางรถไฟทีย่ งั ไม่ทวั่ ถึงและไม่เอือ้ อ�ำนวยให้สามารถขนส่งถึงทีห่ มายปลายทางได้ (Door-to-door) รวมถึงการขนส่งทางน�้ำที่ภาครัฐไม่สามารถผลักดันให้เห็นผลเป็นรูปธรรมมากนักในระยะเวลา ที่ผา่ นมา นอกจากนี้ การขนส่งทางถนนต้องใช้พลังงานสูงกว่าการขนส่งรูปแบบอื่นมาก ดังนั้น การพึ่งพาระบบขนส่ง ทางถนนเป็นหลักเพียงอย่างเดียว ส่งผลให้ประเทศไทยขาดแคลนรูปแบบการขนส่งที่มีความผสมผสานและต่อเนื่อง ซึ่งก่อให้เกิดต้นทุนสูง เป็นการขนส่งที่ไม่ประหยัด และท�ำให้เกิดปัญหาการจราจรติดขัด

แผนภาพที่ 2 ปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ในการคมนาคมขนส่ง แยกตามประเภทการขนส่ง

หน่วย: พันตันเทียบเท่าน�ำ้ มันดิบ

ประเภทการขนส่ง 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 15,561 16,617 17,865 18,312 17,602 17,965 17,574 18,977 19,299 20,144 การขนส่งทางบก - การขนส่งทางถนน 15,442 16,509 17,767 18,209 17,499 17,868 17,478 18,886 19,211 20,057 - การขนส่งทางรถไฟ 119 108 98 103 103 97 96 91 88 87 การขนส่งทางน�ำ ้ 987 1,236 1,480 1,670 1,689 1,619 1,661 1,532 1,443 1,175 - ภายในประเทศ 65 70 79 67 63 54 61 66 77 147 - ระหว่างประเทศ 922 1,166 1,401 1,603 1,626 1,565 1,600 1,466 1,366 1,028 การขนส่งทางอากาศ 3,088 3,074 3,467 3,509 3,694 4,031 3,789 3,623 3,852 4,150 - ภายในประเทศ 275 396 281 265 249 253 246 288 258 265 - ระหว่างประเทศ 2,813 2,678 3,186 3,244 3,445 3,778 3,543 3,335 3,594 3,885 รวม 19,636 20,927 22,812 23,491 22,985 23,615 23,024 24,132 24,594 25,469 ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน รวบรวมโดย : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม

จากตัวเลขสถิติในแผนภาพที่ 2 การขนส่งในประเทศมีแนวโน้มพึ่งพาการขนส่งทางถนนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งที่การ ขนส่งรูปแบบอื่นที่มีต้นทุนต�่ำกว่า เช่น การขนส่งทางน�้ำและการขนส่งทางรางมีแนวโน้มลดลง อย่างไรก็ดี ประเทศที่ พัฒนาแล้วจะให้ความส�ำคัญกับการขนส่งในรูปแบบอืน่ นอกจากการขนส่งทางถนน เช่น การขนส่งทางรางควรมีสดั ส่วน อย่างน้อยประมาณร้อยละ 10-20 ของการขนส่งทั้งหมด ในขณะที่ประเทศไทยมีการขนส่งทางรางเพียงร้อยละ 2.2 เท่านั้น

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

69


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

แผนภาพที่ 3 เปรียบเทียบระยะทางของการขนส่งแต่ละระบบต่อการใช้น�้ำมันในสัดส่วนที่เท่ากัน การขนส่งทางถนนใช้ตน้ ทุนพลังงานสูงกว่าการขนส่งทางน�ำ้ และทางรางถึง 5 และ 3.3 เท่า ตามล�ำดับ กม. 600 500

ระยะทางการขนส่งสินค้าแต่ละสาขาต่อน�ำ้ มัน 5 ลิตรต่อตัน 500 กม.

400 300

Save 400%

330 กม. Save 230%

200 100 0

100 กม. 6 กม.

เรือ

รถไฟ

รถบรรทุก

เครื่องบิน

ทีม่ า : ธนาคารโลก

ภาพรวมโครงการลงทุนภายใต้การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ สามารถแบ่งประเภท การลงทุนออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. โครงการลงทุนด้านโครงสร้างพืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งทีร่ ฐั บาลรับภาระการลงทุน (วงเงิน 2 ล้านล้านบาท) ในส่วนของระบบราง ถนน ขนส่งทางน�้ำ และด่านศุลกากร 2. โครงการลงทุนด้านโครงสร้างพืน้ ฐานทีร่ ฐั วิสาหกิจรับภาระการลงทุน (วงเงินประมาณ 247,800 ล้านล้านบาท) ในส่วนโครงการเกี่ยวกับสนามบิน ท่าเรือน�้ำลึกและระบบรถและล้อเลื่อน การลงทุนทีร่ ฐั บาลรับภาระเป็นโครงการในสาขาระบบขนส่งของประเทศทีจ่ ำ� เป็นเร่งด่วนและมีความส�ำคัญต่อการ พัฒนาประเทศ แต่เนือ่ งจากเป็นโครงการทีม่ ผี ลตอบแทนทางการเงินจากการลงทุนต�ำ่ (Non -fifinancial viable project) อาทิ ระบบราง ทางคู่ ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ รถไฟฟ้าความเร็วสูง ถนน และอุโมงค์ข้ามทางรถไฟ Motorway โครงการสร้างท่าเรือและการเดินเรือทางล�ำน�้ำและชายฝั่ง และการปรับปรุงและก่อสร้างด่านศุลกากร รัฐบาลจึงควร ที่จะเป็นผู้รับภาระการลงทุนโดยเน้นการลงทุนในระบบโครงสร้างพื้นฐานเป็นหลัก นอกจากนี้ จะสนับสนุนค่าใช้จา่ ย ของการศึกษาความเหมาะสมและการออกแบบรายละเอียด รวมไปถึงค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

70


Annual Report

2012 2555 ตัวอย่างโครงการลงทุนในร่าง พ.ร.บ. ที่รัฐบาลเป็นผู้รับภาระ นโยบายของรัฐบาลทีก่ ำ� หนดยุทธศาสตร์ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและขนส่งของภูมภิ าค (South East Asia’s Economic and Logistics Hub) ท�ำให้การพัฒนาระบบการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal Transportation) ทีส่ ามารถเชือ่ มโยงโครงข่ายการขนส่งทางบก (ถนนและรถไฟ) ทางน�ำ้ และทางอากาศมีความส�ำคัญ ลดการพึง่ พาการขนส่งทางถนน โดยเพิม่ สัดส่วนการขนส่งสินค้าทางระบบน�ำ้ และระบบรางเพือ่ ให้สามารถลดต้นทุนการ ขนส่งและการใช้พลังงานสิน้ เปลืองจากภาคการขนส่งของประเทศ นอกจากนี้ เพือ่ เป็นการรองรับการเปิดตลาดการค้า และเปิดพรมแดนระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน (AEC’s Connectivity) ยังมีการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานเพื่อ ท�ำการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านและมีการปรับปรุงด่านและระบบศุลกากรทั่วประเทศ ดังนั้น ภายใต้รา่ ง พ.ร.บ. ได้ก�ำหนดให้มีโครงการโดยรวมอยู่ 4 สาขา ดังนี้ 1. สาขาการขนส่งทางราง ร่าง พ.ร.บ. มีวตั ถุประสงค์หลักในการลงทุนเพือ่ พัฒนาโครงข่ายรถไฟให้มปี ระสิทธิภาพ และกระตุน้ ให้ระบบรถไฟ เป็นระบบหลักในการขนส่งสินค้าระหว่างพื้นที่การผลิตหลัก (Production Base) ทั้งภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวภายในประเทศ โดยการเชื่อมโยงการขนส่งรูปแบบต่างๆ เข้าด้วยกันกับโครงข่ายถนน ท่าเรือและ ท่าอากาศยาน ในส่วนของระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลโดยเน้นให้ครอบคลุมพื้นที่บริการ เพิ่มขึ้น และสอดคล้องกับการขยายตัวของเมืองและการใช้ประโยชน์ที่ดิน ทั้งโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ได้แก่ โครงการรถไฟฟ้าสายสีแดง สายสีม่วง และส่วนต่อขยายของสายสีน�้ำเงิน และสายสีเขียว โดยมีการเร่งรัดโครงการ ระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามแผนแม่บทที่ก�ำหนดเสร็จสิ้นในช่วงปี 2572 ให้สามารถสิ้นสุดการด�ำเนินการได้เร็วขึ้น 7-10 ปี ส�ำหรับการเดินทางระหว่างเมืองได้เตรียมการศึกษาเพือ่ พัฒนาโครงข่ายระบบรถไฟความเร็วสูงใน 4 เส้นทาง ได้แก่ (1) สายเหนือ : กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ (2) สายตะวันออกเฉียงเหนือ : กรุงเทพฯ-นครราชสีมา (3) สายใต้ : กรุงเทพฯ-หัวหิน และ (4) สายตะวันออก : กรุงเทพฯ-ฉะเชิงเทรา-ระยอง เพื่อสนับสนุนให้เกิดการเปลีย่ นแปลงรูปแบบการเดินทางจาก รถยนต์ส่วนบุคคลเป็นระบบขนส่งสาธารณะอย่างเป็นรูปธรรม 2. สาขาการขนส่งทางถนน ถึงแม้การขนส่งทางถนนจะเป็นรูปแบบการขนส่งที่มีต้นทุนสูงกว่า แต่ยังคงเป็นรูปแบบการขนส่งที่ส�ำคัญและ ยังจ�ำเป็นต้องมีการพึ่งพาอยู่ เนื่องจากยังมีความสะดวกและมีโครงข่ายที่เข้าถึงในทุกภูมิภาคของประเทศ อย่างไรก็ดี การลงทุ น ในโครงข่ า ยถนนภายใต้ ร ่ า ง พ.ร.บ. จะเน้ น หนั ก ที่ ก ารเชื่ อ มโยงสู ่ ร ะบบการขนส่ ง อื่ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้มีการขนส่งแบบผสมผสานเพื่อลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ และเป็นการพัฒนาระบบโครงข่ายทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมือง (Motorway) และทางหลวงสายหลักเพื่อเชื่อมโยงเมืองหลักในภูมิภาคและเพื่อติดต่อกับประเทศ เพื่อนบ้าน รวมถึงเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการเดินทางของประชาชนและการขนส่งสินค้า ตัวอย่างโครงการที่ ส�ำคัญ เช่น ทางหลวงเชื่อมโยงระหว่างประเทศ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองบางปะอิน-นครราชสีมา ทางหลวง พิเศษระหว่างเมืองสายบางใหญ่-บ้านโป่ง-กาญจนบุรี (เชื่อมต่อโครงการท่าเรือน�้ำลึกทวาย) และโครงการปรับปรุง เส้นทางหลวงระหว่างภาค

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

71


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

3. สาขาการขนส่งทางน�ำ้ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานการขนส่งทางน�ำ้ ภายในประเทศ รวมถึงการพัฒนาระบบการขนส่งชายฝัง่ เชือ่ มโยง กับท่าเรือต่างๆ เพื่อเพิ่มปริมาณการขนส่งทางชายฝั่งของประเทศและเป็นการเปิดประตูการขนส่งของอนุภูมิภาค ซึ่ง เป็นการเพิ่มทางเลือกในการขนส่งสินค้าที่ประหยัดต้นทุน เนื่องจากการขนส่งสินค้าทางเรือมีต้นทุนต�่ำที่สุด นอกจากนี้ การสร้างท่าเรือแห่งใหม่ในฝั่งทะเลอันดามันและอ่าวไทยโดยมีการเชื่อมต่อท่าเรือของทั้ง 2 ฝั่งโดยเส้นทางรถไฟและ ถนนเพื่อเป็น Land Bridge เชื่อมต่อมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งเป็นการลดระยะทางและระยะเวลา ในการขนส่งสินค้าข้ามมหาสมุทรอีกด้วย 4. ระบบโครงสร้างด่านศุลกากร เพือ่ สนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน และสิง่ อ�ำนวยความสะดวกในการเดินทาง การค้า และ การขนส่งกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้มีการบรรจุโครงการก่อสร้างและปรับปรุงระบบโครงสร้างพื้นฐานด่านศุลกากรของ ประเทศด้วย (ในส่วนของการสร้างหรือปรับปรุงด่านศุลกากรตามเขตการค้า และการจัดหาครุภัณฑ์ที่จ�ำเป็นในการ ปฏิบัติงาน เช่น เครื่องเอ็กซเรย์สินค้า) เพื่อเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานด้านศุลกากร และเพื่อรองรับการขยายตัว ทางเศรษฐกิจและการย้ายฐานการผลิตที่คาดว่าเพิ่มขึ้นจากการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะท�ำให้เกิดการ ค้าขายและการเดินทางผ่านด่านชายแดนมากขึน้ นอกจากนี้ ยังได้มกี ารบูรณาการการลงทุนร่วมกับกระทรวงคมนาคม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการขนส่งให้สามารถด�ำเนินการขนส่งและกระจายสินค้าได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ตรงเวลา และประหยัด โดยการจัดตั้งสถานีขนส่งสินค้า 15 แห่ง ทั่วประเทศ ปรับปรุงและก่อสร้างถนนเพื่อเชื่อมต่อเขตการค้า การลงทุนกับแหล่งผลิต เมืองหลักต่างๆ ในภูมิภาค และด่านชายแดนที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย อย่างไรก็ดี มีโครงการลงทุนบางส่วนทีร่ ฐั วิสาหกิจสามารถระดมทุนเองได้ โดยพิจารณาจากศักยภาพและความ สามารถในการระดมทุนของหน่วยงานเจ้าของโครงการ รูปแบบของโครงการลงทุนทีม่ รี ายได้เพียงพอต่อการคืนทุน และ โครงการที่สามารถให้เอกชนเข้าร่วมลงทุนในรูปแบบ Public-Private Partnerships : PPPs ยกตัวอย่าง เช่น

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

72


Annual Report

2012 2555

• โครงการก่อสร้างและขยายสนามบินสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 • โครงการก่อสร้างและขยายท่าเรือน�้ำลึกแหลมฉบัง • โครงการจัดหาหัวรถจักรและล้อเลื่อนส�ำหรับขนส่งสินค้า • ระบบการเดินรถไฟฟ้าในโครงการลงทุนก่อสร้างรถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 10 สายทาง แนวทางการระดมทุนในร่าง พ.ร.บ. ที่รัฐบาลเป็นผู้รับภาระและระดับหนี้สาธารณะ ระดับหนีส้ าธารณะของประเทศ ณ กันยายน 2555 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 45.45 ของ GDP เป็นระดับทีส่ ามารถบริหารจัดการได้ โดยยังมี Fiscal Space ส�ำหรับภาครัฐในการระดมทุนเพื่อลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ นอกจากนี้ สถานะด้านต่างประเทศของไทยทีม่ เี งินส�ำรองระหว่างประเทศ กว่า 1.81 แสนล้านเหรียญสหรัฐ ซึง่ แสดงถึงเสถียรภาพทางการเงินของประเทศและศักยภาพในการรองรับการลงทุนของ ไทยต่อนักลงทุนทัว่ โลกมีความแข็งแกร่ง สบน. มีเครือ่ งมือทางการเงิน (อาทิ พันธบัตรรัฐบาล เงินกูจ้ ากธนาคารพาณิชย์ ตัว๋ สัญญาใช้เงิน และพันธบัตรออมทรัพย์) ที่สามารถรองรับการระดมทุนจากการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งที่รัฐบาลรับภาระการลงทุน วงเงิน 2 ล้านล้านบาท โดย สบน. สามารถใช้เครือ่ งมือดังกล่าวระดมทุนได้ประมาณ 1.15 ล้านล้านบาท ต่อปี ซึง่ เพียงพอต่อ ประมาณการเบิกจ่ายเงินลงทุนภายใต้ร่าง พ.ร.บ. ที่กระจายในแต่ละปีระหว่างปี 2556 - 2563 โดยการระดมทุน ส�ำหรับโครงการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานขนาดใหญ่ โดยเฉพาะในส่วนของโครงการลงทุนของรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงาน ของรัฐที่รัฐบาลเป็นผู้รับภาระการลงทุนในส่วนของโครงสร้างพื้นฐาน สบน. จะพิจารณาระดมทุนในประเทศเป็นหลัก เนื่องจากต้นทุนการกู้เงินของรัฐบาลต�่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับรัฐวิสาหกิจ หรือการระดมทุนจากต่างประเทศ อีกทั้ง รัฐบาลสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงได้มีประสิทธิภาพมากกว่ารัฐวิสาหกิจด�ำเนินการเอง โดยแนวทางในเบื้องต้น จะเป็นการเปิดวงเงินกู้กับธนาคารพาณิชย์เพื่อลดต้นทุนจากการกู้เงินมากองไว้ เนื่องจากการเบิกจ่ายเงินจะเป็นไป ตามความคืบหน้าของโครงการ จึงไม่เป็นการสร้างภาระในการบริหารเงินสดและเกิดเป็นภาระต้นทุนการกู้เงินกรณีที่ โครงการเกิดความล่าช้าหรือไม่สามารถเบิกจ่ายเงินได้ทันที ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

73


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

อย่างไรก็ดี เมือ่ มีการเบิกจ่ายวงเงินกูท้ มี่ ขี นาดเพียงพอ สบน. จะด�ำเนินการออกพันธบัตรรัฐบาลเพือ่ ใช้ในการปรับ โครงสร้างหนีท้ เี่ ป็นเงินกูก้ บั ธนาคารพาณิชย์ เนือ่ งจากพันธบัตรรัฐบาลมีตน้ ทุนการกูเ้ งินระยะยาวทีถ่ กู กว่าและสามารถ ใช้วางแผนการบริหารการช�ำระคืนหนี้ได้มีประสิทธิภาพกว่า

กรอบความยั่งยืนทางการคลังและการช�ำระหนี้ สบน. ได้ประมาณการระดับหนี้สาธารณะจากการระดมทุนเพื่อโครงการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานด้าน คมนาคมขนส่งที่รัฐบาลรับภาระการลงทุน วงเงิน 2 ล้านล้านบาทแล้ว ระดับหนี้สาธารณะต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 50 ซึง่ อยูใ่ นระดับทีส่ ามารถบริหารจัดการได้และยังต�ำ่ กว่ากรอบความยัง่ ยืนทางการคลังทีก่ ำ� หนดให้ระดับหนีส้ าธารณะต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 นอกจากนี้ สบน. มีแนวคิดในการก�ำหนดกรอบระยะเวลาและเงื่อนไขการช�ำระคืนหนี้ เพื่อให้รัฐบาลตระหนักถึงภาระต้นทุนและดอกเบี้ยในการด�ำเนินโครงการตามนโยบาย รวมไปถึงเป็นการส่งสัญญาณ ของรัฐบาลในเรือ่ งการสร้างวินยั ทางการคลัง เเละไม่เป็นการผลักภาระการช�ำระหนีใ้ ห้คนรุน่ หลัง เนือ่ งจากผูท้ จี่ ะได้รบั ประโยชน์มากที่สุดจากการลงทุนครั้งนี้จะอยู่ในช่วง 50-60 ปีนับจากนี้ อีกทั้งยังเป็นการช่วยรักษาระดับหนี้สาธารณะ ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

74


Annual Report

2012 2555 การบริหารจัดการโครงการ เพื่อให้กระบวนการท�ำงานและการบริหารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพ จ�ำเป็นต้องก�ำหนดแนวทางการบริหาร จัดการเพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงกระบวนการท�ำงานจนครบวงจร ตั้งแต่กระบวนการวางแผนการกู้เงิน การกู้เงิน การ บริหารเงินกู้ และการติดตามประเมินผลโครงการ โดยมีการจัดท�ำฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการจัดท�ำภาพรวมผลการ ด�ำเนินโครงการ การเบิกจ่ายเงินกู้ การประมาณใช้จ่ายเงินโครงการ ข้อมูลรายละเอียดโครงการ เช่น ขอบเขตของงาน ทุกโครงการ คุณสมบัติเฉพาะ สัญญาจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งจะรวบรวมและเก็บรักษาไว้ในฐานข้อมูลของ สบน. นอกจากนี้ ยังสามารถใช้เป็นเครือ่ งมือติดตามปัญหาและอุปสรรคของแต่ละโครงการ ตลอดจนสามารถเสนอแนะแนวทางการด�ำเนิน โครงการให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคได้ทันท่วงที เพื่อให้การด�ำเนินโครงการ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการเพือ่ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ ของภาครัฐ ให้เป็นไปตามแผนการด�ำเนินงาน และลดความเสี่ยงจากต้นทุนการกู้เงินที่สูงขึ้นเมื่อการด�ำเนินโครงการล่าช้า สบน. และส�ำนักงบประมาณจะท�ำหน้าทีว่ เิ คราะห์ความเหมาะสมของต้นทุนและค่าใช้จา่ ยของโครงการ และจัดสรร เงินกู้ โดยจัดล�ำดับความส�ำคัญของโครงการ การน�ำเสนอรูปแบบการกู้เงิน เงื่อนไขและข้อก�ำหนดภายใต้กฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้อง ความเสีย่ งและผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละขัน้ ตอนของการด�ำเนินโครงการ เพือ่ ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ นอกจากนี้ สบน. จะท�ำหน้าที่ติดตามความก้าวหน้าในการด�ำเนินงานและประเมินผลโครงการร่วมกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการ และป้องกันไม่ให้เกิดผลกระทบต่อต้นทุนการกู้ยืมเงินของรัฐบาล ต่อภาระการคลังและวินัยทางการคลังของประเทศมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์หลักของ สบน. ในการบริหาร หนีส้ าธารณะในเชิงรุกทีเ่ กีย่ วข้องกับการวิเคราะห์โครงการ และการบริหารหนีส้ าธารณะให้มตี น้ ทุนทีเ่ หมาะสม รวมถึง การบริหารความเสี่ยงทางการคลัง

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

75


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

เป้าหมายการลงทุน : ลงทุนแล้วได้อะไร? การลงทุนภายใต้รา่ ง พ.ร.บ. เป็นการลงทุนขนาดใหญ่เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและสร้าง ความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน อย่างไรก็ดี เนื่องจากงบประมาณที่ใช้มีจ�ำนวนมหาศาล ดังนั้น รัฐควรมีเป้าหมายและ จัดท�ำตัวชีว้ ดั ทีเ่ ป็นรูปธรรมส�ำหรับการลงทุนด้วยเพือ่ เป็นประโยชน์ตอ่ การติดตามประเมินผลการลงทุนของรัฐ และเพือ่ ให้การด�ำเนินโครงการมีความคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ - ต้นทุนการขนส่งสินค้าต่อ GDP ลดลงอย่างน้อยร้อยละ 2 (ปัจจุบันร้อยละ 15.2) - ลดการใช้นำ�้ มันเชื้อเพลิง 100,000 ล้านบาท/ปี - การเดินทางระหว่างจังหวัดโดยรถยนต์ส่วนบุคคลลดลงเหลือร้อยละ 40 - การเดินทางโดยระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 - การขนส่งสินค้าทางรางไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 - ความเร็วเฉลี่ยรถไฟขนส่งสินค้าและผู้โดยสารเพิ่มเป็น 60 และ 100 กม./ชม. - ลดระยะเวลาการเดินทางจากกรุงเทพมหานครไปสู่เมืองภูมิภาคในรัศมี 300 กม. จากกรุงเทพมหานครตามเส้นทางรถไฟฟ้าความเร็วสูงภายใน 90 นาที - การขนส่งสินค้าชายแดนมีมูลค่าเพิ่มขึ้นเฉลี่ยต่อปีไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 - การขนส่งสินค้าทางน�้ำไม่น้อยกว่าร้อยละ 19 อย่างไรก็ดี การใช้จ่ายในการลงทุนภาครัฐ (Public Capital Spending) ที่ท�ำให้เกิดการสะสมทุน (Stock Accumulation) และน�ำไปสู่ความเจริญเติบโตในประเทศที่ก�ำลังพัฒนายังไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากการลงทุน ภาครัฐในประเทศเหล่านี้มักมีโครงการที่ซ�้ำซ้อน สิ้นเปลือง และมีการทุจริตคอร์รัปชั่น ซึ่งมีผลต่อระดับการสะสมทุน และท�ำให้โครงการลงทุนด�ำเนินการไม่ดีและขาดประสิทธิผล ดังนั้น ในการลงทุนของภาครัฐควรมีการวางยุทธศาสตร์ การลงทุน การกลั่นกรองโครงการ การตั้งเป้าหมายการลงทุน และการติดตามประเมินผลเพื่อท�ำให้การลงทุนของ ภาครัฐเกิดประโยชน์สูงสุด

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

76


Annual Report

2012 2555 การพัฒนาและบริหารจัดการเงินกู้รัฐวิสาหกิจในทศวรรษแรก การกู้ยืมเงินของรัฐวิสาหกิจ : กรณีการให้กู้ยืมเงินต่อแก่รัฐวิสาหกิจ นางปัณฑารีย์ ศรีเเก้วพันธ์ นางสาวจุฑารัตน์ จุลริ ชั นีกร ส�ำนักจัดการหนี้ 2

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) โดยส�ำนักจัดการหนี้ 2 ได้ด�ำเนินการบริหารและจัดการเกี่ยวกับการจัดหา เงินกู้ การค�ำ้ ประกัน และการให้กยู้ มื เงินต่อแก่รฐั วิสาหกิจ ส�ำหรับโครงการเงินกูใ้ นประเทศและต่างประเทศ รวมถึงการ ให้คำ� ปรึกษา แนะน�ำแก่รฐั วิสาหกิจในการบริหารจัดการหนี้ โดยในส่วนของการให้กยู้ มื เงินต่อแก่รฐั วิสาหกิจเป็นกลไกหนึง่ ของรัฐบาลในการสนับสนุนการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศของรัฐบาล ส�ำหรับโครงการหรือ แผนงานที่มีความจ�ำเป็นเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยกระทรวงการคลังจะเป็นผู้กู้เงินและน�ำมาให้รัฐวิสาหกิจ กู้ยืมเงินต่อ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายส�ำหรับโครงการตามนโยบายรัฐบาลตามความเหมาะสมและจ�ำเป็น สบน. ได้ให้กู้ยืม เงินต่อแก่รัฐวิสาหกิจส�ำหรับโครงการหรือแผนงานที่รัฐบาลเห็นว่ามีความจ�ำเป็นเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค การทางพิเศษแห่งประเทศไทย องค์การส่งเสริมกิจการโคนม แห่งประเทศไทย องค์การอุตสาหกรรมห้องเย็น ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร บริษทั การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จ�ำกัด ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) เเละเทศบาล นครนครราชสีมา เป็นต้น จากการที่ภาวะเศรษฐกิจโลกมีความผันผวนและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลกระทบต่อประเทศไทยในการ พัฒนาประเทศและสมรรถนะการแข่งขันของประเทศ รัฐบาลจึงมีนโยบายในการกระตุ้นเศรษฐกิจเพื่อพัฒนาประเทศ ในด้านต่างๆ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure Projects) ด้านการคมนาคมขนส่งของประเทศซึง่ เป็นโครงการทีม่ ขี นาดใหญ่และใช้วงเงินด�ำเนินโครงการสูง แต่โดยทีง่ บประมาณ มีจำ� กัดประกอบกับงบลงทุนมีจำ� นวนเพิม่ สูงขึน้ ทุกๆ ปี การใช้งบประมาณปกติทงั้ หมด เพือ่ การลงทุนทางด้านโครงสร้าง พื้นฐานที่เป็นโครงการที่มีขนาดใหญ่ในหลายๆ โครงการพร้อมกัน จึงมีข้อจ�ำกัดในเรื่องของงบประมาณที่รัฐบาลจะ จัดสรรให้ในการลงทุนในโครงการดังกล่าว จึงมีความจ�ำเป็นให้รัฐวิสาหกิจกู้ยืมเงินต่อเพื่อน�ำมาลงทุนในโครงการ ดังกล่าวและรัฐบาลจะทยอยจัดสรรงบประมาณช�ำระคืนเงินกู้ให้แก่รัฐวิสาหกิจ เช่น โครงการลงทุนของการรถไฟ แห่งประเทศไทยและการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เป็นต้น ดังนั้น การให้กู้ยืมเงินต่อแก่รัฐวิสาหกิจจึง เป็นกลไกหนึ่งที่รัฐบาลใช้ในการระดมเงินทุนของรัฐวิสาหกิจ ส�ำหรับโครงการหรือแผนงานที่รัฐบาลเห็นว่ามีความ จ�ำเป็นเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมและรัฐบาลจะทยอยจัดสรรงบประมาณช�ำระคืนเงินกู้ให้แก่รัฐวิสาหกิจ จึงเป็น ภารกิจหน้าที่ของ สบน. โดยส�ำนักจัดการหนี้ 2 ในการให้กู้ยืมเงินต่อแก่รัฐวิสาหกิจดังกล่าว เพื่อให้สามารถด�ำเนิน โครงการได้อย่างต่อเนือ่ งและเป็นการสนับสนุนการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศตามนโยบายรัฐบาล โดยปีงบประมาณ 2553 เป็นต้นมา สบน. ได้ให้กู้ยืมเงินต่อแก่การรถไฟแห่งประเทศไทย เพื่อด�ำเนินโครงการรถไฟ ชานเมือง (สายสีแดง) ช่วงบางซื่อ-รังสิต จ�ำนวน 63,018 ล้านเยน หรือเทียบเท่า 23,134.41 ล้านบาท และใน ปีงบประมาณ 2554 ได้ด�ำเนินการให้กู้ยืมเงินต่อแก่การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เพื่อด�ำเนินโครงการ รถไฟฟ้าสายสีน�้ำเงิน ช่วงหัวล�ำโพง-บางแค และช่วงบางซื่อ-ท่าพระ จ�ำนวน 8,000.00 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นจาก ปีงบประมาณ 2553 ร้อยละ 34.58

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

77


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ผลการด�ำเนินงานในปีงบประมาณ 2555 สบน. ได้ด�ำเนินการให้กู้ยืมเงินต่อและเรียกเก็บช�ำระหนี้ที่กระทรวงการคลังให้กู้ยืมเงินต่อแก่รัฐวิสาหกิจโดยใน ต้นปีงบประมาณ 2555 มีหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่กู้ยืมเงินต่อจากกระทรวงการคลังที่ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระ รวมทั้งสิ้น จ�ำนวน 22,536.05 ล้านบาท และระหว่างปีงบประมาณ 2555 ได้ด�ำเนินการให้กู้ยืมเงินต่อแก่รัฐวิสาหกิจ เพื่อลงทุน ในโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งของประเทศ ได้แก่ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย จ�ำนวน 2 โครงการ รวมทัง้ สิน้ จ�ำนวน 14,303.06 ล้านบาท เพือ่ ด�ำเนินโครงการรถไฟฟ้าสายสีนำ�้ เงิน ช่วงหัวล�ำโพง-บางแค และ ช่วงบางซื่อ-ท่าพระ จ�ำนวน 12,303.06 ล้านบาท และโครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ช่วงแบริ่ง-สมุทรปราการ จ�ำนวน 2,000.00 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2554 ร้อยละ 78.79 และ ณ ปีงบประมาณ 2555 ได้เรียกเก็บช�ำระ หนี้เงินให้กู้ยืมต่อที่ครบก�ำหนดช�ำระไปแล้วรวมทั้งสิ้นจ�ำนวน 1,456.34 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2554 ร้อยละ 4.22 คงเหลือเงินให้กู้ยืมต่อที่ยังไม่ครบก�ำหนดช�ำระรวมทั้งสิ้นจ�ำนวน 35,382.77 ล้านบาท วงเงินการให้กู้ต่อกับรัฐวิสาหกิจ ล้านบาท 25000

23,134.41

20000 14,303.06

15000 10000

8,000.00

5000 0

ปี 2553

ปี 2554

ปี 2555

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

78

โครงการรถไฟ ชานเมือง (สายสีแดง) โครงการรถไฟสาย สีนำ�้ เงิน โครงการรถไฟสาย สีเขียว


Annual Report

2012 2555

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สวนที่

5

บทความพิ เ ศษ ของสำนักงานบร�หารหนี้สาธารณะ

2012 ทศวรรษ 2555 Annual

Report

รายงานประจำป

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PUBLIC 2012 DEBT MANAGEMENT ANNUAL REPORT : PUBLIC OFFICE DEBT MANAGEMENT OFFICE

79


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สัมภาษณ์อดีตผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ คุณพรรณี สถาวโรดม (9 ตุลาคม พ.ศ. 2545 - 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549)

ในสมัยทีด่ ำ� รงต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะจะขอกล่าวเป็น 2 ช่วง ช่วงแรก นับตั้งแต่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2541 ให้ความเห็นชอบ ในการจั ด ตั้ ง ส� ำ นั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ หรื อ สบน.เพื่ อ เป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ในการ ก�ำกับดูแลงานด้านการบริหารจัดการหนี้สาธารณะของประเทศ ทั้งในส่วนของการก่อหนี้ ในประเทศ รวมทั้งการช�ำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยเงินกู้ของรัฐบาล ซึ่งก�ำกับโดยกองธนาธิการ กรมบัญชีกลาง และ ในส่วนของการก่อหนี้จากต่างประเทศ ซึ่งก�ำกับโดยกองนโยบายเงินกู้ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ทั้งนี้ เพื่อให้งาน ก�ำกับดูแลหนีส้ าธารณะของประเทศมีความเป็นเอกภาพและมีประสิทธิภาพสูงสุด เหตุผลและความจ�ำเป็นในการจัดตัง้ สบน. กล่าวได้ว่า สืบเนื่องจากการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจเมื่อกลางปี 2540 ท�ำให้รัฐบาลมีความจ�ำเป็นต้องกู้เงินเป็น จ�ำนวนมาก โดยเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2540 รัฐบาลได้กู้เงินจาก IMF และมิตรประเทศ จ�ำนวน 14,500 ล้านเหรียญ สหรัฐ และได้ทยอยเบิกจ่ายเงินกู้เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของทุนส�ำรองเงินตราของประเทศตามล�ำดับ หลังจากนั้น นอกจากรัฐบาลโดยกระทรวงการคลังจะมีพันธะในการจัดหาเงินกู้จากต่างประเทศ ทั้งในรูปทวิภาคีและพหุภาคี เพื่อ ใช้จ่ายในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและเสริมสร้างความมั่นคงของระบบการเงิน ทั้งในส่วนของตลาดเงินและตลาดทุนของ ประเทศแล้ว รัฐบาลโดยกระทรวงการคลังยังมีพันธะในการบริหารจัดการเงินกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้แก่กองทุน เพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน หรือ FIDF ในวงเงินสูงถึง 1.4 ล้านล้านบาท ซึ่งเป็นความเสียหายใน ภาคการเงินอันเกิดจากวิกฤติเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ยังไม่รวมการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณและการกู้เงิน เพื่อ การลงทุนของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในแต่ละปีงบประมาณ จากความจ�ำเป็นดังกล่าว นับเป็น ครั้งแรกที่มีการกู้เงินมาเพื่อชดใช้ความเสียหาย ซึ่งเป็นการกู้เงินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้แต่อย่างใด ประกอบกับมีวงเงิน สูงถึง 1.4 ล้านล้านบาท จึงเป็นความท้าทายในการบริหารจัดการเงินกู้ดังกล่าว ซึ่งในเบื้องต้น คาดว่าจะต้องใช้เวลา กว่า 30 ปี ในการช�ำระคืนเงินกู้ ดังนั้น ในฐานะผู้น�ำองค์กรได้พิจารณาแล้วเห็นว่า สิ่งแรกที่เราจะต้องด�ำเนินการ คือ การสร้าง สบน. ให้มคี วามมัน่ คงและน่าเชือ่ ถือ โดยปรับวัฒนธรรมขององค์กรให้มจี ดุ ยืนร่วมกัน เพือ่ ประสานการท�ำงาน ของข้าราชการทีม่ าจาก 2 หน่วยงาน ซึง่ ต้องท�ำควบคูไ่ ปกับการบูรณาการกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการกูเ้ งิน ซึง่ มีอยูห่ ลายฉบับ เพื่อความเป็นเอกภาพในการบริหารจัดการเงินกู้และการค�้ำประกันเงินกู้ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวง การคลัง การก�ำหนดความรับผิดชอบที่ชัดเจนของหน่วยงานในก�ำกับของรัฐ รัฐวิสาหกิจ และองค์การปกครองส่วน ท้องถิ่น การสร้างความเข้มแข็งของสิ่งแวดล้อมภายนอกที่จะเอื้ออ�ำนวยต่อการกู้เงิน คือ การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ในประเทศ รวมทั้งการแต่งตั้ง Primary Dealer การน�ำระบบ Electronics มาใช้ในการประมูลพันธบัตรรัฐบาล และ การก�ำหนดตารางการออกพันธบัตรรัฐบาลอย่างเป็นระบบ ทั้งนี้ เพื่อสร้างอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง หรือ Benchmark ใน ตลาดตราสารหนีไ้ ทย ในการนี้ สบน. ได้รบั ความร่วมมืออย่างดียงิ่ จากกระทรวงการคลังสหรัฐอเมริกา ทีส่ ง่ ผูเ้ ชีย่ วชาญ มาร่วมท�ำงานกับเราเป็นเวลากว่า 4 ปี ประกอบกับภาวะตลาดการเงินเอือ้ อ�ำนวยตามระดับการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ และการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ ในชั้นนั้น สบน. จึงสามารถด�ำเนินการจนถึงขั้นการก�ำหนดกลยุทธ์ในการ บริหารจัดการหนี้ในเชิงรุก และน�ำนวัตกรรมทางการเงินที่มีการพัฒนาตลอดเวลาตามกระแสโลกาภิวัตน์ มาใช้ในการ บริหารจัดการหนี้สาธารณะของประเทศให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

80


Annual Report

2012 2555 การท�ำงานของ สบน. จะมีจุดเด่น คือ เราต้องท�ำงานอย่างทันคน ทันงาน และทันการณ์ จึงเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ ข้าราชการ สบน. ที่ประสบความส�ำเร็จในการท�ำงานต้องฝึกตนเองให้มีความพร้อมในการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา ต้อง สร้างความยอมรับของผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน อาทิ องค์กรระหว่างประเทศ รัฐบาลต่างประเทศ สถาบันการเงิน และนักลงทุนในตลาดเงินและตลาดทุน ทั้งในและต่างประเทศ นักวิชาการ ผู้สื่อข่าว และประชาชนผู้เสียภาษี ซึ่งเป็น ปัจจัยส�ำคัญหรือที่มาของการก�ำหนด Motto ของ สบน. ที่ว่า “โปร่งใส วินัยดี มีเครดิต” ในช่วงแรกของการด�ำเนินงาน ยอดหนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นจากจ�ำนวน 664.8 พันล้านบาท ในปีงบประมาณ 2539 เป็นจ�ำนวน 2,931.7 พันล้านบาท ในปีงบประมาณ 2544 ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 14.7 และร้อยละ 57.58 ของ GDP ตามล�ำดับ โดยมีสัดส่วนสูงสุดในปีงบประมาณ 2543 อยู่ที่ระดับ 58.04 ของ GDP ซึ่งยังคงอยู่ในกรอบความยั่งยืน ทางการคลัง คือ ไม่เกินร้อยละ 60 ของ GDP พวกเราต้องท�ำงานหนัก และต้องท�ำงานแข่งกับเวลามากน้อยเพียงใด พวกเราทุกคนย่อมจ�ำกันได้ดี แต่ก็มั่นใจว่า พวกเราสามารถท�ำงานอย่างมีความสุข อันเกิดจากความส�ำเร็จของงาน เป็นที่ไว้วางใจของกระทรวงการคลังและรัฐบาล ทั้งยังเป็นที่ยอมรับของผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน สอดคล้องกับ เจตนารมณ์ที่วางไว้ทุกประการ ส�ำหรับในช่วงที่ 2 เป็นช่วงทีม่ กี ฎหมายยกระดับ สบน. เป็นกรม ซึง่ มีผลบังคับใช้ ครบถ้วนบริบรู ณ์ในวันที่ 9 ตุลาคม 2545 พวกเราจึงก�ำหนดวันที่ 9 ตุลาคม เป็นวัน สถาปนา สบน. เรามีการท�ำบุญตามประเพณีอย่างสมถะที่โรงพยาบาลสงฆ์ ด้วยข้อจ�ำกัดในหลายประการ สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดในช่วงนี้ คือ การประกาศใช้ พระราชบัญญัตกิ ารบริหารหนีส้ าธารณะ พ.ศ. 2548 ซึง่ พวกเราได้เตรียมงาน รองรับ (1) การออกกฎกระทรวงว่าด้วยการออกตราสารหนี้ เพือ่ ยกระดับ การออกตราสารหนี้ของรัฐบาลให้เป็นไปอย่างมีระบบ สอดคล้องกับ มาตรฐานสากล มีความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ และ (2) การออกระเบียบต่างๆ เช่น ระเบี ย บกระทรวงการคลั ง ว่าด้วยการบริหารหนีส้ าธารณะ พ.ศ. 2549 เพือ่ ให้สว่ นราชการและ รัฐวิสาหกิจต่างๆ ถือปฏิบัติ รวมทั้งการเตรียมการก�ำหนดสาระ ส�ำคัญในรายงานทีจ่ ะต้องน�ำเสนอคณะรัฐมนตรีเมือ่ มีรฐั บาลใหม่ และรายงานน�ำเสนอรัฐสภา ทั้งในส่วนของการกู้เงินและการ ค�้ำประกันเงินกู้ในปีงบประมาณหนึ่งๆ รวมทั้งผลสัมฤทธิ์ ของการกูเ้ งินและการค�ำ้ ประกันเงินกูด้ งั กล่าว นอกจากนัน้ สบน. ยังได้น�ำระบบ Risk Management มาปรับ ใช้ในการวิเคราะห์เพื่อประโยชน์ในการบริหารความเสี่ยง ของการก่อหนี้ของภาครัฐในมิติตา่ งๆ การจัดท�ำ Credit Scoring เพื่อก�ำหนดค่าธรรมเนียมค�้ำประกัน รวมทั้งการน�ำระบบ Treasury มาใช้เสริมระบบ GFMIS เพือ่ บริหารงานทางด้าน Cash Management ให้เป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพและทันการณ์ และการวางระบบติดตามและประเมินผลการด�ำเนิน โครงการเงินกู้ ในขณะเดียวกัน สบน. ยังคงพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลหนี้สาธารณะตามโครงการ CS-DRMS อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการศึกษาความเป็นไปได้ในการน�ำระบบ Treasury มาใช้ในส่วนของ การจัดเก็บข้อมูลหนี้สาธารณะด้วย เพื่อลดกระดาษ ลดเวลา และเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงาน ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

81


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ผลงานที่ส�ำคัญของ สบน. ที่น่าภาคภูมิใจ คือ การด�ำเนินการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ไทยที่สามารถด�ำเนินการได้ อย่างต่อเนื่อง มีการบริหารจัดการหนี้เพื่อลดต้นทุนการกู้เงินตามที่ภาวะตลาดจะเอื้ออ�ำนวย รวมทั้งการลดหนี้คงค้าง โดยการขอช�ำระหนี้คืนก่อนครบก�ำหนดบางส่วน ซึ่งในการด�ำเนินการ สบน. ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณเพื่อการ ดังกล่าว แต่เป็นผลจากการบริหารงบช�ำระหนี้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับสภาวะตลาดเอื้ออ�ำนวย และแหล่ง เงินกู้จากมิตรประเทศ เช่น รัฐบาลญี่ปุ่น รวมทั้งธนาคารโลก และธนาคารพัฒนาเอเชียให้การสนับสนุน ในช่วงปี งบประมาณ 2543-2549 สบน. จึงสามารถลดต้นทุนการกู้เงินและลดยอดหนี้คงค้างได้เป็นเงินสูงถึง 1 ล้านล้านบาท นับเป็นความภาคภูมิใจของพวกเราชาว สบน. งานที่ส�ำคัญอีกด้านหนึ่งก็คือ ความส�ำเร็จในการออกพันธบัตรรัฐบาลไทยในต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็นตลาดทุน ยูโร หรือตลาดทุนญี่ปุ่น ซึ่งนอกจากจะได้รับการตอบรับที่ดีจากนักลงทุนต่างๆ แล้ว ยังถือได้ว่าเป็น Benchmark ที่ดี เมื่อเปรียบเทียบกับพันธบัตรของรัฐบาลต่างประเทศที่มี Credit Rating อยู่ในระดับใกล้เคียงกัน นอกจากนั้น ในช่วงนี้ ยังได้สนับสนุนให้องค์กรระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารโลก ธนาคารพัฒนาเอเชีย และรัฐบาลหรือองค์กรของรัฐบาล ต่างประเทศ มาออกพันธบัตรสกุลเงินบาทในตลาดทุนไทย ซึ่งนอกจากจะเป็นส่วนหนึ่งของแผนพัฒนาตลาดตราสาร หนีไ้ ทยแล้ว ยังเป็นการลดผลกระทบจากเงินทุนไหลเข้า โดยธนาคารพัฒนาเอเชียเป็นสถาบันการเงินระหว่างประเทศ แห่งแรกที่ออกพันธบัตรเงินบาท ในวงเงิน 4,000 ล้านบาท เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2548 และธนาคารเพื่อความ ร่วมมือระหว่างประเทศของญีป่ นุ่ หรือ JBIC (Japan Bank for International Cooperation) ซึง่ เป็นสถาบันการเงินผู้ ให้เงินกูเ้ พือ่ การพัฒนาของรัฐบาลญีป่ นุ่ ได้ออกพันธบัตรเงินบาท ในวงเงิน 3,000 ล้านบาท เมือ่ วันที่ 7 กันยายน 2548 ในอนาคต ต้องการให้ สบน. รักษาความเป็นเอกลักษณ์ของ สบน. ในการเป็นหน่วยงานที่สามารถ “เสกกระดาษ ให้เป็นเงิน” ซึ่งจะท�ำได้ดีมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับเครดิตของประเทศ วัฒนธรรมขององค์กร และความน่าเชื่อถือ ของบุคลากรของ สบน. ดังนั้น การเป็นนักบริหารมืออาชีพที่มี Leadership มี Changes ต้องท�ำงานอย่างทันคน ทันงาน ทันการณ์ และต้องพร้อมที่จะเรียนรู้ตลอดเวลา โดยยึดมั่นอยู่ในความซื่อสัตย์สุจริต และค�ำนึงถึงผลประโยชน์ ของประเทศชาติโดยรวมเป็นหลัก ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญยิ่งส�ำหรับข้าราชการ สบน. ในโอกาสที่ สบน. ได้ด�ำเนินงานมา ครบ 1 ทศวรรษ ในวันที่ 9 ตุลาคม 2555 ขอให้พวกเรารักษาเอกลักษณ์ในความเป็น สบน. ให้คงอยู่คู่ สบน. ตลอดไป มีพลังและมีสติในการท�ำงาน รักษ์สุขภาพ และขอให้ท�ำงานอย่างมีความสุข ด้วยรักและผูกพัน พรรณี สถาวโรดม ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ ตุลาคม 2545 - พฤศจิกายน 2549

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

82


Annual Report

2012 2555 สัมภาษณ์อดีตผู้อำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

คุณพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์ (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 - 30 กันยายน พ.ศ. 2552) ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งรองปลัดกระทรวงการคลัง ความเป็นมาและความรู้สึกของท่านในสมัยที่ได้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ และในสมัยของท่าน สบน. เป็นอย่างไร? ผมได้มารับต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะประมาณปลายๆ ปี พ.ศ. 2549 จากทีไ่ ม่เคยดูแลและด�ำเนินการเกีย่ วกับเรือ่ งเงินกูเ้ ลย ก็ได้มาเรียนรูแ้ ละก็ได้ทำ� งาน อย่างเต็มที่ เพราะบุคลากร สบน. ในยุคนั้นมีความเข้มแข็งมาก และระหว่างที่ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ เรื่องที่ผมภูมิใจ คือ เรื่องที่ 1 การแก้ไขกฎหมายบริหารหนี้สาธารณะ ในประเด็นที่เป็นจุดอ่อน ประเด็นแรก การที่กระทรวงการคลัง กู้เงินบาทแล้วให้รัฐวิสาหกิจกู้ต่อเป็นเงินบาทเช่นเดียวกัน สมัยก่อนยังไม่สามารถท�ำได้ หลังจากนั้นมีการใช้อ�ำนาจ ตามมาตรานี้หลายกรณีด้วยกัน การให้กู้ต่อในเรื่องของรถไฟฟ้า กู้เป็นเงินบาทแล้วปล่อยกู้ต่อไปยังการรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชนเเห่งประเทศไทย (รฟม.) หลายรัฐวิสาหกิจมีการใช้วิธีการนี้ สมัยก่อนที่จะมีการแก้ไขสามารถค�้ำประกัน ได้อย่างเดียว คือรัฐวิสาหกิจต้องไปกูเ้ อง ซึง่ ดอกเบีย้ อาจจะสูงกว่าทีร่ ฐั บาลไปกูแ้ ล้วให้กตู้ อ่ สามารถท�ำประโยชน์ให้กบั ประเทศชาติในการประหยัดต้นทุนการกูเ้ งิน ประเด็นทีส่ อง คือ การให้อำ� นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งินมาโดยทีไ่ ม่ตอ้ งรอ ให้งบประมาณขาดดุล จุดประสงค์ คือ เพื่อการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ และมีการตั้งกองทุนพัฒนาตลาดตราสารหนี้ การแก้ไขครั้งนี้ท�ำให้รัฐบาลสร้างความเชื่อมั่นให้กับตลาดตราสารหนี้ว่ารัฐบาลจะมี supply ของตราสารหนี้ให้ตลาด อยู่ตลอดเวลา ไม่วา่ ฐานะทางการคลังจะเป็นอย่างไร เรื่องที่ 2 การปรับโครงสร้างองค์กรของ สบน. สมัยก่อน สบน. จัดโครงสร้างขององค์กรตามหน้าที่ของงาน ซึ่ง การทีจ่ ะเป็นหน่วยงานบริหารหนีท้ มี่ ปี ระสิทธิภาพต้องมีการแบ่งให้ชดั เจนว่า ส่วน Front Offifice เป็นเรือ่ งของการติดต่อ ส่วนราชการที่จะมาใช้บริการของ สบน. ติดต่อประชาชนโดยตรง Middle Offifice เป็นเรื่องของการวิเคราะห์โครงการ วิเคราะห์แผนการบริหารหนี้ และ Back Offifice ท�ำหน้าที่เกี่ยวกับข้อมูลเอกสารต่างๆ ผมจึงเสนอกฎกระทรวงก�ำหนด โครงสร้างของ สบน. ใหม่จนเป็นผลส�ำเร็จ และอยู่มาจนถึงทุกวันนี้

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

83


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

เรือ่ งที่ 3 การกระตุน้ เศรษฐกิจ ประมาณปลายๆ ปี พ.ศ. 2551 ไทยประสบปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจ มีการปิดสนามบิน สุวรรณภูมิ ภาวะวิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ที่อเมริกา เศรษฐกิจไทยติดลบ 7% ในไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2552 จึ ง เป็ น ที่ ม าของความพยายามของ สบน. ในการเข้ า มากระตุ ้ น เศรษฐกิ จ โดยการออกมาตรการไทยเข้ ม แข็ ง ออกพระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูเเละเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 วงเงิน 4 แสนล้านบาท ซึง่ ในขณะนัน้ มีเงินอยูแ่ ล้วประมาณ 4 แสนล้านบาท เตรียมออกเป็นพระราชบัญญัตอิ กี โดยจะใช้ เงินทั้งหมด 8 แสนล้านบาท ท�ำโครงการไทยเข้มแข็ง เป็นครั้งแรกที่ สบน. เข้ามามีส่วนร่วมท�ำนโยบายเศรษฐกิจ ของรัฐบาล อาจจะแตกต่างจากสมัยนีท้ ี่ สบน. อาจจะเน้นการกูเ้ งินเป็นหลัก ผมเชือ่ ว่าการออกมาตรการไทยเข้มแข็ง เป็นสิง่ ทีท่ ำ� ให้เศรษฐกิจไทยสามารถฟืน้ ตัวอย่างรวดเร็ว ต้องขอบคุณ สบน. จริงๆ ในวันนัน้ สบน. ท�ำงานกันอย่างแข็งขันมาก เรือ่ งที่ 4 การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ เราได้สร้างพันธบัตรทีเ่ รียกว่า Benchmark Bond คือพันธบัตรรุน่ ทีม่ กี ารซือ้ ขาย กันอย่างหนาแน่น มีสภาพคล่อง มีคณ ุ ภาพสูงๆ ก็มาเกิดขึน้ ในตอนทีผ่ มเป็นผูอ้ ำ� นวยการ สบน. เราได้ออกพันธบัตรทีเ่ ป็นที่ ถูกใจของตลาด นักลงทุน สถาบันการเงิน บริษทั ประกันภัย ประกันชีวติ เราออกอย่างสม�ำ่ เสมอ 5 ปี 10 ปี 15 ปี 20 ปี จนถึง 30 ปี นีก่ น็ บั เป็นครัง้ แรกทีม่ กี ารออกพันธบัตร 30 ปี ในสมัยทีผ่ มด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นการสร้างสิง่ ทีจ่ ะเป็น Yield Curve ให้ ภาคธุรกิจเอกชนใช้เป็นอัตราดอกเบีย้ อ้างอิงในการออกพันธบัตรของภาคเอกชน ประการทีส่ อง ภายใต้การพัฒนาตลาด ตราสารหนี้ คือการท�ำให้พนั ธบัตรออมทรัพย์ (Saving Bond) เป็นทีน่ ยิ มของประชาชนในระดับรายย่อย ต้องยอมรับว่าตลาด ตราสารหนีเ้ ป็นตลาดทีซ่ อื้ ขายกันในระดับสถาบันมากกว่าระดับรายย่อย ดังนัน้ การพัฒนาพันธบัตรรัฐบาลให้เป็นทีน่ ยิ มของ ประชาชนรายย่อยถือเป็นภารกิจอันหนึง่ ที่ สบน. จะต้องท�ำ แล้วก็สามารถท�ำส�ำเร็จได้ในช่วงนัน้ โดยผมอยากจะเน้นว่า ตลาด ตราสารหนีเ้ ป็นสิง่ เดียวทีม่ คี วามส�ำคัญในการป้องกันเศรษฐกิจไทยไม่ให้เข้าไปสูใ่ นภาวะวิกฤติอย่างทีเ่ ราเคยประสบในสมัย ปี พ.ศ. 2540 โดยสมัยนัน้ ตลาดตราสารหนีใ้ นประเทศทีเ่ ป็นเงินบาทในประเทศแทบจะไม่มอี ยูเ่ ลย ต้องขอบคุณ สบน. ทีไ่ ด้ พัฒนาตลาดตราสารหนีเ้ งินบาทขึน้ มาเป็นตลาดทีม่ คี วามส�ำคัญเทียบเท่ากับตลาดหุน้ ตลาดสินเชือ่ ของระบบธนาคารพาณิชย์ ผลงานที่ผมกล่าวมาทั้งหมด 4 เรื่อง ถือเป็นผลงานชิ้นโบว์แดงของ สบน. ต้องขอขอบคุณบุคลากร สบน. ทุกคน ที่ท�ำให้เศรษฐกิจไทยวันนี้มีความเข้มแข็ง ตลาดการเงินของเรามีความแข็งแกร่งไม่น้อยหน้าประเทศอื่นๆ อาจจะเป็น เครื่องมือในการป้องกันไม่ให้ประเทศไทยเข้าสู่ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจเหมือนในอดีต ในอนาคตอยากให้ สบน. เป็นแบบใด? อย่างในประเทศที่มีการพัฒนาแล้วในโลก องค์กรที่มีลักษณะบริหารหนี้จะเป็นองค์กรกึ่งอิสระไม่ได้อยู่ในระบบ ราชการของกระทรวงการคลัง เรียกว่าเป็น DMO (Debt Management Offifice) มีความเป็นมืออาชีพ มีความเป็น อิสระในการตัดสินใจบริหารหนี้ เพราะเราถือว่าการบริหารหนี้เป็นการบริการ เป็นสาขาหนึ่งของการบริหารเศรษฐกิจ ที่มีความส�ำคัญ ไม่น้อยไปกว่านโยบายการคลัง นโยบายการเงิน ผมคิดว่าถึงเวลาแล้วที่ สบน. จะแยกตัวออกมาจาก ระบบการบริหารราชการทัว่ ไป มีโครงสร้างอัตราเงินเดือนทีแ่ ตกต่างจากราชการทัว่ ไป มีรายได้ของตัวเองโดยทีไ่ ม่ตอ้ ง ตั้งของบจากรัฐบาลกลาง ให้ สบน. สามารถตัดสินใจได้บนพื้นฐานของตลาดการเงิน กรอบกฎหมายที่ สบน. มีอยู่ ผมคิดว่าสิ่งนี้เป็นหัวใจส�ำคัญในการบริหารเศรษฐกิจในภายภาคหน้า ฝากทิ้งท้ายเนื่องในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของ สบน. สบน. ต้องมีการพัฒนา สร้างบุคลากรรุน่ ใหม่ๆ เพือ่ ขึน้ มาทดแทนบุคลากรทีจ่ ะมีการเกษียณ หากเราไม่สามารถสร้าง บุคลากรใหม่ขึ้นมาได้ อาจจะท�ำให้ สบน. ต้องปิดตัวลงก็ได้ ในวันนี้ผมอยากจะให้ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้าง ของ สบน. ทุกคนจงมีความภาคภูมิใจว่าเราเป็นมืออาชีพ ผมคิดว่าค�ำนี้เป็นค�ำส�ำคัญมาก ขอให้ทุกคนภาคภูมิใจว่าเรา คือ สบน. เราคือผูท้ เี่ ป็นเสาหลักของนโยบายการคลัง นโยบายพัฒนาตลาดทุนของประเทศ หากทุกคนตระหนักในความ ส�ำคัญของตัวเองแล้ว องค์กร สบน. ก็จะมีความเจริญรุง่ เรือง เราเป็นหน่วยงานทีท่ ำ� งานเพือ่ ชาติ เป็นมืออาชีพทีแ่ ท้จริง รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

84


Annual Report

2012 2555 สัมภาษณ์ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ คุณจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล (25 ธันวาคม พ.ศ. 2552 – 30 กันยายน พ.ศ. 2555 )

ความเป็นมาและความรู้สึกของท่านที่ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้ สาธารณะ และในสมัยของท่าน ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะเป็นอย่างไร? ในช่วงทีเ่ ข้ามารับต�ำแหน่งตอนแรกๆ นัน้ มีความตัง้ ใจมากทีจ่ ะพยายามผลักดันให้ สบน. มีความแข็งแกร่งโดยเฉพาะด้านบุคลากร ต้องการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ รับผิดชอบในงานทีต่ วั เองท�ำ สิง่ ทีพ่ ยายามปลุกปัน้ มากคือท�ำอย่างไรให้บคุ คลากร สบน. คิดเป็น สามารถแก้ไขปัญหาได้โดยไม่ต้องปล่อยให้ถึงระดับผู้บริหารเป็นผู้ตัดสินใจทุกอย่าง ซึ่งการด�ำเนินการได้มีการหารือ ท�ำความเข้าใจในเรื่องประเด็นปัญหา กฎหมาย เทคนิคต่างๆ ก็ท�ำให้การพัฒนาสามารถด�ำเนินมาได้ในระดับหนึ่ง ที่ค่อนข้างน่าพอใจ ประเด็นที่ 2 คือ การท�ำความชัดเจนในข้อปฏิบัติ ข้อกฎหมายต่างๆ ซึ่งในช่วงที่ผมมารับ ต�ำแหน่งใหม่ๆ จะมีปญ ั หาเรือ่ งการตีความในข้อกฎระเบียบ กฎหมายต่างๆ ได้มกี ารหารือกันในระดับผูบ้ ริหาร ท�ำความเข้าใจ ผูบ้ ริหาร ผูป้ ฏิบตั งิ าน ก็ทำ� ให้เรือ่ งของการตีความกฎหมาย ประเด็นติดขัดทีต่ อ้ งไปแก้ไขกฎหมายมีความชัดเจนมากขึน้ ประเด็นที่ 3 คือการเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส เป็นข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ เพือ่ ประชาชน และระดับผูบ้ ริหารของประเทศสามารถน�ำ ข้อมูลเรือ่ งหนีส้ าธารณะไปใช้อย่างเป็นประโยชน์ ได้มกี ารปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบนั มากทีส่ ดุ ใช้ระบบไอทีเข้ามาช่วย มีการจัดท�ำระบบไอทีเพือ่ รายงานฐานข้อมูลต่างๆ ให้ผบู้ ริหารใช้ประโยชน์ได้ผา่ นเครือ่ งมือต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นโทรศัพท์มอื ถือ ไอแพด และสามารถดูขอ้ มูลได้จากเว็บไซต์ของ สบน. ได้ ในขณะเดียวกันบุคคลภายนอกก็สามารถเข้าถึงข้อมูลเหล่านีไ้ ด้ ซึง่ ในช่วง 3 ปีทผี่ มด�ำรงต�ำแหน่งอยู่ ผมคิดว่าก็สามารถพัฒนาสิง่ เหล่านีไ้ ด้ดขี นึ้ มาในระดับหนึง่ และเป็นทีน่ า่ พอใจ ในอนาคตอยากให้ สบน. เป็นแบบใด? ผมอยากให้ สบน. เป็นอิสระในการบริหารหนีส้ าธารณะของประเทศ เรียกได้วา่ ความเป็นอิสระในการแสดงความคิดเห็น ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งของการก่อหนีส้ าธารณะ ความสามารถในการช�ำระหนี้ วิธกี ารด�ำเนินการต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับการก่อหนีส้ าธารณะ รวมถึงการน�ำเงินกูไ้ ปใช้ในโครงการต่างๆ การติดตามประเมินผลของโครงการ ว่าการใช้เงินกูม้ ปี ระสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ในอดีต ทีผ่ า่ นมาเราจะเห็นได้วา่ เงินกูส้ ว่ นใหญ่ เราจะใช้ไปในโครงการทีเ่ ป็นโครงสร้างพืน้ ฐานภาครัฐ เป็นการลงทุนขนาดใหญ่ เช่น การ สร้างเขือ่ น ถนน สนามบิน พอมาในช่วงหลังมีนโยบายทีจ่ ะให้ธนาคารของรัฐทีเ่ ป็น SFI เข้าไปสนับสนุนโครงการนโยบายมากขึน้ การใช้เงินก็จะเป็นจ�ำนวนทีส่ งู ขึน้ สิง่ เหล่านีเ้ ป็นสิง่ ที่ สบน. จะต้องดูแลอย่างรัดกุม มิเช่นนัน้ หนีส้ าธารณะทีเ่ กิดจากนโยบาย ช่วงหลังๆ นี้ เป็นภาระที่ สบน. ต้องช่วยดูแลแก้ไข เพราะถือว่าหนีไ้ ด้กอ่ มาแล้ว ความรับผิดชอบก็ไม่พน้ กระทรวงการคลัง ในฐานะ ที่ สบน. เป็นคนดูแลเรือ่ งหนีต้ อ้ งมีความรอบคอบ ความอิสระเป็นสิง่ ส�ำคัญทีจ่ ะบอกได้วา่ สิง่ ทีเ่ ราท�ำมีเหตุผลในการกระท�ำ และ เหตุผลรองรับอย่างไร อยากให้ สบน. มีความคิดและแสดงความคิดได้อย่างเป็นอิสระมากขึน้ ในอดีตทีผ่ า่ นมาโครงการทีเ่ ป็น โครงสร้างพืน้ ฐาน สบน. ได้จดั เตรียมเงินไว้พร้อม ส่วนใหญ่โครงการทีช่ า้ เกิดจากรัฐวิสาหกิจ เนือ่ งจากไม่สามารถด�ำเนินการได้ ตามแผน เมือ่ โครงการยังไม่มกี ารด�ำเนินการตามแผน สบน. ก็ไม่สามารถเบิกจ่ายเงินให้ได้ ซึง่ เป็นวินยั ทางการคลังที่ สบน. ควร จะต้องรักษาไว้ตอ่ ไป อยากจะฝากไปถึงผูท้ อี่ า่ นรายงานประจ�ำปีให้ทราบว่า สบน. มีความพร้อมเสมอทีจ่ ะสนับสนุนโครงการรัฐบาล และก็พร้อมทีจ่ ะเบิกจ่ายเงินทุกเวลา เพราะฉะนัน้ ความล่าช้าทีเ่ กิดจาก สบน. ไม่มแี น่นอน ฝากทิง้ ท้ายเนือ่ งในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของ สบน. สบน. ได้สร้างตลาดตราสารหนีข้ องประเทศขึน้ มา เป็นแหล่งระดมทุนของภาครัฐ ท�ำให้เสถียรภาพของตลาดสามารถ รองรับการระดมทุนของภาครัฐได้อย่างสมบูรณ์ โดยไม่จำ� เป็นทีจ่ ะต้องพึง่ พาตลาดต่างประเทศ ผมอยากให้ สบน. สามารถยก ระดับตลาดตราสารหนีใ้ ห้เป็นตลาดตราสารหนีช้ นั้ น�ำในภูมภิ าคนี้ ในขณะทีก่ ำ� ลังจะเปิด AEC เพือ่ นบ้านสามารถใช้ตลาดของ เราเป็นแหล่งระดมทุนเพือ่ การพัฒนาในภูมภิ าค ในขณะเดียวกันความร่วมมือต่างๆ ในประเทศเพือ่ นบ้านก็สามารถท�ำให้เรา เป็นผูน้ ำ� และเป็นผูด้ แู ลการลงทุนทัง้ หมดในภูมภิ าคนีไ้ ด้ เป็นสิง่ ทีผ่ มอยากจะเห็น สบน. เดินไปในทิศทางนี้ ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

85


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

1 ทศวรรษ การซื้อเงินตราต่างประเทศ เพื่อการช�ำระหนี้เงินกู้ต่างประเทศ นางสาวทิพรัตน์ ไชยศรี ส�ำนักบริหารการช�ำระหนี้

ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง พ.ศ. 2551 มีภารกิจ หลักหนึ่งในการด�ำเนินการจัดท�ำงบช�ำระหนี้ของรัฐบาล รวมทั้งการบริหารและด�ำเนินการช�ำระหนี้ โดยที่ผ่านมา ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ปฏิบัติหน้าที่ในด้านการ ช�ำระหนี้เงินกู้ตามอ�ำนาจหน้าที่ดังกล่าวอย่างเคร่งครัดให้ แก่แหล่งเงินกู้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยไม่เคย ผิดนัดช�ำระหนี้กับแหล่งเงินกู้ใดๆ ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 รัฐบาลไทยมีหนี้เงินกู้ ในประเทศจ�ำนวน 3,462,363.28 ล้านบาท หนี้เงินกู้ ต่างประเทศจ�ำนวน 52,647.68 ล้านบาท โดยมีหนีเ้ งินกูจ้ าก แหล่งเงินกู้ต่างประเทศ 4 แหล่ง คือ ธนาคารโลก (IBRD) ธนาคารพั ฒ นาเอเชี ย (ADB) องค์ ก ารความร่ ว มมื อ ระหว่างประเทศของญี่ปุ่น (JICA) และพันธบัตรเงินเยน ชนิดจ�ำหน่ายทั่วไปในตลาดทุนญี่ปุ่น (Samurai Bond) โดยมียอดหนี้เงินกู้ต่างประเทศคงค้าง 2 สกุลเงิน คือ สกุลเงินเยนจ�ำนวน 92,496,398,190 เยน และสกุลเงิน เหรียญสหรัฐจ�ำนวน 462,578,763.02 เหรียญสหรัฐ

A Decade of Experience in Managing Foreign Debt Repayments Under the Ministerial Regulation on the Organization of Public Debt Management Offifice, Ministry of Finance B.E. 2551 (2008), one of the key responsibilities of the Public Debt Management Offifice (PDMO) is to make sure that all government debt is repaid in full and on time. Ever since, PDMO has never missed a single repayment to any creditors, both domestic and international. As, of the 30th of September 2012, the government debt portfolio is composed of 3,462,363.28 million Baht of local currency and external debt of 52,647.68 million Baht of foreign currencies equivalent. Focusing on the government external debt, the composition of portfolio is divided between Yen and United States Dollar with outstanding debt in each currency of 92,496,398,190 Yen and 462,578,763.02 United States Dollar, respectively. Sources of Government’s external borrowing are from international organizations including World Bank, Asian Development Bank and Japan International Cooperation Agency (JICA), as well as international capital market through issuance of Samurai Bonds.

ADB 18.06%

IBRD 9.77%

ยอดคงค้างหนี้เงินกู้ต่างประเทศ แยกตามแหล่งเงินกู้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 External Debt Outstanding Classified by Source of Fund As of 30 September 2012 Samurai 23.41% รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

86

JICA 48.76%


Annual Report

2012 2555 JPY 72.17%

ยอดคงค้างหนี้เงินกู้ต่างประเทศ แยกตามสกุลเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 External Debt Outstanding Classified by Currency As of 30 September 2012

การซื้ อ เงิ น ตราต่ า งประเทศเพื่ อ ช� ำ ระหนี้ เ งิ น กู ้ ต่างประเทศตั้งแต่อดีต - ปี พ.ศ. 2548 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ด�ำเนินการซื้อเงิน ตราต่างประเทศจากธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) เพียงแห่งเดียวเพื่อช�ำระหนี้เงินกู้ต่างประเทศ โดยด�ำเนิน การแจ้งให้ธนาคารกรุงไทยฯ โอนเงินตราต่างประเทศ ให้แก่แหล่งเงินกู้ตามภาระหนี้ที่ครบก�ำหนดช�ำระ และให้ ธนาคารกรุงไทยฯ เรียกเก็บเงินบาทอันเป็นค่าเงินตรา ต่างประเทศจากส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ โดยใช้ อัตราขาย (Selling Rate) อัตราแรกของวันที่ช�ำระหนี้ ในการค�ำนวณค่าเงินบาท และธนาคารกรุงไทยฯ จะได้รบั เงินบาทจากกระทรวงการคลังภายหลังจากการโอนเงินตรา ต่างประเทศแล้วประมาณ 1-2 วันท�ำการ การพัฒนาการซือ้ เงินตราต่างประเทศเพือ่ ช�ำระหนีเ้ งินกู้ ต่างประเทศในปี พ.ศ. 2548 เนื่ อ งจากการด� ำ เนิ น การซื้ อ เงิ น ตราต่ า งประเทศ ในช่วงแรกเป็นการซื้อเงินตราต่างประเทศจากธนาคาร พาณิชย์เพียงธนาคารเดียว จึงท�ำให้ไม่เกิดการแข่งขันใน การเสนอราคาซึ่งอาจจะไม่เป็นราคาที่ต�่ำที่สุดและเป็น ประโยชน์สูงสุดแก่ทางราชการ อีกทั้งเป็นการซื้อเงินตรา ต่างประเทศได้เฉพาะ ณ อัตราแลกเปลี่ยนปัจจุบัน (Spot Rate) เท่านั้น และไม่เคยซื้อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Rate) จึงท�ำให้ไม่สามารถป้องกันความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลีย่ นในกรณีทมี่ คี วามผันผวนสูง หรือกรณี ที่มีภาระหนี้ครบก�ำหนดช�ำระในจ�ำนวนมากๆ ใน 1 วันได้ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะจึงได้ด�ำเนินการปรับปรุง การซื้อเงินตราต่างประเทศ ดังนี้

Purchase of Foreign Currencies for External Debt Repayment from the Past - 2005 Prior to 2005, foreign currencies debt repayment were done solely via Government’s own Commercial Bank; Krung Thai Bank Public Company Limited. The Bank is responsible for transferring of payment amount to a lender using the fifirst selling rate of a loan currency on the day of repayment. Afterwards, PDMO will transfer Baht equivalent amount to the Bank within the next 1-2 working days. Development of Foreign Currency Purchase for External Debt Repayment in 2005 Sole reliance on one commercial bank to provide external debt repayment service resulted in higher costs and lack of competition. Moreover, forward rate was not being utilized which makes the government vulnerable to exchange rate risk and refifinancing risk. Hence, to enhance competition and improve foreign loan repayment practice, PDMO introduced the following guidelines in 2005. 1. Surveys, Bidding and Leave Order In 2005 PDMO introduced alternative methods of purchasing foreign currencies including conducting market surveys, bidding and leave order. Specififif ically, PDMO had increased number of counter parties

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

87

USD 27.83%


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

1. การเปิดให้มกี ารแข่งขันด้านราคา ในช่วงปี พ.ศ. 2548 ส� ำ นั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะได้ ป รั บ เปลี่ ย นวิ ธีก าร ซื้อเงินตราต่างประเทศ โดยใช้การสอบราคา การประมูล และ Leave Order รวมทั้งเปิดโอกาสให้ธนาคารพาณิชย์ อื่นเข้ามาร่วมท�ำธุรกรรมซื้อ-ขายเงินตราต่างประเทศกับ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะเพิ่มเป็น 12 แห่ง โดย คัดเลือกจากประสบการณ์ของธนาคารพาณิชย์ในการโอนเงิน ให้กับแหล่งเงินกู้เดียวกันกับกระทรวงการคลังเป็นส�ำคัญ ทัง้ นี้ เพือ่ ลดความเสีย่ งในการโอนเงินทีอ่ าจจะผิดพลาดได้ ซึง่ หากเป็นเช่นนัน้ อาจจะเกิดความเสียหายต่อภาพลักษณ์ และเครดิตของประเทศได้ การเพิ่มจ�ำนวนธนาคารพาณิชย์เข้าร่วมท�ำธุรกรรมฯ ดั ง กล่ า ว ท� ำ ให้ มี ก ารแข่ ง ขั น เสนอราคาขายเงิ น ตรา ต่างประเทศ ท�ำให้สามารถจัดซือ้ เงินตราต่างประเทศได้ใน ราคาทีต่ ำ�่ ทีส่ ดุ ในช่วงเวลานัน้ ๆ ซึง่ ในการประมูลแต่ละครัง้ จะด�ำเนินการประมูลจากธนาคารพาณิชย์ จ�ำนวน 3-5 แห่ง ขึ้นอยู่กับวงเงินที่จะซื้อในแต่ละครั้ง 2. การเพิ่มวิธีการในการซื้อเงินตราต่างประเทศ โดย การซื้อเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Rate) ซึ่ง ที่ผ่านมาส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะไม่เคยใช้วิธีการนี้ ในการซื้อเงินตราต่างประเทศมาก่อน การซื้อเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้าท�ำให้สามารถรองรับการจัดหาเงิน ตราต่างประเทศในกรณีที่มีภาระหนี้ครบก�ำหนดช�ำระ จ�ำนวนมากใน 1 วัน ซึ่งอาจจะจัดหาภายใน 1 วันได้ไม่ ครบทั้งจ�ำนวน และเพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้มีผลกระทบ ต่ อ ตลาดอั ต ราแลกเปลี่ ย นในกรณี ที่ มี ก ารซื้ อ เงิ น ตรา ต่ า งประเทศจ� ำ นวนที่ สู ง มากต่ อ ครั้ ง รวมทั้ ง การซื้ อ Forward จะเป็นการปิดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ในกรณีที่อัตราแลกเปลี่ยนมีความผันผวน ท�ำให้มีเงินตรา ต่างประเทศทีจ่ ะช�ำระหนีแ้ ละทราบต้นทุนการช�ำระทีแ่ น่นอน และเพิ่มความยืดหยุ่นในการจัดหาเงินตราต่างประเทศ ในช่วงเวลาที่เหมาะสมได้ การพัฒนาการซือ้ เงินตราต่างประเทศเพือ่ ช�ำระหนีเ้ งินกู้ ต่างประเทศในปี พ.ศ. 2554 หลังจากที่ได้ด�ำเนินการท�ำธุรกรรมฯ กับธนาคาร พาณิชย์ทั้ง 12 แห่ง มาระยะหนึ่งแล้ว ส�ำนักงานบริหาร

to 12 commercial banks to engage in buy-sell of foreign currency transactions where 3-5 banks will be allowed to bid for the lower exchange rate. These banks were assessed based on their past experiences in providing fund transferring service to the Ministry of Finance’s lenders. By doing so, counter party risk, which threatens the country’s image and credit, was minimized. 2. Forwards By using forward instruments in managing foreign debt repayment, it minimizes the refifinancing risk of the Government especially when large repayment amount is due in one day. It not only ensures sufffiicient foreign currencies is available for debt repayment but also limits the exchange rate ffifl luctuation impact on domestic currency market from large transactions. Other benefififits include improved exchange rate risk management, early recognition of repayment cost in case of volatile market conditions, as well as increased ffl lexibility in obtaining foreign currencies within an appropriate period of time.

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

88


Annual Report

2012 2555 หนีส้ าธารณะเห็นว่า ธนาคารพาณิชย์ตา่ งๆ มีศกั ยภาพในการ โอนเงินตราต่างประเทศผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (SWIFT) ให้กบั แหล่งเงินกูต้ า่ งประเทศได้ทกุ แห่ง ดังนัน้ เพือ่ เป็นการ เพิม่ ทางเลือกในการซือ้ เงินกับธนาคารพาณิชย์ได้มากราย ขึ้น จึงยกเลิกเงื่อนไข “ประสบการณ์ของธนาคารพาณิชย์ ในการโอนเงิ น ให้ กั บ แหล่ ง เงิ น กู ้ เ ดี ย วกั น กั บ กระทรวง การคลัง” โดยในปัจจุบันส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ด�ำเนินการท�ำธุรกรรมฯ กับธนาคารพาณิชย์ทงั้ สิน้ 14 แห่ง ซึง่ การเพิม่ ธนาคารพาณิชย์มากรายขึน้ จะท�ำให้ตน้ ทุนการ ซื้อเงินอยู่บนพื้นฐานการแข่งขันด้านราคามากขึ้น อีกทั้ง ธนาคารพาณิชย์แต่ละแห่งมีความเชี่ยวชาญในตลาดเงิน แต่ละสกุลไม่เท่ากัน

Development of Foreign Debt Repayment in 2011 In 2011, PDMO abolished its requirement that only allows banks with history of transferring fund to the same lender as the Ministry of Finance’s to become a counter party in buy-sell of foreign currencies. Through the introduction of an electronic fund transfer system or SWIFT to all banks, PDMO was able to bring in an additional 2 banks as potential foreign currency exchangers. As a result, there has been an increase in price competition and banks’ specialization in providing foreign exchange transaction service to the Government’s debt repayment.

การพัฒนาการซื้อเงินตราต่างประเทศ เพื่อการช�ำระหนี้เงินกู้ต่างประเทศ

Developments of Foreign Debt Repayment

อดีต - พ.ศ. 2548

Prior to 2005

1 ธนาคาร

Spot rate

1 Bank

พ.ศ. 2548 - 2554 12 ธนาคาร Spot rate (ประสบการณ์ในการ Forward rate โอนเงินให้แหล่งเงินกู้)

Spot rate 2005 - 2011

12 Banks (Experiences in fund transfer to MOF’s lenders required)

พ.ศ. 2554 - ปัจจุบัน 14 ธนาคาร Spot rate (ยกเลิกประสบการณ์ในการ Forward rate โอนเงินให้แหล่งเงินกู)้

Spot rate Forward rate

2011 - Present

14 Banks (Experiences in fund transfer to MOF’s lenders NOT required)

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

89

Spot rate Forward rate


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ระบบสารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจ (EIS) นางสาวปฏิมา พักตร์ผอ่ ง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

ในยุคทีเ่ ทคโนโลยีมกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วและ ตลอดเวลา องค์กรต้องมีการปรับตัวเพื่อพร้อมรับความ เปลีย่ นแปลง กอปรกับการแข่งขันด้านระบบข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น จึงเป็นสิ่งที่ หลีกเลีย่ งไม่ได้เลยว่าการทีอ่ งค์กรจะอยูร่ อดได้นนั้ จะต้องมี ข้อมูลสารสนเทศทีถ่ กู ต้อง ทันสมัยและทันท่วงที องค์กรจึง จ�ำเป็นต้องมีการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจ (EIS : Executive Information System) เพือ่ ใช้ในการ ท�ำงานภายในองค์กร สนับสนุนการตัดสินใจให้กบั ผูบ้ ริหารของ องค์กรสามารถน�ำไปวางแผนหรือแก้ไขปัญหาได้อย่างทันการณ์ องค์ประกอบของข้อมูลสารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจนัน้ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาและจั ด หาแนวทางทั้ ง การเก็ บ รวบรวมข้อมูลให้ครบถ้วนทัง้ จากข้อมูลภายในและภายนอก องค์กร การเลือกสรรข้อมูลจากคลังข้อมูลทีม่ ขี อ้ มูลจ�ำนวนมาก และหลากหลายรูปแบบเพื่อน�ำมาวิเคราะห์ ประมวลผล และพัฒนาเป็นข้อมูลสารสนเทศทีม่ คี ณ ุ ค่า สามารถตอบสนอง ต่ อ การท� ำ งานของบุ ค ลากร ตอบสนองความต้ อ งการ ของผูบ้ ริหารระดับสูงขององค์กรได้ ดังนัน้ องค์กรจึงจ�ำเป็น ต้องมีเทคโนโลยีทสี่ นับสนุนองค์ประกอบต่างๆ ในการพัฒนา ระบบ EIS ขององค์กรให้เกิดประโยชน์สงู สุด BI (Business Intelligence) คือ เทคโนโลยีสำ� หรับ การรวบรวมข้อมูล จัดเก็บ วิเคราะห์ และการเข้าถึงข้อมูล รวมถึ ง การน� ำ เสนอข้ อ มู ล ในหลากหลายมุ ม มอง (Multidimensional Model) ช่วยให้ผปู้ ฏิบตั งิ าน และผูบ้ ริหาร ขององค์กรสามารถบริหารจัดการและตัดสินใจได้ดยี งิ่ ขึน้ การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ ส�ำหรับผูบ้ ริหารของส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) เพื่ อ เป็ น การสนั บ สนุ น งานด้ า นข้ อ มู ล สารสนเทศ ให้ บ รรลุ ภ ารกิ จ ตามยุ ท ธศาสตร์ ข อง สบน. อย่ า งมี ประสิทธิภาพ และเสริมสร้างความยั่งยืนทางการคลัง และการพัฒนาเศรษฐกิจ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ศทส.) ได้ให้ความส�ำคัญกับการจัดการระบบฐานข้อมูล สารสนเทศ โดยมีเป้าหมายเพื่อลดต้นทุนในการบริหาร

Executive Information System (EIS) In this era of rapid technological advancements, organizations must be ready to adapt to changes in its environment and be prepared for increasingly aggressive competition in technological information system. It is therefore inevitable for the survival organizations to have an accurate, constantly improving, and up-to-date ‘Executive Information System’ (EIS) to facilitate and support senior-level decision-making, as well as to plan ahead and solve strategic problems. The components of the Executive Information System for decision-making require research in order for information, both internal and external to the organization, to be completely collected and stored. The selection of information from a large data collection for the purpose of analysis and evaluation can aid in effificiency of the workforce. Hence, organizations must discover new technological improvements to develop their own EIS, so that it is as effective and benefificial to the organizations as possible. Business Intelligence is technology developed for information storage, evaluation and accessibility. The ‘Multidimensional Model’ also assists offificers and directors in the organization to manage and make better decisions, as information is understood from various perspectives. Improving the Executive Information System to Support Senior Executives in the Public Debt Management Offifice (PDMO) In order to utilize the EIS so that the PDMO can meet its mission and strategies effectively and build greater economic and fifinancial sustainability, Information Technology Center (ITC) stresses the importance of managing the EIS. The main targets are to reduce startup costs in managing information and to increase efficiency in the PDMO’s executives’ decision-making

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

90


Annual Report

2012 2555 จัดการข้อมูล และเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจของ ผู ้ บ ริ ห าร สบน. ให้ ส ามารถตั ด สิ น ใจได้ ทั น เหตุ ก ารณ์ หลากหลายมิติ สอดคล้องกับภาวะทางการคลัง และเศรษฐกิจที่ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ศทส. จึงได้จัดท�ำระบบข้อมูล สารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจ (EIS) โดยน�ำเทคโนโลยีธรุ กิจ อัจฉริยะ (Business Intelligence) มาบูรณาการระบบ ข้อมูลสารสนเทศให้ตรงตามวัตถุประสงค์ของ สบน. ได้แก่ • ลดความเสี่ยงหรือความเสียหายหรือการสูญเสีย โอกาสจากการใช้ข้อมูลหนี้สาธารณะ • เพื่อให้ สบน. มีข้อมูลหนี้สาธารณะเปรียบเทียบ ในแต่ละช่วงเวลา • สร้างความสะดวกและประหยัดเวลาในการใช้ ข้อมูลหนี้สาธารณะของนักวิเคราะห์และผู้บริหาร ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศที่มีการจัดการกับสารสนเทศและ สนับสนุนการตัดสินใจของผูบ้ ริหารให้เกิดประสิทธิภาพนัน้ เรียกว่า ระบบสารสนเทศทีเ่ น้นความสัมพันธ์การตัดสินใจ ในระดับการจัดการข้อมูลในระดับต่างๆ เพื่อให้เกิดการ บูรณาการในทิศทางเดียวกันในแต่ละระดับการใช้ข้อมูล โดยพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลในการติดตามและ วิเคราะห์ขอ้ มูลหนีส้ าธารณะในมิตติ า่ งๆ จากฐานข้อมูลระบบ GFMIS-TR และระบบ CS-DRMS เพือ่ ยกระดับความสามารถ ในการน�ำเสนอข้อมูลสารสนเทศหนีส้ าธารณะของ สบน. ใน การปรับเปลีย่ นมุมมองของรายงานข้อมูลให้กบั ผูบ้ ริหารได้ อย่างรวดเร็ว สามารถใช้ข้อมูลผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มอื ถือหรือ E-mail ได้อย่างสะดวก และสามารถ เข้าถึงข้อมูลได้งา่ ย ปราศจากเงือ่ นไขของเวลาและสถานที่

process. As a result, the decisions made are current, multidimensional and suitable for constantly fl fluctuating economic and ffi inancial conditions. Thus, ITC has established an EIS by integrating Business Intelligence with PDMO’s existing information and technological system to serve PDMO’s purposes as follows: • To reduce risks, problems and losses of the opportunity of using information; • To allow comparison of PDMO’s public debt data across different periods; and • To increase cost and time effificiency for analysts and executives in evaluating such information The Executive Information System for the Purpose of Decision-Making An EIS that encourages the effectiveness of executive-level decision-making is known as an EIS stressing a relationship between decision-making and information handling among employees in the organizational hierarchy. A better sense of unity and focus is created by developing a process of information management to analyze public debt data in various dimensions from the GFMIS-TR database and the CS-DRMS system. This will elevate PDMO’s ability to present their EIS and quickly adjust viewpoints of information presented to executives, whilst also facilitating information access through various platforms such as computers, smartphones and E-mails, without time and location constraints. Exec ut IS Level ive E stem

ระดับ บบ ระ นโยบ าย EIS ระบบ TR ระดับ ISกลยุท GFM /W) ธ์ (B IS-TR ระดับ M F G ปฏิบัต ิการ ระบบ (R/3)-DRMS CS ระบบ

Strat egi Level c

Oper a Syste tion m

Sy

R IS-T M F G ) (B/W

(R/3) -TR RMS S I M F -D em G CS Syst tem and tem Sys Sys

A Diagram Showing the Relationship between Decisions and Hierarchal Management of Information in PDMO

ภาพแสดงความสัมพันธ์การตัดสินใจ ในระดับการจัดการข้อมูลใน สบน.

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

91


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ ส�ำหรับผู้บริหารของ สบน. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ ส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห ารของ สบน. ประกอบไปด้ ว ยระบบ ข้ อ มู ล และโปรแกรมประยุ ก ต์ ด ้ า นการวิ เ คราะห์ ที่ น� ำ มาบู ร ณาการข้ อ มู ล (Integration of data) ทั้ ง จากการน� ำ เข้ า ข้ อ มู ล วิ เ คราะห์ และประมวลผล ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ และการสร้างรายงานในรูปแบบต่างๆ ที่ตรงตามความต้องการของ สบน. และเป็นข้อมูลที่เอื้อ ต่อการน�ำข้อมูลไปใช้สนับสนุนการตัดสินใจ แสดงความ สัมพันธ์ของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน และน�ำเสนอผลลัพธ์/ เเละพยากรณ์แนวโน้มที่อาจเกิดขึ้นได้ ดังนี้ - คลังข้อมูล (Data Warehouse) คือ ฐานข้อมูลขนาด ใหญ่ทรี่ วบรวมข้อมูลทัง้ หมดจากแหล่งข้อมูล ได้แก่ ฐานข้อมูล หนีส้ าธารณะจากระบบ GFMIS-TR และระบบ CS-DRMS - คลังข้อมูลขนาดเล็กทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะเจาะจง (Data Mart) คือ คลังข้อมูลขนาดเล็กทีม่ กี ารเก็บข้อมูลในลักษณะ เฉพาะเจาะจง เช่น การเก็บข้อมูลเฉพาะส่วนของหนี้ สาธารณะในประเทศที่รัฐบาลกู้ตรง ข้อมูลหนี้สาธารณะ ทีร่ ฐั บาลค�ำ้ ประกันและไม่คำ�้ ประกัน เป็นต้น ซึง่ ท�ำให้งา่ ย ต่อการน�ำข้อมูลไปใช้เพือ่ สร้างความสัมพันธ์และวิเคราะห์ - เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในหลายมิติ (OLAP) คือ การสืบค้นข้อมูลทีผ่ ใู้ ช้สามารถเลือกผลลัพธ์ ออกมาในรูปแบบของตารางหรือกราฟ โดยสามารถวิเคราะห์ ข้อมูลในมุมมองหลากหลายมิติ (Multi-Dimensional) โดยทีผ่ ใู้ ช้สามารถทีจ่ ะดูขอ้ มูลแบบเจาะลึก (Drill Down) ได้ตามต้องการ - การท�ำเหมืองข้อมูล (Data Mining) คือ การจัดท�ำ ชุดข้อมูลทีไ่ ด้วเิ คราะห์และประมวลผลแล้ว สามารถน�ำไป ใช้งานได้ในทันที ั หาทาง - การวิเคราะห์ (Analytics) และการแก้ปญ คณิตศาสตร์ (Operations Research & Numerical Methods) ของข้อมูลที่หลากหลายภายในองค์กร เช่น Excel, Dbase, Access, ORACLE, SQL Server เป็นต้น - ระบบสืบค้น ระบบรายงานต่างๆ และการพยากรณ์ ข้อมูล

Elements of the Executive Information System for the purpose of PDMO’s Executives’ Decision-Making The elements of the EIS for the purpose of executive-level decision-making in PDMO consist of an evaluative information system and applications that involve data integration. This starts from research, analysis and evaluation of a large information base. Then, numerous reports can be created in a variety of forms depending organisation’s needs. Those reports will then be used to support decision-making and to build on relationships and collaborations between information. Finally, results will be presented as a forecast of future trends. The elements are as follows: • Data Warehouse is a large information base that collects all information from various sources such as public debt information from the GFMIS-TR and CS-DRMS systems. • Data Mart is a small but more-specifific information base that stores classifified niche information such as the country’s public debt categorized as government loans, guaranteed, and non-guaranteed. Data Mart makes information analysis and relationship-building easier. • OLAP is a tool for information’s multidimensional analysis by which, users will be able to select results in forms of tables or graphs, as well as to analyze information in a multi-dimensional manner. A more advanced analysis or ‘drill down’ information navigation is also available for users. • Data Mining is a formation of evaluated and analyzed information so that it can be ready for further utilization. • ‘Analytics’ involve solving various types of internal information through ‘Operations Research and Numerical Methods’ using Excel, Dbase, Access, ORACLE, and SQL Server. • Data retrieval, reports, and forecasts.

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

92


Annual Report

2012 2555 การบริ ห ารจั ด การหนี้ เ งิ น กู ้ FIDF ด้วยพระราชก�ำหนดปรับปรุงการบริหาร หนี้เงินกู้ฯ FIDF พ.ศ. 2555 นางศรีอาภา เรืองรุจริ ะ ส�ำนักจัดการหนี้ 1 นายวรวุฒิ เเซ่ลมิ่ ส�ำนักบริหารการช�ำระหนี้

จากวิ ก ฤตการณ์ ท างเศรษฐกิ จ ครั้ ง ร้ า ยแรงเมื่ อ ปี พ.ศ. 2540 รั ฐ บาลได้ อ นุ มั ติ ก รอบการกู ้ เ งิ น กว่ า 1.4 ล้ า นล้ า นบาท เพื่ อ ชดใช้ ค วามเสี ย หายให้ กั บ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (กองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูฯ : FIDF) ภายใต้พระราชก�ำหนดและ มติคณะรัฐมนตรี ประกอบด้วย พระราชก�ำหนดให้อำ� นาจ กระทรวงการคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2541 (FIDF 1) วงเงิน 5 แสนล้านบาท มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2543 ให้กระทรวงการคลังให้ ความช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ เพิ่มเติม โดยการ ค�ำ้ ประกันพันธบัตรของกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูฯ จ�ำนวน 1.12 แสนล้านบาท (FIDF 2) และพระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจ กระทรวงการคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือ กองทุนเพื่อ การฟื้น ฟูแ ละพัฒนาระบบสถาบั นการเงิ น ระยะทีส่ อง พ.ศ. 2545 (FIDF 3) วงเงิน 7.80 แสนล้านบาท ทัง้ นี้ รัฐบาลได้กเู้ งินภายใต้กรอบวงเงินดังกล่าวรวมทัง้ สิน้ ช�ำระเเล้ว 172,195 ลบ. (13%)

The FIDF Loan Management under the Emergency Decree Improving the Management of Loans Made by the Ministry of Finance for Assisting the Financial Institutions Development Fund B.E. 2555 After the economic crisis in 1997, the government approved a loan of approximately 1.4 trillion Baht to cover losses of the Financial Institutions Development Fund (FIDF). This has been done under the Cabinet’s resolution and 2 emergency decrees: the Cabinet’s resolution on 31 October 2000 to approve the Ministry of Finance’s Additional Support to FIDF by Guaranteeing the FIDF bonds for 112 billion Baht (FIDF 2); the Emergency Decree Empowering the Ministry of Finance to Borrow and Administer the Borrowing to Assist the Financial Institutions Development Fund B.E. 2541 (FIDF 1) for 500 billion Baht; and the Emergency Decree Empowering the Ministry of Finance to Borrow and Administer the Borrowing to Assist the Financial Institutions Development Fund Phase II Paid 172,195 million Baht (13%)

คงค้าง 1,133,132 ลบ. (87%)

Outstanding 1,133,132 million Baht (87%)

สถานะเงินกู้ FIDF ณ 30 กันยายน 2555 ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

FIDF Loan Status As of 30 September 2012 Source : Public Debt Management Office

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

93


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

1.31 ล้านล้านบาท ซึง่ เงินกู้ FIDF ทัง้ หมดเป็นหนีส้ าธารณะ โดยรัฐบาลมีหน้าทีใ่ นการตัง้ งบประมาณเพือ่ ช�ำระค่าดอกเบีย้ ของเงินกู้ FIDF ตามกฎหมายตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 และ ในช่วงกว่า 13 ปีที่ผ่านมา ต้นเงินกู้ได้ช�ำระคืนเพียง 1.72 แสนล้านบาท ท�ำให้เป็นภาระงบประมาณทีร่ ฐั บาลจะต้อง จัดสรรเพื่อการช�ำระดอกเบี้ยปีละกว่า 6 หมื่นล้านบาท ก่อให้เกิดค่าเสียโอกาสและเป็นข้อจ�ำกัดในการบริหาร งบประมาณของประเทศเพือ่ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อกรอบความยั่งยืน ทางการคลังเป็นอย่างมาก เพื่อแก้ไขปัญหาภาระหนี้ดังกล่าว กระทรวงการคลัง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงได้หารือร่วมกันถึงแนวทาง การแก้ไขปัญหาหนี้ FIDF เพื่อให้รัฐบาลบริหารจัดการ หนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยได้เพิ่มกลไกการ ช� ำ ระหนี้ แ ละแหล่ ง ที่ ม าของเงิ น ที่ จ ะน� ำ มาช� ำ ระคื น ต้นเงินกูแ้ ละดอกเบีย้ เงินกูใ้ ห้มปี ระสิทธิภาพ ท�ำให้สามารถ ก�ำหนดระยะเวลาช�ำระคืนต้นเงินกู้ FIDF ได้แน่นอนยิง่ ขึน้ โดยผ่ า น “พระราชก� ำ หนดปรั บ ปรุ ง การบริ ห ารหนี้ เงินกู้ที่กระทรวงการคลังกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อ การฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2555” (พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนีเ้ งินกูฯ้ FIDF พ.ศ. 2555) ซึง่ มี ผลบังคับใช้เมือ่ วันที่ 27 มกราคม 2555 โดยพระราชก�ำหนด ดังกล่าวท�ำให้รัฐบาลไม่ต้องจัดสรรงบประมาณรายจ่าย เพื่อช�ำระค่าดอกเบี้ยเงินกู้ FIDF อีกต่อไป และคาดว่า จะสามารถช�ำระคืนหนี้เงินกู้ FIDF ได้เสร็จสิ้นภายใน 24 ปี อันจะยังประโยชน์ต่อการเพิ่มสัดส่วนงบลงทุนต่อ งบประมาณเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมถึง ลดข้อจ�ำกัดและเสริมสร้างความยั่งยืนในการบริหารงาน ด้านการคลัง ท�ำให้รัฐบาลสามารถก�ำกับดูแลเป้าหมาย ทางเศรษฐกิจควบคู่กับการรักษาเสถียรภาพทางการเงิน และการคลังของประเทศได้

B.E. 2545 (FIDF 3) for 780 billion Baht. In total, the government has borrowed 1.31 trillion Baht for FIDF loans which are considered public debt. Additionally, the government is legally responsible for setting the budget for FIDF loans’ interest payment since 1998. During the past 13 years, only 172 billion Baht of the principals has been repaid. As a result, the government needs to allocate a budget of approximately 60 billion Baht for the interest payment annually. This causes a limitation to the government’s budget management, as well as the opportunity cost to economic and social development. These problems have serious negative impacts on the country’s fiscal fisustainability. In order to solve the loan burden problem, the government and relevant agencies have collaborated in attempt to ffi ind an effective method of repaying the principals and interests by adding new FIDF loan repayment mechanisms and sources of funds. By doing this, the government is able to specify the principal repayment time more accurately through the Emergency Decree Improving the Management of Loans Made by the Ministry of Finance for Assisting the Financial Institutions Development Fund B.E. 2555 (hereafter the FIDF Loan Management Emergency Decree B.E. 2555), which became effective on 27 January 2012. According to this Emergency Decree, the government is no longer required to allocate a budget to pay for interests of FIDF loans, which are expected to be repaid within 24 years. Therefore, a proportion of investments to total budget can be increased, reducing the government’s budget management limitations and benefiting the economy’s fiscal sustainability. Furthermore, the Ministry of Finance is able to control their economic targets and enhance the country’s fiscal and ffi inancial stability simultaneously.

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

94


Annual Report

2012 2555 ดอกเบี้ย FIDF ที่ได้ชำ� ระจากเงินงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี ตั้งเเต่ปีงบประมาณ 2542-2555 Interests of FIDF Loan Paid by Annual Budget during Fiscal Years 1999-2012 ล้านบาท / million Bath 80,000.00 70,000.00

51

54

31

50,000.00 33,884.84

45

43

41

60,000.00 40,000.00

ร้อยละ/ Percent 60

35

36,660.1436,885.76 35,780.09 37,144.09

48

62,243.48 58,400.00 51,944.42

64,766.39

67.272.61

42

64,374.36 62,402.91 59,512.39 58,743.09

36

41

32

31

35

20

20,000.00

10

10,000.00 2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

2555

33,884.84 36,660.14 35,895.38 31,838.09 33,677.01 31,586.71 29,472.00 29,474.35 26,939.92 27,361.51 26,530.24 25,848.66 24,365.90 23,080.44

FIDF 2

-

-

FIDF 3

-

-

990.38 3,942.00 3,467.08 2,506.40 1,640.00 1,243.29 -

-

-

-

-

-

-

-

-

17,851.31 27,288.00 31,525.84 37,826.47 39,911.10 37,844.12 36,554.25 34,377.19 36,431.95

ผลรวม Total ร้อยละต่อ

33,884.84 36,660.14 36,885.76 35,780.09 37,144.09 51,944.42 58,400.00 62,243.48 64,766.39 67,272.61 64,374.36 62,402.91 58,743.09 59,512.39

Percentage of Debt Payment Budget

ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ Source : Public Debt Management Offif ice

งบช�ำระหนี้

40 30

30,000.00

FIDF 1

50

51

54

41

34

35

43

46

48

41

42

36

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

95

32

31

35

0


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ทั้งนี้ สาระส�ำคัญของ พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนี้ เงินกู้ฯ FIDF พ.ศ. 2555 ที่ต้องด�ำเนินการเพื่อให้การ บริหารจัดการหนี้เงินกู้ FIDF มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีดังนี้ (1) การลดเงินน�ำส่งเข้ากองทุนคุ้มครองเงินฝาก โดยออกพระราชกฤษฎีกาก�ำหนดอัตราเงินน�ำส่งเข้า กองทุนคุ้มครองเงินฝาก พ.ศ. 2555 ซึ่งปรับลดอัตราเงิน น�ำส่งจากเดิม ร้อยละ 0.40 ต่อปี ของยอดเงินฝากถัวเฉลีย่ ของบัญชีที่ได้รับความคุ้มครอง เป็นร้อยละ 0.01 ต่อปี ทั้งนี้ เงินน�ำส่งที่ลดลง สถาบันการเงินจะน�ำส่งให้ ธปท. เพือ่ ช�ำระคืนต้นเงินกูแ้ ละดอกเบีย้ ของกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูฯ ต่อไป ซึง่ คณะกรรมการสถาบันคุม้ ครองเงินฝากเป็นผูอ้ อก ประกาศหลักเกณฑ์ วิธีการค�ำนวณยอดเงินฝากถัวเฉลี่ย และประเภทเงินฝากที่ได้รับการคุ้มครองดังกล่าว (2) การน�ำส่งเงินของสถาบันการเงินให้ ธปท. เพื่อ ช�ำระคืนต้นเงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้ FIDF ธปท. ได้กำ� หนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร และอัตราเงินน�ำส่ง จากสถาบั น การเงิ น โดยให้ ส ถาบั น การเงิ น น� ำ ส่ ง เงิ น ในอัตราร้อยละ 0.46 ต่อปีของฐานเงินฝากที่ได้รับจาก ประชาชน ส�ำหรับน�ำไปช�ำระคืนต้นเงินกู้และดอกเบี้ย เงินกู้ FIDF โดยกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ (3) การน�ำส่งเงินของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ โดยร่ างพระราชบัญญัติกองทุนเพื่อการสนับสนุน และพัฒนาสถาบันการเงินเฉพาะกิจ พ.ศ. .... ให้สถาบัน การเงิ น เฉพาะกิ จ 4 แห่ ง ได้ แ ก่ ธนาคารออมสิ น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคาร อาคารสงเคราะห์ และธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย น�ำส่งเงินเข้ากองทุนเพื่อการสนับสนุนและพัฒนาสถาบัน การเงินเฉพาะกิจ ในอัตราที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การคลังประกาศก�ำหนด แต่ต้องไม่เกินร้อยละหนึ่งต่อปี ของยอดเงินฝากถัวเฉลี่ย โดยกองทุนเพื่อการสนับสนุน และพัฒนาสถาบันการเงินเฉพาะกิจมีวัตถุประสงค์เพื่อ ช่วยเหลือสถาบันการเงินเฉพาะกิจในการเพิ่มทุนตามมติ

The essence of the FIDF Loan Management Emergency Decree B.E. 2555, which aims to improve the management of FIDF loans, is as follows: (1) Reducing remittance to the Deposit Protecting Fund This is done by enacting the Royal Decree on Specification of Premiums Remittance Rate to Deposit Protection Fund B.E. 2555 which reduces the remittance rate of insured account’s average deposits from 0.40 to 0.01 percent per year. Financial institutions will return the reduced portion of remittance to the Bank of Thailand (BOT) for repayment of the principals and interests of FIDF. In this process, the Board of the Deposit Protection Agency will issue regulations, calculation methods of average deposits, and types of insured deposits. (2) The remittance of financial institutions to BOT to repay principals and interests of FIDF Loans BOT has established regulations, methods, and rates of remittance of financial institutions. The financial institutions are required to remit 0.46 percent annually of monetary base from the public deposits for repayment of the principal and interests of FIDF. (3) The remittance of Specific Financial Institutions: SFIs A draft of the Specific Financial Institutions Support and Development Act B.E. …. requires the 4 SFIs, which are the Government Saving Bank (GSB), the Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives (BAAC), the Government Housing Bank (GH Bank), and the Islamic Bank of Thailand (Ibank), remit to the Specific Financial Institutions Support and Development Fund at a rate prescribed by

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

96


Annual Report

2012 2555 คณะรั ฐ มนตรี ชดเชยความเสี ย หายในโครงการที่ สถาบันการเงินเฉพาะกิจด�ำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี ให้เงินกูแ้ ก่กองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูฯ ด�ำเนินการเพือ่ การสนับสนุน และพัฒนาระบบสถาบันการเงินเฉพาะกิจ และน�ำส่งเงินเป็น รายได้แผ่นดิน ซึ่งการให้เงินกู้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ส�ำหรับในกรณีที่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูขาดสภาพคล่อง ในการช�ำระหนี้เงินกู้ FIDF ทั้งนี้ ร่างพระราชบัญญัติ ดังกล่าวอยูร่ ะหว่างการตรวจพิจารณาของส�ำนักงานเศรษฐกิจ การคลังอีกครัง้ ภายหลังจากผ่านการพิจารณาแก้ไขเนือ้ หา สาระเพิ่มเติมของส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาแล้ว ก่อนจะน�ำเสนอร่างกฎหมายดังกล่าวให้คณะรัฐมนตรี พิจารณาต่อไป (4) การยุบเลิกกองทุนเพือ่ การช�ำระคืนต้นเงินกูช้ ดใช้ ความเสียหายของกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน (กองทุนเพื่อการช�ำระคืนต้นเงินกู้ฯ) โดยให้โอนเงินที่มีอยู่ของกองทุนเพื่อการช�ำระคืน ต้นเงินกูฯ้ ทัง้ หมดเข้าบัญชีสะสมเพือ่ การช�ำระคืนต้นเงินกู้ ชดใช้ความเสียหายของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนา ระบบสถาบันการเงิน (บัญชีสะสมฯ) ส�ำหรับใช้ช�ำระ ต้นเงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้ FIDF ที่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ เป็นผู้รับผิดชอบ รวมทั้งประกาศยุบเลิกพร้อมช�ำระบัญชี กองทุนเพื่อการช�ำระคืนต้นเงินกู้ฯ (5) ขยายอ�ำนาจหน้าที่ของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ โดยแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม พระราชบั ญ ญั ติ ธ นาคารแห่ ง ประเทศไทย (ฉบับที่ ) พ.ศ. .... รับผิดชอบเกี่ยวกับการ ช�ำระคืนต้นเงินกูแ้ ละดอกเบีย้ เงินกู้ FIDF ทัง้ หมด ซึง่ ยังคง ให้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ท�ำหน้าที่ช่วยเหลือทางการเงิน แก่สถาบันการเงินทีป่ ระสบภาวะวิกฤติทางการเงินภายหลัง วันที่ 10 สิงหาคม 2555 ท�ำให้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ สามารถท�ำหน้าทีใ่ ห้ความช่วยเหลือทางการเงินเช่นปัจจุบนั ได้ต่อไป ซึ่งร่างแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติดังกล่าว อยู่ระหว่างการพิจารณาของส�ำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา

the Minister of Finance. This rate cannot exceed 1 percent per year of average deposits. Objectives of the Specific Financial Institutions Support and Development Fund includes supporting SFIs to increase their capital in compensating for losses of SFIs’ projects that followed the Cabinet resolution, giving loans to FIDF to support and develop SFIs system and remit as public revenue when FIDF lacks liquidity to repay the FIDF loans. (4) Dissolution of the Principal Repayment Fund to Compensate for Losses of the Financial Institutions Development Fund (Principal Repayment Fund) It is required that the entire money of the Principal Repayment Fund be transferred to a saving account for the amortization of the FIDF’s losses (the saving account). This transfer is for the repayment of the principals and interests of FIDF loans responsible by the FIDF. The saving account will be settled along with the dissolution of the Principal Repayment Fund. (5) Expansion of FIDF’s Authority A revision of the Bank of Thailand Act (No...) B.E. …., which relates to the principals and interest repayments of FIDF loans, allows FIDF to financially support the financial institutions affected by the economic crisis after 10 August 2012. This means that the FIDF is able to continue giving financial aid to those financial institutions.

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

97


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

การด�ำเนินงานของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ภายหลังการออก พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ฯ FIDF พ.ศ. 2555 ตามมาตรา 4 แห่ง พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนีเ้ งินกูฯ้ FIDF พ.ศ. 2555 ได้กำ� หนดให้การช�ำระหนี้ FIDF ซึง่ มี จ�ำนวนกว่า 1.13 ล้านล้านบาท เป็นภาระหน้าทีท่ กี่ องทุน เพือ่ การฟืน้ ฟูฯ จะต้องรับผิดชอบและด�ำเนินการช�ำระทัง้ ต้นเงินกูแ้ ละดอกเบีย้ เงินกูท้ เี่ กิดขึน้ โดยแหล่งเงินทีน่ ำ� มาช�ำระ นัน้ เป็นไปตาม พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนีเ้ งินกูฯ้ FIDF พ.ศ. 2555 ซึง่ มีแหล่งทีม่ าของเงินดังรายละเอียดในตาราง

แหล่งเงินกู้ ต้นเงินกู้ FIDF 1

The Public Debt Management Office’s (PDMO) Obligation after an Enactment of the FIDF Loan Management Emergency Decree B.E. 2555 According to Article 4 of the FIDF Loan Management Emergency Decree B.E. 2555, FIDF is required to repay the entire principals and interests of the FIDF loans, which are approximately 1.13 trillion Baht. The sources of funding are specified in the FIDF Loan Management Emergency Decree B.E. 2555 as shown in the table below.

แหล่งเงินช�ำระคืนหนี้เงินกู้ FIDF พ.ร.ก. และ มติ ครม. ฉบับเดิม พ.ร.ก.ฉบับใหม่ - เงินก�ำไรสุทธิ ธปท. - เงินรายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (มติ ครม. ยกเลิก) - ดอกผลของกองทุนเพื่อการช�ำระคืนต้น เงินกู้ฯ

ต้นเงินกู้ FIDF 2 และ FIDF 3

สินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ ประจ�ำปีของ ธปท.

ดอกเบี้ย FIDF 1 FIDF 2 และ FIDF 3

งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี

- เงินก�ำไรสุทธิ ธปท. - สินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ ประจ�ำปีของ ธปท. - สินทรัพย์ของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ตามที่ ครม. ก�ำหนด - เงินน�ำส่งจากสถาบันการเงิน ร้อยละ 0.46 - สินทรัพย์คงเหลือที่มีอยู่ของกองทุน เพื่อการช�ำระคืนต้นเงินกู้ฯ

ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

98


Annual Report

2012 2555 Source of Funds Principals of FIDF 1

Principals of FIDF 2 and FIDF 3 Interests of FIDF 1, 2 and 3

Source of Funds to Repay FIDF Loan Previous Emergency Decree New Emergency Decree and Cabinet Resolution - Net profifits of BOT - Net profifits of BOT - Income from privatiozation - Residual assets in Annual (cancelled by Cabinet Yields Account of BOT resolution) - FIDF’s assets as specifified - Profifits from the Principal by the Cabinet Repayment Fund - Remittance from fifinancial institutions at 0.46 percent Residual assets in Annual - Existing residual assets Yields Account of BOT of the Principal Repayment Annual budget Fund

Source : Public Debt Management Offif ice

การช�ำระต้นเงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้เดิมเป็นภารกิจ ที่ สบน. จะเป็นผู้ด�ำเนินการช�ำระให้กับเจ้าหนี้โดยตรง ซึ่งภายหลังการออก พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ฯ FIDF พ.ศ. 2555 ท�ำให้ภาระการด�ำเนินการช�ำระหนี้ ทั้งต้นเงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้เป็นภาระหน้าที่ที่กองทุน เพื่อการฟื้นฟูฯ จะเป็นผู้ด�ำเนินการทั้งหมด ทั้ ง นี้ สบน. ได้ ด� ำ เนิ น การในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ พระราชก�ำหนดดังกล่าว ได้แก่ 1. การยุบเลิกกองทุนช�ำระคืนต้นเงินกูฯ้ ซึง่ เป็นไปตาม มาตรา 11 แห่ง พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนีเ้ งินกูฯ้ FIDF พ.ศ. 2555 โดยโอนสินทรัพย์ทมี่ อี ยูข่ องกองทุนเพือ่ การช�ำระ คืนต้นเงินกูฯ้ เข้าสูบ่ ญ ั ชีสะสมฯ และประกาศยุบเลิกกองทุน 2. การจัดท�ำบันทึกความเข้าใจร่วมกันในการด�ำเนินงาน ตาม พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนีเ้ งินกูฯ้ FIDF พ.ศ. 2555 ระหว่างกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูฯ และ สบน. รวมทัง้ จัดท�ำประกาศ กระทรวงการคลังเรือ่ งหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขในการช�ำระ ค่าบริหารจัดการเกีย่ วกับการด�ำเนินการช�ำระหนีเ้ งินกู้ FIDF

After the FIDF Loan Management Emergency Decree B.E. 2555 was enacted, the obligation to repay the principals and interests of FIDF loans to creditors has directly changed from PDMO to the FIDF. Following the FIDF Loan Management Emergency Decree B.E. 2555, PDMO has proceeded as follows. 1. The Principal Repayment Fund is dissolved following Article 11 of the FIDF Loan Management Emergency Decree B.E. 2555. In addition, the entire assets of the Principal Repayment Fund are transferred to the saving account. 2. PDMO has announced a Memorandum of Understanding (MOU) between PDMO and the FIDF and has notified the Ministry of Finance on criteria and conditions of administration fee payment on FIDF loan repayment.

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

99


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

3. การก�ำกับติดตามการช�ำระหนี้เงินกู้ FIDF ทั้งนี้ เนือ่ งจากหนีเ้ งินกูด้ งั กล่าวยังคงมีสถานะเป็นหนีส้ าธารณะ ทีอ่ อกภายใต้พระราชก�ำหนด และมติ ครม. เช่นเดิม ท�ำให้ รัฐบาลยังคงมีสถานะเป็นลูกหนี้เงินกู้และเป็นหน้าที่ของ กระทรวงการคลังในการก�ำกับติดตามการช�ำระหนี้เงินกู้ กล่าวคือ สบน. จะด�ำเนินการประมาณการภาระหนี้ที่ ต้องช�ำระในแต่ละเดือน พร้อมทัง้ ประสานกับแหล่งเงินกู้ เกีย่ วกับภาระหนี้ที่ต้องช�ำระ และเป็นผู้พิจารณาจัดล�ำดับ การช�ำระหนี้ และด�ำเนินการประสานงานและแจ้งให้ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ด�ำเนินการช�ำระหนี้ต่อไป นอกจากนี้ ถึงแม้ว่ากองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ จะเป็น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบในการช� ำ ระหนี้ เ งิ น กู ้ FIDF ตามความ ใน พ.ร.บ. ปรั บ ปรุ ง การบริ ห ารเงิ น กู ้ ฯ FIDF ตั้ ง แต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2555 แล้วก็ตาม กระทรวงการคลังโดย สบน. ยังคงต้องจัดหาเงินกู้เพื่อการช�ำระต้นเงินกู้ที่ครบ ก�ำหนด เนื่องจากกระแสรายรับเพื่อการช�ำระต้นเงินและ ดอกเบี้ยตามที่ พ.ร.บ. ปรับปรุงการบริหารเงินกู้ฯ FIDF ก�ำหนด ไม่เพียงพอและไม่สอดคล้องกับการช�ำระต้นเงินกู้ ท�ำให้ สบน. ยังคงมีหน้าที่ในการด�ำเนินการวางแผน การปรับโครงสร้างหนี้ และจัดหาเงินกู้เพื่อการช�ำระหนี้ ดังกล่าวด้วยเครื่องมือทางการเงินที่เหมาะสม โดยค�ำนึง ถึ ง ต้ น ทุ น และระยะเวลาการกู ้ เ งิ น ที่ ส อดคล้ อ งความ สามารถในการช�ำระคืนหนี้เงินกู้เช่นเดิม โดยสรุปแล้ว การประกาศใช้ พ.ร.ก. ปรับปรุงการ บริหารหนีเ้ งินกูฯ้ FIDF พ.ศ. 2555 เป็นแนวทางหนึง่ ทีช่ ว่ ย เสริมสร้างความยั่งยืนทางการคลังและเสถียรภาพทาง การเงิ น ของประเทศ ซึ่ ง สบน. ยั ง คงมี ส ถานะเป็ น หน่วยงานทีก่ ำ� กับดูแลติดตาม และบริหารจัดการช�ำระหนี้ เงินกู้ FIDF ให้มีประสิทธิภาพเช่นเดิมต่อไป จนกว่าภาระ หนี้เงินกู้ FIDF จะได้รับช�ำระหมดไป

3. Monitoring FIDF loan payment: the FIDF has begun to be responsible for repaying FIDF loans from 1 October 2012 onwards. Moreover, all loans incurred under the Emergency Decree and approved by the Cabinet resolution remain as a burden of the Ministry of Finance. Hence, “PDMO is still responsible for the regulation and management of loan repayments.” The responsibilities of PDMO include forecasting monthly loan repayment, coordinating with sources of fund, prioritizing loan payment, performing loan restructuring via appropriate financial mechanism by considering costs and duration of the loan in accordance with the ability to repay the loans first, and, lastly, coordinating with the FIDF to repay the loans. In conclusion, the enactment of the FIDF Loan Management Emergency Decree B.E. 2555 is a method of strengthening fiscal sustainability and financial stability of the country. Therefore, as a regulatory agency on public debt, PDMO will continue to monitor and manage the FIDF’s loan repayment until the entire loans are repaid.

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

100


Annual Report

2012 2555 การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ

The Thai Bond Market Development

นางสาวรานี อิฐรัตน์ ส�ำนักนโยบายเเละเเผน นางสาววิลาวัณย์ ประชาศิลป์ ส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้

จากการที่ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เป็ น ผู ้ รั บ ผิด ชอบเกี่ ย วกั บ การก่ อ หนี้ ส าธารณะทั้ ง จาก ในประเทศและต่างประเทศ และการช�ำระหนี้ของรัฐบาล ซึ่งรวมถึงการควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามสัญญาที่ ได้ผูกพันไว้กับแหล่งเงินกู้ ดังนั้น สบน. จึงเป็นหน่วยงาน หลั ก ที่ เ กี่ ย วข้ อ งโดยตรงกั บ พั น ธบั ต รไทยไม่ ว ่ า จะเป็ น พั น ธบั ต รรั ฐ บาลหรื อ พั น ธบั ต รรั ฐ วิ ส าหกิ จ เนื่ อ งจาก เป็ น หน่ ว ยงานที่ จั ด ท� ำ แผนกลยุ ท ธ์ แ ละก� ำ หนดวงเงิ น พั น ธบั ต รทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศที่ จ ะออกใน แต่ละปี โดยในส่วนของพันธบัตรในประเทศ สบน. จะ เป็นผู้ด�ำเนินการเกี่ยวกับการออกพันธบัตรรัฐบาลและ พั น ธบั ต รรั ฐ วิ ส าหกิ จ ทั้ ง ที่ รั ฐ บาลค�้ ำ ประกั น และไม่ ค�้ ำ ประกั น นอกจากนี้ สบน. ยั ง มี ห น้ า ที่ ใ นการพั ฒ นา ตลาดตราสารหนีใ้ นประเทศ โดยเฉพาะในส่วนของตลาดแรก โดยการออกพันธบัตรรัฐบาลในช่วงอายุและปริมาณมากพอ ทีส่ ามารถสร้างเส้นอัตราผลตอบแทนอ้างอิงของพันธบัตร รัฐบาลให้กบั ตลาดตราสารหนีไ้ ทย รวมถึงการพัฒนาพันธบัตร ให้ มี ค วามหลายหลากเพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการ ของผู้ร่วมตลาดอีกด้วย ในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2540 ตลาดตราสารหนี้ของไทย ถือว่ามีความล้าหลังเป็นอย่างมาก เนื่องจากการกู้ยืมเงิน ของประเทศจะเป็นการกู้ยืมจากแหล่งเงินกู้ตา่ งประเทศที่ มีเงื่อนไขผ่อนปรนมากกว่าการออกพันธบัตร นอกจากนี้ รัฐบาลยังมีฐานะการคลังเกินดุลท�ำให้ไม่สามารถออก พั น ธบั ต รในประเทศได้ จนกระทั่ ง เกิ ด วิ ก ฤติ ส ถาบั น การเงินขึ้น ตลาดตราสารหนี้ของไทยจึงพัฒนาขึ้นมา อย่างก้าวกระโดด อันเป็นผลจากการที่มีปริมาณพันธบัตร ภาครัฐเพิ่มขึ้นอย่างมาก ซึ่งหากแบ่งช่วงการพัฒนาตลาด ตราสารหนี้ของไทยจะแบ่งออกเป็น 2 ช่วงหลัก ได้แก่ ช่วงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของตลาดตราสารหนี้ เพือ่ รองรับการขยายตัวของความต้องการระดมทุนภาครัฐ รวมถึ ง ช่ ว ยพั ฒ นาตลาดตราสารหนี้ ใ ห้ เ ป็ น 1 ใน 3

Public Debt Management Offifice (PDMO) as a solely agent in the Ministry of Finance (MOF) is responsible for public debt management. Therefore, PDMO plays a big role in bond issuances and the domestic bond market development in Thailand, in which emphasizes the development of primary market by issuing the benchmark bonds to create the reliable government bond yield and diversifying government bond products to match demands of different market players. Notable growth in domestic bond market has been witnessed since 1997. For the period up until the Asian fifinancial crisis, the market was still in its stage of infancy due to heavy reliance on foreign loans rather than local capital in due to lenient terms and conditions. Moreover, given the budget surplus, the government was found lacking of any issuing opportunities. Triggered later by the crisis, Thai debt instrument market took an exponential turn. Not only the government and private bonds but also the demands from institutional investors have increased greatly in numbers. The development of Thai domestic bond market can be divided in 2 stages as follows: Stage 1: The Market Infrastructure Development (Year 1997 – 2006) The early stage of the bond market development was a result from the urgent need of the government to raise fund for restoring and strengthening the fifinancial system. PDMO and relating agencies such as Revenue Department,

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

101


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

เสาหลักของตลาดการเงิน นอกเหนือไปจากตลาดสินเชื่อ และตลาดหลักทรัพย์ และช่วงการเสริมสร้างพืน้ ฐานความ แข็งแกร่งให้ตลาดตราสารหนี้ โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตราสารหนี้ภาครัฐให้มีความหลากหลายเพื่อตอบสนอง ความต้องการของนักลงทุน ช่ ว งการพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานของตลาด ตราสารหนี้ (พ.ศ. 2540 - 2549) การพั ฒ นาตลาดตราสารหนี้ ใ นช่ ว งแรกเกิ ด จาก การที่ รั ฐ บาลมี ค วามจ� ำ เป็ น ในการระดมทุ น เพื่ อ ฟื ้ น ฟู และเสริมสร้างความเข็มแข็งให้แก่ระบบการเงินจึงได้ มี ก ารออกพัน ธบัต รรัฐบาลเข้าสู่ต ลาดเป็ นจ� ำ นวนมาก ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ไม่ ว่าจะเป็นส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กรมสรรพากร ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ และนักลงทุนสถาบันประเภทต่างๆ จึง ได้ร่วมมือกันในการพัฒนาตลาดแรก ตลาดรอง และ โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ของตลาดตราสารหนี้ เพื่อให้การ ระดมทุ น เป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพภายใต้ ต ้ น ทุ น ที่ เหมาะสม ซึ่งสรุปผลการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในด้าน ต่างๆ ได้ ดังนี้ การพัฒนาตลาดแรก สบน. ได้จัดท�ำตารางประมูลตราสารหนี้ภาครัฐอย่าง เป็นระบบและประกาศให้นักลงทุนทราบล่วงหน้าเพื่อ ให้สามารถวางแผนในการลงทุนได้ โดยประกาศตาราง การประมูลขายพันธบัตรรัฐบาลเฉพาะปริมาณและช่วง อายุของพันธบัตร ณ ต้นปีงบประมาณ และประกาศ รายละเอียดอายุ วงเงิน และวันประมูลตั๋วเงินคลังให้ นักลงทุนทราบล่วงหน้า 1 เดือน และรายละเอียดอายุ วงเงิน อัตราดอกเบี้ย และวันประมูลพันธบัตรรัฐบาล ล่วงหน้า 1 ไตรมาส รวมถึงน�ำระบบ Non-competitive Bidding และระบบ E-bidding มาใช้ในการประมูลราคา พันธบัตรรัฐบาล

Bank of Thailand, Offifice of the Securities and Exchange Commission and institutional investors have worked closely to develop the domestic bond market in many aspects as follows: The Primary Market Development PDMO has set up the systemic auction calendar government securities and announce the calendars in advance so the investors can plan their investment effificiently. PDMO will announce the total amount and maturities of bonds at the beginning of fifiscal year, announce the detailed maturities, amount and auction date of the treasury bills one month in advance, and announce the detailed maturities, amount, coupon rate and auction date of the government bonds one quarter in advance. PDMO also introduced the Non-competitive bidding system and E-Bidding to T-Bills and bonds auctions. In addition, before 2005, government bonds could be issued for the sole purpose of budget defificit financing offsetting, the market was faced not only with the problems of uncertainty and volume irregularity, but also not be able to develop a benchmark yield curve to be used as base for price setting of other debt instruments. If the government consistently ran ffi iscal surpluses, bond issuance and benchmark yield curve would be suspended from the market. For an effective solution, the legal structure was revised by the authorities and the Public Debt Management Act B.E. 2548 (A.D. 2005) was later promulgated, enabling the Ministry of Finance to issue bonds for restructuring or and refifinance

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

102


Annual Report

2012 2555 นอกจากนี้ ได้มีการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ กูเ้ งินของรัฐบาลเนือ่ งจากในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2548 รัฐบาล ไทยสามารถออกพันธบัตรได้ในกรณีที่งบประมาณของ ประเทศขาดดุลเท่านัน้ ท�ำให้ปริมาณของพันธบัตรรัฐบาล ในตลาดตราสารหนี้ขาดความแน่นอนและสม�่ำเสมอ ซึ่ง ส่งผลให้ไม่สามารถสร้างเส้นอัตราผลตอบแทนอ้างอิงของ พันธบัตรรัฐบาล (Benchmark Yield Curve) ซึง่ จะใช้เป็น ฐานในการก�ำหนดราคาตราสารหนีอ้ นื่ ๆ เนือ่ งจากพันธบัตร รัฐบาลเป็นพันธบัตรทีม่ สี ภาพคล่องสูงและไม่มคี วามเสีย่ ง จากการผิดนัดช�ำระหนี้ ท�ำให้ภาคเอกชนสามารถน�ำอัตรา ผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาลมาใช้อา้ งอิงในการก�ำหนด อั ต ราผลตอบแทนของหุ ้ น กู ้ ไ ด้ ดั ง นั้ น หากรั ฐ บาลมี งบประมาณสมดุลหรือเกินดุลก็อาจท�ำให้ไม่มีพันธบัตร อ้างอิงได้ สบน. จึงได้เสนอให้มกี ารประกาศใช้พระราชบัญญัติ การบริหารหนีส้ าธารณะ พ.ศ. 2548 เพือ่ ให้กระทรวงการคลัง สามารถออกพั น ธบั ต รเพื่ อ เป็ น การปรั บ โครงสร้ า งหนี้ หรือพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมได้ นอกเหนือจากการออก พันธบัตรเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ รวมถึงได้มี การแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ให้ ก ระทรวงการคลั ง สามารถกู ้ เ งิ น ล่วงหน้ามาเพือ่ ปรับโครงสร้างหนีท้ คี่ รบก�ำหนดเป็นจ�ำนวน มากเพือ่ ให้รฐั บาลสามารถออกพันธบัตรเพือ่ เป็น Benchmark Bonds ได้ และสามารถกูเ้ งินมาเพือ่ พัฒนาตลาดตราสารหนี้ ในประเทศในกรณีทวี่ งเงินการกูอ้ นื่ ไม่เพียงพอต่อการออก Benchmark Bonds ได้อกี ด้วย ในส่วนของการขยายฐานนักลงทุนและผูอ้ อกพันธบัตร สบน. ได้ก�ำหนดนโยบายการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตราสารหนี้ ให้มีความหลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการของ นักลงทุนประเภทต่างๆ อาทิ การออกพันธบัตรออมทรัพย์ อย่ า งสม�่ ำ เสมอและเป็ น ระบบมากขึ้ น เพื่ อ ตอบสนอง ความต้องการของนักลงทุนรายย่อย รวมถึงมีการศึกษา แนวทางการออกพั น ธบั ต รอั ต ราดอกเบี้ ย ลอยตั ว เพื่ อ ตอบสนองความต้องการของนักลงทุนประเภทธนาคารพาณิชย์ และพันธบัตรอ้างอิงกับอัตราเงินเฟ้อเพื่อตอบสนองความ ต้องการของนักลงทุนระยะยาว นอกจากนี้ ยังได้อนุญาตให้ นิติบุคคลต่างประเทศออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาท ในประเทศไทยเพื่อเพิ่มทางเลือกให้แก่นักลงทุนอีกด้วย

bonds for socio-economic development, The Act has also been revised later to enable Ministry of Finance to issue bonds in advance to restructure the high amount of matured debts and also issue bonds for the purpose of bond market development purpose. To reach a larger base of bond issuers and investors, focus was on the product diversifification so as to meet the different investors’ demand. At the start, more regular and systematic issues of domestic saving bonds have been offered by PDMO to meet the demand of retailed investors. A feasibility study on other debt instrument issuances, such as, flf loating rate notes and index-linked bonds was done in order to create alternative choices for other investor target groups in the event of rising interest rates. In addition, the foreign entities were allowed to issue Thai Baht bonds/debentures in Thailand to further expand the choice of investment option. The Secondary Market Development To enhance the secondary market liquidity and stability, the scripless bonds were introduced. Other achievements also include introduction of the Private Repo market, the improvement of the primary dealer system to play the active role to effificiently develop and expand the market, the establishment of the Bond Lending Unit and the Collateral Management Unit to maintain market participants’ confifidence in short-sales transactions, the modernization of rules and regulations, and to be more flflexible for investors’ risk protection in the Interest Rate Swap market.

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

103


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

การพัฒนาตลาดรอง เพื่ อ เป็ น การเพิ่ ม สภาพคล่ อ งในการซื้ อ ขายใน ตลาดรอง ได้มกี ารก�ำหนดให้การซือ้ ขายตราสารหนีเ้ ป็นการ ส่งมอบทีไ่ ม่มใี บตราสาร (Scripless) เพือ่ ความคล่องตัวของ การซื้อขาย การพัฒนาตลาดซื้อคืนภาคเอกชน (Private Repo) การจัดตั้งระบบผู้ค้าตราสารหนี้หลัก (Primary Dealers) ให้มบี ทบาทและประสิทธิภาพในการสร้างตลาด มากขึน้ นอกจากนี้ ยังมีการจัดตัง้ ศูนย์ให้กยู้ มื พันธบัตรและ บริหารหลักประกัน (Bond Lending Unit และ Collateral Management Unit) เพื่อช่วยให้ผู้ร่วมตลาดเกิดความ มัน่ ใจในการท�ำธุรกรรมขายชอร์ตพันธบัตรมากขึน้ รวมถึง ปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ เพื่อพัฒนาตลาด Interest Rate Swap ให้นักลงทุนสามารถป้องกันความเสี่ยงได้ อย่างคล่องตัว การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ได้มีการแก้ไขปัญหาทางด้านภาษี เช่น ปรับปรุงการ จัดเก็บภาษีการซือ้ ขายแบบ Outright และ Repo ภาษีธรุ กิจ เฉพาะส�ำหรับธุรกรรมทางการเงิน ภาษีส�ำหรับธุรกรรม Securitization ภาษีเพือ่ รองรับตลาดสัญญาซือ้ ขายล่วงหน้า เป็นต้น รวมถึงน�ำระบบส่งมอบและช�ำระราคาแบบ Real Time Delivery vs. Payment (Real Time DVP) มา ใช้เพื่อลดความเสี่ยงของระบบและการลงทุน และจัดให้ มี Electronic Trading Platform และ Firmed 2-ways Pricing ของพันธบัตรรัฐบาลบางรุ่นโดย Market Maker นอกจากนี้ ยังได้ปรับปรุงบทบาทของศูนย์ซื้อขายตราสาร หนี้ไทยเป็นสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยเพื่อให้ท�ำหน้าที่ เป็นองค์กรก�ำกับดูแลสมาชิกที่มีประสิทธิภาพและเป็น ศูนย์กลางข้อมูลตลาดตราสารหนี้ไทยอีกด้วย ช่วงการเสริมสร้างพื้นฐานความแข็งแกร่งให้ตลาด ตราสารหนี้ (พ.ศ. 2550 - ปัจจุบัน) นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา รัฐบาลมีความ จ�ำเป็นจะต้องระดมทุนเป็นจ�ำนวนมากเพื่อน�ำมาใช้ใน การกระตุ้นเศรษฐกิจ พัฒนาประเทศ และฟื้นฟูความ เสียหายของประเทศที่เกิดจากอุทกภัยครั้งใหญ่ ท�ำให้มี วงเงินที่จะใช้ออกตราสารหนี้เป็นจ�ำนวนค่อนข้างมาก ในการนี้ สบน. เห็นเป็นโอกาสทีด่ ใี นการทีจ่ ะเสริมสร้างพืน้ ฐาน

The Infrastructure Development To encourage a vibrant bond market, special business tax for the fifinancial transaction has been reduced. The tax collections regarding securitization, Bond Futures, SBL, Private Repo, and debt instrument trading have also been improved. In addition, the government bond’s Delivery-versus-Payment System (DVPS) has been implemented to facilitate the bond trading. The Electronic Trading Platform (ETP) for clearing and Firmed 2-ways Pricing have been established. Furthemore, the Thai Bond Dealing Center was reengineered and renamed the ThaiBMA. It responsibility includes market surveillance, monitoring, ensuring dealer-members’ professionalism and code of conduct observance, and to be the Bond Market Information Center. Stage 2: The Market Infrastructure Strengthening and Product Diversification (Year 2007 – present) Since 2007, the government’s funding needs has been increased due to expenditure needs in order to stimulate the economy, restore and develop the country after the major ffl lood. PDMO has taken this opportunity to strengthening the market in both width and depth by diversifying government securities products and expanding investor base. This includes promoting regional bond market linkage. Developing New Instruments to Broaden Investors Base and Improve the Domestic Bond Market to be a Sustainable Source of Funding PDMO, with the consultation with investors, developed many new instruments as follows: - 30-year government bond, which was fifirst launched on 23 May 2008 in response to the long-term investors’ demand such as insurance companies, Government Pension Fund and Social Security Offfiice. The issuance of this bond also lengthened

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

104


Annual Report

2012 2555 ความแข็ ง แกร่ ง ให้ กั บ ตลาดทั้ ง เชิ ง ลึ ก และเชิ ง กว้ า ง กล่าวคือ มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตราสารหนี้รัฐบาลให้มี ความหลากหลายและขยายฐานนักลงทุนในตลาด รวมถึง การยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและส่งเสริมการเชื่อมโยง กับตลาดตราสารหนี้ภูมิภาค ดังนี้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ตราสารหนี้รัฐบาลให้มีความ หลากหลายเพื่อกระจายฐานนักลงทุนและสร้างให้ตลาด ตราสารหนี้ในประเทศเป็นแหล่งระดมทุนที่ยั่งยืน จากการที่รัฐบาลมีความจ�ำเป็นจะต้องระดมทุนเป็น จ�ำนวนค่อนข้างมาก สบน. ในฐานะผู้รับผิดชอบในการ ระดมทุนจึงได้หารือกับผูร้ ว่ มตลาดในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตราสารหนีร้ ฐั บาลให้มคี วามหลากหลายเพือ่ ให้การระดมทุน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ต้นทุนที่เหมาะสม ซึ่ง ในช่วงนี้ สบน. ได้มีการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ สรุปได้ ดังนี้ - พันธบัตรรัฐบาลรุ่นอายุ 30 ปี โดยออกเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2551 เพื่อตอบสนองความต้องการ ของนักลงทุนระยะยาว เช่น บริษัทประกันชีวิต กองทุน บ�ำเหน็จบ�ำนาญข้าราชการ และกองทุนประกันสังคม เป็นต้น รวมถึงเป็นการยืดเส้นผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล ออกไปเป็น 30 ปี Benchmark Bond รุ่นอายุ 30 ปี - พั น ธบั ต รรั ฐ บาลประเภทอั ต ราดอกเบี้ ย ลอยตั ว (Floating Rate Bond : FRB) โดยออกเป็นครั้งแรกเมื่อ วันที่ 27 พฤษภาคม 2552 อายุ 4 ปี และใช้ Bangkok Inter Bank Offered Rate 6 เดือน (BIBOR 6 เดือน) ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ลบด้วย 15 basis points เป็นดอกเบีย้ อ้างอิง เพือ่ เป็นเครือ่ งมือในการระดม ทุนรูปแบบใหม่ของรัฐบาลที่มีความยืดหยุ่นในช่วงที่อัตรา ดอกเบีย้ ผันผวน โดยได้รบั การตอบรับอย่างดีจากนักลงทุน กลุ่มสถาบันการเงิน - พันธบัตรออมทรัพย์ ประเภทอัตราดอกเบี้ยแบบขั้น บันได ซึ่ง สบน. ได้พัฒนารูปแบบอัตราผลตอบแทนของ พันธบัตรออมทรัพย์ให้สอดคล้องกับความต้องการของ นักลงทุนรายย่อยมากขึน้ โดยการก�ำหนดให้อตั ราดอกเบีย้ เพิ่มขึ้นตามจ�ำนวนปีที่เพิ่มขึ้น โดยที่ผ่านมาได้มีการออก พันธบัตรในรูปแบบนี้ 2 ครัง้ เมือ่ วันที่ 15 กรกฎาคม 2552 และ 7 มิถุนายน 2553

the government bond yield curve from 20 years to 30 years. - Floating Rate Bond (FRB), which was fifirst launched on 27 May 2009. The FRB is a new funding instrument that used Bangkok Inter Bank Offered Rate 6 months (BIBOR 6 months) of the Bank of Thailand (BOT) minus 15 basis point as a reference interest rate. To promote more liquidity, and the 4 year duration was set to correspond with the 4-5 year cycle of the domestic interest rate. - Step-up Savings Bond, which the coupon rate was developed to accommodate the retailed investors’ demand. PDMO issued the Step-up saving bonds twice on 15 July 2009 and 7 June 2010. - Fixed Rate Long-term Promissory Note, which was ffi irst launched on 22 December 2010 to match the demand of the long-term investors, especially life insurance companies. Moreover, the development of this type of promissory note was another alternative to government funding particularly during ffl luctuations of the bond market. - The 50-year government bond was fifirst launched on 2 March 2011 in response to the long-term investors’ demand. Moreover, the issuance of 50-year government bond helped lengthen the average time to maturity of public debt portfolio and the yield curve form 30 year to 50 year. Thailand was the 4th country in the world (next to the UK, China and France respectively) to issue the 50-year government bond. - Inflflation-Linked Bond (ILB), which was ffi irst launched on 11 July 2011. The ILB could indicate the real rate of return and speculate the Inflflation rate, resulting in more correspondence of monetary policy and ffi iscal policy. The investors who interested in ILB are the Government Pension Fund and foreign investors.

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

105


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

- ตัว๋ สัญญาใช้เงินระยะยาวประเภทอัตราดอกเบีย้ คงที่ โดยออกเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2553 เพื่อ ตอบสนองความต้องการของนักลงทุนระยะยาว ประเภท Buy & Hold โดยเฉพาะกลุ่มบริษัทประกันชีวิต รวมถึงเป็นการ เพิ่มทางเลือกในการระดมทุนของรัฐบาลในช่วงที่ตลาด พันธบัตรผันผวนอีกด้วย - พันธบัตรรัฐบาลรุ่นอายุ 50 ปี โดยออกเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2554 เพื่อเป็นการตอบสนองความ ต้องการของนักลงทุนระยะยาว และช่วยยืดอายุเฉลี่ย ของ Portfolio หนี้รัฐบาล รวมถึงเป็นการยืดเส้นอัตรา ผลตอบแทนอ้างอิงของพันธบัตรรัฐบาลจาก 30 ปี ออกไป เป็น 50 ปี ด้วย โดยประเทศไทยถือเป็นประเทศที่ 4 ในโลก ที่ออกพันธบัตรรัฐบาลที่มีอายุยาวถึง 50 ปีได้ ต่อจาก ประเทศอังกฤษ จีน และฝรั่งเศส - พันธบัตรชดเชยเงินเฟ้อ โดยออกเป็นครั้งแรกเมื่อ วันที่ 11 กรกฎาคม 2554 ซึ่งนับเป็นการพัฒนาตลาด ตราสารหนี้ในประเทศให้มีผลิตภัณฑ์ที่มีความซับซ้อน มากขึน้ ทัดเทียมตลาดตราสารหนีใ้ นต่างประเทศ นอกจากนี้ ยังเป็นเครื่องชี้ให้เห็นถึงอัตราผลตอบแทนแท้จริงและ การคาดการณ์ของตลาดเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อ ส่งผลให้ นโยบายการเงินและนโยบายการคลังมีความสอดคล้อง กันมากขึ้น โดยนักลงทุนหลักในพันธบัตรชนิดนี้ ได้แก่ กองทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญข้าราชการ และนักลงทุนสถาบัน จากต่างประเทศ - พันธบัตรรัฐบาลเพื่อรายย่อยพิเศษที่จ�ำหน่ายผ่าน เครื่อง ATM (Retail Bond @ ATM for Micro Savers) ที่เริ่มจ�ำหน่ายครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2554 โดยมี เงื่อนไขพิเศษที่แตกต่างจากพันธบัตรออมทรัพย์ทั่วไป 3 ประการหลักคือ (1) มีวงเงินซื้อขั้นต�่ำเพียง 1,000 บาท จากปกติ 10,000 บาท (2) มีระยะเวลาการจ�ำหน่าย สม�่ำเสมอตลอดทั้งปี จากปกติ 5 วัน (3) เเละมีการเพิ่ม ช่องทางการจ�ำหน่ายผ่านเครือ่ ง ATM จากปกติจำ� หน่ายผ่าน สาขาของธนาคารตัวแทน เพือ่ ให้นกั ลงทุนทีม่ รี ายได้ประจ�ำ น้อยให้ได้มีโอกาสทยอยออมเงินที่สอดคล้องกับรายได้ ของตน

- Saving Bonds at ATM for Micro Savers, which was ffi irst launched on 12 September 2011. This retailed Bond for Micro Savers have 3 distinct conditions: (1) 1,000 baht minimum rather than 10,000 baht. (2) Perennial purchasing period rather than usual 5 days and (3) Including ATM as a new purchasing method from the usual representative branches channel. PDMO intends to make saving bonds accessible to low income people who would have a chance to save consistently with their income. Strengthening Market Infrastructure and Promoting Regional Bond Market Linkage • Improving Privileges of Primary Dealers (PDs) Only PDs have the right to make a bid for benchmark bond in the primary market. Therefore, this outright privilege promoted PDs to be a market maker who create liquidity in the secondary market. Since PDs are the closest to the market, PDs could act as an intermediary who proposed the closest bidding price to the market and such proposal can be benefi ficial to investors as well. PDMO thus systematically improved privileges and duties of PDs as follows : (1) Exclusivity (the right of PDs to make a bid for all benchmark bonds in the primary market) (2) Mini-Tender (the right of PDs to make a bid for benchmark bond when Thai government needed emergency funding, which would be declared 4 weeks in advance and offered only for

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

106


Annual Report

2012 2555 specific series. (3) Green Shoes Options (the right of PDs to buy additional 10-20 percent of allocated amount of benchmark bond at average accepted yield within 1-3 days after the auction date. • Bond Switching and Bond Consolidation Bond Switching and Bond Consolidation concepts originated from the need to manage series of the government bonds issued prior to 2006 that had small outstady value and no liquidity in the secondary market. Therefore, the main purpose of bond switching การยกระดับ โครงสร้างพื้น ฐานและส่ ง เสริ ม การ and bond consolidation were to reduce the เชื่อมโยงกับตลาดตราสารหนี้ภูมิภาค • การปรั บ ปรุ ง สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ข องผู ้ ค ้ า หลั ก (Primary Dealer: PD) มีการก�ำหนดสิทธิให้เฉพาะ PD เท่านัน้ ทีส่ ามารถเข้า ประมูล Benchmark Bond ในตลาดแรกได้ ทัง้ นี้ การให้ สิทธิดงั กล่าวเป็นการส่งเสริมให้ PD ท�ำหน้าทีเ่ ป็น Market Maker ในการสร้างสภาพคล่องในตลาดรอง เพราะ PD เป็นผูท้ มี่ คี วามใกล้ชดิ ตลาดมากทีส่ ดุ จึงสามารถท�ำหน้าที่ เป็นตัวกลางในการเสนอราคาประมูลทีเ่ ป็นไปตามกลไกของ ตลาดได้ใกล้เคียงทีส่ ดุ ซึง่ การเสนอราคาประมูลในลักษณะนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุนด้วย ในการนี้ สบน. จึงได้ ก�ำหนดให้มกี ารปรับปรุงสิทธิประโยชน์และหน้าทีข่ อง PD อย่างเป็นระบบ เช่น (1) Exclusivity คือ สิทธิสำ� หรับ PD ในการประมูล Benchmark Bond ทุกรุน่ อายุในตลาดแรก โดยในเบือ้ งต้น สบน. ได้กำ� หนดให้ Benchmark Bond รุน่ อายุ 5 ปี เป็นรุน่ ที่ PD เท่านัน้ ทีไ่ ด้สทิ ธิแบบ exclusivity ในการเข้าประมูลในตลาดแรกโดยเริ่มจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (2) Mini-Tender คือ สิทธิสำ� หรับ PD ในการประมูล Benchmark Bond ในภาวะที่รัฐบาลต้องการระดมทุน ฉุกเฉิน โดยจะประมูลรุน่ ทีเ่ ฉพาะเจาะจง และมีการประกาศ ล่วงหน้าประมาณ 4 สัปดาห์ และ (3) Green Shoes Options คือ สิทธิสำ� หรับ PD ในการซือ้ Benchmark Bond เพิม่ เติม ได้อกี ร้อยละ 10-20 ของวงเงินทีไ่ ด้รบั จัดสรร โดย สามารถซือ้ ได้ที่ Average Accepted Yield และซือ้ ได้ภายใน 1-3 วันถัดจากการประมูล ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

107


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

• Bond Switching และ Bond Consolidation ส�ำหรับแนวคิดในการท�ำ Bond Switching และ Bond Consolidation นั้น เริ่มต้นมาจากการที่พันธบัตร รัฐบาลทีอ่ อกในอดีตก่อนปี 2549 มีวงเงินต่อรุน่ ค่อนข้างต�ำ่ ท�ำให้พันธบัตรรัฐบาลไม่มีสภาพคล่องในตลาดรอง ดังนั้น วัตถุประสงค์หลักในการท�ำ Bond Switching และ Bond Consolidation คือ การลดจ�ำนวนรุน่ ของพันธบัตรรัฐบาล ทีไ่ ม่มสี ภาพคล่องซึง่ คงค้างอยูใ่ นตลาดและส่งเสริมให้ยอด คงค้างของรุน่ ทีเ่ ป็น Benchmark Bond มีวงเงินสูงขึน้ เพือ่ เสริมสภาพคล่องในตลาด โดยการให้นักลงทุนสามารถใช้ พันธบัตรรัฐบาลรุ่นอื่นๆ ที่มีสภาพคล่องต�่ำใน Portfolio ของตน มาแลกกับพันธบัตรรัฐบาลรุ่นที่เป็น Benchmark Bond ของกระทรวงการคลังที่ก�ำลังจะออกในปีปัจจุบัน ทัง้ นี้ สบน. จะมีการศึกษาและคัดเลือกพันธบัตรรัฐบาลทีม่ ี วงเงินคงค้างต�ำ่ และไม่คอ่ ยมีสภาพคล่องจ�ำนวน 3 - 5 รุน่ มาค�ำนวณหาอัตราการแลกเปลีย่ นกับ Benchmark Bond รุน่ ใหม่ๆ ทีร่ ฐั บาลจะด�ำเนินการออกในแต่ละปี ซึง่ ขัน้ ตอน การท�ำ Bond Switching และ Bond Consolidation คงต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ค้าหลัก (PDs) ในการท�ำ หน้าที่เป็นตัวกลางในการหาพันธบัตรรุ่นที่คู่ค้าหลักและ นักลงทุนมีความต้องการในการท�ำ Bond Switching และ Bond Consolidation

number of government bond series that did not have market liquidity and to increase the outstanding size of benchmark bond in order to enhance market liquidity. In 2012 can switch other government bond series with low liquidity in their portfolio with benchmark bond series to be issued by Ministry of Finance. PDMO will study and choose 3 to 5 government bond series with low remaining amount and low liquidity to calculate exchange rate with newer benchmark bond to be issued each year. Bond Switching and Bond Consolidation process will need the cooperation of PDs to act as an intermediary to matching the bond series that both PDs and investors want to Switch and Consolidate.

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

108


Annual Report

2012 2555

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สวนที่

6 ปงบประมาณ 2555

ภาพรวมหนี้สาธารณะ

2012 ทศวรรษ 2555 Annual

Report

รายงานประจำป

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PUBLIC 2012 DEBT MANAGEMENT ANNUAL REPORT : PUBLIC OFFICE DEBT MANAGEMENT OFFICE

109


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ภาพรวมหนี้สาธารณะ ปีงบประมาณ 2555 1. หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 มีจำ� นวน 4,937,239.62 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 43.91 ของ GDP โดยเป็นหนีข้ องรัฐบาล 3,515,010.95 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 1,064,289.11 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาล ค�้ำประกัน) 352,207.35 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานอื่น ของรัฐ 5,732.21 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับยอด หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 หนี้ สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 488,945.02 ล้านบาท โดยหนี้ของ รัฐบาล หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้ำ ประกัน) และหนี้หน่วยงานอื่นของรัฐเพิ่มขึ้น 333,852.06 ล้านบาท 195,265.39 ล้านบาท และ 5,732.21 ล้านบาท ตามล�ำดับ ในขณะทีห่ นีร้ ฐั วิสาหกิจทีไ่ ม่เป็นสถาบันการเงิน 1. Debt outstanding as of September 30, 2012 และหนีก้ องทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูฯ ลดลง 15,459.46 ล้านบาท Debt outstanding as of September 30, 2012 valued และ 30,445.18 ล้านบาท ตามล�ำดับ 4,937,239.62 million Baht or equivalent to 43.91 percent of GDP. The total debt outstanding consisted of 3,515,010.95 million Baht of government debt, 1,064,289.11 million Baht of Non-Financial State-Owned Enterprises (SOES) debt, 352,207.35 million Baht of Financial SOEs debt with government guarantee and 5,732.21 million Baht of Other Government Agencies debt which is the debt of the Energy Fund Administration Institute and the Neighboring Countries Economic Development Cooperation Agency. Comparing to the debt outstanding at the end of last ffi iscal year, the debt outstanding increased 488,945.02 million Baht, which resulted from rising in government debt in the amount of 333,852.06 million Baht 195,265.39 million Baht of Financial SOEs debt and 5,732.21 million Baht of the Government Agencies debt while decreasing in 15,459.46 million Baht of Non-Financial SOEs debt and 30,445.18 million Baht of FIDF debt (details as shown in Table 1). รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

110


Annual Report

2012 2555 ตารางที่ 1 หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2554 และ 2555 Table 1 Debt Outstanding as of 30 September 2011 and 2012 หนี้สาธารณะ Public Debt 1. หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง Direct Government Debt 1.1 หนี้ต่างประเทศ External Debt 1.2 หนี้ในประเทศ Domestic Debt -เงินกูช้ ดเชยการขาดดุลงบประมาณ และการบริหารหนี้ Defificit fifinancing and debt management -เงินกู้ชดเชยความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ FIDF’s loss compensation -FIDF 1 -FIDF 3 -เงินกู้เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ Loan for stimulus package No.2, (TKK) -เงินกู้เพื่อน�ำเข้ากองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ Financing for Disaster Insurance Promotion Fund -เงินกูส้ ำ� หรับโครงการเพือ่ การวางระบบบริหารจัดการน�ำ้ ฯ Financing for Constructing the systems for Managing Water -เงินกู้เพื่อรัฐวิสาหกิจกู้ต่อ On-lending 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน Non-Financial State Enterprise Debt 2.1 หนี้ต่างประเทศ External Debt -หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน Guaranteed Debt -หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน Non-guaranteed Debt 2.2 หนี้ในประเทศ Domestic Debt -หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน Guaranteed Debt -หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน Non-guaranteed Debt

หน่วย : ล้านบาท Unit : Million THB

เพิ่ม/ลด ก.ย. 2554 ก.ย. 2555 %GDP %GDP Increase/ SEP 2011 SEP 2012 Decrease 3,181,158.89 30.50 3,515,010.95 31.26 333,852.06

46,157.80

52,647.68

3,135,001.09 3,462,363.28 327,362.19 1,587,532.50

1,913,616.78

326,084.28

1,142,100.87

1,133,131.85

(8,969.02)

463,275.20 678,825.67 398,940.09

463,275.20 669,856.65 398,572.29

(8,969.02) (367.80)

-

86.41

-

1,800.00

1,800.00

6,427.63

15,155.95

8,728.32

86.41

1,079,748.57 10.35 1,064,289.11 9.47 (15,459.46) 298,657.44

282,814.73

(15,842.71)

171,110.33

160,111.84

(10,998.49)

127,547.11

122,702.89

(4,844.22)

781,091.13

781,474.38

356,320.28

335,366.96

(20,953.32)

424,770.85

446,107.42

21,336.57

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

111

6,489.88

383.25


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

หนี้สาธารณะ Public Debt 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�ำ้ ประกัน) Financial Institutions Guaranteed Debt 3.1 หนี้ต่างประเทศ External Debt 3.2 หนี้ในประเทศ Domestic Debt 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ FIDF Debt 4.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน Guaranteed Debt 4.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน Non-guaranteed Debt 5. หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ Other Government Agencies debt 5.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน Guaranteed Debt 5.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน Non-guaranteed Debt รวม Total

หน่วย : ล้านบาท Unit : Million THB เพิ่ม/ลด %GDP Increase/ Decrease

ก.ย. 2554 ก.ย. 2555 %GDP SEP 2011 SEP 2012

156,941.96 1.50 352,207.35 3.13 195,265.39 5,209.35

(1,110.61)

150,622.00 346,998.00

196,376.00

6,319.96

30,445.18 0.29

-

- (30,445.18)

30,445.18

-

(30,445.18)

-

-

-

-

5,732.21 0.05

5,732.21

-

-

-

5,732.21

-

5,732.21

4,448,294.60 42.20 4,937,239.62 43.91 488,945.02

หมายเหตุ ; 1. GDP ปี 2553, ปี 2554 และประมาณการ GDP 2555 เท่ากับ 10,104.80 พันล้านบาท 10,540.10 พันล้านบาท และ 11,478.60 พันล้านบาท ตามล�ำดับ (สศช. ณ 20 สิงหาคม 2555) 2. สบน. ได้ปรับวิธกี ารค�ำนวณ GDP ในแต่ละเดือนเพือ่ ให้สดั ส่วน Debt/GDP สะท้อนค่าทีใ่ กล้เคียงความเป็นจริงทีส่ ดุ ตัง้ แต่เดือนมกราคม 2554 โดยได้คำ� นวณ GDP ของเดือนกันยายน 2554 ดังนี้ [(GDP ปี 53/12)*3]+[GDP ปี 54/12)*9] เท่ากับ 10,431.28 พันล้านบาท และได้คำ� นวณ GDP ของเดือนกันยายน 2555 ดังนี้ [(GDP ปี 54/12)*3]+[GDP ปี 55/12)*9] เท่ากับ 11,243.98 พันล้านบาท

Remark; 1. GDP in 2010, 2011 and Estimated GDP in 2012 equalled 10,104.80 billion Baht, 10,540.10 billion Baht and 11,478.60 billion Baht, respectively. (NESDB as of 20 Aug. 2012) 2. PDMO has developed monthly GDP estimation in order to reflect the real Debt per GDP ratio since January 2012. GDP as of September 2011 = [(GDPY2010/12)*3]+[(GDPY2011/12)*9]=10,431.28 billion Baht and GDP as of September 2012=[(GDPY2011/12)*3]+ [(GDPY2012/12)*9]=11,243.98 billion Baht.

2. หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรงในปีงบประมาณ 2555 เพิ่มขึ้น สุทธิ 333,852.06 ล้านบาท โดยการเปลี่ยนแปลงที่สำ� คัญ เกิดจาก • การเพิ่ ม ขึ้ น จากเงิ น กู ้ ช ดเชยการขาดดุ ล งบ ประมาณและการบริหารหนี้ 326,084.28 ล้านบาท โดย แบ่งเป็น

2. Government Debt Government Debt in fiscal year 2012 increased 333,852.06 million Baht as a result from the following reasons: • Increasing in net government defificit borrowing and management in an amount of 326,084.28 million Baht which can be divided into

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

112


Annual Report

2012 2555 1) การออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อชดเชยการขาดดุล งบประมาณ 258,284.28 ล้านบาท 2) การออกตัว๋ สัญญาใช้เงิน (P/N) เพือ่ ชดเชยการขาดดุล งบประมาณและการบริหารหนี้ 85,573.66 ล้านบาท 3) การออกพั น ธบั ต รรั ฐ บาลเพื่ อ การบริ ห ารหนี้ 5,782.34 ล้านบาท และ 4) การไถ่ถอนตั๋วเงินคลัง (T-Bill) 23,556 ล้านบาท • การเพิ่มขึ้นจากการที่กระทรวงการคลังได้กู้เงิน ให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยกูต้ อ่ จ�ำนวน 8,728.32 ล้านบาท เพื่อด�ำเนินโครงการรถไฟฟ้าสาย สีน�้ำเงินและสายสีเขียวช่วงแบริ่ง-สมุทรปราการ • การเพิ่มขึ้นของเงินกู้เพื่อน�ำเข้ากองทุนส่งเสริม การประกันภัยพิบัติ 86.41 ล้านบาท เพื่อบริหารจัดการ ความเสี่ ย งจากภั ย พิ บั ติ โ ดยการรั บ ประกั น ภั ย และท� ำ ประกันภัยต่อ และให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผป้ ู ระกอบ ธุรกิจประกันวินาศภัย • การเพิม่ ขึน้ ของเงินกูส้ ำ� หรับโครงการเพือ่ การวาง ระบบบริหารจัดการน�้ำฯ 1,800 ล้านบาท เพื่อน�ำไปใช้จ่าย ในการวางระบบบริหารจัดการน�ำ้ และสร้างอนาคตประเทศ • การเพิ่ ม ขึ้ น ของหนี้ ต ่ า งประเทศ 6,489.88 ล้านบาท โดยเป็นการเพิม่ ขึน้ ของหนีส้ กุลเงินเหรียญสหรัฐ เป็นส�ำคัญ 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน หนี้ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ ไ ม่ เ ป็ น สถาบั น การเงิ น ในปี งบประมาณ 2555 ลดลงสุทธิ 15,459.46 ล้านบาท เนื่องจากการลดลงในส่วนของหนี้ต่างประเทศเป็นส�ำคัญ ดังนี้ • หนีท้ รี่ ฐั บาลค�ำ้ ประกันลดลง 10,998.49 ล้านบาท เนื่ อ งจากการลดลงของหนี้ ส กุ ล เงิ น เยนเป็ น ส� ำ คั ญ โดยเป็นการช�ำระคืนต้นเงินกูข้ องบริษทั ทศท. คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) • หนีท้ รี่ ฐั บาลไม่คำ�้ ประกันลดลง 4,844.22 ล้านบาท เนือ่ งจากการลดลงของหนีส้ กุลเงินเหรียญสหรัฐเป็นส�ำคัญ โดยเป็นการช�ำระต้นเงินกูข้ องบริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

1) Government Bond Issuance for the budget defificit ffi inancing 258,284.28 million Baht 2) Promissory Note Issuance for the budget defificit nfi ancing and management 85,573.66 million Baht 3) Government Bond Issuance for debt management 5,782.34 million Baht and 4) Treasury Bill Redemption in the amount of 23,556 million Baht • Increasing in on-lending loan in the amount of 8,728.32 million Baht. Ministry of Finance on-lended loan to Mass Rapid Transit Authority of Thailand (MRTA) to implement the Metropolitan Rapid Transit Chaloem Ratchamongkhon Line (MRT Blue Line) and MRT Green Line (Bearing-Samut Prakan) projects. • Increasing in ffi inancing for Disaster Insurance Promotion Fund in the amount of 86.41 million Baht to manage the risk from disaster by means of insurance and reinsurance as well as provide the financial assistance to insurance against loss business. • Increasing in financing for Constructing the systems for Managing Water in the amount of 1,800 million Baht. • Increasing in external debt in the amount of 6,489.88 million Baht, especially an increasing in USD currency. 3. Non-Financial State Enterprise Debt Non-Financial State Enterprise Debt decreased 15,459.46 million Baht due to a decrease in the external debt as follows; • Decreasing in the guaranteed debt in the amount of 10,998.49 million Baht due to a signifificant decline in Yen currency. The debt was decreased because of the principal repayment of TOT Corporation Public Company Limited. • Decreasing in the non-guaranteed debt in the amount of 4,844.22 million Baht due to a

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

113


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

4. หนีร้ ฐั วิสาหกิจทีเ่ ป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�ำ้ ประกัน) หนี้ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ เ ป็ น สถาบั น การเงิ น (รั ฐ บาลค�้ ำ ประกัน) ในปีงบประมาณ 2555 เพิ่มขึ้นสุทธิ 195,265.39 ล้านบาท เนื่องจากการเพิ่มขึ้นในส่วนของหนี้ในประเทศ เป็นส�ำคัญ ดังนี้ • ธนาคารอาคารสงเคราะห์ออกพันธบัตรเพื่อการ ปรับโครงสร้างหนี้ที่ครบก�ำหนด จ�ำนวน 21,100 ล้านบาท และการไถ่ถอนพันธบัตร จ�ำนวน 22,300 ล้านบาท • ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ออกพันธบัตรเพือ่ ด�ำเนินโครงการรับจ�ำน�ำผลิตผลทางการ เกษตร ปีการผลิต 2554/2555 จ�ำนวน 122,500 ล้านบาท และไถ่ถอนพันธบัตร จ�ำนวน 1,000 ล้านบาท • ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรมี การเบิกจ่ายมากกว่าช�ำระคืนต้นเงินกู้ 76,076 ล้านบาท 5. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ หนีก้ องทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูฯ ในปีงบประมาณ 2555 ลดลง สุทธิ 30,445.18 ล้านบาท เนื่องจากการไถ่ถอนพันธบัตรที่ ครบก�ำหนดเมือ่ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 ท�ำให้ไม่มยี อด หนี้คงค้างของหนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ 6. หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ หนีห้ น่วยงานอืน่ ของรัฐในปีงบประมาณ 2555 เพิม่ ขึน้ สุทธิ 5,732.21 ล้านบาท เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของหนี้ที่ รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน ดังนี้ • การเบิ ก จ่ า ยเงิ น กู ้ ร ะยะยาวในประเทศของ ส�ำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพือ่ นบ้าน 682.21 ล้านบาท และ • การเบิกจ่ายเงินกู้ระยะสั้นในประเทศของสถาบัน บริหารกองทุนพลังงานสุทธิ 5,050 ล้านบาท

signifificant reduction in USD currency. The debt was decreased because of the principal repayment of PTT Public Company Limited. 4. Financial Institutions Guaranteed Debt Financial Institutions Guaranteed Debt in ffi iscal year 2012 increased 195,265.39 million Baht due to an increase in the domestic debt as follows; • The Government Housing Bank issued the bond in order to restructure the debt (Roll-over) in the amount of 21,100 million Baht and redeemed the bond in the amount of 22,300 million Baht. • The Bank for agriculture and agricultural co-operatives issued the bond for the agricultural products pledging scheme for the year 2011/2012 in the amount of 122,500 million Baht and redeemed the bond in the amount of 1,000 million Baht. • The Bank for agriculture and agricultural co-operatives has disbursed more than repaid the principal in the amount of 76,076 million Baht. 5. FIDF Debt FIDF Debt in fifiscal year 2012 decreased 30,445.18 million Baht as a result of the FIDF bond redemption on November 30, 2011 and there is no new borrowing for FIDF during ffi iscal year 2012. Therefore, there is no FIDF debt outstanding. 6. Other Government Agencies debt in ffi iscal year 2012 increased 5,732.21 million due to an increase in the non-guaranteed Debt as follows; • The disbursement of Long-term domestic contract loan of the Neighboring Countries Economic Development Cooperation Agency in the amount of 682.21 million Baht. • The net disbursement of Short-term domestic contract loan of the Energy Fund Administration Institute in the amount of 5,050 million Baht.

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

114


Annual Report

2012 2555

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สวนที่

7 ประมวลภาพกิจกรรม 2012 ทศวรรษ 2555 Annual

Report

รายงานประจำป

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PUBLIC 2012 DEBT MANAGEMENT ANNUAL REPORT : PUBLIC OFFICE DEBT MANAGEMENT OFFICE

115


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

วันสถาปนาครบรอบปีที่ 9 ของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ นายธีระชัย ภูวนาถนรานุบาล รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง เป็นประธานกล่าวเปิดงานวันสถาปนา ครบรอบปีที่ 9 ของส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ โดยมีนายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหาร หนีส้ าธารณะ พร้อมผูบ้ ริหารระดับสูงให้การต้อนรับ ภายในงานมีการเสวนาภายใต้หวั ข้อ “บทบาทของส�ำนักงาน บริหารหนีส้ าธารณะในการระดมทุนเพือ่ สนับสนุนโครงการของรัฐบาลอย่างยัง่ ยืน” ณ Pullman Bangkok King Power Hotel เมือ่ วันที่ 7 ตุลาคม 2554

พิธีลงนามสัญญาว่าจ้างผู้บริหารสินทรัพย์ภายนอก นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ในฐานะผู้จัดการกองทุน บริ ห ารเงิ น กู ้ เ พื่ อ การปรั บ โครงสร้ า งหนี้ ส าธารณะและพั ฒ นาตลาดตราสารหนี้ ใ นประเทศ (กปพ.)ร่ ว มลงนามในสั ญ ญาว่ า จ้ า งผู ้ บ ริ ห ารสิ น ทรั พ ย์ ภ ายนอก ร่ ว มกั บ บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น กสิ ก รไทย จ� ำ กั ด บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น กรุ ง ไทย จ� ำ กั ด (มหาชน) และบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน ไทยพาณิชย์ จ�ำกัด เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารเงินของกองทุนฯ ทีไ่ ด้รบั จากการกูเ้ พือ่ ปรับโครงสร้างหนีล้ ว่ งหน้าของกระทรวงการคลัง ณ ห้องแถลงข่าว กระทรวงการคลัง เมือ่ วันที่ 14 ตุลาคม 2554

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

116


Annual Report

2012 2555 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุมเรื่อง ตลาดพันธบัตรรัฐบาลของภูมิภาคอาเซียน+3 นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เป็นประธาน กล่าวเปิดการประชุมเรือ่ ง ตลาดพันธบัตรรัฐบาล ของภูมิภาคอาเซียน+3 (The Government Bond Markets in ASEAN+3) ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี เมือ่ วันที่ 21 ตุลาคม 2554 โดยการประชุมดังกล่าว มีผแู้ ทนจากกระทรวง การคลังของกลุม่ ประเทศอาเซียน+3 เข้าร่วม ประชุมกว่า 50 คน

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ร่วมหารือกับ Korea EXIM Bank

นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ พร้อมด้วยคณะผู้แทนจาก ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ และธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (ประเทศไทย) ประชุ ม หารื อ กั บ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของธนาคาร เพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (Korea Export-Import Bank) ในระหว่างการ เดินทางไปเข้าร่วมการประชุมเรือ่ ง ตลาดพันธบัตร รัฐบาลของภูมภิ าคอาเซียน+3 (The Government Bond Markets in ASEAN+3) และการประชุม คณะท�ำ งานภายใต้มาตรการริเ ริ่ ม พั ฒนาตลาด พันธบัตรเอเชีย (Asian Bond Markets Initiative : ABMI) เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2554 ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

117


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะเข้าร่วมออกบูธ ในงานมหกรรมการเงินเชียงใหม่ ครั้งที่ 6

นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ ให้การต้อนรับนายกิตติรตั น์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และนายสันติ วิริยะรังสฤษฎ์ ประธานจัดงาน มหกรรมการเงิน Money Expo 2011 เนือ่ งในโอกาสเยีย่ มชมบูธส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) ภายใน งานมหกรรมการเงินเชียงใหม่ ครัง้ ที่ 6 ทีจ่ ดั ขึน้ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่า เชียงใหม่ แอร์พอร์ต ระหว่าง วันที่ 18 - 20 พฤศจิกายน 2554 โดยภายในงาน สบน. ได้ดำ� เนินการเผยแพร่ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการออม ผ่านพันธบัตรออมทรัพย์ พร้อมทัง้ ประชาสัมพันธ์การจ�ำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลเพือ่ รายย่อยพิเศษผ่านตู้ ATM

พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณเพื่อเป็นข้าราชการที่ดี และพลังของแผ่นดิน นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ พร้อมคณะผูบ้ ริหาร และเจ้าหน้าที่ส� ำ นั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ ร่ ว มพิ ธีถ วายสั ต ย์ ป ฏิ ญ าณเพื่ อ เป็ น ข้ า ราชการ ที่ ดี แ ละพลั ง ของแผ่ น ดิ น เนื่ อ งในโอกาสเฉลิ ม พระชนมพรรษา 84 พรรษา 5 ธันวาคม 2554 ณ ห้องประชุม 401 ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ เมือ่ วันที่ 2 ธันวาคม 2554

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

118


Annual Report

2012 2555 งานสัมมนาโครงการเพชรวายุภกั ษ์สญ ั จร ครัง้ ที่ 4 จังหวัดเชียงใหม่

นายสุวิชญ โรจนวานิช รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ พร้อมเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมงาน สัมมนาโครงการเพชรวายุภักษ์สัญจร ครั้งที่ 4 ในพื้นที่ภาคเหนือ ณ ห้องแกรนด์นันทาบอลรูม โรงแรม ฮอลิเดย์อินน์ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2554

การประชุมคณะกรรมการอ�ำนวยการหน่วยงานค�ำ้ ประกันเครดิต และการลงทุนแห่งภูมิภาคอาเซียน+3 (Credit Guarantee and Investment Facility : CGIF) ครั้งที่ 1/2555 นายสุวิชญ โรจนวานิช รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เข้าร่วมการ ประชุมคณะกรรมการอ�ำนวยการหน่วยงาน ค�้ำประกันเครดิตและการลงทุนแห่งภูมิภาค อาเซี ย น+3 (Credit Guarantee and Investment Facility : CGIF) ครั้งที่ 1/2555 ในฐานะผู ้ แ ทนไทยที่ ท� ำ หน้ า ที่ ก รรมการ อ�ำนวยการของกลุ่มประเทศอาเซียนใน CGIF เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555 ณ กรุงมะนิลา สาธารณรัฐฟิลิปปินส์

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

119


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ รับรางวัล Best Sovereign Bond 2011 และ Deals of the Year 2011 จากนิตยสาร Asiamoney Award

นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เดินทางรับรางวัล Best Sovereign Bond 2011 และ Deals of the Year 2011 จากนิตยสาร Asiamoney Award ณ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง ระหว่างวันที่ 23-24 กุมภาพันธ์ 2555 เนือ่ งในโอกาสทีพ่ นั ธบัตรรัฐบาล อั ต ราดอกเบี้ ย แปรผั น ตามเงิ น เฟ้ อ (Inflfl a tion Linked Bond : ILB) ของกระทรวงการคลังได้รบั รางวัลดังกล่าว และได้เข้าร่วมประชุมกับผู้บริหาร ธนาคารฮ่องกงและเซีย่ งไฮ้แบงกิง้ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ในหัวข้อแนวทางการระดมทุนภาครัฐ (Funding Alternative) ด้วย

ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะเข้าร่วมกิจกรรมศึกษาดูงาน การเรียนรูต้ ามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง นายประวิช สารกิจปรีชา ที่ปรึกษาด้านหนี้สาธารณะ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) พร้อม คณะเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมการอบรมหลักสูตรการบริหารจัดการหรือการพัฒนาตนเองในโครงการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการให้แก่บุคลากรในสายงานสนับสนุน เพื่อให้บุคลากรมีความ เข้าใจในการปฏิบตั งิ านตามยุทธศาสตร์และสามารถปฏิบตั งิ านเพือ่ สนับสนุนการด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ของ สบน. ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ณ ศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ มูลนิธิชัยพัฒนา จ.นครนายก เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2555

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

120


Annual Report

2012 2555 โครงการประกวดรางวัลเพชรวายุภักษ์ ครั้งที่ 3

ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะส่งผลงานนวัตกรรม ในหัวข้อ “พันธบัตรออมทรัพย์รฐั บาล : นวัตกรรมทางการเงิน เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทยอย่างยั่งยืน” เพื่อแข่งขันชิงรางวัลประเภทรางวัลนวัตกรรมการให้ บริการประชาชนและหน่วยงานภายนอก ระดับกรม ในโครงการประกวดรางวัลเพชรวายุภักษ์ครั้งที่ 3 ประจ�ำปี 2554 ณ ห้องประชุมชัน้ 7 กรมบัญชีกลาง เมื่ อ วั น ที่ 15 มี น าคม 2555 และเข้ า ร่ ว มจั ด นิ ท รรศการแสดงผลงานนวั ต กรรมรางวั ล เพชร วายุภักษ์ในงานประกาศรางวัลและมอบรางวัลเพชร วายุภักษ์ ครั้งที่ 3 ประจ�ำปี พ.ศ.2554 (3rd MOF Innovation Awards 2011) ณ ห้องประชุมพระอุเทน 1 ชัน้ 2 อาคารกรมสรรพากร ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร เมือ่ วันที่ 28 มีนาคม 2555

MFC Finance Forum ครั้งที่ 9

นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ เข้าร่วมกิจกรรม MFC Finance Forum ครัง้ ที่ 9 จัดโดยบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน เอ็มเอฟซี จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมรับฟังการบรรยายเรือ่ ง “ภาพรวมหนีส้ าธารณะทีม่ ผี ลกระทบต่อตลาดเงินตลาดทุน” และร่วมเสวนาในหัวข้อ “หนีส้ าธารณะและผลกระทบ ต่อตลาดเงินตลาดทุนไทย” ในการนี้ นายสุวชิ ญ โรจนวานิช รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ เข้าร่วมรับฟังการบรรยายดังกล่าวด้วย ณ ห้องบอลรูม โรงแรมโฟร์ซซี นั่ ส์ ถนนราชด�ำริ เมือ่ วันที่ 20 มีนาคม 2555

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

121


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ คว้า 2 รางวัลยอดเยี่ยม จากสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย

นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ น�ำทีมเข้ารับรางวัล Most Creative Issue และรางวัล Deal of the Year 2011 ในพิธมี อบรางวัลตราสารหนีย้ อดเยีย่ มประจ�ำปี 2554 (Best Bond Awards 2011) จัดโดยสมาคมตลาดตราสารหนีไ้ ทย (Thai BMA) ณ ห้องบอลรูม โรงแรมสวิสโฮเต็ล ปาร์คนายเลิศ กรุงเทพฯ เมือ่ วันที่ 10 พฤษภาคม 2555

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ร่วมออกบูธในงานมหกรรมการเงิน ครั้งที่ 12 Money Expo 2012 นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ พร้อมคณะ ให้การต้อนรับ นายกิตติรตั น์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง และนายสันติ วิรยิ ะรังสฤษฎ์ ประธานจัดงานมหกรรมการเงิน Money Expo ในโอกาสเยี่ยมชมบูธภายใต้งานมหกรรมการเงิน ครัง้ ที่ 12 Money Expo 2012 ณ อาคารชาเลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี เมือ่ วันที่ 17 พฤษภาคม 2555

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

122


Annual Report

2012 2555 โครงการสัมมนาวิชาการสัญจร (Roadshow) ภายใต้โครงการส่งเสริม ภาพลักษณ์ทดี่ ขี องหนีส้ าธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ 2555

นายทวี ไอศูรย์พิศาลศิริ รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เป็นประธานในพิธีเปิด โครงการสัมมนาวิชาการสัญจร (Roadshow) ภายใต้โครงการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 เพือ่ สร้างความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมภาพลักษณ์ทดี่ ขี องหนีส้ าธารณะ รวมถึงการบริหารจัดการหนีส้ าธารณะของ สบน. ให้แก่นสิ ติ นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระหว่างวันที่ 10-31 กรกฎาคม 2555

กระทรวงการคลัง โดย ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ รับรางวัล Deal of the Year from Asia 2011 จากนิตยสาร Euromoney

นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ เดินทางรับรางวัล Deals of the Year from Asia 2011 จากนิตยสาร Euromoney ในงาน Euromoney Awards For Excellence ณ เขตบริหาร พิเศษฮ่องกง ระหว่างวันที่ 12-13 กรกฎาคม 2555 เนือ่ งใน โอกาสทีพ่ นั ธบัตรรัฐบาลอัตราดอกเบีย้ แปรผันตามเงินเฟ้อ (Inflflation Linked Bond : ILB) ของกระทรวงการคลัง ได้รับรางวัลดังกล่าวและได้เข้าร่วมประชุมกับผู้บริหาร ธนาคารฮ่องกงและเซีย่ งไฮ้ แบงกิง้ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ในหั ว ข้ อ แนวทางการ ระดมทุนภาครัฐ (Funding Alternative) ด้วย

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

123


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะออกบอนด์ 80,000 ล้านบาท ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) จั ด พิ ธีล งนามในบั น ทึ ก ความตกลงว่ า ด้ ว ย การจ� ำ หน่ า ยพั น ธบั ต รออมทรั พ ย์ พิ เ ศษของ กระทรวงการคลัง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 เพื่อจ�ำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ระหว่างวันที่ 3-14 กันยายน 2555 รุ่นอายุ 6 ปี วงเงิน ไม่เกิน 80,000 ล้านบาท อัตราดอกเบีย้ 3.99% ต่อปี ณ ห้องประชุม 401 อาคารส�ำนักงานปลัด กระทรวงการคลัง เมือ่ วันที่ 16 สิงหาคม 2555

พิธกี ารมอบใบอนุญาตผูค้ า้ หลักส�ำหรับธุรกรรมประเภทซือ้ ขายขาด ของกระทรวงการคลัง (MOF Outright PD) นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ กล่าวรายงานการแต่งตัง้ ผูค้ า้ หลัก ส�ำหรับธุรกรรมประเภทซือ้ ขายขาดของกระทรวงการคลัง (MOF Outright PD) โดยมีนายกิตติรตั น์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง ให้เกียรติเป็นประธานในพิธี และมอบใบอนุญาตแก่ สถาบันการเงินทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ 13 ราย ณ ห้องประชุมวายุภกั ษ์ 4 ชัน้ 4 อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง เมือ่ วันที่ 28 สิงหาคม 2555

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

124


Annual Report

2012 2555 กิจกรรม PDMO CAMP 2012

นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนี้ สาธารณะ เป็นประธานในพิธเี ปิดกิจกรรม PDMO CAMP 2012 โดยมีนสิ ติ นักศึกษาจาก 6 สถาบันการศึกษา ทีผ่ า่ นการคัดเลือก เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับหนีส้ าธารณะและ ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของหนี้สาธารณะ โดยมีกิจกรรมเพิ่มพูน ความรูเ้ ชิงวิชาการ ความรูด้ า้ นหนีส้ าธารณะ บทบาท หน้าทีข่ องส�ำนัก ต่างๆ ใน สบน. กิจกรรมสันทนาการประจ�ำซุม้ และการแข่งขันตอบ ค�ำถามทางวิชาการประเภททีม เพือ่ ให้นสิ ติ นักศึกษาเข้าใจบทบาท ของหน่วยงานและมีทศั นคติทดี่ ตี อ่ หนีส้ าธารณะ พร้อมทัง้ น�ำความรูท้ ี่ ได้รบั ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนหรือการปฏิบตั งิ านในอนาคต ณ ห้อง ประชุมวายุภกั ษ์ 4 ชัน้ 4 อาคารส�ำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง และ ฮอลิเดย์ อินน์ รีสอร์ท รีเจ้นท์ บีช ชะอ�ำ จ.เพชรบุรี ระหว่าง วันที่ 3-7 กันยายน 2555

บุคลากรส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ ร่วมโครงการกิจกรรมการศึกษาดูงานกับหน่วยงาน ภายนอก (KM Journey)

นายประวิ ช สารกิ จ ปรี ช า ที่ ป รึ ก ษาด้ า นหนี้ ส าธารณะ ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) ร่วมกิจกรรมการศึกษาดูงาน กับหน่วยงานภายนอก (KM Journey) โดยกิจกรรมมีการบรรยาย ประวัตคิ วามเป็นมาและการด�ำเนินงานของศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอือ้ ง รวมทัง้ ชมสือ่ “ฅนหวงแผ่นดิน ตอนคืนชีวติ ให้แผ่นดิน” และการบรรยายหลักปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดย ดร. วิวัฒน์ ศัลยก�ำธร ในโครงการกิจกรรมการศึกษาดูงานกับ หน่วยงานภายนอก (KM Journey) ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอือ้ ง จ.ชลบุรี เมือ่ วันที่ 20 กันยายน 2555

ส� ำ นั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ จัดกิจจกรรมแนวร่วมดูเเลคูคลอง ณ โรงเรียนวัดสุทธาโภชน์ บริเวณ คลองมอญ กรุงเทพฯ

ส� ำ นั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะจัด กิจกรรมแนวร่วมดูแลคูคลองเพื่อรณรงค์ และปลูกสร้างจิตส�ำนึกความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมของคนในชุมชน รวมทัง้ สนองนโยบายของกระทรวงการคลัง ในการจัดกิจกรรมดูแลคูคลองในรูปแบบ CSR โดยมีคณะเจ้าหน้าทีจ่ าก สบน. น�ำโดย นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล ผอ.สบน. พร้อม ผูแ้ ทนชุมชนเลียบคลองมอญ ผูแ้ ทนชุมชน สุทธาวาส และนักเรียนโรงเรียนวัดสุทธาโภชน์ จ�ำนวน 350 คน ณ โรงเรียนวัดสุทธาโภชน์ บริเวณคลองมอญ เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ เมือ่ วันที่ 21 กันยายน 2555

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

125


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ท�ำเนียบผู้บริหาร ณ 30 กันยายน 2556

ที่อยู่ : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 ชื่อ-สกุล

โทรศัพท์/โทรสาร

ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ นางสาวจุฬารัตน์ สุธธี ร 0-2265-8051 0-2273-9825 0-2265-8050 ต่อ 5100 Fax : 02-273-9167 ทีป่ รึกษาด้านหนีส้ าธารณะ นายประวิช สารกิจปรีชา 0-2265-8058 0-2256-8050 ต่อ 5111 Fax : 0-2273-9145 รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ 0-2273-9158 นายสุวชิ ญ โรจนวานิช 0-2265-8052 0-2265-8050 ต่อ 5104 Fax : 0-2273-9109 รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ นายทวี ไอศูรย์พศิ าลศิร ิ 0-2618-3381 0-2265-8050 ต่อ 5107 Fax : 0-2273-9822 ส�ำนักจัดการหนี้ 1 ผูอ้ ำ� นวยการ นายวิสทุ ธิ์ จันมณี 0-2265-8050 ต่อ 5300 Fax : 0-2618-4705 ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านเงินกูโ้ ครงการ นายณรงค์ แก้วเศวตพันธุ ์ 0-2265-8050 ต่อ 5403 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนจัดการเงินกูร้ ฐั บาล 1 นายถาวร เสรีประยูร 0-2265-8050 ต่อ 5304 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนจัดการเงินกูร้ ฐั บาล 2 นางสาวยอดเยาวมาลย์ สุคนธพันธุ ์ 0-2265-8050 ต่อ 5303 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนจัดการเงินกูร้ ฐั บาล 3 นายยุทธพงศ์ เอีย่ มแจ้ง 0-2265-8050 ต่อ 5305 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนจัดการเงินกูห้ น่วยงานอืน่ นายฐิตเิ ทพ สิทธิยศ 0-2265-8050 ต่อ 5803

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

126

อีเมล chularat@pdmo.go.th

prawit@pdmo.go.th

suwit@pdmo.go.th

thavee@pdmo.go.th

wisut@pdmo.go.th

narong@pdmo.go.th tharwon@pdmo.go.th yod@pdmo.go.th yuthapong@pdmo.go.th thitithep@pdmo.go.th


Annual Report

2012 2555 ชื่อ-สกุล

โทรศัพท์/โทรสาร

ส�ำนักจัดการหนี้ 2 ผูอ้ ำ� นวยการ นางสาวศิรสา กันต์พทิ ยา ผูอ้ ำ� นวยการส่วนบริหารจัดการเงินกูใ้ นประเทศรัฐวิสาหกิจ นางชนันภรณ์ พิศษิ ฐวานิช ผูอ้ ำ� นวยการส่วนบริหารจัดการเงินกูต้ า่ งประเทศรัฐวิสาหกิจ นางสาวเสาวนีย์ จันทพันธ์ ผูอ้ ำ� นวยการส่วนเงินกูต้ ลาดเงินทุนต่างประเทศและการจัดระดับความน่าเชือ่ ถือ นางสาวอรุณวรรณ ยมจินดา ผูอ้ ำ� นวยการส่วนบริหารจัดการเงินให้กตู้ อ่ และการช�ำระหนีร้ ฐั วิสาหกิจ นางปัณฑารีย์ ศรีแก้วพันธ์ ส�ำนักนโยบายและแผน ผูอ้ ำ� นวยการ นายธาดา พฤฒิธาดา ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านหนีส้ าธารณะและเงินคงคลัง นางสุณี เอกสมทราเมษฐ์ ผูอ้ ำ� นวยการส่วนนโยบายและแผน นางสาวนีรชา มรกตราภรณ์ ผูอ้ ำ� นวยการส่วนความร่วมมือระหว่างประเทศ นางสาวอุปมา ใจหงษ์ ผูอ้ ำ� นวยการส่วนวิจยั นโยบายหนีส้ าธารณะ นางสาวรานี อิฐรัตน์ ส�ำนักบริหารการช�ำระหนี ้ ผูอ้ ำ� นวยการ นายเอด วิบลู ย์เจริญ ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านบริหารการช�ำระหนี ้ นายเอกราช เขือ่ นขันธ์สถิตย์

0-2265-8050 ต่อ 5400 Fax : 0-2278-4151 0-2265-8050 ต่อ 5404 0-2265-8050 ต่อ 5412 0-2265-8050 ต่อ 5402 0-2265-8050 ต่อ 5406 0-2265-8050 ต่อ 5500 Fax : 0-2273-9144 0-2265-8050 ต่อ 5506 Fax : 0-2273-9144 0-2265-8050 ต่อ 5514 0-2265-8050 ต่อ 5503 0-2265-8050 ต่อ 5505 0-2265-8053 0-2265-8050 ต่อ 5600 Fax : 0-2273-9735 0-2265-8050 ต่อ 5113

ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

127

อีเมล sirasa@pdmo.go.th

chanunporn@pdmo.go.th saowanee@pdom.go.th arunwan@pdmo.go.th puntaree@pdmo.go.th

tada@pdmo.go.th

sunee@pdmo.go.th

neeracha@pdmo.go.th upama@pdmo.go.th ranee@pdmo.go.th

ace@pdmo.go.th

ekaraj@pdmo.go.th


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ชื่อ-สกุล

โทรศัพท์/โทรสาร

ผูอ้ ำ� นวยการส่วนบริหารการช�ำระหนีใ้ นประเทศ นายอัคนิทตั บุญโญ 0-2265-8050 ต่อ 5602 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนบริหารการช�ำระหนีต้ า่ งประเทศ นางสาวชิดชไม ไมตรี 0-2265-8050 ต่อ 5604 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนบริหารเงินกองทุน นางพรพิมล บุนนาค 0-2265-8050 ต่อ 5603 ส�ำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ ผูอ้ ำ� นวยการ นายธีรชั ย์ อัตนวานิช 0-2271-7999 ต่อ 5700 Fax : 0-2357-3576 ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านบริหารหนีส้ าธารณะและภาระผูกพัน นางสาวอัญจนา วงศ์สว่าง 0-2271-7999 ต่อ 5705 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนนโยบายและแผนการระดมทุน นางสาวสิรภิ า สัตยานนท์ 0-2271-7999 ต่อ 5703 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนวิเคราะห์และจัดการเงินทุน โครงการ 1 ร.ต.ต.หญิงจารุณี เล็กด�ำรงศักดิ์ (รักษาการ) 0-2271-7999 ต่อ 5710 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนวิเคราะห์และจัดการเงินทุน โครงการ 2 นางสาวเบญจมาศ เรืองอ�ำนาจ 0-2271-7999 ต่อ 5704 ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์ขอ้ มูลทีป่ รึกษาไทย นางอนงค์นาฏ โมราสุข 0-2271-7999 ต่อ 5702 ส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี ้ ผูอ้ ำ� นวยการ 0-2271-7999 นางจินดารัตน์ วิรยิ ะทวีกลุ ต่อ 5777 Fax : 0-2357-3576 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนพัฒนาตลาดตราสารหนีร้ ฐั บาล นางสาวพิมพ์เพ็ญ ลัดพลี (ปฏิบตั หิ น้าทีผ่ อู้ ำ� นวยการ) 0-2271-7999 ต่อ 5802 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนบริหารกองทุนและพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน นายณัฐการ บุญศรี 0-2271-7999 ต่อ 5803 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนนโยบายตลาดตราสารหนีร้ ะหว่างประเทศ นางฉัตรมณี สินสิริ 0-2271-7999 ต่อ 5804 ส�ำนักบริหารการระดมทุนระบบบริหารจัดการน�ำ้ ผูอ้ ำ� นวยการ นางจินดารัตน์ วิรยิ ะทวีกลุ (ปฏิบตั หิ น้าที)่ 0-2271-7999 ต่อ 5777 Fax : 0-2357-3576

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

128

อีเมล aknetat@pdmo.go.th chidchamai@pdmo.go.th pornpimon@pdmo.go.th

theeraj@pdmo.go.th

anchana@pdmo.go.th siribha@pdmo.go.th jarunee@pdmo.go.th benjamart@pdmo.go.th anongnart@pdmo.go.th

jindarat@pdmo.go.th

pimpen@pdmo.go.th nattakarn@pdmo.go.th chatmanee@pdmo.go.th

jindarat@pdmo.go.th


Annual Report

ชื่อ-สกุล

โทรศัพท์/โทรสาร

ผูอ้ ำ� นวยการส่วนนโยบายและแผนการลงทุน นางอรพร ถมยา (ปฏิบตั หิ น้าที)่ 0-2271-7999 ต่อ 5722 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนก�ำกับ ติดตาม และประเมินผลโครงการ ร.ต.ต.หญิงจารุณี เล็กด�ำรงศักดิ์ (ปฏิบตั หิ น้าที)่ 0-2271-7999 ต่อ 5710 ส�ำนักงานเลขานุการกรม เลขานุการกรม นายธีรลักษ์ แสงสนิท 0-2265-8050 ต่อ 5110 Fax : 0-2273-9147 หัวหน้าฝ่ายคลัง นางสาวมนัสนันท์ ประเสริฐผล 0-2265-8050 ต่อ 5117 หัวหน้าฝ่ายการเจ้าหน้าที ่ 0-2265-8050 นางรุง่ ระวี รุกเขต ต่อ 5116 หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทัว่ ไป นางสาวสุพรรณพิมพ์ บุญทิพย์ 0-2265-8050 ต่อ 5705 หัวหน้าฝ่ายพัสดุ นายธีระศักดิ์ อิญญาวงค์ 0-2265-8050 ต่อ 5119 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ นางสาววราภรณ์ ปัญญศิร ิ 0-2265-8062 0-2265-8050 ต่อ 5200 Fax : 0-2298-5481 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนวิเคราะห์นโยบายและแผนสารสนเทศ นายครรชิต พะลัง (ปฏิบตั หิ น้าที)่ 0-2265-8050 ต่อ 5209 ผูอ้ ำ� นวยการส่วนบริหารระบบข้อมูลสารสนเทศ นางสาวจันทิรา ตรงรัศมีทอง (รักษาการ) 0-2265-8050 ต่อ 5610 กลุม่ พัฒนาระบบบริหาร ผูอ้ ำ� นวยการ นางสาวพรทิพย์ พันเลิศยอดยิง่ 0-2265-8050 ต่อ 5900 Fax : 0-2618-3399 กลุม่ ตรวจสอบภายใน ผูอ้ ำ� นวยการ นางสาวโสภิดา ศรีถมยา 0-2265-8050 ต่อ 5220 Fax : 0-2618-3384 กลุม่ กฎหมาย ผูอ้ ำ� นวยการ นายธีรเดช ลิขติ ตระกูลวงศ์ 0-2265-8050 ต่อ 5913 Fax : 0-2273-9058 ANNUAL REPORT 2012 : PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

129

2012 2555 อีเมล

oraporn@pdmo.go.th jarunee@pdmo.go.th

teeralak@pdmo.go.th

manusanan@pdmo.go.th rungrawee@pdmo.go.th supanpim@pdmo.go.th tearasak@pdmo.go.th

waraporn@pdmo.go.th

kanchit@pdmo.go.th janthira@pdmo.go.th porntip@pdmo.go.th

sophida@pdmo.go.th

teeradet@pdmo.go.th


ทศวรรษ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

คณะผู้จัดท�ำรายงานประจ�ำปี พ.ศ. 2555 1. นางสาวสิรภิ า สัตยานนท์

เศรษฐกรช�ำนาญการพิเศษ

ประธานคณะท�ำงาน

2. นางสาวทิพรัตน์ ไชยศรี

นักวิชาการคลังช�ำนาญการ

คณะท�ำงาน

3. นางสาวสุมนมาลย์ กรวยสวัสดิ ์

นักวิชาการคลังช�ำนาญการ

คณะท�ำงาน

4. นางสาวปวีณา ส�ำเร็จ

เศรษฐกรช�ำนาญการ

คณะท�ำงาน

5. นายครรชิต พะลัง

นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำ� นาญการ

คณะท�ำงาน

6. นางสาวภัทรวรรณ ปริยวาที

เศรษฐกรช�ำนาญการ

คณะท�ำงาน

7. นางสาวมณฑาทิพย์ ชุมทอง

นิตกิ รช�ำนาญการ

คณะท�ำงาน

8. นางสาวชินารส อัศวอารี

นักวิชาการคลังปฏิบตั กิ าร

คณะท�ำงาน

9. นางสาวปฏิมา พักตร์ผอ่ ง

นักวิชาการคลังปฏิบตั กิ าร

คณะท�ำงาน

10. นางสาววิลาวัณย์ ประชาศิลป์

เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร

คณะท�ำงาน

11. นางสาวมนทิรา มหินชัย

เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร

คณะท�ำงาน

12. นางสาวนลิษา อุบลแย้ม

นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบตั กิ าร

คณะท�ำงาน

13. นายศุภชัย ธรรมจิตราภรณ์ นักวิชาการคลังปฏิบตั กิ าร 14. นายบวรศักดิ์ ชุตนิ ทราศรี

นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบตั กิ าร

คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน

15. นางสาวสุพรรณพิมพ์ บุญทิพย์ นักจัดการงานทัว่ ไปช�ำนาญการ

คณะท�ำงานและเลขานุการ

16. นางสาวพนิดา เกรียงทวีทรัพย์ นักประชาสัมพันธ์

คณะท�ำงานและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

17. นางสาวนิศรากร ศัทธาคลัง

นักประชาสัมพันธ์

คณะท�ำงานและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

18. นายทัพพ์อมร ศุภางค์รำ� ไพ

นักจัดการงานทัว่ ไป

คณะท�ำงานและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

รายงานประจ�ำปี 2555 : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

130


COVER nn.pdf 4 10/9/2013 11:59:11 AM


COVER nn.pdf 1 10/9/2013 11:59:10 AM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.