รายงานประจำปี 2556

Page 1


“งานราชการทุกอย่าง ไม่วา่ เล็กหรือใหญ่ ง่ายหรือยาก ย่อมมีความส�ำคัญ อยู่ในงานของแผ่นดินด้วยกันทั้งสิ้น อีกทั้งงานทุกด้านทุกสาขาย่อมสัมพันธ์ เกีย่ วเนือ่ งกันเป็นปัจจัยเกือ้ กูลส่งเสริมกันและกันอยู่ ข้าราชการทุกคน ทุกฝ่าย ทุกระดับ จึงต้องไม่ถอื ตัวแบ่งแยกกัน หากต้องพิจารณาให้เห็นความส�ำคัญของ กันและกัน แล้วร่วมงานประสานสัมพันธ์กนั ด้วยความเป็นมิตรด้วยความเข้าใจ เห็นใจกันและด้วยความเมตตาปรองดองกัน งานของแผ่นดินทุกส่วนจักได้ดำ� เนิน ก้าวหน้าไปพร้อมเสมอกันและยังประโยชน์ที่พึงประสงค์คือความเจริญมั่นคง ให้เกิดแก่บุคคล แก่งาน และแก่ส่วนรวมได้แท้จริง” ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช วันที่ ๓๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๕ (พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน เนื่องในโอกาสวันข้าราชการพลเรือน ปีพุทธศักราช ๒๕๕๕)


สารบัญ

CONTENTS

04 08 09 10 10 11

01

03 04

สาส์นจากผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ Message from the Director General ประวัติความเป็นมาของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ วิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ : Vision, Values, Mission ประเด็นยุทธศาสตร์ : Strategies เป้าประสงค์ : Objectives กลยุทธ์ : Strategic Implementation Plan

12

โครงสร้างส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

14

จ�ำนวนข้าราชการ ณ 30 กันยายน 2556

15

คณะผู้บริหารส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

27

ผลการปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณ 2556 ตามแผนยุทธศาสตร์ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

28

02

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการหนี้สาธารณะ ในเชิงรุก

33

ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ในประเทศให้เป็นเสาหลักทางการเงิน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงิน

36

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาองค์กร ให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ

39 งบการเงินของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 65 บทความวิชาการของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 66 การอนุญาตให้นิติบุคคลต่างประเทศออกพันธบัตร หรือหุ้นกู้สกุลเงินบาทในประเทศไทย 74 การบริหารความเสี่ยงหนี้เงินกู้ 80 บทบาทของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะกับโครงการรับจ�ำน�ำข้าว 84 การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการค�้ำประกัน/ให้กู้ต่อ โดยสังเขป 89 บทความพิเศษของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 90 กลยุทธ์ทางการตลาด “การสรรหาเชิงรุก” ในระบบราชการ หารจัดการความเสี่ยงด้าน ICT 93 การบริ ของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะตามแนวทาง e-Government

05

97 ภาพรวมหนี้สาธารณะ ปีงบประมาณ 2556 105 ประมวลภาพกิจกรรมของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 119 ท�ำเนียบผู้บริหาร พ.ศ. 2556 124 คณะผู้จัดท�ำรายงานประจ�ำปี พ.ศ. 2556

06 07


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

6

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

การไหลเข้าของเงินทุนจากต่างชาติและกระทบต่อตลาดเงินตลาดทุนของประเทศไทยที่ส�ำคัญ 3 ประการ คือ เงินบาท แข็งค่าที่สุดในรอบ 16 ปี ผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล รุ่นอายุ 2 ปี ต�่ำที่สุดในรอบ 3 ปี และการถือครองของ นักลงทุนต่างชาติในตราสารหนี้รัฐบาลมีสัดส่วนสูงที่สุดเป็น ประวัตกิ ารณ์ทรี่ อ้ ยละ 19.1 อย่างไรก็ตาม การประกาศปรับ ลดวงเงินกระตุ้นเศรษฐกิจของสหรัฐฯ หรือ Tapering QE3 ในปลายเดือนพฤษภาคม 2555 ส่งผลให้สถานการณ์ “พลิกผัน กลับข้าง” อย่างรวดเร็ว เห็นได้จากการเทขายตราสารหนี้ ของคนต่างชาติ ส่งผลให้การถือครองตราสารหนีร้ ฐั บาลของ กลุ่มดังกล่าวมีสัดส่วนลดลงเหลืออยู่ที่ร้อยละ 17 ณ สิ้นปี งบประมาณ 2556

สาส์นจากผู้อ�ำนวยการ Message from the ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ Director General ในรายงานประจ�ำปีงบประมาณ 2556

Annual Report 2013

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เปรียบเสมือน Chief Financial Officer (CFO) ของประเทศไทย (Kingdom of Thailand’s CFO) มีหน้าที่หลักในการบริหารจัดการหนี้ ภาครัฐ ควบคู่กับการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ให้เป็นแหล่ง ระดมทุนทีย่ งั่ ยืน ตลอดจนเป็นแหล่งเงินออมทีม่ คี ณ ุ ภาพของ ประชาชน พันธกิจดังกล่าวถือเป็นพันธกิจที่ยิ่งใหญ่ และการ ท�ำหน้าทีด่ แู ลระบบการเงิน-การคลังของประเทศได้อย่างราบรืน่ น�ำความภูมิใจมาให้พวกเราชาว สบน. เสมอ

Public Debt Management Office (PDMO) functions as the Chief Financial Officer (CFO) for the Kingdom of Thailand. Our main responsibilities are managing the country’s entire public debt and developing domestic bond market to become a sustainable source of funding as well as alternative option for quality saving for Thai people. We are proud of our missions and tasks to maintain the smooth fiscal and monetary systems of the country.

ในปีที่ผ่านมา ความผันผวนของเศรษฐกิจโลกซึ่งรวมถึง การด�ำเนินมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (Quantitative Easing) ต่างๆ ทัง้ QE1 2 และ 3 ของสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้มี

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

Last year, the global economic volatility including Quantitative Easing (QE1 QE2 and QE3)

สบน. เห็นว่า “ความพลิกผัน” ดังกล่าวเป็น “บท ทดสอบ” ความแข็งแกร่งของตลาดทุนของประเทศไทย ซึ่ง สบน. ในฐานะผู้ออกและพัฒนาพันธบัตรรัฐบาลอัตรา ดอกเบี้ยอ้างอิง (Benchmark Bond) และผู้ดูแลเส้นอัตรา ผลตอบแทน (Yield Curve) ของตลาดตราสารหนี้ “สอบผ่าน” โดยในปีงบประมาณที่ผ่านมา สบน. สามารถระดมทุนจาก ตลาดตราสารหนี้เพื่อลงทุนในโครงการต่างๆ ได้ครบตาม แผนที่ได้วางไว้ภายใต้ต้นทุนที่เหมาะสม และรักษาระดับ หนีส้ าธารณะให้อยูท่ รี่ อ้ ยละ 45 ของ GDP ซึง่ อยูภายใต้กรอบ ความยั่ ง ยื นทางการคลั ง ที่ ร ้ อยละ 60 ของ GDP หรื อ อาจกล่าวได้ว่า ตลาดตราสารหนี้ของไทยมีความ “คงทน” ต่อความผันผวน (Resilience to Shocks) โดยในปัจจุบัน ประเทศไทยอยู่ในช่วงการลงทุนเพื่อยกระดับโครงสร้าง พื้นฐานทั้งทางด้านกายภาพและบุคลากร ให้เป็นศูนย์กลาง และผู้น�ำใน ASEAN ตลอดจนสามารถแข่งขันในเวทีโลก ซึ่งการลงทุนดังกล่าวต้องใช้เวลานานและเม็ดเงินสูง ดังนั้น ประเทศไทยจึงมีความจ�ำเป็นต้องพัฒนาแหล่งระดมทุนใน

7

policy in the United States of America led to foreign capital inflow and affected money and capital markets in Thailand in 3 aspects: appreciation of Baht reached a 16-year high, 2-years government bond yield hit the lowest in 3 years and the portion of foreign holders of the government bond (19.1%) made the highest ecord in the history. However, the announcement of QE3 Tapering or reducing liquidity injection in May 2012 became an immediate turning point. PDMO observes this turning point as a test for Thailand capital market (financial market). As a catalyst in creating government bond yield curve and developing benchmark bond, PDMO believes that we passed this test by successfully raising fund through bond market to support project investment with an appropriate cost of borrowing. In addition, the debt to GDP stood at 45% below the limit of 60%, which mean we could maintain fiscal sustainability of the country. With all the tests, it can be said that Thai bond market has the quality of “Resilience to Shocks.” Currently, Thailand is focusing on both physical and human infrastructure development to compete in the global market and as well as to become a leader in the ASEAN. In order to continuously finance development projects, Thailand needs to develop domestic bond market to be a sustainable source of fund. Thai people will be part of the investment for the future and PDMO will support this Thais for Thais’ Future through a role in bond issuance.

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


8

ประเทศของตนเอง เพื่อให้โครงการลงทุนต่างๆ ด�ำเนินการ ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและกระจายความเสี่ ย งในการพึ่ ง พา เม็ดเงินจากต่างประเทศ (Sustainable Source of Fund) ที่ส�ำคัญยิ่ง การระดมทุนในประเทศเป็นการเปิดโอกาสให้ คนไทยมีส่วนร่วมในการลงทุนเพื่ออนาคตของประเทศด้วย โดย สบน. ขอเป็นส่วนหนึง่ ในการระดมทุนเพือ่ โครงการต่างๆ ของรัฐบาล ผ่านการออกตราสารหนีท้ มี่ คี วามมัน่ คงสูง (Thais for Thais’ Future) นอกจากนั้น พันธกิจอีกประการหนึ่งที่ สบน. ให้ความ ส�ำคัญอย่างยิ่งคือ การพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งในมิติต่างๆ เช่น (1) การพัฒนานวัตกรรมด้านตราสารหนี้ เช่น พันธบัตร ชดเชยเงินเฟ้อ พันธบัตรทยอยช�ำระคืนเงินต้น และพันธบัตร ออมทรัพย์เพื่อรายย่อย ซึ่งส่งผลให้กระทรวงการคลังได้ รับรางวัลจากสถาบันชั้นน�ำทั้งในประเทศและต่างประเทศ กว่า 10 รางวัลในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา และ สบน. เชื่อมั่นว่า

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

Another important mission of PDMO is to become a sound and strong organization in various dimensions which are (1) Innovative Debt Instruments: PDMO expands choices for instruments such as InflationLinked Bond, Amortized Bond and domestic saving bond for retailed investors. With many new and innovative instruments, Ministry of Finance received several domestic and international awards during the past 2 years. PDMO is confident that with this notable bond development, Thailand is ready for AEC and will play a leading role in bond markets. (2) Research Development: PDMO is researching on debt repayment framework for fiscal sustainability, which is the 2nd phase of research and development after receiving the Ministry of Finance Innovation Awards on “sustainable borrowing with stable repayment” (3) Human Resource Development: in order to create the professional in public debt management, PDMO initiated projects for proactive personnel selection. PDMO was awarded by the Office for Civil Service Commission as the proactive personal selection model for government agencies.

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ด้วยระดับการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ที่โดดเด่น ประเทศไทย จะสามารถก้าวเข้าสู่ AEC อย่างเป็นผูน้ ำ� ด้านตลาดตราสารหนี้ (2) การพัฒนาโครงการวิจัย เรื่องกรอบการช�ำระหนี้ของ รัฐบาลเพือ่ การรักษาวินยั การคลังอย่างยัง่ ยืน ซึง่ เป็นโครงการ ระยะที่ 2 ต่อยอดจากแนวคิด “ก่อหนี้ใหม่อย่างไรให้ยั่งยืน ช�ำระคืนหนี้เก่าอย่างไรให้มีเสถียรภาพ” ที่ สบน. ได้รางวัล เพชรวายุภักษ์ของกระทรวงการคลัง (3) การพัฒนาบุคลากร ผ่านโครงการส่งเสริมภาพลักษณ์และการสรรหาเชิงรุก เพื่อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการ “สร้ า ง” มื อ อาชี พ ในการบริ ห าร หนี้สาธารณะ ซึ่งส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ส�ำนักงาน ก.พ.) ได้คัดเลือก สบน. จากหน่วยงานราชการ ทั่วประเทศ ให้เป็น “ต้นแบบ” ในการสรรหาบุคลากรเชิงรุก ภายใต้ความร่วมแรงร่วมใจของบุคลากร สบน. ทุกคน ที่ทุ่มเทในการท�ำงานอย่างเต็มก�ำลังและสุดความสามารถ ท�ำให้ สบน. ได้รบั ความเชือ่ ถือและไว้วางใจในฐานะหน่วยงาน ที่เป็นหนึ่งด้านบริหารจัดการหนี้สาธารณะอย่างมืออาชีพและ ความเป็นเลิศด้านวิชาการ สืบต่อไป

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

9

Through the cooperation and dedication of PDMO’s personnel, I very much hope that PDMO will be continuously recognized as professional in debt management and academic excellence both present and well into the future.

Chularat Suttethorn Director General

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


10

ประวัติความเป็นมาของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ส� ำ นั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ (สบน.) จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2542 โดยในระยะแรก มีสถานะเป็นหน่วยงานในสังกัดส�ำนักงาน ปลั ด กระทรวงการคลั ง ก่ อ นจะได้ รั บ การยกระดับเป็นส่วนราชการในระดับกรม สั ง กั ด กระทรวงการคลั ง โดยสมบู ร ณ์ ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 โดยได้รวมงานของ 2 หน่วยงานเข้าด้วยกัน ได้แก่ ส�ำนักงาน เศรษฐกิจการคลังในส่วนของกองนโยบาย เงินกู้ กองนโยบายเงินกู้ตลาดเงินทุน กองโครงการลงทุ น เพื่ อ สั ง คม ศู น ย์ ข้อมูลที่ปรึกษาไทย และกรมบัญชีกลาง ในส่วนงานหนี้สาธารณะและเงินคงคลัง และกลุ ่ ม วิ เ คราะห์ ห นี้ ส าธารณะและ เงินคงคลัง การรวมงานของ 2 หน่วยงาน ข้ า งต้ น เข้ า ไว้ ด ้ ว ยกั น ก็ เ พื่ อ สร้ า ง ความเป็นเอกภาพในการบริหารจัดการ หนี้สาธารณะของประเทศ โดยมีหน้าที่ความรับผิดชอบในการ บริหารจัดการหนี้ของประเทศแบบเบ็ดเสร็จเพียงหน่วยงานเดียว ทั้งนี้ เพื่อให้การด�ำเนินการเป็นไปอย่างมีระบบ มีประสิทธิภาพและ สามารถควบคุมดูแลการก่อหนี้โดยรวมเพื่อให้ภาระหนี้สาธารณะ อยู่ในระดับที่สอดคล้องกับฐานะการเงินการคลังของประเทศ และ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 สบน. ได้ทบทวนบทบาทและปรับปรุง การแบ่งส่วนราชการภายใน เพื่อรองรับกระบวนการ และแนวทาง การด�ำเนินงาน โดยยึดหลักเกณฑ์ให้ผู้รับบริการต้องได้รับความ สะดวก รวดเร็ว และความพึงพอใจ ซึ่งสอดคล้องกับทิศทาง การปฏิบัติราชการแนวใหม่ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

11

วิสัยทัศน์ เป็นมืออาชีพในการบริหารหนีส้ าธารณะ เพือ่ การพัฒนา ประเทศอย่างยั่งยืน

ค่านิยม โปร่งใส วินัยดี มีเครดิต ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและ สังคม

พันธกิจตามกฎหมาย/ ภารกิจหลักของหน่วยงาน บริหารหนี้สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยการบริหาร หนีส้ าธารณะโดยการวางแผน ก�ำกับ และด�ำเนินการก่อหนี้ ค�้ำประกัน และปรับโครงสร้างหนี้ของรัฐบาล หน่วยงาน ในก�ำกับดูแลของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ รัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมทั้งการช�ำระหนี้ของรัฐบาล และ การติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงาน เพือ่ ให้การบริหาร หนี้สาธารณะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเสริมสร้าง ความยั่งยืนทางการคลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ

Vision A Professional in Public Debt Management for Sustainable Economic and Social Development

Values Transparent, Disciplined, Trustworthy, Driving Social and Economic Development

Mission Formulate sound public debt management policies and strategies as well as conduct, monitor and evaluate public debt management operations under the relevant legal framework and guidelines. PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

12

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

13

ประเด็นยุทธศาสตร์

Strategies

Strategic Implementation Plan

• บริหารจัดการหนีส้ าธารณะในเชิงรุก (Pro-active Debt Management) • พั ฒ นาตลาดตราสารหนี้ ใ ห้ เ ป็ น เสาหลั ก ทาง การเงิน เพือ่ เสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงิน • พัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ

• Pro-active Public Debt Management • Develop domestic bond market to be a sustainable source of funding for the stability of Thailand’s financial system • Foster organisation’s strength and efficiency

เป้าประสงค์

Objectives

1. แผนการบริ ห ารหนี้ ส าธารณะมี ค วามชั ด เจน สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศตามนโยบาย รัฐบาล 2. การบริหารหนี้สาธารณะให้มีต้นทุนที่เหมาะสม และอยู่ภายใต้กรอบความเสี่ยงที่ยอมรับได้ 3. ช�ำระหนี้ให้ถูกต้อง ครบถ้วนและตรงตามก�ำหนด เวลา 4. ผูร้ บั บริการและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียมีความพึงพอใจ 5. เป็นแหล่งระดมทุนที่ยั่งยืนในประเทศ 6. มีการออกพันธบัตรรัฐบาลอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อ สร้างอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง และสภาพคล่องในตลาดรอง 7. มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเพื่อรองรับ ความต้องการของนักลงทุน 8. มีระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศทีท่ นั สมัย และสร้างความเชื่อมโยงในการท�ำงาน 9. มีระบบการบริหารงานและระบบทรัพยากรบุคคล ที่มีประสิทธิภาพ 10. บุ ค ลากรมี ค วามรู ้ ความสามารถ มี ค วาม เป็นมืออาชีพ 11. มีสถานทีใ่ นการด�ำเนินงานทีเ่ หมาะสมกับสภาพ ขององค์กรและบุคลากร

1. Public debt management plan is clear and consistent with the direction of the government development Policies 2. Minimize cost of funding under acceptable risk level 3. Accurate and timely debt repayment 4. Maintain Stakeholders’ satisfaction 5. Develop a sustainable Domestic Source of funding 6. Issue regular benchmark bond to develop reliable government bond yield curve and enhanced liquidity in the Secondary Market 7. Diversify Government securities diversification to deepen the domestic bond market and to serve investors’ need 8. Develop effective data and information technology system 9. Develop effective workflow and human resource management 10. Build highly capable and professional personnel 11. Create modern and stimulating workplace

1. Manage Public Debt Pro-actively 2. Provide information and academic advisory and promote the understanding on pro-active debt management 3. Develop academic research in public debt management 4. Develop domestic bond market infrastructure 5. Diversify government securities and use international financial innovation that serve investor’s need 6. Enhance data and information technology system 7. Enhance workflow and human resource management system 8. Enhance personnel’s capabilities and professionalism

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

กลยุทธ์ 1. บริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก 2. ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำทางด้านข้อมูลและวิชาการ รวมถึ ง การประชาสั ม พั น ธ์ สร้ า งความเข้ า ใจด้ า น หนี้สาธารณะในเชิงรุก 3. พั ฒ นางานวิ จั ย และวิ ช าการเพื่ อ สนั บ สนุ น การบริหารจัดการหนี้สาธารณะ 4. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานตลาดตราสารหนี้ 5. พัฒนาผลิตภัณฑ์ตราสารหนีใ้ ห้มคี วามหลากหลาย มีนวัตกรรมทางการเงินทีใ่ ช้ในตลาดสากล และสอดคล้อง กับความต้องการของนักลงทุน 6. พัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ 7. พั ฒ นาระบบบริ ห ารงานและระบบทรั พ ยากร บุคคล 8. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ และ มีความเป็นมืออาชีพ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

14

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

15

โครงสร้างส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ที่ปรึกษา ด้านตลาด ตราสารหนี้

ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ

ที่ปรึกษา ด้านหนี้สาธารณะ

กลุ่มตรวจสอบ ภายใน ผู้เชี่ยวชาญ ด้านตรวจสอบ ภายใน

กลุ่มพัฒนา ระบบบริหาร ผู้เชี่ยวชาญ ด้านพัฒนา ระบบบริหาร

รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ

รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ

ส�ำนักนโยบายและแผน

ส�ำนักพัฒนาตลาด ตราสารหนี้

ส�ำนักบริหาร การระดมทุนระบบ บริหารจัดการน�้ำ

ส�ำนักบริหาร การช�ำระหนี้

ส�ำนักงาน เลขานุการกรม

ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ

ผู้เชี่ยวชาญด้าน พัฒนาตลาด ตราสารหนี้

ส่วนนโยบายและ แผนการลงทุน

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ ด้านการบริหาร การช�ำระหนี้

ฝ่ายบริหาร งานทั่วไป

ส่วนวิเคราะห์ นโยบายและ แผนสารสนเทศ

ส่วนพัฒนาตลาด ตราสารหนี้รัฐบาล

ส่วนก�ำกับ ติดตาม และประเมินผล โครงการ

ส่วนบริหารการช�ำระหนี้ ในประเทศ

ส�ำนักจัดการหนี้ 1

ส�ำนักจัดการหนี้ 2

ส�ำนักบริหารการระดมทุน โครงการลงทุนภาครัฐ

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เงินกู้โครงการ

ผู้เชี่ยวชาญด้าน หนี้สาธารณะและ ความเสี่ยงทางเครดิต

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน บริหารหนี้สาธารณะและ ภาระผูกพัน

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หนี้สาธารณะและเงินคงคลัง

ส่วนจัดการหนี้ รัฐวิสาหกิจ 1

ส่วนนโยบายและ แผนการระดมทุน

ส่วนนโยบายและแผน

ส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 2 (กฎหมายพิเศษ)

ส่วนจัดการหนี้ รัฐวิสาหกิจ 2

ส่วนวิเคราะห์และจัดการ เงินทุนโครงการ 1

ส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 3 (โครงการรัฐบาล)

ส่วนจัดการหนี้ รัฐวิสาหกิจ 3

ส่วนวิเคราะห์และจัดการ เงินทุนโครงการ 2

ส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 1 (ขาดดุล)

ส่วนจัดการเงินกู้ หน่วยงานอื่น (อปท.) ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ส่วนวิเคราะห์เครดิต และบริหารความเสี่ยง รัฐวิสาหกิจ

กลุ่มกฎหมาย

ส่วนความร่วมมือ ระหว่างประเทศ ส่วนวิเคราะห์แผนการ บริหารความเสี่ยง ส่วนวิจัยนโยบาย หนี้สาธารณะ

ส่วนบริหารกองทุน และพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน ส่วนนโยบายตลาด ตราสารหนี้ ระหว่างประเทศ

ส่วนบริหารการช�ำระหนี้ ต่างประเทศ ส่วนบริหาร เงินกองทุน

ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายการเจ้าหน้าที่

ส่วนบริหาร ระบบข้อมูล สารสนเทศ

ฝ่ายคลัง ฝ่ายพัสดุ

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ณ วันที่ 24 ธันวาคม 2556 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

16

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 17

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

จ�ำนวนข้าราชการ ณ 30 กันยายน 2556 ประเภทต�ำแหน่ง

จ�ำนวนคน

ระดับต�ำแหน่ง

ชาย

หญิง

รวม

สูง

-

1

1

ต้น

2

-

2

สูง

5

2

7

ต้น

-

1

1

ทรงคุณวุฒิ

1

-

1

เชี่ยวชาญ

2

1

3

ช�ำนาญการพิเศษ

7

19

26

ช�ำนาญการ

9

29

38

ปฏิบัติการ

27

41

68

ช�ำนาญงาน

2

2

4

55

96

151

บริหาร อ�ำนวยการ

วิชาการ

ทั่วไป รวม

หมายเหตุ : ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะมีบุคลากรทั้งสิ้น 241 คน ประกอบด้วย ข้าราชการ 151 คน พนักงานราชการ 8 คน และลูกจ้างชั่วคราว 82 คน

ต�ำแหน่งบริหารระดับสูง

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ต�ำแหน่งวิชาการทรงคุณวุฒิ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

นายประวิช สารกิจปรีชา

ที่ปรึกษาด้านหนี้สาธารณะ

ต�ำแหน่งบริหารระดับต้น

นายสุวิชญ โรจนวานิช

รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ รักษาการในต�ำแหน่งที่ปรึกษาด้านตลาดตราสารหนี้ รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

นายทวี ไอศูรย์พิศาลศิริ

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

คณะผูบริหาร สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

18

คณะผู้บริหาร ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PDMO Management Team

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

19

ส�ำนักจัดการหนี้ 1

Debt Management Bureau 1 นายวิสุทธิ์ จันมณี

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักจัดการหนี้ 1

5

Mr. Wisut Chanmanee

1

Executive Director of the Debt Management Bureau 1

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

5

Ms. Chularat Sutteethorn Director General

6

7

1

8

6

10

9 นายณรงค์ แก้วเศวตพันธุ์

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเงินกู้โครงการ

8

Mr. Narong Keowsawetabhan

2

3

2 นายประวิช สารกิจปรีชา 3 นายสุวิชญ โรจนวานิช ที่ปรึกษาด้านหนี้สาธารณะ

Mr. Prawit Sarakitprija Public Debt Advisor

รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ รักษาการในต�ำแหน่ง ที่ปรึกษาด้านตลาดตราสารหนี้

Mr. Suwit Rojanavanich Deputy Director - General for Bond Market Advisor

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

4

4 นายทวี ไอศูรย์พิศาลศิริ

รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ

Mr. Thavee Aisoonpisarnsiri Deputy Director - General

7

Senior Expert on Loan Project

นางสาวยอดเยาวมาลย์ สุคนธพันธุ์ ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 2

Ms. Yodyavamarn Sukonthaphant Director of the Government Debt Management Division 2

นายฐิติเทพ สิทธิยศ

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้หน่วยงานอื่น

Mr. Thitithep Sitthiyot

9

Director of the other Government Debt Management Division

นายถาวร เสรีประยูร

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 1

Mr. Tharwon Seareeprayoon

Director of the Government Debt Management Division 1

10 นายยุทธพงศ์ เอี่ยมแจ้ง

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 3

Mr. Yuthapong Eamchang

Director of the Government Debt Management Division 3 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

20

ส�ำนักจัดการหนี้ 2

Debt Management Bureau 2

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

21

ส�ำนักนโยบายและแผน

Policy and Planning Bureau

11 นางสาวศิรสา กันต์พิทยา

นายธาดา พฤฒิธาดา

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักจัดการหนี้ 2

Ms. Sirasa Kanpittaya

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผน

Executive Director of the Debt Management Bureau 2

16

Mr. Tada Phutthitada

Executive Director of the Policy and Planning Bureau

11

16

12

14

13

12 นางสาวอรุณวรรณ ยมจินดา

ผู้อ�ำนวยการส่วนเงินกู้ตลาดทุนต่างประเทศ และการจัดระดับความน่าเชื่อถือ

14 นางปัณฑารีย์ ศรีแก้วพันธ์

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารจัดการเงินให้กู้ต่อและการช�ำระหนี้รัฐวิสาหกิจ

Mrs. Puntaree Srikaewpun

Director of the On-Lending and Payment of State Enterprise Management Division

Ms. Arunwan Yomjinda

Director of the Debt Capital Market Division

13

นางชนันภรณ์ พิศิษฐวานิช

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารจัดการเงินกู้ในประเทศ รัฐวิสาหกิจ

Mrs. Chanunporn Phisitvanich

Director of the State Enterprise Domestic Debt Management Division ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

15

15

นางสาวเสาวนีย์ จันทพันธ์

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารจัดการเงินกู้ต่างประเทศรัฐวิสาหกิจ

Ms. Saowanee Chantapun

Director of the State Enterprise Foreign Debt Management Division

17

18

17 นางสุณี เอกสมทราเมษฐ์

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านหนี้สาธารณะและเงินคงคลัง

Mrs. Sunee Eksomtramate

Senior Expert on Public Debt and Treasury

18 นางสาวอุปมา ใจหงษ์

ผู้อ�ำนวยการส่วนความร่วมมือระหว่างประเทศ

Ms. Upama Jaihong

Director of the International Cooperation Division

20

19

19 นางสาวรานี อิฐรัตน์

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิจัยนโยบายหนี้สาธารณะ

Ms. Ranee Itarat

Director of the Public Debt Policy Research Division

20 นางสาวนีรชา มรกตราภรณ์ ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและแผน

Ms. Neeracha Morakottaporn

Director of the Policy and Planning Division PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

22

ส�ำนักบริหารการช�ำระหนี้

Payment Administration Bureau

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

23

ส�ำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ Public Infrastructure Project Financing Bureau

21 นายเอด วิบูลย์เจริญ

นายธีรัชย์ อัตนวานิช

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารการช�ำระหนี้

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

Mr. Ace Viboolcharern

Executive Director of the Payment Administration Bureau

26

Mr. Theeraj Athanavanich

Executive Director of the Public Infrastructure Project Financing Bureau

21

26 27

22

22

นายเอกราช เขื่อนขันธ์สถิตย์

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านบริหารการช�ำระหนี้

Mr. Ekaraj Khuankhunsathid Senior Expert on Debt Payment Management

23

นางสาวชิดชไม ไมตรี

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารการช�ำระหนี้ต่างประเทศ

Ms. Chidchamai Maitree Director of the External Debt Payment Division ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

24

23

24

25

นายอัคนิทัต บุญโญ

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารการช�ำระหนี้ในประเทศ

Mr. Aknetat Boonyo

Director of the Internal Debt Payment Division

25 นางพรพิมล บุนนาค

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารเงินกองทุน

Mrs. Pornpimol Boonnag

Director of the Fund Management Division

29

27 นางสาวอัญจนา วงศ์สว่าง

28

31

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านบริหารหนี้สาธารณะ และภาระผูกพัน

Ms. Anchana Wongsawang Senior Expert on Public Debt and Obligations

28 ร.ต.ต.หญิงจารุณี เล็กด�ำรงศักดิ์ รักษาการผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์และ จัดการเงินทุนโครงการ 1

Sub.Lt.Pol. Jarunee Lekdamrongsak Acting Director of the Project Financing Division 1

29

30 นางสาวเบญจมาศ เรืองอ�ำนาจ

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์และจัดการเงินทุนโครงการ 2

Ms. Benjamart Ruangamnart

Director of the Project Financing Division 2

30 นางสาวสิริภา สัตยานนท์

ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและแผนการระดมทุน

Ms. Siribha Satayanon

Director of the Financing Policy and Planning Division

31 นางอนงค์นาฏ โมราสุข

ผู้อ�ำนวยการศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย

Mrs. Anongnart Morasook

Director of the Consultant Database Center PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

24

ส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้

Bond Market Development Bureau

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

25

ส�ำนักงานเลขานุการกรม

Office of the Secretary

32 นางจินดารัตน์ วิริยะทวีกุล

นายธีรลักษ์ แสงสนิท

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารการระดมทุนระบบบริหารจัดการน�้ำ

เลขานุการกรม

36

Mr. Teeralak Sangsnit

Mrs. Jindarat Viriyataveekul

Secretary

Executive Director of the Bond Market Development Bureau for Director of the Water Management Project Financing Bureau

32

36 37

33

33 นางสาวพิมพ์เพ็ญ ลัดพลี

ผู้อ�ำนวยการส่วนพัฒนาตลาดตราสารหนี้รัฐบาล ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้

Ms. Pimpen Ladpli

Director of the Government Bond Market Development Division for Director of the Office of the Bond Market Development Bureau

34

35

34 นายณัฐการ บุญศรี

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารกองทุนและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

Mr. Nattakarn Boonsri

Director of the Fund Management and Bond Market Infrastructure Development Division

35 นางฉัตรมณี สินสิริ

ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายตลาดตราสารหนี้ระหว่างประเทศ

Mrs. Chatmanee Sinsiri

38

39

37 นางสาวมนัสนันท์ ประเสริฐผล หัวหน้าฝ่ายคลัง

Ms. Manusanan Prasertphol Chief of Budgetary Division

38 นางรุ่งระวี รุกเขต

หัวหน้าฝ่ายการเจ้าหน้าที่

Mrs. Rungrawee Roogkate

Chief of Human Resource Division

40

39

นางสาวสุพรรณพิมพ์ บุญทิพย์ หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป

Ms. Supanpim Bunthip

Chief of General Administration

40 นายธีระศักดิ์ อิญญาวงศ์ หัวหน้าฝ่ายพัสดุ

Mr. Tearasak Inyavong

Chief of the Logistics Division

Director of the International Bond Market Policy Division ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

26

ส�ำนักบริหารการระดมทุนระบบบริหารจัดการน�้ำ

Water Management Project Financing Bureau

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

27

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Center

41 นางจินดารัตน์ วิริยะทวีกุล

นางสาววราภรณ์ ปัญญศิริ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารการระดมทุนระบบบริหารจัดการน�้ำ

Mrs. Jindarat Viriyataveekul

ผู้อ�ำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

44

Ms. Waraporn Panyasiri

Director of the Information Technology Center

Executive Director of the Bond Market Development Bureau for Director of the Water Management Project Financing Bureau

41

44

42

42

นางอรพร ถมยา

ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและ แผนการลงทุน

Ms. Oraporn Thomya

Acting Director of Financing Policy and Planning Division ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

43

43 ร.ต.ต.หญิงจารุณี เล็กด�ำรงศักดิ์

ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส่วนก�ำกับ ติดตามและ ประเมินผลโครงการ

Sub.Lt.Pol. Jarunee Lekdamrongsak Acting Director of Project Monitoring and Evaluation Division

45

45 นายครรชิต พะลัง

ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์นโยบายและ แผนสารสนเทศ

Mr. Kanchit Bhalang

Acting Director of Senior Computer Technical Officer Division

46

46 นางสาวจันทิรา ตรงรัศมีทอง

รักษาการผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารระบบข้อมูล สารสนเทศ

Ms. Janthira Trongratsameethong

Acting Director of the Information System and Management Division PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

28

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 29

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

Public Sector Development Group

47 นางสาวพรทิพย์ พันเลิศยอดยิ่ง ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

Ms. Porntip Phunleartyodying

Director of the Public Sector Development Group

47

กลุ่มตรวจสอบภายใน

Internal Audit Group

48 นางสาวโสภิดา ศรีถมยา

ผู้อ�ำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน

Ms. Sophida Sritomya

Director of the Internal Audit Group

48

กลุ่มกฎหมาย

Legal Advisory Group

49 นายธีรเดช ลิขิตตระกูลวงศ์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มกฎหมาย

Mr. Teeradet Likitragolwong

Director of the Legal Advisory Group

49 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ผลการปฏิบัติราชการประจำปงบประมาณ 2556 ตามแผนยุทธศาสตรสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

30

ผลการปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณ 2556

ตามแผนยุทธศาสตร์ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การบริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก (Pro-active Debt Management) ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) มีหน้าที่หลัก ในการบริหารจัดการหนีส้ าธารณะของประเทศ โดยการวางแผน ก�ำกับ และด�ำเนินการก่อหนี้ใหม่ การบริหารหนี้เดิม และ การช�ำระหนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานะการเงินการคลังของ ประเทศ และอยู่ภายใต้กรอบความเสี่ยงที่เหมาะสม รวมทั้ง อยู่ภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง ที่ก�ำหนดให้สัดส่วน หนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 60 และภาระหนี้ ต่องบประมาณ ไม่เกินร้อยละ 15

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ตารางที่ 1 : ผลการด�ำเนินงานตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ 2556 รายการ 1. แผนการก่อหนี้ใหม่ 1.1 รัฐบาล 1.2 รัฐวิสาหกิจ 2. แผนการปรับโครงสร้างหนี้ 2.1 รัฐบาล 2.2 รัฐวิสาหกิจ 3. แผนการบริหารความเสี่ยง 4. แผนการบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่ต้อง ขออนุมัติ ครม. ภายใต้กรอบแผนฯ 4.1 การก่อหนี้ใหม่ 4.2 การบริหารหนี้ รวม (1-3) รวม (1-4)

แผน

ผลการด�ำเนินงาน

ร้อยละของแผน

974,330.29 667,348.62 306,981.67 738,511.57 562,693.25 175,818.32 223,138.38

898,656.31 643,107.77 255,548.54 700,257.65 524,440.62 175,817.03 44,459.35

92.23 96.37 83.25 94.82 93.20 100.00 19.92

137,233.50

147,756.71*

107.67*

79,367.16 57,866.34 1,935,980.24 2,073,213.74

127,720.71* 20,036.00 1,643,373.31 1,791,130.02

160.92* 34.62 84.89 86.39

หมายเหตุ *รวมผลการก่อหนี้ใหม่ของบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ที่ได้กู้โดยการออกหุ้นกู้สกุลเงินบาทและสกุลเงินเหรียญสหรัฐ วงเงินรวม 53,710 ล้านบาท ซึ่งไม่ได้ระบุวงเงินไว้ในแผนฯ

2. การบริหารความเสี่ยงของหนี้สาธารณะ

1. การด�ำเนินงานตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ 2556

ในปีงบประมาณ 2556 คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติและ รับทราบแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ 2556 รวมทั้งการปรับปรุงแผนระหว่างปีรวม 2 ครั้ง มีวงเงิน ด� ำ เนิ น การ 2,073,213.74 ล้ า นบาท ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย 4 แผนงานย่อย ได้แก่ (1) แผนการก่อหนี้ใหม่ (2) แผนการปรับโครงสร้างหนี้ (3) แผนการบริหารความเสี่ยง (4) แผนการบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่ต้องขออนุมัติ คณะรัฐมนตรีภายใต้กรอบแผนการบริหารหนี้สาธารณะ โดย ณ สิ้นปีงบประมาณ 2556 สามารถด�ำเนินการตามแผนการ บริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ 2556 ได้รวมทั้งสิ้น 1,791,130.02 ล้านบาท หรือคิดเป็น 86.93 ของแผน โดยมี รายละเอียด ดังนี้ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

31

เนื่องจากในปัจจุบันการด�ำเนินนโยบายของรัฐบาลที่ให้ ความส�ำคัญต่อนโยบายในการพัฒนาประเทศโดยการลงทุน จากภาครัฐ แต่ดว้ ยข้อจ�ำกัดของรายได้ทไี่ ม่เพียงพอต่อรายจ่าย ภาครัฐ จึงจ�ำเป็นต้องก่อหนี้สาธารณะ ส่งผลให้หนี้สาธารณะ มีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้น ซึ่ง สบน. จ�ำเป็นต้องมีการบริหาร หนี้และบริหารความเสี่ยง โดยมีเป้าหมายเพื่อลดต้นทุนและ ความเสี่ ย งของหนี้ ใ นประเทศและหนี้ ต ่ า งประเทศให้ อ ยู ่ ภายใต้กรอบความเสี่ยงที่เหมาะสมและยอมรับได้ รวมทั้ง อยู่ภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลังโดยในปีงบประมาณ 2556 สามารถบริหารความเสีย่ งได้วงเงินรวมทัง้ สิน้ 44,459.35 ล้านบาท และท�ำให้สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้ประมาณ 7,588 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 การบริหารความเสี่ยงหนี้ของรัฐบาล หนี้ ใ นประเทศ วงเงิ น รวม 102.83 ล้ า นบาท โดย เป็ น การช� ำ ระหนี้ คื น ก่ อ นครบก� ำ หนดของกองทุ น เพื่ อ การ ฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน และกองทุนส่งเสริม ประกันภัยพิบัติ ซึ่งท�ำให้สามารถประหยัดดอกเบี้ยได้รวม 4.99 ล้านบาท

หนี้ต่างประเทศ วงเงินรวม 16,580 ล้านบาท โดยมี รายละเอียด ดังนี้ • ช�ำระคืนหนีก้ อ่ นครบก�ำหนดขององค์การความร่วมมือ ระหว่างประเทศญีป่ นุ่ (JICA) จ�ำนวน 3,910 ล้านบาท (10,288 ล้านเยน) ท�ำให้สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้ 410 ล้านบาท • ซื้อเงินล่วงหน้าเพื่อช�ำระคืนหนี้เงินกู้พันธบัตรเงินเยน (Samurai Bond) รุน่ ที่ 23 จ�ำนวน 7,940 ล้านบาท (20,000 ล้านเยน) • แปลงหนี้เงินกู้เหรียญสหรัฐของธนาคารโลกเป็นหนี้ เงินบาท (Cross Currency Swap) จ�ำนวน 4,730 ล้านบาท (เทียบเท่า 156 ล้านเหรียญสหรัฐ) ซึ่งจะสามารถลดภาระ ดอกเบี้ยได้ 110 ล้านบาท • แปลงหนี้ เ งิ น กู ้ เ หรี ย ญสหรั ฐ ของธนาคารโลกที่ ใ ห้ บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) กู้ต่อเป็นเงินสกุลยูโร วงเงิน 15,500 ล้านบาท เพื่อให้สกุลเงินรายรับและรายจ่าย สอดคล้องกัน สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้ 2,875 ล้านบาท 2.2 การบริหารความเสี่ยงหนี้ของรัฐวิสาหกิจ หนี้ในประเทศ รัฐวิสาหกิจ 4 แห่ง ด�ำเนินการบริหาร ความเสีย่ ง วงเงินรวม 27,446 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ดังนี้ PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


32 • รัฐวิสาหกิจ 3 แห่ง (การเคหะแห่งชาติ การไฟฟ้าส่วน ภูมิภาค และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร) ช�ำระหนี้ก่อนครบก�ำหนด จ�ำนวน 10,910 ล้านบาท ท�ำให้ สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้ 361 ล้านบาท • บริษทั การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) แปลงหนีจ้ ากอัตรา ดอกเบี้ยลอยตัว (float) เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ (fixed) และ แปลงหนี้ โดยการท�ำ Swap จากสกุลเงินบาทเป็นสกุลเงินยูโร จ�ำนวน 5,000 ล้านบาท หนี้ต่างประเทศ วงเงินรวม 34,876 ล้านบาท โดยมี รายละเอียด ดังนี้ • ช�ำระหนี้ก่อนครบก�ำหนด จ�ำนวน 2,641 ล้านบาท (8,849 ล้านเยน) ท�ำให้ลดภาระดอกเบี้ยได้ 269 ล้านบาท • การกู้ใหม่เพื่อมาช�ำระหนี้เดิม (Refinance) จ�ำนวน 12,845 ล้านบาท (40,732 ล้านเยน) ท�ำให้ลดภาระดอกเบี้ย ได้ 1,560 ล้านบาท • แปลงหนี้ เ งิ น กู ้ จ ากสกุ ล เงิ น เยนเป็ น สกุ ล เงิ น บาท (Cross Currency Swap) จ�ำนวน 19,390 ล้านบาท (64,854 ล้านเยน) ท�ำให้ประหยัดดอกเบี้ยได้ 1,993 ล้านบาท

3. การจัดท�ำแผนการบริหารหนี้สาธารณะประจ�ำปี งบประมาณ 2557

สบน. ได้จัดท�ำแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2557 ซึ่งแผนดังกล่าวเป็นแผนที่แสดงให้เห็น

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ภาพรวมของการก่อหนี้ใหม่และการบริหารหนี้เดิมของทั้ง ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในรอบระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ เพือ่ ก�ำหนดทิศทางและแนวทางการด�ำเนินงานด้านหนี้สาธารณะ ในปีงบประมาณ 2557 ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ตลอดจน นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รวมทั้งมี ความเหมาะสมภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยได้ เสนอแผนการบริหารหนีส้ าธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ 2557 พร้ อ มผลสั ม ฤทธิ์ ที่ ค าดว่ า จะได้ รั บ และผลกระทบจาก การด�ำเนินการตามแผนฯ ต่อคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2556 และคณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติและรับทราบ แผนฯ ปี 2557 เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2556

4. หนีส้ าธารณะคงค้างต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ ราคาประจ�ำปี

ณ สิ้ น เดื อ นกั น ยายน 2556 มี ห นี้ ส าธารณะคงค้ า ง จ�ำนวน 5,430,560.04 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 45.49 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ณ ราคาประจ�ำปี โดยแบ่ง เป็นหนี้ของรัฐบาล จ�ำนวน 3,774,819.49 ล้านบาท หนี้ของ รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน จ�ำนวน 1,112,973.85 ล้านบาท หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาล ค�้ำประกัน) จ�ำนวน 541,932.01 ล้านบาท และหนี้ของ หน่วยงานอืน่ ของรัฐ จ�ำนวน 834.69 ล้านบาท โดยมีรายละเอียด ปรากฏตามแผนภาพที่ 1 และตารางที่ 2 ตามล�ำดับ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ตารางที่ 2 : รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 1. หนี้ของรัฐบาล (1.1+1.2+1.3) 1.1 หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง - หนี้ต่างประเทศ - หนี้ในประเทศ - เงินกู้ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ และการบริหารหนี้ - เงินกู้เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ - เงินกู้ให้กู้ต่อ - พันธบัตรโครงการช่วยเพิ่มเงินกองทุน - เงินกู้เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ต่างประเทศ - เงินกู้เพื่อน�ำเข้ากองทุนส่งเสริมการประกันภัย - เงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน�้ำ - เงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างหนี้ต่างประเทศที่กระทรวงการคลังค�้ำประกัน - เงินกู้เพื่อใช้ในการด�ำเนินโครงการเงินกู้ DPL 1.2 หนี้ที่รัฐบาลกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ - FIDF 1 - FIDF 3 1.3 หนี้เงินกู้ล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ - หนี้เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ - หนี้เงินกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ - FIDF 1 - FIDF 3

2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน (2.1+2.2)

แผนภาพที่ 1 : สัดส่วนหนี้สาธารณะจ�ำแนกตามประเภท หนี้ของรัฐบาล (เพ�อชดใชความเสียหายของ FIDF) 20.40%

หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน 20.49%

หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) 9.98% หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง 49.11%

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

หนี้หน�วยงานอ�นของรัฐ 0.02%

33

2.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน - หนี้ต่างประเทศ - หนี้ในประเทศ 2.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน - หนี้ต่างประเทศ - หนี้ในประเทศ

3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้ำประกัน) (3.1+3.2) 3.1 หนี้ต่างประเทศ 3.2 หนี้ในประเทศ

3,774,819.490 2,666,749.240 69,836.140 2,596,913.100 2,147,997.430 396,349.290 23,516.380 0.000 0.000 0.000 16,250.000 12,800.000 0.000 1,108,070.250 458,775.200 649,295.050 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000

1,112,973.850 449,116.010 113,263.510 335,852.500 663,857.840 191,292.310 472,565.530

541,932.010 3,679.210 538,252.800

4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ (4.1+4.2)

0.000

4.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน 4.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน

0.000 0.000 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


34 5. หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ (5.1+5.2) 5.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน 5.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน

รวม อัตราแลกเปลี่ยน

Debt to GDP (%)

5. การด�ำเนินงานส�ำคัญตามนโยบายรัฐบาลและภารกิจ เร่งด่วน (Flagship Projects)

ในปีงบประมาณ 2556 รัฐบาลมีนโยบายที่ส�ำคัญซึ่ง ต้องการผลักดัน และมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับ สบน. 3 โครงการ ได้แก่ 5.1 การจัดท�ำแผนการระดมทุนและแผนการลงทุนใน โครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ตามนโยบายของรัฐบาลที่ก�ำหนดให้มียุทธศาสตร์การ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมขนส่งของประเทศที่ตอบ สนองเป้าหมายการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านเศรษฐกิจและ สังคม โดยได้ก�ำหนดแนวทางการลงทุนโครงการโครงสร้าง พืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของประเทศ ระหว่างปี 2556-2563 วงเงินลงทุน 2 ล้านล้านบาท เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชน และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ผ่านการพัฒนาโครงข่ายของระบบการขนส่งต่างๆ ทัง้ โครงข่าย การขนส่งทางบก ทางน�ำ้ และระบบรางทีท่ นั สมัย เพือ่ เชือ่ มโยง พื้นที่เศรษฐกิจส�ำคัญภายในประเทศ รวมถึงเชื่อมโยงกับ ประเทศเพือ่ นบ้าน โดย สบน. ได้ดำ� เนินการพิจารณากลัน่ กรอง โครงการทีม่ คี วามพร้อมและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ประเทศ ดังกล่าว รวมทัง้ ได้จดั ท�ำแผนการลงทุนและแผนการระดมทุน โครงการภายใต้รา่ งพระราชบัญญัตใิ ห้อำ� นาจกระทรวงการคลัง กูเ้ งินเพือ่ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของ ประเทศ พ.ศ. .... ให้มีความสอดคล้องกับแผนความต้องการ

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

834.690 0.000 834.690

5,430,560.040 31.533

45.490

ใช้จา่ ยเงินมีตน้ ทุนอยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสม ตลอดจนด�ำเนินการ บริหารหนี้ดังกล่าวให้อยู่ภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง 5.2 การด�ำเนินการตามแผนการลงทุนในสาขาทรัพยากร น�้ำและการเกษตร ตามพระราชก�ำหนดให้อํานาจกระทรวงการคลังกู้เงิน เพื่อการวางระบบบริหารจัดการน�้ำและสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 ได้ก�ำหนดกรอบวงเงินรวมในการด�ำเนินโครงการ ไว้ทั้งสิ้น 350,000 ล้านบาท โดยในปีงบประมาณ 2555 สบน. ได้จัดท�ำแผนการกู้เงินและบริหารเงินสดส�ำหรับการลงทุน ระบบบริหารจัดการน�้ำแล้วเสร็จ และได้ประสานกับกรมบัญชี กลางเพื่อเปิดบัญชีน�ำฝากเงินกู้ในบัญชีเพื่อการวางระบบ บริหารจัดการน�้ำและสร้างอนาคตประเทศได้ส�ำเร็จ และได้ ด�ำเนินการกู้เงินไปแล้ว 10,000.00 ล้านบาท รวมทั้งได้มี การเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินโครงการลงทุนระบบบริหารจัดการน�ำ้ และรายงานความก้าวหน้าในการด�ำเนินโครงการต่อกระทรวง การคลัง และในปีงบประมาณ 2556 ได้ลงนามในสัญญาเงินกู้ จ�ำนวน 3,499,999 ล้านบาท โดยเป็นโครงการที่หน่วยงาน ด�ำเนินการเอง จ�ำนวน 25,661 ล้านบาท โครงการ Conceptual Plan และแผนงานสนับสนุนโครงการ จ�ำนวน 314,338 ล้านบาท และแผนงานยุ ท ธศาสตร์ เ พื่ อ การฟื ้ น ฟู แ ละสร้ า งอนาคต ประเทศ จ�ำนวน 10,000 ล้านบาท โดย ณ สิน้ เดือนกันยายน 2556 หน่วยงานเจ้าของโครงการได้มีการเบิกจ่ายเงินกู้แล้วทั้งสิ้น จ�ำนวน 14,867.971 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 4.25 ของวงเงินจัดสรรถือจ่าย 5.3 การจัดหาเงินกู้ส�ำหรับโครงการรับจ�ำน�ำผลิตผล ทางการเกษตร รั ฐ บาลมี น โนบายในการรั บ จ� ำ น� ำ สิ น ค้ า เกษตร เช่ น ข้าวเปลือก ยางพารา เป็นต้น เพื่อชะลอไม่ให้ผลผลิตทางการ เกษตรออกสูต่ ลาดพร้อมกันในช่วงฤดูกาลเก็บเกีย่ วในปริมาณ มาก รวมทั้งรักษาราคาสินค้าเกษตรไม่ให้ตกต�่ำ ซึ่งเป็นการ สร้างหลักประกันรายได้ให้แก่เกษตรกร ซึ่ง สบน. มีส่วน

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

35

สนับสนุนการด�ำเนินโครงการดังกล่าว โดยจัดท�ำแผนการกูเ้ งิน และจัดหาเงินกู้เพื่อโครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกและสินค้า เกษตรอืน่ ๆ ให้สอดคล้องกับความต้องการใช้เงินในการด�ำเนิน โครงการ โดยในปีงบประมาณ 2556 สบน. มีแผนการจัดหา เงินกู้ให้แก่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร วงเงินรวม 347,968 ล้านบาท เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนใน การด�ำเนินโครงการที่มีวัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหาราคา ผลิตผลทางการเกษตรตามนโยบายรัฐบาล รวมทั้งการปรับ โครงสร้างหนี้ โดยเป็นการกู้เงินจากธนาคารพาณิชย์ ซึ่ง กระทรวงการคลังเป็นผู้ค�้ำประกันเงินกู้ดังกล่าว และผลการ ด�ำเนินงาน ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 สามารถด�ำเนินการ จัดหาเงินกูไ้ ด้ จ�ำนวนรวมทัง้ สิน้ 314,920 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 90.50 ของวงเงินตามแผน ทั้งนี้ เนื่องจากมีการน�ำ เงินที่ได้จากการระบายสินค้ามาช�ำระคืนหนี้ที่ครบก�ำหนดด้วย

ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศให้เป็นเสาหลักทางการเงิน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงิน สบน. มีบทบาทที่ส�ำคัญในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ให้เป็น 1 ใน 3 เสาหลักทางการเงิน โดยปัจจุบันขนาดของ ตลาดพันธบัตรมีมลู ค่าประมาณ 8.9 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็น ประมาณร้อยละ 75 ของ GDP ซึ่ง สบน. ได้มีส่วนร่วมในการ พั ฒ นาตลาดตราสารหนี้ เ พื่ อ ให้ มี ข นาดใกล้ เ คี ย งกั บ ตลาด การเงินอืน่ ๆ (equity 101% และ bank loan 106%) โดยผ่านการ ออกตราสารหนี้ของรัฐบาล ซึ่ง ณ สิ้นปีงบประมาณ 2556 ตราสารหนี้ของรัฐบาลมีมูลค่ารวมประมาณ 3.4 ล้านล้านบาท รวมทั้ ง สบน.ได้ ก� ำ หนดกลยุ ท ธ์ ใ นการออกตราสารหนี้ ของรัฐบาลในแต่ละปีโดยค�ำนึงถึงปัจจัยหลัก 4 ประการ คือ (1) ระดมทุนอย่างไรให้ได้วงเงินครบตามวงเงินทีต่ อ้ งการ (2) ระดมทุนอย่างไรให้ได้ต้นทุนที่เหมาะสม (3) ระดมทุนอย่างไรให้มีความเสี่ยงต�่ำ (4) ระดมทุนอย่างไรให้เป็นไปในวิถีทางที่เอื้อต่อการ พัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ โดยวางแผนการออกตราสารหนี้ให้สอดคล้องกับความ ต้องการใช้เงินกู้ตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พร้อมทั้งก�ำหนดรูปแบบและวิธีการ รวมทั้ง เครื่องมือในการระดมทุน โดยมีพันธบัตรรัฐบาลเพื่อใช้สร้าง

อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (Benchmark Bond) เป็นเครื่องมือ หลักในการระดมทุน รวมทั้งพิจารณาเพิ่มวงเงินพันธบัตรใน แต่ละรุน่ ให้มขี นาดใหญ่ขนึ้ เพียงพอทีจ่ ะท�ำให้เกิดสภาพคล่องใน ตลาดรองได้ รวมทัง้ ได้มกี ารหารือและชีแ้ จงกับผูร้ ว่ มตลาดและ นักลงทุนให้ได้รับทราบแนวทางการระดมทุนของรัฐบาลอย่าง สม�ำ่ เสมอ โดยผ่านการประชุม Market Dialogue ซึง่ จะจัดเป็น รายไตรมาส และประจ�ำปี รวมทัง้ ได้มกี ารก�ำหนดแผนการกูเ้ งิน และประกาศตารางการประมู ล พั น ธบั ต รเป็ น รายไตรมาส พร้อมทั้งมีการประมูลพันธบัตรอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมี การพัฒนาเครือ่ งมือการระดมทุนในรูปแบบใหม่ๆ ให้สอดคล้อง กับความต้องการระดมทุน และตอบโจทย์ความต้องการของ นักลงทุนที่หลากหลาย เช่น พันธบัตรรัฐบาลประเภททยอย ช�ำระคืนเงินต้น (Amortized Bond : LBA) เป็นต้น

1. การออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อใช้สร้างอัตราดอกเบี้ย อ้างอิง (Benchmark Bond)

ปีงบประมาณ 2556 สบน. สามารถออกพันธบัตรรัฐบาล เพือ่ ใช้เป็นอัตราดอกเบีย้ อ้างอิง ได้จำ� นวนทัง้ สิน้ 472,711 ล้านบาท โดยแบ่งตามรุ่นอายุได้ ดังนี้ PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

36

ตารางที่ 3 : ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อใช้สร้างอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงในปีงบประมาณ 2556

หน่วย : ล้านบาท

รุ่นอายุ

ชื่อรุ่น

วงเงินประกาศประมูล

วงเงินจัดสรร

3 ปี 5 ปี 7 ปี 10 ปี 15 ปี 20 ปี 30 ปี 50 ปี

LB176A LB196A LB21DA LB236A LB27DA LB326A LB416A LB616A

96,000 82,000 70,000 78,500 46,000 38,000 42,500 41,000 494,000

96,000 82,000 70,000 71,850 35,780 33,581 42,500 41,000 472,711

รวม

2. การออกพันธบัตรออมทรัพย์เพื่อรายย่อยพิเศษ

สบน. ได้พัฒนาพันธบัตรออมทรัพย์ (Saving Bond) ให้ เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมให้สังคมไทยเข้าสู่สังคมแห่งการ ออมอย่างแท้จริง และเป็นทางเลือกในการออมที่มีคุณภาพ ให้กับประชาชนที่มีรายได้น้อยสามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก โดยได้พัฒนาช่องทางการจ�ำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ ผ่าน เคาน์เตอร์ธนาคาร และเครือ่ งถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ตลอด 24 ชัว่ โมง ของธนาคารตัวแทนจ�ำหน่าย 4 แห่ง ได้แก่ ธนาคาร กรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) และธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) รวมทั้งเป็นตราสารหนี้แบบไร้ใบตราสาร (Scripless) โดยจะมีสมุดพันธบัตร หรือ Bond Book ในการ จัดเก็บข้อมูลให้แก่ผซู้ อื้ และผูซ้ อื้ สามารถลงทุนได้ในวงเงินซือ้ ขัน้ ต�ำ่ จ�ำนวน 1,000 บาท และวงเงินซือ้ ขัน้ สูง 2,000,000 บาท ในปีงบประมาณ 2556 ได้วางแผนจ�ำหน่ายพันธบัตร ออมทรัพย์เพื่อรายย่อยพิเศษ จ�ำนวน 2 รุ่น วงเงินรวมรุ่นละ ไม่เกิน 4,000 ล้านบาท และมีผลการจ�ำหน่าย ดังนี้ 1. พั น ธบั ต รออมทรั พ ย์ ข องกระทรวงการคลั ง เพื่ อ รายย่อยพิเศษปีงบประมาณ 2556 ครั้งที่ 1 รุ่นอายุ 3 ปี อั ต ราดอกเบี้ ย ร้ อ ยละ 3.75 ต่ อ ปี เปิ ด จ� ำ หน่ า ยระหว่ า ง วันที่ 22 พฤศจิกายน 2555 - 5 เมษายน 2556 โดยสามารถ จัดจ�ำหน่ายได้ 3,930.247 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 98.26 ของวงเงินตามแผน ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

2. พั น ธบั ต รออมทรั พ ย์ ข องกระทรวงการคลั ง เพื่ อ รายย่อยพิเศษ ปีงบประมาณ 2556 ครั้งที่ 2 รุ่นอายุ 3 ปี อั ต ราดอกเบี้ ย ร้ อ ยละ 3.5 ต่ อ ปี เปิ ด จ� ำ หน่ า ยระหว่ า ง วันที่ 9 พฤษภาคม 2556 - 13 กันยายน 2556 โดยสามารถ จัดจ�ำหน่ายได้ 3,366.521 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 84.16 ของวงเงินตามแผน นอกจากนี้ สบน. ได้มีการออกบูธเพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ ความรู้ และจ�ำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ดงั กล่าวให้แก่นกั ลงทุน รายย่อย โดยเชิญชวนให้ประชาชนร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการ พัฒนาประเทศ โดยการร่วมลงทุนในพันธบัตรออมทรัพย์ของ รัฐบาล ซึ่งเป็นการลงทุนมีผลตอบแทนที่มั่นคงและแน่นอน 100% ในงาน SET in the City กรุงเทพมหานคร 2012 ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน และงาน Money Expo 2013 ณ เมืองทองธานี

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

37

3. การออกพันธบัตรรัฐบาลประเภททยอยช�ำระคืนเงินต้น (Amortized Bond : LBA)

สบน. ได้ พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ การระดมทุ น ชนิ ด ใหม่ เ พื่ อ พัฒนาตลาดตราสารหนี้ โดยการออกพันธบัตรรัฐบาลประเภท ทยอยช�ำระคืนเงินต้น (Amortized Bond) เป็นครั้งแรก ในปี ง บประมาณ 2556 ซึ่ ง พั น ธบั ต รดั ง กล่ า วมี เ งื่ อ นไขที่ แตกต่างจากพันธบัตร Benchmark ปกติของรัฐบาล เนือ่ งจาก Amortized Bond มีการทยอยช�ำระคืนเงินต้นในช่วง 5 ปี สุดท้ายของอายุตราสาร ปีละเท่าๆ กัน (ร้อยละ 20 ของเงินต้น ต่อปี) โดยก�ำหนดให้ Amortized Bond มีอายุยาวถึง 25 ปี แม้พันธบัตรรุ่นนี้จะเป็นสกุลเงินบาทและมีอายุยาวถึง 25 ปี รวมทัง้ มีเงือ่ นไขและรูปแบบใหม่ โดยทีร่ ฐั บาลไทยเป็นประเทศ แรกใน ASEAN ที่ออก Amortized Bond ในสกุลเงินท้องถิ่น อายุยาวที่สุดและวงเงินใหญ่ที่สุด แต่พันธบัตรดังกล่าวก็ได้ รับการตอบรับจากนักลงทุนเป็นอย่างดี โดย สบน. ร่วมกับ ธนาคารตัวแทนจ�ำหน่าย ทัง้ 3 แห่ง คือ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารดอยซ์แบงก์ ธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ แบงกิง้ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด สามารถประมูลพันธบัตรดังกล่าวได้ เต็มจ�ำนวนที่วางแผนไว้ คือ 24,000 ล้านบาท

4. การออกพันธบัตรอัตราดอกเบี้ยแปรผันตามการ เปลี่ยนแปลงของเงินเฟ้อ (Inflation Linked Bond : ILB) อายุ 15 ปี

การออก ILB รุน่ อายุไม่เกิน 15 ปี ในปีงบประมาณ 2556 เป็นการพัฒนาต่อยอดมาจากการออก ILB รุ่นอายุ 10 ปี ในปีงบประมาณ 2554 ซึ่งเป็นการออก ILB ครั้งแรกของ ประเทศไทย โดยการออกในครั้งนี้มีจุดประสงค์หลัก ในการ ริเริ่มพัฒนาสร้างเส้นอัตราผลตอบแทนอ้างอิงของ Inflation Linked Bond (ILB Government Bond Yield Curve) เพื่อ ที่ในอนาคตประเทศไทยจะได้มีเส้น Yield Curve ของ ILB ที่ยาวคู่ขนานกับ Yield Curve ของ Benchmark Bond โดยปัจจุบัน Benchmark Bond ของรัฐบาลยาวที่สุดถึง 50 ปี ในการนี้ สบน. มีแผนทีจ่ ะออก ILB รุน่ อายุอนื่ ๆ อย่างต่อเนือ่ ง ทุกปี และคาดว่าภายในปี พ.ศ. 2558 ที่ประเทศไทยจะเข้าสู่ การเป็นประชาคมอาเซียนอาจจะมีการพัฒนา ILB ไปถึง รุ่นอายุ 30 ปี นอกจากนี้ การสร้างสภาพคล่องให้กับ ILB ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญในการพัฒนา ILB ให้เป็นที่นิยมและเป็น อัตราอ้างอิงที่มีเสถียรภาพ ซึ่ง สบน. ได้หารือกับผู้ค้าหลัก ส�ำหรับธุรกรรมประเภทซื้อขายขาดของกระทรวงการคลัง (MOF Outright Primary Dealer : PD) ทัง้ 13 ราย ของกระทรวง การคลั ง ให้ ท� ำ หน้ า ที่ ส ร้ า งสภาพคล่ อ งในตลาดรองด้ ว ย โดย ณ สิ้นปีงบประมาณ 2556 มีการประมูล ILB รุ่น 15 ปี วงเงิน 15,000 ล้านบาท PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

38 ตารางที่ 4 : ผลการออกพันธบัตรรัฐบาลประเภทนวัตกรรม ในปีงบประมาณ 2557 ประเภท Inflation Linked-Bond - รุ่นอายุ 10 ปี - รุ่นอายุ 15 ปี Amortized Bond - รุ่นอายุ 25

หน่วย : ล้านบาท

ชื่อรุ่น

วงเงินประกาศประมูล

วงเงินจัดสรร

ILB217A ILB283A

10,000 25,000

10,000 15,000

LBA37DA

24,000 59,000

24,000 49,000

รวม

การพั ฒ นาตลาดตราสารหนี้ ใ นประเทศอย่ า งมี ประสิทธิภาพส่งผลให้โครงสร้างของหนี้ที่รัฐบาลกู้ตรงดีขึ้น อย่างเห็นได้ชัด ใน 4 ด้าน ดังนี้ 1) ยืดระยะเวลาเฉลี่ยที่หนี้จะ ครบกําหนด (Average time to Maturity) 2) ต้นทุนการกู้เงิน

เฉลี่ยลดลง 3) สร้างสมดุลระหว่างสัดส่วนอัตราดอกเบี้ยแบบ ลอยตัว (Floating) และอัตราดอกเบี้ยแบบคงที่ (Fixed) และ 4) การกระจายโครงสร้างอายุหนีค้ งเหลือทีจ่ ะครบก�ำหนดช�ำระ (Maturity Profile) โดยมีรายละเอียดปรากฏตามแผนภาพที่ 2

แผนภาพที่ 2 ตัวชี้วัดส�ำคัญในด้านการพัฒนาตลาดตราสารหนี้

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ สบน. ถือเป็นหน่วยงานขนาดเล็ก มีบุคลากรประมาณ 250 คน (ข้าราชการประมาณ 150 คน พนักงานราชการและลูกจ้างชั่วคราว ประมาณ 100 คน) ซึง่ ถือว่าบุคลากรของ สบน. มีภาระรับผิดชอบที่สูง เนื่ อ งจากต้ อ งดู แ ลและบริ ห ารจั ด การหนี้ ส าธารณะจ� ำ นวนสู ง ถึ ง 5 ล้ า นล้ า นบาท ดั ง นั้ น จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ร ะบบการพั ฒ นาและ บริหารบุคลากร เพื่อรักษาคนดีและคนเก่งให้อยู่กับองค์กร รวมทั้ง พัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนา องค์กรให้ไปสู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูง และสามารถตอบสนองต่อ ความต้องการของผูร้ บั บริการได้เป็นอย่างดี โดยในปีงบประมาณ 2556 มีโครงการส�ำคัญ ดังนี้

1. การบริหารอัตราก�ำลังและการปรับปรุงโครงสร้างองค์กร

จากบริบทของการบริหารงานภาครัฐที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้ง ภารกิจที่เพิ่มขึ้นจากการด�ำเนินนโยบายต่างๆ ของภาครัฐส่งผลกระทบ ต่อการด�ำเนินงานของ สบน. ดังนัน้ สบน. จึงได้มกี ารศึกษาแนวทางการ พัฒนาหน่วยงานเพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว โดยมีการศึกษา แนวทางการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรและทรัพยากรบุคคลให้สะท้อน และรองรับบทบาทภารกิจทีม่ คี วามยากและเพิม่ มากขึน้ ซึง่ รวมถึงการจัด รูปแบบและกระบวนการท�ำงาน การบริหารอัตราก�ำลังและต�ำแหน่ง ที่เหมาะสมกับการขับเคลื่อนองค์กรเพื่อเตรียมพร้อมส�ำหรับอนาคต เช่น ภารกิจในด้านการติดตามและประเมินผลโครงการเงินกู้ ภารกิจ ด้านการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในเชิงลึก และการบริหารความเสี่ยง เป็นต้น โดยในการศึกษาดังกล่าวได้มีการค�ำนึงถึงความก้าวหน้าของ บุคลากร ความมีประสิทธิภาพในการบริหารงาน และความคุม้ ค่าในเชิง ภารกิจด้วย รวมทัง้ ได้มกี ารจัดรับฟังความคิดเห็นเกีย่ วกับการปรับปรุง โครงสร้างจากบุคลากรภายใน รวมทั้งผู้รับบริก ารและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียด้วย นอกจากนีย้ งั ได้รบั รางวัลส่วนราชการส่งเสริมการบริหาร ทรัพยากรบุคคลดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2556 จากส�ำนักงาน ก.พ. อีกด้วย

2. การพัฒนาบุคลากร : หลักสูตรนักบริหารหนี้สาธารณะ มืออาชีพ รุ่นที่ 1 ในปีงบประมาณ 2556 สบน. ได้ออกแบบหลักสูตร “นักบริหาร หนีส้ าธารณะมืออาชีพ” รุน่ ที่ 1 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนาบุคลากรให้มี ความรู้ ความเชีย่ วชาญในงานด้านการบริหารหนีส้ าธารณะอย่างแท้จริง และมีความเป็นมืออาชีพในการปฏิบตั งิ าน โดยหลักสูตรดังกล่าว มีเนือ้ หา ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

39

เกี่ ย วกั บ เทคนิ ค ในการบริ ห ารจั ด การหนี้ ส าธารณะ การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ การระดมทุน การวิเคราะห์ โครงการ การบริหารจัดการ และทักษะในการเจรจาต่อรอง รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ แ ละ การท�ำงานเป็นทีม โดยได้เชิญอดีตผู้บริหาร และ ผู้บริหารของ สบน. รวมทั้งผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น สมาคมตลาดตราสารหนีไ้ ทย ส�ำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นต้น ซึ่งหลักสูตรได้ออกแบบเพื่อเป็นมาตรฐานใน การพัฒนาบุคลากรของ สบน.ให้สามารถปฏิบัติงาน ได้ตามวิสัยทัศน์ขององค์กรที่ต้องการให้บุคลากรมี ความเป็นมืออาชีพในการบริหารหนี้สาธารณะ

3. การพั ฒ นาสภาพแวดล้ อ มในการท� ำ งาน : โครงการสถานที่ท�ำงานน่าอยู่น่าท�ำงาน (Happy and Healthy Workplace)

สบน. ได้สำ� รวจการพัฒนาองค์การ (Organization Development Survey) ผ่านระบบออนไลน์ โดยใน หัวข้อ สภาพแวดล้อมการท�ำงานท�ำให้ข้าพเจ้าท�ำงาน อย่างมีความสุข มีคะแนนผลต่างระหว่างความคาด หวังและความพึงพอใจ (Gap) สูงที่สุดในด้านสภาพ แวดล้อมในการท�ำงาน ดังนั้น จึงได้จัดโครงการสถาน ที่ท�ำงานน่าอยู่ น่าท�ำงาน (Happy and Healthy Workplace) ประจ�ำปีงบประมาณ 2556 โดยตระหนักว่า บุคลากรของ สบน. ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ในสถานที่ PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


40

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 41

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

5. การจัดท�ำค�ำรับรองการปฏิบัติราชการและระบบ การบริหารผลการปฏิบัติงาน

ท�ำงาน ผู้ปฏิบัติงานจึงควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีและไม่ก่อ ให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ และได้ก�ำหนดแนวทางปรับปรุงและ พัฒนาสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานของ สบน. ตามหลัก ของ 5 ส โดยก�ำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมเป็นรายสัปดาห์ ซึง่ ในแต่ละสัปดาห์จะมีการประชาสัมพันธ์ รณรงค์และด�ำเนิน การตามแนวทางและค�ำจ�ำกัดความของ 5 ส รวมทั้งแต่งตั้ง คณะท�ำงานเพื่อก�ำหนดมาตรฐานและตรวจประเมิน พร้อม ให้คะแนนสะสมเป็นรายสัปดาห์ เพื่อประกาศชมเชยและให้ รางวัลแก่หน่วยงานที่ด�ำเนินงานในเรื่องดังกล่าวได้ดีเลิศ 3 หน่วยงาน ซึ่งบุคลากรของ สบน.ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และสภาพแวดล้อมภายในองค์กรโดยเฉพาะเรือ่ งความสะอาด มีการปรับปรุงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด

4. การจัดการความรู้ : กิจกรรมเวทีแลกเปลีย่ นความคิดเห็น

กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Morning Talk/ Lunch Talk) เป็นกิจกรรมภายใต้โครงการการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ของ สบน. ซึ่งได้มีการ ด�ำเนินการมาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2554 จนถึงปัจจุบัน โดยได้ มีการพัฒนารูปแบบในการจัดกิจกรรม เช่น มีการคัดเลือกผู้มี ความรูใ้ นด้านต่างๆ เพือ่ เป็น KM Guru และถ่ายทอดความรูแ้ ละ ประสบการณ์ให้กับบุคลากรรุ่นใหม่ภายในหน่วยงาน รวมทั้ง มีการเชิญผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและ เอกชนมาแลกเปลี่ยนความรู้ และมุมมองการด�ำเนินงานใน เรื่องต่างๆ เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวได้รับความสนใจจาก บุคลากรเป็นจ�ำนวนมาก และเกิดการแลกเปลี่ยน ถ่ายทอด ความรู้ และประสบการณ์ในด้านต่างๆ ระหว่างบุคลากร ซึง่ จะ เป็นการรักษาองค์ความรูแ้ ละประสบการณ์เหล่านัน้ ให้คงอยูก่ บั องค์กร และสามารถน�ำไปปรับใช้ในงานที่ปฏิบัติได้ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ในการด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์และเป้าหมายทีอ่ งค์กร วางไว้ สบน. ได้มีการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของ องค์ ก รสู ่ ร ะดั บ บุ ค คล โดยบุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ต้ อ งเข้ า มามี ส่วนร่วมในการด�ำเนินการตามยุทธศาสตร์ที่วางไว้ มีการ ถ่ายทอดตัวชี้วัดจากระดับกระทรวงสู่ระดับกรม และระดับ หน่วยงานภายในจนถึงระดับบุคคล เพือ่ ให้การด�ำเนินงานต่างๆ มีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน รวมทั้งผู้บริหารให้ความส�ำคัญกับ การพิจารณาค่าเป้าหมายให้มีความท้าทาย สอดคล้องกับ ผลการด�ำเนินการทีผ่ า่ นมา โดยมีระบบในการเจรจาค่าเป้าหมาย ซึ่งจะพิจารณาจากข้อมูลการด�ำเนินงานที่ผ่านมา โดยจัดการ เจรจาระหว่างหน่วยงานระดับส�ำนักกับผู้บริหารระดับสูง เพื่อ ให้เกิดความเข้าใจในเป้าหมายขององค์กรร่วมกัน และเกิด การเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานภายใน และส่งผลให้เกิด ความร่วมมือจากบุคลากรในทุกระดับขององค์กร และน�ำผล การปฏิบตั ริ าชการดังกล่าวเป็นข้อมูลในการบริหารค่าตอบแทน และจัดสรรสิง่ จูงใจ ซึง่ ระบบการบริหารผลงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ดังกล่าว ส่งผลให้ สบน. มีคะแนนผลการปฏิบัติราชการสูงสุด ในกระทรวงการคลัง ถึง 3 ปีซ้อน คือ ปีงบประมาณ 25532555 และส�ำหรับปีงบประมาณ 2556 ยังอยูร่ ะหว่างการตรวจ ประเมินของส�ำนักงาน ก.พ.ร.

งบการเงิน ของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

42

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ งบแสดงฐานะการเงิน

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

43

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ งบรายได้และค่าใช้จ่าย

ณ วันที่ 30 กันยายน 2556

ณ วันที่ 30 กันยายน 2556

(หน่วย : บาท) หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ระยะสั้น รายได้ค้างรับ ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ลูกหนี้ระยะยาว เงินลงทุนระยะยาว อาคารและอุปกรณ์ (สุทธิ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน (สุทธิ) รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

2.2 2.3 2.4 2.7

3 4 5

2.8

7 8 9 10

2.9 2.10

2.5

รวมสินทรัพย์ หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ระยะสั้น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เงินรับฝากระยะสั้น เงินกู้ระยะสั้น หนี้สินหมุนเวียนอื่น รายได้รอการรับรู้ระยะยาว รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินทดรองราชการรับจากคลัง-ระยะยาว เงินกู้ระยะยาว หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน สินทรัพย์สุทธิ สินทรัพย์สุทธิ ทุน รายได้สูง/(ต�่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสะสม รวมสินทรัพย์สุทธิ

2.11 2.12 2.14

2.15

11 12 13 14 15 16

18

19 20

36,200,126,593.66 3,016,343.32 1,283,877.23 185,839,966.61 36,390,266,780.82 806,238,928,106.02 72,206,266.35 50,747,155.25 14,113,090.63 806,375,994,618.25 842,766,261,399.07

809,110,417.37 2,308,261,029.11 4,359,560,347.93 492,737,485,000.00 6,033,066,754.03 173,400.23 506,247,656,948.67 1,000,000.00 3,216,426,447,504.12 6,672,004,000.00 3,223,099,451,504.12 3,729,347,108,452.79 (2,886,580,847,053.72) (1,745,948,795,386.54) (1,140,632,051,667.18) (2,886,580,847,053.72)

(หน่วย : บาท) รายได้จากการด�ำเนินงาน รายได้รับจากรัฐบาล รวมรายได้รับจากรัฐบาล รายได้จากแหล่งอื่น รายได้จากการขายสินค้าและบริการ รายได้จากเงินช่วยเหลือและเงินบริจาค รายได้อื่น รวมรายได้จากแหล่งอื่น รวมรายได้จากการด�ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายจากการด�ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายบุคลากร ค่าบ�ำเหน็จบ�ำนาญ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าวัสดุและค่าใช้สอย ค่าสาธารณูปโภค ค่าเสื่อมราคา ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่ายจากการด�ำเนินงาน รายได้ต�่ำกว่าค่าใช้จ่ายจากการด�ำเนินงาน รายได้/ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการด�ำเนินงาน ก�ำไร/(ขาดทุน)จากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ รายการอื่นๆ ที่ไม่เกิดจากการด�ำเนินงาน รวมรายได้/ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการด�ำเนินงาน รายได้ต�่ำกว่าค่าใช้จ่ายจากการด�ำเนินงานตามปกติ รายได้แผ่นดินสุทธิ รายได้ต�่ำกว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ

21

17 22

151,994,753,495.55 151,994,753,495.55 140,080.00 38,048,229.80 102,406,822,616.42 102,445,010,926.22 254,439,764,421.77

23 24 25 26 27 28 29 30 31

74,306,752.13 4,247,958.94 11,655,780.47 7,289,002.75 56,735,535.53 5,270,932.94 39,402,508.93 5,663,668,840.17 419,382,351,456.10 425,244,928,767.96 (170,805,164,346.19)

32 33

(196,202.26) (92,967,815,819.48) (92,968,012,021.74) (263,773,176,367.93) 18,896,283.80 (263,754,280,084.13)

36

หมายเหตุประกอบรายงานการเงินเป็นส่วนหนึ่งของรายงานการเงินนี้

หมายเหตุประกอบรายงานการเงินเป็นส่วนหนึ่งของรายงานการเงินนี้ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

44

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ หมายเหตุประกอบรายงานทางการเงิน ส�ำหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2556

หมายเหตุที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 ความเป็นมา ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) เป็นส่วนราชการใน ระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลัง จัดตั้งเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 สบน. เป็นองค์กรที่มีภารกิจในการเสนอแนะนโยบาย รวมทัง้ ด�ำเนินการก่อหนีแ้ ละบริหารหนีส้ าธารณะ โดยค�ำนึงถึง ประโยชน์สูงสุดของประเทศ โดยมีบทบาทด้านงานบริหาร จัดการหนี้สาธารณะในฐานะหน่วยงาน (Agency) ซึ่งเป็น การด�ำเนินการตามภารกิจเช่นเดียวกับส่วนราชการอื่น และ งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะในฐานะหน่ ว ยงานกลาง (Core Agency) ซึ่งประกอบไปด้วย การก่อหนี้ที่กระทรวงการคลัง ได้ผูกพันในฐานะผู้กู้ในนามรัฐบาลของราชอาณาจักรไทย ทัง้ หนีใ้ นประเทศและต่างประเทศ การบริหารจัดการหนีค้ งค้าง รวมถึงการบริหารการช�ำระหนี้ ปี 2548 มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548” ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมือ่ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2548 และมีผลใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เหตุผลในการประกาศใช้ พระราชบัญญัติฉบับนี้ เพื่อให้การบริหารหนี้สาธารณะมีประสิทธิภาพ ซึ่งเดิมได้บัญญัติไว้ในกฎหมายหลายฉบับและสมควรให้มี หน่วยงานกลางเป็นหน่วยงานเดียว ท�ำหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการบริหารหนีส้ าธารณะอย่างมีระบบมีประสิทธิภาพ และควบคุมดูแล การก่อหนีโ้ ดยรวม เพือ่ ให้ภาระหนีส้ าธารณะอยูใ่ นระดับทีส่ อดคล้องกับฐานะการเงินการคลังของประเทศ ซึง่ ก�ำหนดให้กระทรวง การคลังเป็นผูม้ อี ำ� นาจในการกูเ้ งินหรือค�ำ้ ประกันในนามรัฐบาลแต่เพียงผูเ้ ดียวโดยอนุมตั คิ ณะรัฐมนตรีกำ� หนดให้มคี ณะกรรมการ นโยบายและก�ำกับการบริหารหนี้สาธารณะ ซึ่งมีอ�ำนาจหน้าที่รายงานสถานะหนี้สาธารณะเสนอแผนการบริหารหนี้สาธารณะ จัดท�ำหลักเกณฑ์ในการบริหารหนี้ แนะน�ำการออกกฎกระทรวงและปฏิบัติการอื่น สบน. มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการทั่วไปของคณะกรรมการนโยบายและก�ำกับการบริหารหนี้สาธารณะและมี อ�ำนาจหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างหนี้สาธารณะ หนี้รัฐวิสาหกิจที่ท�ำธุรกิจให้กู้ยืม และสถาบันการเงินภาครัฐที่ กระทรวงการคลังไม่ได้คำ�้ ประกัน รวบรวมข้อมูลประมาณการความต้องการเงินภาครัฐ และการบริหารหนีส้ าธารณะเพือ่ เสนอต่อ คณะกรรมการนโยบายและก�ำกับการบริหารหนี้สาธารณะ ด�ำเนินการเกี่ยวกับการบริหารหนี้สาธารณะ ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ส่งเสริมหน่วยงานของรัฐในการบริหารจัดการหนี้ ติดตามการปฏิบตั ติ ามสัญญาและประเมินผลการใช้จา่ ยเงินกู้ ปฏิบตั งิ านธุรการ ของคณะกรรมการนโยบายและก�ำกับการบริหารหนี้สาธารณะและปฏิบัติการอื่น ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

45

1.2 การน�ำเสนอรายงานการเงิน การจัดท�ำรายงานการเงินนีเ้ ป็นไปตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.2/ว.497 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2548 เรือ่ งรูปแบบ รายงานการเงินมาตรฐานส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐ และตามหนังสือส�ำนักงานเลขานุการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร 0506/ ว166 ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 เรื่อง การจัดท�ำรายงานการเงินแผ่นดิน รอบระยะเวลาบัญชี ใช้ปีงบประมาณเป็นเกณฑ์ คือเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม ของปีหนึ่ง ถึงวันที่ 30 กันยายน ของปีถัดไป

หมายเหตุที่ 2 สรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ 2.1 งบการเงินนี้จัดท�ำขึ้นตามเกณฑ์คงค้าง (Accrual basis) โดยเป็นไปตามข้อก�ำหนดในหลักการและนโยบายบัญชี ส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 ตามประกาศกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2546 2.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เช่น เช็ค ตั๋วแลกเงินสด เป็นต้น รับรู้ตามมูลค่าที่ตราไว้ เงินทดรองราชการ บันทึกรับรู้เมื่อได้รับเงินควบคู่ไปกับการบันทึกเงินทดรองราชการรับเงินจากคลังระยะยาว 2.3 ลูกหนี้เงินยืม บันทึกรับรู้ตามจ�ำนวนเงินในสัญญายืม ไม่ว่าจะจ่ายจากเงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณ 2.4 รายได้จากเงินงบประมาณค้างรับ บันทึกเป็นรายได้จากเงินงบประมาณค้างรับ ณ วันที่จัดท�ำรายงานหรือ ณ สิ้นปีงบประมาณ ตามจ�ำนวนเงินงบประมาณที่ยังไม่ได้รับตามฎีกาเหลื่อมจ่าย 2.5 รายได้ค้างรับ บันทึกตามจ�ำนวนที่ยังไม่ได้รับจนถึงสิ้นปีงบประมาณ 2.6 วัสดุคงเหลือ แสดงในราคาทุน โดยตีราคาวัสดุคงเหลือตามวิธีเข้าก่อนออกก่อน 2.7 ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า เป็นส่วนลดที่ให้แก่ผู้ประมูลตั๋วเงินคลัง 2.8 เงินให้กู้ระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ เป็นเงินให้ยืมแก่รัฐวิสาหกิจ บันทึกรับรู้ตามจ�ำนวนเงินในสัญญากู้เงิน 2.9 อาคารและอุปกรณ์ (สุทธิ) เป็นสินทรัพย์ที่มีมูลค่าต่อหน่วย ต่อชุดหรือต่อกลุ่ม ตั้งแต่ 30,000 บาท ขึ้นไปเฉพาะที่ซื้อ หรือได้มาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2540-2545 ส�ำหรับรายการที่จัดซื้อหรือได้มาในปีงบประมาณ 2546 เป็นต้นไป จะรับเฉพาะที่มี มูลค่าตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป โดยแสดงราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม 2.10 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน (สุทธิ) แสดงในราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม 2.11 เจ้าหนี้ บันทึกรับรู้เจ้าหนี้จากการซื้อสินค้า หรือบริการ เมื่อหน่วยงานได้ตรวจรับสินค้าหรือบริการ จากผู้ขายแล้ว แต่ยังไม่ได้ช�ำระเงิน และสามารถระบุ มูลค่าสินค้าหรือบริการได้ชัดเจน 2.12 ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย เกิดขึน้ จากข้อก�ำหนดของ กฎหมาย ข้อตกลงในสัญญา หรือจากบริการทีไ่ ด้รบั เช่น เงินเดือนหรือค่าจ้างค้างจ่าย ค่าใช้จา่ ยด�ำเนินงานค้างจ่าย และดอกเบี้ยค้างจ่าย เป็นต้น โดยการประมาณค่า ตามระยะเวลาที่เกิดค่าใช้จ่ายนั้นๆ ส�ำหรับใบส�ำคัญ ค้างจ่ายจะรับรู้เมื่อได้รับใบขอเบิกเงินจากข้าราชการ พนักงานราชการ หรือลูกจ้าง รวมถึงการรับใบส�ำคัญที่ ทดรองจ่ายจากเงินทดรองราชการ PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


46

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

2.13 รายได้รับล่วงหน้า บันทึกรับรู้รายได้รับล่วงหน้าเมื่อได้รับเงินตามจ�ำนวนการใช้จ่ายเงิน รวมถึงการรับเงินสนับสนุน 2.14 เงินกู้ระยะสั้น เป็นเงินกู้ที่กระทรวงการคลังกู้ในนามรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นส่วนของงานหนี้สาธารณะ ประกอบด้วย 1) เงินกูใ้ นประเทศ ได้แก่ เงินกูเ้ กิดจากการออกตัว๋ เงินคลัง เงินกูร้ ะยะสัน้ จากสถาบันการเงิน และส่วนทีจ่ ะครบก�ำหนด ช�ำระภายในหนึ่งปีของตั๋วสัญญาใช้เงิน พันธบัตรรัฐบาล 2) เงินกู้ต่างประเทศ ได้แก่ ตั๋ว Euro Commercial Paper (ECP) และส่วนที่จะครบก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปีของ Samurai Bond และเงินกู้ตามสัญญากู้เงินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ 2.15 เงินกูร้ ะยะยาว เป็นเงินกูท้ กี่ ระทรวงการคลังกูใ้ นนามรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย ซึง่ เป็นส่วนของงานหนีส้ าธารณะ ประกอบด้วย 1) เงินกู้ในประเทศ ได้แก่ เงินกู้ที่เกิดจากการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน พันธบัตรรัฐบาล และเงินกู้ตามสัญญากู้เงิน ที่เป็น เงินบาท ส่วนเกินมูลค่าพันธบัตรและส่วนต�ำ่ กว่ามูลค่าพันธบัตรรับรูเ้ ป็นรายได้หรือค่าใช้จา่ ยทันทีทงั้ จ�ำนวน เมือ่ มีการออกจ�ำหน่าย พันธบัตร 2) เงินกู้ต่างประเทศ ได้แก่ เงินกู้ที่เกิดจากการออก Samurai Bond และเงินกู้ตามสัญญากู้เงินที่เป็นสกุลเงินตรา ต่างประเทศ 2.16 หนี้สาธารณะ หมายถึง หนี้ที่กระทรวงการคลัง หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจกู้ หรือหนี้ที่กระทรวงการคลัง ค�้ำประกัน (ค�้ำประกัน รวมถึงการอาวัลตั๋วเงิน) แต่ไม่รวมถึงหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ท�ำธุรกิจให้กู้ยืมเงินโดยกระทรวงการคลังมิได้ ค�้ำประกัน การกู้เงินจะท�ำเป็นสัญญาหรือออกตราสารหนี้ก็ได้ 2.17 การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ ได้บันทึกสินทรัพย์และหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศตามวันที่เกิดรายการ ด้วยสกุลเงินตราต่างประเทศนัน้ ๆ และแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิดรายการ โดยสินทรัพย์และหนีส้ นิ คงเหลือ ณ วันที่จัดท�ำรายงาน หรือ ณ วันสิ้นปีงบประมาณ ได้แปลงค่าเงินตราต่างประเทศของทรัพย์สินและหนี้สินคงเหลือ โดยใช้อัตราซื้อส�ำหรับสินทรัพย์ และอัตราขายส�ำหรับหนี้สิน ตามอัตราแลกเปลี่ยนอ้างอิงตามประกาศของธนาคารแห่ง ประเทศไทย ก�ำไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการแปลงค่าดังกล่าวรับรู้เป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายจากอัตราแลกเปลี่ยน 2.18 ทุน รับรู้เมื่อเริ่มปฏิบัติตามระบบบัญชีเกณฑ์คงค้างซึ่งเกิดจากผลต่างระหว่างสินทรัพย์และหนี้สิน 2.19 การรับรู้รายได้ 2.19.1 รายได้จากเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ รับรู้เมื่อได้รับอนุมัติค�ำขอเบิกจากกรมบัญชีกลาง 2.19.2 รายได้อื่น รับรู้ตามเกณฑ์คงค้างเมื่อเกิดรายการ 2.20 ค่าใช้จ่ายบุคลากร ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานและ ค่าใช้จ่ายงบกลาง รับรู้เมื่อเกิดค่าใช้จ่าย 2.21 ค่าเสือ่ มราคาสินทรัพย์ ค�ำนวณโดยวิธเี ส้นตรงไม่มรี าคา ซาก (ราคาซาก = 0) สินทรัพย์ทหี่ มดอายุการใช้งานแล้ว ให้คงมูลค่า ไว้ในบัญชี 1 บาท จนกว่าจะมีการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ออกจากระบบ บัญชี การตีราคาสินทรัพย์และคิดค่าเสื่อมราคาได้ก�ำหนดประเภท สินทรัพย์และอายุการใช้งานของสินทรัพย์ต่างๆ ดังนี้ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

47

ประเภทสินทรัพย์ อายุการใช้งาน (ปี) ส่วนปรับปรุงอาคาร 15 ครุภัณฑ์ส�ำนักงาน 10 - 12 ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง 5-8 ครุภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและวิทยุ 5 - 10 ครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ 3-5 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 5 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 5 หมายเหตุที่ 3 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ประกอบด้วย (หน่วย : บาท)

เงินทดรองราชการ (หมายเหตุที่ 2.2) เงินฝากคลัง เงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทยจากการกู้เงินเพื่อช่วยเหลือ กองทุนฟื้นฟู เงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทยจากการกู้เงินเพื่อปรับ โครงสร้างหนี้ เงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทยจากการกู้เงินเพื่อบริหารหนี้ เงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทยจากการกู้เงินเพื่อปรับ โครงสร้างหนี้ TKK รวม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

ส่วนงาน ส่วนราชการ บริหารหนี้สาธารณะ 1,000,000.00 24,503,650,973.59

รวม 1,000,000.00 24,503,650,973.59

167,112,839.20

167,112,839.20

9,147,881,757.00 1,114,984,333.40

9,147,881,757.00 1,114,984,333.40

1,265,496,690.47 11,695,475,620.07

1,265,496,690.47 36,200,126,593.66

24,504,650,973.59

เงินทดรองราชการเป็นเงินสด จ�ำนวน 50,000 บาท และเงินฝากธนาคาร จ�ำนวน 950,000 บาท

หมายเหตุที่ 4 ลูกหนี้ระยะสั้น (ส่วนราชการ) ประกอบด้วย ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ รวม

(หน่วย : บาท) 2,132,387.32 883,956.00 3,016,343.32 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

48 หมายเหตุที่ 5 รายได้ค้างรับ ประกอบด้วย

(หน่วย : บาท) 1,283,877.23 1,283,877.23

หมายเหตุที่ 6 ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า (ส่วนงานบริหารหนี้สาธารณะ) ดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า จ�ำนวน 185,839,966.61 บาท เกิดจากการประมูลขายตั๋วเงินคลัง ซึ่งเมื่อครบก�ำหนดจะจ่ายคืนผู้ซื้อ ตามมูลค่าตั๋ว ผลต่างระหว่างราคาขายและมูลค่าหน้าตั๋วบันทึกเป็นดอกเบี้ยจ่ายล่วงหน้า โดย สบน. จะบันทึกตัดบัญชีดอกเบี้ย จ่ายล่วงหน้ารับรู้เป็นดอกเบี้ยจ่ายเมื่อครบก�ำหนดไถ่ถอนตั๋วเงินคลัง

หมายเหตุที่ 7 ลูกหนี้ระยะยาว ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) หมายเหตุ เงินให้ยืมระยะยาว-หน่วยงานภาครัฐ เงินให้กู้ระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ รวม ลูกหนี้ระยะยาว

7.1

1,135,000,000.00 805,103,928,106.02 806,238,928,106.02

หมายเหตุที่ 7.1 เงินให้กู้ระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ (ส่วนงานบริหารหนี้สาธารณะ) ประกอบด้วย ณ วันที่ กันยายน 2556 ลูกหนี้ระยะยาวมียอดคงเหลือ จ�ำนวนเงิน 805,103,928,106.02 บาท เงินตราต่างประเทศ 500,000,000.00 23,177,052,473.00 10,730,330.55 173,533.56 54,757,425,886.47

อัตราแลกเปลี่ยน 31.1499 31.6883 30.0907 41.9353

จ�ำนวนเงิน (บาท) 15,574,950,000.00 734,441,391,880.17 322,883,157.48 7,277,181.90 54,757,425,886.47 805,103,928,106.02

หมายเหตุที่ 8 เงินลงทุนระยะยาว ประกอบด้วย เงินลงทุนทั่วไป รวม เงินลงทุนระยะยาว

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

49

หมายเหตุที่ 9 อาคารและอุปกรณ์ (สุทธิ) ประกอบด้วย

รายได้ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง รวม รายได้ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง

ดอลลาร์สหรัฐ (USD) เยนญี่ปุ่น (JPY) ดอลลาร์แคนาดา (CAD) ยูโร (EUR) บาท (THB) รวม เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่รัฐวิสาหกิจ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

(หน่วย : บาท) 72,206,266.35 72,206,266.35

ครุภัณฑ์สิ่งปลูกสร้าง ครุภัณฑ์ส�ำนักงาน ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ ครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ ครุภัณฑ์ก่อสร้าง ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว ครุภัณฑ์อื่น ครุภัณฑ์ไม่ระบุรายละเอียด รวม อาคารและอุปกรณ์ (สุทธิ)

ราคาทุน (ยกมา) 3,875,000.00 8,878,681.71 6,319,300.00 2,278,774.87 2,152,176.57 198,485.00 102,779,538.18 51,650.02 12,317,000.05 6,727,334.55 145,577,940.95

ค่าเสื่อมราคาสะสม 1,050,319.62 4,367,728.30 3,658,518.02 1,749,858.68 1,319,183.29 119,961.07 73,137,184.63 26,951.75 2,764,951.67 6,636,128.67 94,830,785.70

(หน่วย : บาท) สุทธิ 2,824,680.38 4,510,953.41 2,660,781.98 528,916.19 832,993.28 78,523.93 29,642,353.55 24,698.27 9,552,048.38 91,205.88 50,747,155.25

สบน. ใช้อาคารส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ชั้น 4 และ 5 เป็นที่ตั้งส�ำนักงาน โดยส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลังใช้พื้นที่ของ ทีร่ าชพัสดุครุภณ ั ฑ์ไม่ระบุรายละเอียด คือ ครุภณ ั ฑ์ทไี่ ด้มาจากเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศทีไ่ ด้รบั จากธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย ตามโครงการเสริมสร้างสมรรถนะของ สบน. ซึ่งรับโอนจากส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลังในปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 ที่มีราคา ต่อหน่วย เกินกว่า 5,000 บาท ขึ้นไป จ�ำนวน 136 รายการ มีราคาสินทรัพย์ ณ วันรับโอน 6.73 ล้านบาท โดยมียอดคงเหลือ สุทธิจ�ำนวน 0.26 ล้านบาท

หมายเหตุที่ 10 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน (สุทธิ) ประกอบด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น รวม สินทรัพย์ไม่มีตัวตน (สุทธิ)

ราคาทุน (ยกมา) 45,100,879.00 7,415,348.50 52,516,227.50

ค่าเสื่อมราคาสะสม 35,271,150.50 3,131,986.37 38,403,136.87

(หน่วย : บาท) สุทธิ 9,829,728.50 4,283,362.13 14,113,090.63

หมายเหตุที่ 11 เจ้าหนี้ระยะสั้น (ส่วนราชการ) ประกอบด้วย เจ้าหนี้-หน่วยงานภายนอก เจ้าหนี้-หน่วยงานภาครัฐ รวม เจ้าหนี้ระยะสั้น

(หน่วย : บาท) 806,826,155.84 2,284,261.53 809,110,417.37

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

50 หมายเหตุที่ 12 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ประกอบด้วย

(หน่วย : บาท) 2,296,709,376.78 12,416,851.87 (865,199.54) 2,308,261,029.11

หมายเหตุที่ 13 เงินรับฝากอื่น (ส่วนราชการ) ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) เงินฝากเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ (SAL) เงินฝากเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างภาคราชการ 1 เงินฝากเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างภาคราชการ 2 เงินฝากเงินกู้เพื่อสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการด�ำเนินงาน รวม เงินรับฝากอื่น

51,850,350.00 1,344,701,132.01 2,146,710,489.66 816,298,376.26 4,359,560,347.93

หมายเหตุ

18.1 18.2 18.3

(หน่วย : บาท) 102,135,000,000.00 380,972,152,000.00 1,383,333,000.00 8,247,000,000.00

เงินประกันผลงาน เงินประกันอื่น ดอกเบี้ยจ่ายรับล่วงหน้า รวม หนี้สินหมุนเวียนอื่น

ส่วนราชการ 724,161.00 462,542.77 1,186,703.77

ส่วนงานบริหารหนี้สาธารณะ

6,031,880,050.26 6,031,880,050.26

(หน่วย : บาท) รวม 724,161.00 462,542.77 6,031,880,050.26 6,033,066,754.03

ดอกเบี้ยจ่ายรับล่วงหน้า จ�ำนวน 6,031,880,050.26 บาท เกิดจาก ณ วันประมูลขายพันธบัตรรัฐบาลเป็นค่าดอกเบี้ยที่คิด ตั้งแต่วันที่มีการจ่ายดอกเบี้ยครั้งล่าสุดจนถึงวันที่ซื้อพันธบัตรกรณีออกจ�ำหน่ายพันธบัตรระหว่างงวดการจ่ายดอกเบี้ย

หมายเหตุที่ 16 รายได้รอการรับรู้ระยะยาว (ส่วนราชการ) ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) 173,400.23 173,400.23

รายได้รอการรับรู้ รวม รายได้รอการรับรู้ระยะยาว

หมายเหตุที่ 17 รายได้จากเงินช่วยเหลือและบริจาค (ส่วนราชการ) ประกอบด้วย

หมายเหตุที่ 14 เงินกู้ระยะสั้น (ส่วนงานบริหารหนี้สาธารณะ) ประกอบด้วย

390,602,485,000.00 102,135,000,000.00

ตั๋วเงินคลัง จ�ำนวน 102,135,000,000 บาท เป็นตราสารหนี้ระยะสั้น อายุไม่เกิน 12 เดือน ออกตามขอบเขตของ พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 โดยให้กระทรวงการคลังโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอ�ำนาจกู้เงินเพื่อชดเชย การขาดดุลและบริหารสภาพคล่อง เป็นเครื่องมือในการบริหารเงินสดของรัฐบาล เงินที่ได้จากการออกตั๋วเงินคลังได้น�ำส่งคลัง เพื่อสมทบเงินคงคลัง ในการออกตั๋วเงินคลังจะเกิดค่าใช้จ่าย ได้แก่ ค่าธรรมเนียมในการจ�ำหน่ายและการเป็นนายทะเบียน ร้อยละ 0.01 ของวงเงินจ�ำหน่าย

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

51

หมายเหตุที่ 15 หนี้สินหมุนเวียน ประกอบด้วย

ดอกเบี้ยจ่ายรอตัดช�ำระ ใบส�ำคัญค้างจ่าย ค่าจ้างอื่น-ภายนอก รวม ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

ตั๋วเงินคงคลัง เงินกู้ระยะยาวที่ครบก�ำหนดภายใน 1 ปี - พันธบัตรรัฐบาล - ตั๋วสัญญาใช้เงิน-ระยะยาว - เงินกู้แผ่นดินสกุลเงินบาท-ระยะยาว รวม เงินกู้ระยะสั้น

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

(หน่วย : บาท) 2,099.77 38,046,130.03 38,048,229.80

รายได้จากการบริจาค รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานรับจากหน่วยงานอื่น รวม รายได้จากเงินช่วยเหลือและบริจาค

หมายเหตุที่ 18 เงินกู้ระยะยาว ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) หมายเหตุ เงินกู้ระยะยาว - สกุลในประเทศ พันธบัตรรัฐบาล ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ระยะยาว ส่วนเกินกว่ามูลค่า ส่วนต�่ำกว่ามูลค่า เงินกู้แผ่นดินสกุลเงินบาท-ระยะยาว เงินกู้ระยะยาว – สกุลต่างประเทศ เงินกู้ต่างประเทศของแผ่นดินจ่ายคืนนานกว่า 1 ปี รวม เงินกู้ระยะยาว

18.1 18.2

18.3

2,888,016,928,000.00 284,463,173,447.63 15,819,773,754.59 (12,746,325,345.81) 39,766,376,298.48 1,107,151,349.23

3,215,319,296,154.89 1,107,151,349.23 3,216,426,447,504.12

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

52 หมายเหตุที่ 18.1 พันธบัตรรัฐบาล ประกอบด้วย

(หน่วย : บาท) ครบก�ำหนดช�ำระภายใน 1 ปี (หมายเหตุ 14) 1. พันธบัตรรัฐบาลที่ออกชดเชยการขาดดุล งบประมาณ พันธบัตรออมทรัพย์และพันธบัตรออมทรัพย์ ไทยเข้มแข็ง 2. พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ 3. พันธบัตรรัฐบาลกรณีพิเศษและพันธบัตร รัฐบาล เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ (FIDF 1) 4. พันธบัตรรัฐบาลกรณีพิเศษ พันธบัตร ออมทรัพย์และพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับ โครงสร้างหนี้ (FIDF 3) 5. พันธบัตรรัฐบาล เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ (TKK) 6. พันธบัตรออมทรัพย์ไทยเข้มแข็ง (เพื่อสมทบเงินคงคลัง) 7. พันธบัตรออมทรัพย์ไทยเข้มแข็ง (เพื่อปรับโครงสร้างหนี้) รวม พันธบัตรรัฐบาล

ครบก�ำหนดช�ำระเกิน 1 ปี

รวม

109,232,072,000.00

1,193,485,000,000.00

1,302,717,072,000.00

30,616,340,000.00 62,000,000,000.00

38,874,008,000.00 517,155,000,000.00

69,490,348,000.00 579,155,000,000.00

65,000,000,000.00

284,900,000,000.00

349,900,000,000.00

64,123,740,000.00

550,100,000,000.00

614,223,740,000.00

-

221,272,000,000.00

221,272,000,000.00

50,000,000,000.00 380,972,152,000.00

50,000,000,000.00 82,230,290,000.00 2,888,016,298,000.00

82,230,290,000.00 3,268,988,450,000.00

พันธบัตรรัฐบาลทีอ่ อกเพือ่ ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ออกตามมาตรา 9 ทวิ แห่งพระราชบัญญัตวิ ธิ กี ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ต่อมาได้มีการยกเลิกโดยออกตามความในมาตรา 20 (1) แห่งพระราชบัญญัติการบริหาร หนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 โดยให้กระทรวงการคลังโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอ�ำนาจ กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณหรือเมื่อมีรายจ่ายสูงกว่ารายได้ เงินที่ได้จากการจ�ำหน่ายพันธบัตรได้น�ำส่งคลังเพื่อ ชดเชยการขาดดุล ในการออกพันธบัตรจะเกิดค่าใช้จ่าย ได้แก่ ค่าธรรมเนียมในการจ�ำหน่ายและการเป็นนายทะเบียน ร้อยละ 0.1 ของราคาพันธบัตรที่จ�ำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ช�ำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ช�ำระคืน พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหนี้ ออกตามมาตรา 14 มาตรา 20 (3) และมาตรา 24 แห่งพระราชบัญญัติการบริหารหนี้ สาธารณะ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 โดยให้กระทรวงการคลัง โดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอ�ำนาจกู้ เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ และ/หรือ แปลงตั๋วเงินคลัง เงินที่ได้จากการจ�ำหน่ายพันธบัตรได้น�ำไปปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ และ/หรือ น�ำส่งคลังเพื่อแปลงตั๋วเงินคลังให้เป็นพันธบัตรรัฐบาลหรือตราสารหนี้อื่น ในการออกพันธบัตรจะเกิดค่าใช้จ่าย ได้แก่ ค่าธรรมเนียมในการจ�ำหน่ายและการเป็นนายทะเบียน ร้อยละ 0.1 ของราคาพันธบัตรทีจ่ ำ� หน่ายได้ ดอกเบีย้ ทีช่ ำ� ระและต้นเงินกู้ ตามพันธบัตรที่ช�ำระคืน ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

53

พันธบัตรรัฐบาลกรณีพิเศษและพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ (FIDF 1) ออกตามพระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจ กระทรวงการคลังกูเ้ งินและจัดการเงินกูเ้ พือ่ ช่วยเหลือกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2541 วงเงินกู้ 500,000,000,000 บาท โดยให้กระทรวงการคลังโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอ�ำนาจกู้เงินจากแหล่งเงินกู้ในประเทศ เพื่อชดใช้ ความเสียหายและปรับโครงสร้างแหล่งเงินทุนของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน โดยเงินที่น�ำมาช�ำระ คืนต้นเงินกู้รวมถึงดอกเบี้ยเงินกู้มาจากเงินในบัญชีสะสมเพื่อการช�ำระคืนต้นเงินกู้ชดใช้ความเสียหายของกองทุนเพื่อการฟื้นฟู และพัฒนาระบบสถาบันการเงิน - 2 อันเนือ่ งมาจากพระราชก�ำหนดปรับปรุงการบริหารเงินกูท้ กี่ ระทรวงการคลังกูเ้ พือ่ ช่วยเหลือ กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2555 ได้เริ่มด�ำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ซึ่งแหล่งที่มา ของเงินในบัญชีดังกล่าวประกอบด้วย 1) เงินก�ำไรสุทธิที่ธนาคารแห่งประเทศไทยน�ำส่งเป็นรายได้ตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารแห่งประเทศไทยในแต่ละปีจ�ำนวน ไม่น้อยกว่าร้อยละเก้าสิบ 2) เงินที่สถาบันการเงินน�ำส่งธนาคารแห่งประเทศไทย 3) เงินหรือสินทรัพย์ของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ตามจ�ำนวนที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด 4) เงินโอนจากบัญชีกองทุนเพือ่ การช�ำระคืนต้นเงินกูช้ ดใช้ความเสียหายของกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบัน การเงิน พันธบัตรรัฐบาลกรณีพิเศษและพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ (FIDF 3) ออกตามพระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจ กระทรวงการคลังกูเ้ งินและจัดการเงินกูเ้ พือ่ ช่วยเหลือกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะทีส่ อง พ.ศ. 2545 วงเงินกู้ 780,000,000,000 บาท โดยให้กระทรวงการคลังโดยอนุมตั คิ ณะรัฐมนตรีมอี ำ� นาจกูเ้ งินบาท เพือ่ ชดใช้ความเสียหายของ กองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน โดยเงินทีน่ ำ� มาช�ำระคืนต้นเงินกูร้ วมถึงดอกเบีย้ เงินกูม้ าจากเงินในบัญชีสะสม เพื่อการช�ำระคืนต้นเงินกู้ชดใช้ความเสียหายของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน - 2 อันเนื่องมาจาก พระราชก�ำหนดปรับปรุงการบริหารหนีเ้ งินกูท้ กี่ ระทรวงการคลังกูเ้ พือ่ ช่วยเหลือกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2555 ได้เริ่มด�ำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ซึ่งแหล่งที่มาของเงินในบัญชีดังกล่าวประกอบด้วย 1) เงินก�ำไรสุทธิที่ธนาคารแห่งประเทศไทยน�ำส่งเป็นรายได้ตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารแห่งประเทศไทยในแต่ละปีจ�ำนวน ไม่น้อยกว่าร้อยละเก้าสิบ 2) เงินที่สถาบันการเงินน�ำส่งธนาคารแห่งประเทศไทย 3) เงินหรือสินทรัพย์ของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ตามจ�ำนวนที่คณะรัฐมนตรีก�ำหนด 4) เงินโอนจากบัญชีกองทุนเพือ่ การช�ำระคืนต้นเงินกูช้ ดใช้ความเสียหายของกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนาระบบสถาบัน การเงิน โดยในส่วนของเงินที่น�ำมาช�ำระคืนต้นเงินกู้ยังมีที่มาจากเงินในบัญชีสะสมเพื่อการช�ำระคืนต้นเงินกู้ชดใช้ความเสียหาย ของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ซึ่งเป็นเงินจากสินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ประจ�ำปี ตามกฎหมายว่าด้วยเงินตราหลังจากการจ่ายเมื่อสิ้นปีอีกแหล่งหนึ่งด้วย พันธบัตรรัฐบาลเพือ่ การปรับโครงสร้างหนี้ (TKK) ออกตามมาตรา 8 แห่งพระราชก�ำหนดให้อำ� นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งิน เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 โดยให้กระทรวงการคลังโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีมีอ�ำนาจกู้เงิน เพื่อปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ ในการออกพันธบัตรจะเกิดค่าใช้จ่าย ได้แก่ ค่าธรรมเนียมในการจ�ำหน่ายและการเป็นนายทะเบียน ร้อยละ 0.1 ของราคาพันธบัตรที่จ�ำหน่ายได้ ดอกเบี้ยที่ช�ำระและต้นเงินกู้ตามพันธบัตรที่ช�ำระคืน

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

54

พันธบัตรออมทรัพย์ไทยเข้มแข็ง (เพื่อสมทบเงินคงคลัง) จ�ำนวน 50,000,000,000 บาท เป็นพันธบัตรที่ออกตาม พระราชก�ำหนดให้กระทรวงการคลังกูเ้ งินเพือ่ ฟืน้ ฟูและเสริมสร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 โดยออกเพียงครัง้ เดียว ในปีงบประมาณ 2552 พันธบัตรออมทรัพย์ไทยเข้มแข็ง (เพือ่ ปรับโครงสร้างหนี)้ จ�ำนวน 82,230,290,000 บาท เป็นพันธบัตรทีอ่ อกตามพระราชก�ำหนด ให้กระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 โดยออกเพียงครั้งเดียวในปี งบประมาณ 2552

หมายเหตุที่ 18.2 ตั๋วสัญญาใช้เงิน-ระยะยาว ประกอบด้วย (หน่วย : บาท)

ตั๋วสัญญาใช้เงิน-ระยะยาว รวม ตั๋วสัญญาใช้เงิน-ระยะยาว

ครบก�ำหนดช�ำระภายใน 1 ปี (หมายเหตุ 14) 1,383,333,000.00 1,383,333,000.00

ครบก�ำหนดช�ำระเกิน 1 ปี 284,463,173,447.63 284,463,173,447.63

รวม 285,846,506,447.63 285,846,506,447.63

ตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note : PN) ออกตามขอบเขตของกฎหมาย 4 ฉบับ ได้แก่ 1) พระราชบัญญัตกิ ารบริหารหนีส้ าธารณะ พ.ศ. 2548 เพือ่ น�ำเงินไปชดเชยการขาดดุลงบประมาณตามมาตรา 20 (1) และ เพื่อปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะตามมาตรา 14 มาตรา 20 (3) และมาตรา 24 2) พระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน พ.ศ. 2541 เพื่อปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ FIDF 1 ตามมาตรา 7 3) พระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน ระยะที่สอง พ.ศ. 2545 เพื่อปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ FIDF 3 ตามมาตรา 7 4) พระราชก�ำหนดให้อำ� นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งินเพือ่ ฟืน้ ฟูและเสริมสร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 เพือ่ ปรับ โครงสร้างหนี้เงินกู้ TKK ตามมาตรา 8 การออกตั๋วสัญญาใช้เงินอยู่ในกรอบวงเงินที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติให้กู้เงินในแต่ละปีงบประมาณเพื่อชดเชยการขาดดุล และเพื่อปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ภายใต้แต่ละกฎหมาย โดยกระทรวงการคลังสามารถออกตั๋วสัญญาใช้เงินให้กับผู้ให้กู้โดยตรง จึงไม่มีค่าใช้จ่ายในการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน

หมายเหตุที่ 18.3 เงินกู้แผ่นดินสกุลเงินบาท-ระยะยาว ประกอบด้วย (หน่วย : บาท)

เงินกู้แผ่นดินสกุลเงินบาท-ระยะยาว รวม เงินกู้แผ่นดินสกุลเงินบาท-ระยะยาว

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ครบก�ำหนดช�ำระภายใน 1 ปี (หมายเหตุ 14) 8,247,000,000.00 8,247,000,000.00

ครบก�ำหนดช�ำระเกิน 1 ปี 39,766,376,298.48 39,766,376,298.48

รวม 48,013,376,298.48 48,013,376,298.48

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

55

สัญญาเงินกู้ระยะยาว (Long Term Loan) ด�ำเนินการตามขอบเขตของกฎหมาย 5 ฉบับ ได้แก่ 1) พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 เพื่อน�ำเงินไปให้รัฐวิสาหกิจกู้ต่อ ตามมาตรา 20 (4) และมาตรา 25 2) พระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน ระยะที่สอง พ.ศ. 2545 เพื่อปรับโครงสร้างหนี้เงินกู้ FIDF 3 ตามมาตรา 7 3) พระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ พ.ศ. 2552 เพื่อ ด�ำเนินมาตรการฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ (ด�ำเนินโครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555) ตามมาตรา 3 4) พระราชก�ำหนดให้อำ� นาจกระทรวงการคลังกูเ้ งินเพือ่ การวางระบบบริหารจัดการน�ำ้ และสร้างอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 เพื่อน�ำเงินไปใช้จ่ายในการวางระบบบริหารจัดการน�้ำและสร้างอนาคตประเทศ ตามมาตรา 3 5) พระราชก�ำหนดกองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ พ.ศ. 2555 เพื่อน�ำส่งเงินเข้ากองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ ตามมาตรา 13 (1) การท�ำสัญญาเงินกู้ระยะยาวอยู่ในกรอบวงเงินที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติให้กู้เงินในแต่ละปีงบประมาณเพื่อน�ำไปใช้จ่ายตาม วัตถุประสงค์ภายใต้แต่ละกฎหมาย โดยกระทรวงการคลังสามารถท�ำสัญญาเงินกู้กับผู้ให้กู้โดยตรง จึงไม่มีค่าใช้จ่ายในการท�ำ สัญญาเงินกู้

หมายเหตุที่ 19 ทุน จ�ำนวน 1,745,948,795,386.54 บาท ประกอบด้วย สินทรัพย์และหนี้สินที่รับโอนจากกรมบัญชีกลางเนื่องจากการโอนงานบริหารหนี้สาธารณะมาให้ สบน. ด�ำเนินการโดย บันทึกยอดสินทรัพย์สุทธิไว้ในบัญชีทุน จ�ำนวน 1,745,948,795,386.54 บาท มีรายละเอียดดังนี้ (หน่วย : บาท) สินทรัพย์ เงินฝากธนาคารกรุงไทยสกุลเงินตราต่างประเทศเพื่อช�ำระหนี้ เงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทยเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ ลูกหนี้ระยะยาว ครุภัณฑ์ไม่ระบุรายละเอียด รวมสินทรัพย์ หนี้สิน ตั๋วเงินคลัง ตั๋วสัญญาใช้เงิน พันธบัตรรัฐบาล ตั๋ว ECP เงินกู้ต่างประเทศของแผ่นดินระยะยาว รวมหนี้สิน หนี้สินสูงกว่าสินทรัพย์รับโอนเข้าบัญชีทุน - ปรับปรุงอัตราแลกเปลี่ยนสินทรัพย์และหนี้สินรับโอนที่เป็นเงินตราต่างประเทศให้ถูกต้อง ตามที่กรมบัญชีกลางสั่งการโดยบันทึกเป็นรายได้คู่กับบัญชีทุน รวมทุนรับโอน (ทุนเริ่มต้นตามเกณฑ์คงค้าง)

5,236,619,429.57 2,512,108,225.06 65,992,740,695.12 5,515,958.65 73,746,984,308.40 (170,000,000,000.00) (70,000,000,000.00) (1,254,725,625,639.20) (19,329,694,714.20) (303,410,184,115.43) (1,817,465,504,468.83) (1,743,718,520,160.43) (2,230,275,226.11) (1,745,948,795,386.54) PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

56 หมายเหตุที่ 20 รายได้สูงต�่ำกว่าค่าใช้จ่ายสะสม ประกอบด้วย รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายสะสมยกมา รายได้สูงต�่ำกว่าค่าใช้จ่ายสะสม ผลสะสมแก้ไขข้อผิดพลาดในระบบ GFMIS ปี 2556 รายได้ต�่ำกว่าค่าใช้จ่ายสุทธิงวดนี้ รวม รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายสะสม ณ วันสิ้นงวด

หมายเหตุที่ 21 รายได้จากรัฐบาล ประกอบด้วย

รายได้จากงบบุคลากร รายได้จากงบลงทุน รายได้จากงบด�ำเนินงาน รายได้จากงบรายจ่ายอื่น รายได้จากงบกลาง รายได้จากเงินกู้ รายได้จากงบรายจ่ายอื่นช�ำระหนี้ หัก เบิกเกินส่งคืนเงินงบประมาณ รวม รายได้จากรัฐบาล

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ส่วนงาน บริหารหนี้สาธารณะ

50,041,737.00 2,692,870.60 29,962,066.74 158,686,290.85 12,070,224.85 464,967,810.40 (1,749,281.14) 716,671,719.30

57

หมายเหตุที่ 22 รายได้อื่น ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) (577,583,081,400.83) 29,641,131.96 (299,324,331,314.18) (263,754,280,084.13) (1,140,632,051,667.18)

ส่วนราชการ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

4,463,951.98 151,273,617,824.27 151,278,081,776.25

รวม (หน่วย : บาท) 50,041,737.00 2,692,870.60 29,962,066.74 158,686,290.85 12,070,224.85 4,463,951.98 151,738,585,634.67 (1,749,281.14) 151,994,753,495.55

ส่วนราชการ รายได้ดอกเบี้ยเงินให้กู้ รายได้เงินนอกงบประมาณ รายได้ระหว่างหน่วยงาน-รับเงินนอกงบประมาณตั๋วเงินคลัง รายได้ระหว่างหน่วยงาน-ปรับเงินฝากคลัง ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานโอนเงินนอกงบ ประมาณให้กรมบัญชีกลาง รายได้ระหว่างหน่วยงาน-เงินทดรองราชการ รายได้อื่น รวม รายได้อื่น

ส่วนงาน บริหารหนี้สาธารณะ 680,400,534.61

50,175,259.53 57,801,983.76 (96,676,983.76) 6,101,173.68 17,401,433.21

101,791,724,589.60 26,517,652,410.98 (26,478,663,951.98) (121,692,400) 102,389,421,183.21

รวม (หน่วย : บาท) 680,400,534.61 50,175,259.53 101,791,724,589.60 26,575,454,394.74 (26,575,340,935.74) (121,692,400) 6,101,173.68 102,406,822,616.42

หมายเหตุที่ 23 ค่าใช้จ่ายบุคลากร (ส่วนราชการ) ประกอบด้วย เงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินค่าตอบแทนพิเศษของผู้ได้รับเงินเต็มขั้น ค่าจ้างชั่วคราว เงินค่าตอบแทนพนักงานราชการ เงินรางวัล เงินชดเชยสมาชิก กบข. เงินสมทบ กบข. เงินสมทบกองทุนประกันสังคม ค่าตอบแทนเหมาจ่ายแทนการจัดหารถประจ�ำต�ำแหน่ง เงินช่วยการศึกษาบุตร เงินช่วยค่ารักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยนอก-รพ. รัฐบาล เงินช่วยค่ารักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยใน-รพ. รัฐบาล รวม ค่าใช้จ่ายบุคลากร

(หน่วย : บาท) 48,573,797.73 413,880.00 23,695.50 13,579,179.95 1,619,730.00 321,790.42 831,306.66 1,246,960.03 594,664.00 1,372,800.00 142,199.00 4,624,466.00 962,282.84 74,306,752.13

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


58

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

หมายเหตุที่ 24 ค่าบ�ำเหน็จบ�ำนาญ (ส่วนราชการ) ประกอบด้วย บ�ำนาญปกติ เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบ�ำนาญ เงินบ�ำเหน็จด�ำรงชีพ เงินช่วยการศึกษาบุตร ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก-รพ. รัฐ-เบี้ยหวัด/บ�ำนาญ เงินชดเชยกรณีเลิกจ้าง รวม ค่าบ�ำเหน็จบ�ำนาญ

(หน่วย : บาท) 2,622,938.06 166,958.88 600,000.00 8,700.00 331,412.00 517,950.00 4,247,958.94

(หน่วย : บาท) 487,205.00 5,863,773.45 3,696,610.02 1,394,080.00 214,112.00 11,655,780.47

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ค่าวัสดุ ค่าซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษา ค่าเชื้อเพลิง ค่าจ้างเหมาบริการ-บุคคลภายนอก ค่าจ้างเหมาบริการ-หน่วยงานภาครัฐ ค่าจ้างที่ปรึกษา ค่าใช้จ่ายในการประชุม ค่ารับรอง&พิธีการ ค่าเช่าอสังหา-นอก ค่าเช่าเบ็ดเตล็ด-นอก ค่าใช้จ่ายผลัดส่งรายได้แผ่นดิน ค่าประชาสัมพันธ์ ค่าใช้สอยอื่นๆ ค่าตอบแทนเฉพาะงาน ค่าตอบแทนอื่น รวม ค่าวัสดุและใช้สอย

(หน่วย : บาท) 2,884,067.68 161,746.68 188,699.60 15,378,430.47 3,782,256.00 17,484,364.60 578,430.00 59,686.00 235,400.00 38,500.00 2,080,084.58 8,360,064.00 3,622,953.92 121,942.00 1,758,910.00 56,735,535.53

หมายเหตุที่ 28 ค่าสาธารณูปโภค (ส่วนราชการ) ประกอบด้วย

หมายเหตุที่ 26 ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง (ส่วนราชการ) ประกอบด้วย ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ-ในประเทศ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ-ต่างประเทศ รวม ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง

59

หมายเหตุที่ 27 ค่าวัสดุและใช้สอย (ส่วนราชการ) ประกอบด้วย

หมายเหตุที่ 25 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม (ส่วนราชการ) ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายทุนการศึกษา-ในประเทศ ค่าใช้จ่ายด้านการฝึกอบรม-ในประเทศ ค่าใช้จ่ายด้านทุนการศึกษา-ต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายด้านการฝึกอบรม-ต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายด้านการฝึกอบรม-บุคคลภายนอก รวม ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

(หน่วย : บาท) 21,050.00 33,375.00 241,167.40 942,515.86 1,808,552.40 4,242,342.09 7,289,002.75

ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม ค่าไปรษณีย์โทรเลขและขนส่ง รวม ค่าสาธารณูปโภค

(หน่วย : บาท) 2,332,227.77 996,154.97 1,747,723.20 194,827.00 5,270,932.94

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

60 หมายเหตุที่ 29 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย (ส่วนราชการ) ประกอบด้วย

(หน่วย : บาท) 258,333.33 985,445.23 896,730.12 171,258.09 251,379.26 39,697.00 22,826,053.17 7,493.35 1,444,881.90 10,923,280.80 1,597,956.68 39,402,508.93

ค่าเสื่อมราคา–สิ่งปลูกสร้าง ค่าเสื่อมราคา–ครุภัณฑ์ส�ำนักงาน ค่าเสื่อมราคา–ครุภัณฑ์ยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ค่าเสื่อมราคา–ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ ค่าเสื่อมราคา–ครุภัณฑ์โฆษณาและเผยแพร่ ค่าเสื่อมราคา–ครุภัณฑ์ก่อสร้าง ค่าเสื่อมราคา–ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ค่าเสื่อมราคา–ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว ค่าเสื่อมราคา–ครุภัณฑ์อื่น ค่าตัดจ�ำหน่าย–โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ค่าตัดจ�ำหน่าย–สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่น รวม ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย

หมายเหตุที่ 30 ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน (ส่วนงานบริหารหนี้สาธารณะ) ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) 5,629,081,264.37 34,587,575.80 5,663,668,840.17

ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานโอนเงินให้หน่วยงานอื่น เงินอุดหนุนเพื่อการด�ำเนินงานอื่น รวม ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน

หมายเหตุที่ 31 ค่าใช้จ่ายอื่น ประกอบด้วย ส่วนราชการ รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานรับเงินนอกงบประมาณจาก กรมบัญชีกลาง รายได้ระหว่างหน่วยงาน-ภายในกรมเดียวกัน ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-กรมบัญชีกลางโอนเงินกู้ให้หน่วยงาน ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-เงินนอกงบประมาณตั๋วเงินคลัง ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-กู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุล ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-ปรับเงินฝากคลัง ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-ภายในกรมเดียวกัน รวม ค่าใช้จ่ายอื่น ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

(6,105,898,970.44)

6,272,181,774.96 166,282,804.52

ส่วนงาน บริหารหนี้สาธารณะ

(36,666,234,612.46) (16,358,219,336.57) 31,894,214,096.33 101,949,160,033.39 285,602,339,924.54 36,602,872,014.30 16,191,936,532.05 419,216,068,651.58

รวม (หน่วย : บาท) (36,666,234,612.46) (22,464,118,307.01) 31,894,214,096.33 101,949,160,033.39 285,602,339,924.54 36,602,872,014.30 22,464,118,307.01 419,382,351,456.10

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

61

หมายเหตุที่ 31.1 รายได้ระหว่างหน่วยงาน-หน่วยงานรับเงินนอกงบประมาณจากกรมบัญชีกลาง จ�ำนวน 36,666,234,612.46 บาท เป็นรายการที่เกิดจากกรมบัญชีกลางโอนเงินนอกงบประมาณให้หน่วยงาน ซึ่งเป็นรายการที่เกิดขึ้นอัตโนมัติ หมายเหตุที่ 31.2 รายได้ระหว่างหน่วยงาน-ภายในกรมเดียวกัน จ�ำนวน 22,464,118,307.01 บาท เป็นรายการบัญชีบนั ทึก การโอนสินทรัพย์และหนี้สินระหว่างกันของหน่วยเบิกจ่ายภายใต้รหัสหน่วยงานเดียวกัน เป็นบัญชีระหว่างหน่วยงานกับบัญชี ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-ภายในกรมเดียวกัน ซึ่งจะตัดรายการระหว่างกรมบัญชีกลางกับหน่วยงาน หมายเหตุที่ 31.3 ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-กรมบัญชีกลางโอนเงินกู้ให้หน่วยงาน จ�ำนวน 31,894,214,096.33 บาท เป็นรายการที่เกิดจากรัฐบาลโอนเงินกู้ให้หน่วยงาน ซึ่งเป็นรายการที่เกิดขึ้นอัตโนมัติ หมายเหตุที่ 31.4 ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-เงินนอกงบประมาณตั๋วเงินคลัง จ�ำนวน 101,949,160,033.39 บาท เป็นรายการที่เกิดจากการเบิกเงินนอกงบประมาณ เพื่อจ่ายดอกเบี้ยตั๋ว การไถ่ถอนตั๋วเงินคลัง-เงินต้น หรือเมื่อออกตั๋ว-เงินต้น เป็นบัญชีระหว่างหน่วยงานกับบัญชีค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-เงินนอกงบประมาณตั๋วเงินคลัง หมายเหตุที่ 31.5 ค่าใช้จา่ ยระหว่างหน่วยงาน-กูเ้ งินเพือ่ ชดเชยการขาดดุล จ�ำนวน 285,602,339,924.54 บาท เป็นรายการบัญชี ทีเ่ กิดขึน้ อัตโนมัตเิ มือ่ หน่วยงานกูเ้ งินเพือ่ ชดเชยการขาดดุล เป็นบัญชีระหว่างหน่วยงานกับบัญชีรายได้ระหว่างหน่วยงาน-กูเ้ งิน เพื่อชดเชยการขาดดุล ซึ่งจะตัดรายการระหว่างกรมบัญชีกลางกับหน่วยงาน หมายเหตุที่ 31.6 ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-ปรับเงินฝากคลัง จ�ำนวน 36,602,872,014.30 บาท เป็นรายการบัญชี ที่เกิดขึ้นอัตโนมัติเมื่อหน่วยงานขอเบิกเงินนอกงบประมาณที่ฝากคลังไว้ เป็นบัญชีระหว่างหน่วยงานกับบัญชีรายได้ระหว่าง หน่วยงาน-ปรับเงินฝากคลัง ซึ่งจะตัดรายการระหว่างกรมบัญชีกลางกับหน่วยงาน หมายเหตุที่ 31.7 ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน-ภายในกรมเดียวกัน จ�ำนวน 22,464,118,307.01 บาท เป็นรายการบัญชี บันทึกการโอนสินทรัพย์และหนี้สินระหว่างกันของหน่วยเบิกจ่ายภายใต้รหัสหน่วยงานเดียวกัน เป็นบัญชีระหว่างหน่วยงานกับ บัญชีรายได้ระหว่างหน่วยงาน-ภายในกรมเดียวกัน ซึ่งจะตัดรายการระหว่างกรมบัญชีกลางกับหน่วยงาน

หมายเหตุที่ 32 ก�ำไร/ขาดทุนสุทธิจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) 196,171.26 2.00 29.00 196,202.26

ค่าจ�ำหน่าย-ครุภัณฑ์ส�ำนักงาน ค่าจ�ำหน่าย-ครุภัณฑ์ยานพาหนะและอุปกรณ์การขนส่ง ค่าจ�ำหน่าย-ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ รวม ก�ำไร/ขาดทุนสุทธิจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์

หมายเหตุที่ 33 รายการอื่นๆ ที่ไม่เกิดจากการด�ำเนินงาน (ส่วนงานบริหารหนี้สาธารณะ) ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ดอกเบี้ยจ่าย ค่าธรรมเนียมเงินกู้ ค่าใช้จ่ายทางการเงินอื่น รวม รายการอื่นๆ ที่ไม่เกิดจากการด�ำเนินงาน

หมายเหตุ 33.1 33.2

(7,175,295,587.08) 99,471,111,416.02 648,959,155.60 23,040,834.94 92,967,815,819.48

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

62 หมายเหตุที่ 33.1 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ประกอบด้วย

(หน่วย : บาท) 320,723,362.17 (104,663,954.38) (10,266,475,864.14) 2,875,120,869.27 (7,175,295,587.08)

ก�ำไรที่ยังไม่เกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยน ก�ำไรที่เกิดขึ้นแล้วจากอัตราแลกเปลี่ยน ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากอัตราแลกเปลี่ยน ขาดทุนที่เกิดขึ้นแล้วจากอัตราแลกเปลี่ยน รวม ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน

หมายเหตุที่ 33.2 ดอกเบี้ยจ่าย ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) 956,192,305.41 244,291,247.20 97,107,947,444.66 1,162,680,418.75 99,471,111,416.02

ดอกเบี้ยจ่าย-ในประเทศ ดอกเบี้ยจ่าย-ต่างประเทศ ดอกเบี้ยจ่าย-ในประเทศ ดอกเบี้ยจ่าย-ต่างประเทศ รวม ดอกเบี้ยจ่าย

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

63

ในปีงบประมาณ 2556 สบน. ได้รับงบประมาณเพื่อช�ำระหนี้เงินกู้ของรัฐบาล แผนงานบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ จ�ำนวน 149,536,569,300 บาท จ่ายจริงจ�ำนวน 149,535,532,377.16 บาท เป็นการช�ำระหนี้ต้นเงินกู้ จ�ำนวน 52,835,999,753.44 บาท ดอกเบี้ยจ�ำนวน 96,043,379,816.74 บาท ค่าธรรมเนียม จ�ำนวน 656,152,806.98 บาท

หมายเหตุที่ 35 รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่ายปีก่อน ประกอบด้วย รายการ แผนงาน การเงิน การคลัง งานบริหารจัดการหนี้สาธารณะ งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น รวม

หมายเหตุที่ 33.2.1 ดอกเบี้ยจ่ายในประเทศ-ระยะยาว จ�ำนวน 97,107,947,444.66 บาท เป็นรายจ่ายจากเงินงบประมาณ ซึ่งในงวดนี้มีการเบิกเงินงบประมาณส�ำหรับจ่ายดอกเบี้ยพันธบัตร ตั๋วสัญญาใช้เงินและเงินกู้ระยะยาว

แผนงาน บริหารจัดการหนี้ภาครัฐ งานบริหารจัดการหนี้สาธารณะ งบรายจ่ายอื่น

หมายเหตุที่ 34 รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่ายปีปัจจุบัน ประกอบด้วย รายการ แผนงาน การเงิน การคลัง งานบริหารจัดการหนี้สาธารณะ งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น

งบสุทธิ

101,268,200.00 101,268,200.00 52,145,100.00 27,585,598.00 9,000.00 21,528,502.00 รวม 101,268,200.00 แผนงาน บริหารจัดการหนี้ภาครัฐ 149,536,569,300.00 งานบริหารการช�ำระหนี้ของรัฐบาล 149,536,569,300.00 งบรายจ่ายอื่น 149,536,569,300.00 รวม 149,536,569,300.00 รวมทั้งสิ้น 149,637,837,500.00 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

การส�ำรองเงิน 4,426,900.00 4,426,900.00 3,980,000.00 446,900.00 4,426,900.00 4,426,900.00

ใบสั่งซื้อ/สัญญา 15,343,323.20 15,343,323.20 239,594.40 15,103,728.80 15,343,323.20 15,343,323.20

เงินประจ�ำงวด เบิก 80,057,123.46 80,057,123.46 50,711,477.73 23,359,965.40 7,990.00 5,977,690.33 80,057,123.46 149,535,532,377.16 149,535,532,377.16 149,535,532,377.16 149,535,532,377.16 149,615,589,500.62

รวม รวมทั้งสิ้น คงเหลือ 1,440,853.34 1,440,853.34 1,433,622.27 6,038.20 1,010.00 182.87 1,440,853.34 1,036,922.84 1,036,922.84 1,036,922.84 1,036,922.84 2,477,776.18

เบิกกันไว้ เบิกเหลื่อมปี 12,900,452.32 12,900,452.32 12,900,452.32 12,900,452.32 12,900,452.32

เบิก 9,177,955.32 9,177,955.32 9,177,955.32 9,177,955.32 9,177,955.32

คงเหลือ 3,722,497.00 3,722,497.00 3,722,497.00 3,722,497.00 3,722,497.00

หมายเหตุที่ 36 รายงานรายได้แผ่นดิน ประกอบด้วย (หน่วย : บาท) รายได้แผ่นดินที่จัดเก็บ รายได้แผ่นดิน-นอกจากภาษี รายได้จากการขายสินค้าและบริการ รายได้อื่น รายได้แผ่นดินนอกจากภาษี รวม รายได้แผ่นดินที่จัดเก็บ หัก รายได้แผ่นดินน�ำส่งคลัง

309,702,672.82 234,034,543.40 543,737,216.22 543,737,216.22 524,840,932.42 18,896,283.80

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

64

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

65

หมายเหตุที่ 37 หนี้สาธารณะ

(หน่วย : ล้านบาท)

สบน. มีหน้าที่จัดท�ำรายงานสถานะหนี้สาธารณะ เสนอคณะกรรมการนโยบายและก�ำกับการบริหารหนี้สาธารณะเพื่อ รายงานคณะรัฐมนตรี โดยหนี้สาธารณะรายงานให้ ครม. ทราบ (ข้อมูลจากระบบ CS) ประกอบด้วยหนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน หนี้สินของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ และ หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 รายละเอียดดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท) ตามที่รายงาน ครม. เงินตราต่างประเทศ เงินบาท 1. หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง 1.1 หนี้ต่างประเทศ ดอลลาร์สหรัฐ เงินกู้ Private Financial เงินกู้จากรัฐบาลสวีเดน เงินกู้จากธนาคาร เอบีเอน แอมโร เอนวี เงินกู้จากธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย เงินกู้จากธนาคารแมนฮัทตัน เงินกู้จากธนาคารดอช สาขาสิงคโปร์ เงินกู้จากรัฐบาลเดนมาร์ค เงินกู้จากรัฐบาลนอร์เวย์ เงินกู้จากรัฐบาลสหรัฐอเมริกา เงินกู้จากธนาคารโลก เงินกู้จากสมาคมพัฒนาระหว่างประเทศ เงินกู้เพื่อบูรณะและพัฒนาแห่งสหพันธ์ เงินกู้จากตลาดทุน เงินกู้จาก US. BANK เงินกู้โดยการออกตั๋วเงินระยะสั้น (ECP) รวมดอลลาร์สหรัฐ

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

0.000 0.000 0.000 311.146 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 1,052.806 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 1,363.952

0.000 0.000 0.000 9,559.457 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 32,771.957 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 42,331.414

ตามที่รายงาน ครม. เงินตราต่างประเทศ เงินบาท เยนญี่ปุ่น เงินกู้จากธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศญี่ปุ่น เงินกู้จากตลาดทุน เงินกู้ Private Financial Institute รวมเงินเยนญี่ปุ่น ดอลลาร์แคนาดา โครนเดนมาร์ค ยูโร เงินกู้เพื่อบูรณะและพัฒนาแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เงินกู้จากรัฐบาลเบลเยี่ยม เงินกู้จากประเทศออสเตรีย รวมเงินยูโร 1.2 หนี้ในประเทศ - เงินกู้ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ และการบริหารหนี้ - พันธบัตร - ตั๋วสัญญาใช้เงิน - ตั๋วเงินคลัง - เงินกู้/PN ระยะสั้น รวมเงินกู้ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ และการบริหารหนี้ - เงินกู้ชดใช้ความเสียหายให้แก่ทองทุนเพื่การฟื้นฟูฯ เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ (FIDF 1) เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟู (FIDF 3) รวมเงินกู้ชดใช้ความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ รวมเงินกู้เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นงทางเศรษฐกิจ รวมเงินกู้เพื่อน�ำเข้ากองทุนส่งเสริมการประกันภัยพิบัติ รวมเงินกู้ส�ำหรับโครงการเพื่อการวางระบบบริหารจัดการน�้ำฯ รวมเงินกู้เพื่อรัฐวิสาหกิจกู้ต่อ รวมหนี้ในประเทศ

73.342 10.000 0.000 83.342 10.730 0.000

23,925.766 3,242.280 0.000 27,168.046 329.271 0.000

0.000 0.174 0.000 0.174

0.000 7.404 0.000 7.404

1,951,362.43 107,300.00 102,135.00 0.00 2,160,797.43 458,775.20 649,295.05 1,108,070.25 369,349.29 0.00 16,250.00 23,516.38 3,704,983.35

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


66

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 67

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

(หน่วย : ล้านบาท) ตามที่รายงาน ครม. เงินตราต่างประเทศ เงินบาท 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 2.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน - หนี้ต่างประเทศ - หนี้ในประเทศ รวมหนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน 2.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน - หนี้ต่างประเทศ - หนี้ในประเทศ รวมหนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 3. หนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน - หนี้ต่างประเทศ - หนี้ในประเทศ รวมหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน 4. หนี้สินของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ 4.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน 4.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน รวมหนี้สินของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ 5. หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 5.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน 5.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน (EFPO+NEDA) รวมหนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ สรุป ภาระหนี้รวมทั้งสิ้น (1+2+3+4+5) อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อเหรียญสหรัฐฯ (ณ วันท�ำการสุดท้ายของเดือน) ประมาณการ GDP

3,416.82

113,263.51 335,852.50 449,116.01

5,621.08

191,292.31 472,565.53 663,857.84 1,112,973.85

85.44

3,679.21 538,252.80 541,932.01 0.00 0.00 0.00 0.00 834.69 834.69 5,430,560.04 31.5330 11,938,250.00

บทความวิชาการ ของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


68

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

การอนุญาตให้นิติบุคคลต่างประเทศ ออกพันธบัตร หรือหุ้นกู้สกุลเงินบาทในประเทศไทย

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

The Permission to Issue Baht-denominated Bonds or Debentures in Thailand by Foreign Entities วีรยา จุลมนต์ เศรษฐกรปฏิบัติการ

ความเป็นมา

กระทรวงการคลังโดยส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) ด�ำเนินการ พัฒนาตลาดตราสารหนีไ้ ทยมาอย่างต่อเนือ่ งนับตัง้ แต่ปี 2540 โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในส่วนของตลาดแรกนั้นได้มีการออกพันธบัตรรัฐบาลในรุ่นอายุที่เหมาะสมและ วงเงินมากพอที่สามารถสร้างเส้นอัตราผลตอบแทนอ้างอิงในตลาดพันธบัตรได้ รวมถึ ง การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ราสารหนี้ ช นิ ด ใหม่ ใ ห้ มี ค วามหลากหลาย เพือ่ กระจายฐานนักลงทุน และสร้างให้ตลาดตราสารหนีไ้ ทยเป็นแหล่งระดมทุน ที่ยั่งยืน ในส่วนของตลาดรอง สบน. ได้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานโดยการ พัฒนาระบบผู้ค้าหลักส�ำหรับธุรกรรมประเภทซื้อขายขาดของกระทรวงการคลัง (MOF Outright PDs) และจัดตั้งกองทุนบริหารเงินกู้เพื่อการปรับโครงสร้าง หนีส้ าธารณะและพัฒนาตลาดตราสารหนีใ้ นประเทศขึน้ เพือ่ ลดความเสีย่ งและ เพิ่มความคล่องตัวในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ นอกจากนี้ สบน. ยังส่งเสริมการเชื่อมโยงกับตลาดตราสารหนี้ใน ภูมิภาค โดยตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา สบน. ได้ด�ำเนินการอนุญาตให้นิติบุคคล ต่างประเทศออกพันธบัตรหรือหุ้นกู้สกุลเงินบาทในประเทศไทย (Baht Bond) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ตราสารหนี้ และ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของนักลงทุนในประเทศทีต่ อ้ งการลงทุนในพันธบัตร ของผู้ออกตราสารหนี้ต่างประเทศที่มีคุณภาพดีและไม่มีความเสี่ยงจากอัตรา แลกเปลี่ยน รวมถึงพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาตลาด ตราสารหนีไ้ ทยให้เป็นหนึง่ ในศูนย์กลางของแหล่งระดมทุนในระดับภูมภิ าค โดย มีคณะกรรมการพิจารณาค�ำขออนุญาต (คณะกรรมการฯ) ซึ่งมีองค์ประกอบ ได้แก่ สบน. ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ส�ำนักงาน ก.ล.ต.) ร่วมกันพิจารณาก�ำหนด กรอบวงเงินที่จะอนุญาต พิจารณาค�ำขอและวงเงินที่จะจัดสรรให้แต่ละราย และเสนอแนะความคิดเห็นตามทีไ่ ด้พจิ ารณาต่อรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง เพื่อพิจารณาอนุญาต

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

69

Veeraya Julamont Economist

History Public Debt Management Office (PDMO) on behalf of Ministry of Finance, Thailand has promoted Thai bond market development since 1999, emphasizing on the stability enhancement of the Primary market. PDMO has set up systemic benchmark bond auction calendar and ensured that the benchmark bond size is large enough to construct the reliable government bond yield curve. New products e.g. Inflation-linked bond, Amortized Bond and Step-up Savings Bond has been developed to broaden investor base with the aim to enhance Thai bond market to be sustainable source of fund. For the Secondary market, PDMO has set up Ministry of Finance Outright Primary Dealers (MoF Outright PDs) system to serve as market maker and established “Public Debt Restructuring and Domestic Bond Market Development Fund” to facilitate the refinance of large-sized benchmark bond. With the goal to promote Thai bond market to be ASEAN chosen destination, PDMO has started the permission to issue Baht-denominated bonds or debentures in Thailand by Foreign Entities (Baht Bond) since 2004. The intentions are to create new debt instruments to meet investor demand in high-graded foreign bond with no exchange rates risk, to improve the market infrastructure and to upgrade domestic bond market to be one of the dependable regional funding sources. The committee of the permission process consists of representatives from PDMO, Bank of Thailand and the Securities and Exchange Commission who will jointly consider the applications and the authorized amount allocated to each applicant then recommend to the Minister of Finance.

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


70

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

71

การพัฒนา Baht Bond ในประเทศไทย

Baht Bond Market Infrastructure ในปี 2554 สบน. ร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้ปรับปรุง Development

กฎเกณฑ์เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ยื่นขออนุญาตออก Baht Bond ดังนี้

PDMO, in cooperation with relevant agencies, have facilitated Baht Bond issuers as followings:

1. ธปท. ได้ผ่อนคลายเกณฑ์การก�ำหนดให้ผู้ออก Baht Bond ต้องแปลงเงินบาทเป็นเงินตราต่างประเทศก่อนน�ำออก นอกประเทศ โดย 1) ให้นิติบุคคลต่างประเทศสามารถแบ่ง วงเงิน (Split) ในการท�ำ Swap ออกเป็นหลายๆ ธุรกรรมได้ โดยอาจทยอยท�ำเมื่อพอใจต้นทุน แต่อายุของการท�ำ Swap นั้นจะยังคงต้องเท่ากับอายุคงเหลือของ Baht Bond ที่ออก และ 2) ให้นติ บิ คุ คลต่างประเทศสามารถท�ำธุรกรรม Outright คือ ให้สามารถน�ำเงินออกได้ โดยการแลกเป็นเงินเหรียญสหรัฐ โดยไม่จำ� เป็นต้องท�ำ Swap ทัง้ นี้ การผ่อนคลายทัง้ 2 ประเด็น ดังกล่าวให้นิติบุคคลต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตออก Baht Bond ต้องขออนุญาตจาก ธปท. เป็นรายกรณีไป

1. The SWAP regulation has been lessened. 1) Foreign entities can split the SWAP amount into several transactions and can enter the market at their earliest convenience on a cost-reduction basis. However, the SWAP terms have to be as equal as the term-to-maturity of Baht Bond. 2) Foreign entities can choose to do an outright transaction. The issuers can switch Thai-Baht income into US Dollar before transport such proceeds to the home country. (Please note that both cases are subject to the permission of Bank of Thailand.)

2. สบน. ได้ขยายระยะเวลาการอนุญาตออก Baht Bond จาก 6 เดือน เป็น 9 เดือน เพื่อเพิ่มโอกาสให้แก่ผู้ที่ได้รับ อนุญาตสามารถออก Baht Bond ได้เพิ่มขึ้น แต่ปรับลด จ�ำนวนรอบการพิจารณาอนุญาตไว้เหลือเพียง 3 รอบ จากเดิม 4 รอบ โดยให้ยื่นค�ำขออนุญาตปีละ 3 ครั้ง คือ เดือนมีนาคม กรกฎาคม และพฤศจิกายน ของทุกปี

2. The issuance period is extended from 6 months to 9 months to provide more opportunity for issuers. The application period, however, has been reduced from 4 rounds to 3 rounds per year which are in March, July, and November.

3. ธนาคารตัวแทน (Arrangers) ได้ช่วยอ�ำนวยความ สะดวกแก่ผู้ลงทุนและผู้ออก Baht Bond โดย สบน. ได้จัด ให้มีการประชุมร่วมกันเป็นระยะๆ เพื่อติดตามการเคลื่อนไหว ของตลาดอย่างใกล้ชิดด้วย และเพือ่ ให้มจี ดุ หมายในการพัฒนา Baht Bond ทีช่ ดั เจน และเป็นรูปธรรม สบน. จึงได้กำ� หนดตัวชีว้ ดั และเป้าหมายส�ำหรับ การด�ำเนินการเกี่ยวกับ Baht Bond ภายในปี 2558 ดังนี้ (1) มีเป้าหมายในการออก Baht Bond ปีละไม่ตำ�่ กว่า 15,000 ล้านบาท (2) มีผู้ออก Baht Bond อย่างน้อย 4 ราย และ (3) มียอดคงค้างทั้งสิ้น ร้อยละ 3 ของสัดส่วน การระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ทั้งหมด ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

3. The arrangers are ready to facilitate both issuers and investors. The MoF outright PDs dialogue with PDMO has also been held up regularly to update the market. To have a clear and concrete goal in Baht Bond development, PDMO has set KPIs to be achieved within 2015 as followings: (1) The issuance is not less than 15,000 million baht per year (2) There are not less than 4 issuers per year (3) The value of Baht Bond outstanding accounts for 3% of total Thai bond market capitalization

รูปที่ 1 : การปรับปรุงหลักเกณฑ์ Baht Bond และเป้าหมายในอนาคต Figure 1 : Development Direction of Baht Bond (2012 - 2015)

Baht Bond กับการเป็นศูนย์กลางการระดมทุน แห่งภูมิภาคอาเซียน คุณสมบัตเิ บือ้ งต้นของผูอ้ อก Baht Bond ในประเทศไทย คือ เป็นนิติบุคคลต่างประเทศที่มี Local Credit Rating ที่ AAA และ International ที่ A- และจะต้องออก Baht Bond ทีม่ อี ายุไม่ตำ�่ กว่า 3 ปี การออก Baht Bond จึงถือเป็นการเพิม่ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ต ราสารหนี้ ที่มีคุณภาพในตลาดตราสารหนี้ ไทย และเพิ่มทางเลือกให้แก่นักลงทุนในประเทศ โดยอาจกล่าวได้ อีกนัยหนึ่งว่าการพัฒนาตลาด Baht Bond เป็นการส่งเสริม การออกตราสารหนี้สกุลเงินท้องถิ่นภายในภูมิภาคอาเซียน+3 ที่ ส อดคล้ อ งกั บ ความร่ ว มมื อ ภายใต้ ม าตรการริ เ ริ่ ม พั ฒ นา ตลาดพันธบัตรเอเชีย (Asian Bond Markets Initiative : ABMI) โดยนอกจากที่ ผู ้ ป ระสงค์ จ ะออก Baht Bond สามารถยื่นขออนุญาตโดยตรงกับกระทรวงการคลังได้แล้ว ยังสามารถติดต่อขอรับบริการค�้ำประกันจากหน่วยงานค�้ำ ประกันเครดิตและการลงทุนแห่งภูมิภาคอาเซียน+3 หรือ Credit Guarantee and Investment Facility (CGIF) ซึ่ง เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นตาม ABMI เพื่อยกระดับ Credit

Baht Bond Development Towards AEC To achieve Asian Bond Markets Initiative (ABMI), MoF allows foreign entities rated AAA (Local) or A(International) issues Baht Bond with the minimum term of 3 years. This guideline increase high-quality supply in Thai bond market. MoF also set up Credit Guarantee and Investment Facility (CGIF) to provide bond guarantee for credit enhancement. The bonds will be automatically upgraded their credit ratings to AA+ (International) level. As a result, the guarantee will enable the applicants to issue bonds in lower overall costs with longer maturity. “Noble Group Limited” was the first who issues CGIF guaranteed bonds, with its inaugural Baht Bond launch of 2,850 million baht in April 2013. Towards ASEAN Economic Community (AEC), PDMO has not only strengthened financial cooperation among ASEAN through ABMI but also relaxed the PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


72 Rating อั น เป็ น การประหยั ด ต้ น ทุ น การออกพั น ธบั ต รได้ อีกด้วย ซึง่ การออก Baht Bond ของกลุม่ บริษทั Noble Group Limited เมื่อเดือนเมษายน 2556 ถือเป็น Pilot Project ของ CGIF ในวงเงินทั้งสิ้น 2,850 ล้านบาท นอกจากนี้ สบน. ยังได้ ปรับปรุงหลักเกณฑ์การพิจารณาฯ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว) สามารถ ออก Baht Bond ในประเทศไทยได้ ท�ำให้ สปป. ลาว เป็น ประเทศแรกในกลุ่มประเทศ CLMV ที่สามารถออก Baht Bond ได้ส�ำเร็จเมื่อเดือนพฤษภาคม 2556 ในวงเงินทั้งสิ้น 1,500 ล้านบาท ถือเป็นโครงการน�ำร่องของการออกพันธบัตร เพื่ อ สนั บ สนุ น การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานของภู มิ ภ าค อาเซียน+3 และเป็นครัง้ แรกในประวัตศิ าสตร์ทรี่ ฐั บาล สปป. ลาว สามารถออกพั น ธบั ต รระดมทุ น ในตลาดต่ า งประเทศได้ จากความส�ำเร็จในครัง้ นี้ สปป. ลาว จึงได้ยนื่ ขออนุญาตอีกครัง้ และสามารถออก Baht Bond ได้อีกเป็นจ�ำนวนทั้งสิ้น 3,000 ล้านบาทเมื่อเดือนธันวาคม 2556 ซึ่งได้รับความสนใจจาก นักลงทุนเป็นอย่างดี โดยเงินที่ได้จากการระดมทุนในครั้งนี้ จะถูกน�ำไปใช้ในการพัฒนาโครงการผลิตพลังงานไฟฟ้าใน ประเทศลาวทีม่ ไี ทยเป็นคูค่ า้ รายส�ำคัญทีท่ ำ� สัญญารับซือ้ กระแส ไฟฟ้าที่ผลิตได้แล้วเป็นระยะเวลารวม 25 ปี การออก Baht Bond ของ Noble และ สปป. ลาว จึงถือเป็นความส�ำเร็จของ การร่วมมือกันพัฒนาตลาดตราสารหนี้ภายในภูมิภาคอาเซียน

Baht Bond ในปัจจุบัน จนถึงปัจจุบนั นับเป็นระยะเวลา 10 ปีแล้วที่ สบน. ด�ำเนิน การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ไทยผ่านการอนุญาตออก Baht Bond อย่างต่อเนื่อง สบน. ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ ด�ำเนินการปรับปรุงกฎเกณฑ์เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ยื่น ขออนุญาตออก Baht Bond จนท�ำให้ขนาดของ Baht Bond ในตลาดตราสารหนี้ไทยมีมูลค่าสูงถึง 116,474 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 1 ของมูลค่ายอดคงค้างตราสารหนี้ไทย ทั้งหมดที่มูลค่า 8,973 ล้านบาท (ข้อมูล ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2556)

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

73

criteria of eligible Baht Bond issuer to further increase supply in Baht Bond market. This led the Finance Ministry of Lao People’s Democratic Republic to be the first among CLMV countries issuing 3-year Baht Bond worth 1,500 million baht in May 2013. This first time in Laotian history raising fund offshore has been far exceeded expectations, with more than two times oversubscribed. From this success, Laotian Government submitted another application and was able to issue Baht Bond again in an additional amount of 3,000 million baht in December 2013 which the proceed is used to fund hydro power plants projects along the Mekong River. The successful Baht Bond launches of both Noble Group and Lao PDR, therefore, have proved an effective regional cooperation in ASEAN bond market development.

Baht Bond At Present This year has marked the 10th year anniversary of Baht Bond advancement. The size of Baht Bond (as of December 2013) has grown to 116,474 million baht, accounted for 1% of total domestic bond outstanding in the market amounted of 8,973,000 million baht.

รูปที่ 2 : สัดส่วนของ Baht Bond และ CGIF ต่อตลาดตราสารหนี้ไทย Figure 2 : Baht Bond and CGIF in Domestic Bond Market

แม้ว่า สบน. จะปรับปรุงการอนุญาตเพื่อผลักดันและ รองรับความต้องการที่จะออก Baht Bond ที่เพิ่มขึ้นแล้ว แต่สดั ส่วนการออก Baht Bond เมือ่ เทียบกับวงเงินทีข่ ออนุญาต ทัง้ หมดได้จริงยังอยูใ่ นระดับต�ำ่ มาก โดยในช่วง 10 ปีทผี่ า่ นมา (ปี 2547 - 2556) มีการออก Baht Bond เฉลี่ยเพียงปีละ 16,000 ล้านบาท ในขณะที่มีความจ�ำนงขออนุญาตออก Baht Bond เฉลีย่ สูงถึง 160,000 ล้านบาทต่อปี ซึง่ ส่งผลให้สดั ส่วน การออก Baht Bond ได้จริงคิดเป็นร้อยละ 10 เท่านั้น หากวิเคราะห์จ�ำนวนการออก Baht Bond จ�ำแนกตาม กลุ่มผู้ออกแล้ว จะพบว่าเกาหลีใต้เป็นประเทศที่ออก Baht Bond รายใหญ่ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50 ของจ�ำนวน Baht Bond ที่ออกทั้งหมด คิดเป็นมูลค่า 80,000 ล้านบาท จาก มูลค่ารวม 161,362 ล้านบาท (ข้อมูล ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2556) นอกจากนั้น สถาบันการเงินระหว่างประเทศและ กลุ่มประเทศสมาชิกภายใต้ความตกลง ABMI เริ่มกลับมาให้ ความสนใจออก Baht Bond มากขึน้ ในช่วงระยะเวลา 2 - 3 ปี ที่ผ่านมา ดังรายละเอียดปรากฏตามรูปที่ 3

In spite of PDMO’s strongly support Baht Bond issuance in Thailand, the ratio between the actual issuance and the overall requested amount is very low at only 10%; the average volume of actual Baht Bond issuance is 16,000 million baht per year, while the total requested amount of Baht Bond issuance is at average of 160,000 million baht per year. The pioneers of Baht Bond are International Financial Institutions (IFIs) and ABMI member countries, who once faded in 2007 but then have returned to the market after Eurozone crisis. The biggest Baht Bond issuer is South Korea at the number of 80,000 million baht from overall issued number of 161,362 million baht. This is counted for half amount of all Baht Bond issuance in Thailand for the last 10 years, from 2004 - 2013 (as of December 2013). PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

74

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

75

รูปที่ 4 : จ�ำนวน Baht Bond ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2556 Figure 4 : The Outstanding of Baht Bond (As of December 2013)

รูปที่ 3 : การออก Baht Bond ในช่วงระหว่างปี 2547 - 2556 Figure 3 : The issuance of Baht Bond (2004 - Present) (As of December 2013)

ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2556 ตลาดตราสารหนี้ไทยมี Baht Bond รวมทั้งสิ้น 116,474 ล้านบาท ทั้งนี้ ภายใน ระยะเวลา 2 ปีข้างหน้า (2557-2558) จะมี Baht Bond ที่ครบก�ำหนดถึงร้อยละ 56 ของจ�ำนวน Baht Bond ทั้งหมด ในปัจจุบัน นั่นหมายถึงว่าจ�ำนวน Baht Bond จะหายไปจาก ตลาดตราสารหนี้ไทยเป็นจ�ำนวนถึง 64,590 ล้านบาท และ หากภายในระยะเวลา 2 ปีนไี้ ม่มกี ารออก Baht Bond เพิม่ เติม จะท�ำให้ Baht Bond มีสัดส่วนลดลงอย่างมากและส่งผล ให้การพัฒนา Baht Bond หยุดชะงักลงได้ (รายละเอียด ปรากฏในรูปที่ 4)

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

As of December 2013, the size of Baht Bond in Thai bond market is 116,474 million baht. However, 56% of total Baht Bond outstanding will be matured in the next 2 years. This will cause 64,590 million of Baht Bond going out of the market. And if there is no more Baht Bond issuance, the proportion will decrease significantly and eventually disappeared, resulting in the discontinuation of Baht Bond development.

ก้าวต่อไปของ Baht Bond

Next Step of Baht Bond

การรักษาสัดส่วนของ Baht Bond ในตลาดตราสารหนี้ และส่งเสริมให้ออก Baht Bond ของผู้ออกในแต่ละกลุ่ม จึงเป็นอีกหนึง่ ความท้าทายที่ สบน. จะต้องพัฒนาและสนับสนุน การออก Baht Bond อย่างต่อเนือ่ ง โดยล่าสุด สบน. ได้ดำ� เนินการ ส�ำรวจความต้องการของผู้ร่วมตลาด รวมถึงอุปสรรคอื่นๆ ในการออก Baht Bond เพือ่ ให้การพัฒนาสอดคล้องต่อความ ต้องการของผูอ้ อกและผูร้ ว่ มตลาดอืน่ ๆ อย่างแท้จริง โดยจาก ผลการส�ำรวจพบว่าต้นทุนในการระดมทุนทีเ่ หมาะสมเป็นปัจจัย ส�ำคัญที่สุดที่จูงใจให้นิติบุคลต่างประเทศเลือกมาออก Baht Bond ในไทยมากที่สุด อย่างไรก็ดี ผู้ออก Baht Bond ยังคง มีความกังวลเกี่ยวกับตลาด Swap ที่ไม่เอื้ออ�ำนวยให้แปลง เงินสกุลบาทกลับไปเป็นสกุลเงินต่างประเทศของผู้ออก โดย มองว่าเป็นอุปสรรคส�ำคัญที่ท�ำให้ไม่สามารถออก Baht Bond ได้ตามทีว่ างแผนไว้ ในการนี้ สบน. จะน�ำผลส�ำรวจทีไ่ ด้มาเป็น บทวิเคราะห์และเป็นแนวทางในการหารือร่วมกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องถึงการปรับปรุงการอนุญาตออก Baht Bond ใน ประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป

The next challenge of PDMO is not only to maintain the volume of Baht Bond in domestic bond market but also to encourage and facilitate Baht Bond issuers. The recent market survey indicates that cost of funding (including SWAP) in Thailand is the most important factor foreign corporates consider issuing Baht Bond. On the other hand, the corporates view the SWAP market as the main hurdle of Baht Bond issuance within the approved period. In this regard, PDMO will gather feedbacks, analyze data and discuss with relevant agencies to further promote the permission of Baht Bond issuance in Thailand by foreign entities for better achievements in the future.

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


76

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

การบริหารความเสี่ยงหนี้เงินกู้ จอมจักร อมรวัฒนา เศรษฐกรปฏิบัติการ

1. ความเสี่ยงคืออะไร หลายคนสงสัยว่า ความเสีย่ งคืออะไร ท�ำไมเราต้องกลัวมัน ผลลัพธ์ของมันสามารถทราบได้ล่วงหน้าหรือไม่ จริงๆ แล้ว ความเสีย่ งคือเหตุการณ์ทไี่ ม่อาจคาดการณ์ได้ลว่ งหน้า ซึง่ หาก เหตุการณ์ดงั กล่าวเกิดขึน้ แล้วจะเกิดผลเสียหรือส่งผลกระทบ ด้านลบกับตัวเราหรือองค์กร โดยความเสีย่ งก็สามารถแบ่งเป็น หลายๆ ด้าน เช่น ความเสี่ยงด้านการท�ำงาน ความเสี่ยงด้าน สุขภาพ และความเสี่ยงด้านการเงิน เป็นต้น ซึ่งเราก็คงจะไม่ นิ่งนอนใจที่จะปล่อยให้ความเสี่ยงเหล่านี้ มาส่งผลกระทบต่อ เราทั้งด้านจิตใจ ร่างกาย รวมถึงด้านการเงิน ดังนั้น เราควร หาวิธปี อ้ งกันหรือบริหารความเสีย่ งเหล่านี้ เช่น การซือ้ ประกัน ชีวิต ประกันรถยนต์ เป็นต้น เพื่อเป็นการลดความรุนแรงของ ผลที่จะเกิดขึ้น การบริ ห ารความเสี่ ย งที่ จ ะกล่ า วถึ ง คื อ การบริ ห าร ความเสี่ ย งด้ า นการเงิ น เนื่ อ งจากการบริ ห ารความเสี่ ย ง ทางการเงินนั้น ถือเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ที่ส�ำคัญของส�ำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ในการบริหารหนี้สาธารณะให้ เกิดประสิทธิภาพ นอกเหนือจากแนวทางการจัดหาแหล่งเงิน กู้ที่เหมาะสมและมีต้นทุนที่ยอมรับได้

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

77

ความเสี่ยงหนี้ต่างประเทศของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจลงให้ เหลือน้อยที่สุด และ สบน. ได้ด�ำเนินการลดหนี้ต่างประเทศ ของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง โดย ณ กันยายน 2556 รัฐบาล มีสัดส่วนหนี้เงินกู้ต่างประเทศเหลือเพียงร้อยละ 1.85 ของ หนี้ รั ฐบาลทั้ ง หมด ซึ่ ง หนี้ ต ่ า งประเทศดั ง กล่ า ว ได้ ถู ก ปิ ด ความเสี่ยง (Hedged) ไปแล้วร้อยละ 1.26 และยังไม่ได้ปิด

ความเสี่ยง (Unhedged) ร้อยละ 0.59 ของหนี้รัฐบาลทั้งหมด ส่วนรัฐวิสาหกิจมีสัดส่วนหนี้ต่างประเทศร้อยละ 18.63 ของ หนี้รัฐวิสาหกิจทั้งหมด ซึ่งหนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจ ดังกล่าว ได้ปิดความเสี่ยง (Hedged) ไปแล้วร้อยละ 15.08 และยังไม่ได้ปิดความเสี่ยง (Unhedged) ร้อยละ 3.55 ของ หนี้รัฐวิสาหกิจทั้งหมด (รายละเอียดปรากฏตามแผนภาพที่ 1)

แผนภาพที่ 1 : สถานะหนี้ต่างประเทศของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ณ กันยายน 2556

หนี้ต่างประเทศ 1.85%

USD (Natural Hedged) 0.41%

2. แนวทางการบริหารความเสี่ยง สบน. มี ก ารกู ้ เ งิ น ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ ผ่ า นเครื่ อ งมื อ หลายๆ แบบที่ มี ค วามแตกต่ า งกั น ออกไป และยังมีการกู้เงินในแบบที่ก�ำหนดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็น อัตราดอกเบี้ยคงที่และอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ท�ำให้ สบน. ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความเสี่ ย งจากอั ต ราดอกเบี้ ย และอั ต รา แลกเปลี่ยนที่มีการเปลี่ยนแปลงและผันผวนอยู่ตลอดเวลา และไม่สามารถคาดการณ์ได้ ยกตัวอย่างเช่น วิกฤตต้มย�ำกุ้ง ในช่ ว งปี 2540 ที่ ส ่ ง ผลให้ ค ่ า เงิ น บาทเมื่ อ เที ย บกั บ เงินเหรียญสหรัฐอ่อนค่าลงอย่างมากจากประมาณ 25 บาท ต่อเหรียญสหรัฐมาสูท่ รี่ ะดับประมาณ 55 บาทต่อเหรียญสหรัฐ หรือวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ในช่วงปี 2550 ทีส่ ง่ ผลให้คา่ เงินบาท เมือ่ เทียบกับเงินเหรียญสหรัฐแข็งค่าขึน้ จากประมาณ 40 บาท ต่อเหรียญสหรัฐมาสูท่ รี่ ะดับประมาณ 31 บาทต่อเหรียญสหรัฐ สบน. ได้ ต ระหนั ก ถึ ง ความเสี่ ย งเหล่ า นี้ จึ ง ได้ พ ยายามปิ ด ความเสี่ยงทันทีเมื่อมีโอกาสที่เหมาะสม ซึ่งการด�ำเนินการ ดังกล่าวสอดรับกับนโยบายของกระทรวงการคลังที่จะลด

Canadian (Unhedged) 0.01%

Euro (Unhedged) 0.0002% Japanese Yen (hedged) 0.40%

หนี้ในประเทศ 98.15%

USD (Hedged) 0.45%

Japanese Yen (Unhedged) 0.32%

หนี้รัฐบาล 3,774,819 ล้านบาท

ในส่ ว นของหนี้ รั ฐ บาลส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การกู ้ เ งิ น แบบ อัตราดอกเบี้ยคงที่ คิดเป็นร้อยละ 87 ของหนี้รัฐบาลทั้งหมด และเป็นการกู้เงินแบบอัตราดอกเบี้ยลอยตัวเพียงร้อยละ 13 ของหนี้รัฐบาลทั้งหมด ซึ่ง สบน. ได้บริหารความเสี่ยงของหนี้ รัฐบาลทั้งความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน โดยอาศัยแนวทางดังต่อไปนี้

2.1 การบริหารความเสี่ยงหนี้ภายในประเทศ

1) การกู ้ เ งิ น ใหม่ เ พื่ อ ช� ำ ระหนี้ เ งิ น กู ้ เ ดิ ม (Refinancing) วิธกี ารนี้ สบน. จะด�ำเนินการเมือ่ ได้เปรียบเทียบ แล้วพบว่าดอกเบีย้ ในตลาดการเงินในขณะนัน้ ต�ำ่ กว่าดอกเบีย้ เงินกู้ที่ สบน. ได้กู้มา โดยจะเทียบอัตราดอกเบี้ยในตลาดของ เงินกู้ที่มีอายุที่เท่ากับอายุคงเหลือของเงินกู้ของ สบน. PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


78

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ในสัดส่วนที่สูง เช่น บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) เนื่องจากผู้กู้สามารถน�ำรายได้ที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ นั้นไปช�ำระเงินต้นและดอกเบี้ยของเงินกู้ที่เป็นสกุลเงินตรา ต่ า งประเทศได้ เ ลยโดยไม่ ต ้ อ งแลกกลั บ ไปกลั บ มาเป็ น เงินบาทก่อน

2) การแปลงภาระดอกเบี้ ย ลอยตั ว เป็ น อั ต รา ดอกเบี้ยคงที่ (Interest Rate Swap: IRS จาก Float เป็น Fixed) วิธีการนี้เป็นการบริหารความเสี่ยงในช่วงที่อัตรา ดอกเบี้ยเงินกู้อยู่ในช่วงขาลงจนใกล้จะถึงจุดที่คาดว่าต�่ำสุด โดย สบน. จะท�ำการแปลงภาระจากอัตราดอกเบี้ยเงินกู้แบบ ลอยตัวให้เป็นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้แบบคงที่ เพื่อที่ว่าหากใน อนาคตดอกเบี้ยเพิ่มสูงขึ้น สบน. ได้ล็อคต้นทุนการกู้เงินไว้อยู่ ในระดับที่ต�่ำแล้ว 3) การช�ำระคืนหนีก้ อ่ นครบก�ำหนด (Prepayment) วิธีการนี้ สบน. จะด�ำเนินการเมื่อได้บริหารจัดการงบช�ำระหนี้ ที่ได้รับมาจนทราบแน่ชัดแล้วว่ายังคงมีเงินเหลืออยู่และจะ น�ำเงินที่เหลืออยู่ดังกล่าวนั้นไปช�ำระคืนหนี้ที่มีต้นทุนการกู้ยืม ที่สูงโดยไม่ต้องรอให้หนี้ดังกล่าวนั้นครบก�ำหนดช�ำระ ในส่วน ของรัฐวิสาหกิจ สบน. จะแนะน�ำให้รัฐวิสาหกิจที่มีสภาพคล่อง ส่วนเกิน น�ำเงินดังกล่าวไปช�ำระคืนหนี้ที่มีต้นทุนการกู้ยืมที่สูง โดยไม่ต้องรอให้หนี้ดังกล่าวนั้นครบก�ำหนดช�ำระ ทั้งนี้ เพื่อ เป็นการลดต้นทุนการกู้ยืมของรัฐบาลและของรัฐวิสาหกิจนั้น

2.2 การบริหารความเสี่ยงหนี้ต่างประเทศ

1) การบริหารความเสีย่ งแบบธรรมชาติ (Natural Hedge) วิ ธี นี้ เ ป็ น การสร้ า งความสมดุ ล ระหว่ า งรายได้ และรายจ่ายที่เป็นเงินตราต่างประเทศที่เป็นสกุลเดียวกันให้มี สัดส่วนที่ใกล้เคียงกันมากที่สุดเพื่อเป็นการช่วยลดความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยน (Currency Mismatch) การบริหาร ความเสี่ยงในแนวทางนี้ สบน. จะใช้กับการค�้ำประกันหนี้ หรือเงินกู้ให้กับรัฐวิสาหกิจที่มีรายได้เป็นเงินตราต่างประเทศ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

2) การแปลงหนี้จากสกุลเงินตราต่างประเทศ เป็นสกุลเงินบาท (Cross Currency Swap: CCS) วิธีการนี้ สบน. จะใช้บริหารความเสี่ยงเพื่อลดความผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยน โดยจะด�ำเนินการแปลงหนี้จากสกุลเงินตราต่าง ประเทศให้เป็นเงินบาทก็ต่อเมื่อต้นทุนในการแปลงหนี้มีค่าต�่ำ กว่าต้นทุนการกู้เงินบาทในประเทศที่มีอายุเท่ากันในขณะนั้น 3) การช�ำระคืนหนีก้ อ่ นครบก�ำหนด (Prepayment) เช่นเดียวกับการบริหารความเสีย่ งของเงินกูท้ เี่ ป็นสกุลเงินบาท สบน. จะใช้วิธีการนี้เมื่อได้บริหารจัดการงบช�ำระหนี้ที่ได้รับมา จนทราบแน่ชัดแล้วว่ายังคงมีเงินเหลืออยู่และจะน�ำเงินที่ เหลืออยู่ดังกล่าวนั้นไปช�ำระคืนหนี้ที่มีต้นทุนการกู้ยืมที่สูง โดยไม่ต้องรอให้หนี้ดังกล่าวนั้นครบก�ำหนดช�ำระ ในส่วนของ รัฐวิสาหกิจ สบน. จะแนะน�ำให้รัฐวิสาหกิจที่มีสภาพคล่องส่วน เกิน น�ำเงินดังกล่าวไปช�ำระคืนหนี้ที่มีต้นทุนการกู้ยืมที่สูงโดย ไม่ตอ้ งรอให้หนีด้ งั กล่าวนัน้ ครบก�ำหนดช�ำระ ทัง้ นี้ เพือ่ เป็นการ ลดต้นทุนการกู้ยืมของรัฐบาลและของรัฐวิสาหกิจนั้น 4) การกูเ้ งินใหม่เพือ่ ช�ำระหนีเ้ งินกูเ้ ดิม (Refinancing) วิธีการนี้ สบน. จะด�ำเนินการเมื่อได้เปรียบเทียบแล้วพบว่า ต้นทุนการกู้เงินบาทในประเทศต�่ำกว่าต้นทุนในการแปลงหนี้ จากสกุลเงินตราต่างประเทศเป็นสกุลเงินบาท ที่มีอายุเท่ากัน

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

79

3. การเปรียบเทียบต้นทุน หลายคนมักมีค�ำถามว่า สบน. มีวิธีการพิจารณาการท�ำ Swap อย่างไร ขอยกตัวอย่างง่ายๆ สมมติว่าวันนี้เราต้องการ กูเ้ งินวงเงิน 3,100 ล้านบาท สบน. ก็ตอ้ งพิจารณาตามขัน้ ตอน ดังต่อไปนี้ 1. พิจารณาแหล่งเงินกูท้ เี่ ป็นไปได้ทงั้ หมดทัง้ การกูเ้ งินใน ประเทศและการกูเ้ งินจากต่างประเทศทีว่ งเงินเทียบเท่า 3,100 ล้านบาท ดังนี้ - การกูเ้ งินในประเทศ ได้แก่ การออกพันธบัตรรัฐบาล จ�ำหน่ายให้กับนักลงทุนในประเทศและการกู้เงินจากสถาบัน การเงินในประเทศ - การกูเ้ งินจากต่างประเทศ ได้แก่ การกูเ้ งินจากรัฐบาล ต่างประเทศ เช่น องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของ ญี่ปุ่น (Japan International Cooperation Agency : JICA) การกูเ้ งินจากตลาดการเงินต่างประเทศ เช่น การออกพันธบัตร ขายในตลาดต่างประเทศ และการกู้เงินจากสถาบันการเงิน ระหว่างประเทศ เช่น ธนาคารโลก และธนาคารพัฒนาเอเชีย 2. เปรียบเทียบต้นทุนโดยเลือกแหล่งทีม่ ตี น้ ทุนการกูเ้ งิน ที่ต�่ำที่สุด ยกตัวอย่าง เช่น 2.1 สมมติว่าต้นทุนการกู้เงินในประเทศโดยการออก พันธบัตรรัฐบาล วงเงิน 3,100 ล้านบาท มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 4 ต่อปี 2.2 สมมติว่าต้นทุนการกู้เงินจาก JICA วงเงิน 10,000 ล้านเยน มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 0.75 ต่อปี และ อัตราแลกเปลี่ยนในขณะนั้นเท่ากับ 31 บาทต่อ 100 เยน

เมื่อเห็นทางเลือกทั้ง 2 แล้ว หลายคนมักบอกว่าเลือก การกู้ต่างประเทศเพราะอัตราดอกเบี้ยต�่ำกว่า ถามว่าเป็น ทางเลือกทีถ่ กู ต้องหรือไม่ ค�ำตอบคือไม่ เนือ่ งจากทัง้ 2 ทางเลือก เป็นการกูเ้ งินกันคนละสกุลเงิน เราจึงต้องแปลงอัตราดอกเบีย้ บนเงินเยนมาเป็นอัตราดอกเบี้ยบนเงินบาทก่อน สมมติว่า แปลงอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.75 บนเงินเยนเป็นบาทได้อัตรา ดอกเบีย้ ร้อยละ 3.5 ดังนัน้ เราควรเลือกกูเ้ งินจากต่างประเทศ เพราะต้นทุนหลังแปลงหนี้ (ร้อยละ 3.5) ต�ำ่ กว่าต้นทุนการกูเ้ งิน ภายในประเทศ (ร้อยละ 4) 3. ปิดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เพือ่ ให้ตน้ ทุนเป็นไปตามทีไ่ ด้คำ� นวณไว้ สบน. จะพิจารณา ท�ำ Swap เพือ่ ปิดความเสีย่ งด้านอัตราแลกเปลีย่ นหรือเรียกว่า การท�ำ Cross Currency Swap (CCS) ทันที ณ วันเบิกเงินกู้ เพราะหากปล่อยไว้อัตราแลกเปลี่ยนอาจเปลี่ยนแปลงไปตาม ภาวะตลาด และอาจท�ำให้ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนท�ำให้ ต้นทุนโดยรวมสูงกว่าต้นทุนการกู้เงินในประเทศ หมายเหตุ สบน. แปลงหนี้สกุลเงินต่างประเทศเป็นสกุล เงินบาท เพราะรัฐบาลมีรายได้เป็นเงินบาท รายจ่ายของรัฐบาล ก็ควรเป็นเงินบาทด้วย

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


80

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

81

4. ตัวอย่างกรณีศึกษา แผนภาพที่ 2 : ตัวอย่างกระแสเงินสดในการท�ำ Swap

2) ระหว่างงวด เนื่องจากกระทรวงการคลังมีภาระหนี้ เป็นเงินบาทแล้วจึงจ่ายดอกเบี้ยเป็นเงินบาท ให้แก่ธนาคาร คู่สัญญา (ตามอัตราดอกเบี้ยบนเงินบาทที่ได้ตกลงกัน ณ ต้นงวด) ขณะเดียวกันธนาคารคู่สัญญาก็จะรับผิดชอบภาระ หนี้เงินเยน โดยจะโอนดอกเบี้ยเงินเยนไปให้กับ JICA แทน กระทรวงการคลัง (ตามอัตราดอกเบี้ยที่ JICA ก�ำหนด) 3) งวดสุดท้าย กระทรวงการคลังช�ำระต้นเงินกู้ที่เป็น เงินบาทคืนแก่ธนาคารคู่สัญญา ธนาคารคู่สัญญาก็จะโอน เงินเยนไปให้กับ JICA จากการท�ำธุรกรรม Swap ข้างต้นจะพบว่า กระทรวง การคลังจะไม่มคี วามเสีย่ งด้านอัตราแลกเปลีย่ น เพราะหากเรา กูแ้ ล้ว Swap ทีอ่ ตั ราแลกเปลีย่ น 31 บาทต่อ 100 เยน เมือ่ ถึง เวลาคืนต้นเงินกู้ ก็คนื ทีอ่ ตั ราแลกเปลีย่ น 31 บาทต่อ 100 เยน จากตัวอย่างแผนภาพข้างต้นจะพบว่า 1) ณ ต้นงวด กระทรวงการคลังตกลงท�ำสัญญาการท�ำ ธุรกรรม CCS กับธนาคารคู่สัญญา ในวงเงินเท่ากับที่จะเบิก จากแหล่งเงินกู้ (JICA) ในอัตราแลกเปลี่ยน 31 บาทต่อ 100 เยน เมื่อกระทรวงการคลังเบิกเงินกู้ 10,000 ล้านเยน จากแหล่งเงินกู้ กระทรวงการคลังก็จะโอนเงินกู้ดังกล่าว ไปยังธนาคารคู่สัญญา และธนาคารคู่สัญญาก็จะโอนเงินบาท ที่เทียบเท่าเงินเยน (ตามอัตราแลกเปลี่ยนที่ตกลงกัน) มาให้ กระทรวงการคลัง ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

หมายเหตุ 1. ก่อนการท�ำ Swap กระทรวงการคลัง โดย สบน. จะ คัดเลือกธนาคารคู่สัญญาโดยวิธีการประมูล ซึ่งก�ำหนดให้ ธนาคารที่สนใจจะท�ำธุรกรรมดังกล่าวเสนออัตราดอกเบี้ย ที่แปลงจากอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เงินเยนเป็นอัตราดอกเบี้ย เงินกู้เงินบาท (Swap Rate) มายัง สบน. และ สบน. จะเลือก ธนาคารที่เสนออัตรา Swap Rate ต�่ำสุด 2. เนื่องจากตลาด Swap ในประเทศไทยมีขนาดไม่ใหญ่ และมีสภาพคล่องไม่สูงนัก ดังนั้น วงเงินในการท�ำ Swap

แต่ ล ะครั้ ง จึ ง มี ผ ลกระทบต่ อ ตลาด Swap ค่ อ นข้ า งมาก ซึ่งจากการส�ำรวจตลาดพบว่าวงเงินที่เหมาะสมต่อการประมูล เพื่ อ หาธนาคารคู ่ สั ญ ญา Swap ในแต่ ล ะครั้ ง คื อ 100 ล้านเหรียญสหรัฐ และอายุหนี้ที่ธนาคารมีความสนใจเข้าร่วม ประมูล คือ ไม่เกิน 20 ปี ท�ำให้บางครั้ง สบน. จ�ำเป็นต้อง แบ่งท�ำธุรกรรมปิดความเสี่ยงหลายๆ ธุรกรรมต่อ 1 สัญญา เงินกู้ เนือ่ งจากแต่ละสัญญาเงินกูข้ องรัฐบาลมีวงเงินทีส่ งู มาก

5. เป้าหมายในอนาคต ปัจจุบนั ทัง้ รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจได้ทยอยปิดความเสีย่ ง หนี้ ต ่ า งประเทศมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ส่ ง ผลให้ มี ค วามเสี่ ย ง หนี้ต่างประเทศอยู่ค่อนข้างต�่ำ อย่างไรก็ดี สบน. ก็มีแผนที่จะ บริ ห ารความเสี่ ย งหนี้ ใ นประเทศโดยการแปลงภาระ ดอกเบี้ยจากอัตราดอกเบี้ยลอยตัวมาเป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ ในภาวะที่ดอกเบี้ยอยู่ในจุดต�่ำสุดและก�ำลังเข้าสู่ในช่วงขาขึ้น และแปลงอัตราดอกเบี้ยคงที่มาเป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ในภาวะที่ดอกเบี้ยอยู่ในจุดสูงสุดและก�ำลังเข้าสู่ในช่วงขาลง เพื่ อ เป็ น การลดต้ น ทุ น และลดความเสี่ ย งหากดอกเบี้ ย มี การปรับเพิ่มหรือลด รวมถึงยังเป็นการช่วยสร้างตลาดในการ ท�ำธุรกรรม Interest Rate Swap (IRS) เพื่อรองรับการท�ำ ธุรกรรมในอนาคตของ สบน. ต่อไป

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

82

บทบาทของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กับโครงการรับจ�ำน�ำข้าว นายรักชาติ วัชรานนท์ นิติกรปฏิบัติการ นายเอนกพงศ์ ไพศาลโรจน์ นิติกร นางสาวอนัญญา ทองงาม นิติกร

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

83

เนือ่ งจากโครงการรับจ�ำน�ำข้าวมีแหล่งเงินทุนทีใ่ ช้ในการด�ำเนินโครงการจาก 4 แหล่ง และมีหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหาร จัดการแหล่งเงินทุนหลายหน่วยงาน จึงมีขั้นตอนการบริหารจัดการโครงการและการหมุนเวียนแหล่งเงินทุนรายละเอียดปรากฏ ตามภาพ ดังนี้

ขั้นตอนการบริหารจัดการโครงการและการหมุนเวียนแหล่งเงินทุนโครงการรับจ�ำน�ำข้าว

โครงการรับจ�ำน�ำผลิตผลทางการเกษตรถือเป็นหนึง่ ในนโยบายส�ำคัญของรัฐบาลภายใต้การน�ำของนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี โดยโครงการดังกล่าวนับเป็นนโยบายส�ำคัญทีร่ ฐั บาลมุง่ หวังให้เป็นการยกระดับรายได้ให้แก่เกษตรกรและต้องการ ให้เม็ดเงินทีใ่ ช้ในการด�ำเนินโครงการตกถึงมือเกษตรกรผูเ้ ข้าร่วมโครงการได้โดยตรง และหนึง่ ในโครงการรับจ�ำน�ำผลิตผลทางการ เกษตรที่ส�ำคัญตามนโยบายของรัฐบาลคือโครงการรับจ�ำน�ำข้าว เพราะข้าวนับเป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่ส�ำคัญทั้งในด้านเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ความมัน่ คงและความเป็นอยูข่ องประชาชน รัฐบาลจึงได้ให้ความส�ำคัญและด�ำเนินโครงการรับจ�ำน�ำข้าวจากเกษตรกร มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ดังนี้ โครงการ โครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55 โครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2555 โครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือก ปีการผลิต 2555/56 โครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือก ปีการผลิต 2556/57

แหล่งเงินที่ใช้ในการด�ำเนินโครงการรับจ�ำน�ำข้าว ในการด� ำ เนิ น โครงการรั บ จ� ำ น� ำ ข้ า วตั้ ง แต่ ป ี ก ารผลิ ต 2554/55 เป็นต้นมา รัฐบาลได้ใช้แหล่งเงินทุนในการด�ำเนินการ จาก 4 แหล่ง ดังนี้ 1. เงินกู้ที่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) กูย้ มื จากสถาบันการเงินต่างๆ โดยมีกระทรวงการคลัง เป็นผู้พิจารณาจัดหาและค�้ำประกันการกู้เงิน และรัฐบาลเป็น ผู้รับภาระในการช�ำระคืนหนี้เงินกู้ 2. เงินที่ได้รับจากการระบายผลิตผลทางการเกษตร ซึ่ง เป็นแหล่งเงินทีเ่ กิดขึน้ จากการทีค่ ณะรัฐมนตรีได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้ มีการจัดท�ำบัญชีหมุนเวียนส�ำหรับโครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือก ปีการผลิต 2555/56 และทีผ่ า่ นมาในการบริหารจัดการเงินทีไ่ ด้ รับจากการระบายข้าว จะด�ำเนินการโดยน�ำเงินทีไ่ ด้รบั จากการ ระบายข้าวไปช�ำระคืนหนีท้ ี่ ธ.ก.ส. กูย้ มื มาเพือ่ ใช้ในการด�ำเนิน โครงการรับจ�ำน�ำข้าว เมื่อน�ำเงินที่ได้รับจากการระบายข้าวไป ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ระยะเวลาด�ำเนินโครงการ 7 ตุลาคม 2554 - 29 กุมภาพันธ์ 2555 1 มีนาคม - 15 กันยายน 2555 1 ตุลาคม 2555 - 15 กันยายน 2556 1 ตุลาคม 2556 - 28 กุมภาพันธ์ 2557 (ภาคใต้จนถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2557)

ช�ำระคืนหนี้เงินกู้แล้ว กระทรวงการคลังจะพิจารณาจัดหาเงิน กู้และค�้ำประกันการกู้เงินดังกล่าว เท่ากับจ�ำนวนเงินที่ได้รับ จากการระบายข้าวที่ได้น�ำไปช�ำระคืนหนี้แล้ว เพื่อให้ ธ.ก.ส. สามารถกู้เงินและน�ำเงินกู้ดังกล่าวกลับมาเป็นทุนหมุนเวียน ในการด�ำเนินโครงการได้อีกครั้ง ซึ่งวิธีการนี้จะเป็นการช่วย ควบคุมการจัดหาเงินกูใ้ ห้อยูภ่ ายใต้กรอบวงเงินทีค่ ณะรัฐมนตรี ได้ก�ำหนดไว้ส�ำหรับใช้ในการด�ำเนินโครงการ 3. เงินงบประมาณ โดยเหตุที่โครงการรับจ�ำน�ำข้าวเป็น โครงการทีร่ ฐั บาลเป็นผูร้ บั ภาระในการช�ำระคืนหนีเ้ งินกู้ ส�ำนัก งบประมาณจึงได้มีการพิจารณาจัดสรรเงินงบประมาณให้แก่ ธ.ก.ส. เพื่อใช้ในการช�ำระคืนหนี้เงินกู้โครงการดังกล่าวด้วย 4. เงินทุนสนับสนุนจาก ธ.ก.ส. ซึง่ เป็นเงินที่ ธ.ก.ส. ให้การ สนับสนุนโครงการภายใต้กรอบวงเงินทุนหมุนเวียน จ�ำนวน 90,000 ล้านบาท

บทบาทของส� ำ นั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ ในโครงการรับจ�ำน�ำข้าว ในบรรดาแหล่งเงินทุนทัง้ 4 แหล่งดังกล่าวข้างต้น ถือได้วา่ แหล่งเงินทุนที่มาจากการกู้เงินโดยกระทรวงการคลังเป็น ผูค้ ำ�้ ประกันการกูเ้ งินเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคลือ่ นโครงการ รับจ�ำน�ำข้าวให้สามารถด�ำเนินการได้อย่างราบรืน่ และต่อเนือ่ ง ตลอดมา โดยภายใต้บทบัญญัตแิ ห่งพระราชบัญญัตกิ ารบริหาร หนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 มาตรา 7 ได้ก�ำหนดให้กระทรวง การคลังเป็นผูม้ อี ำ� นาจในการค�ำ้ ประกันการกูเ้ งินในนามรัฐบาล แห่งราชอาณาจักรไทยแต่ผู้เดียวโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี ประกอบกับกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการส�ำนักงานบริหาร

หนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง พ.ศ. 2551 ได้ก�ำหนดให้ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) มีภารกิจในการบริหาร หนี้สาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารหนี้สาธารณะ ซึง่ รวมถึงการจัดท�ำสัญญาค�ำ้ ประกันการกูเ้ งินให้แก่หน่วยงาน ของรัฐและรัฐวิสาหกิจด้วย ดังนั้น เมื่อคณะรัฐมนตรีได้มีมติ อนุมัติให้ด�ำเนินโครงการรับจ�ำน�ำข้าวโดยมีกระทรวงการคลัง เป็นผูค้ ำ�้ ประกันการกูเ้ งินดังกล่าวแล้ว จึงเป็นภารกิจและหน้าที่ ของ สบน. ที่จะต้องด�ำเนินการจัดหาเงินกู้และเข้าค�้ำประกัน การกู้เงินดังกล่าวตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติไว้

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


84

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

(4) การเข้าค�ำ้ ประกันการกูเ้ งินของกระทรวงการคลัง ต้อง ไม่เกินกรอบวงเงินตามทีก่ ฎหมายและมติคณะรัฐมนตรีกำ� หนด เมื่อ สบน. ได้พิจารณากรอบวงเงิน มติคณะรัฐมนตรี และข้อกฎหมายตามที่ได้กล่าวไว้ในข้างต้นแล้วเห็นว่า ในการ กู้เงินของ ธ.ก.ส. เพื่อใช้ในโครงการรับจ�ำน�ำข้าวเป็นไปตามที่ กฎหมายและมติคณะรัฐมนตรีก�ำหนดไว้ สบน. จะด�ำเนินการ จัดท�ำสัญญาค�ำ้ ประกันการกูเ้ งินโดยใช้แบบสัญญามาตรฐานของ

การพิจารณาจัดหาเงินกู้ส�ำหรับใช้ด�ำเนินโครงการ รับจ�ำน�ำข้าว เนื่ อ งจากข้ า วเป็ น สิ น ค้ า เกษตรที่ มี อ ายุ ก ารเก็ บ รั ก ษา ที่ จ� ำ กั ด และเสื่ อ มคุ ณ ภาพตามระยะเวลาที่ เ ก็ บ รั ก ษา การพิจารณาจัดหาเงินกู้ส�ำหรับโครงการรับจ�ำน�ำข้าว สบน. จึ ง ต้ อ งพิ จ ารณาและให้ ค วามส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งของปั จ จั ย ที่ เกีย่ วข้องกับการจัดหาเงินกูเ้ พือ่ ใช้ในการด�ำเนินโครงการ ดังนี้ 1. ปริมาณเงินที่ได้รับจากการระบายผลิตผลทางการ เกษตร โดยเฉพาะข้าวซึ่งสามารถน�ำกลับมาใช้เป็นแหล่งเงิน ทุนหมุนเวียนเพื่อด�ำเนินโครงการต่อไปได้ 2. งบประมาณที่โครงการได้รับเพื่อใช้ช�ำระคืนหนี้เงินกู้ 3. ความต้องการใช้จ่ายเงินของโครงการภายใต้กรอบ วงเงินที่รัฐบาลก�ำหนดในแต่ละปี 4. ระยะเวลาในการกู้เงินที่เหมาะสมและสอดคล้องกับ แผนการระบายข้ า วเพื่ อ เป็ น การลดต้ น ทุ น ของโครงการที่ เกิดจากการกู้เงิน 5. อัตราดอกเบี้ยและค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ กู้เงินเพื่อให้รัฐบาลสามารถด�ำเนินโครงการภายใต้ต้นทุนที่ เหมาะสมต่อไปได้ 6. สภาพคล่องของตลาดการเงินเพื่อไม่ให้กระทบต่อ การระดมทุนของภาคเอกชน 7. ความต้องการเงินกูแ้ ละตารางการกูเ้ งินของทัง้ รัฐบาล และธนาคารแห่งประเทศไทย นอกจากจะต้องพิจารณาปัจจัยเกี่ยวกับการจัดหาเงินกู้ เพื่อใช้ในการด�ำเนินโครงการแล้ว ยังต้องให้ความส�ำคัญกับ เครื่องมือและวิธีการที่ใช้ในการจัดหาเงินกู้ด้วย ซึ่งเครื่องมือ หลักที่ สบน. ใช้ในการจัดหาเงินกู้มี 3 ประเภท ได้แก่ สัญญา

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

85 กระทรวงการคลัง ซึง่ ปัจจุบนั มี 3 รูปแบบ ได้แก่ สัญญาค�ำ้ ประกัน เงินกู้ซึ่งใช้กับกรณีที่เป็นการกู้เงินโดยการท�ำสัญญากู้ยืมเงิน (Term Loan) สั ญ ญาค�้ ำ ประกั น พั น ธบั ต รซึ่ ง ใช้ กั บ กรณี ที่เป็นการกู้เงินโดยวิธีการออกพันธบัตร (Bond) และสัญญา ค�้ ำ ประกั น ตั๋ ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น ซึ่ ง ใช้ กั บ กรณี ที่ เ ป็ น การกู ้ เ งิ น โดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note หรือ P/N) โดยมีรายละเอียดปรากฏตามภาพ ดังนี้

ขั้นตอนการจัดท�ำสัญญาค�้ำประกันการกู้เงินโดยกระทรวงการคลัง เงินกู้ (Term Loan) ตั๋วสัญญาใช้เงิน (Promissory Note) และพันธบัตร (Bond) และเนื่องจากโครงการรับจ�ำน�ำข้าวได้ ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่องและใช้กรอบวงเงินในการด�ำเนิน การสูง สบน. จึงมีการปรับรูปแบบ วิธีการ และเงื่อนไขในการ จัดหาเงินกู้เพื่อให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาวะของ ตลาดและเพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของ นักลงทุนได้ ซึง่ วิธกี ารที่ สบน. ได้นำ� มาปรับใช้กบั การจัดหาเงิน กู้ส�ำหรับโครงการได้แก่ การจัดหาเงินกู้แบบ Syndicate และ การจัดหาเงินกู้โดยการออกพันธบัตรในรูปของรหัส GGLB (Government Guaranteed Loan Bond) ทั้งนี้ วิธีการทั้ง 2 รูปแบบ นับเป็นวิธีการใหม่ที่น�ำมาใช้กับการจัดหาเงินกู้ให้แก่ รัฐวิสาหกิจซึ่งได้รับผลตอบรับจากนักลงทุนเป็นอย่างดี

การค�้ำประกันการกู้เงินในโครงการรับจ�ำน�ำข้าว การค�้ำประกันการกู้เงินในโครงการรับจ�ำน�ำข้าวนับเป็น ขั้นตอนต่อเนื่องจากการพิจารณาจัดหาเงินกู้ ซึ่งการจัดท�ำ การค�ำ้ ประกันการกูเ้ งินตามโครงการรับจ�ำน�ำข้าว สบน. จะพิจารณา ตรวจสอบข้อมูลต่างๆ เช่น มติคณะรัฐมนตรีแผนการบริหาร หนีส้ าธารณะประจ�ำปีงบประมาณ และข้อกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง เพื่อใช้ประกอบการด�ำเนินการค�้ำประกันการกู้เงิน ดังนี้ (1) กฎหมายจัดตั้ง ธ.ก.ส. และมติคณะกรรมการ ธ.ก.ส. เพื่อตรวจสอบอ�ำนาจในการกู้เงิน (2) มติคณะรัฐมนตรีทอี่ นุมตั ใิ ห้ดำ� เนินโครงการรับจ�ำน�ำข้าว (3) วงเงินที่กระทรวงการคลังจะเข้าค�้ำประกันโดยต้อง เป็นวงเงินที่ได้รับการบรรจุไว้ในแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณแล้ว

ในส่วนสาระส�ำคัญของสัญญาค�้ำประกันมาตรฐานของ กระทรวงการคลังทั้ง 3 รูปแบบ คือการก�ำหนดให้กระทรวง การคลังในฐานะผู้ค�้ำประกันการกู้เงินเข้ารับผิดชอบช�ำระ ต้นเงินและดอกเบี้ยตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญาหลักอันได้แก่ สัญญากู้เงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน หรือพันธบัตรแล้วแต่กรณี เมื่ อ หนี้ ถึ ง ก� ำ หนดช� ำ ระตามที่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นสั ญ ญาหลั ก และ ผู้กู้ได้ปฏิเสธที่จะช�ำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ จึงกล่าวได้ว่าตลอดระยะเวลาการด�ำเนินโครงการรับ จ�ำน�ำข้าวที่ผ่านมา สบน. เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทและหน้าที่ ทีส่ ำ� คัญในการจัดหาเงินกูแ้ ละค�ำ้ ประกันการกูเ้ งินให้แก่ ธ.ก.ส.

เพื่อใช้ในการด�ำเนินโครงการรับจ�ำน�ำข้าว โดยเฉพาะการเข้า ค�้ำประกันการกู้เงินซึ่งมีผลท�ำให้การจัดหาเงินกู้มีต้นทุนที่ ต�ำ่ ลง และส่งผลให้รฐั บาลมีภาระทางการคลังในการทีจ่ ะต้องตัง้ งบประมาณเพื่อชดเชยหนี้เงินกู้โครงการดังกล่าวลดลงด้วย ในอีกด้านหนึ่งการที่กระทรวงการคลังเข้าค�้ำประกันการกู้เงิน โครงการรับจ�ำน�ำข้าว ยังเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ นักลงทุนที่เข้าร่วมลงทุนโดยการให้สินเชื่อแก่โครงการด้วยว่า เมื่อครบก�ำหนดระยะเวลาแล้ว ผู้ลงทุนจะได้รับต้นเงินพร้อม ผลตอบแทนตามที่ก�ำหนดไว้ในสัญญาอย่างครบถ้วนและ ตรงตามเวลา

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

86

การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการค�้ำประกัน/ให้กู้ต่อ โดยสังเขป ปวีณา ส�ำเร็จ เศรษฐกรช�ำนาญการ สุธาวรรณ วรรณสุกใส เศรษฐกรช�ำนาญการ

บทความนี้มีความมุ่งหมายที่จะแสดงรายละเอียด สาระส� ำ คั ญ โดยสรุ ป เกี่ ย วกั บ การเรี ย กเก็ บ ค่ า ธรรมเนี ย ม การค�ำ้ ประกัน/ให้กตู้ อ่ โดยประมวลข้อมูลส�ำคัญไว้ในบทความ เดียวเพือ่ ให้เห็นภาพรวมของการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมฯ และ สามารถเข้าใจได้โดยง่าย โดยได้แบ่งเนื้อหาเป็น 4 หัวข้อ ได้แก่ 1. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. ความเสี่ยงทางเครดิต กับอัตราค่าธรรมเนียมฯ 3. การค�ำนวณและการเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมฯ และ 4. การขอยกเว้นค่าธรรมเนียมฯ

บทน�ำ เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า ปัจจุบันกระทรวงการคลัง โดยส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ได้ด�ำเนินการ เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการค�้ำประกัน/ให้กู้ต่อจากรัฐวิสาหกิจ และสถาบั น การเงิ น ภาครั ฐ ที่ ก ระทรวงการคลั ง ค�้ ำ ประกั น เงิ น กู ้ และกู ้ เ งิ น ต่ อ จากกระทรวงการคลั ง โดยอั ต ราค่ า ธรรมเนียมที่เรียกเก็บขึ้นอยู่กับระดับความเสี่ยงทางเครดิต ของหน่วยงานแต่ละแห่ง ซึ่ง สบน. เป็นผู้ด�ำเนินการวิเคราะห์ ความเสีย่ งทางเครดิตและจัดระดับความน่าเชือ่ ถือรัฐวิสาหกิจ และสถาบันการเงินภาครัฐเป็นประจ�ำทุกปี ทั้งนี้ กระทรวง การคลั ง ไม่ ไ ด้ มุ ่ ง หวั ง ที่ จ ะหารายได้ จ ากการเรี ย กเก็ บ ค่าธรรมเนียมการค�้ำประกันและให้กู้ต่อ ดังจะเห็นได้จาก อัตราค่าธรรมเนียมที่มีอัตราต�่ำมากซึ่งไม่สามารถคุ้มครอง ความเสี่ ย งได้ ทั้ ง หมด รวมทั้ ง ยั ง มี ก ารยกเว้ น /ลดหย่ อ น ค่ า ธรรมเนี ย มให้ กั บ เงิ น กู ้ ที่ เ ข้ า ข่ า ยตามหลั ก เกณฑ์ ที่ ก�ำหนดด้วย ซึ่งวัตถุประสงค์หลักที่แท้จริงของการเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมฯ คือ มุง่ หวังให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องไม่วา่ จะเป็น รัฐบาล หรือรัฐวิสาหกิจ ส�ำนักงบประมาณ รวมถึงประชาชน ได้ร่วมกันตระหนักถึงต้นทุนและความเสี่ยงจากการใช้เงินกู้ และป้องกันไม่ให้ภาระผูกพันทีเ่ กิดจากการก่อหนีส้ ง่ ผลกระทบ ต่อเสถียรภาพทางการเงินและการคลังของประเทศ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

1. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

• พระราชบั ญ ญั ติ ก ารบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม • กฎกระทรวงก�ำหนดอัตราและเงือ่ นไขการเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมการค�ำ้ ประกันของกระทรวงการคลัง พ.ศ. 2551 • กฎกระทรวงก�ำหนดอัตราและเงือ่ นไขการเรียกเก็บ ดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมการให้กู้ต่อของกระทรวงการคลัง พ.ศ. 2551 • ประกาศส� ำ นั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ เรื่ อ ง หลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารประเมิ น ระดั บ ความน่ า เชื่ อ ถื อ ของ รัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินภาครัฐ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

จากรัฐบาลอีกด้วย ดังนั้น การพิจารณาความเสี่ยงทางเครดิต จึงต้องด�ำเนินการอย่างรอบคอบเพื่อให้ได้ผลการประเมิน ที่มีความเหมาะสมและเป็นธรรมกับหน่วยงาน เพราะผล การจัดระดับความน่าเชือ่ ถือทีไ่ ด้จะมีผลต่ออัตราค่าธรรมเนียม ที่จะเรียกเก็บ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อรัฐวิสาหกิจที่ขอให้ กระทรวงการคลังค�ำ้ ประกันเงินกูห้ รือขอกูเ้ งินต่อจากกระทรวง การคลัง เช่น รัฐวิสาหกิจที่มีความเสี่ยงทางเครดิตสูง (โอกาส ทีจ่ ะผิดนัดช�ำระหนีส้ งู ) จะต้องเสียค่าธรรมเนียมในจ�ำนวนมาก ในขณะที่รัฐวิสาหกิจที่มีความเสี่ยงทางเครดิตต�่ำกว่า (โอกาส ในการผิดนัดช�ำระหนี้ต�่ำ) ก็จะมีค่าธรรมเนียมที่ต้องจ่ายช�ำระ ลดลงตามไปด้วยไปด้วย ขั้นตอนและวิธีการจัดระดับความน่าเชื่อถือ วิธีการและขั้นตอนของการจัดระดับความน่าเชื่อถือ รัฐวิสาหกิจของ สบน. จะเป็นไปตามประกาศส�ำนักงานบริหาร หนีส้ าธารณะ เรือ่ ง หลักเกณฑ์และวิธกี ารประเมินระดับความ น่าเชือ่ ถือของรัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินภาครัฐ โดยข้อมูล ที่ใช้ในการประเมินประกอบด้วยข้อมูลทั้งในเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ ได้แก่ งบดุล งบก�ำไรขาดทุน ประมาณการกระแส เงินสด แผนการด�ำเนินงาน ประมาณการในอนาคต สถานะหนี้ ผลการประเมินผลการด�ำเนินงานรัฐวิสาหกิจ1 เป็นต้น โดยใช้ ฐานข้อมูลของ สบน. และข้อมูลจากส�ำนักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ธนาคารแห่งประเทศไทย รัฐวิสาหกิจ สถาบันจัดระดับความน่าเชื่อถือภาคเอกชน และข้อมูลจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

2. ความเสี่ยงทางเครดิตกับอัตราค่าธรรมเนียมฯ

การจัดระดับความน่าเชื่อถือรัฐวิสาหกิจและสถาบัน การเงินภาครัฐ การวิเ คราะห์ค วามเสี่ยงทางเครดิตเพื่อจัด ระดั บ ความน่าเชื่อถือหน่วยงานภาครัฐมีความซับซ้อนมากกว่าการ วิเคราะห์ความเสี่ยงทางเครดิตหน่วยงานเอกชน เนื่องจาก รัฐวิสาหกิจเป็นหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนการด�ำเนินงาน จากรัฐบาล และในขณะเดียวกันก็ถกู แทรกแซงการด�ำเนินงาน

1

ประกาศส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินระดับ ความน่าเชือ่ ถือของรัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินภาครัฐ ข้อ 1 ก�ำหนดให้รฐั วิสาหกิจ หรือสถาบันการเงินภาครัฐจัดส่งงบการเงินให้ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะภายใน สิบห้าวันนับตัง้ แต่วนั ทีส่ ำ� นักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้ว 2 การปรับปรุงคะแนนต่างๆ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดในคูม่ อื การประเมินความเสีย่ ง ทางเครดิตเพื่อจัดระดับความน่าเชื่อถือของรัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินภาครัฐ

87

ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินต่างๆ จะถูกน�ำไปบันทึกใน แบบจ�ำลอง SOEs Credit Scoring ของ สบน. และแบบจ�ำลอง จะค� ำ นวณความเสี่ ย งทางเครดิ ต เบื้ อ งต้ น ให้ อั ต โนมั ติ หลังจากนัน้ ผูว้ เิ คราะห์จะพิจารณาความเหมาะสมของคะแนน จากข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และท�ำการปรับปรุงคะแนนหากพบ ความผิดปกติของข้อมูล เช่น พบว่าแนวโน้มของสินทรัพย์รวม ขัดแย้งกับแนวโน้มการเจริญเติบโตของกิจการ กล่าวคือ กรณี ทีส่ นิ ทรัพย์รวมมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ แต่เป็นการเพิม่ ขึน้ ของสินค้า คงเหลือหรือลูกหนี้การค้าเป็นหลัก ในขณะที่สินทรัพย์ถาวรที่ เป็นปัจจัยในการสร้างรายได้ในอนาคตคงที่ หรือลดลง ในกรณีนี้ อาจเป็นสัญญาณแสดงถึงการขาดประสิทธิภาพในการขาย สินค้าหรือบริการของหน่วยงาน ซึง่ เป็นความผิดปกติอย่างมาก ดังนั้น ผู้วิเคราะห์อาจต้องพิจารณาปรับปรุงคะแนนใหม่ตาม หลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด2 ซึง่ การปรับปรุงคะแนนต่างๆ จะต้องจัดท�ำ เหตุผลชีแ้ จงให้ชดั เจนด้วย และเมือ่ ได้ผลคะแนนสุดท้ายแล้ว (Final Score) ผูว้ เิ คราะห์จะจัดท�ำรายงานวิเคราะห์ความเสีย่ ง ทางเครดิต โดยแสดงรายละเอียดของการวิเคราะห์ความเสีย่ ง ทางเครดิตด้านต่างๆ เพื่อน�ำเสนอคณะกรรมการพิจารณาผล การจัดอันดับความเสี่ยงทางเครดิต (Credit Risk Scoring Committee) พิจารณาในล�ำดับถัดไป และเนือ่ งจากรัฐวิสาหกิจมีทงั้ รัฐวิสาหกิจทีเ่ ป็นสถาบัน การเงิน และรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน ซึ่งมีลักษณะ ของกิจการแตกต่างกันอย่างชัดเจน ดังนัน้ เพือ่ ให้การประเมิน ความเสีย่ งทางเครดิตและการจัดระดับความน่าเชือ่ ถือมีความ เหมาะสมและเป็นธรรมต่อรัฐวิสาหกิจแต่ละประเภท สบน. จึง ได้จดั ท�ำหลักเกณฑ์การประเมินความเสีย่ งทางเครดิตแยกตาม กลุ่มของรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน และรัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

88

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

89

วิเคราะห์ความเสี่ยงทางเครดิต จัดท�ำรายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงทางเครดิต คณะกรรมการพิจารณาผลการจัดอันดับความเสี่ยงทางเครดิต

ไม่ยอมรับ ยอมรับ แจ้งผลการจัดระดับความน่าเชื่อถือ ติดตาม/ทบทวนความเสี่ยงทางเครดิต

องค์ประกอบของคณะกรรมการพิจารณาผลการจัด อันดับความเสี่ยงทางเครดิต ส�ำหรับองค์ประกอบของ Credit Risk Scoring Committee ประกอบด้วยผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้ สาธารณะ รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ และผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก ทุ ก ส� ำ นั ก และยั ง มี ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด้านตลาดตราสารหนี้ และการเงินการธนาคาร ซึ่งเป็นผู้แทน จากภาคเอกชนอีก 3 ท่าน ร่วมเป็นคณะกรรมการฯ เพื่อให้ การพิจารณาการให้คะแนนความเสี่ยงทางเครดิต และการจัด ระดับความน่าเชื่อถือ (Credit Scoring) มีความถูกต้อง และเหมาะสม อย่างไรก็ตาม หากรัฐวิสาหกิจมีข้อทักท้วง ผลการจั ด ระดั บ ความน่ า เชื่ อ ถื อ รั ฐ วิ ส าหกิ จ รายดั ง กล่ า ว สามารถยืน่ หนังสือเพือ่ ทักท้วงผลการจัดระดับความน่าเชือ่ ถือ ได้ภายใน 15 วันท�ำการ นับจากวันที่ได้รับแจ้งผลการจัดระดับ ความน่าเชื่อถือ โดยต้องจัดท�ำข้อมูลที่ต้องการให้ สบน. พิจารณาเพิ่มเติมซึ่งหน่วยงานคาดว่าข้อมูลดังกล่าวอาจมี ผลให้ความเสี่ยงทางเครดิตเปลี่ยนแปลงได้ เพื่อประกอบ การพิ จ ารณาทบทวนผลการจั ด ระดั บ ความน่ า เชื่ อ ถื อ ของ คณะกรรมการฯ อีกครั้ง

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

การเผยแพร่ผลการจัดระดับความน่าเชื่อถือ การจัดระดับความน่าเชื่อถือรัฐวิสาหกิจของ สบน. มีลักษณะคล้ายคลึงกับการวิเคราะห์เครดิตในขั้นตอนการ พิจารณาอนุมัติสินเชื่อของสถาบันการเงิน ดังนั้น ข้อมูลด้าน ความเสี่ยงทางเครดิต และผลการจัดระดับความน่าเชื่อถือ จะไม่ถูกเผยแพร่สู่สาธารณะโดย สบน. แต่จะใช้ก�ำหนดอัตรา ค่าธรรมเนียมการค�้ำประกัน/ให้กู้ต่อ และเป็นข้อมูลภายใน เพื่อก�ำกับติดตามความเสี่ยงของ Portfolio และประกอบการ ก�ำหนดนโยบายด้านการบริหารความเสี่ยงทางเครดิตของ กระทรวงการคลัง ส�ำหรับการแจ้งผลการจัดระดับความน่าเชือ่ ถือ สบน. จะด�ำเนินการแจ้งผลการจัดระดับความน่าเชือ่ ถือให้รฐั วิสาหกิจ แต่ละแห่ง ทราบโดยตรง อย่างไรก็ตาม หากรัฐวิส าหกิ จ ดังกล่าวเห็นว่าผลการจัดระดับความน่าเชื่อถือของ สบน. เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจรายนั้นก็สามารถน�ำไป ใช้ประโยชน์ต่อไปได้

การก�ำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการค�ำ้ ประกัน/ให้กตู้ อ่ ตามกฎกระทรวงฯ ทีก่ ล่าวถึงข้างต้น ได้กำ� หนดอัตรา ค่าธรรมเนียมการค�้ำประกัน/ให้กู้ต่อ ตามระดับความเสี่ยง ทางเครดิต และอายุเงินกู้ โดยมีอตั ราตัง้ แต่รอ้ ยละ 0.01 ของ วงเงินกูค้ งค้างต่อปี จนถึงสูงสุดทีอ่ ตั ราร้อยละ 0.50 ของวงเงิน กู้คงค้างต่อปี และได้แบ่งระดับความน่าเชื่อถือออกเป็น 8 ระดับ โดยระดับเครดิตที่ดีที่สุด คือ ระดับ “1” ซึ่งสะท้อนว่า หน่วยงานมีระดับเครดิตดีและมีความเสี่ยงต�่ำสุด และระดับ เครดิตรองลงมาจะมีความเสี่ยงสูงขึ้นตามล�ำดับ โดยระดับที่ แย่ที่สุด คือ ระดับ “8” ซึ่งสะท้อนว่าหน่วยงานมีความเสี่ยงที่

จะผิดนัดช�ำระหนีส้ งู สุด ระดับความน่าเชือ่ ถือนี้ จะเป็นตัวระบุ ระดับความเสี่ยงทางเครดิตของหน่วยงาน ซึ่งสะท้อนความ สามารถในการช�ำระหนี้ ดังนัน้ หากรัฐวิสาหกิจมีระดับเครดิตดี ก็จะมีอัตราค่าธรรมเนียมฯ ต�่ำกว่ารัฐวิสากิจที่มีความเสี่ยงที่ จะผิดนัดช�ำระหนี้สูง ส�ำหรับอายุเงินกู้ แสดงถึงระยะเวลาที่ กระทรวงการคลังจะต้องรับความเสี่ยงจากการค�้ำประกันและ ให้กตู้ อ่ ดังนัน้ อายุเงินกูท้ ยี่ าว จะมีอตั ราค่าธรรมเนียมฯ สูงกว่า เงินกู้ระยะสั้น และหากอายุเงินกู้ลดลง อัตราค่าธรรมเนียมฯ ก็จะลดลงไปด้วยตามล�ำดับ ดังนี้

ระดับความน่าเชื่อถือ

0.35% p.a.

8

0.35% p.a.

0.40% p.a.

0.45% p.a.

7

0.30% p.a.

0.35% p.a.

0.40% p.a.

0.45% p.a.

6

0.25% p.a.

0.30% p.a.

0.35% p.a.

0.40% p.a.

5

0.20% p.a.

0.25% p.a.

0.30% p.a.

0.35% p.a.

4

0.15% p.a.

0.20% p.a.

0.25% p.a.

0.30% p.a.

3

0.10% p.a.

0.15% p.a.

0.20% p.a.

0.25% p.a.

2

0.05% p.a.

0.10% p.a.

0.15% p.a.

0.20% p.a.

0.01% p.a.

0.05% p.a.

0.10% p.a.

0.15% p.a.

< 1 ปี

1-5 ปี

5-10 ปี

> 10 ปี

1

อายุเงินกู้

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


90

3. การค�ำนวณและการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมฯ

การค�ำนวณอัตราค่าธรรมเนียมการค�้ำประกัน/ให้กู้ต่อ มีลกั ษณะเช่นเดียวกับการค�ำนวณดอกเบีย้ ของสถาบันการเงิน โดย สบน. จะใช้ผลการจัดระดับความน่าเชือ่ ถือ และอายุเงินกู้ เป็นตัวก�ำหนดอัตราค่าธรรมเนียม การค�ำนวณค่าธรรมเนียมฯ จะใช้ Cash Flow ของการ เบิกจ่ายและช�ำระคืนเงินกู้ในปีงบประมาณนั้นๆ คูณอัตรา ค่าธรรมเนียมและระยะเวลาการใช้เงินในปีงบประมาณดังกล่าว (ไม่นบั รวมวันทีช่ ำ� ระคืนเงินกู)้ โดยแยกค�ำนวณเป็นรายสัญญา และ สบน. จะด�ำเนินการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเป็นรายปี ในปีงบประมาณถัดไป

4. การขอยกเว้นค่าธรรมเนียมฯ

รั ฐ วิ ส าหกิ จ ต่ า งๆ สามารถขอยกเว้ น /ลดหย่ อ น ค่าธรรมเนียมฯ ได้ หากโครงการเงินกู้ดังกล่าวเป็นไปตาม เงื่อนไขที่ก�ำหนดในกฎกระทรวงฯ ดังนี้ (1) โครงการหรือแผนงานของหน่วยงานของรัฐหรือ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ตามนโยบายของรั ฐ บาลซึ่ ง คณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ ให้ ห น่ ว ยงานของรั ฐ หรื อ รั ฐ วิ ส าหกิ จ เป็ น ผู ้ รั บ ผิ ด ชอบและ ด�ำเนินการ (2) โครงการหรือแผนงานของหน่วยงานของรัฐหรือ รัฐวิสาหกิจในด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานซึ่งเป็นประโยชน์ต่อ ประชาชนโดยส่วนรวม แต่ไม่มีความคุ้มค่าในการลงทุนใน เชิงพาณิชย์ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 91

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

(3) โครงการหรือแผนงานลงทุนใหม่ของหน่วยงานของ รัฐหรือรัฐวิสาหกิจตามยุทธศาสตร์ของแผนการบริหารราชการ แผ่นดิน (4) โครงการหรือแผนงานสนับสนุนสินเชื่อของสถาบัน การเงินภาครัฐตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติ ให้สถาบันการเงินภาครัฐเป็นผู้รับผิดชอบและด�ำเนินการ โดยรัฐวิสาหกิจจะต้องจัดท�ำข้อมูลตามแบบฟอร์มที่ สบน. ก�ำหนด เพือ่ ประกอบการจัดท�ำความเห็นและน�ำเสนอรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลังพิจารณาต่อไป ทัง้ นี้ การพิจารณาของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังถือว่าเป็นที่สิ้นสุด สบน. หวังว่าบทความเกีย่ วกับการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม การค�้ำประกันและให้กู้ต่อ และการจัดระดับความน่าเชื่อถือ รัฐวิสาหกิจที่ สบน. ได้นำ� เสนอในรายงานประจ�ำปีมาอย่างต่อเนือ่ ง จะช่วยให้ท่านผู้อ่านพอเข้าใจภาพรวม และวัตถุประสงค์ ของการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการค�้ำประกัน/ให้กู้ต่อของ กระทรวงการคลังได้ชัดเจนขึ้นบ้าง อย่างไรก็ตาม หากท่าน ต้ อ งการทราบรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ท่ า นสามารถติ ด ต่ อ สอบถามได้ที่ ปวีณา ส�ำเร็จ โทร. 0 2265 8050 ต่อ 5408 (paweena@pdmo.go.th) หรือ สุธาวรรณ วรรณสุกใส โทร. 0 2265 8050 ต่อ 5418 (suthawan@pdmo.go.th) หรือ หาข้อมูลเพิม่ เติมได้จากเว็บไซต์ของ สบน. (www.pdmo.go.th)

บทความพิเศษ ของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

92

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

93

กลยุทธ์ทางการตลาด “การสรรหาเชิงรุก”

ในระบบราชการ รุ่งระวี รุกเขต นักทรัพยากรบุคคลช�ำนาญการพิเศษ

ในงบประมาณ พ.ศ. 2556 ส�ำนักงาน ก.พ. ได้คัดเลือก ส� ำ นั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ (สบน.) เป็ น หนึ่ ง ในสอง หน่วยงานน�ำร่องของส�ำนักงาน ก.พ. ในการจัดกิจกรรมเพื่อ เสริมสร้างประสิทธิภาพด้านการสรรหาและเลือกสรรบุคลากร เข้ า รั บ ราชการ รวมทั้ ง เป็ น การสร้ า งและประชาสั ม พั น ธ์ ภาพลักษณ์ที่ดีของหน่วยงาน เพื่อยกระดับความสามารถของ ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะในการจูงใจดึงดูดกลุม่ เป้าหมาย ของผู้สมัครงาน โดยการจัดท�ำแผนการตลาดเพื่อการสรรหา เชิงรุก ซึ่งการสรรหาเชิงรุกดังกล่าว มีลักษณะส�ำคัญ คือ 1. เน้นการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้ได้บุคลากรที่ ตรงกับความต้องการของหน่วยงานมากที่สุด 2. จูงใจและกระตุ้นความดึงดูดใจกลุ่มเป้าหมาย ซึ่ง ได้แก่ นิสิตนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยชั้นน�ำในการเข้ามา สมัครงาน โดยให้เกิดความสนใจในงานของหน่วยงานและมี การประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของ สบน. เป็นวิธีการด�ำเนิน การเชิงรุกที่ สบน. ใช้ในการสื่อสารและดึงดูดความสนใจ ของกลุ่มเป้าหมายเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว โดยการเห็นชอบ โครงการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของหนี้สาธารณะ ซึ่งก�ำหนด จัดกิจกรรมสัมมนาวิชาการ (PDMO Road Show) และ กิจกรรมแคมป์ (PDMO Camp) เพือ่ เปิดโอกาสให้นสิ ติ นักศึกษา จากสถาบันการศึกษา 7 สถาบัน ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รบั รู้ และรับทราบข้อมูลที่แท้จริงเกี่ยวกับหน่วยงาน พร้อมเพิ่มพูน ความรู้ด้านหนี้สาธารณะและการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ ของประเทศ ทั้งนี้ ชื่อเสียงและภาพลักษณ์ที่ดีของหน่วยงาน เป็นปัจจัยหนึ่งในการตัดสินใจเข้าร่วมงานของผู้สมัครงาน ซึ่ง ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

สามารถยืนยันเหตุผล ได้จากจ�ำนวนนิสิตนักศึกษาที่สนใจ เข้ามาฝึกงานกับ สบน. หรือจ�ำนวนผู้สมัครงานกับ สบน. ภายหลังด�ำเนินโครงการส่งเสริมภาพลักษณ์อย่างต่อเนื่อง ปรากฏว่ามีนสิ ติ นักศึกษาจาก 7 สถาบันข้างต้นเข้ารับการฝึกงาน และสมัครงานกับ สบน. ในจ�ำนวนมากขึ้น ส�ำนักงาน ก.พ. ได้เล็งเห็นถึงจุดเด่นของ สบน. ในการ เป็นหน่วยงานที่ด�ำเนินการส่งเสริมภาพลักษณ์ของหน่วยงาน มาก่อนและด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง จึงพิจารณาเลือกให้ เป็นหน่วยงานภาครัฐน�ำร่อง ที่จะน�ำหลักการตลาดมาใช้ใน การสรรหาเชิงรุก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน การสรรหามากยิ่งขึ้น โดยการจ้างผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบัน ทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นผู้วางแผน การตลาดในการสรรหาเชิงรุกให้ สบน. ซึง่ จากการศึกษาพบว่า สภาพปัญหาในการสรรหาทีแ่ ท้จริงของ สบน. คือ กลุม่ เป้าหมาย ในการสมัครงานยังไม่เข้าใจบทบาทภารกิจของ สบน. ดังนั้น แผนกลยุทธ์การตลาดการสรรหาเชิงรุกของ สบน. จึงมุ่งเน้น การสร้ า งความตระหนั ก และภาพลั ก ษณ์ ข องหน่ ว ยงาน ในภาพรวมก่อน โดยมีกลยุทธ์ คือ

1. จัดท�ำสือ่ ประชาสัมพันธ์ผา่ นเครือข่ายสังคมออนไลน์ Facebook (www.facebook.com/livingwithdebt)

2. จัดประกวด Clip โปรโมท สบน. โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 กลุ่มเป้าหมาย คือ นิสิตนักศึกษาทั่วไป

2.2 Clip VDO ความยาวไม่เกิน 60 วินาที ทีส่ อื่ ถึงบทบาทหน้าที่ ของ สบน. ว่ามีความส�ำคัญต่อประเทศและสร้างความตระหนัก และให้เป็นที่รู้จักจดจ�ำ แบ่งการประกวดออกเป็น 3 รางวัล ได้แก่ รางวัลความคิดสร้างสรรค์ดีเด่น (Most Creative) รางวัลเนื้อหา ยอดเยีย่ ม (Outstanding Content) และรางวัลโดนใจสุดๆ (Most Like) และมีรางวัล High Potential อีก 6 รางวัล

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


94

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

95

การบริหารจัดการความเสี่ยงด้าน ICT

2.3 เผยแพร่ Clip VDO ทางเครือข่ายสังคม ออนไลน์ เช่น Facebook, Youtube เป็นต้น

ผลการด�ำเนินการโครงการสรรหาเชิงรุกของ สบน. ร่วมกับ ส�ำนักงาน ก.พ. ปรากฏว่า มี Clip VDO ส่งเข้าประกวดทัง้ หมด 76 ผลงาน จากหลากหลายสถาบันการศึกษา มียอดเข้าชมและ กด Like ณ เดือนตุลาคม 2556 จ�ำนวน 3,275 คน จึงถือว่า ช่องทางดังกล่าวเป็นการเข้าถึงกลุม่ เป้าหมายได้ดเี มือ่ เทียบกับ การจัดกิจกรรม Road Show ของ สบน. ที่ผ่านมา ซึ่งมีนิสิต นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละสถาบันการศึกษา ประมาณ 100 - 300 คนเท่านั้น ในการนี้ จึงสามารถสรุปได้ว่า ในภาพรวมการใช้สื่อทาง Social Network ได้รับความสนใจและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นนิสิตนักศึกษาที่ก�ำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย และเป็น กลุม่ เป้าหมายที่ สบน. ต้องการได้ดเี ยีย่ ม และจะน�ำไปสูก่ ารเพิม่ ช่องทางการสื่อสาร การส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของหน่วยงาน ในอนาคตต่อไป และจากกลยุทธ์ทางการตลาด “การสรรหา เชิงรุก” ในระบบราชการของ สบน. ดังกล่าว ส่งผลให้ สบน. ได้รับประโยชน์มากมายในหลายๆ ด้าน ได้แก่

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

1. มีนสิ ิตนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยชัน้ น�ำ เข้ารับราชการ กับ สบน. จ�ำนวนเพิ่มขึ้น 2. มี นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ทั้ ง ในและ ต่างประเทศที่ส�ำเร็จการศึกษาแล้ว ให้ความสนใจสมัครงาน เพื่อเข้าร่วมปฏิบัติงานในภารกิจของ สบน. จ�ำนวนมาก 3. มีนิสิตนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยชั้นน�ำทั้งในและต่าง ประเทศที่ก�ำลังศึกษาอยู่ในปีสุดท้าย สนใจสมัครรับทุนรัฐบาล ก.พ. เพื่อเลือก สบน. เป็นหน่วยงานส�ำหรับการบรรจุเข้ารับ ราชการจ�ำนวนหนึ่ง 4. มี นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น� ำ ทั้ ง ในและ ต่างประเทศที่ก�ำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นปีที่ 2 และปีที่ 3 ขอเข้ า รั บ การฝึ ก งาน ณ สบน. ในระหว่ า งปิ ด ภาคเรี ย น จ�ำนวนมาก 5. หน่วยงานราชาการ หน่วยงานเอกชน รัฐวิสาหกิจ และ ประชาชนทั่วไป รู้จักและให้ความสนใจในภารกิจของ สบน. อย่างแพร่หลาย

ของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะตามแนวทาง e-Government

ปั จ จุ บั น ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ (ICT) มี วิวัฒนาการอย่างรวดเร็ว หน่วยงานภาครัฐต่างน�ำระบบ ICT ประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือที่ส�ำคัญในการด�ำเนินงานภายใน หน่วยงาน การติดต่อสื่อสารและเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศ และการสนั บ สนุ น การตั ด สิ น ใจของบุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ของ หน่วยงาน ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) โดย ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ศทส.) ได้ตระหนักและเล็งเห็น ความส�ำคัญและความจ�ำเป็นของระบบ ICT เป็นอย่างมาก จึงได้ ก�ำหนดนโยบาย วางแผน จัดท�ำ พัฒนาและปรับปรุงระบบ ICT ของ สบน. ให้สามารถเป็นเครือ่ งมือเชิงกลยุทธ์ทสี่ นับสนุน การด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ภารกิจหน้าที่ น�ำเทคนิค วิธกี าร และความก้ า วหน้ า ทางนวั ต กรรมเทคโนโลยี ม าใช้ ใ นการ สนับสนุนการปฏิบัติงานของบุคลากร สบน. ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ และต่อเนื่อง ซึ่งในการด�ำเนินงานด้าน ICT นั้น ศทส. ได้ให้ความส�ำคัญต่อการบูรณาการระบบ ICT ตามแนวนโยบายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) และ แนวทางการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง (Risk Management) มาใช้ร่วมกันในการด�ำเนินงานด้าน ICT ของ สบน. อย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่อง แนวนโยบายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) ของรัฐบาลได้กำ� หนดแนวทางของการบริหารจัดการระบบ ICT ของหน่วยงานภาครัฐที่ส�ำคัญ คือ • วางแผน ก�ำหนดและประยุกต์ใช้ระบบ ICT ให้ตรงตาม ยุทธศาสตร์ ภารกิจหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของหน่วยงานตนเอง • บูรณาการข้อมูลสารสนเทศด้วยระบบ ICT ร่วมกับ หน่วยงานอื่นๆ ได้อย่างเหมาะสม • จัดหาองค์ประกอบของระบบ ICT ได้แก่ อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ (Hardware) ระบบสารสนเทศ (Software) ระบบเครือข่าย (Network) บุคลากร (Peopleware) ที่มี ประสิทธิภาพและทันสมัย

ปฏิมา พักตร์ผ่อง นักวิชาการคลังปฏิบัติการ

• สนั บ สนุ น การให้ บ ริ ก ารด้ า นข้ อ มู ล ข่ า วสารของ หน่วยงานได้เต็มที่ อีกทั้งในเรื่องของการพัฒนาการเชื่อมโยง แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐยังต้องค�ำนึงถึง หลักการ TH e-GIF (Thailand e-Government Interoperability) ซึ่งเป็นกรอบพื้นฐานส�ำหรับการท�ำงานร่วมกันของหน่วยงาน ภาครัฐ และเป็นสถาปัตยกรรมพื้นฐานของระบบ ICT ส�ำหรับ การพั ฒ นาหน่ ว ยงานให้ มี ร ะบบ Smart Services โดยมี ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ท�ำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ ได้ง่ายขึ้น สามารถประหยัดเวลา และลดค่าใช้จ่ายได้ • บริหารจัดการภาครัฐมีความโปร่งใส และสามารถ พั ฒ นาหน่ ว ยงานเป็ น Connected Government ที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการให้ บ ริ ก ารของ ภาครัฐ อันจะน�ำไปสู่การเป็นหน่วยงานภาครัฐที่ด�ำเนินการตาม แนวนโยบาย e-Government ศทส. จึงก�ำหนดกรอบการด�ำเนินงานด้าน ICT ให้ สอดคล้องตามแนวทาง e-Government ดังนี้ • ก�ำหนดนโยบายและแผนสารสนเทศ พัฒนาและ จัดหาเครื่องมือด้าน ICT ได้แก่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ระบบ สารสนเทศ ระบบเครื อ ข่ า ย ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ภารกิจหน้าทีข่ อง สบน. และสามารถบูรณาการระบบ ICT ร่วมกับ หน่วยงานทั้งภายในและภายนอก สบน. ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

96 • พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและช่องทางการติดต่อ สื่อสารของ สบน. ให้ประชาชนและหน่วยงานอื่นๆ สามารถ เข้าถึงอย่างสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น • ระบบ ICT ทีใ่ ช้ใน สบน. จะต้องมีความเหมาะสม ถูกต้อง ครบถ้ ว นและทั น สมั ย สามารถเป็ น ศู น ย์ ก ลางด้ า นระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT Data Center) ของ สบน. ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ • พัฒนาศักยภาพ ความรู้ และทักษะด้าน ICT ให้แก่ บุคลากรผูร้ บั ผิดชอบงานด้าน ICT อย่างสม�ำ่ เสมอและต่อเนือ่ ง จากความส�ำคัญของการด�ำเนินงานด้าน ICT ตามแนว นโยบาย e-Government ดังกล่าว ศทส. จึงบริหารจัดการความ เสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT Risk Management) ควบคู่กัน เพื่อหาวิธีการป้องกันปัญหา/ความเสี่ยงด้าน ICT ที่

อาจเกิดขึ้น อันจะส่งผลกระทบต่อระบบ ICT ของ สบน. เพื่อ ให้การน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้สนับสนุนการปฏิบัติงาน นั้นเกิดประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม และเพื่อลดโอกาสความ เสียหายที่อาจเกิดขึ้น แนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี สารสนเทศที่ด�ำเนินการมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางที่ใช้ ตรวจสอบและประเมินความเสีย่ งด้านสารสนเทศให้สอดคล้อง กับหลักการบริหารความเสีย่ ง ทัง้ ด้วยวิธกี ารคาดการณ์ลว่ งหน้า ในกรณีที่หากความเสี่ยงนั้นเกิดขึ้นจริงและน�ำแนวทางจัดการ ความเสี่ ย งนี้ ไ ปใช้ ใ นการด� ำ เนิ น งานในช่ ว งระยะเวลาจริ ง ของการปฏิบัติงาน

IT PDMO Risk e-Government Process Define risk policy and standards (TH e-GIF)

Policies and standards

Identify and Assess risks

Risks assessment

Prioritize risks and assignresponsibility

Prioritized risks and assignments

Ongoing measurement and status

Monitor and track risks

Status of actions

Address risks

กระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงด้าน ICT ตามแนวนโยบาย e-Government ของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

องค์ประกอบของความเสี่ยงด้าน ICT

• ความเสีย่ ง (Risk) หมายถึง เหตุการณ์หรือการกระท�ำ ด้าน ICT ใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นภายในสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และจะส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย (ทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่เป็นตัวเงิน) หรือก่อให้เกิดความล้มเหลวหรือลดโอกาส ทีจ่ ะบรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้าหมายของหน่วยงาน ทัง้ ในด้าน ยุทธศาสตร์การปฏิบตั งิ าน การเงิน และการบริการ ซึง่ อาจเป็น ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ผลกระทบทางบวกด้วยก็ได้ โดยวัดจากผลกระทบ (Impact) ที่ ได้รับ และโอกาสที่จะเกิด (Likelihood) ของเหตุการณ์ • ปัจจัยเสี่ยง (Risk Factor) หมายถึง ต้นเหตุหรือ สาเหตุที่มาของความเสี่ยงที่จะท�ำให้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ ก�ำหนดไว้ โดยต้องระบุได้ด้วยว่าเหตุการณ์นั้นจะเกิดที่ไหน

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

เมือ่ ใด เกิดขึน้ ได้อย่างไร และท�ำไมจึงเกิดขึน้ ทัง้ นี้ สาเหตุของ ความเสี่ยงที่ระบุควรเป็นสาเหตุที่แท้จริง เพื่อจะได้วิเคราะห์ และก�ำหนดมาตรการลดความเสีย่ งในภายหลังได้อย่างถูกต้อง • การประเมิ น ความเสี่ ย ง (Risk Assessment) หมายถึง กระบวนการระบุความเสีย่ ง การวิเคราะห์ความเสีย่ ง และจัดล�ำดับความเสี่ยง โดยการประเมินจากโอกาสที่จะเกิด (Likelihood) และผลกระทบ (Impact) เมือ่ ท�ำการประเมินแล้ว ท�ำให้ทราบระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) หมายถึง สถานะของความเสี่ ย งที่ ไ ด้ จ ากการประเมิ น โอกาสและ ผลกระทบของแต่ละปัจจัยเสี่ยง แบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง และต�่ำ • การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) หมายถึง กระบวนการที่ใช้ในการบริหารจัดการ ให้โอกาส ที่จะเกิด เหตุการณ์ความเสี่ยงลดลง หรือผลกระทบของความเสียหาย จากเหตุการณ์ความเสีย่ งลดลงอยูใ่ นระดับทีห่ น่วยงานยอมรับ ได้ ซึ่งการจัดการความเสี่ยงสรุปได้เป็น 4 แนวทางหลัก คือ - การยอมรับ - การลด/ควบคุม - การยกเลิก - การโอนย้ายหรือแบ่งความเสี่ยง • การควบคุม (Control) หมายถึง นโยบาย แนวทาง หรือขั้นตอนปฏิบัติต่างๆ ซึ่งกระท�ำเพื่อลดความเสี่ยง และ ท�ำให้การด�ำเนินงานบรรลุวตั ถุประสงค์ แบ่งได้ 4 ประเภท คือ - การควบคุมเพื่อการป้องกัน - การควบคุมเพื่อให้ตรวจสอบ - การควบคุมโดยการชี้แนะ - การควบคุมเพื่อการแก้ไข

วัตถุป ระสงค์ข องการบริห ารจัดการความเสี่ยง ด้าน ICT • เพื่อให้การบริหารจัดการด้าน ICT ของ สบน. มี ประสิทธิภาพ และมีความยืดหยุ่นในการปรับตัวให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ รวมทั้งลด โอกาสที่จะเกิดความเสียหายต่อ ICT

97 • เพือ่ เตรียมความพร้อมและรองรับสถานการณ์ฉกุ เฉิน ที่อาจเกิดขึ้นกับระบบ ICT ของ สบน. • เพื่อให้มีการวางแผนและควบคุมไม่ให้เกิดหรือลด ความเสี่ยง และสามารถลดผลกระทบไม่ให้เกิดผลเสียหายที่ อาจจะเกิดขึ้นจากความเสี่ยงด้านระบบ ICT • เพื่ อ เป็ น แนวทางการด� ำ เนิ น งาน การก� ำ กั บ ดู แ ล การตรวจสอบเกีย่ วกับการบริหารจัดการ และการเผยแพร่ความ รู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงด้านระบบ ICT • เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการตัดสินใจ โดยค�ำนึงถึง ปัจจัยเสี่ยงและความเสี่ยงในด้านต่างๆ ที่น่าจะมีผลกระทบ กับการด�ำเนินงาน วัตถุประสงค์ และนโยบาย แล้วพิจารณา หาแนวทางในการป้องกันหรือจัดการกับความเสี่ยงเหล่านั้น ทั้งก่อนที่จะเริ่มปฏิบัติงาน และในช่วงที่ด�ำเนินงานตามแผน บริหารความเสี่ยง ศทส. ใช้หลักการวิเคราะห์ ประเมิน และบริหารจัดการ ความเสี่ยงอย่างเหมาะสมตามกระบวนการบริหารความเสี่ยง ตามมาตรฐาน COSO (Committee of Sponsoring Organization of the Tread way Commission) ทีส่ อดคล้อง กับระบบการควบคุมภายใน (Internal Control System) และ ระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management System) ของ สบน. ทีไ่ ด้ดำ� เนินงานเป็นประจ�ำทุกปีและควบคูก่ นั อยูแ่ ล้ว โดย มีองค์ประกอบในการบริหารจัดการความเสี่ยงด้าน ICT ดังนี้ • การก�ำหนดเป้าหมายการบริหารความเสีย่ ง (Objective Setting) • การระบุความเสี่ยงต่างๆ (Event Identification) • การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) • กลยุทธ์ที่ใช้ในการจัดการกับแต่ละความเสี่ยง (Risk Response) • กิจกรรมการบริหารความเสี่ยง (Control Activities) • ข้ อ มู ล และการสื่ อ สารด้ า นบริ ห ารความเสี่ ย ง (Information and Communication) • การติ ด ตามผลและเฝ้ า ระวั ง ความเสี่ ย งต่ า งๆ (Monitoring)

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


98

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)

การประเมินค่าความเสี่ยง (Risk Evaluation)

จากการวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านระบบ ICT ของ สบน. สามารถแยกประเภทความเสี่ยงเป็น 4 ประเภท ดังนี้ • ความเสี่ยงด้านเทคนิค เป็นความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น จากระบบคอมพิวเตอร์ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ ระบบโปรแกรม ที่อาจเกิดถูกโจมตีจากไวรัสหรือโปรแกรมไม่ประสงค์ดี เช่น ถูกก่อกวนจากผู้ก่อกวนระบบ (Hacker) ถูกเจาะท�ำลายระบบ ฐานข้อมูลจากผู้เจาะข้อมูล (Cracker) เป็นต้น • ความเสีย่ งจากผูป้ ฏิบตั งิ าน เป็นความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการด�ำเนินการ การจัดความส�ำคัญในการเข้าถึงข้อมูลไม่ เหมาะสมกับการใช้งานหรือการให้บริการของผู้ใช้งาน (User) โดยผู้ใช้อาจเข้าสู่ระบบสารสนเทศ หรือใช้ข้อมูลต่างๆ ของ สบน. เกินกว่าอ�ำนาจหน้าที่ของตนเองที่มีอยู่ และอาจท�ำให้ เกิดความเสียหายต่อข้อมูลสารสนเทศได้ หรืออาจเกิดจาก ขาดความรู้ความเข้าใจ หรือความไม่เชี่ยวชาญด้าน ICT ของ ผู้ใช้งาน • ความเสีย่ งจากภัยหรือสถานการณ์ฉกุ เฉิน เป็นความเสีย่ ง ที่อาจเกิดจากภัยพิบัติตามธรรมชาติหรือสถานการณ์ร้ายแรง ที่ก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงกับข้อมูลสารสนเทศ เช่น ไฟฟ้าขัดข้อง น�้ำท่วม ไฟไหม้ อาคารถล่ม การชุมนุมประท้วง ปิดล้อมสถานที่ท�ำงาน หรือเหตุการณ์ความไม่สงบเรียบร้อย ในบ้านเมือง เป็นต้น • ความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการ เป็นความเสี่ยงจาก การบริหารจัดการ เช่น นโยบายจากรัฐบาล กระทรวง การให้ ความส�ำคัญของผู้บริหาร ความร่วมมือของบุคลากรภายใน สบน. ที่อาจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินการด้านสารสนเทศ งบประมาณที่สนับสนุนการด�ำเนินงาน เป็นต้น

พิจารณาจากปัจจัยจากขั้นตอนที่ผ่านมา ได้แก่ โอกาส ที่ ภั ย คุ ก คามจะเกิ ด ขึ้ น ท� ำ ให้ ร ะบบขาดความมั่ น คง ระดั บ ผลกระทบหรือความรุนแรงของภัยคุกคามที่มีต่อระบบ และ ประสิทธิภาพของแผนการควบคุมความปลอดภัยของระบบ ICT การวัดระดับความเสี่ยงมีการก�ำหนดแผนภูมิความเสี่ยง ที่ได้จากการพิจารณาจัดระดับความส�ำคัญของความเสี่ยงจาก โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ผลกระทบที่เกิดขึ้น และขอบเขต ของระดับความเสี่ยงที่สามารถยอมรับได้ ดังนั้น

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 99

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ระดับความเสี่ยง = โอกาสในการเกิดเหตุการณ์ต่างๆ x ความรุนแรงของเหตุการณ์ต่างๆ

ผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk reporting) ผลการประเมินความเสี่ยงที่ได้จากกระบวนการบริหาร จั ด การความเสี่ ย ง สามารถน� ำ มาจั ด ล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ ความจ�ำเป็น และความเร่งด่วนของความเสี่ยงที่เกิดขึ้นและ คาดว่าจะเกิดขึ้นได้ และน�ำมาใช้วางแผน การบริหารจัดการ ป้องกันและจัดการแก้ไขความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งนั้นคือ ผลสัมฤทธิ์และแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้องส�ำหรับการ บริหารจัดการความเสี่ยงด้านระบบ ICT ของ สบน. นั่นเอง

การประมาณความเสี่ยง (Risk Estimation) พิจารณาถึงปัญหาความเสีย่ งในแง่ของโอกาสการเกิดเหตุ (Incident) หรือเหตุการณ์ (Event) ว่ามีมากน้อยเพียงไร และ ผลที่ตามมาว่ามีความรุนแรงหรือเสียหายมากน้อยเพียงใด เกณฑ์ การประมาณที่เป็นการก�ำ หนดเกณฑ์ที่จะใช้ ในการ ประมาณความเสีย่ งด้าน ICT ได้แก่ ระดับโอกาสทีจ่ ะเกิดความเสีย่ ง ระดับความรุนแรงของผลกระทบ และระดับความเสี่ยง ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ภาพรวมหนี้สาธารณะ ปงบประมาณ 2556 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

100

ภาพรวมหนี้สาธารณะ ปีงบประมาณ 2556

Public Debt Overview FY 2013

1. หนีส้ าธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 มีจ�ำนวน 5,430,560.04 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 45.86 ของ GDP โดยเป็นหนี้ของรัฐบาล 3,774,819.49 ล้านบาท หนีร้ ฐั วิสาหกิจทีไ่ ม่เป็นสถาบันการเงิน 1,112,973.85 ล้านบาท หนี้ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ เ ป็ น สถาบั น การเงิ น (รั ฐ บาลค�้ ำ ประกั น ) 541,932.01 ล้านบาท และหนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 834.69 ล้ า นบาท เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ยอดหนี้ ส าธารณะคงค้ า ง ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 ที่มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 4,937,239.62 หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นสุทธิ 493,320.42 ล้านบาท โดยหนี้ของ รัฐบาล หนีร้ ฐั วิสาหกิจทีไ่ ม่เป็นสถาบันการเงิน และหนีร้ ฐั วิสาหกิจ ที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้ำประกัน) เพิ่มขึ้น 96,695.49 ล้านบาท 13,419.10 ล้านบาท และ 17,792.66 ล้านบาท ตามล�ำดับ ในขณะที่หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐลดลงสุทธิจาก ปีก่อนหน้า 4,897.52 ล้านบาท

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

1. Public debt outstanding as of September 30, 2013 Public debt outstanding as of September 30, 2013 was 5,430,560.04 million Baht or equivalent to 45.86 percent of GDP. The total debt outstanding was comprised of 3,774,819.49 million Baht of government debt, 1,112,973.85 million Baht of Non-Financial State-Owned Enterprises (SOEs) debt, 541,932.01 million Baht of Financial SOEs debt with Government Guarantee and 834.69 million Baht of Other Government Agencies debt which was the debt of the Energy Fund of Administration Institute and the Neighboring Countries Economic Development Cooperation Agency. Comparing to the public debt outstanding at the end of last fiscal year, the debt outstanding increased 493,320.42 million Baht, which was a result from the rising in government debt, Non-Financial SOEs debt and Financial SOEs debt (government guaranteed) in amount of 96,695.49 million Baht, 13,419.10 million Baht and 17,792.66 million Baht, respectively. While the Other Government Agencies debt was decreased 4,897.52 million Baht. (details as shown in Table 1)

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

101

ตารางที่ 1 หนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2555 และ วันที่ 30 กันยายน 2556 Table 1 Public Debt Outstanding as of 30 September 2012 and 30 September 2013 หน่วย : ล้านบาท Unit : Million THB

หนี้สาธารณะ Public Debt

ก.ย. 55 SEP 2012

% GDP

ก.ย. 56 SEP 2013

% GDP

เพิ่ม/ลด Increase/ Decrease

1. หนี้ที่รัฐบาลกู้ โดยตรง Direct Government Dept 1.1 หนี้ต่างประเทศ (External Debt) 1.2 หนี้ในประเทศ (Domestic Debt) - เงินกู้ชดเชยการขาดดุลงบประมาณและการบริหารหนี้ Deficit Financing and Debt Management - ระยะสั้น (Treasury Bill and Short Term Loan) - ระยะยาว (Bonds Other Debt Securities) - หนี้ที่รัฐกู้เพื่อชดเชยความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อ การฟื้นฟูฯ FIDF’s Loss Compensation - FIDF 1 - FIDF 3 - เงินกู้เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ Loan for stimulus package No.2, (TKK) - เงินกู้เพื่อนำ�เข้ากองทุนส่งเสริมการประกันภัพิบัติ Financing for Disaster Insurance Promotion Fund - เงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน�้ำ Financing for Constructuring the System for Managing Water - เงินกู้ ให้กู้ต่อ On-Lending - เงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างหนี้ต่างประเทศที่กระทรวง การคลังค�้ำประกัน Financimg Restructuring SOE’s External Debt Guaranteed by MOF

3,515,010.95

32.35

3,774,819.49

31.88

259,808.54

2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน Non-Financial State Enterprise Debt 2.1 หนี้ต่างประเทศ (External Debt) - หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน (Guaranteed Debt) - หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน (Non-Guaranteed Debt) 2.2 หนี้ในประเทศ (Domestic Debt) - หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน (Guaranteed Debt) - หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน (Non-Guaranteed Debt) 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้ำประกัน) Financial Institutions Guaranteed Debt 3.1 หนี้ต่างประเทศ (External Debt) 3.2 หนี้ในประเทศ (Domestic Debt)

52,647.68 3,462,363.27 1,913,616.78

69,836.14 3,704,983.35 2,147,997.43

17,188.46 242,620.08 234,380.65

102,135.00 1,811,481.78 1,133,131.85

102,135.00 2,045,862.43 1,108,070.25

(0.01) 234,380.65 (25,061.60)

463,275.20 669,856.65 398,572.29

458,775.20 649,295.05 396,349.29

(4,500.00) (20,561.60) (2,223.00)

86.41

-

(86.41)

1,800.00

16,250.00

14.450.00

15,155.95 -

23,516.38 12,800.00

8ฒ360.43 12,800.00

1,064,287.82 282,814.73 160,111.84 122,702.89 781,473.09 335,365.67 446,107.42 352,207.35 5,209.35 346,998.00

9.80

1,112,973.85

3.24

304,555.82 113,263.51 191,292.31 808,418.03 335,852.50 472,565.53 541,932.01 3,679.21 538,252.80

9.40

48,686.03

4.58

21,741.09 (46,848.33) 68,589.42 26,944.94 486.83 26,458.11 189,724.66 (1,530.14) 191,254.80

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

102 หนี้สาธารณะ Public Debt 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ (FIDF Debt) 4.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน (Guaranteed Debt) 4.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน (Non-Guaranteed Debt) 5. หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ (Other Government Agencies Debt) 5.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน (Guaranteed Debt) 5.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน (Non-Guaranteed Debt) GDP ณ สิ้นปีงบประมาณ รวม Total

1.1 หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง

ก.ย. 55 SEP 2012

5,732.21 0.05 5,732.21 10,865,428.00 4,937,238.33 45.44

หนีท้ รี่ ฐั บาลกูโ้ ดยตรงในปีงบประมาณ 2556 เพิม่ ขึน้ สุทธิ 259,808.54 ล้านบาท โดยการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญเกิดจาก การก่อหนี้ภายในประเทศ ดังนี้ • การกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณและการ บริหารหนี้เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 234,380.65 ล้านบาท เกิดจาก กระทรวงการคลังได้ออกตราสารหนี้เพื่อชดเชยการขาดดุล วงเงิน 281,948.76 ล้านบาท และออกตราสารหนีเ้ พือ่ บริหารหนี้ วงเงิน 379,709 ล้านบาท ทั้งนี้ มีการช�ำระคืนหนี้ในปี 2556 จ�ำนวน 47,568.13 ล้านบาท • การเบิกจ่ายเงินกู้ภายใต้พระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจ กระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อวางระบบบริหารจัดการน�้ำและ สร้างอนาคตประเทศ พ .ศ. 2555 เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 14,450 ล้านบาท โดยเป็นการทยอยเบิกจ่ายจากสัญญาที่กระทรวงการคลัง ได้ลงนามเพื่อกู้เงินกับธนาคารพาณิชย์ต่างๆ ได้แก่ ธนาคาร ออมสิน ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) และธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) เมื่อ วันที่ 30 เมษายน 2556 และ 27 มิถุนายน 2556 วงเงินรวม 399,999 ล้านบาท • การกู้เงินในประเทศของรัฐบาลมาเพื่อปรับโครงสร้าง หนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจที่กระทรวงการคลังค�้ำประกัน จ� ำ นวน 12,800 ล้ า นบาท เพื่ อ เป็ น การประหยั ด ต้ น ทุ น ลดความเสี่ ย งด้ า นอั ต ราแลกเปลี่ ย น หรื อ กระจายภาระ การช�ำระหนี้ โดยที่ผ่านมากระทรวงการคลังได้มีการกู้เงินใน ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

% GDP

ก.ย. 56 SEP 2013

% GDP

834.69 0.01 834.69 11,840,827.00 5,430,560.04 45.86

1.1 Government Debt

เพิ่ม/ลด Increase/ Decrease (4,897.52) (4,897.52) 493,321.71

Government Debt in FY 2013 increased 259,808.54 million Baht mainly as a result from the following reasons: • Increasing in the borrowing for budget deficit and debt management in amount of 234,380.65 million Baht. Ministry of Finance by PDMO issued government bonds to finance the budget deficit in amount of 281,948.76 million Baht, debt management securities 139,209 million baht. However, there was redemption for the due debt in FY 2013 in amount of 47,568.13 million Baht. • The disbursement under Water Resource Management and Future Development Decree B.E. 2555 in amount of 14,450 million Baht from 349,999 million Baht bank loan agreements which PDMO has signed with 4 major domestic banks since April 30, 2013 and June 27, 2013. • Ministry of Finance by PDMO has borrowed from domestic market to restructure the SOEs’ external debt with MOF guarantee in amount of 12,800 million Baht to minimize the cost of borrowing, reduce exchange rate risk and distribute debt repayment. As a result, government debt was increased while SOEs debt was

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ประเทศเพื่อช�ำระหนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจที่กระทรวง การคลังค�้ำประกันไม่เกินจ�ำนวนเงินที่ยังมีภาระค�้ำประกันอยู่ ท� ำ ให้ ห นี้ ต ่ า งประเทศของรั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ ก ระทรวงการคลั ง ค�้ำประกันลดลงและหนี้ในประเทศของรัฐบาลเพิ่มขึ้น ซึ่งในปี 2556 การเพิ่ มขึ้ นของหนี้ ส่ ว นนี้ มาจากการกู ้ เ งิ นเพื่ อปรั บ โครงสร้างหนี้เงินกู้ของ Japan International Cooperation Agency (JICA) ให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ที่กระทรวงการคลังค�้ำประกัน จ�ำนวน 9,300 ล้านบาท และ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) จ�ำนวน 3,500 ล้านบาท ในเดือน เมษายน และพฤษภาคม 2556 ตามล�ำดับ • การเพิ่มขึ้นของเงินกู้เพื่อให้รัฐวิสาหกิจกู้ต่อ จ�ำนวน 8,360.43 ล้านบาท โดยเป็นการให้กตู้ อ่ แก่รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน แห่งประเทศไทย วงเงินรวม 9,644.52 ล้านบาท เพื่อด�ำเนิน โครงการรถไฟฟ้าสายสีน�้ำเงิน ช่วงหัวล�ำโพง-บางแค และ ช่วงบางซือ่ -ท่าพระ และสายสีเขียว ช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ และการให้กู้ต่อแก่การรถไฟแห่งประเทศไทย วงเงินรวม 715.91 ล้านบาท เพื่อด�ำเนินโครงการระบบขนส่งมวลชนทาง รางในพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑล (สายสีแดง) บางซือ่ -รังสิต และโครงการปรับปรุงทางรถไฟที่ไม่ปลอดภัย เป็นส�ำคัญ • การเพิ่มขึ้นของหนี้ต่างประเทศ จ�ำนวน 17,188.46 ล้านบาท จากการเบิกจ่ายเงินกู้เพิ่มเติมจากสัญญาเงินกู้ที่ ได้ลงนามไว้กับธนาคารโลกเพื่อใช้ในการด�ำเนินโครงการ ฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) จ�ำนวน 12,603.08 ล้านบาท และการเบิกจ่ายเงินกู้โครงการรถไฟฟ้า สายสีม่วงและโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในพื้นที่ กรุงเทพและปริมณฑล (สายสีแดง) ที่ได้ลงนามไว้กับ JICA จ�ำนวน 5,125.39 ล้านบาท

1.2 หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน

ในปี 2556 หนีร้ ฐั วิสาหกิจทีไ่ ม่เป็นสถาบันการเงินเพิม่ ขึน้ สุทธิ 48,686.03 ล้านบาท เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของหนี้ ต่างประเทศทีร่ ฐั บาลไม่คำ�้ ประกัน จ�ำนวน 68,589.42 ล้านบาท เป็นส�ำคัญ • ต่างประเทศเพิ่มขึ้นสุทธิ 21,741.09 ล้านบาท - หนีท้ รี่ ฐั บาลไม่คำ�้ ประกัน เพิม่ ขึน้ สุทธิ 68,589 ล้านบาท สาเหตุส�ำคัญมาจากการกู้เงินของบริษัท การบินไทย จ�ำกัด

103 decreased. In FY 2013, PDMO restructured the JICA loans for the Mass Rapid Transit Authority (MRTA) for 9,300 million Baht in April and the Provincial Electricity Authority for 3,500 million Baht in May. • Increasing in on-lending debt to SOEs in amount of 8,360.43 million Baht. MOF has on-lended to MRTA 9,644.52 million Baht to finance on the blue line and green line projects and also to the State Railway of Thailand (SRT) in the amount of 715.91 million Baht to finance on the red line train in suburb zone and maintenance projects. • Increasing in external debt in amount of 17,188.46 million Baht as a result from the disbursement of Development Policy Loan (DPL) from the World Bank in the amount of 12,603.08 million Baht and the disbursement from JICA’s loan to finance on purple line of mass rapid transit and red line train in suburb zone in the amount of 5,125.39 million Baht.

1.2 Non-Financial State-Owned Enterprise Debt

In FY 2013, Non-Financial SOEs debt was increased 48,686.03 million Baht as a result from the following reasons: • Increasing in external debt 21,741.09 million Baht - Non – Guaranteed debt was increased 68,589 million Baht. The major cause came from raising of the Thai Airways debt in amount of 26,458.11 million Baht and PTT Public Company Limited debt 1,025 million USD. However, those organizations have no exchange rate risk since their incomes are in foreign currency (Natural Hedged).

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


104 (มหาชน) ทีเ่ พิม่ ขึน้ สุทธิ 26,458.11 ล้านบาท รวมทัง้ การเพิม่ ขึน้ สุทธิของการกู้เงินของบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 1,025 ล้านเหรียญสหรัฐ อย่างไรก็ดี หน่วยงานดังกล่าวมี รายรับเป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับรายจ่าย ในการช�ำระหนี้ต่างประเทศ (Natural Hedged) จึงนับว่าหนี้ ในส่วนนี้ไม่มีความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน - หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน ลดลงสุทธิ 46,848.33 ล้านบาท จากการช�ำระคืนหนี้ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจ อาทิ การรถไฟฟ้ า ขนส่ ง มวลชนแห่ ง ประเทศไทย บริ ษั ท ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) และการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค เป็นต้น โดยหนี้ที่ช�ำระคืนส่วนใหญ่เป็นหนี้ในสกุลเงินเยน • หนี้ในประเทศ เพิ่มขึ้นสุทธิ 26,944.94 ล้านบาท - หนีท้ รี่ ฐั บาลค�ำ้ ประกัน เพิม่ ขึน้ สุทธิ 486.83 ล้านบาท โดยสาเหตุสำ� คัญมาจากการเบิกจ่ายเงินกูข้ ององค์การสวนยาง การรถไฟแห่งประเทศไทย และองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ที่เพิ่มมากกว่าวงเงินรวมในการช�ำระคืนหนี้ - หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน เพิ่มขึ้นสุทธิ 26,485.11 ล้านบาท โดยมาจากการเบิกจ่ายเงินกู้ที่เพิ่มขึ้นมากกว่าการ ช�ำระคืนหนี้ของบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) และการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยเป็นส�ำคัญ

1.3 หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้ำประกัน)

หนี้ ข องรั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ เ ป็ น สถาบั น การเงิ น (รั ฐ บาล ค�้ำประกัน) ในปีงบประมาณ 2556 เพิ่มขึ้นสุทธิ 189,724.66 ล้านบาท โดยหนี้ในประเทศที่เพิ่มขึ้น จ�ำนวน 191,254.80 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นหนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกันให้แก่ธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ภายใต้วงเงิน ที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติส�ำหรับใช้ด�ำเนินโครงการรับจ�ำน�ำข้าว

1.4 หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ

หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐในปีงบประมาณ 2556 ลดลง สุทธิ 4,897.52 ล้านบาท มาจากการลดลงของหนี้ที่รัฐบาล ไม่ค�้ำประกัน เนื่องจากมีการช�ำระคืนหนี้ระยะสั้นของสถาบัน บริ ห ารกองทุ น พลั ง งาน จ� ำ นวน 5,050 ล้ า นบาท และ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

- Guaranteed debt was decreased from SOEs principal repayment in amount of 46,848.33 million Baht, of which mostly in Japanese Yen. • Increasing in domestic debt 26,944.94 million Baht - Guaranteed debt increased in amount of 486.83 million Baht. The significant reason was an increase in SOEs disbursement mainly from the Rubber Estate Organization, the State Railway of Thailand and the Bangkok Mass Transit Authority which was more than their repayment during the year. - Non – Guaranteed debt was increased in amount of 26,485.11 million Baht, mainly was from the PTT Public Company Limited and the Electricity Generating Authority of Thailand’s disbursement.

1.3 Financial State-Owned Enterprise Debt (Government guaranteed)

In FY 2013, Financial SOEs Debt with government guaranteed was increased 189,724.66 million Baht, mainly from an increase in domestic debt in the amount of 191,254.80 million Baht, of which mostly from domestic guaranteed debt for the Bank of Agriculture and Agricultural cooperatives (BAAC) to conduct the Rice Pledging Scheme.

1.4 Other Government Agencies Debt

The Other Government Agencies Debt in FY 2013 was decreased 4,897.52 million Baht due to repayment of the Energy Fund’s debt 5,050 million Baht and a small increase in the Neighboring Countries Economic Development Cooperation Agency’s debt in amount of 152.48 million Baht.

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

105

การเบิกจ่ายเงินกู้ระยะยาวของส�ำนักงานความร่วมมือพัฒนา เศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (สนพ.) ในปี 2556 จ�ำนวน 152.48 ล้านบาท

2. องค์ประกอบของหนี้สาธารณะ ตาราง 2 หนี้ต่างประเทศและหนี้ในประเทศ Table 2 External and Domestic debt สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้าง ณ 30 กันยายน 2556 1. หนี้ของรัฐบาล Government Debt 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน Financial SOE’S Debt 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้ำประกัน) Non-Financial SOE’S Debt (Guaranteed) 4. หนี้สินของกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ FIDF Debt 5. หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ Other Government Agencies Debt รวม Total

หนี้ต่างประเทศ External Debt (ล้านบาท) %

หนี้สาธารณะ (ล้านบาท)

หนี้ในประเทศ Domestic Debt (ล้านบาท) %

3,657,756.16

69,836.14

1.85

3,704,983.35

98.15

1,076,174.39

304,555.82

27.36

808,418.03

72.64

490,222.06

3,6790.21

0.68

538,252.80

99.32

-

-

-

-

-

813.37

-

-

834.69

100.00

5,224,965.98

378,071.17

6.96

5,052,488.87

93.04

ในปีงบประมาณ 2556 หนี้สาธารณะคงค้างส่วนใหญ่ เป็นหนี้ในประเทศ คิดเป็นร้อยละ 93 ของหนี้ทั้งหมด หนี้ ต่างประเทศเป็นสัดส่วนน้อยเพียงร้อยละ 7 ของหนีท้ งั้ หมด ซึง่ หนีต้ า่ งประเทศเกือบทัง้ หมดเป็นของรัฐวิสาหกิจทีค่ ดิ เป็นร้อยละ 82 ของหนี้ต่างประเทศทั้งหมด อย่างไรก็ดี สบน. ยังคงให้ ความส�ำคัญในการบริหารความเสี่ยงหนี้ต่างประเทศจ�ำนวนนี้ โดยการแปลงหนีส้ กุลเงินตราต่างประเทศเป็นสกุลเงินบาทเพือ่ ปิดความเสีย่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ น นอกจากนี้ สบน. ยังด�ำเนินการบริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุกโดย การช�ำระคืนหนีก้ อ่ นครบก�ำหนดและการกูใ้ หม่เพือ่ ช�ำระคืนหนี้ เงินกู้เดิมเพื่อเป็นการประหยัดต้นเงินและดอกเบี้ย โดยในปี 2556 สามารถประหยัดต้นทุนจากการบริหารความเสี่ยงหนี้ คงค้างทัง้ ในประเทศและต่างประเทศได้ประมาณ 7,600 ล้านบาท

2. Components of Public Debt Most of the public debt at the end of FY 2013 was domestic debt, which was accounted for 93% of total debt. While the external debt ratio was still at reasonably low level at 7%, most of the external debt (about 82% of total external debt) came from SOEs. In addition, PDMO has concerned on managing the foreign exchange rate risk by using Cross Currency Swap (CCS). Besides, PDMO also proactive managed debt to reduce costs by prepayment and refinance. In FY 2013, our risk management, both domestic and external, could save the cost of principal and interest payment around 7,600 million Baht. PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

106

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ 107

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

ตารางที่ 3 สัดส่วนอัตราดอกเบี้ยของหนี้คงค้างและอายุหนี้เฉลี่ย ณ 30 กันยายน 2556 Table 3 Interest Rate Ratio and Time to Maturity of Outstanding Debt as of September 30, 2013 อัตราดอกเบี้ยลอยตัว Floating Rate หนี้สาธารณะ Public Debt หนี้ของรัฐบาล Government Debt หนี้ของรัฐวิสาหกิจ SOE’S Debt

อายุเฉลี่ยของหนี้ ATM

17.3

82.8

6.7

14.5

85.5

8.1

27.2

72.9

4.5

อายุหนีเ้ ฉลีย่ ของหนีส้ าธารณะทัง้ หมดคิดเป็น 6.7 ปี โดย อายุหนี้เฉลี่ยหนี้รัฐบาลคิดเป็น 8.1 ปี และอายุหนี้เฉลี่ยของ รัฐวิสาหกิจคิดเป็น 4.5 ปี ทัง้ นี้ หนีค้ งค้าง ณ สิน้ ปีงบประมาณ 2556 เป็นการกูเ้ งินแบบอัตราดอกเบีย้ คงที่ ร้อยละ 85.5 อัตรา ดอกเบีย้ ลอยตัว ร้อยละ 14.5 ของหนีส้ าธารณะทัง้ หมด หนีเ้ งินกู้ ของรัฐบาลที่เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่คิดเป็นร้อยละ 87 และ เป็นการกูเ้ งินอัตราดอกเบีย้ ลอยตัว ร้อยละ 13 ของหนีร้ ฐั บาล ทัง้ หมด ขณะทีร่ ฐั วิสาหกิจมีหนีท้ เี่ ป็นอัตราดอกเบีย้ คงที่ ร้อยละ 73 และอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ร้อยละ 27 ของหนี้รัฐวิสาหกิจ ทัง้ หมด ซึง่ ในอนาคต สบน. มีแผนทีจ่ ะบริหารความเสีย่ งหนีใ้ น ประเทศ โดยการแปลงภาระดอกเบีย้ ลอยตัวเป็นอัตราดอกเบีย้ คงที่ในช่วงที่อัตราดอกเบี้ยมีแนวโน้มจะเข้าสู่ช่วงขาขึ้น เพื่อ ลดความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยและบริหาร ต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น แนวทางการบริหารจัดการหนี้สาธารณะในอนาคต สบน. จะให้ความส�ำคัญแก่การบริหารหนี้สาธารณะในเชิงรุกเพื่อ ให้ ส ามารถจั ด หาเงิ น กู ้ ที่ มี ต ้ น ทุ น ต�่ ำ และอยู ่ ภ ายใต้ ก รอบ ความเสีย่ งทีย่ อมรับได้ รวมทัง้ ให้การกูเ้ งินมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผลสูงสุด และ สบน. มีเป้าหมายในการบริหาร จัดการหนีใ้ ห้อยูภ่ ายใต้กรอบความยัง่ ยืนทางการคลังทีป่ จั จุบนั ก�ำหนดไว้ที่ร้อยละ 60 ของ GDP เพื่อรักษาวินัยทางการคลัง และความน่าเชื่อถือของประเทศในระยะต่อไป ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

อัตราดอกเบี้ยคงที่ Fixed Rate

Furthermore, average time to maturity of total public debt, government debt and SOEs debt was 6.7, 8.1 and 4.5 years, respectively. At the end of FY 2013, fixed interest rate was the largest portion of outstanding debt portfolio or around 85.5% of total debt. While floating rate was around 14.5% of total debt. Also, SOEs outstanding debt portfolio was comprised of 73% of fixed interest rate and 27% of floating interest rate. PDMO also has strategic risk management plan minimize the possible risk which caused by interest rate volatility through Interest Rate Swap (IRS). Proactive public debt management is a main strategy to handle with the outstanding debt with maximum efficiency and minimize cost of funding under acceptable risk level. In addition, PDMO has targeted to maintain the public debt level to be under the fiscal sustainability framework at 60% of GDP to maintain the fiscal discipline and country’s credit profile. For the future public debt management strategy, PDMO will focus on the pro-active debt management in order to efficiently and effectively finance the funding need with low cost under the acceptable risk.

ประมวลภาพกิจกรรม ของสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

108

ประมวลภาพกิจกรรม

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

พิธีลงนามส่งและรับมอบสินทรัพย์ของ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

109

ผอ.สบน.เข้าร่วมการประชุมนานาชาติ Euromoney Conference : The Global Borrower Asia Investor Forum 2012 นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผอ.สบน. เข้าร่วม การประชุมนานาชาติ Euromoney Conference : The Global Borrower Asia Investor Forum 2012 และเป็ น ผู ้ ร ่ ว มเสวนา (Panelist) ในหั ว ข้ อ Inflation Investing โดยมี นั ก ลงทุ น สถาบั น ทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนจากนานาชาติ เ ข้ า ฟั ง การเสวนา ณ เขตบริหารพิเศษฮ่องกง เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2555

ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) จัดพิธลี งนาม ส่งและรับมอบสินทรัพย์ ระหว่างนายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล รองปลัดกระทรวงการคลัง และนางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (ผอ.สบน.) ท่านใหม่ โดยมีข้าราชการระดับบริหารเข้าร่วมจ�ำนวน 50 คน พิธีลงนามดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งและ รับมอบสินทรัพย์ ซึ่งประกอบด้วย เอกสารเกี่ยวกับ งบทดลอง รายงานฐานะเงินทดรองราชการ รายละเอียด เงินฝากธนาคาร รายละเอียดลูกหนี้เงินยืม รายละเอียด ครุ ภั ณ ฑ์ แ ละอุ ป กรณ์ และรายละเอี ย ดเจ้ า หนี้ ณ ห้องประชุม 401 เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2555

บทบาทของ ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะใน ABMI ผอ.สบน. เข้าร่วมการประชุมประจ�ำปีสภาผู้ว่าการ ธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ และ การประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผอ.สบน. เข้าร่วมการประชุม ประจ�ำปีสภาผู้ว่าการธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่าง ประเทศ และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีปลัดกระทรวง การคลัง หัวหน้าคณะผู้แทนไทย และผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน เศรษฐกิ จ การคลั ง เข้ า ร่ ว มการประชุ ม ในครั้ ง นี้ ด ้ ว ย ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นระหว่างวันที่ 9-13 ตุลาคม 2555

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

นายประวิช สารกิจปรีชา ที่ปรึกษาด้าน หนี้ ส าธารณะ สบน. เป็ น ประธานกล่ า ว เปิ ด การประชุ ม สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเรื่ อ ง 2nd Government Bond Markets in ASEAN+3 ในฐานะกระทรวงการคลังไทย ซึ่งเป็นเจ้าภาพ การจัดประชุมร่วมกับกระทรวงการคลังญี่ปุ่น (Co-Chair) ณ นครคุ น หมิ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2555

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

110

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

111

พิธมี อบหนังสือแต่งตัง้ ตัวแทนจ�ำหน่ายพันธบัตรรัฐบาล ประเภททยอยช�ำระคืนเงินต้น (Amortized Bond)

สบน. ร่วมออกบูธในงานมหกรรมการลงทุนครบวงจรแห่งปี SET in the City กรุงเทพมหานคร 2012

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผอ.สบน. เป็นประธานในพิธีมอบ หนังสือแต่งตั้งตัวแทนจ�ำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลประเภททยอยช�ำระ คืนเงินต้น (Amortized Bond) ให้กับ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารดอยซ์แบงก์ และธนาคารฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้ แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด เป็นตัวแทนร่วมจ�ำหน่าย Amortized Bond (Joint - Lead Managers for Amortized Bond) เพื่อ ท� ำ หน้ า ที่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ร ายละเอี ย ดต่ า งๆ ให้ กั บ นั ก ลงทุ น ทั้งในและต่างประเทศ ตลอดจนร่วมกับ สบน. ในการก�ำหนด กลยุทธ์ในการจ�ำหน่ายเพื่อสนับสนุนให้การออก Amortized Bond ประสบความส� ำ เร็ จ สู ง สุ ด ณ ห้ อ งประชุ ม วายุ ภั ก ษ์ 4 อาคาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2555

นางสาวจุฬารัตน์ สุธธี ร ผอ.สบน. พร้อมคณะ ให้การต้อนรับ นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลัง และนายจรัมพร โชติกเสถียร กรรมการและ ผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในโอกาสเยี่ยมชม บูธภายใต้งานมหกรรมการลงทุนครบวงจรแห่งปี SET in the City กรุงเทพมหานคร 2012ณ รอยัล พารากอน ฮอลล์ ชั้น 5 สยามพารากอน เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2555

พิธเี ปิดการแข่งขันกีฬาวายุภกั ษ์สมั พันธ์ ประจ�ำปี 2555 นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผอ.สบน. พร้อมด้วยบุคลากร สบน. เข้าร่วมพิธีเปิดการแข่งขันกีฬาวายุภักษ์สัมพันธ์ ประจ�ำปี 2555 โดยมีนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธานในพิธีดังกล่าว ณ สนามหญ้า กระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2555

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

พิธีมอบรางวัล และสัมมนาทางวิชาการ โครงการดัชนีวัดความโปร่งใสของ หน่วยงานภาครัฐ ประจ�ำปี 2554 นายประวิ ช สารกิ จ ปรี ช า ที่ ป รึ ก ษาด้ า น หนี้สาธารณะ เป็นผู้แทน สบน. เข้ารับมอบรางวัล หน่วยงานที่ผ่านการประเมินดัชนีวัดความโปร่งใส ของหน่วยงานภาครัฐ ประจ�ำปี 2554 ในพิธีมอบ รางวัล และสัมมนาทางวิชาการ โครงการดัชนีวัด ความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ ประจ�ำปี 2554 ณ อาคาร 3 ชั้น 2 ห้องนนทบุรี 2 ส�ำนักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาติ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2555

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


112

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

รอง ผอ.สบน. เข้าร่วมพิธีลงนามความร่วมมือและการสัมมนาโครงการขนส่งเชียงใหม่อย่างยั่งยืน

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

การฝึกอบรม ปฐมนิเทศบุคลากรใหม่ ของ สบน. รุ่นที่ 5 : ช่วงที่ 2 ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ ส�ำนักงานเลขานุการกรม จั ด กิ จ กรรมการฝึ ก อบรมหลั ก สู ต รปฐมนิ เ ทศ ส�ำหรับบุคลากรใหม่ รุน่ ที่ 5 ณ โรงไฟฟ้าล�ำตะคอง ชลภาวัฒนา และโรงแรมกรีนเนอรี่ รีสอร์ท จั ง หวั ด นครราชสี ม า ระหว่ า งวั น ที่ 15-16 กุมภาพันธ์ 2556

นายสุวิชญ โรจนวานิช รอง ผอ.สบน. เข้าร่วม พิธีลงนามความร่วมมือและการสัมมนาโครงการขนส่ง เชียงใหม่อย่างยัง่ ยืน (Chiang Mai Sustainable Urban Transport Project) ซึ่งธนาคารโลกได้ให้การสนับสนุน ความช่วยเหลือทางการเงินแบบให้เปล่าแก่เทศบาลนคร เชียงใหม่ วงเงิน 729,630 เหรียญสหรัฐ เพื่อเป็นการ วางแผนการจัดการขนส่งและจราจรร่วมกับการวางแผน การใช้ที่ดินอย่างเหมาะสม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2555 ณ โรงแรม เลอ เมอร์ริเดียน จังหวัดเชียงใหม่

พิธีลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเพื่อ การจ�ำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบี้ย แปรผันตามการเปลี่ยนแปลงของเงินเฟ้อ (Inflation Linked Bond : ILB) รุ่นอายุ 15 ปี และการพบปะนักลงทุนแบบกลุ่ม (One-on-Group Invester Meeting) นางสาวจุฬารัตน์ สุธธี ร ผอ.สบน. ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือเพือ่ การจ�ำหน่ายพันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบีย้ แปรผันตามการเปลีย่ นแปลงของเงินเฟ้อ (Inflation Linked Bond : ILB) รุ่นอายุ 15 ปี และพบปะนักลงทุนแบบกลุ่ม (One-on-Group Invester Meeting) ร่วมกับผู้แทนจากธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารดอยซ์แบงค์ เอจี (สาขากรุงเทพฯ) และธนาคารฮ่องกงและ เซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่นจ�ำกัด (สาขากรุงเทพฯ) ณ ห้องประชุม วายุภักษ์ 4 อาคารส�ำนักงานปลัด กระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2556

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

113

ผอ. สบน. เข้ารับรางวัลส่วนราชการส่งเสริม การบริหารทรัพยากรบุคคลดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2556 นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผอ.สบน. เข้ารับรางวัลส่วนราชการ ส่งเสริมการบริหารทรัพยากรบุคคลดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2556 ทั้งนี้ สบน. ได้เข้าร่วมจัดนิทรรศการ เพื่อแสดงผลงานดีเด่น ภายในงาน วันมูลนิธิพันเอกจินดา ณ สงขลา ณ ห้ อ งประชุ ม จิ น ดา ณ สงขลา อาคารศูนย์สัมมนา ส�ำนักงาน ก.พ. จั ง หวั ด นนทบุ รี เมื่ อ วั น ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2556

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


114

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

นิทรรศการ การลงทุนของประชาชน เพื่อประชาชน Thailand 2020 ก้าวใหม่ เชื่อมไทยสู่โลก นายกิตติรตั น์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และนายชัชชาติ สิทธิพนั ธุ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม ร่วมเปิด นิทรรศการ การลงทุนของประชาชน เพือ่ ประชาชน Thailand 2020 ก้าวใหม่เชื่อมไทยสู่โลก โดยมี นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผอ.สบน. ร่วมเสวนา ในหัวข้อ ยุทธศาสตร์และแผนการระดมทุนส�ำหรับโครงการการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งของประเทศ และแนวทางการบริหารจัดการโครงการ ณ อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคาร B) ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติและ คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2556

พิ ธี ส รงน�้ ำ พระและรดน�้ ำ ขอพรผู ้ บ ริ ห าร เนื่องในโอกาสวันสงกรานต์ (วันขึ้นปีใหม่ไทย) ประจ�ำปี 2556 ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ของ สบน. เข้าร่วมพิธีสรงน�้ำพระและรดน�้ำขอพรผู้บริหาร สบน. เนื่องในโอกาสวันสงกรานต์ (วันขึ้นปีใหม่ไทย) ประจ�ำปี 2556 ณ ห้องประชุม 401 สบน. เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2556

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

115

ส� ำ นั ก จั ด การหนี้ 2 แลกเปลี่ ย นความรู ้ แ ละ ประสบการณ์ด้านการจัดระดับความน่าเชื่อถือ รัฐวิสาหกิจ (SOE Credit Scoring) ส�ำนักจัดการหนี้ 2 เข้าพบเจ้าหน้าทีข่ อง MINISTRY OF STRATEGIES AND FINANCE, KOREA CREDIT GUARANTEE FUND และ FINANCIAL SUPERVISORY SERVICE เพือ่ แลกเปลีย่ นความรูแ้ ละประสบการณ์ดา้ น การจัดระดับความน่าเชื่อถือรัฐวิสาหกิจ (SOE Credit Scoring) ณ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างวันที่ 9 - 11 เมษายน 2556

พิธีเปิดงาน “มหกรรมการเงิน ครั้งที่ 13” (MONEY EXPO 2013) นายกิ ต ติ รั ต น์ ณ ระนอง รองนายยกรั ฐ มนตรี และรั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงการคลั ง เป็ น ประธาน ในพิธีเปิดงาน “มหกรรมการเงิน ครั้งที่ 13” (MONEY EXPO 2013) และให้เกียรติเข้าเยี่ยมชมบูธของ สบน. โดยมีนางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผอ.สบน. พร้อมคณะ ร่ ว มให้ ก ารต้ อ นรั บ ณ อาคารชาเลนเจอร์ อิ ม แพ็ ค เมืองทองธานี เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2556

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

116

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

พิธีมอบประกาศเกียรติคุณรับรองคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certified FL) ประจ�ำปี พ.ศ. 2556

ผอ.สบน น�ำคณะบุคลากรเข้าวางแจกันดอกไม้ ถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ

นายสุวชิ ญ โรจนวานิช รอง ผอ.สบน. นางสาวพรทิพย์ พันเลิศยอดยิง่ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร และนางสาวสมหญิง ด�ำรงแสง เศรษฐกรช� ำ นาญการ เข้ า รั บ ประกาศเกี ย รติ คุ ณ รั บ รองคุ ณ ภาพ การบริหารจัดการภาครัฐระดับพืน้ ฐาน (Certified FL) ประจ�ำปี พ.ศ. 2556 ณ โรงแรมโกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2556

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

117

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร ผอ.สบน. น�ำคณะบุคลากร สบน. เข้าวางแจกันดอกไม้ถวายพระพรพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และสักการะ พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ณ ศิริราช 100 ปี โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2556

ผอ.สบน. เข้าร่วมการประชุม CCO-MOF สัญจรครั้งที่ 1 ประจ�ำปี พ.ศ. 2556

งานวันคุณธรรม จริยธรรม และ ความโปร่งใส ประจ�ำปี 2556

นางสาวจุฬารัตน์ สุธธี ร ผอ.สบน. เข้าร่วมการประชุม CCO-MOF สั ญ จรครั้ ง ที่ 1 ประจ� ำ ปี พ.ศ. 2556 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) โดยมีนายอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลั ด กระทรวงการคลั ง เป็ น ประธานในการประชุ ม ดังกล่าว ณ ห้องสุรนารีบอลรูม โรงแรมดุสิต ปริ้นเซส โคราช จังหวัดนครราชสีมา พร้อมทั้งได้ท�ำการลงพื้นที่ บ้านท่ามะนาว อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งจะใช้เป็นสถานที่ก่อสร้างสถานีรถไฟความเร็วสูง กรุงเทพฯ-หนองคาย ตามนโยบายของรัฐบาล ทีต่ อ้ งการ น�ำที่ราชพัสดุสร้างสถานีรถไฟฟ้าความเร็วสูง เพื่อให้ ภาคเอกชนเข้ า มาร่ ว มลงทุ น พั ฒ นาเชิ ง พาณิ ช ย์ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2556

น า ง ส า ว ว ร า ภ ร ณ ์ ป ั ญ ญ ศิ ริ ผู้อ�ำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และนางสาวสิรภิ า สัตยานนท์ ผูอ้ ำ� นวยการ ส่ ว นนโยบายและแผนการระดมทุ น ส�ำนักบริหารการระดมทุนฯ เข้ารับมอบ รางวั ล ประกาศเกี ย รติ คุ ณ ข้ า ราชการ ผู้ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการ พลเรื อ น เนื่ อ งในงานวั น คุ ณ ธรรม จริยธรรม และความโปร่งใส ประจ�ำปี 2556 เมื่ อ วั น ที่ 6 สิ ง หาคม 2556 ณ ห ้ อ ง ป ร ะ ชุ ม สุ ขุ ม นั ย ป ร ะ ดิ ษ ฐ ส�ำนักงาน ก.พ. จังหวัดนนทบุรี

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


118

สบน. เปิดตัวโครงการสัมมนาวิชาการสัญจร ปี 3 สบน. เปิ ดตัวโครงการสัม มนาวิช าการสัญจร ปี 3 (PDMO Roadshow) ภายใต้โครงการส่งเสริมภาพลักษณ์ ที่ดีของหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 เพื่อ สร้างความรู้ ความเข้าใจ และส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของ หนีส้ าธารณะ รวมถึงการบริหารจัดการหนีส้ าธารณะของ สบน. ให้แก่นสิ ติ นักศึกษา ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ระหว่างวันที่ 17 สิงหาคม - 2 กันยายน 2556

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

119

โครงการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารของส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ ประจ�ำปี พ.ศ. 2556 สบน.จัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการของ สบน. ประจ�ำปี พ.ศ. 2556 เพือ่ บริหารความสัมพันธ์ ในการท�ำงาน เสริมสร้างความสามัคคี และเพื่อ ใ ห ้ เ กิ ด ก า ร ท� ำ ง า น อ ย ่ า ง มี ค ว า ม สุ ข แ ล ะ สร้างบรรยากาศในการท�ำงานที่ดี ณ โรแมนติค รีสอร์ทแอนด์สปา เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างวันที่ 6-8 กันยายน 2556

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

120

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

121

ท�ำเนียบผู้บริหาร พ.ศ. 2556 การมอบใบอนุ ญ าตผู ้ ค ้ า หลั ก ส� ำ หรั บ ธุ ร กรรม ประเภทซื้ อ ขายขาดของกระทรวงการคลั ง (MOF Outright PD) นางสาวจุ ฬ ารั ต น์ สุ ธี ธ ร ผอ.สบน. ให้ เ กี ย รติ ม อบ ใบอนุ ญ าตผู ้ ค ้ า หลั ก ส� ำ หรั บ ธุ ร กรรมประเภทซื้ อ ขายขาด ของกระทรวงการคลัง (MOF Outright PD) แก่ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน) โดยมีนายสุภัค ศิวะรักษ์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผูแ้ ทนรับมอบใบอนุญาตฯ ณ ห้องประชุม 401 สบน. เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2556

รอง ผอ.สบน. รักษาการในต�ำแหน่งที่ปรึกษาด้านตลาดตราสารหนี้ เข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการอ�ำนวยการบริหารของหน่วยงานค�้ำประกันเครดิตและ การลงทุนแห่งภูมิภาคอาเซียน+3 (Credit Guarantee and Investment Facility : CGIF) ครั้งที่ 3/2556 และการประชุมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นายสุวิชญ โรจนวานิช รอง ผอ.สบน. รักษาการในต�ำแหน่งที่ปรึกษา ด้านตลาดตราสารหนี้ ในฐานะกรรมการอ�ำนวยการส�ำรอง (Alternate Director) ของกลุ ่ ม ประเทศอาเซี ย น เดิ น ทางเข้ า ร่ ว มการประชุ ม คณะกรรมการอ� ำ นวยการบริ ห ารของหน่ ว ยงานค�้ ำ ประกั น เครดิ ต และ การลงทุนแห่งภูมิภาคอาเซียน+3 (Credit Guarantee and Investment Facility : CGIF) ครัง้ ที่ 3/2556 และได้ปฏิบตั หิ น้าทีป่ ระธานคณะกรรมการ ตรวจสอบ (Audit Committee) ของ CGIF รวมถึงเข้าร่วมการประชุม คณะกรรมการควบคุมภายในและบริหารความเสีย่ ง (Internal Control and Risk Management Committee) ณ ส�ำนักงานใหญ่ธนาคารพัฒนาเอเชีย กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ระหว่างวันที่ 10-11 กันยายน 2556

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ที่อยู่ : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ที่ปรึกษาด้านหนี้สาธารณะ

นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร โทรศัพท์ : 0-2265-8051 0-2273-9825 0-2265-8050 ต่อ 5100 โทรสาร : 0-2273-9167 อีเมล : chularat@pdmo.go.th

นายทวี ไอศูรย์พิศาลศิริ (รักษาการ) โทรศัพท์ : 0-2618-3381 0-2265-8050 ต่อ 5107 โทรสาร : 0-2273-9822 อีเมล : thavee@pdmo.go.th

ที่ปรึกษาด้านตลาดตราสารหนี้

รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

นายสุวิชญ โรจนวานิช โทรศัพท์ : 0-2273-9158 0-2265-8052 0-2265-8050 ต่อ 5104 โทรสาร : 0-2273-9109 อีเมล : suwit@pdmo.go.th

นายทวี ไอศูรย์พิศาลศิริ โทรศัพท์ : 0-2618-3381 0-2265-8050 ต่อ 5107 โทรสาร : 0-2273-9822 อีเมล : thavee@pdmo.go.th

ส�ำนักจัดการหนี้ 1 ผู้อ�ำนวยการ

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 2

นายวิสุทธิ์ จันมณี โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5300 โทรสาร : 0-2618-4705 อีเมล : wisut@pdmo.go.th

นางสาวยอดเยาวมาลย์ สุคนธพันธุ์ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5303 อีเมล : yod@pdmo.go.th

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเงินกู้โครงการ

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 3

นายณรงค์ แก้วเศวตพันธุ์ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5403 อีเมล : narong@pdmo.go.th

นายยุทธพงศ์ เอี่ยมแจ้ง โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5305 อีเมล : yuthapong@pdmo.go.th

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 1

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้หน่วยงานอื่น

นายถาวร เสรีประยูร โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5304 อีเมล : tharwon@pdmo.go.th

นายฐิติเทพ สิทธิยศ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5302 อีเมล : thitithep@pdmo.go.th PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


122

รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ส�ำนักจัดการหนี้ 2

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

123

ส�ำนักบริหารการช�ำระหนี้

ผู้อ�ำนวยการ

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารจัดการเงินกู้ต่างประเทศรัฐวิสาหกิจ

ผู้อ�ำนวยการ

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารการช�ำระหนี้ต่างประเทศ

นางสาวศิรสา กันต์พิทยา โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5400 โทรสาร : 0-2278-4151 อีเมล : sirasa@pdmo.go.th

นางสาวเสาวนีย์ จันทพันธ์ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5412 อีเมล : saowanee@pdom.go.th

นางสาวชิดชไม ไมตรี โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5604 อีเมล : chidchamai@pdmo.go.th

ผู้เชี่ยวชาญด้านหนี้สาธารณะ และความเสี่ยงทางเครดิต

ผู้อ�ำนวยการส่วนเงินกู้ตลาดเงินทุนต่างประเทศ และการจัดระดับความน่าเชื่อถือ

นายเอด วิบูลย์เจริญ โทรศัพท์ : 0-2265-8053 0-2265-8050 ต่อ 5600 โทรสาร : 0-2273-9735 อีเมล : ace@pdmo.go.th

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านบริหารการช�ำระหนี้

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารเงินกองทุน

นางชนันภรณ์ พิศิษฐวานิช (รักษาการ) โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5404 อีเมล : chanunporn@pdmo.go.th

นางสาวอรุณวรรณ ยมจินดา โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5402 อีเมล : arunwan@pdmo.go.th

นายเอกราช เขื่อนขันธ์สถิตย์ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5113 อีเมล : ekaraj@pdmo.go.th

นางพรพิมล บุนนาค โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5603 อีเมล : pornpimon@pdmo.go.th

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารจัดการเงินกู้ ในประเทศรัฐวิสาหกิจ

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารจัดการเงินให้กู้ต่อและ การช�ำระหนี้รัฐวิสาหกิจ

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารการช�ำระหนี้ในประเทศ

นางชนันภรณ์ พิศิษฐวานิช โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5404 อีเมล : chanunporn@pdmo.go.th

นางปัณฑารีย์ ศรีแก้วพันธ์ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5406 อีเมล : puntaree@pdmo.go.th

ส�ำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ

ส�ำนักนโยบายและแผน ผู้อ�ำนวยการ

ผู้อ�ำนวยการส่วนความร่วมมือระหว่างประเทศ

นายธาดา พฤฒิธาดา โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5500 โทรสาร : 0-2273-9144 อีเมล : tada@pdmo.go.th

นางสาวอุปมา ใจหงษ์ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5503 อีเมล : upama@pdmo.go.th

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านหนี้สาธารณะและเงินคงคลัง

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์แผนการบริหารความเสี่ยง

นางสุณี เอกสมทราเมษฐ์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5506 โทรสาร : 0-2273-9144 อีเมล : sunee@pdmo.go.th

นางฉัตรมณี สินสิริ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5504 อีเมล : chatmanee@pdmo.go.th

ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและแผน

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิจัยนโยบายหนี้สาธารณะ

นางสาวนีรชา มรกตราภรณ์ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5514 อีเมล : neeracha@pdmo.go.th

นางสาวรานี อิฐรัตน์ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5505 อีเมล : ranee@pdmo.go.th

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

นายอัคนิทัต บุญโญ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5602 อีเมล : aknetat@pdmo.go.th

ผู้อ�ำนวยการ

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์และจัดการเงินทุน โครงการ 1

นายธีรัชย์ อัตนวานิช โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5700 โทรสาร : 0-2357-3576 อีเมล : theeraj@pdmo.go.th

ร.ต.ต.หญิงจารุณี เล็กด�ำรงศักดิ์ (รักษาการ) โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2271-7999 ต่อ 5710 อีเมล : jarunee@pdmo.go.th

ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านบริหารหนีส้ าธารณะและภาระผูกพัน ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์และจัดการเงินทุน โครงการ 2 นางสาวอัญจนา วงศ์สว่าง โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2271-7999 ต่อ 5705 อีเมล : anchana@pdmo.go.th

นางสาวเบญจมาศ เรืองอ�ำนาจ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2271-7999 ต่อ 5704 อีเมล : benjamart@pdmo.go.th

ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและแผนการระดมทุน

ผู้อ�ำนวยการศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย

นางสาวพรทิพย์ พันเลิศยอดยิ่ง โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2271-7999 ต่อ 5703 อีเมล : porntip@pdmo.go.th

นางอนงค์นาฏ โมราสุข โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2271-7999 ต่อ 5702 อีเมล : anongnart@pdmo.go.th

PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

124 ส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ผู้อ�ำนวยการ

ผูอ้ ำ� นวยการส่วนบริหารกองทุนและพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน

นางสาวพิมพ์เพ็ญ ลัดพลี (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5802 โทรสาร : 0-2357-3576 อีเมล : pimpan@pdmo.go.th

นางสาวโสภิดา ศรีถมยา โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2271-7999 ต่อ 5804 อีเมล : sophida@pdmo.go.th

ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาตลาดตราสารหนี้

ผูอ้ ำ� นวยการส่วนนโยบายตลาดตราสารหนีร้ ะหว่างประเทศ

นางสาวพิมพ์เพ็ญ ลัดพลี (รักษาการ) โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2271-7999 ต่อ 5802 อีเมล : pimpan@pdmo.go.th

นายนครินทร์ พร้อมพัฒน์ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2271-7999 ต่อ 5812 อีเมล : nakarin@pdmo.go.th

ANNUAL REPORT 2013 PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE

125

หัวหน้าฝ่ายการเจ้าหน้าที่

หัวหน้าฝ่ายพัสดุ

นางรุ่งระวี รุกเขต โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5116 อีเมล : rungrawee@pdmo.go.th

นายธีระศักดิ์ อิญญาวงค์ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5119 อีเมล : tearasak@pdmo.go.th

หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป นางสาวสุพรรณพิมพ์ บุญทิพย์ โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5705 อีเมล : supanpim@pdmo.go.th

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้อ�ำนวยการส่วนพัฒนาตลาดตราสารหนี้รัฐบาล

ผู้อ�ำนวยการ

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารระบบข้อมูลสารสนเทศ

นายณัฐการ บุญศรี โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2271-7999 ต่อ 5803 อีเมล : nattakarn@pdmo.go.th

นางสาววราภรณ์ ปัญญศิริ โทรศัพท์ : 0-2265-8062 0-2265-8050 ต่อ 5200 โทรสาร : 0-2298-5481 อีเมล : waraporn@pdmo.go.th

นางสาวจันทิรา ตรงรัศมีทอง โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5610 อีเมล : janthira@pdmo.go.th

ส�ำนักบริหารการระดมทุนระบบบริหารจัดการน�้ำ ผู้อ�ำนวยการ

ผู้อ�ำนวยการส่วนก�ำกับ ติดตาม และประเมินผลโครงการ

นางจินดารัตน์ วิริยะทวีกุล (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5777 โทรสาร : 0-2357-3576 อีเมล : jindarat@pdmo.go.th

ร.ต.ต.หญิงจารุณี เล็กด�ำรงศักดิ์ (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2271-7999 ต่อ 5710 อีเมล : jarunee@pdmo.go.th

ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและแผนการลงทุน นางอรพร ถมยา (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2271-7999 ต่อ 5722 อีเมล : onraporn@pdmo.go.th

ส�ำนักงานเลขานุการกรม

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์นโยบายและแผนสารสนเทศ นายครรชิต พะลัง (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5209 อีเมล : kanchit@pdmo.go.th

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

กลุ่มกฎหมาย

ผู้อ�ำนวยการ

ผู้อ�ำนวยการ

นางสาวสิริภา สัตยานนท์ (รักษาการ) โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5900 โทรสาร : 0-2618-3399 อีเมล : siribra@mof.go.th

นายธีรเดช ลิขิตตระกูลวงศ์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5913 โทรสาร : 0-2273-9058 อีเมล : teeradet@pdmo.go.th

เลขานุการกรม

หัวหน้าฝ่ายคลัง

กลุ่มตรวจสอบภายใน

นายธีรลักษ์ แสงสนิท โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5110 โทรสาร : 0-2273-9147 อีเมล : teeralak@pdmo.go.th

นางสาวมนัสนันท์ ประเสริฐผล โทรศัพท์/โทรสาร : 0-2265-8050 ต่อ 5117 อีเมล : manusanan@pdmo.go.th

ผู้อ�ำนวยการ

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

นางสาวอุปมา ใจหงษ์ (รักษาการ) โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5503 โทรสาร : 0-2618-3384 อีเมล : upama@pdmo.go.th PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE


รายงานประจ�ำปี 2556 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

126

คณะผู้จัดท�ำรายงานประจ�ำปี พ.ศ. 2556 1. นายอัคนิทัต บุญโญ

นักวิชาการคลังช�ำนาญการพิเศษ

ประธานคณะท�ำงาน

2. นายธีรวัฒน์ ทิพย์รัตน์

เศรษฐกรช�ำนาญการ

คณะท�ำงาน

3. ดร.สุเนตรา เล็กอุทัย

เศรษฐกรช�ำนาญการ

คณะท�ำงาน

4. นางสาวสมหญิง ด�ำรงแสง

เศรษฐกรช�ำนาญการ

คณะท�ำงาน

5. นายวรวุฒิ แซ่ลิ่ม

เศรษฐกรช�ำนาญการ

คณะท�ำงาน

6. นางสาวศิรี จงดี

เศรษฐกรปฏิบัติการ

คณะท�ำงาน

7. นางสาวภัสราภา ตั้งกาญจนภาสน์

นักวิชาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ

คณะท�ำงาน

8. นางสาวปฏิมา พักตร์ผ่อง

นักวิชาการคลังปฏิบัติการ

คณะท�ำงาน

9. นายรักชาติ วัชรานนท์

นิติกรปฏิบัติการ

คณะท�ำงาน

10. นางสาวกิตติยา ไชยเทพ

เศรษฐกรปฏิบัติการ

คณะท�ำงาน

11. นางสาววรารักษ์ ชมมณี

นักวิชาการคลังปฏิบัติการ

คณะท�ำงาน

12. นางสาวพรรณทิพา วรรณพาหุล

เศรษฐกรปฏิบัติการ

คณะท�ำงาน

13. นางสาวธิติพร ยงชัยหิรัญ

เศรษฐกรปฏิบัติการ

คณะท�ำงาน

14. นางสาววรรณิตา ลอยอ�่ำ

นักวิชาการเงินและบัญชี

คณะท�ำงาน

15. นางสาวธัญญดา วัฒนสุวรรณ์

เศรษฐกร

คณะท�ำงาน

16. นางสาวสุพรรณพิมพ์ บุญทิพย์

นักจัดการงานทั่วไปช�ำนาญการ

คณะท�ำงานและเลขานุการ

17. นางสาวพนิดา เกรียงทวีทรัพย์

นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ

คณะท�ำงานและผู้ช่วยเลขานุการ

18. นางสาวนิศรากร ศัทธาคลัง

นักประชาสัมพันธ์

คณะท�ำงานและผู้ช่วยเลขานุการ

19. นายทัพพ์อมร ศุภางค์ร�ำไพ

นักจัดการงานทั่วไป

คณะท�ำงานและผู้ช่วยเลขานุการ

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.