รายงานประจำปี 2558

Page 1

59-04-030_COVER Annual_P-NEW16-08-Coated.pdf

1

8/16/16

1:47 PM

san=10.5mm

size=8.25x11in

59-04-030_COVER Annual_P-NEW16-08-Coated


พระบรมราโชวาท

พระราชทานแก่ข้าราชการพลเรือน เนื่องในวันข้าราชการพลเรือน วันพุธ ที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๘ งานราชการนั้น คืองานของแผ่นดิน มีผลเกี่ยวเนื่องถึงประโยชน์ของบ้านเมืองและประชาชน ทุกคน. งานทุกอย่าง จึงต้องมีผปู้ ฏิบตั แิ ละมีผรู้ บั ช่วง เพือ่ ให้งานด�ำเนินต่อเนือ่ งไป ไม่ขาดสาย. ดังนั้น ผู้ปฏิบัติบริหารงานราชการทุกฝ่ายทุกระดับ จึงไม่ควรยกเอาเรื่องใครเป็นผู้ท�ำมาก่อน หรือใครเป็นผู้รับช่วงงาน ขึ้น เป็นข้อส�ำคัญนัก จะต้องถือประโยชน์ที่จะเกิดจากงาน เป็น หลักใหญ่ แล้วร่วมกันคิดร่วมกันท�ำ ด้วยความอุตสาหะเสียสละ และด้วยความสุจริตจริงใจ. งานทุกอย่างจึงจะด�ำเนินไปได้ อย่างราบรื่น ไม่ติดขัด และส�ำเร็จผลเป็นประโยชน์ ได้แท้จริง และยั่งยืนตลอดไป. อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช วันที่ ๓๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๘


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

1


สารบัญ

contents

ผลการปฏิบัติราชการ ประจ�ำปี 2558 ตามแผนยุทธศาสตร์ ส�ำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ

วิสัยทัศน์ ค่านิยม ประเด็นยุทธศาสตร์ พันธกิจ Vision Values Strategies Mission

04

08

โครงสร้างปัจจุบัน ของส�ำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ

10

12

สารจากผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ

เป้าประสงค์ กลยุทธ์

Message from the Director-General

Objectives Strategic Implementation Plan

14

เปรียบเทียบ งบประมาณ

15 16

จ�ำนวนข้าราชการ ณ วันที่ 30 กันยายน 2558

คณะผู้บริหาร

30


งบการเงินของ ส�ำนักงานบริหาร หนี้สาธารณะ

31

44

บทความของ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ • 3 ปี หนี้ลด พบทางออก กับพระราชก�ำหนดปรับปรุงการบริหาร หนี้เงินกู้ FIDF พ.ศ. 2555 • สบน. .... กับ 9 ส�ำคัญของการพัฒนารถไฟไทย (- จีน) • การติดตามและประเมินผลความคุ้มค่าของโครงการ ลงทุนภาครัฐที่ใช้เงินกู้ • “การจัดซื้อจัดจ้างของ สบน. ผ่านระบบ e-GP ดีอย่างไร” • กองทุนบริหารเงินกู้เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ และพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ (กปพ.) • การพัฒนาธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร (Bond Buy-Back Transaction) เพื่อความคล่องตัวในการบริหารหนี้ของรัฐบาล • ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน (Foreign Exchange Rate Risk)

62

• ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก • ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาตลาดตราสารหนี้ให้เป็นเสาหลัก ทางการเงิน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ของระบบการเงิน • ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ

98 108

ภาพรวม หนี้สาธารณะ ปีงบประมาณ 2558

126

131

ประมวลภาพ กิจกรรม

138

ท�ำเนียบผู้บริหาร

ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย

คณะผู้จัดท�ำ รายงานประจ�ำปี 2558


สารจากผู้อ�ำนวยการ MESSAGE FROM THE DIRECTOR-GENERAL

ในรอบปี 2558 ภาพรวมเศรษฐกิ จ โลกยั ง มี ก าร ชะลอตัว โดยเฉพาะประเทศคู่ค้าส�ำคัญของไทย ส่งผลให้ ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการของไทยปรับลดลง ต�่ำกว่าที่คาดการณ์ ดังนั้น เพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่ นักลงทุนทั้งจากในประเทศและต่างประเทศ รัฐบาลได้มี นโยบายและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจที่ส�ำคัญต่างๆ ของประเทศผ่านการลงทุนของภาครัฐ เช่น การลงทุน ในโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย (พ.ศ. 2558-2565) การบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำและระบบ ขนส่งทางถนนระยะเร่งด่วน เป็นต้น

4

In fiscal year 2015, Thailand’s exports of goods and services decreased from expected levels due to the slowdown of global economy; especially in the main trading partners of Thailand. Hence, the government has launched several stimulus measures to boost the economy through public investment such as the Thailand’s Transport Infrastructure Development Strategy (2015-2022), the Water Resource and Road Network Management Projects (urgent phase), etc.


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

5


ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) มีบทบาท ส�ำคัญอย่างยิ่งในการจัดหาเงินลงทุนเพื่อสนับสนุนการ พั ฒ นาประเทศตามนโยบายรั ฐ บาล โดยต้ น ปี 2558 ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ประกาศปรับลดอัตราดอกเบีย้ นโยบายลง ประกอบกับประเทศในกลุ่ม EU และญี่ปุ่น ประกาศใช้นโยบายอัตราดอกเบีย้ ติดลบ ท�ำให้มเี งินลงทุน ไหลเข้าประเทศไทยเพื่อลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลเพิ่มขึ้น ส่ ง ผลให้ อั ต ราผลตอบแทนเฉลี่ ย ของพั น ธบั ต รรั ฐ บาล ลดลง จึงเป็นโอกาสที่ดีของ สบน. ที่สามารถระดมทุนได้ ครบถ้วนตามความต้องการรัฐบาลในต้นทุนที่เหมาะสม และต�่ำกว่าปีที่ผ่านมา รวมทั้งสามารถปรับโครงสร้างหนี้ รั ฐ บาลและหนี้ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ จ ะครบก� ำ หนด ซึ่ ง มี ก าร กระจุกตัวในช่วง 1-2 ปีขา้ งหน้า ให้มอี ายุหนีท้ ยี่ าวขึน้ ด้วย ต้นทุนที่ต�่ำกว่าเดิม ส่งผลให้ยอดหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกันยายน 2558 มีจํานวน 5,783,323.19 ล้านบาท หรือร้อยละ 43.11 ของ GDP ซึง่ สบน. สามารถ บริหารจัดการหนี้สาธารณะดังกล่าวให้อยู่ภายใต้กรอบ ความยั่งยืนทางการคลังที่ไม่เกินร้อยละ 60 ได้

PDMO is one of the main government agencies which raises funds for the country’s development projects. Since early 2015, the Bank of Thailand’s decisions to lower policy interest rate, along with the negative interest rate policies of EU countries and Japan, have led to Thailand’s capital inflow and lowered the government bond’s average yield. PDMO has seized this opportunity to provide adequate funding for the government at acceptable and lower cost than the previous year. Moreover, PDMO could manage to refinance the government and SOE debt to avoid bunching during the upcoming 1 - 2 years, leading to longer debt tenors at a relatively lower cost. As a result, Thailand’s public debt outstanding as of September 30, 2015 was 5,783,323.19 million Baht (43.11% of GDP), not exceeding the fiscal sustainability framework of public debt to GDP ceiling at 60%.

ในปี 2558 สบน. ได้พัฒนาธุรกรรม Bond Switching เพือ่ ความคล่องตัวในการบริหารจัดการหนี้ ลดความเสีย่ ง ในการปรับโครงสร้างหนี้ และยืดอายุเฉลีย่ ของหนีส้ าธารณะ รวมถึงเพื่อเพิ่มสภาพคล่องของพันธบัตรในตลาดรอง โดย สบน. มีการท�ำ Bond Switching จ�ำนวน 2 ครั้ง วงเงิน 140,195 ล้านบาท ท�ำให้สามารถยืดอายุหนี้ที่จะ ครบก�ำหนดจากเดิม 6 เดือน เป็นอายุหนี้เฉลี่ย 10 ปี นอกจากนี้ กระทรวงการคลัง โดย สบน. ได้อนุญาตให้ นิตบิ คุ คลจากกลุม่ ประเทศ CLMV ออกหุน้ กูส้ กุลเงินบาท ในประเทศไทย เพื่อสนับสนุนการลงทุนของกลุ่มประเทศ เพื่อนบ้าน และยกระดับตลาดทุนไทยให้เป็นแหล่งระดม ทุนของภูมิภาคอาเซียน สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การ พัฒนาตลาดตราสารหนี้ให้เป็นเสาหลักทางการเงิน เพื่อ เสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงิน

In 2015, PDMO initiated the Bond Switching transactions to further facilitate debt management by reducing refinancing risk, extending debt maturity, and enhancing liquidity in the secondary market. PDMO has successfully executed 2 Bond Switching transactions in the amount of 140,195 million Baht, resulting in extension of maturing debt from 6 months to 10 years on average. In addition, on behalf of the Ministry of Finance, PDMO has permitted juristic persons from CLMV countries to issue Baht-denominated bonds in Thailand. This permission has enhanced cross border fund raising and promoted Thai bond market to be the regional fund-raising destination, in accordance with PDMO’s strategy to develop the bond market to be one of the three main pillars of the financial market.

6


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

นอกจากนี้ สบน. ยังให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา องค์กรให้เข้มแข็ง มีการปรับโครงสร้างการบริหารงาน ภายในให้สอดคล้องกับภารกิจที่เพิ่มขึ้น โดยจัดตั้งกลุ่ม บริหารความเสี่ยงหนี้สาธารณะ และยกระดับศูนย์ข้อมูล ที่ปรึกษาไทย พร้อมทั้งสนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ ของบุ ค ลากร ควบคู ่ ไ ปกั บ การส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรมและ จริยธรรมในการปฏิบัติงาน และได้รับประกาศเกียรติคุณ ส่วนราชการที่เป็นผู้จัดท�ำและเป็นผู้ประเมินมาตรฐาน ความโปร่งใส ประจ�ำปี พ.ศ. 2558 จากส�ำนักงาน ก.พ. ในวันคุณธรรม จริยธรรม และความโปร่งใส่ในภาครัฐ และรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด 2 ด้าน การวางแผนยุทธศาสตร์และการสื่อสารเพื่อน�ำไปสู่การ ปฏิบัติ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า สบน. เห็นความส�ำคัญในการ รั ก ษาระดั บ การบริ ห ารงานองค์ ก รให้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง โปร่งใส และตรวจสอบได้ ความส�ำเร็จของ สบน. ที่ผ่านมา ได้รับความร่วมมือ จากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบันการเงิน และหน่วยงาน ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ในนามผู ้ บ ริ ห ารและบุ ค ลากรของ สบน. ขอขอบคุณทุกท่านทีใ่ ห้การสนับสนุนด้วยดีเสมอมา และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าจะได้รบั ความร่วมมือและสนับสนุน อย่างดีเช่นนี้ตลอดไป

Moreover, PDMO emphasizes on the importance of organization’s strengths by restructuring internal management to support increased work obligations. As a result, the Risk Management Group was set up and the Thai Consultant Database Center was upgraded. PDMO has also enhanced personnel’s capabilities, professionalism, along with work ethics. On the Transparency’s Day 2015, hosted by the Office of the Civil Service Commission, PDMO was recognized as a government agency that conducts and assesses a transparency standard. We also received the Public Sector Management Quality Award (PMQA), Section 2, Strategic Planning and Communication for Implementation. These awards were a proof to PDMO’s strength, transparency, and accountability. The aforementioned achievement would not have been possible without cordial cooperation and supports from the government agencies, state-owned enterprises, financial institutions, and other related organizations. On behalf of PDMO’s executives, government officials, and employees, I would like to express sincere appreciation to all relevant agencies and look forward to receiving such supports and cooperation in the future.

(นายสุวิชญ โรจนวานิช) ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

(Mr. Suwit Rojanavanich) Director-General

7



VISION ว�สัยทัศน

เป นมืออาช�พในการบร�หารหนี้สาธารณะ เพื่อการพัฒนาประเทศอย างยั่งยืน A PROFESSIONAL IN PUBLIC DEBT MANAGEMENT FOR SUSTAINABLE ECONOMIC AND SOCIAL DEVELOPMENT

VALUES ค านิยม

โปร งใส ว�นัยดี มีเครดิต ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และสังคม TRANSPARENT, DISCIPLINED, TRUSTWORTHY, DRIVING SOCIAL AND ECONOMIC DEVELOPMENT

STRATEGIES ยุทธศาสตร • • • • •

บร�หารจัดการหนี้สาธารณะในเช�งรุก พัฒนาตลาดตราสารหนี้ให เป นเสาหลักทางการเง�น เพื่อเสร�มสร างความแข็งแกร งของระบบการเง�น พัฒนาองค กรให เข มแข็งและมีประสิทธ�ภาพ PRO-ACTIVE PUBLIC DEBT MANAGEMENT DEVELOP DOMESTIC BOND MARKET TO BE A SUSTAINABLE SOURCE OF FUNDING FOR THE STABILITY OF THAILAND’S FINANCIAL SYSTEM • FOSTER ORGANISATION’S STRENGTH AND EFFICIENCY

MISSION

พันธกิจตามกฎหมาย/ภารกิจหลักของหน วยงาน

บร�หารหนี้สาธารณะตามกฎหมายว าด วยการบร�หารหนี้สาธารณะ โดยการวางแผนกำกับ และดำเนินการก อหนี้ ค�ำประกัน และปรับโครงสร างหนี้ของรัฐบาล หน วยงานในกำกับดูแลของรัฐ องค กรปกครองส วนท องถิ่น และรัฐว�สาหกิจ ซ�่งรวมทั้งการชำระหนี้ของรัฐบาล และการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อให การบร�หารหนี้สาธารณะเป นไปอย างมีประสิทธ�ภาพ และเสร�มสร างความยั่งยืน ทางการคลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ FORMULATE SOUND PUBLIC DEBT MANAGEMENT POLICIES AND STRATEGIES AS WELL AS CONDUCT, MONITOR AND EVALUATE PUBLIC DEBT MANAGEMENT OPERATIONS UNDER THE RELEVANT LEGAL FRAMEWORK AND GUIDELINES.


OBJECTIVES เป าประสงค

1. แผนการบร�หารหนี้สาธารณะ มีความชัดเจน สอดคล องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ ตามนโยบายรัฐบาล 2. การบร�หารหนี้สาธารณะให มีต นทุนที่เหมาะสมและอยู ภายใต กรอบความเสี่ยงที่ยอมรับได 3. ชำระหนี้ให ถูกต อง ครบถ วนและตรงตามกำหนดเวลา 4. ผู รับบร�การและผู มีส วนได ส วนเสียมีความพึงพอใจ 5. แหล งระดมทุนที่ยั่งยืนในประเทศ 6. มีการออกพันธบัตรรัฐบาลอย างสม่ำเสมอ เพื่อสร างอัตราดอกเบี้ยอ างอิง และสภาพคล องในตลาดรอง 7. มีการพัฒนาผลิตภัณฑ ที่หลากหลายเพื่อรองรับความต องการของนักลงทุน 8. มีระบบข อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยและสร างความเช�่อมโยงในการทำงาน 9. มีระบบการบร�หารงานและระบบทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธ�ภาพ 10. บุคลากรมีความรู ความสามารถ มีความเป นมืออาช�พ 11. มีสถานที่ในการดำเนินงานที่เหมาะสมกับสภาพขององค กรและบุคลากร 1. PUBLIC DEBT MANAGEMENT PLAN IS CLEAR AND CONSISTENT WITH THE DIRECTION OF THE GOVERNMENT DEVELOPMENT POLICIES 2. MINIMIZE COST OF FUNDING UNDER ACCEPTABLE RISK LEVEL 3. ACCURATE AND TIMELY DEBT REPAYMENT 4. MAINTAIN STAKEHOLDERS’ SATISFACTION 5. DEVELOP A SUSTAINABLE DOMESTIC SOURCE OF FUNDING 6. ISSUE REGULAR BENCHMARK BOND TO DEVELOP RELIABLE GOVERNMENT BOND YIELD CURVE AND ENHANCED LIQUIDITY IN THE SECONDARY MARKET 7. DIVERSIFY GOVERNMENT SECURITIES DIVERSIFICATION TO DEEPEN THE DOMESTIC BOND MARKET AND TO SERVE INVESTORS’ NEED 8. DEVELOP EFFECTIVE DATA AND INFORMATION TECHNOLOGY SYSTEM 9. DEVELOP EFFECTIVE WORKFLOW AND HUMAN RESOURCE MANAGEMENT 10. BUILD HIGHLY CAPABLE AND PROFESSIONAL PERSONNEL 11. CREATE MODERN AND STIMULATING WORKPLACE


กลยุทธ

STRATEGIC IMPLEMENTATION PLAN

1. บร�หารจัดการหนี้สาธารณะในเช�งรุก 2. ให คำปร�กษาแนะนำทางด านข อมูลและว�ชาการ รวมถึงการประชาสัมพันธ สร างความเข าใจด านหนี้สาธารณะในเช�งรุก 3. พัฒนางานว�จัยและว�ชาการเพื่อสนับสนุนการบร�หารจัดการหนี้สาธารณะ 4. พัฒนาโครงสร างพื้นฐานตลาดตราสารหนี้ 5. พัฒนาผลิตภัณฑ ตราสารหนี้ให มีความหลากหลาย มีนวัตกรรมทางการเง�น ที่ใช ในตลาดสากล และสอดคล องกับความต องการของนักลงทุน 6. พัฒนาระบบข อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ 7. พัฒนาระบบบร�หารงานและระบบทรัพยากรบุคคล 8. พัฒนาบุคลากรให มีความรู ความสามารถ และมีความเป นมืออาช�พ

1. MANAGE PUBLIC DEBT PRO-ACTIVELY 2. PROVIDE INFORMATION AND ACADEMIC ADVISORY AND PROMOTE THE UNDERSTANDING ON PRO-ACTIVE DEBT MANAGEMENT 3. DEVELOP ACADEMIC RESEARCH IN PUBLIC DEBT MANAGEMENT 4. DEVELOP DOMESTIC BOND MARKET INFRASTRUCTURE 5. DIVERSIFY GOVERNMENT SECURITIES AND USE INTERNATIONAL FINANCIAL INNOVATION THAT SERVE INVESTOR’S NEED 6. ENHANCE DATA AND INFORMATION TECHNOLOGY SYSTEM 7. ENHANCE WORKFLOW AND HUMAN RESOURCE MANAGEMENT SYSTEM 8. ENHANCE PERSONNEL’S CAPABILITIES AND PROFESSIONALISM


ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ที่ปรึกษาด้านตลาดตราสารหนี้

ที่ปรึกษาด้านหนี้สาธารณะ

รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ส�ำนักจัดการหนี้ 1

ส�ำนักจัดการหนี้ 2

ผชช. เฉพาะด้าน เงินกู้โครงการ

ผชช. ด้าน หนี้สาธารณะ และความเสี่ยง ทางเครดิต

ส่วนจัดการเงินกู้ รัฐบาล 1 (ขาดดุล) ส่วนจัดการเงินกู้ รัฐบาล 2 (กฎหมายพิเศษ) ส่วนจัดการเงินกู้ รัฐบาล 3 (โครงการรัฐบาล) ส่วนจัดการเงินกู้ หน่วยงานอื่น (อปท.)

12

ส�ำนัก พัฒนาตลาด ตราสารหนี้ ผชช. ด้าน พัฒนาตลาด ตราสารหนี้

ส่วนจัดการ เงินกู้รัฐวิสาหกิจ 1

ส่วนพัฒนาตลาด ตราสารหนี้รัฐบาล

ส่วนจัดการ เงินกู้รัฐวิสาหกิจ 2

ส่วนบริหารกองทุน และพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน

ส่วนจัดการ เงินกู้รัฐวิสาหกิจ 3 ส่วนวิเคราะห์เครดิต และบริหารความเสีย่ ง รัฐวิสาหกิจ

ส่วนนโยบายตลาด ตราสารหนี้ ระหว่างประเทศ ส่วนพัฒนา ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน

ส�ำนักบริหาร การระดมทุน โครงการลงทุน ภาครัฐ

ผชช. เฉพาะด้าน บริหารหนี้สาธารณะ และภาระผูกพัน

ส่วนนโยบาย และแผนการระดมทุน ส่วนวิเคราะห์ และจัดการเงินทุน โครงการ 1 ส่วนวิเคราะห์ และจัดการเงินทุน โครงการ 2

ส�ำนัก นโยบายและแผน ผชช. เฉพาะด้าน หนี้สาธารณะ และเงินคงคลัง ส่วนนโยบาย และแผน ส่วนความร่วมมือ ระหว่างประเทศ

ส่วนวิจัยนโยบาย หนี้สาธารณะ ส่วนวิเคราะห์ แผนการบริหาร ความเสี่ยง


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

โครงสร้างของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ผชช. ด้านพัฒนา ระบบบริหาร

จัดตั้งตามค�ำสั่ง สบน. ที่ 160/2557 ส�ำนักบริหาร และประเมินผล โครงการลงทุน ภาครัฐ ผชช. ด้านพัฒนา ระบบประเมินผล และการบริหาร โครงการเงินกู้ ส่วนนโยบายการ พัฒนาระบบบริหาร และประเมินผล ส่วนบริหารโครงการ ลงทุนภาครัฐ

กลุ่มตรวจสอบภายใน ผชช. ด้านตรวจสอบภายใน

กลุ่มกฎหมาย

รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ส�ำนักบริหาร การช�ำระหนี้

จัดตั้งตามค�ำสั่ง สบน. ที่ 156/2557

ส�ำนักงาน เลขานุการกรม

ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ

ศูนย์ข้อมูล ที่ปรึกษาไทย

ส่วนงานคลัง

ส่วนนโยบาย และแผน สารสนเทศ

ฝ่ายบริการข้อมูล และทะเบียน ที่ปรึกษาไทย

ส่วนบริหาร ข้อมูล สารสนเทศ

ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาที่ปรึกษาไทย

ผชช. เฉพาะด้าน บริหาร การช�ำระหนี้ ส่วนนโยบายและ แผนการบริหาร การช�ำระหนี้ ส่วนจัดการ การช�ำระหนี้ ส่วนบริหาร เงินกองทุน

ส่วนทรัพยากร บุคคล ส่วนอ�ำนวยการ ส่วนงานพัสดุ

ส่วนก�ำกับและพัฒนา ระบบสารสนเทศ

ส่วนติดตามและ ประเมินผลโครงการ ลงทุนภาครัฐ

13


จ�ำนวนข้าราชการ ณ 30 กันยายน 2558 ประเภทต�ำแหน่ง ระดับต�ำแหน่ง ชาย สูง 1 บริหาร ต้น 1 สูง 2 อ�ำนวยการ ต้น - ทรงคุณวุฒิ 2 เชี่ยวชาญ 1 วิชาการ ช�ำนาญการพิเศษ 10 ช�ำนาญการ 9 ปฏิบัติการ 22 ช�ำนาญงาน 1 ทั่วไป ปฏิบัติงาน 1 รวม 50

จ�ำนวนคน หญิง - 1 6 - - 4 18 32 44 - 1 106

รวม 1 2 8 2 5 28 41 66 1 2 156

หมายเหตุ : ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2558 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะมีบุคลากรทั้งสิ้น 249 คน ประกอบด้วย ข้าราชการ 156 คน พนักงานราชการ 7 คน และลูกจ้างชั่วคราว 86 คน

ต�ำแหน่งบริหารระดับสูง นายสุวิชญ โรจนวานิช ต�ำแหน่งวิชาการระดับทรงคุณวุฒ ิ นายเอด วิบูลย์เจริญ นายวิสุทธิ์ จันมณี ต�ำแหน่งบริหารระดับต้น นายธีรัชย์ อัตนวานิช นางสาวศิรสา กันต์พิทยา

14

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ที่ปรึกษาด้านหนี้สาธารณะ ที่ปรึกษาด้านตลาดตราสารหนี้ รองผู้อำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ รองผู้อำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

เปรียบเทียบงบประมาณปี 2557 กับงบประมาณปี 2558 จ�ำแนกตามผลผลิตโครงการ ผลผลิต/โครงการ งบประมาณ 2557 งบประมาณ 2558 รวมทั้งสิ้น 162,480.08 161,751.05 รายการบุคลากรภาครัฐ 62.48 61.37 การบริหารจัดการหนี้สาธารณะ 85.55 41.74 โครงการวิจัยการพัฒนา กรอบการช�ำระหนี้ของรัฐบาล - 1.59 เพื่อการรักษาวินัยการคลัง อย่างยั่งยืน การบริหารการช�ำระหนี้ของรัฐบาล 162,332.05 161,646.36

ผลต่าง เพิ่ม/(-ลด) (729.03) (1.11) (43.82)

หน่วย : ล้านบาท ร้อยละ 0.45 1.78 51.22

1.59

100.00

(685.69)

0.42

15


1


คณะผู บร�หาร สำนั ก งานบร� ห ารหนี ้ ส าธารณะ


คณะผู้บริหาร รายงานประจ�ำปี 2558 PDMO MANAGEMENT TEAM

1

2

1 นายกฤษฎา อุทยานิน

2 นายสุวิชญ โรจนวานิช

18

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (1 ต.ค. 57 - 26 มี.ค. 58)

Mr. Kritsda Udyanin

Director - General

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (ตั้งแต่วันที่ 22 ก.ค. 58)

Mr. Suwit Rojanavanich

Director - General


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

3

4

5

3 นายเอด วิบูลย์เจริญ

5 นายธีรัชย์ อัตนวานิช

ที่ปรึกษาด้านหนี้สาธารณะ (ตั้งแต่วันที่ 3 ก.พ. 58)

Mr. Ace Viboolcharern

Public Debt Advisor

รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (ตั้งแต่วันที่ 21 ม.ค. 58)

Mr. Theeraj Athanavanich

Deputy Director - General

4 นายวิสุทธิ์ จันมณี

6 นางสาวศิรสา กันต์พิทยา

ที่ปรึกษาด้านตลาดตราสารหนี้ (ตั้งแต่วันที่ 9 ก.พ. 58)

Mr. Wisut Chanmanee

Bond Market Advisor

6

รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (ตั้งแต่วันที่ 25 ก.ย. 58)

Ms. Sirasa Kanpittaya

Deputy Director - General

19


ส�ำนักจัดการหนี้ 1 DEBT MANAGEMENT BUREAU 1 นายวิสุทธิ์ จันมณี

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักจัดการหนี้ 1

Mr. Wisut Chanmanee

Executive Director of the Debt Management Bureau 1

1

2

3

4

1 นายณรงค์ แก้วเศวตพันธุ์

3 นายฐิติเทพ สิทธิยศ

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเงินกู้โครงการ

Mr. Narong Keowsawetabhan

Senior Expert on Loan Project

2 นางสาวยอดเยาวมาลย์ สุคนธพันธุ์

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 2 / รักษาการในต�ำแหน่งผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะด้านบริหารการช�ำระหนี้

Ms. Yodyaovamarn Sukonthaphant

Director of the Government Debt Management Division 2 / Acting Senior Expert on Debt Payment Management

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้หน่วยงานอื่น

Mr. Thitithep Sitthiyot

Director of the Other Government Debt Management Division

4 นายถาวร เสรีประยูร

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 1

Mr. Tharwon Seareeprayoon

Director of the Government Debt Management Division 1

5 นายยุทธพงศ์ เอี่ยมแจ้ง

20

5

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 3

Mr. Yuthapong Eamchang

Director of the Government Debt Management Division 3


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ส�ำนักจัดการหนี้ 2 DEBT MANAGEMENT BUREAU 2 นายธีรลักษ์ แสงสนิท

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักจัดการหนี้ 2

Mr. Teeralak Sangsnit

Executive Director of the Debt Management Bureau 2

1

2

3

4

1 นางชนันภรณ์ พิศิษฐวานิช

3. นางปัณฑารีย์ ศรีแก้วพันธ์

ผู้เชี่ยวชาญด้านหนี้สาธารณะและความเสี่ยงทางเครดิต

Mrs. Chanunporn Phisitvanich

Senior Expert on Public Debt and Credit Risk

2 นางสาวอรุณวรรณ ยมจินดา

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์เครดิต และบริหารความเสี่ยงรัฐวิสาหกิจ / รักษาการในต�ำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนา ระบบประเมินผลและการบริหารโครงการเงินกู้

Ms. Arunwan Yomjinda

Director of the Credit Analysis and Risk Management Division / Acting Senior Expert on Loan Project Management and Evaluation

5

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐวิสาหกิจ 3

Mrs. Puntaree Srikaewpun

Director of the State Enterprise Debt Management Division 3

4 นางสาวเสาวนีย์ จันทพันธ์

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐวิสาหกิจ 1

Ms. Saowanee Chantapun

Director of the State Enterprise Debt Management Division 1

5 นายกะรัส บุญเรือง

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐวิสาหกิจ 2

Mr. Karas Boonruag

Director of the State Enterprise Debt Management Division 2

21


ส�ำนักนโยบายและแผน POLICY AND PLANNING BUREAU นางสุณี เอกสมทราเมษฐ์

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายและแผน

Mrs. Sunee Eksomtramate

Executive Director of the Policy and Planning Bureau

1

2

3

1 นางสาวอุปมา ใจหงษ์

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านหนี้สาธารณะและเงินคงคลัง (ตั้งแต่วันที่ 25 ก.พ. 58)

Ms. Upama Jaihong

Senior Expert on Public Debt and Treasury

2 นางสาวรานี อิฐรัตน์

22

Director of the Public Debt Policy Research Division

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์แผนการบริหารความเสี่ยง

Mrs. Chatmanee Sinsiri

Director of the Risk Management Division

ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและแผน

Ms. Neeracha Morakottaporn

Director of the Policy and Planning Division

5 นางสุเนตรา เล็กอุทัย

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิจัยนโยบายหนี้สาธารณะ

Ms. Ranee Itarat

5

4 นางสาวนีรชา มรกตราภรณ์

3 นางฉัตรมณี สินสิริ

4

ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส่วนความร่วมมือ ระหว่างประเทศ

Mrs. Sunetra Lekuthai

Acting Director of the International Cooperation Division


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ส�ำนักบริหารการช�ำระหนี้ PAYMENT ADMINISTRATION BUREAU นางสาวศิรสา กันต์พิทยา

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารการช�ำระหนี้

Ms. Sirasa Kanpittaya

Executive Director of the Payment Administration Bureau

1

2

1 นางสาวยอดเยาวมาลย์ สุคนธพันธุ์

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านบริหารการช�ำระหนี้ (ตั้งแต่วันที่ 25 มี.ค. 58)

Ms. Yodyaovamarn Sukonthaphant

Senior Expert on Debt Payment Management

2 นางสาวชิดชไม ไมตรี

ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการช�ำระหนี้

Ms. Chidchamai Maitree

Director of the External Debt Payment Division

3

4

3 นายอัคนิทัต บุญโญ

ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและแผนการช�ำระหนี้

Mr. Aknetat Boonyo

Director of the Internal Debt Payment Division

4 นางพรพิมล บุนนาค

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารเงินกองทุน

Mrs. Pornpimol Boonnag

Director of the Fund Management Division

23


ส�ำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ PUBLIC INFRASTRUCTURE PROJECT FINANCING BUREAU นางจินดารัตน์ วิริยะทวีกุล

ผู้อำ� นวยการส�ำนักบริหารการระดมทุน โครงการลงทุนภาครัฐ

Mrs. Jindarat Viriyataveekul

Executive Director of the Public Infrastructure Project Financing Bureau

1

2

1 นางสาวอัญจนา วงศ์สว่าง

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านบริหารหนี้สาธารณะ และภาระผูกพัน

Ms. Anchana Wongsawang

Senior Expert on Public Debt and Obligations

2 นางสาวเบญจมาศ เรืองอ�ำนาจ

24

ผูอ้ ำ� นวยการส่วนวิเคราะห์และจัดการเงินทุนโครงการ 2

Ms. Benjamart Ruangamnart

Director of the Project Financing Division 2

3

4

3 นางสาวพรทิพย์ พันเลิศยอดยิ่ง

ผูอ้ ำ� นวยการส่วนวิเคราะห์และจัดการเงินทุนโครงการ 1

Ms. Porntip Phunleartyodying

Director of the Project Financing Division 1

4 ร.ต.ต.หญิง จารุณี เล็กด�ำรงศักดิ์

ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและแผนการระดมทุน

Ms. Jarunee Lekdamrongsak

Director of Financing Policy and Planning Division


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ BOND MARKET DEVELOPMENT BUREAU นางสาวพิมพ์เพ็ญ ลัดพลี

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้

Ms. Pimpen Ladpli

Executive Director of the Bond Market Development Bureau

1

2

1 นายณัฐการ บุญศรี

Mr. Nattakarn Boonsri

Director of the Government Bond Market Development Division / Acting Senior Expert on Bond Market Development

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารกองทุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

Mr. Paroche Hutachareon

Director of the Fund Management and Bond Market Infrastructure Development Division

4

3 นางสาวโสภิดา ศรีถมยา

ผู้อ�ำนวยการส่วนพัฒนาตลาดตราสารหนี้รัฐบาล / รักษาการในต�ำแหน่งผูเ้ ชีย่ วชาญด้านพัฒนาตลาดตราสารหนี้

2 นายพลช หุตะเจริญ

3

ผู้อ�ำนวยการส่วนพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเงิน

Ms. Sophida Sritomya

Director of the Financial Product Development Division

4 นายนครินทร์ พร้อมพัฒน์

ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบาย ตลาดตราสารหนี้ระหว่างประเทศ

Mr. Nakarin Prompat

Acting Director of the International Bond Market Policy Division

25


ส�ำนักงานเลขานุการกรม OFFICE OF THE SECRETARY

นายเอกราช เขื่อนขันธ์สถิตย์ เลขานุการกรม

Mr. Ekaraj Khuankhunsathid Secretary

1

2

3

4

1 นางสาวนพอนันต์ ประเสริฐผล

3 นายธีระศักดิ์ อิญญาวงค์

ผู้อำ� นวยการส่วนงานคลัง

Ms. Nopanan Prasertphol

Diretor of the Budget Division

ผู้อำ� นวยการส่วนงานพัสดุ

Mr. Tearasak Inyavong

Director of the Supply Division

2 นางรุ่งระวี รุกเขต

4 นางสาวสุพรรณพิมพ์ บุญทิพย์

26

ผู้อำ� นวยการส่วนทรัพยากรบุคคล

Mrs. Rungrawee Roogkate

Director of the Human Resource Division

ผู้อำ� นวยการส่วนอ�ำนวยการ

Ms. Supanpim Bunthip

Director of the General Administration Division


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ส�ำนักบริหารและประเมินผลโครงการลงทุนภาครัฐ Public Infrastructure Project Management and Evaluation Bureau นางจินดารัตน์ วิริยะทวีกุล

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำ� นวยการส�ำนักบริหารและประเมินผล โครงการลงทุนภาครัฐ

Mrs. Jindarat Viriyataveekul

Executive Director of the Public Infrastructure Project Financing Bureau Acting Executive Director of the Public Infrastructure Project Management and Evaluation Bureau

1

2

3

4

1 นางสาวอรุณวรรณ ยมจินดา

3 นางอรพร ถมยา

ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาระบบประเมินผล และการบริหารโครงการเงินกู้ (ตั้งแต่วันที่ 11 พ.ค. 58)

Ms. Arunwan Yomjinda

Senior Expert on Loan Project Management and Evaluation

ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบาย การพัฒนาระบบบริหารและประเมินผล

Mrs. Oraporn Thomya

Acting Director of Public Infrastructure Project Management and Evaluation Division

2 นางสาววันทนา บัวบาน

4 นางสาวอัจจิมา เกรอต

ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส่วนการติดตาม และประเมินผลโครงการลงทุนภาครัฐ

Ms. Wantana Buaban

Acting Director of Project Monitoring and Evaluation Division

เศรษฐกรช�ำนาญการ ส่วนบริหารโครงการลงทุนภาครัฐ

Ms. Ajjima Karot

Senior Economist Public Infrastructure Project Management Division

27


ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ INFORMATION TECHNOLOGY CENTER

นางสาววราภรณ์ ปัญญศิริ

ผู้อำ� นวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

Ms. Waraporn Panyasiri

Director of the Information Technology Center

1

2

3

1 นายครรชิต พะลัง

2 นางสาวจันทิรา ตรงรัศมีทอง

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์นโยบายและแผนสารสนเทศ

Mr. Kanchit Bhalang

Director of Policy and Information System Analysis Division

ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารข้อมูลสารสนเทศ

Ms. Janthira Trongratsameethong

Director of the Information System Management Division

3 นายวีรยุทธ เจริญสุวรรณกิจ

28

ปฏิบัติหน้าที่ผู้อ�ำนวยการส่วนก�ำกับ และพัฒนาระบบสารสนเทศ

Mr. Weerayut Charoensuwankit

Acting Director of the Information System Supervision and Development Division


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย Thai Consultant Database Center นางอนงค์นาฏ โมราสุข

ผู้อ�ำนวยการศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย

Mrs. Anongnart Morasook

Director of the Thai Consultant Database Center

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร PUBLIC SECTOR DEVELOPMENT GROUP นางสาวสิริภา สัตยานนท์

ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาระบบบริหาร

Ms. Siribha Satayanon

Senior Expert on Public Sector Development

กลุ่มตรวจสอบภายใน INTERNAL AUDIT GROUP นางสาวพรทิพย์ พันเลิศยอดยิ่ง

รักษาการในต�ำแหน่งผู้เชี่ยวชาญด้านตรวจสอบภายใน

Ms. Porntip Phunleartyodying

Acting Senior Expert on Internal Audit

กลุ่มกฎหมาย LEGAL ADVISORY GROUP นายธีรเดช ลิขิตตระกูลวงศ์

ผู้อ�ำนวยการกลุ่มกฎหมาย

Mr. Teeradet Likitragolwong

Director of the Legal Advisory Group

29


2


ผลการปฏิบัติราชการประจำป 2558 ตามแผนยุ ท ธศาสตร สำนั ก งานบร� ห ารหนี ้ ส าธารณะ


ผลการปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ตามแผนยุทธศาสตร์สำ� นักงานบริหารหนี้สาธารณะ ยุ ทธศาสตร์ที่ 1

การบริหารจัดการหนี้สาธารณะในเชิงรุก (Pro-active Debt Management)

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) มีหน้าที่หลัก ในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะของประเทศ โดยการ วางแผน ก�ำกับ และด�ำเนินการก่อหนี้ใหม่ การบริหาร หนีเ้ ดิม และการช�ำระหนี้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับสถานะการเงิน การคลังของประเทศ และอยู่ภายใต้กรอบความเสี่ยงที่ เหมาะสม รวมทัง้ อยูภ่ ายใต้กรอบความยัง่ ยืนทางการคลัง ที่ก�ำหนดให้สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกิน ร้อยละ 60 และภาระหนี้ต่องบประมาณ ไม่เกินร้อยละ 15

1. ผลการด� ำ เนิ น งานตามแผนการบริ ห าร หนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 คณะรัฐมนตรีได้มีมติ อนุมัติและรับทราบแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รวมทัง้ การปรับปรุงแผนระหว่างปี รวม 3 ครั้ง โดยวงเงินตามการปรับปรุงแผนการบริหาร หนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ครั้งที่ 3

32

มีวงเงินรวมทั้งสิ้น 1,465,200.43 ล้านบาท ประกอบด้วย 5 แผนงานย่อย ได้แก่ 1) แผนการก่อหนี้ใหม่ 2) แผนการปรับโครงสร้างหนี้ 3) แผนการบริหารความเสี่ยง 4) แผนการบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจที่ไม่ต้องขอ อนุมัติ ครม. ภายใต้กรอบแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ 5) แผนการบริหารหนี้ของหน่วยงานอื่นของรัฐ ที่ไม่ ต้ อ งขออนุ มั ติ ครม. ภายใต้ ก รอบแผนการบริ ห าร หนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ โดย ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รัฐบาลและ รั ฐ วิ ส าหกิ จ สามารถด� ำ เนิ น การตามแผนการบริ ห าร หนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รวมทั้งสิ้น 1,295,584.33 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 88.43 ของแผน โดยมีรายละเอียด ดังนี้


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ตารางที่ 1 : ผลการด�ำเนินงานตามแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รายการ แผน ผลการด�ำเนินงาน ร้อยละของแผน 1. แผนการก่อหนี้ใหม่ 375,638.52 367,977.56 97.96 1.1 รัฐบาล 326,616.43 320,817.12 98.23 1.2 รัฐวิสาหกิจ 49,022.09 47,160.44 96.21 2. แผนการปรับโครงสร้างหนี ้ 823,961.47 779,600.49 94.62 2.1 รัฐบาล 562,066.63 517,805.65 92.13 2.2 รัฐวิสาหกิจ 261,894.84 261,794.84 99.97 3. แผนการบริหารความเสี่ยง 76,048.10 47,658.82 62.67 3.1 รัฐบาล 31,726.50 7,916.66 24.96 3.2 รัฐวิสาหกิจ 44,321.60 39,742.16 89.67 4. แผนการบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจ 142,598.89 83,394.01 58.49 ที่ไม่ต้องขออนุมัติภายใต้กรอบแผนฯ 109.421 4.1 การก่อหนี้ใหม่ 56,228.39 61,522.711 4.2 การบริหารหนี ้ 86,370.50 21,871.302 25.332 5. แผนการบริหารหนี้ของหน่วยงานอื่นของรัฐ 46,953.45 16,953.45 36.11 ที่ไม่ต้องขออนุมัติภายใต้กรอบแผนฯ 5.1 การก่อหนี้ใหม่ 46,953.45 16,953.45 36.11 รวม (1 - 3) 1,275,648.09 1,195,236.87 93.70 รวม (1 - 5) 1,465,200.43 1,295,584.33 88.43 หมายเหตุ : 1 รวมผลการกู้เงินของบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ในรูปหุ้นกู้สกุลเงินบาท วงเงินรวม 10,000 ล้านบาท ซึ่ง ปตท. ไม่ได้ระบุวงเงินไว้ในแผนการ บริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 2 รวมผลการบริหารความเสี่ยงของบริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ที่ไม่ได้ระบุวงเงินไว้ในแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558

2. ผลการบริหารความเสี่ยงของหนี้สาธารณะ

สบน. มีการบริหารหนี้และบริหารความเสี่ยง โดยมี เป้าหมายเพื่อลดต้นทุนและความเสี่ยงของหนี้ในประเทศ และหนีต้ า่ งประเทศให้อยูภ่ ายใต้กรอบความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม และยอมรับได้ รวมทั้งอยู่ภายใต้กรอบความยั่งยืนทาง การคลัง โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) การบริหารความเสี่ยงหนี้ของรัฐบาล วงเงิน รวม 7,916.66 ล้านบาท ประกอบด้วย หนี้ในประเทศ วงเงินรวม 7,909 ล้านบาท โดย เป็นการช�ำระคืนหนี้ก่อนครบก�ำหนด (Prepayment) เงิ น กู ้ ภ ายใต้ โ ครงการเงิ น กู ้ เ พื่ อ ฟื ้ น ฟู เ ศรษฐกิ จ และ

โครงสร้างพื้นฐาน (3,000 ล้านบาท) และเงินกู้ภายใต้ พระราชก�ำหนดให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อการ วางระบบบริ ห ารจั ด การน�้ ำ และสร้ า งอนาคตประเทศ พ.ศ. 2555 (4,909 ล้านบาท) ท�ำให้สามารถลดภาระ ดอกเบี้ยได้รวมทั้งสิ้น 167.92 ล้านบาท หนี้ต่างประเทศ วงเงินรวม 7.66 ล้านบาท โดย เป็นการช�ำระคืนหนีก้ อ่ นครบก�ำหนดเงินกูภ้ ายใต้โครงการ ก่อสร้างทางสายหลักเป็น 4 ช่องจราจร (ระยะที่ 2) ของ ธนาคารโลก จ�ำนวน 212,402.45 เหรียญสหรัฐ (เทียบเท่า 7.66 ล้านบาท) ท�ำให้สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้รวม ทั้งสิ้น 0.55 ล้านบาท

33


2) การบริ ห ารความเสี่ ย งหนี้ ข องรั ฐ วิ ส าหกิ จ (หนี้ ใ นประเทศ) วงเงิ น รวม 39,742.16 ล้ า นบาท ประกอบด้วย • ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ใช้เงินงบประมาณและเงินทีร่ บั จากการระบายข้าวช�ำระคืน หนี้โครงการรับจ�ำน�ำผลผลิตทางการเกษตร ปีการผลิต 2551/52 ปีการผลิต 2554/55 ปีการผลิต 2555/56 และปี การผลิต 2556/57 ก่อนครบก�ำหนด วงเงินรวม 39,406.16 ล้านบาท สามารถลดภาระดอกเบีย้ ได้ 1,072.22 ล้านบาท • ส�ำนักงานธนานุเคราะห์ ใช้เงินรายได้ช�ำระคืน หนี้ก่อนครบก�ำหนด วงเงินรวม 300 ล้านบาท สามารถ ลดภาระดอกเบี้ยได้ 91.78 ล้านบาท • องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ใช้เงินรายได้ชำ� ระ คื น หนี้ ตั๋ ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น ก่ อ นครบก� ำ หนดวงเงิ น รวม 36 ล้านบาท สามารถลดภาระดอกเบี้ยได้ 0.44 ล้านบาท 3) การบริหารความเสีย่ งของรัฐวิสาหกิจทีไ่ ม่ตอ้ ง ขออนุมัติภายใต้กรอบแผนฯ วงเงินรวม 15,871.30 ล้านบาท ประกอบด้วย หนีใ้ นประเทศ วงเงินรวม 7,738.50 ล้านบาท โดย บริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) ได้ด�ำเนินการบริหาร ความเสี่ยง ดังนี้ (1) การท�ำธุรกรรม Cross Currency

34

Swap โดยการแปลงหนี้สกุลเงินบาทเป็นสกุลเงินเยน วงเงิน 25,249.91 ล้านเยน หรือเทียบเท่า 6,926 ล้านบาท และ (2) การท�ำธุรกรรม Unwind Cross Currency Swap โดยยกเลิกการแปลงหนี้สกุลเงินบาทเป็นสกุลเงินยูโร พร้อมกับด�ำเนินการท�ำ Interest Rate Swap โดยการ แปลงหนี้ ส กุ ล เงิ น ยู โ รที่ มี อั ต ราดอกเบี้ ย แบบลอยตั ว เป็ น สกุ ล เงิ น บาทที่ มี อั ต ราดอกเบี้ ย คงที่ วงเงิ น รวม 18.63 ล้านยูโร หรือเทียบเท่า 812.50 ล้านบาท หนี้ต่างประเทศ วงเงินรวม 8,132.80 ล้านบาท ประกอบด้วย • บริษทั การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินการ ท�ำธุรกรรม Cross Currency Swap โดยการแปลงหนีส้ กุล เงินยูโรเป็นสกุลเงินเยน วงเงิน 112.79 ล้านยูโร หรือ เทียบเท่า 4,732.78 ล้านบาท • บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินการท�ำ ธุรกรรม Interest Rate Swap โดยการแปลงหนี้สกุลเงิน เหรียญสหรัฐที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่เป็นอัตราดอกเบี้ย ลอยตัว วงเงิน 100 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเท่า 3,400.02 ล้านบาท


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

3. การจัดท�ำแผนการบริหารหนีส้ าธารณะ ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ. 2559

สบน. ได้จัดท�ำแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ซึง่ แผนดังกล่าวเป็นแผนทีแ่ สดง ให้เห็นภาพรวมของการก่อหนีใ้ หม่และการบริหารหนีเ้ ดิม ของทั้งส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในรอบระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ เพือ่ ก�ำหนดทิศทางและแนวทางการด�ำเนิน งานด้านหนี้สาธารณะในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และแนวทางการด�ำเนินโครงการ ลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ ตลอดจนให้สอดคล้องกับ นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และ ให้มีความเหมาะสมภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยได้ เ สนอแผนการบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ ประจ� ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 พร้อมผลสัมฤทธิ์ที่คาดว่า จะได้ รั บ และผลกระทบจากการด� ำ เนิ น การตามแผนฯ ต่ อ คณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ วั น ที่ 28 สิ ง หาคม 2558 และ

คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติแผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เมือ่ วันที่ 1 กันยายน 2558

4. หนี้สาธารณะคงค้างต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม ในประเทศ ณ ราคาประจ�ำปี

ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 หนี้สาธารณะคงค้าง มีจํานวนเท่ากับ 5,783,323.19 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 43.11 ของ GDP แบ่งออกเป็นหนี้ของรัฐบาล 4,157,394.78 ล้านบาท (ร้อยละ 71.89) ประกอบด้วย หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรงร้อยละ 54.62 และหนี้ของรัฐบาล (เพื่ อ ชดใช้ ค วามเสี ย หายของ FIDF) ร้ อ ยละ 17.27 หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน 1,065,199.18 ล้านบาท (ร้อยละ 18.42) หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบัน การเงิ น (รั ฐ บาลคํ้ า ประกั น ) 542,296.35 ล้ า นบาท (ร้อยละ 9.37) และหนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 18,432.88 ล้านบาท (ร้อยละ 0.32) โดยมีรายละเอียดปรากฏตาม แผนภาพที่ 1 และตารางที่ 2 ตามล�ำดับ

แผนภาพที่ 1 สัดส่วนหนีส้ าธารณะจ�ำแนกตามประเภท

หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) Finanicial SOEs Debt (Government Guaranteed) 9.37%

หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน Non-Financial SOEs Debt 18.42%

หนี้หนวยงานของรัฐ Other Government Agencies Debt 0.32%

หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง Direct Government Debt 54.62%

หนี้รัฐบาลกู (เพื่อชดใชความเสียหาย ของ FIDF) Government Debt to Fiscalise FIDF Loss 17.27%

35


ตารางที่ 2 : รายงานหนี้สาธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 1. หนี้ของรัฐบาล (1.1+1.2+1.3) 1.1 หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง - หนี้ต่างประเทศ - หนี้ในประเทศ - เงินกู้ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ และการบริหารหนี้ - เงินกู้เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ - เงินกู้ให้กู้ต่อ - พันธบัตรโครงการช่วยเพิ่มเงินกองทุน - เงินกู้เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ต่างประเทศ - เงินกู้เพื่อน�ำเข้ากองทุนส่งเสริมการประกันภัย - เงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน�ำ้ - เงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างหนี้ต่างประเทศที่กระทรวงการคลังค�้ำประกัน - เงินกู้เพื่อใช้ในการด�ำเนินโครงการเงินกู้ DPL - เงินกู้เพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน�้ำและระบบขนส่งทางถนนระยะเร่งด่วน 1.2 หนี้ที่รัฐบาลกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ - FIDF 1 - FIDF 3 1.3 หนี้เงินกู้ล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี ้ - หนี้เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ - หนี้เงินกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ - FIDF 1 - FIDF 3 - หนี้เงินกู้เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 2. หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน (2.1+2.2) 2.1 หนี้ที่รัฐบาลค�ำ้ ประกัน - หนี้ต่างประเทศ - หนี้ในประเทศ 2.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน - หนี้ต่างประเทศ - หนี้ในประเทศ 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้ำประกัน) (3.1+3.2) 3.1 หนี้ต่างประเทศ 3.2 หนี้ในประเทศ 4. หนี้กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ (4.1+4.2) 4.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน 4.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน 5. หนี้หน่วยงานของรัฐ (5.1+5.2) 5.1 หนี้ที่รัฐบาลค�้ำประกัน 5.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน รวม Debt : GDP GDP ของปีงบประมาณ อัตราแลกเปลี่ยน

36

4,157,394.780 3,134,824.970 84,676.700 3,050,148.270 2,571,879.010 373,483.290 55,833.640 0.000 0.000 0.000 18,639.000 10,033.330 6,280.000 14,000.000 998,790.810 403,112.970 595,677.840 23,779.000 23,779.000 0.000 0.000 0.000 0.000 1,065,199.180 425,119.720 100,551.840 324,567.880 640,079.460 172,700.390 467,379.070 542,296.350 2,354.140 539,942.210 0.000 0.000 0.000 18,432.880 0.000 18,432.880 5,783,323.190 43.110 13,415,830.000 36.534


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ยุ ทธศาสตร์ที่ 2

พัฒนาตลาดตราสารหนี้ให้เป็นเสาหลักทางการเงิน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งของระบบการเงิน

สบน. มีบทบาททีส่ ำ� คัญในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ให้เป็น 1 ใน 3 เสาหลักทางการเงิน โดยปัจจุบันขนาด ของตลาดพั น ธบั ต รมี มู ล ค่ า ประมาณ 9,776,677.96 ล้านบาท หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 72.87 ของ GDP (ประมาณการ GDP สิน้ ปีงบประมาณ 2558 คือ 13,415,830 ล้านบาท) ซึ่ง สบน. ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาตลาด ตราสารหนี้เพื่อให้มีขนาดใกล้เคียงกับตลาดการเงินอื่นๆ (ตลาดทุนและตลาดสินเชื่อธนาคารพาณิชย์มีขนาดของ ตลาดคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 99 และร้อยละ 99 ของ GDP ตามล�ำดับ) โดยผ่านการออกตราสารหนีข้ องรัฐบาล ซึง่ ณ สิ้นปี 2558 ตราสารหนี้ของรัฐบาลมีมูลค่ารวมประมาณ 3,718,525.52 ล้านบาท ซึง่ สบน. ได้กำ� หนดกลยุทธ์ในการ ออกตราสารหนีข้ องรัฐบาลในแต่ละปีโดยค�ำนึงถึงปัจจัยหลัก 4 ประการ คือ 1) ระดมทุ น อย่ า งไรให้ ไ ด้ ว งเงิ น ครบตามวงเงิ น ที่ ต้องการ 2) ระดมทุนอย่างไรให้ได้ต้นทุนที่เหมาะสม 3) ระดมทุนอย่างไรให้มีความเสี่ยงต�่ำ 4) ระดมทุนอย่างไรให้เป็นไปในวิถีทางที่เอื้อต่อการ พัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ได้มีการด�ำเนินการ ที่ส�ำคัญด้านการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ดังนี้

1. การออกพันธบัตรรัฐบาลเพื่อใช้สร้างอัตรา ดอกเบี้ยอ้างอิง (Benchmark Bond)

สบน. ได้พัฒนาเครื่องมือการระดมทุนที่หลากหลาย เพือ่ เป็นทางเลือกในการระดมทุนของรัฐบาล โดยพันธบัตร รัฐบาลเพือ่ สร้างอัตราดอกเบีย้ อ้างอิง (Benchmark Bond) เป็นเครือ่ งมือหลักทีใ่ ช้ในการระดมทุน โดยคิดเป็นสัดส่วน ประมาณร้อยละ 80-90 ของตัวเลขการระดมทุนทั้งหมด เนื่องจาก Benchmark Bond เป็นช่องทางการระดมทุน ของรัฐบาลที่มีต้นทุนต�่ำสุด และการออกพันธบัตรรัฐบาล

ดังกล่าวจะช่วยสร้างอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงและช่วยเพิ่ม สภาพคล่องในตลาดรองตราสารหนี้ได้ด้วย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 สบน. ออก Benchmark Bond ในหลายรุน่ อายุตงั้ แต่ 5-50 ปี คิดเป็นจ�ำนวนทัง้ สิน้ 358,090 ล้านบาท ดังนี้ ตารางที่ 3 : สรุปผลการออก Benchmark Bond ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รุ่นอายุ วงเงิน (ล้านบาท) 5 ปี 155,558 10 ปี 73,198 15 ปี 44,138 30 ปี 49,255 50 ปี 36,760 รวม 358,909

2. การออกพันธบัตรออมทรัพย์เพือ่ รายย่อยพิเศษ

สบน. ได้ พั ฒ นาพั น ธบั ต รออมทรั พ ย์ พิ เ ศษเพื่ อ รายย่อย เพื่อเป็นทางเลือกในการออมที่มีคุณภาพให้แก่ ประชาชนที่มีรายได้น้อย และส่งเสริมให้สังคมไทยเข้าสู่ สั ง คมแห่ ง การออม โดยก� ำ หนดวงเงิ น ซื้ อ ขั้ น ต�่ ำ เพี ย ง 1,000 บาท รวมทั้งพัฒนาช่องทางการจ�ำหน่ายพันธบัตร ออมทรัพย์ผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร และเครื่องถอนเงิน อั ต โนมั ติ (ATM) และพั ฒ นาไปสู ่ ร ะบบไร้ ใ บตราสาร (Scripless) เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนให้ สามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 สบน. มีการจ�ำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์เพื่อรายย่อย จ�ำนวน 3 รุ่น ดังนี้ 1) พันธบัตรออมทรัพย์ของกระทรวงการคลัง ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รุ่นอายุ 3 ปี อัตราดอกเบี้ยคงที่ ร้อยละ 3.25 ต่อปี วงเงิน 4,000 ล้านบาท จ�ำหน่ายระหว่าง

37


วันที่ 1 ธันวาคม 2557 - 31 มีนาคม 2558 สามารถ จ�ำหน่ายได้ครบถ้วน ร้อยละ 100 ของวงเงินจ�ำหน่าย 2) พันธบัตรออมทรัพย์ของกระทรวงการคลัง ประจ�ำ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ครั้งที่ 2 รุ่นอายุ 3 ปี อัตรา ดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 3.00 ต่อปี วงเงิน 4,000 ล้านบาท จ�ำหน่ายระหว่างวันที่ 11 พฤษภาคม - 31 สิงหาคม 2558 สามารถจ�ำหน่ายได้ครบถ้วน ร้อยละ 100 ของวงเงิน จ�ำหน่าย 3) พันธบัตรออมทรัพย์พิเศษรุ่น “สุขกันเถอะเรา” ของกระทรวงการคลังและธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์ ก ารเกษตร วงเงิ น รวม 100,000 ล้ า นบาท แบ่งการจ�ำหน่ายเป็น - รุ่นอายุ 5 ปี วงเงิน 50,000 ล้านบาท ออกโดย ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ ก ารเกษตร โดย กระทรวงการคลังเป็นผู้ค�้ำประกัน มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ที่ ร้อยละ 3.80 ต่อปี มีผลการจ�ำหน่ายรวมทั้งสิ้น 36,817 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 73.38 ของวงเงินจ�ำหน่าย - รุ่นอายุ 10 ปี วงเงิน 50,000 ล้านบาท ออกโดย กระทรวงการคลัง มีอัตราดอกเบี้ยแบบขั้นบันได ดังนี้ ปีที่ 1 - 3 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3 ต่อปี ปีที่ 4 - 7 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4 ต่อปี ปีที่ 8 - 10 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5 ต่อปี

38

มีผลการจ�ำหน่ายรวมทั้งสิ้น 11,679 ล้านบาท หรือ คิดเป็นร้อยละ 23.36 ของวงเงินจ�ำหน่าย

3. การด�ำเนินธุรกรรม Bond Switching ของ กระทรวงการคลัง

สบน. ได้ ด� ำ เนิ น การพั ฒ นาธุ ร กรรมแลกเปลี่ ย น พันธบัตร “Bond Switching” เพื่อเครื่องมือในการปรับ โครงสร้างหนี้โดยการเปิดโอกาสให้นักลงทุนสามารถน�ำ พันธบัตรรัฐบาลที่ถือครองอยู่ในรุ่นที่กระทรวงการคลัง ก�ำหนด (Source Bond) มาแลกเปลี่ยนเป็นพันธบัตร รัฐบาลรุน่ ทีก่ ระทรวงการคลังก�ำหนด (Destination Bond) ซึ่งมักมีอายุยาวกว่า โดยอาจเป็นพันธบัตรรุ่นเดิมที่มีอยู่ ในตลาด (On the run Benchmark) พันธบัตรรุ่นที่มี สภาพคล่องในตลาดสูง หรือพันธบัตรรุ่นใหม่ก็ได้ ซึ่งจะ เห็นได้ว่า ธุรกรรม Bond Switching สามารถส่งเสริม ทั้งการพัฒนาตลาดตราสารหนี้และป้องกันความเสี่ยง ในการปรับโครงสร้างหนี้ในเวลาเดียวกัน นอกจากนี้ Bond Switching ยังเป็นเครื่องมือใหม่ที่ ช่วยในการบริหารหนี้เชิงรุกของรัฐบาลให้มีประสิทธิภาพ มากยิง่ ขึน้ สามารถช่วยสร้างสภาพคล่องในตลาดตราสารหนี้ พร้ อ มทั้ ง เป็ น ทางเลื อ กและเครื่ อ งมื อ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ส�ำหรับนักลงทุนในการบริหารพอร์ทการลงทุนให้ดียิ่งขึ้น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 สบน. ได้ด�ำเนินธุรกรรม Bond Switching ดังนี้ 1) สบน. ได้ด�ำเนินการท�ำธุรกรรม Bond Switching ครั้งแรกของประเทศไทย เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2557 โดยก�ำหนดให้พันธบัตรรัฐบาลรุ่น LB155A เป็น Source Bond และคัดเลือก Destination Bonds จ�ำนวน 4 รุ่น ที่มีรุ่นอายุที่หลากหลาย เพื่อให้ครอบคลุมและสอดคล้อง กั บ ความต้ อ งการลงทุ น ของนั ก ลงทุ น ประเภทต่ า งๆ เช่น นักลงทุนสถาบัน กองทุนรวม นักลงทุนระยะยาว และนักลงทุนต่างชาติ รายละเอียดปรากฏดังตารางที่ 4


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ตารางที่ 4 : ผลการท�ำธุรกรรม Bond Switching พันธบัตรรัฐบาล รุ่น LB155A แยกตาม Destination Bond ชื่อพันธบัตร อายุคงเหลือ (ณ 28 ต.ค. 2557) วงเงินท�ำธุรกรรม (ล้านบาท) ร้อยละ LB176A 2 ปี 6 เดือน 23,409 31 LB191A 4 ปี 1 เดือน 23,623 31 LB21DA 7 ปี 10,064 13 LBA37DA 23 ปี 19,139 25 รวม 76,235 100 การท�ำ Bond Switching ครั้งที่ 1 ส�ำหรับพันธบัตร รัฐบาลรุ่น LB155A สามารถลดยอดหนี้คงค้างได้จ�ำนวน 76,235 ล้านบาท หรือลดลงกว่าร้อยละ 50 จากยอด คงค้ า งของพั น ธบั ต รรุ ่ น LB155A จ� ำ นวน 152,572 ล้านบาท เหลือจ�ำนวน 76,337 ล้านบาท ซึ่งช่วยลด ความเสี่ยงในการปรับโครงสร้างหนี้เมื่อพันธบัตรครบ ก�ำหนดช�ำระได้มาก

2) สบน. ได้ด�ำเนินการท�ำธุรกรรม Bond Switching ครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 26 มิถนุ ายน 2558 โดย สบน. ได้กำ� หนด ให้พันธบัตรรัฐบาล รุ่น LB15DA เป็น Source Bond และ ได้เลือก Destination Bond จ�ำนวน 5 รุน่ ซึง่ มีอายุคงเหลือ 3-23 ปี เพื่ อ ให้ มี ค วามหลากหลายมากยิ่ ง ขึ้ น และให้ ครอบคลุมความต้องการลงทุนและเป็นการขยายฐานของ นักลงทุน รายละเอียดปรากฏดังตารางที่ 5

ตารางที่ 5 : ผลการท�ำธุรกรรม Bond Switching พันธบัตรรัฐบาล รุ่น LB15DA แยกตาม Destination Bond ชื่อพันธบัตร อายุคงเหลือ (ณ 26 มิ.ย. 2558) วงเงินท�ำธุรกรรม (ล้านบาท) ร้อยละ LB183B 2 ปี 9 เดือน 8,039 13 LB206A 5 ปี 18,291 29 LB25DA 10 ปี 6 เดือน 9,656 15 LB296DA 14 ปี 10,580 16 LBA37DA 22 ปี 6 เดือน 17,394 27 รวม 63,960 100 การด�ำเนินการท�ำธุรกรรม Bond Switching ส�ำหรับ พั น ธบั ต รรุ ่ น LB15DA สามารถลดยอดหนี้ ค งค้ า งได้ จ�ำนวน 63,960 ล้านบาท หรือลดลงกว่าร้อยละ 48 จาก ยอดคงค้างของพันธบัตรรุ่น LB15DA จ�ำนวน 132,000 ล้านบาท เหลือจ�ำนวน 68,040 ล้านบาท

39


ยุทธศาสตร์ที่ 3

การพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ

1. การพัฒนาบุคลากร

1) หลั ก สู ต รนั ก บริ ห ารหนี้ ส าธารณะมื อ อาชี พ รุ ่ น ที่ 3 สบน. ได้ อ อกแบบหลั ก สู ต ร “นั ก บริ ห าร หนี้สาธารณะมืออาชีพ” รุ่นที่ 3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาบุคลากรของ สบน. ให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญใน งานด้านการบริหารหนีส้ าธารณะอย่างแท้จริง และมีความ เป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงาน โดยหลักสูตรดังกล่าวมี เนื้อหาเกี่ยวกับเทคนิคในการบริหารจัดการหนี้สาธารณะ การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ การระดมทุน การวิเคราะห์ โครงการ การบริหารจัดการ และทักษะในการเจรจาต่อรอง รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ แ ละ การท� ำ งานเป็ น ที ม ซึ่ ง หลั ก สู ต รได้ อ อกแบบเพื่ อ เป็ น มาตรฐานในการพัฒนาบุคลากรของ สบน. ให้สามารถ ปฏิ บั ติ ง านได้ ต ามวิ สั ย ทั ศ น์ ข ององค์ ก รที่ ต ้ อ งการให้ บุคลากรมีความเป็นมืออาชีพในการบริหารหนี้สาธารณะ 2) โครงการฝึกอบรม “ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ เครื่องมือทางการเงินและกลยุทธ์การพัฒนาตลาด ตราสารหนี้ไทย” สบน. ได้รับความร่วมมือจากสมาคม ตลาดตราสารหนีไ้ ทยในการส่งผูเ้ ชีย่ วชาญมาเป็นวิทยากร เพื่อให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงินและ ตลาดตราสารหนี้ไทยแก่บุคลากรของ สบน. 3) โครงการให้ความรู้ ปลุกจิตส�ำนึกในการป้องกัน และปราบปรามการทุ จ ริ ต ให้ กั บ เครื อ ข่ า ยภาครั ฐ ต่อต้านการทุจริตภายใต้โครงการ “ข้าราชการไทย ไร้ทุจริต” โครงการนี้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อให้ความรู้ และปลุกจิตส�ำนึกของบุคลากรให้ปฏิบัติงานด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริตและเพื่อสร้าง “เครือข่ายภาครัฐต่อต้านการ ทุจริต” โดยมุ่งหวังให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นและ ศรัทธาต่อการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ อันจะส่งผลให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อภาครัฐและประเทศ ชาติต่อไป

40

2. การจัดการความรู้ของ สบน.

สบน. ได้ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในองค์กร เพื่อพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็งมีประสิทธิภาพ และพัฒนา องค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ได้ด�ำเนินการผ่านกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม ได้แก่ 1) กิจกรรมการแบ่งปันและแลกเปลีย่ นองค์ความรูก้ บั หน่วยงานภายนอก จ�ำนวน 4 ครั้ง 2) กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Morning Talk/Lunch Talk) เป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่าง บุคลากรภายในองค์กร จ�ำนวน 13 ครั้ง 3) กิจกรรมการศึกษาดูงานกับหน่วยงานภายนอก (KM Journey) ซึ่ ง เป็ น การไปศึ ก ษาดู ง านหน่ ว ยงาน ทีเ่ ป็นต้นแบบด้านการเรียนรูต้ ามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ จังหวัดจันทบุรี


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

3. การวางแผนยุทธศาสตร์ และการถ่ายทอด ลงสู่การปฏิบัติ

ในปี ง บประมาณ พ.ศ. 2558 สบน. ได้ รั บ รางวั ล คุ ณ ภาพการบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ (PMQA) ประจ� ำ ปี ง บประมาณ พ.ศ. 2558 ในหมวด 2 การวางแผน ยุทธศาสตร์ และการสือ่ สารเพือ่ น�ำไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ซึง่ เป็น ผลจากการด�ำเนินงานด้านการวางแผนยุทธศาสตร์อย่าง ต่อเนื่องและเป็นระบบ โดย สบน. มีการถ่ายทอดตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายขององค์กรสู่ระดับบุคคล โดยบุคลากร ทุ ก ระดั บ ต้ อ งเข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มในการด� ำ เนิ น การตาม ยุทธศาสตร์ที่วางไว้ มีการถ่ายทอดตัวชี้วัดจากระดับ

กระทรวง สู่ระดับกรม และระดับหน่วยงานภายใน จนถึง ระดับบุคคล เพื่อให้การด�ำเนินงานต่างๆ มีผู้รับผิดชอบ ที่ชัดเจน รวมทั้งผู้บริหารให้ความส�ำคัญกับการพิจารณา ค่าเป้าหมายให้มีความท้าทายและสอดคล้องกับผลการ ด�ำเนินการทีผ่ า่ นมา โดยมีระบบในการเจรจาค่าเป้าหมาย ซึ่ ง จะพิ จ ารณาจากข้ อ มู ล การด� ำ เนิ น งานที่ ผ ่ า นมา โดยจั ด การเจรจาระหว่ า งผู ้ บ ริ ห ารและบุ ค ลากรของ หน่วยงานระดับส�ำนักกับผู้บริหารระดับสูง เพื่อให้เกิด ความเข้าใจในเป้าหมายขององค์กรร่วมกันและเกิดการ เชือ่ มโยงระหว่างหน่วยงานภายใน และส่งผลให้เกิดความ ร่วมมือจากบุคลากรในทุกระดับขององค์กร

41


ผลการด�ำเนินงาน

ตามนโยบายรัฐบาลและภารกิจเร่งด่วน

1. การขั บ เคลื่ อ นโครงการลงทุ น ภาครั ฐ ด้ า น โครงสร้างพื้นฐานของประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขันของประเทศ

รัฐบาลได้กำ� หนดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย (พ.ศ. 2558-2565) เพือ่ ใช้เป็นกรอบในการด�ำเนินการและการลงทุนโครงสร้าง พื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของประเทศไทยในระยะเวลา 8 ปี โดยมุง่ เน้นการปรับปรุงระบบขนส่งทางรางและพัฒนา ระบบขนส่งสาธารณะให้ทันสมัย รวมทั้งพัฒนาความ เชือ่ มโยงระบบคมนาคมขนส่งกับประเทศเพือ่ นบ้านภายใต้ กรอบความร่วมมือระดับภูมภิ าค ซึง่ ประกอบด้วย 5 แผนงาน ดังนี้ แผนงานที่ 1 การพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง แผนงานที่ 2 การพัฒนาโครงข่ายขนส่งสาธารณะ เพื่อแก้ไขปัญหาจราจรในกรุงเทพฯ และปริมณฑล แผนงานที่ 3 การเพิ่มขีดความสามารถทางหลวง เพื่ อ เชื่ อ มโยงฐานการผลิ ต ที่ สํ า คั ญ ของประเทศและ เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบาน แผนงานที่ 4 การพัฒนาโครงข่ายการขนส่งทางน�ำ้ แผนงานที่ 5 การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการ ให้บริการด้านขนส่งทางอากาศ ในปี ง บประมาณ พ.ศ. 2558 มี โ ครงการภายใต้ ยุทธศาสตร์โครงสร้างพืน้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย อยู ่ ภ ายใต้ แ ผนการบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ ประจ� ำ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 3) จ� ำ นวน 7 โครงการ วงเงิ น รวมทั้ ง สิ้ น 46,994.56 ล้ า นบาท ประกอบด้วย 1) โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ช่วงหมอชิต-สะพาน ใหม่-คูคต ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย วงเงิน 3,200.00 ล้านบาท 2) โครงการระบบขนส่ ง มวลชนทางรางในพื้ น ที่ กรุงเทพฯ และปริมณฑล (สายสีแดง) บางซื่อ-รังสิต ของ การรถไฟแห่งประเทศไทย วงเงิน 11,980.84 ล้านบาท

42

3) โครงการจัดหารถจักรดีเซลไฟฟ้า 20 คัน ของ การรถไฟแห่งประเทศไทย วงเงิน 1,828.70 ล้านบาท 4) โครงการจัดหารถโบกีบ้ รรทุกสินค้า จ�ำนวน 308 คัน ของการรถไฟแห่งประเทศไทย วงเงิน 115.50 ล้านบาท 5) โครงการจัดหารถโดยสารรุน่ ใหม่สำ� หรับเชิงพาณิชย์ จ�ำนวน 115 คัน ของการรถไฟแห่งประเทศไทย วงเงิน 700.34 ล้านบาท 6) โครงการเงินกู้เพื่อจัดซื้อเครื่องบิน จ�ำนวน 2 ล�ำ และซือ้ คืนเครือ่ งบิน จ�ำนวน 6 ล�ำ ของบริษทั การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) วงเงิน 8,470.79 ล้านบาท 7) โครงการจัดซือ้ เครือ่ งบิน จ�ำนวน 6 ล�ำ ของบริษทั การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) วงเงิน 20,698.39 ล้านบาท ทั้ ง นี้ ระหว่ า งการด� ำ เนิ น การหน่ ว ยงานเจ้ า ของ โครงการได้ขอใช้เงินกู้จ�ำนวน 40,958.74 ล้านบาท โดย สบน. สามารถจัดหาเงินกู้ได้ครบถ้วนตามความประสงค์ ในการขอใช้เงินกู้ของหน่วยงานเจ้าของโครงการ

2. โครงการเงิ น กู ้ เ พื่ อ การพั ฒ นาระบบบริ ห าร จั ด การทรั พ ยากรน�้ ำ และระบบขนส่ ง ทางถนน ระยะเร่งด่วน

เมื่ อ วั น ที่ 17 มี น าคม 2558 คณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ เห็นชอบ “โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากร น�้ ำ และระบบขนส่ ง ทางถนนระยะเร่ ง ด่ ว น” วงเงิ น 78,294.85 ล้านบาท โดยโครงการดังกล่าวประกอบด้วย แผนงาน/โครงการขนาดกลางและขนาดเล็ ก ที่ มี พื้ น ที่ ด�ำเนินการกระจายในภูมิภาคและมีความพร้อมสามารถ ด�ำเนินการได้ทันทีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 และ เพื่ อ ให้ ก ารด� ำ เนิ น การเป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ คณะรัฐมนตรีจงึ มอบหมายให้กระทรวงการคลังโดย สบน. เป็นผู้พิจารณากลั่นกรองโครงการและจัดหาเงินกู้เพื่อ สนับสนุนการด�ำเนินการ โดยให้ส�ำนักงบประมาณเป็น ผูใ้ ห้ความเห็นชอบแผนปฏิบตั งิ าน (Action Plan) แผนการ ใช้เงินกู้ และด�ำเนินการจัดสรรเงินกู้ให้แก่โครงการต่างๆ


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ภายในกรอบวงเงินตามที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ พร้อมกับ มอบหมายให้ ส� ำ นั ก งบประมาณพิ จ ารณาจั ด สรร งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เป็นค่าดอกเบีย้ ทีเ่ กิดขึน้ จากการกูเ้ งินเพือ่ ด�ำเนินโครงการ เงินกู้ดังกล่าวตามความเหมาะสม เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2558 คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติ โครงการเงิ น กู ้ เ พื่ อ การพั ฒ นาระบบบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรน�้ำและระบบขนส่งทางถนน ระยะเร่งด่วน : มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 และอนุมัติแหล่งเงิน ลงทุนส�ำหรับโครงการเงินกู้ฯ ซึ่งประกอบด้วยเงินยืมจาก

กองทุ น วิ จั ย และพั ฒ นากิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมเพือ่ ประโยชน์สาธารณะ ของส�ำนักงาน กสทช. วงเงิน 14,300 ล้านบาท และเงินกู้ เพื่ อ พั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมในกรอบวงเงิ น ไม่ เ กิ น 65,700 ล้านบาท ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 สบน. ได้จัดหาเงินกู้ ในรู ป แบบ Term Loan จ� ำ นวน 10,000 ล้ า นบาท เพื่อรองรับการเบิกจ่ายของหน่วยงานเจ้าของโครงการฯ โดยส� ำ นั ก งบประมาณได้ จั ด สรรเงิ น กู ้ ดั ง กล่ า วให้ กั บ หน่วยงานเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

43


3


งบการเง�น ของสำนั ก งานบร� ห ารหนี ้ ส าธารณะ


21 สสานั านักกงานบริ งานบริหหารหนี ารหนี้ส้สาธารณะ าธารณะ งบแสดงฐานะการเงิ งบแสดงฐานะการเงินน ณณ วัวันนทีที่ ่ 30 30 กักันนยายน ยายน 2558 2558

งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2558

(หน่วย : บาท) หมายเหตุ สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ระยะสัน้ เงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินให้กยู้ มื ระยะยาว อาคาร และอุปกรณ์ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

46

5 6 7 8

48,767,515,267.15 12,141,842,887.07 31,764,933,416.75 5,455,726,323.28 98,130,017,894.25

9 10 11

122,284,935,211.54 35,169,948.77 1,998,155.51 122,322,103,315.82 220,452,121,210.07


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

2 สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 (หน่วย : บาท) หนี้ สิน

หนี้ สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ระยะสัน้ เงินกูย้ มื ระยะสัน้ ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวทีถ่ งึ กาหนดชาระ ภายใน 1 ปี เงินรับฝากระยะสัน้ หนี้สนิ หมุนเวียนอืน่ รวมหนี้ สินหมุนเวียน หนี้ สินไม่หมุนเวียน เจ้าหนี้เงินโอนและรายการอุดหนุนระยะยาว เงินกูย้ มื ระยะยาว เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะยาว หนี้สนิ ไม่หมุนเวียนอืน่ รวมหนี้ สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้ สิน สิ นทรัพย์สทุ ธิ สิ นทรัพย์สทุ ธิ ทุน รายได้สงู /(ต่า)กว่าค่าใช้จา่ ยสะสม รวมสิ นทรัพย์สทุ ธิ

หมายเหตุ

12 13 14

70,117,249,758.86 116,962,253,875.15 312,424,899,877.13

15 16

4,332,321,206.08 6,353,808,408.96 510,190,533,126.18

17 18

758,202.59 3,815,668,017,895.32 1,000,000.00 6,302,459,375.19 3,821,972,235,473.10 4,332,162,768,599.28 (4,111,710,647,389.21)

19 20

(1,745,948,795,386.54) (2,365,761,852,002.67) (4,111,710,647,389.21)

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

47


3 สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ งบแสดงผลการดาเนินงานทางการเงิน สาหรับปีสน้ิ สุด วันที่ 30 กันยายน 2558 ส�ำหรับสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2558

งบแสดงผลการด�ำเนินงานทางการเงิน

(หน่วย : บาท) รายได้ รายได้จากงบประมาณ รายได้จากเงินกูแ้ ละรายได้อน่ื จากรัฐบาล รายได้จากการขายสินค้าและบริการ รายได้จากการอุดหนุนและบริจาค รายได้อน่ื รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายบุคลากร ค่าบาเหน็จบานาญ ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย ค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุนและบริจาค ค่าใช้จ่ายอืน่ รวมค่าใช้จ่าย รายได้สงู กว่าค่าใช้จา่ ยก่อนต้นทุนทางการเงิ น ต้นทุนทางการเงิน รายได้ตา่ กว่าค่าใช้จ่ายจากการดาเนิ นงานตามปกติ รายได้แผ่นดินสุทธิ รายได้ตา่ กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้

48

หมายเหตุ 21 22 23 24 25

161,777,684,646.00 10,964,032.84 10,360.00 269,277,295,338.43 1,840,100,916.81 432,906,055,294.08

26 27 28 29 30 31 32 33 34

78,678,358.94 9,095,781.78 2,746,020.00 79,608,984.73 4,889,980.14 4,571,661.95 27,060,751.57 4,046,489,634.67 309,503,163,245.23 313,756,304,419.01 119,149,750,875.07 (257,263,529,274.66) (138,113,778,399.59) 26,370,307.46 (138,087,408,092.13)

35


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2558

4

หมายเหตุ 1 ข้อมูลทัวไป ่ สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เป็ นส่วนราชการในระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลัง จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 9 ตุลาคม 2545 ตามพระราชบัญญัตปิ รับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 สบน. เป็ นองค์กรทีม่ ภี ารกิจเสนอแนะนโยบาย รวมทัง้ ดาเนินการก่อหนี้และบริหารหนี้สาธารณะ โดย คานึงถึงประโยชน์สงู สุดของประเทศโดยมีบทบาทด้านงานบริหารจัดการหนี้สาธารณะในฐานะหน่ วยงาน (Agency) ซึง่ ดาเนินการตามภารกิจ เช่นเดีย วกับ ส่ว นราชการอื่น และงานบริหารหนี้ สาธารณะในฐานะหน่ ว ยงานกลาง (Core Agency) ประกอบไปด้วย การก่อหนี้ ท่กี ระทรวงการคลังได้ผูกพันในฐานะผู้กู้ในนามรัฐบาลของ ราชอาณาจักรไทย ทัง้ หนี้ในประเทศและต่างประเทศ การบริหารจัดการหนี้คงค้าง รวมถึงการบริหารการชาระหนี้ หมายเหตุ 2 เกณฑ์การจัดทางบการเงิ น งบการเงินนี้จดั ทาขึน้ ตามมาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐทีก่ ระทรวงการคลังประกาศใช้ ซึ่งรวมถึงหลักการและนโยบายบัญชีสาหรับหน่ วยงานภาครัฐ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชี ภาครัฐ และแสดงรายการในงบการเงินตามแนวปฏิบ ตั ทิ างบัญชี เรื่อง การนาเสนองบการเงิน ตามหนังสือ กรมบัญชีกลาง ที่ กค 0423.2/ว 237ลงวันที่ 8 กันยายน 2557 หมายเหตุ 3 มาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐฉบับใหม่ และมาตรฐานและนโยบายการบัญชี ภาครัฐ ดาเนินการตามมาตรฐานและนโยบายการบัญชีภาครัฐ หมายเหตุ 4 สรุปนโยบายการบัญชีที่สาคัญ 4.1 งบการเงิ นนี้ จดั ทาขึ้นตามเกณฑ์คงค้าง (Accrual basis) โดยเป็ นไปตามข้อกาหนดใน หลักการและนโยบายบัญชีสาหรับหน่ ว ยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 ตามประกาศกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2546 4.2 เงิ นสดและรายการเที ยบเท่าเงิ นสด เช่น เช็ค ตั ๋วแลกเงินสด เป็ นต้น รับรูต้ ามมูลค่าทีต่ ราไว้ เงินทดรองราชการ บันทึกรับรูเ้ มือ่ ได้รบั เงินควบคูไ่ ปกับการบันทึกเงินทดรองราชการรับเงินจากคลังระยะยาว 4.3 ลูกหนี้ เงิ นยืม บันทึกรับรูต้ ามจานวนเงินในสัญญายืม ไม่ว่าจะจ่ายจากเงินงบประมาณหรือเงินนอก งบประมาณ 4.4 รายได้ จากเงิ นงบประมาณค้ างรับ บันทึกเป็ นรายได้จากเงินงบประมาณค้างรับ ณ วันที่ จัดทารายงานหรือ ณ วันสิน้ ปี งบประมาณ ตามจานวนเงินงบประมาณทีย่ งั ไม่ได้รบั ตามฎีกาเหลื่อมจ่าย 4.5 รายได้ค้างรับ บันทึกตามจานวนเงินทีย่ งั ไม่ได้รบั จนถึงสิน้ ปี งบประมาณ 4.6 วัสดุคงเหลือ แสดงในราคาทุน โดยตีราคาวัสดุคงเหลือตามวิธเี ข้าก่อนออกก่อน 4.7 ดอกเบีย้ จ่ายล่วงหน้ า เป็ นส่วนลดทีใ่ ห้แก่ผปู้ ระมูลตั ๋วเงินคลัง 4.8 เงิ นให้ ก้ รู ะยะยาวแก่ รฐั วิ สาหกิ จ เป็ นเงินให้ยมื แก่รฐั วิสาหกิจ บันทึกรับรู้ตามจานวนเงิน ในสัญญากูเ้ งิน

49


5 4.9 อาคารและอุปกรณ์ (สุทธิ ) เป็ นสินทรัพย์ทม่ี มี ลู ค่าต่อหน่ วยต่อชุดหรือต่อกลุ่ม ตัง้ แต่ 30,000 บาท ขึน้ ไปเฉพาะทีซ่ ้อื หรือได้มาตัง้ แต่ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2540 - 2545 สาหรับรายการทีจ่ ดั ซื้อหรือได้มาในปี งบประมาณ พ.ศ. 2546 เป็ นต้นไป จะรับรูเ้ ฉพาะทีม่ มี ลู ค่าตัง้ แต่ 5,000 บาท ขึน้ ไป โดยแสดงราคาทุนหักด้วยค่าเสือ่ มราคาสะสม 4.10 สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน (สุทธิ ) แสดงในราคาทุนหักค่าตัดจาหน่ายสะสม 4.11 เจ้าหนี้ บันทึกรับรูเ้ จ้าหนี้จากการซื้อสินค้าหรือบริการ เมื่อหน่ วยงานได้ตรวจรับสินค้าหรือ บริการจากผูข้ ายแล้ว แต่ยงั ไม่ได้ชาระเงิน และสามารถระบุมลู ค่าสินค้าหรือบริการได้ชดั เจน 4.12 ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เกิดขึน้ จากข้อกาหนดของกฎหมาย ข้อตกลงในสัญญา หรือจากบริการที่ ได้รบั เช่น เงินเดือนหรือค่าจ้างค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายดาเนินงานค้างจ่ายและดอกเบี้ยค้างจ่าย เป็ นต้น โดยการ ประมาณค่าตามระยะเวลาทีเ่ กิดค่าใช้จ่ายนัน้ ๆ สาหรับใบสาคัญค้างจ่ายจะรับรูเ้ มือ่ ได้รบั ใบขอเบิกเงินจากข้าราชการ พนักงานราชการ หรือลูกจ้าง รวมถึงการรับใบสาคัญทีท่ ดรองจ่ายจากเงินทดรองราชการ 4.13 รายได้รบั ล่วงหน้ า บันทึกรับรูร้ ายได้รบั ล่วงหน้า เมื่อได้รบั เงินตามจานวนการใช้จ่ายเงิน รวมถึงการรับเงินสนับสนุน 4.14 เงิ นกู้ระยะสัน้ เป็ นเงินกูท้ ก่ี ระทรวงการคลังกูใ้ นนามรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย ซึง่ เป็ น ส่วนของงานหนี้สาธารณะ ประกอบด้วย 1) เงินกูใ้ นประเทศ ได้แก่ เงินกูท้ เ่ี กิดจากการออกตั ๋วเงินคลัง (T- Bill) ตั ๋วสัญญาใช้เงิน ระยะสัน้ (R-Bill และ PN) เงินกู้ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน และส่วนที่จะครบกาหนดชาระภายในหนึ่งปี ของ พันธบัตรรัฐบาล ตั ๋วสัญญาใช้เงิน (PN) และสัญญาเงินกูร้ ะยะยาว (Long Term Loan) 2) เงินกูต้ ่างประเทศ ได้แก่ ตั ๋ว Euro Commercial Paper (ECP) และส่วนทีจ่ ะครบกาหนด ชาระภายในหนึ่งปี ของ Samurai Bond และเงินกูต้ ามสัญญากูเ้ งินทีเ่ ป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศ 4.15 เงิ นกู้ระยะยาว เป็ นเงินกูท้ ก่ี ระทรวงการคลังกูใ้ นนามรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย ซึง่ เป็ นส่วนของงานหนี้สาธารณะ ประกอบด้วย 1) เงินกูใ้ นประเทศ ได้แก่ เงินกูท้ เ่ี กิดจากการออกตั ๋วสัญญาใช้เงิน สัญญาเงินกูร้ ะยะยาวจาก สถาบันการเงิน และพันธบัตร ซึง่ พันธบัตรรับรูต้ ามมูลค่าทีต่ ราไว้หกั หรือบวกด้วยส่วนเกินหรือส่วนต่ากว่ามูลค่า พันธบัตรทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ มีการออกจาหน่ายพันธบัตร และทยอยรับรูส้ ว่ นเกินและส่วนต่ากว่ามูลค่าตามอายุพนั ธบัตร โดยวิธเี ส้นตรง 2) เงินกูต้ ่างประเทศ ได้แก่ เงินกูท้ เ่ี กิดจากการออก Samurai Bond และเงินกูต้ ามสัญญา กูเ้ งินทีเ่ ป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศ 4.16 หนี้ สาธารณะ หมายถึง หนี้ทก่ี ระทรวงการคลัง หน่ วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือหนี้ ทีก่ ระทรวงการคลังคา้ ประกัน (คา้ ประกัน รวมถึงการอาวัลตั ๋วเงิน) แต่ไม่รวมถึงหนี้ของรัฐวิสาหกิจทีท่ าธุรกิจให้กยู้ มื เงินโดยกระทรวงการคลังมิได้คา้ ประกัน การกูเ้ งินจะทาเป็ นสัญญาหรือออกตราสารหนี้กไ็ ด้

50


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

6 4.17 การแปลงค่าเงิ นตราต่ างประเทศ ได้บนั ทึกสินทรัพย์และหนี้สนิ ทีเ่ ป็ นเงินตราต่างประเทศ ตามวันทีเ่ กิดรายการด้วยสกุลเงินตราต่างประเทศนัน้ ๆ และแปลงค่าเป็ นเงินบาทโดยใช้อตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันทีเ่ กิด รายการ โดยสินทรัพย์และหนี้สนิ คงเหลือ ณ วันจัดทารายงาน หรือ ณ วันสิ้นปี งบประมาณ ได้แปลงค่าเงินตรา ต่างประเทศของทรัพย์สนิ และหนี้สนิ คงเหลือ โดยใช้อตั ราซื้อสาหรับสินทรัพย์ และอัตราขายสาหรับหนี้สนิ ตามอัตราแลกเปลี่ยนอ้างอิง ตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย กาไรหรือขาดทุนทีเ่ กิดจากการแปลงค่า ดังกล่าวรับรูเ้ ป็ นรายได้หรือค่าใช้จ่ายจากอัตราแลกเปลีย่ น 4.18 ทุน รับรูเ้ มือ่ เริม่ ปฏิบตั ติ ามระบบบัญชีเกณฑ์คงค้างซึง่ เกิดจากผลต่างระหว่างสินทรัพย์และ หนี้สนิ 4.19 การรับรู้รายได้ 4.19.1 รายได้จากเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณรับรูเ้ มื่อได้รบั อนุ มตั คิ าขอเบิก จากกรมบัญชีกลาง 4.19.2 รายได้อน่ื รับรูต้ ามเกณฑ์คงค้างเมือ่ เกิดรายการ 4.20 ค่าใช้ จ่ายบุคลากร ค่ าใช้ จ่ายในการดาเนิ นงานและค่าใช้ จ่ายงบกลาง รับรูเ้ มื่อเกิด ค่าใช้จ่าย 4.21 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่ าย คานวณโดยวิธเี ส้นตรงไม่มรี าคาซาก (ราคาซาก = 0) สินทรัพย์ทห่ี มดอายุการใช้งานแล้วให้คงมูลค่าไว้ในบัญชี 1 บาท จนกว่าจะมีการจาหน่ ายสินทรัพย์ออกจากระบบ บัญชี การตีราคาสินทรัพย์ การคิดค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่ ายได้กาหนดประเภทสินทรัพย์และอายุการใช้งาน ของสินทรัพย์ตามหลักการและนโยบายการบัญชีภาครัฐ

51


7

หมายเหตุ 5 เงิ นสดและรายการเที ยบเท่าเงิ นสด เงินทดรองราชการ เงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทยจากเงินกูเ้ พือ่ การปรับโครงสร้างหนี้ เงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทยจากการกูเ้ งินเพือ่ ช่วยเหลือกองทุนฟื้นฟู เงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทยเพือ่ ปรับโครงสร้างหนี้เงินกูต้ ามแผนปฏิบตั กิ าร ไทยเข้มแข็ง เงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทยจากการกูเ้ งินเพือ่ การบริหารหนี้ เงินฝากคลัง เงินฝากไม่มรี ายตัว รวม เงิ นสดและรายการเที ยบเท่าเงิ นสด หมายเหตุ 6 ลูกหนี้ ระยะสัน้ ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ รายได้คา้ งรับ - หน่วยงานภาครัฐ รายได้คา้ งรับ - บุคคลภายนอก ค้างรับจากกรมบัญชีกลาง รวม ลูกหนี้ ระยะสัน้

(หน่วย : บาท) 1,000,000.00 12,057,275.57 1,811,747,436.82 3,664,778,149.11 18,899,771,920.40 8,378,160,485.25 16,000,000,000.00 48,767,515,267.15

(หน่วย : บาท) 502,577.00 1,314,718.00 1,228,837,215.40 10,911,100,634.27 87,742.40 12,141,842,887.07

หมายเหตุ 7 เงิ นให้ก้ยู ืมระยะสัน้ เงินให้กยู้ มื - รัฐวิสาหกิจ ปรับมูลค่าเงินให้กตู้ ่อสกุลเงินต่างประเทศ - ระยะสัน้ เงินให้ยมื - หน่วยงานภาครัฐ รวม เงิ นให้ก้ยู ืมระยะสัน้ หมายเหตุ 8 สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ดอกเบีย้ จ่ายล่วงหน้า - ตั ๋วเงินคลัง พักรับ/จ่ายเงินกรณีบริหารหนี้ แบบไม่มตี วั เงิน รวม สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น

52

(หน่วย : บาท) 6,176,283,875.15 236,530,000.00 25,352,119,541.60 31,764,933,416.75

(หน่วย : บาท) 438,854.24 235,656,376.98 5,219,631,092.06 5,455,726,323.28


8

รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

หมายเหตุ 9 เงิ นให้ก้ยู ืมระยะยาว เงินให้กยู้ มื ระยะยาว - หน่วยงานภาครัฐ เงินให้กยู้ มื ระยะยาว - รัฐวิสาหกิจ พักปรับมูลค่าเงินให้กรู้ ะยะยาว รวม เงิ นให้ก้ยู ืมระยะยาว หมายเหตุ 10 อาคาร และอุปกรณ์ ส่วนปรับปรุงอาคาร หัก ค่าเสือ่ มราคาสะสม - ส่วนปรับปรุงอาคาร ส่วนปรับปรุงอาคาร - สุทธิ ครุภณ ั ฑ์สานักงาน หัก ค่าเสือ่ มราคาสะสม - ครุภณ ั ฑ์สานักงาน ครุภณ ั ฑ์สานักงาน - สุทธิ ครุภณ ั ฑ์ยานพาหนะและขนส่ง หัก ค่าเสือ่ มราคาสะสม - ครุภณ ั ฑ์ยานพาหนะและขนส่ง ครุภณ ั ฑ์ยานพาหนะและขนส่ง - สุทธิ ครุภณ ั ฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ หัก ค่าเสือ่ มราคาสะสม - ครุภณ ั ฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ ครุภณ ั ฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ - สุทธิ ครุภณ ั ฑ์โฆษณาและเผยแพร่ หัก ค่าเสือ่ มราคาสะสม - ครุภณ ั ฑ์โฆษณาและเผยแพร่ ครุภณ ั ฑ์โฆษณาและเผยแพร่ - สุทธิ ครุภณ ั ฑ์คอมพิวเตอร์ หัก ค่าเสือ่ มราคาสะสม - ครุภณ ั ฑ์คอมพิวเตอร์ ครุภณ ั ฑ์คอมพิวเตอร์ - สุทธิ ครุภณ ั ฑ์งานบ้านงานครัว หัก ค่าเสือ่ มราคาสะสม - ครุภณ ั ฑ์งานบ้านงานครัว ครุภณ ั ฑ์งานบ้านงานครัว - สุทธิ รวม อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ

(หน่วย : บาท) 1,129,310,899.16 118,798,865,843.45 2,356,758,468.93 122,284,935,211.54

(หน่วย : บาท) 16,390,485.05 (7,420,185.72) 8,970,299.33 9,555,239.12 (5,902,585.94) 3,652,653.18 6,319,300.00 (5,262,563.08) 1,056,736.92 2,312,623.87 (2,089,361.80) 223,262.07 2,175,716.57 (1,786,395.74) 389,320.83 131,809,869.41 (110,947,505.90) 20,862,363.51 59,150.02 (43,837.09) 15,312.93 35,169,948.77

53


9

หมายเหตุ 11 สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หัก ค่าตัดจาหน่ายสะสม - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวม สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สุทธิ

(หน่วย : บาท 52,516,227.50 (50,518,071.99) 1,998,155.51

หมายเหตุ 12 เจ้าหนี้ ระยะสัน้ เจ้าหนี้การค้า รับสินค้า/ใบสาคัญ เจ้าหนี้อน่ื ดอกเบีย้ ค้างจ่าย ค่าสาธารณูปโภคค้างจ่าย ใบสาคัญค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายอืน่ - บุคคลภายนอก รวม เจ้าหนี้ ระยะสัน้

(หน่วย : บาท) 2,610,200.11 33,853.45 35,438.00 70,110,923,439.34 286,682.47 75,132.00 3,285,013.49 70,117,249,758.86

หมายเหตุ 13 เงิ นกู้ยืมระยะสัน้ ตั ๋วเงินคลัง ¤ ตั ๋วสัญญาใช้เงิน ตั ๋วสัญญาใช้เงินเพือ่ การปรับโครงสร้างหนี้ (R-Bill) ตั ๋ว ECP รวม เงิ นกู้ยืมระยะสัน้

(หน่วย : บาท) 80,385,000,000.00 11,097,093,875.15 20,000,000,000.00 5,480,160,000.00 116,962,253,875.15

หมายเหตุ 14 ส่วนของเงิ นกู้ยืมระยะยาวที่ ถึงกาหนดชาระภายใน 1 ปี ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวสกุลเงินบาท ทีถ่ งึ กาหนดชาระภายใน 1 ปี - พันธบัตรรัฐบาล - ตั ๋วสัญญาใช้เงิน - ระยะยาว - สัญญาเงินกูร้ ะยะยาว รวม ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวสกุลเงินบาท ทีถ่ งึ กาหนดชาระภายใน 1 ปี ส่วนของเงินกูร้ ะยะยาวสกุลเงิน ตปท. ทีถ่ งึ กาหนดชาระภายใน 1 ปี - เงินกูแ้ ผ่นดินสกุลเงินต่างประเทศ - ระยะยาว รวม ส่วนของเงิ นกู้ยืมระยะยาวที่ ถึงกาหนดชาระภายใน 1 ปี

54

(หน่วย : บาท) 238,417,036,000.00 37,936,029,718.70 32,197,335,845.79 308,550,401,564.49 3,874,498,312.64 312,424,899,877.13


รายงานประจ�ำปี 2558

10 หมายเหตุ 15 เงิ นรับฝากระยะสัน้ เงินรับฝากอืน่ เงินประกันผลงาน เงินประกันอืน่ รวม เงิ นรับฝากระยะสัน้

Annual Report 2015

(หน่วย : บาท) 4,330,864,688.93 977,235.13 479,282.02 4,332,321,206.08

หมายเหตุ 16 หนี้ สินหมุนเวียนอื่น ดอกเบีย้ จ่ายรับล่วงหน้า รวม หนี้ สินหมุนเวียนอื่น หมายเหตุ 17 เจ้าหนี้ เงิ นโอนและรายการอุดหนุนระยะยาว รายได้รอการรับรู้ รวม เจ้าหนี้ เงิ นโอนและรายการอุดหนุนระยะยาว

(หน่วย : บาท) 6,353,808,408.96 6,353,808,408.96 (หน่วย : บาท) 758,202.59 758,202.59

หมายเหตุ 18 เงิ นกู้ยืมระยะยาว เงินกูร้ ะยะยาวทีเ่ ป็ นสกุลเงินบาท - พันธบัตรรัฐบาล - ตั ๋วสัญญาใช้เงิน - ระยะยาว - ส่วนเกินกว่ามูลค่า - ส่วนต่ากว่ามูลค่า - เงินกูแ้ ผ่นดินสกุลเงินบาท - ระยะยาว รวม เงิ นกู้ระยะยาวสกุลเงิ นบาททัง้ สิ้ น หัก ส่วนของเงินกูร้ ะยะยาวสกุลเงินบาททีถ่ งึ กาหนดชาระภายใน 1 ปี รวม เงิ นกู้ระยะยาวสกุลเงิ นบาท - สุทธิ เงินกูร้ ะยะยาวทีเ่ ป็ นสกุลเงินต่างประเทศ - เงินกูแ้ ผ่นดินสกุลเงินต่างประเทศ - ระยะยาว - ปรับมูลค่าเงินกูแ้ ผ่นดินสกุลเงินต่างประเทศ - ระยะยาว รวม เงิ นกู้ระยะยาวสกุลเงิ นต่างประเทศทัง้ สิ้ น หัก ส่วนของเงินกูร้ ะยะยาวสกุลเงิน ตปท. ทีถ่ งึ กาหนดชาระภายใน 1 ปี รวม เงิ นกู้ระยะยาวสกุลเงิ นต่างประเทศ - สุทธิ รวม เงิ นกู้ระยะยาว - สุทธิ

(หน่วย : บาท) 3,618,070,768,000.00 269,394,668,496.05 110,879,483,484.36 (27,910,611,766.86) 73,770,548,387.72 4,044,204,856,601.27 (308,550,401,564.49) 3,735,654,455,036.78 75,320,028,192.78 8,568,032,978.40 83,888,061,171.18 (3,874,498,312.64) 80,013,562,858.54 3,815,668,017,895.32

55


11 หมายเหตุ 19 ทุน สินทรัพย์และหนี้สนิ ทีร่ บั โอนจากกรมบัญชีกลางเนื่องจากการโอนงานบริหารหนี้สาธารณะมาให้ สบน. ดาเนินการโดยบันทึกยอดสินทรัพย์สทุ ธิไว้ในบัญชีทนุ จานวน 1,745,948,795,386.54 บาท มีรายละเอียด ดังนี้ (หน่วย : บาท) สิ นทรัพย์ เงินฝากธนาคารกรุงไทยสกุลเงินตราต่างประเทศเพือ่ ชาระหนี้ 5,236,619,429.57 เงินฝากธนาคารแห่งประเทศไทยเพือ่ การปรับโครงสร้างหนี้ 2,512,108,225.06 ลูกหนี้ระยะยาว 65,992,740,695.12 ครุภณ ั ฑ์ไม่ระบุรายละเอียด 5,515,958.65 รวมสิ นทรัพย์ 73,746,984,308.40 หนี้ สิน ตั ๋วเงินคลัง ตั ๋วสัญญาใช้เงิน พันธบัตรรัฐบาล ตั ๋ว ECP เงินกูต้ ่างประเทศของแผ่นดินระยะยาว รวมหนี้ สิน หนี้สนิ สูงกว่าสินทรัพย์รบั โอนเข้าบัญชีทนุ - ปรับปรุงอัตราแลกเปลีย่ นสินทรัพย์และหนี้สนิ รับโอนทีเ่ ป็ นเงินตรา ต่างประเทศให้ถกู ต้องตามทีก่ รมบัญชีกลางสังการโดยบั ่ นทึกเป็ น รายได้คกู่ บั บัญชีทนุ รวมทุนรับโอน (ทุนเริ่ มต้นตามเกณฑ์คงค้าง) หมายเหตุ 20 รายได้ตา่ กว่าค่าใช้จ่ายสะสม รายได้ต่ากว่าค่าใช้จา่ ยสะสมยกมา รายได้ต่ากว่าค่าใช้จา่ ยสุทธิงวดนี้ ผลสะสมแก้ไขข้อผิดพลาดในระบบ GFMIS ปี 2558 ผลสะสมแก้ไขข้อผิดพลาด ปี 2558 รวม รายได้ตา่ กว่าค่าใช้จา่ ยสะสม ณ วันสิ้ นงวด

56

(170,000,000,000.00) (70,000,000,000.00) (1,254,725,625,639.20) (19,329,694,714.20) (303,410,184,115.43) (1,817,465,504,468.83 (1,743,718,520,160.43) (2,230,275,226.11)

(1,745,948,795,386.54)

(หน่วย : บาท) (2,215,612,397,170.30) (138,087,408,092.13) (2,353,699,805,262.43) (12,062,046,740.24) (2,365,761,852,002.67)


12

รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

หมายเหตุ 21 รายได้จากงบประมาณ (หน่วย : บาท)

ั บนั รายได้จากงบประมาณปี ปจจุ รายได้จากงบบุคลากร รายได้จากงบดาเนินงาน รายได้จากงบลงทุน รายได้จากงบกลาง รายได้จากงบรายจ่ายอืน่ หัก เบิกเกินส่งคืนเงินงบประมาณ รวม รายได้จากงบประมาณปี ปัจจุบนั - สุทธิ

55,623,268.26 24,670,238.73 2,404,484.45 18,016,272.94 161,656,519,523.58 (877,491.43) 161,756,356,296.53

รายได้จากงบประมาณปี ก่อนๆ (เงิ นกันไว้เหลื่อมปี เบิกจ่ายปี ปัจจุบนั ) รายได้จากงบบุคลากร รายได้จากงบดาเนินงาน รายได้จากงบลงทุน รายได้จากงบกลาง รายได้จากงบรายจ่ายอืน่ รวม รายได้จากงบประมาณปี ก่อนๆ รวม รายได้จากงบประมาณ

4,720,975.78 869,735.50 15,737,638.19 21,328,349.47 161,777,684,646.00

หมายเหตุ 22 รายได้จากเงินกู้และรายได้อื่นจากรัฐบาล รายได้จากเงินกู้ รวม รายได้จากเงิ นกู้และรายได้อื่นจากรัฐบาล

(หน่วย : บาท) 10,964,032.84 10,964,032.84

หมายเหตุ 23 รายได้จากการขายสิ นค้าและบริ การ รายได้คา่ บริการ รวม รายได้จากการขายสิ นค้าและบริ การ หมายเหตุ 24 รายได้จากการอุดหนุนและบริ จาค รายได้จากการอุดหนุนเพือ่ ดาเนินงานอืน่ รายได้จากการอุดหนุน - หน่วยงานภาครัฐ รายได้ระหว่างหน่วยงาน - หน่วยงานรับเงินจากหน่วยงานอืน่ รายได้จากการบริจาค รวม รายได้จากการอุดหนุนและบริ จาค

(หน่วย : บาท) 10,360.00 10,360.00 (หน่วย : บาท) 266,762,236,290.80 2,468,359,244.49 46,468,641.14 231,162.00 269,277,295,338.43

57


13

หมายเหตุ 25 รายได้อื่น รายได้ดอกเบีย้ เงินฝากสถาบันการเงิน รายได้ดอกเบีย้ เงินให้กู้ รายได้ระหว่างหน่วยงาน - เงินนอกงบประมาณตั ๋วเงินคลัง ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน - เงินนอกงบประมาณตั ๋วเงินคลัง ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน - เงินกูแ้ ปลงตั ๋ว รายได้ระหว่างหน่วยงาน - ปรับเงินฝากคลัง ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน - หน่วยงานโอนเงินนอกงบประมาณให้ กรมบัญชีกลาง รายได้ระหว่างหน่วยงาน - เงินทดรองราชการ ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน - เงินทดรองราชการ รายได้อน่ื กาไรทีเ่ กิดขึน้ แล้วของเงินลงทุน รวม รายได้อื่น หมายเหตุ 26 ค่าใช้จ่ายบุคลากร เงินเดือน เงินตอบแทนเต็มขัน้ ค่าล่วงเวลา ค่าจ้าง ค่าตอบแทนพนักงานราชการ เงินรางวัลประจาปี ค่ารักษาพยาบาล เงินช่วยการศึกษาบุตร เงินช่วยเหลือพิเศษกรณีเสียชีวติ เงินชดเชย กบข. เงินสมทบ กบข. เงินสมทบกองทุนประกันสังคม ค่าใช้จ่ายบุคลากรอืน่ รวม ค่าใช้จ่ายบุคลากร

58

(หน่วย : บาท) 105,388,186.30 1,730,074,717.92 904,292,865,643.98 (894,197,728,897.03) (10,115,000,000.00) 19,676,830,385.84 (19,676,847,186.74) 250,000.00 (250,000.00) 24,518,066.54 1,840,100,916.81 (หน่วย : บาท) 54,276,101.31 12,329.38 86,550.00 12,473,452.68 1,936,458.71 5,830,250.91 158,105.00 209,430.00 946,599.25 1,419,898.94 684,627.00 644,555.76 78,678,358.94


14

รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

หมายเหตุ 27 ค่าบาเหน็จบานาญ บานาญ เงินช่วยค่าครองชีพ บาเหน็จตกทอด บาเหน็จดารงชีพ ค่ารักษาพยาบาล เงินช่วยการศึกษาบุตร รวม ค่าบาเหน็จบานาญ

(หน่วย : บาท) 4,426,332.47 348,158.88 2,349,804.60 800,000.00 1,116,445.83 55,040.00 9,095,781.78

หมายเหตุ 28 ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนเฉพาะงาน ค่าตอบแทนอืน่ รวม ค่าตอบแทน หมายเหตุ 29 ค่าใช้สอย ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมในประเทศ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมบุคคลภายนอก ค่าใช้จ่ายในการเดินทางในประเทศ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางต่างประเทศ ค่าซ่อมแซมและบารุงรักษา ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าธรรมเนียมทางกฎหมาย ค่าจ้างทีป่ รึกษา ค่าใช้จ่ายในการประชุม ค่าเช่า ค่าใช้จ่ายผลักส่งเป็ นรายได้แผ่นดิน ค่าประชาสัมพันธ์ ค่าใช้สอยอืน่ รวม ค่าใช้สอย

(หน่วย : บาท) 57,460.00 2,688,560.00 2,746,020.00 (หน่วย : บาท) 6,162,565.25 8,269,454.98 1,840,938.55 320,211.95 3,880,555.40 14,498.50 26,741,643.16 3,000.00 19,981,812.99 528,077.25 10,334,344.70 790,044.50 741,837.50 79,608,984.73

59


15

หมายเหตุ 30 ค่าวัสดุ ค่าวัสดุ รวม ค่าวัสดุ หมายเหตุ 31 ค่าสาธารณูปโภค ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการสือ่ สารและโทรคมนาคม ค่าบริการไปรษณียแ์ ละขนส่ง รวม ค่าสาธารณูปโภค หมายเหตุ 32 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่ าย ค่าเสือ่ มราคา - ส่วนปรับปรุงอาคาร ค่าเสือ่ มราคา - ครุภณ ั ฑ์สานักงาน ค่าเสือ่ มราคา - ครุภณ ั ฑ์ยานพาหนะและขนส่ง ค่าเสือ่ มราคา - ครุภณ ั ฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ ค่าเสือ่ มราคา - ครุภณ ั ฑ์โฆษณาและเผยแพร่ ค่าเสือ่ มราคา - ครุภณ ั ฑ์คอมพิวเตอร์ ค่าเสือ่ มราคา - ครุภณ ั ฑ์งานบ้านงานครัว ค่าตัดจาหน่ายโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวม ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่ าย หมายเหตุ 33 ค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุนและบริ จาค ค่าใช้จ่ายโอนสินทรัพย์ระหว่างหน่วยงาน ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุนเพือ่ การดาเนินงานอืน่ รวม ค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุนและบริ จาค

60

(หน่วย : บาท) 4,889,980.14 4,889,980.14 (หน่วย : บาท) 2,469,520.21 919,016.46 975,506.28 207,619.00 4,571,661.95 (หน่วย : บาท) 1,742,041.16 930,000.86 802,022.54 168,558.40 222,233.91 18,502,243.28 8,993.36 4,684,658.06 27,060,751.57 (หน่วย : บาท) 4,019,117,426.63 27,372,208.04 4,046,489,634.67


16

รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

หมายเหตุ 34 ค่าใช้จ่ายอื่น กาไร/ขาดทุนสุทธิจากการจาหน่ายสินทรัพย์ กาไร/ขาดทุนสุทธิจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินต่างประเทศ ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน - กรมบัญชีกลางโอนเงินกูใ้ ห้หน่วยงาน ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน - กูเ้ งินเพือ่ ชดเชยการขาดดุล รายได้ระหว่างหน่วยงาน - หน่วยงานรับเงินนอกงบประมาณจากกรมบัญชีกลาง ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน - ปรับเงินฝากคลัง รายได้ระหว่างหน่วยงาน - ภายในกรมเดียวกัน ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงาน - ภายในกรมเดียวกัน รวม ค่าใช้จ่ายอื่น หมายเหตุ 35 ต้นทุนทางการเงิ น ดอกเบีย้ จ่าย ค่าธรรมเนียมเงินกู้ ต้นทุนทางการเงินอืน่ รวม ต้นทุนทางการเงิ น

(หน่วย : บาท) 33,020.34 10,584,735,749.95 27,966,245,925.49 271,065,570,176.81 (30,794,966,213.62) 30,681,544,586.26 (113,597,494,032.57) 113,597,494,032.57 309,503,163,245.23 (หน่วย : บาท) 256,297,591,214.74 930,874,149.90 35,063,910.02 257,263,529,274.66

61


4


บทความ ของสำนั ก งานบร� ห ารหนี ้ ส าธารณะ


3 ปี หนี้ลด พบทางออก กับพระราชก�ำหนด ปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ FIDF พ.ศ. 2555 นายชลันธร เงินประดับ เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร

นั บ จากที่ ก องทุ น เพื่ อ การฟื้น ฟู แ ละพั ฒ นาระบบ สถาบันการเงิน (กองทุนฟื้นฟูฯ : FIDF) ได้เข้าช่วยเหลือ สถาบันการเงินภายในประเทศ ที่ได้รับผลกระทบจาก วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจในช่วงปี พ.ศ. 2540 ด้วยการ ด�ำเนินมาตรการต่างๆ ได้แก่ การเสริมสภาพคล่องและ การเพิ่มทุนให้แก่สถาบันการเงิน การให้หลักประกันและ ความช่ ว ยเหลื อ แก่ ผู ้ ฝ ากเงิ น และเจ้ า หนี้ ข องสถาบั น การเงิน การเข้ารับช�ำระหนีแ้ ทนสถาบันการเงิน ตลอดจน การเข้าด�ำเนินการเกี่ยวกับสินทรัพย์ด้อยคุณภาพหรือ สิ น ทรั พ ย์ ที่ ไ ม่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ ข องสถาบั น การเงิ น จนท�ำให้สถานะทางการเงินของกองทุนฟื้นฟูฯ เกิดความ เสียหายขึน้ และต่อมารัฐบาลได้เข้าช่วยเหลือทางการเงิน แก่กองทุนฟื้นฟูฯ โดยมีกระทรวงการคลังท�ำหน้าที่กู้เงิน เพื่อชดใช้ความเสียหายให้กับกองทุน ภายใต้พระราช ก�ำหนดและมติคณะรัฐมนตรี จ�ำนวน 3 ฉบับ (ประกอบด้วย พระราชก� ำหนดให้อ�ำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินและ จัดการเงินกูเ้ พือ่ ช่วยเหลือกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูและพัฒนา ระบบสถาบั น การเงิ น พ.ศ. 2541 (พ.ร.ก. FIDF1) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2543 ให้กระทรวง การคลังให้ความช่วยเหลือกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูฯ เพิม่ เติม (มติ ครม. FIDF2) และพระราชก�ำหนดให้อำ� นาจกระทรวง การคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อ การฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่สอง พ.ศ. 2545 (พ.ร.ก. FIDF3) รวมการกู้เงินทั้งสิ้นกว่า 1,305,327 ล้านบาท และมีหน้าที่ในการช�ำระคืนต้นเงินกู้ FIDF ตามแหล่งรายได้ที่ พ.ร.ก. และมติคณะรัฐมนตรี ทั้ง 3 ฉบับก�ำหนด (ได้แก่ เงินก�ำไรสุทธิจากธนาคาร แห่งประเทศไทย (ธปท.) น�ำส่งในแต่ละปีจำ� นวนไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 90 เงินรายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ และ เงินจากสินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ประจ�ำปี ของ ธปท. เป็นต้น) รวมถึงมีหน้าที่ในการตั้งงบประมาณ เพื่อช�ำระดอกเบี้ย FIDF ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา ซึ่งหนี้ FIDF จ�ำนวนดังกล่าวนับเป็นหนี้สาธารณะ

64

โดยการด�ำเนินการช�ำระหนี้ FIDF ในช่วง 15 ปี ที่ผ่านมา (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 - 2555) พบว่า สามารถ ช�ำระคืนต้นเงินกู้ได้เพียง 172,195 ล้านบาท จากจ�ำนวน หนี้ที่มที งั้ สิน้ กว่า 1,305,327 ล้านบาท (คิดเป็นการช�ำระคืน ร้อยละ 13 ของจ�ำนวนหนี้ FIDF ทั้งหมด) ซึ่งมีสาเหตุ มาจากแหล่งเงินที่ พ.ร.ก. และมติคณะรัฐมนตรี ทัง้ 3 ฉบับ ก�ำหนด ไม่สามารถน�ำส่งเงินเพือ่ น�ำมาใช้ชำ� ระคืนต้นเงินกู้ FIDF ได้อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้รัฐบาลจ�ำเป็นต้องจัดสรร งบประมาณ เพื่อการช�ำระหนี้ดอกเบี้ย FIDF ในแต่ละปี เฉลี่ยปีละกว่า 60,000 ล้านบาท ซึ่งถือเป็นภาระต่ อ งบประมาณ และเป็นข้อจ�ำกัดในการจัดท�ำงบประมาณ เพือ่ น�ำมาใช้จา่ ยเพือ่ การลงทุนและพัฒนาประเทศ รวมทัง้ ยังส่งผลกระทบต่อกรอบความยั่งยืนทางการคลัง สถานะต้นเงินกู้ FIDF ณ 30 กันยายน 2555

ตนเงินคงคาง 1,133,132 ลบ. (87%)

ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ชำระแลว 172,195 ลบ. (13%)


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

อย่างไรก็ดี เพื่อแก้ไขปัญหาการช�ำระหนี้ FIDF โดย เฉพาะการช�ำระคืนต้นเงินกู้ที่ยังขาดความต่อเนื่อง อันมี สาเหตุมาจากแหล่งเงินทีม่ จี ำ� กัด รวมถึงลดภาระงบประมาณ ที่จะต้องจัดสรรเพื่อการช�ำระดอกเบี้ยในแต่ละปี จึงได้มี การออกพระราชก�ำหนดปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ FIDF ในปี พ.ศ. 2555 (พ.ร.ก. ปรับปรุงหนี้ FIDF) ซึ่ง พ.ร.ก. ดังกล่าว ได้เพิ่มกลไกการช�ำระหนี้ โดยการโอน

งบประมาณเพื่อการลงทุนและพัฒนาประเทศได้เพิ่มขึ้น โดยกองทุนฟื้นฟูฯ ได้เริ่มรับภาระการช�ำระหนี้ FIDF ต่อจากกระทรวงการคลัง ตาม พ.ร.ก. ดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 (ปีงบประมาณ 2556) ซึ่งขณะนั้นยังคงมี ต้นเงินกู้คงค้างจ�ำนวนกว่า 1,133,132 ล้านบาท และภายในระยะเวลาเพียง 3 ปี นับจากที่กองทุน ฟื้นฟูฯ ได้เริ่มด�ำเนินการช�ำระหนี้ FIDF ภายใต้แหล่งเงิน ตามที่ พ.ร.ก. ดั ง กล่ า ว แหล่งเงินทีใ่ ช้ชำ� ระคืนหนี้ FIDF ก่อนและหลัง พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนีเ้ งินกู้ FIDF พ.ศ. 2555 ก� ำ หนด พบว่ า ณ ­สิ้ น ปี งบประมาณ 2558 (30 แหล่งเงินกู ้ แหล่งเงินช�ำระคืนหนี้ FIDF พ.ร.ก. และมติ ครม. ฉบับเดิม พ.ร.ก. ฉบับใหม่ กันยายน 2558) สามารถ 1. เงินก�ำไรสุทธิจาก ธปท. 1. เงินก�ำไรสุทธิจาก ธปท. ต้นเงินกู้ ด�ำเนินการช�ำระคืนต้นเงินกู้ 2. เงินรายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ1/ 2. สินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ FIDF 1 3. ดอกผลของกองทุนเพื่อการช�ำระ ประจ�ำปีของ ธปท. ได้ เ ป็ น จ� ำ นวนเงิ น ทั้ ง สิ้ น คืนต้นเงินกู้ฯ 3. เงินหรือสินทรัพย์ของกองทุน กว่า 134,341 ล้านบาท ต้นเงินกู้ FIDF 2 สินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ 4. เงินน�ำส่งจากสถาบันการเงินร้อยละ 0.46 คิดเป็นการช�ำระคืนต้นเงินกู้ และ FIDF 3 ประจ�ำปีของ ธปท. 2/ ดอกเบี้ย FIDF 1 งบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี ได้ เ ฉลี่ ย ถึ ง ปี ล ะ 44,700 FIDF 2 และ FIDF 3 ล้านบาท ซึ่งเพิ่ มขึ้ นเมื่ อ หมายเหตุ : มติ ครม. ปี 46 ยกเลิกแหล่งเงินรายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ไม่ต้องน�ำส่งเงินเพื่อใช้ช�ำระคืนต้นเงินกู้ เทียบกับการช�ำระคืนต้น ตาม พ.ร.ก. FIDF1 เงินกู้ก่อนการออก พ.ร.ก. ภายหลังจากกองทุนฟื้นฟูฯ สามารถช�ำระคืนต้นเงินกู้ FIDF1 ตาม พ.ร.ก. ปรับปรุงหนี้ FIDF ได้ครบถ้วนแล้ว ธปท. จะต้องช�ำระค่าดอกเบี้ย FIDF1 คืนให้กับกระทรวงการคลัง เท่ากับจ�ำนวนที่กระทรวงการคลัง ปรับปรุงหนี้ FIDF ซึ่งใช้ ได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายช�ำระดอกเบี้ย FIDF1 ที่ได้ชำ� ระจริงไปก่อนหน้านี้ ระยะเวลาเกือบ 15 ปี (นับ ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2541 - 2555) ทีส่ ามารถช�ำระคืนต้นเงินกู้ ภาระการช�ำระหนี้ให้กับกองทุนฟื้นฟูฯ เป็นผู้ด�ำเนินการ ได้จ�ำนวน 172,195 ล้านบาท คิดเป็นการช�ำระคืนต้น ช�ำระทัง้ ต้นเงินและดอกเบีย้ แทนกระทรวงการคลัง รวมถึง เงินกู้เฉลี่ยได้เพียงปีละ 11,500 ล้านบาท ก� ำ หนดแหล่ ง เงิ น ที่ จ ะใช้ ช� ำ ระคื น ต้ น เงิ น และดอกเบี้ ย ของ FIDF เพิม่ เติม โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้การช�ำระคืน หนี้ FIDF มี แ หล่ ง เงิ น ที่ จ ะใช้ สถานะต้นเงินกู้ FIDF ณ 30 กันยายน 2558 ช� ำ ระหนี้ ที่ ชั ด เจน คล่ อ งตั ว มีประสิทธิภาพ สามารถคาดการณ์ หลัง พ.ร.ก. กอน พ.ร.ก. ระยะเวลาการช�ำระคืนหนี้เงินกู้ ปรับปรุงหนี้ ปรับปรุงหนี้ ชำระแลว 172,195 ลบ. 134,341 ลบ. FIDF ได้แน่นอนมากขึ้น อีกทั้ง ตนเงินคงคาง 306,536 ลบ. (44%) (56%) 998,791 ลบ. (23%) ก� ำ หนดให้ ก ระทรวงการคลั ง เฉลี่ยปละ เฉลี่ยปละ (77%) 11,500 ลบ. 44,700 ลบ. ไม่ต้องตั้งงบประมาณรายจ่าย เพือ่ ช�ำระดอกเบีย้ FIDF อีกต่อไป ส่งผลให้รัฐบาลสามารถจัดสรร 1/

2/

ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

65


จะเห็นได้วา่ ภายหลังจากมี พ.ร.ก. ปรับปรุงหนี้ FIDF สามารถช�ำระคืนต้นเงินกู้ได้มากขึ้น ซึ่งปัจจัยส�ำคัญที่ ท�ำให้สามารถด�ำเนินการช�ำระคืนต้นเงินกู้ FIDF ได้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ส่วนหนึ่งมาจากแหล่งเงินที่ พ.ร.ก. ปรับปรุงหนี้ FIDF ได้ก�ำหนดเพิ่มเติม ซึ่งได้แก่ แหล่งเงิน จากเงินหรือสินทรัพย์ของกองทุนฟืน้ ฟูฯ รวมถึงแหล่งเงิน จากเงินน�ำส่งที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเรียกเก็บจาก สถาบันการเงินในอัตราร้อยละ 0.46 ซึ่งแต่เดิมเคยเป็น แหล่งเงินที่สถาบันการเงินจะต้องน�ำส่งให้กับสถาบัน คุ้มครองเงินฝาก ตามพระราชบัญญัติสถาบันคุ้มครอง เงินฝาก พ.ศ. 2551 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครอง เงินฝากของประชาชน รวมถึงนิติบุคคล ที่ฝากเงินไว้กับ สถาบันการเงิน อย่างไรก็ดี เมื่อมีการประกาศใช้ พ.ร.ก. ปรับปรุงหนี้ FIDF และก�ำหนดให้สถาบันการเงินต้องน�ำ ส่งเงินให้กับธนาคารแห่งประเทศไทยเพื่อน� ำส่งให้กับ กองทุนฟื้นฟูฯ ส�ำหรับน�ำไปช�ำระคืนต้นเงินและดอกเบี้ย FIDF ในอัตราร้อยละ 0.46 ต่อปีจากฐานเงินฝากที่ได้รับ จากประชาชน จึงได้มกี ารปรับลดการน�ำส่งเงินของสถาบัน การเงินเข้าสถาบันคุม้ ครองเงินฝากผ่านการออกพระราช กฤษฎีกาก�ำหนดอัตราเงินน�ำส่งเข้ากองทุนคุม้ ครองเงินฝาก พ.ศ. 2555 ที่ก�ำหนดให้ปรับลดอัตราเงินน�ำส่งจากเดิม ร้อยละ 0.40 ต่อปี ของยอดเงินฝากถัวเฉลี่ยของบัญชี ทีไ่ ด้รบั ความคุม้ ครองตามพระราชบัญญัตสิ ถาบันคุม้ ครอง เงินฝาก ลดลงเหลือร้อยละ 0.01 แทน โดยมองว่าในปัจจุบนั ระบบการเงินของประเทศมีเสถียรภาพและสถาบันการเงิน มีความมั่นคงมากขึ้น ตลอดจนมีการบริหารจัดการและ การก�ำกับดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับสถาบัน คุ้มครองเงินฝากมีเงินสะสมในกองทุนคุ้มครองเงินฝาก ทีเ่ หมาะสมและเพียงพอส�ำหรับการจ่ายคืนให้แก่ผฝู้ ากเงิน ในกรณีทสี่ ถาบันการเงินถูกเพิกถอนใบอนุญาตได้ ทัง้ นี้ จากข้อมูล ณ 30 กันยายน 2558 พบว่า แหล่งเงิน ทัง้ 2 มีการน�ำส่งเงินในสัดส่วนทีใ่ กล้เคียงกัน โดยแหล่งเงิน จากเงินน�ำส่งที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเรียกเก็บจาก สถาบันการเงินในอัตราร้อยละ 0.46 และแหล่งเงินจากเงิน หรือสินทรัพย์ของกองทุนฟืน้ ฟูฯ น�ำส่งเงินคิดเป็นสัดส่วน ร้ อ ยละ 57 และ 42 ของจ� ำ นวนเงิ น น� ำ ส่ ง ทั้ ง หมด

66

สัดส่วนรายได้จากแหล่งเงินตาม พ.ร.ก. ปรับปรุงการบริหารหนี้ FIDF พ.ศ. 2555 1% 0%

57%

กำไรสุทธิจากธปท. สินทรัพยคงเหลือในบัญชีผลประโยชน

42%

เงินหรือสินทรัพยของกองทุน เงินนำสง 0.46

ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

นอกจากนี้ ยังมีแหล่งเงินอื่นภายใต้ พ.ร.ก. ปรับปรุงหนี้ FIDF ซึ่งได้แก่ แหล่งเงินจากสินทรัพย์คงเหลือในบัญชี ผลประโยชน์ประจ�ำปีของ ธปท. ทีน่ ำ� ส่งเงินคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 1 ของจ�ำนวนเงินน�ำส่งทั้งหมด ขณะที่ยังไม่มี การน�ำส่งเงินจากแหล่งเงินก�ำไรสุทธิของ ธปท. เนือ่ งจาก ธปท. ยังมีผลด�ำเนินงานขาดทุนสะสมอย่างต่อเนือ่ ง จึงยัง ไม่สามารถน�ำส่งเงินในส่วนดังกล่าวส�ำหรับใช้ในการช�ำระ หนี้ FIDF ตาม พ.ร.ก. ปรับปรุงหนี้ FIDF ได้ อย่ า งไรก็ ดี จากผลการช� ำ ระหนี้ ใ นช่ ว ง 3 ปี แ รก ที่ พ.ร.ก. ปรับปรุงหนี้ FIDF มีผลบังคับใช้ แสดงให้เห็นว่า การช�ำระคืนหนี้ภายใต้แหล่งเงินที่เพิ่มขึ้นตามที่ พ.ร.ก. ก�ำหนด มีส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้การช�ำระคืนหนี้ FIDF ทั้ง ในส่ ว นของต้ น เงิ น และดอกเบี้ ย มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดย สามารถน�ำมาช�ำระดอกเบี้ยที่จะต้องด�ำเนินการช�ำระ ในแต่ละปีได้ทงั้ จ�ำนวน จากเดิมทีต่ อ้ งมีการตัง้ งบประมาณ เพือ่ น�ำมาใช้ชำ� ระ นับเป็นการช่วยลดภาระต่องบประมาณ ได้ในระยะยาว อีกทัง้ ยังสามารถน�ำมาใช้ชำ� ระคืนต้นเงินกู้ ในแต่ละปีได้เพิ่มเติม โดยสามารถน�ำมาใช้ช�ำระคืนได้ เฉลี่ยถึงปีละ 44,700 ล้านบาท ส่งผลให้ยอดหนี้คงค้าง FIDF มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

แนวโน้มประมาณการช�ำระคืนหนี้ FIDF 1,500,000

ลบ. ดอกเบี้ยจายรายป (ชำระจริง)

หนี้คงคาง ณ ปลายป (ประมาณการ)

7,441

-0-

ปที่ 17

3,189 2 257

ี่ 17

257

1

0

ี่ 16

ปท

186,169

79,777

ปท

257

256

8 256

9

ี่ 15 ปท

ี่ 14 ปท

ี่ 13 ปท

256

7

6

ี่ 12 ปท

256

256

5

ี่ 11 ปท

ี่ 10 ปท

ี่ 9

256

4

3 ปท

256 ี่ 8 ปท

ี่ 7

256

2

1 ปท

256 ี่ 6 ปท

ี่ 5

256

0

9 ปท

255 ี่ 4 ปท

ี่ 3

255

8

7 ปท

255 ี่ 2 ปท

ี่ 1

255

6

0 ปท

ตนเงิน

13,391

15,056 285,002

376,700

461,666

300,000

18,452

21,594

24,497 540,281

612,908

679,891

27,174

29,638

31,903 741,558

600,000

798,218

850,165

33,979

46,210

51,000 887,345

925,297

998,791

40,142

41,918

46,360

48,153

900,000

1,073,852

1,200,000

1,111,740

หนี้คงคาง ณ ปลายป (ตัวเลขจริง) ดอกเบี้ยจายรายป (ประมาณการ)

ที่มา : นายชาคริต โพธิสุข และ นายชลันธร เงินประดับ

ทัง้ นี้ หากแนวโน้มการน�ำส่งเงินจากแหล่งเงินต่างๆ ยังคงสามารถน�ำส่งเงินได้อย่างต่อเนือ่ งในสัดส่วนทีใ่ กล้เคียงหรือ เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ท�ำให้คาดการณ์ได้ว่าจะสามารถด�ำเนินการช�ำระคืนหนี้ FIDF ได้หมด ภายในปีงบประมาณ 2572 บทความนี้เป็นข้อคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้เขียนเท่านั้น

67


สบน. ...กับ 9 ส�ำคัญ ของการพัฒนารถไฟไทย (-จีน) ดร.พนิดา ร้อยดวง เศรษฐกรช�ำนาญการ

การสร้างรถไฟทางคูข่ นาดทางมาตรฐานกว้าง 1.435 เมตร (Standard Gauge) เส้นทางหนองคาย-นครราชสีมาแก่ ง คอย-ท่ า เรื อ มาบตาพุ ด และเส้ น ทางแก่ ง คอยกรุงเทพฯ เป็นโครงการรถไฟทางคู่ขนาดมาตรฐาน โครงการแรกของไทย ด้วยความร่วมมือระหว่างรัฐบาล

FOC Thai-China

คุนหมิง

สาระส�ำคัญของโครงการ

รั ฐ บาลแห่ ง ราชอาณาจั ก รไทยและรั ฐ บาลแห่ ง สาธารณรัฐประชาชนจีนได้หารือเกี่ยวกับโครงการความ ร่วมมือด้านรถไฟระหว่างไทย-จีน แล้วจ�ำนวน 9 ครั้ง ตัง้ แต่เดือนมกราคม 2558 และเมือ่ วันที่ 3 ธันวาคม 2558

อวี้ซี

บ่อหาน บ่อเต็น

เวียงจันทน์

บ้านภาชี

กรุงเทพฯ

หนองคาย นครราชสีมา

แก่งคอย

มาบตาพุด

ที่มา : กระทรวงคมนาคม

แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทยและรั ฐ บาลแห่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน (G-to-G) ขับเคลื่อนด้วยระบบไฟฟ้า เพื่อ เชื่อมกับประเทศเพื่อนบ้านและสาธารณรัฐประชาชนจีน และเพื่อให้รถไฟเป็นทางเลือกของการเดินทางและสร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขันของประเทศ เมือ่ การเชือ่ มโยง เครื อ ข่ า ยคมนาคมในอาเซี ย นเสร็ จ สมบู ร ณ์ จ ะมี ก าร เชื่อมโยงระหว่างภูมิภาคต่างๆ ของประเทศและประเทศ เพื่อนบ้าน ท�ำให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านการ คมนาคมขนส่งและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ

68

รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐ ประชาชนจีนได้ลงนามในกรอบความร่วมมือระหว่างรัฐบาล แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทยและรั ฐ บาลแห่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน (Framework of Cooperation : FOC) เพื่อ การพัฒนาความร่วมมือด้านโครงสร้างพื้นฐานทางรถไฟ ของทั้งสองประเทศ โดยทัง้ สองฝ่ายเห็นชอบทีจ่ ะก่อสร้าง รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน 1.435 เมตร (Standard Gauge) จ�ำนวน 4 ช่วง


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

หนองคาย

นครราชสีมา-หนองคาย

ขอนแกน

ุด ตาพ

มาบ

ย-

แกงคอย-นครราชสีมา สระบุรี อยุธยา

กรุงเทพฯ-แกงคอย

กรุงเทพฯ

เทพ

กรุง

อุดรธานี

คอ แกง

อย

งค - แก .5 246 คอย

ชลบุรี ระยอง มาบตาพุด

ผลการหารือทวิภาคีระหว่างนายกรัฐมนตรีไทย-จีน

ผลการหารือทวิภาคีระหว่างพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กับ นายหลี่ เค่อเฉียง นายกรัฐมนตรี สาธารณรัฐประชาชนจีน เกี่ยวกับความร่วมมือด้านรถไฟ ระหว่างไทย-จีน เมือ่ วันที่ 23 มีนาคม 2559 ณ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน สรุปสาระส�ำคัญได้ดังนี้ 1) ในล�ำดับแรกจะเริ่มก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงเส้น กรุงเทพฯ-นครราชสีมา (ช่วง 1 และ 3) ระยะทาง 271.5 กิโลเมตร (ขนาดราง 1.435 เมตร ความเร็ว 250 กม./ชม.) จ�ำนวน 6 สถานี ส�ำหรับขนส่งผู้โดยสาร ภายในปี 2559 เนื่องจากเป็นช่วงที่มีความพร้อมมากที่สุด

นคร

นอ า-ห

ีม าชส

ีมา

.5 138

กิโลเ

มตร

ตร

ิโลเม

ก 55.0

ย3

งคา

ฉะเชิงเทรา

มตร

รร - นค

แกงคอย

แกงคอย-มาบตาพุด

1

าชส

แกง

นครราชสีมา

กิโลเ

ตร

ิโลเม

ก 33.0

รวมลเมตร ิโ .0 ก

873

2) ฝ่ายไทยจะเป็นผู้ลงทุนเองทั้งหมด (งานโยธา ระบบไฟฟ้า การบริหารจัดการเดินรถและซ่อมบ�ำรุง) โดย จ้างจีนก่อสร้างในรูปแบบ EPC (Engineering-Procurement -Construction) โดยใช้ผู้รับเหมาไทยแต่ใช้เทคโนโลยี ของจี น โดยบุ ค ลากรจากจี น จะมาร่ ว มถ่ า ยทอดและ สนับสนุนความรูด้ า้ นเทคโนโลยีและวัสดุอปุ กรณ์บางอย่าง ที่ไทยไม่สามารถผลิตเองได้ 3) ข้อก�ำหนดการใช้เทคโนโลยีของจีนในการก่อสร้าง และการเดินรถ รวมถึงการใช้เงินกูจ้ าก The Export-Import Bank of China (CEXIM) จะหารือกันในล�ำดับถัดไป 4) ให้ฝ่ายจีนปรับลดราคาค่าก่อสร้างลงให้ใกล้เคียง กับการประมาณการราคาค่าก่อสร้างของฝ่ายไทย

69


ความร่วมมือและกรอบการเงิน

การจัดซือ้ จัดจ้างและการบริหารและก�ำกับการด�ำเนิน โครงการส�ำหรับโครงการรถไฟไทย-จีน (Project Procurement and Management) จ�ำเป็นต้องมีการจัดซื้อจัดจ้าง ภายใต้รูปแบบ EPC ซึ่งเป็นการด�ำเนินงานภายใต้กรอบ

ความร่วมมือ ทั้งสองฝ่ายตกลงในเบื้องต้นที่จะหารือใน รายละเอียดร่วมกันในการจัดหาแหล่งเงินทุนจากหลายแหล่ง ได้แก่ เงินกู้ภายในประเทศ และเงินกู้เงื่อนไขพิเศษจาก รัฐบาลจีน หากข้อเสนอเงินกู้รัฐบาลจีนมีเงื่อนไขที่พิเศษ และดีกว่าที่ฝ่ายไทยจัดหาได้

ช่วงก่อสร้าง

EPC

1. ไทยจ้ า งผู ้ รั บ เหมาไทยในการ ก่อสร้างงานโยธา 2. ไทยจ้างจีนในการวางระบบสือ่ สาร และอาณัติสัญญาณ 3. ไทยจ้างที่ปรึกษา PMC ควบคุม มาตรฐาน 4. ด�ำเนินตามกฎหมายไทย : FS, EIA น�ำเสนอ ครม. ที่มา : กระทรวงคมนาคม

70

ช่วงให้บริการเดินรถ

Funding

1. ไทยอาจพิจารณากู้เงินบางส่วน จากจี น หากจี น เสนอเงื่ อ นไข การเงินทีด่ กี ว่าทีไ่ ทยหาได้/อ้างอิง เงินอื่น

O&M

1. จีนช่วยก�ำกับ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และอบรมบุ ค ลากรของไทย (การบ�ำรุงรักษาและการเดินรถ) 2. ไทยอาจเปิ ด ให้ จี น มี ส ่ ว นร่ ว ม ในการให้บริการการเดินรถ


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

รูปแบบการลงทุนของโครงการและรูปแบบการเดินรถ

ฝ่ า ยไทยและจี น ได้ ข ้ อ ตกลงเบื้ อ งต้ น ร่ ว มกั น โดย แบ่งสัญญา EPC เป็น 2 สัญญา เพื่อความชัดเจนในการ ด�ำเนินงาน (ด�ำเนินการช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมาเป็น ล�ำดับแรก)

ดังนี้ (1) ค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน เห็นควรใช้งบประมาณ (2) ค่างานโยธา (EPC 1) เห็นควรใช้เงินกูภ้ ายในประเทศ เนื่องจากจ้างผู้รับเหมาไทยและท�ำสัญญาเป็นเงินบาท และ (3) ค่า E&M และค่าจ้างทีป่ รึกษาก�ำกับงาน (EPC 2) ฝ่ายไทยอาจจะพิจารณาใช้เงินกู้รัฐบาลจีน หากข้อเสนอ

EPC 1 ไทย ไทยลงทุนเองทั้งหมด โดยการ Bidding ประมาณ 80% • งานโยธา และใช้ผู้รับเหมาไทย โดยอาจแบ่งเป็น 4 ช่วง ของวงเงินลงทุน โดยฝ่ายจีนเข้ามาตรวจสอบคุณภาพงาน ก่อสร้างโยธา เพื่อให้เป็นไปตามแผนงาน และลดการโต้แย้ง เมื่อจีนเข้ามาติดตั้งระบบ EPC 2 • งานระบบราง Electrical and จีน จีนเป็นผู้ด�ำเนินการ เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีจีน ประมาณ 20% Mechanical (E&M) ของวงเงินลงทุน (ระบบรางไฟฟ้า และเครื่องกล รถจักร ล้อเลื่อนและหัวรถจักร และขบวนรถไฟความเร็วสูง) • งานจ้างที่ปรึกษา ไทย ไทยเป็นผู้ด�ำเนินการเองทั้งหมด โดยจะเปิดโอกาส ก�ำกับตรวจสอบ คุณภาพงานโยธา ให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม อย่างไรก็ตาม Operation and Maintenance ในระยะแรกขอให้จีนเข้ามาช่วยอบรม และถ่ายทอดเทคโนโลยี

งานโยธา (โครงสร้าง)

เงินกู้รัฐบาลจีน แหล่งอื่น

ร่วมลงทุน

ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

สบน. กับการเจรจาเงินกู้

สบน. ได้ รั บ มอบหมายให้ เ ป็ น ผู ้ แ ทนฝ่ า ยไทยใน การเจรจากับฝ่ายจีนเกี่ยวกับแหล่งเงินทุนและรูปแบบ การระดมทุ น โดยพิ จ ารณาแหล่ ง เงิ น ทุ น และรู ป แบบ การระดมทุน โดยเปรียบเทียบจากต้นทุนการกูเ้ งินจากตลาด การเงินในประเทศและระหว่างประเทศ สกุลเงิน วงเงิน ระยะเวลา และเงื่อนไขเงินกู้ ในเบื้องต้นได้ข้อสรุปว่า ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบในหลักการว่าแหล่งที่มาของเงินทุน ของโครงการจะมาจากหลายแหล่ง ได้แก่ เงินกู้ภายใน ประเทศและเงินกูเ้ งือ่ นไขพิเศษจากรัฐบาลจีน อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากฝ่ายไทยจะเป็นผูล้ งทุนทัง้ หมด และตลาดการเงิน ในประเทศปัจจุบันมีสภาพคล่องสูงและเอื้ออ�ำนวยต่อ การระดมทุ น ในประเทศ ดั ง นั้ น สบน. เห็ น ควรเสนอ แนวทางในการจัดสรรเงินลงทุนส�ำหรับการด�ำเนินโครงการ

เงินกู้รัฐบาลจีนมีเงื่อนไขที่พิเศษและดีกว่ า ที่ ฝ ่ า ยไทย จัดหาได้ อย่างไรก็ตาม หากรัฐบาลไทยต้องการกู้เงิน จากรัฐบาลจีน ฝ่ายไทยต้องพิจารณาข้อเสนอทางการเงิน ของรั ฐ บาลจี น (ผ่ า น CEXIM) อย่ า งละเอี ย ดถี่ ถ ้ ว น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับเงื่อนไขเงินกู้และร่างสัญญา เงินกู้ (Loan Agreement)

การจัดตั้งบริษัทร่วมทุนส�ำหรับ Operation and Maintenance (O&M) ดีอย่างไร

การขับเคลือ่ นการลงทุนในโครงสร้างพืน้ ฐานทีม่ คี วาม ส� ำ คั ญ ต่ อ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ โดยเฉพาะการลงทุ น ในระบบโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นการคมนาคมขนส่ ง เพื่อรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ และการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระดับภูมิภาค จ�ำเป็นต้องใช้

71


วงเงินลงทุนจ�ำนวนมหาศาล ในขณะที่รายได้ของรัฐบาล ที่จัดเก็บได้จากภาษีอากรในแต่ละปีมีอยู่อย่างค่อนข้าง จ�ำกัด ไม่เพียงพอต่อความต้องการในการลงทุนเพือ่ พัฒนา โครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ส่งผลให้ภาครัฐต้องกู้เงิน ผ่านระบบการจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี หรือกูเ้ งิน ผ่านการด�ำเนินงานของรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐ เพื่อน�ำมาใช้สนับสนุนการลงทุนในโครงการ พัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อเป็นการลดภาระในการกู้เงินเพื่อสนับสนุนการ ด�ำเนินโครงการ สบน. อยู่ระหว่างศึกษาและวิเคราะห์ รูปแบบการลงทุนของบริษัทร่วมทุน (SPV Modality) ทีเ่ หมาะสมส�ำหรับโครงการรถไฟไทย-จีน และหารือร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส�ำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�ำนักงานนโยบาย และการขนส่ ง และจราจร ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ ส�ำนักงบประมาณ และการรถไฟแห่ง ประเทศไทย (รฟท.) ในการผลั ก ดั น การจั ด ตั้ ง บริ ษั ท ร่วมทุนส�ำหรับงาน O&M โดยรัฐบาลไทยจะส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของเอกชนไทยในการบริหารจัดการการเดินรถ และซ่ อ มบ� ำ รุ ง และยิ น ดี ใ ห้ ฝ ่ า ยจี น ร่ ว มลงทุ น ภายใต้ เงื่อนไขของฝ่ายไทย

72

ดั ง นั้ น การศึ ก ษาการจั ด ตั้ ง บริ ษั ท ร่ ว มทุ น (Joint Venture Company) ระหว่างรัฐบาลไทย/เอกชนไทย/ เอกชนจีน (หากเอกชนจีนสนใจ) เพื่อก�ำหนดสัดส่วน การลงทุ น ในการบริ ห ารจั ด การเดิ น รถและซ่ อ มบ� ำ รุ ง (O&M) ทีเ่ หมาะสม จ�ำเป็นต้องประเมินคุม้ ค่าทางการเงิน (Value for Money) เพื่อเสนอแนะโครงสร้างของรูปแบบ บริษทั ร่วมทุน (Shareholder Structure) สัดส่วนการลงทุน (Capital Base) และรูปแบบทางการเงิน (Financial Model) ของบริษัทร่วมทุน อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมี การจั ด ตั้ ง บริ ษั ท ร่ ว มทุ น ส� ำ หรั บ O&M แต่ เ นื่ อ งจาก โครงการดังกล่าวเป็นความร่วมมือ G-to-G ดังนัน้ ฝ่ายจีน จะเข้ า มาช่ ว ยอบรมและถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ด้านการ บริหารจัดการเดินรถและซ่อมบ�ำรุงให้แก่บุคลากรไทย เพื่อให้สามารถบริหารจัดการเดินรถและซ่อมบ�ำรุงเองได้

แผนการด�ำเนินงาน

เพื่อให้สามารถด�ำเนินโครงการได้ตามเป้าหมายและ ระยะเวลาทีร่ ฐั บาลทัง้ สองฝ่ายเห็นชอบร่วมกัน ทัง้ สองฝ่าย จ�ำเป็นต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชดิ ในการหาข้อสรุปเกีย่ วกับ ข้อมูลโครงการ อัตราผลตอบแทน และแบบรายละเอียด การศึกษาและเทคนิค เพือ่ ให้ดำ� เนินการในส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง ให้สามารถด�ำเนินต่อไปได้ เช่น การจัดท�ำรายละเอียด EPC Contract การระดมทุนและรูปแบบการลงทุน การผลักดัน การจัดตั้ง SPV O&M ให้เห็นผลเป็นรูปธรรม โดยต้อง มีการหารือเกี่ยวกับข้อตกลงเกี่ยวกับการให้สัมปทาน (Concession Agreement) โครงสร้างและองค์ประกอบ ของ SPV การจัดท�ำแผนธุรกิจและการเงิน (Financial Plan) เกี่ ย วกั บ รายได้ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ ค่ า โดยสารและ การเดินรถ (Fare Revenue) รวมถึงศึกษาความเป็นไปได้ ในการหารือเกี่ยวกับรายได้นอกเหนือจากการให้บริการ (Non-fare Revenue) หรือการเก็บภาษีอสังหาริมทรัพย์ ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่ง เป็นต้น


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

รถไฟกับการพัฒนาเมือง

แม้ ว ่ า ในระยะแรกอั ต ราผลตอบแทนทางการเงิ น ของโครงการจะค่อนข้างต�่ำ เนื่องจากในช่วงต้นของการ ด�ำเนินงานคาดว่าจ�ำนวนผูโ้ ดยสารยังไม่เพียงพอต่อต้นทุน การด�ำเนินงาน และไม่ได้รับความสนใจจากภาคเอกชน ดังนั้น ภาครัฐจ�ำเป็นต้องเข้าร่วมสนับสนุนในโครงการนี้ อย่างเต็มที่ในการจัดตั้งบริษัทร่วมทุน การเปิดให้เอกชน เข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มในการลงทุ น จะเกิ ด การบริ ห ารงาน อย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพ ไม่ได้มุ่งเน้นรายได้ จากการจั ด เก็ บ ค่ า บริ ก าร (Fare Revenue) เพี ย ง อย่างเดียว แต่จะตัดสินใจและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ หรือพื้นที่เชิงพาณิชย์ของโครงการ (Transit-Oriented Development: TOD) ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด จากผล การศึกษาในประเทศญี่ปุ่น สิงคโปร์ และฮ่องกง พบว่า ในบางพืน้ ทีร่ ายได้จากภาคส่วนธุรกิจ (Non-fare Revenue) มากกว่ารายได้จากการให้บริการ ดังนัน้ เมือ่ มีการวางแผน และบริหารจัดการการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และพื้นที่ พาณิ ช ย์ ข องโครงการอย่ า งเหมาะสมแล้ ว จะท� ำ ให้ โครงการมี ฐ านะทางการเงิ น ที่ ดี ขึ้ น มี ค วามเป็ น ไปได้ มากขึ้ น (Viable) และ SPV ด� ำ เนิ น งานต่ อ ไปได้

อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง หากรั ฐ บาลไทยต้ อ งการพั ฒ นาพื้ น ที่ เชิงพาณิชย์ตลอดแนวเส้นทางโครงการก่อสร้างรถไฟ รั ฐ บาลอาจพิ จ ารณาน� ำ ที่ ร าชพั ส ดุ ห รื อ พื้ น ที่ ใ นเขต ทางรถไฟของ รฟท. ที่ไม่ได้ถูกใช้งานอย่างเต็มที่ มาใช้ พัฒนาเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยน�ำมาพัฒนาเป็นพื้นที่ เชิงพาณิชย์ ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดและ ขยายความเจริญไปยังพื้นที่ตามแนวเขตทางรถไฟ การพั ฒ นาเมื อ งเป็ น อี ก หนึ่ ง ปั จ จั ย ที่ ส นั บ สนุ น ความเป็นไปได้ของโครงการ การพัฒนาเมืองจะเป็นการ สร้ า งแรงดึ ง ดู ด การค้ า การลงทุ น และการพั ฒ นาพื้ น ที่ เมื่อมีการพัฒนาเมืองและมีการสนับสนุนการพัฒนาเมือง ด้วยระบบขนส่งสาธารณะที่ส ะดวกสบายและรวดเร็ ว จะท�ำให้ความถีใ่ นการใช้บริการมีแนวโน้มสูงขึน้ ก่อให้เกิด การพั ฒ นาธุ ร กิ จ ระหว่ า งเส้ น ทาง สร้ า งงานและสร้ า ง รายได้ ดั ง นั้ น การพั ฒ นาเมื อ งเป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ ต ้ อ งมี การวางแผนอย่ า งเป็ น ระบบและมี ก ารพั ฒ นาอย่ า ง มี ทิ ศ ทางและควรด� ำ เนิ น การเป็ น ล� ำ ดั บ แรก และให้ การก่ อ สร้ า ง/พั ฒ นารถไฟเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการขยาย ความเจริญและการเข้าถึงพื้นที่ (Feeder)

73


การติดตามและประเมินผลความคุ้มค่า ของโครงการลงทุนภาครัฐที่ใช้เงินกู้

นางสาววันทนา บัวบาน นักวิชาการคลังช�ำนาญการ นางสาววรารักษ์ ชมมณี นักวิชาการคลังปฏิบตั กิ าร

สบน. กับบทบาทการประเมินผลโครงการลงทุน ภาครัฐ

ส� ำ นั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ (สบน.) ในฐานะ หน่วยงานภาครัฐซึง่ มีบทบาทส�ำคัญในการบริหารจัดการ หนี้สาธารณะของประเทศผ่านนโยบายด้านการคลังและ การลงทุนของประเทศ มีความจ�ำเป็นที่จะต้องค�ำนึงถึง ความคุ้มค่าทางการเงินและทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจาก การด� ำ เนิ น โครงการลงทุ น ภาครั ฐ เหล่ า นั้ น เพื่ อ ที่ จ ะ สามารถประเมินความสามารถในการบริหารหนีส้ าธารณะ ของประเทศ รวมไปถึงสามารถใช้เป็นกรอบแนวทาง ในการพิ จ ารณาตั ด สิ น ใจคั ด เลื อ กโครงการลงทุ น ที่ เหมาะสมและสอดคล้องกับนโยบายการลงทุนเพื่อพัฒนา ประเทศได้ดียิ่งขึ้น และท�ำให้โครงการลงทุนของภาครัฐ ก่อให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่าต่อการลงทุนของประเทศ ได้อย่างแท้จริงและช่วยลดภาระทางการคลังของภาครัฐ ในอนาคตจากการด�ำเนินโครงการลงทุนต่างๆ เหล่านั้น อีกทั้งการประเมินผลโครงการจะมีบทบาทที่ส�ำคัญและ จะเป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ จ ะช่ ว ยประเมิ น ผลจากการด� ำ เนิ น โครงการของรัฐบาลว่าจะก่อให้เกิดความคุ้มค่าทางด้าน เศรษฐกิจมากน้อยเพียงใด ประกอบกับจะช่วยให้ สบน. สามารถพิจารณาเลือกสนับสนุนโครงการลงทุนโดยใช้ เงินกู้ที่จะมีบทบาทในการกระตุ้นเศรษฐกิจได้มากที่สุด ในแต่ ล ะช่ ว งเวลา และยั ง สามารถเสนอแนะแนวทาง การระดมทุ น ส� ำ หรั บ โครงการลงทุ น ภาครั ฐ ได้ อ ย่ า ง เหมาะสม โดยเฉพาะการระดมทุนโดยใช้เงินกู้ส�ำหรับ การสนับสนุนการด�ำเนินนโยบายการลงทุนของรัฐบาล ที่ มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง มี ค วามจ� ำ เป็ น ที่ จ ะต้ อ งให้ ความเชื่อมั่นต่อสาธารณชนได้ว่าหากรัฐบาลมีการลงทุน ในโครงการต่ า งๆ โดยใช้ เ งิ น กู ้ เ พิ่ ม ขึ้ น จะก่ อ ให้ เ กิ ด ความคุม้ ค่าต่อทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างไร ซึง่ จะส่งผล

74

ต่อเนื่องท�ำให้ภาครัฐมีศักยภาพในการจัดหารายได้และ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารหนี้สาธารณะอย่างยั่งยืน ได้หรือไม่ในระยะยาว นอกจากนี้ โครงการลงทุนภาครัฐ ไม่วา่ จะเป็นการลงทุนทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมทีใ่ ช้ เงินกู้ส่วนใหญ่ มักได้รับความสนใจจากภาคประชาชน เป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้ภาครัฐจะต้องมีการก�ำหนดแนวทาง ในการด�ำเนินโครงการทีร่ อบคอบ และโปร่งใส โดยจะต้อง สามารถชี้แจงต่อสาธารณชนได้

หลักเกณฑ์ในการประเมินผลโครงการ

การประเมินผลโครงการเงินกู้ในปัจจุบัน สบน. ได้นำ� เกณฑ์การประเมินผลโครงการที่เป็นหลักปฏิบัติสากล จากหน่วยงานต่างประเทศ เช่น Japan International Cooperation Agency (JICA) และ Asian Development Bank (ADB) มาเป็นต้นแบบและประยุกต์ใช้ในการติดตาม และประเมินผลโครงการในแต่ละช่วงเวลาโดยเริ่มตั้งแต่ ก่อนเริ่มด�ำเนินโครงการ (Ex-ante Evaluation) จนถึง หลังจากสิน้ สุดการด�ำเนินโครงการ (Ex-post Evaluation) ซึง่ จะเป็นเครือ่ งมือทีส่ ำ� คัญทีจ่ ะช่วยรัฐบาลในการพิจารณา ตัดสินใจลงทุนในโครงการที่จะก่อให้เกิดความคุ้มค่าและ เป็นประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติในระยะยาว รวมทัง้ สามารถ วัดผลการด�ำเนินโครงการว่าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ หรือไม่ บรรลุวตั ถุประสงค์ เป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้มากน้อย เพียงใด เมื่อโครงการแล้วเสร็จประชาชน/กลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียได้รับประโยชน์จากโครงการจริงหรือไม่ โดยผล จากการติดตามและประเมินผลโครงการจะแสดงให้เห็นถึง ความส� ำ เร็ จ การด� ำ เนิ น โครงการ ปั ญ หาและอุ ป สรรค และแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขการด�ำเนินโครงการ รวมถึงบทเรียนทีไ่ ด้รบั จากการด�ำเนินโครงการต่างๆ ทัง้ นี้ เพื่ อ ใช้ ใ นการบริ ห ารโครงการและจั ด สรรเงิ น ส� ำ หรั บ


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

โครงการลงทุ น ภาครั ฐ ที่ ใ ช้ เ งิ น กู ้ ต ่ อ ไปในอนาคต ซึ่ ง สบน. ได้ก�ำหนดให้มีการประเมินผลโครงการ (Project Evaluation) โดยแบ่งเป็น 4 ช่วงระยะเวลา ประกอบด้วย (1) การประเมินผลก่อนเริม่ โครงการ (Ex-ante Evaluation) (2) การประเมิ น ผลระหว่ า งด� ำ เนิ น งาน (Mid-Term

Evaluation) (3) การประเมิ น ผลเมื่ อ สิ้ น สุ ด โครงการ (Terminal Evaluation) และ (4) การประเมิ น ผล หลังโครงการแล้วเสร็จ (Ex-post Evaluation) โดยมี หลักเกณฑ์การประเมินผลโครงการในแต่ละช่วงเวลา ได้ดังภาพที่ 1 และ 2

ภาพที่ 1 : หลักเกณฑ์การประเมินผลโครงการตามเกณฑ์ 5 ด้าน

หลักเกณฑ์ในการประเมินผลโครงการ ความสอดคล้อง (Relevance)

เป็นการพิจารณาถึงความสอดคล้องของโครงการกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ นโยบายที่สำ� คัญ รวมทั้งความ ต้องการของประชาชน

ประสิทธิผล (Effectiveness)

พิจารณาได้จากระดับผลส�ำเร็จของเป้าหมาย วัตถุประสงค์ หรือแผนงาน ของโครงการ

ประสิทธิภาพ (Efficiency) ผลกระทบ (Impact) ความยั่งยืน (Sustainability)

เป็นการพิจารณาถึงต้นทุน ระยะเวลา และผลงานที่ได้รับ ว่าโครงการ ด�ำเนินการเป็นไปตามแผนงาน สามารถใช้ทรัพยากรได้คุ้มค่าหรือไม่ พิจารณาถึงผลกระทบทางบวกหรือทางลบที่เกิดขึ้นจากการด�ำเนิน โครงการว่า มีการส่งผลต่อประชาชนที่เกี่ยวข้องอย่างไรบ้าง เป็นการพิจารณาถึงความสามารถในการบ�ำรุงรักษา เพื่อให้โครงการยังคง ศักยภาพ สร้างประโยชน์ให้กับประชาชนได้อย่างต่อเนื่องในระยะยาว

การ ประเมินผล ความสอดคล้อง (Relevance) ประสิทธิผล (Effectiveness) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ผลกระทบ (Impact) ความยั่งยืน (Sustainability)

เกณฑ์การให้คะแนน a : สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลอย่างมาก b : สอดคล้องกับนโยบายบางส่วน c : ไม่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล a : บรรลุวัตถุประสงค์มากกว่า 80% ของแผนที่วางไว้ b : บรรลุวัตถุประสงค์มากกว่า 50% - 80% ของแผนที่วางไว้ c : บรรลุวัตถุประสงค์น้อยกว่า 50% ของแผนที่วางไว้ a : การใช้งบประมาณและระยะเวลา มีประสิทธิภาพ b : การใช้งบประมาณและระยะเวลา บางส่วนไม่มีประสิทธิภาพ c : การใช้งบประมาณและระยะเวลา ไม่มีประสิทธิภาพ a : ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ทางอ้อม ที่ส่งผลกระทบในเชิงบวก b : ส่งผลให้เกิดปัญหาและผลกระทบในเชิงลบ c : ส่งผลให้เกิดปัญหาและผลกระทบในเชิงลบอย่างร้ายแรง a : มั่นใจว่าโครงการมีความยั่งยืน b : มีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาแต่มีโอกาสพัฒนาและแก้ไขให้ยั่งยืนได้ c : ไม่อาจด�ำเนินการอย่างยั่งยืนหากไม่ได้รับความช่วยเหลือ

ที่มา: ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ภาพที่ 2 : ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลากับหลักเกณฑ์การประเมินผลโครงการตามเกณฑ์ 5 ด้าน ความสอดคล้อง (Relevance) ประสิทธิผล (Effectiveness) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ผลกระทบ (Impact) ความยั่งยืน (Sustainability)

การประเมินผลก่อน การประเมินผลระหว่าง การประเมินผลเมือ่ การประเมินผล ปฏิบตั งิ าน ด�ำเนินงาน สิน้ สุดโครงการ หลังโครงการแล้วเสร็จ หรือก่อนเริม่ โครงการ (Mid-term Evaluation) (Terminal Evaluation) (Ex-post Evaluation) (Ex-ante Evaluation) ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

ที่มา: ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

75


หลักเกณฑ์การให้คะแนนการประเมินผลโครงการ

การให้คะแนนโครงการ (Rating System) แบ่งเป็น คะแนนย่อยในแต่ละด้าน เช่น คะแนน a b และ c โดยเมือ่ รวมคะแนนย่อยในแต่ละด้านแล้วจะได้คะแนนรวมทัง้ หมด ของโครงการ ได้แก่ ระดับ A-พอใจมากที่สุด B-พอใจมาก

C-พอใจ และ D-ไม่พอใจ ควรต้องปรับปรุง ซึ่งสะท้อนถึง ผลการด�ำเนินงานของโครงการในภาพรวม โดยแผนผัง เกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละระดับ และสรุปผลคะแนน การประเมินผลโครงการพิจารณาได้ตามภาพที่ 3

ภาพที่ 3 : แผนผังการสรุปผลคะแนนการประเมินผลโคงการ ความ สอดคลอง

a b c

ประสิทธิผล /ผลกระทบ

a b c

a ประสิทธิภาพ b c

ความยั่งยืน

a b c

ประสิทธิผล /ผลกระทบ

a b c

a ประสิทธิภาพ b c

ความยั่งยืน

a b c

a ประสิทธิภาพ b c

ความยั่งยืน

a b c

ความยั่งยืน

a b c

A พอใจมากที่สุด

B พอใจมาก

C พอใจ

D ไมพอใจ

ที่มา : Japan International Cooperation Agency: JICA

กรณีศึกษาการประเมินผลโครงการ เมื่อสิ้นสุด โครงการ (Terminal Evaluation) โครงการปรับปรุงซ่อมแซมอ่างเก็บน�ำ้ บ้านสหกรณ์ 4 พร้อมระบบส่งน�ำ้ อ�ำเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่

รายละเอียดข้อมูลโครงการ:

ภาพก่อนด�ำเนินโครงการ

ภาพระหว่างด�ำเนินโครงการ

76

โครงการปรับปรุงซ่อมแซมอ่างเก็บน�ำ้ บ้านสหกรณ์ 4 พร้อมระบบส่งน�้ำ เป็นการด�ำเนินการปรับปรุงซ่อมแซม อ่ า งเก็ บ น�้ ำ บ้ า นสหกรณ์ 4 เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาภั ย แล้ ง การขาดแคลนน�ำ้ เพือ่ การอุปโภค-บริโภค และการเกษตร โดยเป็นการก่อสร้างระบบกระจายน�้ำ โดยการติดตั้งท่อ ส่งน�้ำ High Density Polyethylene (HDPE) ระบบส่งน�ำ้ จุดปล่อยน�ำ้ แบบ รวมทัง้ ก่อสร้างถังเก็บน�้ำโครงสร้างเหล็ก ภายใต้วงเงินลงทุน 3,333,000 บาท ซึ่งมีระยะเวลา ด� ำ เนิ น การ 150 วั น (ตั้ ง แต่ 14 กรกฎาคม 2558 10 ธันวาคม 2558)


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ผลการประเมินโครงการ

การ ประเมินผล

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนน

การประเมิ น โครงการ ปรับปรุงซ่อมแซมอ่างเก็บน�ำ้ ความสอดคล้อง a : สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลอย่างมาก a บ้านสหกรณ์ 4 พร้อมระบบ (Relevance) b : สอดคล้องกับนโยบายบางส่วน c : ไม่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ส่ ง น�้ ำ ในภาพรวมพบว่ า โครงการได้ผลการประเมิน ประสิทธิผล a : บรรลุวัตถุประสงค์มากกว่า 80% ของแผนที่วางไว้ a b : บรรลุวัตถุประสงค์มากกว่า 50% - 80% ของแผนที่วางไว้ อยู่ในระดับ A - พอใจมาก (Effectiveness) c : บรรลุวัตถุประสงค์น้อยกว่า 50% ของแผนที่วางไว้ ที่ สุ ด เนื่ อ งจากโครงการ a : การใช้งบประมาณและระยะเวลา มีประสิทธิภาพ ดังกล่าวสามารถตอบสนอง ประสิทธิภาพ b : การใช้งบประมาณและระยะเวลา บางส่วนไม่มีประสิทธิภาพ a ต่ อ ความต้ อ งการของ (Efficiency) c : การใช้งบประมาณและระยะเวลา ไม่มีประสิทธิภาพ ประชาชนในพื้ น ที่ ไ ด้ เ ป็ น a : ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ทางอ้อม ที่ส่งผลกระทบในเชิงบวก อย่างดี และยังเปิดโอกาสให้ ผลกระทบ b : ส่งผลให้เกิดปัญหา และผลกระทบในเชิงลบ a (Impact) c : ส่งผลให้เกิดปัญหาและผลกระทบในเชิงลบอย่างร้ายแรง ประชาชนในพื้นที่เข้ามามี ส่ ว นร่ ว มในการด� ำ เนิ น ความยั่งยืน a : มั่นใจว่าโครงการมีความยั่งยืน a โครงการ โดยได้ดำ� เนินการ (Sustainability) b : มีแนวโน้มที่จะเกิดปัญหาแต่มีโอกาสพัฒนาและแก้ไขให้ยั่งยืนได้ c : ไม่อาจด�ำเนินการอย่างยั่งยืนหากไม่ได้รับความช่วยเหลือ ส่งมอบให้ประชาชนในพืน้ ที่ ทั้ ง นี้ หน่ ว ยงานได้ ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ด�ำเนินการแก้ไขปัญหาอุปสรรคต่างๆ จากการด�ำเนินงาน การจัดเตรียมแผนการและงบประมาณในการบ�ำรุงรักษา ได้จนส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้แล้ว อย่างไรก็ดี โครงการดังกล่าวไว้ให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถใช้งาน การทีก่ รมทรัพยากรน�ำ้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ผลผลิตของโครงการได้อย่างยั่งยืน โดยบทเรียนที่ได้รับ สิ่งแวดล้อม ได้ด�ำเนินการส่งมอบโครงการให้กับองค์กร ของโครงการปรับปรุงซ่อมแซมอ่างเก็บน�ำ้ บ้านสหกรณ์ 4 ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น นั้ น หน่ ว ยงานควรพิ จ ารณาถึ ง พร้ อ มระบบส่ ง น�้ ำ คื อ โครงการที่ ไ ด้ รั บ การร้ อ งขอ จากประชาชนในพืน้ ที่ ซึง่ เป็นผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียโดยตรง จะส่งผลให้สามารถ ตอบสนองได้ตรงกับความต้องการของ กลุ ่ ม เป้ า หมาย รวมทั้ ง ได้ รั บ ความ ร่ ว มมื อ ในการดู แ ลรั ก ษาโครงการ เป็ น อย่ า งดี นอกจากนี้ หน่ ว ยงาน ผู้รับผิดชอบโครงการยังสามารถด�ำเนิน งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล กล่าวคือสามารถด�ำเนินงานแล้วเสร็จ ตามกรอบระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ และ ผลผลิ ต ของโครงการสามารถใช้ ง าน ได้ จ ริ ง จึ ง ท� ำ ให้ โ ครงการดั ง กล่ า ว สามารถบรรลุ เ ป้ า หมายที่ ก� ำ หนดไว้ ภาพหลังจากด�ำเนินโครงการแล้วเสร็จ ที่มา: ส�ำนักงานทรัพยากรน�ำ้ ภาค 1 กรมทรัพยากรน�้ำ ได้ส�ำเร็จ

77


บทสรุป

การติดตามและประเมินผลโครงการนับเป็นเครือ่ งมือ ที่ส� ำคั ญดั งที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นที่จ ะช่วยให้หน่ว ยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง ภาคเอกชน และประชาชนได้รบั รูถ้ งึ ประโยชน์ ที่ เ ป็ น รู ป ธรรมต่ อ ประเทศจากเม็ ด เงิ น มู ล ค่ า มหาศาล ที่ภาครัฐได้ลงทุนไปและยังเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ต่อการลงทุนในด้านโครงสร้างพืน้ ฐานของภาครัฐ รวมทัง้ เป็นตัวช่วยในการพิจารณาถึงความคุม้ ค่าทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม เพือ่ สามารถตอบค�ำถามจากบุคคลทัว่ ไปได้วา่ เม็ดเงินทีล่ งทุนในโครงการต่างๆ ส่งผลให้เกิดผลตอบแทน ทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมที่ จ ะท� ำ ให้ ค วามเป็ น อยู ่ ข อง ประชาชนดีขนึ้ มากน้อยเพียงใด และช่วยให้เพิม่ ศักยภาพ ในการแข่งขันของประเทศได้อย่างไร รวมทั้งก่อให้เกิด ประโยชน์ ต ่ อ โครงการลงทุ น ภาครั ฐ ที่ ค วรมุ ่ ง เน้ น ถึ ง การพัฒนาโครงการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มากยิง่ ขึน้ และใช้ผลการประเมินนัน้ เป็นบทเรียนทีส่ ามารถ น� ำ มาเป็ น แนวทางในการวางแผนงานโครงการและ การด�ำเนินโครงการส�ำหรับโครงการทีไ่ ด้รบั จัดสรรเงินกูใ้ ห้มี

78

ประสิทธิภาพในโครงการต่อไป ซึง่ จากทีไ่ ด้ยกตัวอย่างการ สุม่ ตรวจเยีย่ มโครงการในพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ านจริงจะช่วยท�ำให้ ทราบสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการด�ำเนินโครงการ ซึ่งหน่วยงานปฏิบัติบางหน่วยงานมีความสามารถ ในการแก้ไขปัญหาได้ดี แต่บางหน่วยงานยังอยูร่ ะหว่างหา แนวทางการแก้ไขปัญหา ซึ่งท�ำให้โครงการมีความล่าช้า กว่ า แผนที่ ก� ำ หนดไว้ นอกจากนี้ ยั ง พบว่ า หากเป็ น โครงการย่อยที่มีหน่วยงานปฏิบัติในภูมิภาคด�ำเนินการ เจ้าหน้าที่ในพื้นที่ด�ำเนินโครงการรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับ ความส� ำ คั ญ ของโครงการค่ อ นข้ า งน้ อ ย ซึ่ ง ส่ ง ผลต่ อ การบริหารโครงการในภาพรวมของหน่วยงาน โดยในอนาคตหากมี ก ารจั ด สรรเม็ ด เงิ น ลงทุ น ในโครงการต่ า งๆ เป็ น จ� ำ นวนมาก ควรก� ำ หนดให้ หน่วยงานมีแนวทางการบริหารโครงการที่ชัดเจน และ หน่ ว ยงานควรมี ง บประมาณส� ำ หรั บ การติ ด ตามและ ลงตรวจเยี่ยมโครงการในพื้นที่ให้บ่อยครั้ง เพื่อรายงาน สภาพปัญหา ข้อเท็จจริง และแนวทางการแก้ไขปัญหา ได้อย่างทันท่วงทีต่อไป


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

“การจัดซื้อจัดจ้างของ สบน. ผ่านระบบ e-GP ดีอย่างไร” นายธีระศักดิ์ อิญญาวงค์ นักวิชาการพัสดุชำ� นาญการพิเศษ ความเป็นมาของระบบ e-GP1

ด้วยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553 ให้สว่ นราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงาน ของรัฐทุกแห่ง ด�ำเนินการจัดท�ำประกาศจัดซื้อจัดจ้าง ส�ำหรับการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีสอบราคา ประกวดราคา และประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ในระบบ การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement: e-GP) ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป เพื่อให้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ดังกล่าวเป็นศูนย์กลางข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ซึง่ ผูส้ นใจสามารถเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว ครบถ้วน ทัว่ ถึง เพิม่ ความโปร่งใส ความสะดวกในการตรวจสอบ ลดปัญหา ทุจริตคอร์รัปชั่น ลดความผิดพลาดในการปฏิบัติงานของ เจ้ า หน้ า ที่ ซึ่ ง กรมบั ญ ชี ก ลางได้ พั ฒ นาระบบ e-GP โดยแบ่งการพัฒนาออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 พัฒนาระบบ e-GP 5 ระบบงานย่อย ได้แก่ (1) ระบบลงทะเบี ย น (Registration Management System) (2) ระบบปฏิบตั งิ านด้านการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ (Operation System) (3) ระบบเปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อ จั ด จ้ า ง (Information Disclosure Center: IDC) (4) ระบบสารสนเทศเพื่ อ การจั ด การ (Management Information System: MIS) และ (5) ระบบ Help Desk ระยะที่ 2 ต่ อ ยอดการพั ฒ นาจากระยะที่ 1 ให้ ครอบคลุมวิธีการจัดซื้อจัดจ้างทั้ง 12 วิธี ในทุกขั้นตอน ได้แก่ (1) วิธีตกลงราคา (2) วิธีสอบราคา (3) วิธีประกวด ราคา (4) วิธีประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) (5) วิธีพิเศษ (6) วิธีกรณีพิเศษ (7) การจ้าง ที่ ป รึ ก ษาวิ ธี ต กลง (8) การจ้ า งที่ ป รึ ก ษาวิ ธี คั ด เลื อ ก (9) การจ้างออกแบบวิธีตกลง (10) การจ้างออกแบบวิธี คัดเลือก (11) การจ้างออกแบบวิธีคัดเลือกแบบจ�ำกัด

ข้อก�ำหนด และ (12) การจ้างออกแบบวิธีพิเศษ รวมถึง การบริหารสัญญา รวมทัง้ เชือ่ มโยงกับระบบอิเล็กทรอนิกส์ ของธนาคารส� ำ หรั บ การซื้ อ ซองประกวดราคาแบบ อิเล็กทรอนิกส์ และหนังสือค�้ำประกัน (Bank Guarantee) เชื่อมโยงกับระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบ อิเล็กทรอนิกส์ (Government Fiscal Management Information System: GFMIS) ส�ำหรับข้อมูลการเบิกจ่าย และเชื่ อ มโยงกั บ ระบบฐานข้ อ มู ล ของศู น ย์ ข ้ อ มู ล ที่ปรึกษาไทย ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ระยะที่ 3 ต่อยอดการพัฒนาจากระยะที่ 2 เพื่อให้ รองรับวิธีการจัดซื้อจัดจ้างส�ำหรับการจัดหาพัสดุที่ไม่ได้ พิจารณาจากวงเงิน จ�ำแนกเป็น 2 วิธี ได้แก่ (1) วิธีตลาด อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market: e-Market) ส�ำหรับ การจัดซือ้ จัดจ้างเพือ่ จัดหาพัสดุทมี่ คี ณ ุ ลักษณะไม่ซบั ซ้อน หรือพัสดุทมี่ มี าตรฐาน และพัสดุดงั กล่าวมีรายการในระบบ ข้อมูลสินค้า (Electronic Catalog: e-Catalog) ซึ่งเป็น ระบบย่อ ยในระบบ e-GP และ (2) วิธีป ระกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding: e-Bidding) ส�ำหรับ การจัดซื้อจัดจ้างเพื่อจัดหาพัสดุที่มีคุณลักษณะซับซ้อน หรือไม่มีมาตรฐานทั่วไป หรือพัสดุดังกล่าวไม่มีรายการ ในระบบ e-Catalog

ส�ำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ครึ่งปีแรก (ตุลาคม 2553 - มีนาคม 2554). ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างจากระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (e-Government Procurement: e-GP). ก. 1

79


การใช้งานระบบ e-GP ของ สบน.

ซึ่ง สบน. ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานน�ำร่อง การใช้งานระบบ e-GP ทั้ง 3 ระยะ ดังนี้

(1) วิธีไม่แข่งขัน รวม 158 งาน จากการจัดซื้อจัดจ้าง โดยวิธีตกลงราคา วิธีพิเศษ และวิธีกรณีพิเศษ

จ�ำนวนโครงการ/งาน ปีงบประมาณ ที่จัดซื้อจัดจ้าง 2553 6 ระยะที่ 1 (1 เม.ย. 53 2554 18 ถึง 28 ก.พ. 55 2555 48 ระยะที่ 2 2555 61 (1 มี.ค. 55 2556 120 ถึง 15 ก.พ. 58) 2557 106 2558 67 ระยะที่ 3 2558 105 (16 ก.พ. 58 ข้อมูลสิ้นสุด 30 ก.ย. 58)

วงเงินที่จัดซื้อจัดจ้าง (ล้านบาท: ทศนิยม 2 ต�ำแหน่ง) 3.75 38.28 16.90 61.24 44.66 59.83 16.53 7.76

หมายเหตุ : 1) จ�ำแนกโครงการ/งานตามวันที่ที่ผูกพันสัญญา (วันที่ที่ลงนามในสัญญา หรือใบสั่งซื้อ หรือใบสั่งจ้าง แล้วแต่กรณี) 2) หลังจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ยังคงใช้งานระบบ e-GP ระยะที่ 3 ในระยะน�ำร่องต่อเนื่องไป

การเผยแพร่ขอ้ มูลการจัดซือ้ จัดจ้างของ สบน. ผ่านทาง ระบบ e-GP ท� ำ ให้ ผู ้ ส นใจสามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล การ จัดซือ้ จัดจ้างได้รวดเร็ว ครบถ้วน ทัว่ ถึง เพิม่ ความโปร่งใส ความสะดวกในการตรวจสอบ ลดความผิดพลาดในการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ซึ่งเป็นไปตามเป้าประสงค์ของ การใช้งานระบบดังกล่าว โดยเฉพาะในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 นอกจาก สบน. ได้เผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อ จัดจ้างผ่านทางระบบ e-GP แล้ว สบน. ยังด�ำเนินการ จัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีแข่งขันและก�ำหนดให้ผู้ค้าเสนอราคา ผ่านระบบ e-GP ด้วย ตลอดทั้งปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 สบน. ได้ด�ำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง รวมทั้งสิ้น 172 งาน สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายของราชการได้เป็นจ�ำนวนเงิน ทั้งสิ้น 1.63 ล้านบาท (เปรียบเทียบระหว่างราคาที่จัดซื้อ จัดจ้างกับราคากลาง) จ�ำแนกได้ดังนี้

80

(2) วิธีแข่งขัน รวม 14 งาน จากการจัดซื้อจัดจ้าง โดยวิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา วิธี e-Market และวิธี e-Bidding

ปัญหาอุปสรรคในการใช้งานระบบ e-GP

การเผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ สบน. ผ่าน ทางระบบ e-GP ระยะที่ 1 และ 2 รวมทัง้ การจัดซือ้ จัดจ้าง ผ่านทางระบบ e-GP ระยะที่ 3 พบปัญหาอุปสรรค ซึ่ง สบน. มีแนวทางป้องกันหรือแก้ไข ดังนี้ 1. การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งด้ ว ยวิ ธี e-Market และวิ ธี e-Bidding หากผูค้ า้ ไม่ได้ลงทะเบียนในระบบ e-GP จะไม่ สามารถเข้าร่วมการเสนอราคาได้ โดยเฉพาะวิธี e-Market แม้ผู้ค้าลงทะเบียนในระบบ e-GP แล้ว แต่ไม่ได้บันทึก ข้อมูลรายการสินค้าในระบบ e-Catalog หรือมีผคู้ า้ ไม่เกิน 2 ราย บันทึกข้อมูลรายการสินค้าในระบบ e-Catalog


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

หน่วยงานก็ไม่สามารถจัดซือ้ หรือจ้างโดยวิธี e-Market ได้ กรณีดังกล่าว สบน. จะแจ้งผู้ค้าที่เคยเข้าร่วมการเสนอ ราคากับ สบน. และผู้ค้าที่สนใจจะเข้าร่วมการเสนอราคา เพื่อให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการลงทะเบียนผู้ค้าในระบบ e-GP ตามที่กล่าว ท�ำให้ผู้ค้าสามารถเข้าร่วมการเสนอ ราคาผ่านระบบ e-GP ได้ในที่สุด 2. ระยะน�ำร่องการใช้งานระบบ e-GP เจ้าหน้าที่ ไม่สามารถบันทึกข้อมูลรายละเอียดการจัดซื้อจัดจ้างได้ ครบถ้วนตามทีก่ ำ� หนดไว้ในเอกสารจัดซือ้ จัดจ้าง ในเบือ้ งต้น สบน. จะต้องด�ำเนินการในทางเอกสารให้ถูกต้องตาม ข้อก�ำหนดของระเบียบทางราชการและข้อเท็จจริง แล้ว แจ้งกรมบัญชีกลางในฐานะผูด้ แู ลระบบ e-GP เพือ่ ด�ำเนิน การปรับปรุงแก้ไขให้ข้อมูลในระบบ e-GP และเอกสาร ถูกต้องตรงกันและสอดคล้องกับข้อเท็จจริง ทัง้ นี้ เพือ่ มิให้ เกิดความเสียหายกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

การเตรียมความพร้อมเจ้าหน้าที่ ในฐานะหน่วยงาน น�ำร่อง

1. ส่งเสริมให้เจ้าหน้าทีศ่ กึ ษาระเบียบและข้อก�ำหนด ที่เกี่ยวข้องของทางราชการ 2. กรณี พ บปั ญ หาอุ ป สรรคให้ รี บ รายงานผู ้ บั ง คั บ บัญชาที่เหนือขึ้นไป แล้วแจ้งผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและ ภายนอกทราบ เพื่อด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไข เพื่อไม่ให้ ส่งผลกระทบต่อบุคคลหรือหน่วยงานภายนอก และไม่ให้ เกิดความเสียหายต่อราชการหรือหน่วยงาน 3. ศึกษาความเชื่อมโยงกับระบบอื่น ในกรณีที่เกิด ข้อผิดพลาดจากการใช้งานในระบบดังกล่าวให้รีบแจ้ง Help Desk ทันที เพื่อวิเคราะห์ถึงผลกระทบต่อระบบอื่น ที่เชื่อมโยงกับระบบที่ใช้งานดังกล่าว 4. เปิ ด โอกาสให้ มี การแลกเปลี่ย นเรียนรู้ร ะหว่า ง เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน และระหว่างหน่วยงาน

เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ในการ ปฏิบัติงาน ซึ่งมีส่วนในการสร้างความเข้มแข็งในการ จัดการองค์ความรู้ของหน่วยงานต่อไป

การลงทะเบียนผูค้ า้ กับภาครัฐในระบบ e-GP2

หากผูค้ า้ ประสงค์จะลงทะเบียนการใช้งานระบบ e-GP สามารถสอบถามข้อมูลได้ที่ ส�ำนักมาตรฐานการจัดซื้อ จัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง หรือส�ำนักงานคลังจังหวัด ทุกจังหวัด โดยมีขั้นตอนด�ำเนินการ สรุปได้ดังนี้ ขั้นที่ 1 เ ข ้ า สู ่ ร ะ บ บ ก า ร ล ง ท ะ เ บี ย น ผ ่ า น ท า ง www.gprocurement.go.th และด�ำเนินการลงทะเบียน โดยแบ่งการท�ำงานเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ส�ำหรับ ผู้ค้า และส่วนที่ 2 ส�ำหรับเจ้าหน้าที่ของผู้ค้า ขั้นที่ 2 บันทึกข้อมูลในระบบ e-GP ได้แก่ ข้อมูลผู้ค้า ข้อมูลเจ้าหน้าที่ของผู้ค้าเพื่อการติดต่อ ข้อมูลการติดต่อ แล้วพิมพ์แบบแจ้งการลงทะเบียน เพื่อส่งเป็นเอกสารให้ กรมบัญชีกลางหรือส�ำนักงานคลังจังหวัดด�ำเนินการต่อไป ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการด�ำเนินการลงทะเบียน ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ขั้นที่ 3 ส่งเอกสารและรอผลการอนุมตั กิ ารลงทะเบียน จากกรมบัญชีกลางหรือส�ำนักงานคลังจังหวัด ขั้นที่ 4 เข้าใช้งานระบบ e-GP (เข้าระบบครั้งแรก)

ส�ำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง. แนวทางการปฏิบัติงานระบบ e-GP ระยะที่ 3. ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (Thai Government Procurement). แหล่งที่มา www.gprocurement.go.th สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2559.

2

81


กองทุนบริหารเงินกู้เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ และพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ (กปพ.) นางสางวันทนีย์ โพธิง์ าม เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร

ความเป็นมา

“กองทุ น บริ ห ารเงิ น กู ้ เ พื่ อ การปรั บ โครงสร้ า ง หนี้สาธารณะและพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ” (กปพ.) จั ด ตั้ ง ขึ้ น ตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารบริ ห าร หนีส้ าธารณะ (พ.ร.บ. หนีส้ าธารณะ) มีฐานะเป็นหน่วยงาน ของรัฐ ภายใต้สงั กัดกระทรวงการคลัง โดย กปพ. ด�ำเนินการ

82

ภายใต้การก�ำกับของคณะกรรมการกองทุนบริหารเงินกู้ เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะและพัฒนาตลาด ตราสารหนี้ในประเทศ (คณะกรรมการกองทุนฯ) และ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะเป็นผู้จัดการ กองทุนฯ โดยต�ำแหน่ง ซึ่ง กปพ. ท�ำหน้าที่ในการบริหาร จัดการเงินลงทุนที่ได้รับจาก พ.ร.บ. หนี้สาธารณะ ดังนี้ • การกู้ล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ (Pre - Funding) ตามมาตรา 24/1 • การกู้เพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ มาตรา 25/1 โดยปั จ จุ บั น กปพ. บริ ห ารเงิ น ที่ ไ ด้ รั บ จากการกู ้ ล่วงหน้าเพือ่ ปรับโครงสร้างหนีส้ าธารณะตามมาตรา 24/1 ซึ่ง กปพ. ท�ำหน้าที่ในการสนับสนุนการพัฒนาตลาด ตราสารหนี้ในประเทศของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ที่มีนโยบายส�ำคัญในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ อย่างต่อเนื่องโดยการออก Benchmark Bond ขนาดใหญ่ เพือ่ สร้างสภาพคล่องในตลาด โดยในปัจจุบนั มีรนุ่ ทีม่ ขี นาด ใหญ่ สู ง ถึ ง 300,000 ล้ า นบาท ซึ่ ง ท� ำ ให้ มี ค วามเสี่ ย ง ในการปรับโครงสร้างหนี้ที่จะครบก�ำหนด (Refinancing Risk) ดังนั้น สบน. ในฐานะหน่วยงานที่บริหารจัดการ หนีส้ าธารณะจึงได้พฒ ั นาเครือ่ งมือในการปรับโครงสร้างหนี้ ประกอบด้วย การกูเ้ งินในวันทีห่ นีค้ รบก�ำหนด (Back to Back) การท�ำธุรกรรมแลกเปลี่ยนพันธบัตร (Bond Switching) และการกูล้ ว่ งหน้าเพือ่ ปรับโครงสร้างหนี้ (Pre - Funding) และมอบเงินให้ กปพ. บริหารจัดการการลงทุน เพื่อเป็น อีกหนึ่งทางเลือกที่ใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้ล่วงหน้า โดยเฉพาะหนี้สาธารณะที่จะครบก�ำหนดซึ่งมีขนาดใหญ่ มากกว่ า 50,000 ล้ า นบาท ซึ่ ง เครื่ อ งมื อ ส� ำ หรั บ การ ปรับโครงสร้างหนี้ของ สบน. ปรากฏดังภาพที่ 1


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ภาพที่ 1: เครือ่ งมือการบริหารความเสีย่ งส�ำหรับการปรับโครงสร้างหนีส้ าธารณะของ สบน. ลบ.

มูลคาคงคางพันธบัตรรัฐบาล (ปงบประมาณ 2559 - 2604)

LB196A

300,000

LB21DA

พฤศจิกายน 2558

Bon Switching LB176A

3

Bond Switching

In FY2016

150,000

PDDF 2

2555

Pre - Funding

50,000

Bridge Financing Back-to-Back LB366A LBA37DA LB383A

LB396A LB406A LB416A

LB446A

LB616A

LB666A

ปงบประมาณ

LBF165A LB167A LB16NA LB171A LB175A LB176A LB170A LB183A LB183B LB191A LB193A LB196A LB198A LB19DA LB206A LB213A LB214A ILB217A LB21DA LB22NA LB233A LB236A LB244A LB24DA LB25DA LB267A LB27DA ILB283A LB283A LB296A LB316A LB326A

1

0 2559

20

22 23 24

28

47 2604

50 2609

1 2560

2 2561

3 2562

4 5 6 2563 2564 2565

7

8 9

10

11

12 14 15

21

ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

ส� ำ หรั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ห ลั ก ของการบริ ห ารจั ด การ การลงทุนของ กปพ. คือ การรักษาเงินต้น (Capital Preservation) เป็นส�ำคัญ โดย กปพ. เริ่มบริหารจัดการ การลงทุ น ครั้ ง แรกในปี ง บประมาณ 2555 ซึ่ ง ในช่ ว ง ปีงบประมาณ 2555 - 2558 ทีผ่ า่ นมา กปพ. บริหารจัดการ การลงทุนได้รับผลตอบแทน ซึ่งสามารถช่วยลดต้นทุน ในการกู้ล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ของรัฐบาลได้

กระบวนการด�ำเนินงานของ กปพ.

ตัง้ แต่ปงี บประมาณ 2555 เป็นต้นมา กปพ. ได้รบั มอบ เงินจากกระทรวงการคลัง โดย สบน. จากการกู้ล่วงหน้า เพื่อปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาล ซึ่งมีวงเงินครบ ก�ำหนดขนาดใหญ่อย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อบริหารจัดการ การลงทุนภายใต้วัตถุประสงค์หลัก คือ การรักษาเงินต้น (Capital Preservation) เป็นส�ำคัญ โดยนโยบายและ กรอบการลงทุนของ กปพ. ก�ำหนดให้ กปพ. สามารถฝาก เงิ น ได้ ไ ม่ เ กิ น ร้ อ ยละ 30 และมอบหมายให้ ผู ้ บ ริ ห าร สินทรัพย์ภายนอกบริหารจัดการไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 70 โดยผู้บริหารสินทรัพย์ต้องลงทุนตามสัดส่วนที่ กปพ. ก�ำหนด ดังตารางที่ 1

83


ตารางที่ 1: นโยบายและกรอบการลงทุนของ กปพ.

ที่มา : กองทุนบริหารเงินกู้เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะและพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ

โดยในช่วงปีงบประมาณ 2555 - 2558 กปพ. ได้รับ มอบเงินจากการกูล้ ว่ งหน้าเพือ่ ปรับโครงสร้างหนีพ้ นั ธบัตร รัฐบาลจ�ำนวน 7 รุน่ ได้แก่ LB11NA SBST129A LB133A

LB145B SBST147A LB155A LB15DA วงเงินรวม 421,110 ล้านบาท และได้รบั ผลตอบแทน 3,790 ล้านบาท รายละเอียดดังภาพที่ 2

ภาพที่ 2: ผลการบริหารจัดการการลงทุนของ กปพ.

ลานบาท

180,000

2,180
 3.14%

150,000

150,890

120,000

90,000

200

60,000

106

3.50%

30,000

0

485

534

3.03%

3.06%

59,729

58,807

2.44%

61,798

47

39,000

236

2.21%

1.68%

25,536 Pre-funding LB11NA

Pre-funding
 SB129A

Management Period 1 mth

ปงบประมาณ

Management Period 10 mth

Pre-funding
 LB133A

Management Period 4 mth

2555

2556

Pre-funding
 LB145B

Pre-funding
 SBST147A

Management Period 6 mth

Management Period 1 mth

25,350 Pre-funding
 LB155A

Management Period 5 mth

2557

Pre-funding
 LB15DA

Management Period 6 mth

2558

ที่มา : กองทุนบริหารเงินกู้เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะและพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ

84

ฝากเงิน 100%

ตราสารหนี้รัฐบาล/ รัฐบาลค้ำประกัน

ตราสารหนี้ตางประเทศ

Reverse Repo

ตราสารหนี้อื่น


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ส�ำหรับกลยุทธ์ในการบริหารจัดการการลงทุนทีผ่ า่ นมา 1. กปพ. จะฝากเงินเต็มสัดส่วนที่ร้อยละ 30 ของ วงเงินที่ได้รับมอบจากกระทรวงการคลัง 2. มอบหมายให้ผู้บริหารสินทรัพย์ภายนอกบริหาร จัดการร้อยละ 70 ของวงเงินทีไ่ ด้รบั มอบจากกระทรวงการคลัง • ผู ้ บ ริ ห ารสิ น ทรั พ ย์ จ ะฝากเงิ น เต็ ม สั ด ส่ ว น ที่ร้อยละ 8 - 10 ้ที่มีความมั่นคงสูงร้อยละ ลานบาท • ลงทุนในตราสารหนี 180,000 65 - 80 โดยลงทุนในตราสารหนี้รัฐบาลร้อยละ 5 - 55 ลงทุนในตราสารหนี้ต่างประเทศสัด2,180
 ส่3.14% วนร้อยละ 0 - 40 150,000 ในรูปของตั๋วสัญญาใช้เงินและไม่ม150,890 ีหลักประกัน (Euro Commercial Paper: ECP) ซึ่งออกหรือค�้ำประกันโดย 120,000 กระทรวงการคลัง เพื่อสร้างผลตอบแทนส่วนเพิ่มในการ ลงทุน (Enhance Yield) และลงทุนในธุรกรรมการซื้อ 90,000 โดยมีสัญญาขายคืน (Reverse Repo) ร้อยละ 0 - 60 200
 3.03% อย่ า งไรก็ ต าม 60,000 ตั้ ง แต่ มี ก ารเก็ บ ค่ า ธรรมเนี ย มการท� ำ 59,729 106
 ธุรกรรม Reverse Repo 3.50% ส่ ง ผลให้ อั ต ราผลตอบแทน 39,000นลดลง ในช่วงปีงบประมาณ 30,000 หลังหักค่าใช้จา่ ยจากการลงทุ 2558 ที่ผ่านมาจึงไม่มีการลงทุนในธุรกรรม Reverse 0

Pre-funding LB11NA

Pre-funding
 SB129A

Management Period 1 mth

Management Period 10 mth

Pre-funding
 LB133A

Management Period 4 mth

2555

ปงบประมาณ

485

534

2.44%

3.06%

61,798

58,807

Repo ลงทุนตราสารหนี้อื่นที่ได้รับการจัดอันดับสูงสุด 47 236 ในประเทศร้2.21% อยละ 20 - 35 โดยสั1.68% ดส่วนการลงทุนของ 25,536 25,350 ผูบ้ ริหารสินทรัพย์ ภายนอกปรากฏดังภาพที่ 3

Pre-funding
 LB145B

Pre-funding
 SBST147A

Management Period 6 mth

2556

Management Period 1 mth

Pre-funding
 LB155A

Management Period 5 mth

2557

Pre-funding
 LB15DA

Management Period 6 mth

2558

ภาพที่ 3: สัดส่วนการลงทุนของผูบ้ ริหารสินทรัพย์ภายนอกของ กปพ. ฝากเงิน

ตราสารหนี้รัฐบาล/ รัฐบาลค้ำประกัน

ตราสารหนี้ตางประเทศ

Reverse Repo

ตราสารหนี้อื่น

100% 90% 80%

ตราสารหนี้อื่น

70% 60% 50%

ตางประเทศ

40% 30% 20%

รัฐบาล

10%

ฝากเงิน

0%

LB11NA

ปงบประมาณ

LB129A

2555

LB133A

2556

LB145B

SBST147A

2557

LB155A

LB15DA

2558

ที่มา : กองทุนบริหารเงินกู้เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะและพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ

85


การด�ำเนินงานของ กปพ. ในปี 2558

ในปีงบประมาณ 2558 กปพ. ได้ศึกษาแนวทางเพื่อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห ารจั ด การการลงทุ น ของ กปพ. ประกอบด้วยประเด็นหลัก ดังนี้ 1. การเพิ่มสกุลเงินหลักที่ กปพ. สามารถลงทุนได้ ซึ่งที่ผ่านมา กปพ. สามารถลงทุนได้ใน 9 สกุลเงินหลัก ตามระเบียบที่คณะกรรมการกองทุนฯ ก�ำหนด ประกอบ ด้วย AUD, GBP, CAD, DKK, EUR, JPY, SEK, CHF และ USD ซึง่ ในปี 2558 กปพ. เล็งเห็นถึงโอกาสของอัตรา ผลตอบแทนทีจ่ ะได้รบั จากการลงทุน จึงได้ศกึ ษาการเพิม่ สกุ ล เงิ น เพื่ อ ให้ กปพ. สามารถลงทุ น ได้ 3 สกุ ล เงิ น ซึ่งประกอบด้วย CNH, SGD และ HKD

2. ด�ำเนินการปรับกรอบการบริหารความเสีย่ งเพือ่ ให้ เกิดความรัดกุม เหมาะสม สอดคล้อง และเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ นโยบายกรอบการบริหารจัดการการลงทุน ของ กปพ. ซึ่งประกอบด้วยกรอบความเสี่ยง 4 ด้าน 1) ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย 2) ความเสี่ยงด้าน เครดิต 3) ความเสีย่ งด้านอัตราแลกเปลีย่ น และ 4) ความเสีย่ ง ด้ า นสภาพคล่ อ ง ซึ่ ง กปพ. ได้ ป รั บ กรอบความเสี่ ย ง ด้ า นอั ต ราดอกเบี้ ย และความเสี่ ย งด้ า นสภาพคล่ อ ง เพื่อให้สอดคล้องและเหมาะสมส�ำหรับการด�ำเนินงาน ของ กปพ. ในปัจจุบันมากขึ้น รายละเอียดดังภาพที่ 4

ภาพที่ 4: กรอบแนวทางและเครือ่ งมือในการบริหารความเสีย่ งของ กปพ. 1) ความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk) • Portfolio Duration เบี่ยงเบนจาก Duration ของดัชนีอ้างอิงไม่เกิน + 0.5 ปี • Absolute VaR Limit ไม่เกิน 0.5% ต่อปี (โดยวิธี Delta-normal method ที่ความเชื่อมั่น 99%) • Security Maturity ไม่เกิน 3 ปี 2) ความเสี่ยงด้านเครดิต (Foreign Exchange Rate Risk) • ปิดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนทั้งหมด (Full Hedge) 3) ความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน (Credit / Counterparty Risk) • Issuer Limit ไม่เกินร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน (NAV) • Counterparty Limit ไม่เกินร้อยละ 30 ของมูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุน • ยกเว้นตราสารหนี้ที่ออกหรือค�ำ้ ประกันโดยกระทรวงการคลัง 4) ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) • ลงทุนแบบ Maturity Matching เป็นหลัก • ลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีอายุมากกว่าวันครบก�ำหนดคืนเงินจะต้องเป็น LB ที่มีอายุคงเหลือไม่เกิน 3 ปี หรือ T-Bills เท่านั้น • ลงทุนในหลักทรัพย์อื่นนอกเหนือจาก LB และ T-Bills ให้ลงทุนแบบ Maturity Matching เท่านั้น ยกเว้นกรณีที่มีการจัดท�ำแผนบริหารสภาพคล่องเพือ่ น�ำเงินส่งคืนให้ กปพ. ที่มา : กองทุนบริหารเงินกู้เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะและพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ

86


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

การด�ำเนินงานของ กปพ. ในอนาคต

1. การแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการการลงทุนของ กปพ. โดยการแก้ พ.ร.บ. หนี้สาธารณะ เพื่อให้ กปพ. สามารถ ลงทุนในพันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทยได้ และก�ำหนด ให้การฝากเงินของ กปพ. ถือเป็นการลงทุนประเภท หลั ก ทรั พ ย์ มั่ น คงสู ง แทนการพั ก เงิ น ในช่ ว งที่ ผ ่ า นมา เพื่อเป็นการขยายกรอบการลงทุนที่กว้างขึ้น ส� ำหรับ รองรั บ วงเงิ น ที่ กปพ. จะได้ รั บ มอบให้ บ ริ ห ารจั ด การ ซึ่งมีขนาดใหญ่ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ภายใต้กรอบความเสี่ยงที่เหมาะสม

2. กปพ. ด� ำ เนิ น การวางแผนในการพั ฒ นาการ ด�ำเนินงานของเจ้าหน้าที่ กปพ. เพื่อเป็นการเสริมสร้าง ศักยภาพในการท�ำงาน ให้สามารถตรวจสอบ ก�ำกับ และ ติดตามการลงทุนของผูบ้ ริหารสินทรัพย์ภายนอก อันเป็น ความรูเ้ ฉพาะทางได้ รวมทัง้ เพือ่ เป็นการเตรียมความพร้อม การด� ำ เนิ น งานของ กปพ. ต่ อ ไปในอนาคต ส� ำ หรั บ การบริหารจัดการการลงทุนทีม่ คี วามซับซ้อนซึง่ ต้องอาศัย ความสามารถเฉพาะด้านเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ กปพ. ได้ศึกษาแนวทางการปรับโครงสร้างองค์กร การว่าจ้าง ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ จั ด การกองทุ น ฯ และเจ้ า หน้ า ที่ ข อง กปพ. เพื่อรองรับการด�ำเนินงานในอนาคต

87


การพัฒนาธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร (Bond Buy-Back Transaction) เพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการบริหารหนี้ของรัฐบาล นายสิทธานต์ เสถียรพัฒนากูล เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร

หลักการและเหตุผลในการพัฒนาธุรกรรม Bond Buy-Back Transaction

ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) เป็นหน่วยงาน หลักทีท่ ำ� หน้าทีใ่ นการระดมทุนให้กบั รัฐบาล เพือ่ ให้รฐั บาล สามารถน�ำเม็ดเงินทีไ่ ด้ไปใช้ในการบริหารจัดการประเทศ ให้เกิดสาธารณประโยชน์สูงสุดตามเป้าหมาย โดยในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา รัฐบาลมีความต้องการใช้เงินในปริมาณ มาก ส�ำหรับการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศและ กระตุน้ เศรษฐกิจ ท�ำให้ สบน. ต้องพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ในประเทศ ทั้งด้านเครื่องมือ ธุรกรรม และโครงสร้างของ ตลาด เพื่อให้ตลาดตราสารหนี้สามารถรองรับการกู้เงิน ของภาครัฐและเอกชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน โดยหนึ่งในเครื่องมือที่ส�ำคัญที่สุด ได้แก่ Benchmark Bond หรือพันธบัตรรัฐบาลเพื่อการสร้างอัตราดอกเบี้ย อ้างอิงให้กบั ประเทศ ซึง่ เป็นพันธบัตรทีม่ วี งเงินสูง ส่งผล ให้มีสภาพคล่องสูงตามไปด้วย อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน ยอดคงค้างของ Benchmark Bond แต่ละรุน่ มีวงเงินสูงถึง 200,000 - 300,000 ล้านบาท ซึง่ อาจก่อให้เกิดความเสีย่ ง ในการปรั บ โครงสร้ า งหนี้ ใ นอนาคตได้ ดั ง นั้ น สบน. จึงท�ำการศึกษาและพัฒนาเครื่องมือในการบริหารจัดการ หนี้ชนิดใหม่อย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับเตรียมความพร้อม และเพิ่ ม ทางเลื อ กในการปรั บ โครงสร้ า งหนี้ ส าธารณะ ได้ตลอดเวลา ถึงแม้ว่าในขณะนั้น ตลาดจะมีสภาวะที่มี ความผันผวนสูงก็ตาม ในปัจจุบนั สบน. มีเครือ่ งมือหลักในการบริหารจัดการ หนี้ที่ครบก�ำหนดของรัฐบาล 3 ชนิด ได้แก่ 1) การกู้เ งิน ระยะสั้นเพื่อปรับ โครงสร้า งหนี้ในวัน ครบก�ำหนด (Back-to-Back) 2) การกู้เงินล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ (Prefunding) 3) ธุรกรรมแลกเปลี่ยนพันธบัตร (Bond Switching)

88

โดย สบน. ได้น�ำเครื่องมือทั้ง 3 ชนิด มาประยุกต์ใช้ ร่วมกันในการบริหารจัดการหนีใ้ ห้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด อย่างไรก็ตาม สบน. ยังไม่มเี ครือ่ งมือในการปรับโครงสร้าง หนี้พันธบัตรรัฐบาลโดยการน�ำงบช�ำระหนี้ที่ได้รับจัดสรร ในแต่ละปีมาประยุกต์ใช้ ดังนั้น ธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร (Bond Buy-Back Transaction) จะเป็นการเพิ่มช่องทาง บริหารเงินสดและงบช�ำระหนี้ของรัฐบาลให้เกิดประโยชน์ และประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังสามารถลดยอด หนี้คงค้างของ Benchmark Bond ที่มีแนวโน้มที่สูงขึ้น ต่ อ เนื่ อ ง และยั ง สามารถดู ด ซั บ พั น ธบั ต รรั ฐ บาลที่ มี สภาพคล่องต�่ำหรือมีอัตราดอกเบี้ยสูงเกินราคาตลาดได้ ซึง่ จะเป็นการสร้างความยืดหยุน่ ให้ สบน. ในการวางแผน การระดมทุนให้สอดคล้องกับสภาวะตลาดได้

ธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตรคืออะไร

ธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร คือ การที่ผู้ออกพันธบัตร (Issuer) ท�ำการซื้อคืนพันธบัตรที่ตนเองเป็นผู้ออก โดยมี วัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น เพื่อลดยอดหนี้คงค้าง ลดภาระ ต้นทุน ลดความเสีย่ งในการปรับโครงสร้างหนี้ ลดปริมาณ พันธบัตรที่ไม่มีสภาพคล่อง และลดปริมาณพันธบัตรที่มี ราคาบิดเบือนราคาตลาด เป็นต้น ดังนั้น สบน. จึงเห็นควรพัฒนาธุรกรรม Bond BuyBack Transaction เพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการบริหาร จัดการหนี้พันธบัตรรัฐบาล ลดต้นทุน และลดความเสี่ยง ในการปรับโครงสร้างหนี้ รวมไปถึงการน�ำงบช�ำระหนี้ที่ ได้รบั จัดสรรในแต่ละปีหรือกระแสเงินสดทีม่ มี าประยุกต์ใช้ ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

วิธีการท�ำธุรกรรม Bond Buy-Back Transaction

ในต่างประเทศที่เป็นประเทศต้นแบบด้านการพัฒนา ตลาดตราสารหนี้ ข องโลก เช่ น สหราชอาณาจั ก ร สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น และนอร์เวย์ เป็นต้น ได้ท�ำการพัฒนาธุรกรรม Bond Buy-Back Transaction ให้เป็นเครื่องมือหลักในการบริหารจัดการหนี้ของรัฐบาล โดยมีวิธีการท�ำธุรกรรม 2 วิธีหลัก ได้แก่ 1) การซื้อคืนในตลาดโดยตรง (Secondary Market Purchase) คือ การที่รัฐบาลน�ำเงินไปซื้อคืนพันธบัตร รัฐบาลในตลาดรอง ณ มูลค่าตลาด เสมือนเป็นผู้เล่น ในตลาดรายหนึ่ง 2) การซือ้ คืนโดยการเปิดประมูล (Reverse Auction) คือ การที่รัฐบาลประกาศให้ผู้ถือครองพันธบัตรรัฐบาล สามารถเข้าร่วมการประมูลเพื่อเสนอขายพันธบัตรคืนให้ แก่รัฐบาล โดยเสนอราคาผลตอบแทนของพันธบัตร และ รัฐบาลจะซื้อคืนจากราคาที่ถูกที่สุดขึ้นไปจนครบวงเงิน ที่ต้องการซื้อคืน ทั้งนี้ แต่ละประเทศมีแนวทางการท�ำธุรกรรม Bond Buy-Back Transaction แตกต่างกัน ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั ระเบียบ กฎหมาย ลักษณะของนักลงทุน โครงสร้างของตลาด รวมไปถึงแหล่งเงินทีน่ ำ� มาใช้ แต่ทกุ ประเทศมีวตั ถุประสงค์ ในการท�ำทีค่ ล้ายคลึงกัน คือ เพือ่ ลดยอดหนีค้ งค้าง เพือ่ ลด ความเสีย่ งในการปรับโครงสร้างหนี้ และลดจ�ำนวนพันธบัตร ที่ไม่มีสภาพคล่อง โดยประเทศที่มีการท�ำธุรกรรม Bond Buy-Back Transaction เป็นประจ�ำ ได้แก่ สหราชอาณาจักร นอร์เวย์ และญี่ปุ่น เป็นต้น โดยจะมีการประชาสัมพันธ์ ข้อมูลให้กับผู้ร่วมตลาดตราสารหนี้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ นักลงทุนมั่นใจและรับทราบถึงวิธีการ วงเงิน ช่วงเวลา และวัตถุประสงค์ในการท�ำธุรกรรม

การน�ำธุรกรรม Bond Buy-Back Transaction มาปรับใช้ในประเทศไทย

สบน. อยูร่ ะหว่างการศึกษาธุรกรรม Bond Buy-Back Transaction ของต่างประเทศทีม่ กี ารท�ำธุรกรรมเป็นประจ�ำ ซึง่ แต่ละประเทศมีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ โครงสร้าง ของตลาดตราสารหนี้ และมุมมองของนักลงทุนต่อการ

ลงทุนในตราสารหนี้ที่แตกต่างกัน สบน. จึงต้องท�ำการ วิเคราะห์ธรุ กรรมดังกล่าวในเชิงลึก เพือ่ จะได้ทราบถึงข้อดี ข้อเสียของธุรกรรมดังกล่าวและน�ำมาพัฒนาเพือ่ ประยุกต์ ใช้ ใ นการเพิ่ ม ความคล่ อ งตั ว ในการบริ ห ารจั ด การหนี้ พันธบัตรรัฐบาล และลดความเสีย่ งในการปรับโครงสร้างหนี้ นอกจากนี้ สบน. เห็ น ว่ า การน� ำ ธุ ร กรรม Bond Buy-Back Transaction สามารถน�ำมาพัฒนาต่อยอด เพือ่ เป็นเครือ่ งมือหลักในการพัฒนาตลาดตราสารหนีไ้ ทย อีกทางหนึ่ง เช่น การลดจ�ำนวนพันธบัตรรัฐบาลรุ่นที่ไม่มี สภาพคล่องหรือมีราคาบิดเบือนราคาตลาด ที่อาจสร้าง ความสับสนให้กับนักลงทุนในการค�ำนวณราคา (Markto-Market) ทั้ ง นี้ การน� ำ ธุ ร กรรม Bond Buy-Back Transaction มาใช้อย่างเหมาะสมจะเป็นการสนับสนุน การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ไทย ให้เป็นแหล่งระดมทุน ที่ยั่งยืนและมั่นคง ส่งเสริมตลาดตราสารหนี้ไทยให้เป็น เสาหลักในตลาดเงินตลาดทุน และพัฒนาให้ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางทางการเงินในภูมิภาคนี้

89


ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน (FOREIGN EXCHANGE RATE RISK) นายชนวีร์ ค�ำมี เศรษฐกรปฏิบตั กิ าร 1. อัตราแลกเปลี่ยนคืออะไร

1. What is an exchange rate?

อัตราแลกเปลี่ยนระหว่างสกุลเงินคืออัตราในตลาดที่ สกุลเงินหนึ่งสามารถแลกเปลี่ยนเป็นอีกหนึ่งสกุลเงินได้ ยกตัวอย่างเช่น อัตราแลกเปลี่ยนในตลาด (Spot Rate)1 36 บาทต่อเหรียญสหรัฐ หมายถึงเงินสกุลบาทจ�ำนวน 36 บาท สามารถแลกเปลีย่ นในตลาดเงินตราต่างประเทศ (Foreign Exchange Market) ได้เป็นเงินจ�ำนวน 1 เหรียญ สหรัฐ และหาก Spot Rate ดังกล่าวเพิ่มขึ้น (ลดลง) หมายความว่าเงินบาทได้ออ่ นค่าลง (แข็งค่าขึน้ ) เมือ่ เทียบ กับเหรียญสหรัฐ อย่างไรก็ดี อัตราแลกเปลีย่ นระหว่างสอง สกุลเงิน (Bilateral Exchange Rate) นั้นไม่สามารถบอก ได้ว่าค่าเงินแข็งหรืออ่อนค่าหากอัตราแลกเปลี่ยนต่อสกุล เงินต่างๆ มีทิศทางที่ไม่เหมือนกัน การใช้ดัชนีค่าเงิน (NEER)2 หรือดัชนีคา่ เงินทีแ่ ท้จริง (REER)3 ซึง่ วัดค่าเงิน ต่อตะกร้าสกุลเงินอื่นๆ จึงมีความเหมาะสมในการใช้วัด ทิศทางการเปลี่ยนแปลงโดยรวมของค่าเงินและความ สามารถในการแข่งขันด้านราคาของประเทศ

An exchange rate between two currencies is essentially the bilateral rate driven by the market at which one currency could be exchanged for another. For instance, a quoted THB/USD spot rate1 of 36.00 in the foreign exchange market meant 36 Baht could be exchanged for 1 Dollar. If the rate goes up (down), the value of Thai Baht would have weakened (strengthened) or depreciated (appreciated) against the US Dollar. The nature of such rates, however, depends only on currency pairs and may not capture the overall measure of the currency’s value in the global market. Hence, effective exchange rates such as NEER2 and REER3 have been used to counter this problem through weight averaging a basket of a country’s foreign exchange rates.

2. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยน

There are three different types of exchange rate regimes namely the floating, fixed and managed float. In the fixed system, a currency would be pegged

อัตราซื้อขายเงินตราต่างประเทศในตลาดซื้อขายทันที โดยมีกำ� หนด ส่งมอบ 2 วันท�ำการ หลังจากที่มีการตกลงซื้อขายกัน 2 ดัชนีค่าเงิน (Nominal Effective Exchange Rate หรือ NEER) คือ การเทียบ Bilateral Exchange Rate ของสกุลเงินต่างประเทศต่างๆ และน�ำมาเฉลี่ยถ่วงน�ำ้ หนักด้วยสัดส่วนการค้า 3 ดัชนีค่าเงินที่แท้จริง (Real Effective Exchange Rate หรือ REER) ค�ำนวณโดยปรับ NEER ด้วยระดับราคาในประเทศต่างๆ

1

ระบบอัตราแลกเปลี่ยนโดยรวมมีอยู่สามแบบ ได้แก่ ระบบคงที่ (Fixed) ระบบลอยตัว (Floating) และระบบ ลอยตัวแบบมีการจัดการ (Managed Float) ส�ำหรับระบบ

1

90

2. Factors which determine the exchange rates

Spot rate refers to the exchange rate as quoted on the market. The Transactions are verified and settled within two consecutive business days following the trading date. 2 NEER or Nominal Effective Exchange Rate measures a weighted average of a currency’s bilateral exchange rates with weights in according to terms of trade. 3 REER or Real Effective Exchange Rate adjusts the NEER with relative inflation and price levels.


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

คงที่นั้น ค่าเงินของสกุลในประเทศจะถูกผูกค่า (Pegged) กับค่าเงินสกุลอืน่ หรือราคาสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodity)4 เพื่อเป็นการให้อ�ำนาจกับธนาคารกลางในการควบคุม และรักษาเสถียรภาพของค่าเงินในประเทศ ทัง้ นี้ ธนาคารกลาง จะท�ำการแทรกแซงค่าเงินผ่านนโยบายการเงิน (Monetary Policy) เช่น การด�ำเนินการผ่านตลาดการเงิน (Open Market Operations) ด้ ว ยการใช้ เ งิ น ส� ำ รองระหว่ า ง ประเทศ (Foreign Reserves) ในการซื้อ (ขาย) สกุลเงิน ในประเทศเมื่อค่าเงินอ่อนค่าลง (แข็งค่าขึ้น) เกินจาก ค่าคงที่ที่ผูกค่าไว้ ในปัจจุบัน ธนาคารกลางและประเทศส่วนใหญ่หันมา ใช้ระบบอัตราแลกเปลีย่ นลอยตัว โดยมีปจั จัยทีส่ ง่ ผลกระทบ ต่อความเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนไปตามกลไก ตลาดอุปสงค์และอุปทานผ่านผูเ้ ล่นต่างๆ ในตลาดเงินตรา ต่างประเทศ ยกตัวอย่างเช่น บริษทั ไทยทีต่ อ้ งน�ำเข้าสินค้า ส�ำหรับการผลิตจากสหรัฐฯ จะต้องท�ำการแลกเปลี่ยน เงินทุนเพื่อใช้ในการซื้อสินค้า โดยจะส่งผลให้อุปสงค์ของ เงินสกุลบาทและอุปทานของเงินสกุลเหรียญสหรัฐเพิม่ ขึน้ และท�ำให้เงินบาทอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเหรียญสหรัฐ นอกจากนี้ อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวมีข้อดีในการ รองรั บ กลไกในการสมดุ ล การช� ำ ระเงิ น (Balance of Payment) โดยหากประเทศมีการขาดดุลการค้าและมี มูลค่าน�ำเข้าทีม่ ากกว่ามูลค่าส่งออก สกุลเงินของประเทศ นั้นจะอ่อนค่าลงซึ่งจะส่งผลให้สินค้าส่งออกมีราคาถูกลง และมีความสามารถในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศ ที่สูงขึ้น และเมื่อประกอบกับราคาสินค้าน�ำเข้าที่เพิ่มขึ้น ดุลการค้าจะกลับคืนสู่ระดับสมดุลอย่างอัตโนมัติ ในช่วงวิกฤตการเงินปี 2540 ระบบอัตราแลกเปลี่ยน แบบคงที่ของประเทศไทยได้ล้มเหลวลงเมื่อรัฐบาลไม่มี เงินส�ำรองระหว่างประเทศเพียงพอในการรักษาค่าเงินบาท ไว้ที่ 25 บาท ต่อเหรียญสหรัฐ โดยตัง้ แต่ปี 2540 เป็นต้นมา 4

ประเทศส่วนใหญ่ในอดีตได้มีการใช้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ และผูกค่าเงินไว้กับราคาทองค�ำ เช่น ระบบมาตรฐานทองค�ำ (Gold Standard) และระบบ Bretton Woods ในสหรัฐฯ ก่อนปี 2516

against the price of another currency or commodity4. The central bank would intervene and manipulate the currency’s value by adopting monetary policies such as open market operations, using international reserves to directly buy (sell) domestic currency when it depreciates (appreciates) beyond the pegged value. The rationale behind the system is to grant more control to central banks to maintain their currency’s value for stability. The fixed system has become less popular in recent years, in favour of the floating system where the prices of currencies, like other goods or commodities, are driven by the market mechanisms of supply and demand through various players such as importing and exporting firms, financial institutions, speculators and central banks. For instance, a Thai firm importing products from the US, in order to facilitate the transaction, will need to convert their capital from THB to USD in the foreign exchange market resulting in increasing THB’s supply and USD’s demand (THB depreciating against the USD). Moreover, the flexible rates allow automatic adjustment of the balance of payment. A country with a deficit balance of trade will have more imports than exports and experience depreciation in its currency. Weakening currency would then improve the exporting goods’ competitiveness in the international market, as well as making imports more expensive. A natural result is the stabilising of the currency and the balance of payment. The 1997 Asian Financial crisis saw the failure of Thailand’s fixed exchange rate regime in which the 4

In the past, most countries have adopted a fixed exchange rate by pegging their currencies against the price of gold e.g. Gold Standard and the Bretton Woods System in the US up until 1973.

91


ประเทศไทยได้เปลีย่ นมาใช้ระบบอัตราแลกเปลีย่ นลอยตัว แบบมีการจัดการ โดยธนาคารแห่งประเทศไทยจะปล่อย ให้คา่ เงินบาทเคลือ่ นไหวไปตามกลไกตลาดและแทรกแซง เป็นบางครัง้ เพือ่ ไม่ให้คา่ เงินบาทผันผวนเคลือ่ นไหวรุนแรง เกินไป

3. การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

หนึ่ ง ในผลกระทบของสภาวะโลกาภิ วั ต น์ ใ นตลาด การเงินโลกปัจจุบัน คือ ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ที่เพิ่มขึ้น ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนที่ไม่อาจ คาดการณ์ได้อาจท�ำให้บริษัทหรือสถาบันการเงินมีผล ขาดทุนได้มหาศาล หากมีสินทรัพย์และหนี้สินในสกุลเงิน ทีไ่ ม่เหมือนกัน ซึง่ ในมุมมองของการบริหารความเสีย่ งนัน้ แนวทางในการจัดการความเสีย่ งดังกล่าวประกอบไปด้วย 1) บริหารสินทรัพย์และหนีส้ นิ ในสกุลเงินตราต่างประเทศ ให้สอดคล้องกัน (Natural Hedge) 2) การปิดความเสี่ยง ด้วยตราสารอนุพันธ์ (Derivatives) เช่น สัญญาซื้อ/ขาย เงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) หรือ สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ (Cross Currency Swap5) และ 3) การกระจายความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น ในสกุลเงินต่างๆ (Currency Diversification)

4. ความผันผวนของค่าเงินบาท

วิกฤตเศรษฐกิจโลกปี 2550-2551 ได้สง่ ผลกระทบต่อ เงินทุนเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศและการเปลี่ยนแปลง ของค่าเงินบาทเป็นอย่างมาก การด�ำเนินนโยบายทาง การเงิ น ของประเทศต่ า งๆ มี ผ ลให้ ต ลาดการเงิ น ของ ประเทศก�ำลังพัฒนามีความผันผวนและไม่แน่นอน ในปี 2550-2552 ธนาคารกลางสหรัฐฯ ลดอัตราดอกเบี้ยจาก ร้อยละ 5.25 เหลือ 0.25 ในเวลาเพียง 16 เดือน และเริ่ม ด�ำเนินมาตรการผ่อนคลายในเชิงปริมาณทางการเงิน 5

Cross Currency Swap คือ สัญญาแลกเปลี่ยนภาระเงินต้นและ ดอกเบี้ยในสกุลเงินที่ไม่เหมือนกัน หรืออาจมองเป็นตราสารอนุพันธ์ ที่ประกอบไปด้วย Forward Contracts หลายๆ สัญญา

92

THB was pegged at 25 for 1 USD. Under speculative attacks, Thailand lacked the foreign reserves to maintain the currency peg and was eventually forced to float the THB. Since then, Thailand has been adopting a managed float exchange rate regime where the Bank of Thailand allows the value of THB to be determined by the market with intervention to maintain its stability, from time to time.

3. Foreign Exchange Rate Risk Management

A direct consequence of the globalisation of financial markets is the increasing exposure to foreign exchange rate risks, where foreign currency’s positions in assets and liabilities are mismatched. The future movements in the exchange rates are not known with certainty and as such, an unexpected volatility could lead to significant losses for firms and financial institutions. From a risk management perspective, there are three main ways to mitigate such risks, including 1) Natural Hedge or matching foreign asset-liability position 2) hedging with financial derivatives such as forward contract or cross currency swap5 and 3) portfolio diversification amongst the foreign currencies.

4. Fluctuations of the Thai Baht

From the onset of the 2007-08 global financial crisis, the value of Thai Baht (THB) have fluctuated greatly. Monetary policies conducted by the major economies have driven large capital movements into emerging markets. After 2008, capital inflows into 5

Cross Currency Swap is a contract between two counterparties to exchange cashflows of interest and principal denominated in different currencies. Conceptually, it can also be viewed as a series of forward contracts.


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

(Quantitative Easing หรือ QE) ในเดือนพฤศจิกายน 2551 ซึง่ ท�ำให้ประเทศไทยมีเงินทุนเคลือ่ นย้ายเข้ามาเป็น จ�ำนวนมาก โดยท�ำให้สัดส่วนพันธบัตรรัฐบาลที่ถือครอง โดยนักลงทุนต่างชาติเพิ่มขึ้นจากประมาณร้อยละ 0 ใน ปี 2550 ถึงร้อยละ 17.9 ในเดือนมิถุนายน 2556 ในทาง กลับกัน ประเทศไทยมีเงินทุนเคลื่อนย้ายออกสุทธิตั้งแต่ ปี 2556 เป็นต้นมา เนื่องจากสหรัฐฯ มีการฟื้นตัวทาง เศรษฐกิจทีด่ ขี นึ้ รวมถึงธนาคารกลางสหรัฐฯ เริม่ ลดอัตรา ในการซื้อสินทรัพย์ในเดือนธันวาคม 2556 และประกาศ ยุ ติ โ ครงการ QE ในเดื อ นตุ ล าคม 2557 นอกจากนี้ ธนาคารกลางญี่ปุ่นได้เริ่มมาตรการ QQE ของตัวเอง6 ในเดื อ นเมษายน 2556 ในขณะที่ธนาคารกลางยุโ รป ได้ทำ� การลดอัตราดอกเบีย้ เงินฝากสูร่ ะดับติดลบ (น้อยกว่า ร้อยละ 0) ในเดือนมิถุนายน 2557 และเริ่มมาตรการ QE ในเดือนมีนาคม 2558

Thailand picked up as the Federal Reserves decreased the funds rate from 5.25% to 0.25% in 16 months and introduced Quantitative Easing (QE) in November 2008. Percentage of foreign holdings in government bonds rose from nearly 0% in 2007 to 17.9% as of June 2013. Similarly, there has been a net capital outflows from Thailand since 2013, as a result of Fed’s cutting back its asset purchasing in December 2013 and the QE’s ending in October 2014. Furthermore, the Bank of Japan adopted its own version of QE called the Quantitative and Qualitative Easing (QQE6) in April 2013, while the European Central Bank lowered its deposit facility rate into an unprecedented negative territory in June 2014, and started its QE in March 2015.

เงินทุนเคลือ่ นย้ายประเทศไทยรายไตรมาส ลานเหรียญสรอ. 15,000 10,000 5,000 0 -5,000 -10,000 -15,000

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย 6

ธนาคารกลางญี่ปุ่นด�ำเนินมาตรการผ่อนคลายทางการเงิน เชิงปริมาณและคุณภาพ (Quantitative and Qualitative Easing หรือ QQE)

6

Exchange rates data on NEER, REER and average selling rates at the end of each month from the Bank of Thailand

93


ในปี 2558 ค่าเงินบาทอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องโดยมี ปัจจัยหลักมาจากผลการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย เหลือร้อยละ 1.50 และการประกาศแนวทางการผ่อนคลาย เงิ น ทุ น เคลื่ อ นย้ า ยระหว่ า งประเทศของธนาคาร แห่ ง ประเทศไทยในเดื อ นเมษายน ประกอบกั บ การ คาดการณ์ของนักลงทุนต่างประเทศในความผันผวนของ เศรษฐกิจโลก และความไม่แน่นอนของช่วงเวลาและระดับ ทีธ่ นาคารกลางสหรัฐฯ จะปรับขึน้ อัตราดอกเบีย้ ซึง่ ส่งผล ให้มีเงินทุนไหลออกจากตลาดการเงินประเทศไทย ทั้งนี้ ในช่วงระยะเวลาระหว่างสิ้นไตรมาสที่ 3 และ 4 ของ ปีงบประมาณ 2558 (เมษายนถึงกันยายน) ดัชนีค่าเงิน บาท (NEER) และดัชนีค่าเงินบาทที่แท้จริง (REER) อ่อนค่าลงคิดเป็นสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 6.69 และ 7.42 ตามล�ำดับ อัตราแลกเปลี่ยนบาทอ่อนค่าลงร้อยละ 11.72 เมือ่ เทียบกับเหรียญสหรัฐ ร้อยละ 12.04 เมือ่ เทียบกับเยน และร้อยละ 16.16 เมื่อเทียบกับยูโร7

In 2015, Thai Baht has depreciated significantly as a result of the Bank of Thailand’s decision to cut the MPC rate by 25bps down to 1.50% and announcement of measures on capital flows relaxation in April, as well as the growing uncertainty in the global economics and the timing and extent of which the Fed would raise its funds rate. Between the end of March and September 2015, THB’s NEER and REER have decreased by 6.69% and 7.42%, respectively, while the THB has depreciated against the US Dollar by 11.72%, against the Japanese Yen by 12.04% and against the Euro by 16.16%.7

ความเคลือ่ นไหวของ NEER และ REER ของเงินบาท

(2555 = 100) 115 110

NEER

Fed ทำ QE และลด ดอกเบี้ยเหลือติดลบ BOJ ทำ QQE

REER

BOT ลดดอกเบี้ย

105 100 95

Fed ยุติ QE และสง สัญญาณเพิ่มดอกเบี้ย

Fed ทำ QE และลด ดอกเบี้ยเหลือ 0.25%

90 2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย 7

ข้อมูลอัตราแลกเปลี่ยน NEER REER และอัตราขายถัวเฉลี่ย ณ สิ้นเดือน จากธนาคารแห่งประเทศไทย

94

7

Using assumptions of external debt outstanding and exchange rates as of 30th September 2015.


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

5. ผลกระทบต่อหนี้สาธารณะประเทศไทย

หนี้สาธารณะของประเทศไทยมีความเสี่ยงจากอัตรา แลกเปลี่ ย นที่ น ้ อ ยและไม่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจาก ความเคลื่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยนในปี 2558 มากนัก โดย ณ วั น ที่ 30 กั น ยายน 2558 ประเทศไทยมี หนี้ ส าธารณะต่างประเทศคงค้าง 360,283 ล้านบาท (ร้อยละ 6.2 ของหนี้สาธารณะทั้งหมด) ซึ่งมีการปิดความ เสี่ยงด้วย Natural Hedge และ Cross Currency Swaps ไปแล้วจ�ำนวน 288,426 ล้านบาท คงเหลือที่ยังไม่ได้ปิด ความเสี่ยงเพียง 71,857 ล้านบาท (ร้อยละ 1.2 ของ หนี้สาธารณะทั้งหมด) ซึ่งประกอบไปด้วย หนี้รัฐบาล เพื่ อ ใช้ จ ่ า ยตามแผนงาน/โครงการ 15,469 ล้านบาท หนี้รัฐบาลเพื่อให้รัฐวิสาหกิจกู้ต่อ 26,050 ล้านบาท และ หนี้ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ รั ฐ บาลค�้ ำ ประกั น 30,339 ล้ า นบาท นอกจากนี้ เนื่องจากหนี้ต่างประเทศส่วนใหญ่เป็นหนี้ ระยะยาวและมีอายุคงเหลือสูง ความเคลือ่ นไหวของอัตรา แลกเปลี่ ย นในแต่ ล ะปี จึ ง มี ผ ลกระทบเฉพาะภาระหนี้ ต่างประเทศทีจ่ ะครบก�ำหนดในระยะสัน้ ซึง่ มีสดั ส่วนทีน่ อ้ ย

5. Effects on Thailand’s Public Debt

Thailand’s public debt, however, has extremely low exposure to the exchange rate risk and was not severely affected. As of 30th September 2015, Thailand’s public debt in foreign currency-denominated stood at 360,283 THB Million (6.2% of total public debt). Of this, 288,426 THB Million is hedged through natural hedging and cross currency swaps, leaving only the remaining 71,857 THB Million (1.2% of total public debt) unhedged and exposed to the exchange rate risk. Moreover, Thailand’s external debt is mostly long-term with long maturity. As such, the year-by-year movements in the exchange rates would only affect a small proportion of the repayment amount in the short term.

หนีส้ าธารณะแยกตามสกุลเงิน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2558)

หนี้ในประเทศ 5,423,040 ลบ. (93.8%)

Hedged (CCS) 115,726 ลบ. (32.1%) หนี้ตางประเทศ 360,283 ลบ. (6.2%)

Natural Hedged 172,700 ลบ. (47.9%)

Unhedged JPY 50,408 ลบ. (14.0%) Unhedged USD 18,976 ลบ. (5.3%) Unhedged EUR 2,217 ลบ. (0.6%) Unhedged CAD 256 ลบ. (0.1%)

ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

95


โครงสร้างหนีส้ าธารณะทีเ่ ป็นหนีต้ า่ งประเทศ ยังไม่ได้ปิดความเสี่ยง หนี้ต่างประเทศ ปิดความเสี่ยงแล้ว USD JPY EUR CAD

รัฐบาล - เงินกู้เพื่อใช้จ่ายตามแผนงาน/โครงการ - เงินกู้เพื่อให้รัฐวิสาหกิจกู้ต่อ รัฐวิสาหกิจ - หนี้รัฐวิสาหกิจที่รัฐบาลค�้ำประกัน - หนี้รัฐวิสาหกิจที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน หนี้สาธารณะ ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

84,676 42,949 41,727 275,606 102,906 172,700 360,283

การวิเคราะห์ความอ่อนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน (Foreign Exchange Rate Sensitivity Analysis) แสดงให้เห็นว่า หากเงินบาทอ่อนค่าลงร้อยละ 1 จะมี ผลให้ภาระหนีต้ า่ งประเทศทีย่ งั ไม่ได้ปดิ ความเสีย่ งในช่วง 10 ปีข้างหน้าเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวน 797 ล้านบาท8 ทั้งนี้ รัฐบาลมีนโนบายที่จะปิดความเสี่ยงหนี้ต่างประเทศของ รัฐบาลและรัฐวิสาหกิจทีไ่ ม่มรี ายได้เป็นเงินตราต่างประเทศ ให้หมด เพื่อให้สามารถจัดสรรและบริหารงบช�ำระหนี้ให้ มีประสิทธิภาพ โดยในปีงบประมาณ 2559 ส�ำนักงาน บริ ห ารหนี้ ส าธารณะมี แ ผนบริ ห ารความเสี่ ย งหนี้ ต่างประเทศภายใต้แผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2559 โดยจะด�ำเนินการปิดความเสี่ยงด้วย Cross Currency Swap หากสัญญาเงินกู้มีการเบิกจ่าย ครบและสภาวะตลาดเอื้ออ�ำนวย

8

ใช้สมมติฐานหนี้ต่างประเทศคงค้างและอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 30 กันยายน 2558

96

43,158 27,481 15,677 245,267 72,567 172,700 288,426

18,714 13,234 5,480 262 262 - 18,976

22,548 2,234 20,314 27,860 27,860 - 50,408

- - - 2,217 2,217 - 2,217

256 - 256 - - - 256

หน่วย: ล้านบาท

รวม

41,518 15,468 26,050 30,339 30,339 71,857

Looking forward, foreign exchange rate sensitivity analysis shows that if the THB depreciated by 1% today, the public debt burden in the next 10 years would increase by 797 THB Million8. Despite such minimal exposure, it is the government’s policy to fully hedge the external debt of the government and the state-owned enterprises with no revenue in foreign currency for efficiency in the preparation and management of the repayment budget. In the FY2016 public debt management plan, PDMO has included loans in the external risk management plan with aims to hedge with cross currency swaps, provided that the project’s disbursement is completed and that the market conditions is suitable.

8

Using assumptions of external debt outstanding and exchange rates as of 30th September 2015


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ภาระหนีส้ าธารณะทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ ในช่วง 10 ปีขา้ งหน้า หากเงินบาทอ่อนค่าลงร้อยละ 1

อัตราแลกเปลี่ยน THB/USD THB/JPY THB/EUR THB/CAD รวม

หนี้รัฐบาลเพิ่มขึ้น 197.09 253.06 - 2.56 452.72

หนี้รัฐวิสาหกิจเพิ่มขึ้น 2.66 314.01 27.45 - 344.12

(หน่วย: ล้านบาท)

หนี้สาธารณะเพิ่มขึ้น 199.75 567.08 27.45 2.56 796.84

ที่มา : ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

97


5


ภาพรวมหนี้สาธารณะ ป ง บประมาณ 2558


ภาพรวมหนี้สาธารณะปีงบประมาณ 2558 PUBLIC DEBT OVERVIEW FY 2015 1. หนีส้ าธารณะคงค้าง ประจ�ำปีงบประมาณ 2558

ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 หนี้สาธารณะคงค้าง มีจํานวน 5,783,323.19 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 43.11 ของ GDP โดยเป็นหนี้ของรัฐบาล 4,157,394.78 ล้ า นบาท หนี้ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ ไ ม่ เ ป็ น สถาบั น การเงิ น 1,065,199.18 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบัน การเงิน (รัฐบาลคํ้าประกัน) 542,296.35 ล้านบาท และ หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ 18,432.88 ล้านบาท เมื่อเปรียบ เทียบกับปีกอ่ นหน้า หนีส้ าธารณะเพิม่ ขึน้ สุทธิ 92,509.04 ล้านบาท โดยหนี้ของรัฐบาลเพิ่มขึ้นสุทธิ 191,939.74 ล้านบาท หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงินลดลง 22,194.73 ล้านบาท หนีร้ ฐั วิสาหกิจทีเ่ ป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลคํ้าประกัน) ลดลง 84,211.83 ล้านบาท และ หนี้ ห น่ ว ยงานอื่ น ของรั ฐ เพิ่ ม ขึ้ น 6,975.86 ล้ า นบาท ทัง้ นี้ สัดส่วนของหนีส้ าธารณะ ณ สิน้ เดือนกันยายน 2558 ปรากฏตามแผนภาพที่ 1 และตารางที่ 1 ตามล�ำดับ

1. Public Debt Outstanding during Fiscal Year 2015

Thailand’s public debt outstanding as of September 30, 2015 was 5,783,323.19 million Baht (43.11 % of GDP). The total debt outstanding comprised of 4,157,394.78 million Baht of Government debt, 1,065,199.18 million Baht of Non-Financial StateOwned Enterprises (SOEs) debt, 542,296.35 million Baht of Government Guaranteed Financial SOEs debt and 18,432.88 million Baht of Other Government Agencies. During fiscal year 2015, Thailand’s public debt increased by 92,509.04 million Baht. Specifically, Government debt and Other Government Agencies debt rose by 191,939.74 million Baht and 6,975.86 million Baht, respectively. However, Non-Financial SOEs debt and Financial SOEs debt decreased by 22,194.73 million Baht and 84,211.83 million Baht, respectively. (Please see Figure 1 and Table 1)

แผนภาพที่ 1 สัดส่วนหนีส้ าธารณะจ�ำแนกตามประเภท Figure 1 Components of Public Debt หนี้รัฐวิสาหกิจที่เปนสถาบันการเงิน (รัฐบาลค้ำประกัน) Financial SOEs Debt (Government Guaranteed) 9.37%

หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไมเปนสถาบันการเงิน Non-Financial SOEs Debt 18.42%

หนี้ของรัฐบาล (เพื่อชดใชความเสียหายของ FIDF) Government Debt to Fiscalise FIDF Loss 17.27%

100

หนี้หนวยงานของรัฐ Other Government Agencies Debt 0.32%

หนี้ที่รัฐบาลกูโดยตรง Direct Government Debt 54.62%


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ตารางที่ 1 รายงานหนีส้ าธารณะคงค้าง ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 30 กันยายน 2558 Table 1 Public Debt Outstanding as of September 30, 2014 and September 30, 2015

หน่วย : ล้านบาท Unit : Million Baht (เพิ่ม / ลด) ก.ย. 2557 ก.ย. 2558 (Increase / (Sep 2014) % GDP (Sep 2015) % GDP Decrease) (1) (2) (3) (4) (3)-(1) 1. หนี้ของรัฐบาล (Government Debt) (1.1+1.2+1.3) 1.1 หนี้ที่รัฐบาลกู้โดยตรง (Direct Government Debt) - หนี้ต่างประเทศ (External Debt) - หนี้ในประเทศ (Domestic Debt) - เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลเงินงบประมาณและการบริหารหนี้ (Budget Deficit Financing and Debt Management) - ระยะสัน้ (ตัว๋ เงินคลังและเงินกูอ้ นื่ ) (Short-term : T-bills and other debt instruments) - ระยะยาว (พันธบัตรและเงินกูอ้ นื่ ) (Long-term : Bonds and other debt instruments) - เงินกู้เพื่อฟื้นฟูและเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ (Loan for Stimulus Package No. 2) - เงินกู้เพื่อวางระบบบริหารจัดการน�ำ้ (Financing for Constructing the System for Managing Water) - เงินกู้ให้กู้ต่อ (On-lending) - เงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างหนี้ต่างประเทศที่กระทรวงการคลังค�ำ้ ประกัน (The Restructuring of External SOEs Debt) - เงินกู้บาททดแทนการกู้เงินตราต่างประเทศ (Thai Baht Loan to substitute foreign borrowing) - เพื่อใช้ในโครงการ DPL (DPL Debt) - เพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน�ำ้ และระบบขนส่งทางถนน ระยะเร่งด่วน (Debt to Finance Economic Stimulus Package through Water Management and Road System Improvement) 1.2 หนี้ที่รัฐบาลกู้เพื่อชดเชยความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ (Government Debt to Fiscalise FIDF Loss) - FIDF 1 - FIDF 3 1.3 หนี้เงินกู้ล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ (Pre-funding Debt) - หนี้เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ (Budget Deficit Financing) - หนี้เงินกู้เพื่อชดเชยความเสียหายให้แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ (Government Debt Fiscalise FIDF Loss) - FIDF 1 - FIDF 3 2. หนี้รัฐวิสาหกิจไม่เป็นสถาบันการเงิน (Non-financial SOEs Debt) (2.1 + 2.2) 2.1 หนี้ที่รัฐบาลค�ำ้ ประกัน (Guaranteed Debt) - หนี้ต่างประเทศ (External Debt) - หนี้ในประเทศ (Domestic Debt) 2.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่ค�้ำประกัน (Non-guaranteed Debt) - หนี้ต่างประเทศ (External Debt) - หนี้ในประเทศ (Domestic Debt) 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลค�้ำประกัน) (Financial SOEs Debt (Government Guaranteed)) - หนี้ต่างประเทศ (External Debt) - หนี้ในประเทศ (Domestic Debt) 4. หนี้หน่วยของรัฐ (Other Government Agencies Debt) (4.1+4.2) 4.1 หนี้ที่รัฐบาลค�ำ้ ประกัน (Guaranteed Debt) 4.2 หนี้ที่รัฐบาลไม่คำ�้ ประกัน (Non-guaranteed Debt) รวม (Total) (1+2+3+4) GDP ของปีงบประมาณ (GDP at the end of Fiscal year)

3,965,455.04 30.36 2,891,603.19 22.14 75,184.66 2,816,418.53 2,366,370.00

4,157,394.78 30.99 3,134,824.97 23.37 84,676.70 3,050,148.27 2,571,879.01

191,939.74 243,221.78 9,492.04 233,729.74 205,509.01

116,300.00 2,250,070.00 373,483.29

100,385.00 2,471,494.01 373,483.29

(15,915.00) 221,424.01 -

22,200.00

18,639.00

(3,561.00)

37,908.57 11,416.67

55,833.64 10,033.33

17,925.07 (1,383.34)

5,040.00

20,280.00

15,240.00

5,040.00 -

6,280.00 14,000.00

1,240.00 14,000.00

1,073,851.85

8.22

998,790.81

7.44

(75,061.04)

449,138.51 624,713.34 - - -

403,112.97 595,677.84 23,779.00 0.18 23,779.00

(46,025.54) (29,035.50) 23,779.00 23,779.00

- - - 1,087,393.91 8.32 425,896.85 3.26 107,511.79 318,385.06 661,497.06 5.06 172,586.48 488,910.58 626,508.18 4.80

- - - 1,065,199.18 7.94 425,199.72 3.17 100,551.84 324,567.88 640,079.46 4.77 172,700.39 467,379.07 542,296.35 4.04

(22,194.73) (777.13) (6,959.95) 6,182.82 (21,417.60) 113.91 (21,531.51) (84,211.83)

2,894.78 2,354.14 623,613.40 539,942.21 11,457.02 0.09 18,432.88 0.14 - - 11,457.02 18,432.88 5,690,814.15 43.57 5,783,323.19 43.11 13,061,818.00 13,415,830.00

(540.64) (83,671.19) 6,975.86 6,975.86 92,509.04

101


1. หนีข้ องรัฐบาล มีจำ� นวน 4,157,394.78 ล้านบาท เมือ่ เปรียบเทียบกับปีกอ่ นหน้า หนีข้ องรัฐบาลเพิม่ ขึน้ สุทธิ 191,939.74 ล้านบาท 1.1 หนี้ ที่ รั ฐ บาลกู ้ โ ดยตรง เพิ่ ม ขึ้ น สุ ท ธิ 243,221.78 ล้านบาท 1.1.1 หนีต้ า่ งประเทศ เพิม่ ขึน้ สุทธิ 9,492.04 ล้านบาท โดยการเพิ่มขึ้นที่สําคัญเกิดจากหนี้สกุลเงิน เหรียญสหรัฐ ที่เพิ่มขึ้นสุทธิ 143.66 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็น 5,248.53 ล้านบาท จากการกู้เงิน Euro Commercial Paper หรือ ECP Programme จ�ำนวน 150 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือคิดเป็น 5,480.16 ล้านบาท เพือ่ ให้ กูต้ อ่ แก่บริษทั การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำหรับโครงการ ซื้อเครื่องบิน แอร์บัส A340 - 600 และการเบิกจ่ายเงินกู้ ภายใต้โครงการก่อสร้างทางสายหลักเป็น 4 ช่องจราจร (ระยะที่ 2) ของกรมทางหลวง จํานวน 28.53 ล้านเหรียญ สหรัฐ หรือคิดเป็น 1,042.45 ล้านบาท ในขณะทีห่ นีท้ เี่ ป็น สกุลเงินเยนเพิ่มขึ้นสุทธิ 7,729.71 ล้านเยน หรือคิดเป็น 2,368.99 ล้านบาท จากการเบิกจ่ายเงินกูภ้ ายใต้โครงการ รถไฟชานเมืองสายสีแดงของการรถไฟแห่งประเทศไทย 20,855.22 ล้านเยน หรือคิดเป็น 6,391.66 ล้านบาท 1.1.2 ห นี้ ในประเทศ เ พิ่ ม ขึ้ น สุ ท ธิ 233,729.74 ล้านบาท เนื่องจาก • เงินกู้เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ และการบริหารหนี้เพิ่มขึ้นสุทธิ 205,509.01 ล้านบาท โดยเป็ น การกู ้ เ งิ น เพื่ อ ชดเชยการขาดดุ ล งบประมาณ 250,000 ล้านบาท และชําระคืนหนี้ที่ครบกําหนด จํานวน 44,490.99 ล้านบาท • เงินกู้ให้กู้ต่อเพิ่มขึ้น 17,925.07 ล้านบาท จากการกูเ้ งินให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) 15,113.06 ล้านบาท เพื่อจัดทําโครงการรถไฟฟ้า สายสีเขียว สายสีน�้ำเงิน และสายสีม่วง และการรถไฟ แห่งประเทศไทย (รฟท.) 4,226.18 ล้านบาท เพื่อจัดทํา โครงการปรับปรุงทางรถไฟที่ไม่ปลอดภัย 8 สายทาง และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ประกอบกับ รฟม. และ รฟท. ช�ำระคืนต้นเงินกูจ้ ำ� นวน 472 ล้านบาท และ 942.17 ล้านบาท ตามล�ำดับ

102

1. Government Debt was at 4,157,394.78 million Baht, increasing by 191,939.74 million Baht during FY2015. 1.1 Direct Government Debt increased by 243,221.78 million Baht. 1.1.1 External Debt increased by 9,492.04 million Baht mainly from Euro Commercial Paper or ECP Programme issuance to on-lend to Thai Airways International Public Co., Ltd. for purchasing Airbus A340-600 (150 million USD or 5,480.16 million Baht), disbursement in Greater Mekong Sub-region Highway Project (28.53 million USD or 1,042.45 million Baht), and disbursement in the Red Line Mass Transit System Project (20,855.22 million JPY or 6,391.66 million Baht) 1.1.2 Domestic Debt increased by 233,729.74 million Baht which was contributed from the followings: • An increase in budget deficit financing and debt management in the amount of 205,509.01 million Baht from 250,000 million Baht budget deficit and 44,490.99 million Baht debt repayment. • Net increase in On-lending debt by 17,925.07 million Baht to Mass Rapid Transit Authority (MRTA) for the Green Line, the Blue Line and the Purple Line Project in the amount of 15,113.06 million Baht and to State Railway of Thailand (SRT) for Track Strengthening Project and for the Red Line Mass Transit System Project in the amount of 4,226.18 million Baht. In addition, MRTA and SRT made repayments of 472 million Baht and 942.17 million Baht, respectively.


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

• เงินกูเ้ พือ่ วางระบบบริหารจัดการนํา้ ลดลง

3,561 ล้านบาท จากการช�ำระคืนต้นเงิน จ�ำนวน 4,909 ล้านบาท เป็นส�ำคัญ • การชําระคืนเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้างหนี้ ต่างประเทศของรัฐวิสาหกิจทีก่ ระทรวงการคลังคาํ้ ประกัน ทําให้หนี้ลดลง 1,383.34 ล้านบาท โดยเป็นการปรับ โครงสร้างหนีต้ า่ งประเทศ สกุลเงินเยนของ รฟม. 1,033.34 ล้านบาท และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 350 ล้านบาท • เงินกูบ้ าททดแทนการกูเ้ งินตราต่างประเทศ เพิ่มขึ้น 15,240 ล้านบาท เนื่องจาก - เงินกู้เพื่อใช้ในการด�ำเนินโครงการเงินกู้ เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (DPL) เพิ่มขึ้น 1,240 ล้านบาท - การเบิ ก จ่ า ยเงิ น กู ้ เ พื่ อ ใช้ ใ นการด� ำ เนิ น โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน�้ ำและ ระบบขนส่งทางถนนระยะเร่งด่วน : มาตรการกระตุ้น เศรษฐกิจ ระยะที่ 2 จ�ำนวน 14,000 ล้านบาท 1.2 หนี้ที่รัฐบาลกู้เพื่อชดใช้ความเสียหายให้ แก่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ ลดลง 75,061.04 ล้านบาท เนื่องจาก 1.2.1 การลดลงของหนี้ ภ ายใต้ พ.ร.ก. ช่ ว ยเหลื อ กองทุ น เพื่ อ การฟื ้ น ฟู ฯ (FIDF 1) จํ า นวน 46,025.54 ล้ า นบาท โดยใช้ เ งิ น จากบั ญ ชี ส ะสม เพื่อการชําระคืนต้นเงินกู้ชดใช้ความเสียหายของกองทุน เพื่อการฟื้นฟูฯ 2 ที่ได้รับจากเงินที่สถาบันการเงินนําส่ง ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย และเงิ น หรื อ สิ น ทรั พ ย์ ข อง กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน 1.2.2 การลดลงของหนี้ ภ ายใต้ พ.ร.ก. ช่วยเหลือกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูระยะทีส่ องฯ (FIDF 3) จํานวน 29,035.50 ล้านบาท โดยใช้เงินจากบัญชีสะสมเพื่อการ ชําระคืนต้นเงินกู้ชดใช้ความเสียหายของกองทุนเพื่อการ ฟื้นฟูฯ 1 ที่ได้รับจากการโอนสินทรัพย์คงเหลือในบัญชี ผลประโยชน์ และการใช้เงินจากบัญชีสะสมเพื่อการช�ำระ คืนต้นเงินกู้ ชดใช้ความเสียหายของกองทุนเพือ่ การฟืน้ ฟูฯ

• Financing for constructing the system

for managing water decreased by 3,561 million Baht mainly from repayment in the amount of 4,909 million Baht. • The restructuring of external SOEs debt decreased by 1,383.34 million Baht as a result from the repayments by MRTA (1,033.34 million Baht) and by Provincial Electricity Authority (350 million Baht). • An increase in debt of Development Policy Loan (DPL) by 1,240 million Baht and in debt to finance Economic Stimulus Package through Water Management and Road System Improvement by 14,000 million Baht. 1.2 Government Debt to Fiscalise FIDF Loss decreased by 75,061.04 million Baht which resulted from 1.2.1 Debt repayment under the Emergency Decree authorizing the MOF to Secure Loans for Economic Restoration and Development Fund B.E. 2541 (A.D. 1998) (FIDF1) in the amount of 46,025.54 million Baht. 1.2.2 Debt repayment under the Emergency Decree authorizing the MOF to Secure Loans for Strengthening and Developing the Financial Institutions System Phase II B.E. 2545 (A.D. 2002) (FIDF 3) in the amount of 29,035.50 million Baht.

103


1.3 หนี้เงินกู้ล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ เพิ่มขึ้น 23,779 ล้านบาท เนื่องจากในเดือนมิถุนายน 2558 มีการกู้เงินล่วงหน้า (Pre-funding) โดยการออก พั น ธบั ต รรั ฐ บาลเพื่ อ การบริ ห ารหนี้ จ� ำ นวน 23,779 ล้านบาท เพื่อปรับโครงสร้างหนี้พันธบัตรรัฐบาลที่ออก ภายใต้ พ.ร.บ. การบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. 2548 และ ทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม ซึง่ ครบก�ำหนดในวันที่ 11 ธันวาคม 2558 2. หนี้ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ ไ ม่ เ ป็ น สถาบั น การเงิ น มีจ�ำนวน 1,065,199.18 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับปี ก่อนหน้า ลดลงสุทธิ 22,194.73 ล้านบาท 2.1 หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลคํ้าประกัน) ลดลงสุทธิ 777.13 ล้านบาท 2.1.1 หนีต้ า่ งประเทศ ลดลงสุทธิ 6,959.95 ล้ า นบาท โดยการลดลงที่ สํ า คั ญ เกิ ด จากการชํ า ระคื น ต้นเงินของบริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) จํานวน 12,280.19 ล้านเยน หรือคิดเป็น 3,763.61 ล้านบาท 2.1.2 หนีใ้ นประเทศ เพิม่ ขึน้ สุทธิ 6,182.82 ล้านบาท เนื่องจากมีการกู้เงินมากกว่าช�ำระคืนต้นเงินกู้ ของรัฐวิสาหกิจต่างๆ โดยรายการทีส่ ำ� คัญได้แก่ การเบิกจ่าย เงินกู้ของการยางแห่งประเทศไทย เพื่อจัดท�ำโครงการ สร้างมูลภัณฑ์กนั ชนรักษาเสถียรภาพราคายาง การกูเ้ งิน ของ รฟท. เพื่ อ บรรเทาการขาดสภาพคล่ อ งและเพื่ อ จัดท�ำโครงการจัดหารถจักรดีเซลไฟฟ้า 20 คัน (20 ตัน) การกู้เงินขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพเพื่อช�ำระ ค่าดอกเบี้ยที่ครบก�ำหนดในปีงบประมาณ 2558 และเป็น ค่าเชื้อเพลิงและค่าเหมาซ่อม (ปีงบประมาณ 2558) และ การช�ำระคืนต้นเงินกู้ของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย 2.2 หนี้รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาลไม่คํ้าประกัน) ลดลงสุทธิ 21,417.60 ล้านบาท 2.2.1 หนีต้ า่ งประเทศ เพิม่ ขึน้ สุทธิ 113.91 ล้ า นบาท โดยเป็ น ผลจากการเปลี่ ย นแปลงของอั ต รา แลกเปลี่ยนที่ท�ำให้ยอดหนี้คงค้างในรูปเงินบาทเพิ่มขึ้น 10,892.23 ล้านบาท ประกอบกับการช�ำระคืนต้นเงินกูแ้ ละ การเบิกจ่ายเงินกู้ของหน่วยงานต่างๆ ที่ท�ำให้ยอดหนี้ คงค้างในรูปเงินบาทลดลง 10,778.32 ล้านบาท

104

1.3 Pre-funding Debt increased by 23,779 million Baht from government bonds issuance to restructure the government bonds that were dueon December 11, 2015. 2. Non-Financial State-Owned Enterprise Debt was at 1,065,199.18 million Baht, decreasing by 22,194.73 million Baht during FY2015. 2.1 Non-Financial State-Owned Enterprise Debt (Guaranteed Debt) decreased by 777.13 million Baht. 2.1.1 External Debt decreased by 6,959.95 million Baht which was mostly contributed from the repayment by Airports of Thailand Public Co., Ltd. in the amount of 12,280.19 million JPY (3,763.61 million Baht). 2.1.2 Domestic Debt increased by 6,182.82 million Baht mainly from the disbursement of the Rubber Authority of Thailand’s Buffer Fund, SRT’s managing liquidity shortage and for the procurement of 20 units of new locomotive (20 ton axle load) project, Bangkok Mass Transit Authority’s borrowing to finance operation cost, and the debt repayment by Expressway Authority of Thailand. 2.2 Non-Financial State-Owned Enterprise Debt (Non-guaranteed Debt) decreased by 21,417.60 million Baht. 2.2.1 External Debt increased by 113.91 million Baht from changes in foreign exchange rates that increased debt in the amount of 10,892.23 million Baht and the debt repayment and disbursement by SOEs that decreased debt by 10,778.32 million Baht.


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

2.2.2 หนีใ้ นประเทศ ลดลงสุทธิ 21,531.51 ล้านบาท โดยการลดลงทีส่ าํ คัญเกิดจากการลดลงของหนีข้ อง บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) จํานวน 9,986.20 ล้านบาท บริษัท การบินไทย จ�ำกัด มหาชน จ�ำนวน 5,283.48 ล้านบาท และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จ�ำนวน 4,800 ล้านบาท 3. หนี้รัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน (รัฐบาล คํ้าประกัน) มีจ�ำนวน 542,296.35 ล้านบาท เมื่อเปรียบ เทียบกับปีก่อนหน้าลดลงสุทธิ 84,211.83 ล้านบาท 3.1 หนีต้ า่ งประเทศ ลดลงสุทธิ 540.64 ล้านบาท โดยการลดลงที่ สํ า คั ญ เกิ ด จากการชํ า ระคื น ต้ น เงิ น กู ้ สกุลเงินต่างๆ ของรัฐวิสาหกิจ 3.2 หนี้ ใ นประเทศ ลดลงสุ ท ธิ 83,671.19 ล้านบาท โดยการลดลงที่สําคัญเกิดจากการลดลงของหนี้ ของธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ ก ารเกษตร จ�ำนวน 71,071.19 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการช�ำระคืนต้น เงินกู้และการไถ่ถอนพันธบัตร 4. หนี้หน่วยงานอื่นของรัฐ มีจ�ำนวน 18,432.88 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนหน้าเพิ่มขึ้นสุทธิ 6,975.86 ล้านบาท โดยการเพิ่มขึ้นที่สําคัญเกิดจากการ เพิม่ ขึน้ ของหนีข้ องส�ำนักงานกองทุนอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย จ�ำนวน 4,162.94 ล้านบาท ซึ่งเกิดจากการกู้เงินเพื่อ ด�ำเนินโครงการการให้ความช่วยเหลือและแก้ไขปัญหา ความเดือดร้อนของชาวไร่อ้อยในฤดูผลิตปี 2557/2558 เป็นส�ำคัญ และการที่สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ รวมหนี้ของส�ำนักงานธนานุเคราะห์เข้ามาในฐานข้อมูล ตั้งแต่เดือนเมษายน 2558 จ�ำนวน 3,045.20 ล้านบาท

2.2.2 Domestic Debt decreased by 21,531.51 million Baht which was mainly contributed from decreases in debts of PTT PCL, Thai Airways International PCL, and Electricity Generating Authority of Thailand in the amount of 9,986.20 million Baht, 5,283.48 million Baht and 4,800 million Baht, respectively. 3. Financial State-Owned Enterprise Debt (Government Guaranteed) was at 542,296.35 million Baht, decreasing by 84,211.83 million Baht during FY2015. 3.1 External Debt decreased by 540.64 million Baht which was mainly contributed from the debt repayment by Bank of Agriculture and Agricultural Cooperatives (BAAC) in the amount of 3,878.63 million Baht. 3.2 Domestic Debt decreased by 83,671.19 million Baht which was mainly from BAAC debt repayment in the amount of 71,071.19 million Baht. 4. Other Government Agencies Debt was at 18,432.88 million Baht, increased by 6,975.86 million Baht during FY2015. This change is resulted mostly from an increase of the Cane and Sugar Fund’s debt (4,162.94 million Baht) and from the inclusion of Office of the Government Pawnshop’s debt (3,045.20 million Baht) into the PDMO’s database since April 2015.

2. ความเสี่ยงของหนี้สาธารณะ

2.1 Risk Indicators (1) Thailand’s public debt outstanding as of September 30, 2015 was at 5,783,323.19 million Baht. The total debt outstanding comprised of 360,283.07 million Baht of External debt (6.23% of total public debt) and 5,423,040.12 million Baht of Domestic debt (93.77% of total public debt).

2.1 ตัวชี้วัดทางความเสี่ยงของหนี้สาธารณะ (1) หนี้สาธารณะ ณ สิ้นปีงบประมาณ 2558 มีจาํ นวน 5,783,323.19 ล้านบาท แบ่งเป็นหนีต้ า่ งประเทศ 360,283.07 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.23 และหนีใ้ นประเทศ 5,423,040.12 ล้านบาท หรือร้อยละ 93.77 ของยอด หนี้สาธารณะคงค้าง

2. Public Debt’s Risk

105


หนีส้ าธารณะจํานวนดังกล่าวเป็นหนีท้ รี่ ฐั บาล รับภาระต้นเงิน จํานวน 3,649,691.50 ล้านบาท ทั้งนี้ เมื่อแยกตามประเภทดอกเบี้ย หนี้สาธารณะที่เป็นอัตรา ดอกเบี้ยลอยตัวมีสัดส่วนลดลงจากปีก่อนหน้าที่ร้อยละ 18.90 เป็นร้อยละ 15.90 ทัง้ นี้ หนีส้ าธารณะมีอายุคงเหลือ เฉลีย่ จนกว่าหนีจ้ ะครบก�ำหนดทีค่ อ่ นข้างยาว โดยเพิม่ ขึน้ จากปีก่อนหน้า ที่ 7.52 ปี เป็น 8.16 ปี ทําให้มีความเสี่ยง จากการปรับโครงสร้างหนี้ในระดับที่ค่อนข้างตํ่า (2) หนี้ของรัฐบาล ณ สิ้นปีงบประมาณ 2558 มีจํานวน 4,157,394.78 ล้านบาท คิดเป็นหนี้ในประเทศ ร้อยละ 97.96 และหนี้ต่างประเทศร้อยละ 2.04 เมือ่ แยกตามประเภทดอกเบีย้ หนีข้ องรัฐบาล ที่เป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัว มีสัดส่วนลดลงจากปีก่อน หน้าที่ร้อยละ 14.70 เป็น ร้อยละ 11.60 ทั้งนี้ หนี้รัฐบาล มีอายุคงเหลือเฉลี่ยจนกว่าหนี้จะครบก�ำหนดที่ค่อนข้าง ยาว โดยเพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าที่ 8.91 ปี เป็น 9.63 ปี เนื่องจาก สบน. มีการบริหารจัดการหนี้เชิงรุกเพื่อลด การกระจุกตัวของภาระหนี้โดยการออกพันธบัตรรัฐบาล ระยะยาวเพิ่ ม ขึ้ น ประกอบกั บ อั ต ราผลตอบแทนของ พันธบัตรรัฐบาลได้มีการปรับตัวลดลงในปีงบประมาณ 2558 จึงส่งผลให้ต้นทุนในการระดมทุนของรัฐบาลลดลง ด้วยเช่นกัน (3) หนีข้ องรัฐวิสาหกิจ ณ สิน้ ปีงบประมาณ 2558 มีจํานวน 1,607,495.52 ล้านบาท คิดเป็นหนี้ในประเทศ ร้อยละ 82.85 และหนี้ต่างประเทศร้อยละ 17.15 ของ หนีร้ ฐั วิสาหกิจ เมือ่ แยกตามประเภทดอกเบีย้ หนีร้ ฐั วิสาหกิจ ทีเ่ ป็นอัตราดอกเบีย้ ลอยตัวมีสดั ส่วนลดลงจากปีกอ่ นหน้า ที่ร้อยละ 28.7 เป็นร้อยละ 27 ทั้งนี้ หนี้รัฐวิสาหกิจมีอายุ คงเหลื อ เฉลี่ ย จนกว่ า หนี้ จ ะครบก� ำ หนดลดลงจาก ปีก่อนหน้าที่ 4.64 ปี เป็น 4.42 ปี 2.2 การบริหารความเสี่ยงหนี้สาธารณะ (1) รั ฐ บาลได้ มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งหนี้ ในประเทศ โดยใช้งบช�ำระหนีเ้ หลือจ่ายช�ำระคืนหนีก้ อ่ นครบ ก�ำหนด วงเงินรวม 7,909 ล้านบาท ท�ำให้สามารถลดภาระ ดอกเบี้ ย ได้ ร วมทั้ ง สิ้ น 167.92 ล้ า นบาท ส� ำ หรั บ หนีต้ า่ งประเทศรัฐบาลได้ใช้งบช�ำระหนีเ้ หลือจ่ายช�ำระคืน

106

Classifying by interest rate types, proportion of floating-rate debt decreased from 18.90% as of the end of FY2014 to 15.90%. Furthermore, rollover risk for public debt is moderately low since the portfolio’s Average time to maturity (ATM) was relatively long with an increase from 7.52 years to 8.16 years during FY2015. (2) Government debt as of September 30, 2015 (4,157,394.78 million Baht) included domestic debt and external debt accounting for 97.96% and 2.04% of total government debt, respectively. Classifying by interest rate types, proportion of floating-rate debt decreased from 14.70% to 11.60%. Government’s ATM increased from 8.91 to 9.63 years, reflecting PDMO’s pro-active debt management by issuing government bonds with long term to maturity. In addition, yields on government bond had decreased in 2015, resulting in decreasing borrowing cost. (3) SOEs’ debt as of September 30, 2015 (1,607,495.52 million Baht) comprised of Domestic and External debt in a proportion of 82.85% and 17.15% of total SOEs debt, respectively. Its ATM decreased from 4.64 years to 4.42 years. Classifying by interest rate types, floating-rate debt decreased from 28.70% to 27%. 2.2 Risk Management (1) PDMO managed government domestic debt’s risk by prepaying with excess debt repayment budget for 7,909 million Baht, saving 167.92 million Baht of interest expenditure. Government external debt’s risk for the 4-Lane Highway Project (Phase II) from World Bank was managed by prepaying with excess debt repayment budget in an amount of 212,402.45 USD or 7.66 million Baht, saving 0.55 million Baht of interest expenditure.


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

หนี้ก่อนครบก�ำหนดโครงการก่อสร้างทางสายหลักเป็น 4 ช่ อ งจราจร (ระยะที่ 2) ของธนาคารโลก จ� ำ นวน 212,402.45 เหรียญสหรัฐ หรือเทียบเท่า 7.66 ล้านบาท ท� ำ ให้ ส ามารถลดภาระดอกเบี้ ย ได้ ร วมทั้ ง สิ้ น 0.55 ล้านบาท (2) รัฐวิสาหกิจได้มีการบริหารความเสี่ยงหนี้ ในประเทศทั้งสิ้น 47,480.66 ล้านบาท โดยการช�ำระคืน หนี้ก่อนก�ำหนด แบ่งเป็น (1) ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร 39,406.16 ล้านบาท ลดภาระดอกเบีย้ ได้ 1,072.22 ล้านบาท (2) ส�ำนักงานธนานุเคราะห์ 300 ล้ า นบาท ลดภาระดอกเบี้ ย ได้ 91.78 ล้ า นบาท และ (3) องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ 36 ล้านบาท ลดภาระ ดอกเบี้ยได้ 0.44 ล้านบาท รวมถึงบริษัท การบินไทย จ� ำ กั ด (มหาชน) (บกท.) ได้ บ ริ ห ารความเสี่ ย งหนี้ ในประเทศ วงเงินรวม 7,738.50 ล้านบาท แบ่งเป็น (1) การแปลงหนี้สกุลเงินบาทเป็นสกุลเงินเยน วงเงิน 25,249.91 ล้านเยน หรือเทียบเท่า 6,926 ล้านบาท และ (2) การยกเลิกการแปลงหนี้สกุลเงินบาทเป็นสกุลเงินยูโร พร้อมกับการแปลงหนี้สกุลเงินยูโรที่มีอัตราดอกเบี้ยแบบ ลอยตัวเป็นสกุลเงินบาททีม่ อี ตั ราดอกเบีย้ คงที่ วงเงินรวม 18.63 ล้านยูโร หรือเทียบเท่า 812.50 ล้านบาท ส�ำหรับ หนีต้ า่ งประเทศรัฐวิสาหกิจได้บริหารความเสีย่ งวงเงินรวม 8,132.80 ล้านบาท แบ่งเป็น (1) บกท. ด�ำเนินการแปลง หนี้สกุลเงินยูโรเป็นสกุลเงินเยน วงเงิน 112.79 ล้านยูโร หรือเทียบเท่า 4,732.78 ล้านบาท และ (2) บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินการแปลงหนีส้ กุลเงินเหรียญสหรัฐ ที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ เป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัว วงเงิน 100 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือเทียบเท่า 3,400.02 ล้านบาท

(2) SOEs domestic debt’s risk was managed for 47,480.66 million Baht by prepayment from (1) Bank of Agriculture and Agricultural Cooperatives (39,406.16 million Baht), saving 1,072.22 million Baht of interest expenditure; (2) Office of the Government Pawnshop (300 million Baht), saving 91.78 million Baht of interest expenditure; and (3) Forest Industry Organization (36 million Baht), saving 0.44 million Baht of interest expenditure. Moreover, Thai Airways International Public Company Limited managed its domestic debt’s risk in a total amount of 7,738.50 million Baht based on (1) Cross Currency Swap (CCS) from debt in Baht to Yen for 25,249.91 million Yen or 6,926 million Baht; and (2) Unwind Cross Currency Swap (Unwind CCS) of debt in Baht to Euro, including Interest Rate Swap (IRS) from floating-rate debt in Euro to fixed-rate debt in Baht for 18.63 million Euro or 812.50 million Baht. As for SOEs external debt’s risk (8,132.80 million Baht), (1) Thai Airways swapped its Euro debt to Yen for 112.79 million Euro or 4,732.78 million Baht; and (2) PTT Public Company Limited swapped its USD fixed-rate debt into floating-rate debt for 100 million USD or 3,400.02 million Baht.

107


6


ประมวลภาพกิจกรรม ของสำนั ก งานบร� ห ารหนี ้ ส าธารณะ


บุคลากร สบน. ลงนามถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ

นายกฤษฎา อุทยานิน ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ พร้อมทั้งบุคลากร วางแจกันดอกไม้และลงนาม ถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ณ ศาลาศิริราช 100 ปี โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2557

110


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

วันคล้ายวันสถาปนาครบรอบ ปีที่ 12 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

นายกฤษฎา อุ ท ยานิ น ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานบริ ห ารหนี้ ส าธารณะ เป็นประธานในการท�ำบุญและถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์ พร้อมทั้ง มอบเงินท�ำบุญให้แก่โรงพยาบาลสงฆ์เพื่อใช้เป็นสาธารณประโยชน์และ การกุศล เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนาครบรอบ ปีที่ 12 ส�ำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ ณ โรงพยาบาลสงฆ์ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2557

มอบใบประกาศแต่งตั้งให้ธนาคารแห่งอเมริกา เนชั่นแนล แอสโซซิเอชั่น เป็นผู้ค้าหลักส�ำหรับธุรกรรมซื้อขายตลาดตราสารหนี้

นายกฤษฎา อุทยานิน ผอ.สบน. มอบใบประกาศแต่งตั้งให้ธนาคารแห่งอเมริกา เนชั่นแนล แอสโซซิเอชั่น เป็นผู้ค้าหลักส�ำหรับธุรกรรมซื้อขายตลาดตราสารหนี้ โดยมี คุณอรกัญญา พิบูลธรรม กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธนาคารแห่งอเมริกา เมอร์ริลลินซ์ เป็นผู้รับมอบ เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2557 ณ ห้องประชุม 2 อาคารทิปโก้

111


Japan’s ODA - 60th Anniversary Seminar “Thailand-Japan Cooperation, Past and Future”

นายธีรัชย์ อัตนวานิช ผู้อ�ำนวยการ ส� ำ นั ก บริ ห ารการระดมทุ น โครงการ ลงทุนภาครัฐ ร่วมงาน Japan’s ODA - 60 th Anniversary Seminar “Thailand-Japan Cooperation, Past and Future” พร้อมทั้งร่วมอภิปรายใน หัวข้อ “ความร่วมมือระหว่างประเทศ ไทยและประเทศญีป่ นุ่ หลังปี ค.ศ. 2015” ณ โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2557

พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณเพื่อ เป็นข้าราชการที่ดี เนื่องใน วันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2557

นายกฤษฎา อุทยานิน ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เป็นผู้แทนกล่าวค�ำปฏิญาณเพื่อ เป็ น ข้ า ราชการที่ ดี เนื่ อ งใน วั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา 5 ธั น วาคม 2557 โดยมี ค ณะ ผู ้ บ ริ ห ารและบุ ค ลากรจาก ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เข้ า ร่ ว มในพิ ธี ดั ง กล่ า ว ณ ห้องประชุม 401 สบน. เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2557

112


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ผอ.สบน. ร่วมงานปาฐกถาพิเศษ “นโยบายการผลักดันให้ตลาดตราสารหนี้ ไทยเป็นแหล่งระดมทุนในระดับภูมิภาค”

นายกฤษฎา อุทยานิน ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะ เข้าร่วมงานปาฐกถาพิเศษ โดยนายสมหมาย ภาษี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง การคลัง ในหัวข้อ “นโยบายการผลักดันให้ตลาด ตราสารหนี้ ไ ทยเป็ น แหล่ ง ระดมทุ น ในระดั บ ภูมภิ าค” ในงานแถลงข่าวความส�ำเร็จการระดมทุน ผ่านตราสารหนี้สกุลเงินบาทของ EDL-Generation Public Company ณ โถงนิ ท รรศการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2557

การประชุมชี้แจงแนวทางการด�ำเนินการโครงการเงินกู้เพื่อการพัฒนาระบบบริหารจัดการ ทรัพยากรน�้ำและระบบขนส่งทางถนนระยะเร่งด่วน : มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ระยะที่ 2

นายธีรัชย์ อัตนวานิช รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เป็นประธานเปิดการประชุมชี้แจงแนวทาง การด�ำเนินการโครงการเงินกูเ้ พือ่ การพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรน�ำ้ และระบบขนส่งทางถนนระยะเร่งด่วน : มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 4 เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558

113


พิธีลงนามบันทึกความตกลงร่วมกัน ในการจ�ำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ รุ่น “สุขกันเถอะเรา”

นายกฤษฎา อุทยานิน ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหาร หนี้ ส าธารณะเข้ า ร่ ว มพิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ความตกลง ร่วมกันในการจ�ำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ รุ่น “สุขกัน เถอะเรา” โดยมีนายสมหมาย ภาษี รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลั ง เป็ น ประธานในพิ ธี ดั ง กล่ า ว ณ ห้องประชุมวายุภกั ษ์ 4 ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2558

114


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

การประชุม Thailand Infrastructure & REIT Conference 2015

นายธีรัชย์ อัตนวานิช รองผู้อำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เข้าร่วมการประชุม Thailand Infrastructure & REIT Conference 2015 โดยมีนายสมหมาย ภาษี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง เป็นประธานเปิดการประชุม ในครั้งนี้ ณ Four Seasons Hotel Bangkok เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2558

115


พิธีสรงน�้ำพระและรดน�ำ้ ขอพรผู้บริหารระดับสูง ประจ�ำปี 2558

นายเอด วิ บู ล ย์ เ จริ ญ ที่ ป รึ ก ษาด้ า นหนี้ ส าธารณะ เป็ น ประธานในพิธีสรงน�้ำพระและรดน�้ำขอพรผู้บริหารระดับสูง ประจ�ำปี 2558 โดยมีบุคลากร สบน. เข้าร่วมพิธีกันอย่าง พร้อมเพรียง ณ บริเวณหน้าห้องประชุม 401 สบน. เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2558

งานวันสถาปนากระทรวงการคลัง ครบรอบ 140 ปี และพิธีมอบโล่เชิดชูเกียรติและเกียรติบัตร “ผู้ประพฤติปฏิบัติตนชอบด้วยความซื่อสัตย์สุจริต”

ผู้บริหารส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เข้าร่วมงานวันสถาปนากระทรวงการคลัง ครบรอบ 140 ปี และพิธีมอบโล่ เชิดชูเกียรติและเกียรติบัตร “ผู้ประพฤติปฏิบัติตนชอบด้วยความซื่อสัตย์สุจริต” ณ บริเวณห้องโถงวายุภักษ์ ชั้น 1 กระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2558

116


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

งานมอบรางวัลตราสารหนี้ยอดเยี่ยม แห่งปี 2557 (ThaiBMA Best Bond Awards 2014)

นายธี รั ช ย์ อั ต นวานิ ช รองผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ ร่วมแถลงข่าว ในงานมอบรางวัลตราสารหนีย้ อดเยีย่ มแห่งปี 2557 (ThaiBMA Best Bond Awards 2014) เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2558 ณ ภัตตาคาร Blue Elephant ถนนสาทร เนื่องในโอกาสที่ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ได้รับรางวัล “Deal of the Year” จากสมาคมตลาดตราสาร หนี้ไทย (ThaiBMA) ซึ่งเป็นรางวัลที่มอบให้ แก่ธุรกรรมตราสารหนี้ที่มีความโดดเด่นและ ประสบความส� ำ เร็ จ สู ง สุ ด ในทุ ก มิ ติ โดยมี นายณัฐการ บุญศรี ผู้อ�ำนวยการส่วนพัฒนา ตลาดตราสารหนี้ รั ฐ บาล เป็ น ผู ้ รั บ รางวั ล ดังกล่าว

การสัมมนาซักซ้อมความเข้าใจการจัดท�ำ แผนการบริหารหนี้สาธารณะประจ�ำ ปีงบประมาณ

นายเอด วิ บู ล ย์ เ จริ ญ ที่ ป รึ ก ษาด้ า นหนี้ ส าธารณะ เป็นประธานในการสัมมนาซักซ้อมความเข้าใจการจัดท�ำ แผนการบริหารหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 4 ส�ำนักงานปลัดกระทรวง การคลัง เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2558

117


การสัมมนาโครงการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และแนวทางในการก�ำหนด ราคากลางค่าจ้างที่ปรึกษา

นายวิ สุ ท ธิ์ จั น มณี ที่ ป รึ ก ษาด้ า นตลาดตราสารหนี้ เป็นประธานเปิดการสัมมนาโครงการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และแนวทางในการก�ำหนด ราคากลางค่าจ้างที่ปรึกษา จัดโดยศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย ส� ำนั ก งานบริหารหนี้สาธารณะ ณ ห้องประชุมจูปิเตอร์ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น ระหว่างวันที่ 22 และ 25 พฤษภาคม 2558

118


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

การน�ำเสนอข้อมูลการด�ำเนินธุรกรรม Bond Switching ส�ำหรับพันธบัตรรัฐบาลรุ่น LB15DA

นายธีรชั ย์ อัตนวานิช รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ เป็น ประธานเปิดการสัมมนาการน�ำเสนอข้อมูลการด�ำเนินธุรกรรม Bond Switching ส�ำหรับพันธบัตรรัฐบาลรุน่ LB15DA ณ ห้องประชุมวายุภกั ษ์ 4 อาคารส�ำนักงานปลัด กระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2558

พิธลี งนามในหนังสือแลกเปลีย่ นว่าด้วยความร่วมมือทางการเงิน ระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลญี่ปุ่น และสัญญาเงินกูส้ ำ� หรับ โครงการรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ช่วงบางซือ่ -รังสิต ระยะที่ 2

นายสมหมาย ภาษี รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง Mr. Shiro Sadoshima เอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจ�ำประเทศไทย และ Mr. Shuichi Ikeda หัวหน้า ผู้แทนองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น ส�ำนักงานประจ�ำ ประเทศไทย ร่วมลงนามในหนังสือแลกเปลีย่ นว่าด้วยความร่วมมือทางการ เงินระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลญี่ปุ่น และสัญญาเงินกู้ส�ำหรับโครงการ รถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ช่วงบางซื่อ-รังสิต ระยะที่ 2 ณ ห้องประชุม วายุภักษ์ 4 ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง เมื่อวันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน 2558

119


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “สร้างนักบริหารหนี้สาธารณะอย่างมืออาชีพ” รุ่นที่ 3

ข้าราชการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “สร้างนักบริหาร หนี้สาธารณะอย่างมืออาชีพ” รุ่นที่ 3 ณ โรงแรมเซ็นทารา วอเตอร์เกท พาวิลเลี่ยน กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 3 - 25 กรกฎาคม 2558 และศึกษาดูงานโครงการรถไฟฟ้าสายสีน�้ำเงินส่วนต่อขยาย ระยะที่ 2 (บางซื่อ ท่าพระ หัวล�ำโพง บางแค) เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2558

120


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ผอ.สบน. รับโล่ประกาศเกียรติคุณฯ ในงานวันคุณธรรม จริยธรรม และความโปร่งใสในภาครัฐประจ�ำปี พ.ศ. 2558

นายสุวิชญ โรจนวานิช ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ รับโล่ประกาศเกียรติคุณส่วนราชการที่เป็น ผู้จัดท�ำและเป็นผู้ประเมินมาตรฐานความโปร่งใส ประจ�ำปี พ.ศ. 2558 เนื่องในงานวันคุณธรรม จริยธรรม และ ความโปร่งใสในภาครัฐ ประจ�ำปี พ.ศ. 2558 โดยมีนายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรีเป็นประธานในพิธีเปิด ณ หอประชุมสุขุมนัยประดิษฐ์ ส�ำนักงาน ก.พ. จังหวัดนนทบุรี เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2558

สบน. รับรางวัลคุณภาพการบริการจัดการภาครัฐ ประจ�ำปี พ.ศ. 2558

นายสุวิชญ โรจนวานิช ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เข้ารับมอบรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (PMQA) ประจ�ำปี พ.ศ. 2558 หมวด 2 ด้านการวางแผนยุทธศาสตร์และการสื่อสารเพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติ ในพิธีมอบรางวัลประจ�ำปี พ.ศ. 2558 ณ หอประชุมกองทัพเรือ เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2558

121


สบน. จัดการประชุม Annual PDMO Market Dialogue ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 & MOF Awards

นายสุวิชญ โรจนวานิช เป็นประธานในการประชุม Annual PDMO Market Dialogue ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 & MOF Awards เพื่อประชุมหารือร่วมกับผู้ร่วมตลาดตราสารหนี้ และมอบรางวัล MOF Awards ให้กับ Primary Dealer ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 4 ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2558

122


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

โครงการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 และพ.ศ. 2558

นิสิตนักศึกษาจาก 6 สถาบันการศึกษา (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่) เข้าร่วมกิจกรรมวิชาการและสันทนาการ ภายใต้ โครงการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ณ โรงแรมเฟลิกซ์ ริเวอร์แคว รีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี ระหว่างวันที่ 3 - 7 พฤศจิกายน 2557 และศึกษาดูงาน ณ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด จังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2557 รวมทัง้ ส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ (สบน.) ได้ดำ� เนินกิจกรรมพัฒนา สังคม (CSR) ณ โรงเรียนพิบูลประชาบาล และโรงเรียนวัดราษฎร์ โพธิ์ทอง จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2558 และ โครงการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของหนี้สาธารณะ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 สบน. ได้ จั ด กิ จ กรรม ณ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ระหว่างวันที่ 25 สิงหาคม - 25 กันยายน 2558

123


โครงการฝึกอบรม “การให้ความรู้เชิงลึกและการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม ของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ” ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 โครงการสัมมนา เชิงปฏิบัติการ “การขยายผลการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ของ สบน. ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558” และโครงการกิจกรรมการศึกษาดูงานกับหน่วยงานภายนอก (KM Journey)

บุคลากรส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะร่วมศึกษาดูงาน ณ ศูนย์อนุรกั ษ์ พันธุกรรมพืช อพ.สธ. คลองไผ่ จังหวัดนครราชสีมา และเข้าร่วม โครงการฝึกอบรม “การให้ความรู้เชิงลึกและการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ของส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ” ณ Chateau de Khaoyai Hotel & Resort จังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันที่ 1 - 2 ธันวาคม 2557 และโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การขยายผลการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ของ สบน. ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558” โดยนายสุวิชญ โรจนวานิช ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานบริหารหนีส้ าธารณะ เป็นวิทยากรใน การบรรยาย หัวข้อ “การทุจริตและผลประโยชน์ทับซ้อนในภาครัฐ” ณ แซนด์ ดูนส์ เจ้าหลาว บีช รีสอร์ท จังหวัดจันทบุรี ระหว่างวันที่ 29 - 31 สิงหาคม 2558 และศึกษาดูงานกับหน่วยงานภายนอก (KM Journey) ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ

124


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

โครงการฝึกอบรมหลักสูตรปฐมนิเทศส�ำหรับบุคลากรใหม่ ของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ รุ่นที่ 8 และรุ่นที่ 9

ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ปฐมนิเทศส�ำหรับบุคลากรใหม่ของ สบน. รุ่นที่ 8 ช่วงที่ 1 ณ ห้องประชุม 401 สบน. เมื่อวันที่ 16 - 19 มีนาคม 2558 และช่วงที่ 2 ณ บึงฉวาก รีสอร์ท จังหวัดสุพรรณบุรี ระหว่างวันที่ 20 - 21 มีนาคม 2558 รุ่นที่ 9 ณ โรงเรียนโสตศึกษา และโรงแรม ไมด้า รีสอร์ท จังหวัดกาญจนบุรี ระหว่างวันที่ 5 - 6 กันยายน 2558 และช่วงที่ 2 ณ ห้องประชุม 401 สบน. ระหว่างวันที่ 7 - 9 กันยายน 2558

125


126


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

บทบาทหน้าที่ของศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ของส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ พระราชบัญญัตขิ อ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ก�ำหนดหน้าที่ให้หน่วยงานของรัฐต้องมีการด�ำเนินการ เปิดเผยข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการด�ำเนินการต่างๆ ของ รัฐให้ประชาชนได้รับรู้ให้ครอบคลุมกว้างขวางมากที่สุด ซึ่งส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะได้ด�ำเนินการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารมีลักษณะเป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ 1. การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ข่ า วสารของราชการโดย การน� ำ ข้ อ มู ล ข่ า วสารของราชการไปลงพิ ม พ์ ในราชกิจจานุเบกษา สบน. ได้ดำ� เนินการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารโดยการน�ำ ข้อมูลข่าวสารของราชการตามทีก่ ำ� หนดในพระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารฯ ไปลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้มี การเก็บเป็นหลักฐานในการใช้อ้างอิงทางกฎหมายและ เพื่อประโยชน์อื่นๆ ซึ่งประเภทของข้อมูลข่าวสารที่น�ำไป ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ประกอบด้วย โครงสร้างและ การจัดองค์กร อ�ำนาจหน้าทีท่ สี่ ำ� คัญและวิธกี ารด�ำเนินงาน รวมทั้งข้อมูล หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือนกันยายน และมีนาคมของทุกปี และรายงานผลการกู้เงิน เพื่อให้ ประชาชนได้รู้ถึงบทบาทหน้าที่ ของ สบน. และข้อมูลที่ เกีย่ วข้องกับสถานะหนีส้ าธารณะและการก่อหนีส้ าธารณะ 2. การเปิ ด เผยข้ อ มู ล ข่ า วสารโดยต้ อ งน� ำ ข้ อ มู ล ข่ า วสารตามที่ พ ระราชบั ญ ญั ติ ข ้ อ มู ล ข่ า วสารฯ ก�ำหนดไปรวมไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ สบน. ได้จดั ตัง้ ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสาร ป้ายประชาสัมพันธ์ และห้องสมุดขึ้นภายใน สบน. เพื่อใช้เป็นแหล่งเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของ สบน. เช่น รายงานประจ�ำปี ข้อมูลผลการด�ำเนินงานด้านการ บริหารหนีส้ าธารณะ และผลงานทางวิชาการต่างๆ เป็นต้น นอกจากนี้ สบน. ได้ทำ� การตั้งคณะโฆษก สบน. เพื่อเผย แพร่ข้อมูลข่าวสารและผลการด�ำเนินงานต่างๆ ด้วยการ จัดแถลงข่าวเป็นประจ�ำอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงาน ภาครัฐและภาคเอกชน สาธารณชน รวมทั้งสื่อมวลชน ได้รบั ทราบและให้ได้รบั ข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างถูกต้อง และทันการณ์

ส�ำหรับการติดตามและประมวลผลการปฏิบตั ติ ามมติ คณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ซึง่ ก�ำหนด ให้หน่วยงานของรัฐน�ำข้อมูลข่าวสารเกีย่ วกับการประกาศ การประกวดราคา/สอบราคา รวมทั้งผลการพิจารณาการ จัดซื้อจัดจ้าง รวมทั้งแผนการจัดซื้อจัดจ้าง เผยแพร่ผ่าน Website ของหน่วยงานนั้น ซึ่ง สบน. ได้เผยแพร่ข่าว การประกวดราคา/สอบราคา และผลการพิจารณาจัดซื้อ จัดจ้าง ผ่าน Website สบน. รวมทั้งส่งข่าวไปประกาศยัง Website รวมข่าวประกวดราคาของกระทรวงการคลังด้วย 3. การเปิดเผยหรือการจัดหาข้อมูลข่าวสารของ ราชการให้กับประชาชนที่มาขอเป็นการรายเฉพาะ ตามพระราชบั ญ ญั ติ ข ้ อ มู ล ข่ า วสารของราชการ พ.ศ. 2540 ก�ำหนดให้หน่วยงานของรัฐมีหน้าที่จัดหา ข้อมูลข่าวสารของราชการให้กับผู้รับบริการ/ประชาชน ตามค� ำ ขอเฉพาะรายในเวลาอั น สมควร โดยในรอบปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 มีผมู้ าขอข้อมูลด้านหนีส้ าธารณะ ผ่านทางโทรศัพท์ โทรสาร และทาง e-mail ซึ่ง สบน. ได้ ด� ำ เนิ น การจั ด หาข้ อ มู ล ข่ า วสารให้ ต ามแนวทางที่ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารฯ ก�ำหนด ซึ่งที่ผ่านมา สบน. ได้ พั ฒ นาระบบการจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ด้ ว ยระบบ สารสนเทศ โดยจัดท�ำ Database เพือ่ ให้มกี ารบันทึกข้อมูล อย่างเป็นระบบ ง่ายต่อการค้นหา รวมทั้งให้มีรูปแบบ ที่ น ่ า สนใจ และมี ก ารพั ฒ นาระบบการเผยแพร่ ข ้ อ มู ล ข่าวสารของ สบน. ผ่าน Website ของ สบน. บน Internet ภายใต้ URL http://www.pdmo.mof.go.th ในรูปของ รายงานหนี้สาธารณะรายเดือน รายไตรมาส และรายปี ผลการประมูลพันธบัตรของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ และ บางส่วน ยังจัดท�ำเป็นฐานข้อมูลส�ำหรับบริการนักวิชาการ และนักศึกษา ในการน�ำเสนอข้อมูลดังกล่าวไปใช้วเิ คราะห์ อ้างอิง ซึ่ง สบน. ได้มีการปรับปรุงข้อมูลข่าวสารให้มี ความทันสมัยอยูต่ ลอดเวลา นอกจากนัน้ ได้ให้บริการตอบ ข้อซักถาม ด้านข้อมูลข่าวสารตามทีผ่ รู้ บั บริการ/ประชาชน ได้ขอรับบริการมาอย่างต่อเนื่อง

127


ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย (THAI CONSULTANT DATABASE CENTER)

ศู น ย์ ข ้ อ มู ล ที่ ป รึ ก ษาไทย กระทรวงการคลั ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการบริ ก ารข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ที่ปรึกษาไทย

โดยมีบทบาทหน้าที่ในการก�ำหนดหลักเกณฑ์และ วิธกี ารจดทะเบียนทีป่ รึกษาไทย พิจารณาตรวจสอบข้อมูล ของทีป่ รึกษาทีข่ อจด/ต่อ/เพิกถอนทะเบียน เพิม่ เติมผลงาน และปรับปรุงสถานะ รวมทั้งการให้รายชื่อที่ปรึกษาไทย ก� ำ หนดหลั ก เกณฑ์ ร าคากลางการจ้ า งที่ ป รึ ก ษา การพั ฒ นาระบบฐานข้ อ มู ล ที่ ป รึ ก ษาไทย พร้ อ มทั้ ง

128

สนับสนุนและส่งเสริมที่ปรึกษาไทยเพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน การให้คำ� ปรึกษา แนะน�ำ สร้างความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับการให้บริการของศูนย์ขอ้ มูลทีป่ รึกษา ไทยแก่ ส ่ ว นราชการ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ รวมทั้งหน่วยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

129


130


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ทำเนียบผู บร�หาร

131


ท�ำเนียบผู้บริหาร

ข้อมูล ณ วันที่ 20 กรกฎาคม 2559 ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ นายสุวิชญ โรจนวานิช โทรศัพท์ : 0-2265-8051, 0-2273-9825 0-2265-8050 ต่อ 5100 โทรสาร : 0-2273-9167 อีเมล : suwit@pdmo.go.th ที่ปรึกษาด้านหนี้สาธารณะ นายเอด วิบูลย์เจริญ โทรศัพท์ : 0-2265-8052, 0-2265-8050 ต่อ 5104 โทรสาร : 0-2273-9109 อีเมล : ace@pdmo.go.th ที่ปรึกษาด้านตลาดตราสารหนี้ นายวิสุทธิ์ จันมณี โทรศัพท์ : 0-2265-8058, 0-2265-8050 ต่อ 5111 โทรสาร : 0-2273-9145 อีเมล : wisut@pdmo.go.th รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ นายธีรัชย์ อัตนวานิช โทรศัพท์ : 0-2618-3381, 0-2265-8050 ต่อ 5107 โทรสาร : 0-2273-9822 อีเมล : theeraj@pdmo.go.th รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ นางสาวศิรสา กันต์พิทยา โทรศัพท์ : 0-2265-8052, 0-2265-8050 ต่อ 5900 โทรสาร : 0-2273-9109 อีเมล : sirasa@pdmo.go.th

132

ส�ำนักจัดการหนี้ 1 ผู้อ�ำนวยการ นายเอกราช เขื่อนขันธ์สถิตย์ โทรศัพท์ : 0-2265-8058, 0-2265-8050 ต่อ 5300 โทรสาร : 0-2273-9145 อีเมล : ekaraj@pdmo.go.th ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเงินกู้โครงการ นายณรงค์ แก้วเศวตพันธุ์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5403 อีเมล : narong@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 1 นางสาวสรณา แสงประสาทพร (รักษาการ) โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5304 ผู้อ�ำนวยการส่วนส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 2 นางสาววรนาถ เตชะวนาพร โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5312 อีเมล : worranat@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนส่วนจัดการเงินกู้รัฐบาล 3 นายกะรัส บุญเรือง โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5302 อีเมล : karas@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการเงินกู้หน่วยงานอื่น นายยุทธพงศ์ เอี่ยมแจ้ง โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5305 อีเมล : yuthapong@pdmo.go.th


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ส�ำนักจัดการหนี้ 2

ส�ำนักนโยบายและแผน

ผู้อ�ำนวยการ นางสาวพิมพ์เพ็ญ ลัดพลี โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5400 โทรสาร : 0-2278-4151 อีเมล : pimpan@pdmo.go.th

ผู้อ�ำนวยการ นางสุณี เอกสมทราเมษฐ์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5500 โทรสาร : 0-2273-9144 อีเมล : sunee@pdmo.go.th

ผู้เชี่ยวชาญด้านหนี้สาธารณะ และความเสี่ยงทางเครดิต นางชนันภรณ์ พิศิษฐวานิช โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5404 อีเมล : chanunporn@pdmo.go.th

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านหนี้สาธารณะและเงินคงคลัง นายถาวร เสรีประยูร โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5506 โทรสาร : 0-2618-3384 อีเมล : tharwon@pdmo.go.th

ผู้อำ� นวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐวิสาหกิจ 1 นายอัคนิทัต บุญโญ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5412 อีเมล : aknetat@pdmo.go.th

ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและแผน ร.ต.ต.หญิง จารุณี เล็กด�ำรงศักดิ์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5502 อีเมล : jarunee@pdmo.go.th

ผู้อำ� นวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐวิสาหกิจ 2 นางสาวจันทิรา ตรงรัศมีทอง โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5802 อีเมล : janthira@pdmo.go.th

ผู้อ�ำนวยการส่วนความร่วมมือระหว่างประเทศ นางสาวเบญจรัตน์ ทนงศักดิ์มนตรี โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5503 อีเมล : benjarat@pdmo.go.th

ผู้อำ� นวยการส่วนจัดการเงินกู้รัฐวิสาหกิจ 3 นางสาวเสาวนีย์ จันทพันธ์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5412 อีเมล : saowanee@pdmo.go.th

ผู้อ�ำนวยการส่วนวิจัยนโยบายหนี้สาธารณะ นายฐิติเทพ สิทธิยศ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5505 อีเมล : thitithep@pdmo.go.th

ผู้อำ� นวยการส่วนวิเคราะห์เครดิต และบริหารความเสี่ยงรัฐวิสาหกิจ นางสาวสุมนมาลย์ กรวยสวัสดิ์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5402 อีเมล : sumonman@pdmo.go.th

133


ส�ำนักการบริหารการช�ำระหนี้ ผู้อำ� นวยการ นายธีรลักษ์ แสงสนิท โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5600 โทรสาร : 0-2273-9735 อีเมล : teeralak@pdmo.go.th ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านบริหารการช�ำระหนี้ นางสาวยอดเยาวมาลย์ สุคนธพันธุ์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5666 อีเมล : yod@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและแผนการช�ำระหนี้ นางสาวนีรชา มรกตราภรณ์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5602 อีเมล : neeracha@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนจัดการการช�ำระหนี้ นางปัณฑารีย์ ศรีแก้วพันธ์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5604 อีเมล : puntaree@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารเงินกองทุน นางสาวโสภิดา ศรีถมยา โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5603 อีเมล : sophida@pdmo.go.th

ส�ำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ ผู้อำ� นวยการ นางจินดารัตน์ วิริยะทวีกุล โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5700 โทรสาร : 0-2357-3576 อีเมล : jindarat@pdmo.go.th

134

ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านหนีส้ าธารณะและภาระผูกพัน นางสาวอัญจนา วงศ์สว่าง โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5777 อีเมล : anchana@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายและแผนการระดมทุน นางสาวเบญจมาศ เรืองอ�ำนาจ โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5703 อีเมล : benjamart@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์ และจัดการเงินทุนโครงการ 1 นางอนงค์นาฏ โมราสุข โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5702 อีเมล : anongnart@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์ และจัดการเงินทุนโครงการ 2 นางสาวรานี อิฐรัตน์ โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5705 อีเมล : ranee@pdmo.go.th

ส�ำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ผู้อ�ำนวยการ นางสาวอุปมา ใจหงษ์ โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5800 โทรสาร : 0-2357-3576 อีเมล : upama@pdmo.go.th ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาตลาดตราสารหนี้ นายณัฐการ บุญศรี โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5888 อีเมล : nattakarn@pdmo.go.th


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

ผู้อ�ำนวยการส่วนพัฒนาตลาดตราสารหนี้รัฐบาล โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5888 ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารกองทุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน นายพลช หุตะเจริญ โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5802 อีเมล : paroche@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนนโยบายตลาดตราสารหนี้ ระหว่างประเทศ นางอรพร ถมยา โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5803 อีเมล : onraporn@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเงิน นายนครินทร์ พร้อมพัฒน์ (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5812 อีเมล : nakarin@pdmo.go.th

ส�ำนักบริหารและประเมินผลโครงการลงทุนภาครัฐ ผู้อ�ำนวยการ นางจินดารัตน์ วิริยะทวีกุล โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5700 โทรสาร : 0-2357-3576 อีเมล : jindarat@pdmo.co.th ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาระบบประเมินผล และการบริหารโครงการเงินกู้ นางสาวอรุณวรรณ ยมจินดา โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5778 อีเมล : arunwan@pdmo.go.th

ส่วนนโยบายการพัฒนาระบบบริหารและประเมินผล นางณัฐสุดา สุวรรณ (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5706 อีเมล : natsuda@pdmo.go.th ส่วนบริหารโครงการลงทุนภาครัฐ นางสาววรารักษ์ ชมมณี (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5733 อีเมล : wararuk@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนติดตามและประเมินผล โครงการลงทุนภาครัฐ นางสาววันทนา บัวบาน (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5712 อีเมล : wantana@pdmo.go.th

ส�ำนักงานเลขานุการกรม เลขานุการกรม นางสาวสิริภา สัตยานนท์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5110 โทรสาร : 0-2273-9147 อีเมล : siribra@mof.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนงานคลัง นางสาวนพอนันต์ ประเสริฐผล โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5117 อีเมล : manusanan@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนทรัพยากรบุคคล นางรุ่งระวี รุกเขต โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5116 อีเมล : rungrawee@pdmo.go.th

135


ผู้อำ� นวยการส่วนงานพัสดุ นายธีระศักดิ์ อิญญาวงค์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5119 อีเมล : tearasak@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนอ�ำนวยการ นางสาวสุพรรณพิมพ์ บุญทิพย์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5705 อีเมล : supanpim@pdmo.go.th

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ นางสาววราภรณ์ ปัญญศิริ โทรศัพท์ : 0-2265-8062, 0-2265-8050 ต่อ 5200 โทรสาร : 0-2298-5481 อีเมล : waraporn@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนวิเคราะห์นโยบาย และแผนสารสนเทศ นายครรชิต พะลัง โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5209 อีเมล : kanchit@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนบริหารระบบข้อมูลสารสนเทศ นางสาวนีรชา มรกตราภรณ์ (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5207 อีเมล : neeracha@pdmo.go.th ผู้อ�ำนวยการส่วนก�ำกับและพัฒนาระบบสารสนเทศ นายวีรยุทธ เจริญสุวรรณกิจ (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5210 อีเมล : weerayut@pdmo.go.th

136

ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย ผู้อ�ำนวยการ นางสาวชิดชไม ไมตรี โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5702 อีเมล : chidchamai@pdmo.go.th ฝ่ายบริการข้อมูลและทะเบียนที่ปรึกษาไทย นายเทวฤทธิ์ สุทธนะ (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5714 อีเมล : tevarith@pdmo.go.th ฝ่ายส่งเสริมและพัฒนาที่ปรึกษาไทย นางสาวภัทรวรรณ ปริยวาที (ปฏิบัติหน้าที่) โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5715 อีเมล : patharawan@pdmo.go.th

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาระบบบริหาร นางฉัตรมณี สินสิริ โทรศัพท์ : 0-2271-7999 ต่อ 5900 โทรสาร : 0-2618-3399 อีเมล : chatmanee@pdmo.go.th

กลุ่มตรวจสอบภายใน ผู้เชี่ยวชาญด้านตรวจสอบภายใน นางสาวพรทิพย์ พันเลิศยอดยิ่ง โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5220 โทรสาร : 0-2618-3384 อีเมล : porntip@pdmo.go.th


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

กลุ่มกฎหมาย ผู้อ�ำนวยการกลุ่มกฎหมาย นายธีรเดช ลิขิตตระกูลวงศ์ โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5913 โทรสาร : 0-2273-9058 อีเมล : teeradet@pdmo.go.th

ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ โทรสาร : 0-2273-9147 0-2265-8050 ต่อ 5705, 5128

กลุ่มบริหารความเสี่ยงหนี้สาธารณะ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มบริหารความเสี่ยงหนี้สาธารณะ นายนครินทร์ พร้อมพัฒน์ (รักษาการ) โทรศัพท์ : 0-2265-8050 ต่อ 5504 โทรสาร : 0-2273-9058 อีเมล : nakarin@pdmo.go.th

137


คณะผู้จัดท�ำรายงานประจ�ำปี พ.ศ. 2558 1. นางสาวพรทิพย์ พันเลิศยอดยิ่ง 2. นางสาวปวีณา ส�ำเร็จ 3. นายธีรวัฒน์ ทิพย์รัตน์ 4. นางสาวภัทรวรรณ ปริยวาที 5. ม.ล.อรสวัลป์ จักรพันธุ ์ 6. นางสาวปุณชรัสมิ์ ดอนศรีจันทร์ 7. นางสาวอัจจิมา เกรอต 8. นายชลันธร เงินประดับ 9. นายรักชาติ วัชรานนท์ 10. นางสาวมนทิรา มหินชัย 11. นางสาววรารักษ์ ชมมณี 12. นางสาวปุญพัฒน์ พลเดช 13. นายภิชษ์ฐิศักดิ์ แปลกสุริยกมล 14. นายสิทธานต์ เสถียรพัฒนากูล 15. นายนนทกร กรีวัชรินทร์ 16. นางสาวชนิกานต์ ไชยเสนา 17. นายชนวีร์ ค�ำมี ่ 18. นางสาววรรณิตา ลอยอ�ำ 19. นางสาวสุพรรณพิมพ์ บุญทิพย์ 20. นางสาวพนิดา เกรียงทวีทรัพย์ 21. นางสาวสุทธิดา พามาดี

138

ผู้เชี่ยวชาญด้านตรวจสอบภายใน เศรษฐกรช�ำนาญการ นักวิชาการคลังช�ำนาญการ เศรษฐกรช�ำนาญการ เศรษฐกรช�ำนาญการ เศรษฐกรช�ำนาญการ นักวิชาการตรวจสอบภายในช�ำนาญการ เศรษฐกรปฏิบัติการ นิติกรปฏิบัติการ เศรษฐกรปฏิบัติการ นักวิชาการคลังปฏิบัติการ เศรษฐกรปฏิบัติการ นักวิชาการคลังปฏิบัติการ เศรษฐกรปฏิบัติการ เศรษฐกรปฏิบัติการ เศรษฐกรปฏิบัติการ เศรษฐกรปฏิบัติการ นักวิชาการเงินและบัญชี นักจัดการงานทั่วไปช�ำนาญการพิเศษ นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ นักจัดการงานทั่วไป

ประธานคณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน คณะท�ำงานและเลขานุการ คณะท�ำงานและผู้ช่วยเลขานุการ คณะท�ำงานและผู้ช่วยเลขานุการ


รายงานประจ�ำปี 2558

Annual Report 2015

บันทึกข้อความ



59-04-030_COVER Annual_P-NEW16-08-Coated.pdf

1

8/16/16

1:47 PM

san=10.5mm

size=8.25x11in

59-04-030_COVER Annual_P-NEW16-08-Coated


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.