How to THAI Typographic

Page 1




4


คำ�นำ� ตัวอักษรไทย มีวิวัฒนการมาตั้งแต่ศิลาจากรึกสู่การพิมพ์ และปัจจุบันยังไปปรากฏบน สื่อดิจิตอลมากมาย ทั้งในงานสิ่งพิมพ์ก็ดี ในงานบนสื่อดิจิตอลก็ดี ล้วนแต่มีการใช้ตัวอักษร เข้ามาเกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงหลีกหลีไม่พ้นของเรื่องการจัดวางตัวอักษร จัดวางอย่างไรให้ สวยงาม สื่อความหมาย และสามารถเข้าใจได้ ด้วยความตระหนักถึงปัญหาของการจัดวางตัวอักษรในประเทศไทย ซึง่ เราสามารถพบสือ่ ต่างๆที่มีลักษณะการจัดวางในแบบเดิมๆ หรือการจัดวางที่ไม่เหมาะสม ดังนั้นหนังสือเล่ม นี้จึงนำ�เสนอถึงเนื้อหาเรื่องการจัดวางตัวอักษรเบื้องต้น เป็นหลักทฤษฎีต่างๆที่สามารถ เรียนรู้ ทำ�ความเข้าใจ และนำ�ไปปรับประยุกต์ใช้ให้เข้ากับงานสื่อนั้นๆได้


หน้� ๙

หน้� ๒๙

หน้� ๑๘


หน้� ๔๘

หน้� ๔๐

หน้� ๖๓


8


“สวัสดี ตัวอักษรไทย


นั บ ย้ อ นไปตั้ ง แต่ ส มั ย พ่ อ ขุ น รามคำ � แหงมหาราชทรง ประดิ ษ ฐ์ อั ก ษรไทยไว้ ใ ห้ เ ป็ น มรดกของคนไทยนั้ น วิ วั ฒ นาการของอั ก ษรไทยนั บ ตั้ ง แต่ ตั ว เขี ย นจนมาถึ ง ยุ ค ตั ว พิ ม พ์ ก็ พ ฒนาเรื่ อ ยมากตามวิ ถี ข องสั ง คมและ วัฒนธรรมไทย จนมาสู่ยุคปัจจุบันเป็นยุคของเทคโนโลยี เรียกได้ว่าเข้ามามีบทบาทในการทำ�งานและการสื่อสาร ในสังคมไทยมากขึ้น

ในปีพ.ศ.๑๘๒๖พ่อขุนรามคำ�แหงมหาราชทรงประชุมนักปราชญ์ ราชบัณฑิตร่วมกันประดิษฐ์อกั ษรไทยขึน้ เรียกว่า “ลายสือไทย”

10

คุณลักษณะพิเศษของลายสือไทย คือ ความสูงต�่ำของตัวอักษร นั้นเสมอกันและวางรูป พยัญชนะและสระทุกตัวไว้ในบรรทัด เดียวกัน ท�ำให้ไม่สิ้นเปลืองเนื้อที่ รูปอักษรมีมากพอ รูปอักษร ส่วนมากเป็นเส้นเดียวกันตลอด ท�ำให้เขียนง่าย รวดเร็ว ไม่ตอ้ ง ยกปากกา


ในปัจจุบัน อักษรไทย เป็นอักษรที่มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป และเครื่องหม�ยอื่นๆ อีกจำ�นวนหนึ่ง พยัญชนะไทยจะเรียงตัวไปต�มแนวนอน จ�กซ้�ย ไปขว� ส่วนสระจะอยู่หน้� บน ล่�ง และหลังพยัญชนะประกอบคำ�แล้วแต่ชนิดของสระ

11

เร�โชคดีทม่ี ภี �ษ�ของ ตนเองแต่โบร�ณก�ล จึ ง สมควรอย่ � งยิ่ ง ที่ จะรักษ�....


โครงสร้าง พืน้ ฐานของ ตัวอักษรไทย กรอบของตัวอักษร ๑. ตั ว อั ก ษรไทยแต่ ล ะตั ว ล้ ว นมี รู ป แบบ ๒. ตัวอักษรไทยแต่ละตัวมีด้าน ๔ ด้าน คือ โครงสร้างอยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมภายในเส้น ด้านบน ด้านล่าง ด้านหน้า และด้านหลัง สมมติขึ้น เรียกว่า “เส้นกรอบ” ได้แก่ เส้น กรอบบน เส้นกรอบล่าง เส้นกรอบหน้า และ เส้นกรอบหลัง

เส้นกรอบล่าง

๔. เส้นกำ�หนดระดับของตัวอักษรทางส่วนสูง เรียงลำ�ดับจากด้านบนลงมาด้านล่าง ดังนี้ - เส้นกรอบบน - เส้นวรรณยุกต์ - เส้นใต้สระบน - เส้นฐาน - เส้นชานล่าง

- เส้นชานบน - เส้นเหนือสระบน - เส้นหลัก - เส้นสระล่าง - เส้นกรอบล่าง

ด้านล่าง

เส้นชานบน เส้นเหนือสระบน เส้นหลัก

เส้นสระล่าง เส้นกรอบล่าง

กีก้ ุ

ส่วนกว้าง

แนวระดับ

เส้นกรอบบน เส้นวรรณยุกต์ เส้นใต้สระบน

เส้นฐาน เส้นชานล่าง

๕.ความสูงของตัวอักษรแบ่งออกเป็นช่วงต่างๆ เรียงลำ�ดับจากด้านบนลงมาด้านล่างดังนี้ - ช่วงชานบน - ช่วงว่างวรรณยุกต์ - ช่วงว่างสระบน - ช่วงว่างสระล่าง - ช่วงชานล่าง

แนวดิ่ง

ส่วนสูง

ด้านหลัง

ด้านหน้า

เส้นกรอบหน้า

12

ด้านบน เส้นกรอบหลัง

เส้นกรอบบน

๓. ระยะที่ทอดไปตามเส้นกรอบหน้าและ เส้นกรอบหลังตามแนวดิ่งเรียกว่า ส่วนสูง ระยะที่ทอดไปตามเส้นกรอบบนและเส้น กรอบล่างเรียกว่า ส่วนกว้าง แนวที่ทอดไปตามส่วนสูงเรียกว่า แนวดิ่ง แนวทีทอดไปตามส่วนกว้างเรียกว่า แนวระดับ

- ช่วงวรรณยุกต์ - ช่วงสระบน - ช่วงลำ�ตัวหลัก - ช่วงสระล่าง

กีก้ ุ

ช่วงชานบน ช่วงวรรณยุกต์ ช่วงว่างวรรณยุกต์ ช่วงสระบน ช่วงว่างสระบน ช่วงลำ�ตัวหลัก ช่วงว่างสระล่าง ช่วงสระล่าง ช่วงชานล่าง


๖. เส้นกำ�หนดส่วนกว้างของตัวอักษร เรียง ลำ�ดับจากด้านหน้าไปด้านหลัง ดังนี้ เส้นกรอบหน้า

เส้นกรอบหลัง

- เส้นกรอบหน้า - เส้นชานหน้า - เส้นแบ่งครึง่ ส่วนกว้าง - เส้นชานหลัง - เส้นกรอบหลัง

เส้นชานหน้า

เส้นแบ่งครึง่ ส่วนกว้าง

๗.ความกว้างของตัวอักษรแบ่งออกเป็นช่วงต่างๆ เรียงลำ�ดับจากด้านหน้าไปด้านหลัง ดังนี้ - ช่วงชานหน้า - ช่วงครึง่ หน้า - ช่วงครึง่ หลัง - ช่วงชานหลัง

เส้นชานหลัง

ช่วงครึง่ หน้า

ช่วงครึง่ หลัง

ช่วงชานหน้า

ช่วงชานหลัง

๘. ช่องไฟ คือ ช่องว่างระหว่างตัวอักษรทีเ่ กิดจากเส้นชานหลังและเส้นชานหน้าของตัวอักษร ทีน่ �ำ มาเรียงต่อกัน ส่วนสูงตัวพิมพ์ คือ ระยะทีว่ ดั ตามแนวดิง่ จากเส้นกรอบบนถึงเส้นกรอบล่างของตัวอักษร เป็น ขนาดของตัวพิมพ์ ใช้หน่วยวัดเป็น พอยต์ (point/pt.) ส่วนสูงตัวอักษร คือ ระยะทีว่ ดั ตามแนวดิง่ จากเส้นชานบนถึงเส้นชานล่าง เป็นระยะทีว่ ดั จาก จุดสูงสุดถึงจุดต�ำ่ สุดในตัวอักษรชุดหนึง่ ๆ ส่วนนีเ้ รียกว่า ล�ำตัวเต็มของตัวอักษร ส่วนกว้างตัวพิมพ์ คือ ระยะทีว่ ดั ตามแนวระดับจากเส้นกรอบหน้าถึงเส้นกรอบหลัง ส่วนกว้างตัวอักษร คือ ระยะทีว่ ดั ตามแนวระดับจากเส้นชายหน้าถึงเส้นชานหลัง ส่วนกว้างตัวพิมพ์

ส่วนกว้างตัวพิมพ์

ส่วนกว้างตัวพิมพ์ เส้นกรอบบน เส้นชานบน

ส่วนสูงตัวอักษร ส่วนสูงตัวพิมพ์

ส่วนสูงตัวอักษร

13 ส่วนสูงตัวพิมพ์

๙. ชุ ด ตั ว อั ก ษรไทยในชุ ด เดี ย วกั น จะมี โครงสร้างพื้นฐานคือ สัดส่วน ขนาด เส้น ช่องไฟ และรูปแบบตัวอักษร อยู่ในหลัก เดียวกัน และอักษรทุกตัวจะมีสว่ นสูงตัวพิมพ์ เท่ากัน ส่วนสูงตัวอักษรเท่ากัน แต่สว่ นกว้าง ตัวพิมพ์ และส่วนกว้างตัวอักษรแตกต่างกัน ไปตามลักษณะตัวอักษรของแต่ละตัว

ส่วนกว้างตัวพิมพ์

เส้นชานล่าง เส้นกรอบล่าง

๑๐.ลำ�ตัวเต็มของตัวอักษร ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ๓ ส่วนคือ - ส่วนสระบนและวรรณยุกต์ คือ ระยะระหว่างเส้นชานบนและเส้นหลัก - ส่วนลำ�ตัวหลัก คือ ระยะระหว่างเส้นหลักและเส้นฐาน - ส่วนสระล่าง คือ ระยะระหว่างเส้นฐานกับเส้นชานล่าง

ส่วนกว้างตัวอักษร

ส่วนสระบนและวรรณยุกต์บน

ส่วนกว้างตัวอักษร

เส้นกรอบบน เส้นชานบน

เส้นหลัก ส่วนลำ�ต้นหลัก

ส่วนกว้างตัวอักษร

ส่วนสระล่าง

ส่วนกว้างตัวอักษร

เส้นฐาน เส้นชานล่าง เส้นกรอบล่าง


เส้นดิง่

เส้นบนโค้ง

เส้นตัง้

เส้นเดีย่ ว

เส้นหน้�

เส้นหลัง

เส้นหยักโค้ง

เส้นล่�งตรง

เส้นทแยงขึน้ หน้�

เส้นกล�ง

เส้นทแยงขึน้ หลัง

เส้นทแยงลงหน้�

ห�งบนเติม

เส้นล่�งเอียงขึน้

เส้นทแยงลงหลัง

เส้นล่�งเอียงลง

เส้นล่�งลอย

เส้นทแยงขึน้ ลงสูง

เส้นทแยงขึน้ ลงตำ�่

ห�งบนปัด


หางล่างตรง

หัวหน้าบน

หางล่างขมวดตวัด

หัวหน้าล่าง

หางล่างหยักขมวดตวัด

หัวหน้ากลางตรง

หัวหลังบน

หัวหลังล่าง

หัวหลังกลางตรง

เส้นซ้อน

หัวบน

หัวขมวด

ขมวดหลัง

หัวขมวดหยัก

ขมวดกลาง

ขมวดหน้า

ขมวดบน

เชิง

หางบนขมวดตวัด

หางบนม้วนตวัด


การเขียน ตัวอักษรไทย การเขียนหนังสือไทย ให้เขียนเรียงตัวอักษรจากด้านซ้ายมือไปทางด้านขวามือของผูเ้ ขียน หรือเขียนจากด้านหน้าไปด้านหลังตามลำ�ดับ การเขียนตัวอักษร ให้เขียนลำ�ตัวหลักก่อนแล้วจึงเขียนเชิง หรือทางหรือไส้ การเขียนตัวอักษรที่ตั้งซ้อนอยู่ในแนวดิ่งเดียวกัน ให้เขียนพยัญชนะก่อน แล้วจึงเขียน สระบนหรือสระล่าง และเขียนวรรณยุกต์หรือเครื่องหมายกำ�กับเสียงภายหลัง การตัวอักษรทุกตัว ให้เริม่ เขียนทีต่ น้ ตัว อักษร แล้วลากเส้นติดต่อกันไปจนจบที่ ปลายอักษร ดังตัวอย่าง 16

ต้น

ปลาย

ตัวอักษรบางตัวทีม่ เี ส้นทีไ่ ม่ตดิ ต่อกัน ให้ เขี ย นโดยมี ต้ น ตั ว อั ก ษรและปลายตั ว อั ก ษรในส่ ว นลำ � ตั ว หลั ก ก่ อ น แล้ ว จึ ง เขียนต้นตัวอักษรและปลายตัวอักษรใน ส่วนเชิงหรือหาง หรือไส้ ดังดัวอย่าง

ต้น

ตัวอักษรบางตัวอาจมีต้นและปลายมา จดทีจ่ ดุ เดียวกัน ดังตัวอย่าง

ต้น

ปลาย

ปลาย

การเขียนตัวอักษรทุกตัวทีม่ สี ว่ นของตัวอักษรซึง่ เป็นเส้นโค้งทีจ่ ดหรือชิดเส้นหลัก ต้องเขียน ให้ส่วนที่เป็นเส้นโค้งนั้นอยู่เหนือเส้นหลักขึ้นไปเล็กน้อย แต่ถ้าส่วนของตัวอักษรที่เป็น เส้นโค้งนั้นต้องจดหรือชิดเส้นฐาน ต้องเขียนให้ส่วนที่เป็นเส้นโค้งนั้นอยู่ใต้เส้นฐานลงมา เล็กน้อย ทั้งนี้เพื่อให้ส่วนของตัวอักษรที่มีลักษณะเป็นเส้นโค้งที่ต้องจดหรือชิดเส้นหลัก และเส้นฐาน มีระดับเท่าๆ กันกับส่วนของตัวอักษรที่จดหรือชิดเส้นดังกล่าวซึ่งเป็นเส้น ตรงหรือมุมแหลม เส้นเหนือสระบน เส้นหลัก

เส้นสระล่าง

ส่วนของเส้นโค้งซึง่ อยูเ่ หนือ เส้นหลักขึน้ ไปเล็กน้อย

ส่วนของเส้นโค้งซึง่ อยูใ่ ต้ เส้นฐานลงมาเล็กน้อย

เส้นวรรณยุกต์ เส้นใต้สระบน

เส้นฐาน


17


“รู้หลักจัดวาง


19

ก�รจัดว�งองค์ประกอบค์ในง�น ศิลปะ ถือเป็นเรือ่ งสำ�คัญ ในก�ร ใช้ตวั อักษรก็เช่นกัน เร�ก็ตอ้ งจัด ว�งมันให้กลมกลืน ไม่รสู้ กึ ขัดต�


องค์ประกอบของ หลักการจัดวาง ตัวอักษร องค์ประกอบพื้นฐานหลักสำ�คัญที่เราต้องใส่ใจกับงานประเภทไทโปกราฟิก หรือการจัด วางตัวอักษรให้เหมาะสม

๑.

ตัวอักษร

20

ถื อ เป็ น องค์ ป ระกอบหลั ก สำ � คั ญ ที่ สุ ด ของงานออกแบบด้านไทโปกราฟิก ทั้ง ในเรื่องของส่วนประกอบของตัวอักษร รูปแบบของตัวอักษร หรือ Type Family ของตัวอักษร

รูปแบบของตัวอักษรไทย ๑. ตัวอักษร ๒. สระ ๓. วรรณยุกต์ ๔. ตัวเลข ๕. เครื่องหมาย ๖. สัญลักษณ์

กลุ่มของตัวอักษร

กลุ่มอักษรมีหัว (Serif)

ลักษณะของตัวอักษร (Type Family) ๑. กลุ่มปกติ (Basic) ประกอบด้วย ตัวปกติ (Regular/Normal) ตัวหนา (Bold)

กลุ่มอักษรไม่มีหัว (San-Serif)

กลุ่มอักษรตัวเขียน (Script)

กลุ่มอักษรตัวพาดหัว (Display)

๒. กลุ่มกลาง (Medium) ประกอบด้วย ตัวเอียง (Italic/Oblique) ตัวหนาพิเศษ (Extra Bold)

๓. กลุ่มใหญ่ (Large) ประกอบด้วย ตัวบางมาก (Extra Light) ตัวบาง (Light) ตัวกลาง (Medium/Book) ตัวหนา (Heavy) ตัวแคบ (Condensed/Narrow) ตัวแคบพิเศษ ( Extra Condensed) ตัวขยาย (Extended/Expanded) ตัวขยายพิเศษ (Extra Extended)


๒. คำ�

ตัวอักษรต่างๆ มาประกอบเกิดเป็นคำ�ต่างๆ เมื่อคำ�มารวมกันก็ ทำ�ให้เกิดช่องไฟ หรือช่องว่างระหว่าง ตัวอักษร คำ� และระหว่าง บรรทัด ช่องไฟระหว่างตัวอักษร (Letter Spacing) การกำ�หนดระยะช่องไฟระหว่างตัวอักษรแต่ละตัว ที่จะต้องมี ระยะห่างกันพองาม ไม่ติดกันหรือห่างกันเกินไป การเว้นระยะ ช่องไฟแต่ละตัวไม่ควรกำ�หนดค่าว่าต้องห่างเท่าใด เพราะตัว อักษรแต่ละตัวมีลักษณะที่แตกต่างกัน เราควรจัดช่องไฟโดย คำ � นึ ง ถึ ง ปริ ม าตรที่ มี ค วามสมดุ ล โดยประมาณในระหว่ า งตั ว อักษร หรือที่เรียกว่า ปริมาตรความสมดุลทางสายตา ช่องไฟระหว่างคำ� (Word Spacing) ระยะระหว่างคำ�โดยทั่วไป จะเว้นระยะระหว่างคำ�ประมาณ 1 ตัวอักษรปกติ ถ้าระยะห่างเกินไปจะทำ�ให้อ่านยาก และถ้าชิด กันเกินไปทำ�ให้ดูอึดอัด ไม่มีช่องว่างในการพักสายตา

21

๓.

บรรทัด

ตัวอักษรต่างๆ นำ�มาประกอบเกิดเป็นคำ�ต่างๆ เมือ่ คำ�หลายๆ คำ� มารวมกันก็ทำ�ให้เกิดช่องไฟ หรือช่องว่างระหว่าง ตัวอักษร คำ� และระหว่างบรรทัด

ช่องไฟระหว่างบรรทัด = 60/63

Font Size Leading

ช่องไฟระหว่างบรรทัด = 60/60 *ในกรณีที่Leading=0 เรียกการ จัดแบบนี้ว่า Set Solid

ค่าของช่องไฟระหว่างบรรทัดคือ ขนาดของตัวอักษร+ขนาดความสูงของช่องไฟ

ช่องไฟระหว่างบรรทัด (Line Spacing) แนวคิดของการเว้นระยะระหว่างบรรทัด มีจุดประสงค์เพื่อให้ อ่านง่าย ดูสวยงาม โดยปกติจะใช้ระยะห่าง 0-3 พอยต์ หลัก ส�ำคัญในการก�ำหนดระยะระหว่างบรรทัดให้วัดส่วนสูง และส่วน ต�่ำสุดของตัวอักษร เมื่อจัดวางบนบรรทัดแล้วต้องไม่ทับซ้อนกัน


วิธีจัดช่องไฟ ๑. ทฤษฎีการเททราย (The Sand Methid) : วิธีการสังเกต จากการสมมติว่าเททรายหรือน�้ำลงในช่องไฟระหว่างตัวอักษร ทั้ง 2 ด้านให้เท่ากัน เช่น ตัวอักษรที่มีเนื้อที่ด้านข้างค่อนข้างเยอะ เช่น ง จ จ�ำเป็นต้องปรับช่องไฟของตัวอักษรต่อไปเขยิบเข้ามา ตัวอักษรที่มีรูปทรงโค้ง เช่น อ ฮ จ�ำเป็นต้องปรับ ช่องไฟให้ตัวอักษรต่อไปเขยิบเข้ามา ตัวอักษรที่มีรูปทรงตรง เช่น ท บ พ จ�ำเป็นต้องปรับ ให้ช่องไปให้ตัวอักษรต่อไปเขยิบออกไป

๔. Ligature : ส่วนใหญ่มักเจอในภาษาอังกฤษ เป็นการเชื่อม เส้นของตัวอักษรให้เข้าหากัน เช่น

๔. Tracking : การปรับช่องไฟของทั้งค�ำให้มีระยะห่างเพิ่มหรือ ลดเท่าๆกัน การปรับ Tracking อาจจะใช้ในตัวพาดหัวเพื่อเพิ่ม ระดับความส�ำคัญหรือความสวยงาม ไม่ได้ปรับ Tracking

22

ปรับ Tracking

๒. ทฤษฎีตัวอักษรสามตัว (Three Character Method) : วิธีจากการสังเกตเพื่อเปรียบเทียบตัวอักษร 3 ตัว เริ่มจากปรับ ช่องไปแรกของระหว่างตัวอักษรตัวแรกกับตัวทีส่ อง แล้วยึดหลัก ช่องไฟอันแรก แล้วจึงปรับช่องไฟตัวต่อไปให้เท่ากับอันแรก

๕. Kerning : การปรับช่องไฟของทั้งค�ำ 2 ค�ำ ให้มีระยะห่าง เพิ่มหรือลดเท่าๆกัน เพื่อท�ำให้อ่านง่ายขึ้น หรือท�ำให้ไม่เกิด Swamp (ช่องไฟที่ห่างมากเกินไป) หรือ Revier (เมื่อช่องไฟที่ ห่างในแต่ละบรรทัดมีจ�ำนวนมากจะท�ำให้คอลัมภ์นั้นมีช่องว่าง คล้ายแม่น�้ำ) ได้ ไม่ได้ปรับ Kerning

ยึดหลัก ช่องไฟอันแรก

ปรับให้ เท่ากัน

๓. Trimming : ส่วนใหญ่มักเจอในภาษาอังกฤษ เป็นการตัด ส่วนที่ยื่นออกมาออก เพื่อลดช่องไฟระหว่างตัวอักษร เช่น ตัดปลาย ทัง้ สองด้านออก

ปรับ Kerning


๔.

๓. การจัดเสมอหน้าหลัง (Justified)

ในการจัดวางหนังสือ ส่วนสำ�คัญเมื่อ คำ�มาเรียงต่อกันจนกลายเป็นประโยค เมื่อมีหลายประโยคมากขึ้น ก็เกิดเป็น พารากราฟที่ ต้ อ งจั ด วางเป็ น คอลั ม น์ ต่างๆ

การจัดให้ตัวอักษรอยู่ในลักษณะชิดด้าน ซ้ายและขวาของคอลัมน์ จ�ำนวนของค�ำ ในหนึ่งบรรทัดควรอยู่ที่ประมาณ ๕๐ ค�ำ หรือมากกว่า ไม่นบั รวมช่องไฟ ข้อดีของ การจั ด แบบนี้ คื อ ช่ ว ยในเรื่ อ งของการ อ่าน ดูเรียบง่าย แต่ไม่รบกวนสายตา จึง เหมาะกับงานที่มีข้อความยาวๆ แต่ข้อ เสียคือ ถ้าความกว้างของคอลัมน์แคบก็ จะยิ่งจัดยาก ท�ำให้เกิดช่องไฟที่ดูไม่สวย ติดต่อกับเป็นห้วงๆได้

คอลัมน์

๑. การจัดชิดซ้าย (Flush Left)

การจัดให้ตัวอักษรอยู่ในลักษณะชิดด้าน ซ้ายของคอลัมน์ มีข้อดีคือง่ายต่อการจัด เพราะช่ อ งไฟระหว่ า งค�ำจะสวย เกิ ด จังหวะทีส่ ม�ำ่ เสมอ ง่ายต่อการอ่านเพราะ รู้ว่าจุดตั้งต้นของบรรทัดต่อไปอยู่ที่ไหน แล้วขอบทางด้านขวาเรียกว่า Ragged Right ท�ำให้งานดูนา่ สนใจ แต่จะมีขอ้ เสีย คือถ้า Ragged Right ไม่ดี จะท�ำงาน งานได้ ดังนัน้ จึงต้องปรับช่องไฟและค�ำนึง ถึงขนาดของคอลัมน์ก็ต้องไปเล็กเกินไป

๒. การจัดชิดขวา (Flush Right)

การจัดให้ตัวอักษรอยู่ในลักษณะชิดด้าน ขวาของคอลัมน์ มีข้อดีคือเหมาะส�ำหรับ ข้อความจ�ำนวนน้อยๆ ท�ำให้เกิดความ น่าสนใจใน Layout แต่มีข้อเสียคือ อ่าน ยาก หาค�ำตั้งต้นบรรทัดใหม่ยาก

๔. การจัดกึ่งกลาง (Centre) 23 การจั ด ให้ ตั ว อั ก ษรอยู ่ ใ นลั ก ษณะกึ่ ง กลางของคอลัมน์ ข้อดี คื​ือท�ำให้รูปร่าง ของคอลัมน์ดูเรียบหรู แต่ส่วนใหญ่มัก จะใช้ไม่บ่อย มักจะเหมาะกับงานที่มีข้อ ความน้อยๆ เพราะความยาวของแต่ละ บรรทั ด ที่ แ ตกต่ า งกั น มากจะท�ำให้ น ่ า สนใจ แต่มีข้อเสียตรงที่ยากต่อการหา บรรทัดต่อไป

๕. การจัดแบบอิสระ (Free Style)

ลักษณะการจัดที่ไม่ติดอยู่กับกฏเกณฑ์ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของงาน และ ความคิดของนักออกแบบ ส่วนใหญ่จะ ใช้ในกรณีที่ต้องการให้ตัวอักษรเป็นจุด สนใจ หรือตัวน�ำไปสู่จุดสนใจ การจัด แบบนี้จะได้ความงามที่แปลกออกไป


๕.

สัญลักษณ์

สั ญ ลั ก ษณ์ ใ นตั ว อั ก ษรก็ มี ค ว�มสำ � คั ญ เช่นกัน อ�จเป็นตัวเชื่อมระหว่�งคำ� หรือ ใช้เป็นองค์ประกอบในก�รตกแต่งก็ได้



จุด เส้น รูปทรง พื้นที่ว่าง 26

จุด

เป็นองค์ประกอบที่เล็กที่สุดในตำ�แหน่งของพื้นที่ว่าง สามารถ ทำ�หน้าที่แทนค่าถึงสิ่งต่างๆ ได้ และยังเป็นจุดเริ่มต้นของการ ดึงดูดความสนใจเพื่อนำ�เข้าสู่เนื้อหา จุดสามารถเชื่อมโยงไปถึง เส้นและการจัดองค์ประกอบระหว่างตัวอักษร ขนาดของจุด เป็นสิ่งสำ�คัญ จุดมีขนาดใหญ่เกินไปก็จะทำ�ให้เด่นชัดกว่าองค์ ประกอบสำ�คัญอื่นๆ จุด ๒ จุดที่อยู่ห่างกันก็จะทำ�ให้รู้สึกถึง ระยะที่ห่างกัน จุดที่รวมตัวกันหลายจุดทำ�ให้เกิดความรู้สึกถึง ความเป็นกลุ่มก้อนซึ่งจะให้พลังมากกว่าจุดเดียวและจุดที่เรียง ต่อกันหลายๆ จุดก็จะเกิดเป็นเส้น

เส้น ธรรมชาติของเส้นจะถูกก�ำหนดโดยพื้นที่รอบ คือมีเส้นหนึ่งเส้น แล้วล้อมรอบด้วยพื้นที่ว่าง เส้นเกิดจากจุดมาเรียงต่อกัน เส้นมี ความสัมพันธ์เชื่อมโยงไปถึงน�้ำหนัก ความหนาบาง เส้นที่มีน�้ำ หนักก็จะแสดงถึงความมั่นคง เส้นสามารถสื่อถึงอารมณ์ความ รู้สึกได้หลากหลาย และแสดงถึงการเคลื่อนไหวเส้นสามารถช่วย แบ่งข้อมูลออกจากกัน ช่วยเน้นในจุดส�ำคัญของเนื้อหาได้ และ บ่งบอกถึงทิศทางได้เช่นกัน


รูปทรง รูปร่างทรงเรขาคณิต แสดงพื้นที่ขอบเขตของรูปต่าง ๆ เช่น รูป วงกลม รูปสามเหลี่ยม หรือ รูปอิสระ แสดงเนื้อที่ของผิวที่เป็น ระนาบมากกว่าแสดงปริมาตรหรือมวล เป็นตัวเลือกที่น่าสนใจ ส�ำหรับงาน Typography สามารถสร้างรูปทรงที่สื่อความหมาย เชื่อมโยงไปถึงค�ำและภาพนั้นๆ ได้ หรือรูปทรงนามธรรมอื่นๆ สามารถน�ำมาเป็นกราฟิกช่วยได้ เช่น เป็นพื้นหลัง หรือเป็นรูป ร่างที่ค่อยๆหลุดหายไปจากขอบกระดาษ เป็นการเชื่อมไม่ให้มี พื้นที่ว่างมากเกินไป ท�ำให้งานไม่ดูตีกรอบ และไม่มีจุดสิ้นสุดอยู่ ที่หน้ากระดาษ

พืน้ ทีว่ า่ ง บริเวณว่างโดยรอบวัตถุ เรียกว่า พื้นที่ว่างทางลบ (Negative Space) และบริเวณว่างที่ตัวของวัตถุเรียกว่า พื้นที่ว่างทางบวก (Positive Space) พื้นที่ว่างในงาน Typography ช่วยให้งานดู ไม่อึดอัด ไม่หนาแน่จนเกินไป หรือช่วยให้มีจุดพักสายตาบ้าง เมื่ออ่านข้อความเป็นจ�ำนวนมากได้



Golden Section


30

ก�รออกแบบโดยใช้ระบบ Grid System เป็นทักษะเบื้องต้นที่ นั ก ออกแบบทั่ ว ไปควรจะต้ อ งรู้ เพื่ อ ที่ จ ะส�ม�รถเข้ � ใจองค์ ประกอบและคว�มสัมพันธ์ของสัดส่วนในง�น design ต่�งๆ ได้ หล�ยๆ สิ่งรอบตัวเร�ถูกออกแบบด้วยระบบ grid แม้กระทั่งง�น ท�งสถ�ปัตยกรรมต่�งๆ ผังเมือง ตบแต่งภ�ยนอก/ใน โปรแกรม พิมพ์ง�นต่�งๆ ก็มีระบบ grid แน่นอนง�นประเภท สิ่งพิมพ์ทุก ชนิด และปัจจุบันที่กำ�ลังมีบทบ�ทม�กนั้นคือ Website ล้วน ต้องใช้ grid กันทั้งนั้น Grid คือ ต�ร�งของเส้นที่จัดอย่�งเป็นแบบแผน ใช้เพื่อเป็น โครงในก�รกำ�หนดตำ�แหน่ง ขอบเขตบริเวณสำ�หรับบรรจุภ�พ เนื้อห� ช่องว่�งเปล่�และส่วนประกอบต่�งๆ ในก�รจัดรูปแบบ แต่ละหน้�ของง�นพิมพ์ ก�รสร้�งกริดเป็นพื้นฐ�นของสื่อสิ่ง พิมพ์แทบทุกรูปแบบเพื่อจัดรูปร่�งของเนื้อห�ให้อยู่ในสัดส่วนที่ สวยง�ม แม้ว่�จะมีผู้กล่�วว่�ก�รใช้กริดทำ�ให้จำ�กัดคว�มอิสระ ในก�รออกแบบ แต่ก�รใช้กริดเป็นก�รว�งโครงแบบหลวมๆ เป็นเครื่องมือในก�รทำ�ง�นโดยเฉพ�ะง�นออกแบบเป็นชุดเป็น เล่มที่ต้องก�รคว�มต่อเนื่อง คว�มเป็นเอกภ�พ ผู้ใช้ส�ม�รถ พลิกแพลงแบบได้ตลอดเวล� ไม่มีกฎบังคับให้องค์ประกอบ ต่�งๆ อยู่แต่เพียงภ�ยในกรอบที่จัดไว้ แต่ให้ดูผลง�นสุดท้�ย เป็นหลัก ก�รใช้กริดไม่ใช่สิ่งใหม่ นักออกแบบและศิลปินได้ใช้ โครงสร้�งกริดกันม�น�นนับศตวรรษแล้ว


Gutter Margin

Columns

Margins ขอบกระดาษ คือช่องว่างที่ อยู่ระหว่างขอบของพื้นที่ทำ�งานซึ่งมีตัว อักษรหรือภาพปรากฏอยู่กับขอบของ กระดาษทั้งสี่ด้าน ความกว้างจากขอบ กระดาษของช่องว่างนี้ไม่จำ�เป็นต้องเท่า กันทั้งสิ่ด้านแต่ควรเป็นแบบแผนเดียว กันทุกๆ หน้าในเล่มเพื่อความต่อเนื่อง มาร์จิ้นเป็นจุดพักสายตา แต่สามารถ ใช้เป็นที่ใส่เลขหน้า หัวเรื่อง คำ�อธิบาย ต่างๆ หรือบทความขยายสั้นๆ และอาจ ใช้เป็นที่ดึงดูดความสนใจ

31 Foilo

Columns คอลัมน์ คือโมดูลที่ต่อๆ กัน ในแนวตั้ง ซึ่งช่องว่างระหว่างคอลัมน์ ในหน้าออกแบบหนึ่งหน้าสามารถแบ่ง คอลัมน์ได้กี่แถวก็ได้ และความกว้างของ แต่ละคอลัมน์ก็ไม่จำ�เป็นต้องเท่ากันแล้ว แต่ผู้ออกแบบ

Gutter ช่องไฟระหว่างคอลัมน์ คือช่อง ว่างระหว่างโมดูลที่ติดกัน ช่องว่างอาจ ทอดยาวเป็นแนวตั้ง หรือแนวนอน หรือ อาจเป็ น ทั้ ง แนวตั้ ง และแนวนอนก็ ไ ด้ แต่ละแนวอาจมีความกว้างที่ต่างกันใน หน้าหนึ่งๆ ก็ได้ Foilo เลขหน้า สามารถใส่เลขหน้าไว้ใน ส่วนของ Margin ได้


รูปแบบต่างๆของ โครงสร้าง Grid รูปแบบพื้นฐานของกริดมีอยู่ 4 ประเภท รูปแบบพื้นฐานทั้งสี่ แบบนี้สามารถนำ�ไปพัฒนาสร้างแบบทั้งที่เรียบง่ายจนถึงแบบที่ พลิกแพลงซับซ้อนขึ้น

1.

Manuscript Grid 32

เป็นกริดที่มีโครงสร้างเรียบง่ายเป็นบล็อกใหญ่บล็อกเดียวหรือ คอลัมน์เดียว มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า บล็อกกริด (Block Grid) โดย ทั่วไป รูปแบบกริดประเภทนี้ใช้กับสิ่งพิมพ์ที่มีแต่เนื้อหาเป็นหลัก เช่น หนังสือนวนิยาย ตำ�รา จดหมายข่าว ฯลฯ แต่ก็สามารถนำ� ภาพมาวางประกอบ แม้จะเป็นรูปแบบที่เรียบง่ายแต่ก็สามารถ ปรับแต่งเลย์เอ้าท์ให้ดนู า่ สนใจได้ และไม่จ�ำ แจเมือ่ เปิดหน้าต่อหน้า


2.

Column Grid

เป็นรูปแบบกริดที่มีคอลัมน์มากกว่าหนึ่งคอลัมน์ในหนึ่งหน้า มักมีความสูงเกือบสุดขอบของชิน้ งาน ความกว้างของแต่ละคอลัมน์ ไม่จำ�เป็นต้องเท่ากัน กริดในรูปแบบนี้มักถูกนำ�ไปใช้ใน นิตยสาร แคตตาล็อก โบรชัวร์ การวางภาพในรูปแบบกริดประเภทนี้อาจ จะจัดวางให้มีความกว้างเท่ากับหนึ่งคอลัมน์หรือมากกว่าก็ได้

33


3.

Modular Grid

34

เป็นรูปแบบกริดที่ประกอบด้วยโมดูลหลายๆ โมดูลซึ่งเกิดจาก การตีเส้นตามแนวตั้งและแนวนอน หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ รูปแบบที่เกิดจากการแบ่งคอลัมน์ในคอลัมน์กริดตามแนวนอน ทำ�ให้เกิดเป็นโมดูลย่อย เป็นรูปแบบที่สามารถนำ�ไปจัดหน้า Layout ได้หลากหลาย สามารถประสมประสานภาพกับข้อความ เป็นชุดๆ จัดแบ่งเรื่องราวหลายๆ เรื่องมาอยู่ในหน้าเดียวกัน จัดภาพประกอบพร้อมคำ�บรรยายหลายๆ ชุดในหนี่งหน้าเหมาะ สำ � หรั บ สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ ต้ อ งการรู ป แบบที่ ป รั บ เปลี่ ย นง่ า ย เมื่ อ มี การจั ด ทำ � เป็ น ประจำ � อย่ า งต่ อ เนื่ อ งอย่ า งเช่ น หนั ง สื อ พิ ม พ์ และยังเหมาะกับงานพิมพ์ประเภทแคตตาล็อกสินค้าหรือบริการ แผ่ น พิ ม พ์ โ ฆษณาที่ ต้ อ งแสดงรายการสิ น ค้ า เป็ น จำ � นวนมาก เนื่องจากโมดูลาร์กริดเป็นรูปแบบที่ประกอบด้วยโมดูลย่อยๆ มี ความอิสระในการปรับแต่งเลย์เอ้าท์ได้สูง จึงมีการนำ�มาใช้ใน การออกแบบหน้าโบรชัวร์ แคตตาล็อก นิตยสารและหนังสือ ประเภทต่างๆ ด้วยเช่นกัน


4.

Hierarchical Grid

เป็นรูปแบบกริดที่มีโครงสร้างซับซ้อน ประกอบด้วยโมดูลได้ทั้ง ที่มีขนาดเท่ากันหรือแตกต่างกันมาจัดวางในหน้าเดียวกัน และ อาจมีการเกยกันของโมดูลบางชิ้น Hierarchical Grid เป็นรูป แบบที่ยากต่อการใช้งานในการที่จะทำ�ให้ Layout ที่ออกมาดูดี และลงตัว มักใช้ต่อเมื่อไม่สามารถใช้กริดรูปแบบอื่น ส่วนหนึ่ง ที่เลือกใช้เนื่องจากขององค์ประกอบต่างๆ ของ Layout มีความ แตกต่างค่อนข้างมาก เช่น อัตราส่วนของด้านกว้างกับด้านยาว ของภาพประกอบแต่ละภาพมีความแตกต่างกันมาก ข้อแนะนำ� ในการจัดทำ�รูปแบบ Hierarchical Grid วิธีหนึ่งคือ นำ�องค์ ประกอบต่างๆ ของแบบทั้งหมด เช่น ภาพประกอบ เนื้อหา หัว เรื่อง ฯลฯ มากองไว้ พิจารณาภาพรวม ค่อยๆ ทดลองจัดวาง โดยขยับปรับขนาดแต่ละองค์ประกอบจนดูแล้วลงตัว พอมีแนว เป็นหลักในการสร้างกริดใช้ร่วมกันทั้งชุด/เล่มของงานพิมพ์ แล้ว จึงลงมือทำ�งาน รูปแบบกริดประเภทนี้มักใช้ในการออกแบบ Website Webpage หน้าหนังสือ โปสเตอร์ และฉลาก ผลิตภัณฑ์ เป็นต้น

35


Golden Section สัดส่วนสมบูรณ์ หลักก�รของ Golden Section ได้รับก�รเอ่ยถึงม�ตั้งแต่สมัย “ยูคริด” แห่งกรีก (Euclid คือช�วกรีกผู้หนึ่งในสมัย 2,200 ปีก่อน ผู้ซึ่งให้ กำ�เนิดวิช�เรข�คณิต) แต่ยูคริดเรียกมันว่� Extreme and Ratio โดยเน้นคว�มหม�ยของมันในด้�นของวิช�คณิตศ�สตร์ ไม่ใช่คว�มง�ม คำ�ว่� Golden Section เป็นชื่อที่ถูกตั้งใน 2,000 ปีให้หลังในศตวรรษที่ 15 Luca Pacioli และ Leonardo da Vinci เรียกมันว่� Divine Proportion (สัดส่วนศักดิ์สิทธิ์) คำ�ว่� “Golden” ถูกนำ�ม�ใช้อีกในปี 1835 ในหนังสือของนักคณิตศ�สตร์ Martin Ohm และยิ่งเป็น ที่รู้จักกันม�กขึ้นในนวนิย�ยเรื่อง The Da Vinci Code ของแดนบร�วน์ คำ�นี้เรียกได้หล�ยอย่�งเช่น Golden Proportion, Golden Ratio, Golden Number, Golden Mean 36

Golden Section คือสัดส่วน 0.618:1 เท่�กับ 1.61803 39887 49894 84820 ซึ่งถูกเรียกว่� Phi โดยอนุโลมสัดส่วน 2:3, 5:8, 8:13, 89:144 ให้เป็นสัดส่วนที่สมบูรณ์ ช�วกรีกเชื่อว่�มันเป็นสัดส่วนพื้นฐ�นของคว�มง�มของสรรพสิ่งในจักรว�ลและกฎแห่งธรรมช�ติ เชื่อ กันว่�พีร�มิดอียิปต์ก็สร้�งด้วยสัดส่วนนี้ Pythagoras นักคณิตศ�สตร์กรีกบอกว่�มันเป็นสัดส่วนพื้นฐ�นของร่�งก�ยมนุษย์


สัดส่วนทีส่ วยง�มทีส่ ดุ บนธรรมช�ติทสี่ ร้�งสรรค์

สัดส่วน Golden Section อยู่ในสัดส่วน นี้ทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต สัดส่วนนี้ถูก ค้นพบในร่�งก�ยมนุษย์ ในแร่ธ�ตุ พืช สัตว์ ดนตรี สรุปว่�สัดส่วนนี้อยู่ในสรรพ สิ่งที่งดง�ม


สัดส่วนทีส่ วยง�มทีส่ ดุ บนร่�งก�ยมนุษย์ อัตร�ส่วนของสัดส่วนหน่วยโครงสร้�งร่�งก�ยมนุษย์ เช่น ระยะจ�กหัวถึงพื้นห�รด้วยระยะจ�กสะดือถึงพื้น ระยะจ�กไหล่ถึงปล�ยนิ้ว มือห�รด้วยระยะจ�กข้อศอกถึงปล�ยนิ้วมือ หรือระยะจ�กสะโพกถึงพื้นห�รด้วยระยะจ�กหัวเข่�ถึงพื้น เป็นต้น

1 13

8

1 21

1.618

55

34

1.618

1.618 Ear 1

5 3


Golden Section มีความสัมพันธ์กับเลข Fibonacci Sequence ซึ่งเป็นตัวเลขที่สร้างขึ้นจากการเริ่มต้นที่เลข 0, 1 และต่อเนื่องด้วย เลขใหม่ที่เป็นผลมาจากผลรวมของเลขสองตัวแรกคือ 0+1 = 1, 1+1 = 2, 1+2 = 3, 2+3 = 5 ... ทำ�ให้เกิดการเรียงลำ�ดับ 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34, 55, 89, 144, 233 ... 55

34

89

8 5 21

13

3


“เลือกใช้ฟอนต์ ให้เหมาะสม


41

ตัวอักษรแต่ละแบบ ล้วนมี บุคลิกของมัน อยู่ที่เร�จะ เลื อ กใช้ บุ ค ลิ ก ของมั น ให้ เหม�ะสมกับง�นของเร�


ตัวอักษรเป็นส่วนหนึ่งที่สำ�คัญของการสร้างเอกลักษณ์ ให้ กั บ งานนั้ น ๆ ตั ว อั ก ษรถื อ เป็ น ภาพของคำ � ที่ แ สดง เรื่องราวเกี่ยวกับคำ�นั้นๆ ซึ่งสามารถสื่อความหมายของ คำ�นั้นๆออกมาได้ด้วยแบบของตัวอักษรนั้นๆ

คุณสมบัตขิ องฟอนต์ทดี่ ี

42

ฟอนต์ที่มี “หัวกลมโปร่ง” อย่างอักษรไทยแท้ที่เป็นตัวเนื้อนั้น มี ข้อสังเกตตามคุณสมบัติ ดังนี้ ๑. ได้มาตรฐาน ถูกอักขรวิธีไทย, ถูกหลักมาตราฐานตัวพิมพ์ สากล ๒. อ่านง่าย ชัดเจนไม่สับสน ๓. ใช้สะดวก มีชุดของตัวอักษรเพียงพอ พร้อมชุดอักษรภาษา อังกฤษที่กลมกลืน ๔. ประหยัด มีขนาดตัวพิมพ์กระชับ ประหยัดพื้นที่ทั้งแนว ระดับและแนวนอน ๕. สวยงาม มีความกลมกลืนระว่างรูปลักษณ์อักษรทั้งชุด มี ความสม�่ำเสมอของน�้ำหนัก (ความหนาบาง) ตัว อักษร, ความสูง, ช่องไฟ

ฟอนต์ที่มี “พาดหัว” ใช้งานพาดหัวหรือคำ�โปรยสั้นๆ มีข้อ สังเกตตามคุณสมบัติ ดังนี้ ๑. มีบุคลิกชัดเจน เป็นไปได้ตั้งแต่สวยงามถึงน่าขยะแขยง ๒. ได้มาตราฐาน อาจดัดแปลงให้ออกนอกลู่ทางได้มากน้อย ตามบุคลิกตัวอักษร ๓. อ่านออก ไม่ต้องถึงกับอ่านง่ายแบบตัวเนื้อ ๔. ใช้สะดวก มีชุดของตัวอักษรเพียงพอ พร้อมชุดอักษร ภาษาอังกฤษที่กลมกลืน ๕. ประหยัด ไม่สู้เคร่งครัด แล้วแต่บุคลิกตัวอักษร

ท�ำไมส่วนเนือ้ หาต้องใช้ฟอนต์มหี วั ค�ำตอบง่ายๆคือ เป็นความเคยชินของคนไทย ตั้งแต่เริ่มหัดอ่านเขียน ตัวพิมพ์ในต�ำราเรียน เนื้อความในหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร ฯลฯ ล้วนแต่ใช้ตัวมีหัว เพราะถ้าตางจากนี้จะไม่ชินตา ท�ำให้การอ่านแล้วจับใจความได้ยากกว่า หรืออีกนัยหนึ่งคือ มันเป็นรากฐานทาง วัฒนธรรม เป็นศิลปะแห่งภูมิปัญหา หัวอักษรกลมๆของอักษรไทย ถือเป็นเอกลักษณ์เด่นของรูปลักษณะอักขระไทย ท�ำหน้าที่แยกแยะแต่ละตัวออกจากกันได้ชัดเจนและ ง่ายต่อการจดจ�ำ เมื่อน�ำมาใช้เป็นตัวเนื้อความจะท�ำให้สามารถอ่านยาวๆ ได้ด้วยความเร็วค่อนข้างคงที่และเก็บรายละเอียดของเนื้อหา ได้ดีกว่าตัวอักษรทีไ่ ม่มหี วั หลมเพราะเราต้องสูญเสียสมาธิในการแปลภาพตัวอักษรนัน้ ๆเป็นค�ำอ่านและจึงแปลค�ำอ่านนัน้ เป็นความหมาย ได้อกี ทอด หนึ่ง เมื่ออ่านไปซักพัก สมาธิจะเริ่มตกโดยเฉพาะตัวพิมพ์ที่ห่างไกลตัวตนของอักขระเดิมของไทยมากเท่าไหร่ ก็จะส่งผลต่อ สายตามากขึ้น ท�ำให้สายตาล้า และไม่อยากอ่านเนื้อความนั้นๆต่อไปได้


ฟอนต์ไทยมีเยอะ

“ตัวอักษรมีไว้อ�่ น”

ฟอนต์เป็นของทำ�ง่�ย ใครคิดจะทำ�เองก็ได้ต่�งจ�กสมัยก่อนที่ ตัวเรียงตะกั่วไทยต้องทำ�เป็นแบบหล่อเป็นตัวๆ ตัวเรียงคอมพิ วกร�ฟิคก็ต้องส่งแบบตัวพิมพ์ไปเมืองนอกให้ฝรั่งทำ� แต่ด้วย โปรแกรมก�รออกแบบฟอนต์ไทย (ซึ่งใช้หลักก�รใกล้เคียงกับ ตัวอักษรโรมันในภ�ษ�อังกฤษ) ทำ�ให้ใครๆก็มีสิทธิ์ออกแบบ ฟอนต์เป็นของตัวเองได้

Readability กับ Leadibility เป็นศัพท์ ๒ คำ�ที่ฟอนต์ที่ดีควรมี หม�ยถึง คว�มอ่�นได้ กับ คว�มอ่�นง่�ย และลองเปรียบเทียบ ถึงลักษณะฟอนต์นั้น ฟอนต์ประเภทที่ใช้กับเนื้อคว�มจะต้อง เป็นฟอนต์ที่อ่�นง่�ย และส่วนฟอนต์ประเภทใช้พ�ดหัว อ�จจะ ประดิษฐ์ให้ดูแตกต่�งม�กเท่�ไหร่ แต่ก็ต้องคงพื้นฐ�นของคว�ม อ่�นออก หรือ อ่�นได้ เอ�ไว้

ฟอนต์เป็นของทำ�ง่�ย แต่ทำ�ให้ดีนั้นย�ก เนื่องจ�กตัวอักษรไทย มี ๔ ชั้นวรรณะ มีรูปสระระบบรอบทิศท�ง ทั้งบน ล่�ง หนน้� หลัง ตัวพยัญชนะม�กม�ยถึง ๔๔ ตัว จึงเป็นเรื่องน่�ปวดหัวกว่� จะออกแบบแต่ละรุ่นให้ได้คุณภ�พ ฟอนต์แพร่กระจ�ยง่�ย ควมคุมคุณภ�พได้ย�ก เพร�ะต่�งคนก็ ต่�งทำ�ฟอนต์ และแพร่กระจ�ยได้อย่�งรวดเร็วจ�กก�รแจกฟรี หรือกอปปีต่อๆกัน 43

ฟอนต์ที่ดี คือตัวอักษรที่มีไว้อ่�น อ่�นได้ และ อ่�นง่�ย จึงจะเรียก ว่� ฟอนต์ที่ดี ฟอนต์อ�่ นง่�ยขึน้ อยูก่ บั อะไร ๑. ขึ้นอยู่กับช่องไฟของตัวอักษรว่�กว้�งพอไหม ถ้�ชิดเกินไปจะอ่�นย�กที่ขน�ดตัวพิมพ์อักษรเล็กๆ เช่น ๑๐ พอยต์ ในท�งตรงกันข้�ม ถ้�ช่องไฟโปร่งเกินไป แม้ขน�ดตัวอักษรจะใหญ่ ๑๖ พอยต์ ก็จะกว�ดส�ยต�อ่�นขบแต่ละบรรทัดได้ช้�ลง ๒. ขึ้นอยู่กับคว�มเคยชินของมนุษย์ ห�กดูไม่คุ้นต�ก็จะอ่�นไม่ค่อยคล่อง ๓. ขึ้นอยู่กับรูปลักษณ์ตัวอักษรแต่ละตัวว่�ออกแบบให้มีคว�มชัดเจนดูแตกต่�งกัน ในก�รออกแบบฟอนต์นั้น ต้องอ�ศัยประสบก�รณ์จ�กก�รเฝ�สังเกตทดลอง ออกแบบให้ดูคุ้นต� ไม่แปลกต่�งม�กจนเกินไป และคำ�นึง ถึงรูปลักษณะของตัวอักษรที่มีคว�มคล้�ยคลึงกันให้ดูแตกต่�งกันอย่�งชัดเจน


ตารางอักษสัมพันธ์ สูท่ ฤษฎีคสู่ บั สน 44

เมื่อจับตัวอักษรทุกตัวมาเรียงปะติดปะต่อกันเข้าในตารางคล้ายการเล่น Croddword โดยยึดกติกาง่ายๆ ว่าตัวที่อยู่ข้าง เคียงกัน ไม่ว่าจะบน ล่าง หน้า หลัง จะต้องมีลักษณะร่วมของรูปลักษณ์อักษร เรียงจบแล้วก็ตั้งชื่อว่า “ตารางอักษรสัมพันธ์” ซึ่งหมายถึง ตารางที่แสดงความสัมพันธ์ของตัวอักษร จากตารางการเปรียบเทียบนี้ เราสามารถสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจนว่า ในภาษาไทยมีตัวอักษรหลายตัวที่มีรูปลักษณะ คล้ายคลึงกับตัวอักษรตัวอื่น ซึ่งอาท�ำให้สับสนได้ในกรณีที่ใช้งานขนาดตัวอักษรเล็กๆ ถ้าตัวอักษรที่ออกแบบมาไม่ดีอาจจะดูคล้ายคลึง จนแยกไม่ออกได้ ซึ่งตารางอักษรสัมพันธ์นี้จะสามารถช่วยให้ออกแบบได้เป็นระบบ ให้เสร็จเป็นกลุ่มตามรูปลักษณะที่สัมพันธ์กัน

ตารางแสดงตัวอย่างคูส่ บั สนของตัวพิมพ์เนือ้ ภาษาไทยข้อแนะน�ำ ตัวอย่างคู่สับสน

ข้อแนะน�ำในการออกแบบ

ช-ซ ด-ต

เส้นหยักจะต้องชัดเจน

ล-ส ค-ศ

หมายเหตุ ม - ฆ และ ท - ฑ ไม่ใช่คู่สับสน เพราะขนาดหัวต่างกันมาก

เพิ่มหางให้ล�้ำเข้าไปในตัวอักษร

เวลาตัว ส ศ ประสมกับสระอิ อี ถ้าลักษณะไม่ชัดเจนเวลาหางเชื่อม ติดกับสระ จะท�ำให้ดูยาก

เส้นหัวของไม้โทต้องชัดเจน ปลายเชิดกว่าไม้หันอากาศ

ในขนาดตัวอักษรเล็กๆ อาจสับสน และเดาไม่ออก โดยเฉพาะถ้าเป็น ค�ำเฉพาะที่เราไม่คุ้น


เลือกฟอนต์อย่�งไรให้เหม�ะสม ในก�รออกแบบให้สวยง�มนั้น สิ่งที่สำ�คัญอย่�งหนึ่งที่เร�ไม่ควร จะมองข้�มเลย ก็คือ ตัวอักษร หรือ Font ซึ่งก�รจะเลือกตัว อักษรให้เหม�ะสมกับง�นของเร�จะยิ่งส่งเสริมให้ง�นของเร�ดูดี สวยง�ม ดูกลมกลืน ไม่ขัดส�ยต�

หลักก�รเลือก font ๑. สำ�หรับง�นทั่วไป พย�ย�มเลือก font ที่เข้�ใจได้ง่�ย อ่�น ง่�ย ดูแล้วอ่�นออกทันที จะทำ�ให้เร�ส�ม�รถสื่อใจคว�มสำ�คัญ ของง�นออกม�สู่ผู้ชมได้เร็วครับ ๒. ก�รออกแบบแนวศิลป อ�จใช้ font ที่ดูมีคว�มหม�ย ดูแล้ว ได้อ�รมณ์ถึงคว�มหม�ยของง�น กลมกลืนเข้�กับง�นได้ ควร เลือกใช้ให้เหม�ะสมและเข้�กับง�นม�กที่สุด ๓. ควรเลือกฟอนต์หล�ยๆ แบบเพื่อเปรียบเทียบกันว่�อันไหน เหม�ะสมที่สุด เร�ก็เลือกใช้อันนั้นบ�งที font แบบนึงอ�จจะ สวยเมื่อทำ�กับง�นนึง แต่อีกง�นอ�จจะดูไม่สวยก็ได้ ๔. เลือกใช้ฟอนต์ที่มีนำ้�หนักของตัวอักษรที่ดูแล้วเท่�กัน ไม่มีจุด ใดจุดหนึ่งเข้มจนเกินไปจนเกิดเป็นจำ้�นำ้�หนักได้ ๕. เลือกใช้ฟอนต์ที่มีครอบครัวตัวอักษรรองรับ เพื่อก�รใช้ง�นที่ หล�กหล�ย จริงๆ แล้วไม่มีกฏต�ยตัวสำ�หรับก�รเลือกใช้ฟอนต์ เพียงแค่เร� ยึดหลักที่ว่� “เลือกใช้ให้ดูแล้วเหม�ะสม ดูกลมกลืน เข้�กับ อ�รมณ์ของง�น” ทั้งนี้ เร�ต้องคำ�นึงถึงด้วยว่� ง�นของเร�นั้น เป็นท�งก�รหรือไม่ท�งก�ร เช่นเอกส�รสำ�คัญๆ เร�ก็ควรเลือก ใช้ที่ดูเป็นท�งก�ร อ่�นง่�ย สะอ�ดต� แต่ในท�งกลับกัน ห�ก เป็นง�นที่ต้องเน้นก�รออกแบบ คว�มสวยง�ม เร�ก็ส�ม�รถ เลือกใช้ฟอนต์ประเภท Display Font ได้

45

ไม่ มี ก ฏต�ยตั ว เพี ย ง แค่เร�เลือกใช้ฟอนต์ให้ ดูเหม�ะสมกลมกลืน เข้�กับอ�รมณ์ของง�น


46


ครอบครัวตัวพิมพ์ไทยและครอบครัวตัวพิมพ์ฝรัง่ ฟอนต์ที่เหมาะสมจะเป็นตัวเนื้อในนั้น ควรมี “ครอยครัว” (Family) ของมัน ในภาษาอังกฤษตัวอักษรอังกฤษตัวอักษร โรมันจะมีครอบครัวอย่างน้อย ๔ ตัว คือ ตัวปกติ (Normal) ตัวหนา (Blod) ตัวเอียง (Italic) และตัวหนาเอียง (Bold Italic) ครอบครัวตัวพิมพ์ไทยเองก็มีย่างน้อย ๔ ตัวเช่นเดียวกัน คือนอกจากจะมีตัวเนื้อธรรมดาๆ แล้วยังสามารถใช้ตัวเน้นได้ อีก ๓ ลักษณะ เช่น อาจใช้ตัวเน้นวลีในเนื้อความ ใช้ตัวหนาเป็นหัวข้อหลัก ใช้ตัวหนาเอียงเป็นหัวข้อรอง ในอดี ต สมั ย ที่ ค อมพิ ว เตอร์ ยั ง ไม่ มี บ ทบาททต่ อ งานพิมพ์เท่า ปัจจุบนั นัน้ การกะเกณฑ์ขนาดตัวอักษรภาษาอังกฤษ ทีผ่ สมอยูใ่ น เนือ้ ความภาษาไทยเป็นเรือ่ งยุง่ ยาก คนท�ำงานศิลปะด้านสิ่งพิมพ์ จ�ำเป็นต้องค�ำนวณเปรียบเทียบสัดส่วนขนาดของพอยต์ระหว่าง ตัวพิมพ์ไทยกับตัวพิมพ์โรมันทุกครั้งที่จะส่งตัวพิมพ์เรียงไปยัง ร้านที่รับเรียงพิมพ์ด้วยระบบคอมพิวกราฟิค ตัวอย่างเช่น เคยใช้ รุ่นธรรมดา ๑๔ พอยต์ คู่กับ Helvetica ๑๐ พอยต์ แล้วดูดี ใน ขณะที่รุ่นธรรมดาเปลี่ยนเป็น ๒๘ พอยต์ Heveltica ก็ควรเป็น ๒๐ พอยต์ แต่ถ้าใช้รุ่นธรรมดาที่ขนาด ๓๖ พอยต์ ก็ต้องเทียบ บัญญัติไตรยางค์หาค่าพอยต์ Helvetica ที่เหมาะสมให้ถี่ถ้วน

ดังนั้นการจับคู่ของตัวิักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษจะต้อง ค�ำนึ ง ถึ ง ความสู ง และหาความสั ม พั น ธ์ ก ลมกลื น ระหว่ า ง อักษระ ๒ ภาษา ดูสัดส่วนของสูงบ. และ X-height แต่ละคู่ควร เป็นเท่าใด เกณฑ์ง่ายๆ ก็คือ X-height จะต้องเตี้ยกว่า สูง บ. เล็กน้อย

47

จาก x-height ถึง สูง บ. ในภาษาอังกฤษ ตัวอักษรโรมัน x เป็นตัวที่ไม่มีส่วนยื่นขึ้นเหมือน d f หรือยื่นลงเหมือน g p อีกทั้งตัวปกติโดยทั่วไป ตัว x จะถูกออกแบบให้ปลายตัดตรงตามแนวระดับเสมอ ต่างจากตัวอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น a c e m n o r s u v w ล้วนมีส่วนโค้ง มุมแหลม ล�้ำ เกินเส้นบนและเส้นฐานของตัว x เล็กน้อย (เป็นการแก้ลวงตาให้ดูแล้วความสูงเท่ากัน) จะมีตัว z เท่านั้นที่สูงเท่า แต่ x มาก่อนเลยต้อง เรียกระดับความสูงมาตราฐานของตัวพิมพ์ตัวเล็กว่า x-height ในภาษาไทยต้องถือว่าตัวอักษร บ มีความสูงเสมอเส้นบนและเส้นฐานพยัญชนะพอดี โดนดูที่เส้นหลัง ส่วนตัวอื่นๆ ล้วน ดูยากกว่า บางตัวมีเส้นบนโค้ง เช่น ก ค บางตัวมีเส้นล่างโค้ง เช่น อ ย จึงเรียกระดับความสูงมาตราของไทยว่า สูง บ

เส้นกรอบบน เส้นบนสระบน Ascender Meanline

เส้นบนพยัญชนะ

ชัน้ วรรณยุกต์บน ชัน้ สระบน วรรณยุกต์ปกติ

ชัน้ พยัญชนะ Baseline

เส้นฐานพยัญชนะ

Descender

ชัน้ สระล่าง เส้นกรอบล่าง


48

“กฏ ๑๙ ข้อ บทพิสูจน์แห่งกาลเวลา



กฎเหล่�นี้ เป็นหลักสังเกต ที่จะช่วยให้ง�นไทโปกร�ฟฟิค สวยและอ่�นง่�ย กฎเหล่�นี้ มิใช่กฎต�ยตัว อย่�งไรก็ต�มคุณควรทำ�คว�มเข้�ใจกฎพื้นฐ�นเหล่�นี้อย่�งลึกซึ้ง ก่อน คิดทำ�ก�รแหกกฎ กฎทั้งหมดเป็นกฏที่เอ�ไว้ใช้ในหลักของภ�ษ�อังกฤษ ดังนั้นเร�ควรเรียนรู้เพื่อส�ม�รถ นำ�ม�ปรับใช้ในภ�ษ�ไทยได้ด้วยเช่นกัน

Rule 1 For optimum legibility, choose classical, time-tested typefaces with a proven track record.

Rule 2 Be mindful not to use too many different typefaces at a time.

ข้อที่ ๑ ใช้ Typeface ที่คล�สสิค นิยม ใช้กันม�น�น

ข้อที่ ๒ อย่�ใช้ Typeface หล�ยแบบ เกินไป ลงในง�นเดียวกัน

Typeface ที่ดีจะมีสัดส่วนสวย ดูเท่� กัน สมำ่�เสมอ และอ่�นง่�ย

ก�รใช้ Typeface คือก�รสร้�งคว�ม โดดเด่น แตกต่�งใน text ถ้�ใช้ม�กเกิน ไป จะวุ่นว�ย และมองไม่ออกว่�ส่วน ไหนสำ�คัญกันแน่

50

เช่น กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิก มีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�ไวย�กรณ์มี ¤ÇÒÁÅÐàÍÕ´ ม�กน้อยเพียงใด รวมถึง คว�มสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ � ง คํ า และรู ป ภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยค ที่ จ ะจั ด ว�งในง�นไทโปกร�ฟิ ก เป็ น สิ่งสำ�คัญ ใช้หล�ย Typeface จนสับสนวุน่ ว�ย

กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิก มีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�äÇÂҡó์มี คว�มละเอียดม�กน้อยเพียงใด รวมถึง คว�มสัมพันธ์ระหว่�ง ¤í Ò áÅÐÃÙ » ÀÒ¾ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง ÃÙ»»ÃÐ⤠ที่ จ ะจั ด ว�งในง�นไทโปกร�ฟิ ก เป็ น สิ่งสำ�คัญ ก�รใช้ Typeface หล�ยๆ แบบไว้ดว้ ยกัน ไม่ควรใช้เกิน 2-3 แบบ และควรเลือก ใช้อย่�งพิถพี ถิ นั โดยใช้ Typeface ทีม่ คี ว�มแตกต่�งกันค่อนข้�งม�ก


Rule 3 Avoid combining typefaces that are too similar in appearance.

ข้อที่ ๓ ไม่ควรใช้ Typeface ที่คล้�ย กันเกินไป ไว้ด้วยกัน เมื่อคว�มแตกต่�งน้อยเกินไป จะทำ�ให้ ดูผิดปกติ และกำ�กวม ไร้เหตุผล

เช่น กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิก มีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�ไวยากรณ์มี คว�มละเอียดม�กน้อยเพียงใด รวมถึง คว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คําและรูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยค ที่ จ ะจั ด ว�งในง�นไทโปกร�ฟิ ก เป็ น สิ่งสำ�คัญ ใช้ Typeface ทีม่ คี ว�มคล้�ยกันจนเกินไป จนทำ�ให้ดไู ม่ออกว่�ต้องก�รเน้นจุดไหน

กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิก มีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�ไวย�กรณ์มี คว�มละเอียดม�กน้อยเพียงใด รวมถึง คว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คำ�และรูปภ�พ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยค ที่ จ ะจั ด ว�งในง�นไทโปกร�ฟิ ก เป็ น สิ่งสำ�คัญ ท�งออกทีด่ อี กี ท�งหนึง่ คือ ก�รใช้ Typeface แบบเดียว แต่เน้นด้วย ก�รเปลีย่ นนำ�้ หนัก(weight-bold) หรือ คว�มเอียง(slant-Italic)

51


52

Rule 4 Text set in all capital letters severely retards reading. Use upper- and lower-case letters for optimum readability.

Rule 5 For text type, use sizes that according to legibility studies prove most readable.

ข้อที่ ๔ ใช้ Upper-Case/ LowerCase ใน text

ข้อที่ 5 ใช้ขนาดตัวอักษรที่เหมาะสม

การใช้ตัวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่ มี กรอบ และรูปร่าง ที่คุ้นตากว่า ทำ�ให้ อ่านได้ง่ายและรวดเร็ว การใช้ Upper-Case อย่างเดียว เหมาะ สำ�หรับ Display Type เช่น หัวข้อ ซึ่งเน้นดีไซน์ มากกว่าอ่านง่าย

ตามมาตรฐานแล้ ว ขนาดตั ว อั ก ษรที่ เหมาะสม สำ�หรับใช้กับ text ที่อ่านใน ระยะ 12-14 นิ้ว คือในภาษาอังกฤษ ขนาด 8-12 points ส่วนภาษาไทย ขนาด 10-14 points

ในภาษาไทยก็เช่นเดียวกัน การใช้ตัวอักษรที่มีหัว จะมีรูปร่างที่คุ้น ตามากกว่า ทำ�ให้อ่านง่ายและรวดเร็ว การใช้ตัวอักษรที่ไม่มีหัวอย่างเดียว เหมาะสำ�หรับเป็น Display Type หรือ หัวข้อย่อย หรือข้อความสั้นๆ มากกว่า เนื้อหาที่มีข้อความยาวๆ

แต่ละ Typeface แม้จะตั้งขนาดเท่ากัน แต่อาจดูแล้วรู้สึกว่าไม่เท่ากัน ซึ่งเป็นไป ตาม ความแตกต่างของ ขนาด x-height (ความสูงช่วงตรงกลางของตัวอักษร ไม่ รวมส่วนหาง ซึ่งก็คือความสูงของตัว x)


Rule 6 Avoid using too many different type sizes and weights at the same time. ข้อที่ 6 อย่�ใช้ Typeface หล�ยขน�ด หล�ยนำ้�หนักม�กเกินไป เน้นใช้สำ�หรับบ่งบอกลำ�ดับก�รรับส�ร และโดยทั่วไปแล้วไม่จำ�เป็นต้องใช้เกิน 2 size คือใช้สำ�หรับหัวข้อ 1 size และ เนื้อห� 1 size ก�รควบคุมขน�ดตัวอักษร ช่วยให้ง�นมี ฟังก์ชั่นที่ดี และน่�สนใจ

เช่น ก�รจัดว�งตัวอักษร กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิก มีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�ไวย�กรณ์มี คว�มละเอียด ม�กน้อยเพียงใด รวมถึง คว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คำ�และรูปภ�พ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยค ที่ จ ะจั ด ว�งในง�นไทโปกร�ฟิ ก เป็ น สิ่งสำ�คัญ ใช้หล�ย Typeface จนสับสนวุน่ ว�ย

ก�รจัดว�งตัวอักษร กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิก มีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�ไวย�กรณ์มี คว�มละเอียด ม�กน้อยเพียงใด รวมถึง คว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คำ�และรูปภ�พ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยค ที่ จ ะจั ด ว�งในง�นไทโปกร�ฟิ ก เป็ น สิ่งสำ�คัญ หัวข้อ และ text เมือ่ ใช้ขน�ดเดียวกัน ก็ดดู ไี ด้ เมือ่ เว้นระยะห่�งทีเ่ หม�ะสม ก�รใช้ขน�ด 2 ขน�ดทีแ่ ตกต่�งกัน ทำ�ให้ เกิดลำ�ดับก�รเน้นทีช่ ดั เจน เมือ่ ใช้หล�ยขน�ดม�กเกินไป ง�นดูสะเปะ สะปะ ไร้จดุ หม�ย

53


Rule 7 Use text types of book weight. Avoid typefaces appearing too heavy or too light. ข้อที่ 7 ใช้ตัว Typeface ที่มีน้ำ�หนัก ป�นกล�ง เหม�ะสำ�หรับใช้กับพิมพ์ หนังสือ (Book weight) 54

เช่น กฏของการทดลองของจัดไทโปก ราฟ�กมีขอบเขตอยู ที่ภาษานั้นว า ไวยากรณ มีความละเอียด มากน อย เพ�ยงใด รวมถึงความสัมพันธ ระหว าง คําและรูปภาพ นักออกแบบ จะต องคํานึงถึง รูปประโยคที่จะจัด วางในงานไทโปกราฟ�กเป นสิ�งสําคัญ หน�แน่นเกินไป ดูขดั ต� อ่�นย�ก

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟ�ก มีขอบเขตอยู ที่ภาษานั้นว าไวยากรณ มี ความละเอียด มากน อยเพ�ยงใด รวมถึง ความสัมพันธ ระหว าง คําและรูปภาพ นักออกแบบจะต องคํานึงถึง รูปประโยค ที่จะจัดวางในงานไทโปกราฟ�กเป น สิ�งสําคัญ บ�งเกินไป กลืนไปกับพืน้ หลัง

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟ�ก มีขอบเขตอยู ที่ภาษานั้นว าไวยากรณ มีความละเอียด มากน อยเพ�ยงใด รวมถึงความสัมพันธ ระหว าง คําและ รูปภาพ นักออกแบบจะต องคํานึงถึง รูปประโยคที่จะจัดวางในงานไทโปกรา ฟ�กเป นสิ�งสําคัญ นำ�้ หนักทีพ่ อดีตอ่ ส�ยต�


Rule 8 Use typefaces of medium width. Avoid typefaces that appear extremely wide or narrow in width.

เช่น

ข้อที่ 8 ใช้ Typeface ที่มีคว�มกว้� งกล�งๆ ไม่กว้�งไป หรือผอมไป จนมี สัดส่วนไม่คุ้นต� 55

เลือกใช้จ�ก Type Family ซึ่งออกแบบ ไว้ด้วย สัดส่วนที่เหม�ะสม แทนก�รบีบ หรือยืดตัวอักษรเอง

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟ�ก มีขอบเขตอยู ที่ภาษานั้นว าไวยากรณ มีความละเอียด มากน อยเพ�ยงใด รวมถึงความสัมพันธ ระหว าง คําและ รูปภาพ นักออกแบบจะต องคํานึงถึง รูปประโยคที่จะจัดวางในงานไทโปกรา ฟ�กเป นสิ�งสําคัญ เปรียบเทียบให้เห็นถึง แบบ Rugular แบบ Condensed (บีบ) และExtended(ยืด) จะเห็นว่�เมือ่ ใช้ใน ข้อคว�มเยอะๆ ตัวอักษรแบบ Regular จะอ่�นได้ง�่ ยกว่�


Rule 9 For text type, use consistent letter and word spacing to produce an even, uninterrupted texture. ข้อที่ 9 ใช้ Typeface ที่ีขน�ดตัวอักษร และ space ที่มีคว�มสมำ่�เสมอ ช่องว่�งระหว่�งตัวอักษรควรมีสัดส่วน ที่ดี สมดุลกับช่องว่�งระหว่�งคำ� และ ประโยค เพื่อภ�พรวมที่ดูต่อเนื่อง ลื่น ต� ไม่สะดุด 56

เช่น กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิก มีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�ไวย�กรณ์มี คว�มละเอียด ม�กน้อยเพียงใด รวมถึง คว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คำ�และรูปภ�พ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยค ที่จะจัดว�งในง�นไทโปกร�ฟิกเป็น สิ่งสำ�คัญ กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิก มีขอบเขตอยูท่ ภ่ี �ษ�นัน้ ว่�ไวย�กรณ์มี คว�มละเอียด ม�กน้อยเพียงใด รวมถึง คว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คำ�และรูปภ�พ นัก ออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยคทีจ่ ะ จัดว�งในง�นไทโปกร�ฟิกเป็น สิง่ สำ�คัญ กฏของก�รทดลองของจัดไทโปก ร�ฟิกมีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่� ไวย�กรณ์มีคว�มละเอียด ม�กน้อย เพียงใด รวมถึงคว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คำ�และรูปภ�พ นักออกแบบจะต้อง คำ�นึงถึง รูปประโยคที่จะจัดว�งใน ง�นไทโปกร�ฟิกเป็น สิ่งสำ�คัญ เปรียบเทียบให้เห็นถึง 1. Letter และ Word Spacing ทีส่ มบูรณ์ 2. Letter และ Word Spacing แน่นไป 3. Letter Spacing และ Word Spacing หลวมไป


Rule 10 Use appropriate line lengths. Line that are too short or too long disrupt the reading process.

Rule 11 For text type, use line spacing that easily carries the eye from one to the next.

ข้อที่ 10 ใช้คว�มย�วบรรทัดทีเ่ หม�ะสม

ข้อที่ 11 กำ�หนดช่องว่�งระหว่�ง บรรทัด (Leading) ให้อ่�นง่�ย บรรทัดชัดเจน

ขน�ดบรรทัดที่สั้นไป ทำ�ให้ข้อคว�ม ไม่ต่อเนื่อง และต้องกว�ดส�ยต� ไปม�บ่อยๆ ขน�ดบรรทัดที่ย�วเกินไป ทำ�ให้หลงบรรดทัด ได้ง่�ย และย�กต่อก�รกว�ดส�ยต� จำ�นวนตัวอักษรที่ต่อบรรทัด ที่เหม�ะ สม อยู่ที่ 70 ตัวอักษร (10-12 คำ�) ต่อ บรรทัด ส�ม�รถ เพิ่มหรือลด ขน�ดตัว อักษร ให้เหม�ะสมกับคว�มกว้�งของ Column เมื่อตั้งค่� Justified บน Column ที่ มีคว�มย�ว บรรทัดสั้น จะมีปัญห� ม�กกว่� บน Column ที่มีบรรทัดย�ว ซึ่งจะเฉลี่ย Space ได้ดีกว่�

Space ระหว่�งบรรทัดที่น้อยเกินไป ทำ�ให้แยก บรรทัดไม่ออก ก�รเพิ่มช่อง ว่�ง 1-4 points ส�ม�รถช่วยให้ อ่�น ได้ง่�ยและไวขึ้น

เช่น กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิก มีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�ไวย�กรณ์มี คว�มละเอียด ม�กน้อยเพียงใด รวมถึง คว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คำ�และรูปภ�พ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยค ที่จะจัดว�งในง�นไทโปกร�ฟิกเป็น สิ่งสำ�คัญ กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิก มีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�ไวย�กรณ์มี คว�มละเอียด ม�กน้อยเพียงใด รวมถึง คว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คำ�และรูปภ�พ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยค ที่จะจัดว�งในง�นไทโปกร�ฟิกเป็น สิ่งสำ�คัญ Set Solid กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิก มีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�ไวย�กรณ์มี คว�มละเอียด ม�กน้อยเพียงใด รวมถึง คว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คำ�และรูปภ�พ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยค ที่จะจัดว�งในง�นไทโปกร�ฟิกเป็น สิ่งสำ�คัญ

Minus Leading

ยิง่ ช่องว่�งระหว่�งบรรทัดเพิม่ ม�กขึน้ บรรทัดจะดูแยกออกจ�กกันม�กขึน้ และดูสงบนิง่ กว่� Typeface ทีม่ ี x-height สูงกว่� ควรมี Line Spacing ทีม่ �กต�มไปด้วย set solid คือไม่ได้เพิม่ Line Spacing Minus Leading คือ Line Spacing ติดลบ

57


Rule 12 For optimum readability, use a flush left, ragged right type alignment. ข้อที่ 12 ควรจัดย่อหน้าแบบ Flush left -ragged right (ชิดซ้าย ปล่อยริม ขวา) 58 บางครั้งการจัดย่อหน้าแบบอื่นก็ใช้ได้ ดี อย่างไรก็ตาม จัดแบบชิดซ้าย ง่ายต่อ การอ่านมากที่สุด

เช่น

Flush left ragged right

Centre

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟิกมีขอบเขต อยู่ที่ภาษานั้นว่าไวยากรณ์มีความละเอียดมาก น้อยเพียงใด รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่าง คำ�และ รูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟิกมีขอบเขต อยู่ที่ภาษานั้นว่าไวยากรณ์มีความละเอียด มาก น้อยเพียงใด รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่าง คำ�และ รูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ

Flush right ragged left

Justified

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟิกมีขอบเขต อยู่ที่ภาษานั้นว่าไวยากรณ์มีความละเอียด มาก น้อยเพียงใด รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่าง คำ�และ รูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟิกมีขอบเขต อยู่ที่ภาษานั้นว่าไวยากรณ์มีค วามละเอี ย ด มาก น้อยเพียงใด รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่าง คำ�และ รูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ


Rule 13 Strive for consistent rhythmic rags.

Rule 14 Clearly indicate paragraphs but be careful not to upset the integrity and visual consistency of the text.

ข้อที่ 13 ก�รตัดคำ�แต่ละบรรทัด ควรมี จังหวะ และคว�มสอดคล้อง

ข้อที่ 14 แยกแต่ละย่อหน้�ให้ชัดเจน โดยไม่ ทำ�ล�ยคว�มเป็นเอกภ�พ และ คว�มสอดคล้อง

พย�ย�มตัดคำ�ไม่ให้ดูแปลก หรือมีรูปแบบจนดูจงใจเกินไป จุดประสงค์ของก�รตัดคำ�ไม่ใช่เพื่อ คว�มสวยง�มแต่เป็นก�รตัดคำ�อย่�งมี เหตุมีผล เพื่อให้อ่�นง่�ย ลื่นไหล และ เป็นธรรมช�ติ

พย�ย�มตัดคำ�ไม่ให้ดูแปลก หรือมีรูปแบบจนดูจงใจเกินไป จุดประสงค์ของก�รตัดคำ�ไม่ใช่เพื่อ คว�มสวยง�มแต่เป็นก�รตัดคำ�อย่�งมี เหตุมีผล เพื่อให้อ่�นง่�ย ลื่นไหล และ เป็นธรรมช�ติ ก�รแบ่งย่อหน้� นิยมใช้ก�รย่อหน้� และก�ร เว้นบรรทัด แบบอื่นๆ เช่น ขึ้นต้นด้วยตัวหน� ใช้ Dingbats นำ� หน้� ย่อหน้�แบบกลับกัน ใช้ Small Caps ใช้ตัวอักษรขน�ดใหญ่นำ�

เช่น กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร� ฟิกมีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�ไวย�กรณ์มีคว�ม ละเอียดม�กน้อยเพียงใด รวมถึงคว�มสัมพันธ์ ระหว่�ง คำ�และรูปภ�พ นักออกแบบจะต้องคำ�นึง ถึง รูปประโยคที่จะจัดว�งในง�นไทโปกร�ฟิกเป็น สิ่งสำ�คัญ กฏของก�รทดลอง ของจัดไทโปกร�ฟิกมีขอบเขตอยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่� ไวย�กรณ์มีคว�มละเอียดม�กน้อยเพียงใด รวม ถึงคว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คำ�และรูปภ�พ นัก ออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยคที่จะจัดว�งใน ง�นไทโปกร�ฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ

ฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิกมีขอบเขต อยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�ไวย�กรณ์มีคว�มละเอียดม�ก น้อยเพียงใด รวมถึงคว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คำ�และ รูปภ�พ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยคที่ จะจัดว�งในง�นไทโปกร�ฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ กฏของก�รทดลองของจัดไทโปกร�ฟิกมีขอบเขต อยู่ที่ภ�ษ�นั้นว่�ไวย�กรณ์มีคว�มละเอียดม�ก น้อยเพียงใด รวมถึงคว�มสัมพันธ์ระหว่�ง คำ�และ รูปภ�พ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึง รูปประโยคที่ จะจัดว�งในง�นไทโปกร�ฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ

59


Rule 15 Avoid widows and orphans whenever possible. ข้อที่ 15 พยายามไม่ให้เกิด แม่ม่าย หรือลูกกำ�พร้า แม่ม่าย-คำ� วลี หรือประโยค ที่สั้นไป หล่นอยู่เดี่ยวๆ ต้นหรือท้ายย่อหน้า ลูกกำ�พร้า-พยางค์ที่หล่นอยู่เดี่ยวๆ ท้าย ย่อหน้า 60

แม่ม่ายและลูกกำ�พร้า ทำ�ลายความต่อ เนื่อง ทำ�ให้ภาพรวมเป็นจุด เป็นหย่อม และรบกวนสายตา

Rule 16 Emphasize elements within text with discretion and without disturbing the flow of reading. ข้อที่ 16 เน้นคำ�ใน text อย่าง ระมัดระวัง อย่าให้รบกวนการอ่าน ทำ�ให้น้อยที่สุด แต่ให้ได้ประสิทธิผล มากที่สุด คือ สร้างความชัดเจน และ แยกสัดส่วนข้อมูล การเน้นแบบต่างๆ - ใช้ตัว Italic - ขีดเส้นใต้ - เปลี่ยนสี - เน้นด้วยตัวหนาหรือตัวบาง - เปลี่ยน Typeface - เพิ่มขนาดตัวอักษร

เช่น กฏของการทดลองของจั ด ไทโปกราฟิ ก มี ข อบเขตอยู่ ที่ ภ าษานั้ น ว่ า ไวยากรณ์ มี ความละเอี ย ดมากน้ อ ยเพี ย งใดรวมถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง คำ � และรู ป ภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึงรูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ มากกว่า แม่มา่ ย กฏของการทดลองของจั ด ไทโปกราฟิ ก มี ข อบเขตอยู่ ที่ ภ าษานั้ น ว่ า ไวยากรณ์ มี ความละเอี ย ดมากน้ อ ยเพี ย งใดรวมถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง คำ � และรู ป ภาพ นั ก ออกแบบจะต้ อ งคำ � นึ ง ถึ ง รู ป ประโยค ที่จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ� คัญ ลูกก�ำพร้า

เช่น กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟิกมี ขอบเขตอยู่ที่ภาษานั้นว่าไวยากรณ์มีความ ละเอียดมากน้อยเพียงใดรวมถึงความ สัมพันธ์ระหว่าง คำ�และรูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึงรูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟิกมี ขอบเขตอยู่ที่ภาษานั้นว่าไวยากรณ์มีความ ละเอียดมากน้อยเพียงใดรวมถึงความ สัมพันธ์ระหว่าง คำ�และรูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึงรูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟิกมี ขอบเขตอยู่ที่ภาษานั้นว่าไวยากรณ์มีความ ละเอียดมากน้อยเพียงใดรวมถึงความ สัมพันธ์ระหว่าง คำ�และรูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึงรูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟิกมี ขอบเขตอยู่ที่ภาษานั้นว่าไวยากรณ์มีความ ละเอียดมากน้อยเพียงใดรวมถึงความ สัมพันธ์ระหว่าง คำ�และรูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึงรูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ


Rule 17 Always maintain the integrity of type. Avoid arbitrarily stretching letters. ข้อที่ 17 อย่าบิดยืดตัวอักษรตามอำ�เภอ ใจ การบิดยืดตัวอักษรทำ�ให้เสียคุณค่าของ ตัวอักษร ซึ่งออกแบบมาอย่างดีแล้ว และทำ�ลายสัดส่วนที่ เหมาะสมสำ�หรับ การอ่าน หากต้องการตัวอักษรที่มีความหนาบาง แตกต่าง ออกไป ควรเลือกจาก Type Family แทน

Rule 19 When working with type and color, ensure that sufficient contrast exists between type and it background. ข้อที่ 19 ใช้สีตัวอักษร ให้ขับกับ Background เมื่อความแตกต่างของสี ความเข้ม และ ความสด ระหว่างตัวอักษรและพื้นน้อย เกินไป จะทำ�ให้อ่านยาก ตัวอักษรสีดำ� บนพื้นขาว เป็นรูปแบบที่ อ่านง่าย ที่สุด และคุ้นตากว่า

ตัวอักษรขาว บนพื้นดำ� ซึ่งเป็นความ สัมพันธ์ที่ กลับกัน จะอ่านยากกว่า

เช่น

Rule 18 Always align letters and words on the baseline.

ข้อที่ 18 เรียงตัวอักษรให้อยู่บนแนน เส้นล่าง บรรทัดเสมอ

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟิกมี ขอบเขตอยู่ที่ภาษานั้นว่าไวยากรณ์มีความ ละเอียดมากน้อยเพียงใดรวมถึงความ สัมพันธ์ระหว่าง คำ�และรูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึงรูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟิกมี ขอบเขตอยู่ที่ภาษานั้นว่าไวยากรณ์มีความ ละเอียดมากน้อยเพียงใดรวมถึงความ สัมพันธ์ระหว่าง คำ�และรูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึงรูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟิกมี ขอบเขตอยู่ที่ภาษานั้นว่าไวยากรณ์มีความ ละเอียดมากน้อยเพียงใดรวมถึงความ สัมพันธ์ระหว่าง คำ�และรูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึงรูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ

กฏของการทดลองของจัดไทโปกราฟิกมี ขอบเขตอยู่ที่ภาษานั้นว่าไวยากรณ์มีความ ละเอียดมากน้อยเพียงใดรวมถึงความ สัมพันธ์ระหว่าง คำ�และรูปภาพ นักออกแบบจะต้องคำ�นึงถึงรูปประโยคที่ จะจัดวางในงานไทโปกราฟิกเป็นสิ่งสำ�คัญ

สีตัวอักษร และ Background ที่มีปัญหา

สีตัวอักษรและ Background ซึ่งปรับสี ความเข้ม และความสดแล้ว จึงเหมาะสม ต่อการอ่าน

61


62


63


64

ในสมัยก่อน ก�รพิมพ์จะอ�ศัยระบบก�รพิมพ์เลตเตอร์เพรสส์ ซึ่งเป็นระบบ ก�รพิมพ์พื้นนูนที่เก่�แก่ที่สุด และยังเป็นก�รพิมพ์ที่เก่�แก่กว่� เมื่อเทียบกับก�รพิมพ์ ระบบอื่น ก�รพิมพ์เลตเตอร์เพรสส์ มีบทบ�ทต่ออุตส�หกรรมก�รพิมพ์ของโลกและเป็น วิธีก�รพิมพ์ที่ใช้กันแพร่หล�ยม� จนถึงปี พ.ศ. 2513 ก�รพิมพ์ออฟเซตได้เข้�ม�มี บทบ�ทสำ�คัญแทนที่ก�รพิมพ์เลตเตอร์เพรสส์ อย่�งไรก็ต�ม ยังมีง�นหล�ยประเภทใน ปัจจุบันที่จำ�เป็นต้องใช้วิธีก�รพิมพ์เลตเตอร์เพรสส์ เช่นบัตรเชิญ น�มบัตร สิ่งพิมพ์ที่มี จำ�นวนพิมพ์ไม่ม�ก ง�นพิมพ์เบ็ดเตล็ด เป็นต้น



66


67

ตัวตะกั่วที่ใช้พิมพ์ในสมัยก่อน


68


69

ประเภท : Display Font ลักษณะ : ตัว Script San-Serif ลักษณะตัวอักษรให้อ�รมณ์เหมือนเขียนหวัด ด้วยพูก่ นั จีน บ�งจุดอ�จจะดูแข็ง และเมือ่ ใช้ง�นขน�ดเล็ก อ�จจะอ่�นย�ก


70

ประเภท : Display Font ลักษณะ : ตัว Script San-Serif ลักษณะตัวอักษรเหมือนตัวเขียนหวัด แต่ยงั มีการประดิษฐ์อยูบ่ า้ ง ตามส่วนโค้งหรือส่วนปลายหางตวัด


71

ประเภท : Display Font ลักษณะ : ตัว Serif ลักษณะตัวอักษรเส้นหนา ให้ความรูส้ กึ มัน่ คง แข็งแรงดูเป็นทางการ


72


73

ประเภท : Display Font ลักษณะ : ตัว San-Serif ลักษณะตัวอักษรมีเส้นทีห่ นา ดูกลมกลืนกับชือ่ แต่เมือ่ เรียงตัวอักษรทีม่ จี �ำ นวนมาก อาจจะทำ�ให้ดใู หญ่โต เทอทะไป


74


75

ประเภท : Body Text Font ลักษณะ : ตัว Serif ลักษณะตัวอักษรตัวสูง โปร่งผอม ดูแล้วแปลกตา สามารถนำ�ไปใช้เป็นในตัวเนือ้ ความจำ�นวนน้อยๆได้


76


77

ประเภท : Display Font ลักษณะ : ตัว San-Serif ลักษณะตัวอักษรคล้�ยคัวเขียนหวัดด้วยพูก่ นั จีน แต่มกี �รประดิษฐ์อยูบ่ �้ ง ตัวสูง โปร่งผอม ดูแล้วได้อ�รมณ์ถงึ คว�มเป็นจีน


78


79

ประเภท : Display Font ลักษณะ : ตัว Serif * ลักษณะตัวอักษณ์เส้นหนา คล้ายฟอนต์ไทยรัฐ ดูมเี อกลักษณ์ เหมาะสำ�หรับงานพาดหัว


80


81

ประเภท : Display Font ลักษณะ : ตัว San-Serif ลักษณะตัวอักษรคล้�ยคัวเขียนหวัดด้วยพูก่ นั จีน แต่มกี �รประดิษฐ์อยูบ่ �้ ง ดูแล้วได้อ�รมณ์ถงึ คว�ม เป็นจีน คว�มกว้�งของตัวอักษรในแต่ละตัวกว้�งเกือบ เท่�ๆกัน ทำ�ให้ดอู ว้ น เมือ่ พิมพ์ขอ้ คว�มย�วๆ อ�จะ ทำ�ให้ดหู น�แน่ และอึดอัดได้


บรรณานุกรม 82

หนังสือ “แบบพิมพ์ตัวไทย” พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๓ หนังสือ “มาตราฐานโครงสรา้ งตัวอักษรไทย” พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๔๐ หนังสือ “Book Design” ค.ศ. ๒๐๐๖ หนังสือ “Typography Workbook” ค.ศ. ๒๐๐๔ หนังสือ “Making and Breaking the Grid” ค.ศ. ๒๐๐๒


83





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.