สิ่งที่ผู้คนยังสงสัยและต้องการค้นหาคำาตอบ ทำ�ไมประเทศไทยจึงต้องมีสถ�บันพระมห�กษัตริย์ เหตุใดองค์พระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัวฯ จึงทรงเป็นที่รักของปวงชนช�วไทย คว�มแตกต่�งระหว่�งทรัพย์สินส่วนพระมห�กษัตริย์กับทรัพย์สินส่วนพระองค์ ทัศนะของพระมห�กษัตริย์ต่อกฎหม�ยหมิ่นพระบรมเดช�นุภ�พ ร่วมค้นห�ตำ�ตอบได้แล้ววันนี้ จ�กหนังสือ “กลางใจราษฎร์”
ฉบับทดลองอ่าน
โดยคัดสรรเนือ้ หาบางตอนจากหนังสือ “กลางใจราษฎร์” โดย ASIA BOOKS CO., LTD.
ที่มาของโครงการ
King Bhumibol Adulyadej: A Life’s Work หรือ กลางใจราษฎร์ หกทศวรรษแห่งการทรงงาน นำ� เสนอเรื่องร�วพระร�ชประวัติ และพระร�ชกรณียกิจของพระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัวฯ จัดพิมพ์เป็นภ�ษ� อังกฤษครั้งแรกในเดือนพฤศจิก�ยน พ.ศ. 2554 โดยสำ�นักพิมพ์เอดิซิยองส์ ดิดิเยร์ มิลเยต์ สำ�นักง�น ตั้งอยู่ ณ ประเทศสิงคโปร์ โดยหนังสือได้รับก�รยอมรับอย่�งกว้�งขว�ง และเป็นที่กล่�วข�นทั้งในกลุ่ม ผู้อ่�นช�วไทยและช�วต่�งช�ติ จึงมีก�รพิมพ์ซำ�้อย่�งต่อเนื่องจวบจนปัจจุบัน บริษัท เอเซียบุ๊คส จำ�กัด ดำ�เนิน ธุรกิจร้�นหนังสือ โดยเป็นผู้จัดห�และจำ�หน่�ยหนังสือภ�ษ�อังกฤษที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) โดยนักธุรกิจช�วไทยผู้มีคว�มสนใจในหนังสือและก�รอ่�น ปัจจุบัน เอเซียบุ๊คสเป็นหนึ่งในธุรกิจ ของกลุ่มบริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ ซึ่งมีปณิธ�นในก�รเผยแพร่พระร�ชกรณียกิจในพระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัวฯ สู่คนไทยกว่� 60 ล้�นคน จ�กปณิธ�นดังกล่�ว บริษัท เอเซียบุ๊คส จำ�กัด จึงได้รับก�รคัดเลือกจ�กสำ�นักพิมพ์ เอดิซิยองส์ ดิดิเยร์ มิลเยต์ ให้เป็นผู้เดียวในประเทศไทยที่ได้รับลิขสิทธิ์อย่�งเป็นท�งก�รในก�รแปลและจัดพิมพ์ หนังสือ King Bhumibol Adulyadej: A Life’s Work เป็นภ�ษ�ไทย เพื่อเผยแพร่ผลง�นสู่กลุ่มผู้อ่�นในวงกว้�ง ม�กยิ่งขึ้น บริษัทฯ จึงได้ดำ�เนินก�รคัดเลือกบรรณ�ธิก�รและผู้แปลที่มีคว�มรู้คว�มส�ม�รถ อีกทั้งได้รับเกียรติ อย่�งสูงจ�กผู้ช่วยศ�สตร�จ�รย์ ดร. ประพจน์ อัศววิรุฬหก�ร และอ�จ�รย์นิตย� ม�ศะวิสุทธิ์ ในฐ�นะที่ปรึกษ� โครงก�ร
หนังสือ “กลางใจราษฎร์” เล่มนี้มีความพิเศษอย่างไร
ผู้เขียนยึดคว�มถูกต้อง ตรงไปตรงม� และข้อเท็จจริงในก�รนำ�เสนอเรื่องร�วต่�งๆ เกี่ยวกับพระร�ชประวัติ และพระร�ชกรณียกิจของพระบ�ทสมเด็จพระเจ้�อยู่หัวฯ เพื่อให้มีคว�มสมดุลในก�รเสนอข้อมูลและให้อ่�นง่�ย น่�ติดต�ม โดยมุ่งหวังให้เป็นหนังสือที่ได้รับคว�มเชื่อถือในระยะย�วด้วยเนื้อห�ที่สมดุล และตรงต�มข้อเท็จ จริง กลางใจราษฎร์ เล่�เรื่องร�วละเอียด โดยอ�ศัยก�รค้นคว้�ข้อมูลใหม่และแหล่งข้อมูลนับร้อย ประกอบด้วย ข้อมูลเชิงลึกที่ตรงไปตรงม�และน่�สนใจเกี่ยวกับประเด็นที่ไม่ค่อยได้รับก�รพูดถึง และมักเป็นที่เข้�ใจอย่�งคล�ด เคลื่อน อ�ทิ กฎหม�ยหมิ่นพระบรมเดช�นุภ�พ ก�รสืบร�ชสันตติวงศ์ คณะองคมนตรี และสำ�นักง�นทรัพย์สิน ส่วนพระมห�กษัตริย์ มีก�รใช้บทสัมภ�ษณ์ สถิติและก�รค้นคว้� เพื่อให้ได้ม�ซึ่งข้อเท็จจริงและมุมมองใหม่ๆ กลางใจราษฎร์ เป็นผลง�นของคณะบรรณ�ธิก�รและนักเขียนผู้มีคว�มคุ้นเคยกับประเทศไทยร่วมกับคณะที่ปรึกษ� กองบรรณ�ธิก�รที่ได้รับก�รยอมรับว่�มีคว�มเป็นอิสระ เป็นกล�งท�งคว�มคิด และมีคว�มรอบรู้ในแต่ละส�ข�วิช�
สารบัญ
ภาคที่ 1
พระราชประวัติ
(32)
พระราชประวั ติ ข องพระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช พระเจ้าแผ่นดินผู้ซึ่งได้ทรงก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง อั น ยิ่ ง ใหญ่ ห ลายประการต่ อ ประวั ติ ศ าสตร์ ข องชาติ ไทยนั้น เริ่มต้นขึ้นอย่างเลือนลางไม่สู้จะมีผู้รู้เห็นมาก นักในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2470 ก่อนเกิดภาวะ เศรษฐกิ จ ตกต�่ า ครั้ ง ใหญ่ ข องโลกเล็ ก น้ อ ย ทรงเป็ น พระราชโอรสของชายหญิง ผู ้ โ ดดเด่ น น่ า ทึ่ง และขยั น ขันแข็งทุ่มเทท�างานหนักคู่หนึ่ง แล้วจากนั้นก็ได้ทรง เจริญพระชนม์ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2489 เมื่อพระชนม์ได้ 18 พรรษา พระชนมชีพก็ต้องประสบจุดหักเหอย่างน่าสะเทือนใจ เนื่องจากสมเด็จพระเชษฐาธิราชผู้ทรงเป็นที่รักยิ่งของ พระองค์ คือพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้สวรรคต ลงโดยไม่คาดฝัน สมเด็จพระอนุชาธิราชเจ้าฟ้าหนุ่ม น้อยจึงต้องเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์เป็นพระเจ้าแผ่น ดินพระองค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ทรงครอง ราชย์ยาวนานข้ามศตวรรษที่ 20 มาถึงศตวรรษที่ 21 แล้วก็ทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดินทีค่ รองราชย์ยาวนานทีส่ ดุ ในประวัติศาสตร์ของประเทศไทยและของโลก ในปี พ.ศ. 2554 พระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมายุ ครบเจ็ดรอบพระชนมพรรษา ซึ่งถือกันว่ามีความส�าคัญ มากตามคติความเชื่อของคนไทยซึ่งเป็นชาวพุทธ และนี่ คื อ เรื่ อ งราวพระราชประวั ติ ต ลอดเจ็ ด รอบ พระชนมกาลของพระเจ้าอยู่หัวพระองค์นั้น
แต่ต้นจนถึง พ.ศ. 2470
เรื่องรักของเจ้าฟ้า ไม่ใช่เทพนิยาย
การลืมตาขึ้นดูโลกของทารกน้ อยบุตรมิสเตอร์ มหิดล สงขลานั้ นดูธรรมดาเรี ยบง่าย ไม่บ่งบอกเลยว่าเจ็ดรอบนั กษั ตรหรื อ 84 ปี ต่อจากนั้ นจะเป็ นผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่ ง ทารกเพศชายผู้นี้เกิดที่เคมบริ ดจ์ ซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามกับเมืองบอสตันโดยมีแม่น�้า ชาร์ ลส์ค่ัน เวลาเกิดคือ 8.45 น. ของวันจันทร์ ที่ 5 ธั นวาคม พ.ศ. 2470 (1927) ขณะนั้ นเศรษฐกิจของสหรั ฐอเมริ กาเริ่ มเนิ บเนื อยลงใกล้จะถึงเหตุการณ์ เศรษฐกิจ ตกต�่าครั้ งใหญ่ของประเทศ ข่าวประจ�าวันที่ 5 ธั นวาคม 2470 ไม่มีอะไรแปลกหรื อ น่ าทึ่ง หนั งสือพิมพ์ บอสตัน เดลี่ โกล้บ ลงข่าวนั กร้ อง อัล จอลสัน เจ็บคอ ทีม ฟุตบอลอเมริ กันชิคาโก แบร์ ส์พิชิตทีมแฟรงค์ฟอร์ ด เยลโล่ว์ แจ็คเก็ตส์ ซึ่งเคยเป็ น แชมเปี้ ยนแนชนั ล ฟุตบอล ลี้ค เมื่อปี 2469 แล้วก็ลงข่าวนั กดาราศาสตร์ ที่หอดูดาว เมืองเมลเบิร์น ออสเตรเลียอันไกลโพ้น ส่องกล้องพบดาวหางดวงใหม่ น�้ าหนั กตัวของทารกเป็ นที่น่าพอใจคือ 6 ปอนด์ (ประมาณ 2,722 กรั ม) เด็กเป็ น น้ องสุดท้อง มีพี่สาวอายุ 4 ขวบ ชื่อกัลยาณิ วัฒนา และพี่ชายอายุ 2 ขวบ ชื่ออานั นท มหิดล เมื่อคลอดเเล้วทารกชายก็ถูกห่อตัวด้วยผ้าห่อทารก แล้วน� าไปยังหอบริ บาล ทารกแรกคลอดตึกฟิ สค์ ของโรงพยาบาลเคมบริ ดจ์ ซึ่งเป็ นชื่อเดิมของโรงพยาบาล เมาท์ ออเบิร์น โรงพยาบาลแห่งนี้ สร้ างขึ้นในปี 2455 มีหน้ าต่างกระจกบานใหญ่ดู โอ่อ่าน� าสมัย ภายนอกนั้ นนั กศึกษาแพทย์ต่างก�าลังรี บเร่ งเข้าห้องฟังบรรยาย คณะ แพทยศาสตร์ เป็ นคณะหนึ่ งของมหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ด สถานศึกษาทีม่ ชี ื่อเสียงโด่งดังยิง่ หลังจากทารกเกิดมีอาการตัวเหลืองเล็กน้ อย ซึ่งเป็ นเรื่ องธรรมดาส�าหรั บทารกแรก เกิดทั่วไป และมารดาของเด็กต้องอยู่ โรงพยาบาลต่ออีกสามสัปดาห์ เพื่อให้ร่างกายแข็งแรงขึ้น กว่าทั้งสองจะได้กลับบ้านไปหาครอบครั ว ก็หลังวันคริ สต์มาส บ้านคืออพาร์ ตเมนท์ขนาดหกห้องในเมืองบรุ๊ คลายน์ ผู้เช่าใช้ชื่อว่า มิสเตอร์ และมิสซิสมหิดล สงขลา ห้องชุดอยู่ที่ชั้นล่างของอาคารเลขที่ 63 ถนนลองวู้ด เป็ นอาคารที่พักอาศัยสามชั้นที่มีชั้นใต้ดินโผล่เหนื อผืนดิน ขึ้นมาครึ่งหนึ่ ง และอยู่ ไม่ ไกลจากมหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ดมากนั ก หัวหน้ า ครอบครั วนั้ นเป็ นนั กศึกษาแพทย์ชาวสยามผู้สุภาพอ่อนโยนและสงบเสงี่ยม 34 |
ภาคที่ 1 : พระราชประวัติ
พวกเพื่อนๆ นั กศึกษาเรี ยกเขาว่าสงขลา ส่วนภรรยาสาว ชื่ อสังวาลย์นั้นเรี ยนวิชาพยาบาลและโภชนาการอยู่ที่มหา วิทยาลัยซิมมอนส์ซ่ึงอยู่ ใกล้ๆ กัน ไม่กี่ชั่วโมงต่อมา ข่าวการเกิดของทารกน้ อยก็ ได้รับการ แจ้งโดยทางโทรเลขข้ามโลกไปยังกรุงเทพฯ เมืองซึ่งอยู่ทาง ซีกโลกที่อากาศร้ อนอบอ้าว ย่าของทารกน้ อยปลาบปลื้ม ยิ่งนั กที่ ได้หลานคนที่สาม และอาของเด็กก็ลงมือเลือกชื่อ ที่เหมาะสมให้ โดยไม่รอช้า อีกเก้าวันต่อมาชื่อก็มาถึงบอสตันทางโทรเลข ‘ทารก บุตรมิสเตอร์ สงขลา’ ตามที่เขียนในใบสูติบัตรอเมริ กันได้ รั บชื่อว่า ภูมิพลอดุลเดช3 เป็นชื่อที่ชาวตะวันตกต้อง พยายามออกเสียงอย่างล�าบากทีเดียวว่า พู-มิ-พน-อดุล-เดช ความหมายของชื่ อ คื อ พลั ง แห่ ง แผ่ นดิ น เดชานุ ภาพอั น มิอาจประมาณได้ และเป็ นนามที่ต้ังอย่างเจตนาที่จะให้สยบ ภยันตรายทั้งปวง ทารกน้ อยผู้นี้แท้ที่จริงแล้วเป็ นเจ้านายสยามระดับวรวงศ์ เธอ พระองค์เจ้า ส่วนอาของทารกที่กรุ งเทพฯ นั้ นคือ พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว พระเจ้ า แผ่ นดิ น สยามนั่ นเอง มิสเตอร์มหิดล สงขลา นั กศึกษาผูส้ งบเสงีย่ ม ทีจ่ ริงคือสมเด็จเจ้าฟ้ ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานคริ นทร์ เป็ นสมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอในพระเจ้าแผ่นดินสยาม และ เป็ นพระราชโอรสพระองค์ที่ 69 ในจ�านวนพระราชโอรสธิ ดาทั้งหมด 77 พระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ส่วนย่าของทารกน้ อยผู้ก�าลังมีความ สุขอย่างยิ่งคือ พระมเหสีล�าดับที่สองของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระนามว่า สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี ตอนนั้ นไม่มีผู้ ใดจินตนาการเลยว่าทารกน้ อยผู้นี้จะได้ข้ึนครองแผ่นดินสยามใน วันหนึ่ งข้างหน้ า ตอนทีพ่ ระโอรสองค์ทสี่ องประสูติ หม่อมสังวาลย์ซ่งึ ขณะนั้นยังเป็ นหม่อมและสามัญ ชนธรรมดาก็ ไม่ ได้วาดภาพไว้เช่นกัน ว่าความสุขและความโศกความเศร้ าก�าลังรอคอย เธออยู่ข้างหน้ าหลายเรื่ อง รวมทั้งไม่ ได้คาดคิดด้วยว่า พระโอรสทั้งสองต่างก็จะได้ ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์ด้วยกันทั้งคู่ อนึ่ ง ค�าว่า “หม่อม” เป็ นค�าเรี ยก ขานธรรมดา และเป็ นค�ายกย่องภรรยาซึ่งเป็ นสามัญชนของเจ้านาย แต่มิ ใช่ต�าแหน่ ง 3 เมื่อแรกประสูติ พระเจ้าอยู่หัวได้รับพระราชทานพระนามว่า ภูมิพลอดุลเดช ไม่มี ย. ต่อมา เมื่อทรงเจริญวัยจึงเป็น ภูมิพลอดุลยเดช
แต่ต้นจนถึง พ.ศ. 2470 : เรื่องรักของเจ้าฟ้า ไม่ใช่เทพนิยาย
|
35
(หน้าตรงข้าม) ภาพถ่ายที่ห้องภาพ ของพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชเมื่อ พระชนม์ 6 เดือน (บน) สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล อดุลยเดชและหม่อม สังวาลย์ มหิดล ที่ กรุงเทพฯ พ.ศ. 2471 หลังจากพระองค์และ หม่อมต่างทรงส�าเร็จ และส�าเร็จการศึกษา ในสหรัฐฯ แล้ว
ทารกบุตรมิสเตอร์ มหิดล สงขลา ดังที่ ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ภายหลังต่อมาได้ข้ ึน ครองราชย์เป็ นพระเจ้าแผ่นดินล�าดับที่เก้าของพระราชวงศ์จักรี พระนามว่า พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระราชวงศ์จักรี นี้ปกครองประเทศสยาม โดยมีกรุ งเทพฯ เป็ นเมืองหลวงมาตั้งแต่ พ.ศ. 2325 พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จขึ้นครองราชย์เดือนมิถุนายน 2489 หลังการสวรรคตด้วยพระแสงปืนของ สมเด็จพระบรมเชษฐาธิ ราช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานั นทมหิดล ผู้ซ่ึงทรง สนิ ทสนมรั กใคร่ และใกล้ชิดกันอย่างยิ่ง นั บแต่ พ.ศ. 2489 เป็ นต้นมา พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงเป็ นพระองค์เดียว และอันดับหนึ่ งในหลายเรื่ อง ทรงเป็นพระราชาธิ บ ดี พ ระองค์ เดี ย วของโลกที่ ท รงพระราชสมภพในประเทศ สหรั ฐอเมริ กา ซึ่งเป็ นประเทศสาธารณรั ฐ ทรงมีพระชนมายุยืนยาวกว่าพระเจ้าแผ่นดินทุกพระองค์ ในพระราชวงศ์จักรี และ ทรงครองราชย์ยาวนานกว่าพระเจ้าแผ่นดินทุกพระองค์ของสยาม อนึ่ ง พระเจ้าแผ่นดิน เกือบทุกพระองค์ที่ผ่านมาทรงเป็ นพระมหากษั ตริ ย์ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิ ราชย์ ขณะทีพ่ ระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดชทรงเป็ นพระมหากษั ตริ ย์ ในระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษั ตริ ย์ทรงเป็ นประมุข หลังการสิ้นพระชนม์เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ขณะพระชนม์ 83 พรรษา ของเจ้าชายฟรานซ์-โจเซฟที่ 2 พระประมุขของประเทศลิกเตนสไตน์ ซึ่งทรงครอง ราชย์ต้ังเเต่ พ.ศ. 2481 พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชก็ทรงเป็ นพระราชาธิ บดีท่ที รง อยู่ ในราชสมบัติยาวนานที่สุดในโลก และแล้วกลางปี พ.ศ. 2554 เมื่อทรงครองราชย์ 65 ปี ระยะเวลาการเสวยราชย์ ของพระองค์ก็ยาวนานกว่ารั ชกาลของสมเด็จพระราชินีนาถวิคตอเรี ยแห่งอังกฤษ ใน ศตวรรษที่ 19 (63 ปี ) และยาวนานกว่ารั ชกาลของสมเด็จพระจักรพรรดิฮิ โรฮิ โต แห่งญี่ป่ ุน ในศตวรรษที่ 20 (62 ปี ) รั ชกาลของพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชครอบคลุมสองศตวรรษ คือ ศตวรรษ ที่ 20 และศตวรรษที่ 21 และทรงเป็ นหนึ่ งในบรรดาพระราชาธิ บดีที่ครองราชย์ ยาวนาน ตามที่มีบันทึกไว้ ในประวัติศาสตร์ พระราชวงศ์จักรี นั้นมีพระเจ้าแผ่นดินทั้งสิ้นเก้าพระองค์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2325 และยาวนานถึงปัจจุบน ั นี้นับได้ 231 ปี แล้ว ค�านวณแล้วรั ชกาลของพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช ก็เป็ นสามในสิบของอายุพระราชวงศ์จักรี เลยทีเดียว ซึ่งเรื่ องแบบนี้ มิ ใช่จะเกิดขึ้นได้ง่ายๆ เลย
36 |
ภาคที่ 1 : พระราชประวัติ
สมเด็จพระบรม ราชชนกปี 2446 เมื่อ ทรงได้รับการเฉลิม พระนามาภิไธยเป็น กรมขุนสงขลานครินทร์
เจ้าฟ้าผู้สงบเสงี่ยมเรียบง่าย เรื่ องราวของพระบิดาและพระมารดาของพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชนั บว่าน่ าทึ่ง เนื่ องจากทรงมาและมาจากระดับชั้นของสังคมต้นศตวรรษที่ 20 ที่แตกต่างกันมาก สมเด็จเจ้าฟ้ ามหิดลอดุลเดช4 ประสูติเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2434 ทรงเป็ น พระราชโอรสพระองค์ท่ีเจ็ด ในพระราชโอรสธิ ดาแปดพระองค์ ของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี ก่อนที่ จะได้มีการพัฒนาระบบสาธารณสุขนั้ น พระสุขภาพของบรรดาเจ้านายไม่ดีเลย การ เสกสมรสระหว่างเจ้านายด้วยกันเองซึ่งเป็ นพระญาติ ใกล้ชดิ ตามประเพณี โบราณ ท�าให้ พระสุขภาพของพระโอรสธิดาที่ประสูติมาไม่แข็งแรง แต่อย่างไรก็ตาม เจ้านายผู้หญิง ก็ ไม่สามารถเสกสมรสกับสามัญชนได้ เว้นเสียแต่จะกราบบังคมทูลลาออกจากฐานันดร ศักดิ์ ความจริงเจ้านายยุโรปต่างก็เสกสมรสระหว่างกันเช่นเดียวกัน เพียงแต่แวดวง ของเจ้านายสยามแคบกว่ามากเท่านั้นเอง การเสกสมรสกับคนต่างด้าวถือเป็ นเรื่ องผิด ร้ ายใหญ่ โต และการเป็ นอริ กันระหว่างประเทศใกล้เคียงในภูมิภาคเดียวกันก็รุนแรง ดังนั้ นการเสกสมรสระหว่างเจ้านายประเทศใกล้เคียงจึงแทบไม่มี 4 พระนามเมื่อประสูติคือ สมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดชฯ ไม่มีตัว ย. ภายหลังต่อมาใช้ทั้งมีและ ไม่มีตัว ย. (เจ้านายเล็กๆ - ยุวกษัตริย ์ – ค�าน�า)
แต่ต้นจนถึง พ.ศ. 2470 : เรื่องรักของเจ้าฟ้า ไม่ใช่เทพนิยาย
|
37
รอบนักษัตรที่ 2 พ.ศ. 2483–2494
ช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลง
รายชื่อสมาชิก สโมสรปาตาปุม ซึ่ง พระเจ้าอยู่หัวอานันท มหิดลเป็นประธาน เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เป็นรองประธาน
การตัดสินใจของหม่อมสังวาลย์เมื่อต้นปี 2475 ที่จะย้ายครอบครั วมาพ�านั กที่เมือง โลซานน์ นั้น ยิ่งนานไปก็ยิ่งพบว่าเป็ นความคิดที่ถูกที่สุด สงครามแผ่ขยายออกไป ทั่วโลกต้นทศวรรษ 1940 (พ.ศ. 2483–2492) โลซานน์ นั้นอยู่ห่างออกไปทางทิศ ตะวันตกเฉี ยงใต้ของดัคเฮา ค่ายคุมขังชาวยิวใกล้เมืองมิวนิ คในเยอรมนี เพียง 400 กิ โลเมตร ใกล้กว่าระยะทางกรุ งเทพฯ ถึงเชียงใหม่เป็ นไหนๆ เมืองในสวิตเซอร์ แลนด์จงึ ต้องเคร่งครัดเข้มงวดและจ�ากัดจ�าเขีย่ กว่าแต่ก่อนมาก เริ่มมีการปันส่วนอาหารและของใช้ และชายแดน ก็ถูกปิ ดไม่ ให้คนชาติอื่นข้ามไปมาโดยสะดวกอย่างแต่ก่อน แต่ ถ้าเทียบกับประเทศอื่นๆ ในยุโรปแล้ว สวิตเซอร์ แลนด์ก็นับว่า ยังเป็ นปกติสุขอยู่มาก ก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 สมเด็จพระราชชนนีทรงจ้างครู คนใหม่มาถวายพระอักษรพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระอนุ ชา ตอนแรกๆ ก็แค่ช่วยสอนการบ้านก่อนเท่านั้ น นายเคลออน โอ. เซอรายดาริ ส คนนี้ เป็ นฝรั่ งเชื้อสายกรี ก อายุราว 30 ปี อพยพมาอยู่สวิตเซอร์ แลนด์ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 1 บ้าน ของเขาอยู่ ใกล้ๆ พระต�าหนั ก เขาอยู่กับภรรยาและลูกชาย สองคนซึ่งอ่อนกว่าศิษย์ทั้งสองพระองค์มาก นายเซอรายดาริ ส มาถวายพระอั ก ษรที่พ ระต� า หนั ก วิ ล ล่ า วั ฒ นา และ ตามเสด็จด้วยเวลาพระเจ้าอยู่หัวและพระอนุ ชาเสด็จไปทรง พักผ่อนตามที่ต่างๆ ส่วนสมเด็จพระพี่นางนั้ น ทรงศึกษา อยู่ โรงเรี ยนประจ�าเมืองเจนี วา นายเซอรายดาริ สท�าหน้ าที่คล้ายครู ประจ�าบ้าน พาพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระ อนุ ชาเสด็จไปทรงจักรยานบ้าง กรรเชียงเรื อบ้าง หรื อไม่ก็ทรงว่ายน�้ า ทั้งสามช่วย กันต่อรางรถไฟของเล่นที่ห้องใต้หลังคา แล้วน� าลังกระดาษมาดัดแปลงท�าเป็ นอาคาร “สโมสรปาตาปุม” ที่ปลายสวน ที่นั้นใช้เป็ นสโมสรของเด็กโดยเฉพาะ และเครื่ องดื่ม ก็จะดื่มได้แต่ที่ ไม่มีแอลกอฮอล์เท่านั้ น ครู และลูกศิษย์สนใจอ่านแมกกาซีนเกี่ยว 72 |
ภาคที่ 1 : พระราชประวัติ
จากซ้ายไปขวา เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ครูประจ�าบ้านเคลออน โอ. เซอรายดาริส พระเจ้าอยู่หัวอานันท มหิดล และสมเด็จ พระราชชนนีในการ แข่งขันฮอคกี้น�้าแข็ง
กับเครื่ องยนต์กลไกต่างๆ ท�ากระดาษเกมหลายแบบไว้เล่นเอง นายเซอรายดาริ สมี ความรู้ ทางด้านวิทยาศาสตร์ หลายเรื่ อง ดังนั้ นจึงถวายการสอนให้ท้ังสองพระองค์ทรง ต่อโมเดลเรื อและเครื่ องบิน รวมทั้งเครื่ องจักรเครื่ องยนต์แบบต่างๆ หัดประกอบ อุปกรณ์ อย่างนั้ นอย่างนี้ รวมทั้งหัดท�าวิทยุอีกด้วย ตอนนั้น พระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระอนุ ชาทรงสนพระทัยเรื่ องรถยนต์ดว้ ยเช่นกัน เวลาเสด็จไป ไหนๆ ครอบครั วก็จะทรงใช้รถเมอร์ เซเดส-เบนซ์คันใหญ่ พระเจ้าอยู่หัว กับสมเด็จพระอนุ ชาทรงผูกพันใกล้ชิดกันมาก สมเด็จพระเชษฐานั้ นทรงเคร่ งขรึ ม จริ งจัง ทว่าก็ทรงเป็นคนอ่อนโยน ทรงยอมพระอนุ ชาทุกอย่างและทรงปกป้องดูแล เสมอ สมเด็จพระอนุ ชานั้ นคือพระสหายที่รักสนิ ทของพระองค์เลยทีเดียว สมเด็จฯ กรมหลวงฯ ทรงกล่าวถึงเรื่ องนี้ ว่า “ทั้งสองพระองค์น้ั นเหมือนฝาแฝด สนิ ทสนมรั กใคร่ กันมาก โปรดกันและกัน มากกว่าโปรดพระสหายของพระองค์เอง ทรงอยากเล่นกันเองมากกว่าเล่นกับคนอื่น” นายเซอรายดาริ ส นั้ น เป็นช่ า งไม้ ช้ั นหนึ่ ง ดั ง นั้ นจึ ง ถ่ า ยทอดความชอบเรื่ อ งนี้ สู่ พระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระอนุ ชาด้วย สมเด็จพระราชชนนี เองก็ทรงสนั บสนุ น ให้พระราชโอรสทรงมีความรู้ กว้างขวางที่สุดเท่าที่จะทรงท�าได้ แล้วก็ทรงท�าให้ทอด พระเนตรเป็ นตัวอย่างในหลายเรื่ องที่พระองค์เองโปรดด้วย เช่น การสะสมแสตมป์ การอ่านหลายๆ แนว และการท�าสวนทั้งสวนผลไม้และสวนครั ว ซึ่งสองอย่างหลัง นั้ นทรงลงมือท�าด้วยพระองค์เองโดยทรงสวมพระสนั บเพลาขาสั้นทะมัดทะแมง สมเด็จพระราชชนนี ทรงใช้ชีวิตอยู่แต่ท่ี ใกล้ๆ พระต�าหนั กที่ประทับเท่านั้ น ไม่ทรง ออกสังคมใดๆ เลย ใครจะมาเฝ้ าก็มาได้เฉพาะวันเสาร์ ซึ่งพระโอรสธิดาทรงอยู่พร้ อม กันเพราะไม่ต้องเสด็จโรงเรี ยนเท่านั้ น รอบนักษัตรที่ 2 พ.ศ. 2483–2494 : ช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลง
|
73
วันหนึ่ งทูตญี่ป่ ุนมาเฝ้ าที่พระต�าหนั กโดยมีข้าวมาถวายด้วย (ซึ่งสมเด็จพระพี่นาง ไม่ โปรดอย่างยิ่ง) ข้าวที่เป็ นของขวัญก็ถูกส่งไปบริ จาคหลังจากนั้ นอย่างเงียบๆ ครู เซอรายดาริ สจะกราบทูลขอค�าปรึ กษาจากสมเด็จพระราชชนนี หรื อปรึ กษา นายเอนก ราชเลขานุ การส่วนพระองค์ทุกครั้ งก่อนจะท�าอะไรเกี่ยวกับเจ้านายทั้งสอง พระองค์ ส่วนครู สอนดนตรี ชาวสวิสนั้ นมาถวายการสอนตามตารางเช่นเดียวกับ ครู สอนภาษาอังกฤษ พระอาจารย์ชราคนหนึ่ งท�าหน้ าที่ถวายพระอักษรภาษาไทย รวมทั้งถวายการสอนธรรมะด้วย
ทรงเรียนดนตรี
หลังการเสด็จขึ้นครอง ราชย์ของพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดลในปี 2478 พระต�าหนักวิลล่า วัฒนาในชานเมืองอัน สงบเงียบของโลซานน์ ก็ได้เป็นที่ประทับของ ครอบครัว
ขณะเสด็จไปทรงพักผ่อนฤดูหนาวโดยการทรงสกีท่ีเมืองอาโรซ่า เมื่อปี 2485 นั้ น ทุกพระองค์ประทับที่ โรงแรมแห่งหนึ่ งชื่อโรงแรมคุล์ม ที่น่ั นมีการแสดงดนตรี แจ๊ซ ให้แขกฟังทุกคืน เสียงดนตรี ท�าให้สมเด็จพระอนุ ชาทรงหวนร� าลึกถึงเพลงที่ทรง เคยฟังจากแผ่นเสียงเล่นโดยเครื่ องเล่นแผ่นเสียงยี่ห้อวิคโทรล่าที่วังสระปทุม ดังนั้น จึงทรงอยากเรี ยนทรั มเปตบ้าง สมเด็จพระราชชนนี ทรงวิตกว่าการเรี ยนทรั มเปตนั้ น อาจจะหนั กเกินไปส�าหรั บเด็ก ดังนั้ นเมื่อเสด็จกลับถึงโลซานน์ จึงทรงปรึ กษาแพทย์ ไม่มี ใครรู้ ว่าหมอผู้น้ั นเห็นพระทัยในความเป็ นห่วงของสมเด็จพระราชชนนี หรื อ มีความเห็นว่าทรั มเปตจะเป็ นอันตรายต่อช่องปากและช่องคอของเด็กวัยรุ่ นจริ งๆ หมอจึงถวายค�าแนะน� าสมเด็จเจ้าฟ้ าภูมิพลอดุลยเดชให้ทรงหัดแซกโซโฟนแทน เผอิญตอนนั้ นเพื่อนบ้านชาวสวิสผู้หนึ่ งเล่นแซกโซโฟนอยู่ จึงทูลเสนอขายอัลโต้ แซกโซโฟนมือสองยี่ห้อชตราสเซอร์ มาริ โกซ์ และเลอแมร์ เป็ นเงิน 300 ฟรั งค์สวิส พระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระอนุ ชาทรงช่วยกันออก 150 ฟรั งค์ สมเด็จพระราชชนนี ทรงออกส่วนที่เหลือให้ ครู ที่ถวายการสอนดนตรี นั้นชื่อ เจ. ไวเบรทช์ ท�างานอยู่ที่ร้านขายเครื่ องดนตรี โฟติช แฟรส์ท่ีเมืองโลซานน์ และเล่นได้ทั้งอัลโต้ แซกโซโฟนและแคลริ เนต เขามา ถวายการสอนทั้งสองพระองค์ท่ีพระต�าหนั กวิลล่าวัฒนา องค์ละครึ่ งชั่วโมงโดยได้รับ ค่าสอน 3 ฟรั งค์ต่อครึ่ งชั่วโมง วันพุธที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2486 เป็ นวันส�าคัญต่อประวัติศาสตร์ การดนตรี ของ ครอบครั วมหิดล นั่ นคือพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระอนุ ชาได้ทรงเริ่ มการเรี ยน ดนตรี ในห้องทรงพระอักษร พระต�าหนั กวิลล่าวัฒนา ครู ไวเบรทช์น้ั นเป็นชาย ร่ างเล็กชาวแคว้นอัลซาส พระเจ้าอยู่หัวทรงรุ นพระอนุ ชาให้เสด็จเข้าไปเรี ยนก่อน เป็ นองค์แรก ซึ่งการเรี ยนการสอนก็ผ่านไปอย่างรวดเร็ วยิ่ง ครูไวเบรทช์เริ่มต้นด้วยการสอนสมเด็จฯ เจ้าฟ้ าให้ทรงจับแซกโซโฟนให้ถกู ท่าก่อนเป็ น อันดับแรก ต่อไปจึงทรงหัดเป่ าเสียงเบสิคทีละเสียง เมื่อหมดเวลาเรี ยนเสด็จออกมา 74 |
ภาคที่ 1 : พระราชประวัติ
นอกห้อง สมเด็จพระอนุ ชาก็ทรงพบว่าพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ ไป ไหนเสียแล้วก็ ไม่ทราบได้ ทรงเปลี่ยนพระทัยไม่ทรงอยาก เรี ยนแซกโซโฟนเสียแล้วนั้ นเอง แต่อย่างไรก็ตาม อีกสิบวันต่อมา พระเจ้าอยู่หัวก็เสด็จมา เข้าห้องเรี ยนดนตรี โดยทรงถือแคลริ เนตมาด้วย เป็ นของ ใหม่ซ่ึงทรงซื้อมา 150 ฟรั งค์ หลายเดือนต่อจากนั้ น ครู ไวเบรทช์กับลูกศิษย์ก็พบกัน ทุกวันพุธและวันอาทิตย์ ไม่เคยขาด ทั้งสองพระองค์ทรง คืบหน้ าในการเรี ยนดนตรี ต้งั แต่หัดเป่ าโน้ ตตัวเดียวไล่บันได เสียง แล้วก็หัดเป่ าไล่เสียงตามคอร์ ดดนตรี นอกจากครู ไวเบรทช์จะถวายการสอนดนตรี ให้แก่สองพระองค์ พระองค์ ละชนิ ดแล้ว ยังถวายการสอนการอ่านโน้ ตอีกด้วย ครู แต่ง เพลงง่ายๆ ส�าหรั บแคลริ เนตและแซกโซโฟนแล้วทั้งสามก็ เล่นร่ วมกัน แคลริ เนตหนึ่ งตัว แซกโซโฟนสองตัว การเรี ยนดนตรี นั้นถูกพระทัยพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จ พระอนุ ชามากกว่าการหาความเพลิดเพลินพระทัยแบบอื่น นอกจากนั้ น ยังได้ทรงเรี ยนรู้ การแต่งเพลงและการเล่น ดนตรี แบบเข้าวงควบคู่ ไปอีกด้วย ในปี นั้นเอง พระเจ้าอยู่หัวก็เสด็จเข้าทรงศึกษาต่อ ณ มหา วิทยาลัยโลซานน์ ทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมาย ส่วนสมเด็จพระอนุ ชาทรงเข้าเป็ น นั กเรี ยนประจ�าที่ โรงเรี ยนใหม่แห่งภาคสวิตเซอร์ แลนด์ท่ี ใช้ภาษาฝรั่ งเศส ณ เมือง ไชยี แต่การเรี ยนดนตรี กับครู ไวเบรทช์ก็ยังคงด�าเนิ นต่อไป โดยทรงเรี ยนเฉพาะ วันหยุดสุดสัปดาห์เท่านั้ น และแล้ว เอดวร์ด แฮร์ ซุก ครู ที่ โรงเรี ยนคนหนึ่ งก็มากราบทูลเชิญสมเด็จพระอนุ ชา ให้ทรงร่ วมบรรเลงดนตรี ในการแสดงคอนเสิร์ตประจ�าปี ของโรงเรี ยน วงนั้นประกอบ ด้วยไวโอลิน เชลโล่ โดยครู แฮร์ ซุกเล่นเปี ยโน ถึงแม้จะทรงเรี ยนแซกโซโฟนได้เพียง เก้าเดือนเท่านั้ น สมเด็จพระอนุ ชาก็ทรงรั บค�าเชิญ ผู้มาฟังคอนเสิร์ตคือ พวกครู ในโรงเรี ยน นั กเรี ยน แล้วก็ครอบครั ว วงดนตรี บรรเลงเพลง Die Fledermaus ของโยฮันน์ สเตราส์ (Johann Strauss) นั่ นเป็ นการ แสดงดนตรี ต่อสาธารณะครั้ งแรกในพระชนมชีพของสมเด็จเจ้าฟ้ าภูมิพลอดุลยเดช ขณะนั้ นพระชนม์ 16 พรรษาและทรงโซโล่อัลโต้ แซกโซโฟน วั นหยุ ด เทศกาลคริ ส ต์ ม าสปี 2486 ครอบครั ว มหิ ด ลได้ เสด็ จ ไปทรงพั ก ผ่ อ น ตากอากาศบนภูเขาโดยทรงพักที่ โรงแรมคุล์มเช่นเคย คราวนี้ การแสดงดนตรี ตอน กลางคืนเปลี่ยนเป็ นวงอเมริ กัน แจ๊ซ 12 ชิ้น โดยมีเฟรด โบห์เลอร์ เป็ นผู้เล่นเปี ยโน นั กดนตรี คนหนึ่ งในวงคือ กลิน พาร์ ก นั กเล่นอัลโต้ แซกโซโฟนผู้มีชื่อเสียงโด่งดัง รอบนักษัตรที่ 2 พ.ศ. 2483–2494 : ช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลง
|
75
พระเจ้าอยู่หัวอานันท มหิดล (กลาง) และ สมเด็จพระอนุชากับ เคลออน โอ. เซอรายดาริส ครูประจ�าบ้าน ที่ร้านถ่ายรูปในสวิตเซอร์แลนด์
ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
วังลดาวัลย์ในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ที่ตั้ง ของส�านักงานทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่ง รับผิดชอบการบริหาร จัดการหลักทรัพย์และ อสังหาริมทรัพย์ที่เป็น ทรัพย์สินส่วนพระมหา กษัตริย์
ในยุคสมบูรณาญาสิทธิ ราชย์ พระมหากษั ตริ ย์ทรงเป็ น “เจ้าแผ่นดิน” ตามตัว อักษร และโดยหลักการทั่วไปแล้วถือว่าทุกสิ่งเป็ นสมบัติของพระมหากษั ตริ ย์ ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ได้มีหน่ วยงานใหม่เกิดขึ้นคือกรมพระคลังข้างที่ ซึ่งภายหลังได้กลายเป็ นส�านั กงานทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์ เพื่อท�าหน้ าที่ บริ หารจัดการอสังหาริ มทรั พย์และทรั พย์สินอื่นๆ อันเป็ นทรั พย์สินส่วนพระ มหากษั ตริ ย์ หน่ วยงานดังกล่าวเป็นเครื่ องมือส� าคัญในการพัฒนาโครงสร้ าง พื้นฐานต่างๆ ของประเทศ และยังคงเป็ นผู้ลงทุนรายใหญ่ที่สุดรายหนึ่ งในระบบ เศรษฐกิจไทยทุกวันนี้ นั บแต่ พ.ศ. 2479 ได้มพี ระราชบัญญัตแิ ยกทรั พย์สนิ ส่วนพระองค์ออกจากทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษั ตริ ย์อย่างชัดเจน ส�านั กงานทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์มีหน้ าที่ บริ หารจัดการทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์ ซึ่งไม่ ได้เป็ นพระราชทรั พย์ส่วนพระองค์ 342 |
ภาคที่ 3 : สถาบันพระมหากษัตริย์
แต่เป็นของสถาบันพระมหากษั ตริ ย์ ในฐานะสถาบันซึ่ งจะสืบทอดจากรั ชสมัยหนึ่ ง ไปสู่อีกรั ชสมัย ทรั พย์สินในส่วนพิเศษดังกล่าวนี้ เกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง การปกครองจากระบบสมบูรณาญาสิทธิ ราชย์ ซึ่งพระมหากษั ตริ ย์ทรงเป็ นเจ้าครอง แผ่นดินและทุกสิ่งบนแผ่นดิน มาเป็ นระบอบประชาธิ ปไตยโดยมีพระมหากษั ตริ ย์ เป็ นประมุข โดยอยู่ ในระบบเศรษฐกิจโลกซึ่ งมีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอด ในทางกฎหมายแล้ว ส�านั กงานทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์ถือเป็ นนิ ติบุคคล โดย ไม่ ใช่ส่วนหนึ่ งของส่วนงานบริ หารของพระราชวัง หน่ วยราชการ หรื อบริ ษัทเอกชน แต่ เป็นหน่ ว ยงานที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะตั ว ซึ่ ง บุ ค คลภายนอกยั ง ไม่ ใคร่ เข้ า ใจกั นดี นั ก ส�านั กงานทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์ ไม่ ได้มีพันธะผูกมัดใดๆ ที่จะต้องเปิ ดเผย รายละเอียดบัญชีหรื อรายละเอียดการด�าเนิ นงานแก่สาธารณชน อย่างไรก็ตาม ใน ช่วงหลายปี หลังๆ มานี้ ทางหน่ วยงานได้ตอบสนองต่อเสียงเรี ยกร้ องในการเปิ ดเผย ข้อมูลซึ่งเป็ นที่สนใจของสาธารณชนให้ทราบ รายได้ของส�านั กงานทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์นั้นส่วนหนึ่ งน� าไปเป็ นค่าใช้จ่าย ประจ�าวันของพระบรมวงศานุ วงศ์ ดังนั้ นสถาบันพระมหากษั ตริ ย์ ไทยจึงแตกต่าง ในแง่ส�าคัญแง่นี้จากราชวงศ์อื่นๆ อีกหลายราชวงศ์ ซึ่งในปัจจุบันได้รับเบี้ยหวัดที่ จัดสรรจากงบประมาณแผ่นดินเกือบทั้งหมด มูลค่าของทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์นั้นรวมกันแล้วเป็ นจ�านวนไม่น้อย แต่ การค�านวณหาตัวเลขที่แน่ นอนเป็ นเรื่ องยาก ส่วนหนึ่ งของทรั พย์สินดังกล่าวอยู่ ใน รู ปการลงทุนในบริ ษัทต่างๆ ซึ่งคิดมูลค่าได้ง่าย ทรั พย์สินส่วนดังกล่าวคิดเป็ นมูลค่า ประมาณสองแสนล้านบาทใน พ.ศ. 2553 แต่อีกส่วนซึ่งมีมูลค่ามากกว่าอยู่ ในรู ปที่ดิน ประมาณ 8,300 ไร่ ในกรุงเทพมหานคร และประมาณ 33,000 ไร่ นอกกรุงเทพมหานคร โดยมีวิธีอยู่หลายวิธีที่อาจใช้ประเมินมูลค่าที่ดินดังกล่าวได้ จากข้อมูลการประเมิน ครั้ งหนึ่ ง เฉพาะที่ดินส่วนที่อยู่ ในกรุ งเทพฯ คิดเป็ นมูลค่าเกือบหนึ่ งล้านล้านบาทตาม ราคาในท้องตลาด ส่วนส�านั กงานทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์น้ั นบันทึกมูลค่า ของทรั พย์สินดังกล่าวตามต้นทุน ซึ่งค�านวณแล้วไม่ถึงหนึ่ งในสามของตัวเลขข้างต้น ไม่ว่าจะใช้วิธีประเมินแบบใดก็ตาม ส�านั กงานทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์ก็มี ฐานะอันชัดเจนว่าเป็ นผู้ลงทุนรายใหญ่ที่สุดรายหนึ่ งในระบบเศรษฐกิจไทย ดังนั้ น การด�าเนิ นการของทางหน่ วยงานจึงส่งผลไม่น้อยต่อระบบเศรษฐกิจไทยโดยรวม และ ในทางกลับกัน การผันผวนทั้งในเชิงบวกและลบของเศรษฐกิจไทยก็มีอิทธิ พลเป็ น อย่างมากต่อส�านั กงานทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์ด้วย เรื่ องราวของส�านั กงานทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์น้ั นส่วนหนึ่ งเป็นเรื่ องราว เกี่ยวกับพระมหากษั ตริ ย์ และอีกส่วนเป็ นเรื่ องราวการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทย จากประเทศสังคมเกษตรกรรมทีก่ า� ลังพัฒนาซึ่งถูกบีบจากมหาอ�านาจในยุคล่าอาณานิ คม มาเป็ นระบบเศรษฐกิจเปิ ดในยุคโลกาภิวัตน์ โดยเมื่อครั้ งที่ส�านั กงานทรั พย์สินส่วน พระมหากษั ตริ ย์ก่อตั้งขึ้นเมื่อกว่า 70 ปี ที่แล้ว ทรั พย์สินในการดูแลของส�านั กงาน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
|
343
ได้สะสมเพิ่มขึ้นมาเรื่ อยๆ ตลอดช่วงครึ่ งศตวรรษก่อนหน้ านั้ นซึ่งสยามเกิดการ เปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิ ราชย์เป็ นระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระ มหากษั ตริ ย์เป็ นประมุข
ช่วงแรก รากฐานของทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์เกิดขึ้นในช่วงสองทศวรรษระหว่าง พ.ศ. 2433–2452 ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 สยามยังคงเป็ นประเทศสังคมเกษตรกรรม ซึ่งปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิ ราชย์ พระมหากษั ตริ ย์ทรงเป็ นทั้งเจ้าแผ่นดิน และเจ้าชีวิต โดยหลักการแล้ว แผ่นดินทั้งหมดในราชอาณาจักรเป็ นของพระองค์ และรายได้ทั้งหมดจากภาษี อากรก็ถือเป็ นเงินรายได้หลวง กล่าวอีกอย่างก็คือทุกสิ่ง เป็ นทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์ สถานการณ์ ดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 ซึ่ง สยามท�าการค้ากับโพ้นทะเลมากขึ้นกว่าเดิมมาก ทั้งการส่งออกไม้ ดีบุก และที่ส�าคัญ คือข้าว มีคนจ�านวนมากอพยพมาจากจีนตอนใต้เพื่อเป็ นผู้ค้าและแรงงานในสังคม พาณิ ชย์ซ่ึงขยายตัวขึ้นเรื่ อยๆ กรุ งเทพมหานครเปลี่ยนจากเมืองหลวงอันงดงามแต่ เงียบสงบเป็ นเมืองท่าอันวุ่นวาย ผลที่เกิดส่วนหนึ่ งจากการเปลี่ยนแปลงนี้ คือการ คมนาคมขนส่งและที่อยู่อาศัยได้ย้ายจากทางน�้ าคือแม่น้� าเจ้าพระยาและล�าคลองที่เชื่อม ต่อกันไปเป็ นทางบก ในจังหวัดต่างๆ มีเมืองใหม่เกิดขึ้นเป็ นจ�านวนมากในพื้นที่ โดย รอบเหมืองดีบุกและโรงเลื่อย รวมถึงล�าน�้ าที่เป็ นเส้นทางค้าข้าว การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจนี้ เพิ่มศักยภาพในการหารายได้ของทางการขึ้นเป็ น อันมาก แต่ก็ก่อให้เกิดปัญหาหลายด้านและต้องมี โครงการต่างๆ เพิ่มขึ้นเป็ นจ�านวน มากซึ่งทางราชการต้องมีค่าใช้จ่ายด้วยเช่นกัน ล�าดับแรกคือการป้องกันประเทศ ซึ่งประเทศเพื่อนบ้านของสยามค่อยๆ ตกไปอยู่ ใต้การปกครองของมหาอ� านาจในยุค ล่าอาณานิ คมทีละประเทศ ขณะที่สยามเองก็ถูกคุกคามอย่างรุ นแรง ล�าดับต่อไป คือความต้องการระบบสาธารณู ป โภคสมัยใหม่เพื่อรองรั บการเติบโตของเศรษฐกิจ ใหม่เชิงพาณิ ชย์ ตั้งแต่ถนน ท่าเรื อ ไปจนถึงเครื อข่ายโทรเลข ต่อมาคือจ�านวน ประชากรซึ่งขยายตัวขึ้นในเมืองหลวงและเมืองต่างจังหวัด ท�าให้ต้องการที่อยู่อาศัย ถนน และระบบสุขาภิบาลที่ดีข้ึน ในขณะเดียวกัน ระบบราชการยังคงลักษณะอนุ รักษ์ นิยมเป็นอย่างยิ่ง การ รวบรวมเงินได้ข้ึนอยู่กับขุนนางท้องถิ่นและเจ้าภาษี นายอากรซึ่งหักส่วนแบ่งเงินภาษี จ�านวนมากไว้เอง ค่าใช้จ่ายหลักอย่างหนึ่ งของทางการคือการจ่ายเงินเบี้ยหวัดและ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ของพระบรมวงศานุ วงศ์ ค่าใช้จ่ายดังกล่าวสูงขึ้นเรื่ อยๆ เนื่ องจาก จ�านวนพระบรมวงศานุ วงศ์ท่ีเพิ่มขึ้น เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 344 |
ภาคที่ 3 : สถาบันพระมหากษัตริย์
เสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 2453 ทรงมีพระราชโอรส พระราชธิ ดา และพระราชนั ดดา เป็ นจ�านวนมาก ท�าให้ต้องใช้จ่ายเงินเป็ นจ�านวนมากขึ้นเรื่ อยๆ ในการสร้ างวังและ ต�าหนั กใหม่ๆ ดูแลวังเก่า ประกอบพระราชพิธีต่างๆ รวมถึงการเสด็จไปศึกษายัง ต่างประเทศของพระบรมวงศานุ วงศ์ ปรับสู่ระบบการเงินใหม่ แรงกดดันเหล่านี้ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนรู ปแบบวิธีบริ หารราชการแผ่นดิน การ เปลีย่ นแปลงดังกล่าวเริ่มจากการปฏิรูปทางการเงินใน พ.ศ. 2433 ซึ่งมีการตัง้ กระทรวง การคลังขึ้นมาเป็ นครั้ งแรก น� าวิธีสมัยใหม่ ในการจัดท�างบประมาณและท�าบัญชีมา ใช้ รวมถึงเปลี่ยนไปเก็บภาษี โดยตรงแทนการเก็บภาษี อากรแบบดั้งเดิม ผลคือ รายได้ของทางราชการเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่ าตื่นตะลึง จาก 15 ล้านบาทใน พ.ศ. 2435 เป็ น 50 ล้านบาทใน พ.ศ. 2448 ด้วยการปรั บการบริ หารราชการแผ่นดินเป็ นรู ปแบบสมัยใหม่นี้ เอง การใช้จ่ายที่ เกี่ยวเนื่ องกับพระบรมวงศานุ วงศ์จึงแยกออกไปอยู่ ในการดูแลของกรมพระคลังข้าง ที่ สังกัดกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ชื่อกรมดังกล่าวซึ่งตามตัวอักษรหมายถึง “คลังข้างพระแท่นบรรทม” มาจากชื่อหน่ วยงานโบราณซึ่งมีหน้ าที่จัดการเงินที่กันไว้ ใช้จ่ายเป็ นการส่วนพระองค์ของพระมหากษั ตริ ย์ รายได้ร้อยละ 15 ของทางการจะได้รับการจัดสรรไป ให้กรมพระคลังข้างที่ เมื่อ รายได้รวมของทางการเพิ่มขึ้น จ�านวนเงินที่ ได้รับการจัดสรรของกรมพระคลังข้าง ที่ก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน เช่นเดียวกับจ�านวนเจ้าพนั กงานและกิจกรรมต่างๆ ด้วย รายได้ ดังกล่าวเพิ่มขึ้นจาก 1.5 ล้านบาทใน พ.ศ. 2435 เป็ น 6.1 ล้านบาทใน พ.ศ. 2445 และ 8.7 ล้านบาทใน พ.ศ. 2455 ใน พ.ศ. 2438 กรมพระคลังข้างที่มีเจ้าพนั กงาน 26 คนในสี่กอง รั บผิดชอบงานด้านรายได้/รายรั บ ค่าใช้จ่ายของพระราชวัง การเงิน และหลักทรั พย์ เมื่อถึงช่วงปลายทศวรรษ 1910 (2453–2462) จ�านวนเจ้าพนั กงาน ดังกล่าวได้เพิ่มขึ้นเป็ นกว่า 200 คน โดยมีกองเพิ่มขึ้นสามกอง รั บผิดชอบงาน ก่อสร้ าง บัญชี และงานบริ หารส่วนกลาง ในช่ ว งแรก รายได้ ข องกรมพระคลั ง ข้ า งที่ น�า ไปเป็นค่ า ใช้จ่ า ยส่ ว นพระองค์ ข อง พระบรมวงศานุ วงศ์ ค่าใช้จ่ายในการบ�ารุ งรั กษาวัง และค่าใช้จ่ายในการเสด็จศึกษา ต่อต่างประเทศของพระบรมวงศานุ วงศ์เป็ นหลัก แต่เมื่อรายได้ดังกล่าวเพิ่มขึ้น ก็ มีเงินเหลือจ่ายจากค่าใช้จ่ายดังกล่าว และรู ปแบบการใช้จ่ายเงินคงเหลือดังกล่าวนี้ เอง ที่เป็ นรากฐานของทรั พย์สินส่วนพระมหากษั ตริ ย์ ในปัจจุบัน
ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
|
345
กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
ตามปกติแล้ว พระมหากษั ตริ ย์หรื อพระราชินีนาถผู้เป็ นประมุขของประเทศจะ ได้รับการปกป้องจากการท�าอันตรายและการดูหมิ่นโดยกฎหมายหมิ่นพระบรม เดชานุ ภาพ ขณะที่เนื้ อหาของกฎหมายดังกล่าวมักมีความคล้ายคลึงกัน แต่ การน� าไป ใช้จริ งนั้ นแตกต่างกันไปในแต่ละราชอาณาจักร ในประเทศไทย คดี หมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพทวีจ�านวนขึ้นอย่างมากในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่ง ท�าให้ผู้คนหันมาสนใจกฎหมายดังกล่าว ที่มา และความอ่อนไหวอันมีลักษณะ เฉพาะต่อการน� ากฎหมายดังกล่าวไป ใช้ ในทางที่ ไม่เหมาะสม (บน) ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ประชาชนมารวมตัวกันที่โรงพยาบาลศิริราชซึ่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประทับรักษาพระอาการประชวรอยู่ เมื่อค�านึงถึงความจงรัก ภักดีซึ่งชาวไทยมีให้พระบรมวงศานุวงศ์โดยทั่วไปแล้ว นักวิชาการทางกฎหมายบางคนจึง กล่าวว่ากฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพซึ่งห้ามมิให้มีการลบหลู่ดูหมิ่นพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวเป็นกฎหมายที่เหมาะสมแล้วในฐานะภาพสะท้อนของประชามติในสังคมไทย 374 |
ภาคที่ 3 : สถาบันพระมหากษัตริย์
กษั ตริ ย์สยามสมัยโบราณมีสถานะอันสูงส่งซึ่งเปรี ยบเทียบได้ยากกับเจ้าผู้ครองนคร อื่นใด86 การที่สามัญชนมองดูกษั ตริ ย์สยามถือเป็ นโทษร้ ายแรงมาจนถึงศตวรรษ ที่ 19 และตามความเชื่อทั้งทางสังคม วัฒนธรรม ศาสนา การอบรมสั่งสอน และ ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ชาวไทยส่วนใหญ่ ในปัจจุบันก็ยังคงความเคารพพระ มหากษั ตริ ย์และพระบรมวงศานุ วงศ์อยู่ ในเบื้องลึก ตามจริ งแล้ว ความแตกต่าง ส�าคัญประการหนึ่ งระหว่างประเทศไทยยุคนี้ และประเทศในระบอบราชาธิ ป ไตยใต้ รั ฐธรรมนู ญอื่นๆ คือในประเทศดังกล่าวนั้ น การแสดงความคิดไปในเชิงอยากให้เป็ น สาธารณรั ฐเป็ นสิ่งถูกกฎหมาย หรื ออย่างน้ อยก็ ได้รับการยอมรั บอย่างไม่เต็มใจนั ก ในประเทศไทย ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ระบุไว้ว่า “ผู้ ใดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรื อแสดงความอาฆาตมาดร้ ายพระมหากษั ตริ ย์ พระราชินี รั ชทายาท หรื อ ผู้ส�าเร็ จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษจ�าคุกตั้งแต่สามปี ถึงสิบห้าปี ” กฎหมาย หมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพดังกล่าวเป็ นกฎหมายที่หนั กที่สุด และเท่าที่ผ่านมา มีการน� า มาใช้บ่อยครั้ งที่สุดในบรรดากฎหมายลักษณะเดียวกันนี้ ในโลกปัจจุบัน มีเพียงไม่กี่ปีหลังมานี้ระหว่างช่วงที่เกิดความวุ่นวายทางการเมืองอย่างรุ นแรง ที่เกิด การถกเถียงกันขึ้นเรื่ องกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพ ก่อนหน้ านี้ ความคิดทั่วไป มีอยู่ว่าเพียงการวิจารณ์ กฎหมายดังกล่าวก็อาจถือเป็ นการหมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพ แล้ว อย่างไรก็ตาม จ�านวนคดีที่พุ่งสูงขึ้นได้ดึงความสนใจมายังกฎหมายที่มีอยู่ ซึ่ง เพียงหนึ่ งทศวรรษก่อนหน้ านั้ นดูเหมือนจะไม่มีการน� ามาใช้อีกต่อไปแล้ว และท�าให้ เรื่ องนี้ เป็ นประเด็นที่มีการโต้เถียงกันมากที่สุดประเด็นหนึ่ งในปัจจุบัน โดยทั่วไปแล้ว ฝ่ ายที่สนั บสนุ นกฎหมายนี้ ให้เหตุผลว่าปัญหาไม่ ได้อยู่ท่ีตัวกฎหมาย เอง แต่อยู่ท่ีตัวบุคคลที่ ไม่ยึดถือหลักการซึ่งน� ากฎหมายดังกล่าวไป ใช้เพื่อเหตุผล แอบแฝง ส่วนฝ่ ายตรงข้ามมองว่านี่ เป็ นกฎหมายทีส่ ืบมาจากยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งไม่สอดคล้องกับหลักประชาธิ ป ไตย
ที่มาในประเทศไทย ต้นแบบของกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพในสยามนั้นอยู่ ในกฎหมายตราสามดวง พ.ศ. 2348 ซึ่งรวบรวมและช�าระขึ้นจากกฎหมายสมัยกรุ งศรี อยุธยา ตามมาตรา 7 ของพระไอยการอาญาหลวงนั้ นระบุโทษไว้ดังต่อไปนี้
86 สถานะนี้คือสถานะสมมุติเทวราช ซึ่งสยามรับอิทธิพลมาจากขอม ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจาก อินเดียอีกชั้นหนึ่ง สถานะใกล้เคียงกันนี้อาจพบได้ในประเทศ เช่น จีน อินเดีย และบางประเทศใน แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ในที่นี้ผู้เขียนน่าจะหมายถึงเจ้าครองนครในยุโรป – บรรณาธิการ
กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพ
|
375
“๗ มาตราหนึ่ ง ผู้ ใดทนงองอาจ์บย�าบกลัว เจรจาหยาบช้าต่อพระเจ้าอยู่หัว ประมาท หมิ่นพระราชบัญญัติแลพระบันทูลพระโองการ ท่านว่าผู้นั้นเลมิดพระราชอาญาหลวง พระเจ้าอยู่หัว ท่านให้ลงโทษ ๘ สถานๆ หนึ่ งคือ ให้ฟันฅอริ บเรื อน ๑ ให้ตัดปากตัดหูตัดมือตัดตีนเสีย ๑ ให้ทวนด้วยลวดหนั ง ๒๕/๕๐ ที ๑ ให้จ�าไว้เดือนหนึ่ ง แล้วเอาตัวลงหญ้าช้าง ๑ ให้ ไหมจัตุระคูน แล้วเอาตัวลงเปนไพร่ ๑ ให้ ไหมทวีคูน ๑ ให้ ไหมลาหนึ่ ง ๑ ให้ภาคทัณฑ์ ไว้ ๑”87 ในศตวรรษที่ 19 พระมหากษั ตริ ย์ ไทยทรงมีพระราชอ�านาจและเคยใช้พระราช อ�านาจลงอาญาคุมขังผู้วิพากษ์ วิจารณ์ พระองค์เป็ นเวลายาวนานด้วยข้อหาที่อาจเรี ยก ได้ว่าเป็ นการหมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพ88, 89 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว (ครองราชย์ พ.ศ. 2411–2453) ทรงรวมศูนย์และปรั บเปลี่ยนระบบยุติธรรม ไทยให้เป็นแบบสมัยใหม่ พระองค์ทรงออกพระราชก�าหนดที่รวมเอาการหมิ่น ประมาท การปลุกระดม และการหมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพเข้าเป็ นกฎหมายเดียวกัน กฎหมายใหม่นี้น่าจะได้รับอิทธิ พลมาจากการเสด็จประพาสยุโรปใน พ.ศ. 2440 เมื่อ เสด็จเยือนสมเด็จพระจักรพรรดิเยอรมันพระองค์สุดท้ายคือไกเซอร์ วิลเฮล์มที่ 2 ที่เบอร์ ลิน จากจ�านวนคดีหมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพที่มีการฟ้ องร้ องในจักรวรรดิ เยอรมันสมัยนั้ น90 ไม่น่าเป็ นไปได้ท่ีประเด็นดังกล่าวจะเล็ดลอดพระเนตรพระกรรณ 87 คณะนิติศาสตร์, ประมวลกฎหมายรัชกาลที่หนึ่ง จุลศักราช 1166 พิมพ์ตามฉบับหลวงตราสาม ดวง, เล่ม 2, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์, 2529.
88 Craig J. Reynolds, “Sedition in Thai History: A Nineteenth-Century Poem and its Critics,” in, Manas Chitakasem and Andrew Turton, eds., Thai Constructions of Knowledge, London: School of Oriental and African Studies, University of London, 1991, pp. 28–31. ี่ ล่าวถึงนีค้ อื กรณีของหลวงพัฒนพงศ์ภกั ดี (ทิม สุขยางค์) ผูป้ ระพันธ์เรือ่ งนิราศหนองคาย 89 กรณีทก ในช่วงต้นรัชกาลที่ 5 นิราศดังกล่าวเล่าถึงการติดตามเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธ�ารง (เพ็ง เพ็ญกุล) ไป
ปราบจีนฮ่อ เนือ้ หานอกจากบรรยายการยกทัพและการเดินทางแล้ว ยังมีการกล่าวเป็นเชิงวิพากษ์การ สัง่ การให้ยกทัพของเจ้าพระยาศรีสรุ ยิ วงศ์ (ช่วง บุนนาค) ทีใ่ ห้ออกเดินทางในฤดูฝน ท�าให้ไพร่พลได้รบั ความยากล�าบาก เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ไม่พอใจการวิพากษ์นี้ และกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า เนื้อหามีนัยหมิ่นประมาทหยาบคาย ขอให้ทรงเอาโทษประหารชีวิต ผู้ประพันธ์ ภายหลังทรงตัดสินให้เฆี่ยนนายทิม 50 ครั้ง และจ�าคุกประมาณ 8 เดือน – บรรณาธิการ 90 สาเหตุส่วนใหญ่ของการวิพากษ์เหล่านี้ เป็นเพราะไกเซอร์วิลเฮล์มที่ 2 นั้นแม้จะทรงเป็น จักรพรรดิที่มีพระด�าริสมัยใหม่ แต่ทรงเป็นผู้มีอารมณ์รุนแรงยิ่ง มักมีพระราชด�ารัสโดยมิได้ยั้งคิดเป็น นิตย์ บ่อยครั้งจึงไม่เป็นที่พอใจของหนังสือพิมพ์และประชาชนเยอรมัน – บรรณาธิการ 376 |
ภาคที่ 3 : สถาบันพระมหากษัตริย์
พระราชก�าหนดที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตราขึ้นนั้ นมี โทษ ขั้นสูงเบา ซึ่งท�าให้กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพของสยามค่อนข้างเป็ นเสรี นิยม เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ในสมัยนั้ น เป็ นที่น่าสังเกตว่ากฎหมายดังกล่าวมีเงื่อนไข ยกเว้นโทษที่ปกป้องผู้ที่แสดง “ความคิดเห็นโดยสุจริ ต” และมีการน� าศัพท์สมัยใหม่ มาใช้บางส่วนเพื่อให้ถ้อยค�าที่เขียนแบบโบราณชัดเจนขึ้น
[ร.ศ. 118 (พ.ศ. 2442)] หมิ่นประมาทพระผู้เปนเจ้า พระอรรคมเหษี พระบรม โอรสาธิราช แลพระเจ้าแผ่นดินต่างประเทศ มาตรา 4 ผู้ ใดหมิน่ ประมาทพระผูเ้ ปนเจ้า ซึ่งด�ารงสยามรั ฐมณฑล ฤๅสมเด็จพระอรรคมเหษี ฤๅสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชก็ดี ฤๅสมเด็จพระมหากระษั ตราธิ ราชเจ้าผู้ครองเมืองต่างประเทศ ฤๅมหาประธานาธิ บดี ผู้ครองเมืองต่างประเทศ ซึ่งมีทางพระราชสัมพันธมิตรไมตรี อันสนิ ทด้วยกรุ งสยาม ก็ดี โดยกล่าวเจรจาด้วยปาก ฤๅเขียนด้วยลายลักษณอักษร ฤๅกระท� าการอย่างใด อย่างหนึ่ งในที่เปิ ดเผยท่ามกลางประชุมชนทั้งหลาย ด้วยกายวาจาอันมิบังควร ซึ่งเปน ที่แลเห็นได้ชัดว่าเปนการหมิ่นประมาทแท้ ท่านว่าผู้นั้นกระท�าผิด [โทษจ�าคุกไม่เกิน 91 3 ปี /ปรั บไม่เกิน 1,500 บาท] อย่างไรก็ตาม หลังจาก ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2451) บทลงโทษของความผิดฐานหมิ่น พระบรมเดชานุ ภาพซึ่งได้รวมเข้าในกฎหมายลักษณะอาญาฉบับแรกนั้นเพิ่มขึ้นเป็ น จ�าคุกไม่เกิน 7 ปี ท�าให้มีบทลงโทษในระดับเดียวประเทศสมบูรณาญาสิทธิ ราชย์ ประเทศอื่นๆ ที่ปกครองอย่างแข็งกร้ าวกว่า ที่ โดดเด่นคือรั สเซียและสเปน ซึ่งทั้ง สองประเทศก�าหนดโทษดังกล่าวไว้ที่การจ�าคุกไม่เกิน 8 ปี 92,93 ที่แตกต่างจากประเทศ ในระบอบราชาธิ ป ไตยใต้ รั ฐธรรมนู ญ จ� า นวนมากในยุ ค นั้ น คื อ กฎหมายดั ง กล่ า ว ตราขึ้นเพื่อปกป้องพระบรมวงศานุ วงศ์ ในวงกว้างกว่า และมีการเพิ่มค�าว่า “อาฆาฎ มาดร้าย” ซึ่งมีความก�ากวมทางกฎหมายลงไปด้วย รวมถึงยกเลิกข้อยกเว้นโทษทัง้ หมด94 [ร.ศ. 127] มาตรา 98 ผู้ ใดทนงองอาจ แสดงความอาฆาฎมาดร้ าย หรื อหมิ่น ประมาทต่อสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ดี สมเด็จพระมเหษี ก็ดี มกุฏราชกุมารก็ดี ต่อ 91 รัฐบาลไทย, "พระราชก�าหนดลักษณะหมิ่นประมาทด้วยการพูดหรือเขียนถ้อยค� าเท็จออก โฆษณาการ รัตนโกสินทร์ศก 118,” ใน ประชุมกฎหมายประจ�าศก, เล่ม 17, ร.ศ. 118–19, น. 20–21.
92 The New York Times, 18 December 1910. ่ โทษนี ้ มีความเป็นไปได้วา่ จะเกีย่ วข้องกับการรวมอ�านาจปกครองสูศ่ นู ย์กลางและการ 93 การเพิม
จัดเก็บภาษีแบบใหม่ของรัฐบาลที่กรุงเทพฯ ซึ่งส่งผลให้ผู้ปกครองท้องถิ่นไม่พอใจ ตลอดจนประชาชน ที่ไม่เคยอยู่ในระบบเงินตราอย่างสมัยใหม่มาก่อนประสบความล�าบาก ในช่วงประมาณ ร.ศ. 118–124 จึงมีความไม่สงบในภาคต่างๆ หลายครัง้ เช่น กบฏผีบญ ุ ในภาคอีสาน และกบฏพระยาแขกเจ็ดหัวเมือง ในภาคใต้ – บรรณาธิการ 94 ส่วนกฎหมายหมิน ่ ประมาทส�าหรับประมุขต่างประเทศนัน้ ยังคงอยู ่ โดยแยกไปไว้ทมี่ าตรา 113 มีโทษเท่ากับมาตรา 100 – บรรณาธิการ
กฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุ ภาพ
|
377
คณะผู้จัดทำา ที่ปรึกษาบรรณาธิการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อัศวริรุฬหการ
นักภ�ษ�ศ�สตร์และนักอักษรศ�สตร์ช�วไทย ผู้เชี่ยวช�ญด้�นภ�ษ�และวรรณคดีบ�ลี ภ�ษ�สันสกฤต หนึ่งในนักวิช�ก�ร ด้�นพุทธศ�สน์ศึกษ�ยุคใหม่ของไทยที่ทำ�ง�นในระดับน�น�ช�ติ ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งคณบดีคณะอักษรศ�สตร์ จุฬ�ลงกรณ์ มห�วิทย�ลัย
ที่ปรึกษา : นิตยา มาศะวิสุทธิ์
นิตย� ม�ศะวิสุทธิ์ อดีตประธ�นสม�คมภ�ษ�และหนังสือแห่งประเทศไทยในพระบรมร�ชูปถัมภ์ หนึ่งในคณะกรรมก�ร ผู้ตัดสินร�งวัล S.E.A. Write
บรรณาธิการ : ตรัสวิน จิตติเดชารักษ์
เกิดและเติบโตในร้�นหนังสือสุริวงศ์บุ๊คเซ็นเตอร์ เชียงใหม่ จบปริญญ�ตรีด้�นก�รออกแบบสิ่งพิมพ์จ�ก Parsons School of Design นิวยอร์ค สหรัฐอเมริก� และหลักสูตรก�รทำ�สำ�นักพิมพ์สำ�หรับมืออ�ชีพจ�กมห�วิทย�ลัย Stanford เป็นผู้ก่อตั้ง สำ�นักพิมพ์ Silkworm Books ผลิตผลง�นคุณภ�พฉบับภ�ษ�อังกฤษเกี่ยวกับไทยคดีศึกษ�และอุษ�อ�คเนย์ศึกษ� ปัจจุบัน ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมก�รบริห�รสม�คมผู้จัดพิมพ์น�น�ช�ติ และเป็นผู้หนึ่งที่มีส่วนสำ�คัญในก�รเป็นกรรมก�รพิจ�รณ�กำ�หนด ยุทธศ�สตร์และแนวท�งพัฒน�กรุงเทพมห�นครให้เป็นมห�นครแห่งก�รอ่�น และเป็นประธ�นอนุกรรมก�รเตรียมก�รเพื่อเป็น เจ้�ภ�พ IPA Congress 2014
ผู้แปล : มนันยา ธนะภูมิ
มนันย� ธนะภูมิ หรือมนันย� วิทย�นนท์ นักเขียนและนักแปลผู้มีชื่อเสียงในด้�นก�รใช้ภ�ษ� ลีล�ก�รเขียนเฉียบ แหลมและฉับไว มีสำ�นวนภ�ษ�ที่คมค�ยไพเร�ะ โดยเฉพ�ะอ�รมณ์ขันอันเป็นเอกลักษณ์ประจำ�ตัว หลังจบก�ร ศึกษ�จ�กจุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย ได้รับทุนก�รศึกษ�เพื่อไปศึกษ�ต่อคณะรัฐประศ�สนศ�สตร์จ�ก Institute International’s d’Administration Publique ณ กรุงป�รีส ประเทศฝรั่งเศส นิย�ยที่สร้�งชื่อให้เป็นที่รู้จักได้แก่ เลข�นินท�น�ย เรื่องสั้นชุด ช�วเขื่อน ผลง�นแปลมีทั้งนวนิย�ย เรื่องสั้นแนวลึกลับระทึกขวัญ สืบสวนสอบสวน รวมถึงผลง�นที่สร้�งสรรค์ของนักเขียนเรื่องสั้นสมัยใหม่ กีย์ เดอ โมปัสซังค์ ได้แก่ สร้อยเพชรที่หล่นห�ย, เหตุเกิด เพร�ะเชือกเส้นเดียว ปัจจุบันมีผลง�นที่เขียนและแปลกว่� 40 เรื่อง
ผู้แปล : พรรษพร ชโลธร
พรรษพร ชโลธร นักเขียน นักแปลอิสระ และนักออกแบบสิ่งพิมพ์ จบก�รศึกษ�ระดับปริญญ�ตรีจ�กคณะ สถ�ปัตยกรรมศ�สตร์ จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย มีประสบก�รณ์ในก�รเขียนนวนิย�ยตีพิมพ์แพร่หล�ยในนิตยส�ร ชั้นนำ� ทั้งกุลสตรีและสกุลไทย และยังมีผลง�นรวมเล่มตั้งแต่ก่อนสำ�เร็จก�รศึกษ� หลังจ�กนั้นได้ไปศึกษ�ต่อใน หลักสูตร Communications Design ณ Pratt Institute สหรัฐอเมริก� และศึกษ�ต่อในระดับปริญญ�โทส�ข� วิช�ก�รแปล ที่คณะอักษรศ�สตร์ ณ จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย ปัจจุบันมีผลง�นแปลม�แล้ว 6 เล่ม รวมถึงผลง�น นวนิย�ย และเรื่องสั้นอีกม�กม�ย
“กลางใจราษฎร์” • • • • • •
ปกแข็ง หุ้มแจ๊กเก็ต ตัวอักษรปั๊มนูน พิมพ์ทอง 512 หน้� พิมพ์สี่สีตลอดทั้งเล่ม ภ�พประกอบม�กกว่� 400 ภ�พ ขน�ด 27 X 19.5 ซม. หนังสือปกติ ราคา 999 บาท Special Gift Set ราคา 1,349 บาท
บริษัท เอเซียบุ๊คส จำากัด เลขที่ 99 อ�ค�รเบอร์ลี่ ยุคเกอร์ ชั้น 14 ซอย รูเบีย สุขุมวิท 42 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 02-715-9000 WWW.ASIABOOKS.COM วางจำาหน่ายแล้ววันนี้ ต�มร้�นหนังสือชั้นนำ�ทั่วประเทศ