บทนำใน หนังสือแผนที่สร้างชาติ

Page 1



จากมานุษยวิทยาสู่ภูมิศาสตร์

บทน�ำ

จากมานุษยวิทยาสู่ภูมิศาสตร์



“ฉันพยายามอธิบายกับมาคุสว่า แผนทีห่ นึง่  ๆ นัน้ มีขอ้ จำ�กัดทัง้ ในแง่ของ ขนาดและรายละเอียดที่ทำ�ให้มันไม่สามารถบรรจุทุกสิ่งทุกอย่างลงไป ได้ แต่มาคุสกลับยืนยันว่า หากแผนทีป่ ราศจาก ‘ชีวติ ’ ในนัน้ มันก็ยอ่ ม เป็นสิ่งที่ ‘ไร้ประโยชน์’” Sophie Chao

(2017)1

คำ�กล่าวข้างต้นเป็นมาจากบทสนทนาระหว่าง Sophie Chao นักมานุษยวิทยา ทีส่ นามของเธออยูใ่ นปาปัวนิวกินตี ะวันตกกับ Marcus ซึง่ เป็นผู้ ให้ขอ้ มูลสนาม Marcus ได้พยายามจะบอกเธอว่า แผนที่ที่ทำ�โดยหน่วยงานราชการนั้นใช้งาน ไม่ได้จริงอย่างไรบ้าง เหตุผลสำ�คัญก็คอื แผนทีช่ ดุ ดังกล่าวไม่ได้รวมเอา “ชีวติ ” ของพวกเขาเข้ามาด้วย แม้วา่ แผนทีข่ องราชการจะมีความถูกต้องตามมาตรฐาน ทัง้ ในแง่ของการกำ�หนดระยะทางและทิศทาง แต่มนั กลับปราศจาก “ชีวติ ” ใน จักรวาลวิทยาของคนปาปัวนิวกินนี นั้ สิง่ อืน่  ๆ ทีไ่ ม่ใช่มนุษย์ ไม่วา่ จะเป็นต้นไม้ สัตว์ หรือแม้แต่ผกี เ็ ป็นส่วนหนึง่ ของสังคม แต่ในแผนทีข่ องราชการกลับปราศจากทั้งชีวิตของมนุษย์และความสัมพันธ์ที่พวกเขามีต่อสิ่งอื่น ๆ ที่ไม่ใช่มนุษย์ มากไปกว่านั้น แผนที่ของทางราชการยังพยายามจัดวางสิ่งต่าง ๆ ในแผนที่ให้ หยุดนิง่ อยูก่ บั ทีด่ ว้ ย ทัง้ ทีใ่ นความเป็นจริงแล้ว ชีวติ ของชาวปาปัวนิวกินนี นั้ เต็ม 1

http:// anthronow. com/ feature– preview/ there– are– no– straight– lines– in– na-

ture?plat​form=hootsuite

—17—


จากมานุษยวิทยาสู่ภูมิศาสตร์

ไปด้วยการเคลือ่ นที่ และเต็มไปด้วยระบบความสัมพันธ์ทางสังคมในระบบนิเวศวิทยาทีซ่ บั ซ้อน แน่นอนว่าแผนทีท่ สี่ ร้างขึน้ ด้วยความรูแ้ บบภูมศิ าสตร์สมัยใหม่ ใด ๆ ในโลกใบนี้ก็เป็นเช่นเดียวกัน คือ มุ่งเน้นความหยุดนิ่ง และปฏิเสธชีวิต แผนทีร่ าชการซึง่ สร้างขึน้ โดยวิชาภูมศิ าสตร์สมัยใหม่ในตัวมันเองจึงเป็นการลด ทอนสิง่ ต่าง ๆให้อยูใ่ นระดับนามธรรม และกลายเป็นเพียงวัตถุของการควบคุม ให้อยูก่ บั ที่ มากกว่าทีจ่ ะให้ความสำ�คัญกับชีวติ และนิเวศวิทยาทีเ่ ป็นรูปธรรมของ ผู้คน สัตว์ พืช และผี การทำ�ให้สิ่งต่าง ๆ หยุดนิ่งอยู่กับที่เป็นเป้าหมายของรัฐและการสร้างรัฐ ตลอดมาในประวัติศาสตร์ของมนุษย์ การเคลื่อนที่และย้ายถิ่นไปเรื่อย ๆ จึง เป็นการต่อต้านและปฏิเสธรัฐและอำ�นาจรัฐ งานเขียนของ Pierre Clastres นัก ชาติพันธุ์วิทยาชาวฝรั่งเศส รวมถึงงานเขียนของ Gilles Deleuze และ Felix Guattari และล่าสุดคืองานของ James C. Scott เองได้พยายามชี้ ให้เห็นว่า การเคลือ่ นทีข่ องมนุษย์และสิง่ ทีไ่ ม่ใช่มนุษย์นนั้ เป็นแรงขับดันสำ�คัญของประวัต-ิ ศาสตร์ ควบคูไ่ ปกับความพยายามของรัฐและกลไกอำ�นาจทีต่ อ้ งการการรวมศูนย์ เข้ามาทีส่ ว่ นกลาง เพือ่ ควบคุมส่วนอืน่  ๆ ให้หยุดนิง่ กับที่ ไม่เคลือ่ นไปไหน แน่นอน ว่ารัฐในยุคสมัยต่าง ๆ มีวธิ กี ารและเครือ่ งมือเครือ่ งไม้ ในการควบคุมแตกต่างกัน ออกไป รัฐสมัยอยุธยาซึง่ เป็นรัฐศักดินาผูกคนไว้กบั เจ้านายผ่านสถานะทางสังคม แบบไพร่ทาส และอาศัยการสักเลกที่ข้อมือเพื่อที่เจ้านายจะสามารถระบุสังกัด ให้แก่ไพร่และทาสได้ แต่การต่อต้านรัฐหรือการหลีกหนีจากรัฐ ซึ่งก็หมายถึง การหลีกหนีจากการถูกควบคุมและการอยูก่ บั ทีน่ นั้ เป็นสิง่ ทีด่ �ำ รงอยูค่ วบคูก่ นั ไป อยู่ตลอดในประวัติศาสตร์ของมนุษย์ Scott เองชีว้ า่ มนุษย์มช ี วี ติ อยูก่ นั เป็นสังคมโดยปราศจากรัฐมาอย่างยาวนาน และการมีชีวิตโดยปราศจากรัฐหรืออำ�นาจที่อยู่เหนือพวกเขาขึ้นไปก็น่าจะเป็น ธรรมชาติมนุษย์มากกว่าการอยู่ใต้อำ�นาจรัฐหรือเป็นสมาชิกของรัฐ Clastres เสนอในงานศึกษาเกีย่ วกับสังคมอเมซอนของเขาว่า สังคมอเมซอนซึง่ ปราศจาก กษัตริย์ กฎหมาย และพระเจ้า ไม่ใช่สงั คมทีล่ า้ หลังป่าเถือ่ น แต่พวกเขาจงใจ ออกแบบสังคมและกลไกทางสังคมเพื่อป้องกันการเกิดขึ้นของรัฐ โดยเฉพาะ

—18—


แผนที่สร้างชาติ

อย่างยิง่ การใช้สงครามระหว่างเผ่าและการกระจายความเสีย่ งทีจ่ ะตายด้วยนํา้ มือ คนอืน่ ไปอยูใ่ นมือของคนทุกคนในสังคม ในแง่นี้ สังคมไร้รฐั ในอเมซอนจึงตรง กันข้ามอย่างสิน้ เชิงกับรัฐในความหมายของ Max Weber ทีเ่ สนอว่า รัฐคือกลไก การผูกขาดการใช้ความรุนแรง สังคมอเมซอนไม่ใช่สงั คมทีป่ ราศจากความรุนแรง แต่อำ�นาจของความรุนแรงไม่ได้ถูกผูกขาดอยู่ที่คนใดคนหนึ่งหรือสถาบันใด สถาบันหนึง่ แบบในสังคมมีรฐั เช่นเดียวกัน ในงานของ Deleuze กับ Guattari พวกเขาชีว้ า่ การก่อตัวของอำ�นาจรัฐและกลไกอำ�นาจรัฐนัน้ เป็นสิง่ ทีม่ าทีหลังการ ใช้ชีวิตของมนุษย์ ในขณะที่มนุษย์มีชีวิตอยู่โดยปราศจากรัฐ การพัฒนากลไก และเทคโนโลยีในการปกครองของรัฐเป็นสิง่ ทีว่ งิ่ ไล่ตามเทคนิคและรูปแบบของ การหลบหนีและถอยห่างจากรัฐของผู้คน การขยายตัวของรัฐจึงไม่ใช่สิ่งที่เกิด จากแรงขับภายในตัวของรัฐเองเท่ากับแรงขับที่เกิดจากภายนอกตัวรัฐ นั่นคือ คนไร้รัฐและสภาวะไร้รัฐที่ดำ�รงอยู่มาอย่างยาวนานควบคู่ไปกับการเกิดรัฐ การตั้งต้นที่สภาวะไร้รัฐในฐานะที่เป็นสาเหตุและปัจจัยขับเคลื่อนให้รัฐถือ กำ�เนิดขึ้นและพัฒนาตัวเองจึงเป็นกรอบคิดที่ตรงกันข้ามกับการเชื่อว่ารัฐเป็น สิ่งจำ�เป็นในตัวของมันเอง และยังตรงกันข้ามกับความเชื่อที่ว่ารัฐคือปลายทาง ที่แน่นอนของสังคมมนุษย์ ซึ่งเป็นฐานคิดของวิชารัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยทัว่ ไป การเริม่ ต้นทำ�ความเข้าใจรัฐจากสภาวะไร้รฐั หรือการปฏิเสธรัฐอาจจะ เป็นทางเลือกหนึง่ ในการทำ�ความเข้าใจปรากฏการณ์ของการเกิดรัฐและการขยาย ตัวของรัฐ รวมถึงกำ�เนิดของชาติและชาตินิยมด้วย และนี่คือฐานคิดเบื้องต้น ของหนังสือเล่มนี้ หนังสือเล่มนีเ้ ป็นงานต่อยอดจากงานวิจยั เกีย่ วกับการประดิษฐ์สร้างความรู้ เกี่ยวกับ “หมู่บ้านชนบทไทย” ของนักมานุษยวิทยาอเมริกันและไทยในยุค สงครามเย็น2 ข้อค้นพบของงานวิจยั ดังกล่าวก็คอื สงครามเย็นและสหรัฐอเมริกา ดู เก่งกิจ กิติเรียงลาภ, “มานุษยวิทยาจักรวรรดิ: การสร้างหมู่บ้านชนบทไทยในยุค สงครามเย็น,” รัฐศาสตร์สาร, ปีที่ 37 ฉบับที่ 3 (กันยายน–ธันวาคม 2559), หน้า 99– 149. และรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ใน เก่งกิจ กิติเรียงลาภ, มานุษยวิทยาจักรวรรดิ: การ

2

—19—


จากมานุษยวิทยาสู่ภูมิศาสตร์

มีสว่ นอย่างสำ�คัญในการสนับสนุนการทำ�วิจยั เกีย่ วกับประเทศไทยในสองทศวรรษ แรกของสงครามเย็น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ไทยศึกษาในยุคแรกได้รบั อิทธิพลจาก การทำ�วิจัยหมู่บ้านชนบทหรือที่เรียกว่า “ชนบทศึกษา” โดยนักมานุษยวิทยา อเมริกันที่เข้ามาในประเทศไทย รวมถึงสหรัฐฯ ยังมีส่วนในการสนับสนุนการ ก่อตั้งสาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในประเทศไทย พร้อม ๆ กับการ สนับสนุนการเรียนต่อและการทำ�วิจยั เกีย่ วกับหมูบ่ า้ นชนบทไทยของนักมานุษยวิทยาไทยรุ่นบุกเบิกด้วย อุตสาหกรรมการวิจัยชนบทศึกษาในประเทศไทยใน ยุคแรกนัน้ ถูกชีน้ �ำ ด้วยวาระทางการเมืองทีเ่ กีย่ วพันกับความมัน่ คงและการต่อต้าน ภัยคอมมิวนิสต์ในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ผลก็คอื หน่วย การวิเคราะห์ทเ่ี รียกว่าหมูบ่ า้ นชนบทกลายมาเป็นฐานหลักของการสร้างความรู้ เกีย่ วกับสังคมไทย ซึง่ ยังเป็นมรดกตกทอดมาถึงแวดวงวิชาการมานุษยวิทยาไทย จนถึงปัจจุบัน กล่าวให้ชัดกว่านั้นก็คือ หมู่บ้านชนบทในฐานะที่เป็นหน่วยของ การปกครองและการหาความรูข้ องรัฐไทยในช่วงสงครามเย็นคือความพยายาม ของรัฐที่จะจัดการกับสภาวะที่จัดประเภทไม่ได้และการเคลื่อนที่ไปมาของผู้คน หรือที่เรียกรวม ๆ ในสมัยนั้นว่าผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ มากกว่าที่หมู่บ้าน ชนบทจะเป็นสิ่งที่มีมาโดยธรรมชาติ ในระหว่างการเก็บข้อมูลงานวิจยั ผูเ้ ขียนพบร่องรอยหลายประการทีค่ วรค่า แก่การศึกษาต่อ หนึ่งในนั้นก็คือ กระบวนการประดิษฐ์สร้างหมู่บ้านชนบท ในฐานะหน่วยของการหาความรู้ ไม่ได้เกิดขึ้นจากบทบาทของนักมานุษยวิทยา เท่านัน้ แต่ศาสตร์ตา่ ง ๆ ทัง้ วิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้ถกู นำ�มาใช้เพือ่ สร้าง ความรูด้ า้ นไทยศึกษาด้วย วิชาภูมศิ าสตร์โดยเฉพาะอย่างยิง่ ศาสตร์วา่ ด้วยการ ทำ�แผนที่ (cartography) คือส่วนสำ�คัญทีน่ กั สังคมศาสตร์ทง้ั ไทยและอเมริกนั ใช้ เป็นฐานในการทำ�วิจยั หมูบ่ า้ นชนบท เมือ่ สืบย้อนกลับไป ผูเ้ ขียนพบว่า นอกจาก ที่นักมานุษยวิทยารุ่นบุกเบิกด้านไทยศึกษาอย่าง Lauriston Sharp, Charles ประดิษฐ์ “หมู่บ้านชนบท” และกำ�เนิดมานุษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น (กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, กันยายน 2559)

—20—


แผนที่สร้างชาติ

และสุเทพ สุนทรเภสัช งานวิจัยชาติพันธุ์วรรณนาเกี่ยวกับชาวเขาใน ประเทศไทยของศูนย์วิจัยชาวเขามีบทบาทอย่างมากในการทำ�แผนที่หมู่บ้าน ชนบทไทยร่วมกับรัฐ แผนที่หมู่บ้านกลายมาเป็นทั้งเครื่องมือในการเข้าถึง หมูบ่ า้ น/ชาวเขา พร้อม ๆ กับทีแ่ ผนทีก่ ลายมาเป็นผลิตผลของการลงสนาม จาก ข้อมูลดังกล่าว ผูเ้ ขียนจึงสืบค้นต่อเกีย่ วกับการทำ�แผนทีใ่ นประเทศไทย พบว่า ใน ช่วงสองทศวรรษแรกของสงครามเย็นนีเ้ องทีแ่ ผนทีท่ มี่ รี ายละเอียดระดับหมูบ่ า้ น ถูกสร้างขึน้ เป็นครัง้ แรก พร้อม ๆ กับการเข้ามาของเทคโนโลยีและเครือ่ งมือใหม่ ๆ เช่น เทคโนโลยีการบิน การถ่ายภาพและกล้อง รวมถึงการเกิดขึน้ ของสถาบัน ความรู้ต่าง ๆ ที่มีส่วนในการสร้างและตีความแผนที่ คำ�ถามทีต่ ามมาก็คอื เทคโนโลยีและเครือ่ งมือดังกล่าวเกิดขึน้ ภายใต้บริบท อะไร ข้อสรุปเบือ้ งต้นคือสงครามโลกครัง้ ทีห่ นึง่ และครัง้ ทีส่ อง และโดยเฉพาะ อย่างยิ่ง สงครามเย็นก็คือเงื่อนไขเชิงบริบทที่สำ�คัญที่สุดที่ผลักดันให้เกิดการ พัฒนาเทคโนโลยีดงั กล่าว ผลของสงครามก็คอื การทำ�แผนทีจ่ ากภาพถ่ายทาง อากาศที่มีสามารถมองเห็นรายละเอียดเชิงพื้นที่ได้จากบนฟากฟ้าแบบสายตา ของนก โดยเทคโนโลยีเหล่านี้ ได้รบั การพัฒนาขึน้ โดยรัฐบาลและกองทัพอเมริกนั ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สองและช่วงต้นของสงครามเย็น นี่เป็นเงื่อนไข เชิงเทคโนโลยีทท่ี �ำ ให้จกั รวรรดินยิ มสหรัฐฯ มีความสามารถในการเข้าถึงพืน้ ทีแ่ ละ ผู้คนที่ตนเองปกครองมากไปกว่าและแตกต่างจากเจ้าอาณานิคมยุโรป ภายใต้เงือ่ นไขทางการเมืองของสงครามเย็นและอิทธิพลของสหรัฐฯ ประเทศ​ ไทยในฐานะทีเ่ ป็นพันธมิตรสำ�คัญในภูมภิ าคนี้ ได้รบั ความช่วยเหลือโดยตรงจาก กองทัพสหรัฐฯในการสำ�รวจและทำ�แผนทีจ่ ากภาพถ่ายทางอากาศทีม่ มี าตรฐาน ทั่วประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก แผนที่ของประเทศไทยที่ทำ�ขึ้นภายหลังจากนั้น เป็นการต่อเติมและแก้ ไขข้อผิดพลาดของแผนทีช่ ดุ แรกทีท่ �ำ โดยกองทัพสหรัฐฯ พบว่า นักมานุษยวิทยาและนักภูมศิ าสตร์ชาวไทยมีสว่ นสำ�คัญอย่างมากในการ ช่วยแก้ ไขและตรวจสอบข้อผิดพลาด พร้อมทั้งช่วยใส่รายละเอียดคุณลักษณะ ในเชิงสังคมและวัฒนธรรมให้แก่สง่ิ ทีป่ รากฏอยูใ่ นแผนที่ (เมือ่ เข้าทศวรรษ 1970 ดาวเทียมเข้ามาแทนที่การถ่ายภาพทางอากาศ) ภายใต้ปฏิบัติการดังกล่าว มี Keyes

—21—


จากมานุษยวิทยาสู่ภูมิศาสตร์

การสำ�รวจทีส่ �ำ คัญเกิดขึน้ โดยนักมานุษยวิทยาอย่างน้อย 2 กลุม่ กลุม่ แรก คือ การสำ�รวจโดยนักมานุษยวิทยาอเมริกนั ภายใต้โครงการ Bennington–Cornell Anthropological Survey of Hill Tribes ซึง่ ดำ�เนินการสำ�รวจและกำ�หนดพิกด ั หมูบ่ า้ นต่าง ๆ ทีป่ รากฏในแผนทีท่ ท่ี �ำ โดยสหรัฐฯ จำ�นวน 3 ครัง้ ในปี 1964, 1969 และ 1974 และกลุม่ ทีส่ อง คือ การสำ�รวจของศูนย์วจิ ยั ชาวเขา ซึง่ มีเป้าหมาย เพื่อเก็บรวบรวมและกำ�หนดพิกัดที่แน่นอนของหมู่บ้านชาวเขาในประเทศไทย ลงในแผนทีช่ ดุ เดียวกัน การสำ�รวจดังกล่าวได้ถกู รวบรวมและตีพมิ พ์ในเอกสาร ชุดใหญ่ทช่ี อ่ื ว่า ทำ�เนียบหมูบ่ า้ นชาวเขาในประเทศไทย ซึง่ ผลิตขึน้ ในช่วงทศวรรษ  1960 และต่อเนื่องมาจนถึงต้นทศวรรษ 1970 แม้วา่ การสำ�รวจของทัง้ สองกลุม่ จะยังไม่สมบูรณ์และมีขอ้ ผิดพลาดอันเนือ่ ง มาจากการขาดแคลนเทคโนโลยีและเครือ่ งไม้เครือ่ งมือทีเ่ พียงพอ ซึง่ ต่อมากระ­ ทรวงมหาดไทยได้เข้ามาสานต่อการสำ�รวจซึง่ มีความละเอียดขึน้ เรือ่ ย ๆ จนเสร็จ สมบูรณ์ ในปลายทศวรรษ 1990 แต่นับได้ว่า นี่เป็นความพยายามครั้งสำ�คัญ ของรัฐไทยซึง่ ได้รบั การสนับสนุนจากมหาอำ�นาจอย่างสหรัฐฯ ให้มกี ารเก็บข้อมูล หมู่บ้านไทยอย่างละเอียดที่สุด ข้อมูลดังกล่าวอยู่ในรูปของตัวเลขเชิงสถิติและ สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนจำ�นวนมาก พร้อม ๆ กับพิกัดในแผนที่ที่ ระบุต�ำ แหน่งของสิง่ ต่าง ๆ ทีย่ บิ ย่อยทีส่ ดุ เป็นองศาและละติจดู /ลองติจดู แน่นอน ว่า การทำ�แผนทีข่ องรัฐไทย/รัฐสยามในอดีตก่อนหน้าทศวรรษนี้ ไม่เคยสามารถ ระบุต�ำ แหน่งแห่งทีห่ รือพิกดั ของหมูบ่ า้ นได้ชดั ขนาดนีม้ าก่อน ข้อจำ�กัดดังกล่าว เกิดขึน้ ทัง้ จากความขาดแคลนเทคโนโลยีและจากลักษณะของหมูบ่ า้ นในประเทศ​ ไทยเองที่ไม่เคยมีขอบเขตชัดเจน หมู่บ้านจำ�นวนมากมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอด หลายแห่งเกิดใหม่และหลายแห่งยุบตัวลงไป3 การทำ�แผนที่ในยุคสงครามเย็น ดูการอภิปรายประเด็นนี้ ใน Lauriston Sharp, “Philadelphia Among the Lahu,” in Lucien Hanks, Jane Hanks and Lauriston Sharp eds., Ethnographic Notes on Northern Thailand (Ithaca: Southeast Asian Program, Department of Asian Studies, Cornell University, 1965), pp. 84–90. 3

—22—


แผนที่สร้างชาติ

จึงเป็นความพยายามตอบโจทย์ส�ำ คัญของรัฐสมัยใหม่ทต่ี อ้ งการเข้าถึงผู้ใต้ปกครอง ผ่านเทคโนโลยีและเครือ่ งมือทีเ่ ป็นระบบตรวจสอบได้ มากไปกว่านัน้ ก็คอื การ หาทางทำ�ให้หมู่บ้านที่เคลื่อนที่ได้หยุดนิ่งภายใต้การจับจ้องของอำ�นาจรัฐ ซึ่ง การแพร่ขยายอำ�นาจของรัฐลงไปในระดับที่เล็กที่สุด และควบคุมทุกส่วนของ ชีวติ ของพลเมืองให้ ได้นน้ั เป็นคุณสมบัตสิ �ำ คัญของรัฐประชาชาติทต่ี อ้ งขยับขยาย แขนขาและสายตาลงไปจับจ้องทุกสัดส่วนของประชากร หนังสือเล่มนีว้ างอยูบ่ นปมปัญหาหรือคำ�ถามหลักคือ รัฐประชาชาติ (nation state) ของไทยเกิดขึน ้ เมือ่ ไร อะไรคือกลไกและปัจจัยให้รฐั ประชาชาติสามารถ ก่อตัวขึ้นได้ เพื่อจะตอบปัญหาดังกล่าว งานนี้จะพิจารณาผ่านกระบวนการ สำ�รวจและการทำ�แผนทีห่ มูบ่ า้ นในประเทศไทยในยุคสงครามเย็น รวมถึงจะให้ ความสำ�คัญกับการเข้ามาของเทคโนโลยีที่รัฐใช้ ในฐานะที่เป็นความพยายาม ออกแบบสังคมและการทำ�ให้ผคู้ นหยุดนิง่ อยูก่ บั ที่ และกลายมาเป็นผูส้ วามิภกั ดิ์ ต่อรัฐในทีส่ ดุ สมมติฐานเบือ้ งต้นในส่วนนีก้ ค็ อื เราไม่สามารถเข้าใจการก่อรูป หรือการเปลีย่ นผ่านของรัฐได้หากปราศจากการจัดวางมันลงบนประวัตศิ าสตร์ ของเทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยีการทำ�แผนที่ หนังสือเล่มนี้แบ่งการนำ�เสนอออกเป็น 6 ส่วนหลัก ดังนี้ 1) บทบาทของสหรัฐอเมริกาในการพัฒนาเทคโนโลยีการทำ�แผนที่ โดยชี้ ให้เห็นพัฒนาการและความแตกต่างของจักรวรรดินยิ มสหรัฐฯ กับอาณานิคมของ ยุโรปในศตวรรษก่อนหน้านั้น 2) เทคโนโลยีการทำ�แผนทีใ่ นบริบทของสงครามเย็น ซึง่ จะชี้ ให้เห็นว่าการ ทำ�แผนที่ในยุคนี้เป็นผลของการมาบรรจบพบกันของการพัฒนาเทคโนโลยี 3  ประเภท คือ เทคโนโลยีการบิน เทคโนโลยีการถ่ายภาพและกล้อง และทักษะ ความรู้รวมถึงสถาบันที่มีความเชี่ยวชาญในการทำ�และอ่านแผนที่ทางอากาศ 3) กำ�เนิดการทำ�แผนทีภ่ าพถ่ายทางอากาศในประเทศไทย โดยจะชี้ ให้เห็น ว่าการทำ�แผนทีจ่ ากภาพถ่ายทางอากาศในประเทศไทยนัน้ เป็นผลิตผลของการ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองในระดับโลก นั่นคือ สภาวะของสงครามเย็นและ อิทธิพลของสหรัฐอเมริกา พร้อม ๆ กับเป็นผลผลิตของการพัฒนาเทคโนโลยี

—23—


จากมานุษยวิทยาสู่ภูมิศาสตร์

ของการทำ�แผนที่ในที่ยิบย่อยลงไปในระดับของหมู่บ้านช่วงเวลานี้ 4) ชี้ ให้เห็นปมปัญหาบางประการในการถกเถียงเรือ่ งหมูบ่ า้ น โดยจะกลับ ไปที่คำ� ความหมาย การแปล และนิยามของหมู่บ้าน โดยเฉพาะที่ปรากฏใน งานของนักมานุษยวิทยาจำ�นวนหนึ่งในทศวรรษ 1950 และ 1960 เพื่อที่จะชี้ ให้เห็นลักษณะของหมู่บ้านในยุคแรกของสงครามเย็นว่ามีลักษณะเช่นไร รวม ถึงจะอภิปรายถึงความสำ�คัญของการจัดทำ�ทำ�เนียบรายชื่อหมู่บ้านและพิกัด หมู่บ้านในฐานะที่เป็นเครื่องมือสำ�คัญของรัฐไทยในช่วงเวลาดังกล่าว 5) ศึกษาการสำ�รวจและทำ�แผนที่หมู่บ้านของนักมานุษยวิทยากลุ่มสำ�คัญ คือ การสำ�รวจของคณะ Bennington–Cornell ซึ่งเป็นการสำ�รวจที่มีความ สำ�คัญอย่างมากต่อความเข้าใจหมู่บ้านในทศวรรษ 1960 6) ชี้ ให้เห็นความต่อเนื่องและความไม่ต่อเนื่อง โดยเฉพาะความสัมพันธ์ ระหว่างเทคโนโลยีการทำ�แผนที่ โครงการพัฒนาชาวเขาของรัฐ และการสำ�รวจ หมู่บ้านชาวเขาของศูนย์วิจัยชาวเขาในทศวรรษ 1970 และในบทสรุป จะมุ่งขยายและยกระดับไปสู่การอภิปรายเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ระหว่างการสำ�รวจหมูบ่ า้ น เทคโนโลยีการทำ�แผนที่ และกระบวนการ ก่อรูปของรัฐประชาชาติ ซึ่งเป็นข้อเสนอหลักของงานชิ้นนี้ต่อไป

—24—


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.