1
ทีวีบูรพา เป็นบริษัทผลิตรายการโทรทัศน์ ที่มุ่งสร้างสรรค์งานคุณภาพ โดยมีเจตนารมณ์เพื่อร่วมสร้างสรรค์สังคมที่ดีงาม ไม่ได้มุ่งเน้นเพื่อการประกอบ ธุรกิจแต่เพียงอย่างเดียว ด้วยความเชือ่ มัน่ ว่าสือ่ โทรทัศน์มบี ทบาทสำ�คัญต่อสังคม โดยรวม รูปแบบรายการโทรทัศน์แต่ละรายการของทีวีบูรพา จึงผลิตขึ้นโดยมี วัตถุประสงค์หลักคือ เนื้อหาของแต่ละรายการนั้นจะต้อง ผ่านกระบวนการ สร้างสรรค์ คิด และผลิต ให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดแก่คนดู ไม่ว่าจะเป็นการต่อ ยอดทางความรู้ ความคิด สังคม คุณธรรมและจริยธรรม นอกจากนี้ทีวีบูรพา ยังมีการดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสังคมอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริม เชิดชู ยกย่องผู้ ที่ทำ� ความดีแก่ส่วนรวม และเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ผู้อื่น รวมถึงกิจกรรมอื่นๆ ที่จะเป็นประโยชน์แก่สังคม
3
2
พี่ๆ ที่เรารู้จัก
สุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ (พี่เช็ค)
ภัทราพร สังข์พวงทอง (พี่ต่อ)
นเรศ หาญพันธ์พงษ์ (พี่ตั้ว)
4
ศิริพล ศิรินินาทกุล (พี่พล)
ณัฐธนัญ กุลระพีกร (พี่การ์ตูน)
ชิงชัย ถนอมชาติ
5
3
ความหมาย ของการฝึกงาน
การฝึ ก งาน
หมายถึ ง กระบวนการเพิ่ ม ทั ก ษะและ ประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์แก่การประกอบอาชีพ ช่วยให้ นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงานจริง เพื่อให้ เกิดทักษะและความสามารถในการทำ�งานที่ดี สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดแรงงาน ทั้งในสถานประกอบการ และการประกอบอาชีพอิสระ นักศึกษามีโอกาสได้ใช้เครือ่ งมือ ใหม่ๆ ในสถานประกอบการตลอดจนทราบถึงขัน้ ตอนปฏิบตั ิ งานและเทคนิคการทำ�งาน สามารถเห็นวิธีการสร้างสรรค์ ผลผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพนอกจากนัน้ ยังสร้างความเชือ่ มัน่ และ ทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และให้นักศึกษามีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีใน การปฏิบัติงาน ที่สำ�คัญเป็นการเสริมสมรรถภาพในการ ประกอบอาชีพในอนาคตต่อไป
6
4
วัตถุประสงค์ ของการฝึกงาน
1
เพื่อให้นิสิต นักศึกษา ได้เพิ่มทักษะสร้างเสริม ประสบการณ์ และพัฒนาวิชาชีพ ตามสภาพความเป็น จริงในสถานประกอบการ
2
นิสิต นักศึกษาจะได้ทราบถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน ขณะปฏิบัติงาน และความสามารถในใช้สติปัญญาแก้ ปัญหาได้อย่างมีเหตุผล
3
เพื่อฝึกให้นิสิต นักศึกษา มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เคารพกฎระเบียบวินัยและการ ทำ�งานร่วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
4
เพื่อให้นัิสิต นักศึกษามีเจตคติที่ดีต่อการทำ�งาน เพื่อ เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพต่อไปภายหลังจาก สำ�เร็จการศึกษา
5 เพื่อให้นิสิตได้ศึกษาประเด็นและแนวโน้มทางด้าน
เทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษาในหน่วย งาน เพื่อพัฒนาโครงการทางเทคโนโลยีการศึกษา และโครงงานด้านคอมพิวเตอร์
7
5
แนะนำ�ภาควิชา “ล�้ำเลิศวิชาการ เชี่ยวชาญเทคโนโลยีฯ มีจรรยาบรรณ สร้างสรรค์สังคม”
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม เป็นหน่วยงานทางการศึกษาที่มุ่งผลิตและพัฒนานักเทคโนโลยีและ คอมพิวเตอร์ศึกษาที่มีคุณภาพ คุณธรรม สร้างสรรค์ระบบการศึกษา เพื่อความ ก้ า วหน้ า โดยจั ด การศึ ก ษา ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาวิ ช าการ และส่ ง เสริ ม การวิ จั ย เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
6
อาจารย์นิเทศก์
อ.ดร. มานิตย์ อาษานอก หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ติดต่อ
8
โทรศัพท์ : 099-794-9551
Facebook : Manito Asanoku
7
นิสิตที่เข้าฝึกงาน นางสาวศุภัสร ชำ�ปฏิ ชื่อเล่น พัดลม ตำ�แหน่ง : ผู้ช่วยกราฟิก
ความสามารถทั่วไป : ผลิตสื่อการเรียนการสอน สื่อมัลติมีเดีย สื่ออินโฟกราฟิก สื่อสิ่งพิมพ์ฯ
การติดต่อ
85%
088-224-3244 Phat’x Suphatson
70% 70% 65%
นายวัยวิทย์ ทองแท้ ชื่อเล่น ฟลุ๊ค
รายการ : สัตว์ป่า ตำ�แหน่ง : ผู้ช่วยตัดต่อ ความสามารถทั่วไป : ผลิตสื่อการเรียนการสอน การตัดต่อเสียง การถ่ายภาพและวีดีโอเบื้องต้น
การติดต่อ
80%
061-614-6159 Waiyawit Thongthae
60% 60% 40%
9
7
นิสิตที่เข้าฝึกงาน (ต่อ) นายพิพัฒน์ศักดิ์ ไชยวงษ์ ชื่อเล่น เอฟ
รายการ : คนมันส์พันธ์ุอาสา ตำ�แหน่ง : ผู้ช่วยช่างภาพ ความสามารถทั่วไป : ผลิตสื่อการเรียนการสอน การถ่ายภาพและวีดีโอ และการควบคุมระบบเสียง
การติดต่อ
80%
080-742-2449 Pipat’Ef Chaiyawong
80% 70% 60%
นางสาวมุกดาวรรณ นามสุโพธิ์ ชื่อเล่น แต้ว รายการ : คนมันส์พันธ์ุอาสา ตำ�แหน่ง : ข้อมูล ความสามารถทั่วไป : มีประสบการณ์ด้านการพูด เช่น พิธีกรรายการ คิดสรา้งสรรค์ ตัดต่อวิดีโอ
การติดต่อ
097-308-8839 tarw wazs
60% 50% 40% 40%
10
8 1
ขั้นตอนการประสานงาน การฝึกประสบการณ์
ภาควิชาฯและนิสิตประสานงานไปยังหน่วยงานที่รับนิสิตเข้าฝึก ประสบการณ์วิชาชีพผ่านหน่วยงานโดยตรงหรือฝ่ายทรัพยากร บุคคล
2
หน่วยงานจะสำ�รวจความต้องการรับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ จากฝ่ายงานต่างๆ
3
ภาควิชาฯ จะประสานงานกับฝ่ายบุคคลและหน่วยงานในการคัด เลือกนิสิต
4
5 6
ภาควิชาฯ ทดสอบความสามารถ (Audition) เพื่อคัดเลือกนิสิต ให้ตรงตามความต้องการของหน่วยงาน เพื่อจัดส่งนิสิตที่ตรง ตามความต้องการเข้ารับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ภาควิชาฯ ทำ�หนังสือติดต่อขอความอนุเคราะห์ส่งนิสิตเข้ารับการ ฝึกและรอการตอบรับ หลังจากการตอบรับ ภาควิชาฯ จัดเตรียมเอกสารให้นิสิตทำ�การ จัดการเรียนการสอน การสร้างโครงสร้างด้านเทคโนโลยี การศึกษาและโครงการด้านคอมพิวเตอร์ศึกษา เพื่อเป็นไปตาม เงื่อนไข ของหลักการฝึกประสบการณ์และเตรียมความพร้อมก่อน ส่งออกฝึกประสบการณ์
11
8 7
นิสิตรายงานตัวเข้ารับการฝึกต่อหน่วยงานที่แจ้งขอรับการฝึก
8
หน่วยงานที่นิสิต จัดทำ�แผนและตารางการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพของนิสิต
9
10
11
12
ขั้นตอนการประสานงาน การฝึกประสบการณ์ (ต่อ)
หน่วยงานที่รับนิสิต กำ�หนดตัวพี่เลี้ยงตลอดระยะเวลาการฝึก ประสบการวิชาชีพของนิสิตควบคุมดูแลการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพของนิสิต ประเมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเป็นระยะ และพิจารณาจุดเด่นจุดอ่อนของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หัวข้อโครงการด้านเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา แก่อาจารย์ที่ปรึกษา และบุคลากรพี่เลี้ยง จัดให้มีการปฐมนิเทศนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพให้ทราบถึงการ ดำ�เนินงานตลอดจนกฎระเบียบต่าง ๆ ระหว่างการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ ประสานงานส่งตัวนิสิตไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพยังหน่วยงาน ต่าง ๆ ให้แต่ละหน่วยงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพตามแผนที่ แจ้งไว้
12
13
14
นิสิตเสนอโครงการด้านเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ ศึกษาต่อหน่วยงานตามระยะเวลาที่กำ�หนดเพื่อขอรับ ความเห็นชอบในการดำ�เนินการรวมถึงประสานงานกับอาจารย์ ที่ปรึกษาเพื่อรับการอนุมัติให้ดำ�เนินการ นิสิตรับการนิเทศจากอาจารย์ที่ปรึกษาพร้อมเสนอหัวข้อโครงการ ด้านเทคโนโลยีการศึกษา และคอมพิวเตอร์ศึกษา แก่อาจารย์ ที่ปรึกษาและบุคลากรพี่เลี้ยง เมื่อครบกำ�หนดระยะเวลาฝึกประสบการณ์วิชาชีพนิสิตจะต้อง เสนอรายงานปฏิบัติงาน โครงการด้านเทคโนโลยีการศึกษาและ โครงการคอมพิวเตอร์ศึกษาพร้อมแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ต่อบุคลากรพี่เลี้ยง โดยฝ่ายทรัพยากรบุคคลจะจัดส่งใบประเมิน ผลของสถาบันการศึกษาให้หัวหน้าหน่วย งานประเมินผลและ ออกหนังสือรับรองการฝึกประสบการณ์วิชาชีพให้นิสิต
13
9
บทบาทของพี่เลี้ยง
บุคลากรพี่เลี้ยงเป็นบุคคลที่มีบทบาทสำ�คัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ กล่าวคือ เป็นผู้ใกล้ชิดกับนิสิตฝึกประสบการณ์ วิชาชีพมากกว่าบุคคลอื่น นอกจากนี้ยังต้องทำ�หน้าที่เป็นผู้รักษามาตรฐาน ทางวิชาการ แทนผู้บริหารหน่วยงาน ในด้านที่เกี่ยวข้อง และเป็นผู้ให้ความ ร่วมมือกับอาจารย์นเิ ทศก์จากมหาวิทยาลัยในการนิเทศการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ บุคลากรพี่เลี้ยงจึงเสมือนครูคนหนึ่งของนิสิต 1. เป็นผู้ให้ความรูู้ ประสบการณ์ในการทำ�งานที่เกี่ยวข้องกับขอบเขต งานของนิสิตที่เข้ารับการฝึก 2. พบและปฐมนิเทศนิสิต นัดหมาย แจ้งขอบเขตหน้าที่การปฏิบัติงาน 3. ให้ คำ�แนะนำ�และสนั บ สนุ น ปั จ จั ย ต่ า ง ๆ ในการปฏิ บั ติ ง านที่ มอบหมาย 4. สังเกตการปฏิบัติงาน ประเมินผลการปฏิบัติงาน 5. ให้คำ�แนะนำ� ชี้แจงในข้อควรแก้ไข พร้อมเสนอแนะแนวทางแก้ไข 6. ติดตามผลการนิเทศและประเมินผลคุณลักษณะและการปฏิบัติตน ในแบบประเมิน 7. ตรวจผลงานและประเมินในแบบประเมิน 8. สรุปผลการประเมินเสนอให้ผู้บริหารหน่วยงานรับทราบ
14
9. ควบคุมดูแลนิสิตที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติตนและปฏิบัติงาน ด้วยความรับผิดชอบ 10. ดำำ�เนินการให้นสิ ติ ปฏิบตั งิ านฝึกประสบการณ์วชิ าชีพตามขัน้ ตอน ต่าง ๆ ที่ภาควิชากำ�หนด 11. ให้คำ�แนะนำ�และช่วยเหลือในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพแก่นิสิต ตามควรแก่กรณี 12. ให้คำ�ปรึกษาและแนะแนวทางแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานเมื่อนิสิต เกิดปัญหา 13. ทำ�เอกสารส่งตัวกลับเมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์ หรือ กรณี นิ สิ ต มี พ ฤติ ก รรมที่ ไ ม่ เ หมาะสม พร้ อ มแบบประเมิ น ปิดผนึกส่งถึงอาจารย์ที่ปรึกษาประจำ�ภาควิชา
15
10
ผู้ที่เกี่ยวข้องในการฝึกงาน
1 อาจารย์ที่ปรึกษา
ให้คำ�ปรึกษานิสิตในเรื่องต่าง ๆ ประสานงานกับบุคลากร พี่เลี้ยง ติดตามนิเทศรับทราบผลการปฏิบัติงาน ความก้าวหน้า รับทราบถึงปัญหา ต่าง ๆ ของนิสิต ให้คำ�ปรึกษาและตรวจผลงานโครงการที่ต้องนำ�เสนอ ตรวจบันทึกการลงเวลาและบันทึกการปฏิบัติงานของนิสิต
2 บุคลากรพี่เลี้ยง
ปฐมนิเทศนิสิต ให้คำ�แนะนำ�ถึงลักษณะงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ กฎ ระเบียบต่าง ๆ การวางตน ตลอดจนแจ้งถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิบัติหน้าที่ เช่น โครงสร้างการบริหารงาน บุคลากรฝ่ายต่าง ๆ สถานที่สวัสดิการ ให้คำ�ปรึกษาและตรวจผลงานโครงการที่ต้องนำ�เสนอ ตรวจบันทึกการลงเวลาและบันทึกการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงาน จัดเวลาให้นสิ ติ ได้พบปะปรึกษาหารือ เพือ่ ให้ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติม ให้คำ�แนะนำ� ด้านการทำ�งาน ให้กำ�ลังใจ เปิดโอกาสให้นิสิตใช้ความสามารถในการปฏิบัติ งาน ชี้แนะแนวทางแก้ปัญหา
3 หัวหน้างานและผู้บริหารหน่วยงาน
กำ�หนดนโยบาย บริหาร จัดการเกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ ช่วยแก้ปัญหาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพในเรื่องทั่วไป
16
11
ระยะเวลาการฝึกงาน ระยะเวลาการฝึก 3 เดือน
เริ่ม 1 กุมภาพันธ์ สิ้นสุด 30 เมษายน 2561
12
การนิเทศ
การนิ เ ทศ
จุดมุ่งหมายของการนิเทศ
ระยะเวลาการนิเทศ
เป็ น การออกไปเยี่ ย ม เพื่ อ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ การให้คำ�แนะนำ�และการปรับปรุง เพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์หรือ มาตรฐานที่กำ�หนดไว้
1. เพื่อเยี่ยม สร้างขวัญและกำ�ลังใจ 2. เพือ่ รับทราบปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหา 3. เพือ่ ติดตามความก้าวหน้าในการจัดทำ�รายงานและโครงการ ระหว่างวันที่ 2 มีนาคม -12 มีนาคม 2561
17
13
รายวิชาที่เกี่ยวข้อง
0503 469
ประเด็นและแนวโน้มด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา Issues and Trends in Computer Education
0503 470
ประเด็นและแนวโน้มทางเทคโนโลยีการศึกษา Issues and Trends in Educational Technology
0503 471
การพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา Development of Computer Education
0503 472
การพัฒนาโครงการทางเทคโนโลยีการศึกษา Development of Project Study in Educational Technology
0503 473
การฝึกปฏิบัติการเทคโนโลยีการศึกษา Practicum in Educational Technology
18
14
การทำ�โปรเจ็คฝึกงาน
นิ สิ ต จะต้ อ งเสนอโปรเจ็ ค 2 เรื่ อ งและรายงานปฏิ บั ติ ง าน อีก 1 เล่ม ประกอบการฝึกงาน ได้แก่
1 โปรเจ็คเทคโนโลยีการศึกษา เสนอรายวิชา 0503 470 ประเด็นและแนวโน้มทางเทคโนโลยีการศึกษา Issues and Trends in Educational Technology 0503 472 การพัฒนาโครงการทางเทคโนโลยีการศึกษา Development of Project Study in Educational Technology
2 โปรเจ็คคอมพิวเตอร์ศึกษา เสนอรายวิชา 0503 469 ประเด็นและแนวโน้มด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา Issues and Trends in Computer Education 0503 471 การพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา Development of Computer Education
19
15
20
ตารางกำ�หนดระยะ เวลาจัดทำ�โปรเจ็ค
16
เกณฑ์พิจารณาโปรเจ็ค
1 โปรเจ็คเทคโนโลยีการศึกษา เสนอรายวิชา 0503 470 ประเด็นและแนวโน้มทางเทคโนโลยีการศึกษา Issues and Trends in Educational Technology 0503 472 การพัฒนาโครงการทางเทคโนโลยีการศึกษา Development of Project Study in Educational Technology
พิจารณาจากบทที่ 3-5 ของโปรเจ็ค ได้แก่ การดำ�เนินการ การวิเคราะห์ข้อมูล การสรุป และการสรุปข้อมูล ฯลฯ ดูรายละเอียดจากรูปแบบลักษณะต่างๆ 2 โปรเจ็คคอมพิวเตอร์ศึกษา เสนอรายวิชา 0503 469 ประเด็นและแนวโน้มด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา Issues and Trends in Computer Education 0503 471 การพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา Development of Computer Education
พิจารณาจากบทที่ 1-2 ของโปรเจ็ค ได้แก่ การเลือกปัญหา องค์ความรู้ หลักการและเหตุผล ฯลฯ ดูรายละเอียดจากรูป แบบโปรเจ็คและลักษณะต่างๆ
21
17
การประเมิน 60 + 40
1 ประเมินจากบุคลากรพี่เลี้ยง แต่ละแห่งจะประเมินการปฏิบัติงานโดยพิจารณาถึง ความเหมาะสมตามหลักเกณฑ์แต่ละด้านโดยใช้แบบประเมินของ ภาควิชาคิดเป็น 60% การประเมินแบ่งออกเป็น 3 หมวด คือ 1. ผลสำ�เร็จของงาน 2. ความรู้ความสามารถ ความรับผิดชอบ 3. บุคลิกภาพ ลักษณะส่วนตัว 2 ประเมินจากอาจารย์ที่ปรึกษา นำ�ผลประเมินที่ได้รับจากบุคลากรพี่เลี้ยงมาพิจารณาร่วมกับ คะแนนในชั้นเรียนก่อนออกฝึกและจากพฤติกรรมการปฎิบัติงาน โดยพิจารณาจากสมุดลงเวลาปฏิบัติงาน และสมุดบันทึกการปฎิบัติ งานโดยยึดหลักฐานการลงนามรับรองที่ถูกต้องจากบุคลากร พี่เลี้ยงคิดเป็น 40%
22
18
ตัวอย่างแบบประเมิน
23
18
24
ตัวอย่างแบบประเมิน
(ต่อ)
25
18
26
ตัวอย่างแบบประเมิน
(ต่อ)
19
การประเมินสมุดบันทึก ประจำ�วัน
การประเมิน สมุดลงเวลา บันทึกประจำ�วัน (10%) 1 ข้อปฏิบัติ ในการลงตารางเวลาการปฏิบัติงาน
• นิสติ ต้องลงชือ่ ปฏิบตั งิ านในแบบฟอร์มตารางเวลาการทำ�งานทัง้ เวลา มาและกลับในแต่ละวันและนำ�สมุดลง เวลา เสนอบุคลากรพี่เลี้ยง ลงนามรับทราบ การปฏิบัติงาน • ให้ ร ะบุ ว/ด/ป ในวั น ทำ�การทุ ก วั น ยกเว้ น วั น หยุ ด ทำ�การของ หน่ ว ยงาน ในกรณีวันทำ�การตรงกับวั นหยุ ด นั ก ขั ต ฤกษ์ ให้ ล ง หมายเหตุแจ้งไว้ โดยไม่ต้องลงชื่อปฏิบัติงาน • หากขาด ลา ไม่ว่ากรณีใด ๆ ให้ระบุสาเหตุในช่องหมายเหตุด้วย
2 ข้อปฏิบัติ ในการลงบันทึกการปฏิบัติงานประจำ�วัน
• เขียนลักษณะงานที่ปฏิบัติในแต่ละวัน โดยละเอียด • ต้องกรอกรายละเอียดตามที่ปฎิบิบัติจริงและระบุความสำ�เร็จของ ผลงาน ที่ปฏิบัติได้ • ระบุปัญหา อุปสรรคที่พบ และส่งผลให้งานไม่สำ�เร็จ • เสนอบุคลากรพี่เลี้ยง ลงนามรับรอง
27
--
28 (...................................................................................
--
20 ตัวอย่างแบบประเมินสมุด บันทึกประจำ�วัน
21
การประเมินผล การปฏิบัติงาน
1 เกณฑ์การประเมินผลการฏิบัติงาน ประกอบด้วย คะแนนจากอาจารย์ที่ปรึกษาในชั้นเรียนก่อนออกฝึก 30 % 1. ประเมินผลงานการศึกษาค้นคว้าที่มอบหมาย 10% 2. ประเมินผลชิ้นงาน การฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน 15% 3. ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน 5%
2 คะแนนจากบุคลากรพี่เลี้ยงและอาจารย์ที่ปรึกษา 70 % 1. ประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานในหน่วยงาน 60% 2. ประเมินพฤติกรรมในการฝึกงาน (สาย ลา มา ขาด) 10% (อาจารย์ที่ปรึกษาประเมินจากสมุดบันทึกและการลงเวลาปฎิบัติงาน)
รวมทั้งสิ้น 100 คะแนน
29
22
30
ตัวอย่างแบบประเมินผล การปฏิบัติงาน
EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND COMPUTER EDUCATION FACULTY OF EDUCATION MAHASARAKHAM UNIVERSITY
32