คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
คู่มือการขอกู้ยืมเงิน กยศ. -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------พิมพ์ครั้งที่ 1 : ธันวาคม 2559 จ�ำนวน 73 หน้า จัดพิมพ์: -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ฝ่ายพัฒนานิสิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา: นางสาวกุสุมา สีดาเหลา นักวิชาการศึกษา คณะท�ำงานออกแบบและพัฒนาสื่อ: นายพิพัฒน์ศักดิ์ ไชยวงษ์ นายศุภวิชญ์ สนธิลา นิสิตสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา: ผศ. ก่อเกียรติ ขวัญสกุล ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ค�ำน�ำ หนังสือคู่มือการขอกู้ยืมเงิน กยศ. มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการขอกู้ยืมเงินกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการ ศึกษา (กยศ.) โดยรวบรวมเนื้อหา ข้อมูล ตัวอย่าง และวิธีการกู้ยืมเงิน กยศ. ซึ่งเป็นคู่มือให้แก่นิสิตที่ต้องการ กู้ยืมเงิน หรือผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ศึกษาข้อมูล ดูตัวอย่าง และวิธีการกู้ยืมเงิน การจัดท�ำหนังสือเล่มนี้เป็นจุด ประสงค์ของการเรียนการสอนในรายวิชา 0503322 การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ของนิสิตชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจจะศึกษาหาความรู้การขอกู้ยืม เงินกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) เป็นอย่างมาก หากมีข้อผิดพลาดผู้จัดท�ำขออภัยไว้ ณ ที่นี้ ผู้จัดท�ำ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
สารบัญ เรื่อง
หน้า
บทที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของการกู้ยืม กยศ. 1.1 ขอบข่ายการกู้ยืม 1.2 คุณสมบัติของผู้กู้ยืม 1.3 คุณสมบัติของผู้รับรองรายได้ 1.4 การค�้ำประกัน 1.5 การช�ำระหนี้
10 13 14 15 16
บทที่ 2 ขั้นตอนการกู้ยืมเงินส�ำหรับผู้กู้รายใหม่ ขั้นที่ 1 ลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์ ขั้นที่ 2 ยื่นแบบค�ำขอกู้ ขั ้นที่ 3 สัมภาษณ์และคัดเลือก ขั้นที่ 4 ประกาศรายชื่อ ขั้นที่ 5 เปิดบัญชีธนาคาร ขั้นที่ 6 ท�ำสัญญาเงินกู้ ขั้นที่ 7 บันทึกวงเงิน ขั้นที่ 8 รอธนาคารอนุมัติและจ่ายเงินกู้
24 32 37 37 38 38 47 50
บทที่ 3 ขั้นตอนการกู้ยืมเงินส�ำหรับผู้กู้รายเก่า (เปลี่ยนสถานศึกษา) ขั้นที่ 1 ยื่นแบบค�ำขอกู้ ขั้นที่ 2 ประกาศรายชื่อ ขั้นที่ 3 ท�ำสัญญาเงินกู้ ขั้นที่ 4 บันทึกวงเงิน ขั้นที่ 5 รอธนาคารอนุมัติและจ่ายเงินกู้
52 52 53 53 54
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
บทที่ 4 ขั้นตอนการกู้ยืมเงินส�ำหรับผู้กู้รายเก่า (สถานศึกษาเดิม) ขั้นที่ 1 ยื่นแบบค�ำขอกู้ ขั้นที่ 2 ประกาศรายชื่อ ขั้นที่ 3 บันทึกวงเงิน ขั้นที่ 4 รอธนาคารอนุมัติและจ่ายเงินกู้
56 56 57 57
บทที่ 5 เอกสารที่เกี่ยวข้องในการกู้ยืม 5.1 แบบค�ำขอกู้ยืม (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan) 5.2 สัญญากู้ยืมเงิน (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan) 5.3 แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน (กยศ. 101) 5.4 รูปถ่ายบ้าน 5.5 แผนที่บ้าน 5.6 หนังสือรับรองรายได้ 5.8 เอกสารแสดงผลการเรียน 5.9 บันทึกการเข้าร่วมโครงการที่มุ่งจิตอาสา บรรณานุกรม
60 61 63 67 68 69 70 71 73
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
9
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
1.1 ขอบเขตการให้กู้ยืมเงิน
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
10
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
11
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
12
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
1.2 คุณสมบัติของผู้กู้ยืมเงิน 1. เป็นผู้มีสัญชาติไทย 2. เป็นผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการก�ำหนด ดังนี้ ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ หมายความว่า ผู้ที่มีรายได้ต่อครอบครัวไม่เกิน 200,000 บาทต่อปี รายได้ต่อครอบครัวพิจารณาตาม หลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) รายได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืม รวมกับรายได้ของบิดามารดา ในกรณีที่บิดา มารดาเป็นผู้ใช้อ�ำนาจปกครอง (2) รายได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืม รวมกับรายได้ของผู้ปกครอง ในกรณีที่ผู้ใช้ อ�ำนาจปกครองมิใช่บิดา มารดา (3) รายได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืม รวมกับรายได้ของคู่สมรสในกรณีที่ผู้ขอ กู้ยืมได้ท�ำการสมรสแล้ว 3. มีคุณสมบัติอื่นตามที่คณะกรรมการก�ำหนด ดังนี้ 3.1 เป็นผู้ที่มีผลการเรียนดีหรือผ่านเกณฑ์การวัดและประเมินผลของสถาบันการศึกษา 3.2 เป็นผู้ที่มีความประพฤติดี ไม่ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับของสถานศึกษาขั้นร้ายแรง หรือไม่ เป็นผู้ที่มีความประพฤติเสื่อมเสีย เช่น หมกมุ่นในการพนัน เสพยาเสพติดให้โทษ ดื่มสุรา เป็นอาจิณหรือเที่ยวเตร่ในสถานบันเทิงเริงรมย์เป็นอาจิณ เป็นต้น 3.3 เป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามระเบียบหรือประกาศการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ในโรงเรียน สถานศึกษาหรือสถาบันการศึกษาที่อยู่ในสังกัดการควบคุม หรือก�ำกับดูแล ของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงหรือส่วนราชการอื่นๆ ทบวงมหาวิทยาลัย รัฐวิสาหกิจ 3.4 ไม่เคยเป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาใดๆ มาก่อน 3.5 ไม่เป็นผู้ที่ท�ำงานประจ�ำในระหว่างศึกษา 3.6 ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย 3.7 ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ได้รับโทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถึงที่สุดให้จ�ำคุก เว้นแต่เป็นโทษ ส�ำหรับความผิดที่ได้กระท�ำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ 3.8 ต้องมีอายุในขณะที่ขอกู้ โดยเมื่อนับรวมกับระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี และระยะเวลา ผ่อนช�ำระอีก 15 ปี รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 60 ปี กรณีที่ผู้ขอกู้ยืมรายใดเคยกู้ยืมเงินกองทุน กยศ.หรือกองทุน กรอ. มาแล้ว แต่ผิดนัดช�ำระหนี้ และ ได้ท�ำสัญญาประนีประนอมยอมความก่อนฟ้องคดี และ/หรือเคยถูกฟ้องร้องด�ำเนินคดีมาแล้ว ผู้ขอกู้ยืมราย นั้นสามารถกู้ยืมเงินกองทุนต่อไป หากได้ช�ำระหนี้ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ หรือช�ำระหนี้ตามค�ำ พิพากษาจนเสร็จสิ้นแล้ว คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
13
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
1.3
คุณสมบัติของผู้รับรองรายได้
1. เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับบ�ำเหน็จบ�ำนาญ ตามพระราชบัญญัติ บัตรประจ�ำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ.2542 2. สมาชิกสภาเขต สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร หรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 3. หัวหน้าสถานศึกษาที่ผู้ขอกู้ยืมศึกษาอยู่
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
14
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
1.4
การค�้ำประกัน
ผู้ค�้ำประกันต้องเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ ดังนี้ 1. บิดา มารดา หรือผู้ใช้อ�ำนาจปกครอง หรือคู่สมรส หรือ 2. บุคคลที่ประกอบอาชีพมีรายได้น่าเชื่อถือตามที่คณะกรรมการพิจารณาให้กู้ยืมประจ�ำสถานศึกษา ก�ำหนดให้เป็นผู้ค�้ำประกันได้ แนวปฏิบัติเรื่องการค�้ำประกัน 1. กรณีที่นักเรียน/นักศึกษา ไม่มีบิดา มารดา ให้ผู้ใช้อ�ำนาจปกครองเป็นผู้ให้การยินยอมในการท�ำ นิติกรรมสัญญาและเป็นผู้ค�้ำประกัน “ผู้ปกครอง” ได้แก่ ผู้ปกครองตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 132 กฎ กระทรวง ระเบียบที่ออกตามกฎหมายดังกล่าว รวมทั้งประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องผู้ปกครอง นักเรียน/ นักศึกษา ซึ่งหมายถึง บุคคลซึ่งรับนักเรียน/นักศึกษาไว้ในความปกครอง หรืออุปการะเลี้ยงดู หรือบุคคลที่ นักเรียน/นักศึกษาอาศัยอยู่ 2. กรณีคู่สมรสของผู้ค�้ำประกันไม่ยินยอมลงนามให้ความยินยอมค�้ำประกัน ให้ผู้ค�้ำประกันลงนามฝ่าย เดียวได้ 3. กรณีคู่สมรสของผู้ค�้ำประกันมอบอ�ำนาจให้ผู้ค�้ำประกันลงลายมือชื่อฝ่ายเดียวแทน ให้ผู้ค�้ำประกัน ลงนามฝ่ายเดียวได้ 4. ผู้ค�้ำประกันไม่สามารถเพิกถอนการค�้ำประกันได้ ในระหว่างเวลาที่ผู้กู้ยืมเงิน ต้องรับผิดชอบอยู่ ตามเงื่อนไขในสัญญากู้ยืมเงิน 5. ในการท�ำสัญญากู้ยืมเงินแต่ละครั้ง ผู้กู้ยืมเงินอาจเปลี่ยนแปลงผู้ค�้ำประกันใหม่ได้ โดยไม่จ�ำเป็น ต้องใช้ผู้ค�้ำประกันคนเดิม
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
15
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
1.5
การช�ำระหนี้
ผู้กู้ยืมเงินมีหน้าที่ช�ำระเงินกู้ยืมคืนกองทุน 1. ผู้กู้ยืมเงินที่ส�ำเร็จการศึกษาหรือเลิกการศึกษาแล้วเป็นเวลา 2 ปี นับจากปีที่ส�ำเร็จการศึกษาหรือ เลิกศึกษา (ครบระยะเวลาปลอดหนี้) 2. กรณีผู้กู้ยืมเงินที่ไม่กู้ต่อเนื่องติดต่อกัน 2 ปี และไม่แจ้งสถานภาพให้ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ ยืมทราบจะถือว่าเป็นผู้ครบก�ำหนดช�ำระหนี้ และมีหน้าที่ต้องช�ำระหนี้คืนกองทุน หลักเกณฑ์การช�ำระหนี้ 1. ผู้กู้ยืมเงินต้องช�ำระเงินกู้ยืม พร้อมทั้งดอกเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใดร้อยละ 1 ต่อปี โดยต้องคืนให้ กองทุนให้เสร็จสิ้นภายใน 15 ปี นับแต่วันที่ต้องเริ่มช�ำระหนี้ 2. ให้ผู้กู้ยืมเงินช�ำระหนี้งวดแรก ภายในวันที่ 5 กรกฎาคม หลังจากครบระยะเวลาปลอดหนี้ โดยให้ ช�ำระหนี้คืนเฉพาะเงินต้นในอัตราร้อยละ 1.5 ของวงเงินที่ได้กู้ยืม 3. การช�ำระหนี้งวดต่อๆไปให้ผู้กู้ยืมเงินช�ำระเงินต้นคืน ตามอัตราผ่อนช�ำระที่กองทุนก�ำหนด พร้อม ด้วยดอกเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใด ในอัตราร้อยละ 1 ต่อปีของเงินต้นที่คงค้าง ภายในวันที่ 5 กรกฎาคมของ ทุกปี 4. หากผู้กู้ยืมเงินผิดนัดช�ำระหนี้ ผู้กู้ยืมเงินจะต้องช�ำระค่าปรับหรือค่าธรรมเนียมจัดการกรณีผิดนัด ช�ำระหนี้ตามอัตราที่กองทุนก�ำหนด 5. ผู้กู้ยืมเงินที่มีความประสงค์จะขอช�ำระหนี้คืนก่อนครบก�ำหนดระยะเวลาช�ำระหนี้ หรือก่อนครบ ระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี สามารถช�ำระคืนได้โดยไม่เสียดอกเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใด หมายเหตุ (ก) ให้ผู้กู้ยืมเงินไปติดต่อแสดงตน ขอช�ำระหนี้ และเลือกวิธีการผ่อนช�ำระเป็นรายปี หรือรายเดือน กับผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมได้ทุกสาขาก่อนที่จะครบระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี (ข) กรณีผู้กู้ยืมเงินยังอยู่ในระหว่างการศึกษา แต่ไม่ได้กู้ยืมในปีการศึกษาใด ต้องแจ้งสถานภาพการ ศึกษาต่อผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมโดยให้น�ำใบรับรองจากสถานศึกษา และเลขบัตรประจ�ำตัว ประชาชนพร้อมหมายเลขโทรศัพท์ของผู้กู้ไปแสดงทุกปีจนกว่าจะส�ำเร็จการศึกษา
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
16
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
วิธีนับระยะเวลาการครบก�ำหนดช�ำระหนี้ของผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษา ตัวอย่าง ผู้กู้ยืมเงินที่ส�ำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2558 มีระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี ผู้กู้ยืมเงินจะ ครบก�ำหนดช�ำระหนี้คืนภายในวันที่ 5 กรกฎาคม 2561 ดังนี้
อัตราการผ่อนช�ำระ ผู้กู้ยืมเงินสามารถเลือกผ่อนช�ำระหนี้เป็นรายเดือนหรือรายปีได้ โดยจ�ำนวนเงินต้นที่ต้องช�ำระเป็นราย เดือนรวมตลอดปี หรือจ�ำนวนเงินต้นที่ช�ำระเป็นรายปีต้องไม่ต�่ำกว่าอัตรา ดังนี้
ดอกเบี้ย/ค่าปรับหรือค่าธรรมเนียมจัดการกรณีผิดนัดช�ำระหนี้ 1. ดอกเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใด การคิดดอกเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใด ให้คิดตั้งแต่วันที่ครบก�ำหนดช�ำระหนี้ของเงินต้นที่เหลือหลังจาก ช�ำระงวดแรกแล้วโดยสามารถค�ำนวณดอกเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใด ได้ดังนี้
ดอกเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใด = เงินต้นคงค้างทั้งหมด x อัตราดอกเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใด x ระยะเวลา
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
17
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
2. ค่าปรับหรือค่าธรรมเนียมจัดการกรณีผิดนัดช�ำระหนี้ หากผู้กู้ยืมเงินผิดนัดช�ำระหนี้ ผู้กู้ยืมเงินต้องช�ำระค่าปรับ หรือค่าธรรมเนียมจัดการกรณีผิดนัด ช�ำระหนี้ตามที่กองทุนก�ำหนด ดังนี้ (1) กรณีผ่อนช�ำระหนี้เป็นรายเดือน หากค้างช�ำระตั้งแต่ 1 เดือนขึ้นไปแต่ไม่เกิน 12 เดือน ช�ำระ ค่าปรับหรือค่าธรรมเนียมจัดการกรณีผิดนัดช�ำระหนี้ ร้อยละ 1 ต่อเดือนของเงินต้นงวดที่ค้างช�ำระ หาก ค้างช�ำระเกิน 12 เดือน ช�ำระค่าปรับหรือค่าธรรมเนียมจัดการกรณีผิดนัดช�ำระหนี้ ร้อยละ 1.5 ต่อเดือน ของเงินต้นงวดที่ค้างช�ำระทั้งหมด (2) กรณีผ่อนช�ำระหนี้เป็นรายปี หากค้างช�ำระไม่เกิน 1 งวดช�ำระค่าปรับ หรือค่าธรรมเนียม จัดการกรณีผิดนัดช�ำระหนี้ร้อยละ 1 ต่อเดือนของเงินต้นงวดที่ค้างช�ำระ กรณีผ่อนช�ำระหนี้เป็นรายปี หาก ค้างช�ำระตั้งแต่ 1 งวดขึ้นไปช�ำระค่าปรับ หรือค่าธรรมเนียมจัดการกรณีผิดนัดช�ำระหนี้ร้อยละ 1.5 ต่อ เดือนของเงินต้นงวดที่ค้างช�ำระทั้งหมด โดยสามารถค�ำนวณค่าปรับหรือค่าธรรมเนียมจัดการกรณีผิดนัด ช�ำระหนี้ ได้ดังนี้ ค่าปรับ หรือค่าธรรมเนียมจัดการ = เงินต้นงวดที่ค้างช�ำระ x อัตราค่าปรับ หรือค่าธรรมเนียมจัดการ x ระยะเวลาที่ค้างช�ำระของงวดนั้น
ค่าธรรมเนียมลดยอดหนี้ ผู้กู้ยืมต้องจ่ายค่าธรรมเนียมลดยอดหนี้รายการละ 10 บาท ให้กับผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
18
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ช่องทางการช�ำระหนี้ 1. ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม
* ผู้กู้ยืมได้รับเงินโอนจากธนาคารใดต้องน�ำเงินไปช�ำระหนี้ที่ธนาคารนั้น 2. บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด ผู้กู้ยืมจะต้องน�ำใบแจ้งหนี้ไปติดต่อบริษัทไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด และ สามารถช�ำระหนี้ได้ภายในวันที่ที่ระบุในใบแจ้งหนี้เท่านั้น 3. บริษัท เคาน์เตอร์ เซอร์วิส จ�ำกัด ผู้กู้ยืมจะต้องน�ำใบแจ้งหนี้ไปติดต่อ บริษัท เคาน์เตอร์ เซอร์วิส จ�ำกัด และสามารถช�ำระหนี้ได้ภายในวันที่ที่ระบุในใบแจ้งหนี้เท่านั้น โดยผู้กู้ยืมจะสามารถช�ำระผ่านสาขาที่ ให้บริการรับช�ำระเงินผ่านร้านสะดวกซื้อ (7-ELEVEN) และสาขาที่ไม่ได้ตั้งอยู่ในร้านสะดวกซื้อ รวม 9,300 สาขา 4. ช�ำระหนี้ด้วยรหัสการช�ำระเงิน (Barcode) ผ่านเคาน์เตอร์เซอร์วิส ไปรษณีย์ไทย ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ธนาคารทหารไทย และธนาคารไทยพาณิชย์ ผู้กู้ยืมสามารถพิมพ์รหัสการช�ำระเงิน (Barcode) ได้ที่หน้าตรวจสอบยอดหนี้ของตนเอง ที่ผู้กู้ยืมท�ำสัญญา โดยเข้าเว็บไซต์กองทุน www.Studentloan.or.th เลือกตรวจสอบยอดหนี้ (ธนาคารกรุงไทย) หรือ (ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย) พิมพ์รหัสการช�ำระหนี้ (Barcode) และน�ำไปช�ำระหนี้ได้ที่เคาน์เตอร์เซอร์วิส และไปรษณีย์ไทยได้ตลอดปี ไม่จ�ำกัดจ�ำนวนเงิน
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
19
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
หมายเหตุ : (1) การพิมพ์รหัสการช�ำระเงิน (Barcode) กรณีกลุ่มผู้กู้ยืมกลุ่มอื่นๆ นอกเหนือจาก "ผู้กู้ยืมปกติ สัญญา 15 ปี" จะไม่สามารถพิมพ์รหัสการช�ำระเงิน (Barcode) ได้ (2) จ�ำนวนเงินที่ท่านช�ำระผ่านหน่วยรับช�ำระ จะถูกหักเป็นค่าธรรมเนียมลดยอดหนี้ให้กับผู้บริหาร และจัดการเงินให้กู้ยืมจ�ำนวน 10 บาท ก่อน แล้วจึงน�ำยอดเงินที่เหลือไปลดยอดหนี้ ทั้งนี้ ท่านต้องช�ำระค่า ธรรมเนียมให้หน่วยรับช�ำระตามอัตราที่หน่วยรับช�ำระนั้นเรียกเก็บเพิ่มด้วย (3) สามารถตรวจสอบรายการลดหนี้ได้ภายหลังจากวันที่ท่านช�ำระเงินไม่น้อยกว่า 2 วันท�ำการ หลักเกณฑ์การขอผ่อนผันช�ำระหนี้
หมายเหตุ : ผู้กู้ยืมเงินที่มีความประสงค์ขอผ่อนผันการช�ำระหนี้จะต้องไม่มียอดหนี้ค้างช�ำระ และให้ติดต่อ ขอผ่อนผันจากผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมโดยยื่นแบบ กยศ. 202/58 และ กยศ.203/58 และต้องด�ำเนิน การให้เสร็จสิ้นก่อนวันที่ครบก�ำหนดช�ำระหนี้ แต่ละงวด หากผู้กู้ยืมเงินยังไม่ช�ำระและพ้นวันที่ครบก�ำหนด ช�ำระไปแล้ว (5 กรกฎาคมของทุกปี) ถือว่าผู้กู้ยืมเงินค้างช�ำระหนี้จะต้องเสียค่าปรับ หรือค่าธรรมเนียม จัดการกรณีผิดนัดช�ำระหนี้ตามอัตราที่กองทุนก�ำหนดและจะถูกติดตามหนี้จนกว่าจะได้รับอนุมัติผ่อนผัน ช�ำระหนี้จึงระงับการติดตามและถือเป็นหนี้ปกติต่อไป การช�ำระหนี้คืนก่อนก�ำหนด ผู้กู้ยืมเงินที่มีความประสงค์จะขอช�ำระหนี้คืนก่อนครบก�ำหนดระยะเวลาช�ำระหนี้ หรือ ก่อนครบก�ำหนด ระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี สามารถช�ำระคืนได้โดยไม่เสียดอกเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใด
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
20
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
การบอกเลิกสัญญา การบอกเลิกสัญญา สิทธิในการบอกเลิกสัญญามี 2 กรณี ดังนี้ 1. กรณีกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา หรือ ผู้ที่ได้รับมอบอ�ำนาจบอกเลิกสัญญา 1.1 เมื่อผู้กู้ยืมเงินมิได้แจ้งให้ธนาคารทราบเป็นหนังสือภายใน 15 วัน นับแต่วันที่เปลี่ยนแปลงชื่อ หรือนามสกุล หรือสถานที่อยู่ หรือย้ายสถานศึกษา หรือส�ำเร็จการศึกษา หรือเลิกศึกษา 1.2 เมื่อผู้กู้ยืมเงินมิได้แจ้งให้ธนาคารทราบเป็นหนังสือภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ผู้กู้ยืมเงินเริ่ม ท�ำงาน และในกรณีที่ผู้กู้ยืมเงินย้ายที่อยู่ หรือเปลี่ยนงาน หรือสถานที่ท�ำงาน หรือเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับเงิน เดือนค่าจ้างทุก ๆ ครั้ง 1.3 เมื่อปรากฏภายหลังว่าผู้กู้ยืมเงินไม่มีสิทธิกู้ยืมเงิน หรือได้มีการแจ้งข้อความอันเป็นเท็จในสาระ ส�ำคัญ 1.4 เมื่อผู้กู้ยืมเงินไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือข้อตกลงข้อหนึ่งข้อใดที่ให้ไว้กับกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อ การศึกษา ** การบอกเลิกสัญญาตามข้อ 1.1–1.4 นั้น กองทุนมีสิทธิเรียกเงินที่ผู้กู้ยืมเงินได้รับไปแล้ว ทั้งหมดตามสัญญาคืนในทันที 1.5 เมื่อผู้กู้ยืมเงินลาออกไม่ศึกษาต่อ หรือถูกสถานศึกษาให้ออก หรือไล่ออกในระหว่างปีการศึกษา การบอกเลิกสัญญาตามข้อ 1.5 นั้น กองทุนมีสิทธิเรียกเงินที่ผู้กู้ยืมเงินได้รับไปแล้วทั้งหมดตามสัญญาคืนใน ทันที หรือภายในระยะเวลาที่กองทุน ก�ำหนดไว้ 2. กรณีผู้กู้ยืมเงินบอกเลิกสัญญา ผู้กู้ยืมเงินมีสิทธิบอกเลิกสัญญาเมื่อใดก็ได้ โดยผู้กู้ยืมเงินจะต้องบอกกล่าวเป็นหนังสือให้ผู้บริหารและ จัดการเงินให้กู้ยืมและสถานศึกษาทราบ และผู้กู้ยืมเงินจะต้องช�ำระหนี้เงินกู้ที่ได้รับไปแล้วและยังมิได้ช�ำระ คืน รวมทั้งดอกเบี้ยหรือประโยชน์อื่นใด (ถ้ามี) ให้แก่ผู้ให้กู้ยืมภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ผู้บริหารและจัดการ เงินให้กู้ยืมได้รับแจ้งการบอกเลิกสัญญาดังกล่าว ภาระความรับผิดชอบของผู้ค�้ำประกัน 1. ในกรณีที่ผู้กู้ยืมเงินผิดสัญญา ผู้ค�้ำประกันจะต้องรับผิดช�ำระหนี้เงินกู้ยืมคืนกองทุนในฐานะลูกหนี้ ร่วมกับผู้กู้ยืมเงิน 2. ในกรณีที่ผู้กู้ยืมเงินได้รับการผ่อนผันระยะเวลา หรือผ่อนผันจ�ำนวนเงินในการช�ำระหนี้ไม่ว่ากรณี ใดๆ โดยจะแจ้งหรือไม่ได้แจ้งให้ผู้ค�้ำประกันทราบก็ตาม ให้ถือว่าผู้ค�้ำประกันตกลงยินยอมด้วยในการผ่อนผัน ระยะเวลาหรือผ่อนผันจ�ำนวนเงินในการช�ำระหนี้ทุกครั้ง คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
21
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
การระงับแห่งหนี้ 1. ช�ำระหนี้ครบตามสัญญา 2. ผู้กู้ยืมเงินถึงแก่ความตาย 2.1 กรณีที่ผู้กู้ยืมเงินถึงแก่ความตายให้หนี้ตามสัญญากู้ยืมเงินเป็นอันระงับไป (เฉพาะหนี้ ก่อนตาย) โดยต้องส่งส�ำเนาใบมรณบัตร ส�ำเนาทะเบียนบ้านของผู้กู้ยืมเงิน และส�ำเนาบัตรประชาชนของ บุคคลที่น�ำมาแจ้งพร้อมทั้งเซ็นรับรองส�ำเนาถูกต้องทุกฉบับ และเบอร์โทรศัพท์ที่สามารถติดต่อญาติของผู้กู้ ยืมเงิน ให้ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืมทราบ (ส�ำเนาใบมรณบัตร หมายถึง ใบมรณบัตรที่รับรองโดยเขต/ อ�ำเภอที่ออกใบมรณบัตรนั้น) 2.2 กรณีที่มีการโอนเงินค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาของผู้กู้ยืมเงิน เข้าบัญชีสถานศึกษาหลังจากผู้กู้ยืมเงินถึงแก่ความตายให้สถานศึกษาน�ำเงิน เฉพาะจ�ำนวนเงินที่โอนหลังตาย คืนกองทุน 2.3 กรณีมีการโอนเงินค่าครองชีพของผู้กู้ยืมเงินเข้าบัญชีผู้กู้ยืมเงินหลังจากผู้กู้ยืมเงินถึงแก่ ความตายให้ทายาทน�ำเงินคืนกองทุน การระงับการเรียกให้ช�ำระหนี้ กรณีที่ผู้กู้ยืมเงินเงินพิการ หรือทุพพลภาพไม่สามารถประกอบการงานได้ ให้ส่งส�ำเนาสมุดประจ�ำตัวคน พิการที่ออกโดยกรมประชาสงเคราะห์ให้ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม เพื่อเสนอกองทุนพิจารณาอนุมัติ ระงับการเรียกให้ช�ำระหนี้ต่อไป
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
22
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
23
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ขั้นที่
1
ลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์
ส�ำหรับผู้ที่ไม่เคยกู้ยืมเงิน หรือผู้กู้ยืมที่เข้าสู่ระบบ e-Studentloan เป็นครั้งแรก จะต้องท�ำการ ลงทะเบียนขอรับรหัสผ่านเพื่อใช้ในการด�ำเนินการกู้ยืมเงินตามขั้นตอนต่างๆ ของระบบ e-Studentloan การเข้าสู่ระบบ e-Studentloan 1. ให้ผู้กู้ยืมเข้าหน้า Website หลักของกองทุนฯ โดยพิมพ์ที่อยู่ของเว็บไซต์กองทุนฯ โดยพิมพ์ค�ำว่า http://www.studentloan.or.th จะปรากฏหน้า Website หลักของกองทุนฯ ให้คลิกที่ข้อความ “บริการออนไลน์”
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
24
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
2. ให้คลิกที่ “ระบบ e-Studentloan นักเรียน/นักศึกษา” ดังรูปภาพ
3. จะปรากฏหน้าต่างดังภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
25
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ขั้นตอนการด�ำเนินการลงทะเบียนขอรหัสผ่าน 1. จากรูปจอภาพ ให้กดปุ่ม “ลงทะเบียนขอรหัสผ่าน” จะปรากฏหน้าจอภาพให้ผู้กู้ยืมท�ำการกรอก ข้อมูลบุคคลดังรูปจอภาพ
2. ผู้กู้ยืมท�ำการกรอกเลขที่บัตรประจ�ำตัวประชาชน, ชื่อ, นามสกุล, วันเดือนปีเกิด และอีเมล์ เบอร์ โทรศัพท์มือถือ ตามรูปแบบที่หน้าจอที่ก�ำหนดไว้ดังรูปภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
26
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
3. เมื่อผู้กู้ยืมท�ำ การกรอกข้อมูลบุคคลครบถ้วนแล้ว ให้กดปุ่ม “ลงทะเบียน” 4. ระบบจะท�ำการแสดงหน้าจอให้ผู้กู้ยืมท�ำการก�ำหนดรหัสผ่านเพื่อใช้ในการด�ำเนินการเข้าสู่ระบบ และก�ำหนดค�ำถามกันลืม และค�ำตอบ เพื่อใช้ในกรณีที่ผู้กู้ยืมลืมรหัสผ่าน การก�ำหนดรหัสผ่าน ผู้กู้ยืมจะต้องกรอกข้อมูลเป็นตัวเลขหรือตัวอักษรภาษาอังกฤษ อย่างน้อย จ�ำนวน 6 หลัก และในส่วนของการกรอกข้อมูลค�ำถามกันลืมรหัสผ่าน ระบบจะแสดงข้อมูลค�ำถามกันลืม ให้ผู้กู้ยืมเลือก เช่น “สีที่ชอบ” โดยผู้กู้ยืมจะต้องท�ำการเลือกค�ำถามและระบุค�ำตอบดังรูปจอภาพ
5. เมื่อผู้กู้ยืมท�ำการก�ำหนดรหัสผ่าน ก�ำหนดค�ำถามกันลืมรหัสผ่านแล้ว กดปุ่ม “ตกลง”จะปรากฏ หน้าจอภาพ ให้ผู้กู้ยืมท�ำการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลบุคคลที่ผู้กู้ยืมได้ระบุไว้ดังรูปจอภาพ ถ้าข้อมูล บุคคลของผู้กู้ยืมถูกต้องให้กดปุ่ม “ยืนยันการลงทะเบียน”
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
27
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
6. ระบบจะแสดงหน้าจอการลงทะเบียนขอรหัสผ่านล่วงหน้าดังรูปจอภาพให้ผู้กู้ยืมท�ำการระบุข้อมูล จากนั้นกดปุ่ม “ยืนยันการลงทะเบียน”
7. จากนั้นระบบจะแสดงผลหน้าจอดังรูปจอภาพ
จากรูปจอภาพที่ระบบจะแสดงข้อความแจ้งผลว่าผู้กู้ยืมได้ด�ำเนินการลงทะเบียนขอรหัสผ่าน เรียบร้อยแล้ว โดยระบบจะท�ำการส่งข้อมูลบุคคลของผู้กู้ยืมตรวจสอบความถูกต้องกับส�ำนักทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง เพื่อท�ำการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลบุคคล โดยผู้กู้ยืมจะต้องท�ำการเข้าสู่ระบบ e-Studentloan อีกครั้งในวันถัดไป เพื่อด�ำเนินการยื่นแบบค�ำขอกู้ยืมในขั้นตอนต่อไป คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
28
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ขั้นตอนการเข้าสู่ระบบงาน ผู้กู้ยืมที่ด�ำเนินการลงทะเบียนขอรหัสผ่านแล้ว จะต้องท�ำการเข้าสู่ระบบ e-Studentlon เพื่อด�ำเนิน ตามขั้นตอนการกู้ยืมเงินในระบบ e-Studentloan 1. จากรูปจอภาพที่ ให้ผู้กู้ยืมทาการกดปุ่ม “ผู้ที่มีรหัสผ่านแล้ว” จะแสดงหน้าจอให้ท�ำการ Login เข้าสู่ระบบดังรูปจอภาพ
ผู้กู้ยืมจะต้องท�ำการระบุเลขบัตรประจาตัวประชาชนของผู้กู้ยืม และระบุรหัสผ่านที่ผู้กู้ยืมได้ท�ำการ ก�ำหนดไว้ในขั้นตอนการลงทะเบียนขอรหัสผ่าน และท�ำการกดปุ่ม “เข้าสู่ระบบ” เพื่อด�ำเนินการเข้าสู่ ระบบงาน ดังภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
29
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
2. ในการ Login เข้าสู่ระบบครั้งแรก ระบบจะมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลบุคคลที่ผู้กู้ยืม ได้ท�ำการระบุไว้ กับข้อมูลของส�ำนักทะเบียนราษฎร์กรมการปกครอง ในกรณีที่การตรวจสอบข้อมูล ชื่อ นามสกุล และวันเดือนปีเกิด ของผู้กู้ยืมแล้วไม่ถูกต้องตรงกับส�ำนักทะเบียนราษฎร์ฯ ระบบจะท�ำการแสดง หน้าจอแจ้งเตือนเพื่อให้ผู้กู้ยืมท�ำการตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องตรงกับส�ำนักทะเบียนราษฎร์ฯ ดังรูปจอภาพ
3. ผู้กู้ยืมต้องท�ำการตรวจสอบความถูกต้องของ ชื่อ นามสกุล และวันเดือนปีเกิด โดยตรวจสอบจาก ข้อมูลในระบบ กับเอกสารข้อมูลบุคคลของผู้กู้ยืม เช่น บัตรประจาตัวประชาชน จะต้องตรงกัน ให้ผู้กู้ยืม ท�ำการแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้อง เมื่อท�ำการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว กดปุ่ม “ยืนยันลงทะเบียน” จะปรากฏหน้าจอ ข้อความแจ้งผลการตรวจสอบ หากข้อมูลถูกต้องแล้ว ระบบจะท�ำการปรับปรุงข้อมูล และแจ้งให้ผู้กู้ยืมเข้าสู่ ระบบใหม่อีกครั้ง ดังรูปจอภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
30
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
** หมายเหตุ ** หากผู้กู้ยืมท�ำการตรวจสอบ และแก้ไขข้อมูลแล้วยังไม่สามารถท�ำการยืนยันลง ทะเบียนได้ เนื่องจากข้อมูลของส�ำนักงานทะเบียนราษฎร์ไม่ถูกต้อง ผู้กู้ยืมจะต้องไปติดต่อกับทาง ส�ำนักงานเขตเพื่อแก้ไขข้อมูลของผู้กู้ยืมให้ถูกต้องสมบูรณ์และหลังจากที่ผู้กู้ยืมท�ำการแจ้งแก้ไขข้อมูลกับทาง ส�ำนักงานเขตแล้วอย่างน้อย 1 วันท�ำการ ผู้กู้ยืมจะต้องติดต่อมายังกองทุนฯ ที่ศูนย์สายใจ กยศ. เบอร์ โทรศัพท์ 0-2610-4888 เพื่อให้กองทุนฯ ส่งข้อมูลไปตรวจสอบกับสานักงานทะเบียนราษฎร์อีกครั้ง 4. ส�ำหรับผู้กู้ยืม ที่ท�ำการเข้าสู่ระบบงานแล้ว ผลการตรวจสอบข้อมูลถูกต้อง จะแสดงขั้นตอนการ ท�ำงานต่อไป ดังรูปจอภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
31
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ขั้นที่
2
ยื่นแบบค�ำขอกู้
ผู้กู้ยืมจะต้องท�ำการบันทึกแบบค�ำขอกู้ยืมเงิน เพื่อเป็นการแจ้งความประสงค์ขอทาการกู้ยืมเงินผ่าน ระบบ e-Studentloan กับทางสถานศึกษาที่ผู้กู้ยืมต้องการยื่นขอกู้ยืมเงิน 1. การบันทึกแบบค�ำขอกู้ยืมเงิน 1. เมื่อ Login เข้าสู่ระบบ e-Studentloan จะปรากฏหน้าจอ ดังรูปจอภาพ
2. เลือกปีการศึกษาและภาคเรียนที่ต้องการท�ำรายการ จากตัวอย่างให้เลือก ปีการศึกษา 2556 ภาค เรียนที่ 1 จะปรากฏหน้าจอดังรูปจอภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
32
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
3. ให้ผู้กู้ยืมเลือก แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน จะปรากฏหน้าจอภาพ ให้ผู้กู้ยืมท�ำการระบุข้อมูลของสถาน ศึกษาที่ต้องการกู้ยืมโดยท�ำการเลือกประเภทกองทุนเป็น กยศ. และระบุระดับการศึกษา ชั้นปี ชื่อสถาน ศึกษา ดังรูปจอภาพ
4. เมื่อผู้กู้ยืมท�ำการเลือกข้อมูลเรียบร้อยแล้ว กดปุ่ม “ตกลง” จะปรากฏหน้าจอภาพแบบค�ำขอ กู้ยืมเงิน ดังรูปจอภาพ ผู้กู้ยืมท�ำการระบุรายละเอียดต่างๆ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
33
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5. ผู้กู้ยืมจะต้องท�ำการระบุข้อมูลแบบค�ำขอกู้ยืม โดยข้อมูลจะแบ่งเป็น 5 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานศึกษา ระบบจะท�ำการแสดงข้อมูลสถานศึกษาที่ผู้กู้ยืมได้ท�ำการแจ้งยื่นขอกู้ ผู้กู้ยืมจะต้องระบุข้อมูลราย ละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลสถานศึกษา คณะ สาขาวิชา โดยแบ่งตามระดับการศึกษาดังนี้ 1.1 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1.2 ระดับอาชีวศึกษา (ปวช.) 1.3 ระดับอาชีวศึกษา (ปวส. และ ปวท.) 1.4 ระดับอนุปริญญา / ปริญญาตรี *ในที่นี้มหาวิทยาลัยมหาสารคามเปิดให้บริการยืมในระดับปริญญาตรี จึงเลือกตัวอย่างระดับนี้ ผู้กู้ยืมจะต้องทาการระบุข้อมูล ระดับการศึกษา คณะวิชาที่ศึกษา ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตร หลักสูตรการเรียนการสอน และระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตร
ส่วนที่ 2 ข้อมูลบุคคล ระบบจะท�ำการแสดงข้อมูล เลขประจ�ำตัวประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด ทีอยู่ตามทะเบียนบ้าน ตามข้อมูลจากส�ำนักทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง ผู้กู้ยืมจะต้องท�ำการระบุ รหัสนักศึกษา เบอร์โทรศัพท์ ที่สามารถติดต่อได้ และท�ำการเลือกสถานะการกู้ยืม ในข้อที่ 2.8 ดังรูปจอภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
34
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ส่วนที่ 3 ข้อมูลบิดา มารดาหรือผู้ปกครอง ผู้กู้ยืมจะต้องระบุข้อมูล อาชีพ บิดา มารดา รายได้ครอบครัวต่อปี และจ�ำนวนพี่น้องที่ก�ำลังศึกษาอยู่ (ไม่รวมตัวผู้กู้ยืมเอง) ดังรูปจอภาพ
ส่วนที่ 4 ความประสงค์ขอกู้ยืม ผู้กู้ยืมต้องท�ำการเลือกข้อมูลความประสงค์ขอกู้ยืมในปีการศึกษานี้ โดยระบบแบ่งเป็นส่วนของ ค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนื่องกับการศึกษา และค่าครองชีพ (เงินที่ผู้กู้ยืมจะได้รับทุกเดือน โดยจะโอนเข้า บัญชีธนาคารกรุงไทยของผู้กู้ยืม) ดังรูปจอภาพ
ส่วนที่ 5 เงื่อนไขในการโอนเงินฝ่านบัญชีธนาคาร ผู้กู้ยืมจะต้องคลิกเลือกการโอนเงินว่าจะประสงค์ให้โอนเงินผ่านบัญชีธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) หรือธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย และหากผู้กู้ยืมที่นับถือศาสนาอิสลามมีความประสงค์จะท�ำ สัญญาตามหลักศาสนาอิสลามก็ให้เลือก ท่านประสงค์จะท�ำสัญญาตามหลักศาสนาอิสลาม ดังรูปจอภาพ
ส่วนที่ 6 รับเงื่อนไขท�ำสัญญาตามหลักศาสนาอิสลาม ในกรณีที่ผู้กู้ยืมมีความประสงค์ที่จะทาสัญญาตามหลักศาสนาอิสลามในส่วนที่ 5 ผู้กู้ยืมจะต้องคลิก เพื่อยอมรับเงื่อนไขในการท�ำสัญญาตามหลักศาสนาอิสลามในส่วนนี้ด้วย ดังรูปจอภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
35
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ส่วนที่ 7 ค�ำยืนยัน ผู้กู้ยืมจะต้องท�ำการยืนยันความถูกต้องของข้อมูลตามที่ผู้กู้ยืมได้มีการระบุไว้ข้างต้น และผู้กู้ยืม ยอมรับเงื่อนไขในการพิจารณาเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาตามหลักเกณฑ์ที่กองทุนฯ ก�ำหนด ดังรูปจอภาพที่
เมื่อกรอกข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ม “บันทึกแบบ” จะปรากฏหน้าจอดังรูปจอภาพ ระบบจะแจ้ง สถานะการบันทึกแบบค�ำขอกู้ยืมเรียบร้อยแล้ว ให้ผู้กู้ยืมรอสถานศึกษาคัดเลือก และท�ำการประกาศรายชื่อผู้ มีสิทธิ์ขอกู้ยืม เมื่อผู้กู้ยืมกดปุ่ม โปรแกรมจะกลับสู่หน้าจอหลัก ผู้กู้ยืมสามารถตรวจสอบผลว่ามีสิทธิกู้ยืมเงิน กยศ. ได้จากระบบ e-Studentloan หรือติดต่อสถานศึกษาที่ท่านยื่นขอกู้ยืม
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
36
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
2. เอกสารที่ใช้ประกอบในการยื่นค�ำขอกู้ ผู้กู้ยืมจะต้องยื่นเอกสารให้กับทางสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วยดังนี้ 1. แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan) **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า.. 2. กยศ. 101 **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า.. 3. ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนผู้กู้ยืม 4. ส�ำเนาทะเบียนบ้านผู้กู้ยืม 5. รูปถ่ายบ้าน **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า.. 6. แผนที่บ้าน **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า.. 7. หนังสือรับรองรายได้ **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า.. 8. ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนผู้รับรองรายได้
ขั้นที่
3
สัมภาษณ์และคัดเลือก
คณะกรรมการของสถานศึกษาจะเรียกนักเรียน /นักศึกษาสัมภาษณ์ และตรวจสอบ คุณสมบัติ เพื่อพิจารณาอนุมัติการให้กูยืม
ขั้นที่
4
ประกาศรายชื่อ
นักเรียน /นักศึกษา ตรวจผลการพิจารณาอนุมัติจากประกาศของสถานศึกษา หรือ ตรวจผลการพิจารณาอนุมัติผ่านระบบ e-Studentloan
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
37
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ขั้นที่
5
เปิดบัญชีธนาคาร
นักเรียน /นักศึกษาเปิดบัญชีเงินออมทรัพย์ ณ สาขาของธนาคารกรุงไทย หรือธนาคารอิสลามแห่ง ประเทศไทยที่ตนเองประสงคจะใช้บริการถ้ามีบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงไทยหรือธนาคารอิสลามแห่ง ประเทศไทยที่สามารถใชง้านได้อย่และประสงค์จะใชก็ไม่ต้องเปิดบัญชีใหม่ 1. เอกสารที่ใช้ประกอบ 1.1 ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนผู้กู้ยืม ขั้นที่
6
ท�ำสัญญาเงินกู้
ผู้กู้ยืมที่ได้รับการคัดเลือกและประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์จากสถานศึกษาแล้ว ผู้กู้ยืมจะต้องเข้าสู่ระบบ เพื่อท�ำการบันทึกสัญญากู้ยืม และท�ำการพิมพ์เอกสารสัญญาพร้อมเอกสารแนบส่งให้สถานศึกษา 1. การบันทึกสัญญากู้ยืมเงิน 1. เมื่อผู้กู้ยืมท�ำการ Login เข้าสู่ระบบ e-Studentloan จะปรากฏหน้าจอ ดังรูปจอภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
38
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
2. เลือกปีการศึกษาและภาคเรียนที่ต้องการท�ำ รายการ จากตัวอย่างให้เลือก ปีการศึกษา 2556 ภาคเรียนที่ 1 จะปรากฏหน้าจอดังรูปจอภาพ
ในรูปจะแสดงข้อความแสดงความยินดีกับผู้กู้ยืมที่ได้รับสิทธิ์ในการกู้ยืม พร้อมทั้งแจ้งให้ผู้กู้ยืมท�ำการ เปิดบัญชีออมทรัพย์กับธนาคารกรุงไทย หรือธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยสาขาใดก็ได้ (ตามความ ประสงค์ที่ผู้กู้ยืมเลือกเงื่อนไขการโอนเงินผ่านบัญชีธนาคารในแบบค�ำขอกู้ยืมที่ผู้กู้ยืมได้ท�ำการระบุไว้ก่อน หน้านี้แล้ว) ก่อนที่จะด�ำเนินการท�ำสัญญากู้ยืมเงิน ซึ่งถ้าผู้กู้ยืมเป็นผู้กู้ยืมเก่าและมีการเปิดบัญชีไว้อยู่แล้วให้ ท�ำการกดปุ่ม “ท�ำสัญญากู้ยืมเงิน” เพื่อด�ำเนินการในขั้นตอนต่อไป
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
39
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
3. ระบบจะท�ำการแสดงหน้าจอรายละเอียดเพิ่มเติมในการท�ำสัญญากู้ยืมเงิน ดังรูปจอภาพเมื่อผู้กู้ยืม ได้รับทราบรายละเอียดดังกล่าวแล้ว ให้ท�ำการคลิกที่ข้อความ “ท�ำสัญญา” เพื่อท�ำการกรอกรายละเอียดใน การท�ำสัญญา
4. ระบบจะท�ำการแสดงหน้าจอการบันทึกรายละเอียด สัญญากู้ยืมเงิน สัญญาค�้ำประกัน และ หนังสือให้ความยินยอม กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ดังรูปจอภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
40
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
โดยข้อมูลที่ผู้กู้ยืมจะต้องท�ำการบันทึกข้อมูลสัญญา แบ่งได้เป็น 5 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 ส่วนของข้อมูลผู้กู้ยืม ระบบจะท�ำการแสดงข้อมูลบุคคลของผู้กู้ยืม ตามข้อมูลบุคคลของสานักทะเบียนราษฎร์หรือกรมการ ปกครอง ในส่วนของ ชื่อ-นามสกุล เพศ วันเดือนปีเกิด อายุ และที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน โดยผู้กู้ยืมไม่ต้อง ท�ำการกรอกข้อมูลในส่วนนี้ ดังรูปหน้าจอ
ส่วนที่ 2 ส่วนของข้อมูลสถานศึกษา ระบบจะท�ำการแสดงข้อมูลของสถานศึกษาที่ผู้กู้ยืมได้ท�ำการยื่นใบค�ำขอกู้ยืมเงิน ผู้กู้ยืมไม่ต้องท�ำการ กรอกข้อมูลในส่วนนี้ ดังรูปจอภาพ ส่วนที่ 3 ส่วนของข้อมูลผู้ค�้ำประกัน ผู้กู้ยืมต้องท�ำการบันทึกข้อมูลผู้ค�้ำประกัน โดยการบันทึกข้อมูล เลขประจ�ำตัวประชาชนผู้ค�้ำประกัน ชื่อ-นามสกุล เพศ อายุ (อายุของผู้ค�้ำประกันจะต้องไม่ต่ากว่า 20 ปีบริบูรณ์) ที่อยู่ของผู้ค�้ำประกัน เบอร์โทรศัพท์ และเลือกความสัมพันธ์ระหว่างผู้กู้ยืมและผู้ค�้ำประกัน ดังรูปจอภาพ
ในข้อมูลส่วนที่ 3 วิธีการบันทึกข้อมูล ต�ำบล อ�ำเภอ จังหวัด รหัสไปรษณีย์ ให้ผู้กู้ยืมท�ำการกดปุ่ม “ค้นหา” หลังข้อมูลต�ำบล หรือ อ�ำเภอ ระบบจะท�ำการแสดงหน้าจอการค้นหาชื่อ ต�ำบล อ�ำเภอ จังหวัด รหัสไปรษณีย์ โดยให้ ผู้กู้ยืมท�ำการระบุ ต�ำบล หรือ อ�ำเภอที่ต้องการค้นหา และกดปุ่ม “ค้นหา” จะปรากฏ หน้าจอข้อมูลที่ค้นหาดัง รูปจอภาพ ให้คลิกเลือกข้อมูลที่ถูกต้อง ระบบก็จะทาการระบุข้อมูล ต�ำบล อ�ำเภอ จังหวัด รหัสไปรษณีย์ให้
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
41
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ส่วนที่ 4 ส่วนของข้อมูลผู้แทนโดยชอบธรรม ในกรณีที่ผู้กู้ยืมที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรืออายุยังไม่ถึง 20 ปีบริบูรณ์ จะต้องท�ำการบันทึกข้อมูลผู้ แทนโดยชอบธรรม ซึ่งระบบจะมีตัวเลือกเพื่อช่วยในการบันทึกข้อมูลอยู่ 2 ประเภท คือ ผู้แทนโดยชอบธรรม เป็นบุคคลเดียวกับผู้ค้าประกัน หรือ ผู้แทนโดยชอบธรรมไม่ได้เป็นบุคคลเดียวกับผู้ค�้ำประกัน ถ้าผู้กู้ยืมเลือก ผู้แทนโดยชอบธรรมเป็นบุคคลเดียวกับผู้ค�้ำประกัน ระบบจะท�ำการดึงข้อมูลผู้ค�้ำประกันมา ระบุให้แต่ถ้าผู้กู้ยืมเลือกว่าผู้แทนโดยชอบธรรม ไม่ได้เป็นบุคคลเดียวกับผู้ค�้ำประกันผู้กู้ยืมจะต้องท�ำการระบุ ข้อมูลผู้แทนโดยชอบธรรมเอง ดังรูปจอภาพ
ส่วนที่ 5 ส่วนของข้อมูลบัญชีธนาคาร และเลขที่บัญชีธนาคาร ผู้กู้ยืมที่ได้ท�ำการเปิดบัญชีธนาคารออมทรัพย์กับธนาคารกรุงไทย หรือธนาคารอิสลามแห่ง ประเทศไทยแล้ว จะต้องท�ำการกรอกข้อมูลของเลขที่บัญชีธนาคารดังรูปจอภาพ
เมื่อผู้กู้ยืมได้ท�ำการกรอกรายละเอียดของสัญญาถูกต้องสมบูรณ์แล้วให้ผู้กู้ยืมท�ำการกดปุ่ม “บันทึกสัญญา” โดยระบบจะท�ำการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ความถูกต้องของเลขที่บัญชีธนาคาร และชื่อบัญชีธนาคาร ก่อนจะท�ำการบันทึก โดยระบบจะท�ำการตรวจสอบเลขที่บัญชีก่อนว่าถูกต้องหรือไม่ หากไม่ถูกต้องจะแสดงข้อความ ดังรูปจอภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
42
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ผู้กู้ยืมจะต้องตรวจสอบก่อนว่า กรอกเลขที่บัญชีถูกต้องหรือไม่ หากไม่ถูกต้องให้ทาการกรอกใหม่อีก ครั้ง แต่ถ้าตรวจสอบแล้วถูกต้อง แต่ยังไม่สามารถบันทึกได้ หรือมีสถานะว่าบัญชีถูกปิด ให้ท�ำการติดต่อ ธนาคารเพื่อตรวจสอบสถานะของบัญชีธนาคารอีกครั้ง ส�ำหรับผู้กู้ยืมที่ท�ำการกรอกข้อมูลเลขที่บัญชีถูกต้อง ระบบจะท�ำการตรวจสอบข้อมูลชื่อบัญชีว่า เป็นของผู้กู้ยืมจริงหรือไม่ ดังรูปจอภาพ ให้ผู้กู้ยืมท�ำการคลิกปุ่ม “OK”
ระบบจะแสดงผลการบันทึกรายละเอียดสัญญาฯ ของผู้กู้ยืมรูปจอภาพ ให้คลิกปุ่ม “OK”
จากนั้นระบบจะท�ำการแสดงชื่อบัญชี และชื่อสาขาธนาคารดังรูป
ระบบจะแสดงผลการบันทึกข้อมูลสัญญาเรียบร้อยแล้ว ให้ท�ำการกดปุ่ม ok ให้ผู้กู้ยืมเลื่อนหน้าจอดู ด้านล่างจะปรากฏหน้าจอปุ่มพิมพ์สัญญาดังรูปจอภาพให้ท�ำการกดปุ่ม “พิมพ์สัญญา”
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
43
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
7. ระบบจะแสดงหน้าจอของสัญญากู้ยืมเงิน ดังรูปจอภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
44
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
7. พร้อมทั้งแสดงข้อความกลางหน้าจอ ดังภาพ
2. การพิมพ์สัญญากู้ยืมเงิน 1. ผู้กู้ยืมท�ำการตรวจสอบความถูกต้องของสัญญาอีกครั้ง หากยังไม่ถูกต้องสามารถท�ำการแก้ไขได้ โดยการกลับมาที่หน้าจอการบันทึกสัญญาอีกครั้ง เพื่อท�ำการแก้ไขและบันทึกข้อมูลใหม่ แต่ถ้าข้อมูลถูกต้อง ให้ท�ำการพิมพ์สัญญาโดยให้พิมพ์จากเมนู Print ในโปรแกรม Internet explorer ดังรูปจอภาพโดยผู้กู้ยืม สามารถพิมพ์เอกสารในรูปแบบสีขาว/ด�ำได้ แต่ต้องให้เอกสารมีความชัดเจน และเอกสารสัญญา 1 ฉบับ จะมี 2 หน้า คือ ส่วนของรายละเอียดข้อมูลผู้กู้ยืม และรายละเอียดเพิ่มเติมในการท�ำสัญญา เมื่อท�ำการพิมพ์ แล้ว ให้ท�ำการแนบเอกสารที่ใช้ในการส่งสัญญา พร้อมกับด�ำเนินการลงลายมือชื่อ และส่งให้สถานศึกษา ท�ำการตรวจสอบต่อไป
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
45
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
หากผู้กู้ยืมท�ำการพิมพ์เอกสารสัญญาแล้ว เอกสารเกิน 2 หน้า ให้ผู้กู้ยืมท�ำการปรับวิธีกั้นซ้าย-ขวา ขอบกระดาษในโปรแกรม Internet Explorer โดยทาการกดเมนู File >> Page Setup.. ดังรูปจอภาพ
จะปรากฏหน้าจอหน้าจอให้ท�ำการปรับค่า ให้ท�ำการก�ำหนดค่า ในส่วนของ Margins(millimeters) ให้ ช่อง Left : ,Right : ,Top : ,Bottom : ให้มีค่าเป็น 0 ในช่อง Header และ Footer ถ้ามีข้อมูลอยู่ให้ ท�ำการลบข้อมูลให้เป็นค่าว่าง ดังรูปจอภาพ แล้วท�ำการกดปุ่ม “OK” แล้วให้ท�ำการพิมพ์เอกสารสัญญากู้ยืม เงินใหม่อีกครั้ง
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
46
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
3. เอกสารที่ใช้ประกอบในการท�ำสัญญาเงินกู้ ผู้กู้ยืมจะต้องยื่นเอกสารให้กับทางสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วยดังนี้ 1. สัญญากู้ยืมเงิน (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan) *ดังตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า..... 2. ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนผู้กู้ยืม 3. ส�ำเนาทะเบียนบ้านผู้กู้ยืม 4. ส�ำเนาบัญชีธนาคาร (ที่บันทึกในระบบ) 5. ส�ำเนาการเปลี่ยนชื่อ - นามสกุล **ถ้ามี
ขั้นที่
7
บันทึกวงเงิน
ผู้กู้ยืมจะต้องท�ำการบันทึกจ�ำนวนเงินค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนื่องกับการศึกษาตามที่สถาน ศึกษาของท่านได้ท�ำการเรียกเก็บจริงผ่านระบบ e-Studentloan และหากท่านไม่ทาการบันทึกข้อมูลในส่วน นี้สถานศึกษาจะไม่สามารถท�ำการบันทึกแบบลงทะเบียน และพิมพ์แบบลงทะเบียนเรียนให้กับท่านได้ 1 การบันทึกจานวนเงินค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนื่องกับการศึกษาตามที่สถานศึกษาเรียกเก็บจริง 1. เมื่อ Login เข้าสู่ระบบ e-Studentloan จะปรากฏหน้าจอ ดังรูปจอภาพ
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
47
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
2. เลือกปีการศึกษาและภาคเรียนที่จะยื่นแบบค�ำยืนยัน จะปรากฏหน้าจอ ดังรูปจอภาพ
3. กดปุ่ม “บันทึกจ�ำนวนเงินค่าเล่าเรียน” จะปรากฏหน้าจอ ดังรูปจอภาพ
4. ให้ผู้กู้ยืมท�ำการป้อนข้อมูลเลขที่ใบเสร็จ / เลขที่ใบแจ้งหนี้ / เลขที่ใบลงทะเบียน , วันที่เอกสาร , จ�ำนวนเงินค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา เมื่อกรอกข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ม “ยืนยันข้อมูล” หมายเหตุ : ส�ำหรับผู้กู้ยืมที่ไม่ได้เลือกความประสงค์ขอกู้ยืมในส่วนของค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่าย เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา รูปจอภาพ ผู้กู้ยืมกลุ่มนี้ไม่ต้องด�ำเนินการในส่วนของการบันทึกข้อมูลค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนื่องกับการศึกษาตามที่สถานศึกษาของท่านเรียกเก็บจริง และส�ำหรับผู้กู้ยืมในระดับ อื่น ๆ ต้องด�ำเนินการกรอกข้อมูลในส่วนนี้ด้วยมิฉะนั้นสถานศึกษาของท่านจะไม่สามารถท�ำการบันทึกและ พิมพ์แบบลงทะเบียนผ่านระบบ e-Studentloan ให้กับท่านได้ คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
48
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
49
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
จะปรากฏหน้าจอภาพ ดังรูปจอภาพ และให้ผู้กู้ยืมรอสถานศึกษาท�ำเอกสารใบลงทะเบียนเรียน
ขั้นที่
8
รอธนาคารอนุมัติและจ่ายเงินกู้
กองทุนจะโอนเงินค่าครองชีพเข้าบัญชีของผู้กู้ยืมทุกเดือน สําหรับค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา กองทุนจะโอนเขาบัญชีของสถานศึกษา
***หมายเหตุ : ผู้กู้ยืมรายใหม่ ในเทอม 1 จะต้องส�ำรองจ่ายค่าเล่าเรียนไปก่อน จากนั้น กองทุนจะจ่ายเงินคืนให้ทีหลัง โดยโอนเข้าบัญชีผู้กู้ยืม
ขั้นตอนของการกู้ยืมในภาคเรียนที่ 2 หรือ 3
1. ยื่นแบบค�ำขอกู้ ***ท�ำเช่นเดียวกันกับเทอมที่ 1 1.1 เอกสารประกอบด้วย - แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan) **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 60 - เอกสารแสดงผลการเรียน **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 70 - บันทึกการเข้าร่วมโครงการที่มุ่งจิตอาสา จ�ำนวน 18 ชั่วโมง **อย่างในบทที่ 5 หน้า. 71 2. ประกาศรายชื่อ 3. บันทึกวงเงิน ***ท�ำเช่นเดียวกันกับเทอมที่ 1 4. รอธนาคารอนุมัติและจ่ายเงินกู้
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
50
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
51
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ขั้นที่
1
ยื่นแบบค�ำขอกู้
นักเรียน/นักศึกษายื่นแบบคํายืนยันขอกู้ยืมเงินกองทุน ผ่านระบบ e-Studentloan (นักเรียน/นักศึกษาต้องยื่นแบบคํายืนยันขอกู้ยืมเพื่อแจ้งความประสงค์ขอกู้ยืมภายในระยะเวลาที่ กองทุนกําหนด) 1. การบันทึกแบบค�ำขอกู้ยืมเงิน ท�ำเช่นเดียวกันกับ ขั้นที่ 2 ยื่นแบบค�ำขอกู้ ** ในบทที่ 2 ขั้นตอนการกู้ยืมเงินส�ำหรับผู้กู้รายใหม่ หน้า 32 2. เอกสารที่ใช้ประกอบในการยื่นค�ำขอกู้ ผู้กู้ยืมจะต้องยื่นเอกสารให้กับทางสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วยดังนี้ 1. แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan) **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 60 2. กยศ. 101 **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 63 3. ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนผู้กู้ยืม 4. ส�ำเนาทะเบียนบ้านผู้กู้ยืม 5. รูปถ่ายบ้าน **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 67 6. แผนที่บ้าน **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 68 7. หนังสือรับรองรายได้ **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 69 8. ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนผู้รับรองรายได้ ขั้นที่
2
ประกาศรายชื่อ
นักเรียน /นักศึกษา ตรวจผลการพิจารณาอนุมัติจากประกาศของสถานศึกษา หรือ ตรวจผลการพิจารณาอนุมัติผ่านระบบ e-Studentloan คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
52
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ขั้นที่
4
ท�ำสัญญาเงินกู้
ผู้กู้ยืมที่ได้รับการคัดเลือกและประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์จากสถานศึกษาแล้ว ผู้กู้ยืมจะต้องเข้าสู่ระบบ เพื่อท�ำการบันทึกสัญญากู้ยืม และท�ำการพิมพ์เอกสารสัญญาพร้อมเอกสารแนบส่งให้สถานศึกษา 1. การบันทึกสัญญากู้ยืมเงิน ท�ำเช่นเดียวกันกับ ขั้นที่ 6 ท�ำสัญญาเงินกู้ ** ในบทที่ 2 ขั้นตอนการกู้ยืมเงินส�ำหรับผู้กู้รายใหม่ หน้า 38 2. เอกสารที่ใช้ประกอบในการท�ำสัญญาเงินกู้ ผู้กู้ยืมจะต้องยื่นเอกสารให้กับทางสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วยดังนี้ 1. สัญญากู้ยืมเงิน (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan) *ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 61 2. ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนผู้กู้ยืม 3. ส�ำเนาทะเบียนบ้านผู้กู้ยืม 4. ส�ำเนาบัญชีธนาคาร (ที่บันทึกในระบบ) 5. ส�ำเนาการเปลี่ยนชื่อ - นามสกุล **ถ้ามี ขั้นที่
4
บันทึกวงเงิน
ผู้กู้ยืมจะต้องท�ำการบันทึกจ�ำนวนเงินค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนื่องกับการศึกษาตามที่สถาน ศึกษาของท่านได้ท�ำการเรียกเก็บจริงผ่านระบบ e-Studentloan และหากท่านไม่ทาการบันทึกข้อมูลในส่วน นี้สถานศึกษาจะไม่สามารถท�ำการบันทึกแบบลงทะเบียน และพิมพ์แบบลงทะเบียนเรียนให้กับท่านได้ 1. การบันทึกจานวนเงินค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนื่องกับการศึกษาตามที่สถานศึกษาเรียกเก็บจริง ท�ำเช่นเดียวกันกับ ขั้นที่ 7 บันทึกวงเงิน ** ในบทที่ 2 ขั้นตอนการกู้ยืมเงินส�ำหรับผู้กู้รายใหม่ หน้า 47 คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
53
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ขั้นที่
5
รอธนาคารอนุมัติและจ่ายเงินกู้
กองทุนจะโอนเงินค่าครองชีพเข้าบัญชีของผู้กู้ยืมทุกเดือน สําหรับค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา กองทุนจะโอนเขาบัญชีของสถานศึกษา
***หมายเหตุ : ผู้กู้ยืมรายใหม่ ในเทอม 1 จะต้องส�ำรองจ่ายค่าเล่าเรียนไปก่อน จากนั้น กองทุนจะจ่ายเงินคืนให้ทีหลัง โดยโอนเข้าบัญชีผู้กู้ยืม
ขั้นตอนของการกู้ยืมในภาคเรียนที่ 2 หรือ 3
1. ยื่นแบบค�ำขอกู้ **ท�ำเช่นเดียวกันกับเทอมที่ 1 1.1 เอกสารประกอบด้วย - แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan) **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 60 - เอกสารแสดงผลการเรียน **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 70 - บันทึกการเข้าร่วมโครงการที่มุ่งจิตอาสา จ�ำนวน 18 ชั่วโมง **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 71 2. ประกาศรายชื่อ 3. บันทึกวงเงิน ***ท�ำเช่นเดียวกันกับเทอมที่ 1 4. รอธนาคารอนุมัติและจ่ายเงินกู้
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
54
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
55
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ขั้นที่
1
ยื่นแบบค�ำขอกู้
นักเรียน/นักศึกษายื่นแบบคํายืนยันขอกู้ยืมเงินกองทุน ผ่านระบบ e-Studentloan (นักเรียน/นักศึกษาต้องยื่นแบบคํายืนยันขอกู้ยืมเพื่อแจ้งความประสงค์ขอกู้ยืมภายในระยะเวลาที่ กองทุนกําหนด) 1. การบันทึกแบบค�ำขอกู้ยืมเงิน ท�ำเช่นเดียวกันกับ ขั้นที่ 2 ยื่นแบบค�ำขอกู้ ** ในบทที่ 2 ขั้นตอนการกู้ยืมเงินส�ำหรับผู้กู้รายใหม่ หน้า 32 2. เอกสารที่ใช้ประกอบในการยื่นค�ำขอกู้ ผู้กู้ยืมจะต้องยื่นเอกสารให้กับทางสถานศึกษา ซึ่งประกอบด้วยดังนี้ 1. แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan) **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 60 2. หนังสือรับรองรายได้ **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 69 3. ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน/บัตรประจ�ำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ 3. เอกสารแสดงผลการเรียนของผู้กู้ยืม **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 70 4. บันทึกการเข้าร่วมโครงการที่มุ่งจิตอาสา จ�ำนวน 18 ชั่วโมง **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 71 ขั้นที่
2
ประกาศรายชื่อ
นักเรียน /นักศึกษา ตรวจผลการพิจารณาอนุมัติจากประกาศของสถานศึกษา หรือ ตรวจผลการพิจารณาอนุมัติผ่านระบบ e-Studentloan
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
56
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
ขั้นที่
3
บันทึกวงเงิน
ผู้กู้ยืมจะต้องท�ำการบันทึกจ�ำนวนเงินค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนื่องกับการศึกษาตามที่สถาน ศึกษาของท่านได้ท�ำการเรียกเก็บจริงผ่านระบบ e-Studentloan และหากท่านไม่ทาการบันทึกข้อมูลในส่วน นี้สถานศึกษาจะไม่สามารถท�ำการบันทึกแบบลงทะเบียน และพิมพ์แบบลงทะเบียนเรียนให้กับท่านได้ 1. การบันทึกจานวนเงินค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนื่องกับการศึกษาตามที่สถานศึกษาเรียกเก็บจริง ท�ำเช่นเดียวกันกับ ขั้นที่ 7 บันทึกวงเงิน ** ในบทที่ 2 ขั้นตอนการกู้ยืมเงินส�ำหรับผู้กู้รายใหม่ หน้า 47 ขั้นที่
4
รอธนาคารอนุมัติและจ่ายเงินกู้
กองทุนจะโอนเงินค่าครองชีพเข้าบัญชีของผู้กู้ยืมทุกเดือน สําหรับค่าเล่าเรียน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษา กองทุนจะโอนเขาบัญชีของสถานศึกษา
ขั้นตอนของการกู้ยืมในภาคเรียนที่ 2 หรือ 3
1. ยื่นแบบค�ำขอกู้ **ท�ำเหมือนกันกับเทอมที่ 1 1.1 เอกสารประกอบด้วย - แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan) **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 60 - เอกสารแสดงผลการเรียน **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 70 - บันทึกการเข้าร่วมโครงการที่มุ่งจิตอาสา จ�ำนวน 18 ชั่วโมง **ตัวอย่างในบทที่ 5 หน้า 71 2. ประกาศรายชื่อ 3. บันทึกวงเงิน **ท�ำเหมือนกันกับเทอมที่ 1 4. รอธนาคารอนุมัติและจ่ายเงินกู้ คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
57
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
59
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.1
แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan)
1-1461-XXXX-XX-X นายทดสอบ ระบบงาน 07/07/2539 580XXXXXXX 150 หมู่ที่ 1 ต.เมือง อ.เมือง.จ.เมือง 11111 08XXXXXXXX test23456@msu.ac.th
08XXXXXXXX 08XXXXXXXX
นายทดสอบ ระบบงาน
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
60
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.2
สัญญากู้ยืมเงิน (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
61
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.2
สัญญากู้ยืมเงิน (พิมพ์จากระบบ e-Studentloan)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
62
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.3
แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน (กยศ. 101)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
63
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.3
แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน (กยศ. 101)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
64
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.3
แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน (กยศ. 101)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
65
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.3
แบบค�ำขอกู้ยืมเงิน (กยศ. 101)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
66
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.4
รูปถ่ายบ้าน
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
67
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.5
แผนที่บ้าน
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
68
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.6
หนังสือรับรองรายได้ (กยศ.102)
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
69
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.7
เอกสารแสดงผลการเรียน
นายทดสอบ ระบบงาน
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
70
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.7 บันทึกการเข้าร่วมโครงการที่มุ่งจิตอาสา
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
71
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
5.7 บันทึกการเข้าร่วมโครงการที่มุ่งจิตอาสา
การบันทึกการเข้าร่วมโครงการที่มุ่งจิตอาสา 1. นิสิตต้องเก็บเทอมละ 18 ชั่วโมง โดยช่วงที่ท�ำกิจกรรมเทอม 1 ใช้เป็นหลักฐานแนบเพื่อกู้เงินใน เทอม 2 และช่วงเวลาท�ำกิจกรรมเทอม 2 แนบกู้เงินเทอมต้นหรือเทอม 1 2. ต้องเป็นกิจกรรมจิตอาสาที่เป็นโครงการมีเจ้าหน้าที่คณะ / มหาวิทยาลัย รับรอง เช่น คณะ,มหาวิทยาลัย,ชมรม,จังหวัด ด�ำเนินการจัด และไม่ใช่กิจกรรมของวิชาเรียน และไม่ใช่กิจกรรมรับจ้าง เพื่อผลประโยชน์หรือได้ค่าตอบแทน 3. ในเอกสารถ้าร่วมกิจกรรมจากหน่วยงานไหน ให้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานนั้นรับรอง เช่น บริจาค โลหิตของคณะการบัญชีฯ ให้เจ้าหน้าที่คณะบัญชีรับรอง * *ใช้รูปถ่ายเป็นหลักฐาน กรอกในแบบฟอร์ม
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
72
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (Student Loan)
บรรณานุกรม
กุสุมา สีดาเหลา. นักวิชาการศึกษา ฝ่ายพัฒนานิสิต. สัมภาษณ์. 30 พฤศจิกายน 2559. บุญชู อันบุรี. คู่มือนิสิตกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา. มหาสารคาม : สารคามการพิมพ์-สารคามเปเปอร์. [ม.ป.ป.]. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.studentloan.or.th/index.php [ม.ป.ป.]. สืบค้น 2 ธันวาคม 2559.
คู่มือการกู้ยืมเงิน กยศ.
73