สูจิบัตร ล้วงลึก สูตรลับ ตำรับดนตรีเด็ด

Page 1



Musica per Tutti Symphony Orchestra น�ำเสนอ “Talk and Play” Concert Series #1: ล้วงลึก สูตรลับ ต�ำรับดนตรีเด็ด Musical Elements วิษณ์กมล ชั ยวานิชศิริ - วาทยากร อลงกรณ์ เหล่าสายเชื ้อ - ทรัมเป็ต เมนูไข่

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ค.ศ. 1927 - 2016)

Variations on If You’re Happy and You Know It Infernal Galop (Can-can) from Orpheus in the Underworld

Young Thai Artist (ยุ วศิลปิ นไทย) วิวรรธน์ สุทธิแย้ม (รางวัลยอดเยี่ยมปี 2555) ปิ ยวัฒน์ หลุยลาภประเสริฐ (รางวัลยอดเยี่ยมปี 2556) วิษณ์กมล ชัยวานิชศิริ (รางวัลยอดเยี่ยมปี 2559) พีระวิทย์ ศรีอนุวัติพงศ์ (รางวัลดีเด่นปี 2559) ธนาคาร เอชสโกลฟิ ลด์ (รางวัลยอดเยี่ยมปี 2560) ชวิน เต็มสิทธิโชค (รางวัลดีเด่นปี 2560) Jacques Offenbach (ค.ศ. 1819 - 1880) พักการแสดง

Libertango

Astor Piazzolla (ค.ศ. 1921 - 1992)

Canon in D

Johann Pachelbel (ค.ศ. 1653 - 1706)

Vltava (The Moldau) from Má vlast (My Homeland)

Bedrich Smetana (ค.ศ. 1824 - 1884)

Finale from Symphony No.3

Gustav Mahler (ค.ศ. 1860 - 1911)

^


Musica Per Tutti Symphony Orchestra “Talk and Play’ Concert Series #1: ล้วงลึก สูตรลับ ต�ำรับดนตรีเด็ด: Musical Elements

MUSICAL

ELEMENTS 1


ความสัมพันธ์ของดนตรีกบั ชีวติ ประจ�ำวันของเรานัน้ ไม่ต่างจาก การรับประทานอาหารในทุกวัน เราฟั งเพลงตามความรูส้ กึ หรืออารมณ์ใน ขณะนัน้ เราเลือกแต่ละเมนูตามรสชาติทเ่ี ราอยากรับประทาน บางจานมีรส หวาน บางจานมีรสเค็ม หรือบางจานมีรสเผ็ดจัดจ้าน โดยในแต่ละจานก็ม ี ส่วนประกอบอีกมากมาย เช่น ข้าวไข่เจียวจะมีไข่เป็ นส่วนผสมหลัก โดยมี ความแตกต่างกันอยูส่ ว่ นผสมเพิม่ เติม เช่น เนื้อสัตว์อย่าง หมูสบั หรือใส่ผกั อย่างเช่น มะเขือเทศหรือชะอมเพือ่ เพิม่ ความอิม่ อร่อยเมือ่ กินคูก่ นั กับข้าว สวยหุงร้อนๆ ในดนตรีกม็ เี ช่นกัน บทเพลงหนึ่งอาจมีโน้ตต่างๆ มากมาย เสียงสูงต�่ำผ่านเครือ่ งดนตรีหลายชนิด เสียงทีส่ นั ้ ยาว และอีกหลายส่วน ประกอบของดนตรี เราจะมาค้นหากันว่า อะไรทีค่ อื ส่วนผสม เครือ่ งปรุง ส่วนประกอบทีท่ ำ� ให้ดนตรีสนุกสนาน และเอร็ดอร่อย

2


จังหวะ ส่วนประกอบแรกของเราคือ “จังหวะ” ประกอบไปด้วยทัง้ เสียงสัน้ เสียงยาว หรือแม้กระทังความเงี ่ ยบก็ยงั ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของจังหวะ เสียง จังหวะมีอยู่มากมายในชีวติ ประจ�ำวัน เสียงเข็มนาฬิกา การก้าวเดิน หรือ จังหวะในการท�ำอาหาร เช่น เสียงสับหมู จังหวะต�ำส้มต�ำ สับมะละกอ เป็ นต้น ในดนตรีมสี งิ่ ทีเ่ รียกว่า “Pulse” อยู่ หรือในภาษาไทยก็คอื จังหวะชีพจร Pulse คือจังหวะทีด่ ำ� เนินอยูร่ ะหว่างดนตรี มีความคงที่ ไม่ใช่เพียงแค่เพลง ตะวันตกเท่านัน้ ทีจ่ ะมี Pulse ในดนตรีไทยของเราก็มเี ช่นกัน นันก็ ่ คอื จังหวะ หน้าทับและจังหวะฉิง่ เมือ่ เราน�ำ Pulse มาเรียงต่อกัน อาจจะมีบาง Pulse ที่ ฟั งดูหนักกว่าอันอืน่ ๆ ซึง่ ลักษณะของการวาง Pulse เรียงสลับกันระหว่างตัว ทีห่ นักหรือเบากว่ากันเป็ นกลุม่ จะเรียกว่า Meter หรืออัตราจังหวะนันเอง ่

ท�ำนอง ส่วนประกอบอย่างทีส่ องของเราคือ “ท�ำนอง” ลองคิดถึงเมนูไข่เจียว กับ ผัดไทย ส่วนผสมหลักของไข่เจียวก็คอื ไข่ไก่ ส่วนผัดไทยก็คอื เส้นเล็ก ท�ำนองในดนตรีกท็ ำ� หน้าทีเ่ ป็ นองค์ประกอบชิน้ ใหญ่ภายในบทเพลงเช่นกัน ท�ำนองมีได้หลายแบบ มีเสียงทีส่ งู และเสียงทีต่ ่ำ � เกิดขึน้ จากการร้อง การเปล่ง เสียงหรือมาจากเครือ่ งดนตรี เสียงเหล่านี้ทเ่ี กิดขึน้ เราสามารถน�ำชือ่ มาใช้ใน การเรียกได้ เช่น โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โดยท�ำนองต่างๆนัน้ เกิดจากการน�ำ โน้ตเหล่านี้มาร้อยเรียงกันนันเอง ่ ไม่วา่ จะเรียงขึน้ ไปหรือไล่ลงมา ในบางครัง้ ก็มกี ารสลับที่ กระโดดไปมา ซึง่ ทิศทางเหล่านี้เป็ นส่วนผสมหลักทีช่ ว่ ยสร้าง ลักษณะเฉพาะ และยังสร้างสีสนั ให้กบั บทเพลงมากขึน้

3


เสียงประสาน เสียงประสานเป็ นสิง่ ทีช่ ว่ ยเติมเต็มท�ำนองเพือ่ ให้สมบูรณ์และมีมติ ยิ งิ่ ขึน้ เปรียบเทียบกันกับอาหารทีแ่ สนจะกินง่ายและรวดเร็ว แซนด์วชิ ถ้ามีแค่ ขนมปั งเปล่าเพียงหนึ่งแผ่น หรือว่ามีแค่แฮมเพียงอย่างเดียว เราก็ไม่สามารถ เรียกว่าแซนด์วชิ ได้ แต่ถา้ เราน�ำขนมปั ง แฮม ผัก ซอส ส่วนผสมต่างๆ เหล่า นี้มารวมกันก็จะมีความสมบูรณ์มากขึน้

ลักษณะดนตรี เวลาเรารับประทานอาหารทีม่ รี สชาติแตกต่างกันออกไป แต่ละรสชาติ นัน้ เสริมได้ดว้ ยเครือ่ งปรุงต่างๆ เช่น เค็มด้วยน�้ำปลา เผ็ดด้วยพริกป่ น หวาน ด้วยน�้ำตาล หรือกลิน่ พิเศษจากเครือ่ งเทศหลากหลายชนิด เครือ่ งปรุงเหล่า นี้แหละทีท่ �ำให้อาหารแต่ละจานนัน้ มีรสชาติทแ่ี ตกต่างกันไป เช่นเดียวกับ ดนตรีทม่ี หี ลากรสชาติ หลายลักษณะ บางครัง้ อาจจะดัง บางครัง้ อาจจะเบา บางครัง้ ก็เล่นรุนแรง หนักหน่วง บางครัง้ ก็พลิว้ ไหว อ่อนหวาน ซึง่ โน้ตเหล่า นี้ทม่ี คี วามแตกต่างกัน จะเป็ นตัวช่วยเติมสีสนั เพิม่ รสชาติ เป็ นเครือ่ งปรุงให้ กับดนตรีให้อย่างมากมาย ถ้าพูดกันด้วยภาษาดนตรีแล้ว เสียงทีด่ งั และเสียงทีเ่ บามีชอ่ื เรียกโดย รวมว่า dynamics และค�ำว่า articulations ทีจ่ ะบอกถึงส�ำเนียงในการเล่นทีม่ ี ความสัน้ ยาว หนักแน่นหรือพลิว้ ไหวแตกต่างกันออกไป การทีเ่ ราจะน�ำส่วน ผสม dynamic หรือ articulation มาเลือกใช้นนั ้ ทัง้ คูล่ ว้ นแล้วแต่ให้ผลลัพธ์ท่ี แตกต่างกัน หากเราต้องการเพลงส�ำหรับปาร์ตน้ี ้�ำชายามบ่าย อาจจะเลือกใช้ dynamic ทีเ่ บา กับ articulation ทีส่ นั ้ ๆ น่ารักๆ หรือว่าเพลงส�ำหรับการเปิ ด ตัวสุดอลังการ เราอาจจะเลือกใช้ dynamic ทีด่ งั และ articulation ทีช่ ดั เจน หนักแน่น 4


สีสันของเสียง ความหลากหลายทีล่ งตัวของเครือ่ งต่างชนิดในเมนูแหนมเนือง เช่น หมูยา่ ง น�้ำจิม้ พริก กระเทียม แป้ งเปาะเปี๊ ยะ ขนมจีน กล้วยน�้ำว้าดิบ และอีก หลากหลายตามแต่ละพืน้ ทีน่ ยิ มรับประทาน เราสามารถเลือกหยิบเครือ่ งแต่ละ อย่างมาใส่รวมกันในหนึ่งค�ำได้ และเครือ่ งเหล่านี้กเ็ ปรียบกันได้กบั Timbre หรือ สีสนั ของเสียงในดนตรี เครือ่ งดนตรีแต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน ตัง้ แต่วสั ดุ หน้าตา และ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ก็คอื เสียงทีผ่ ลิตออกมาทีม่ ลี กั ษณะเด่นเฉพาะตัว ไม่วา่ จะเป็ น เครือ่ งลมไม้ (Woodwinds) เครือ่ งเป่ าทองเหลือง (Brass) เครือ่ งสาย (Strings) และเครือ่ งกระทบ (Percussions) ไม่วา่ จะเป็ นการเล่นเดีย่ วก็สามารถแสดงได้ อย่างเฉิดฉาย แต่ความสนุกสนานอยูท่ ก่ี ารเลือกน�ำเครือ่ งดนตรีแต่ละชนิดมา ผสมรวมกันจนได้เสียง สีสนั หรือรสชาติทก่ี ลมกล่อมถูกใจผูร้ บั ประทาน

พืน้ ผิว ส่วนผสมอย่างถัดมานันก็ ่ คอื “Texture” หรือพืน้ ผิวดนตรี เมือ่ ปรุง อาหารสักจาน ส่วนผสมต่างๆถูกชังตวง ่ วัดปริมาณ และเรียงล�ำดับการผสม กัน ขัน้ ตอนเหล่านี้จะถูกจดบันทึกเก็บไว้เป็ นสูตร ซึง่ มีความคล้ายคลึงกันกับ “Score” (สกอร์ - โน้ตรวม) ของดนตรี เครือ่ งดนตรีบางอย่างถูกบรรเลงก่อน บางครัง้ อาจมาเดีย่ วๆ หรืออาจจะมาด้วยกันเป็ นกลุ่ม บางทีกเ็ ล่นสลับกัน ไปมา ถ้าเราน�ำเครือ่ งดนตรี น�ำท�ำนองทัง้ หลายมาวางเรียงกันลงมาเรือ่ ยๆ หน้าตาทีจ่ ะพอสามารถเทียบเคียงได้ คงจะคล้ายกับขนมชัน้ มีการสลับเรียง สีกนั ไปเรือ่ ยๆ มีหลายๆชัน้ บางคนอาจจะกัดพร้อมกันทัง้ ชิน้ บางคนอาจจะ ดึงแต่ละชัน้ มาชิม

5


ในช่วงแรกของดนตรีตะวันตก ดนตรีเริม่ จากการขับร้องโดยมาจาก เพลงสวดทางศาสนา ซึง่ มีหนึ่งแนวเสียง เราเรียกดนตรีทม่ี แี นวท�ำนองเดียว แบบนี้วา่ “Monophony” ซึง่ ค�ำว่า mono แปลว่า 1 ถ้าหากอธิบายอย่างง่าย แต่ละพืน้ ผิวก็เป็ นเหมือนแต่ละชัน้ (Layer) “Polyphony” คือดนตรีทม่ี ตี งั ้ แต่สองท�ำนองขึน้ ไปทีด่ ำ� เนินอยูใ่ นเวลาเดียวกัน “Homophony” คือดนตรีทม่ี ที ำ� นองหลักท�ำนองเดียว และมีเสียงสนับสนุ น ท�ำนองหลักเข้ามา เช่น คอร์ด และ “Heterophony” คือดนตรีหลายท�ำนอง ซึง่ ยึดท�ำนองหลักเดียวกัน และมีการตกแต่งท�ำนองเพิม่ เติมจากท�ำนองหลัก

6


โครงสร้าง ส่วนประกอบสุดท้ายส�ำหรับเมนูดนตรีนนก็ ั ่ คอื “Form” หรือโครงสร้าง ของบทเพลง ส่วนผสมดนตรีกอ่ นหน้านี้ทไ่ี ด้กล่าวมานัน้ ได้แก่ จังหวะ ท�ำนอง เสียงประสาน ลักษณะดนตรี สีสนั ของเสียง และพืน้ ผิว ล้วนเป็ นสิง่ ส�ำคัญอย่าง ยิง่ แต่สำ� หรับ Form นัน้ เป็ นเหมือนการเรียงล�ำดับจานอาหาร เริม่ ด้วยเมนู เรียกน�้ำย่อย อาหารจานหลัก และจบด้วยของหวาน ถ้ายกตัวอย่างเป็ นขัน้ ตอนการท�ำอาหารก็เริม่ จาก จุดเตาแก๊ส ใส่น้�ำมันลงไปในกระทะ รอให้รอ้ น ตอกไข่แล้วตีให้เข้ากันแล้วจึงน�ำไปทอด เป็ นต้น ในดนตรีท่ที ุกคนได้ฟังต่างล้วนแล้วแต่มโี ครงสร้างด้วยกันทัง้ นัน้ ตัวอย่างจากเพลงป๊ อป ก็มอี นิ โทร ท่อนเวิรส์ ตามด้วยท่อนฮุค บางเพลงอาจ จะมีทอ่ นเชือ่ มต่างๆเสริมมาอีกด้วย ท่อน The Moldau จากเพลงชุด Má vlast (My Homeland) ผลงาน ของนักประพันธ์ชาวเช็ค Bedrich Smetana ในท่อนนี้ผปู้ ระพันธ์บรรยายถึง แม่น้�ำ Vltava หรือในชือ่ ทีท่ กุ คนรูจ้ กั กันว่า Moldau ผูป้ ระพันธ์ได้น�ำสีสนั ของ เครือ่ งดนตรีต่างๆ มาวาดขึน้ เป็ นบทเพลงทีบ่ รรยายแม่น้�ำไว้หลายฉาก - The Source of the Vltava: จุดก�ำเนิดแม่น้�ำ แทนความลืน่ ไหลของสายน�้ำ ด้วยเสียงของฟลุต - ท�ำนอง Vltava ซึ่งท�ำหน้าทีเ่ ป็ นหลักของเพลง เป็ นตัวแทนของแม่น้� ำ Moldau ทีก่ ำ� ลังก่อตัวขึน้ ระหว่างทางการไหลของแม่น้�ำ สองฝั ง่ ข้างทางก็ม ี เหตุการณ์ต่างๆเกิดขึน้ - ท�ำนอง Hunt in the Woods: การล่าสัตว์ในป่ า ใช้เสียงเครือ่ ลมทองเหลือง เสียงแตรในการล่าสัตว์ ^

7


- ท�ำนอง Country Wedding: จังหวะเพลงเต้นร�ำทีส่ ดใส ครึกครืน้ ในงาน แต่งงาน - ท�ำนอง Moonlight…Dance of the Nymphs: การเต้นร�ำของเหล่านางไม้ ในยามค�่ำคืน - ท�ำนอง St John’s Rapids: ตัวแทนของปลายทางแม่น้�ำ St John’s Rapids ทีเ่ ชีย่ วกราด - ท�ำนอง The Broad Flow of the Vltava: ฉากจบสุดอลังการ ยิง่ ใหญ่ของ แม่น้�ำ Vltava นี้

8


อลงกรณ์ เหล่าสายเชือ้ Alongkorn Laosaichuea อลงกรณ์เริม่ เล่น Trumpet เมือ่ อายุ 10 ขวบ กับอาจารย์วรี ะศักดิ ์ประเสริฐ และ อาจารย์สมปอง สาระ ต่อมาได้สอบผ่านการคัดเลือกมาศึกษาที่ วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในระดับชัน้ Pre-College (มัธยมศึกษาตอนปลาย) และได้ศกึ ษา ต่อในระดับปริญาตรีและปริญญาโทในแขนง Music Performance ภายใต้การดูแลของ อาจารย์สมภพ พึง่ ปรีดา และ Assist.Prof.Dr. Joseph Bowman ในขณะเดียวกันได้ศกึ ษา Trumpet Jazz เพิม่ เติมกับ Dr. James Sherry และ Dr. David Hart ในปี 2005 เขาได้ ผ่านกานคัดเลือกเข้ารอบสุดท้าย ในการแข่งขัน ITG Youth Competition 2005 และได้ รับรางวัล ITG Young Artist Award ใน ปี เดียวกันอีกด้วย และได้ผา่ นคัดเลือกเป็ นดนตรี ประจ�ำวง Thailand Philharmonic Orchestra (TPO) ในต�ำแหน่ง 2nd Trumpet ทีไ่ ด้ ท�ำการแสดงภายในประเทศ และต่างประเทศ นอกจากนี้ยงั ได้รบั เชิญไปแสดง ณ กรุง โตเกียว ประเทศญีป่ ่ นุ ในงาน Asia Orchestra Week ปั จจุบนั อลงกรณ์ประจ�ำต�ำแหน่ง อาจารย์สอนทรัมเปท ประจ�ำภาควิชาเครือ่ งลมทองเหลืองและเครือ่ งกระทบที่ วิทยาลัย ดุรยิ างคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล อลงกรณ์ได้รว่ มแสดงในงาน International Trumpet Guild 2007 ที่ Boston, Massachusetts ประเทศสหรัฐอเมริกา และ International Trumpet Guild 2013 ที่ Grand Rapids, Michigan ประเทศสหรัฐอเมริกา อลงกรณ์ได้รบั รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 2 ในการแข่งขันรายการ The 11th Osaka International Music Competition 2010 กับวง MU-TE Trumpet Ensemble ได้รบั รางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1 ในการ แข่งขัน The 13th Osaka International Music Competition 2012 กับวง iBrass เขา เป็ นนัก Trumpet ของวง TPO Brass Quintet ทีท่ ำ� การแสดงทัง้ ในและ ต่างประเทศ อีก ทัง้ เขายังได้ทำ� การ workshop ทัง้ ในและต่างประเทศเช่นเดียวกัน 9


วิษณ์กมล ชัยวานิชศิริ Viskamol Chaiwanichsiri วิษณ์กมล ชัยวานิชศิร ิ (Viskamol Chaiwanichsiri) เป็ นนักประพันธ์เพลง นัก ดนตรีศกึ ษา และ วาทยากรรุน่ ใหม่ชาวไทย ผูส้ ร้างผลงานการประพันธ์เพลงต่างๆ ไว้ มากมาย เช่น เพลง Voices of the King ส�ำหรับวงดุรยิ างค์ขนาดใหญ่รว่ มกับวงประสาน เสียงกว่า 150 ชีวติ ออกแสดงโดยวง Mahidol Symphonic Band เพือ่ เทิดพระเกียรติใน วโรกาสมหามงคลทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงครองสิรริ าช สมบัติ ครบ 69 ปี และ เพลง Adventure ส�ำหรับศิลปิ นเปอร์คชั ชันชาวไทยอย่ ่ าง เผ่า พันธ์ อ�ำนาจธรรม นอกจากนี้แล้วเพลง Shadow ของวิษณ์กมลได้รบั เลือกให้ไปแสดงใน งาน 2015 World Saxophone Congress ณ เมือง Strausboug ประเทศฝรังเศสโดยวง ่ Salaya Saxophone Ensemble ด้วย ล่าสุดวิษณ์กมลได้รบั รางวัลยุวศิลปิ นรางวัลยอด เยีย่ มในการประกวดประพันธ์เพลง SCG Young Thai Artist Award 2016 ในชือ่ เพลง String Quartet No.0 วิษ ณ์ ก มลส� ำ เร็จ การศึก ษาระดับ ปริญ ญาตรีจ ากวิท ยาลัย ดุ ร ิย างคศิล ป์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยได้รบั การสอนด้านการประพันธ์เพลงจาก Dr. Julia Lake Bozone และ Valeriy Rizayev และ ได้รบั การสอนด้านการอ�ำนวยเพลงจากอาจารย์ ภมร พรรณ โกมลภมร ด้วยความมุง่ มันในการตอบแทนสั ่ งคมด้วยความรูท้ างด้านดนตรี วิษณ์กมลเป็ น ผูก้ ่อตัง้ โครงการ Musica per Tutti (Music for Everyone) ซึง่ เป็ นโครงการด้านดนตรี ศึกษาโดยมีจดุ มุง่ หมายในการจัดท�ำกิจกรรมดนตรีทกุ รูปแบบส�ำหรับคนทุกคนไม่วา่ จะ เป็ นใครก็ตาม เขาและทีม Musica per Tutti ได้ดำ� เนินการจัดการบรรยายดนตรีในหัวข้อ เช่น Musical Elements, Music History และ Music Creativity ส�ำหรับวงดนตรี และ สถาบันดนตรีต่างๆ มาตลอดปี ทผ่ี า่ นมา เช่น คอนเสิรต์ วงออร์เคสตราเยาวชนเทศบาล นครยะลา MCGP Youth Wind Ensemble โรงเรียนมารียว์ ทิ ยา โรงเรียนสุรนารีวทิ ยา โรงเรียนอนุบาลหลานย่าโม โรงเรียนศึกษานารีวทิ ยา เป็ นต้น

10


Musica per Tutti Musica per Tutti เป็ นกลุม่ การด�ำเนินการจัดกิจกรรมด้านดนตรีจดั ตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ชือ่ กลุม่ “Musica per Tutti” หรือ “Music for Everyone” นัน้ ถูกตัง้ ตามความเชือ่ และเป้ าหมายหลักทีว่ า่ “การรับฟั งและเข้าใจในดนตรีไม่ควรทีจ่ ะ ถูกจ�ำกัดเพียงแค่ในสถานศึกษาหรือกลุ่มคนฟั งทีร่ ดู้ นตรีเท่านัน้ แต่ดนตรีควรทีจ่ ะอยู่ ในทุกบริบทของทุกคนในสังคม” ดังนัน้ กิจกรรมทีผ่ า่ นมาของกลุม่ จึงเป็ นลักษณะการ ด�ำเนินกิจกรรมดนตรีในหลากหลายรูปแบบส�ำหรับกลุม่ ผูเ้ ข้าร่วมทีแ่ ตกต่างกันออกไป สืบเนื่องมาจากผูท้ เ่ี ข้าร่วมกิจกรรมด้านดนตรีสว่ นใหญ่ในประเทศไทย เช่น วง โยธวาทิต การศึกษาดนตรีเดีย่ ว การบรรยายทางดนตรี หรือ คอนเสิรต์ ดนตรี เมือ่ เข้า ร่วมในกิจกรรมแล้วแต่ยงั ขาดความเข้าใจในองค์ประกอบทางดนตรีดา้ นอื่นๆ กล่าวคือ เมือ่ ผูร้ ว่ มกิจกรรมได้เข้าร่วมกิจกรรม เช่น วงโยธวาทิตบางวงทีม่ งุ่ หวังผลเพียงรางวัล ชนะเลิศเท่านัน้ จะส่งผลให้นกั ดนตรีสามารถเล่นดนตรีออกมาได้แต่อาจยังขาดความ เข้าใจถึงองค์ประกอบทางดนตรีทเ่ี กิดขึน้ ไม่มคี วามรูด้ า้ นประวัตศิ าสตร์ดนตรีทเ่ี กีย่ วข้อง กับเครือ่ งทีต่ นเองเล่น หรือทีอ่ นั ตรายทีส่ ดุ คือไม่สามารถแม้แต่จะอ่านโน้ตได้ ในบางครัง้ เมือ่ กลุม่ ผูฟ้ ั งดนตรีหน้าใหม่เข้าชมคอนเสิรต์ ดนตรี หากกลุม่ ผูฟ้ ั งนี้มคี วามรู้ ความเข้าใจ เรือ่ งดนตรีมากขึน้ แล้วนัน้ พวกเขาจะยิง่ ซาบซึง้ กับดนตรีได้มากขึน้ Musica per Tutti จึงมีความมุง่ หวังในการท�ำกิจกรรมดนตรีเพือ่ แก้ปัญหาใน ส่วนนี้ เพือ่ สร้างความเข้าใจ และ มอบประสบการณ์ดา้ นดนตรีไม่เพียงแค่กบั กลุม่ ผูเ้ รียน อย่างในระดับชัน้ ประถมศึกษา หรือ มัธยมศึกษาเท่านัน้ แต่สำ� หรับทุกคน ไม่วา่ จะเป็ นก ลุม่ ผูท้ ส่ี นใจดนตรี เด็กเล็ก ผูใ้ หญ่ หรือ ครูดนตรี ทีผ่ า่ นมากิจกรรมทีก่ ลุม่ Musica per Tutti ได้ดำ� เนินการจัดกิจกรรมบรรยาย หัวข้อทางดนตรีแบบทีผ่ เู้ รียนรูม้ สี ว่ นร่วม (Participatory Approach) โดยได้น�ำกิจกรรม การเคลือ่ นไหวประกอบดนตรีมาประยุกต์ประกอบกับการบรรยาย หัวข้อทีไ่ ด้บรรยายที่ ผ่านมาได้แก่ องค์ประกอบทางดนตรี (Elements of Music), ประวัตศิ าสตร์ดนตรี (Music History) และ ความคิดสร้างสรรค์ทางดนตรี (Music Creativity) ตัวอย่างกลุม่ ผูเ้ ข้าร่วม 11


ท�ำกิจกรรมของ Musica per Tutti ได้แก่ โครงการวงดนตรีออร์เคสตร้า เทศบาลนคร ยะลา, MCGP Youth Wind Ensemble 2016, คณะครูจากกิตติพาการดนตรี, Thailand International Composition Festival, โรงเรียนอนุ บาลหลานย่าโม, โรงเรียนสุรนารี วิทยา และ ได้รบั เชิญให้จดั กิจกรรมในงานท่องโลกดนตรีศกึ ษา โดยสาขาดนตรีศกึ ษา มหาวิทยาลัยมหิดล เป็ นต้น Musica per Tutti ได้แบ่งกิจกรรมในการด�ำเนินงานออกเป็ น 3 กลุ่มดังนี้ กิจกรรมเพือ่ นักเรียน กิจกรรมเพือ่ ครู และ กิจกรรมเพือ่ บุคคลทัวไป ่ ทัง้ นี้กเ็ พือ่ ให้ตอบ สนองต่อกลุม่ เป้ าหมายทีต่ า่ งกันออกไป และ เพือ่ เป็ นการพัฒนาวงการดนตรี ขยายกลุม่ ผูเ้ สพ ผูฟ้ ั ง และ ผูส้ นใจดนตรีในประเทศไทยต่อไป

12


Musica per Tutti Symphony Orchestra ในอดีตทีผ่ า่ นมาการด�ำเนินจัดกิจกรรมด้านดนตรี อย่างดนตรีคลาสสิกได้มกี าร จัดขึน้ ในหลายรูปแบบ ทัง้ คอนเสิรต์ แบบปกติ การแสดงดนตรีในชุมชน และ เป็ นส่วน หนึ่งของหลักสูตรการเรียนการสอนในโรงเรียนทัวไป ่ โดยอาจอยูใ่ นรูปแบบของวงโยธ วาทิต หรือ วงออร์เคสตราของโรงเรียน ดนตรีคลาสสิกเริม่ มีบทบาทในสังคมไทยมาก ขึน้ ในช่วง 10 ปี ทผ่ี า่ นมา สังเกตได้จากการจัดคอนเสิรต์ ดนตรีคลาสสิกทีม่ เี พิม่ ขึน้ หลาย เท่าตัว และ การก�ำเนิดวงออร์เคสตราเยาวชนเพิม่ ขึน้ ขึน้ แต่ถงึ อย่างไรก็ตามการรับฟั ง ดนตรีคลาสสิกจากกลุ่มผูฟ้ ั งหน้าใหม่สว่ นใหญ่เป็ นการรับฟั งดนตรีแบบผิวเผินเท่านัน้ กล่าวคือ เป็ นการรับฟั งเพียงแค่ความไพเราะ และ บางกลุม่ กลับจัดให้ดนตรีคลาสสิก เป็ นดนตรีชนั ้ สูงทีต่ อ้ งปี นกระไดฟั งเลยทีเดียว ไม่เพียงแต่ดนตรีคลาสสิกเท่านัน้ แต่ ดนตรีพน้ื เมืองอย่างดนตรีไทย หรือ ดนตรีตะวันออก มีเพียงส่วนน้อยทีส่ ามารถรับฟั ง ดนตรีได้โดยเข้าใจอย่างลึกซึง้ ซึง่ การฟั งแบบนี้ตอ้ งอาศัยความรูใ้ นเรือ่ งดนตรีประกอบ ด้วย ส่งผลให้การฟั งอย่างซาบซึง่ อาจถูกจ�ำกัดอยูเ่ พียงกลุม่ นักเรียนดนตรี ผูท้ ม่ี คี วามรู้ ในดนตรี และ ผูท้ ส่ี นใจในดนตรีชนิดนัน้ เท่านัน้ จากสถานการณ์ดงั กล่าว ได้มหี ลายกลุม่ ทีพ่ ยายามน�ำเสนอดนตรีให้แก่บุคคล ทัวไปในมุ ่ มมองทีส่ ามารถเข้าถึงง่ายมากขึน้ เช่น การจัด Pre-concert Talk ก่อนการ แสดง การเขียนหนังสืออธิบายเกีย่ วกับดนตรี หรือ การท�ำรายการโทรทัศน์ เป็ นต้น กลุม่ Musica per Tutti ประกอบไปด้วยทัง้ นักดนตรี นักวิชาการดนตรี และ นักการศึกษา ดนตรี ซึง่ ทุกคนล้วนอยากร่วมเป็ นส่วนหนึ่งของการพัฒนาวงการดนตรีในประเทศไทย เป้ าหมายหลักของกลุม่ Musica per Tutti คือ “ดนตรีสำ� หรับทุกคน (Music for Everyone)” ซึง่ หนึ่งในกลุม่ การด�ำเนินงานคือ การจัดกิจกรรมเพือ่ บุคคลทัวไป ่ ด้วยเหตุ นี้ทางกลุม่ จึงอยากเป็ นส่วนหนึ่งในการช่วยน�ำเสนอดนตรีในมุมมองใหม่ๆ และ อยากให้ ดนตรีเข้ามาเป็ นส่วนหนึ่งในชีวติ ประจ�ำวันของคนทัวไป ่ โดยไม่ใช่เป็ นแค่เพียงการรับฟั ง ดนตรีเท่านัน้ แต่เป็ นการเข้าใจเพือ่ ทีจ่ ะได้มคี วามซาบซึง้ ในดนตรีมากขึน้ 13


นี่จงึ เป็ นทีม่ าของการด�ำเนิน “Musica per Tutti Symphony Orchestra” ขึน้ เพื่อจัดกิจกรรมให้บุคคลทัวไปสามารถเข้ ่ าถึงดนตรีหลากหลายรูปแบบ และ มีความ เข้าใจในดนตรีทด่ี ขี น้ึ โดยเปลีย่ นรูปแบบจากการจัดคอนเสิรต์ นังฟั ่ งปกติเป็ นการจัดท�ำ คอนเสิรต์ ในรูปแบบ “Talk and Play” ซึง่ เป็ นคอนเสิรต์ ทีจ่ ะน�ำหัวข้อทางด้านดนตรีมา พูดถึง และ อธิบายประกอบการแสดงดนตรีสด เพือ่ ให้มอบประสบการณ์ฟังดนตรีแบบ ใหม่ให้แก่ผชู้ มและเพื่อเป็ นการเชื่อมโยงกลุ่มนักดนตรี และ กลุ่มผูช้ มเข้าด้วยกันนัน้ สมาชิกของกลุม่ Musica per Tutti Symphony Orchestra ยังสามารถเข้าร่วมกิจกรรม อืน่ ๆ ของ Musica per Tutti ทัง้ ในโครงการกิจกรรมเพือ่ นักเรียน กิจกรรมเพือ่ ครู และ กิจกรรมเพือ่ บุคคลทัวไปต่ ่ อไปในอนาคต เช่น โครงการจัดการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร (workshop) หรือ การท�ำคอนเสิรต์ ขนาดเล็กตามโรงเรียนต่างๆ

14


Musica per Tutti Symphony Orchestra ผูค้ วบคุมวง: วิษณ์กมล ชัยวานิชศิร ิ ไวโอลิ น

ดับเบิลเบส

ฮอร์น

กมล บูรณกุล (หัวหน้านักดนตรี)

พศิน แต้สวุ รรณ

ธนกฤต ลิมรัตนสราญ

กิตติพชิ ญ์ กัยวิกยั

เอกรินทร์ จิรธนาธร

ทนุพณ ชมสมุทร

บุณณ โลหิตนาวี

ฟลู้ต

ยุทธพล กังวานสุรไกร

อันดา ภูมณ ิ รงค์ วริศรา ธนาคม เพลงพร ฐานวณิชสิร ญาณิศา วิรยิ ะชัย กรกฎ ยกเจริญ วรุบล จงตรอง ทัศนัย ปุ่นประเสริฐ พงศกร มณีรสั ยากร ธนากร แก้วใส

ณพชนก เลิศวลีรตั น์

แพรวา ชุมศิลป์ ศิร ิ

ทรัมเป็ ต

นรนรรฆ์ นฤปกรณ์

สุชล นินทวงค์

คลาริ เน็ต

ฐิตนิ นั ท์ มโนนที

ชัยภัทร ไตรพิพธิ สิรวิ ฒ ั น์

เติมพงศ์ ใจเอีย่ ม

วสุ อมรถนอมโชค

ทรอมโบน

จอมภพ สุรพัฒน์

ทรงกลด นันทเกษม

โอโบ

ณธีพฒ ั น์ มานุช

โยชิโอะ คุณวัฒนภักดี

ปิ ยวัฒน์ วรรณสุข

เจษฎ์บดินทร์ วินิจสิทธิ ์

ทูบา

ศิรดา ศรีสวรรค์

บาสซูน

กฤษฏิษพงษ์ ภิรมย์ ์

กฤตบุญ ดอกเตย

ธามณ์ พจนากนกกุล

เครื่องกระทบ

ฐปนัท เกียรติไพบูลย์กจิ

จิรายุ ศรีเมือง

คุณนิธิ โบจรัส

วิ โอลา ธีศลิ ป์ ภูรวิ ฒ ั นพงศ์

เชลโล นันทน์ณฏั ฐ์ ศุภวิบลู ย์ ชยุต กัยวิกยั

15

อารียา นาคะรัต

จิรชั ฌา อริยะวัตรกุล นิธศิ รุจขิ จรเดช วรวิทย์ เสวีวลั ลภ

นภพัชร หอรุง่ เรือง

คียบ์ อร์ด

วรพนธ์ ธัญนึกมีสนิ กุล

ณัชลิน ตังควัฒนา


คณะท�ำงาน Musica per Tutti

Symphony Orchestra ผูอ้ ำ� นวยการดนตรี

เจ้าหน้ าที่ฝ่ายครีเอทีฟ

วิษณ์กมล ชัยวานิชศิร ิ

พรนภา แตงแก้ว

ผูจ้ ดั การวงออร์เคสตรา

บรรณารักษ์

ชวิน เต็มสิทธิโชค

ยุทธพล กังวานสุรไกร

เจ้าหน้ าที่ฝ่ายการตลาด

เจ้าหน้ าฝ่ ายเรียบเรียงโน้ ตดนตรี

ภาคภูม ิ คูพมิ าย

พีระวิทย์ ศรีอนุวตั พิ งศ์

เจ้าหน้ าที่ฝ่ายการเงิ น

เจ้าหน้ าที่ฝ่ายอาคารและสถานที่

ศุภสิ รา แสงเจริญ

ธนกฤต ลิมรัตนสราญ

เจ้าหน้ าที่จำ� หน่ ายบัตร

เจ้าหน้ าที่ฝ่ายการศึกษา

พิมพ์ญานันท์ ขันตยาภรณ์

ประภัสสร พวงส�ำลี

เจ้าหน้ าที่ฝ่ายการประชาสัมพันธ์

ณัฐธีรยา วิบลู ย์อุทยั

จิรธั นา ศิรประภาธรรม ผูป้ ระสานงานนักดนตรี โยชิโอะ คุณวัฒนภักดี (เครือ่ งลมและเครือ่ งกระทบ) กิตติพชิ ญ์ กัยวิกยั (เครือ่ งสาย)

16


ขอขอบคุณ



ขอขอบคุณ อาจารย์ กิตติมา โมลีย์ ดร.ธนพล เศตะพราหมณ์ อาจารย์ Stefanie Waegner อาจารย์ อลงกรณ์ เหล่าสายเชือ้ มหาวิทยาลัยมหิดล จุ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนอุ ดมศึ กษา

ติดต่อ Musica per Tutti: Website: MusicaPerTutti.org Facebook: MusicaPerTutti.MusicEdu Twitter: MusicaPerTutti_ Instagram: MusicaPerTutti_ Line: @MusicaPerTutti

โรงเรียนหอวัง โรงเรียนกรุ งเทพคริสเตียน บริษัท เอ็มบีเค จ�ำกัด (มหาชน) ช่ างชุ่ ย โรงพิมพ์ ปิ ยะศิลป์ มาสเตอร์พริน้ ท์ ศาลายา

ติดตามข่าวสาร Musica per Tutti Symphony Orchestra: Website: MusicaPerTutti.org/MPTSO Facebook.com/MPTSO




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.