แบบเรียนวิชา LTCME
ทฤษฎีดนตรี เล่ม 1
ห น้า | 0
ห น้า | 2
สารบัญ บทที่ 1 ระดับเสียง ............................................................................... 1 ่ แบบฝึ กหัดเรืองระดั บเสียง ................................................................... 2
บทที่ 2 บันไดเสียง ............................................................................. 3 ่ นไดเสียง ................................................................... 3 แบบฝึ กหัดเรืองบั
บทที่ 3 จังหวะ .....................................................................................7 ่ งหวะ ....................................................................... 10 แบบฝึ กหัดเรืองจั
บทที่ 4 อัตราจังหวะ.......................................................................... 13 ่ ตราจังหวะ ............................................................... 14 แบบฝึ กหัดเรืองอั
้ ่ ..................................................................................... 16 บทที่ 5 ขันคู ่ นคู ้ ่.......................................................................... 17 แบบฝึ กหัดเรืองขั
บทที่ 6 ศัพท ์สังคีต ........................................................................... 18 ่ พท ์สังคีต ................................................................. 21 แบบฝึ กหัดเรืองศั
ห น ้ า | 21
ระดับเสียง
ร
่ ชอเรี ะดับเสียง หมายถึง ความสูง – ต่าของเสียงดนตรี ซึงมี ื่ ยกเรียง ตามลาดับจากเสียงต่าไปหาเสียงสูง ดังนี ้
โด C
เร D
มี E
ฟา F
ซอล G
ลา A
ที B
โด C
กุญแจซอล (G clef หรือ Treble clef) กุญแจซอล กาหนดใหเ้ สน้ ที่ 2 ของบรรทัดหา้ ่ นทึกอยูบ เส ้นมีชอเป็ ื่ น G ดังนั้นโน้ตทุกตัวทีบั ่ นเส ้นที่ 2 มีชอว่ ื่ า โน้ต G กุญแจฟา (F clef หรือ Bass clef) กุญแจฟา กาหนดให ้เส ้นที่ 4 ของบรรทัดห ้าเส ้นมีชอื่ ่ นทึกอยูบ เป็ น F ดังนั้นโน้ตทุกตัวทีบั ่ นเส ้นที่ 4 มีชอว่ ื่ า โน้ต F ่ ้สาหรบั บันทึกโน้ตในระดับเสียงกลางทีอยู ่ ่ กุญแจโด (C clef) กุญแจโด เป็ นกุญแจทีใช ่ น้ ใดก็ได ้ในบรรทัด ระหว่างกุญแจซอล กับ กุญแจฟา โดยกาหนดโน้ต C – กลาง ไว ้ทีเส ห ้าเส ้น ่ ้นที่ 3 ของบรรทัดห ้าเส ้น เรียกว่า กุญแจอัลโต (Alto ถ ้ากาหนด C – กลาง ไว ้ทีเส clef) หรือ กัญแจโดอัลโต ถา้ กาหนด C –
กลางไวท้ เส ี่ น้ ที่ 4 ของบรรทัดหา้ เสน ้ เรียกว่า กุญแจเทเนอร ์
(Tenor clef) หรือ กุญแจโดเทเนอร ์
ห น ้ า | 22
แบบฝึ กหัดเรื่องระดับเสียง ่ ตจากโจทย ์ทีก ่ าหนดให ้ 1. จงบอกชือโน้
1. ……………
2. ……………
3. ……………
4. ……………
5. ……………
6. ……………
7. ……………
8. ……………
9. ……………
10. ……………
11. ……………
12. ……………
13. ……………
14. ……………
15. ……………
16. ……………
17. ……………
18. ……………
19. ……………
21. ……………
22. …………… 23. ……………
24. ……………
26. ……………
27. ……………
28. ……………
20. ……………
25. ……………
29. …………… 30. …………
ห น ้ า | 03
บันไดเสียง
บั
นไดเสีย ง Pentatonic บันไดเสี ย งเพนตาโทนิ ก เป็ นบันไดเสี ย งที่
ประกอบดว้ ยโน้ต
5
ตัว ไดแ้ ก่ C(ด) D(เร) E(มี) G(ซอล) A(ลา) ของ
บันไดเสียงเมเจอร ์ โดยตัดโน้ตตัว F(ฟา) และตัว B(ที) ออก
แบบฝึ กหัดเรื่องบันไดเสียง ้ ่ าหนดให ้ต่อไปนี ้ 1. จงสร ้างบันไดเสียง (ทังขาขึ น้ และขาลง) ทีก 1.1 บันไดเสียง Mi Pentatonic
1.2 บันไดเสียง Do Pentatonic
1.3 บันไดเสียง La Pentatonic
ห น ้ า | 24 5
1.4 บันไดเสียง So Pentatonic
1.5 บันไดเสียง Re Pentatonic
่ าหนด ให ้ระบุวา่ เป็ น Pentatonic อะไร 2. จากโจทย ์ทีก
2.1 ………………………………………………….
2.2 ………………………………………………….
2.3 ………………………………………………….
ห น ้ า | 26
2.4 ………………………………………………….
2.5 ………………………………………………….
ห น ้ า | 07
จั
จังหวะ
่ ่สม่ าเสมอ การกาหนดความสันยาว ้ งหวะ หมายถึง การเคลือนไหวที ่ ส่วนสัมพันธ ์กับระยะเวลาในการร ้องเพลงหรือเล่นดนตรี ของเสียงทีมี จะตอ้ งมีจงั หวะเป็ นเกณฑ ์ นอกจากเกณฑ ์ความเร็วช ้าของจังหวะแลว้ ้ ่ ้ ความสันยาวของจั งหวะก็มส ี ่วนเกียวข อ้ งด ้วย ความสันยาวของจั งหวะ
่ คา่ มากทีสุ ่ ดไปน้อยทีสุ ่ ด ได ้แก่ หรือ ค่าของตัวโน้ตและค่าของตัวหยุดเรียงจากโน้ตทีมี
1. โน้ตตัวกลม (Whole Note) และตัวหยุดตัวกลม (Whole Note rest) มีคา่ ความ ่ ด ยาวมากทีสุ
โน้ตตัวกลมและตัวหยุดตัวกลม
2. โน้ตตัวขาว (Half Note) และตัวหยุดตัวขาว (Half Note rest) มีค่าความยาว ่ ่ งของโน้ตตัวกลม ครึงหนึ
โน้ตตัวขาวและตัวหยุดตัวขาว
ห น ้ า | 28
3. โน้ตตัวดา (Quarter Note) และตัวหยุดตัวดา (Quarter Note rest) มีคา่ ความ ่ ่ งของโน้ตตัวขาว หรือมีความยาว ¼ ของโน้ตตัวกลม ยาวครึงหนึ
โน้ตตัวดาและตัวหยุดตัวดา
4. โน้ตตัวเขบ็ตหนึ่ งชัน้ (Eighth Note) และตัวหยุดเขบ็ตหนึ่ งชัน้ (Eighth Note rest) ่ ่ งของโน้ตตัวดา หรือมีความยาว 1/8 ของโน้ตตัวขาว มีคา่ ความยาวครึงหนึ
โน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชนและตั ั้ วหยุดเขบ็ตหนึ่งชนั้
ห น ้ า | 29
หรือสามารถอธิบายค่าของแต่ละตัวโน้ตเป็ นแผนผังได ้ดังนี ้
เกร็ดความรู้: ่ ชือภาษาอั งกฤษค่าของตัวโน้ตนั้น สามารถเรียกได ้ 2 แบบ ในแบบ American English และแบบ British English American English Whole Note Half Note Quarter Note Eighth Note
British English Semibreve Minim Crotchet Quaver
ห น ้ า | 210
แบบฝึ กหัดเรื่องจังหวะ ่ ้ 1. ระบุชอค่ ื่ าของตัวโน้ตและตัวหยุด และจานวน จากโจทย ์ทีให
1.1
1.2
1.3
ห น ้ า | 211
1.4
1.5
1.6
1.7
ห น ้ า | 212
1.8
1.9
1.10
ห น ้ า | 213
อัตราจังหวะ
อั
่ ่ ้กาหนดค่า ตราจังหวะ (Time Signature) หมายถึง เครืองหมายที ใช ตัวโน้ต และจานวนจังหวะในแต่ละหอ้ งเพลง เป็ นตัวเลข 2 ตัวซ ้อนกัน เลขตัวบนบ่งบอกถึงจานวนจังหวะใน 1 หอ้ งเพลง และเลขตัวล่างบ่ง
่ ้แทน 1 จังหวะ ตัวอย่างเช่น บอกถึงค่าโน้ตทีใช
ใน 1 ห้องเพลงประกอบด้วย 3 จังหวะ ใช้ แทน 1 จังหวะ
อัตราจังหวะมักถูกเขียนอยู่ทตอนต ี่ ้นของบรรทัดห ้าเส ้น อัตราจังหวะสามารถแบ่ง ออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได ้แก่ อัตราจังหวะแบบธรรมดา (Simple Time) และอัตรา ้ ่ จังหวะแบบผสม (Compound Time) โดยแบบเรียนฉบับนี จะสอนเกี ยวกั บอัตราจังหวะ แบบธรรมดา (Simple Time) ่ อัตราจังหวะแบบธรรมดา (Simple Time) คือ อัตราจังหวะทีเลขตั วบนเป็ นเลข 2 (Duple) เลข 3 (Triple) หรือ เลข 4 (Quadruple) เช่น อัต ราจัง หวะ เรียกว่า Simple Quadruple และ
จะถูกเรียกว่า Simple Duple เป็ นต ้น
จะถู ก
ห น ้ า | 214
แบบฝึ กหัดเรื่องอัตราจังหวะ
่ าหนดใหต้ ่อไปนี ให ้ ้ 1. ใหน้ ักเรียนเติมอัตราจังหวะ (Time Signature) จากจังหวะทีก สมบูรณ์
ห น ้ า | 215
แบบฝึ กหัดเรื่องอัตราจังหวะ (ต่อ) 2. ให ้นักเรียนเติมตัวหยุด (Rest) จานวน 1 ตัวใน 1 ห ้องเพลง ตามอัตราจังหวะ (Time ่ าหนดให ้ต่อไปนี ้ Signature) ทีก
ห น ้ า | 216
ขั้นคู่
้ ขั
่ ่ นคู่ หมายถึง ระยะห่างของเสียง 2 เสียง โดยนั บเรียงจากตัวทีอยู ้ ้ ้ ขา้ งล่างขึนไปเป็ นลาดับขันในแนวตั ง้ โดยแบบเรียนฉบับนี จะสอน ้ ท ้ั ขันคู ่ งหมด 5 ชนิ ด ได ้แก่ M2 M3 P5 M6 และ P8
ตัวอย่าง
M2 (C-D)
M3 (C-E)
P5 (C-G)
M6 (C-A)
P8 (C-C’)
ห น ้ า | 217
แบบฝึ กหัดเรื่องขั้นคู่ ่ นคู ้ ่ จากโน้ตขันคู ้ ท 1. ให ้นักเรียนเติมชือขั ่ ก ี่ าหนดให ้ต่อไปนี ้
1...............
2...............
3.............
4..............
5...............
...
่ นคู ้ ท 2. ให ้นักเรียนเติมโน้ตตัวบน จากชือขั ่ ก ี่ าหนดให ้ต่อไปนี ้
P8
M3
P5
M2
M6
้ ่ จากชือขั ่ นคู ้ ท 3. ให ้นักเรียนเติมโน้ตขันคู ่ ก ี่ าหนดให ้ต่อไปนี ้ โดยโน้ตตัวล่างเป็ นตัว middle C
P5
M2
P8
M6
M3
ห น ้ า | 218
ศัพท์สังคีต
ศั
่ ญญัตข พท ์สังคีต คือคาศัพท ์ทีบั ิ นไว ึ ้ ส้ าหรบั บรรยายลักษณะของดนตรี ้ และเพื่อบอกความหมายใหผ ้ ู บ้ รรเลงปฏิบต ั ต ิ าม ในเล่มนี จะพู ดถึงศัพท ์
้ น ้ั พ ท ภ ง่ า ยๆขันต ้ มีท งศั ์ าษาอัง กฤษ ภาษาอิต าลี จะแบ่ ง ค าศัพ ท เ์ ป็ น ่ หมวดหมู่ตามหน้าทีและการใช ้งาน เป็ นต ้น
่ ้นจากจังหวะช ้าไปเร็ว ศัพท ์สังคีตอธิบายจังหวะ เรียงเริมต ศัพท ์สังคีต Lento Largo Larghetto Adagio Andante Andantino Moderato Allegretto Allegro Vivace Presto Prestissimo
คาแปล ช ้ามาก (40–60 bpm) ช ้ามากแต่ไม่เท่า Lento (40–60 bpm) ช ้ารองลงมาจาก Largo (60–66 bpm) ช ้ามาก (66–76 bpm) ช ้าพอประมาณ (76–108 bpm) ช ้าพอประมาณ แต่เร็วกว่า Andante ปานกลางธรรมดา (108–120 bpm) เร็วพอสมควร เร็ว (120–168 bpm) เร็วอย่างร่าเริง เร็วมาก (168–200 bpm) เร็วจี๋ (มากกว่า 200bpm)
ห น ้ า | 219
่ ศัพท ์สังคีตอธิบายการเปลียนแปลงอั ตราความเร็วช ้าของจังหวะ ศัพท ์สังคีต Accelerado (accel.) Ritardando (ritard.) Rallentando (rall.) Ritenuto (rit.) Ad libitum (ad lib.) A tempo, Tempo Stringendo Tempo rubato Tempo primo
คาแปล ให ้ค่อยๆ เร่งจังหวะ บอกให ้ค่อยๆ ผ่อนจังหวะ บอกให ้ค่อยๆ ผ่อนจังหวะ บอกให ้ค่อยๆ ผ่อนจังหวะ ให ้เล่นได ้ตามความพอใจ (อยูใ่ น key นั้นๆ ตามกาหนดห ้อง) ให ้กลับไปใช ้ความเร็วจังหวะอัตราเดิม ่ ให ้เพิมความเร็ ว อนุ ญาตให ้ผูบ้ รรเลงยืดหดอัตราของตัวโน้ตได ้ ให ้กลับไปใช ้อัตราจังหวะเดิม
ศัพท ์สังคีตอธิบายความเข ้มของเสียง ศัพท ์สังคีต Crescendo (cres.) Decrescendo (decres.) Diminuendo (dim.) Forte (f) Fortissimmo (ff) Mezzo forte (mf) Mezzo piano (mp) Piano (p) Pianissimo (pp)
คาแปล ้ นลาดับ ให ้เร่งเสียงดังขึนเป็ ให ้ผ่อนเสียงเบาลงเป็ นลาดับ ให ้ทาเสียงเบาลงกว่าเดิม ให ้ทาเสียงดัง ให ้ทาเสียงดังมาก ให ้ทาเสียงดังพอปานกลาง ให ้ทาเสียงเบาพอปานกลาง ให ้ทาเสียงเบา ให ้ทาเสียงเบามาก
ห น ้ า | 220
ศัพท ์สังคีตอธิบายลักษณะการบรรเลง ศัพท ์สังคีต Agitato Animato Attacca Brillante Catabile Con brio Con moto Da capo al fine Dal segno (D.$ ) Dolce Dolente Espressivo Furioso Legato Leggiero Maestoso Pesante Scherzando Sostenuto Sotto voce Staccato Tacet Tranquillo
คาแปล ให ้ทาเสียงเร่งเร ้าปั่นป่ วน บอกให ้ทาเสียงอย่างมีชวี ต ิ จิตใจ ให ้ดาเนิ นต่อไปอย่างทันทีทน ั ใด ให ้ทาเสียงกระจ่างแจ่มใส ให ้เปล่งเสียงออกมาอย่างเด่นชดั เหมือนร ้องเพลง ้ ให ้ทาเสียงกระปรีประเปร่ าแข็งขัน ่ ให ้ทาเสียงเคลือนไหว ้ ่ าว่า "fine” ให ้เล่นซาจากต ้นแล ้วจบลงทีค ่ บอกให ้ย ้อนกลับไปบรรเลงมาจากเครืองหมาย บอกให ้ทาเสียงหวาน นุ่ มนวล และแผ่วเบา บอกให ้ทาเสียงเศร ้า แสดงออกอย่างเต็มที่ ให ้บรรเลงอย่างรุนแรง ่ ให ้ทาเสียงเลือนไหลอย่ างต่อเนื่ อง ให ้ทาเสียงเบา ทาเสียงองอาจเกรียงไกร ทาเสียงหนักหน่ วง ่ ทว่ งทีสนุ กสนาน ให ้ทาเสียงทีมี ให ้หน่ วงเสียงไว ้ ให ้ทาเสียงเบา ้ ห ้วนๆ ให ้ทาเสียงดังๆ ให ้ทาเสียงสันๆ บอกให ้เงียบ ให ้ทาเสียงเยือกเย็น
ห น ้ า | 021
แบบฝึ กหัดเรื่องศัพท์สังคีต 1. ให ้นักเรียนอธิบายศัพท ์สังคีตและสัญลักษณ์ทางดนตรีทปรากฏใน ี่ บทเพลง
1.1
ห น ้ า | 222
1.2
ห น ้ า | 223
่ าหนดให ้มาใส่ในบทเพลง เพือท ่ าให ้เกิด 2. เลือกคาศัพท ์จากช่องทีก ความสมบูรณ์มากขึน้
Con brio
Ritenuto
3
1. ……………………………………………………………… 2. ……………………………………………………………… 3. ……………………………………………………………… 4. ………………………………………………………………