Constructivist ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ให้ความสาคัญกับตัว ผู้เรียน หรือ นักเรียนมากกว่า ครู หรือ ผู้สอน ผู้เรียนจะ เป็นผู้ที่มีปฏิสัมพันธ์ (interact) กับ วัตถุ (object) หรือ เหตุการณ์ ด้วยตัวของเขาเอง ซึ่งจะทาให้เกิดความเข้าใจ ในวัตถุ หรือ เหตุการณ์นั้น ซึ่งก็คือ การสร้าง (construct) การทาความเข้าใจ (conceptualization) และ การ แก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตัวของเขาเอง
Constructivist
Jean piaget John Dewey
Lev Vygotsky
Jerome Bruner
คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) เป็นปรัชญาของ การเรียนรู้ที่มีรากฐานมาจากปรัชญาและจิตวิทยา โดยมีแก่นของ ทฤษฎี ก็คือ เน้นการสร้างความรู้ด้วยตนเองและอย่างมี ความหมายจากประสบการณ์ บุคคลสาคัญ ในการพัฒนาทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์
ในมุมของ Constructivist การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง กระบวนการที่ผู้เรียนสร้างความรู้ขึ้นภายในอย่างมี ความหมายโดยการตีความหมาย (interpretation) แตกต่างกัน ตามประสบการณ์ของแต่ละคนมีอยู่ เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้น อย่างต่อเนื่อง โครงสร้างความรู้ (knowledge Structure) ปรับแก้ (modification) ได้ตลอด ความรู้ (knowledge) เกิดได้ จากการแปลความหมายของความเป็นจริงในโลก และเข้าไป representation ภายใน (Bednar,Cunnigham, Dufft,Pertt, 1995)
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory)
เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ ได้มีการเปลี่ยนจากเดิม ที่เน้นการศึกษาปัจจัยภายนอกมาเป็น สิ่งเร้าภายใน ซึ่งได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจ หรือกระบวนการรู้คิด กระบวนการคิด(Cognitive processes) ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัย ภายในมีส่วนช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และความรู้ เดิมมีส่วนเกี่ยวข้องและเสริมสร้างความเข้าใจของผู้เรียน แนวคิดของ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึม (Constructivism) หรือ เรียกชื่อแตกต่างกัน ไป ได้แก่ สร้างสรรค์ความรู้นิยม หรือสรรสร้างความรู้นิยม หรือ การสร้างความรู้ (โครงการพัฒนากระบวนการเรียนรู,้ 2544)
ทฤษฎี
Constructivism
เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้
ที่มี
การเปลี่ยนจากเดิมที่เน้นการศึกษา ปัจจัยภายนอกมาเป็น สิ่งเร้าภายใน
การสร้างความรู้ โดย คานึงถึง กระบวนการคิด ความรู้ ความ เข้าใจของผู้เรียนเป็นหลัก เป็น ทฤษฎีที่มีรากฐานจากทฤษฎีปัญญานิยม หรือพุทธินิยม
ความเชื่อ Constructivism 1.การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่
เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน จาก ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบเห็นกับความรู้ ความเข้าใจเดิมที่มีมาก่อน นาความเข้าใจ เกี่ยวกับเหตุการณ์ และปรากฎการณ์ที่ตนพบ เห็นมาสร้างเป็นโครงสร้างทางปัญญา หรือ โครงสร้างของความรู้ในสมอง
ความเชื่อ Constructivism 2. การเรียนรู้เป็นกระบวนการ สร้างมากกว่าการรับความรู้ การสอนจึงเป็นการสนับสนุน การสร้าง มากกว่า การถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้เรียน มุ่งเน้นให้ผู้เรียน สร้างความรู้ใหม่อย่าง เหมาะสมกับแต่ละคน
ความเชื่อ Constructivism นอกจากนี้ยังเชื่อว่าสังคม วัฒนธรรม
และสิ่งแวดล้อม มี ความสาคัญ ในการสร้างความรู้ที่มีความหมาย ตามความ เป็นจริง ด้วยเหตุนี้จึงทาให้คอนสตรัคติวิสต์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่ 1. Cognitive Constructivism
2. Social Constructivism
Piaget เพียเจต์
Vygotsky วีก็อทสกี้
เพียเจต์และวีก็อทสกี้ เป็นนักทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพุทธินิยม (COGNITIVISM) ซึ่งเป็นกลุ่มที่ให้ความสนใจศึกษาเกี่ยวกับ “COGNITION” หรือกระบวนการรู้คิด หรือกระบวบนการทางปัญญา
Piajet
เน้นการเรียนรู้เกิดจากปฏิสัมพันธ์ กับ
สิ่งแวดล้อมและให้ความสาคัญกับความรู้เดิม ในขณะที่ แนวคิดของ
Vygotsky เน้นการ
เรี ยนรู้วา่ เกิดจากปฏิสมั พันธ์ทางสังคม
Constructivism Cognitive Constructivism
Social Constructivism
Piaget
Vygotsky
Cognitive
Constructivism
กลุ่มแนวคิด
การสร้างความรู้เชิงปัญญา
เป็นผู้สร้างความรู้ โดยการลงมือ
แนวคิด Piaget เพียเจต์
ทฤษฎี
Cognitive Constructivism
มีพื้นฐานมาจากแนวคิดของ Piaget พีอาเจต์ เชื่อว่า คนเราเกิดมามีความพร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและ มีแนวโน้มพื้นฐานที่ติดตัวมาแต่กาเนิด 2 ชนิด คือ Organization หมายถึง กระบวนการจัดและรวบรวมกระบวนการ ต่าง ๆ ภายใน เข้าเป็นระบบ อย่างต่อเนื่อง เป็นระเบียบ และมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ตราบที่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม Adaptation หมายถึงการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรืออยู่ในภาวะ สมดุล
PIAGET'S STAGES OF INTELLECTUAL DEVELOPMENT
ขั้นตอน การพัฒนาทางปัญญาของ พีอาเจต์ 1. SENSORIMOTOR 2. PREOPERATIONAL 3. CONCRETE OPERATIONS 4. FORMAL OPERATIONS
1. ขั้นใช้ประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ (SENSORIMOTOR ) อายุ 0- 2 ปี เป็นขั้นพัฒนาการ ทางความคิด และสติปัญญา ก่อนระยะเวลาที่เด็กจะพูดเป็นภาษาได้ การแสดงถึงความคิดและสติปัญญาของเด็กวัยนี้จะเป็น ในลักษณะของ การกระทาหรือการแสดงพฤติกรรม ต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหว เป็น ลักษณะของปฏิกิริยาสะท้อน เช่น การดูด การมอง การ ไขว่คว้า มีพฤติกรรมน้อยมากที่แสดงออกถึงความเข้าใจ เพราะเด็กยังไม่สามารถแยกตนเองออกจากสิ่งแวดล้อม ได้ตัวตนของเด็กยังไม่ได้พัฒนาจนกว่าเด็กจะได้รับ ประสบการณ์ ทาให้ได้พัฒนาตัวตนขึ้นมาแล้วเด็กจึง สามารถแยกแยะสิ่งต่าง ๆ ได้จนกระทั่งเด็กอายุ ประมาณ 18 เดือน จึงจะเริ่มแก้ปัญหาด้วยตนเองได้บ้าง และรับรู้เท่าที่สายตามองเห็น
2. ขั้นเริ่มมีความคิดความเข้าใจ (PREOPERATIONAL) อายุ 2-7 ปีเด็กวัยนี้เป็นวัยก่อนเข้าโรงเรียนและ วัยอนุบาล ยังไม่สามารถใช้สติปัญญากระทาสิ่ง ต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ ความคิดของเด็กวัยนี้ขึ้นอยู่ กับการรับรู้เป็นส่วนใหญ่ ไม่สามารถใช้เหตุผล อย่างลึกซึ้งได้วัยนี้เริ่มเรียนรู้การใช้ภาษา และ สามารถใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ พัฒนาการวัยนี้แบ่งได้เป็น 2 ขั้นคือ
3. ขัน้ ใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงรูปธรรม อายุ 7-11ปี ระยะนี้เด็กจะมีพัฒนาการทาง ความคิดและสติปัญญาอย่างรวดเร็ว สามารถคิด อย่างมีเหตุผล แบ่งแยกสิ่งแวดล้อม ออกเป็น หมวดหมู่ลาดับขั้น จัดเรียงขนาดสิ่งของ และเริ่ม เข้าใจเรื่องการคงสภาพเดิม สามารถนาความรู้ หรือประสบการณ์ในอดีต มาแก้ปัญหาเหตุการณ์ ใหม่ ๆ ได้ มีการถ่ายโยงการเรียนรู้ (transferoflearning) แต่ปัญหาหรือเหตุการณ์ นั้นจะต้องเกี่ยวข้องกับวัตถุหรือสิ่งที่เป็นรูปธรรม ส่วนปัญหาที่เป็นนามธรรมนั้นเด็กยังไม่สามารถ แก้ได้
4. ขั้นใช้ความคิดอย่างมีเหตุผลเชิงนามธรรม อายุ 11-15 ปี ขั้นนี้เป็นขั้นสูงสุดของพัฒนาการทาง สติปัญญาและความคิดความคิดแบบเด็ก ๆ จะสิ้นสุดลง จะเริ่มคิดแบบผู้ใหญ่สามารถคิดแก้ปัญหาที่เป็นนามธรรม ด้วยวิธีการหลากหลายรู้จักคิดอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ สามารถ ตั้งสมมติฐานทดลองใช้เหตุผลและทางาน ที่ต้อง ใช้สติปัญญาอย่างสลับซับซ้อนได้ เด็กวัยนี้เป็นวัยที่คิด เหนือไปกว่าสิ่งปัจจุบัน สนใจที่จะสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับทุก สิ่งทุกอย่างและมีความพอใจที่จะคิดพิจารณาเกี่ยวกับสิ่งที่ ไม่มีตัวตน หรือสิ่งที่เป็นนามธรรม นักจิตวิทยาเชื่อว่าการ พัฒนาความเข้าใจจะพัฒนาไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งเข้าสู่วัย ชรา และเพียเจท์เชื่อว่าพัฒนาการของเชาวน์ ปัญญามนุษย์จะดาเนินไปเป็นลาดับขั้น เปลี่ยนแปลงหรือ ข้ามขั้นไม่ได้
ทฤษฎี
Cognitive Constructivism
เชื่อว่าถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหาที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา
(Cognitive conflict) หรือเรียกว่า เกิดการเสียสมดุลทางปัญญา (Disequilibrium) ผู้เรียนต้อง พยายามปรับโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive structuring) ให้เข้าสู่ภาวะสมดุลย์(Equilibrium) โดยวิธีการดูดซึม (Assimilation) ได้แก่ การรับข้อมูลใหม่จากสิ่งแวดล้อมเข้าไปไว้ในโครงสร้างทางปัญญา การปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา (Accomodation) คือ การเชื่อมโยง โครงสร้างทางปัญญาเดิม หรือความรู้เดิมที่มีมาก่อนกับข้อมูลข่าวสารใหม่ จนกระทั่ง ผู้เรียนสามารถปรับโครงสร้างทางปัญญาเข้าสู่สภาพสมดุลย์ หรือ สามารถที่จะ
สร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ หรือเกิดการเรียนรู้
การปรับโครงสร้างทางปัญญาเข้าสู่สภาพสมดุลย์ ประกอบด้วยกระบวนการ 2 อย่าง คือ 1.การซึมซาบหรือดูดซึม(Assimilation) เป็นกระบวนการ ที่มนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและซึมซาบหรือดูดซึมเอา ประสบการณ์ใหม่เข้าสู่ ประสบการณ์เดิมที่เหมือนหรือคล้ายคลึงกัน โดยสมองจะปรับเอาประสบการณ์ใหม่ เข้ากับความคิด ความรู้ในโครงสร้างที่เกิดจาก การเรียนรู้เดิมที่มีอยู่ 2. การปรับโครงสร้างทางปัญญา(Accomodation) เป็น กระบวนการที่ต่อเนื่องมาจากกระบวนการซึมซาบหรือดูดซึม คือ เมื่อได้ซึมซาบ หรือ ดูดซึม เอาประสบการณ์ใหม่ เข้าไปในโครงสร้างเดิมแล้ว ก็จะทาการปรับประสบการณ์ ใหม่ ให้เข้ากับ โครงสร้างของความรู้เดิมที่มีอยู่ในสมองก่อนแล้ว แต่ถ้าไม่เข้ากันได้ก็จะ ทาการสร้างโครงสร้างใหม่ขึ้นมาเพื่อรับประสบการณ์ ใหม่นั้น
การจัดการเรียนการสอน ในชั้นเรียนให้สอดคล้องกับ
Cognitive Constructivism
1) การสร้างความคิดหรือปัญญาให้ เป็นเครื่องมือ สาหรับนาเอา สิ่งแวดล้อมของการเรียนที่มี ประโยชน์มาช่วย ให้เกิดการสร้าง ความรู้ให้แก่ผู้เรียน การเรียนรู้ของแต่ ละบุคคล จะมีระดับแตกต่างกันไป เรียกได้ ว่าสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลมากขึ้นเป็นลาดับ และผู้เรียน จะควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง
2) การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันเป็นกลไกสาคัญที่จะทาให้เกิด การซึมซับข้อมูลและสารสนเทศที่ได้รับใหม่เข้ากับความรู้เดิม
3) การจัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างสถานการณ์ให้ ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน เช่น การให้นักเรียนแก้ปัญหา ซึ่งเป็น สถานการณ์ที่ การพยายามแก้ปัญหาทาให้ ผู้เรียนพยายามค้นคว้า แสวงหาข้อมูล ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่จะช่วยให้คลี่คลาย ปัญหา นาไปสู่การต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่ง ต่างๆ รอบตัว
4) เน้นการช่วยให้ผู้เรียนเกิดโครงสร้างความรู้ความคิด จากข้อมูลและสารสนเทศที่ได้รับ เพื่อนาสู่การเกิดปัญญา ซึ่งต้องใช้ความรู้ในการ แก้ปัญหาและนาไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ จะต้องคานึงถึง เครื่องมืออุปกรณ์การสอนด้วย เพราะทฤษฎีนี้เหมาะสาหรับเครื่องมืออุปกรณ์ที่ ผู้เรียนสามารถนามาใช้เป็นเครื่องมือหาความรู้ ด้วยตนเอง เช่น คอมพิวเตอร์ ดังนั้นเครื่องมือ ทั้งHardware และ Software จะต้อง เหมาะสมเพื่อสนับสนุนทฤษฎี
Social
Constructivism
กลุ่มแนวคิด การสร้างความรู้เชิงสังคม
ผู้เรียน สังคม
สร้างความรู้โดยผ่านทางการมีปฏิสัมพันธ์ทาง
แนวคิด Vygotsky วีก็อทสกี้
ทฤษฎี Social Constructivism เป็นทฤษฎีที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการของ วิก็อทสกี้ Vygotsky ซึ่งถือว่า ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับ ผู้อื่น ในขณะที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรืองาน ในสภาวะสังคม ซึ่ง เป็นตัวแปรที่สาคัญและขาดไม่ได้ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมทาให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยการเปลี่ยนแปร ความเข้าใจเดิมให้ถูกต้องหรือซับซ้อนกว้างขวางขึ้น
ทฤษฎี Social Constructivism วีก็อทสกี้ ให้ ความสาคัญกับวัฒนธรรมและสังคมมาก เขาอธิบายว่า มนุษย์ได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมตั้งแต่แรกเกิด ซึ่งนอกจาก สิ่งแวดล้อมจากธรรมชาติแล้ว ก็ยังมีสิ่งแวดล้อมทางสังคม ซึ่งก็คือ วัฒนธรรมที่แต่ละสังคมสร้างขึ้น ดังนั้นสถาบันสังคมต่างๆ เริ่มตั้งแต่สถาบัน ครอบครัว จะมีอิทธิพลต่อพัฒนการทางเชาว์ปัญญาของแต่ละบุคคล นอกจากนั้น ภาษายังเป็นเครื่องมือสาคัญของการคิด และการพัฒนาเชาว์ ปัญญาขั้นสูง พัฒนาการทางภาษาและทางความคิดของเด็กเริ่มด้วยการ พัฒนาที่แยกจากกัน แต่เมื่ออายุมากขึ้น พัฒนาการทั้ง 2 ด้านจะเป็นไป ร่วมกัน
แนวคิด Social Constructivism 1. เด็กจะพัฒนาในกลุ่มของสังคมที่จัดขึ้น 2. การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมควรเชื่อมความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ทั้งผู้เรียนด้วย กันเอง หรือผู้เรียนอื่น 3. ควรสร้างบริบทสาหรับการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถได้รับการส่งเสริมใน กิจกรรมที่น่าสนใจ ซึ่งกระตุ้นและเอื้ออานวยต่อการเรียนรูแ้ ทนที่ครูผู้สอนเหมือ กระบวนการเรียนการสอนทั่วไป ไม่ใช้ครูเข้ามากากับ ยืนมอง สารวจเท่านั้น แต่ครู ควรแนะนาเมื่อผู้เรียนประสบปัญหา 4. กระตุ้นให้มีการปฎิบัตินในกลุ่มด้วยการคิดพิจารณาประเด็นปัญหา แนะ แนวทางให้ผู้เรียนต่อสู้กับปัญหา และเกิดความท้าทาย เพราะสิ่งเหล่านี้จะเป็น รากฐานของสถานการณ์ในชีวิตจริงทีจ่ ะทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และได้รับความ พึงพอใจในผลของงานที่พวกเขาได้ลงมือกระทา
การจัดการศึกษาที่ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดของ Vygotsky การเรียนรู้ด้วยความร่วมมือ (Cooperative Learning) สื่อกลางคือ กลุ่มเพื่อนและกิจกรรมทีน่ าสู่การใช้ภาษาเป็นเครือ่ งมือในการแลกเปลี่ยน สื่อสาร การแบ่งปันระหว่างกันเพื่อให้สามารถกระทาและแก้ปัญหาได้
การจัดการศึกษาที่ได้รับอิทธิพลมาจากแนวความคิดของ Vygotsky
การเรียนด้วยรูปแบบ โมเดล 5 E ที่ใช้กิจกรรมสาคัญ 5 ขั้นตอน เป็นสื่อกลางในการให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับข้อมูลและ สารสนเทศ
การจัดการเรียนการสอน ในชั้นเรียนให้สอดคล้องกับ
Social Constructivism
การจัดกิจกรรมในชั้นเรียน 1) การเรียนรู้และการพัฒนาด้านสังคมคือกิจกรรมการร่วมมือ 2) ขอบเขตของการพัฒนาควรสนองต่อแนวทางจัดหลักสูตรและ การวางแผนบทเรียน 3) การเรียนรู้ในโรงเรียนควรเกิดขึ้นในบริบทที่มีความหมาย ซึ่ง ไม่ควรแยกการเรียนรู้และความรู้ที่ผู้เรียนพัฒนามาจากชีวิตจริง 4) ประสบการณ์นอกโรงเรียนควรจะมีการเชื่อมโยงนามาสู่ ประสบการณ์ในโรงเรียนของผู้เรียน
เทคโนโลยีเป็นสิ่งที่มากกว่าเครื่องมือ เทคโนโลยี ประกอบด้วยการออกแบบที่จะช่วยเหลือสนับสนุนผู้เรียนกลยุทธ์ การเรียนรู้ทางพุทธิปัญญา ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ เทคนิคความสามารถในการประยุกต์ใช้งาน
เทคโนโลยีการเรียนรู้เป็นสิ่งแวดล้อมใด ๆ หรือ ชุดที่สามารถนิยามของกิจกรรมที่สนับสนุนผู้เรียนในการ สร้างความรู้และสร้างความหมาย
การสร้างความรู้ (Knowledge Construction) ไม่ใช่ สนับสนุนจากการใช้เทคโนโลยีที่ใช้เป็นผู้ส่งหรือทาหน้าที่ เป็นพาหะขนส่ง ความรู้ หรือ การสอน ที่จะควบคุม ปฏิสัมพันธ์ผู้เรียนทั้งหมด
ยิ่งไปกว่านั้น เทคโนโลยีสนับสนุนการสร้างความรู้ จะ เป็นการดีถ้าผู้เรียนต้องการหรือมีแรงขับ เมื่อมีปฏิสัมพันธ์นั่นเป็น การที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างและผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมและเมื่อมี ปฏิสัมพันธ์กับเทคโนโลยีจะเป็นการสนับสนุนหรือช่วยเหลือให้ เกิดความคิดรวบยอดและสติปัญญา
เทคโนโลยีเสมือนชุดเครื่องมือ ที่จะกระตุ้นผู้เรียนให้สร้างการ อธิบายของตนเองอย่างมีความหมายและนาเสนอในชีวิตจริง ชุดเครื่องมือ นี้ต้องสนับสนุนองค์ประกอบทางสติปัญญาของความต้องการในการเรียนรู้ ของรายวิชาที่จะเรียน
ผู้เรียนและเทคโนโลยี เทคโนโลยีควรเปรียบเสมือน เพื่อนทางสติปัญญาของ ผู้เรียน และช่วยส่งเสริมความ รับผิดชอบทางพุทธิปัญญา สาหรับการแสดงออก
บทสรุปแนวคิด
Constructivism
1. ความรู้ของบุคคล คือโครงสร้างทางปัญญาของบุคคล นั้น โดยสร้างขึ้นจาก ประสบการณ์ ในการคลี่คลายสถานการณ์ที่เป็น ปัญหา และสามารถนาไปใช้เป็นฐาน ในการแก้ปัญหาหรืออธิบาย สถานการณ์อื่นๆ ได้
2. ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ ด้วยวิธีการต่างๆ กัน โดยอาศัย ประสบการณ์และ โครงสร้างทาง ปัญญาที่มีอยู่เดิม ความสนใจ และ แรงจูงใจภายในตนเองเป็นจุดเริ่มต้น
3. ครูมีหน้าที่ในการจัดการให้ผู้เรียนได้ปรับขยาย โครงสร้างทางปัญญาเอง ภายใต้ข้อสมมุติฐานต่อไปนี้ 1. สถานการณ์ที่เป็นปัญหาและปฎิสัมพันธ์ทาง สังคม ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา 2. ความขัดแย้งทางปัญญาเป็นแรงจูงใจภายใน ทาให้เกิดกิจกรรมการไตร่ตรองเพือ่ ขจัดความ ขัดแย้ง 3. การไตร่ตรองบนพื้นฐานแห่งประสบการณ์ และโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิมภายใต้การ มีปฎิสัมพันธ์ทางสังคม กระตุ้นให้มีโครงสร้าง ใหม่ทางปัญญา
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ Constructivism
1. Learning are active ผู้เรียนลงมือกระทาด้วยตนเอง ผู้เรียนจะต้องสร้างแนวคิดของตนเอง ประกอบด้วยแนวคิดที่หลากหลายและ กว้างขวาง อาจมาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ โดย ที่ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ เช่น ครู กลุ่มเพื่อน และหนังสือ เป็นต้น และ สังเคราะห์สิ่งเหล่านี้เป็นแนวคิดที่บูรณา การขึ้นมาใหม่
2. Learning should support collaboration , not competition การเรียนรู้ควรสนับสนุนการร่วมมือ กันไม่ใช่การแข่งขัน การทาให้ผู้เรียนตก ผลึกและกลั่นกรองสิ่งที่สร้างขึ้น แทน ความรู้เดิม และส่งเสริมการสังเคราะห์ ความรู้ที่จาเป็นต่อการเรียนรู้ และการ สร้างความหมายในการเรียนรู้ของตนเอง
3. Focuses control at the learner level ให้ความสาคัญกับการควบคุม ตนเองตามระดับของผู้เรียน ผู้สอน จาเป็นต้องควบคุมกระบวนการเรียนรู้ ด้วยตนเอง มากกว่าการที่เรียนใน ลักษณะที่เป็นผู้รับฟัง จากการบรรยาย ของผู้สอน
4. Real-world learning experiences การเรียนรู้ที่ประยุกต์ไปสู่ปัญหา ในชีวิตจริง (Real world problems) จะช่วยสร้างการเชื่อมโยงที่แข็งแกร่ง และส่งผลให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์สิ่ง ที่ได้เรียนไปสู่สถานการณ์ใหม่ในสภาพ ชีวิตจริงได้