Crazy Japan Vol. 2 ISSUU 22 October 2015
Editor’s Note
Contents Crazy Japan ปีที่ 2 ฉบับ 22 ตุลาคม 2558 ภาพปก : ภาพถ่าย : ออกแบบ :
8
10
6 04 Place & Attractions วัดพระใหญ่ (Great Budha) ภูเขาไฟฟูจิ
08 Food & Drink
การชงชาแบบญี่ปนุ่
12 Festival เทศกาลจิได
14 Chic&Shop การจัดสวนแบบญี่ปนุ่
16 Japanese Word คาทักทาย แสกนที่นี่เพื่อเข้าสู่ เว็บไซต์ Crazy Japan
เมือง “คามาคุระ” ตั้งอยู่ในจังหวัด Kanagawa เมืองนี้นอกจากจะมีประวัติศาสตร์ยาวนานหลายร้อยปี ยังมีความสาคัญกับญี่ปุ่นในอดีตอย่างมาก โดยเฉพาะบทบาทที่โดดเด่นในด้านการเมือง เป็นอดีตศูนย์กลางทาง การเมืองของญี่ปุ่นแต่งตั้งโดยท่านโชกุน Minamoto Yoritomo เมื่อปี 1192 หรือราว 800 กว่าปีมาแล้ว แม้ อานาจของคณะรัฐบาลคะมะคุระจะลดบทบาทลงในศตวรรษที่ 14 เมืองคะมะคุระแห่งนี้ยังคงยืนหยัดเป็น ศูนย์กลางทางการเมืองของประเทศให้กับเมืองหลวงอย่างเกียวโตสืบมา ทุกวันนี้ ถึงแม้จะไม่ได้มีบทบาทหน้าที่ เดิม แต่ยังคงเป็นเมืองที่มีความสาคัญในการท่องเที่ยวของญี่ปุ่น ถึงกับขนานนามให้คะมะคุระ เป็นเมืองพี่เมือง น้องของเกียวโต หรือ เกียวโตแห่งญี่ปุ่นตะวันออก อีกด้วย
4 เอกสารอ้างอิง birdfreedom. (8 มกราคม 2557). เที่ยวญี่ปุ่น: เดินชมเมืองหลวงเก่าคามาคุระ สักการะพระใหญ่ไดบุทสึ. สืบคืนจากhttp://pantip.com/topic/31484720
ภาพ : เปี ยทิพย์ พัวพันธ์
Great Buddha หรือ Daibutsu 大仏 บริเวณที่ตั้งของ Daibutsu นั้น เดิมที เป็นที่ตั้งของวัด Kōtokuin 高徳 院 วัดแห่งนี้สร้างขึ้นตั้งแต่ปี 1252 แต่ได้เกิดความเสียหายหลายครั้งจาก ไต้ฝุ่น และเสียหายมากที่สุดจาก เหตุการณ์สนึ ามิ เมื่อปี 1495 ทาให้ ตัวอาคารวัดนั้นพังทลายหายไป เหลือ เพียงแต่องค์พระ Daibutsu อยู่ ท่ามกลางซากปรักหักพัง สร้าง ความประหลาดใจให้กับชาวญี่ปุ่น และเลื่อมใสในความศักดิ์สิทธิข์ อง ท่านที่ได้ปกปักรักษาเมืองคะมะคุระ ตลอดมา ค่าเข้าชมคนละ 200 เยน ด้านในมีสวนญี่ปุ่นร่มรื่นตลอด สองข้างทาง
5
“ภูเขาไฟฟูจิ” อีกสถานที่ที่เป็นสัญลักษณ์ของญี่ปุ่น ภาพ : เปี ยทิพย์ พัวพันธ์ ภูเชาไฟฟูจิ เป็ นภูเขาที่สูงที่สดุ ในญี่ปนและอาจกล่ ุ่ าว ได้ วา่ เป็ นภูเขาที่สวยทีส่ ุดในโลก มีความสูงถึง 3,776 เมตร ตังอยู ้ ร่ ะหว่างจังหวัดยะมะนะชิและชิซุโอะกะ และสามารถมองเห็นได้ จากโตเกียวและโยโกฮาม่าใน วันที่ท้องฟ้าปลอดโปร่ง วิธีที่จะได้ เห็นภูเขาฟูจิทงี่ ่าย ที่สุด คือ นัง่ ชมจากรถไฟสายโทไกโดที่วิ่งระหว่างเมือง โตเกียวและโอซาก้ า ถ้ าคุณนัง่ ชินกันเซ็นจากโตเกียวที่ มุง่ หน้ าไปยังนาโงย่า เกียวโต และโอซาก้ า
ช่วงที่จะได้ เห็นภูเขาฟูจิ คือ ช่วงสถานีชิน-ฟูจิ หรื อ ประมาณ 40-45 นาที หลังจากออกจากโตเกียว ซึง่ จะ มองเห็นได้ ทางด้ านขวามือของรถไฟ แต่สาหรับผู้ที่ อยากชมภูเขาฟูจิอย่างเต็มอิม่ และแวดล้ อมด้ วย ธรรมชาติที่งดงามขอเชิญที่ ทะเลสาบทังห้ ้ า (Fuji Five Lake or Fujigoko) หรื อที่ ฮะโกะเนะ ซึง่ เป็ นรี สอร์ ทบ่อน ้าพุร้อนและเป็ นหนึง่ ใน อุทยาน แห่งชาติ Fuji Hakone-Izu
6
ฝาท่อน ้าบริเวณรอบๆภูเขาไฟฟูจิ 7
DAIFUGU
DANGO
ดังโกะ (Dango) เป็ นขนมที่ทาจากแป้งโมจิ บางครัง้ ก็ ผสมเต้ าหู้ลงไปในแป้งด้ วย ปั น้ เป็ นลูก กลม เสียบไม้ แล้ วนาไปปิ ง้ ได้ ลกู ชิ ้น แป้งนุ่มๆเหนียวๆราดซอสโชยุ ซอส เต้ าเจี ้ยว หรือเกาลัดบด หรือจะโรย ด้ วยถัว่ บดกับน ้าตาลทรายแดงก็ เข้ าท่า ไดฟุกุ (Daifuku) คนไทยเราชอบเรียกว่าโมจิ ไส้ ถวั่ แดง แต่จริงๆเขาเรียกขนม ประเภทนี ้ว่าไดฟุกุ แป้งด้ าน นอกทา จากแป้งข้าวเหนียวนึ่งที่นามาตีจน เหนียว (โมจิ) มีสีขาว เขียวและชมพู ส่วนไส้ ก็เป็ นถัว่ แดง ที่พิเศษก็จะใส่ ผลไม้ ลงไป เช่น อิจิโกะ ไดฟุ กุ (Ichigo TAIYAKI Daifuku) เป็ นโมจิไส้ ลกู สตรอร์เบอร์รี่ หอมหวาน อร่อยจับใจ
TAIYAKI
ไทยะกิ (Tai Yaki) เป็ นขนมที่จาลองรูปแบบของปลากะพงแดง เรียกอีก ชื่อว่า "แพนเค้ กญี่ปน" ุ่ เนื ้อแป้งแน่นและเหนียวนุม่ นอกจากไส้ ถวั่ แดงมาตรฐานแล้ วก็มีไส้ เกาลัด ไส้ มนั หวานและอีกสารพัดไส้
8
บัวลอยถั่วแดง (Azuki Shiratama) เป็ นถัว่ แดงต้ ม แล้ วมีแป้งก้ อน กลมเล็กๆ ใส่อยู่ด้วย เหนี่ยวๆ หนึบๆ
Azuki Shiratama
ซากุระโมจิ Sakuramochi เป็ นขนมที่ทำจำกแป้ งโมจิ หรื อแป้ งข้ำวเหนียวบ้ำน เรำน่ะครับ แล้วห่อด้วยใบ ซำกุระ
Sakura mochi
ฮิงะชิ (Higashi) เป็ นขนมแบบแห้ง เก็บไว้ได้ นำน ทำจำกแป้ งข้ำวเหนียว น้ ำตำล และวำซัมบงโตะ (Wasambon-to) น้ ำตำลผงที่ทำด้วยกรรมวิธี แบบดั้งเดิมผสมกันแล้วนำมำ อัดในพิมพ์ ได้ขนมที่ผวิ เป็ น แป้ งแห้งๆคล้ำยขนมโก๋ เสิร์ฟ ในพิธีชงชำ
HANGiSHI
9
ชิล ชิล กับเครื่องดื่มสไตล์ญี่ปุ่น การดื่มชาในญี่ปนเป็ ุ่ นที่ร้ ูจกั กันดี ตั ้งแต่รัชสมัยของจักรพรรดิ โชมุ (ค.ศ.724-749) พระองค์ได้ นิมนต์พระภิกษุไปยังพระราชวัง เพื่อดื่มน ้าชา อาจเป็ นได้ ที่ในตอน นั ้น ชาเป็ นของมีค่าอย่างหนึง่ ที่ นาเข้ าจากจีนโดยทูตที่เดินทาง ไปจีนในสมัยราชวงศ์ถงั และนา กลับมาเผยแพร่ ในปี ค.ศ.805
ที่มา : http://www.teamajesty.com/japanese-green-tea/
นักบวชชื่อไซโจได้ นาเมล็กชา เขียวจากจีนกลับมาปลูกบน เขาอิเอใกล้ ๆ กับโตเกียว หลังจากที่ได้ ไปศึกษา พระพุทธศาสนาในประเทศจีน กระทัง่ ถึงศตวรรษที่ 12 หลังจากที่มทั ชะหรื อชาผงได้ ถูกนาเข้ ามาในญี่ปนโดยพระ ุ่ เออิไซ การดื่มชาก็ยิ่งเป็ นที่ นิยมมากขึ ้นในหมู่ของเจ้ านาย ชั ้นสูง
1 0
อุปกรณ์ชงชา
1
1. Matcha-chawan (抹茶碗) ถ้ วยสาหรับชงชา
2 2. Chasen (茶筅) เป็ นไม้ ไผ่ใช้ สาหรับบด ผงชาเขียวไม่ให้ จบั ตัวเป็ นก้ อน
3 3. Chashaku (茶杓) เป็ นไม้ ไผ่ที่ใช้ สาหรับตักผงชาเขียว ขัน้ ตอนการชง 1. ตักผงชามัทฉะใส่ในถ้ วย 2. ค่อยๆเทน ้าร้ อนตามลงไปบนผงมัทฉะ 3. ใช้ Chasen “ปั ด” ให้ ผงมัทฉะแตกตัวเข้ ากับน ้า โดยให้ ทิศทางการปั ดไปทางด้านหน้ าสลับกับ ด้ านหลัง จนไม่พบผงมัทฉะจับตัวเป็ นก้ อน (จะเห็นเป็ นฟองสีเขียวละเอียดลอยอยู่ด้านบน) 4. เสิร์ฟในถ้ วยชงชาได้ เลย
1 1
เทศกาลจิได เทศกาลฉลองครบรอบการย้ ายเหมืองหลวง
เทศกาลจิได (Jidai Matsuri) เป็ นเทศกาล ที่จะเกิดขึ ้นทุกๆปี ในวันที่ 22 ตุลาคม ใน วาระครบรอบการย้ ายเมืองหลวงจากเฮอัง เกียว (หรื อเกียวโตในปั จจุบนั ) ที่เป็ นเมือง หลวงมานานกว่าหนึ่งพันปี มาเป็ นโตเกียว เมื่อปี ค.ศ. 1869 โดยเทศกาลเฉลิมฉลองนี ้
จัดขึ ้นครัง้ แรกเมือปี ค.ศ. 1895 และเป็ น หนึง่ ในสามเทศกาลที่มีชื่อเสียงมากที่สดุ โดยมีเทศกาล Gion Matsuri ในเดือน กรกฎาคม และ Aoi Matsuri ในเดือน พฤษภาคมติดอันดับอยู่ด้วย 1 2
จุดเด่นของงานอยู่ที่การเดินขบวนพาเหรด เครื่ องแต่งกายสมัยเมื่อประมาณ 1,100 ปี ก่อน ขณะทีเ่ กียวโตเป็ นเมืองหลวงของ ญี่ปนในขณะนั ุ่ ้น ขบวนพาเหรดจะแบ่ง ออกเป็ นยุคทางประวัติศาสตร์ ต่างๆ ประมาณ 20 กว่าขบวน โดยจะเริ่ มต้ น ในช่วงปี ค.ศ. 1868 และย้ อนกลับไปในช่วง ก่อตั ้งเมืองเกียวโตในปี ค.ศ. 781 เส้ นทาง ของขบวนพาเหรดจะยาวเหยียดประมาณ 5 กม.
จุดเริ่ มต้ นของการชมจะอยู่ที่ศาลเจ้ าเฮอัง โดยมีผ้ สู นใจเข้ าร่ วมชมงานเป็ นจานวนมาก ซึง่ จะอยู่เต็มบนถนนตลอดเส้ นทางการ เดินขบวน
1 3
การจัดสวนสไตล์ญี่ปุ่น (Japanese Garden)
คนญี่ปนมี ุ่ ความเชื่อว่าสิ่งที่จะทาให้ คนญี่ปนมี ุ่ อานาจและความสุขประกอบด้ วย ดิน น ้า ไม้ โลหะ แต่ละสิ่ง ของส่วนประกอบมีความหมายต่างๆ ดังนี ้ 1 4
นา้ เป็ นต้ นกาเนิดของชีวิต เป็ นสิ่งที่ชโลมใจให้ เยือกเย็น และมีความสุข กระแสน ้ามี อานาจที่จะไหลพังทลายสิ่งที่ กีดขวางได้ กระแสน ้าไหลทา ให้ เกิดเสียง เกิดความรู้สึกมี ชีวิตชีวา จึงนิยมใช้ น ้าเป็ นสิ่ง ประกอบที่สาคัญ การใช้ น ้าใน สวนญี่ปนก็ ุ่ เพื่อสมมุติว่าเป็ น ลาธาร หนอง บึง สระน ้า ทะเล มหาสมุทร ที่เกิดขึ ้นเองตาม ธรรมชาติ การจัดน ้าไว้ ภายใน บริเวณสวนอย่างน้ อยที่สดุ ก็มี น ้าในอ่างน ้า ที่วางไว้ ในสวน ในที่ราบแบบเขียวชอุ่ม ส่วน สวนในที่ราบพื ้นแห้ ง ถึงแม้ ภายในบริเวณจะไม่มีน ้าจริง ๆ แต่ก็ใช้ กรวดหรื อทรายโรยบน พื ้นที่รายเรี ยบแล้ วใช้ ไม้ ปลาย แหลมขีดเส้ นโค้ งรอบ ๆ กลุ่ม ก้ อนหิน ชิดกันบ้ างห่างกันบ้ าง เหมือนระรอกน ้าหรื อเกลี่ยว คลื่น ซึง่ เป็ นการใช้ น ้าโดย สมมุติ
ต้ นไม้
สวนญี่ปนจะใช้ ุ่ ธรรมชาติเป็ นแกน ดังนันพั ้ มธ์ ไม้ ที่ใช้ ประกอบในสวนจึงเป็ น พันธ์ไม้ ที่สรรหามาจากป่ าตาม ธรรมชาติ โดยเฉพาะต้ นสน ของญี่ปนซึ ุ่ ง่ มีลีลาและรูปทรง สวยงามมากและมีมากมาย หลายชนิดด้ วยกัน พันธ์ไม้ ประกอบอื่น ๆ ก็ใช้ พนั ธ์ไม้ ประเภทไม้ ใบที่มีสีเขียวตลอด ทังปี ้ จัดทาเป็ นพุ่มใหญ่บ้าง เล็กบ้ าง ตามความเหมาะสม ของสถานที่และกลมกลืนกับ สิ่งแวดล้ อมของสวน เช่น น ้าตก ลาธาร สะพาน ตะเกียง หิน แผ่นทางเดิน ฯลฯ บางครัง้ อาจย่อส่วนของต้ นไม้ หรื อตัด ให้ มีลีลาสง่างาม เพื่อให้ เกิด ความสมดุลในองค์ประกอบ ศิลปะ ที่นา่ สนใจก็คือ ไม่นยิ ม ปลูกแปลงไม้ ดอกไว้ ในสวน เลย ถ้ าจะปลูกแปลงไม้ ดอก ก็มกั จะจัดสัดส่วนไว้ ต่างหาก แยกออกไปไม่นามาปะปนกับ สวน แต่สวนญี่ปนไม่ ุ่ ใช่ไม่มี ดอกไม้ เสียเลย ไม้ ป่าบางชนิด ที่นามาปลูกเมื่อถึงฤดูออก ดอกก็จะมีดอกที่สวยงาม 1 5
หิน หินสาหรับประดับ ภายในสวนจะคัดเลือกรูปทรง และสีเป็ นพิเศษ ไม่นยิ มหินที่มี รอยสกัด เพราะผิดไปจาก ธรรมชาติชนิดของหินได้ แก่ หินทราย หินแกรนิต หินชนวน หินคลอไรด์ ฯลฯ นอกจากหิน ก็มีก้อนกรวดขนาดต่าง ๆ กัน ใส่ไว้ ในบริเวณ น ้าตก ลาธาร และสระน ้า นิยมใช้ ก้อนหินที่มี สีเข้ ม เช่น สีเทา หรื อสีดา ทา ให้ ร้ ูสึกว่ามืด ๆ ทึม ๆ เข้ ากับสี เขียวของพุ่มไม้ เป็ นอย่างดี ถ้ า ไม่จาเป็ นพยายามอย่าใช้ ก้อน หินที่มีสีขาว เพราะจะขาว โพลงสว่างมากเกินไป ก้ อนหิน ต้ องไม่มีร้อยตบแต่งอาจมี รูปร่างแหว่งเว้ าหรื อเป็ นรูไป บ้ าง แต่ควรเป็ นลักษณะที่ เกิดขึ ้นเองตามธรรมชาติมิใช่ เกิดจากการกระทาของมนุษย์ การวางก้ อนหินในสวนไม่ นิยมวางเป็ นก้ อนโดด ๆ อย่าง น้ อยจะต้ องมีก้อนหินก้ อน อื่น ๆ ที่มีขนาดเล็กกว่าวางไว้ ข้ าง ๆ เป็ นส่วนประกอบ ระยะห่างระหว่างก้ อนขึ ้นอยู่ กับขนาดของก้ อนหิน
คาทักทาย คาทักทาย เป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่ง ของทุกประเทศ แต่ละประเทศจะมี คาทักทายแตกต่างกันไป รวมถึง ท่าทางในการแสดงความเคารพ นบนอบต่อผู้ที่เรากล่าวคาทักทาย ประเทศญี่ปุ่น มีคาทักทายอยู่ 3 ช่วงเวลาหลักๆ คือ คาทักทาย ตอนเช้า ตอนบ่าย และตอนกลางคืน เนื่องจากญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับ เวลาเป็นอย่างมาก ขณะกล่าวคาทักทาย คนญี่ปุ่นจะ ทาท่าโค้งคานับด้วย เป็นการแสดงถึง การให้เกียรติต่อกัน
ที่มา : https://sites.google.com/site/japaneselanguagenihon/ kha-thakthay-ngay-ni-phasa-yipun
“สวั ส ดี ต อนเช้ า ” Ohayou gozaimasu อ่านว่า โอะฮาโย โกไซอิมัส “สวัสดีตอนบ่าย” Konnichiwa อ่านว่า คอนนิจิวะ
“สวัสดีตอนกลางคืน” 1 6
Konbanwa อ่านว่า คอนบังวะ