มาตรฐานการพิมพ์

Page 1

มาตรฐานการพิมพ์ มาตรฐานจะเป็ นเครื่ องมือหนึ่ งเพื่อให้ เกิด การยอมรั บของลู กค้ า พร้ อมๆ กับการเปลี่ ยนแปลง ขององค์ กรไปสู่ ระบบการผลิตที่เป็ นรู ปธรรม มีการ ควบคุ มครบวงจร และผู้ ปฏิบัติงานสามารถทางาน ได้ ถูกต้ องมากขึน้

Printing Technology for Journalism


องค์ ป ระกอบของมาตรฐาน (4M)  บุ คลากร (Man)  เครื่ องมื อ (Machine)  วั ส ดุ (Material)  กระบวนการ หรื อมาตรฐาน (Method) Printing Technology for Journalism


คุณภาพ VS มาตรฐาน


มาตรฐานการพิมพ์ การควบคุมคุณภาพ หมายถึง คุณลักษณะและ สมบัติโดยรวมของผลิตภัณฑ์ หรื อบริ การที่สามารถ ตอบสนองต่ อความต้ องการทัง้ ในรู ปแบบที่ระบุได้ หรื อระบุไม่ ได้ แต่ ย่อมเป็ นที่ร้ ู จักกั นโดยนั ย ความ ต้ องการหรื อความพอใจนั น้ นอกจากจะพิจารณา จากผู้ บริ โภคหรื อผู้ ใช้ แล้ ว ยังเป็ นความพอใจของ หน่ วยงานถัดไปที่รับช่ วงงานไปดาเนิ นการต่ อด้ วย Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ ลั กษณะคุ ณภาพงานก่ อนพิมพ์ พิจารณาจาก 1. นา้ หนั กสี 2. สี 3. ความคมชั ด 4. รายละเอียดของภาพ 5. ความสะอาด 6. ความถูกต้ อง Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  ลั ก ษณะคุ ณ ภาพงานก่ อ นพิ ม พ์ พิ จ ารณาจาก 1. นา้ หนั ก สี กระบวนการพิ ม พ์ จ ะต้ อ งการนา้ หนั ก สี เ พี ย ง 2 ระดั บ เท่ า นั ้น คื อ 1. บริ เ วณที่ ต้ อ งการให้ มี ห มึ ก พิ ม พ์ 2. บริ เ วณที่ ไ ม่ ต้ อ งการหมึ ก พิ ม พ์ ดั ง นั ้น ในกระบวนการงานก่ อ นพิ ม พ์ จ ะต้ อ งทาแม่ พิ ม พ์ ให้ มี 2 บริ เ วณเท่ า นั ้น Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ ลั ก ษณะคุ ณ ภาพงานก่ อ นพิ ม พ์ พิ จ ารณาจาก 1. นา้ หนั ก สี ภาพลายเส้ นหรื อ ตั ว อั ก ษรจะมี ส่ วนที่ เ ป็ นลายเส้ นที่ ต้ อ งการหมึ ก พิ ม พ์ แ ละส่ วนที่ เ ป็ นพื น้ ที่ ว่ า งที่ ไ ม่ ต้ อ งการให้ มี หมึ ก พิ ม พ์ ถ้ า ภาพที่ ใ ช้ เป็ นภาพนา้ หนั ก สี ต่ อ เนื่ อง ก็ จ ะต้ อ งถ่ า ยทา ให้ เ ป็ นภาพฮาล์ ฟโทน ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยเม็ ด สกรี น ขนาดต่ า งๆ เพื่ อ ทาให้ ม องเห็ น ภาพพิ ม พ์ มี นา้ หนั ก สี ต่ า งๆ ตามภาพต้ น ฉบั บ การผลิ ต ฟิ ล์ มหรื อ แม่ พิ ม พ์ การควบคุ ม นา้ หนั ก สี ใ ห้ ถู ก ต้อง เป็ นสิ่ ง สาคั ญ ซึ่ ง จะควบคุ ม โดยการตรวจสอบจากพื น้ ที่ เ ม็ ด สกรี น ในส่ วนต่ า งๆ ของภาพ Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ ลั ก ษณะคุ ณ ภาพงานก่ อ นพิ ม พ์ พิ จ ารณาจาก 2. สี ในงานพิ ม พ์ สี ลู ก ค้ า มั ก จะต้ อ งการคุ ณ ภาพของ งานพิ ม พ์ ท่ ี มี สี ถู ก ต้ อ ง ปั ญหาที่ ลู ก ค้ า ไม่ รั บ งานมากที่ สุ ด มั ก เป็ นปั ญหาเรื่ องสี ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง แม้ ว่ า ต้ น ฉบั บ ภาพสี ท่ ี นามาใช้ ใ นการพิ ม พ์ จ ะมี คุ ณ ภาพสี ท่ ี ดี แต่ เ มื่ อ นามาใช้ ในการผลิ ต งานก่ อ นพิ ม พ์ แ ละงานพิ ม พ์ อาจไม่ ส ามารถ ผลิ ต สี ไ ด้ เ หมื อ นต้ น ฉบั บ ภาพสี ไ ด้ Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ ลั ก ษณะคุ ณ ภาพงานก่ อ นพิ ม พ์ พิ จ ารณาจาก 2. สี เนื่ อ งจากข้ อ จากั ด ของหมึ ก พิ ม พ์ แ ละวั ส ดุ ใ ช้ พิ ม พ์ การควบคุ ม สี จึ ง อาจทาให้ ไ ด้ เ พี ย งการผลิ ต สี ใ ห้ มี ค วาม ใกล้ เ คี ย งกั บ ต้ น ฉบั บ มากที่ สุ ด และควบคุ ม ระบวนการ ถ่ า ยฟิ ล์ ม และแยกสี ใ ห้ ไ ด้ ต ามที่ ต้ อ งการ

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  ลั ก ษณะคุ ณ ภาพงานก่ อ นพิ ม พ์ พิ จ ารณาจาก 3. ความคมชั ด เป็ นคุ ณ ภาพของงานพิ ม พ์ ท่ ี ลู ก ค้ า ต้ อ งการ ซึ่ ง การจะให้ งานพิ ม พ์ ท่ ี ไ ด้ มี ค วามคมชั ด ควรจะต้ อ งมี ก ารควบคุ ม ตั ง้ แต่ แ รก คื อ คุ ณ ภาพของต้ น ฉบั บ ต้ อ งคมชั ด เช่ น - ถ้ า เป็ นภาพลายเส้ น เส้ นขอบ ภาพจะต้ อ งเรี ย บไม่ ฟ้ ุ ง หรื อ เป็ นขอบหยั ก - ถ้ า เป็ นภาพนา้ หนั ก สี ต่ อ เนื่ อ ง จะตรวจสอบในบริ เ วณ ที่ มี ค วามเปรี ย บต่ า งสู ง Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  ลั ก ษณะคุ ณ ภาพงานก่ อ นพิ ม พ์ พิ จ ารณาจาก 3. ความคมชั ด ในกระบวนการผลิ ต ต้ อ งตรวจสอบและควบคุ ม ขั น้ ตอนการถ่ า ยฟิ ล์ ม และแยกสี เช่ น การปรั บ โฟกั ส ของเลนส์ ถ่ า ยภาพให้ ถู ก ต้ อ งเพื่ อ ให้ ก ารถ่ า ยฟิ ล์ ม มี ค วาม คมชั ด หรื อ จะใช้ โ ปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยในการปรั บ เพิ่ ม ความชั ด ของภาพได้ แต่ ค วรอยู่ ใ นความพอดี ถ้ า มากหรื อ น้ อยเกิ น ไปจะทาให้ ภ าพไม่ ไ ด้ คุ ณ ภาพ ตามต้ อ งการ Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  ลั ก ษณะคุ ณ ภาพงานก่ อ นพิ ม พ์ พิ จ ารณาจาก 4. รายละเอี ย ดของภาพ การควบคุ ม คุ ณ ภาพในงานก่ อ นพิ ม พ์ ท่ ี ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านจะต้ อ งตรวจสอบอี ก ลั ก ษณะหนึ่ ง ก็ คื อ รายละเอี ย ดของภาพ ซึ่ ง หมายถึ ง ข้ อ มู ล เนื อ้ หาของภาพ มี ค รบถ้ ว น ไม่ ว่ า จะเป็ นภาพต้ น ฉบั บ หรื อ ภาพบนฟิ ล์ ม หรื อ แม่ พิ ม พ์ Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  ลั ก ษณะคุ ณ ภาพงานก่ อ นพิ ม พ์ พิ จ ารณาจาก 4. รายละเอี ย ดของภาพ โดยภาพลายเส้ น รายละเอี ย ดของภาพคื อ ลายเส้ น ของภาพครบถ้ ว น เส้ น ขนาดเล็ ก ไม่ ค วรตี บ ตั น เส้ น ขนาดใหญ่ ต้ อ งไม่ บ วมจนขาดรายละเอี ย ด ส่ ว นภาพ นา้ หนั ก สี ต่ อ เนื่ อ งจะพิ จ ารณาในส่ ว นสว่ า ง ส่ ว นนา้ หนั ก สี กลาง และส่ ว นเงา จะต้ อ งมี ร ายละเอี ย ดที่ ดี Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  ลั ก ษณะคุ ณ ภาพงานก่ อ นพิ ม พ์ พิ จ ารณาจาก 5. ความสะอาด เมื่ อ มี ก ารควบคุ ม คุ ณ ภาพในด้ า นต่ า งๆ ที่ ก ล่ า ว มาแล้ ว แต่ ป รากฏว่ า มี ร อยสกปรก ฝุ่ น รอยนิ ว้ มื อ หรื อ รอยหั ก บนฟิ ล์ ม ก็ มี ผ ลให้ ป รากฏอยู่ ใ นภาพพิ ม พ์ และคุ ณ ภาพงานด้ อ ยลงได้ ความสะอาดจึ ง เป็ นปั จจั ย ที่ ช่ า งปฏิ บั ติ ง านต้ อ งควบคุ ม เช่ น กั น

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ ลั ก ษณะคุ ณ ภาพงานก่ อ นพิ ม พ์ พิ จ ารณาจาก

6.ความถู ก ต้ อ ง ความถู ก ต้ อ งของงานก่ อ นพิ ม พ์ จะเป็ น - ความถู ก ต้ อ งของเนื อ้ หาข้ อ ความและภาพ - ความถู ก ต้ อ งของขนาด ตาแหน่ งวางตามข้ อ มู ล การผลิ ต ที่ กาหนดไว้ - ความถู ก ต้ อ งในการวางหน้ า เช่ น ระยะเผื่ อ เจี ย น ต้ อ งเพี ย งพอ Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ ปั จจุบันมีการกาหนดมาตรฐานการพิมพ์ เกิดขึน้ ที่ร้ ู จักกันดี ได้ แก่ - ISO (International Standards Organization) - FOGRA/UGRA - GRACOL เป็ นต้ น Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  มาตรฐานการพิ ม พ์ มาตรฐาน ISO (International Standards Organization) เป็ นองค์ ก รระดั บ นานาชาติ ท่ ี ทาหน้ าที่ กาหนดมาตรฐานอุ ต สาหกรรม การกาหนดมาตรฐาน ของอุ ต สาหกรรมใดจะมี ค ณะกรรมการด้ า นเทคนิ ค ที่ มี ความเชี่ ย วชาญเฉพาะทางด้ า นนั ้น ๆ จากประเทศต่ า งๆ ช่ ว ยกั น กาหนดบทบาทของคณะกรรมการ และ ร่ างข้ อ กาหนดในมาตรฐานอุ ต สาหกรรมร่ วมกั น Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ มาตรฐานการพิ ม พ์ มาตรฐานโฟกรา/อู ก รา ที่ กาหนดโดย สถาบั น โฟกรา (FOGRA) แห่ ง ประเทศสหพั น ธ์ สาธารณรั ฐ เยอรมั น นี ร่ วมกั บ สถาบั น อู ก รา (UGRA) แห่ ง ประเทศสวิ ต เซอร์ แลนด์ เพื่อพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ ในการควบคุมมาตรฐานกระบวน การผลิต ตัง้ แต่ การถ่ ายฟิ ล์ ม การทาแม่ พมิ พ์ การทาบรู๊ฟ และ การพิมพ์ โดยเป็ นมาตรฐานที่ยอมรับในประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป และประเทศอื่นๆ Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ มาตรฐานการพิ ม พ์ มาตรฐานกราคอล (the General Requirements for Applications in Commercial Offset Lithography, GRACOL) ได้ จั ด ทาขึ น้ โดยความร่ วมมื อ ขององค์ ก รที่ เรี ย กว่ า สหพั น ธ์ ไ อดี อี (International Digital Enterprise Alliance, Inc., IDEAlliance) มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ใช้ เ ป็ น คาแนะนาในการผลิ ต งานพิ ม พ์ ทั ง้ กระบวนการโดย เน้ นที่ ส่ ิ ง พิ ม พ์ เ ชิ ง พาณิ ช ย์ ใ นระบบการพิ ม พ์ อ อฟเซต Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ มาตรฐานการพิ ม พ์ มาตรฐาน ISO (International Standards Organization) ที่ มี ข้ อ กาหนดเกี่ ย วกั บ คุ ณ ภาพงานก่ อ น พิ ม พ์ มี ห ลายฉบั บ ซึ่ ง กาหนดมาตรฐานตั ง้ แต่ ไ ฟล์ ง าน ก่ อ นพิ ม พ์ กระบวนการผลิ ต งานก่ อ นพิ ม พ์ ใ นขั น้ ตอน ต่ า งๆ วั ส ดุ ง านก่ อ นพิ ม พ์ และเครื่ องมื อ วั ด ในงาน ก่ อ นพิ ม พ์ Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ มาตรฐานการพิม พ์ มาตรฐาน ISO (International Standards Organization) 1. อนุ ก รมมาตรฐาน ISO 12674:2004 2. ISO 12218:1997

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ มาตรฐานการพิ ม พ์ มาตรฐาน ISO (International Standards Organization) 1. อนุ ก รมมาตรฐาน ISO 12674:2004 เป็ นชุ ด มาตรฐานสากลที่ มี ข้ อ กาหนดของการควบคุ ม กระบวนการในการผลิ ต ฟิ ล์ ม แยกสี การทาบรู๊ ฟ และ แผ่ น พิ ม พ์ ของระบบการพิ ม พ์ ต่ า งๆ Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ ISO 12647-1

กาหนดนิยามศัพท์

ISO 12647-2

การพิมพ์ ออฟเซต

ISO 12647-3

การพิมพ์ หนังสือพิมพ์ ด้วยระบบโคลด์ เซต

ISO 12647-4

การพิมพ์ นิตยสารวารสารด้ วยระบบกราวัวร์

ISO 12647-5

การพิมพ์ สกรีน

ISO 12647-6

การพิมพ์ เฟล็กโซกราฟี

ISO 12647-7

การปรู๊ฟดิจทิ ลั Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ มาตรฐานการพิ ม พ์ มาตรฐาน ISO (International Standards Organization) 2. ISO 12218:1997 เป็ นมาตรฐานที่ ค วบคุ ม กระบวนการทาแม่ พิ ม พ์ ตั ง้ แต่ คุ ณ ภาพของฟิ ล์ ม ที่ ใ ช้ แถบควบคุ ม ในการทดสอบค่ า การฉายแสงแม่ พิ ม พ์ การควบคุ ม การฉายแสงบนแม่ พิ ม พ์ และข้ อ จากั ด ของ การผลิ ต Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  ตัวอย่ าง มาตรฐาน ISO 12647-2 เป็ นรหัสมาตรฐานสากล นานาชาติ สาหรั บ ระบบพิมพ์ ออฟเซต เพื่อเป็ นเกณฑ์ ปฏิบัติให้ แก่ ผ้ ูประกอบการพิมพ์ ท่ ัวโลก ให้ มีแนวทาง เหมือนกัน ตัง้ แต่ การแยกสี ถึงการควบคุ มจ่ ายหมึก พิมพ์ บนแท่ นพิมพ์ รวมถึงการกาหนดมาตรฐานหมึกและ กระดาษพิมพ์ รวมอยู่ด้วย Printing Technology for Journalism


มาตรฐาน ISO 12647-2 การพิ ม พ์ อ อฟเซต 1.ขั น้ ตอนแยกสี - ระบุ ค่ า ความดาไม่ น้ อยกว่ า 3.5 และส่ ว นใส ไม่ เ กิ น 0.10 โดยใช้ เ ครื่ อง UV transmission densitometer - UCR, GCR ระบุ % TIC (Total ink component) ควรมี ค่ า 350% sheet fedและ300% web fed

Printing Technology for Journalism


มาตรฐาน ISO 12647-2 การพิ ม พ์ อ อฟเซต 1.ขั น้ ตอนแยกสี - หน้ าจอมอนิ เ ตอร์ (Monitor) ของเครื่ องคอมพิ ว พเตอร์ ควรมี ก ารแคลิ เ บรท(Calibrate) เพื่ อ ให้ ค่ า สี แ สดงผลบนจอ ถู ก ต้ อ ง โดยใช้ อุ ป กรณ์ Ugra display analysis and certification tool (UDACT) ตามมาตรฐาน ISO12646 เพื่ อ ให้ สามารถตรวจปรู๊ ฟบนจอภาพได้ ห รื อ ที่ เ รี ย กว่ า Soft proof อี ก ทั ง้ ยั ง มี อุ ป กรณ์ สาหรั บ แคลิ เ บรทหน้ าจอคื อ X-Rite Display II Display Mesuring Device Printing Technology for Journalism


มาตรฐาน ISO 12647-2 การพิ ม พ์ อ อฟเซต

Printing Technology for Journalism


มาตรฐาน ISO 12647-2 การพิ ม พ์ อ อฟเซต 2.การทาแม่ พิ ม พ์ ปั จจุ บั น Fogra และ Ugra ในประเทศเยอรมั น และ สวิ ส เซอร์ แลนด์ ไ ด้ ทาการวิ จั ย และพั ฒ นามาตรฐานการพิ ม พ์ มากขึ น้ จนสาเร็ จ ในการนาเสนอแถบควบคุ ม ใหม่ คื อ Ugra Plate control wedge 1982 สาหรั บ ควบคุ ม ฉายแสงอั ด เพลท ออฟเซท Printing Technology for Journalism


มาตรฐาน ISO 12647-2 การพิ ม พ์ อ อฟเซต 2.การทาแม่ พิ ม พ์ ส่ วนสาหรั บควบคุ มถ่ ายแม่ พิมพ์ ออฟเซทจากเครื่ อง CTP คือ UGRA/FOGRA Digital Plate control wedge โดยแถบควบคุ ม UGRA มี ข้ อ ดี คื อ ช่ ว ยให้ ช่ า งพิ ม พ์ สามารถวิ เ คราะห์ ก ารเกิ ด เม็ ด สกรี น บวมได้ ตั ง้ แต่ Hilight ถึ ง Shadow ซึ่ ง ได้ รั บ ความนิ ย มมาก จนกลายเป็ นแถบควบคุ ม มาตรฐานที่ ใ ช้ กั น ทั่ วโลกทุ ก วั น นี ้ Printing Technology for Journalism


มาตรฐาน ISO 12647-2 การพิ ม พ์ อ อฟเซต  3.ปรู๊ ฟ ขั น้ ตอนการทาปรู๊ ฟมี ค วามสาคั ญ มาก เพราะเป็ นงานที่ ลู ก ค้ า เห็ น ก่ อนล่ วงหน้ า ซึ่ ง หากควบคุ ม ไม่ ดี อาจต้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยและเสี ย เวลาในการแก้ ไ ข ดั ง นั ้น ช่ างปรู๊ ฟเองควรมี ค วามรอบคอบและ ตรวจสอบ ขั น้ ตอนอย่ า งมี ร ะบบก่ อนส่ งให้ ลู ก ค้ า ตรวจสอบ อาทิ เ ช่ น 1. ตรวจสอบว่ า มี ก ารบั น ทึ ก ค่ า ความดาพื น้ ตายและ ค่ า เม็ ด สกรี น บวมบนแผ่ นปรู๊ ฟหรื อ ไม่ และอยู่ ใ นมาตรฐาน หรื อ ไม่ Printing Technology for Journalism


มาตรฐาน ISO 12647-2 การพิ ม พ์ อ อฟเซต 3.ปรู๊ ฟ 2. ตรวจสอบแถบควบคุ ม ที่ ใ ช้ ไม่ ว่ า จะเป็ น Brunner , UGRA, FOGRA เป็ นฟิ ล์ มต้ น ฉบั บ มาจากบริ ษั ท ผู้ ผลิ ต หรื อ ไม่ 3. ตรวจสอบว่ า พบ มั ว เร่ หรื อ ลายเสื่ อ หรื อ ไม่ 4. ตรวจสอบว่าแม่พิ ม พ์ได้ รั บ การฉายแสงถู ก ต้ อ ง 5. วั ส ดุ ท่ ี ใ ช้ พิ ม พ์ ป รู๊ ฟควรมี ค วามขาวและความเรี ย บเท่ า กั บ วั ส ดุ ท่ ี ใ ช้ จริ ง 6. ตรวจสอบหลอดไฟของโต๊ ะ ไฟว่าให้ อุ ณ หภู มิ สี เ ท่ า กั บ 5000 o K หรื อ ไม่ โดยใช้ ugra light indicator หากหลอดไฟให้ ค่ า อุ ณ หภู มิ สี เ ท่ า กั บ 5000 o K Printing Technology for Journalism


มาตรฐาน ISO 12647-2 การพิ ม พ์ อ อฟเซต จะแสดงผลดั ง ภาพ A แต่ ห ากหลอดไฟหมดอายุ ห รื อ เสื่ อ มสภาพแล้ วจะแสดงผลดั ง ภาพ B

Printing Technology for Journalism


มาตรฐาน ISO 12647-2 การพิ ม พ์ อ อฟเซต 4.พิ ม พ์ 1.ทดสอบการแห้ ง ตั ว ของหมึ ก พิ ม พ์ โ ดยใช้ อุ ป กรณ์ Abrasion tester

Printing Technology for Journalism


มาตรฐาน ISO 12647-2 การพิ ม พ์ อ อฟเซต การลงทุ น เป็ นสิ่ ง จาเป็ นเมื่ อ ลองพิ จ ารณาเที ย บกั บ ปริ ม าณงานสู ญ เสี ย ที่ เ กิ ด ขึ น้ ซึ่ ง อาจมากกว่ า การลงทุ น ทา มาตรฐาน เสี ย อี ก การทามาตรฐานการพิ ม พ์ จ ะช่ ว ยให้ ร ะบบงานคล่ อ งตั ว และมี ค วามถู ก ต้ อ งมากขึ น้ ซึ่ ง จะช่ วยในการเลื อ กใช้ วั ส ดุ พิ ม พ์ เช่ น หมึ ก พิ ม พ์ ,กระดาษพิ ม พ์ , แม่ พิ ม พ์ รวมถึ ง การตั ง้ เครื่ องพิ ม พ์ แ ละจ่ า ยหมึ ก ที่ เ หมาะสม แต่ ส่ ิ ง ที่ ห ลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ คื อ อุ ป กรณ์ Printing Technology for Journalism


มาตรฐาน ISO 12647-2 การพิ ม พ์ อ อฟเซต เครื่ องมื อ ที่ ช่ วยในการตรวจสอบ ได้ แ ก่ เครื่ องวั ด ความดา(Densitometer) เครื อ งวั ด สี ( Spectrophotometer) แถบควบคุ ม มาตรฐานแบบต่ า ง ๆ เช่ น UGRA, FOGRA , Brunner กล้ องขยาย โต๊ ะ ไฟตรวจงานพิ ม พ์ ม าตรฐาน Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  ข้ อกาหนดมาตรฐาน ISO 12647-2 สาหรั บระบบ พิมพ์ ออฟเซต พบว่ า อาจนาไปปฏิบัติจริ งไม่ ได้ สาหรั บโรงพิมพ์ บางแห่ งที่ยังไม่ พร้ อม เนื่ องจาก ข้ อจากัด ของ - อุปกรณ์ - วัสดุพิมพ์ ท่ ีใช้ Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  แต่ อย่ างไรก็ตามผู้ประกอบการเหล่ านั น้ ยังสามารถ สร้ างมาตรฐานงานพิมพ์ ได้ เอง เรี ยกว่ า มาตรฐานเฉพาะ โรงพิมพ์ (In-house standard) ในขณะที่ถ้าข้ อกาหนด ดังกล่ าวเป็ นที่ยอมรั บกันทั่วๆไป สามารถนาไปใช้ ปฏิบัติงานที่แห่ งอื่นได้ ด้วย จะทาให้ มาตรฐานการพิม พ์ ที่ได้ นีเ้ ปลี่ยนสภาพเป็ น มาตรฐานระดับชาติ ( National standard) เช่ น มาตรฐานการพิมพ์ ไทย เป็ นต้ น Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ Press Proof มี ก ารปรู๊ ฟจากแท่ น ปรู๊ ฟ หรื อ แท่ น พิ ม พ์ ใช้ เ พลท และหมึ ก พิ ม พ์ ท่ ี กาหนดสาหรั บ การพิ ม พ์ ง านจริ ง Press Proof ใช้ สาหรั บ ตรวจสอบ - รู ป ภาพ - ค่ า นา้ หนั ก สี ข องภาพ - สี - การวางจั ด หน้ ายกพิ ม พ์ Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ มาตรฐานการทาดิ จิ ต อลปรู๊ ฟ Digital Proof เป็ นวิ ธี ก ารปรู๊ ฟสี ใ นขั น้ ตอนของ การเตรี ย มพิ ม พ์ ซึ่ ง มี ก ารพิ ม พ์ ง านจากไฟล์ ดิ จิ ทั ล โดยใช้ เ ครื่ องพิ ม พ์ ink-jet, color laser Digital Proof สามารถที่ จ ะผลิ ต งานได้ บ่ อ ยครั ้ง บนกระดาษที่ ใ ช้ พิ ม พ์ จ ริ ง หรื อ กระดาษปรู๊ ฟ งานสามารถ เพิ่ ม องค์ ป ระกอบอื่ น ๆ เพื่ อ ความถู ก ต้ อ ง Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  ระบบ Digital Proof Digital Halftone Proofing Systems Kodak-Approval, Creo-Spectrum, Fuji-Finalproof ข้ อ ดี : - เร็ ว กว่ า การปรู๊ ฟ analog - ไม่ ต้ อ งใช้ Film - สามารถดู เ ม็ ด สกรี น Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  ระบบ Digital Proof Digital Halftone Proofing Systems Kodak-Approval, Creo-Spectrum, Fuji-Finalproof ข้ อ เสี ย : - ราคาแพง: ทั ง้ ฮาร์ ดแวร์ และวั ส ดุ สิ น้ เปลื อ ง - การปรู๊ ฟใช้ ICC profiles ไม่ ได้ - หมึ ก 100% ที่ มี ก าร trap ใช้ จาลองกั บ การพิ ม พ์ ได้ ไ ม่ ดี Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ ISO 12647-7 (Digital Proofing) Off-press proofing processes working directly from digital data กระบวนการปรู๊ ฟงานแบบไม่ ไ ด้ ใ ช้ แ ท่ น พิ ม พ์ ทางานโดยตรงจากไฟล์ ข้ อ มู ล ดิ จิ ทั ล จาลอง halftone และ continuous-tone ของกระบวนการพิ ม พ์ ค วามถี่ สกรี น , มุ ม สกรี น , รู ป ร่ างเม็ ด สกรี น และต้ อ งมี ความสั ม พั น ธ์ กั น กั บ ค่ า Tone Value Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ ไฟล์ ม าตรฐานที่ ใ ช้ ใ นการจั ด ส่ ง ยอมรั บ รู ป แบบ ไฟล์ 2 แบบ คื อ 1. ไฟล์ PDF/X ตามมาตรฐาน ISO 15930 2. ไฟล์ TIFF/IT ตามมาตรฐาน ISO 12639

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  ISO 12647-7 (Digital Proofing) สี และความเงา ของวั ส ดุ พิ ม พ์ ดิ จิ ทั ล ปรู๊ ฟ - ควรเป็ นวั ส ดุ เ ดี ย วกั บ ที่ ใ ช้ ใ นการผลิ ต จริ ง - ถ้ า ทาไม่ ไ ด้ วั ส ดุ นั ้น ควรมี ค่ า ความเงา (Gloss) และ ค่ า สี CIELab ต้ อ งมี ค่ า ตามเกณฑ์ ท่ ี ย อมรั บ ของวั ส ดุ ป รู๊ ฟ ที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ พิ ม พ์ - วั ส ดุ พิ ม พ์ กั บ วั ส ดุ ป รู๊ ฟต้ อ งมี ค่ า ตอบสนองต่ อ แสง UV ในสภาพการวั ด ที่ กาหนดใกล้ เ คี ย งกั น Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  การตรวจวั ด เพื่ อ ยื น ยั น ความถู ก ต้ อ ง ซอฟต์ แ วร์ ดิ จิ ทั ล รุ่ นใหม่ ๆ มี ก ารเพิ่ ม ข้ อมู ล หรื อ ฟั งก์ ช่ ั น เพื่ อ ใช้ ง าน และตรวจเช็ ค ให้ ไ ด้ ต ามค่ า การยอมรั บ ของ ISO 12647-7 เพื่ อ ยื น ยั น ความถู ก ต้ อ ง ICC profiles สาหรั บ การพิ ม พ์ อ อฟเซ็ ท - ISOcoated_v2eci.icc, ISOcoated_v2_300_eci.icc -ทั ง้ 2 profiles อ้ า งอิ ง ข้ อ มู ล ลั ก ษณะการพิ ม พ์ ออฟเซ็ ท Fogra 39 - ซึ่ ง มี ก ารลดพื น้ ที่ พิ ม พ์ สี ร วม จาก 350% ไปเป็ น 330%/300% Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  การตรวจวั ด เพื่ อ ยื น ยั น ความถู ก ต้ อง

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  การตรวจวั ด เพื่ อ ยื น ยั น ความถู ก ต้ อง บรรจุ ฟั งก์ ชั่ นเพื่ อ ใช้ พิ สู จ น์ ความจริ ง ของสี เช่ น Color Verifier ของ EFI

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  การตรวจวั ด เพื่ อ ยื น ยั น ความถู ก ต้ อ ง บรรจุ MediaWedge เพื่ อ ใช้ พิ สู จ น์ ความจริ ง ของสี Ugra/Fogra Media Wedge

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  การตรวจวั ด เพื่ อ ยื น ยั น ความถู ก ต้ อ ง บรรจุ MediaWedge เพื่ อ ใช้ พิสู จ น์ ความจริ ง ของสี proofSIGN ISO 12647-7

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  สิ่ ง ที่ จาเป็ นสาหรั บ ISO 12647-7 (Digital Proofing) ทั ง้ ตั๋ วงาน และระเบี ย บการที่ จาเป็ นต้ องมี ดั ง รายละเอี ย ด ต่ อ ไปนี ้ - ชื่ อ ระบบการปรู๊ ฟ (ชื่ อ ของซอฟต์ แ วร์ ) - ชนิ ด สี ท่ ี ใ ช้ (pigment หรื อ dye) - ชนิ ด ของวั ส ดุ พิ ม พ์ (กระดาษสาหรั บ ดิ จิ ทั ล ปรู๊ ฟ เช่ น Semi-Glossy, Coated Paper)

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  สิ่ ง ที่ จาเป็ นสาหรั บ ISO 12647-7 (Digital Proofing) - วั น ที่ และเวลา - เงื่ อ นไขของการพิ ม พ์ เพื่ อ ใช้ เ ป็ นข้ อ มู ล ในการจาลอง หรื อ ลอกเลี ย นแบบการพิ ม พ์ - โปร์ ไฟล์ ร ะบบการจั ด การสี ท่ ี ใ ช้

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  สิ่ ง ที่ จาเป็ นสาหรั บ ISO 12647-7 (Digital Proofing) Characterization target ใหม่ - แนะนาให้ ใ ช้ IT8.7/4 เป็ นตารางเพื่ อ หาคุ ณ ลั ก ษณะ ของสี การวิ เ คราะห์ เ กณฑ์ Delta E, Delta H, Delta T เกณฑ์ ก ารเช็ ค ใหม่ สาหรั บ Ugra/Fogra Media Wedge และ Profiling Chart (IT8.7/4) Printing Technology for Journalism


IT8.7/4 เป็ นตารางเพื่ อ หาคุ ณ ลั ก ษณะของสี

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ สิ่ ง ที่ จาเป็ นสาหรั บ ISO 12647-7 (Digital Proofing)

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  พิ ม พ์ ข้ อมู ล การตรวจพิ สู จ น์ สี ดิ จิ ทั ล ปรู๊ ฟ

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ การกาหนดโพรไฟล์ (profile) แทนข้ อ มู ล เหล่ า นี ้ ได้ แ ก่ - ชนิ ด วั ส ดุ ใ ช้ พิ ม พ์ ท่ ี ใ ช้ ได้ แ ก่ กระดาษพิ ม พ์ และ หมึ ก พิ ม พ์ - ค่ า เม็ ด สกรี น บวมของระบบการพิ ม พ์ นั ้น ๆ - การกาหนดปริ ม าณ UCR/GCR - ลั ก ษณะแม่ พิ ม พ์ ดา - ค่ า ปริ ม าณหมึ ก พิ ม พ์ ร วมและหมึ ก พิ ม พ์ ดาใน บริ เ วณเงา (total ink limit/black ink) - สมดุ ล เทา

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์  UCR/GCR  UCR under colour removal  GCR Gray component replacement

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ การสร้ างมาตรฐานการพิ ม พ์ จะได้ ผ ลสาเร็ จ และ นาไปปฏิ บั ติ จ ริ ง ๆได้ จะต้ อ งได้ รั บ ความร่ วมมื อ หลายฝ่ าย ได้ แ ก่ - เจ้ า ของกิ จ การ - ผู้ บ ริ ห าร - ผู้ จั ด การในระดั บ ต่ า งๆ ช่ า งพิ ม พ์ ช่ า งศิ ล ป์ นั ก ออกแบบ ช่ า งแยกสี ฝ่ ายควบคุ ม คุ ณ ภาพ

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ รวมทั ง้ ผู้ ผ ลิ ต และผู้ แ ทนจาหน่ า ยวั ส ดุ ทางการพิม พ์ เช่ น - หมึ ก พิม พ์ - กระดาษพิม พ์ - นา้ ยาเฟาว์ เ ทน - ผ้ า ยาง - แม่ พิม พ์ เป็ นต้ น Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ โดยให้ มี ก ารแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล กั น มากที่ สุ ด ทางาน เกื อ้ กู ล กั น ในลั ก ษณะ โซ่ อุ ป ทาน (supply chain) วิ ธี ก ารนี ้ จะช่ ว ยให้ ก ารเลื อ กใช้ วั ส ดุ พิ ม พ์ มี ม าตรฐานมากขึ น้ ได้ คุ ณ ลั ก ษณะตามที่ ต้ อ งการ โดยเฉพาะกระดาษพิ ม พ์ แ ละ หมึ ก พิ ม พ์

Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ การพิ ม พ์ เ พื่ อ มาตรฐาน - ทาให้ ก ารสื่ อ สารในเรื่ องสี ดี ขึ น้ ประโยชน์ ทางด้ า นคุ ณ ภาพ - มี ค วามเหมื อ นกั น ระหว่ า งปรู๊ ฟ และงานพิ ม พ์ - สร้ างภาพลั ก ษณ์ ของโรงพิ ม พ์ - ทาให้ ลู ก ค้ า พึ ง พอใจ ลดการสู ญ เสี ย - เวลาที่ ใ ช้ ใ นการผลิ ต - วั ส ดุ ก ารพิ ม พ์ Printing Technology for Journalism


มาตรฐานการพิมพ์ ประโยชน์ ม าตรฐานการพิม พ์ ผู้ซอื ้ งานพิมพ์ ความสามารถคาดการณ์ ได้

โรงพิมพ์ ลดการเสริมแต่ งในการพิมพ์

ความถูกต้ องโดยตรวจสอบได้ จากการปรู๊ ฟ ความรวดเร็วในการผลิตงานพิมพ์

ความประหลาดใจ หรื อแปลกใจ ลดน้ อยลง ลดการสูญเสีย ความสอดคล้ องกัน

เพิ่มผลกาไร

ทาให้ การสื่อสารดีขนึ ้

มีการควบคุมมากขึน้ Printing Technology for Journalism


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.