Design Manual Scala

Page 1

DESIGN MANUAL คู่มือประกอบการออกแบบ 1


2


DESIGN MANUAL คู่มือประกอบการออกแบบสำ�หรับ สกาล่า 04540086 น.ส. ลัดดาวัลย์ เตยะราชกุล 3


4


CONTENT สารบัญ

PROJECT BACKGROUND

7

GRAPHIC & ENVIRONMENT

TRADEMARK

9

color usage

12

single color trademark

12

TYPEFACES USAGE

13

DISPLAYS & MISCELLENEOUS

19

ticket booth & snack corner

20

coming attraction board

22

ticket

23

collective card

24

uniform

25

main entrance

26

27

MEDIA & EVENT

WEBSITE

28

APPLICATION

29

EVENTS

30

POSTERS

31


6


PROJECT BACKGROUND ที่มาของโครงการ

ที่มาของโครงการ

“MODERN

VINTAGE”

โรงภาพยนต์สกาล่านั้นเดิมทีเป็นโรงภาพยนต์ในเครือของโรงภาพยนต์ “เอเพ็กซ์“ ซึ่งประกอบไปด้วยโรงภายนต์ 4 โรง ได้แก่ โรงภาพยนต์ลิโด้ 1-3 และโรงภายนต์สกาล่า ซึ่ง โรงภาพยนต์เครือเอเพ็กซ์นั้นมีประวัติศาสตร์อันเก่าแก่และยาวนาน และยังคงกลิ่นอายของ ยุคสมัยเก่าไว้ โดยไม่ได้มีการปรับปรุงใดๆ แต่ล่าสุดโรงภาพยนต์ลิโด้หมดสัญญากับทางจุฬา ลงแล้ว และกำ�ลังจะถูกปิดตัวลง ก็จะเหลือแต่เพียงโรงถายนต์สกาล่า ซึ่งอยู่ห่างออกไปเพียง เมตร ซึ่งโรงภาพยนต์สกาล่านั้น โด่งดังด้วยสถาปัตยกรรมอันสวยงาม รวมถึงได้รางวล สถาปัตยกรรม ได้รับรางวัล “อนุรักษ์สถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำ�ปี2555 ประเภทอาคาร พาณิชย์” อีกด้วย จึงสมควรแก่การอนุรักษ์ไว้ แต่แล้วด้วยความถูกของบัตร และการที่ไม่ ได้ปรับปรุง ทำ�ให้สภาพแวดล้อม ภายในดูไม่สวยงาม และไม่ได้เอาใจใส่เท่าที่ควร จึงอยากจะ ปรับปรุงภาพลักษณ์ขององค์กรให้เหมาะสม สวยงามมากขึ้น เพื่อที่จะ สามารถเพิ่มมูลค่าของ โรงภาพยนต์ และจำ�นวนลูกค้าได้ต่อไปภายในอนาคต จึงได้ที่มาของคอนเซ็ป “ใหม่อย่างเก่า“ เพื่ออนุรักษ์ความเก่าและสวยงามของภาพยนต์ไว้ แต่ปรับบางส่วนให้ดูใหม่ขึ้นเพื่อเพิ่มมูลค่า โดยได้แรงบันดาลใจในการพัฒนาองค์กรครั้งนี้จากศิลปะในรูปแบบอาร์ตเดโค่

DESIGN BRIEF

ข้อมูลองค์กร (Backgroud) - ภาพยนต์สกาล่าเป็นโรงภาพยนต์ในเครือของเอเพ็กซ์

- เปิดฉายเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2512 - มีสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก ที่สวยงามโดดเด่น ผสมผสานระหว่าง รูปแบบตะวันตก และ ตะวันออก ความจุ 1,000 ที่นั่ง ข้อดี - จอฉายหนังมีขนาดใหญ่กว่าโรงภาพยนต์ทั่วไป - ราคา 100 บาททุกรอบฉาย ทุกที่นั่ง - ระบบดิจิตอล มีความคมชัด ได้มาตรฐานเท่าโรงภาพยนต์ทั่วไป ข้อเสีย - สภาพโรงภาพยนต์ไม่ได้รับการปรับปรุง แม้จะสะอาดแต่ดูเก่าและไม่น่าใช้บริการ - ดูเก่าทำ�ให้ลูกค้าที่ไม่เคยมาใช้บริการไม่คิดจะเข้ามาใช้บริการ

7


ปัญหาการออกแบบ (Problems) โรงภาพยนต์สกาล่าเป็นโรงภายนต์เปิดให้บริการมานาน ด้วยสถาปัตยกรรมที่สวยงาม และฉาย ภาพยนต์ที่ได้คุณภาพด้วยราคาที่ถูกมาก แต่ปัญหาคือสถานที่แม้จะดูแลความสะอาดเป็นอย่างดี แต่ไม่ได้ รับการปรับปรุงและออกแบบให้ดูใหม่ขึ้นและสวยงาม ภายในจึงดูมืดสลัว เก่า และไม่น่าเข้าไปใช้บริการ ทำ� ให้ลูกค้าใหม่หลายคนไม่กล้าเข้ามาใช้บริการ และเลือกที่จะไปใช้บริการโรงภาพยนต์ตามห้างสรรพสินค้า แทน

ภาพโรงภาพยนต์สกาล่าอดีตและปัจจุบัน ซึ่งไม่ได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใดๆทั้งสิ้น

วัตถุประสงค์ของการออกแบบ (Objective) 1. ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมภายใน ไม่ว่าจะเป็นบัตรชมภาพยนต์ บูธขายขนมและขายบัตร ด้านหน้า ทางเข้า ให้สวยงาม และมีราคามากขึ้น 2. เพื่อให้มีลูกค้าใหม่เข้ามาชมภาพยนต์มากขึ้น 3. เพิ่มอีเวนท์พิเศษในการฉายภาพยนต์เข้าไป เพื่อตอบสนอง และการรองรับลูกค้าที่เป็น คอ ภาพยนต์ได้มากขึ้น กลุ่มเป้าหมาย (Target Group) - ผู้ชมทุกเพศทุกวัย แต่เน้นวัยรุ่นเป็นต้นไป - เป็นคอภาพยนต์ ชื่นชอบในการดูภาพยนต์ที่มีคุณภาพ และภาพยนต์นอกกระแส แนวทางการพัฒนา พัฒนากราฟฟิค และสิ่งแวดล้อมภายในโรงภาพยนต์ ให้เข้ากับสถาปัตยกรรมที่สวยงาม เพื่อให้ ลูกค้าใหม่เชื่อมั่นที่จะเข้ามาใช้บริการ และรองรับคอภาพยนต์มากขึ้นด้วยการจัดอีเวนท์พิเศษขึ้นในบาง อาทิตย์

8


TRADEMARK ตราสัญลักษณ์


10


TRADEMARK ตราสัญลักษณ์

การปรับปรุงตราสัญลักษณ์ ในส่วนของตราสัญลักษณ์นั้นได้ปรับปรุงให้เข้ากับคอนเซ็ป “Modern Vintage“ โดยยึดแรงบันดาลใจ จากศิลปะในรูปแบบอาร์ตเดโค่ และเนื่องจากโรงภาพยนต์สกาล่ามีความโดดเด่นในด้านสถาปัตยกรรม จึงเลือก หน้าต่างของโรงภาพยนต์มาตัดทอนให้กลายเป็นตราสัญลักษณ์อันใหม่ และใช้รูปแบบของตัวอักษรที่ดัดเอง โดย อิงรูปแบบตัวอักษรที่นิยมใช้กันในรูปแบบศิลปะของอาร์ตเดโค่ โดยใช้ตัวอักษรที่ผอมบาง และสูง เพื่อให้เข้ากับคอน เซ็ปสมัยใหม่ด้วยนั่นเอง

ตราสัญลักษณ์แบบเก่าของเครือเอเพ็กซ์

การใช้ตัวอักษรในตราสัญลักษณ์ ในส่วนของสโลแกน “Finest Movies“ ได้ใช้รูปแบบตัวอักษร “Orator Std“ ในรูปแบบเฉียง (Slanted)

11


COLOR USAGE

การใช้สี

สีของตราสัญลักษณ์

สีของพื้นหลัง

PRINT

4 - Color process

C 0% M 0% Y 0% K 100%

C 0% M 10% Y 95% K 0%

SCREEN

RGB

R 0% G 0% B 0%

R G B

USAGE

COLOR FOMAT

COLOR

SINGLE COLOR TRADEMARKS

ตราสินค้าชนิดสีเดียว

255% 222% 21%

ตราสินค้าชนิดเดียวสามารถนำ�ไปใช้ได้ทั้งสองแบบ แบบซ้ายคือแบบปรับเป็นสีเดียวจากพื้นหลังที่เป็นสี เหลือง กับทางขวาซึ่งเป็นตราสินค้าเดี่ยวๆ ซึ่งเหมาะแก่การนำ�ไปใช้งานต่อๆไปมากกว่าแบบซ้าย

12


TYPEFACES USAGE การใช้รูป แบบตัว อักษร


TYPEFACES USAGE การใช้รูปแบบตัวอักษร

การใช้รูปแบบตัวอักษรของการออกแบบนี้ใช้อยู่ 5 รูปแบบ ภาษาอังกฤษได้แก่ Century Gothic, Futura ในส่วน ของหัวข้อ และ Calibri, Orator Std ในส่วนของเนื้อหา เป็น ส่วนภาษาไทยใช้ UPC-Jasmine หัวข้อใหญ่ใช้ Futura Condensed Medium

หัวข้อใหญ่ใช้ Futura Medium Italic

ตัวเนื้อหาใช้ Calibri และ UPC-Jasmine

หัวข้อสำ�หรับสถานที่ใช้ Century Gothic Bold Italic

รายละเอียดภาพยนต์ใช้ Century Gothic

รายละเอียดบัตรใช้ Orator Std

14


FUTURA

รูปแบบตัวอักษรตระกูล Futura

ตัวอักษรตระกูล Futura ใช้สำ�หรับหัวข้อต่างๆ เนื่องจากมีความผอมสูง คล้ายกับตัวอักษรที่ออกแบบ สำ�หรับโลโก้ จึงสามารถเข้ากับมู้ดแอนด์โทนของงานได้เป็นอย่างดี

Condensed Medium

A

B

C

D

E

F

G

H

I

J

K

L

M

N

O

P

Q

R

S

T

V

X

Y

Z

a

b

c

d

e

f

g

h

i

j

k

l

m

n

o

p

q

r

s

t

u

v

w

x

y

z

G S

H T

I V

J X

K Y

L Z

i

j

k

l

m

w

x

y

z

Medium Italic

A M

B N

C O

D P

E Q

F R

a

b

c

d

e

f

g

n

o

p

q

r

s

t

15

h u

v


CENTURY GOTHIC

รูปแบบตัวอักษรตระกูล Century Gothic

ตัวอักษรตระกูล Futura ใช้สำ�หรับป้าย และข้อมูลสำ�คัญต่างๆ เนื่องจากมีขนาดใหญ่ อ่านได้ชัด และยังมี ความคล้ายคลึงกับรูปแบบอักษรสมัยยุคอาร์ตเดโค่อีกด้วย

Regular

A

B

C

D

E

F

G

H

M

N

O

P

Q

R

S

T

a

b

c

d

e

n

o

p

q

r

f

g

s

t

I

J

K

L

V

X

Y

Z

j

k

l

m

w

x

y

z

H I T V

J X

K Y

L Z

i

j

k

l

m

w

x

y

h u

i v

Bold Italic

A M

B N

C O

D P

E Q

a

b

c

d

e

n

o

p

q

r

F R

f s

G S

g t

16

h u

v

z


ORATOR STD

รูปแบบตัวอักษรตระกูล Orator Std

ใช้ตัวอักษรประเภทนี้ในส่วนของเนื้อหาที่มีไม่เยอะมาก เช่นรายละเอียดของบัตร หรือรายระเอียดของรอบ ฉายภาพยนต์ เนื่องจากเป็นตัวอักษรที่ได้อารมณ์มู้ดแอนด์โทนกับงานเป็นอย่างดี แต่ไม่เหมาะกับเนื้อหา จำ�นวนมาก เพราะตัวอักษรพิมพ์เล็กเป็นรูปแบบที่เหมือนอักษรพิมพ์ใหญ่ จึงอ่านยากและไม่สวยงาม

Medium

A

B

C

D

E

F

G

H

I

J

K

L

M

N

O

P

Q

R

S

T

V

X

Y

Z

a

b

c

d

e

f

g

h

i

j

k

l

m

n

o

p

q

r

s

t

u

v

w

x

y

z

K Y

L Z

Slanted

A M

B N

C O

D P

E Q

F R

G S

a

b

c

d

e

f

g

h

i

j

k

l

m

n

o

p

q

r

s

t

u

v

w

x

y

z

17

H T

I V

J X


CALIBRI

รูปแบบตัวอักษรตระกูล Calibri

ตัวอักษรตระกูล Calibri ใช้กับเนื้อหาในงานออกแบบชิ้น เนื่องจากอ่านง่าย และสบายตาเมื่อนำ�มาใช้ในส่วนที ่ มีเนื้อหาจำ�นวนมาก เช่นรายละเอียดของภาพยนต์ในเว็บไซต์

Regular

A

B

C

D

E

F

G

H

I

J

K

L

M

N

O

P

Q

R

S

T

V

X

Y

Z

a

b

c

d

e

f

g

i

j

k

l

m

n

o

p

q

r

s

t

v

w

x

y

z

UPC - JASMINE

รูปแบบตัวอักษรตระกูล UPC-Jasmine

h u

ตัวอักษรตระกูล UPC-Jasmine ใช้กับเนื้อหาภาษาไทยในงาน เนื่องจากเป็นตัวอักษรแบบเกือบไร้หัว และง่าย ต่อการอ่าน รูปแบบคล้ายกับภาษาอังกฤษ ง่ายต่อการนำ�ไปใช้ในหลายรูปแบบ

18


DISPLAYS & MISCELLANEOUS ดิสเพลย์และอื่นๆ


DISPLAYS ดิสเพลย์

TICKET BOOTH & SNACK CORNER

จุดขายบัตรและมุมขายของว่าง บริเวณจุดขายบัตรภาพยนต์และมุมขายของว่างจะอยู่ติดกัน และเป็นโต๊ะหินขนาดใหญ่ ซึ่งไม่จำ�เป็นต้องไป เปลี่ยนแปลงอะไร แต่มีตำ�แหน่งวางที่ไม่เด่นสะดุดตา จึงออกแบบเพิ่มป้ายติดไฟเข้าไป ซึ่งจะนำ�ไปติดในบริเวณเสา หรือกำ�แพงด้านหลังเพื่อให้เป็นที่สะดุดตา และสามารถเรียกลูกค้าได้มากขึ้น

บริเวณขายบัตรและมุมขายของว่าง

ลักษณะของป้ายที่จะนำ�ไปติด ข้างต้าย Box Office จะมีป้าย บอกรอบภาพยนต์ที่ฉายวันนั้นด้วย

Mock-Up

20


นอกจากนี้ยังมีการปรับเปลี่ยนตู้ป๊อบคอร์นให้เหมาะสมกับยุคสมัยเก่ามากขึ้นโดยสามารถดัดแปลงจากตู้ ของปัจจุบันได้เลย และออกแบบซองใส่ป๊อบคอร์นเพิ่มเติมด้วย

ตู้ป๊อบคอร์น

USAGE

ซองป๊อบคอร์น

สีของป้าย

COLOR FOMAT

สีของแถบตู้

สีของแถบซอง

สีของแถบ

C 12.24% M 20.08% Y 67.56% K 0%

C 1.27% M 3.11% Y 52.72% K 0%

C 0% M 0% Y 0% K 0%

R G B

R G B

R G B

COLOR

PRINT

4 - Color process

C M Y K

65.69% 61.45% 62.23% 50.85%

SCREEN

RGB

R G B

63% 60% 58%

Mock-Up

21

226% 195% 121%

252% 238% 157%

255% 255% 255%


COMING ATTRACTION BOARD

บอร์ดติดภาพยนต์ที่หน้าสนใจ บริเวณจุดหน้าโรงภาพยนต์จะมีบอร์ดไว้ติดโปสเตอร์ภาพยนต์ที่หน้าสนใจและกำ�ลังจะเข้าโรงฉายอยู่ ซึ่ง ป้ายเหล่านั้นใช้ไฟนีออนหลายสี ทำ�ให้ดูฉูดฉาดทำ�ลายความงามของสถานที่ ไม่สวยงาม และไม่เชิญชวนให้ผู้คนเข้าไป ดู จึงได้มีแนวคิดจะปรับปรุงป้ายด้านบนให้สวยงามและเข้าคอนเซ็ปที่วางไว้

บอร์ดแบบปัจจุบันที่ติดไฟนีออนสีแสบตาไว้อย่างไรประโยชน์

ปรับปรุงโดยการเปลี่ยนรูปแบบของป้ายด้านบนใหม่ให้สวยงามและสบายตามากขึ้น

22


MISCELLANEOUS อื่นๆ

TICKET

บัตรชมภาพยนต์ บัตรชมภาพยนต์เดิมนั้นมีรูปแบบที่เรียกว่าไม่ได้รับการออกแบบเลยก็ว่าได้ มีสีและการออกแบบที่ไม่ สวยงาม และไม่เหมาะแก่สถานที่ซึ่งมีความสวยงาม จึงออกแบบใหม่ โดยยังเป็นรูปแบบการฉีกบัตรที่ประตูทางเข้า อยู่ แต่มีการดัดแปลงรูปทรงของบัตรให้เป็นทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีทรงแนวนอนที่ยาว ซึ่งเป็นรูปแบบของบัตรตะ วันตกสมัยก่อน เพื่อให้เข้ากับลักษณะของสถาปัตยกรรม และให้ความรู้สึกสูงยาวเข้ากับลักษณะของตราสัญลักษณ์ แบบใหม่ที่ออกแบบมา

บัตรภาพยนต์ที่ออกแบบใหม่

บัตรชมภาพยนต์แบบปัจจุบนั

Mock-Up บัตรภาพยนต์ที่ออกแบบใหม่

23


COLLECTIVE CARD

บัตรสะสมรอบชม โรงภาพยนต์สกาล่าแห่งนี้มีบริการสะสมรอบชมภาพยนต์สำ�หรับผู้มารับชมภาพยนต์ด้วย นั่นคือหากสะสม รอบชมในบัตรสะสมได้ครบ 10 รอบ (ดู 1 ครั้งเท่ากับ 1 รอบ) จะได้ชมภาพยนต์ฟรี 1 ที่นั่ง และหากสะสมบัตรสะสม ครบสิบใบก็จะได้รับสิทธิ์ชมภาพยนต์ฟรีอีก 1 ที่นั่ง และบัตรดังกล่าวนี้เองก็ไม่ได้รับการออกแบบที่สวยงามเช่นกัน จึงออกแบบใหม่เพื่อให้สวยงามมากขึ้น และยังสามารถเป็นนามบัตรได้ในตัวอีกด้วย

บัตรสะสมรอบชมรูปแบบปัจจุบัน

บัตรสะสมรอบชมที่ออกแบบใหม่

สีของตราสัญลักษณ์

สีของพื้นหลัง

PRINT

4 - Color process

C 0% M 0% Y 0% K 100%

C 0% M 10% Y 95% K 0%

SCREEN

RGB

R 0% G 0% B 0%

R G B

USAGE

COLOR FOMAT

COLOR

Mock-Up

สีของบัตรสะสมรอบชมและบัตรรับชมภาพยนต์

24

255% 222% 21%


UNIFORM

เครื่องแบบพนักงาน จุดเด่นอีกเรื่องหนึ่งของโรงภาพยนต์สกาล่าแห่งนี้ก้คือเครื่องแบบพนักงานฉีกบัตรทางเข้าโรงภาพยนต์ ซึ่ง เป็นลักษณะชุดสูตรสีเหลืองดำ� ซึ่งเป็นที่สะดุดตาทั้งสี และทรงของสูตรซึ่งแปลกตาไปจากทรงของสูตรปัจจุบัน ทำ� ให้เกิดความรู้สึกย้อนยุคคลาสสิค และเป็นสิ่งหนึ่งที่ควรคงไว้ แต่นอกจากนั้นพนักงานส่วนอื่นๆ ก็ใส่ชุดไปรเวทกัน ธรรมดา จึงตัดสินใจออกแบบเครื่องแบบสำ�หรับผู้หญิงไว้ด้วย และได้มีการเพิ่มเติมป้ายชื่อเข้าไปเพื่อให้การทำ�งานดู เป็นระบบและหน้าเชื่อถือมากขึ้น

ชุดพนักงานปัจจุบัน

ป้ายชื่อพนักงานที่คิดต่อยอด ใช้ วัสดุแข็งแรงมันวาว เป็นผิวทอง และบุเป็นโลโก้โรงภาพยนต์และชื่อ พนักงาน

ชุดพนักงานชายที่คงแบบเดิมไว้ และได้เพิ่มเติมให้มีเครื่องแบบของผู้หญิงด้วย

25


MAIN ENTRANCE

ทางเข้าโรงภาพยนต์ โรงภาพยนต์สกาล่าแห่งนี้ไม่ได้มีการปรับปรุงรูปลักษณ์หน้าตาใดๆเลยตั้งแต่ก่อตั้งมา ด้านหน้าเป็นป้าย Scala ซึ่งมีทั้งภาษาไทยและภาษาจีน โดยรูปแบบอักษรของไทยและจีนนั้นเป็นสีแดงและให้อารมณ์ความรู้สึกความเป็น จีนมาก คาดว่าเพราะมีภัตรคารจีนเปิดอยู่ข้างใต้โรงภาพยนต์ แต่นั่นก็ทำ�ให้ภาพลักษณ์นั้นดูขัดกับสถาปัตยกรรมตะ วันตกภายในโดยสิ้นเชิง จึงคิดจะเปลี่ยนป้ายชื่อข้างหน้าใหม่ทั้งหมด แต่ยังคงป้ายติดชื่อภาพยนต์ไว้

ด้านหน้าทางเข้าปัจจุบัน

ด้านหน้าที่ออกแบบใหม่โดยการวางชื่อและโลโก้ใหม่

26


MEDIA & EVENTS มีเดียและอีเวนท์


MEDIA มีเดีย

WEBSITE

เว็บไซต์ โรงภาพยนต์เครือเอเพ็กซ์มีเว็บไซต์ประจำ�ที่คอยบอกรอบฉายภาพยนต์อยู่ ซึ่งไม่ได้รับการออกแบบที่ สวยงาม และไม่ได้ใช้ประโยชน์จากเว็บไซต์อย่างเต็มที่ จึงออกแบบใหม่ให้เข้าคอนเซ็ปต์และเพิ่ม รายละเอียดเกี่ยวกับ ภาพยนต์ที่กำ�ลังจะเข้าฉายให้เหมือนกับเว็บภาพยนต์ทั่วไป รวมถึงกล่าวถึงประวัติความเป็นมาของโรงภาพยนต์ด้วย

28


APPLICATION

แอพพลิเคชั่น แอพพลิเคชั่นคือส่วนที่คิดเพิ่มเติมเข้ามา เพื่อให้สามารถเข้าเช็ครอบฉายของภาพยนต์ได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น

29


EVENTS อีเวนท์

EVENTS

อีเวนท์ เนื่องจากอีกไม่นานโรงภาพยนต์ลิโด้ทั้ง 3 โรงจะปิดตัวลงทำ�ให้เหลือเพียงโรงภาพยนต์สกาล่า ทำ�ให้สามา รถรองรับการฉายภาพยนต์ได้เพียงแค่โรงเดียว จึงเกรงว่าอาจจะทำ�ให้ศูนย์เสียลูกค้าไป จึงได้คิดอีเวนท์พิเศษขึ้นมา 2 อีเวนท์ได้แก่ “Movie of the Week“ ซึ่งจะนำ�ภาพยนต์นอกกระแสมาฉายทุกวันอาทิตย์ และอีเวนท์ “Good Old Days“ ซึ่งจะจัดขึ้นวันอาทิตย์สุดท้ายของทุกเดือน เป็นอาทิตย์ที่จะนำ�ภาพยนต์เก่าที่ควรค่าแก่การรับชมมาฉายให้ได้รับชม

โปสเตอร์ทั้งสองอีเวนท์ซึ่งจะติดอยู่หน้างาน และจะโปรโมตทุก อาทิตย์ทางเพจเฟซบุคและเว็บไซต์

30


POSTERS

โปสเตอร์ โปสเตอร์โปรโมทโรงภาพยนต์ นำ�ไปแปะตามสถานที่ต่างๆเพื่อเชิญชวนให้มาใช้บริการ

31


32


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.