วังท่าพระ : ศูนย์กลางงานศิลป์

Page 1

A


B


1


ห า ก ย้ อ น ศึก ษาประวั ติ วั ง เมื่ อ แรกสร้ าง ในสมัยรัชกาลที่ 1 วังท่าพระส่วนที่เป็นที่ตั้งมหาวิทยาลัย ศิลปากร คือ วังถนนหน้าพระลาน วังตะวันตก ส่วนที่ตั้งกรมศิลปากรก็ คือ วังถนนหน้าพระลาน วังตะวันออกและวังกลางรวมกัน เจ้านายผู้ครั้งวังโดยลำ�ดับ ล้วนทรงเชี่ยวชาญในงานช่างศิลปะสาขาต่างๆ อย่างรอบด้าน เช่น พระวรวงศ์เธอฯ กรมหมื่น ปราบปรปักษ์ ซึ่งครองวังหน้าพระลาน วันตะวันออกและวังกลาง ทรงได้รับความไว้วางพระราชหฤทัย ให้ทรงกำ�กับกรมช่างสิบหมู่ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนราชสีหวิกรม พระเจ้าลูกยาเธอ ในรัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้มาครองวังหน้าพระลาน วังตะวันตก ทรงกำ�กับกรมช่างสิบหมู่ในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้อง ยาเธอพระองค์เจ้าจิตรเจริญ ต่อมาคือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์ มาประทับ ณ วังถนนหน้าพระลาน วังตะวันตกเป็นพระองค์สดุ ท้าย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุ วัดติวงศ์ ทรงเชีย่ วชาญในงานช่างทุกสาขา ทัง้ ด้านสถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม ดุรยิ างคศิลป์ และงานออกแบบ ดังทีน่ กั วิชาการศิลปะในสมัยหลังสดุดพี ระอัจฉริยภาพให้ทรงเป็น “นายช่างใหญ่แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์” และถวายพระสมัญญาด้วยความเคารพว่า “สมเด็จครู” วังถนนหน้าพระลาน วังตะวันตกในช่วงที่สมเด็จครูประทับนานถึง 64 ปี มีนามเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “วัง ท่าพระ” เป็นวังท่าพระทีผ่ คู้ นทัว่ ไปรำ�ลึกถึงในฐานะทีเ่ ป็นสัญลักษณ์ของ งานช่างศิลปกรรมชั้นสูง

2


สารบัญ ประวัติวังท่าพระ วังท่าพระ

5 6

8 9 10 11

วังทั้งสาม วังถนนหน้าพระลานวังตะวันตก วังถนนหน้าพระลานวังกลาง วังถนนหน้าพระลานวังตะวันออก

วังแห่งศิลป์

12

14

ช่างสิปป์หมู่

สิ่งก่อสร้างในวังท่าพระ

16

ระยะเมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยูห่ วั ครัง้ ดารงพระยศเป็นกรมหมืน่ เจษฎาบดินทร์ จนถึงกรมขุนราชสีหวิกรม

18

ระยะเมื่อเป็นที่ประทับของสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

21

สิง่ ก่อสร้างทีย่ งั เป็นถาวรวัตถุในปัจจุบนั

22

บรรณานุกรม

23

3


4


ประวัติวังท่าพระ ในปี พ.ศ. 2476 กรมศิลปากรได้กอ่ ตัง้ กองประณีตศิลปกรรม ขึ้น ซึ่งต่อมาตั้งเป็นโรงเรียนประณีตศิลปกรรม โรงเรียนศิลปากร และสถาปนาขึน้ เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากรเมือ่ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2490 จนกระทั่งในปีพ พ.ศ. 2503 มหาวิทยาลัยศิลปากรได้ติดต่อ กับทายาทเจ้าของวังเพือ่ ขอพระราชทานพระราชานุญาติใช้วงั ท่าพระ และขอให้พื้นที่วังจากสายสกุลจิตรพงศ์ในปี 2507 นับตั้งแต่นั้นมา พื้นที่ของวังถนนหน้าพระลานทั้ง 3 วังจึงรวมเข้าด้วยกันภายใต้การ บริหารจัดการของมหาวิทยาลัยศิลปากร และกรมศิลปากร เจ้านายส่วนใหญ่ที่เคยประทับที่วังถนนหน้าพระลาน วัง ตะวันตก (วังท่าพระ) ทรงกำ�กับราชการกรมและกระทรวงต่างๆ เช่น กรมตำ�รวจ ศาลฎีกา กระทรวงการต่างประเทศ กรมพระคลังมหา สมบัติ การท่าเรือ กรมศุลกากร โรงทาน และที่สำ�คัญที่สุดสำ�หรับ ชาวมหาวิทยาลัยศิลปากร คือ กรงช่างสิปป์หมู่ และกรมโยธาธิการ ทำ�ให้เจ้านายซึ่งเคยประทับอยู่ ณ วังท่าพระ มีโอกาสได้คิดริเริ่ม สร้างสรรค์ลงานศิลปะแขนงต่างๆ ให้เป็นที่ประจักษ์ตั้งแต่ยุคต้น รัตนโกสินทร์จนถึงยุคของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ผู้ริเริ่มการ ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร อาทิ งานออกแบบสถาปัตยกรรม งาน ศิลปกรรม ศิลปะประยุกต์ และงานประณีตศิลป์ และหยัง่ รากลึกมา อย่างยาวนาน อีกทั้งยังมีบทบาทในการสร้างสรรค์บุคลากรในสาย งานศิลปะ ซึ่งเป็นทรัพยากรที่สำ�คัญของชาติไว้เป็นจำ�นวนมาก ตลอดระยะเวลากว่า 200 ปี (พ.ศ. 2352-2557) วังท่าพระ มิเคยเลือนหายไปจากประวัติศาสตร์ของกรุงรัตนโกสินทร์ ด้วยมี บทบาทสำ�คัญในการส่งเสริม ทำ�นุบำ�รุงงานช่างแขนงต่างๆ ของ ไทย ตลอดจนเป็นสถาบันการศึกษาทางด้านศิลปะชั้นแนวหน้าของ ประเทศ และสนับสนุนการศึกษาทางด้านศิลปวิทยาการขัน้ สูงสืบไป

นับตัง้ แต่รชั สมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราชทรงสถาปนากรุงเทพมหานครเป็น ราชธานีทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวังขึน้ ทางทิศเหนือของพระบรมมหาราช วัง 3 วัง ได้แก่ วังถนนหน้าพระลาน วังตะวันออก วังกลาง และ วังตะวันตก หรือที่เรียกว่าวังท่าพระ เพื่อเป็นที่ประทับของพระเจ้า ลูกเธอและพระเจ้าหลานเธอหลายพระองค์ซงึ่ เป็นผูท้ มี่ บี ทบาทสำ�คัญ ต่องานราชการของไทย รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช วังตะวันตกเคยเป็นที่ประทับของเจ้าฟ้ากรมขุนกษัตรานุชิต (เจ้า ฟ้าเหม็น) พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชและ สมเด็จฟ้าหญิง (ฉิมใหญ่) พระธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลกมหาราช ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานวังตะวันตกให้เป็นทีป่ ระทับ ของพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมืน่ เจษฎาบดินทร์ ซึง่ ต่อมาเสด็จเถลิง ถวัลยราชสมบัตเิ ป็นพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 ทรงพระราชทานวังนีใ้ ห้เป็นทีป่ ระทับแด่พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์ เจ้าลักขณานุคณ และพระราชทานต่อให้พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้า ชุมสาย (ซึง่ ได้รบั การสถาปนาเป็นกรมสีหวิกรม ในสมัยรัชกาลที่ 4) รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานวังตะวันตกให้เป็นที่ประทับ แก่กรมหมื่นอดุลยลักษณสัมบัติ พระเจ้าลูกยาเธอในรัชกาลที่ 3 จนกระทั่งพระราชทานแก่สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัต ติวงศ์ พระองค์ท่านทรงเรียกวังตะวันตกว่า วังท่าพระ เนื่องจาก ตั้งอยู่ใกล้กับประตูท่าพระ ซึ่งสร้างขึ้นแทนประตูท่าช้างที่รื้อไปใน รัชกาลที่ 1 ภายหลังจากการอัญเชิญพระศรีศากยมุนจี ากสุโขทัยมา ขึน้ ทีท่ า่ ช้าง เพือ่ นำ�ไปประดิษฐานทีว่ ดั สุทศั นเทพวาราม ชือ่ ของวัง ท่าพระจึงเป็นที่รู้จักตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา

5


1 วังท่าพระ

6


วั ง ท่ า พระปั จ จุ บั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของ มหาวิทยาลัยศิลปากรมานานกว่า 60 ปี ซึ่งในขณะเดียวกันวังท่าพระ และช่างสิปป์หมูก่ ็ได้มอี ายุกว่า 200 ปีแล้ว ในสมัยอดีตวังท่าพระเป็นที่ ประทั บ ของพระบรมวงศานุ ว งศ์ หลายพระองค์ทรงดารงตาแหน่ง เจ้ากรมฯ สืบทอดกันมาตั้งแต่เริ่ม สร้างวังในสมัยรัชกาลที่ 1 จนกระทัง่ ถึงสมัยของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัด ติวงศ์ ซึ่งพระองค์ ได้รับการถวาย พระนามว่า “สมเด็จครูช่าง“ สื่อ ความหมายว่าทรงรอบรูศ้ ลิ ปะวิทยา และวัฒนธรรมยิง่ นัก ประทับอยู่ ณ วังท่าพระเป็นพระองค์สดุ ท้าย ก่อน มาเป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร

7


1 วังท่าพระ

วังทั้งสาม บริเวณถนนหน้าพระลาน ถนนหน้าพระธาตุ และบริเวณ คลังยกกระบัตรทหารบก รวมทั้งถนนมหาราชในปัจจุบันเป็นที่ตั้ง ของวัง 3 วัง แยกตามลักษณะที่ตั้งว่า วังถนนหน้าพระลาน วัง ตะวันตก ซึ่งคนทั่วไปเรียกกันว่า วังท่าพระ วังถนนหน้าพระลาน วังกลาง และวังถนนหน้าพระลาน วังตะวันออก ทั้ง 3 วังนี้เป็น วังที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อนพระราชทานพระราชโอรส 2 พระองค์ พระราชนัดดา 1 พระองค์ และมีเจ้านายเสด็จประทับ ต่อมาอีกหลายพระองค์ ทัง้ 3 วังหันหน้าออกถนนหน้าพระลาน ซึง่ เป็นถนนหน้าพระบรมมหาราชวังด้านทิศเหนือ และเป็นทางทีพ่ ระ มหากษัตริยเ์ สด็จเข้าออกเป็นประจำ� จะเห็นได้วา่ ตำ�แหน่งทีต่ งั้ ของ วังถนนหน้าพระลานทั้ง 3 วัง เป็นที่ตั้งของวังที่สำ�คัญกลุ่มหนึ่ง

วังถนนหน้าพระลาน วังตะวันตก วังนีต้ งั้ อยูร่ มิ ถนนหน้าพระลานทางด้านทิศตะวันตก ใกล้ ประตูท่าพระ (แต่เดิมเรียกท่าช้าง ในสมัยรัชกาลที่ 1 ได้อัญเชิญ พระพุทธรูปจากสุโขทัย มาประดิษฐานที่วัดสุทัศน์ฯ โดยอัญเชิญขึ้ ทีท่ า่ นี้ ตรงบริเวณนีจ้ งึ เรียกว่า “ท่าพระ” เพิม่ ขึน้ อีกชือ่ หนึง่ ) มีชอื่ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “วังท่าพระ” หรือว่างล่าง พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน้ เพือ่ พระราชทานพระราชนัดดา คือสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนกษัตรานุ ชิต ได้เสด็จประทับอยูจ่ นสิน้ พระชนม์ รัชกาลที่ 2 จึงได้พระราชทาน ให้เป็นที่ประทับของกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ เมื่อครั้งดำ�รงพระยศ เป็นพระเจ้าลูกยาเธอ ครัน้ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัตเิ ป็นรัชกาลที่ 3 จึงได้พระราชทานให้เป็นที่ประทับของพระราชโอรส 3 พระองค์ และได้เสด็จอยู่ต่อมาจนสิ้นพระชนม์ตามลำ�ดับคือ พระองค์เจ้า ชายลักขณานุคุณ ประทับอยู่จนสิ้นพระชนม์ ต่อมาเป็นที่ประทับ ของกรมขุนราชสีหวิกรม ประทับอยู่จนสิ้นพระชนม์ ในรัชกาลที่ 4

8


และกรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ ประทับอยู่ต่อมาจนสิ้นพระชนม์ ในสมัยรัชกาลที่ 5 จึงได้พระราชทานสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ์ เสด็จประทับเป็นองศ์สุดท้าย ก่อนที่จะเสด็จไป ประทับที่วังปลายเนิน ริมถนนพระรามที่ 4 ปัจจุบันวังนี้เป็นส่วน หนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากร พระนามเจ้านายที่ประทับ - สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนกษัตรานุชิต - พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลักขณานุคุณ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนราชสีหวิกรม - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นอตุลยลักษณสมบัติ - สมเด็จพระบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุ วัดติวงศ์

9

วั ง ท่ า พระปั จ จุ บั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของ มหาวิทยาลัยศิลปากรมานานกว่า 60 ปี ซึ่งในขณะเดียวกันวังท่าพระ และช่างสิปป์หมูก่ ็ได้มอี ายุกว่า 200 ปีแล้ว ในสมัยอดีตวังท่าพระเป็นที่ ประทั บ ของพระบรมวงศานุ ว งศ์ หลายพระองค์ทรงดารงตาแหน่ง เจ้ากรมฯ สืบทอดกันมาตั้งแต่เริ่ม สร้างวังในสมัยรัชกาลที่ 1 จนกระทัง่ ถึงสมัยของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัด ติวงศ์ ซึ่งพระองค์ ได้รับการถวาย พระนามว่า “สมเด็จครูช่าง“ สื่อ ความหมายว่าทรงรอบรูศ้ ลิ ปะวิทยา และวัฒนธรรมยิง่ นัก ประทับอยู่ ณ วังท่าพระเป็นพระองค์สดุ ท้าย ก่อน มาเป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร


วังถนนหน้าพระลาน วังกลาง วังนีต้ งั้ อยูร่ มิ ถนนหน้าพระลานต่อกับวังท่าพระมาทางตะวัน ออก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้สร้างวังนี้พระราชทานกรมหมื่นศักดิพลเสพ ซึ่งเป็นพระ ราชโอรสประทับอยูจ่ นถึง พ.ศ. 2367 ได้ทรงรับอุปราชาภิเศก เป็นก รมพระราชวังบวรฯ ในรัชกาลที่ 3 จึงได้เสด็จไปประทับทีพ่ ระราชวัง บวรฯ วังนีจ้ งึ ว่างลงระยะเวลาหนึง่ จนสมเด็จฯ เจ้าฟ้าอาภรณ์ พระ ราชโอรสรัชกาลที่ 2 ถึงคราวเสด็จออกวัง จึงพระราชทานวังนีใ้ ห้เป็น ทีป่ ระทับ จนถึงปี พ.ศ. 2380 วังถนนหน้าพระลานวังตะวันออกว่าง ลง ได้เสด็จมาประทับที่วังตะวันออกแทน ส่วนวังกลาง รัชกาลที่ 3 ได้พระราชทานให้สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยาบำ�ราบปรปักษ์ พระ อนุชาร่วมพระชนนีกับสมเด็จฯ เจ้าฟ้าอาภรณ์ มาประทับถึงปี พ.ศ. 2391 ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าอาภรณ์สน้ิ พระชนม์ รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ

ให้รวม 2 วังเป็นวังเดียวกันให้เป็นทีป่ ระทับของสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรม พระยาบำ�ราบปรปักษ์ สืบมาจนถึง พ.ศ. 2429 จึงสิน้ พระชนม์ กรม หมื่นปราบปรปักษ์ซึ่งเป็นพระราชโอรสประทับอยู่มาจนตลอดพระ ชนมายุ หลังจากนั้นวังนี้ได้เปลี่ยนแปลงเป็นโรงงานช่างสิปป์หมู่ กรมศิลปากรสืบมาจนถึงปัจจุบัน พระนามเจ้านายที่ประทับ - กรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพ - สมเด็จฯ เจ้าฟ้าอาภรณ์ - สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยาบำ�ราบปรปักษ์

10


วังถนนหน้าพระลาน วังตะวันออก วังนี้ตั้งอยู่ริมถนนหน้าพระลาน ต่อกับวังกลางมาทาง ตะวันออก จนถึงมุมถนนหน้าพระธาตุ ตรงประตูวิเศษไชยศรี ทาง เข้าพระบรมมหาราชวัง ดังนั้นวังนี้มีชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า วังหน้าประตู วิเศษไชยศรี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ ให้สร้าง พระราชทานเป็นที่ประทับของกรมหมื่นเทพพลภักดิ์ พระราชโอรส ประทับอยู่จนตลอดพระชนมายุ เจ้าฟ้าชายอาภรณ์ประทับอยู่ต่อ มา ปัจจุบันส่วนหนึ่งเป็นโรงหล่อ กองหัตถศิลป์ กรมศิลปากร โดย ผนวกเข้ากับวังถนนหน้าพระลานกลาง พระนามเจ้านายที่ประทับ -พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นเทพพลภักดิ์

11


วังท่าพระนี้ดูมีชาตาเกี่ยวกับช่างเสียจริงๆ เจ้านายที่เคยประทับอยู่ที่วังนี้ ทรงเป็นช่างและรับราชการทางช่างเสียเป็นส่วน มาก เมื่อทรงทำ�การช่างใดๆ ก็มักจะเรียกช่างมาทำ�ที่วังเพื่อจะได้ทรงควบคุมได้ถนัด ในสมัยที่เป็นวังของเสด็จปู่ก็ท�ำ การช่างกันในวังนี้ เนืองๆ มีงานช่างที่ทำ�เป็นประจำ�ปีอย่างหนึ่ง คือทำ�ซุ้มเฉลิมในงานเฉลิมพระชนมพรรษาทุกๆ ปี แทนที่เสด็จปู่จะทรงใช้ไฟสีประดับวังให้ สว่างไสวเช่นที่คนอื่นทำ�กัน ท่านทรงแต่งวังอย่างง่ายๆ แปลก มิให้ต้องเปลืองเงินมาก แทนที่จะติดไฟราวห้อยเป็นเฟืองเป็นสาย ท่านให้ ติดแต่ในช่องใบเสมาใช้ไม้ระแนงหรือไม้ไผ่ทำ�เป็นโครงเป็นรูปต่างๆ กรุกระดาษสี ประดับลวดลายบ้าง เกลี้ยงบ้าง ตั้งเป็นลับแลบังดวงไฟ เปลี่ยนๆ ไปไม่ซ้ำ�กัน แล้วตกแต่งด้วยของแปลกๆ ที่อยู่ใกล้มือ เช่น ใบสาเก ลูกพุ่ม ปล้องไม้ไผ่ ที่หน้าประตูวังตั้งซุ้มที่บูชา ใต้ซุ้มมีม่าน เหมือนโรงละครเล็กๆ ปิดเปิดให้คนดูเป็นเวลา มีการแสดงเครื่องกลไกต่างๆ ทุกปี เช่น ทำ�เรื่องไกรทอง ใช้กระจกเงาปูที่พื้น มีฉากท้องฟ้า

12


2 วังแห่งศิลป์ และทิวไม้บังหลัง เปิดฉากมีตกุ๊ ตาปัน้ รูปไกรทอง กำ�ลังพนมมือถือหอกนัง่ อยูบ่ นแพหยวกเล็กๆ มีสายชักให้เคลือ่ นไหววนเวียนอยูบ่ นกระจก ชักจระเข้ไม้ออกมาจากอีกซีกหนึง่ ไล่กนั วนเวียนอยูส่ กั ครูก่ ป็ ดิ ฉาก หรือเมือ่ ปีทมี่ กี ารเรีย่ ไรเงินสร้างเรือพระร่วง ก็ทรงทำ�เป็นเรือรบแล่นอยูใ่ น มหาสมุทร มีคลืน่ กระดาษขยุกขยิกทำ�ให้เรือเคลือ่ นไหวได้เหมือนกำ�ลังแล่นฝ่าคลืน่ พอมีควันออกจากปล่องก็มเี สียงหวูด ถ้ามีเสียงปืนตึงก็มี ควันทางปากกระบอกปืน มีตู้หยอดสตางค์ตั้งไว้ด้วย ชวนบริจาคเงินสร้างเรือรบ ถ้ามีเสียงสตางค์ร่วงลงตู้ฉากก็เปิดบ่อย ปีนั้นเด็กๆ ผู้ชาย สนุกเพราะมีโอกาสได้สูบบุหรี่ได้โดยไม่ถูกเอ็ด แต่ที่จริงก็สนุกทุกปี ได้ดูของจำ�ลองเล็กๆ ได้เป็นผู้ช่วยจัดการแสดง และเป็นนักสืบออกไป ฟังเสียงวิจารณ์ ด้วยมีประชาชนมายืนชมแน่นทุกปี ดูแล้วโจษจันต่างๆ ติบ้าง ชมบ้าง จึงมีข่าวที่น่าขบขันบ้าง น่าปลื้มพระทัยบ้างไปเล่า ถวายทุกวัน เช่นเขาชมว่า “เอ อ้ายบ้านนี้ ช่างคิดทำ�อะไรสนุกๆ แฮะ” หรือติว่า “พุทโธ่ แค่นี้เองแต่มันก็ช่างคิดทำ�ดีหรอก”

13


ช่างสิปป์หมู่ 1. ประเภทช่างทำ�ของใช้ ช่างประเภทนี้มักได้ยินได้ฟังทั่วๆไป ว่า “ช่างฝีมือ” จะมีความรู้ความสามารถด้านออกแบบ ประดิษฐ์ สร้างสรรค์สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ สิ่งของเครื่องใช้เหล่านี้ยังจัดแบ่ง ประเภทออกเป็น 2 ประเภท กล่าวคือ 1.1 ช่างหัตกรรม สร้างสรรค์ขนึ้ เพือ่ ตอบสนองความจำ�เป็น ในชีวิตประจำ�วัน อาทิ ช่างปั้นหม้อ ช่างสาน ช่างทอเสื่อ ช่างตีมีด และอื่นๆ 1.2 ช่างหัตถศิลป ผูท้ ใี่ ช้ฝมี อื สร้างสรรค์เป็นรูปธรรม “ศิลป ลักษณะ” ในแบบเครือ่ งอุปโภค อาทิ ช่างทอผ้า ช่างเครือ่ งเขิน ช่าง แทงหยวก เป็นต้น

สมัยทีส่ ยามประเทศยังปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ การบริหารราชการได้จัดแบ่งเป็นส่วนการปกครอง ตามระเบียบ ภาระหน้าทีน่ นั้ ๆ เพือ่ ให้สอดคล้องเป็นไปตามระบบระเบียบราชการ ภายใต้การปกครองของสมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าในฐานะที่ พระองค์ทรงเป็นพระประมุขแห่งราชอาณาจักร ดังนัน้ การจัดแบ่งการ ปกครองตามระเบียบบริหารราชการในระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ตัง้ ขึน้ เรียกว่า “กรม” ราชการส่วนหนึง่ มีชอื่ ว่า “กรมช่างสิบหมู”่ เป็น ส่วนราชการที่ฝ่ายบริหารบ้านเมืองประเภทต่างๆเข้ามารับราชการ ประจำ�อยู่ในกรมนี้ ในภาระหน้าทีเ่ ป็นกรมทีส่ ร้างสรรค์งานศิลปกรรม หัตถกรรม ประเภทต่างๆ ตลอดจนอนุรักษ์สืบทอด อาทิ ประเภทวิจิตรศิลป มัณฑนศิลปและประณีตศิลป เป็นต้น เพือ่ ตอบสนองงานในราชการ ในส่วนพระองค์สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้า อาทิ การสร้าง เครื่องราชูปโภค พระราชพาหนะ พระราชมณเฑียรสถานและบำ�รุง พระพุทธศาสนา อาทิ ปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ ศาสนาสถานและ สังฆภัณฑ์ นอกจากทีก่ ล่าวมาแล้วยังสร้างจัดทำ�ออกแบบเครือ่ งพระ อิสริยยศ เครือ่ งยศบำ�เหน็จความดีความชอบแก่ราชวงศ์ ข้าราชการ บุคคลผู้กระทำ�คุณงามความดีให้แก่ชาติบ้านเมือง ศิลปกรรมในฝีมือบรรดาช่างสิปป์หมู่จัดว่ามีความสำ�คัญ ดังมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาตินบั ตัง้ แต่อดีตสูป่ จั จุบนั และยัง เป็นสิง่ ยืนยันว่าสยามประเทศเป็นเผ่าชนชาติพนั ธุท์ เี่ จริญก้าวหน้ามา โดยลำ�ดับ สังคมจากอดีตสูป่ จั จุบนั สิง่ ทีค่ วบคูจ่ �ำ เป็นต่อชีวติ ประจำ�วัน คือ เครือ่ งอุปโภค เครือ่ งบริโภค เป็นปัจจัยหนึง่ จะใคร่ได้ ใคร่มี ใคร่ กิน ใคร่ใช้ สิ่งเหล่านี้จึงส่งผลให้เกิดจากภูมิปัญญา ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ตามวิถชี วี ติ และวัฒนธรรมสังคมจึงถือกำ�เนิดบุคคลเหล่า นี้ขึ้นในสังกัดที่เรียกกันติดปากว่า “ช่าง” ความสามารถของช่างที่ กล่าวนี้ยังสามารถจำ�แนกตามความรู้และความสามารถหลักๆได้ 2 ประเภท ได้แก่

2. ประเภทช่างทำ�ของชม จัดอยู่ในบรรดาช่างอีกประเภทหนึ่งที่ สร้างสรรค์สงิ่ สวยงามควรค่าการชมมากกว่าจะนำ�ไปใช้ ช่างทำ�ของ ชมจำ�แนกออกเป็น 2 ประเภท กล่าวคือ 2.1 ช่างประณีตศิลป สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อเป็นเครื่องอุปโภค บ้างหรือเครือ่ งบริโภคบ้าง โอกาสทีค่ วรและมีความจำ�เป็น อาทิ ช่าง ทำ�เครือ่ งสด ช่างทำ�ดอกไม้ ช่างเย็บบายศรี ช่างปักสะดึง ช่างโลหะ รูปพรรณ เป็นต้น 2.2 ช่างวิจิตรศิลป์ สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อตอบสนองทางด้าน สุนทรียภาพความงาม ตอบสนองด้านจิตใจ ความรู้สึก อาทิ ช่าง เขียนภาพจิตรกรรม ช่างปั้น ช่างแกะสลัก เป็นต้น คำ�ว่า “ช่างหลวง” หมายถึงผู้ที่มีฝีมือมีความรู้ ความ สามารถ เป็นผูส้ ร้างสรรค์สงิ่ ด้านศิลปกรรม สนองแก่ชาติบา้ นเมือง ในสมัยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ในสมัยนัน้ มีการรับสมัครช่าง เข้ามารับราชการเหล่านี้ เรียกว่า “ช่างหลวง” ช่างหลวงนีย้ งั ประกอบ ไปด้วยกรมต่างๆ อีก กล่าวคือกรมช่างมหาดเล็ก กรมช่างทหารใน และกรมช่างสิบหมู่ คำ�ว่า “สิปป” เป็นภาษาบาลี มีความหมายเดียวกับคำ�ว่า “ศิลปะ” ในภาษาสันสกฤต คือ ฝีมือทางช่าง แต่คำ�เต็มเขียนว่า

14


สิปป ต่อมาตัดสั้นเข้า จากช่างสิปป มาเป็น ช่างสิป แต่ยังมีความ หมายเหมือนกัน แปลว่า “สิบ” ถ้าเป็นจำ�นวนคือ 10 ถ้าจะพูดหรือ เขียนคำ�ว่า “ช่างสิบ” จะสือ่ กันได้ไม่ชดั เจนเข้าใจต่อมาจึงได้เติมคำ� ว่า “หมู”่ ต่อท้ายทำ�ให้มคี วามเข้าใจแต่ละสมัย โปรดเกล้าฯ ให้ชา่ ง ทั้งหลายสนองพระเดชพระคุณตลอดมา งานช่างสิบหมูใ่ นกรมช่างสิบหมูใ่ นทำ�เนียบของข้าราชการ ประกอบด้วยงานช่าง 10 ประเภท ดังนี้ - ช่างเขียน ช่างเขียนแต่โบราณแต่ละท้องถิ่นในสยาม ประเทศ มีคำ�เรียกต่างกันไป อาทิ ช่างแต้ม ช่างเขียนสีน้ำ� กาว ช่างเขียนลายรดน้ำ� - ช่างปั้น เปลี่ยนมาเรียกปัจจุบันว่า ประติมากรรม งาน ปั้นดิน งานปั้นดินเผา งานปั้นปูน งานปั้นรักสมุก - ช่างแกะ การแกะหมายถึงการสร้างให้เกิดเป็นลวดลาย ด้วยการใช้เครือ่ งมือแกะ แคะ ควัก อทิ งานแกะเครือ่ งสด งานแกะ เครื่องวัตถุถาวร เช่น หินอ่อน หินสบู่ งา ไม้ - ช่างสลัก หรืออาจจะได้ยินคำ�ว่า จำ�หลัก หรือฉลัก ก็มี ด้วยภาษาที่เพี้ยนไป แต่สื่อความหมายเข้าใจตรงกันว่าใช้เครื่องมือ ได้แก่ สิ่วเจาะ แกะ เซาะนั่นเอง อาทิ งานสลักไม้ สลักหนัง สลัก กระดาษ เป็นต้น - ช่างหล่อ เป็นงานสร้างศิลปกรรมประเภทวิจิตศิลป ดัง นั้น งานช่างปั้นกับงานช่างหล่อจึงเป็นงานคู่กัน อาทิ รูปหล่อองค์ พระมหากษัตริย์ พระพุทธปฏิมากร อนุเสาวรีย์ เป็นต้น - ช่างกลึง เป็นการสร้างสรรค์ขึ้นรูปทรงให้เกิดรูปลักษณ์ ศิลปลักษณะใช้ทำ�เครื่องอุปโภค บางอย่างใช้ประดับตกแต่ง บาง อย่างประกอบกับโครงสร้าง ได้แก่ ทรงกลม ทรงกระบอก ทรงกรวย เป็นต้น อาทิขาตั้งตาลปัตร เครื่องใส่อาหาร (ภาชนะ) แบบล้านนา กลึงหัวปลายเสา หัวเม็ดปลายเสาตลุง เป็นต้น - ช่างหุน่ เป็นงานสร้างสรรค์รปู ลักษณ์จ�ำ ลองแทนสิง่ ทีเ่ ป็น จริงมีธรรมชาติ มนุษย์ สัตว์ สิ่งของเครื่องใช้ หุ่นบางชนิดนำ�มาใช้

กับการแสดง บางชนิดจำ�ลองตามวิถีชีวิตทางวัฒนธรรม ลักษณะ ช่างหุ่นแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ ช่างหุ่นต่อ ช่างหุ่นรูป และช่างหุ่นผูก - ช่างรัก “รัก” เป็นวัสดุปัจจัยสำ�คัญในงานศิลปกรรม บางสาขาที่มีความจำ�เป็นที่ใช้กันทั่วไป ได้แก่ งานประณีตศิลป มัณฑนศิลป งานช่างรักปิดทองคำ�เปลว เป็นกระบวนการตกแต่งผิววิธี หนึ่งที่สร้างคุณค่าความงามในศิลปวัตถุ งานสถาปัตยกรรม และ อื่นๆ งานลงรักปิดทองร่องชาด เป็นกระบวนการปิดทองตกแต่ง บนศิลปวัตถุทเี่ ป็นลวดลายนูนขึน้ จากพืน้ ฉะนัน้ การร่องชาดจึงหมาย ถึง กระบวนการทาสีแดงลงไปตามร่องรอบๆ ลายทีล่ กึ ลงไปเป็นร่อง นอกจากนีแ้ ล้ว กระบวนการในงานลงรักยังมีอกี หลากหลาย เช่น ลงรักปิดทองทึบ ลงรักปิดทองร่องกระจก ลงรักปิดทอง ลาย ฉลุ งานช่างรักประดับกระจก และงานช่างประดับมุก - ช่างบุ การบุ หมายถึง การทำ�โลหะให้แผ่ออกเป็นแผ่น บาง แล้วนำ�ไปคลุมหุ้มปิดเข้ากับหุ่นแบบชนิดต่างๆ เพื่อประดับทำ� เป็นผิวภายนอก เช่น บุประกอบพระโกศ บุฝกั พระแสง บุธารพระกร ในทางศาสนาใช้บุพระพุทธรูป ยอดเจดีย์ และอื่นๆ - ช่างปูน เป็นงานชนิดก่อสร้าง งานช่างปูนสมัยโบราณมีชอื่ เรียกกันว่า “สทายปูน” ลักษณะของงานช่างปูนแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ ช่างปูนก่อ และช่างปูนงานลายบัว ช่างสิบหมูอ่ าจกล่าวได้วา่ เป็นสถาบันผลิตต้นแบบ รูปลักษณ์ หลักการ และวิธกี ารช่างศิลปกรรมไทย ประเพณี งานช่างสิบหมูแ่ ต่ละ ประเภทได้มีกระบวนการสร้างสรรค์ แสดงออกให้เห็นประจักษ์เป็น แบบฉบับ สามารถนำ�ไปเป็นแบบแผนของช่างได้ทุกระดับ สร้างผล งานศิลปะเผยแพร่เป็นองค์ความรู้แสดงถึงวัฒนธรรมที่งดงาม เป็น เอกลักษณ์ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าชาติอื่นๆ

15


3 สิ่งก่อสร้าง ในวังท่าพระ 16


“มีเรือนห้าห้องสองหลังแฝด เป็น ตาหนักใหญ่ทเี่ สด็จอยูห่ ลัง 1 เรือน ห้าห้องหลังเดียวเป็นตาหนักน้อย เห็นจะเป็นที่อยู่ของพระชายาและ พระโอรสธิดา หลัง 1 นอกจากท้อง พระโรงกับตาหนัก 3 หลังทีก่ ล่าวมา ก็มเี รือนสาหรับบริวารชนทัง้ ฝ่ายหน้า ฝ่ายใน วังชั้นเดิมสร้างด้วยเครื่อง ไม้แก่น หลังคามุงกระเบื้องทั้งนั้น แผนผังก็วางเป็นอย่างเดียว คือปลูก ท้องพระโรง หันด้านยาวออกหน้าวัง ตาหนัก 3 หลังทีเ่ สด็จอยูแ่ ละตาหนัก น้อยหันหน้าสกัดต่อหลังท้องพระโรง มีชาลาอยูร่ ะหว่างกลางวังทีเ่ คยเห็น เป็นดังนี้ทั้งนั้น”

17


3 สิ่งก่อสร้าง ในวังท่าพระ

ระยะเมือ่ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้า อยู่หัว ครั้งดารงพระยศเป็นกรมหมื่น เจษฎาบดินทร์ จนถึงกรมขุนราชสีหวิกรม 1. กำ�แพงรอบวัง เป็นกำ�แพงมีใบเสมาล้อมรอบอย่างวัง เจ้าฟ้า ที่ริมกำ�แพงจะมีอาคารและสิ่งก่อสร้างอยู่ในบริเวณนั้น คือ ที่ด้านหน้าวังด้านนอกของกำ�แพงมีตึก 2 ชั้น ตั้งอยู่ทาง ด้านทิศตะวันออก เป็นโรงหมอตัง้ แต่ครัง้ รัชกาลที่ 3 มียาจำ�หน่าย และมีทอี่ ยูส่ �ำ หรับคนไข้ดว้ ย ลักษณะอาคารเป็นหลังตามุงกระเบือ้ ง จีน พืน้ ปูกระเบือ้ งหน้าวัว ด้านทิศตะวันตกเป็นตึกแบบเดียวกันแต่ ชั้นเดียว เป็นโรงทานกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ที่หน้าวังด้านในของกำ�แพงริมประตูมีต้นสนคู่ มีโรงม้า 1 โรง มีโรงเสลี่ยง 1 โรง เป็นเก๋งจีน 2 ห้อง ต่อมามีบ้านเจ้ากรม ปลัดกรม และมีเรือนแถวหลังกำ�แพง ทัง้ ด้านทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ฯลฯ

18


2. กลุ่มตำ�หนักที่ประทับ ประกอบด้วย 2.1 ท้องพระโรง ตัง้ อยูต่ รงทางออกประตูเป็นแบบเรือน 5 ห้อง เฉลียงรอบ กัน้ ฝาเฟีย้ มด้านหลัง เอาเฉลียงไว้เป็นเขตฝ่ายใน มีพระทวารใหญ่กลาง ท้องพระโรง มีพระทวารและอัฒจันทร์เป็น ทางออกหน้าท้องพระโรง 2 แห่ง ทางออกสกัดด้านตะวันตกและ ตะวันออก ด้านละ 1 แห่ง มีชาลา 3 ด้าน ล้อมรอบด้วยกำ�แพง แก้ว มีประตูตรงกับพระทวาร 2 ประตู ด้านสกัดมีด้านละประตู ตรงลานด้านหน้าศาลชำ�ระความที่อยู่ติดท้องพระโรง มีประตูเล็ก เข้าจากทางด้านท้องพระโรงได้ ส่วนพระแกลท้องพระโรงจะถัก ลวดทั้งนั้น ชั้นบนเป็นเครื่องไม้ ฝาไม้ ส่วนทางเดินไปฝ่ายในจาก ชาลาหน้าท้องพระโรงลาดปูนแทนการปูกระเบื้อง 2.2 ตำ�หนักแฝด 5 ห้อง เฉลียงรอบ มีพระทวารด้านสกัด 2 บาน ทัง้ สองด้าน ด้านยาวมีดา้ นละ 1 บาน ถ้าเวลามีงานทำ� ต้อง ทำ�อัฒจันทร์ขึ้นพระแกลด้านหลังสำ�หรับสะดวกแก่คนใช้เข้า-ออก พระแกลท้องพระโรงถักลวด (เป็นลูกกรง) 2.3 ตำ�หนัก 7 ห้อง มีความยาวเท่าตำ�หนักแฝดและวาง ขนาบไปกับตำ�หนักแฝด มีชาลากว้างเท่าท้องพระโรง ยื่นเข้าไป หลังศาลชำ�ระความ ทางด้านทิศตะวันตกมีก�ำ แพงแก้วเป็นเขตของ ตำ�หนัก 7 ห้อง ที่ตำ�หนักนี้เป็นที่ประทับของกรมขุนราชสีหวิกรม โดยประทับอยูท่ เี่ ฉลียงยกพืน้ กัน้ ลูกกรงรอบ มีอฒั จันทร์ขนึ้ 2 ข้าง ลักษณะโครงสร้างของท้องพระโรงและตำ�หนักแฝด คือ ชั้นล่างก่อปูน ชั้นบนเป็นเครื่องไม้ ฝาไม้ แต่เฉพาะที่ตำ�หนักแฝด ชั้นล่างก่อปูนแต่ด้านชาลาระหว่าง 2 ตำ�หนัก แต่แนวเฉลียงใน ประธานเป็นเสาลงดิน ไม่มีฝาที่ดิน ลักษณะการใช้สอยจะมีการแบ่งอาณาเขต เป็นฝ่ายหน้า และฝ่ายใน โดยถือว่านับตั้งแต่หลังท้องพระโรงและหลังเก๋งแฝด (จะกล่าวต่อไป) เป็นส่วนข้างใน โดยมีก�ำ แพงแก้วกัน้ เป็นเขต ด้าน ตะวันตกมีประตูมีลับแลปูน บังหลังประตู สันนิษฐานว่าเป็นทาง พระเข้าบิณฑบาต

19

“มีเรือนห้าห้องสองหลังแฝด เป็น ตาหนักใหญ่ทเี่ สด็จอยูห่ ลัง 1 เรือน ห้าห้องหลังเดียวเป็นตาหนักน้อย เห็นจะเป็นที่อยู่ของพระชายาและ พระโอรสธิดา หลัง 1 นอกจากท้อง พระโรงกับตาหนัก 3 หลังทีก่ ล่าวมา ก็มเี รือนสาหรับบริวารชนทัง้ ฝ่ายหน้า ฝ่ายใน วังชั้นเดิมสร้างด้วยเครื่อง ไม้แก่น หลังคามุงกระเบื้องทั้งนั้น แผนผังก็วางเป็นอย่างเดียว คือปลูก ท้องพระโรง หันด้านยาวออกหน้าวัง ตาหนัก 3 หลังทีเ่ สด็จอยูแ่ ละตาหนัก น้อยหันหน้าสกัดต่อหลังท้องพระโรง มีชาลาอยูร่ ะหว่างกลางวังทีเ่ คยเห็น เป็นดังนี้ทั้งนั้น”


4. กลุ่มอาคารดัานหลังของวัง (ฝ่ายใน) ประกอบด้วย 4.1 เรือนแถว จำ�นวน 2​หลัง กว้างยาวเท่ากัน วางขนาน กันมีทางเดินระหว่างกลาง ตั้งอยู่หลังตำ�หนักแฝดและตำ�หนัก 7 ห้อง คั่นด้วยชาลาถมขึ้นมาเสมอชาลาระหว่างตำ�หนัก เรือนแถว นี้ใช้เป็นห้องเครื่องและห้องคนอยู่ ลักษณะคงจะเป็นแบบเรือน แถวใต้ถุนสูง ฝ่าเป็นแพขัดแตะถือปูน ต่อจากเรือนแถว 2 หลังนี้ มีเรือนแถวอีก 1 แถว ขนานกับแถวหน้า กว้างยาวเท่ากัน มีทาง เดินระหว่างเรือนแถวทำ�เป็นชาลากว้างถมพื้นขึ้นไปให้พ้นน้ำ� แต่ ไม่ได้ปูกระเบื้องหน้าวัว 4.2 หอนก 1 หลัง ตั้งอยู่ปลายสุดเรือนแถว ด้านตำ�หนัก 7 ห้อง สกัดเขตชาลาระหว่างเรือนแถว ลักษณะของหอนกเป็นห้อง โถงยาว 2 ห้อง 4.3 ศาลาโถง ตั้งอยู่หลังตำ�หนักแฝด ลักษณะเป็นศาลา สีเ่ หลีย่ ม มีเฉลียงรอบกว้างเท่ากับเรือนแถว มีทางเข้าออกระหว่าง ศาลา ห้องเครือ่ ง และเรือนแถวหลังต่อไป ตารางนีใ้ ช้เป็นทีส่ �ำ หรับ เลีย้ งลูกเล็กๆ นัง่ เล่าและกินข้าว ใต้ถนุ ศาลา เป็นฝาก่ออิฐ มีประตู เข้าให้เด็กๆ เอาวัวไปเลี้ยงไว้สำ�หรับขี่เล่นได้

3. กลุ่มอาคารด้านหลังของวัง ประกอบด้วย 3.1 เก๋งแฝด ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันตกของท้องพระโรง ใช้ เป็นที่ชำ�ระความ 3.2 ศาลเจ้า เป็นเก๋งสี่เหลี่ยม กว้างเท่าท้องพระโรง ตั้ง อยู่หลังฝาเก๋ง ที่ไหว้เจ้าเขียนรูปมังกรน่ากลัวอยู่ในศาล สลักลาย ปิดทองที่เสาเก๋ง เครื่องบนตัวไม้ใหญ่ๆเขียนลวดลายสีน้ำ�มัน ปิด ทองบ้าง 3.3 ตึกคลังมั่นคง ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกของท้องพระ โรง นัยว่าเป็นคลังเงิน ทอง เสื้อผ้า 3.4 บ้านเจ้ากรมช้าง ตั้งอยู่มุมกำ�แพงหน้าวังกับกำ�แพง ด้านตะวันตก ริมประตูเข้าออกด้านแม่น้ำ� หน้าศาลชำ�ระความ ใต้ถุนบ้านเจ้ากรมเป็นคุก มีประตูช่องกุด เข้า-ออก 3.5 เรือนแถวริมกำ�แพง มีอยู่ 2 ด้าน คือด้านตะวันออก มีเรือนแถวไปจรดกำ�แพงหน้าวัง เป็นที่อยู่ของช่างทอง ด้านทิศ ตะวันตกก็มีเรือนแถวไปจรดบ้านเจ้ากรม 3.6 บ้านเจ้ากรม ปลัดกรม ตั้งอยู่ริมกำ�แพงด้านหน้า

20


ระยะเมื่อเป็นที่ประทับของสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ 1. ตำ�หนักที่ประทับ 2 หลัง 1.1 ตำ�หนักหลังที่ 1 สร้างต่อจากหลังท้องพระโรงไปทาง ทิศเหนือ 1.2 ตำ�หนักหลังที่ 2 ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของหลังที่ 1 และขนานกับหลังที่ 1 ด้วย 2. ตึกแถวยาว 8 ห้อง สกัดตำ�หนักที่ประทับทั้ง 2 หลัง เช่นเดียวกับแผนผังเดิม เป็นที่อยู่ของหม่อมห้ามและโอรส ธิดา นอกจากนั้นยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างตึกชั้นเดียวเป็นห้อง เครื่อง ห้องคลัง และที่อยู่อาศัยของมหาดเล็ก ข้าหลวง ฯลฯ ต่อมาเมื่อพระองค์เจ้าพรรณราย พระชนนีของสมเด็จฯ ได้รับพระบรมราชานุญาตให้เสด็จออกมาประทับที่วังท่าพระ จึง ได้เสด็จออกมาประทับที่ตำ�หนักหลังทางทิศตะวันตกตลอดพระ ชนมายุ

4.4 สระน้�ำ ตัง้ อยูใ่ กล้ก�ำ แพงวังด้านทิศตะวันออก ต่อกับ วังหน้าพระลาน วังกลาง ระหว่างสระน้�ำ กับกำ�แพง มีตน้ ตาล เรียง ตามกำ�แพงประมาณ 10 ต้น เรียกว่า ดงตาล ลักษณะของสระเป็น สระสี่เหลี่ยมบนพื้นที่ดินว่างเปล่า หลังเรือนแถว แถวที่ 2 สันนิษฐานว่าบริเวณนี้เป็นที่สิ้นสุดเขตของฝ่ายใน เพราะ ต่อจากนี้มีกำ�แพงแก้ว สกัดทางด้านทิศตะวันตก มีประตูกำ�แพง แก้วก่อเลยมาทางใต้ เมื่อพ้นกำ�แพงแก้วออกมาทางแนวกำ�แพงวังด้านเหนือ เป็นเขตชั้นนอก มีเรือนแถวตามแนวกำ�แพงวังยาวตลอดไปถึงมุม กำ�แพงวังด้านตะวันออก เรียกเรือนแถวนี้ว่า แถวลาด เรือนแถวนี้ มีสะพานยาว เดินหน้าห้องเพราะน้�ำ ท่วม ต่อจากเรือนแถวนีม้ บี า้ น จางวางและบ้านข้าราชบริพานอื่นๆ อีกหลายหลัง 5. บริเวณตำ�หนักแพ ด้านตะวันตกเกือบสุดเขตวัง มีประตูออก เรียกว่าประดูดนิ ไปลงตำ�หนักแพ ตรงประตูช่องกุดออกกำ�แพงพระนคร มีกำ�แพง สองข้างทางตัง้ แต่ก�ำ แพงพระนครไปจนเกือบถึงตำ�หนักแพ มีประตู ที่สุดกำ�แพงเรียกว่า ฉนวนกำ�แพง ฉนวนด้านเหนือ เป็นเขตโรงสี ข้าว และฉางข้าวหลวง ลักษณะของตำ�หนักแพ เป็นแบบเรือน 3 ห้อง เฉลียงรอบ ฝาผนังเป็นแบบบานพับ (บานเฟี้ยม) ที่ตั้งของตำ�หนักแพ กินเขตเข้าไปในโรงสี มีกำ�แพงกั้น ย่อเขตเข้าไป หลังตำ�หนักแพเป็นลานว่างสี่เหลี่ยม กว้างประมาณ 7 วา ด้านใต้กินเขตบ้านพระยาราชมนตรี ซึ่งเป็นจางวางข้าหลวง เดิมในรัชกาลที่ 3 อีกด้านหนึ่งติดกับกำ�แพงฉนวน และมีเพิงห้อง แถวตลอดไปจนถึงบ้านพระยาราชมนตรี ติดกับกำ�แพงเมือง สรุปได้ว่า วังครั้งเป็นที่ประทับของกรมขุนราชสีหวิกรม เป็นทั้งที่ประทับ ที่ทรงงานและที่ทำ�งานด้านการช่างทุกชนิด รวม ทั้งเป็นที่อยู่ของช่างต่างๆ เหล่านี้ด้วย จำ�นวนคนที่อยู่อาศัยในวัง ไม่ตำ�กว่า 200 คน ทั้งชายหญิง เด็ก ผู้ใหญ่

21


สิ่งก่อสร้างที่ยังเป็นถาวรวัตถุในปัจจุบัน 3. กำ�แพง ยังคงใช้กำ�แพงแบบใบเสมา เพื่อแสดงให้รู้ว่า เป็นวังเจ้าฟ้าครั้งรัชกาลที่ 1 คือ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนกษัตรานุ ชิต ซึ่งเป็นพระราชนัดดาที่เสด็จประทับที่วังนี้เป็นพระองค์แรก 4. ศาลาในสวน เป็นศาลาหลังเล็กมีฝาด้านหลังเพียงด้าน เดียว ทาสีเขียว สร้างขึน้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยมีลวดบัว เท้าแขน และเชิงชาย เป็นไม้จำ�หลักลาย ลูกกรงเฉลียงเป็นเหล็กหล่อแบบ ยุโรป สมัยวิคตอเรียน อาคารอื่นๆ คงจะรื้อไปหมดแล้ว และได้สร้างอาคารขึ้น ใหม่อกี หลายหลัง เพือ่ ใช้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร ส่วนอาคารดัง กล่าวข้างต้นยังใช้เป็นอาคารเรียน และทีแ่ สดงงานของมหาวิทยาลัย ต่อไป

1. ห้องพระโรง มีลกั ษณะเด่นคือ เป็นท้องพระโรงหลังคา ทรงไทย หลังคาชั้นเดียว ไม่มีมุขลด แสดงว่าเป็นท้องพระโรงที่ สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประทับของกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ซึ่งมิได้เป็น เจ้าฟ้า หน้าบัน เป็นฝาปะกน มีชอ่ ฟ้าใบระกา หางหงส์ นาคสะดุง้ ทาสีดินแดง ลูกกรงกำ�แพงแก้วเป็นเหล็กหล่อลวดลายแบบสมัย วิคตอเรียน 2. ตำ�หนักที่ประทับ 2 หลัง ตำ�หนักทั้ง 2 หลังนี้ เป็นสถาปัตยกรรมแบบยุโรป โดยมี ลวดบัวคล้ายไปทางอิตาเลียนเรอเนซองส์ (Italian Renaissance) โดยที่เฉลียงรับหลังคาด้วยเสากลมตอนบนเป็นบัวแบบใบผักกาด ตอนล่างเป็นโค้งครึ่งวงกลมบนเสารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หน้าต่างบาง แห่งยังเป็นบานเกล็ดไม้ปรับมุมได้ ที่หน้าบันเป็นลายปูนปั้น ตรง กลางเป็นรูปกลม 2 ข้างเป็นสามเหลีย่ ม ล้อมด้วยปูนปัน้ คล้ายแพร ระบาย ฯลฯ

22


บรรณานุกรม หนังสือ วังท่าพระ ศูนย์กลางของช่างสิปป์หมู่ 200 ปี

23


24


Y


Z


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.