สารบัญ หน้า 3 4 8 9
12
คำ�นำ� ประวัติ ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
ด้านกายภาพ
ที่ตั้งของตำ�บล ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะของดิน ทรัพยากรธรรมชาติ น้ำ� ป่าไม้ ภูเขา
14 ส่วนที่ 2 โครงสร้างชุมชน 15 ด้านการเมือง/การปกครอง เขตการปกครอง การเลือกตั้ง
16 ประชากร ข้อมูลเกี่ยวกับจำ�นวนประชากร ช่วงอายุและจำ�นวนประชากร
17 สภาพทางสังคม การศึกษา สาธารณสุข อาชญากรรม ยาเสพติด การสังคมสงเคราะห์
20 ระบบบริการพื้นฐาน การคมนาคมขนส่ง การไฟฟ้า การประปา โทรศัพท์ ไปรษณีย์หรือการสื่อสาร หรือการขนส่งและวัสดุ ครุภัณฑ์
หน้า 2
หน้า 22 ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม 22 การนับถือศาสนา ประเพณีและงานประจำ�ปี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
24 ส่วนที่ 3 โครงสร้างเศรษฐกิจและอาชีพ ระบบเศรษฐกิจ การเกษตร การประมง การปศุสัตว์ การบริการ อุตสาหกรรม การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ แรงงาน
26 ส่วนที่ 4 ผลิตภัณฑ์ชุมชน 26 เครื่องแกงชุมชนบ้านโตรม 28 กลุ่มสัมมาชีพ แปรรูปดุกร้า และปลาดุกแดดเดียว 30 ส่วนที่ 5 แหล่งท่องเที่ยว 30 ภูเขาเพชร 32 วัดสมัยสุวรรณ 34 ส่วนที่ 6 การวิเคราะห์ศักยภาพชุมชน 36 ส่วนที่ 7 รวมภาพกิจกรรม 38 ส่งเสริมพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ให้ชุมชน 44 ส่งเสริมพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและเพิ่มรายได้ หมุนเวียนให้แก่ชุมชน 46 การสร้างและส่งเสริมพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวโดย ชุมชนด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม 48 อ้างอิง
คำ�นำ�
วิศวกรสังคม ตำ�บลสองแพรก อำ�เภอ ชัยบุรีจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ดำ�เนินการ ตามภารกิจโครงการยกระดับเศรษฐกิจ และสั ง คมรายตำ � บลแบบบู ร ณาการ (1 ตำ�บล 1 มหาวิทยาลัย) มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยจัดหนังสือ ประวั ติ ศ าสตร์ ชุ ม ชนจากการลงพื้ น ที่ เก็บข้อมูลของวิศวกรสังคมตำ�บลสอง แพรกและได้ ร วบรวมประวั ติ ศ าสตร์ ของตำ�บลสองแพรก และข้อมูลพื้นฐาน ของตำ�บล ได้แก่ พื้นที่อาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศ จำ�นวนประชากร การประกอบอาชีพ สถานที่สำ�คัญ สถานที่ท่องเที่ยว ผลิตภัณฑ์ชุมชน ข้ อ มู ล หมู่ บ้ า นเกษตรกรและปราชญ์ ชาวบ้านภายในหมู่บ้าน เพื่อให้ทราบ ถึงข้อมูลภายในตำ�บล โดยมีรายงาน ผลการดำ�เนินโครงการฯ ซึ่งดำ�เนิน ได้ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ า หมาย ที่ กำ � หนดไว้ ห นั ง สื อ เล่ ม นี้ จั ด ทำ � ขึ้ น เพื่ อ สร้ า งความเข้ า ใจและอำ � นวย ความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่ ผู้นำ�ชุมชน ตลอดจนผู้เกี่ยวข้อง ในการใช้ข้อมูล ประกอบการปรับปรุงและพัฒนาชุมชน ภายในตำ�บล หรือใช้ประโยชน์ ในด้าน อืน่ ๆ ซึง่ สามารถประยุกต์ใช้ ให้เหมาะสม กับหนังสือเล่มนี้
หน้า 3
เดิมตำ�บลสองแพรกเป็นตำ�บลหนึ่งของอำ�เภอพระแสง มี พื้นที่ กว้างขวาง และห่างไกลจากตัวอำ�เภอ พระแสงราษฎรไป ติดต่อราชการ เดินทางด้วยความยากลำ�บาก ราษฎรในพื้นที่นำ� โดยนายวีระ เลิศตระกูล กำ�นันต.สองแพรก และผู้ ใหญ่บ้าน ได้ ประชุมปรึกษาหารือกัน เพือ่ ขอแยกออกมาจากอำ�เภอพระแสง ตั้งเป็นกิ่งอำ�เภอ โดยเสนอความเห็นผ่านหม่อมเจ้าหญิง วิภาวดีรังสิต ขณะที่ท่านได้เดินทางมาที่อำ�เภอพระแสง และ ได้เดินทางโดยทางเรือมาที่ตำ�บลสองแพรกเพื่อเยี่ยมราษฎร โดยพักค้างที่บ้านนายวีระ เลิศตระกูล กำ�นันตำ�บลสองแพรก ซึ่งอยู่ใกล้วัดสมัยสุวรรณ ซึ่งหม่อมเจ้าหญิงวิภาวดีรังสิตเดิน ทางมาเป็นครั้งที่ 3 เพื่อต้องการให้หม่อมหญิงวิภาวดีรังสิต กราบบังคมทูลฯเชิญพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯให้ทรงมา เยี่ยมราษฎรที่ตำ�บลสองแพรก
หน้า 4
ประวั ติ
ในวันที่ 27 กันยายน 2515 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วยสมเด็จ พระนางเจ้าพระบรม ราชินีนาถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามมกุฎราชกุมารี เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์ วลัยลักษณ์อัครราชกุมารี ได้ทรงเสด็จ พระราชดำ�เนินมาเยี่ยมราษฎร ที่วัดสมัยสุวรรณ ซึ่งตั้งอยู่ ตำ�บลสองแพรก อำ�เภอพระแสง และพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้เข้ากราบเจ้าอาวาส ซึ่ง ตอนนั่นคือท่ า นพระครู สุว รรณโอกาสและได้ ทรงถามท่าน พระครูฯว่าจะให้ทางพระราชวังช่วยเหลืออะไร ได้บ้าง ท่าน พระครูฯบอกไปว่า ขอให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดชได้พระราชทานกิ่งอำ�เภอ ให้กับราษฎรตำ�บลสอง แพรก เพราะมีพื้นที่กว้างขวาง ห่างไกลกับตัวอำ�เภอพระแสง ราษฎรเดินทางไปติดต่อราชการที่อำ�เภอพระแสงด้วยความ ยากลำ�บาก ไม่มีถนนหนทางที่จะเดินทางไป โดยมีการเดิน ทางได้แค่ เส้นทางเรือเท่านั้น และลำ�คลองก็คดเคี้ยวตื้นเขิน จึงไม่สะดวกและเกิดอันตรายในการเดินทางอยู่เป็นประจำ� ต่อมากระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศแยก หมู่ 6 บ้านคลอง พังกลาง หมู่ 7 บ้านยวนปลา, หมู่ 8 บ้านบางปานหมู่ 9 บ้าน สองแพรก, หมู่ 10 บ้านสระพัง, หมู่ 11 บ้านพานไทร ตำ�บล สองแพรก มาเป็นตำ�บลชัยบุรี เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2521 และ กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศตั้งกิ่งอำ�เภอชัยบุรี ชื่อที่ตั้งขึ้น นั่นเพื่อเป็นเกียรติแก่ ขุนชัยบุรี ซึ่งเป็นนายอำ�เภอพระแสงคน แรก เมือ่ วันที่ 5 มีนาคม 2524 โดยโอนพืน้ ทีข่ องตำ�บลสองแพรก และตำ�บลชัยบุรี ของอำ�เภอพระแสง เป็นกิ่งอำ�เภอชัยบุรี
หน้า 5
ได้เปิดทำ�การให้บริการประชาชนครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2524 โดยใช้ศาลาการ เปรียญของวัดสมัยสุวรรณ หมู่ที่ 1 ตำ�บลสองแพรก เป็นที่ทำ�การชั่วคราว โดยมีนาย วิสูตร ตันสุทธิวัฒน์ เป็นปลัดอำ�เภอผู้เป็นหัวหน้าประจำ�กิ่งอำ�เภอ คนแรกต่อมากระทรวง มหาดไทย ได้ประกาศ แยกหมู่บ้าน เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2533 มีหมู่ 3 บ้านปลายศอก, หมู่ 4 บ้านบางหอย, หมู่ 7 บ้านปลายคลองศอก, หมู่ 8 บ้านควนฮาย, หมู่ 9 บ้านน้ำ�แดง, หมู่ 10 บ้านหินคุ้งคั้ง, หมู่ 11 บ้านปลายคลองบางปัด ตำ�บลสองแพรก ออกเป็นตำ�บล คลองน้อย และแยกหมู่ 5 บ้านบางปาน, หมู่ 6 บ้านสองแพรก, หมู่ 9 บ้านไทรงาม, หมู่ 10 บ้านควนสระ, หมู่ 11 บ้านควนสินชัย, หมู่ 12 บ้านสองแพรกใหม่ ตำ�บลชัยบุรี ออก เป็นตำ�บลไทรทอง เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2524 โดยนายนภา กาญจนกีรณา ปลัดอำ�เภอ ผู้เป็นหัวหน้าประจำ� กิ่งอำ�เภอได้ประกาศยกฐานะจากกิ่งอำ�เภอมาเป็นอำ�เภอ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2526 กระทรวงมหาดไทยได้จัดสรรงบประมาณในการก่อสร้างที่ว่าการกิ่งอำ�เภอชัยบุรี ณ พื้นที่หมู่ที่ 1 ซึ่งเป็นศูนย์กลางของพื้นที่ โดยนายลัก ศักดิ์จันทร์ และนายทวี ชูนาวา ได้บริจาคที่ดินประมาณ 42 ไร่ และได้ดำ�เนินการเปิดให้บริการประชาชน เมื่อวันที่ 4
หน้า 6
กรกฎาคม 2537 โดยมี นายนิพันธ์ ชลวิทย์ เป็นนายอำ�เภอคนแรก กระทรวงมหาดไทย ได้ประกาศ ให้ตำ�บลชัยบุรีมีเขตปกครอง 10 หมู่บ้าน ตำ�บลคลองน้อยมีเขตปกครอง 10 หมู่บ้าน ตำ�บลไทรทองมีเขตปกครอง 8 หมู่บ้าน ตำ�บลสองแพรกมีเขตปกครอง 9 หมู่บ้าน และ เมื่อ พ.ศ 2526 กระทรวงมหาดไทย ได้อนุมัติงบประมาณก่อสร้างที่ว่าการอำ�เภอขึ้นใหม่ แทนหลังเก่าที่ชำ�รุดเสื่อมโทรม และได้เริ่มเปิดให้บริการ แก่ประชาชนครั้งแรกเมื่อวัน ที่ 23 ก.พ.2554 โดยนายสุรพล ลิ่มศิลา เป็นนายอำ�เภอ ต่อมาในวันที่ 15 กรกฎาคม 2559 นายพิรุณ วิมลอักษร นายอำ�เภอชัยบุรีในขณะนั่น ได้ดำ�เนินการสร้างอนุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลักษณะองค์ยืน ประดิษฐานไว้หน้าที่ว่าการ อำ�เภอ เพื่อเป็น ที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของพี่น้อง อำ�เภอชัยบุรีและพื้นที่ใกล้เคียง
หน้า 7
สาเหตุที่เรียกว่า “สองแพรก” เนื่องจากมี ลำ�คลองสองสายมาบรรจบกันบริเวณที่ตั้งวัด สองแพรกตั้งอยู่ในอำ�เภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎร์ธานี แบ่งเขตการปกครองออก เป็น 9 หมู่บ้าน มีประชากรในตำ�บล 5,208 คน หน้า 8
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
ด้านกายภาพ ที่ตั้งของตำ�บล ตำ�บลสองแพรก อำ�เภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ทาง ทิศเหนือของอำ�เภอชัยบุรี มีระยะห่างจากที่ว่าการอำ�เภอชัยบุรี ประมาณ 6 กิโลเมตรห่างจากศาลากลาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประมาณ 106 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 78.86 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 49,287.5 ไร่ และมีอาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำ�บลไทรขึง อำ�เภอพระแสง ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำ�บลชัยบุรี อำ�เภอชัยบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำ�บลไทรขึง อำ�เภอพระแสง ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำ�บลคลองน้อย อำ�เภอชัยบุรี
หน้า 9
ประกอบด้วย 9 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านโตรม หมู่ที่ 2 บ้านคลองศอก หมู่ที่ 3 บ้านทางข้าม หมู่ที่ 4 บ้านในช่อง หมู่ที่ 5 บ้านหารยาง หมู่ที่ 6 บ้านปากช่อง หมู่ที่ 7 บ้านคลองโซง หมู่ที่ 8 บ้านหูเชี่ยว หมู่ที่ 9 บ้านย่านยูง
หน้า 10
มีพื้นที่ มีพื้นที่ มีพื้นที่ มีพื้นที่ มีพื้นที่ มีพื้นที่ มีพื้นที่ มีพื้นที่ มีพื้นที่
8 ตารางกิโลเมตร 12 ตารางกิโลเมตร 6.5 ตารางกิโลเมตร 12 ตารางกิโลเมตร 4.4 ตารางกิโลเมตร 13.46 ตารางกิโลเมตร 12 ตารางกิโลเมตร 3 ตารางกิโลเมตร 7.5 ตารางกิโลเมตร
ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเภทเป็นเทือกเขา และมีที่ราบสูงอยู่ทางทิศตะวันออก มีพื้นที่ราบ ต่ำ�ประมาณครึ่งหนึ่งของพื้นที่ทั้งหมด มีลำ�คลองที่สำ�คัญ คือ คลองโตรม คลองศอก และคลองบางปัด
ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะอากาศมีลักษณะแบบมรสุม กล่าวคือ ได้รับอิทธิพลจากฝั่งอ่าวไทย คือ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และจากฝั่งทะเลอันดาหมัน คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียง ใต้ ทำ�ให้มีฝนตกชุกตลอดทั้งปี คือมีฤดูฝนระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนธันวาคม และเป็นฤดูร้อนระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ไม่มีฤดูหนาว
ลักษณะของดิน มีลักษณะโดยทั่วไปเป็นดินร่วนปนทราย
หน้า 11
ทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยว
น้ำ�
คลองโตรม ต้นน้ำ�กำ�เนิดจากเขาพนม จังหวัด
กระบี่ เป็นสายน้ำ�ขนาดใหญ่ มีความยาวประมาณ 50 กิโลเมตร เริ่มต้นที่บ้านสองแพรก ตำ�บลไทรทอง ไหลไปทางทิศเหนือ ผ่านตำ�บลไทรทอง ตำ�บลชัยบุรี สู่ตำ�บลสองแพรก ลงสู่คลองอิปันที่ตำ�บลไทรขึง อำ�เภอพระแสง คลองทางข้าม ต้นน้ำ�กำ�เนิดจากเทือกเขาหน้า แดง ตำ�บลคลองน้อย ไหลไปทางทิศตะวันออก ลงสู่ คลองโตรม ที่บ้านทางข้าม หมู่ที่ 3 ตำ�บลสองแพรก มีความยาว 11 กิโลเมตร คลองศอก ต้นกำ�เนิดจากเทือกเขาหน้าแดง ตำ�บลคลองน้อย ไหลไปทางทิศตะวันออก ลงสู่ คลองโตรม ที่บ้านคลองศอก หมู่ที่ 2 ตำ�บลสอง แพรก มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร
ป่าไม้ ป่าสงวนไสท้อน - คลองโซง
ภูเขา ภูเขาเพชร และเขาหมี อยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านในช่อง
หน้า 12
หน้า 13
โครงสร้างชุมชน
หน้า 14
ด้านการเมือง/การปกครอง
เขตการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตำ�บลสองแพรกได้ยกฐานะจากสภาตำ�บล เป็นองค์การ บริหารส่วนตำ�บล โดยประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดตั้งองค์การบริหาร ส่วนตำ�บล ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539 และประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52 ง. ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2539 มีผล การจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำ�บล ตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 แบ่งการ ปกครองตามลักษณะการปกครองท้องที่ จำ�นวน 9 หมู่บ้าน
การเลือกตั้ง องค์การบริหารส่วนตำ�บลสองแพรก มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้ บริหารท้องถิ่น อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา 17 มาตรา 18 และมาตรา 20 แห่ง พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ.2545 ข้อ 18 และข้อ 22 ของระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยการเลือกตั้ง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ.2554 โดยความเห็นชอบของคณะ กรรมการการเลือกตั้งประจำ�องค์การบริหารส่วนตำ�บลสองแพรก ในคราวประชุม ครั้งที่ 3/2556 เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2556 ได้ประกาศกำ�หนดหน่วยเลือกตั้งและ ที่เลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำ�บลสอง แพรกและนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลสองแพรก จำ�นวน 9 เขตเลือกตั้ง รวม จำ�นวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2556 มีจำ�นวนทั้งหมด 3,614 คน
หน้า 15
ประชากร
ข้อมูลเกี่ยวกับจำ�นวนประชากร
ช่วงอายุและจำ�นวนประชากร
หน้า 16
สภาพทางสังคม
การศึกษา
โรงเรียนประถมศึกษา (โรงเรียนวัดสมัยสุวรรณ) 1 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษา (โรงเรียนชัยบุรีพิทยา) 1 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุมชนวัดสมัยสุวรรณ) 1 แห่ง การศึกษานอกโรงเรียน 1 แห่ง
สาธารณสุข โรงพยาบาลของรัฐ (โรงพยาบาลชัยบุรี) ขนาด 30 เตียง 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล 1 แห่ง คลินิกรักษาโรคทั่วไป 2 แห่ง คลินิกผดุงครรภ์ 1 แห่ง ร้านขายยาแผนปัจจุบัน 3 แห่ง อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ� ร้อยละ 100
อาชญากรรม ตำ�บลสองแพรกไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น ประชาชนโดยมีสถานีตำ�รวจชุมชน จำ�นวน 1 แห่ง
แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สิน
ยาเสพติด ปั ญ หายาเสพติ ด ในตำ � บลสองแพรกมี เ ล็ ก น้ อ ยแต่ ไ ด้ รั บ การบำ � บั ด จากหน่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้อง สำ�หรับการแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำ�บลสามารถทำ�ได้เฉพาะตาม อำ�นาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอำ�นาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำ�เภอหรือตำ�รวจแล้วแต่กรณี
หน้า 17
อาชญากรรม ตำ�บลสองแพรกไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สิน ประชาชนโดยมีสถานีตำ�รวจชุมชน จำ�นวน 1 แห่ง
ยาเสพติด ปัญหายาเสพติดในตำ�บลสองแพรกมีเล็กน้อยแต่ได้รับการบำ�บัดจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง สำ�หรับการแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำ�บลสามารถทำ�ได้เฉพาะ ตามอำ�นาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การฝึกอบรมให้ความ รู้ ถ้านอกเหนือจากอำ�นาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำ�เภอหรือตำ�รวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำ�บลสองแพรกให้ความร่วมมือมาโดยตลอด
การสังคมสงเคราะห์ *ดำ�เนินการลงทะเบียนและจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์ *รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด *จัดทำ�ข้อมูลบัตรผู้พิการ *ให้คำ�ปรึกษาการกู้ยืมเงินสำ�หรับผู้สูงอายุและผู้พิการ *กองทุนสวัสดิการชุมชน *การช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส ผู้ยากไร้ ผู้ที่ถูกทอดทิ้งและผู้ป่วยติดเตียง *ปรับสภาพแวดล้อมให้แก่ผู้พิการ *มอบกายอุปกรณ์แก่ผู้พิการ *มอบเงินสงเคราะห์ให้แก่ผู้สูงอายุ *มอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนยากจน
หน้า 18
หน้า 19
ระบบบริการพื้นฐาน
การคมนาคมขนส่ง
ถนนทางหลวงแผ่นดิน จำ�นวน 1 สาย ถนนลาดยาง จำ�นวน 14 สาย ถนนคอนกรีต จำ�นวน 20 สาย ถนนลูกรังและหินผุ จำ�นวน 32 สาย ถนนดินเดิม จำ�นวน 1 สาย
การไฟฟ้า จำ�นวนหมู่บ้านที่ ไฟฟ้าเข้าถึง จำ�นวน 9 หมู่บ้าน จำ�นวนประชาการที่ ใช้ไฟฟ้า ร้อยละ 95 ของตำ�บล ปัญหาคือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะยังไม่สามารถดำ�เนินการครอบคลุมพื้นที่ ได้ทั้งหมด
การประปา มีระบบประปาหมู่บ้าน จำ�นวน 15 แห่ง ปัจจุบันยังประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำ�เนื่องจาก ไม่สามารถจัดหาแหล่งน้ำ�ดิบสำ�หรับผลิตประปาได้
โทรศัพท์ ปัจจุบันในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำ�บลสองแพรก ไม่มีโทรศัพท์สาธารณะ เนื่องจาก ประชาชนได้นิยมใช้โทรศัพท์ส่วนบุคคลแทน ซึ่งสามารถติดต่อสื่อสารได้รวดเร็ว และ สามารถใช้ระบบอินเตอร์เน็ตได้เช่น โทรศัพท์มือถือ สำ�หรับสถานที่ราชการ ยังคงใช้ ระบบโทรศัพท์พื้นฐานในการติดต่อสื่อสาร ใช้อยู่
ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่งและวัสดุ ครุภัณฑ์ - มีบริการไปรษณีย์จากไปรษณีย์ประจำ�อำ�เภอ จำ�นวน 1 แห่ง - มีรถโดยสารประจำ�ทาง สายกระบี่ - สุราษฎร์ธานี และสายชัยบุรี - บ้านส้อง
หน้า 20
หน้า 21
ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
การนับถือศาสนา
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีวัดสมัยสุวรรณและสำ�นักสงฆ์บางน้ำ�อุ่น
ประเพณีและงานประจำ�ปี ประเพณีชักพระบก สรงน้ำ�พระ รดน้ำ�ผู้สูงอายุในวันปากปีปากเดือน ประเพณีวันลอยกระทง / ประเพณีวันสารทเดือนสิบ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น ยาสมุนไพรพื้นบ้าน ยาแผนโบราณ / ขนมไทยโบราณ อาหารพื้นบ้าน / ภาษาถิ่น ประชาชนส่วนใหญ่พูดภาษาใต้
หน้า 22
การต้อนหมู
หน้า 23
โครงสร้างเศรษฐกิจและอาชีพ ระบบเศรษฐกิจ
การเกษตร
ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตร ที่สำ�คัญ ได้แก่ ยางพารา ปาล์มน้ำ�มัน และไม้ผล
การประมง - พื้นที่ตำ�บลสองแพรกไม่มีการประมง –
การปศุสัตว์ การปศุสัตว์ในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลสองแพรก เป็นการประกอบ การในลักษณะเลี้ยงในครัวเรือนเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริม เช่น การ เลี้ยงไก่ เป็ด โค สุกร กระบือเพื่อจำ�หน่ายและบริโภคเองในครัวเรือน
การบริการ สถานีบริการน้ำ�มัน จำ�นวน 3 แห่ง อู่เคาะพ่นสี จำ�นวน 3 แห่ง บริการห้องพัก จำ�นวน 3 แห่ง โรงผลิต บรรจุ สะสมแก๊สหุงต้ม จำ�นวน 1 แห่ง ร้านค้าสะดวกซื้อ จำ�นวน 2 แห่ง
อุตสาหกรรม พื้นที่ตำ�บลสองแพรกไม่มีอุตสาหกรรม
หน้า 24
การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ ธนาคาร จำ�นวน บริษัทสินเชื่อ จำ�นวน ตลาดสด/ตลาดนัด จำ�นวน ร้านขายยา จำ�นวน กลุ่มปุ๋ยเกษตรอินทรีย์ จำ�นวน สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านควนเจริญ จำ�นวน
3 3 3 4 1 1
แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง
แรงงาน แรงงานส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ การรับจ้างกรีดยางพารา รับจ้างแทงทลายปาล์ม น้ำ�มัน
หน้า 25
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
เครื่องแกงชุมชนบ้านโตรม รายละเอียด เป็นการรวมกลุ่มกันของสมาชิกในหมู่บ้านประมาณ 39 คน โดยมีนายประจักษ์ ปุณยานุเดช เป็นประธานกลุ่ม จัด ทำ�กลุ่มทำ�เครื่องแกงทุกชนิด เช่น เครื่องแกงคั่ง เครื่อง แกงส้ม เครื่องแกงกะทิ โดยมีวิธีการทำ�โดยการบดเครื่อง แกงขายปลีก ขายส่งกิโลละ 120-130 บาทโดยจัดจำ�หน่าย ทั้งในหมู่บ้านและนอกหมู่บ้านเป็นอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้แก่ สมาชิกในชุมชน สถานที่ทำ�เครื่องแกง ณ ศาลาหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 เครื่องแกงบดเริ่มทำ�เมื่อปี พ.ศ.2559
หน้า 26
หน้า 27
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
กลุ่มสัมมาชีพ แปรรูปดุกร้า และปลาดุกแดดเดียว รายละเอียด เป็นการรวมกลุ่มกันของสมาชิกในหมู่ที่ 6 บ้านปากช่อง มีสมาชิกประมาณ 30 คน เริ่มจัดตั้งกลุ่มทำ�ปลาร้าและปลาดุกแดดเดียว เมื่อปี พ.ศ.2561 เพื่อทำ�การแปรรูป ผลิตภัณฑ์ปลาดุกร้าและปลาดุกแดดเดียว โดยมีพัฒนาชุนของอำ�เภอ เป็นผู้ประสาน งานให้ความรู้และให้คำ�ปรึกษาในด้านต่าง ๆ โดยมีการเลี้ยงปลาดุกเองในชุมชนและนำ�มา แปรรูปโดยปลาดุกร้าจะต้องทำ�การหมักประมาณ 1 สัปดาห์ส่วนปลาดุกแดดเดียวใช้เวลา ตากแห้งประมาณ 1 วัน มีการจัดจำ�หน่ายขายปลีก ปลาดุกร้าราคากิโลละ 200 บาท ปลาดุกแดดเดียวราคากิโลละ 200 บาท
หน้า 28
หน้า 29
แหล่งท่องเที่ยว
ภูเขาเพชร รายละเอียด อยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านในช่อง เขาเป็นป่าชุมชนที่มีพันธุ์ไม้ถิ่นและสมุนไพรที่น่าสนใจ ได้แก่ ฝนแสนห่า รักเขา ปลาไหลเผือก เป็นต้น และเป็นจุดชมวิวที่สามารถมองเห็นตัวอำ�เภอ ชัยบุรีได้กว้างไกล เป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกที่สวยงาม ปัจจุบัน ชาวชุมชนได้ร่วมกัน พัฒนา ให้เป็นจุดกางเต้นท์ นอนชมดาวและชมทะเลหมอกยามเช้า
หน้า 30
หน้า 31
วัดสมัยสุวรรณ วัดสมัยสุวรรณเดิมชื่อวัดโตรม อยู่ห่างจากที่ว่าการอำ�เภอไปทางทิศเหนือประมาณ 5 กิโลเมตร เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในอำ�เภอชัยบุรี มีฐานะเป็นวัดราษฎร์ ได้รับพระราชทาน วิสุคามสีมาเมื่อ พ.ศ.2476 ที่ตั้งวัดเป็นเอกสารสิทธิ์ น.ส.3ก เนื้อที่ประมาณ 18 ไร่ 2 งานมี นายโสม ไม่ทราบนามสกุลเป็นผู้บริจาคที่ดิน เพื่อสร้างวัดชาวบ้านจึงพาเรียก กันว่า วัดโสม และเพี้ยนเป็นวัดโตรมในที่สุด เมื่อสร้างวัดเสร็จแล้วคณะสงฆ์ได้ตั้งชื่อ วัดเป็นทางการว่า วัดใหม่สุวรรณ โดยมีความหมายว่า เป็นวัด ที่ตั้งขึ้นใหม่ ส่วนคำ� ว่าสุวรรณนั้นก็หมายเอานามสกุลเดิมของเจ้าอาวาสองค์แรกของวัด พ่อท่านร่ม ต่อ มาเมื่อหลวงพ่อชื่น(พระครูนิคมคณาศัย) เป็นเจ้าอาวาสจึงเปลี่ยน ชื่อวัดเป็นวัดสมัย สุวรรณ ในระยะที่เริ่มสร้างวัดนั้นมีนายหิ้น นายย้วน เต้กอ้อต๋ง เป็นผู้สนับสนุนการ สร้างอาคารเสนาสนะต่างๆ อาทิ อุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอฉัน หอระฆัง กุฎิพระ
หน้า 32
หน้า 33
การวิเคราะห์ศักยภาพชุมชน
Êͧá¾Ã¡
มุ่งเข้าสู่ความพอเพียง
ไม่สามารถอยู่รอดได้
ตําบลสองแพรก
มหาว �ทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
¡Åä¡¡Ò÷íÒ§Ò¹¢Í§ÇÔÈÇ¡ÃÊѧ¤Á
¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä»
ตํา บลสองแพรก สาเหตุ ที� เ ร ย� กว่ า "สองแพรก" เนื� อ งจาก มี ลํา คลองสองสายมาบรรจบกั น บร เ� วณที� ตั� ง วั ด สอง แพรกตั� ง อยู่ ใ นอํา เภอชั ย บุ ร � จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี แบ่ ง เขตการปกครองออกเป� น จํา นวน 9 หมู่ บ้ า น มี ป ระชากรในตํา บล 5,208 คน 2,598 คน
2,610 คน
áËÅ‹§¹íéÒµÒÁ¸ÃÃÁªÒµÔ
คลองโตรม คลองศอก และคลองบางป� ด
กํานัน ต.สองแพรก
กลุ่มว �สาหกิจ เครอ�� งแกง บ้านโตรม
3 หน่วยงาน 7 คณะ 1 ว �ทยาลีย
มหาว �ทยาลัย
ชุมชน
กระบวนการ การมีส่วนร่วม
กลุ่มว �สาหกิจ ผสมปุย � เคมี บ้านในช่อง
อว.จ้างงาน ในพื�นที�
สํานักงานเกษตร อําเภอ/สํานักงาน พัฒนาชุมชนอําเภอ ชัยบุร �
ภาคี เคร �อข่าย
กลุ่มว �สาหกิจ ชุมชนปลาดุกร้า บ้านในช่อง
อบต. สองแพรก
วัด 1 แห่ง รร. 3 แห่ง
ÀÙÁÔÍÒ¡ÒÈ
รพ. 1 แห่ง
ลั ก ษณะภู มิ อ ากาศมี 2 ฤดู ก าล ฤดู ร้ อ นและฤดู ฝ น
⨷ ¡ ÒÃ¾Ñ ² ¹Òà¾×è Í á¡Œ ä ¢»˜ Þ ËÒ¤ÇÒÁÂÒ¡¨¹ 1.กิ จ กรรมส่ ง เสร ม � พั ฒ นาสั ม มาชี พ และสร้ า งอาชี พ ใหม่ ใ ห้ ชุ ม ชน (ดํา เนิ น การแล้ ว ) 2.กิ จ กรรมสร้ า งและส่ ง เสร ม � พั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที� ย วโดยชุ ม ชน ด้ ว ย กระบวนการมี ส่ ว นร่ ว ม (ดํา เนิ น การแล้ ว ) 3.กิ จ กรรมส่ ง เสร ม � และสนั บ สนุ น องค์ ค วามรู้ เ ทคโนโลยี ด้ า นต่ า งๆ บร ก� ารว ช� าการให้ ชุ ม ชน (กํา ลั ง ดํา เนิ น การ) 4.กิ จ กรรมส่ ง เสร ม � พั ฒ นาสิ� ง แวดล้ อ มและเพิ� ม รายได้ ห มุ น เว ย� น (ดํา เนิ น การแล้ ว )
á¼¹áÅÐ¡Ô ¨ ¡ÃÃÁ·Õè ´íÒ à¹Ô ¹ ¡Òà เป� น ไปตามเป� า หมาย 6 เป� า หมาย - มี ก ารจั ด การโครงสร้ า งพื� น ฐาน กายภาพสิ� ง แวดล้ อ ม - ส่ ง เสร ม � ความปลอดภั ย ในพื� น ที� - พั ฒ นาระบบสุ ข ภาพคนในพื� น ที� - ส่ ง เสร ม � ระบบยุ ติ ธ รรมในชุ ม ชน - ส่ ง เสร ม � ระบบการสื� อ สารชุ ม ชน - ส่ ง เสร ม � ตํา บลทํา ความดี สรุ ป ตํา บลผ่ า นการประเมิ น 6 เป� า หมายไม่ ส ามารถอยู่ ร อดได้
¡ÒûÃÐàÁÔ ¹ ÈÑ ¡ ÂÀÒ¾µíÒ ºÅ¡‹ Í ¹àÃÔè Á â¤Ã§¡Òà ข้ อ มู ล จากTPMAP ตํา บลสองแพรก จากประชากร 3,687 คน ครั ว เร อ� นจน จปฐ.119 คนยากจน 479 คนจนเป� า หมาย 63
หน้า 34
¼ÅÅѾ¸µÒÁÇѵ¶Ø»ÃÐʧ¤â¤Ã§¡ÒÃ
1.เกิ ด การยกระดั บ เศรษฐกิ จ และสั ง คมรายตํา บลแบบบู ร ณาการ โดยมี มหาว ท � ยาลั ย ในพื� น ที� System integrator 2.เกิ ด การจ้ า งงานประชาชนทั� ว ไป บั ณ ฑิ ต จบใหม่ และนั ก ศึ ก ษา ให้ มี ง านทํา และพื� น ฟู เ ศรษฐกิ จ ชุ ม ชน 3.เกิ ด การพั ฒ นาทั ก ษะในการเสร ม � สร้ า งอาชี พ ใหม่ ใ นชุ ม ชน 4.เกิ ด การจั ด ทํา ข้ อ มู ล ขนาดใหญ่ ใ นชุ ม ชน (Community Big Data)
¼ÅÅѾ¸àªÔ§àÈÃÉ°¡Ô¨ 1.กิ จ กรรมอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ คร อ�� งแกง รายได้ ที� เ พิ� ม ขึ� น ร้ อ ยละ 16.67 คิ ด เป� น 50,400 บาท/ป� 2.กิ จ กรรมอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ป ลาดุ ก ร้ า รายได้ ท�ี เ พิ� ม ขึ� น ร้ อ ยละ 11.11 คิ ด เป� น 480,000 บาท/ป� 3.กิ จ กรรมปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ ภู เ ขาเพชร รายได้ ที� เ พิ� ม ขึ� น = 30 คน x 40 บาท คิ ด เป� น 1,200 บาท 4.กิ จ กรรมพั ฒ นาสั ม มาชี พ รายได้ ที� เ พิ� ม ขึ� น ร้ อ ยละ 20 คิ ด เป� น 10,000บาท/เดื อ น /120,000บาท/ป�
¼ÅÅѾ¸àªÔ§Êѧ¤Á 1.คุ ณ ภาพชี ว ต � ที� ดี ขึ� น 2.การย้ า ยถิ� น ฐานเพื� อ ออกไปหางานทํา ลดลง 3.ลดความเหลื� อ มลํ�า ด้ า นรายได้ ข องคนในชุ ม ชน
¢ŒÍàʹÍá¹Ð - การวางแผนที� ดี มี ก ารจั ด ทํา แผนงานของโครงการล่ ว งหน้ า - การมี ส่ ว นรร่ ว ม ของหน่ ว ยงานภาครั ฐ เอกชน และชุ ม ชน - การจั ด การผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย มี ก ารประชุ ม ร่ ว มกั บ กลุ่ ม มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย เพื� อ หาข้ อ สรุ ป ร่ ว มกั น
หน้า 35
รวมภาพกิจกรรม
หน้า 36
หน้า 37
ส่งเสริมพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ ให้ชุมชน อบรมเชิงปฏิบัติการสนับสนุนส่งเสริมสัมมาชีพด้านเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสร้างรายได้และอาชีพใหม์ให้ครัวเรือนยากจนและครัวเรือนที่รายได้น้อย
วันจันทร์ที่ 13 กันยายน 2564 เวลา 09.30 - 16.30 น. ณ ศาลาหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านในช่อง ตำ�บลสองแพรก อำ�เภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎร์ธานี
หน้า 38
หน้า 39
หน้า 40
หน้า 41
หน้า 42
หน้า 43
ส่งเสริมพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและ เพิ่มรายได้หมุนเวียนให้แก่ชุมชน อบรมเชิงปฏิบัติการและพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์
หน้า 44
หน้า 45
การสร้างและส่งเสริมพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว โดยชุมชนด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม เปิดแหล่งท่องเที่ยว “ภูเขาเพชร”
หน้า 46
หน้า 47
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นาง ปวริศา ราษฎร์เจริญ ตำ�แหน่งอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการฯ 2.นาย ณรงค์ศักดิ์ พฤกษาไพบูลย์ 3.นางสาว เขมิกา รอดสีเสน 4.นางสาว เกตุนภา สุขขวด 5.นางสาว วรรณศิริ ใจหาญ 6.นางสาว มณีรัตน์ ขุนทองจันทร์ 8.นางสาว ขจีวรรณ เกลี้ยงเกตุ 9.นาย โกวิท บุญฤทธิ์ 10.นาย สุธี ศรีมหาวาส 11.นางสาว เพชรชะรี เข็มเพชร 12.นางสาว นภาวรรณ มีพร้อม 13.นางสาว สุดารัตน์ ปรีชา 14.นางสาว ทิพยประภา สมนิล 15.นางสาว อุทุมพร ศรีบุตร 16.นาย คมสัน สุขเจริญ 17.นางสาว มณียา ชัยสวัสดิ์ 18.นางสาว สุทธิดา สุขด้วง 19.นางสาว เพชรัตน์ รัตนรังษี 20.นาย ทรงพล สาระพิจิตร 21.นาย จีรศักดิ์ ภิรมย์ 22.นางสาว อมรรัตน์ ดำ�รื่น 23.นางสาว ปรียาภรณ์ ปรีชา 24.นางสาว ปิยะนุช ชูไทย 25.นางสาว รัฐวัณย์ ชูไทย 26.นาง วราภรณ์ ไทยสุภาพ
หน้า 48