ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านหนองบัวน้อย หมู่ที่ 8 ตาบลโสกนกเต็น อาเภอพล จังหวัดขอนแก่น
นาชุมชนอ าเภอพล งหวัดขอนแก่ สานัพักฒงานพั ฒนาชุ มชนอจัาเภอพล จังนหวัดขอนแก่น
“หมู่บ้านทอผ้า แดนป่าแห่งตานาน ถิ่นหินล้านปี ลายผ้ามัดหมี่ ไหมงามดีฮีตสิบสอง ท่องเที่ยววิถีชุมชน สูงล้นศูนย์รวมจิตใจ พระเจ้าใหญ่ศากยมุณีศรีประทุม”
ติดต่อประสานงานชุมชนท่องเที่ยวนวัตวิถี นายธวัชชัย คาแก้ ว ผู้ใหญ่ บ้าน ประธานคณะกรรมการบริ หารจัดการชุมชนท่ องเที่ยว บ้ านหนองบัวน้ อย หมู่ท่ ี 8 ตาบลโสกนกเต็น อาเภอพล จังหวัดขอนแก่ น โทรศัพท์ 085 -6463008
ความเป็นมาของหมู่บ้านหนองบัวน้อย เมื่อปี 2430 มีนายพรานและพวก เดินทางมาจากอาเภอโกสุมพิสยั จังหวัด มหาสารคาม เพื่อมาหา ล่าสัตว์ และได้ มาพบหนองน ้าแห่งหนึง่ ที่มีดอกบัว หลากหลายชนิด/สีมีความสวยงาม และน ้ามีความสะอาดเต็มอยู่ในหนองน ้า ซึง่ อยู่ในกลางป่ าใหญ่ และมีสตั ว์ป่า น้ อยใหญ่ มากมาย จึงตั ้งบ้ านเรือนอยู่ ทางด้ านทิศใต้ ของหนองน ้าแห่งนี ้ และได้ ตั ้งชื่อ หมู่บ้านว่า “หนองบัว” ขึ ้นตรงต่อ ตาบลเมืองพล อาเภอพล และในปี 2530 ได้ แยกตาบล เมืองพล ออกเป็ นตาบลโสกนกเต็น และแยกบ้ านหนองบัว หมู่ที่ 3 เป็ นบ้ าน หนองบัวน้ อย หมู่ที่ 8 มีนายธวัชชัย คาแก้ ว เป็ นผู้ใหญ่บ้าน อาณาเขตบ้ านหนองบัวน้ อย ทิศเหนือติดกับบ้ านโสกนกเต็นพัฒนา ตาบล โสกนกเต็น ทิศใต้ ติดกับ ถนนสาย 207 หนองบัวน้ อย – เมืองพล ทิศตะวันออก ติดกับ ห้ วยขุนปูน,บ้ านหนองไซ,บ้ านท่าไทรงาม ทิศตะวันตกติดกับ บ้ านหนองบัวสันติสขุ ม. 11ตาบลโสกนกเต็น ชาวบ้ านหนองบัวปั จจุบนั มีประชากรอาศัยอยู่จานวน 102 หลังคาเรือน มี อาชีพหลัก คือการทานา ทาไร่ อาชีพเสริมรับจ้ าง เลี ้ยงสัตว์ ปลูกหม่อนเลี ้ยงไหม ทอผ้ าฝ้าย เลี ้ยงวัว รับจ้ างทัว่ ไปส่วนด้ านวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี ยัง ยึดถือปฏิบตั ิตนตามฮีต สิบสองครองสิบสี่ เรื่อยมาตั ้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั
ด้านอาชีพและเศรษฐกิจชุมชน ชาวบ้ านหนองบัวน้ อย มีรายได้ ทั ้งอาชีพ ประจาและอาชีพเสริ ม ได้ แก่ ทานา ทาไร่ ทา สวน ปลูกหมอน เลี ้ยงไหม ทอผ้ า,เลี ้ยงสัตว์ กลุม่ กองทุนที่มีในหมู่บ้าน มีความต่อเนื่องสร้ าง ความเข้ มแข็งให้ แก่ชมุ ชน ได้ แก่ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต กองทุนแก้ ไขปั ญหาความ ยากจน(กข.คจ.) กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง (กทบ.) กลุม่ ปลูกหม่อนเลี ้ยงไหม กลุม่ ทอผ้ า กลุม่ เพาะเห็ดสมาชิก ธนาคารข้ าว โรงสีชมุ ชน กลุม่ เลี ้ยงโค และกิจกรรมเครือข่าย ได้ แก่ เครือข่ายกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง และ เครือข่าย OTOP โดยคนในชุมชนทุกคนมีส่วนร่ วมในการ จัดการชุมชนท่องเที่ยว ผ่านการบริหารจัดการ ชุมชนแบ่งเป็ นคุ้มต่างๆ ดังนี ้
คุ้มที่ 1 ชื่อคุ้มรวงข้ าวสีทอง มีนายจารัส อานาจ .เป็ นหัวหน้ าคุ้ม คุ้มที่ 2 ชื่อคุ้มฟ้าผ่องอาไพ มีนายสี สิงห์สา เป็ นหัวหน้ าคุ้ม คุ้มที่ 3 ชื่อคุ้ม.เส้ นทางสายไหม มีนาย.สุระ จันดา เป็ นหัวหน้ าคุ้ม คุ้มที่ 4 ชื่อคุ้มหัวใจสีปทุม มีนายสมพร รังมาตย์ เป็ นหัวหน้ าคุ้ม ชาวบ้ านหนองบัวน้ อยมีกลุม่ อาชีพต่างๆ มากมาย ซึง่ แต่ละกลุ่มล้ วนแล้ วแต่จดั ตั ้ง ขึ ้นมาเพื่อช่วยเหลือกันเองในชุมชน ที่เป็ นกลุม่ ที่เข้ มแข็งมีการลงทะเบียนเป็ นกลุ่ม OTOP เช่น กลุม่ ปลูกหม่อนเลี ้ยงไหม กลุม่ ทอผ้ า ซึง่ มี การพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง กิจกรรมของกลุ่ม เช่น ขายใบหม่อน ขายเส้ น ไหม การทาชาใบหม่อน การทอผ้ าไหม ผ้ า คลุมไหล่ ซึง่ กิจกรรมเหล่านี ้สามารถดึงดูด นักท่องเที่ยวเข้ ามาจับจ่ายในชุมชนได้
พระเจ้ าใหญ่ศากยมุณีศรีประทุม ที่วดั ศรีหงษ์ ทอง ซึง่ เป็ นพระพุทธรูปที่คนในชุมชนให้ ความเคารพ ศรัทธา เพื่อความเป็ นสิริมงคล ถือเป็ นศูนย์ รวมจิตใจของคนทั ้งตาบล
ในหมู่บ้านหนองบัวน้ อย ได้ มีการถ่ายทอด องค์ความรู้และภูมิปัญญา โดยสร้ างฐานการ เรียนรู้ในหมู่บ้าน แบ่งเป็ นฐานต่างๆโดยมี ผู้รับผิดชอบคือ - ฐานเรียนรู้ที่ 1 การปลูกหม่อน เลี ้ยงไหม มี นางเกสร นามวงค์ เป็ นปราชญ์ มีกิจกรรมให้ ความรู้เรื่องการปลูกหม่อน การเลี ้ยงไหม การ สาวไหม - ฐานเรียนรู้ที่ 2 การทอผ้ า มีนางเกสร นาม วงค์เป็ นปราชญ์ กิจกรรมให้ ความรู้เรื่องการ มัดหมี่ การย้ อมสีเคมีย้อมสีธรรมชาติ การทอ ผ้ า การแปรรูปผ้ าทอ
- ฐานเรียนรู้ที่ 3 กลุม่ ออมทรัพย์เพื่อการผลิต มีนางลาไพ กองเกิด เป็ นปราชญ์ มีกิจกรรม.ให้ ความรู้เรื่อง การทาบัญชี การจัดสวัสดิการ การจัดทางบดุล - ฐานเรียนรู้ที่ 4 กลุม่ เลี ้ยงโค มีนายคาวงษ์ นามวงค์ เป็ นปราชญ์ กิจกรรมให้ ความรู้เรื่องการเลี ้ยงโค การดูแลโค - ฐานเรียนรู้ที่ 5 กลุม่ เพาะเห็ดมีนายจารัส อานาจเป็ น ปราชญ์ กิจกรรมให้ ความรู้เรื่องการเพาะเห็ดนางฟ้าเห็ด ขอนขาว การตลาด - ฐานเรียนรู้ที่ 6 โรงสีข้าวชุมชนและธนาคารข้ าว มีนาย ธวัชชัย คาแก้ ว เป็ นปราชญ์ กิจกรรมให้ ความรู้เรื่อง การ รับ-จ่ายข้ าว การเก็บข้ าว การบริหารจัดการ
ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี
เพียงการเดินทางมาถึงบ้ านหนองบัวน้ อย จะได้ รับการต้ อนรับด้ วย การแสดงพื ้นเมืองอีสาน ที่มีจงั หวะทานองค่อนข้ างเร็ ว สนุกสนาน ที่เร้ าใจ ให้ ผ้ ทู ี่มาเยือนต้ องเข้ าไปร่ วมในการฟ้ อนราด้ วยกัน ท่วงท่าของการร่ ายราแบบอีสานเรี ยนรู้ได้ ไม่ยาก เพราะเป็ นการแสดง ที่เลียนแบบมาจากท่าทางของกิจวัตรเกี่ยวข้ องกับชีวิตประจาวัน และ สะท้ อนให้ เห็นถึงการประกอบอาชีพและความเป็ นอยู่ต่างๆ รอยยิ ้มที่เกิดขึ ้นจากความประทับใจในการต้ อนรับอันอบอุ่น มีความ สนุกสนานตั ้งแต่ก้าวแรก และจะต่อเนื่องจนถึงการกลับมาเยือนในครัง้ ต่อไป นัน่ คือเป้าหมายของชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี
หมู่บ้านท่องเที่ยวรูปแบบวิถีชุมชน ที่มีความเป็ น เอกลักษณ์ในแบบชุมชนเพื่อที่จะขับเคลือ่ นในด้ าน การท่องเที่ยวในระดับท้ องถิ่นให้ ก้าวขึ ้นไปสูก่ ารเป็ น แหล่งท่องเที่ยวระดับจังหวัดได้ ความโดดเด่นของ บ้ านหนองบัวน้ อย คือ วิถีชีวิตของชุมชน ที่มีความ เป็ นอัตลักษณ์ ให้ นกั ท่องเที่ยวได้ ศึกษาเรี ยนรู้ พระ เจ้ าใหญ่ ” พระศากยมุณีศรีประทุม ณ วัดศรี หงส์ทองสถานที่สาคัญทางศาสนาที่ชาวพุทธจะได้ ไปกราบนมัสการ พร้ อมทั ้งเจริญจิตเจริ ญใจ ของดี อีกหนึง่ อย่างนั ้นก็คือ อาหารพื ้นบ้ านที่ปรุงขึ ้นจาก วัตถุดิบที่หาได้ จากธรรมชาติที่มีอยู่ภายในชุมชน ด้ วยศักยภาพต่างๆที่มีจงึ เป็ นหมู่บ้านที่ต้อง ส่งเสริมให้ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ความ เชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ นักท่องเที่ยว สามารถใช้ เวลากับกิจกรรมการท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ในชุมชนหนองบัวน้ อยตลอดจนชุมชนใกล้ เคียงที่มี เส้ นทางการท่องเที่ยวเชื่อมโยงกันและกิจกรรมการ ทอผ้ าไหม การย้ อมสี การเลี ้ยงไหม การทาแปลงผัก ปลอดสารพิษ การเพาะเห็ด และวิถีชีวิตของชาวบ้ าน รวมถึงโสกผีดิบ สถานที่ที่ต้องมาเยือนที่นี่เท่านั ้น
ป่าแห่งตานาน หินล้านปี โสกผีดิบ
"โสกผีดิบ" โสกผีดิบ คาว่า "โสก" เป็ นภาษาอีสาน แปล ความได้ ว่าเป็ นบริเวณที่เกิดการกัดเซาะจาก กระแสน ้า จนกลายเป็ นโสกหรือโตรกธารน ้าไหล โสกผีดิบ ตั ้งอยู่ที่บ้านหนองบัวน้ อย หมู่ 8 ตาบล โสกนกเต็น อาเภอพล จังหวัดขอนแก่น เกิดในหมวด หินภูทอก อายุยคุ ครีเทเซียสตอนปลาย ซึง่ ประกอบ ไปด้ วยหินทรายเป็ นส่วนใหญ่ วางตัวเอียงเทเล็กน้ อย ไปทางทิศเหนือ แสดงลักษณะโครงสร้ างทางตะกอน วิทยาแบบชั ้นเฉียงระดับ (Cross bedding ) โสกผีดิบ มีลกั ษณะทางธรณีสณ ั ฐานที่เกิดจากการผุพัง (Weathering) และ การกร่อน (Erosion) ได้ หิน รูปร่ างแปลกตามากมาย มีลกั ษณะคล้ ายลานหินตะ ปุ่ ม ตะป่ า และแท่งเสาหิน ลักษณะดังกล่าวเกิดจาก การที่มีแรงมากระทาต่อเนื ้อหินก่อให้ เกิดรอยแยก (Joint) ในเนื ้อหินสองแนวตัดกัน คือ 1) แนวรอยแยก วางตัว เหนือ-ใต้ 2) แนวรอยแยกวางตัว ตะวันออกตะวันตก
ต่อมาถูกน ้าฝนและน ้าผิวดินกัดกร่อนบริเวณ รอยแยกทั ้งในแนวดิ่งและแนวราบ เนื ้อหินตามแนว รอยแยกถูกน ้าพัดพาหายไป เหลือแต่เนื ้อหินตรง กลางเป็ นก้ อนปุ่ มมน กาลเวลาผ่านไป. การกัด กร่อนขยายพื ้นที่มากขึ ้น จนเกิดเป็ นลักษณะโสก หรือโตรกธารน ้าไหลอย่างที่เห็น โสกผีดิบ มีตานานที่เขียนไว้ ในป้ายไม้ เล่าว่า ราวปี 2480 เกิดโรคห่าระบาด ในหมู่บ้านใกล้ เคียง กับพื ้นที่โสกแห่งนี ้ ชาวบ้ านทาพิธีไม่ทนั จึงพา กันเอาศพมาทิ ้งที่นี่เป็ นที่มาของชื่อ "โสกผีดิบ“
ท่องเที่ยวโสกผีดิบ ไม่เพียงแต่เป็นป่าแห่งตานาน หินล้านปี แต่ยังเป็นป่าสมุนไพร พืชท้องถิ่นและไม้หายาก เป็นแหล่ง เรียนรู้พืชพันธ์ของเยาวชนในชุมชน การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติแบบมีสว่ นร่วมนี ้สอดคล้ องกับวิถีชีวิตของคนในชุมชน การสืบสานการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติต่อจากการอนุรักษ์ แบบดั ้งเดิมตามภูมิปัญญา ท้ องถิ่น ชนิดพันธุ์ไม้ ที่พบจากการเดินสารวจในโสกผีดิบ อาศัยพื ้นฐานสังคมชนบทไทยที่ชาวบ้ าน ล้ วนอาศัยพึง่ พาป่ าทั ้ง ในแง่ปัจจัย 4 ได้ แก่ อาหาร สมุนไพร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยมาช้ า นาน นอกจากนี ้ผลผลิตจากป่ าเป็ นเพื่อสร้ างรายได้ พอยังชีพ อีกทั ้งป่ ายังเป็ นแหล่งที่มาของ ความเชื่อ ประเพณี ซึง่ เป็ นรากฐานความสัมพันธ์ ของชุมชน การมีสว่ นร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นและ สถานศึกษา ได้ ใช้ โสกผีดิบเป็ นแหล่ง เรียนรู้พืชท้ องถิ่น ซึง่ เป็ นกิจกรรมน่าสนใจของการท่องเที่ยวอีกด้ วย
การจัดการความรู้ของชุมชน ในชุมชนมีการจัดการความรู้และบันทึกภูมิปัญญาท้ องถิ่น และถ่ายทอดแก่คนรุ่นหลัง รวมถึงการเผยแพร่ผ้ ูมาเยือนและ ผู้สนใจ เช่น การปลูกหม่อน การเลี ้ยงไหม การทอผ้ า การย้ อมสี ธรรมชาติ บ้ านหนองบัวน้ อยจึงถือว่าเป็ นศูนย์ การเรียนรู้ เศรษฐกิจ พอเพียงต้ นแบบ ในหมู่บ้านมีแหล่งเรี ยนรู้ชมุ ชนที่ให้ คนในชุมชน และนักท่องเที่ยวได้ เรียนรู้ ได้ แก่ ศูนย์เรี ยนรู้ การปลูกหม่อนเลี ้ยง ไหมตั ้งแต่ต้นน ้าถึงปลายน ้า และที่เป็ นเอกลักษณ์คือการทอผ้ า ไหมฮีต 12 สืบสานงานทอผ้ าลวดลายที่สอดคล้ องกับวิถีชมุ ชน
‘ผ้าไหม12ฮีต’ หนึ่งเดียวในอิสาน ผลงานสร้างสรรค์จากบ้าน หนองบัวน้อย อ.พล จ.ขอนแก่น หมูบ่ ้านที่ยังคงกลิ่นอายวิถี ชีวิตอิสาน และสืบทอดการทอลายผ้าตามงานบุญประจาเดือน
น.ส.ศรีสอ่ งบุณ ตระกูลวงศ์บญ ุ ศรี คนเล่าเรื่อง
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นเรื่องหนึง่ ของชาว อีสานคือ การยึดถือ “ฮีต” คาว่า “ฮีต” มาจากคาว่า จารี ต หมายถึงสิ่งที่ปฏิบตั ิสบื ต่อกันมา จนกลายเป็ นประเพณีที่ ดีงาม ชาวอีสาน เรี ยกว่า จาฮีต หรือ ฮีต แต่ละเดือนจะมี จารี ตที่ประพฤติปฏิบตั ิในเดือนนั ้น ๆ จนเกิดเป็ นคาว่า “ฮีต สิบสอง” หมายถึง วิถีปฏิบตั ิทั ้ง 12 เดือนในหนึง่ ปี ทั ้งหมดล้ วนเป็ นกุศโลบายที่สง่ เสริมให้ คนในชุมชนได้ ออกมาพบปะสังสรรค์ กนั เพื่อความสนุกสนานและสมัคร สมานสามัคคีรักใคร่กนั แต่ละเดือนจะมี “ฮีต” หรือ ประเพณีที่ชาวอิสานให้ ความสาคัญ แต่ละหมู่บ้านจะมีการกาหนดวันทาบุญ ประจาเดือน ในวันนั ้นทุกคนจะแต่งกายอย่างประณีต ด้ วยผ้ านุ่งผืนที่ดีที่สดุ เพื่อเข้ าร่วมงาน ส่วนใหญ่จะนาผ้ า ไหมออกมานุ่งห่ม เพราะคนอีสานโบราณถือว่าผ้ าไหม เป็ นผ้ าชั ้นสูง ต้ องมีงานบุญงานทานจึงจะนุ่งผ้ าไหม จะ ไม่เอามานุ่งทัว่ ไป ด้ วยเหตุนี ้จึงเกิดการทอผ้ าเป็ น ลวดลายเฉพาะสาหรับงานบุญประจาเดือนนั ้นๆ เรี ยกว่า “ผ้ าไหม 12 ฮีต”
‘ผ้าไหม12ฮีต’ มกราคม – เดือนอ้าย (เดือนเจียง) “บุญเข้ากรรม”
ถือเป็ นกิจกรรมของสงฆ์ เมื่อถึงเดือนอ้ าย พระสงฆ์ จะต้ องเข้ า กรรม เป็ นพิธีที่เรี ยกว่า “เข้ าปริ วาสกรรม” โดยให้ พระภิกษุผ้ ตู ้ อง อาบัติ ได้ สารภาพต่อหน้ าคณะสงฆ์ เพื่อเป็ นการฝึ กจิต สานึกถึง ความบกพร่องของตนเอง พุทธศาสนิกชนจะเตรี ยมหาข้ าวของ เครื่องอุปโภคบริโภคไปถวาย ผ้ าไหมจะมัดเป็ นลายข้ าวหลามตัด เพราะในช่วงนี ้ชาวบ้ านจะ ถวายข้ าวหลามแด่พระสงฆ์ ซึง่ เป็ นข้ าวหลามที่ทาจากข้ าวที่เพิ่ง เก็บเกี่ยวใหม่ๆ ซิ่นที่ใส่ถกู มัดเป็ นลายหมี่บอกเล่ากรรมวิธี ซับซ้ อน
กุมภาพันธ์ – เดือนยี่ “บุญคูณลาน”
หลังเก็บเกี่ยวข้ าวแล้ ว นิมนต์พระสงฆ์ไปเทศน์ที่ลานนวดข้ าว มี การทาบุญตักบาตรเลี ้ยงพระ ประพรมน ้ามนต์ เพื่อความเป็ นสิริ มงคลแก่การเกษตร ทาให้ ข้าวในนาอุดมสมบูรณ์ เมื่อเสร็จพิธี ทาบุญคูณลานแล้ ว ชาวบ้ านจะขนข้ าวใส่ย้ งุ และทาพิธีบายศรี สู่ ขวัญพระแม่โพสพ เพื่อขอให้ พระแม่โพสพบันดาลให้ มีผลผลิตข้ าว มากๆ อีกในปี หน้ า ผ้ าไหมจะมัดเป็ นลายขันหมากเบ็งน้ อย (พานบายศรี) ซึง่ เป็ นสิง่ ที่ ใช้ ในงานบูชา หรือพิธีมงคลทั ้งหลายของชาวอีสาน
มีนาคม – เดือนสาม “บุญข้าวจี่”
เป็ นช่วงปลายหน้ าหนาว มีตานานเกี่ยวกับนางสุชาดาซึง่ เป็ นชายาของพระอินทร์ เป็ นผู้ไม่ค่อยได้ บาเพ็ญกุศล ทาบุญ ต่อมาได้ เกิดมาเป็ นนางนกกระยางขาว พระอินทร์ จึงทรงมาโปรด พร้ อมสัง่ สอนให้ บาเพ็ญกุศลเพื่อจะได้ กลับไปเสวยสุข เวลาไปทาบุญที่วดั พระมักจะเทศน์เรื่อง นางสุชาดาให้ ญาติโยมฟั งถือเป็ นนิทานประจาฮีต ที่สอน ให้ ชาวบ้ านรู้ จกั ทาบุญทาทาน อย่าได้ ตระหนี่ เมื่อเก็บเกี่ยว ข้ าวในนาแล้ ว ได้ ข้าวใหม่ให้ ร้ ูจักแบ่งปั นกัน ชาวบ้ านจึงทอผ้ าไหมเป็ นลายนกกระยางขาว ใช้ สวมใส่ไป ทาบุญประจาฮีตนี ้สืบต่อกันมา
เมษายน – เดือนสี่ “บุญผะเหวด”
บุญผะเหวดหรือบุญมหาชาติ เป็ นงานบุญเดือนสี่ ถือ เป็ นบุญใหญ่ ต้ องใช้ เครื่องบูชาชั ้นสูง ชาวบ้ านจะ เตรี ยมเครื่องถวายพร้ อมขันหมากเบ็ง (พานบายศรี) ขนาดใหญ่ กว่า และมีจานวนมากกว่าบุญเดือนยี่ (บุญคูณลาน ขันหมากเบ็งน้ อย) ลายผ้ าไหมจะเป็ นภาพขันหมากเบ็ง แต่ลวดลายจะ ซับซ้ อนกว่าแบบบุญเดือนยี่ มัดหมี่ยากกว่า การทอใช้ ตะกรอมากกว่า
พฤษภาคม – เดือนห้า “บุญสงกรานต์”
เป็ นการทาบุญวันขึ ้นปี ใหม่ของไทยแต่โบราณ จะมีพิธี สรงน ้าพระพุทธรูป สรงน ้าขอพรจาก พระสงฆ์ ผู้เฒ่าผู้ แก่ พ่อแม่ ญาติผ้ ใู หญ่ ชาวบ้ านจะทาบุญตักบาตรก่อ พระเจดีย์ทราย และเล่นสาดน ้ากันอย่างสนุกสนาน ใช้ ผ้าไหมลายขาเปี ย มีความหมายคล้ ายๆ กับ การ ไขว้ การเกี่ยวพัน หมายถึงความผูกพันของ ชาวบ้ าน เมื่อถึงเดือน 5 ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนให้ กลับมา รวมกัน ผูกพันกันเหมือนลายขาเปี ยผูกฝั่ น คือด้ ายพัน ผูกแขน
มิถุนายน – บุญเดือนหก “บุญบั้งไฟ”
บุญบั ้งไฟจะจัดก่อนฤดูทานา ด้ วยความเชื่อว่า เป็ นการ ขอให้ ฝนตกต้ องตามฤดูกาล ข้ าวกล้ าในนาอุดม สมบูรณ์ ก่อนการจุดบั ้งไฟจะมีการแต่งขันเอ้ (ขันห้ า บูชาแถน) ในพานบูชาของคนอีสานจะมีดอกไม้ ชนิด หนึง่ คือดอกทองพันชัง่ สีขาวๆ คนอีสานโบราณเรียกว่า ดอกแก้ ว ตามความเชื่อของคนอีสาน ดอกไม้ ที่เตรียม มาสาหรับถวายพระ ที่ใส่เข้ ามาในพานจะเรี ยกรวมว่า ดอกแก้ วทั ้งหมด ลายซิ่นฮีตนี ้จะถูกมัดเป็ นลายดอกแก้ ว หรือ ดอก ทองพันชัง่ ไหมจะผูกเป็ นลายนี ้ สีที่ใช้ มกั จะเป็ นสี เขียว ซึง่ แสดงถึงฤดูกาลช่วงฤดูฝนที่พืชพรรณกาลัง งอกงาม
กรกฎาคม – เดือนเจ็ด “บุญซาฮะ”
บุญเบิกบ้ าน บุญแตกบ้ าน หรือบุญซาฮะ เป็ นงานบุญ ในช่วงเดือน 7 เป็ นเดือนที่เริ่มเข้ าหน้ าฝน ถือเป็ นช่วงเริ่มต้ น การทานา คาว่า ซาฮะ เป็ นภาษาอีสานแปลตรงตัวว่า ชาระ เอาสิง่ ไม่ดีออกไปก่อนที่จะเริ่มต้ นทาสิ่งดีๆ การทาบุญซา ฮะนี ้ชาวบ้ านจะพากันเก็บกวาดบ้ านเรือนให้ เรี ยบร้ อย เป็ น การทาความสะอาดครั ้งใหญ่ ในรอบปี ลักษณะลายหมี่เป็ นลายฟั นเลือ่ ย ตามความฮีตเก่าว่า ใช้ เป็ นหนึง่ ในอุปกรณ์ลงไร่ ลงนา ถางป่ า ตัดดงให้ โล่ง ให้ เกลี ้ยง เพื่อให้ นาได้ ผลผลิตดี ไม่มีต้นไม้ หรือวัชพืชบดบัง ต้ นข้ าวในไร่นา
สิงหาคม – เดือนแปด “บุญเข้าพรรษา”
เป็ นช่วงที่พระภิกษุสามเณรต้ องอยู่ประจาวัดตลอด 3 เดือน เนื่องจากช่วงนี ้เป็ นฤดูแห่งการทาเกษตรจึงห้ าม พระภิกษุสามเณรออกเดินทาง เพราะไม่ต้องการให้ ไปเหยียบย่าพืชผลที่ชาวบ้ านเพาะปลูกไว้ ชาวบ้ านจะ หล่อเทียนใหญ่ ถวายเป็ นพุทธบูชาและจะเก็บไว้ ตลอดพรรษา ช่วงนี ้จะใช้ ซิ่นที่เรียกว่า ซิ่นเอาบุญ ชื่อลายหมากหญ้ าหยุม ความดั ้งเดิมของลายนี ้ กล่าว ถึงสตรีที่แฟน หนุ่มบวชเป็ นพระ จะต้ องจาพรรษาในวัดถึง 3 เดือน เธอต้ องไร่ทานาทานา ทั ้งยังต้ องส่งปิ่ นโตอาหารให้ พระ ต้ องเดินลัดเลาะไปตามคันนา มีโคลนกระเด็นใส่ มีหญ้ าเจ้ าชู้เกาะชายผ้ าซิ่นเต็มไปหมด ลวดลายผ้ าจะ ออกมาเป็ นลายดอกดวงเล็กๆ และนิยมย้ อมด้ วยสีธรรมชาติเป็ นสีออกคล ้าๆ เหมือนสีโคลน
กันยายน – เดือนเก้า “บุญข้าวประดับดิน”
เป็ นการทาบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลแก่ญาติมิตรที่ล่วงลับไปแล้ ว ชาวบ้ านจะทาข้ าวปลาอาหารคาวหวาน และข้ าวต้ มมัด พร้ อมหมากพลูที่ห่อใส่ใบตองแล้ วนาไปวางตามโคนต้ นไม้ ในบริเวณวัดและรอบๆ บ้ าน(ที่ เรียกว่า ข้ าวประดับดินคงเป็ น เพราะเอาห่อข้ าวและเครื่องเคียงไปวางไว้ บนดิน) เพื่อให้ ญาติมิตรที่ล่วงลับ ไปแล้ วหรือผีบ้านผีเรือนมากิน เพราะเชื่อว่าในเดือนเก้ านี ้ ผู้ที่ลว่ งลับไปแล้ วจะได้ รับการปลดปล่อยให้ ออกมาท่องเที่ยวได้ จากนั ้นจะมีการทาบุญตักบาตร สมาทานศีล ฟั งเทศน์ และกรวดน ้าอุทิศส่วนกุศลแด่ ผู้ที่ลว่ งลับไปแล้ ว ใช้ ผ้าซิ่นลายเครือกาหลง เป็ นการมัดลายจากธรรมชาติป่าอีสานสมัยโบราณ เนื่องจากเดือน 9 เป็ นเดือน ที่ฝนตกชุก ป่ าไม้ ใบหนา จนแม้ แต่อีกายังบินหลงรัง ลายผ้ าจะมัดเป็ นลายละเอียดซับซ้ อนมากเหมือนเครือ ไม้ ในป่ าโบราณ
ตุลาคม – เดือนสิบ “บุญข้าวสาก”
เป็ นการทาบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ ผ้ ตู าย โดยจะทาสลากให้ พระจับ เพื่อที่จะได้ ถวายของตามสลากนั ้น ในเดือน 10 นี ้ ชาวบ้ านจะนาข้ าวปลาอาหารไปทาบุญที่วดั ในตอนเช้ า โดยนา ห่อข้ าวสาก ไปวางไว้ บริเวณวัดเพื่อให้ ญาติมิตรที่ลว่ งลับไปแล้ ว มารับอาหารและผลบุญที่อทุ ิศให้ จากนั ้นชาวบ้ านจะนาข้ าวสาก ที่พระสวดเสร็จแล้ ว กลับไปที่บ้าน ไปวางไว้ ตามทุ่งนาและรอบ บ้ าน เพื่อให้ ผีบ้าน ผีเรือน เจ้ าที่เจ้ าทาง หรือผีที่ไร้ ญาติมารับ ส่วนบุญ ลายผ้ าจะผูกเป็ นลายสายก่องข้ าว เป็ นลายหมี่ที่ผกู ขึ ้นมาให้ คิดถึงญาติพี่น้องที่ลว่ งลับว่า ถ้ าไม่ไปทาบุญ ญาติที่ตายไปจะ ไม่ได้ กินข้ าวเป็ นผีอดอยาก หิ ้วตะกร้ า สะพายก่องข้ าวมายืน ร้ องไห้ เพราะลูกหลานไม่ทาบุญอุทิศไปให้
พฤศจิกายน – เดือนสิบเอ็ด “บุญออกพรรษา”
ตรงกับวันขึ ้น 15 ค่า เดือน 11 หลังพระภิกษุสามเณรได้ เข้ าพรรษา เป็ นเวลาถึง 3 เดือน ในวันที่ครบกาหนด พระภิกษุสามเณรจะมา ชุมนุมกันอย่างพร้ อมเพรียงที่วดั ชาวบ้ านจะมาร่ วมกันทาบุญ ตัก บาตรถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุสงฆ์ รับศีล และถวายผ้ าจานา พรรษา ตอนค่าจะมีการจุดประทีปโคมไฟในบริเวณวัดและหน้ า บ้ าน บางท้ องถิ่นจะมีการถวายปราสาทผึ ้ง หรือไหลเรือไฟในตอน ค่า เพื่อถวายเป็ นพุทธบูชา ลายผ้ าซิ่นที่ใช้ ในงานบุญเดือนสิบเอ็ด มีลกั ษณะลายคดโค้ งงอ เหมือนน ้าตาเทียนที่เกาะอยู่กบั ต้ นเทียนพรรษาที่ถูกจุดใช้ มาตลอด ช่วงเข้ าพรรษาเป็ นระยะเวลา 3 เดือน
ธันวาคม – เดือนสิบสอง “บุญกฐิน”
เป็ นการถวายผ้ าจีวรแด่พระสงฆ์ ซงึ่ จาพรรษาแล้ ว เริ่มตั ้งแต่วนั แรม 1 ค่า เดือน 11 จนถึงวันขึ ้น 15 ค่า เดือน 12 นิยมถวายผ้ า ไตรจีวรพร้ อมเครื่องอัฐบริขารและเครื่องไทยทาน นอกจากนี ้อาจมี การทาบุญจุลกฐิ น ซึง่ เป็ นการทาผ้ าไตรจีวรจากปุยฝ้ายแล้ วนาไป ทอให้ เสร็ จเป็ นผืน ภายใน 24 ชัว่ โมงนับตั ้งแต่เริ่มลงมือทา เพราะ มีความเชื่อว่าจะได้ บญ ุ มาก ชาวอีสานถือว่าบุญกฐิ นเป็ นบุญ สาคัญที่สดุ เป็ นบุญใหญ่ ได้ อานิสงส์แผ่ไปทุกภพภูมิ บุญเดือนนี ้นิยมใช้ ผ้าซิ่นลายโซ่ตาข่าย หรือในภาษาอิสานเรียกว่า ดาง ในความหมายว่า ผลบุญแผ่กระจายไปเป็ นสายตามการ อุทิศไปถึง
นักท่องเที่ยวสร้ างประสบการณ์ใหม่ทดลองทอเสือ่ กก
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
ประชากรส่วนใหญ่ของภาคอีสานมีอาชีพ ด้ านการ เกษตรเป็ นหลัก จึงจาเป็ นต้ องอาศัยเครื่องมือเครื่องใช้ จากการจักสาน เพราะสามารถนาวัสดุ ในท้ องถิ่นมา ผลิตได้ ด้วยตนเอง และยังเป็ นเครื่องมือเครื่องใช้ พื ้นบ้ าน ที่มีประโยชน์ใช้ สอยได้ ดี ชาวบ้ านหนองบัวน้ อย ได้ จดั เป็ นฐานเรียนรู้สาหรับ ผู้สนใจ พร้ อมกับการใช้ ไม้ ไผ่สร้ างสรรค์เป็ นผลิตภัณฑ์ ชุมชน เพื่อให้ ผ้ มู าเยือนได้ ซื ้อหาไปเป็ นของที่ระลึกจาก การท่องเที่ยวเพื่อการระลึกถึงการเดินทางครั ้งนี ้
ส่วนใหญ่แล้ ว เครื่องจักสานที่ใช้ กนั มากในชีวิต ประจาวัน จะเป็ นพวกภาชนะต่างๆ เช่น กระบุง ตะกร้ า กระจาด เครื่องจักสานที่จาเป็ นต่อชีวิตอีกอย่างหนึ่งคือ เครื่องมือจับและดักสัตว์น ้า เช่น ไซ ข้ อง ตุ้มดักกบ ซ่อน ปุ่ มขังปลา ฯลฯ นอกจากนี ้มีเครื่องจักสานที่เกี่ยวเนื่อง กับการเลี ้ยงไหม และการทอผ้ า เช่น กะเพียดปั่ นฝ้าย กระด้ ง เลี ้ยงไหม จ่อเลี ้ยงไหม จะเห็นได้ ถงึ ความหลากหลายของประโยชน์ใช้ สอยที่ ได้ จากไม้ ไผ่ซึ่งผู้สนใจสามารถมีสว่ นร่วมการจักสานได้
‘เมนูอาหาร บ้านหนองบัวน้อย นอกเหนือจากการดึงดูดนักท่องเที่ยวจาก ความโดดเด่น และมีอัตลักษณ์ของสินค้ าแล้ ว บ้ านหนองบัวน้ อยยังมีสงิ่ ที่นามาต้ อนรับ อาคันตุกะเพื่อสร้ างความประทับใจไม่แพ้ กนั นัน่ คืออาหารพื ้นบ้ านที่ชาวบ้ านตั ้งใจประกอบ ขึ ้นมาจากวัตถุดิบสดใหม่ ปลอดสารพิษจากใน ชุมชนเอง เช่น ยาดักแด้ แหนมเห็ด น ้าพริ กเผา เห็ด ต้ มยาสมุนไพรใบหม่อน หัวปลีชบุ แป้งทอด เป็ นต้ น
เมนูอาหาร บ้านหนองบัวน้อย คัดสรรวัตถุดิบเป็นพิเศษ การจัดทาเมนูพิเศษเพื่อต้ อนรั บผู้มาเยือน เป็ นการคัด สรรวัตถุดิบที่มีคุณค่ าในท้ องถิ่น ที่ไม่ ได้ ให้ เพียงความ อร่ อยแต่ ยังมีประโยชน์ ต่อร่ างกาย มีคุณค่ าทางโภชนาการ ดังนี ้ ดักแด้ ไหม ปั จจุบนั ได้ กลายเป็ น นวัตกรรมสุขภาพ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เปิ ดเผยว่านอกจากนี ้ยัง อุดมไปด้ วยโปรตีนและมีกรดอะมิโน พบว่า ” ดักแด้ ไหมสามารถ เพิ่มการเรียนรู้และความจาซ ้ายังสามารถป้องกันภาวะ ความจา บกพร่องที่พบในโรคสมองเสือ่ ม หรืออัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) “ หัวปลี นับเป็ นกระแสอาหารเพื่อสุขภาพที่มาแรงในต่างประเทศ โดยเฉพาะในกลุม่ คนกินมังสวิรัติ เพราะหัวปลีมีเส้ นใยเหนียว แน่น ให้ รสสัมผัสคล้ ายเนื ้อสัตว์ ที่สาคัญหัวปลีมีแคลอรีต่ามาก มีคณ ุ ค่าทางโภชนาการ ใบหม่ อน มีสรรพคุณ เป็ นยาระงับประสาท ช่วยแก้ อาการปวด ศีรษะ ช่วยลดไข้ แก้ ร้อนในกระหายน ้า ช่วยขับลมร้ อน ช่วยขับ เหงื่อ แก้ ไอ บารุงสายตา แก้ ริดสีดวงจมูก ช่วยรักษา โรคเบาหวาน ช่วยลดระดับน ้าตาลในเลือด ช่วยลดไขมันใน เลือด เห็ด เป็ นแหล่งอาหารโปรตีนจากธรรมชาติเห็ดยังให้ คณ ุ ค่าทาง โภชนาการและมีสรรพคุณทางยา ซึง่ มีคณ ุ สมบัติที่ช่วยเสริม ภูมิค้ มุ กันในร่ างกาย และช่วยลดอัตราความเสี่ยงจากโรคร้ าย ต่างๆ เช่น โรคมะเร็ ง เบาหวาน อัลไซเมอร์ หลอดเลือดหัวใจอุด ตัน และความดันโลหิตสูง เป็ นต้ น
โฮมสเตย์ ชุมชนมีบริการบ้ านพักโฮมสเตย์ สาหรับผู้ที่ต้องการสัมผัสกับวิถีชีวิตในท้ องถิ่นมากขึ ้น หรือสนใจ เรื่องกระบวนการผลิตผ้ าไหมที่มีขั ้นตอนอันซับซ้ อน สามารถพักค้ างคืนที่ในหมู่บ้านได้ ในโฮมสเตย์ บ้ านรับรองแขกของชุมชนพร้ อมต้ อนรับด้ วยความอบอุ่น สิง่ อานวยความสะดวกครบครัน สะอาด สะอ้ าน ในช่วงเปิ ดตัวทางชุมชนมีไว้ รองรับนักท่องเที่ยวถึงยี่สบิ หลัง และในอนาคตคงต้ องเพิ่มตาม จานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ ้นด้ วย นักท่องเที่ยวสามารถติดต่อสารองที่พักได้ ที่ นายธวัชชัย คาแก้ ว ผู้ใหญ่บ้าน และ ประธาน คณะกรรมการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยว บ้ านหนองบัวน้ อย หมู่ที่ 8 ตาบลโสกนกเต็น อาเภอพล จังหวัดขอนแก่น โทรศัพท์ 085 -6463008
การท่องเที่ยว เชื่อมโยง จากแอ่งใหญ่ ไป แอ่งเล็ก
การเชื่อมโยงการท่องเที่ยว จากบ้ าน หนองบัวน้ อย ไปยังอาเภอพล และอาเภอ ใกล้ เคียงของจังหวัดขอนแก่น เป็ นทั ้งการ พัฒนาศักยภาพของชุมชนและส่งเสริ มการ ท่องเที่ยวของจังหวัด การเชือ่ มโยงแหล่งท่องเที่ยวที่ใกล้ เคียงมี หลากหลาย ได้ แก่ วัดสนวนวารีพฒ ั นาราม อาเภอบ้ านไผ่ จิตรกรรมฝาผนังฮูปแต้ มในรูปแบบอีสาน แท้ จริ ง วัดสระบัวแก้ ว อาเภอหนองสองห้ อง จิตรกรรมฝาผนังฮูปแต้ มในรูปแบบอีสานที่มี ความสมบูรณ์ กู่เปื อยน้ อย อาเภอเปื อยน้ อย ปราสาทหินที่ มีสภาพสมบูรณ์ที่สดุ ที่อีสานตอนบน
โปรแกรมการท่องเที่ยว บ้านหนองบัวน้อย หมู่ที่ 8 ตาบลโสกนกเต็น อาเภอพล จังหวัดขอนแก่น การท่องเที่ยวในหนึ่งวัน One Day Trip เวลา 09.30 น. เดินทางถึงบ้านหนองบัวน้อย หมู่ที่ 8 ตาบลโสกนกเต็น อาเภอพล สักการะ“ พระเจ้าใหญ่ ” พระศากยมุณีศรีประทุม ณ วัดศรีหงส์ทอง เวลา 10.00 น. ประธานชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี กล่าวต้อนรับอย่างเป็น ทางการ รับประทานอาหารว่าง เวลา 10.30 น. ชมกี่ร้อยปี และบ้านไม้โบราณ สร้างแบบวัฒนธรรมอีสานดังเดิม ชมการจักสาน เรียนรู้การ การสานไม้ไผ่และ การแปรรูปสินค้า ของฝากที่ทาจากไม้ เวลา 12.00 น. พักรับประทานอาหารพื้นถิ่น 5 เมนูรสเลิศพร้อมชมการแสดง จากชาวบ้าน เวลา 13.00 น. ชมสวนหม่อนแม่เกสร เรียนรู้ต้นกาเนิดผ้าไหมฮีต 12 และกระบวนการ ทอผ้า(ปลูกหม่อน/เลี้ยงไหม/สาวไหม/ย้อมไหม/มัดหมี่/ทอผ้า) พร้อมชม ช้อป แชะ แชร์ ผลิตภัณฑ์จากผ้าไหมที่หลากหลาย เวลา 14.30 น. สักการะเจ้าพ่อขุนหาญ ณ ป่าโสกผีดิบ แหล่งท่องเที่ยวทางธรณีวิทยา และร่วมปลูกป่าโดยการยิงหนังสติ๊กเมล็ดพันธ์ เวลา 16.00 น. เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ
การท่องเที่ยวแบบค้างคืน จานวน 2 วัน 1 คืน วันแรก เวลา 9.30 น. เวลา 10.00 น. เวลา 11.00 น.
เวลา 12.00 น. เวลา 13.00 น.
เวลา 14.30 น. เวลา 16.00 น. เวลา 18.00 น. เวลา 19.30 น.
เวลา 21.00 น.
เดินทางถึงบ้านหนองบัวน้อย หมู่ที่ 8 ตาบลโสกนกเต็น อาเภอพล สักการะ “ พระเจ้าใหญ่ ”พระศากยมุณีศรีประทุม ณ วัดศรีหงส์ทอง ประธานชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี กล่าวต้อนรับอย่างเป็นทางการ พร้อมรับประทานอาหารว่างเก็บสัมภาระเข้าโฮมสเตย์ที่พัก ชมกี่ร้อยปี และบ้านไม้โบราณ สร้างแบบวัฒนธรรมอีสานดังเดิม ชมการจักสาน เรียนรู้การ การสานไม้ไผ่และ การแปรรูปสินค้า ของฝากที่ทาจากไม้ พักรับประทานอาหารพื้นถิ่น 5 เมนูรสเลิศ ชมสวนหม่อนแม่เกสร เรียนรู้ต้นกาเนิดผ้าไหมฮีต 12 และกระบวนการ ทอผ้า (ปลูกหม่อน/เลี้ยงไหม/สาวไหม/ย้อมไหม/มัดหมี่/ทอผ้า) พร้อมชม ช้อป แชะ แชร์ ผลิตภัณฑ์จากผ้าไหมที่หลากหลาย สักการะเจ้าพ่อขุนหาญ ณ ป่าโสกผีดิบ แหล่งท่องเที่ยวทางธรณีวิทยา และร่วมปลูกป่าโดยการยิงหนังสติ๊กเมล็ดพันธ์ พักผ่อนตามอัธยาศัย พักรับประทานอาหารพื้นถิ่น บายศรีสู่ขวัญ กิจกรรมสัมพันธ์ พร้อมชมการแสดงและรับฟังบทเพลงของดีศรีหนองบัว /วงดนตรี ฒ. รื่นเริง พักค้างทีโ่ ฮมสเตย์ในหมู่บ้าน
วันที่สอง เวลา 07.00 น. เวลา 08.00 น. เวลา 09.30 น.
ตื่นเช้า ใส่บาตรข้าวเหนียวร่วมกันตามประเพณีอีสาน รับประทานอาหารเช้าพร้อมเลือกซื้อของฝากของที่ระลึก ประธานชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี กล่าวขอบคุณ นักท่องเที่ยว เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพกันทุกคน
นักเล่าเรื่องคุณภาพที่จะนาท่านเข้ าสูด่ นิ แดน ผ้ าไหมฮีตสิบสองและตานานโสกผีดิบ 1.นางเกษร นามวงษ์ 2.นางพิลยั วรรณ คาภา 3.นางทองพูล เชื ้อผะกา 4.นางพวงเพชร พุฒรา 5.นางสุพทั ร ศรีภูวงษ์ นางสวรรยา ลาแพงศรี คนเล่าเรื่อง
คณะกรรมการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี บ้านหนองบัวน้อย หมู่ที่ 8 ตาบลโสกนกเต็น อาเภอพล จังหวัดขอนแก่น 1.นายธวัชชัย คาแก้ ว 2.นายจารัส อานาจ 3.นายสมพร รังมาตย์ 4.นางสาวสวรรยา ลาแพงศรี 5.นางเกษร นามวงศ์ 6.นางทองพูล เชื ้อผะกา 7.นางพิลยั วรรณ คาลา 8.นางจุรี หลงมีวงษ์ 9.นายบัวไข มืดอินทร์ 10.นางสุพัตร ศรีภูวงษ์ 11.นางพวงเพชร พุฒรา 12.นายประหยัด พัดไธสงค์ 13.นายสุระ จันดา 14.นายทองอินทร์ แก้ วแผ่ว 15.นางพันธ์ งา พรมราช
ประธาน รองประธาน รองประธาน เลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ เหรัญญิก ผู้ช่วยเหรัญญิ ก ประชาสัมพันธ์ ผู้ช่วยประชาสัมพันธ์ ปฏิคม ปฏิคม กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอพล จังหวัดขอนแก่น