หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน หลักสูตรปรั บปรุ ง พ.ศ. 2559 Bachelor of Communication Arts Program in Innovative Mass Communication (Revised Curriculum, Year 2016) คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
สารบัญ หมวดที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อหลักสูตร
หน้ า 1 1
2. ชื่อปริ ญญาและสาขาวิชา
1
3. วิชาเอก
1
4. จานวนหน่วยกิตที่เรี ยนตลอดหลักสูตร
1
5. รูปแบบของหลักสูตร
1
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมตั ิ/เห็นชอบหลักสูตร
2
7. ความพร้ อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคณ ุ ภาพและมาตรฐาน
3
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้ หลังสาเร็จการศึกษา
3
9. ชื่อ นามสกุล ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผ้ รู ับผิดชอบหลักสูตร
4
10. สถานที่จดั การเรี ยนการสอน 11. สถานการณ์ภายนอกหรื อการพัฒนาที่จาเป็ นต้ องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 12. ผลกระทบจาก ข้ อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้ อง กับพันธกิจของสถาบัน 13. ความสัมพันธ์กบั หลักสูตรอืน่ ที่เปิ ดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของมหาวิทยาลัย
5 5 6 7
หมวดที่ 2 ข้ อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
9
2. แผนพัฒนาปรับปรุง
10
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้ างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา
12
2. การดาเนินการหลักสูตร
12
3. หลักสูตรและอาจารย์ผ้ สู อน
14
สารบัญ หน้ า 4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (ประสบการณ์วิชาชีพ และ สหกิจศึกษา)
92
5. ข้ อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจยั
95
หมวดที่ 4 ผลการเรี ยนรู้ กลยุทธ์ การสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา
96
2. การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ ในแต่ละด้ าน
98
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ ในการประเมินผลนักศึกษา 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ ระดับคะแนน (เกรด)
116
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
116
3. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
116
หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ 1. การเตรี ยมการสาหรับอาจารย์ใหม่
117
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้ แก่อาจารย์
118
หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร
118
1. การบริ หารหลักสูตร
118
2. การบริ หารทรัพยากรการเรี ยนการสอน
120
3. การบริ หารคณาจารย์
121
4. การบริ หารบุคลากรสนับสนุนการเรี ยนการสอน 5. การสนับสนุนและการให้ คาแนะนานักศึกษา
122 122
6. ความต้ องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรื อความพึงพอใจของผู้ใช้ บณ ั ฑิต
123
7. ตัวบ่งชี ้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators)
124
สารบัญ หน้ า หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุ งการดาเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธิผลการสอน
125
2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม
126
3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร
126
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง
126
ภาคผนวก ภาคผนวก ก. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย
128
การศึกษาระบบหน่วยกิต ขันปริ ้ ญญาบัณฑิต พ.ศ.2545 ภาคผนวก ข. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย
140
การศึกษาระบบหน่วยกิตขันปริ ้ ญญาบัณฑิต (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554 ภาคผนวก ค. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย
141
การเทียบโอนหน่วยกิต ในการเข้ าศึกษาหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ภาคผนวก ง.
ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การเทียบโอนความรู้
144
ทักษะและประสบการณ์ จากการศึกษานอกระบบและ/หรือ การศึกษาตามอัธยาศัยเข้ าสูก่ ารศึกษาในระบบตามหลักสูตรระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2547 ภาคผนวก จ. ตารางเปรี ยบเทียบหลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 กับหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
147
ภาคผนวก ฉ. การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ และแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบ
209
มาตรฐานผลการเรี ยนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา ของหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2557
สารบัญ หน้ า
ภาคผนวก ช. คาสัง่ สภามหาวิทยาลัยหอการค้ าไทยที่ 6 /2559
212
เรื่ องแต่งตังคณะกรรมการพั ้ ฒนาหลักสูตร ภาคผนวก ซ. ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตร
214
หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ 2559 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย คณะนิเทศศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อหลักสูตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
: หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน : Bachelor of Communication Arts Program in Innovative Mass Communication
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ไทย) : นิเทศศาสตรบัณฑิต (นวัตกรรมสื่อสารมวลชน) ชื่อย่อ (ไทย) : นศ.บ. (นวัตกรรมสื่อสารมวลชน) ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Bachelor of Communication Arts (Innovative Mass Communication) ชื่อย่อ (อังกฤษ) : B.Com.Arts (Innovative Mass Communication) 3. วิชาเอก 1. วารสารศาสตร์ ดิจิทลั 2. วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3. ภาพยนตร์ ดิจิทลั 4. จานวนหน่ วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
1
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
5.2 ภาษาที่ใช้ จัดการเรียนการสอนเป็ นภาษาไทย เอกสารและตาราในวิชาหลักเป็ นตาราภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ 5.3 การรับเข้ าศึกษา รับเฉพาะนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ ภาษาไทยได้ ดี ทังการฟั ้ ง-พูด-อ่าน เขียน 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็ นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 5.5 การให้ ปริญญาแก่ผ้ สู าเร็จการศึกษา ให้ ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัต/ิ เห็นชอบหลักสูตร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 - ปรับปรุงจากหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2557 - ได้ รับการพิจารณากลัน่ กรองโดย คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน เมื่อ วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2559 - ได้ รับการพิจารณากลัน่ กรองโดยสภาวิชาการมหาวิทยาลัย ในการประชุมครัง้ ที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ.2559 - ได้ รับอนุมตั ิ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ในการประชุมครัง้ ที่ 3/2559(316) เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2559 เปิ ดสอนภาคต้ น ปี การศึกษา 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
2
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
7. ความพร้ อมในการเผยแพร่ หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้ อมในการเผยแพร่คณ ุ ภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2552 ในปี การศึกษา 2561 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้ หลังสาเร็จการศึกษา 1. นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ คอลัมนิสต์ 2. ผู้รายงานข่าว 3. ผู้ผลิตสื่อและเนื ้อหาด้ านวารสารศาสตร์ ดิจิทลั 4. ผู้ผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง 5. ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ 6. ผู้สื่อข่าว ผู้ประกาศ พิธีกร ผู้ดาเนินรายการ 7. ผู้เขียนบทรายการ 8. ผู้กากับรายการ 9. ผู้ประกอบการในธุรกิจรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 10. ผู้กากับภาพยนตร์ ดิจิทลั 11. ผู้เขียนบทภาพยนตร์ 12. ผู้ออกแบบงานสร้ างภาพยนตร์ ดิจิทลั 13. ผู้ประกอบวิชาชีพอิสระ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
3
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
9. ชื่อ นามสกุล ตาแหน่ ง และคุณวุฒกิ ารศึกษาของอาจารย์ ผ้ ูรับผิดชอบหลักสูตร ลาดับ 1
ตาแหน่ ง ทางวิชาการ อาจารย์
ชื่อ-นามสกุล
คุณวุฒิ
สาขาวิชา
สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน
ปี พ.ศ.
นายสุธี เผ่าบุญมี
Ph.D. นศ.ม. วท.บ.
Journalism Studies การหนังสือพิมพ์ วิทยาศาสตร์ ทวั่ ไป
The University of Sheffield, UK. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ (นิเทศศาสาตร์ ) ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ (วารสารศาสตร์ ) ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ (นิเทศศาสาตร์ ) ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ (นิเทศศาสาตร์ ) ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ (นิเทศศาสาตร์ )
นางสาวรัตนา เมฆนันทไพศิฐ
ศศ.ม. นศ.บ.
ประวัติศาสตร์ การหนังสือพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2552 2539 2537 2532 2526
นางสาวศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์
นศ.ม. นศ.บ.
วารสารสนเทศ วารสารศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
2542 2540
นางนฤมล วงศ์หาญ
นศ.ม. ศศ.บ.
การสื่อสารมวลชน การหนังสือพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2534 2530
นางรัตนวดี นาควานิช
นศ.ม. อ.บ.
การสื่อสารมวลชน ภาษาไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
2539 2535
ว่าที่ร้อยตรี สมเกียรติ เหลืองศักดิ์ชยั
นศ.ม. นศ.บ.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
2540 2536
7
อาจารย์
นายประภาส นวลเนตร
8
ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ (นิเทศศาสาตร์ ) อาจารย์
นางสาวจิรมน สังณ์ชยั
ศษ.ด. ค.ม. นศ.บ. นศ.ม. นศ.บ.
การสื่อสารมวลชน วิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์ เทคโนโลยีการศึกษา โสตทัศนศึกษา สื่อสารมวลชน การสื่อสารมวลชน ศิลปะการแสดง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
2551 2533 2527 2540 2537
นางสาว นภารัตน์ พฤกษ์ สรุ าลัย
Ph.D. ว.ม. นศ.บ.
Mass Communication สื่อสารพัฒนาการ วารสารศาสตร์
University of Leicester, UK มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
2557 2548 2539
2
3
4
5
6
9
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
4
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
10. สถานที่จัดการเรียนการสอน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 11. สถานการณ์ ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็ นต้ องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1. สถานการณ์ หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สภาวะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจตังแต่ ้ ระดับท้ องถิ่น จนถึงระดับชาติ ภูมภิ าค และ ระดับโลก โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเปิ ดเสรี ทางการค้ าของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ.2558 และการเปิ ดกว้ างด้ านการลงทุนจากทุกภูมิภาคทัว่ โลกส่งผลให้ ภาคธุรกิจและเศรษฐกิจขยายตัวอย่าง รวดเร็ว โดยมีองค์กรสื่อมวลชนข้ ามชาติเข้ ามามีบทบาทในประเทศไทยมากขึ ้น ส่งผลกระทบต่อวงการ สื่อสารมวลชนทังภาครั ้ ฐและเอกชน ที่จาเป็ นต้ องปรับตัวเพื่อให้ สามารถทาหน้ าที่ตามภารกิจของสถาบัน สื่อสารมวลชนที่พงึ มีตอ่ สังคมได้ อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ การเตรี ยมความพร้ อมของนักสื่อสารมวลชนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของภาค เศรษฐกิจและธุรกิจที่เน้ นความรวดเร็วฉับไว จาเป็ นต้ องคานึงถึงการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในการ ปฏิบตั ิงานสื่อสารมวลชนที่มีประสิทธิภาพ ทังในมิ ้ ติการนาเสนอเนื ้อหาข่าวสาร และมิตกิ ารสร้ างสรรค์สื่อ รวมถึงการเผยแพร่สื่อด้ วยเทคโนโลยีในยุคดิจิทลั อันทันสมัยแบบหลอมรวม (Convergence) เพื่อให้ สื่อมวลชนสามารถเป็ นสื่อกลางในการตอบโจทย์การแข่งขันและการพัฒนาทางเศรษฐกิจและธุรกิจได้ อย่างรอบด้ าน พร้ อม ๆ กับมีสานึกทางจริยธรรมในการทาหน้ าที่อย่างมีความรับผิดชอบ ด้ วยเหตุนี ้ อุตสาหกรรมสือ่ สารมวลชนจึงมีความต้ องการนักสื่อสารมวลชน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผู้ปฏิบตั ิงานสื่อด้ าน วารสารศาสตร์ ด้ านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั ที่มีความรู้ ความ เข้ าใจในวิชาชีพ มีความคิดสร้ างสรรค์ตลอดจนทักษะด้ านการสื่อสารตามแนวทางเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ที่สามารถสนับสนุนเป้าหมายและพันธกิจขององค์กรสือ่ มวลชน และสามารถแสดงบทบาทของนัก สื่อสารมวลชนในภาวะท้ าทายทางเศรษฐกิจและธุรกิจได้ อย่างเต็มภาคภูมิ 11.2. สถานการณ์ หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การปรับเปลี่ยนของมิตทิ างเศรษฐกิจและธุรกิจ รวมถึงเทคโนโลยีที่เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว และมีลกั ษณะข้ ามชาติมากยิ่งขึ ้น ส่งผลให้ มิติทางสังคมในทุก ๆ ด้ านก็ถกู ผลักดันให้ ปรับตัวอย่าง ต่อเนื่องในทานองเดียวกัน โดยเป็ นองค์ประกอบที่สง่ ผลกระทบต่อวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของผู้รับ ข่าวสารทุกกลุม่ และชุมชนทุกระดับ ซึง่ ถือว่าเป็ นผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียของสังคมใหญ่ ทาให้ งาน สื่อสารมวลชนจาเป็ นต้ องปรับตัวอย่างจริ งจัง โดยสื่อมวลชนต้ องได้ รับการพัฒนาเพื่อสามารถทาหน้ าที่ ตอบสนองต่อภารกิจการเฝ้าระวังสังคมในด้ านต่าง ๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนันนอกเหนื ้ อจาก บทบาทหน้ าที่ในการถ่ายทอดข่าวสาร ให้ ความรู้ และให้ ความบันเทิงแล้ ว ภารกิจในการจรรโลงสังคม เพื่อตอบโจทย์ด้านความยัง่ ยืนของชุมชน สิง่ แวดล้ อม และมนุษยชาติ จึงเป็ นความท้ าทายที่สาคัญยิ่ง
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
5
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
นอกจากนี ้ การเติบโตของสื่อและช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ ที่ก้าวหน้ าด้ วยเทคโนโลยี อันทันสมัย เปิ ดโอกาสสาหรับการขยายตัวของการสื่อสารมวลชนทังในแง่ ้ ปริมาณ ความหลากหลาย และความรวดเร็ว ควบคูไ่ ปกับพัฒนาการของสังคมอันก่อให้ เกิดการร่วมมือกันทางสังคม วัฒนธรรมและ การศึกษานานาชาติในระดับต่าง ๆ ซึง่ ล้ วนแต่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการปฏิบตั ิงานของนักสื่อสารมวลชน และองค์กรสื่อทุกประเภท ปั จจัยดังกล่าวข้ างต้ นส่งผลให้ ทงภาคสั ั้ งคมและองค์กรสือ่ มวลชนจานวนมากมีความ ต้ องการนักสื่อสารมวลชน ที่ถึงพร้ อมด้ วยความรู้และทักษะในการทาหน้ าที่เป็ นสื่อกลางของสังคม สามารถก้ าวข้ ามความแตกต่างเชิงสังคมและวัฒนธรรมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ วิจารณญาณ ในการสร้ างสรรค์และสื่อสาร เพื่อก่อให้ ให้ เกิดความรู้และเข้ าใจในประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้ อง อีกทังให้ ้ ความเพลิดเพลินและให้ ข้อคิดเห็นแก่สงั คม สามารถทาหน้ าที่ให้ บรรลุเป้าหมายตามวิสยั ทัศน์ขององค์กร สื่อมวลชนและบรรลุเป้าหมายตามภารกิจของนักสื่อสารมวลชนได้ ด้ วยเหตุนี ้ คณะนิเทศศาสตร์ จงึ มี ความจาเป็ นที่จะต้ องปรับปรุงหลักสูตรเพื่อตอบสนองต่อความจาเป็ นในการพัฒนางานสื่อสารมวลชนให้ มีประสิทธิภาพ 12. ผลกระทบจาก ข้ อ 11.1 และ 11.2 ต่ อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้ องกับพันธกิจ ของสถาบัน 12.1. การพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรนวัตกรรมสื่อสารมวลชนพัฒนาขึ ้นเพื่อรองรับการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การศึกษา สิง่ แวดล้ อม และเทคโนโลยีการสื่อสารดิจิทลั จึงมีเป้าหมายในการผลิต บัณฑิตให้ เป็ นผู้ที่มีความรู้และทักษะความสามารถในการสื่อสารมวลชนอย่างรอบด้ าน มีความสามารถ ในการศึกษาค้ นคว้ า การวิเคราะห์และวิจยั เพื่อพัฒนางานสื่อสารให้ สามารถตอบสนองต่อเป้าหมาย ตามพันธกิจนักสื่อสารมวลชน ตลอดจนเป็ นผู้มีจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ เป็ นบุคลากรที่มี คุณภาพตรงกับความต้ องการของตลาดงานสื่อสารมวลชนและอุตสาหกรรมเชิงสร้ างสรรค์ (Creative Industry) ทังนี ้ ้ เป็ นการพัฒนาหลักสูตรให้ ทนั สมัยและมีมาตรฐานเป็ นที่ยอมรับทังในประเทศและ ้ ต่างประเทศ 12.2. ความเกี่ยวข้ องกับพันธกิจของสถาบัน หลักสูตรนวัตกรรมสือ่ สารมวลชนมุง่ ผลิตบัณฑิตที่มีลกั ษณะพึงประสงค์ตามอัตลักษณ์ ของมหาวิทยาลัย (Business Smart) ใฝ่ ร้ ู พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และมีภาพลักษณ์ทางธุรกิจระดับ สากล ซึง่ สอดคล้ องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย และตอบสนองต่อการบรรลุวิสยั ทัศน์การ เป็ นสถาบันชันน ้ าด้ านธุรกิจในเอเซีย การผลิตบัณฑิตของหลักสูตรนี ้จึงมุง่ เน้ นการพัฒนาบุคลากรที่มี คุณภาพ มีทกั ษะความสามารถในการสื่อสารมวลชนและนวัตกรรมการสื่อสารมวลชน โดยเฉพาะด้ าน วารสารศาสตร์ แบบหลอมรวม (Convergence)ในยุคเทคโนโลยีดจิ ิทลั ด้ านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ และด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั เพื่อเป็ นกาลังสาคัญในการพัฒนางานด้ านสื่อสารมวลชน ให้ สอดคล้ องกับการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนการพัฒนาทางสังคมและ วัฒนธรรมของประเทศท่ามกลางภูมทิ ศั น์ของสื่อ (Media Landscape)ในสังคมโลก หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
6
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
13. ความสัมพันธ์ กับหลักสูตรอื่นที่เปิ ดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของมหาวิทยาลัย (ถ้ ามี) 13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิ ดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น 1) กลุม่ วิชาในหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป ได้ แก่ - กลุม่ วิชาภาษา มนุษยศาสตร์ และพัฒนาคุณภาพชีวิตเปิ ดสอนโดยคณะมนุษยศาสตร์ และประยุกต์ศิลป์ - กลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เปิ ดสอนโดยคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2) หมวดวิชาเฉพาะ ในกลุม่ วิชาแกนของคณะ ได้ แก่ - กลุม่ วิชาด้ านธุรกิจเปิ ดสอนโดยคณะบริหารธุรกิจ - กลุม่ วิชาด้ านเศรษฐศาสตร์ เปิ ดสอนโดยคณะเศรษฐศาสตร์ - กลุม่ วิชาด้ านภาษาเปิ ดสอนโดยคณะมนุษยศาสตร์ และประยุกต์ศลิ ป์ - กลุม่ วิชาด้ านกฎหมายเปิ ดสอนโดยคณะนิตศิ าสตร์ 3) หมวดวิชาเลือกเสรี 13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิ ดสอนให้ คณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น 1) รายวิชาในกลุม่ วิชาโท 1.1 วิชาโทสาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน ที่เปิ ดสอนให้ นักศึกษาต่ าง คณะเลือกเรียน CX200 นิเทศศาสตร์ เบื ้องต้ น CX201 พื ้นฐานการสือ่ สารมวลชนและสื่อใหม่ CX202 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ CX203 วารสารศาสตร์ สากล CX204 การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ CX205 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์นานาชาติ CX206 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น CX208 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ 1.2 กลุ่มวิชาโทนวัตกรรมสื่อสารมวลชน ที่จัดให้ นักศึกษาต่ าง สาขาวิชาเลือกเรียน CX202 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ CX203 วารสารศาสตร์ สากล CX204 การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ CX205 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์นานาชาติ CX206 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น CX207 การจัดการธุรกิจวารสารศาสตร์ ดิจิทลั หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
7
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CX208 CX209 CX210 CX211 CX213 CX214
ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ การเขียนสารคดี การวิเคราะห์ข่าวปั จจุบนั การจัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น การจัดการธุรกิจภาพยนตร์ ดิจิทลั
13.3. การบริหารจัดการ 1) แต่งตังคณะกรรมการฝ่ ้ ายวิชาการ มีหน้ า ที่ประสานงานกับอาจารย์ประจาวิชาทุก รายวิชา เพื่อดาเนินงานจัดการเรี ยนการสอน การวัดและประเมินผลการศึกษา ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ที่กาหนด โดยสอดคล้ องกับมาตรฐานผลการเรี ยนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 2) หัวหน้ าหลักสูตรของสาขาวิชาทาหน้ าที่กากับดูแลและพัฒนาหลักสูตร โดยประสาน กับคณะ ภายใต้ กฎเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยและสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
8
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หมวดที่ 2 ข้ อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย มีปรัชญาของหลักสูตรดังนี ้ (1) มุง่ ปลูกฝังจริยธรรม จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบต่อวิชาชีพสื่อสารมวลชนและ สังคม (2) มุง่ อบรมและบ่มเพาะความรู้ และทักษะที่เกี่ยวข้ องกับนวัตกรรมสื่อสารมวลชน (3) เน้ นการบูรณาการเชิงประยุกต์ของศาสตร์ แขนงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง เพื่อเป็ นพื ้นฐาน ทางวิชาชีพสื่อสารมวลชนที่ทนั สมัย 1.2 วัตถุประสงค์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่ถึงพร้ อมด้ วยคุณลักษณะดังต่อไปนี ้ (1) มีจริยธรรม จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบต่อวิชาชีพสื่อสารมวลชนและสังคม (2) มีความรอบรู้ทางวิชาการ และทักษะทางวิชาชีพในศาสตร์ นวัตกรรมสือ่ สารมวลชน ที่สอดคล้ องกับสภาพธุรกิจ เศรษฐกิจ และสังคม โดยเฉพาะอย่างยิง่ มีความสามารถ ในการสื่อสาร การแสวงหาและรายงานความจริง การบริหารจัดการ การวิเคราะห์ วิจยั การใช้ เทคโนโลยีที่ทนั สมัย และ ความสามารถในการใช้ ภาษาต่างประเทศ เพื่อสามารถ ปฏิบตั ิงานได้ ทงในหน่ ั้ วยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคเอกชนที่ไม่มงุ่ แสวงกาไร โดยมีมาตรฐานทางวิชาชีพเทียบเท่ากับภูมิภาคอื่นของโลก (3) มีความรอบรู้ในวิทยาการแขนงต่าง ๆ ซึง่ เอื ้อต่อการประกอบวิชาชีพสือ่ สารมวลชนที่ก้าว ทันต่อการเปลีย่ นแปลงของโลก และสามารถพัฒนาตนเองได้ อย่างต่อเนื่อง (4) มีทกั ษะทางสังคม มีความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ทกุ ระดับอย่างมี ประสิทธิภาพ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
9
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2. แผนพัฒนาปรับปรุง แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง 1. ปรับปรุงหลักสูตรตาม ความเปลีย่ นแปลงของ ตลาดแรงงานด้ าน นวัตกรรมสื่อสารมวลชน
กลยุทธ์
หลักฐาน/ตัวบ่ งชี ้
1.1 สร้ างเครื อข่ายกับ หน่วยงานภาคเอกชนและ ภาครัฐ เพื่อวิเคราะห์ความ ต้ องการและแนวโน้ มความ เปลี่ยนแปลงของงาน นวัตกรรมสื่อสารมวลชน
ตัวบ่งชี ้: 1.จานวนหน่วยงานภาคเอกชนที่ เข้ าร่วมเครือข่าย ไม่น้อยกว่า 5 หน่วยงาน 2.จานวนหน่วยงานภาครัฐที่เข้ าร่วม เครื อข่าย ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยงาน 3.จานวนครัง้ ในการประชุมร่วมกัน ไม่น้อยกว่า 1 ครัง้ /ปี หลักฐาน: 1. รายงานการประชุม 2. บันทึกการปรึกษากับหน่วยงาน ภาคเอกชนและภาครัฐ 1.2 สารวจความต้ องการของ ตัวบ่งชี ้: ธุรกิจนวัตกรรมสื่อสารมวลชน 1. จานวนครัง้ ในการสารวจ ไม่น้อย กว่า 2 ครัง้ ในรอบ 5 ปี 2. รายงานผลการสารวจ แสดงข้ อมูล อย่างน้ อย 3 ประเด็นคือ (1) แนวโน้ มของธุรกิจนวัตกรรม สื่อสารมวลชน (2) คุณลักษณะของบัณฑิตที่เป็ น ที่ต้องการ (3) ความรู้และทักษะด้ าน นวัตกรรมสื่อสารมวลชน ที่จาเป็ นต้ องการปฏิบตั ิงาน หลักฐาน: รายงานผลการสารวจ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
10
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง 2. ปรับปรุงปัจจัย สนับสนุนการเรี ยนการ สอน
กลยุทธ์
หลักฐาน/ตัวบ่ งชี ้
2.1 สารวจความต้ องการของ อาจารย์ผ้ สู อนและนักศึกษา
ตัวบ่งชี ้: 1.จานวนครัง้ ในการสารวจ ไม่น้อย กว่า 1 ครัง้ /ปี 2.รายงานผลการสารวจ แสดงข้ อมูล อย่างน้ อย 2 ประเด็น คือ (1)ชนิด และลักษณะของปั จจัย สนับสนุนที่ต้องการ รวมทัง้ เหตุผล ความจาเป็ นในการจัดหา (2)ปั ญหา อุปสรรค และข้ อเสนอแนะ เพื่อการจัดการและการใช้ ปัจจัย อย่างมีประสิทธิภาพ หลักฐาน: รายงานผลการสารวจความพึงพอใจต่อ สิง่ สนับสนุนการเรี ยนรู้ 2.2 จัดหาและจัดสรรทุนเพื่อ ตัวบ่งชี ้: ปรับปรุงปั จจัยสนับสนุนการ 1.จานวนเงินงบประมาณเพิ่มขึ ้นจาก เรี ยนการสอนให้ มีประสิทธิภาพ ปี ที่ผา่ นมา ไม่น้อยกว่า 10% เพิ่มขึ ้นและมีความทันสมัย 2.จานวนกิจกรรม/โครงการ/อุปกรณ์ที่ ปรับปรุงปั จจัยสนับสนุนการเรี ยนการ สอน ไม่น้อยกว่า 2 รายการ/ปี หลักฐาน: 1. จานวนเงินงบประมาณด้ านการ สนับสนุนการเรี ยนการสอน 2. กิจกรรม/โครงการ/อุปกรณ์ ที่ปรับปรุง ปั จจัยสนับสนุนการเรี ยนการสอน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
11
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้ างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ จัดการศึกษาเป็ นแบบระบบทวิภาค 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน การจัดการเรี ยนการสอนในภาคฤดูร้อนสามารถกระทาได้ ตามความจาเป็ นของผู้เรี ยน และ ตามแผนการสอนในหลักสูตร ทังนี ้ ้ ขึ ้นอยู่กบั นโยบายของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 1.3 การเทียบเคียงหน่ วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี 2. การดาเนินการหลักสูตร 2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน ภาคต้ น เดือนสิงหาคม – ธันวาคม ภาคปลาย เดือนมกราคม – พฤษภาคม ภาคฤดูร้อน เดือนมิถนุ ายน – กรกฎาคม 2.2 คุณสมบัตขิ องผู้เข้ าศึกษา 2.2.1 เป็ นผู้สาเร็ จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ (ม. 6) หรื อระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรื อเทียบเท่า หรื อ 2.2.2 เป็ นผู้สาเร็ จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชี พชันสู ้ ง (ปวส.) หรื อเทียบเท่า หรื อระดับอนุปริญญา (3 ปี ) หรื อเทียบเท่า หรื อ 2.2.3 เป็ นผู้สาเร็ จการศึกษาขันปริ ้ ญญาตรี จากมหาวิทยาลัยใด หรื อสถาบันการศึกษา ชัน้ สูงอื่ น ในประเทศหรื อ ต่า งประเทศ ซึ่งกระทรวงศึก ษาธิ ก ารรั บ รองและสมัค รเข้ าศึก ษาในระดับ ปริญญาตรี ในสาขาวิชาอื่น 2.3 ปั ญหาของนักศึกษาแรกเข้ า 2.3.1 นักศึกษามีพื ้นฐานความสามารถด้ านการสื่อสารไม่เท่ากัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทักษะด้ านการเขียน ทาให้ ขาดความพร้ อมที่จะพัฒนาทักษะนวัตกรรมสื่อสารมวลชน ได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ เท่าเทียมกัน 2.3.2 นักศึกษาบางคนมีความเข้ าใจคลาดเคลื่อน หรือมีทศั นคติและค่านิยม ที่ไม่สอดคล้ องกับลักษณะงานนวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
12
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2.4 กลยุทธ์ ในการดาเนินการเพื่อแก้ ไขปั ญหา / ข้ อจากัดของนักศึกษาในข้ อ 2.3 2.4.1 จัดอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อให้ คาปรึกษาทังทางวิ ้ ชาการและวิชาชีพให้ แก่นกั ศึกษา 2.4.2 จัดประชุมชี ้แจง เพื่อทาความเข้ าใจเกี่ยวกับลักษณะของงานนวัตกรรม สื่อสารมวลชน และคุณลักษณะของนักสือ่ สารมวลชน ที่พงึ ประสงค์แก่นกั ศึกษา 2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี จานวนนักศึกษาแต่ ละปี การศึกษา (คน)
ระดับชัน้ ปี
2559
2560
2561
2662
2663
250
250 250
250 250 250
250
500
750
250 250 250 250 1,250 250
250 250 250 250 1,250 250
ระดับปริญญาตรี ชันปี ้ ที่ 1 ชันปี ้ ที่ 2 ชันปี ้ ที่ 3 ชันปี ้ ที่ 4 รวม บัณฑิตที่คาดว่ าจะสาเร็จการศึกษา 2.6 งบประมาณตามแผน หมวดเงิน
งบประมาณที่ต้องการแต่ ละปี 2559
2560
2561
2562
2563
2,262,191.97
2,375,301.57
2,494,066.64
2,618,769.97
2,749,708.46
4,260,349.95
4,473,367.44
4,697,035.81
4,931,887.60
5,178,481.98
53,482.27
56,156.38
58,964.19
61,912.39
65,008.00
933,781.03
980,470.08
1,029,493.58
1,080,968.25
1,135,016.66
-
-
-
-
-
504,799.42
530,039.39
556,541.35
584,368.41
613,586.83
งบดาเนินการ เงินเดือน ค่าตอบแทน ค่าใช้ สอย ค่าวัสดุ เงินอุดหนุน รายจ่ายอื่น ๆ รวม (ก) งบลงทุน ค่าครุภณ ั ฑ์ ค่าบารุงรักษาครุภณ ั ฑ์ รวม(ข) รวมทัง้ สิน้ (ก+ข)
8,014,604
8,415,334
8,836,101
9,277,906
9,741,801
4,209,298
4,419,763
4,640,751
4,872,789
5,116,429
486,203
510,513
536,039
562,840
590,982
4,695,501
4,930,276
5,176,790
5,435,629
5,707,411
12,710,105
13,345,610
14,012,891
14,713,535
15,449,212
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
13
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2.7 ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาเป็ นแบบการเรี ยนในชันเรี ้ ยน ทังนี ้ ้ เป็ นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ า ไทยว่าด้ วย การศึกษาระบบหน่วยกิตขันปริ ้ ญญาตรี บณ ั ฑิต พ.ศ. 2545 (ดูภาคผนวก ก.) 2.8 การเทียบโอนหน่ วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ ามมหาวิทยาลัย (ถ้ ามี) การเทียบโอนหน่วยกิตจากหลักสูตรอื่นในสถาบันเดียวกันหรื อจากต่างสถาบัน ให้ เป็ นไปตาม ระเบี ยบมหาวิท ยาลัย หอการค้ าไทยว่าด้ วย การเที ยบโอนหน่ วยกิ ตในการเข้ าศึ กษาหลักสูตรระดับ ปริ ญญาตรี พ.ศ. 2548 (ภาคผนวก ค.) และระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การเทียบโอน ความรู้ ทัก ษะและประสบการณ์ จากการศึก ษานอกระบบและ/หรื อ การศึก ษาตามอัธ ยาศัย เข้ า สู่ การศึกษาในระบบ ตามหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี และระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2547 (ภาคผนวก ง.) และนักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรี ยนข้ ามมหาวิทยาลัยในรายวิชาที่มีเนื ้อหาวิชาที่สามารถเทียบเคียง กันได้ 3. หลักสูตรและอาจารย์ ผ้ สู อน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จานวนหน่ วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 135 หน่ วยกิต 3.1.2 โครงสร้ างหลักสูตร (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่ วยกิต ก. กลุม่ วิชาภาษา 15 หน่วยกิต ข. กลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต ค. กลุม่ วิชาสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต ง. กลุม่ วิชามนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต จ. กลุม่ วิชาพัฒนาคุณภาพชีวิต 3 หน่วยกิต (2) หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่ วยกิต ก. กลุม่ วิชาแกนนิเทศศาสตร์ 45 หน่วยกิต ข. กลุม่ วิชาแกนสาขาวิชา 9 หน่วยกิต ค. กลุม่ วิชาเอก 30 หน่วยกิต มี 2 แผน คือ 1.หลักสูตรปกติ วิชาเอกบังคับ 24 หน่วยกิต วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต 2.สหกิจศึกษา วิชาเอกบังคับ 18 หน่วยกิต วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต วิชาสหกิจศึกษา 6 หน่วยกิต ง. กลุ่มวิชาโท/หรือ วิชาเอกเลือก 15 หน่ วยกิต หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
14
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
(3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่ วยกิต 3.1.3 รายวิชาในแต่ ละหมวดวิชาและจานวนหน่ วยกิต 3.1.3.1 รหัสวิชา รายวิชาในหลักสูตรมีหลักเกณฑ์ การใช้ รหัสวิชา โดยแทนด้ วยตัวอักษร 2 ตัว และ ตัวเลข 3 หลัก นาหน้ าทุกรายวิชาในหลักสูตร ดังต่อไปนี ้ (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รายวิชาต่าง ๆ ในหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไปจะมีรหัสนาหน้ าชื่อวิชา ซึง่ มีความหมาย ดังนี ้ อักษรตัวแรก คือ คณะวิชา ประกอบด้ วย B หมายถึง คณะบริหารธุรกิจจัดบริการ ได้ แก่ กลุม่ วิชาสังคมศาสตร์ H หมายถึง คณะมนุษ ยศาสตร์ แ ละประยุก ต์ ศิ ล ป์ จัด บริ ก าร ได้ แ ก่ กลุ่ม วิ ช า ภาษา กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ และกลุ่มวิชา พัฒนาคุณภาพชีวิต S หมายถึง คณ ะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี จั ด บริ ก าร ได้ แก่ กลุ่ ม วิ ช า วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ อักษรตัวที่สอง คือ G หมายถึง หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป เลขหลักร้ อย คือ 0 หมายถึง รายวิชาศึกษาทัว่ ไป เลขหลักสิบและหลักหน่วย หมายถึง ลาดับวิชาตังแต่ ้ 01 – 99 (2) หมวดวิชาเฉพาะ หมวดวิชาเฉพาะประกอบด้ วยรายวิชาในกลุม่ วิชาแกนนิเทศศาสตร์ กลุม่ วิชาเอก และกลุม่ วิชาโท จะมีรหัสนาหน้ าชื่อวิชา ซึง่ มีความหมาย ดังนี ้ ก. กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ อั ก ษรตั ว แรกและตั ว ที่ ส อง คื อ คณะวิ ช าที่ ส อน และคณะที่ ใ ห้ บริ ก ารสอน ประกอบด้ วย CA หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ เลขหลักร้ อย คือ ชันปี ้ ที่ ประกอบด้ วย เลข 1 หมายถึง จัดสอนในชันปี ้ ที่ 1 เลข 2 หมายถึง จัดสอนในชันปี ้ ที่ 2 เลข 3 หมายถึง จัดสอนในชันปี ้ ที่ 3 เลข 4 หมายถึง จัดสอนในชันปี ้ ที่ 4 เลขหลักสิบและหลักหน่วย หมายถึง ลาดับวิชาตังแต่ ้ 01 - 99 BA หมายถึง คณะบริหารธุรกิจ EC หมายถึง คณะเศรษฐศาสตร์ LW หมายถึง คณะนิติศาสตร์ เลขหลักร้ อย คือ 9 หมายถึง วิชาที่ให้ บริการ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
15
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
เลขหลักสิบ คือ 6 และหลักหน่วย
หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ เป็ นคณะที่รับบริการ หมายถึง ลาดับวิชาตังแต่ ้ 1 -9
ข. กลุ่มวิชาเอก ประกอบด้ วย (1) วิชาแกนสาขาวิชา อักษรแรกและตัวที่สอง คือ CI หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน เลขหลักร้ อย คือ 0 หมายถึง วิชาแกนสาขาวิชา เลขหลักสิบและหลักหน่วย หมายถึง ลาดับวิชา ตังแต่ ้ 01 - 99 (2) วิชาเอกวารสารศาสตร์ ดจิ ทิ ลั อักษรแรกและตัวที่สอง คือ CI หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน เลขหลักร้ อย คือ 1 หมายถึง กลุม่ วิชาเอกวารสารศาสตร์ ดิจิทลั เลขหลักสิบและหลักหน่วย ประกอบด้ วย 01-30 หมายถึง ลาดับวิชาบังคับ ตังแต่ ้ 01 - 30 31-40 หมายถึง ลาดับวิชาเลือก ตังแต่ ้ 31- 99 (3) วิชาเอกวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ อักษรแรกและตัวที่สอง คือ CI หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน เลขหลักร้ อย คือ 2 หมายถึง กลุม่ วิชาเอกวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ เลขหลักสิบและหลักหน่วย ประกอบด้ วย 01-30 หมายถึง ลาดับวิชาบังคับ ตังแต่ ้ 01 - 30 31-40 หมายถึง ลาดับวิชาเลือก ตังแต่ ้ 31- 99 (4) วิชาเอกภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั อักษรแรกและตัวที่สอง คือ CI หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน เลขหลักร้ อย คือ 3 หมายถึง กลุม่ วิชาเอกภาพยนตร์ ดิจิทลั เลขหลักสิบและหลักหน่วย ประกอบด้ วย 01-30 หมายถึง ลาดับวิชาบังคับ ตังแต่ ้ 01 - 30 31-40 หมายถึง ลาดับวิชาเลือก ตังแต่ ้ 31 - 99
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
16
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ค. กลุ่มวิชาโท ต่ างคณะ อักษรตัวแรก คือ คณะวิชา ประกอบด้ วย B หมายถึง คณะบริหารธุรกิจ A หมายถึง คณะบัญชี E หมายถึง คณะเศรษฐศาสตร์ H หมายถึง คณะมนุษยศาสตร์ และประยุกต์ศิลป์ S หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี C หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ N หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร์ L หมายถึง คณะนิติศาสตร์ อักษรตัวที่สอง คือ X หมายถึง รายวิชาโท เลขหลักร้ อย หลักสิบ และหลักหน่วย หมายถึง ลาดับวิชาตังแต่ ้ 001 - 999 3.1.3 รายวิชาในแต่ ละหมวดวิชาและจานวนหน่ วยกิต 3.1.3.2 รายวิชา
รหัสวิชา
(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มี 5 กลุม่ วิชา จานวนรวม 30 หน่วยกิต ประกอบด้ วย ก. กลุ่มวิชาภาษา จานวน 5 วิชา รวม 15 หน่วยกิต รายวิชา หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรียน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
HG008 HG009 HG010
HG011
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai for Communication) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 (English for Communication 1) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 (English for Communication 2)
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 (English for Communication 3)
3 (3-0-6)
ศึกษาก่อน HG009 หรื อ คะแนน TOEIC 250 หรื อ เทียบเท่า ศึกษาก่อน HG010 หรื อ คะแนน TOEIC 350 หรื อเทียบเท่า
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
17
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา
รายวิชา
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรียน
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
HG012
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 (English for Communication 4)
3 (3-0-6)
ศึกษาก่อน HG011 หรื อ คะแนน TOEIC 450 หรื อ เทียบเท่า
หมายเหตุ สาหรับกลุม่ วิชาภาษาอังกฤษ นักศึกษาสามารถยื่นผลคะแนนสอบ TOEIC หรื อ เทียบเท่าตามที่ระบุไว้ ในคาอธิบายรายวิชา เพื่อขอยกเว้ นรายวิชาภาษาอังกฤษได้ โดยต้ องยื่นผล คะแนนสอบTOEIC ให้ เสร็จสิ ้นภายใน ภาคเรี ยนที่ 2 ของปี การศึกษาที่ 2 ที่นกั ศึกษาเข้ าศึกษา ใน กรณีที่ยื่นผลคะแนน TOEIC 550 หรื อมากกว่า นักศึกษาสามารถได้ รับการยกเว้ นวิชา ภาษาอังกฤษได้ ทกุ รายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป และต้ องลงทะเบียนเรี ยนรายวิชาอื่น ๆ ที่เปิ ด สอนในมหาวิทยาลัยฯ (ยกเว้ นรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป) ทดแทนให้ ครบ/ไม่น้อยกว่าจานวน หน่วยกิตที่ได้ รับการยกเว้ น เพื่อให้ มีจานวนหน่วยกิตครบตามที่หลักสูตรกาหนด
รหัสวิชา
ข. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ จานวน 2 วิชา รวม 6 หน่วยกิต รายวิชา หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรียน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
SG004 SG005
SG006
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ (Modern Science and Technology) คณิตศาสตร์ และสถิติสาหรับชีวิตประจาวัน ( Mathematics and Statistics for Daily Life) การรู้ทางดิจิทลั (Digital Literacy)
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
ค. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ จานวน 1 วิชา รวม 3 หน่วยกิต รหัสวิชา
รายวิชา
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรียน
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
BG003
การประกอบการเชิงนวัตกรรม (Innovative Entrepreneurship)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
3 (3-0-6)
18
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา
ง. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ จานวน 1 วิชา รวม 3 หน่วยกิต รายวิชา หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรียน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
HG022
รหัสวิชา
การบริหารตนเอง (Self -Management)
3 (3-0-6)
-
จ. กลุ่มวิชาพัฒนาคุณภาพชีวิต จานวน 1 วิชา รวม 3 หน่วยกิต รายวิชา หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรียน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
HG032
รหัสวิชา
ทักษะการดารงชีวิตในสังคมโลก (Global Life Skills)
3 (3-0-6)
-
(2) หมวดวิชาเฉพาะ หมวดวิชาเฉพาะมี 4 กลุม่ วิชา จานวนรวม 99 หน่วยกิต ประกอบด้ วย ก.กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ จานวน 45 หน่วยกิต รายวิชา หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรียน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
BA961 EC961 LW961
CA106 CA111
CA108
หลักการตลาด (Principles of Marketing) เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น (Introduction to Economics) กฎหมาย การเมือง และการปกครองของ ไทย (Thai Laws, Politics and Government) หลักนิเทศศาสตร์ (Principles of Communication) พื ้นฐานการสือ่ สารมวลชนและสื่อใหม่ (Fundamentals of Mass Communication and New Media) พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ (Fundamentals of Strategic Communication)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
19
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
ศึกษาก่อน CA106 หลัก นิเทศศาสตร์
3 (3-0-6)
ศึกษาก่อน CA106 หลัก นิเทศศาสตร์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา
รายวิชา
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรียน
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
CA109 CA110 CA202 CA205
CA206 CA303 CA304
CA305
CA306
พัฒนาทักษะการอ่าน (Reading Skill Development) พัฒนาทักษะการเขียน (Writing Skill Development) วาทนิเทศ (Speech Communication) ศิลปะการสื่อสารผ่านภาพและเสียง (Audio and Visual Arts for Communication) หลักการสื่อข่าวและเขียนข่าว (News Reporting and Writing) ภาษาอังกฤษสาหรับงานนิเทศศาสตร์ (English for Communication ) การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ (Introduction to Communication Research) การจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศศาสตร์ (Information Management for Communication) กฎหมายและจริยธรรมนิเทศศาสตร์ (Law and Ethics for Communication)
3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
ศึกษาก่อน HG008 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
3 (3-0-6)
-
3 (2-2-5)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
สอบผ่าน HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร4
3 (3-0-6)
-
3 (2-2-5)
-
3 (3-0-6)
-
ข. กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา จานวน 9 หน่วยกิต รหัสวิชา
รายวิชา
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรียน
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
CI001 CI002
ศิลปะการเล่าเรื่ อง (The Art of Storytelling ) ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน (Mass Communication Theory)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
20
3(3-0-6)
-
3(3-0-6)
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI003
การวิจยั ประยุกต์ทางนวัตกรรมสื่อสารมวลชน 3(3-0-6) (Applied Research for Innovative Mass Communication)
สอบผ่าน CA304 การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์
ค. กลุ่มวิชาเอก จานวน 30 หน่วยกิต วิชาเอกวารสารศาสตร์ ดิจิทลั วิชาเอกบังคับ 24 หน่วยกิต รหัสวิชา
รายวิชา
หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรียน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
CI101 CI111
CI103
CI112
CI105
คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องานวารสารศาสตร์ (Computer Graphics for Journalism) การสื่อข่าวสาหรับงานวารสารศาสตร์ ดิจิทลั (News Reporting for Digital Journalism) การเขียนสร้ างสรรค์เพื่องานวารสารศาสตร์ (Creative Writing for Journalism)
การจัดการธุรกิจวารสารศาสตร์ ดิจิทลั (Business Management for Digital Journalism) การบรรณาธิกรและการผลิตหนังสือพิมพ์ (Newspaper Editing and Production)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
21
3(2-2-5)
-
3(2-2-5) สอบผ่าน CA206 หลักการสื่อข่าวและ เขียนข่าว 3(3-0-6) ศึกษาก่อน CA109 พัฒนาทักษะการอ่าน ศึกษาก่อน CA110 พัฒนาทักษะการเขียน 3(3-0-6) -
3(2-2-5) ศึกษาก่อน CI101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก เพื่องานวารสารศาสตร์ CI103 การเขียน สร้ างสรรค์เพื่องาน วารสารศาสตร์ ศึกษาก่อน CA206 หลักการสื่อข่าวและ เขียนข่าว หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI113
การผลิตสื่อวารสารศาสตร์ ดิจิทลั (Media Production for Digital Journalism)
CI114
สัมมนาวารสารศาสตร์ ดิจิทลั กับสังคม (Seminar on Digital Journalism and Society) ประสบการณ์วิชาชีพทางวารสารศาสตร์ ดิจิทลั (Digital Journalism Practicum)
CI116
หรื อ CI115
หรื อ CI110
3(2-2-5) ศึกษาก่อน CI101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก เพื่องานวารสารศาสตร์ ศึกษาก่อน CI111 การสื่อข่าวสาหรับงาน วารสารศาสตร์ ดิจิทลั 3(3-0-6) ศึกษาก่อน CI105 การบรรณาธิกรและ การผลิตหนังสือพิมพ์ 3(0-6-3) สอบผ่าน รายวิชาใน หลักสูตรจานวนไม่ น้ อยกว่า 120 หน่วย กิต และตามเกณฑ์ที่ สาขาวิชากาหนด 3(1-2-6) สอบผ่าน รายวิชาใน หลักสูตรจานวนไม่ น้ อยกว่า 120 หน่วย กิต และตามเกณฑ์ที่ สาขาวิชากาหนด
โครงงานด้ านวารสารศาสตร์ ดิจิทลั (Digital Journalism Project)
6(0-40-20) สอบผ่าน รายวิชาใน หลักสูตรจานวนไม่ น้ อยกว่า 120 หน่วย กิต และตามเกณฑ์ที่ สาขาวิชากาหนด
สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต นักศึกษาสามารถต้ องเลือกเรี ยนรายวิชาเอกเลือก ของกลุม่ วิชาเอกวารสารศาสตร์ ดิจิทลั ต่อไปนี ้ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
22
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา
หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรียน
รายวิชา
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
CI131
การสื่อข่าวขันสู ้ ง (Advanced News Reporting)
3(3-0-6) ศึกษาก่อน CA206 หลักการสื่อข่าว และเขียนข่าว
CI132
เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ (Journalism Technology) ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ (Photojournalism) การเขียนสารคดี (Feature Writing) วารสารศาสตร์ สากล (Global Journalism) การวิเคราะห์ขา่ วปั จจุบนั (Current News Analysis) วารสารศาสตร์ เพื่อสิง่ แวดล้ อมและความยัง่ ยืน (Journalism for the Environment and Sustainability) หัวข้ อคัดเฉพาะทางวารสารศาสตร์ (Selected Topic in Journalism) การแปลข่าว (News Translation)
3(3-0-6)
-
3(3-0-6)
-
3(3-0-6)
-
3(3-0-6)
-
3(3-0-6)
-
CI133 CI134 CI135 CI136 CI137
CI138 CI139 CI140 CI141
การผลิตสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ (Specialized Publication Production) การรายงานข่าวเศรษฐกิจและธุรกิจ (Business and Economics News Reporting)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
23
3(3-0-6) ศึกษาก่อน CA206 หลักการสื่อข่าว และเขียนข่าว 3(3-0-6) 3(3-0-6) ศึกษาก่อน CA206 หลักการสื่อข่าว และเขียนข่าว 3(2-2-5) 3(3-0-6) ศึกษาก่อน CA206 หลักการ สื่อข่าวและเขียน ข่าว EC961 เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI147 CI143 CI144
CI145
การสื่อข่าวเด็กและเยาวชน (Children and Youth Journalism) การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ (Management for Publishing Business) การบรรณาธิกรและผลิตนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Magazine Editing and Production)
3(3-0-6)
-
3(3-0-6)
-
การศึกษาเฉพาะบุคคลด้ านวารสารศาสตร์ (Individual Study for Journalism)
3(1-0-8)
CI146 พัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy Skill Development)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
24
3(2-2-5) สอบผ่าน CI105 การบรรณาธิกร และการผลิต หนังสือพิมพ์ -
3 (3-0-6)
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา
วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ วิชาเอกบังคับ 24 หน่วยกิต รายวิชา หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรียน
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
CI201 CI202 CI203
CI204 CI215
CI211
CI212
CI213
การสร้ างสรรค์บทรายการ (Script Writing for Broadcast Program) การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง (Radio Program Production) กราฟิ กและแอนิเมชันเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Graphics and Animation for Television Program) การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ (Television Program Production) การผลิตรายการเพื่อเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ (Broadcast Program for Creative Economy) การจัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ (Business Management for Broadcasting) สัมมนาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (Seminar on Broadcasting)
3(3-0-6)
-
3(2-2-5)
-
3(2-2-5)
-
3(2-2-5)
-
3(2-2-5)
-
3(3-0-6)
-
ประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ (Broadcasting Practicum)
3(0-6-3)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
25
3(3-0-6)
ศึกษาก่อน CI202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง CI204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ สอบผ่าน รายวิชาใน หลักสูตรจานวนไม่น้อย กว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หรื อ CI214
หรื อ CI210
สอบผ่าน รายวิชาใน หลักสูตรจานวนไม่น้อย กว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด
โครงงานด้ านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ (Braodcast Media Project)
3(1-2-6)
สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
6(0-40-20) สอบผ่าน รายวิชาใน หลักสูตรจานวนไม่น้อย กว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด
วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต นักศึกษาต้ องเลือกเรี ยนรายวิชาเอกเลือกของกลุม่ วิชาเอกวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ต่อไปนี ้ รหัสวิชา
รายวิชา
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรียน
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
CI231 CI252 CI233
CI234
การวางแผนและประเมินผลสื่อมวลชน (Mass Media Planning and Evaluation) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ นานาชาติ (International Broadcasting) ผู้ดาเนินรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ (Radio and Television Moderator) การผลิตรายการข่าววิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์ (News Program Production for Radio and Television)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
26
3(3-0-6)
-
3(3-0-6)
-
3(2-2-5)
-
3(2-2-5)
ศึกษาก่อน CA206 หลักการสื่อข่าวและ เขียนข่าว
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI253
การผลิตรายการสารคดีวิทยุโทรทัศน์ (Documentary Program Production for Television)
3(2-2-5)
CI254
การผลิตรายการโชว์ทาง วิทยุโทรทัศน์ (Show Program Production for Television) การผลิตงานโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ (Advertising Production for Radio and Television)
3(2-2-5)
การพูดภาษาอังกฤษในงาน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (English Speaking in Program for Broadcasting) เทคนิคการนาเสนองานด้ าน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (Presentation Techniques for Broadcasting) การผลิตรายการละครวิทยุกระจายเสียง (Drama Program Production for Radio)
3(3-0-6)
การผลิตรายการละครวิทยุโทรทัศน์ (Drama Program Production for Television) เทคนิคการกากับรายการวิทยุโทรทัศน์ (Directing Techniques for Television Program)
3(2-2-5)
CI237
CI255
CI256
CI240
CI241
CI242
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
27
3(2-2-5)
3(2-2-5)
3(2-2-5)
3(2-2-5)
ศึกษาก่อน CI204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ ศึกษาก่อน CI204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ ศึกษาก่อน CI202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง CI204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ -
-
ศึกษาก่อน CI202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง ศึกษาก่อน CI204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ สอบผ่าน CI204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ศิลปะการแสดงเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Acting for Television) การออกแบบเครื่ องแต่งกายและการ แต่งหน้ าผู้แสดงเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Costume and Make-up Design for Television) การออกแบบฉากและเครื่ องประกอบฉาก เพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Set and Property Design for Television) หัวข้ อคัดเฉพาะทางวิทยุกระจายเสียง (Selected Topics in Radio)
3(2-2-5)
-
3(2-2-5)
-
3(2-2-5)
-
CI247
หัวข้ อคัดเฉพาะทางวิทยุโทรทัศน์ (Selected Topics in Television)
3(2-2-5)
CI248
หัวข้ อคัดเฉพาะทางสื่อประสม (Selected Topics in Multimedia)
3(2-2-5)
CI257
การศึกษาเฉพาะบุคคลด้ าน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (Individual Study for Broadcasting) การสร้ างสรรค์รายการความรู้ทาง วิทยุกระจายเสียง (Creativity for Educational Radio Program) ศิลปะการใช้ เสียงพูดทางวิทยุกระจายเสียง (Voice Projection for Radio Program)
3(1-0-8)
CI243 CI244
CI258
CI246
CI250
CI251
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
28
3(2-2-5)
สอบผ่าน CI202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง สอบผ่าน CI204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ สอบผ่าน CI202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง CI204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ -
3(2-2-5)
-
3(2-2-5)
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา
ภาพยนตร์ ดิจิทลั วิชาเอกบังคับ รายวิชา
24
หน่วยกิต หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรียน
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
CI301 CI311 CI303
ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น (Introduction to Digital Film) การสร้ างสรรค์บทภาพยนตร์ (Script Writing for Digital Film) การผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั (Digital Film Production)
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5)
CI304
การออกแบบโมชันกราฟิ ก 3(2-2-5) เพื่อภาพยนตร์ ดิจิทลั (Motion Graphics Design for Digital Film)
CI305
การจัดการธุรกิจภาพยนตร์ ดิจิทลั 3(3-0-6) (Business Management for Digital Film) โครงงานด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั 1 3(2-2-5) (Digital Film Project 1)
CI306
CI312
ศึกษาก่อน CI301 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น CI311 การสร้ างสรรค์บท ภาพยนตร์ ศึกษาก่อน CI301 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น CI311 การสร้ างสรรค์ ภาพยนตร์ -
สอบผ่าน CI303 การผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั และ CI304 การออกแบบโมชันกราฟิ ก เพื่อภาพยนตร์ ดิจิทลั 3(3-0-6) สอบผ่านCI303 การผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั และ CI304 การออกแบบโมชันกราฟิ ก เพื่อภาพยนตร์ ดิจิทลั
สัมมนาด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั (Seminar on Digital Film)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
-
29
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI308 ประสบการณ์วิชาชีพทางภาพยนตร์ ดิจิทลั (Digital Film Practicum)
หรื อ CI309 โครงงานด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั 2 (Digital Film Project 2)
หรื อ CI310
3(0-6-3) สอบผ่านรายวิชา ในหลักสูตร จานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตาม เกณฑ์ที่สาขาวิชากาหนด 3(1-2-6) สอบผ่านรายวิชาใน หลักสูตร จานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตาม เกณฑ์ที่สาขาวิชากาหนด
สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
6(0-40-20) สอบผ่านรายวิชาใหลักสูตร จานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตาม เกณฑ์ที่สาขาวิชากาหนด
วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต นักศึกษาต้ องเลือกเรี ยนรายวิชาเอกเลือกของกลุม่ วิชาเอกภาพยนตร์ ดิจิทลั ต่อไปนี ้ รหัสวิชา
รายวิชา
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรียน
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
CI331 CI332 CI333 CI334
การสร้ างสรรค์เนื ้อหาสาหรับสื่อดิจิทลั (Content Creation for Digital Media) การกากับภาพยนตร์ (Film Directing) การออกแบบเสียงในภาพยนตร์ (Sound Design for Film) การออกแบบภาพและแสงในภาพยนตร์ (Visual and Lighting Design for Film)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
30
3(2-2-5)
-
3(2-2-5)
-
3(2-2-5)
-
3(2-2-5)
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI335 CI336 CI337 CI338 CI339 CI340
การออกแบบงานสร้ างภาพยนตร์ (Production Design for Film) กระบวนการหลังการถ่ายทา (Post-Production Process for Film) การผลิตภาพยนตร์ สารคดี (Documentary Film Production) การผลิตภาพยนตร์ บนั เทิง (Feature Film Production) ศิลปะดิจิทลั สาหรับภาพยนตร์ (Digital Art for Film) การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์ (Film Criticism)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
31
3(2-2-5)
-
3(2-2-5)
-
3(3-0-6)
-
3(2-2-5)
-
3(2-2-5)
-
3(3-0-6)
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ง. กลุ่มวิชาโท 15
หน่วยกิต
นักศึกษาสาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน ทุกกลุม่ วิชาเอกสามารถเลือกเรี ยนวิชาโทต่างสาขา หรื อ วิชาโทต่างคณะที่คณะวิชาอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยเปิ ดให้ เรี ยนเป็ นวิชาโท ในกรณีที่นกั ศึกษาไม่เลือก เรี ยนวิชาโทคณะใดคณะหนึง่ โดยเฉพาะให้ เลือกเรี ยนวิชานอกคณะ โดยเลือกจากรายวิชาในกลุม่ วิชาโท ที่กาหนดไว้ ในหลักสูตร หรื อ วิชาเอกเลือกใดๆในสาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน ให้ ครบ 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาโทนวัตกรรมสื่อสารมวลชน 1.กลุ่มวิชาโทนวัตกรรมสื่อสารมวลชน ที่จัดให้ นักศึกษาต่ างคณะเลือกเรียน รหัสวิชา CX200 CX201
CX202 CX203 CX204 CX205 CX206 CX208
รายวิชา
หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรียน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง) 3 (3-0-6)
นิเทศศาสตร์ เบื ้องต้ น (Introduction to Communication Arts) พื ้นฐานการสือ่ สารมวลชนและสื่อใหม่ (Fundamentals of Mass Communication and New Media) เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ (Journalism Technology) วารสารศาสตร์ สากล (Global Journalism) การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ (Management for Publishing Business) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์นานาชาติ (International Broadcasting) ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น (Introduction to Digital Film) ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ (Photojournalism)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
32
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2.วิชาโทนวัตกรรมสื่อสารมวลชน ที่จัดให้ นักศึกษาต่ างสาขาวิชาเลือกเรียน รหัสวิชา รายวิชา หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรียน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง) CX202 CX203 CX204 CX205 CX206 CX207
CX208 CX209 CX210 CX211 CX212
เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ 3 (3-0-6) (Journalism Technology) วารสารศาสตร์ สากล 3 (3-0-6) (Global Journalism) การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ 3 (3-0-6) (Management for Publishing Business) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์นานาชาติ 3 (3-0-6) (International Broadcasting) ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น 3 (3-0-6) (Introduction to Digital Film) 3 (3-0-6) การจัดการธุรกิจวารสารศาสตร์ ดิจิทลั (Business Management for Digital Journalism) 3 (3-0-6) ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ (Photojournalism) 3 (3-0-6) การเขียนสารคดี (Feature Writing) 3 (3-0-6) การวิเคราะห์ขา่ วปั จจุบนั (Current News Analysis) การจัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3 (3-0-6) (Business Management for Broadcasting) 3 (3-0-6) การจัดการธุรกิจภาพยนตร์ ดิจิทลั (Business Management for Digital Film)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
33
-
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3.1.4 แสดงแผนการศึกษา วิชาเอกวารสารศาสตร์ ดจิ ทิ ลั ชัน้ ปี ที่ 1 ภาคต้ น หน่ วยกิต
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
HG008 HG009 SG004 หรื อ SG006 LW961 CA106 CA109
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ หรื อ การรู้ทางดิจิทลั กฎหมาย การเมือง และการปกครองของไทย หลักนิเทศศาสตร์ พัฒนาทักษะการอ่าน รวม
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 18
เงื่อนไขก่ อนเรียน -
ภาคปลาย รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG009 หรื อ คะแนนTOEIC 250 หรื อ เทียบเท่า ศึกษาก่อน CA106 หลัก นิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน CA106 หลัก นิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน HG008 ภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร
HG010
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2
3(3-0-6)
BG003 SG005 CA111
การประกอบการเชิงนวัตกรรม คณิตศาสตร์ และสถิติสาหรับชีวิตประจาวัน พื ้นฐานการสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)
CA108
พื ้นฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
3(3-0-6)
CA110
พัฒนาทักษะการเขียน
3(3-0-6) รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
34
18
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 2 ภาคต้ น รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
HG011
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3
3(3-0-6)
EC961 CA205 CA206 CI001
เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น ศิลปะการสื่อสารผ่านภาพและเสียง หลักการสื่อข่าวและเขียนข่าว ศิลปะการเล่าเรื่ อง
3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6)
วิชาเลือกเสรี 1 วิชา รวม
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG010 หรื อ คะแนน TOEIC 350 หรื อ เทียบเท่า -
3 18
ภาคปลาย รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
HG012
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4
3(3-0-6)
HG022 BA961 CA202 CI002 CI111
การบริ หารตนเอง หลักการตลาด วาทนิเทศ ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน การสื่อข่าวสาหรับงานวารสารศาสตร์ ดิจิทลั วิชาโท 1 วิชา
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5)
รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
35
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG011 หรื อ คะแนน TOEIC 450 หรื อ เทียบเท่า สอบผ่าน CA206 หลักการ สื่อข่าวและเขียนข่าว
3 21
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 3 ภาคต้ น รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 -
CA303
ภาษาอังกฤษสาหรับงานนิเทศศาสตร์
3(3-0-6)
CA305 CI101 CI103
การจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศศาสตร์ คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องานวารสารศาสตร์ การเขียนสร้ างสรรค์เพื่องานวารสารศาสตร์
3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(3-0-6)
วิชาโท 1-2 วิชา วิชาเลือกเสรี 1 วิชา รวม
ศึกษาก่อน CA109 พัฒนา ทักษะการอ่าน สอบผ่าน CA110 พัฒนา ทักษะการเขียน
3-6 3 18-21
ภาคปลาย รหัสวิชา
HG032 CA304 CA306 CI105
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
ทักษะการดารงชีวิตในสังคมโลก การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ กฎหมายและจริ ยธรรมนิเทศศาสตร์ การบรรณาธิกรและการผลิตหนังสือพิมพ์
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5)
วิชาเอกเลือก 1 วิชา วิชาโท 1 -2 วิชา รวม หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
36
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน CI101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องาน วารสารศาสตร์ CI 103 การเขียนสร้ างสรรค์ เพื่องานวารสารศาสตร์ สอบผ่าน CA206 หลักการ สื่อข่าวและเขียนข่าว
3 3-6 18-21 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 4 ภาคต้ น รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
CI003
การวิจยั ประยุกต์ทางนวัตกรรมสื่อสารมวลชน
3(3-0-6)
CI112 CI113
การจัดการธุรกิจวารสารศาสตร์ ดิจิทลั การผลิตสื่อวารสารศาสตร์ ดิจิทลั
3(3-0-6) 3(2-2-5)
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน CA304 การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ สอบผ่าน CI101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก
เพื่องานวารสารศาสตร์ ศึกษาก่อน CI111 การสื่อ ข่าวสาหรับงานวารสาร ศาสตร์ ดิจิทลั วิชาเอกเลือก 1 วิชา วิชาโท 1 วิชา รวม
3 3 15
ภาคปลาย รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน
CI114
สัมมนาวารสารศาสตร์ ดิจิทลั กับสังคม
3(3-0-6)
ศึกษาก่อน CI105 การ บรรณาธิกรและการผลิต หนังสือพิมพ์
CI116 หรื อ CI115
ประสบการณ์วชิ าชีพทางวารสารศาสตร์ ดิจิทลั
3(0-6-3)
โครงงานด้ านวารสารศาสตร์ ดิจิทลั
3(1-2-6)
สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วย กิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด
รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
37
6
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หรื อ แผนสหกิจศึกษา ภาคปลาย รหัสวิชา
CI110
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
สหกิจศึกษา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
6 (0-40-20)
สอบผ่าน รายวิชาใน หลักสูตรจานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตาม เกณฑ์ที่สาขาวิชากาหนด
รวม 6 หมายเหตุ : ในภาคปลาย ชันปี ้ ที่ 4 ผู้ที่เลือกวิชาโทภาษาจีน อาจมีวิชาที่ต้องเรี ยนอีก 1 วิชา จึงต้ อง ฝึ กงานรายวิชาประสบการณ์วชิ าชีพในภาคฤดูร้อน และไม่สามารถเลือกแผนการเรี ยนสหกิจศึกษาได้
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
38
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
วิชาเอกวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ชัน้ ปี ที่ 1 ภาคต้ น หน่ วยกิต
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
HG008 HG009 SG004 หรื อ SG006 LW961 CA106 CA109
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ หรื อ การรู้ทางดิจิทลั กฎหมาย การเมือง และการปกครองของไทย หลักนิเทศศาสตร์ พัฒนาทักษะการอ่าน รวม
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 18
เงื่อนไขก่ อนเรียน -
ภาคปลาย รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG009 หรื อ คะแนนTOEIC 250 หรื อ เทียบเท่า ศึกษาก่อน CA106 หลัก นิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน CA106 หลัก นิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน HG008 ภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร
HG010
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2
3(3-0-6)
BG003 SG005 CA111
การประกอบการเชิงนวัตกรรม คณิตศาสตร์ และสถิติสาหรับชีวิตประจาวัน พื ้นฐานการสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)
CA108
พื ้นฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
3(3-0-6)
CA110
พัฒนาทักษะการเขียน
3(3-0-6) รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
39
18
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 2 ภาคต้ น รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
HG011
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3
3(3-0-6)
EC961 CA205 CA206 CI001
เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น ศิลปะการสื่อสารผ่านภาพและเสียง หลักการสื่อข่าวและเขียนข่าว ศิลปะการเล่าเรื่ อง วิชาเลือกเสรี 1 วิชา
3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3 18
รวม
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG010 หรื อ คะแนน TOEIC 350 หรื อ เทียบเท่า -
ภาคปลาย รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
HG012
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4
3(3-0-6)
HG022 BA961 CA202 CI002 CI201 CI202
การบริ หารตนเอง หลักการตลาด วาทนิเทศ ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน การสร้ างสรรค์บทรายการ การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 21
รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
40
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG011 หรื อ คะแนน TOEIC 450 หรื อ เทียบเท่า -
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 3 ภาคต้ น รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน HG 012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 -
CA303
ภาษาอังกฤษสาหรับงานนิเทศศาสตร์
3(3-0-6)
CA305 CI203 CI204
การจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศศาสตร์ กราฟิ กและแอนิเมชันเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ วิชาโท 2 วิชา วิชาเลือกเสรี 1 วิชา
3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 6 3 21
รวม
ภาคปลาย รหัสวิชา
HG032 CA304 CA306 CI211 CI215
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
ทักษะการดารงชีวิตในสังคมโลก การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ กฎหมายและจริ ยธรรมนิเทศศาสตร์ การจัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ การผลิตรายการเพื่อเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ วิชาโท 1 วิชา รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
41
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)
-
3(2-2-5) 3 18
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 4 ภาคต้ น หน่ วยกิต
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
CI003
การวิจยั ประยุกต์ทางนวัตกรรมสื่อสารมวลชน
3(3-0-6)
วิชาเอกเลือก 2 วิชา วิชาโท 2 วิชา รวม
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน CA304 การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์
6 6 15
ภาคปลาย รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน CI202 การผลิต รายการวิทยุกระจายเสียง CI 204 การผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ ยกเว้ น นักศึกษา สหกิจศึกษา (ภาคปลาย) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วย กิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด
CI212
สัมมนาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
3(3-0-6)
CI213
ประสบการณ์วชิ าชีพวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์
3(0-6-3)
โครงงานด้ านวิทยุกระจายเสียง หรื อ วิทยุ โทรทัศน์
3(1-2-6)
หรื อ CI214
รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
42
6
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หรื อ แผนสหกิจศึกษา ภาคปลาย รหัสวิชา CI210
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
สหกิจศึกษา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน
6 (0-40-20)
สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วย กิตและตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด
รวม 6 หมายเหตุ : ในภาคปลาย ชันปี ้ ที่ 4 ผู้ที่เลือกวิชาโทภาษาจีน อาจมีวิชาที่ต้องเรี ยนอีก 1 วิชา จึงต้ อง ฝึ กงานรายวิชาประสบการณ์วชิ าชีพในภาคฤดูร้อน และไม่สามารถเลือกแผนการเรี ยนสหกิจศึกษาได้
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
43
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
วิชาเอกภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั ชัน้ ปี ที่ 1 ภาคต้ น หน่ วยกิต
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน
HG008 HG009 SG004 หรื อ SG006 LW961 CA106 CA109
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ หรื อ การรู้ทางดิจิทลั กฎหมาย การเมือง และการปกครองของไทย หลักนิเทศศาสตร์ พัฒนาทักษะการอ่าน รวม
3(3-0-6) 3(3-0-6)
-
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 18
-
ภาคปลาย รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG009 หรื อ คะแนนTOEIC 250 หรื อ เทียบเท่า ศึกษาก่อน CA106 หลัก นิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน CA106 หลัก นิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน HG008 ภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร
HG010
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2
3(3-0-6)
BG003 SG005 CA111
การประกอบการเชิงนวัตกรรม คณิตศาสตร์ และสถิติสาหรับชีวิตประจาวัน พื ้นฐานการสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)
CA108
พื ้นฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
3(3-0-6)
CA110
พัฒนาทักษะการเขียน
3(3-0-6) รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
44
18
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 2 ภาคต้ น รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
HG011
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3
3(3-0-6)
EC961 CA205 CA206 CI001 CI301
เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น ศิลปะการสื่อสารผ่านภาพและเสียง หลักการสื่อข่าวและเขียนข่าว ศิลปะการเล่าเรื่ อง ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น
3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 18
รวม
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG010 หรื อ คะแนน TOEIC 350 หรื อ เทียบเท่า -
ภาคปลาย รหัสวิชา
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
HG012
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4
3(3-0-6)
HG022 BA961 CA202 CI002 CI311
การบริ หารตนเอง หลักการตลาด วาทนิเทศ ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน การสร้ างสรรค์บทภาพยนตร์ วิชาโท 1 วิชา
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3 21
รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
45
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG011 หรื อ คะแนน TOEIC 450 หรื อ เทียบเท่า -
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 3 ภาคต้ น หน่ วยกิต รหัสวิชา
(บรรยายปฏิบตั ิศึกษาด้ วย ตนเอง)
ชื่อวิชา
CA303
ภาษาอังกฤษสาหรับงานนิเทศศาสตร์
3(3-0-6)
CA305 CI303
การจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศศาสตร์ การผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั
3(2-2-5) 3(2-2-5)
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน HG 012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 ศึกษาก่อน CI301 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น CI 311 การสร้ างสรรค์
บทภาพยนตร์ CI304
การออกแบบโมชันกราฟิ กเพื่อภาพยนตร์ ดิจิทลั
3(2-2-5)
ศึกษาก่อน CI301 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น CI 311 การสร้ างสรรค์
บทภาพยนตร์ วิชาโท 1-2 วิชา วิชาเลือกเสรี 1 วิชา รวม
6 3 18-21
ภาคปลาย รหัสวิชา
HG032 CA304 CA306 CI306
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
ทักษะการดารงชีวิตในสังคมโลก การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ กฎหมายและจริ ยธรรมนิเทศศาสตร์ โครงงานด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั 1
3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5)
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน CI303 การผลิต ภาพยนตร์ ดิจิทลั CI304 การออกแบบโมชัน
กราฟิ กเพื่อภาพยนตร์ ดิจิทลั วิชาเอกเลือก 1 วิชา วิชาโท 1-2 วิชา รวม หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
46
3 3 18-21 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 4 ภาคต้ น หน่ วยกิต
รหัสวิชา
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
CI003
การวิจยั ประยุกต์ทางนวัตกรรมสื่อสารมวลชน
3(3-0-6)
CI305
การจัดการธุรกิจภาพยนตร์ ดิจิทลั วิชาเอกเลือก 1 วิชา วิชาโท 1 วิชา วิชาเลือกเสรี 1 วิชา
3(3-0-6) 3 3 3 15
รวม
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน CA304 การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์
ภาคปลาย รหัสวิชา CI312
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
3(3-0-6)
สัมมนาด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน CI303 การผลิต ภาพยนตร์ ดิจิทลั CI304 การออกแบบโมชัน
กราฟิ กเพื่อภาพยนตร์ ดิจิทลั CI308
ประสบการณ์วชิ าชีพทางภาพยนตร์ ดิจิทลั
3(0-6-3)
หรื อ CI309
โครงงานด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั 2
3(1-2-6) รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
47
ยกเว้ น นักศึกษา สหกิจศึกษา (ภาคปลาย) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วย กิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด
6
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หรื อ แผนสหกิจศึกษา ภาคปลาย รหัสวิชา CI310
หน่ วยกิต
ชื่อวิชา
สหกิจศึกษา
(บรรยาย-ปฏิบตั ิศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน
6 (0-40-20)
สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วย กิตและตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด
รวม 6 หมายเหตุ : ในภาคปลาย ชันปี ้ ที่ 4 ผู้ที่เลือกวิชาโทภาษาจีน อาจมีวิชาที่ต้องเรี ยนอีก 1 วิชา จึงต้ อง ฝึ กงานรายวิชาประสบการณ์วชิ าชีพในภาคฤดูร้อน และไม่สามารถเลือกแผนการเรี ยนสหกิจศึกษาได้
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
48
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3.1.5 คาอธิบายรายวิชา (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่ วยกิต ก. กลุ่มวิชาภาษา HG008 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3 (3-0-6) (Thai for Communication) พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาไทยมาตรฐาน หลักการฟั ง การพูด การอ่าน และการเขียน การใช้ ภาษาไทยเพื่อถ่ายทอดความคิดอย่างเป็ นระบบและสามารถสื่อสารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3 (3-0-6) (English for Communication 2) ศึกษาก่ อน HG009 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 หรือ คะแนน TOEIC 250 หรือเทียบเท่ า พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวัน โดยเน้ นทักษะการฟั งเพื่อ จับใจความสาคัญ และรายละเอี ย ดจากข้ อความหรื อบทสนทนาที่ ซับซ้ อนขึน้ การมี ส่วนร่ วมในการ สนทนาโดยการถามตอบ และแสดงความคิดเห็น การพูดในสถานการณ์ ต่างๆ ที่พบในชีวิตประจาวัน รวมทังการน ้ าเสนอและเปรี ยบเทียบข้ อมูลทางธุรกิจอย่างง่าย การอ่านข้ อความในหัวข้ อที่หลากหลาย และสามารถสรุ ป เรื่ อ งได้ การเขี ย นข้ อ ความในหัวข้ อ ที่ ห ลากหลายทัง้ ในรู ป แบบทั่วไปและผ่านสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 3 (3-0-6) (English for Communication 3) ศึกษาก่ อน HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 หรือ คะแนน TOEIC 350 หรือเทียบเท่ า พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจในชีวิตประจาวัน ซึง่ เป็ นการบูรณา การทักษะการฟั ง พูด อ่าน และเขียน โดยเน้ นการสนทนาทางโทรศัพท์ การนาเสนอข้ อมูลเกี่ยวกับบริษัท สินค้ า และบริ การ การเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ การเขียนบันทึกภายในและจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ การอ่านข่าวที่เกี่ยวกับธุรกิจและสรุปใจความสาคัญในเรื่ องที่อา่ น
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
49
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 3 (3-0-6) (English for Communication 4) ศึกษาก่ อน HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 หรือ คะแนน TOEIC 450 หรือเทียบเท่ า พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจในชีวิตประจาวัน ซึง่ เป็ นการบูรณา การทักษะการฟั ง พูด อ่าน และเขียน โดยเน้ นการประชุม การเจรจาต่อรองทางธุรกิจเบื ้องต้ น และการ สัมภาษณ์งานในสถานการณ์ จาลอง การเขียนจดหมายสมัครงาน และประวัติส่วนตัวในรูปแบบทัว่ ไป และผ่านสื่ ออิ เล็ก ทรอนิ ก ส์ การอ่า นบทความและสรุ ป ความเกี่ ย วกับ สถานก ารณ์ ธุรกิ จในปั จ จุบัน รวมทังการสื ้ ่อสารทางธุรกิจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง ข. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ SG004 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Modern Science and Technology) วิทยาการทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ นวัตกรรม และการสร้ างองค์ความรู้ ใหม่ ความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้ อม พลังงาน ผลิตภัณ ฑ์ การเกษตร การแพทย์ การสื่อสาร เศรษฐกิจ ธุรกิจ และสังคม SG005 คณิตศาสตร์ และสถิตสิ าหรับชีวิตประจาวัน 3 (3-0-6) (Mathematics and Statistics for Daily Life) ความสาคัญและบทบาทของคณิตศาสตร์ และสถิติที่มีตอ่ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คณิตศาสตร์ และสถิติที่ใช้ ในชีวิตประจาวันและธุรกิจ การใช้ โปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล และการแปลผล SG006 การรู้ทางดิจทิ ลั 3 (3-0-6) (Digital Literacy) การใช้ สื่อดิจิทลั และเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ และทางานร่วมกัน การใช้ เครื่ องมือและแหล่งทรัพยากรดิจิทลั ในการค้ นคว้ า รวบรวม วิเคราะห์และประเมินข้ อมูลเพื่อการ ตัดสินและแก้ ปัญหา การศึกษาองค์ความรู้ใหม่ ๆ การสร้ างสรรค์และนาเสนอผลงานดิจิทลั จริยธรรม และความปลอดภัยในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตลอดจนผลกระทบของสื่อดิจิทลั ที่มี ต่อบุคคล ธุรกิจ และการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
50
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ค. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ BG003 การประกอบการเชิงนวัตกรรม
3(3-0-6)
(Inniovative Entrepreneurship) หลักการและการประยุกต์ใช้ ความรู้ ทางด้ านนวัตกรรมการประกอบการ รูปแบบการทาธุรกิจ สมัยใหม่ ความรู้เบื ้องต้ นด้ านการเงิน การตลาด บัญชี เศรษฐศาสตร์ กฎหมายธุรกิจ สภาพแวดล้ อม ทางธุรกิจ หลักธรรมาภิบาลในองค์การ จรรยาบรรณทางธุรกิจ รวมทังเศรษฐกิ ้ จพอเพียง เศรษฐกิจเชิง สร้ างสรรค์ เศรษฐกิจสีเขียว ความรับผิดชอบต่อสังคม และวิสาหกิจสังคม ง. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ HG022 การบริหารตนเอง 3 (3-0-6) (Self- Management) หลักการและการประยุกต์ใช้ ความรู้เรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคลทางจิตวิทยา พฤติกรรม ทางสังคมของบุคคลและกลุม่ เกี่ยวกับการรับรู้ การเรี ยนรู้ แรงจูงใจ ความฉลาดทางอารมณ์ การมีวฒ ุ ิ ภาวะ และสุขภาวะ การนาและการทางานเป็ นทีม การจัดการความขัดแย้ งอย่างสร้ างสรรค์ หลักการคิด และการใช้ เหตุผล การวิเคราะห์และเข้ าใจพฤติกรรมของมนุษย์และนาไปสู่การรู้ จกั ตนเอง เข้ าใจผู้อื่น และปรับตัวได้ มีคณ ุ ธรรมและจริยธรรมในการดาเนินชีวิต จ. กลุ่มวิชาพัฒนาคุณภาพชีวิต HG032 ทักษะการดารงชีวิตในสังคมโลก 3 (3-0-6) (Global Life Skills) ความรู้ และทัก ษะที่ จาเป็ น ในการดารงชี วิตเกี่ ยวกับ สถาบัน ทางสังคม การเมื องและการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกที่มีต่อเศรษฐกิจและสังคมไทย และ กลุ่ม ประเทศอาเซี ย น ตลอดจนความแตกต่างทางด้ านศิ ล ปวัฒ นธรรม ทัก ษะทางด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร รวมทังการพั ้ ฒนาบุคลิกภาพ การสมาคม และการสร้ างความน่าเชื่อถือใน สังคม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
51
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2. หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่ วยกิต ก. กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ 45 หน่ วยกิต BA961 หลักการตลาด 3(3-0-6) (Principles of Marketing) ความหมายของการตลาด แนวความคิดทางการตลาด ความสาคัญของการตลาดที่มีตอ่ ธุรกิจ และเศรษฐกิจ หน้ าที่ทางการตลาด สิง่ แวดล้ อมที่มีอทิ ธิพลทางการตลาด พฤติกรรมและกระบวนการ ตัดสินใจซื ้อ ตลาดและส่วนแบ่งการตลาด การใช้ สว่ นประสมทางการตลาด ได้ แก่ ผลิตภัณฑ์ การตัง้ ราคา การจัดจาหน่ายและการส่งเสริมการตลาด EC961 เศรษฐศาสตร์ เบือ้ งต้ น 3(3-0-6) (Introduction to Economics ) หลักพื ้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ ทวั่ ไประดับจุลภาคและมหภาค การทางานของกลไกราคา โครงสร้ าง ตลาดแบบต่าง ๆ การผลิตและต้ นทุนการผลิต ปั ญหาผลกระทบภายนอกและการจัดสรรสินค้ าสาธารณะ หลักการเบื ้องต้ นของการคานวณรายได้ ประชาชาติ โครงสร้ างของระบบเศรษฐกิจไทย การบริโภค การออม การลงทุน ตลาดเงินและตลาดทุน การค้ าระหว่างประเทศ นโยบายการเงินและการคลัง ปั ญหาเศรษฐกิจ ที่สาคัญ อาทิ เงินเฟ้อ การว่างงาน เงินฝื ด เงินตึง รวมทังปั ้ ญหาเศรษฐกิจปั จจุบนั และแนวทางการแก้ ไข LW961 กฎหมาย การเมือง และการปกครองของไทย 3(3-0-6) (Thai Laws, Politics and Government) ความหมาย ความสาคัญของหลักการของกฎหมาย ระบบกฎหมาย หลักกฎหมายทัว่ ไป กฎหมาย รัฐธรรมนูญ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา ศึกษารูปแบบของการเมือง รัฐและสถาบันทาง การเมือง โครงสร้ างและวิวฒ ั นาการทางการปกครองของไทย ระบบและกลไกการบริหารของรัฐ CA106 หลักนิเทศศาสตร์ 3(3-0-6) (Principles of Communication) ความหมาย ความสาคัญ ประเภท องค์ประกอบ และกระบวนการสื่อสาร หลักการสื่อสาร ปั จจัย และอุปสรรคของการสื่อสาร แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารในระดับต่างๆ ได้ แก่ การสื่อสารภายในบุคคล การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสารกลุม่ การสื่อสารมวลชน และบทบาทของการสือ่ สารในการพัฒนา สังคม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
52
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CA111 พืน้ ฐานการสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่ 3(3-0-6) (Fundamentals of Mass Communication) ศึกษาก่ อน CA 106 หลักนิเทศศาสตร์ พัฒนาการ บทบาทหน้ าที่ โครงสร้ าง ระบบของสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่ องค์กรสื่อสารมวลชนที่ เกี่ยวข้ องทังในและต่ ้ างประเทศ หลักการของการสร้ างสรรค์เนื ้อหา และคุณสมบัติของผู้สร้ างสรรค์เนื ้อหาเพื่อ เผยแพร่ทางสือ่ ต่างๆ การวิเคราะห์ผ้ รู ับสารสื่อมวลชนและสื่อใหม่ อิทธิพลของการสือ่ สารมวลชนและสื่อใหม่ ต่อสังคม จรรยาบรรณและความรับผิดชอบของสื่อมวลชนและสื่อใหม่ CA108 พืน้ ฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3(3-0-6) (Fundamentals of Strategic Communication) ศึกษาก่ อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ หลักการ แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ การโฆษณา และการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ การสร้ างและสื่อสารตราสินค้ าและบริการ รวมทังการใช้ ้ เครื่ องมือในการสื่อสารตราสินค้ า จรรยาบรรณและ ความรับผิดชอบต่อสังคมของการประชาสัมพันธ์ การโฆษณา และการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ CA109 พัฒนาทักษะการอ่ าน 3(3-0-6) (Reading Skill Development ) ฝึ กการอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ ศึกษารูปแบบการเขียนของบทอ่าน วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ประเมินคุณค่าของบทอ่าน โดยเน้ นบทอ่านจากสื่อต่าง ๆ ทังที ้ ่มีจดุ มุง่ หมายเพื่องานสื่อสารมวลชนและงาน อื่น ๆ ได้ แก่ ข่าว บทความ สารคดี สารคดีเชิงข่าว รายงาน CA110 พัฒนาทักษะการเขียน 3(3-0-6) (Writing Skill Development ) ศึกษาก่ อน HG008 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ฝึ กการเขียนอย่างมีระบบเพื่อให้ บรรลุจดุ ประสงค์ที่ต้องการ ได้ แก่ การเขียนเพื่อเล่าเรื่ อง เพื่ออธิบายคาหรื อข้ อความ เพื่อแสดงความคิดเห็น และเพื่อสร้ างจินตนาการ โดยเริ่มต้ นจากการกาหนด จุดมุง่ หมายของการเขียน การวางเค้ าโครงเรื่ อง การนาเสนอ และการใช้ ภาษาในการสื่อสาร
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
53
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CA202 วาทนิเทศ 3(3-0-6) (Speech Communication ) ทฤษฎีหลักการพูด ความสาคัญ องค์ประกอบและประเภทของการพูด การเตรี ยมการพูด ฝึ กการพูด ประเภทต่าง ๆ ในที่ชมุ ชน ได้ แก่ การพูดเล่าเรื่ อง การพูดโน้ มน้ าวใจ การสัมภาษณ์ การประชุม การอภิปราย และการโต้ วาที รวมทังฝึ ้ กการวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินผลการพูด CA205 ศิลปะการสื่อสารผ่ านภาพและเสียง 3(2-2-5) (Audio and Visual Arts for Communication) จิตวิทยาการสื่อสารด้ วยภาพ ตัวอักษร และเสียง การใช้ จิตวิทยาในการถ่ายทอดความคิดและ ความรู้สกึ เพื่อให้ สอดคล้ องกับความรู้และความเข้ าใจของผู้รับสาร การจัดองค์ประกอบของภาพและเสียง ทฤษฎีและเทคนิคเบื ้องต้ นเกี่ยวกับการถ่ายภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ฝึ กการถ่ายภาพนิ่งและ ภาพเคลื่อนไหวเบื ้องต้ นทังในสตู ้ ดิโอ และนอกสถานที่ CA206 หลักการสื่อข่ าวและเขียนข่ าว 3(3-0-6) (News Reporting and Writing) ความหมาย องค์ประกอบ และประเภทของข่าว คุณสมบัติ ความรับผิดชอบ และจริยธรรมของ ผู้สื่อข่าว การประเมินคุณค่าของแหล่งข่าว เน้ นเทคนิคการจับประเด็นข่าว เทคนิคการสืบค้ นและรวบรวม ข้ อมูล รวมทังฝึ ้ กการเขียนข่าวเพื่อรายงานทางหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ CA303 ภาษาอังกฤษสาหรับงานนิเทศศาสตร์ 3(3-0-6) (English for Communication ) สอบผ่ าน HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 ฝึ กการฟั งเพื่อความเข้ าใจ โดยสามารถจับใจความสาคัญและรายละเอียดของบทสนทนา ข่าว สาร คดี รายงาน การบรรยาย ฝึ กการพูด การแสดงความคิดเห็น การสัมภาษณ์ การเสนอรายงาน สรุปความจาก ที่ฟัง ฝึ กการอ่านสิง่ ตีพิมพ์ภาษาอังกฤษทางด้ านนิเทศศาสตร์ ได้ แก่ ข่าว โฆษณา บทความ เพื่อจับใจความ สาคัญและรายละเอียด ฝึ กการเขียนสรุปความข่าวและการรายงานข่าว CA304 การวิจัยเบือ้ งต้ นทางนิเทศศาสตร์ 3(3-0-6) (Introduction to Communication Research) หลัก และแนวคิดเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจยั ทางสังคมศาสตร์ กระบวนการวิจยั ตังแต่ ้ การตังปั ้ ญหา นาวิจยั การสารวจวรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง การตังสมมติ ้ ฐาน การเลือกตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้ อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้ สถิติเบื ้องต้ นในการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล และการนาเสนอผลการวิจยั หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
54
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CA305 การจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศศาสตร์ 3(2-2-5) (Information Management for Communication) แนวคิด หลักการ โครงสร้ าง และกระบวนการทางสารสนเทศ การใช้ แหล่งสารสนเทศ การสืบค้ น การแปลผลข้ อมูลที่ซบั ซ้ อน และการนาเสนอสารสนเทศ ฝึ กทักษะการใช้ โปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อการจัดการ และการสื่อสารสารสนเทศสาหรับงานนิเทศศาสตร์ CA306 กฎหมายและจริยธรรมนิเทศศาสตร์ 3(3-0-6) (Law and Ethics for Communication) กฎหมายเกี่ยวกับงานนิเทศศาสตร์ การโฆษณา การประชาสัมพันธ์และสื่อทุกประเภท เช่น กฎหมายอาญาว่าด้ วยการหมิ่นประมาท ละเมิดและความรับผิดชอบทางแพ่ง กฎหมายลิขสิทธิ์และสิทธิบตั ร จริยธรรมและจรยาบรรณของนักนิเทศศาสตร์ โดยคานึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
ข. กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา 9 หน่ วยกิต CI001 ศิลปะการเล่ าเรื่อง 3(3-0-6) (Art of Storytelling ) แนวคิด ความเป็ นมาของเรื่ องเล่าและการเล่าเรื่ อง การออกแบบโครงสร้ างของเรื่ องและสไตล์ การเล่าเรื่ อง หลักและเทคนิคการเล่าเรื่ องประเภทต่าง ๆ อาทิ การเล่าเรื่ องจากข้ อเท็จจริง การเล่าเรื่ อง แบบละคร การใช้ จินตนาการในการเล่าเรื่ อง โดยเน้ นฝึ กการเล่าเรื่ องผ่านการเขียน การพูด การแสดง ภาพ และสื่ออื่น ๆ CI002 ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน 3(3-0-6) (Mass Communication Theory) ทฤษฎี และแนวคิดเกี่ยวกับการสือ่ สารมวลชนและนวัตกรรมสื่อสารมวลชน กระบวนการ สื่อสารมวลชน บทบาท หน้ าที่ และอิทธิพลของนวัตกรรมสื่อสารมวลชนที่มีตอ่ ปั จเจกบุคคลและสังคม โดยมุง่ ให้ เข้ าใจทฤษฎี และการนาทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ ในการดาเนินงานด้ านสื่อสารมวลชน และอธิบาย ผลสะท้ อนของสื่อมวลชนที่มีตอ่ สมาชิกในสังคม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
55
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI003 การวิจัยประยุกต์ ทางนวัตกรรมสื่อสารมวลชน 3(3-0-6) (Applied Research for Innovative Mass Communication) สอบผ่ าน CA304 การวิจยั เบือ้ งต้ นทางนิเทศศาสตร์ วิจยั ประยุกต์โดยนาทฤษฎี แนวคิด กระบวนการ และเทคนิคการวิจยั มาใช้ ในการวิจยั ด้ าน นวัตกรรมการสื่อสาร ตังแต่ ้ การกาหนดปัญหา วัตถุประสงค์ สมมติฐาน ตัวแปร กรอบแนวคิดทฤษฎี ประมวลผลข้ อมูลและการรายงานผลวิจยั รวมถึงเทคนิคการนาเสนอผลวิจยั ในรูปแบบที่เหมาะสมทาง สื่อประเภทต่าง ๆ ค. กลุ่มวิชาเอก 30 หน่ วยกิต วิชาเอก วารสารศาสตร์ ดจิ ทิ ลั 30 หน่ วยกิต - วิชาเอกบังคับ 24 หน่ วยกิต CI101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องานวารสารศาสตร์ 3(2-2-5) (Computer Graphics for Journalism) หลักและทฤษฎีการออกแบบ หลักการจัดหน้ า การใช้ ตวั พิมพ์ การใช้ สี องค์ประกอบศิลป์ ฝึ ก ปฏิบตั ิการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่อผลิตชิ ้นงานวารสารศาสตร์ สาหรับเผยแพร่ทางสื่อดังเดิ ้ ม และสื่อดิจิทลั CI111 การสื่อข่ าวสาหรับงานวารสารศาสตร์ ดจิ ทิ ลั 3(2-2-5) (News Reporting for Digital Journalism) สอบผ่ าน CA 206 หลักการสื่อข่ าวและเขียนข่ าว หลักการสื่อข่าว การเขียนข่าวและการรายงานข่าวเชิงบูรณาการ เพื่อนาเสนอผ่านสื่อดิจิทลั สื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และสื่อสิง่ พิมพ์ โดยเน้ นฝึ กการรายงานข่าวให้ สอดคล้ องกับ เทคโนโลยีสื่อสมัยใหม่บนพื ้นฐานของหลักกฎหมาย จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบต่อสังคม CI103 การเขียนสร้ างสรรค์ เพื่องานวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) (Creative Writing for Journalism) ศึกษาก่ อน CA 109 พัฒนาทักษะการอ่ าน ศึกษาก่ อน CA 110 พัฒนาทักษะการเขียน หลักและแนวคิดเกี่ยวกับการเขียนเชิงสร้ างสรรค์ หลักการสร้ างสรรค์งานเขียนประเภท ต่าง ๆ เพื่องานวารสารศาสตร์ เพื่อเผยแพร่ทางสือ่ ดังเดิ ้ มและสื่อดิจิทลั อาทิ บทบรรณาธิการ บทความ แสดงความคิดเห็น บทวิเคราะห์ บทวิจารณ์ ฝึ กวิเคราะห์และวิจารณ์งานเขียนเชิงสร้ างสรรค์ และฝึ ก เขียนเชิงสร้ างสรรค์เพื่องานวารสารศาสตร์ ในรูปแบบต่าง ๆ โดยคานึงถึงจรรยาบรรณและความ รับผิดชอบต่อสังคม หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
56
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI112 การจัดการธุรกิจวารสารศาสตร์ ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) (Business Management for Digital Journalism) หลักการจัดองค์กร การกาหนดนโยบายและแผนงานธุรกิจวารสารศาสตร์ การบริหารงานกอง บรรณาธิการ การบริหารการเงินและงบประมาณ การบริหารการผลิต การบริหารการจัดจาหน่าย การ บริหารการตลาด รวมทังการปรั ้ บตัวของธุรกิจวารสารศาสตร์ ในยุคหลอมรวมของสือ่ ดังเดิ ้ มและสื่อดิจิทลั CI105 การบรรณาธิกรและการผลิตหนังสือพิมพ์ 3(2-2-5) (Newspaper Editing and Production) ศึกษาก่ อน CI101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องานวารสารศาสตร์ CI103 การเขียนสร้ างสรรค์ เพื่องานวารสารศาสตร์ CA206 หลักการสื่อข่ าวและเขียนข่ าว หลักการบรรณาธิกรและการผลิตหนังสือพิมพ์ การสื่อข่าว การคัดเลือกข่าว การเขียนหัวข่าว บทความ คอลัมน์ และภาพประกอบ การพิสจู น์อกั ษร การตกแต่งต้ นฉบับ การจัดหน้ า และฝึ กปฏิบตั ิการ ผลิตหนังสือพิมพ์ และหนังสือพิมพ์ออนไลน์ CI113 การผลิตสื่อวารสารศาสตร์ ดจิ ทิ ลั 3(2-2-5) (Media Production for Digital Journalism) ศึกษาก่ อน CI101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องานวารสารศาสตร์ ศึกษาก่ อน CI111 การสื่อข่ าวสาหรับงานวารสารศาสตร์ ดจิ ทิ ลั แนวคิดเกี่ยวกับสื่อวารสารศาสตร์ ดิจิทลั หลักและกระบวนการผลิตสือ่ ดิจิทลั บทบาทของบรรณาธิการและกองบรรณาธิการในการดาเนินงานวารสารศาสตร์ ผา่ นสือ่ ดิจิทลั อย่างมี จรรยาบรรณและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ฝึ กการวางแผนและผลิตสื่อดิจิทลั โดยใช้ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้ อง CI114 สัมมนาวารสารศาสตร์ ดจิ ทิ ลั กับสังคม 3(3-0-6) (Seminar on Digital Journalism and Society) ศึกษาก่ อน CI105 การบรรณาธิกรและการผลิตหนังสือพิมพ์ วิเคราะห์และวิพากษ์ บทบาทหน้ าที่ของสือ่ และวิชาชีพด้ านวารสารศาสตร์ ทกุ ประเภท ทังในและต่ ้ างประเทศที่มีผลกระทบต่อสังคม โดยคานึงถึงองค์ประกอบด้ านความรับผิดชอบ จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
57
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI116 ประสบการณ์ วิชาชีพทางวารสารศาสตร์ ดจิ ทิ ลั 3(0-6-3) (Digital Journalism Practicum) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ ี สาขาวิชากาหนด การฝึ กงานกับองค์กรวารสารศาสตร์ ภายนอก ได้ แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร สานักข่าว งานข่าวของสถานีวิทยุกระจายเสียง งานข่าวของสถานีวิทยุโทรทัศน์ รวมทังองค์ ้ กรผลิตข่าว สาหรับสื่อออนไลน์ โดยได้ รับความเห็นชอบจากสาขาวิชา ให้ มีระยะเวลาฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อ ไม่น้อยกว่า 400 ชัว่ โมงตามที่สาขาวิชากาหนด และให้ เสนอรายงานการฝึ กงานประกอบ CI115 โครงงานด้ านวารสารศาสตร์ ดจิ ทิ ลั 3(1-2-6) (Digital Journalism Project) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ ี สาขาวิชากาหนด นักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่า มีคณ ุ สมบัติเหมาะสมในการจัดทาโครงงานด้ านวารสาร ศาสตร์ แทนการออกฝึ กงานในหน่วยงานภายนอก ตามรายวิชา CI 108 ประสบการณ์วิชาชีพทาง วารสารศาสตร์ ให้ จดั ทาโครงงานเรื่ องใด ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับด้ านวารสารศาสตร์ ดิจิทลั โดยนักศึกษาต้ อง เขียนโครงการและนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดาเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ ได้ รับความเห็นชอบ CI 110 สหกิจศึกษา 6(0-40-20) (Co-operative Education) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ ี สาขาวิชากาหนด การปฏิบตั ิงานจริงในสถานประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษาเป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะพนักงานชัว่ คราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการเตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ าน วิชาการ และการปฏิบตั ิตนในสังคม การทางาน รวมทังด ้ าเนินการตามขันตอนของสหกิ ้ จศึกษาที่ มหาวิทยาลัยกาหนด การปฏิบตั ิงานและการประเมินผล อยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของอาจารย์ ที่ปรึกษาของสาขาวิชา และพนักงานที่ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมาย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
58
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
- วิชาเอกเลือก 6 หน่ วยกิต CI131 การสื่อข่ าวขัน้ สูง 3(3-0-6) (Advanced News Reporting) ศึกษาก่ อน CA206 หลักการสื่อข่ าวและเขียนข่ าว หลักการและเทคนิคการรายงานข่าวขันสู ้ ง อาทิ การรายงานข่าวเชิงอธิบายความ การรายงานข่าวสืบสวน ได้ แก่ ข่าวการเมือง ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวต่างประเทศ ข่าวสิง่ แวดล้ อม ข่าวอาชญากรรม ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา โดยเน้ นความรู้ที่จาเป็ นในการรายงานข่าว การเข้ าถึง แหล่งข่าว ประเด็นข่าวที่มกั พบ และแนวทางการเสนอข่าวแต่ละด้ าน CI132 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) (Journalism Technology) เทคโนโลยีด้านการพิมพ์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการดาเนินงานด้ านข่าวและ การบรรณาธิกรณ์หนังสือพิมพ์และนิตยสาร อาทิ เทคโนโลยีการสื่อสาร เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีโทรคมนาคม และการเลือกใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมสาหรับงานด้ านวารสารศาสตร์ CI133 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) (Photojournalism) หลักการ และแนวคิดเกี่ยวกับภาพข่าว เทคนิคและวิธีการถ่ายภาพ การคัดเลือกภาพ เพื่อนาไปใช้ ในงานวารสารศาสตร์ ผลกระทบของภาพและภาพข่าวที่มีตอ่ ผู้รับสาร ฝึ กการถ่ายภาพและ การนาเสนอภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ โดยคานึงถึงจรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคม CI134 การเขียนสารคดี 3(3-0-6) (Feature Writing) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสารคดีและกระบวนการผลิตสารคดี อาทิ การเลือกเรื่ อง การรวบรวมและคัดเลือกข้ อมูล การเขียนและการนาเสนอผลงานสารคดีผา่ นสื่อรูปแบบต่าง ๆ โดยเน้ น ฝึ กกระบวนการผลิตงานเขียนประเภทสารคดี โดยคานึงถึงจริยธรรมในการนาเสนอ CI135 วารสารศาสตร์ สากล 3(3-0-6) (Global Journalism) แนวคิดเกี่ยวกับวารสารศาสตร์ สากล การไหลเวียนของข่าวสารระหว่างประเทศ ภูมิทศั น์ของสือ่ ที่เปลี่ยนแปลงไปในยุคหลอมรวมสื่อซึง่ ก่อให้ เกิดผลกระทบกับประชาคมโลก ลักษณะ และบทบาทหน้ าที่ของสื่อมวลชนทังในระดั ้ บสากล และ ระดับภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภูมิภาค อาเซียน วิเคราะห์ปัญหาการนาเสนอข่าวสารของประเทศกาลังพัฒนา หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
59
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI136 การวิเคราะห์ ข่าวปั จจุบัน 3(3-0-6) (Current News Analysis) วิธีการวิเคราะห์ข่าวที่ปรากฏในสื่อมวลชนในปั จจุบนั ทังข่ ้ าวภายในประเทศ และข่าว ต่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสังคมไทย ภูมิหลังและประเด็นหลักของข่าว ปรัชญาและหลักการที่ เกี่ยวข้ องกับประเด็นข่าว การใช้ ความรู้พื ้นฐานด้ านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยในการวิเคราะห์ บทบาทของสือ่ มวลชน การวิเคราะห์การนาเสนอของสือ่ มวลชนโดยใช้ ประเด็นข่าวเป็ นเกณฑ์ และการ ฝึ กปฏิบตั ิการนาเสนอผลการวิเคราะห์ผา่ นสื่อที่หลากหลายรูปแบบ CI137 วารสารศาสตร์ เพื่อสิ่งแวดล้ อมและความยั่งยืน 3(3-0-6) (Journalism for the Environment and Sustainability) ศึกษาก่ อน CA206 หลักการสื่อข่ าวและเขียนข่ าว ความสาคัญและความสัมพันธ์ของงานวารสารศาสตร์ กบั การสื่อสารวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้ อม บทบาทและอิทธิพลในการรายงานข้ อเท็จจริงและความคิดเห็นของสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อ ดิจิทลั ที่มีตอ่ ปัจเจกบุคคลและสังคม เทคนิคการสืบค้ น รวบรวม วิเคราะห์ และกลัน่ กรองข้ อมูล รวมทัง้ การกาหนดวาระการนาเสนอข่าวที่มีผลต่อการเฝ้าระวังทางสังคม ฝึ กการรายงานข่าววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้ อมเพื่อความยัง่ ยืนของสังคมโลก CI138 หัวข้ อคัดเฉพาะทางวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) (Selected Topic in Journalism) เรื่ องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงานวารสารศาสตร์ โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือกและกาหนด หัวข้ อการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษาให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั CI139 การแปลข่ าว 3(3-0-6) (News Translation) ศึกษาก่ อน CA206 หลักการสื่อข่ าวและเขียนข่ าว หลักการแปลภาษาต่างประเทศเพื่อการข่าว ฝึ กแปลข่าว จากภาษาอังกฤษเป็ น ภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็ นภาษาอังกฤษ โดยเน้ นความถูกต้ องด้ านภาษา โครงสร้ างข่าวตามหลัก วารสารศาสตร์ CI140 การผลิตสิ่งพิมพ์ เฉพาะกิจ 3(2-2-5) (Specialized Publication Production) หลักการผลิตสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจประเภทต่าง ๆ ที่มีวตั ถุประสงค์และกลุม่ เป้าหมาย ต่างกัน ได้ แก่ สิง่ พิมพ์เพื่อชุมชน สิง่ พิมพ์เพื่อการประชาสัมพันธ์ สิง่ พิมพ์องค์กร ฝึ กปฏิบตั ิผลิตสิ่งพิมพ์ กระดาษ และสิง่ พิมพ์ออนไลน์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
60
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI141 การรายงานข่ าวเศรษฐกิจและธุรกิจ 3(3-0-6) (Business and Economics News Reporting) ศึกษาก่ อน CA206 หลักการสื่อข่ าวและเขียนข่ าว และ EC961 เศรษฐศาสตร์ เบือ้ งต้ น หลักการและเทคนิคการรายงานข่าวเศรษฐกิจด้ านต่างๆ ได้ แก่ ข่าวตลาดเงิน ข่าวตลาด ทุน ข่าวการตลาด ข่าวเทคโนโลยีสารสนเทศ ข่าวอสังหาริมทรัพย์ ข่าวยานยนต์ โดยเน้ นวิธีการอ่าน ทาความเข้ าใจ และตีความข้ อมูล ตัวเลขและเอกสารทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้ องกับแต่ละสายข่าว ศึกษาความรู้ที่จาเป็ นในการรายงานข่าว การเข้ าถึงแหล่งข่าวและเอกสาร ประเด็นข่าวที่มกั พบ และ แนวทางการรายงานข่าวเศรษฐกิจแต่ละด้ านให้ ถกู ต้ อง ชัดเจนและฝึ กปฏิบตั ิ CI147 การสื่อข่ าวเด็กและเยาวชน 3(3-0-6) (Children and Youth Journalism) แนวคิดและทฤษฎีการสื่อข่าวเกี่ยวกับเด็กบนพื ้นฐานสิทธิเด็ก โดยเน้ นกรณีศกึ ษาการสื่อข่าว เกี่ยวกับเด็กในสื่อต่าง ๆ และผลกระทบ แนวทางการนาเสนอข่าวเกี่ยวกับเด็กตามหลักสากล รวมทังการ ้ ฝึ กปฎิบตั ิการเก็บรวบรวมข้ อมูล การใช้ ภาพประกอบ และการเรี ยบเรี ยงเป็ นชิ ้นงานที่สมบูรณ์ภายใต้ กรอบจริยธรรม CI143 การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ 3(3-0-6) (Management for Publishing Business) ระบบการจัดพิมพ์หนังสือเล่ม ได้ แก่ ระบบการพิมพ์และกลไกการตลาดหนังสือ เล่ม การบริหารการเงิน การคานวนต้ นทุน กลไกลิขสิทธิ์ กระบวนการแสวงหาและคัดเลือกต้ นฉบับ รวมทังกระบวนการบรรณาธิ ้ กรต้ นฉบับ CI144 การบรรณาธิกรและผลิตนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ 3(2-2-5) (Electronic Magazine Editing and Production) สอบผ่ าน CI105 การบรรณาธิกรและการผลิตหนังสือพิมพ์ หลักการจัดทานิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ การคัดเลือกบทความ คอลัมน์ เนื ้อหาต่างๆ และ ภาพประกอบในรูปแบบนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ การตกแต่งต้ นฉบับ การตังชื ้ ่อเรื่ อง การสัง่ ตัวพิมพ์ การ พิสจู น์อกั ษร การจัดหน้ า ความแตกต่างของนิตยสารฉบับพิมพ์และนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ CI145 การศึกษาเฉพาะบุคคลด้ านวารสารศาสตร์ 3(1-0-8) (Individual Study for Journalism) เรื่ องเกี่ยวกับการข่าวและวารสารศาสตร์ โดยนักศึกษาจะต้ องเสนอโครงร่างของเรื่ องที่ สนใจศึกษา พร้ อมเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา และได้ รับอนุมตั ิจากสาขาวิชาก่อนการลงทะเบียน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
61
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI146 พัฒนาทักษะการรู้เท่ าทันสื่อ 3 (3-0-6) (Media Literacy Skill Development) ความหมายของการรู้เท่าทันสื่อ อิทธิพลของสื่อที่มีตอ่ ผู้บริโภค หลักการและแนวคิด สาคัญที่เกี่ยวข้ องกับการรู้เท่าทันสื่อจาแนกตามประเภทของสื่อ ได้ แก่ ภาพข่าว โฆษณา รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และสื่ออินเทอร์ เน็ต โดยเน้ นทาความเข้ าใจเกี่ยวกับบริบทของสื่อต่าง ๆ อาทิ อุตสาหกรรมสือ่ เทคโนโลยีสอื่ จิตวิทยาการสร้ างสาร รูปแบบและภาษาในสื่อ ฝึ กวิเคราะห์ข่าวสารในสื่อ ประเภทต่าง ๆ เพื่อการรู้เท่าทันสื่อ
วิชาเอก วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 30 หน่ วยกิต - วิชาเอกบังคับ 24 หน่ วยกิต CI201 การสร้ างสรรค์ บทรายการ 3(3-0-6) (Script Writing for Broadcast Program) แนวคิดเกี่ยวกับการสร้ างสรรค์บทรายการ รูปแบบและขันตอนการเขี ้ ยนบทรายการ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่างๆ การประมวลความคิด การค้ นคว้ า การคัดเลือกข้ อมูล และการเรี ยบเรี ยงให้ เป็ นบทรายการ ฝึ กเขียนบทรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ประเภท ต่างๆ ให้ สอดคล้ องกับกลุม่ เป้าหมาย CI202 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง 3(2-2-5) (Radio Program Production) หลักการ ประเภท และกระบวนการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง การสื่อความหมาย ด้ วยเสียง การใช้ สญ ั ญาณมือและอุปกรณ์ตา่ งๆ ในการบันทึกเสียง การวิเคราะห์กลุม่ ผู้ฟังเป้าหมาย เทคนิคการวางแผน การผลิต การนาเสนอ และการประเมินผลรายการ ฝึ กผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง ประเภทต่างๆ ทังในและนอกสถานที ้ ่ เพื่อเผยแพร่ผา่ นทางคลื่นวิทยุ เคเบิ ้ล และสื่อออนไลน์ CI203 กราฟิ กและแอนิเมชันเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ 3(2-2-5) (Graphics and Animation for Television Program) ลักษณะ ประเภท และหลักการออกแบบงานกราฟิ กและแอนิเมชัน ฝึ กปฏิบตั ิการใช้ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ กราฟิ กและแอนิเมชันเพื่องานวิทยุโทรทัศน์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
62
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI204 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 3(2-2-5) (Television Program Production) หลักการ ประเภท และกระบวนการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ การใช้ เครื่ องมือและอุปกรณ์ตา่ งๆ ในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ การวิเคราะห์กลุม่ ผู้ชมเป้าหมาย เทคนิคการวางแผน การผลิต การ นาเสนอ และการประเมินผลรายการ ฝึ กผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่างๆ ทังในและนอกสถานที ้ ่ เพื่อเผยแพร่ผา่ นทางคลื่นวิทยุ เคเบิ ้ล และสื่อออนไลน์ CI215 การผลิตรายการเพื่อเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ 3(2-2-5) (Broadcast Program for Creative Economy) กระบวนการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ เพื่อเผยแพร่ผา่ นช่องทาง ต่างๆทังสื ้ อ่ ดังเดิ ้ มและสื่อดิจิทลั โดยเน้ นหลักและกลวิธีนาเสนอเนื ้อหารายการตามกรอบแนวคิด เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ในสื่อดังเดิ ้ ม และสื่อดิจิทลั ฝึ กกระบวนการคิด การผลิต และการประเมินผลรายการ เพื่อพัฒนาคุณภาพรายการให้ สอดคล้ องกับสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในปั จจุบนั
CI211 การจัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3(3-0-6) (Business Management for Broadcasting) หลักการจัดองค์การ การกาหนดนโยบายแผนงาน การจัดผังรายการ การบริหารทรัพยากร ระบบการบริหารและจัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ผ่านทางคลื่นวิทยุ เคเบิ ้ล และสื่อ ออนไลน์ ประกอบด้ วย สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุโทรทัศน์ องค์การหรื อหน่วยงานภาครัฐและ เอกชนที่ดาเนินธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ รวมถึงการจัดทาแผนบริหารความเสี่ยง โดย คานึงถึงปัจจัยทางธุรกิจ เทคโนโลยี นโยบายของรัฐและกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง CI212 สัมมนาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3(3-0-6) (Seminar on Broadcasting) ศึกษาก่ อน CI202 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง และ CI204 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ การวิเคราะห์สถานการณ์ อุปสรรค ปั ญหาของการดาเนินงานกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ ทังด้ ้ านการสร้ างสรรค์เนื ้อหา เทคนิคการผลิต และการเผยแพร่รายการ เพื่อเสนอแนะแนวทาง พัฒนาการดาเนินงาน โดยคานึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมบนพื ้นฐานของหลักกฎหมาย จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
63
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI213 ประสบการณ์ วิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3(0-6-3) (Broadcasting Practicum) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ ี สาขาวิชากาหนด การฝึ กงานวิทยุหรื อโทรทัศน์ในหน่วยงานต่างๆ ได้ แก่ สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุโทรทัศน์ องค์การที่ดาเนินงานด้ านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ รวมทัง้ หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง โดยได้ รับความเห็นชอบจากสาขาวิชา ให้ มีระยะเวลาฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อ ไม่ น้ อยกว่า 400 ชัว่ โมงตามที่สาขาวิชากาหนด และให้ เสนอรายงานการฝึ กงานประกอบ
CI214 โครงงานด้ านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3(1-2-6) (Braodcast Media Project) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ ี สาขาวิชากาหนด นักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่า มีคณ ุ สมบัติเหมาะสมในการจัดทาโครงงานด้ าน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ แทนการออกฝึ กงานในหน่วยงานภายนอก ตามรายวิชา CI 208 ประสบการณ์วิชาชีพทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ให้ จดั ทาโครงงานเรื่ องใด ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับ สื่อกระจายเสียงและ/หรื อแพร่ภาพ โดยนักศึกษาต้ องเขียนโครงการและนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดาเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ CI210 สหกิจศึกษา 6(0-40-20) (Co-operative Education) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ ี สาขาวิชากาหนด การปฏิบตั ิงานจริงในสถานประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษาเป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะพนักงานชัว่ คราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการเตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ าน วิชาการ และการปฏิบตั ิตนในสังคม การทางาน รวมทังด ้ าเนินการตามขันตอนของสหกิ ้ จศึกษาที่ มหาวิทยาลัยกาหนด การปฏิบตั ิงานและการประเมินผล อยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา ของสาขาวิชา และพนักงานที่ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมาย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
64
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
- วิชาเอกเลือก 6 หน่ วยกิต CI231 การวางแผนและประเมินผลสื่อมวลชน 3(3-0-6) (Mass Media Planning and Evaluation) หลักและวิธีการวางแผนการใช้ สื่อมวลชนเพื่อสนับสนุนงานสาธารณประโยชน์และธุรกิจ โดยพิจารณาถึงปั จจัยที่เกี่ยวข้ อง กระบวนการวางแผน วิธีการดาเนินงาน รวมทังเทคนิ ้ คการประเมินผล ตามวัตถุประสงค์ของแผนและเป้าหมายที่กาหนดไว้ ฝึ กวางแผนและประเมินผลสื่อมวลชน CI252 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ นานาชาติ 3(3-0-6) (International Broadcasting) โครงสร้ าง ระบบ และการดาเนินงานของกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์นานาชาติ ซึง่ เผยแพร่ผา่ นช่องทางภาคพื ้นดิน การสื่อสารผ่านดาวเทียม เคเบิล อินเทอร์ เน็ต และการสื่อสารรูปแบบ อื่น ๆ ในบริบททางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมที่แตกต่างกันของนานาชาติ CI233 ผู้ดาเนินรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3(2-2-5) (Radio and Television Moderator) หลักและวิธีการเป็ นผู้ดาเนินรายการทางวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ฝึ กการ ประกาศ การพูดออกเสียง การใช้ น ้าเสียงที่ถกู ต้ องชัดเจนตามอักขระวิธีทางวิทยุกระจายเสียง ฝึ กการ วางท่าทาง บุคลิกภาพ การแสดงออกต่อหน้ ากล้ องโทรทัศน์ เทคนิค ไหวพริบในการดาเนินรายการ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ ในห้ องแสดงและนอกสถานที่ ทังรายการสดและ ้ บันทึกเทป CI234 การผลิตรายการข่ าววิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3(2-2-5) (News Program Production for Radio and Television) ศึกษาก่ อน CA206 หลักการสื่อข่ าวและเขียนข่ าว กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์รายการข่าวเพื่องานกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ผ่านทางคลื่นวิทยุ เคเบิ ้ล และสื่อออนไลน์ โดยเน้ นฝึ กการสื่อข่าว การเขียนและรายงานข่าวทาง วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ CI253 การผลิตรายการสารคดีวิทยุโทรทัศน์ 3(2-2-5) (Documentary Program Production for Television) ศึกษาก่ อน CI204 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์รายการสารคดีทางวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ การสืบค้ น ข้ อมูล ข้ อเท็จจริงในการผลิตรายการ เทคนิควิธีการถ่ายทา การนาเสนอ ตลอดจนการตัดต่อภาพ การ บันทึกเสียงบรรยายและดนตรี ประกอบ เพื่อนาเสนอทางสื่อโทรทัศน์และสื่อดิจิทลั หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
65
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI254 การผลิตรายการโชว์ ทางวิทยุโทรทัศน์ 3(2-2-5) (Show Program Production for Television) ศึกษาก่ อน CI204 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์รายการโชว์ทางวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ ได้ แก่ ทอล์ค โชว์ เกมโชว์ ไลฟ์ โชว์ เรี ยลลิตี ้โชว์ วาไรตี ้โชว์ การใช้ ไหวพริบในการแก้ ไขปั ญหาเฉพาะหน้ าในการผลิต รายการโชว์ CI237 การผลิตงานโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3(2-2-5) (Advertising Production for Radio and Television) ศึกษาก่ อน CI202 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง และ CI204 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์งานโฆษณารูปแบบต่าง ๆ ทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ การเขียนบทโฆษณา การสร้ างเทคนิคพิเศษด้ านการถ่ายทาและตัดต่อ เทคนิคการใช้ เสียง บรรยายและเสียงประกอบที่เหมาะสมในงานโฆษณา ฝึ กเขียนบทและผลิตงานโฆษณาทาง วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ CI255 การพูดภาษาอังกฤษในงานด้ านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3(3-0-6) (English Speaking in Program for Broadcasting) เทคนิคการอ่านข่าวภาษาอังกฤษ โดยเน้ นการออกเสียงสาเนียงที่ถกู ต้ อง การเป็ นผู้ประกาศ ผู้ดาเนินรายการ ผู้สมั ภาษณ์ภาคภาษาอังกฤษทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ CI256 เทคนิคการนาเสนองานด้ านวิทยุกระจายเสียง 3(2-2-5) และวิทยุโทรทัศน์ (Presentation Techniques for Broadcasting) หลักและวิธีการนาเสนอผลงานด้ านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แก่บริษัทลูกค้ า สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุโทรทัศน์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง ฝึ กปฏิบตั ิการเตรี ยมงาน เอกสาร ผลงานและงบประมาณการผลิตให้ ลกู ค้ าอนุมตั ิ เทคนิคการประมูลงาน ต่อรองราคา ทังหน่ ้ วยงานของรัฐ และเอกชน ตลอดจนการแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ าต่างๆ CI240 การผลิตรายการละครวิทยุกระจายเสียง 3(2-2-5) (Drama Program Production for Radio) ศึกษาก่ อน CI202 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์รายการละครวิทยุกระจายเสียงประเภทต่างๆ การ ใช้ เสียงในการแสดงละคร เทคนิคการสร้ างเสียงและดนตรี ประกอบ การประยุกต์ใช้ ละคร วิทยุกระจายเสียงเพื่อประโยชน์ในงานด้ านต่างๆ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
66
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI241 การผลิตรายการละครวิทยุโทรทัศน์ 3(2-2-5) (Drama Program Production for Television) ศึกษาก่ อน CI204 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์รายการละครวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่างๆ การสร้ าง เรื่ องราว การเลือกนักแสดง สถานที่ เครื่ องแต่งกาย อุปกรณ์ประกอบฉาก เทคนิคพิเศษในการผลิต รายการ บทบาทหน้ าที่ของฝ่ ายต่างๆ ในการผลิตรายการละครวิทยุโทรทัศน์ รวมทังการประยุ ้ กต์ใช้ ละคร วิทยุโทรทัศน์เพื่อประโยชน์ในงานด้ านต่างๆ CI242 เทคนิคการกากับรายการวิทยุโทรทัศน์ 3(2-2-5) (Directing Techniques for Television Program) สอบผ่ าน CI204 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ เทคนิคการกากับรายการวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่างๆ ได้ แก่ รายการถ่ายทอดพิธีการ รายการเพลง รายการกีฬา การใช้ ไหวพริบในการแก้ ไขปั ญหาเฉพาะหน้ าในการกากับรายการ ฝึ กกากับ รายการทังรายการสดและบั ้ นทึกเทป CI243 ศิลปะการแสดงเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ 3(2-2-5) (Acting for Television) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ องกับการแสดง การเป็ นนักแสดงละครเวที ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ฝึ กสมาธิ การสร้ างอารมณ์ ความรู้สกึ การเคลื่อนไหวของร่างกาย การใช้ พลัง เสียงเพื่อการแสดง การสวมบทบาทของนักแสดงตามบท ฝึ กทักษะการแสดงเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ CI244 การออกแบบเครื่องแต่ งกายและการแต่ งหน้ าผู้แสดงเพื่อ 3(2-2-5) งานวิทยุโทรทัศน์ (Costume and Make-up Design for Television) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ องกับการออกแบบเครื่ องแต่งกาย เครื่ องประดับ ให้ เหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของตัวละคร และผู้ดาเนินรายการทางวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่างๆ รวมทัง้ หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ องกับการแต่งหน้ าเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ การใช้ เครื่ องมือ และ เครื่ องสาอางประเภทต่างๆ ในการแต่งหน้ าแบบสวยงามและแบบพิเศษ CI258 การออกแบบฉากและเครื่องประกอบฉากเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ 3(2-2-5) (Set and Property Design for Television) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ องกับการออกแบบฉากและวัสดุประกอบฉาก ฝึ กการออกแบบ การจัดวางฉาก และการเลือกใช้ วสั ดุประกอบฉากต่างๆ ที่เหมาะสมกับงานวิทยุ โทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
67
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI246 หัวข้ อคัดเฉพาะทางวิทยุกระจายเสียง 3(2-2-5) (Selected Topics in Radio) สอบผ่ าน CI202 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง เรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงานวิทยุกระจายเสียง และการแพร่กระจายเสียงผ่านช่องทาง ต่างๆ โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือกและกาหนดหัวข้ อการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษาให้ สอดคล้ องกับ สถานการณ์ปัจจุบนั CI247 หัวข้ อคัดเฉพาะทางวิทยุโทรทัศน์ 3(2-2-5) (Selected Topics in Television) สอบผ่ าน CI204 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ เรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงานวิทยุโทรทัศน์ และการแพร่ภาพผ่านช่องทางต่างๆ โดย สาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือกและกาหนดหัวข้ อการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษาให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ ปั จจุบนั CI248 หัวข้ อคัดเฉพาะทางสื่อประสม 3(2-2-5) (Selected Topics in Multimedia) สอบผ่ าน CI202 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง และ CI204 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ เรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงานเทคโนโลยีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ รวมทังสื ้ ่อประสม โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือก และกาหนดหัวข้ อในการศึกษาแต่ละภาคให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ ปั จจุบนั CI257 การศึกษาเฉพาะบุคคลด้ านวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ 3(1-0-8) (Individual Study for Broadcasting) เรื่ องเกี่ยวกับวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ผ่านช่องทางต่าง ๆทังสื ้ ่อดังเดิ ้ มและสื่อใหม่ โดยนักศึกษาจะต้ องเสนอโครงร่างของเรื่องที่สนใจศึกษา พร้ อมเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา และได้ รับ อนุมตั ิจากสาขาวิชาก่อนการลงทะเบียน CI250 การสร้ างสรรค์ รายการความรู้ทางวิทยุกระจายเสียง 3(2-2-5) (Creative for Educational Radio Program) หลักการและกระบวนการการผลิตรายการความรู้ทางวิทยุกระจายเสียง การวางแผนผลิต รายการ การคิดสร้ างสรรค์รูปแบบรายการ การกาหนดขอบเขตเนื ้อหา การแสวงหาความรู้และการ คัดเลือกข้ อมูลจากแหล่งข้ อมูลต่างๆ เทคนิคและกลวิธีการนาเสนอเนื ้อหา การใช้ ภาษาพูด ดนตรี และ เสียงประกอบจากเหตุการณ์จริง (Actuality) ฝึ กผลิตรายการความรู้ในและนอกสถานที่ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
68
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI251 ศิลปะการใช้ เสียงพูดทางวิทยุกระจายเสียง 3(2-2-5) (Voice Projection for Radio Program) หลักการใช้ เสียงพูด หลักการปฏิบตั ิหน้ าที่ผ้ ปู ระกาศ ผู้อา่ นข่าว ผู้บรรยาย ผู้ดาเนินรายการ ผู้สมั ภาษณ์ ผู้แสดง และ ดีเจ การเตรี ยมพร้ อมทางร่างกายและจิตใจเพื่อการพูดที่มีคณ ุ ภาพพัฒนา ทักษะการพูดให้ ได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ทดสอบผู้ประกาศในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ของ กสทช. ด้ านคุณภาพของเสียง อักขรวิธี ความถูกต้ อง ความชัดเจน ลีลาการอ่านและการนาเสนอ คุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้พดู ทางวิทยุกระจายเสียง ฝึ กพูดเพื่อนาเสนอเนื ้อหารายการ วิทยุรูปแบบต่าง ๆ ทังในห้ ้ องปฏิบตั ิการและฝึ กภาคสนามนอกสถานที่
วิชาเอก ภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั 30 หน่ วยกิต - วิชาเอกบังคับ 24 หน่ วยกิต
CI301 ภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั เบือ้ งต้ น 3(3-0-6) (Introduction to Digital Film) ความหมาย ความสาคัญ ประเภทและพัฒนาการของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ดิจิทลั เทคนิคการ เล่าเรื่ องผ่านภาพยนตร์ ดิจิทลั ในสถานการณ์ตา่ งๆ บทบาทหน้ าที่ และอิทธิพลของภาพยนต์ดิจิทลั ฝึ ก วิเคราะห์ วิจารณ์ และเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้ ได้ อย่างมีหลักการ บนพื ้นฐานของการประเมิน คุณค่าทางสุนทรี ยศาสตร์ สังคม กฎหมาย และจริยธรรมของผู้ผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั CI 311 การสร้ างสรรค์ บทภาพยนตร์ 3(3-0-6) (Script Writing for Digital Film) แนวคิดเกี่ยวกับการสร้ างสรรค์บทภาพยนตร์ รูปแบบและขันตอนการเขี ้ ยนบทภาพยนตร์ ประเภทต่างๆ การประมวลความคิด การค้ นคว้ า การคัดเลือกข้ อมูล และการเรี ยบเรี ยงให้ เป็ นบท ภาพยนตร์ ฝึ กเขียนบทภาพยนตร์ ประเภทต่างๆ ให้ สอดคล้ องกับกลุม่ เป้าหมาย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
69
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI303 การผลิตภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั 3(2-2-5) (Digital Film Production) ศึกษาก่ อน : CI301 ภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั เบือ้ งต้ น CI 311 การสร้ างสรรค์ บทภาพยนตร์ กระบวนการและขันตอนการผลิ ้ ตภาพยนตร์ ดิจิทลั ขันพื ้ ้นฐาน ตังแต่ ้ ขนเตรี ั ้ ยมการผลิต การผลิต และหลังการผลิต โดยฝึ กออกแบบ วางแผนและปฏิบตั ิการเพื่อผลิตชิ ้นงานภาพยนตร์ ดิจิทลั สาหรับสื่อ ออนไลน์ โดยครอบคลุมการสร้ างสรรค์บทภาพยนตร์ ดจิ ิทลั การออกแบบงานสร้ าง การใช้ เครื่ องมือและ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในการผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั เทคนิคการถ่ายภาพ การตัดต่อ ลาดับภาพ และการ บันทึกเสียง CI304 การออกแบบโมชันกราฟิ กเพื่อภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั 3(2-2-5) (Motion Graphics Design for Digital Film) ศึกษาก่ อน : CI301 ภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั เบือ้ งต้ น CI 311 การสร้ างสรรค์ บทภาพยนตร์ ทฤษฎี หลักการ แนวคิดและกระบวนการออกแบบกราฟิ กด้ วยเทคนิคภาพเคลื่อนไหวสาหรับ งานภาพยนตร์ ดิจิทลั วิธีการใช้ ทฤษฎีสี แสง และการเคลื่อนไหว เพื่อสร้ างสรรค์ตวั อักษรและรู ปภาพ ในรูปแบบต่างๆ เพื่อใช้ ในการเล่าเรื่ องในงานภาพยนตร์ ดิจิทลั CI305 การจัดการธุรกิจภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) (Business Management for Digital Film) การฝึ กเขียนโครงการผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั ศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ หาแหล่งอบรม ฝึ กระดมทุน ทังในเชิ ้ งธุรกิจ และ/หรื อเชิงศิลปะ ในประเทศและต่างประเทศ จัดทางบประมาณ ทดลอง ผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั ทาโฆษณาประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ ที่ผลิตขึ ้น การจัดฉาย ทังในเชิ ้ งธุรกิจ และ/ หรื อเชิงศิลปะ รวมทังจั ้ ดจาหน่ายผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่มาจากภาพยนตร์ CI306 โครงงานด้ านภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั 1 3(2-2-5) (Digital Film Project 1) สอบผ่ าน: CI303 การผลิตภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั CI304 การออกแบบโมชันกราฟิ กเพื่อภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั โครงงานด้ านการผลิตสื่อดิจิทลั หรื อภาพยนตร์ สนั ้ โดยนักศึกษากลุม่ ย่อย จะต้ องควบคุม ดาเนินการผลิตทุกขันตอน ้ ตังแต่ ้ การเขียนบท การออกแบบงานสร้ าง การถ่ายทา การตัดต่อ จนกระทัง่ งานเสร็จสมบูรณ์ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
70
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI312 สัมมนาภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) (Seminar on Digital Film) สอบผ่ าน: CI303 การผลิตภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั CI304 การออกแบบโมชันกราฟิ กเพื่อภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั การวิเคราะห์สถานการณ์ อุปสรรค ปั ญหาของการดาเนินงานเกี่ยวกับภาพยนตร์ ดิจิทลั ทังด้ ้ าน การสร้ างสรรค์เนื ้อหา เทคนิคการผลิต และการเผยแพร่ เพื่อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการดาเนินงาน โดยคานึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมบนพื ้นฐานของหลักกฎหมาย จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ CI308 ประสบการณ์ วิชาชีพทางภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั 3(0-6-3) (Digital Film Practicum) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ ี สาขาวิชากาหนด การจัดให้ นกั ศึกษาออกฝึ กงานด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั โดยได้ รับความเห็นชอบจากสาขาวิชา ให้ มี ระยะเวลาฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อ ไม่น้อยกว่า 400 ชัว่ โมงตามที่สาขาวิชากาหนด และให้ เสนอรายงานการฝึ กงานประกอบ CI309 โครงงานด้ านภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั 2 3(1-2-6) (Digital Film Project 2) สอบผ่ าน: รายวิชาในหลักสูตรจานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต หรือ ตามเกณฑ์ ท่ สี าขาวิชากาหนด สาหรับนักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่า มีคณ ุ สมบัติเหมาะในการจัดทาโครงงานด้ าน ภาพยนตร์ ดิจิทลั 2 แทนการออกฝึ กงานในหน่วยงานภายนอก โครงงานด้ านการผลิตสื่อดิจิทลั หรือภาพยนตร์ สนั ้ เป็ นรายบุคคล ควบคุมดาเนินการผลิต ทุกขันตอน ้ ตังแต่ ้ การศึกษาสารวจความต้ องการผู้ชม การออกแบบงานสร้ าง การเขียนบท การถ่ายทา การตัดต่อ จนเสร็จสมบูรณ์ พร้ อมทังมี ้ การนาเสนอฉายต่อผู้ชมและประเมินผลโครงการ โดยส่งผลงาน และรูปเล่มรายงานที่สมบูรณ์ CI310 สหกิจศึกษา 6(0-40-20) (Co-operative Education) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ ี สาขาวิชากาหนด การปฏิบตั ิงานจริงในสถานประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษาเป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะพนักงานชัว่ คราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการเตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ าน วิชาการ และการปฏิบตั ิตนในสังคม การทางาน รวมทังด ้ าเนินการตามขันตอนของสหกิ ้ จศึกษาที่ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
71
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
มหาวิทยาลัยกาหนด การปฏิบตั ิงานและการประเมินผล อยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา ของสาขาวิชา และพนักงานที่ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมาย
- วิชาเอกเลือก 6 หน่ วยกิต CI331 การสร้ างสรรค์ เนือ้ หาสาหรับสื่อดิจทิ ลั 3(2-2-5) (Content Creation for Digital Media) แนวคิด หลักการ และเทคนิคการสร้ างสรรค์เนื ้อหาสาหรับสื่อดิจิทลั ประเภทต่างๆ การวิเคราะห์ ผู้รับสารเป้าหมาย การออกแบบเนื ้อหาและวิธีการนาเสนอเนื ้อหา รวมถึงการผลิตเนื ้อหาสาหรับเว็บไซต์ และสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อนาเสนอผ่านแพลทฟอร์ มต่างๆ CI332 การกากับภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Film Directing) คุณสมบัติและหน้ าที่ของผู้กากับการผลิตภาพยนตร์ การกากับภาพและการแสดงให้ เป็ นไปตาม บท การใช้ ไหวพริบในการแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ าในการกากับการแสดง ฝึ กการควบคุมการทางานกองถ่าย ให้ บรรลุเป้าหมาย CI333 การออกแบบเสียงในภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Sound Design for Film) กระบวนการออกแบบ และการผลิตเสียงเพื่อใช้ ในภาพยนตร์ ดิจิทลั เรี ยนรู้เครื่ องมือและระบบ การบันทึกเสียง การพากย์ การบรรยาย การสร้ างดนตรี และเสียงประกอบ ฝึ กการออกแบบการใช้ เสียง และระบบเสียงประเภทต่างๆให้ สอดคล้ องกับภาพยนตร์ ดิจิทลั ที่นาเสนอ CI334 การออกแบบภาพและแสงในภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Visual and Lighting Design for Film) กระบวนการออกแบบ การจัดองค์ประกอบของภาพและการจัดแสงเพื่อใช้ ในสื่อดิจิทลั และภาพ ยนตร์ ประเภทของแสงที่ใช้ ในการถ่ายทา เรี ยนรู้อปุ กรณ์และเครื่ องมือเสริมในการบันทึกภาพและการจัด แสง ฝึ กการจัดองค์ประกอบของภาพ ฝึ กการออกแบบแสงเพื่อสื่อความหมายในลักษณะต่างๆ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
72
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI335 การออกแบบงานสร้ างภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Production Design for Film) กระบวนการตีความบท การค้ นคว้ าข้ อมูล สร้ างสรรค์และแสวงหาแนวคิดการออกแบบงานศิลป์ ในภาพยนตร์ ดิจิทลั ให้ มีความเป็ นเอกลักษณ์สอดคล้ องสมเหตุผลกับอารมณ์และเนื ้อเรื่ องที่นาเสนอ ฝึ กการสร้ างสรรค์และออกแบบเป็ นภาพร่าง การออกแบบฉาก การเลือกใช้ วสั ดุประกอบฉาก รวมทังการ ้ ใช้ คอมพิวเตอร์ ในการตกแต่งภาพให้ ดสู มจริงและสวยงาม CI336 กระบวนการหลังการถ่ ายทา 3(2-2-5) (Post-Production Process for Film) เทคนิคการตัดต่อลาดับภาพและเสียงสาหรับภาพยนตร์ ดิจิทลั การใช้ เครื่ องมือและอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในการตัดต่อลาดับภาพและเสียง การลาดับภาพเพื่อสื่อความหมาย ฝึ กการตัดต่อลาดับภาพและ เสียงด้ วยระบบดิจิทลั
CI337 การผลิตภาพยนตร์ สารคดี 3(3-0-6) (Documentary Film Production) ประเภท และหลักการผลิตภาพยนตร์ สารคดี การค้ นคว้ าข้ อมูลและคัดเลือกเรื่ องราวเพื่อสร้ าง บทภาพยนตร์ สารคดี ฝึ กเขียนโครงการผลิตภาพยนตร์ สารคดี หาแหล่งอบรม ฝึ กระดมทุน และจัดการ งบประมาณ ทดลองผลิตภาพยนตร์ สารคดีดิจิทลั CI338 การผลิตภาพยนตร์ บันเทิง 3(2-2-5) (Feature Film Production) ประเภท และหลักการผลิตภาพยนตร์ บนั เทิง การค้ นคว้ าข้ อมูลและคัดเลือกเรื่ องราวเพื่อสร้ างบท ภาพยนตร์ บนั เทิง ฝึ กเขียนโครงการผลิตภาพยนตร์ บนั เทิง การจัดการบุคลากรและงบประมาณ ทดลอง ผลิตภาพยนตร์ บนั เทิงดิจิทลั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
73
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CI339 ศิลปะดิจทิ ลั สาหรับภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Digital Art for Film) ความเป็ นมา และหลักการใช้ ศิลปะดิจิทลั ในภาพยนตร์ ตังแต่ ้ การพัฒนาเรื่ องราว หน้ าที่ ความ รับผิดชอบ และกระบวนการในการผลิตภาพยนตร์ การนาเสนอและเผยแพร่ชิ ้นงานผ่านสิอ่ ดิจิทลั รูปแบบ ต่าง ๆ CI340 การวิเคราะห์ และวิจารณ์ ภาพยนตร์ 3(3-0-6) (Film Criticism) ทฤษฎีภาพยนตร์ ทฤษฎีการวิจารณ์ภาพยนตร์ ทฤษฎีการเขียนบทวิจารณ์ภาพยนตร์ และ ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ อื่นๆ ที่นกั ศึกษาเลือก จรรยาบรรณของนักวิจารณ์ ฝึ กเขียนวิเคราะห์วิจารณ์ ภาพยนตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
74
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
กลุ่มวิชาโท 15 หน่ วยกิต 1. วิชาโทนวัตกรรมสื่อสารมวลชน ที่จดั ให้ นักศึกษาต่ างคณะเลือกเรียน CX200 นิเทศศาสตร์ เบือ้ งต้ น 3(3-0-6) (Introduction to Communication Arts) ความหมาย ความสาคัญ ประเภท องค์ประกอบ และกระบวนการสื่อสาร หลักการสื่อสาร ปั จจัย และอุปสรรคของการสื่อสาร แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารในระดับต่างๆ ได้ แก่ การสื่อสารภายใน บุคคล การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสารกลุ่ม การสื่อสารมวลชน และบทบาทของการสื่อสารในการ พัฒนาสังคม CX201 พืน้ ฐานการสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่ (Fundamentals of Mass Communication)
3(3-0-6)
ความหมาย ความสาคัญ ประเภทองค์ประกอบ กระบวนการ และแบบจาลองของการ สื่อสารมวลชน วิวฒ ั นาการ บทบาทหน้ าที่ โครงสร้ าง ระบบสื่อสารมวลชน จรรยาบรรณและความ รับผิดชอบของสื่อมวลชน อิทธิพลของการสื่อสารมวลชนต่อสังคม การวิเคราะห์ผ้ รู ับสารสื่อมวลชน องค์กร สื่อสารมวลชนที่เกี่ยวข้ องทังในและต่ ้ างประเทศ CX202 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) (Journalism Technology) เทคโนโลยีด้านการพิมพ์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการดาเนินงานด้ านข่าวและ การบรรณาธิกรณ์หนังสือพิมพ์และนิตยสาร อาทิ เทคโนโลยีการสื่อสาร เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี โทรคมนาคม และการเลือกใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมสาหรับงานด้ านวารสารศาสตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
75
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CX203 วารสารศาสตร์ สากล 3 (3-0-6) (Global Journalism) แนวคิดเกี่ยวกับวารสารศาสตร์ สากล การไหลเวียนของข่าวสารระหว่างประเทศ ภูมิทศั น์ของสื่อ ที่เปลี่ยนแปลงไปในยุคหลอมรวมสื่อซึง่ ก่อให้ เกิดผลกระทบกับประชาคมโลก ลักษณะและบทบาทหน้ าที่ ของสื่อมวลชนทังในระดั ้ บสากล และ ระดับภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิภาคอาเซียน วิเคราะห์ปัญหา การนาเสนอข่าวสารของประเทศกาลังพัฒ นา องค์กรสื่อสารมวลชนที่ เกี่ยวข้ องทัง้ ในและต่างประเทศ ปั จจัยต่างๆ ด้ านการสื่อสารที่ก่อให้ เกิดประสิทธิผลต่อการพัฒนา CX204 การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ 3(3-0-6) (Management for Publishing Business) ระบบการจัดพิมพ์หนังสือเล่ม ได้ แก่ ระบบการพิมพ์และกลไกการตลาดหนังสือ เล่ม การบริหารการเงิน การคานวนต้ นทุน กลไกลิขสิทธิ์ กระบวนการแสวงหาและคัดเลือกต้ นฉบับ รวมทังกระบวนการบรรณาธิ ้ กรต้ นฉบับ CX205 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ นานาชาติ 3 (3-0-6) (International Broadcasting) โครงสร้ าง ระบบ และการดาเนินงานของกิจ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ผ่านช่องทาง ต่างๆ ได้ แก่ ทางภาคพื ้นดิน อินเทอร์ เน็ต เคเบิลทีวี การสื่อสารผ่านดาวเทียม และการสื่อสารรูปแบบอื่น ๆ ในบริบททางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมที่แตกต่างกันของนานาประเทศ CX206 ภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั เบือ้ งต้ น 3(3-0-6) (Introduction to Digital Film) ความหมาย ความสาคัญ ประเภทและพัฒนาการของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ดิจิทลั เทคนิคการ เล่าเรื่ องผ่านภาพยนตร์ ดิจิทลั ในสถานการณ์ตา่ งๆ บทบาทหน้ าที่ และอิทธิพลของภาพยนต์ดิจิทลั ฝึ ก วิเคราะห์ วิจารณ์ และเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้ ได้ อย่างมีหลักการ บนพื ้นฐานของการประเมิน คุณค่าทางสุนทรี ยศาสตร์ สังคม กฎหมาย และจริยธรรมของผู้ผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั CX208 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) (Photojournalism) หลักการ และแนวคิดเกี่ยวกับภาพข่าว เทคนิคและวิธีการถ่ายภาพ การคัดเลือกภาพ เพื่อนาไปใช้ ในงานวารสารศาสตร์ ผลกระทบของภาพและภาพข่าวที่มีตอ่ ผู้รับสาร ฝึ กการถ่ายภาพและ การนาเสนอภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ โดยคานึงถึงจรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
76
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2.กลุ่มวิชาโทนวัตกรรมสื่อสารมวลชน ที่จัดให้ นักศึกษาต่ างสาขาวิชาเลือกเรียน CX202 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) (Journalism Technology) เทคโนโลยีด้านการพิมพ์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการดาเนินงานด้ านข่าวและ การบรรณาธิกรณ์หนังสือพิมพ์และนิตยสาร อาทิ เทคโนโลยีการสื่อสาร เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี โทรคมนาคม และการเลือกใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมสาหรับงานด้ านวารสารศาสตร์ CX203 วารสารศาสตร์ สากล 3 (3-0-6) (Global Journalism) แนวคิดเกี่ยวกับวารสารศาสตร์ สากล การไหลเวียนของข่าวสารระหว่างประเทศ ภูมิทศั น์ของสื่อ ที่เปลี่ยนแปลงไปในยุคหลอมรวมสื่อซึง่ ก่อให้ เกิดผลกระทบกับประชาคมโลก ลักษณะและบทบาทหน้ าที่ ของสื่อมวลชนทังในระดั ้ บสากล และ ระดับภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิภาคอาเซียน วิเคราะห์ปัญหา การนาเสนอข่าวสารของประเทศกาลังพัฒ นา องค์กรสื่อสารมวลชนที่ เกี่ยวข้ องทัง้ ในและต่างประเทศ ปั จจัยต่างๆ ด้ านการสื่อสารที่ก่อให้ เกิดประสิทธิผลต่อการพัฒนา CX204 การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ 3(3-0-6) (Management for Publishing Business) ระบบการจัดพิมพ์หนังสือเล่ม ได้ แก่ ระบบการพิมพ์และกลไกการตลาดหนังสือ เล่ม การบริหารการเงิน การคานวนต้ นทุน กลไกลิขสิทธิ์ กระบวนการแสวงหาและคัดเลือกต้ นฉบับ รวมทังกระบวนการบรรณาธิ ้ กรต้ นฉบับ CX205 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ นานาชาติ 3 (3-0-6) (International Broadcasting) โครงสร้ าง ระบบ และการดาเนินงานของกิจ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ผ่านช่องทาง ต่างๆ ได้ แก่ ทางภาคพื ้นดิน อินเทอร์ เน็ต เคเบิลทีวี การสื่อสารผ่านดาวเทียม และการสื่อสารรูปแบบอื่น ๆ ในบริบททางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมที่แตกต่างกันของนานาประเทศ CX206 ภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั เบือ้ งต้ น 3(3-0-6) (Introduction to Digital Film) ความหมาย ความสาคัญ ประเภทและพัฒนาการของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ดิจิทลั เทคนิคการ เล่าเรื่ องผ่านภาพยนตร์ ดิจิทลั ในสถานการณ์ตา่ งๆ บทบาทหน้ าที่ และอิทธิพลของภาพยนต์ดิจิทลั ฝึ ก วิเคราะห์ วิจารณ์ และเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้ ได้ อย่างมีหลักการ บนพื ้นฐานของการประเมิน คุณค่าทางสุนทรี ยศาสตร์ สังคม กฎหมาย และจริยธรรมของผู้ผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
77
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CX207 การจัดการธุรกิจวารสารศาสตร์ ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) (Business Management for Digital Journalism) หลักการจัดองค์กร การกาหนดนโยบายและแผนงานธุรกิจวารสารศาสตร์ การบริหารงานกอง บรรณาธิการ การบริหารการเงินและงบประมาณ การบริหารการผลิต การบริหารการจัดจาหน่าย การ บริหารการตลาด รวมทังการปรั ้ บตัวของธุรกิจวารสารศาสตร์ ในยุคหลอมรวมของสื่อสิง่ พิมพ์ สื่อดิจิทลั และ สื่อใหม่ CX208 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) (Photojournalism) หลักการ และแนวคิดเกี่ยวกับภาพข่าว เทคนิคและวิธีการถ่ายภาพ การคัดเลือกภาพ เพื่อนาไปใช้ ในงานวารสารศาสตร์ ผลกระทบของภาพและภาพข่าวที่มีตอ่ ผู้รับสาร ฝึ กการถ่ายภาพและ การนาเสนอภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ โดยคานึงถึงจรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคม CX209 การเขียนสารคดี 3(3-0-6) (Feature Writing) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสารคดีและกระบวนการผลิตสารคดี อาทิ การเลือกเรื่ อง การรวบรวมและคัดเลือกข้ อมูล การเขียนและการนาเสนอผลงานสารคดีผา่ นสื่อรูปแบบต่าง ๆ โดยเน้ นฝึ ก กระบวนการผลิตงานเขียนประเภทสารคดี โดยคานึงถึงจริยธรรมในการนาเสนอ CX210 การวิเคราะห์ ข่าวปั จจุบัน 3(3-0-6) (Current News Analysis) วิธีการวิเคราะห์ข่าวที่ปรากฏในสื่อมวลชนในปั จจุบนั ทังข่ ้ าวภายในประเทศ และข่าว ต่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสังคมไทย ภูมิหลังและประเด็นหลักของข่าว ปรัชญาและหลักการที่เกี่ยวข้ อง กับประเด็นข่าว การใช้ ความรู้พื ้นฐานด้ านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยในการวิเคราะห์บทบาทของ สื่อมวลชน การวิเคราะห์การนาเสนอของสือ่ มวลชนโดยใช้ ประเด็นข่าวเป็ นเกณฑ์ และการฝึ กปฏิบตั ิการ นาเสนอผลการวิเคราะห์ผา่ นสื่อที่หลากหลายรูปแบบ CX211 การจัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3(3-0-6) (Business Management for Broadcasting) หลักการจัดองค์การ การกาหนดนโยบายแผนงาน การบริหารทรัพยากร ระบบการบริหารและ จัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ผ่านทางคลื่นวิทยุ เคเบิ ้ล และสื่อออนไลน์ ประกอบด้ วย สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุโทรทัศน์ องค์การหรือหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ดาเนินธุรกิจ กระจายเสียงและการแพร่ภาพ โดยคานึงถึงปั จจัยทางธุรกิจ เทคโนโลยี นโยบายของรัฐและกฎหมายที่ เกี่ยวข้ อง หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
78
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CX212 การจัดการธุรกิจภาพยนตร์ ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) (Business Management for Digital Film) การฝึ กเขียนโครงการผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั ศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ หาแหล่งอบรม ฝึ ก ระดมทุน ทังในเชิ ้ งธุรกิจ และ/หรื อเชิงศิลปะ ในประเทศและต่างประเทศ จัดทางบประมาณ ทดลองผลิต ภาพยนตร์ ดิจิทลั ทาโฆษณาประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ ที่ผลิตขึ ้น การจัดฉาย ทังในเชิ ้ งธุรกิจ และ/หรื อเชิง ศิลปะ รวมทังจั ้ ดจาหน่ายผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่มาจากภาพยนตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
79
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3.2 ชื่อ นามสกุล ตาแหน่ งและคุณวุฒขิ องอาจารย์ 3.2.1 อาจารย์ ประจาหลักสูตร ลาดับ 1
ตาแหน่ ง ทางวิชาการ อาจารย์
ชื่อ-นามสกุล นายสุธี เผ่าบุญมี
คุณวุฒิ
สาขาวิชา
สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน
Ph.D. นศ.ม. วท.บ.
Journalism Studies การหนังสือพิมพ์ วิทยาศาสตร์ ทวั่ ไป
The University of Sheffield, UK. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นางสาวรัตนา เมฆนันทไพศิฐ (นิเทศศาสตร์ )
ศศ.ม. นศ.บ.
ประวัติศาสตร์ การหนังสือพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นางสาวศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์ (วารสารศาสตร์ )
4
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นางนฤมล วงศ์หาญ (นิเทศศาสตร์ ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นางรัตนวดี นาควานิช (นิเทศศาสตร์ ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี สมเกียรติ เหลืองศักดิ์ชยั (นิเทศศาสตร์ )
นศ.ม. นศ.บ. นศ.ม. ศศ.บ. นศ.ม. อ.บ. นศ.ม. นศ.บ. ศษ.ด. ค.ม. นศ.บ.
วารสารสนเทศ วารสารศาสตร์ การสื่อสารมวลชน การหนังสือพิมพ์ การสื่อสารมวลชน ภาษาไทย การสื่อสารมวลชน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ เทคโนโลยีการศึกษา โสตทัศนศึกษา สื่อสารมวลชน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5 6 7
อาจารย์
นายประภาส นวลเนตร
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
80
ปี พ.ศ. 2552 2539 2537 2532 2526 2542 2540 2534 2530 2539 2535 2540 2536 2551 2533 2527
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ลาดับ 8
ตาแหน่ ง ชื่อ-นามสกุล ทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นางสาวจิรมน สังณ์ชยั (นิเทศศาสตร์ )
9
อาจารย์
นางสาวนภารัตน์ พฤกษ์ สรุ าลัย
10
อาจารย์
นายมานะ ตรี รยาภิวฒ ั น์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
คุณวุฒิ นศ.ม. นศ.บ. Ph.D. ว.ม. นศ.บ. Ph.D. M.A. ร.บ.
สาขาวิชา การสื่อสารมวลชน ศิลปะการแสดง Mass Communication สื่อสารพัฒนาการ วารสารศาสตร์ International Communication International Communication การเมืองการปกครอง
81
สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน
ปี พ.ศ.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ University of Leicester, UK มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย Macquarie University, Australia Macquarie University, Australia มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2540 2537 2557 2548 2539 2549 2542 2539
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3.2.2 ผลงานทางวิชาการและภาระการสอนของอาจารย์ ประจาหลักสูตร ลาดับ
ตาแหน่ งทาง วิชาการ
1
อาจารย์
2
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
ชื่อ-สกุล
ผลงานทางวิชาการ (การค้ นคว้ าวิจัยหรื อการ แต่ งตารา) ให้ เขียนในรู ปแบบของ บรรณานุกรม
นายสุธี เผ่าบุญมี
นางสาวรัตนา เมฆนันทไพศิฐ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
-
รัตนา เมฆนันทไพศิฐ (2559). การสารวจ สถานภาพการเป็ นผู้กาหนดวาระข่ าวสารของ สื่อมวลชน และสื่อสังคมในสภาพการณ์ ของ สื่อที่เปลี่ยนแปลง. รายงานสืบเนื่อง(Proceeding) จากการประชุมวิชาการระดับชาติ คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 13 พฤษภาคม 2559
82
ประสบการณ์ และการ ฝึ กอบรม การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การเขียน มคอ.2 การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การเขียน มคอ.3 ทุน Gift ไปศึกษาระยะสันที ้ ่ มหาวิทยาลัย Washington State University, USA
ภาระงานสอน (คาบ/ สัปดาห์ ที่มีใน ที่มีอยู่แล้ ว หลักสูตรที่ จะเปิ ดใหม่ 12 12
12
อบรมเรื่ องการวิจยั เชิงคุณภาพ ของศูนย์วิจยั มกค
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
12
ลาดับ
3
ตาแหน่ งทาง วิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (วารสารศาสตร์ )
ชื่อ-สกุล
นางสาวศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์
ผลงานทางวิชาการ (การค้ นคว้ าวิจัยหรื อการ แต่ งตารา) ให้ เขียนในรู ปแบบของ บรรณานุกรม ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์ (2557) “โซเชียลมีเดียกับ การสื่อสารข้ อมูลทางด้ านการเมือง : ฤา สื่อมวลชนจะตายในยุคมุ่งหน้ าสู่ 4G”. รายงาน สืบเนื่อง (Proceeding) การประชุมวิชาการระดับชาติ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย วันที่ 30 พ.ค. 57 ที่มหาวิทยาลัยวงษ์ ชวลิตกุล จ. นครราชสีมา ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์ (2558) “กรณีศึกษาแฟน เพจเฟซบุ๊กจบข่ าวกับปรากฏการณ์ ล่อให้ คลิก ในเว็บไซต์ ข่าว” . รายงานสื บเนื่อง (Proceeding) การ ประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติและ นานาชาติ ครัง้ ที่ 7 ของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 25 ธันวาคม 2558 ณ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
83
ประสบการณ์ และการ ฝึ กอบรม การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การเขียน มคอ.2
ภาระงานสอน (คาบ/ สัปดาห์ ที่มีใน ที่มีอยู่แล้ ว หลักสูตรที่ จะเปิ ดใหม่ 12 12
การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การเขียน มคอ.3 การอบรมหลักสูตรผู้บริหาร สื่อมวลชนระดับกลาง รุ่นที่ 5 (บสก.5) ของสถาบันอิศรา สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์ แห่งประเทศไทย 6 ก.ย.57 - 7 ก.พ.58
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ลาดับ
4
ตาแหน่ งทาง วิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
ชื่อ-สกุล
นางนฤมล วงศ์หาญ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
ผลงานทางวิชาการ (การค้ นคว้ าวิจัยหรื อการ แต่ งตารา) ให้ เขียนในรู ปแบบของ บรรณานุกรม นฤมล วงศ์หาญ (2559)งานวิจยั เรื่ อง สถานภาพ องค์ ความรู้ เกี่ยวกับนวัตกรรรมสื่อสารมวลชน: การสังเคราะห์ งานวิจัยเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์ ออนไลน์ . รายงานการวิจยั นฤมล วงศ์หาญ (2559).การสังเคราะห์ ผลงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์ ออนไลน์ :การแสวงหานวัตกรรม สื่อสารมวลชน. รายงานสืบเนื่อง(Proceeding) จากการประชุมวิชาการระดับชาติ คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 13 พฤษภาคม 2559
84
ประสบการณ์ และการ ฝึ กอบรม การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การเขียน มคอ.3
ภาระงานสอน (คาบ/ สัปดาห์ ที่มีใน ที่มีอยู่แล้ ว หลักสูตรที่ จะเปิ ดใหม่ 12 12
การอบรมระยะสัน้ หลักสูตร ผู้บริหารสื่อสารมวลชนระดับสูง สถาบันอิศรา ต.ค.2558 – เม.ย.2559
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ลาดับ
5
6
ตาแหน่ งทาง วิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
ชื่อ-สกุล
นางรัตนวดี นาควานิช
ว่าที่ร้อยตรี สมเกียรติ เหลืองศักดิ์ชยั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
ผลงานทางวิชาการ (การค้ นคว้ าวิจัยหรื อการ แต่ งตารา) ให้ เขียนในรู ปแบบของบรรณานุกรม รัตนวดี นาควานิช (2559). การบริหารงาน นิตยสารดิจทิ ัลในประเทศไทย. รายงานสืบ เนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ คณะ วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 13 พฤษภาคม 2559
ประสบการณ์ และการฝึ กอบรม
การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การ เขียน มคอ.2 การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การ เขียน มคอ.3
สมเกียรติ เหลืองศักดิ์ชยั (2559). โซเชียลทีวีกับ การจัดการการนามาใช้ ประโยชน์ ทางสังคม ออนไลน์ . รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ อบรมระยะสัน้ BBC World Service ประเทศอังกฤษ ระดับชาติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ศิลปากร. 13 พฤษภาคม 2559
85
ภาระงานสอน (คาบ/ สัปดาห์ ที่มีใน ที่มีอยู่แล้ ว หลักสูตรที่ จะเปิ ดใหม่ 12 12
12
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
12
ลาดับ
ตาแหน่ งทาง วิชาการ
7
อาจารย์
8
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
ชื่อ-สกุล
ผลงานทางวิชาการ (การค้ นคว้ าวิจัยหรื อการแต่ งตารา) ให้ เขียนในรู ปแบบของบรรณานุกรม
ประสบการณ์ และการ ฝึ กอบรม
นายประภาส นวลเนตร ประภาส นวลเนตร (2555.) โครงการศึกษานโยบายและ หลักเกณฑ์ เรื่ องการใช้ และเชื่อมต่ อโครงข่ ายในการ ประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ , งานวิจัยภายใต้ เงินทุนสนับสนุนจาก กสทช. โครงการ ร่วมของคณะนิติศาสตร์ กับ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย.
การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การเขียน มคอ.2
นางสาวจิรมน สังณ์ชยั
การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การเขียน มคอ.3
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
จิรมน สังณ์ชยั (2559). วิเคราะห์ ลักษณะนิสัย ลินเนตต์ สกาโว จากละครชุด Desperate Housewife. รายงานสืบ เนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 13 พฤษภาคม 2559
86
ภาระงานสอน (คาบ/ สัปดาห์ ที่มีใน ที่มีอยู่แล้ ว หลักสูตรที่ จะเปิ ดใหม่ 12 12
การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การเขียน มคอ.3
12
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
12
ลาดับ
ตาแหน่ งทาง วิชาการ
9
อาจารย์
10
อาจารย์
ชื่อ-สกุล
ผลงานทางวิชาการ (การค้ นคว้ าวิจัยหรื อการแต่ งตารา) ให้ เขียนในรู ปแบบของบรรณานุกรม
ประสบการณ์ และการ ฝึ กอบรม
นางสาวนภารัตน์ พฤกษ์ สรุ าลัย
การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การเขียน มคอ.2
นายมานะ ตรี รยาภิวฒ ั น์
การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การเขียน มคอ.3 การอบรมระยะสัน้ หลักสูตร ผู้บริหารสื่อสารมวลชนระดับสูง สถาบันอิศรา ต.ค. 2557 – เม.ย. 2558
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
87
ภาระงานสอน (คาบ/ สัปดาห์ ที่มีใน ที่มีอยู่แล้ ว หลักสูตรที่ จะเปิ ดใหม่ 12 12
12
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
12
3.2.3 อาจารย์ ประจา
1
ตาแหน่ ง ทางวิชาการ อาจารย์
2
ลาดับ
ชื่อ-นามสกุล
คุณวุฒิ
สาขาวิชา
สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน
ปี พ.ศ.
นายโศภน กันหะเสน
ว.ม. ศศ.บ.
การบริหารสื่อสารมวลชน นิเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้ าพระยา
2544 2534
อาจารย์
นางสาวอรพรรณ สุนทรกลัมพ์
นศ.ม. ศศ.บ.
วารสารสนเทศ โสตทัศนศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคาแหง
2543 2532
3
อาจารย์
นางอรดล แก้ วประเสริฐ
รองศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
Macquarie University, Australia University of Western Sydney, Australia
2551 2539 2536 2543 2539
ศษ.ม. ศศ.บ.
Film Studies Film and Television Studies สื่อสารมวลชน International Communication Communication and Cultural Studies Educational Technology Elementary Education
University of Essex, UK Griffith University, Australia มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
4
Ph.D. M.A. ศศ.บ. Ph.D. M.A.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2536 2533
นศ.ม. นศ.บ.
วารสารสนเทศ การหนังสือพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2544 2526
5
อาจารย์
นางสาวกาญจนา โชคเหรี ยญสุขชัย
นางสาวทรงพร ศรี ช่วย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
88
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ลาดับ 6 7 8
ตาแหน่ ง ชื่อ-นามสกุล ทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นางสรลักษณ์ พงษ์ โพธิ์ (นิเทศศาสตร์ ) อาจารย์ นายดีพร้ อม เทพหัสดิน ณ อยุธยา อาจารย์
นายพัฒน์ บุญญฤทธิ์รุ่งโรจน์
9
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายกาลัญ วรพิทยุต (นิเทศศาสตร์ )
10
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายไพโรจน์ วิไลนุช (นิเทศศาสตร์ )
11
อาจารย์
นางสาวสุจิตรา เปลี่ยนรุ่ง
12
อาจารย์
นางสาวสุทธนิภา ศรี ไสย์
13
อาจารย์
นางสาวพัชรี พรหมคช
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
สาขาวิชา
คุณวุฒิ
สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน
นศ.ม. นศ.บ. นศ.ม. ศศ.บ. นศ.ม. นศ.บ.
วารสารสนเทศ การหนังสือพิมพ์ การโฆษณา วารสารศาสตร์ สื่อประสม การสื่อสารมวลชน การกระจายเสียงและแพร่ภาพ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคาแหง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
M.F.A. นศ.บ. Ph.D. ว.ม. M.A. อ.บ. นศ.ด. นศ.ม. นศ.บ. Ph.D. นศ.ม. วท.บ. ค.ม. นศ.บ.
Illustration การโฆษณา Communication Studies สื่อสารมวลชน Journalism Studies ภาษาอังกฤษ นิเทศศาสตร์ นิเทศศาสตร์ พฒ ั นาการ การหนังสือพิมพ์ Communication นิเทศศาสตร์ พฒ ั นาการ สถิติ เทคโนโลยีการศึกษา การประชาสัมพันธ์
Academy of Arts College, USA มหาวิทยาลัยกรุงเทพ University of York, UK มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Cardiff University of Wales, UK มหาวิทยาลัยศิลปากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย University of Stirling, UK จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
89
ปี พ.ศ. 2543 2539 2551 2549 2546 2543 2539 2535 2549 2542 2539 2535 2553 2540 2538 2553 2544 2542 2538 2525
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3.2.4 อาจารย์ พเิ ศษ ลาดับ 1
ตาแหน่ งทาง ชื่อ-สกุล วิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสาทิศ รุกขรังสฤษฎ์
2
อาจารย์
นายวีระ สุภะ
3
อาจารย์
นายนครินทร์ ชานะมัย
4
อาจารย์
นางสาวมนฤดี ธาดาอานวยชัย
5
อาจารย์
นายสุรินทร์ แปลงประสพโชค
6
อาจารย์
นางรวงทอง ยศธารง
7
อาจารย์
นายไวยกรณ์ แก้ วศรี
8
อาจารย์
นายสุรกฤษณ์ โอฬาวนิช (ผู้ผลิตรายการ บริษัททรูวิชนั่ )
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
คุณวุฒิ ค.ม. ค.บ. นศ.ม. ศศ.บ. M.B.A M.A. ค.บ. นศ.ด. ว.ม. นศ.ม. บธ.บ. นศ.ม ค.บ. รป.ม. ค.บ. อ.ม. นศ.บ. นศ.บ.
สาขาวิชา โสตทัศนศึกษา ฟิ สิกส์-คณิตศาสตร์ การสื่อสารมวลชน ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร บริหารธุรกิจ Communication Arts ศิลปศึกษา นิเทศศาสตร์ สื่อสารมวลชน สื่อสารมวลชน การตลาด การประชาสัมพันธ์ การมัธยมศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ศิลปะการแสดง วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
90
สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิทยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ New York Institute of Technology, USA จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ ประสานมิตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
9
ตาแหน่ งทาง วิชาการ อาจารย์
10
อาจารย์
11
อาจารย์
12
อาจารย์
ลาดับ
ชื่อ-สกุล นายประสงค์ เลิศรัตนวิสทุ ธิ์ (อดีตบรรณาธิการเฉพาะกิจ สานักพิมพ์มติชน) นายชัยกร ใบเงิน (บรรณาธิการข่าว นสพ.คม ชัด ลึก) นายทวีชยั เจาวัฒนา (บรรณาธิการศูนย์ภาพเครื อเนชัน่ ) นายณัฐชนน มหาอิทธิดล (บรรณาธิการบริ หาร และผู้ก่อตัง้ สานักพิมพ์ แซลมอน ในเครื อ บันลือกรุ๊ป)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
คุณวุฒิ
สาขาวิชา
สาเร็จการศึกษาจากสถาบัน
นศ.บ.
การหนังสือพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศศ.บ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
นศ.บ.
วารสารศาสตร์
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
นศ.บ.
วารสารศาสตร์
มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
91
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
4. องค์ ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ ภาคสนาม (ประสบการณ์ วิชาชีพ และ สหกิจศึกษา) หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชนกาหนดให้ นกั ศึกษา มีประสบการณ์ภาคสนามโดยเลือกแนวทางใดแนวทางหนึง่ ระหว่างรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพและ สหกิจศึกษา ดังนี ้ 4.1 องค์ ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ ภาคสนาม (รายวิชา ประสบการณ์ วิชาชีพ) 4.1.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ ภาคสนาม (รายวิชา ประสบการณ์ วิชาชีพ) 4.1.1.1 มีความรู้และทักษะการทางานในส่วนงานด้ านนวัตกรรมสื่อสารมวลชนที่ สอดคล้ องกับกลุม่ วิชาเอกของนักศึกษา อาทิ วารสารศาสตร์ ดิจิทลั วิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ดิจิทลั 4.1.1.2 มีทกั ษะการปฏิบตั ิงานด้ านนวัตกรรมสื่อสารมวลชนที่ต้องมีการฝึ กเฉพาะทาง เช่น การเขียนเชิงวารสารศาสตร์ การรายงานข่าวเชิงสืบสวนสอบสวน การดาเนิน รายการ การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การผลิตภาพยนตร์ การ เขียนบทรายการ และ/หรื อ บทภาพยนตร์ การออกแบบภาพเคลื่อนไหว เป็ นต้ น 4.1.1.3 มีพฒ ั นาการด้ านต่าง ๆ ดังนี ้ ด้ า นทัศ นคติ มี ทัศ นคติ ที่ ดี ต่ อ ตนเอง ต่ อ การท างาน ต่ อ เพื่ อ นร่ ว มงาน ต่ อ ผู้บงั คับบัญชา ต่อองค์กร และต่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียขององค์กร ซึ่งจะนาไปสู่ ความตังใจในการปฏิ ้ บตั ิหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมายให้ มีประสิทธิภาพและเกิดการ เรี ยนรู้ ด้ า นคุณ ธรรม จริ ย ธรรม มี คุณ ธรรมและจริ ย ธรรม มี ค วามซื่ อ สัต ย์ สุจริ ต ต่อ ตนเองและผู้อื่น ต่อหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมาย ต่อผู้บงั คับบัญชา และต่อองค์กรที่ ไปฝึ กงาน โดยปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบขององค์กรอย่างเคร่งครัด ด้ านบุคลิกภาพ เป็ นผู้ที่แต่งกายสุภาพเรี ยบร้ อย เหมาะสมกับการปฏิบตั ิงานใน หน้ าที่ มี กิริย ามารยาทเหมาะสม มี ม นุษ ยสัม พัน ธ์ ดี มี สัม มาคารวะ มี ความ รับผิดชอบ และมีความคิดสร้ างสรรค์ในงานที่ทา 4.1.2 ช่ วงเวลา ภาคปลาย ชันปี ้ ที่ 4 ระยะเวลารวม 12 สัปดาห์ 4.1.2 จานวนหน่ วยกิต 3 หน่วยกิต
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
92
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
4.1.3 การจัดเวลาและตารางสอน วันเวลาในการฝึ กปฏิบตั ิงานรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพ ให้ เป็ นไปตามที่ สถานประกอบการกาหนด 4.1.4 การเตรียมการ มี ก ระบวนการเตรี ย มการ ให้ ค าแนะน าและช่วยเหลือทางวิชาการแก่นักศึก ษา เช่น การเลือกสถานที่ฝึกปฏิบตั ิงาน การแนะนาแหล่งข้ อมูล การจัดตารางเวลาเข้ าพบ/ให้ คาปรึกษา การจัดปฐมนิเทศและเตรี ยมความพร้ อมแก่นกั ศึกษาก่อนไปฝึ กงานจริงอย่าง น้ อย 1 สัปดาห์ 4.1.5 กระบวนการประเมินผล มีกระบวนการประเมินผลงานการฝึ กปฏิบตั ิงานรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพ ดังนี ้ การนิเทศการฝึ กปฏิบตั ิงานของนักศึกษา ณ สถานประกอบการ โดยอาจารย์ที่ปรึกษา การฝึ กงาน ไม่น้อยกว่า 1 ครัง้ และการประเมินการปฏิบัติงานเมื่อสิ ้นสุดการฝึ กงาน โดยหัวหน้ าหน่วยงาน/พนักงานที่ปรึกษา การเสนอบัน ทึ ก การปฏิ บั ติ งานประจ าวัน ซึ่งได้ รับ การลงนามรั บ รองโดยหัวหน้ า หน่วยงาน/พนักงานที่ปรึกษา ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาการฝึ กงาน ทุก 2 สัปดาห์ การประเมิ น ความก้ า วหน้ า ในการจัด ท ารายงานการฝึ ก งาน โดยให้ นัก ศึก ษาส่ ง โครงร่ างรายงานครัง้ ที่ 1 เมื่อไปฝึ กงานแล้ ว 1 เดือน และมีการประเมินคุณ ภาพของ รายงานฉบับ สมบูรณ์ ภ ายหลังเสร็ จสิน้ การฝึ ก งานไม่ เกิ น 2 สัป ดาห์ โดยอาจารย์ ที่ ปรึกษาการฝึ กงาน ทังนี ้ ้ หลังจากเสร็ จสิ ้นการฝึ กงานแล้ ว นักศึกษาจะต้ องเข้ าร่ วมการ สัมมนาเกี่ยวกับประสบการณ์ ที่ได้ รับจากการฝึ กงาน 1 ครัง้ และนาเสนอผลสรุ ปจาก การสัมมนากลุ่มย่อย ทัง้ ในรู ปแบบปากเปล่าและเล่มรายงาน ต่อคณาจารย์ ประจา สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชนคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 4.2 องค์ ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ ภาคสนาม (สหกิจศึกษา) 4.2.1 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ ภาคสนาม (สหกิจศึกษา) 4.2.1.1 มีความรู้และทักษะด้ านการทางาน ในส่วนงานด้ านนวัตกรรมสื่อสารมวลชนที่ สอดคล้ องกับกลุม่ วิชาเอกของนักศึกษา อาทิ วารสารศาสตร์ ดิจิทลั วิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ดิจิทลั 4.2.1.2 มีทกั ษะการปฏิบตั ิงานด้ านนวัตกรรมสื่อสารมวลชนที่ต้องมีการฝึ กเฉพาะทาง เช่น การเขียนเชิงวารสารศาสตร์ การรายงานข่าวเชิงสืบสวนสอบสวน การดาเนิน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
93
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
4.2.2 4.2.3 4.2.4 4.2.5
4.2.6
รายการ การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การผลิตภาพยนตร์ การ เขียนบทรายการ และ/หรื อ บทภาพยนตร์ การออกแบบภาพเคลื่อนไหว เป็ นต้ น 4.2.1.3 มีพฒ ั นาการด้ านต่าง ๆ ดังนี ้ ด้ า นทัศ นคติ มี ทัศ นคติ ที่ ดี ต่อ ตนเอง ต่ อ การท างาน ต่อ เพื่ อ นร่ ว มงาน ต่อ ผู้บงั คับบัญชา ต่อองค์กร และต่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียขององค์กร ซึ่งจะนาไปสู่ ความตังใจในการปฏิ ้ บตั ิหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมายให้ มีประสิทธิภาพและเกิดการ เรี ยนรู้ ด้ านคุณ ธรรม จริ ยธรรม มี คุณ ธรรมและจริ ยธรรม มี ค วามซื่อสัต ย์ สุจริ ต ต่อ ตนเองและผู้อื่น ต่อหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมาย ต่อผู้บงั คับบัญชา และต่อองค์กรที่ ไปฝึ กงาน โดยปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบขององค์กรอย่างเคร่งครัด ด้ านบุคลิกภาพ เป็ นผู้ที่แต่งกายสุภาพเรี ยบร้ อย เหมาะสมกับการปฏิบตั ิงานใน หน้ าที่ มี กิริยามารยาทเหมาะสม มีมนุษยสัมพันธ์ ดี มี สัมมาคารวะ มีความ รับผิดชอบ และมีความคิดสร้ างสรรค์ในงานที่ทา ช่ วงเวลา ภาคปลาย ชันปี ้ ที่ 4 ระยะเวลารวม16 สัปดาห์ หรื อ หนึง่ ภาคการศึกษาปกติ จานวนหน่ วยกิต 6 หน่วยกิต การจัดเวลาและตารางสอน วันเวลาในการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา ให้ เป็ นไปตามที่สถานประกอบการกาหนด การเตรียมการ มีกระบวนการเตรี ยมการ ให้ คาแนะนาและช่วยเหลือทางวิชาการแก่นกั ศึกษา เช่น การ เลื อ กสถานที่ ป ฏิ บัติ ง าน การเลื อ กหัว ข้ อ รายงาน การแนะน าแหล่ ง ข้ อ มูล การจัด ตารางเวลาเข้ าพบ/ให้ คาปรึกษา และนักศึกษาต้ องเข้ ารับการอบรมเตรี ยมความพร้ อม ก่อนไปฝึ กงานจริ งจากส่วนกลาง และการอบรมหัวข้ อเฉพาะคณะ/สาขาวิชาอย่างน้ อย 2 สัปดาห์ กระบวนการประเมินผล มีกระบวนการประเมินผลการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา ดังนี ้ การนิเทศการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษาของนักศึกษา ณ สถานประกอบการ โดยอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาสหกิ จ ศึก ษา จ านวน 2 ครั ง้ และการประเมิ น การปฏิ บัติ ง าน โดยหั ว หน้ า หน่วยงาน/พนักงานที่ปรึกษา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
94
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
การประเมินความก้ าวหน้ าในการจัดทารายงาน โดยให้ นกั ศึกษาส่งร่างรายงานครัง้ ที่ 1 เมื่ อไปฝึ กงานแล้ ว 1 เดือน และการประเมินคุณ ภาพของรายงานหรื อผลงาน โดย หัวหน้ าหน่วยงาน/พนักงานที่ปรึกษา และโดยอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษา ทังนี ้ ้ หลังจากเสร็จสิ ้นการปฏิบตั ิงาน นักศึกษาจะต้ องเข้ าร่วมการสัมมนาสหกิจ ศึก ษาเพื่ อจัดนิ ท รรศการและน าเสนอผลงานการปฏิบัติงานต่อคณาจารย์ ผ้ ูควบคุม สหกิจศึกษาประจาคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 5. ข้ อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย (ถ้ ามี) การกาหนดให้ นักศึกษาจัดทาโครงงานใช้ เฉพาะกรณี ที่สาขาวิชาได้ พิจารณาคุณสมบัติของ นักศึกษาคนใดคนหนึ่งแล้ วเห็นว่า เหมาะสมในการจัดทาโครงงานเกี่ยวกับนวัตกรรมสื่อสารมวลชน โดยอาจเป็ นด้ านวารสารศาสตร์ ดิจิทลั วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และ ภาพยนตร์ ดิจิทลั แทน การออกฝึ กงานในหน่วยงานภายนอกตามรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพหรื อตามแผนสหกิจศึกษา 5.1 คาอธิบายโดยย่ อ การจัดทาโครงงานเรื่ องใด ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับกลุ่มวิชาเอกในสาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน นัน้ นักศึก ษาต้ องเขีย นโครงการและวางแผนการดาเนิ น งาน น าเสนอต่ออาจารย์ ที่ ป รึ กษาเพื่ อให้ สาขาวิชาให้ ความเห็นชอบ จากนันต้ ้ องดาเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงานตามขันตอนต่ ้ าง ๆ ที่ กาหนด โดยอยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน และในขันตอนสุ ้ ดท้ ายคือ นาเสนอ ผลงานที่แล้ วเสร็ จสมบูรณ์ทงในรู ั ้ ปชิ ้นงานและ/หรื อเล่มรายงาน พร้ อมนาเสนอปากเปล่าต่อคณาจารย์ ผู้ควบคุมโครงงานประจาสาขาวิชา ภายในระยะเวลาที่กาหนด 5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ 5.2.1 มีความรู้และทักษะด้ านนวัตกรรมสือ่ สารมวลชนตามกลุม่ วิชาเอกที่ศกึ ษา 5.2.2 มีทกั ษะการทางานด้ านนวัตกรรมสื่อสารมวลชนที่ต้องมีการฝึ กเฉพาะทาง เช่น การเขียนเชิงวารสารศาสตร์ การรายงานข่าวเชิงสืบสวนสอบสวน การดาเนินรายการ การผลิต รายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การผลิตภาพยนตร์ การเขียนบทรายการ และ/หรื อ บทภาพยนตร์ การออกแบบภาพเคลื่อนไหว เป็ นต้ น 5.2.3 มีการพัฒนาด้ านทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม บุคลิกภาพ ฯลฯ 5.3 ช่ วงเวลา ภาคปลาย ชันปี ้ ที่ 4 ระยะเวลารวมหนึง่ ภาคการศึกษา 5.4 จานวนหน่ วยกิต 3 หน่วยกิต
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
95
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
5.5 การเตรียมการ มีกระบวนการเตรี ยมการ ให้ คาแนะนาและช่วยเหลือทางวิชาการแก่นกั ศึกษา เช่น การเลือก หัว ข้ อ ในการจัด ท าโครงงาน การเขี ย นร่ างโครงการเพื่ อ น าเสนอ การแนะน าแหล่ง ข้ อ มูล การจัด ตารางเวลาเข้ าพบ/ให้ คาปรึกษา ก่อนกาหนดการลงทะเบียนเรี ยน อย่างน้ อย 2 สัปดาห์ 5.6 กระบวนการประเมินผล มีกระบวนการประเมินผลงานการทาโครงงานของนักศึกษาตามลาดับขันตอน ้ ดังนี ้ การประเมินร่างโครงการที่นาเสนอเพื่อขอรับความเห็นชอบจากสาขาวิชาก่อน การลงทะเบียน การประเมิ น ความก้ าวหน้ าในการด าเนิ น โครงงาน โดยนัก ศึ ก ษาต้ อ งเสนอรายงาน ความก้ าวหน้ าต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ครัง้ ที่ 1 เมื่อดาเนินโครงงานแล้ ว 4 สัปดาห์ และครัง้ ที่ 2 เมื่อดาเนินโครงงานแล้ ว 8 สัปดาห์ การประเมินคุณภาพของผลงาน นักศึกษาต้ องนาเสนอผลงานที่แล้ วเสร็จสมบูรณ์ทงในรู ั้ ป ชิ ้นงาน และ/หรื อ เล่มรายงาน พร้ อมนาเสนอปากเปล่า เพื่อรับการประเมินโดยอาจารย์ ที่ปรึกษาและคณาจารย์ผ้ คู วบคุมโครงงานประจาสาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชนคณะ นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
96
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์ การสอนและการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา คุณลักษณะพิเศษ (1) ทางกาย ก. แต่งกายเหมาะสมกับการปฏิบตั ิงาน ข. มีบคุ ลิกภาพของนักธุรกิจ และการ เคลื่อนไหวที่ คล่องแคล่ว สง่างาม น่า ประทับใจ (2) ทางวาจา ก. มีวาจาสุภาพ และรู้จกั กาละเทศะในการ พูด ข. มีทกั ษะในการพูดเพื่อนาเสนองาน (3) ทางใจ ก. มีความภาคภูมิใจในอาชีพนัก สื่อสารมวลชน ข. มีจิตสานึกรับใช้ สงั คม ค. มีความเข้ าใจตนเอง และเข้ าใจความ แตกต่างระหว่างบุคคล ระหว่างวิชาชีพ ระหว่างสถานภาพ และรู้จกั ให้ อภัย (4) คุณลักษณะพิเศษอื่น ก. มีความรู้พื ้นฐานด้ านธุรกิจ การค้ า การบัญชี และคณิตศาสตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
กลยุทธ์ หรือกิจกรรมของนักศึกษา - ฝึ กการแสดงออกในชันเรี ้ ยน - ฝึ กการแสดงบทบาทในชันเรี ้ ยน - ฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการในกิจกรรมเสริมหลักสูตร - ฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการในหลักสูตรอบรมพิเศษ เพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการประกอบอาชีพ - ฝึ กพูดในชันเรี ้ ยน - ฝึ กการนาเสนองานในชันเรี ้ ยน - ฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั ิการในหลักสูตรอบรมพิเศษ เพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการประกอบอาชีพ - สอดแทรกในการสอนรายวิชา - เชิญผู้ประสบความสาเร็จ/มีชื่อเสียงทางวิชาชีพ มาเป็ นวิทยากรบรรยายพิเศษให้ ฟัง
- บรรจุในรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป - บรรจุในหมวดวิชาโท
97
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ ละด้ าน 2.1 คุณธรรม จริยธรรม 2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.1.1.1 มีคณ ุ ธรรมและจริยธรรมต่อการทางานและต่อผู้อื่น อาทิ มีวินยั มีความ รับผิดชอบ ซื่อสัตย์สจุ ริต มีจิตสาธารณะ อดทน และเข้ าใจมนุษย์ 2.1.1.2 มีทศั นคติที่ดีและความภาคภูมิใจในวิชาชีพ 2.1.1.3 มีความรับผิดชอบต่อสังคม และปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณวิชาชีพให้ สอดคล้ อง กับลักษณะของธุรกิจหรื อองค์กร 2.1.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.1.2.1 กาหนดให้ มีรายวิชาที่สอนจริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพนิเทศศาสตร์ โดยเฉพาะ 2.1.2.2 สอนคุณธรรมและจริยธรรมสอดแทรกในบทเรี ยนของรายวิชาเฉพาะต่าง ๆ 2.1.2.3 สอนโดยใช้ กรณีศกึ ษาและอภิปรายร่วมกัน 2.1.2.4 อาจารย์ผ้ สู อนแสดงตนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่นกั ศึกษา 2.1.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.1.3.1 ประเมินจากผลการสอบในรายวิชาเฉพาะที่สอนจริยธรรมและจรรยาบรรณใน วิชาชีพนิเทศศาสตร์ 2.1.3.2 สังเกตพฤติกรรมการแสดงออกระหว่างผู้เรี ยนกับผู้สอน 2.1.3.3 สังเกตพฤติกรรมการทางานเป็ นกลุม่ และผลงานของกลุม่ 2.1.3.4 สังเกตจากผลการประเมินการฝึ กงานจากหน่วยงานที่นกั ศึกษาเข้ าฝึ กงาน 2.2 ความรู้ 2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 2.2.1.1 มีความรู้ด้านนิเทศศาสตร์ แบบหลอมรวมและสร้ างสรรค์ 2.2.1.2 มีความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมสื่อสารมวลชน โดยเฉพาะวารสารศาสตร์ ดิจิทลั วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ดิจิทลั ทังในทางทฤษฎี ้ และ ปฏิบตั ิ อย่างกว้ างขวางเป็ นระบบ และทันสมัย 2.2.1.3 มีความรู้อนั เกิดจากการบูรณาการศาสตร์ ตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้ องกับนิเทศศาสตร์ 2.2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิจยั เพื่อแก้ ไขปั ญหาและเสริมความรู้ในวิชาชีพ นิเทศศาสตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
98
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
2.2.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้ 2.2.2.1 สอนโดยใช้ กรณีศกึ ษาตัวอย่างที่ทนั สมัย การอภิปรายร่วมกัน รวมทังการ ้ บรรยายพิเศษจากนักวิชาชีพนวัตกรรมสือ่ สารมวลชน 2.2.2.2 เชิญนักวิชาชีพนวัตกรรมสื่อสารมวลชนร่วมสอนในฐานะอาจารย์พิเศษ 2.2.2.3 เน้ นการฝึ กปฏิบตั ิในชันเรี ้ ยน 2.2.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 2.2.3.1 ประเมินผลจากการสอบ 2.2.3.2 สังเกตจากการฝึ กปฏิบตั ิในชันเรี ้ ยนและประเมินผลจากผลงานของนักศึกษา 2.2.3.3 สังเกตพฤติกรรมในชันเรี ้ ยน 2.3 ทักษะทางปั ญญา 2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปั ญญา 2.3.1.1 สามารถเข้ าใจแนวความคิดเกี่ยวกับนิเทศศาสตร์ โดยเน้ นหนักด้ านนวัตกรรม สื่อสารมวลชน และ/หรื อ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 2.3.1.2 สามารถวิเคราะห์ข้อมูลหรื อสถานการณ์ รวมทังสามารถวางแผนงานหรื ้ อแก้ ไข ปั ญหาได้ 2.3.1.3 สามารถประยุกต์ความรู้ในทางทฤษฎีไปใช้ ในทางปฏิบตั ิได้ รวมทังสามารถ ้ ประยุกต์ความรู้ในทางทฤษฎีและปฏิบตั ิไปใช้ ในการฝึ กประสบการณ์ ภาคสนามหรือสถานการณ์จริง 2.3.1.4 สามารถประยุกต์แนวคิดใหม่หรื อเทคโนโลยีใหม่จากศาสตร์ ตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้ อง มาใช้ ในการเรียนรู้หรื อพัฒนาทักษะการทางาน 2.3.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปั ญญา 2.3.2.1 สอนโดยใช้ กรณีศกึ ษา อภิปรายกลุม่ และการทางานเป็ นกลุม่ 2.3.2.2 เน้ นการฝึ กปฎิบตั ิ 2.3.2.3 ให้ นกั ศึกษาได้ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานต่าง ๆ 2.3.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปั ญญา 2.3.3.1 สังเกตพฤติกรรมการทางานเป็ นกลุม่ และปฏิสมั พันธ์ในชันเรี ้ ยน 2.3.3.2 ประเมินผลจากผลงานของนักศึกษาทังงานเดี ้ ่ยวและงานกลุม่ 2.3.3.3 สังเกตจากผลการประเมินการฝึ กงานจากหน่วยงานที่นกั ศึกษาเข้ าฝึ กงาน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
99
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
2.4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ 2.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ 2.4.1.1 สามารถรับผิดชอบงานที่ได้ รับมอบหมายตามหน้ าที่และบทบาทของตนใน กลุม่ งานได้ อย่างเหมาะสม 2.4.1.2 สามารถแก้ ไขปั ญหาของตนเองและกลุม่ อย่างสร้ างสรรค์ 2.4.1.3 สามารถพัฒนาตนเองและวิชาชีพให้ ทนั สถานการณ์อยูเ่ สมอ 2.4.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความรับผิดชอบ 2.4.2.1 มอบหมายนักศึกษาให้ ทางานเป็ นกลุม่ 2.4.2.2 ให้ นกั ศึกษาได้ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพในหน่วยงานต่าง ๆ 2.4.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและ ความรับผิดชอบ 2.4.3.1 สังเกตพฤติกรรมการทางานเป็ นกลุม่ การให้ ความร่วมมือในชันเรี ้ ยนและ ผลงานของกลุม่ 2.4.3.2 สังเกตจากผลการประเมินการฝึ กงานจากหน่วยงานที่นกั ศึกษาเข้ าฝึ กงาน 2.5 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1.1 สามารถใช้ ทกั ษะการสื่อสาร ทังการฟั ้ ง การพูด การอ่าน และการเขียน อย่างมีประสิทธิภาพ 2.5.1.2 สามารถสรุปประเด็นและเลือกรูปแบบการนาเสนอที่เหมาะสมกับเนื ้อหาและ ผู้รับสารที่แตกต่างกันได้ 2.5.1.3 สามารถสื่อสารโดยใช้ ภาษาอังกฤษได้ อย่างเหมาะสม 2.5.1.4 สามารถเลือกใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศให้ เหมาะสมกับวิชาชีพ 2.5.1.5 สามารถใช้ เทคนิคขันพื ้ ้นฐานทางคณิตศาสตร์ ในการคานวณและสถิติในการ วิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมาย 2.5.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ พัฒนาการเรี ยนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การ สื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.2.1 การฝึ กปฏิบตั ิในการพูดหน้ าชันเรี ้ ยน และฝึ กนาเสนองาน 2.5.2.2 ให้ เจ้ าของภาษา (native speaker) เป็ นผู้สอนในรายวิชาภาษาอังกฤษ รวมทัง้ การสอนโดยการจาลองสถานการณ์จริงในการสื่อสารกับชาวต่างชาติ 2.5.2.3 ฝึ กการเก็บข้ อมูล ประมวลผลข้ อมูลในวิชาวิจยั โดยโปรแกรมสาเร็จรูป
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
100
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
2.5.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.3.1 สังเกตพฤติกรรมการนาเสนองานหน้ าชันเรี ้ ยน 2.5.3.2 สังเกตพฤติกรรมและประเมินจากผลงานของนักศึกษาในรายวิชาที่เกี่ยวกับการ พูดและการเขียน 2.5.3.3 ประเมินผลทักษะภาษาอังกฤษจากอาจารย์เจ้ าของภาษา 2.5.3.4 ประเมินผลจากงานวิจยั ของนักศึกษา 3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) คุณธรรม จริยธรรม (1) มีคณ ุ ธรรมและจริยธรรมต่อการทางานและต่อผู้อื่น อาทิ มีวินยั มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ สุจริต มีจิตสาธารณะ อดทน และเข้ าใจมนุษย์ (2) มีทศั นคติที่ดีและความภาคภูมิใจในวิชาชีพ (3) มีความรับผิดชอบต่อสังคม และปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณวิชาชีพให้ สอดคล้ องกับ ลักษณะของธุรกิจหรื อองค์กร ความรู้ (1) (2)
(3) (4)
มีความรู้ด้านนิเทศศาสตร์ แบบหลอมรวมและสร้ างสรรค์ มีความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมสื่อสารมวลชน โดยเฉพาะวารสารศาสตร์ ดิจิทลั วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ดิจิทลั ทังในทางทฤษฎี ้ และปฏิบตั ิ อย่างกว้ างขวางเป็ นระบบ และทันสมัย มีความรู้อนั เกิดจากการบูรณาการศาสตร์ ตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้ องกับนิเทศศาสตร์ มีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิจยั เพื่อแก้ ไขปั ญหาและเสริมความรู้ในวิชาชีพ นิเทศศาสตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
101
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ทักษะทางปั ญญา (1) สามารถเข้ าใจแนวความคิดเกี่ยวกับนิเทศศาสตร์ โดยเน้ นหนักด้ านนวัตกรรม สื่อสารมวลชน และ/หรื อ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (2) สามารถวิเคราะห์ข้อมูลหรือสถานการณ์ รวมทังสามารถวางแผนงานหรื ้ อแก้ ไข ปั ญหาได้ (3) สามารถประยุกต์ความรู้ในทางทฤษฎีไปใช้ ในทางปฏิบตั ิได้ รวมทังสามารถ ้ ประยุกต์ความรู้ในทางทฤษฎีและปฏิบตั ิไปใช้ ในการฝึ กประสบการณ์ภาคสนามหรือ สถานการณ์จริง (4) สามารถประยุกต์แนวคิดใหม่หรื อเทคโนโลยีใหม่จากศาสตร์ ตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้ อง มาใช้ ในการเรียนรู้หรื อพัฒนาทักษะการทางาน ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ (1) สามารถรับผิดชอบงานที่ได้ รับมอบหมายตามหน้ าที่และบทบาทของตนในกลุม่ งานได้ อย่างเหมาะสม (2) สามารถแก้ ไขปั ญหาของตนเองและกลุม่ อย่างสร้ างสรรค์ (3) สามารถพัฒนาตนเองและวิชาชีพให้ ทนั สถานการณ์อยูเ่ สมอ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) สามารถใช้ ทกั ษะการสื่อสาร ทังการฟั ้ ง การพูด การอ่าน และการเขียน อย่างมีประสิทธิภาพ (2) สามารถสรุปประเด็นและเลือกรูปแบบการนาเสนอที่เหมาะสมกับเนื ้อหาและ ผู้รับสารที่แตกต่างกันได้ (3) สามารถสื่อสารโดยใช้ ภาษาอังกฤษได้ อย่างเหมาะสม (4) สามารถเลือกใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศให้ เหมาะสมกับวิชาชีพ (5) สามารถใช้ เทคนิคขันพื ้ ้นฐานทางคณิตศาสตร์ ในการคานวณ และใช้ สถิติในการ วิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมาย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
102
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ความรั บผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1
1 2
ความรู้ / 3
1
1 2
ทักษะทางปั ญญา
/ 3
4
4 1
1 2
/ 3
4
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รั บผิดชอบ 4 1 / 1 2 3
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1
1 2
/ 3
4
ภ 5
5
กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ BA961 หลักการตลาด
EC961 เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น LW961 กฎหมาย การเมือง และการปกครองของไทย CA106 หลักนิเทศศาสตร์ CA111 พื ้นฐานการสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่ CA108 พื ้นฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ CA109 พัฒนาทักษะการอ่าน CA110 พัฒนาทักษะการเขียน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
103
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1 CA202 วาทนิเทศ CA205 ศิลปะการสื่อสารผ่านภาพและเสียง CA206 หลักการสื่อข่าวและเขียนข่าว
CA303 ภาษาอังกฤษสาหรับงานนิเทศศาสตร์ CA304 การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ CA305 การจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศศาสตร์ CA306 กฎหมายและจริยธรรมนิเทศศาสตร์
กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา CI001 ศิลปะการเล่าเรื่ อง CI002 ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน CI003 การวิจยั ประยุกต์ทางนวัตกรรม สื่อสารมวลชน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
ความรู้
1 / 2 3 1
1 2
/ 3 4
104
ทักษะ ความสัมพันธ์ ทักษะทางปั ญญา ระหว่ างบุคคล และความ รั บผิดชอบ 4 1 / 4 1 / 1 2 3 4 1 2 3
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1
1 / 2 3 4
ภ 5
5
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1 กลุ่มวิชาเอกวารสารศาสตร์ ดจิ ทิ ัล - วิชาเอกบังคับ
CI103 การเขียนสร้ างสรรค์เพื่องานวารสารศาสตร์ CI112 การจัดการธุรกิจวารสารศาสตร์ ดิจิทลั CI105 การบรรณาธิกรและการผลิตหนังสือพิมพ์ CI113 การผลิตสื่อวารสารศาสตร์ ดิจิทลั CI114 สัมมนาวารสารศาสตร์ ดิจิทลั กับสังคม CI116 ประสบการณ์วิชาชีพทางวารสารศาสตร์ ดิจิทลั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
/ 3
1
1 2
/ 3
ทักษะทางปั ญญา 4
4 1
1 2
/ 3
4
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1
1 2
/ 3
4
ภ 5
5
CI101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องานวารสารศาสตร์ CI111 การสื่อข่าวสาหรับงานวารสารศาสตร์ ดิจิทลั
1 2
ความรู้
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รั บผิดชอบ 4 1 / 1 2 3
105
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
รายวิชา
CI115โครงงานด้ านวารสารศาสตร์ ดิจิทลั CI110 สหกิจศึกษา
ทักษะ ความสัมพันธ์ คุณธรรม ความรู้ ทักษะทางปั ญญา ระหว่ างบุคคล จริยธรรม และความ รั บผิดชอบ 1 / 1 / 4 1 / 4 1 / 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1 / ภ 1 2 3 4 5
5
- วิชาเอกเลือก
CI132 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์
CI133 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์
CI131 การสื่อข่าวขันสู ้ ง
CI134 การเขียนสารคดี CI135 วารสารศาสตร์ สากล CI136 การวิเคราะห์ข่าวปั จจุบนั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
106
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1 CI137 วารสารศาสตร์ เพื่อสิ่งแวดล้ อมและความยัง่ ยืน CI138 หัวข้ อคัดเฉพาะทางวารสารศาสตร์ CI139 การแปลข่าว CI140 การผลิตสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ CI141 การรายงานข่าวเศรษฐกิจและธุรกิจ
CI147 การสื่อข่าวเด็กและเยาวชน CI143 การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ CI144 การบรรณาธิกรและผลิตนิตยสาร อิเล็กทรอนิกส์ CI145 การศึกษาเฉพาะบุคคลด้ านวารสารศาสตร์ CI146 พัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
ความรู้
1 / 2 3 1
1 / 4 2 3 4 1
ทักษะทางปั ญญา
107
1 2
/ 3 4
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รั บผิดชอบ 4 1 / 1 2 3
1 / ภ 2 3 4 5
5
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1 กลุ่มวิชาเอกวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ - วิชาเอกบังคับ
1 2
ความรู้ / 3
CI202 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง
CI203 กราฟิ กและแอนิเมชันเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ CI204 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
CI215 การผลิตรายการเพื่อเศรษฐกิจสร้ างสรรค์
CI211 การจัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
CI213 ประสบการณ์วิชาชีพวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
1 2
/ 3
4
4 1
1 2
/ 3
4
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1
1 2
/ 3
4
ภ 5
5
CI201 การสร้ างสรรค์บทรายการ
CI212 สัมมนาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
1
ทักษะทางปั ญญา
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รั บผิดชอบ 4 1 / 1 2 3
108
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
รายวิชา
CI214 โครงงานด้ านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ CI210 สหกิจศึกษา
ทักษะ ความสัมพันธ์ คุณธรรม ความรู้ ทักษะทางปั ญญา ระหว่ างบุคคล จริยธรรม และความ รั บผิดชอบ 1 / 1 / 4 1 / 4 1 / 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1 / ภ 1 2 3 4 5
5
- วิชาเอกเลือก CI231 การวางแผนและประเมินผลสื่อมวลชน CI252 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์นานาชาติ CI233 ผู้ดาเนินรายการวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุ โทรทัศน์ CI234 การผลิตรายการข่าววิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ CI253 การผลิตรายการสารคดี วิทยุโทรทัศน์ CI254 การผลิตรายการโชว์ทาง วิทยุโทรทัศน์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
109
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1 CI237 การผลิตงานโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ CI255 การพูดภาษาอังกฤษในงานวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ CI256 เทคนิคการนาเสนองานด้ านวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ CI240 การผลิตรายการละครวิทยุกระจายเสียง CI241 การผลิตรายการละครวิทยุโทรทัศน์ CI242 เทคนิคการกากับรายการวิทยุโทรทัศน์ CI243 ศิลปะการแสดงเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ CI244 การออกแบบเครื่ องแต่งกายและ การแต่งหน้ าผู้แสดงเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ CI258 การออกแบบฉากและเครื่ องประกอบฉากเพื่องาน วิทยุโทรทัศน์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
1 2
ความรู้ / 3 1
1 2
/ 3 4
110
ทักษะ ความสัมพันธ์ ทักษะทางปั ญญา ระหว่ างบุคคล และความ รั บผิดชอบ 4 1 / 4 1 / 1 2 3 4 1 2 3
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1
1 / 2 3 4
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ภ 5
5
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1 CI246 หัวข้ อคัดเฉพาะทางวิทยุกระจายเสียง CI247 หัวข้ อคัดเฉพาะทางวิทยุโทรทัศน์ CI248 หัวข้ อคัดเฉพาะทางสื่อประสม CI257การศึกษาเฉพาะบุคคลด้ านวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์ CI250 การสร้ างสรรค์รายการความรู้ทางวิทยุกระจายเสียง CI251 ศิลปะการใช้ เสียงพูดทางวิทยุกระจายเสียง กลุ่มวิชาเอกภาพยนตร์ ดจิ ทิ ัล - วิชาเอกบังคับ CI301 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น CI311 การสร้ างสรรค์บทภาพยนตร์ CI303 การผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั CI304 การออกแบบโมชันกราฟิ กเพื่อภาพยนตร์ ดิจิทลั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
1 2
ความรู้ / 3 1
1 2
/ 3
ทักษะทางปั ญญา
4 4 1
1 2
/ 3
4
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รั บผิดชอบ 4 1 / 1 2 3
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1
1 / 2 3 4
ภ 5
111
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
5
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1 CI305 การจัดการธุรกิจภาพยนตร์ ดิจิทลั CI306 โครงงานด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั 1 CI312 สัมมนาด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั CI308 ประสบการณ์วิชาชีพทางภาพยนตร์ ดิจิทลั CI309 โครงงานด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั 2 CI310 สหกิจศึกษา - วิชาเอกเลือก CI331 การสร้ างสรรค์เนื ้อหาสาหรับสื่อดิจิทลั CI332 การกากับภาพยนตร์ CI333 การออกแบบเสียงในภาพยนตร์ CI334 การออกแบบภาพและแสงในภาพยนตร์ CI335 การออกแบบงานสร้ างภาพยนตร์ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
1 2
ความรู้ / 3 1
ทักษะทางปั ญญา
1 2
/ 3
112
4 4 1
1 / 2 3
4
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รั บผิดชอบ 4 1 / 1 2 3
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1 / 1 2 3 4
ภ 5
5
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา
1 CI336 กระบวนการหลังการถ่ายทา CI337 การผลิตภาพยนตร์ สารคดี CI338 การผลิตภาพยนตร์ บนั เทิง CI339 ศิลปะดิจิทลั สาหรับภาพยนตร์ CI340 การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์ กลุ่มวิชาโทนวัตกรรมสื่อสารมวลชน สาหรั บนักศึกษา ต่ างคณะ
CX200 นิเทศศาสตร์ เบื ้องต้ น CX201 พื ้นฐานการสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่ CX202 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ CX203 วารสารศาสตร์ สากล CX204 การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
ความรู้
1 / 2 3
1 1 2
ทักษะทางปั ญญา
/ 4 3 4 1
1 2
113
4
/ 3
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รั บผิดชอบ 4 1 / 1 2 3
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1 / 1 2 3 4
ภ 5
5
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1 CX205 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์นานาชาติ CX206 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น CX208 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ กลุ่มวิชาโทนวัตกรรมสื่อสารมวลชนที่จัดให้ นักศึกษา ต่ างสาขาวิชา
CX204 การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ CX205 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์นานาชาติ CX206 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น
CX208 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
/ 3
CX203 วารสารศาสตร์ สากล
ทักษะทางปั ญญา
1 / 4 1 2 3 4 1
CX202 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์
CX207 การจัดการธุรกิจวารสารศาสตร์ ดิจิทลั
1 2
ความรู้
1 / 2 3
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
3 1 / 1 2 3 4
ภ 5
114
4
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รั บผิดชอบ 4 1 / 1 2 3
5
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1 CX209 การเขียนสารคดี CX210 การวิเคราะห์ข่าวปั จจุบนั CX211 การจัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ CX212 การจัดการธุรกิจภาพยนตร์ ดิจิทลั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
ความรู้
1 / 1 2 3 1 2
/ 3 4
115
ทักษะ ความสัมพันธ์ ทักษะทางปั ญญา ระหว่ างบุคคล และความ รั บผิดชอบ 4 1 / 4 1 / 1 2 3 4 1 2 3
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 3 1
1 / ภ 2 3 4 5
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
5
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ ในการประเมินผลนักศึกษา 1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ ในการให้ ระดับคะแนน (เกรด) การวัดผลและการสาเร็จการศึกษาเป็ นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การศึกษาระบบหน่วยกิต ขันปริ ้ ญญาบัณฑิต พ.ศ. 2545 (ภาคผนวก ก.) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 2.1 ให้ อาจารย์แสดงหลักฐานวิธีการประเมินผลทุกรายวิชา 2.2 จัดทาข้ อสอบมาตรฐานสาหรับรายวิชาเดียวกัน ในกรณีที่รายวิชามีผ้ สู อนมากกว่า 1 คน 2.3 ให้ เปรี ยบเทียบการให้ คะแนนข้ อสอบรายข้ อ/ผลงานรายชิ ้นตามเกณฑ์ที่กาหนด และ/หรื อ เปรี ยบเทียบการให้ คะแนนเก็บระหว่างภาค และ/หรื อ เปรี ยบเทียบคะแนนรวม สาหรับทุก รายวิชาที่มีผ้ สู อนมากกว่า 1 คน 2.4 มีคณะกรรมการประเมินผลการศึกษา ซึง่ ประกอบด้ วยผู้ทรงคุณวุฒิทงนั ั ้ กวิชาการและผู้ใช้ บัณฑิตจากภายนอก เพื่อตรวจรับรองข้ อสอบไล่และรายงานการวัดผลการสอบไล่ ของทุก รายวิชาในกลุม่ วิชาเอก และบางรายวิชาในกลุม่ วิชาพื ้นฐานวิชาชีพ ทังภาคต้ ้ นและภาค ปลาย 3. เกณฑ์ การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 3.1 นักศึกษาที่มีสิทธิ์ได้ รับอนุปริญญา ปริญญา ต้ องมีคุณสมบัตคิ รบถ้ วน ดังต่ อไปนี ้ 3.1.1 การให้ อนุปริญญา นักศึกษาศึกษาได้ หน่วยกิตครบถ้ วนตามหลักสูตรขันปริ ้ ญญา ได้ แต้ มเฉลี่ยสะสมไม่ ถึง 2.00 แต่ไม่ต่ากว่า 1.75 หรื อสอบได้ หน่วยกิตตามที่กาหนดไว้ ในแต่ละสาขาวิชาของหลักสูตร แต่ยงั ไม่ถึงขันปริ ้ ญญา มีสทิ ธิขอรับอนุปริญญาได้ 3.1.2 การอนุมัตปิ ริญญา 3.1.2.1 นักศึกษาที่จะได้ รับอนุมตั ิปริญญาจะต้ องมีคณ ุ สมบัติดงั นี ้ (1) สอบไล่ได้ จานวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตรภายในระยะเวลาการศึกษา ที่กาหนดไว้ ในระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทยว่าด้ วยการศึกษาระบบหน่วยกิตขันปริ ้ ญญาบัณฑิต พ.ศ. 2545 (ภาคผนวก ก.) (2) ได้ แต้ มเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00 (3) มีความประพฤติดี (4) ไม่มีพนั ธะติดค้ างหนี ้สินใด ๆ กับมหาวิทยาลัย (5) เข้ าร่ วมกิจกรรมบัณฑิตอุดมคติไทยรวม 60 ชัว่ โมงตามที่มหาวิทยาลัย กาหนด (ภาคผนวก ข.) (6) สอบผ่านข้ อสอบวัดมาตรฐานความรู้ด้านภาษาอังกฤษธุรกิจ ด้ าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้ านบริหารธุรกิจ ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด (ภาคผนวก ข.)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
116
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3.1.2.2 นักศึกษาที่สอบไล่ได้ จานวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร แต่แต้ มเฉลี่ยสะสม ไม่ถึง 2.00 จะได้ รับอนุมตั ิปริญญาก็ตอ่ เมื่อ (1) ลงทะเบียนศึกษาวิชาที่เปิ ดสอนตามหลักสูตรต่อไปอีกจนกว่าจะทาแต้ ม เฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00 ภายในระยะเวลาการศึกษาที่กาหนดไว้ ในระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ า ไทยว่าด้ วยการศึก ษาระบบหน่ วยกิ ตขัน้ ปริ ญ ญาบัณ ฑิ ต พ.ศ. 2545 (ภาคผนวก ก.) ว่าด้ วยเรื่ อง ระยะเวลาการศึกษา (2) ลงทะเบียนศึกษาซ ้าเฉพาะวิชาซึ่งนักศึกษาเคยสอบได้ ลาดับขัน้ D+ D หรื อ F จนกว่ า จะท าแต้ ม เฉลี่ ย สะสมไม่ ต่ า กว่ า 2.00 ภายในระยะเวลาที่ ก าหนดไว้ ในระเบี ย บ มหาวิ ท ยาลัย หอการค้ าไทยว่ า ด้ วยการศึ ก ษาระบบหน่ ว ยกิ ต ขัน้ ปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต พ.ศ. 2545 (ภาคผนวก ก.) ว่าด้ วยเรื่ องระยะเวลาการศึกษา 3.1.2.3 ในกรณี ที่ ได้ รับ ร้ องเรี ย นหรื อ ปรากฏแก่ ม หาวิ ท ยาลัย ว่า นัก ศึก ษาผู้ใดมี พฤติกรรมที่เสื่อมเสียต่อเกียรติภมู ิของมหาวิทยาลัยอย่างร้ ายแรง สภามหาวิทยาลัยมีสิทธิที่จะชะลอ การอนุมตั ิปริ ญญาเอาไว้ ก่อน เพื่อสอบสวนพฤติกรรมและหาความจริ ง ในกรณีที่ผลของการสอบสวน เป็ นที่ปรากฏชัดว่านักศึกษาผู้นนมี ั ้ พฤติกรรมที่เสื่อมเสียต่อเกียรติภูมิของมหาวิทยาลัยอย่างร้ ายแรง จริง สภามหาวิทยาลัยมีสทิ ธิที่จะไม่อนุมตั ิปริญญา หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ 1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ ใหม่ 1.1 จัดเตรี ยมคูม่ ืออาจารย์และเอกสารที่เกี่ยวข้ องกับการปฏิบตั ิงานให้ อาจารย์ใหม่ 1.2 จัดปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ เรื่ อง บทบาท หน้ าที่ ความรับผิดชอบ และรายละเอียด หลักสูตร ในระดับคณะ 1.3 จัดหลักสูตรการอบรมสาหรับอาจารย์ใหม่ เกี่ยวกับการจัดทาประมวลรายวิชาตามแบบ มคอ. 3 ภาระงานของอาจารย์ผ้ สู อนและภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษา โดยอาจจัดขึ ้นใน ระดับคณะหรื อมหาวิทยาลัย 1.4 สนับสนุนให้ อาจารย์ใหม่เข้ ารับการอบรมในโครงการที่จดั ขึ ้นโดยหน่วยงานภายนอก ซึง่ มี หัวข้ อเกี่ยวข้ องกับภาระงานของอาจารย์ผ้ สู อน (เช่น การออกข้ อสอบ การตัดเกรด ฯลฯ) และภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษา (เช่น จิตวิทยาการเป็ นที่ปรึกษา ฯลฯ) 1.5 จัดระบบพี่เลี ้ยง (Mentoring System) โดยให้ อาจารย์ใหม่สอนรายวิชาร่วมกับอาจารย์ที่มี ประสบการณ์การสอนในระดับกลางขึ ้นไป
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
117
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้ แก่ อาจารย์ 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล 2.1.1 จัดอบรมเชิงปฎิบตั ิการเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรี ยนการสอน กลวิธีในการสอน และการวัดประเมินผลรายวิชา 2.1.2 สนับสนุนให้ อาจารย์ผ้ สู อนเข้ าร่วมสัมมนาเชิงวิชาการในด้ านการเรี ยนการสอน เพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กบั ผู้สอนอื่น ๆ หรื อผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ทังในระดั ้ บคณะและระดับ มหาวิทยาลัย รวมทังภายนอกสถาบั ้ น 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้ านอื่น ๆ 2.2.1 สนับสนุนให้ อาจารย์ผ้ สู อนทางานวิจยั ที่สอดคล้ องกับสาขาวิชาอันจะเป็ นประโยชน์ตอ่ วงวิชาการและ/หรื อวิชาชีพ 2.2.2 สนับสนุนให้ อาจารย์ผ้ สู อนเข้ าร่วมการประชุม สัมมนา การฝึ กอบรมภายนอกสถาบันที่ สอดคล้ องกับศาสตร์ ของสาขาวิชา 2.2.3 สนับสนุนให้ อาจารย์ผ้ สู อนออกไปให้ บริการทางวิชาการแก่สงั คม เพื่อสามารถนา ประสบการณ์มาพัฒนาการเรี ยนการสอน 2.2.4 สนับสนุนให้ ผ้ สู อนได้ รับประสบการณ์จริง โดยเปิ ดโอกาสให้ ไปปฏิบตั ิงานในสถาน ประกอบการที่ตรงกับสาขาวิชา ตามโครงการสหกิจศึกษาอาจารย์ของมหาวิทยาลัย 2.2.5 สนับสนุนให้ ผ้ สู อนมีสว่ นร่วมในการจัดทา ปรับปรุง และ/หรื อพัฒนาหลักสูตรใหม่ รวมทังการปรั ้ บปรุงรายวิชา 2.2.6 สนับสนุนให้ อาจารย์ผ้ สู อนได้ ศกึ ษาต่อในระดับที่สงู ขึ ้น หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 1. การบริหารหลักสูตร หัวหน้ าหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน เป็ นผู้ทาหน้ าที่ใน การบริหารหลักสูตรให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ ตามแนวปฏิบตั ิงานซึง่ เป็ นมติที่ประชุมคณะกรรมการฝ่ าย วิชาการ และ/หรื อได้ รับความเห็นชอบจากกรรมการประจาคณะ โดยมีรองคณบดีฝ่ายวิชาการทา หน้ าที่กากับดูแลและประสานงานให้ การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรี ยนการสอนเป็ นไปตามที่ หลักสูตรกาหนด โดยมุง่ เน้ นการพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ และการ เสริมสร้ างการใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตและใช้ สื่อการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผล การเรี ยนอย่างเป็ นระบบ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
118
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
1.1 การเตรียมความพร้ อมก่ อนการเปิ ดการเรียนการสอน 1.1.1 จัดหาอาจารย์ผ้ สู อนที่มีคณ ุ วุฒหิ รื อประสบการณ์ตรงและมีความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ตามเนื ้อหารายวิชาที่เปิ ดสอน 1.1.2 มอบหมายอาจารย์ผ้ สู อนเตรี ยมความพร้ อมเกี่ยวกับการวางแผนกระบวนการเรี ยน การสอนตาม มคอ.3 เอกสารประกอบการสอน สื่อการสอน อุปกรณ์และสิง่ อานวยความสะดวกอื่น ๆ นอกเหนือจากที่มหาวิทยาลัยจัดหาไว้ ให้ รวมทังการติ ้ ดตามผลการเรี ยนการสอนและการจัดทา รายงาน 1.2 การติดตามการจัดการเรียนการสอน จัดให้ มีระบบติดตามการจัดการเรี ยนการสอน เพื่อให้ ทราบปั ญหา อุปสรรคเกี่ยวกับการเรี ยน การสอนทังจากอาจารย์ ้ ผ้ สู อนและจากนักศึกษาผู้เรี ยนรายวิชานัน้ ๆ 1.3 การติดตามประเมินผลการเรียนการสอน 1.3.1 ในช่วง 2-3 สัปดาห์สดุ ท้ ายของการเรี ยนการสอน จัดให้ มีการประเมินผลผู้สอน โดยผู้เรี ยน ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง และผู้สอนได้ รับการประเมินผลรายวิชาโดยคณะฯ 1.3.2 เมื่อสิ ้นสุดภาคการศึกษา สาขาวิชาติดตามผลการประเมินคุณภาพการสอน และ การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรี ยนโดยอาศัยกลไกคณะกรรมการมาตรฐานวิชาการประจาสาขาวิชา 1.3.3 เมื่อสิ ้นสุดการเรี ยนการสอนแต่ละปี หัวหน้ าหลักสูตรติดตามผลการประเมิน คุณภาพการสอน 1.4 การติดตามประเมินผลหลักสูตร 1.4.1 เมื่อสิ ้นสุดแต่ละปี การศึกษา หัวหน้ าหลักสูตรจัดประชุมสัมมนาคณาจารย์ประจา หลักสูตรเพื่อวิเคราะห์ผลการดาเนินงานประจาปี เพื่อรวบรวมข้ อมูลเกี่ยวกับสภาพ ปั ญหา อุปสรรค และข้ อเสนอแนะ สาหรับใช้ ในการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน ตลอดจนปั จจัยต่าง ๆ ที่สง่ ผล กระทบต่อคุณภาพของหลักสูตร และจัดทารายงานผลการดาเนินงานหลักสูตรเสนอต่อคณบดี 1.4 2 เมื่อครบรอบ 4 ปี แต่งตังกรรมการผู ้ ้ ทรงคุณวุฒิเพื่อประเมินผลการดาเนินงาน ของหลักสูตร โดยประเมินจากการรายงานผลการดาเนินงานหลักสูตร การเยี่ยมชม 1.4.3 แต่งตังคณะกรรมการปรั ้ บปรุงหลักสูตรตามหลักเกณฑ์ของสกอ. เพื่อให้ มีการ ปรับปรุงหลักสูตรอย่างน้ อยทุก 5 ปี โดยนาความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ บัณฑิต และผู้ใช้ บณ ั ฑิต รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกี่ยวข้ องกับคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของบัณฑิต มาประกอบการพิจารณา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
119
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน หัวหน้ าหลักสูตร ทาหน้ าที่วางแผนการดาเนินงานและจัดทางบประมาณประจาปี ให้ สอดคล้ อง กับรายได้ และค่าใช้ จ่ายที่จะเกิดขึ ้น และเสนอขออนุมตั ิงบประมาณต่อมหาวิทยาลัย โดยผ่านการ เห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะ เพื่อจัดให้ มีห้องปฏิบตั ิการ วัสดุ ครุภณ ั ฑ์และอุปกรณ์ เฉพาะทางในการฝึ กปฏิบตั กิ ารทังในและนอกห้ ้ องปฏิบตั ิการของสาขาวิชา ในรายวิชาที่นกั ศึกษาต้ อง ฝึ กภาคปฏิบตั ิ การจัดหาและสัง่ ซื ้อทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้ บริการแก่นกั ศึกษาในหอสมุดกลาง ของมหาวิทยาลัย รวมทังการบริ ้ หารการใช้ ทรัพยากรการเรี ยนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี รองคณบดีฝ่ายบริหารเป็ นผู้กากับดูแล 2.1 การบริหารงบประมาณ การบริหารงบประมาณเป็ นไปตามระเบียบและแนวทางที่มหาวิทยาลัยและคณะกาหนดไว้ ทังนี ้ ้อยูใ่ นกรอบของจานวนเงินงบประมาณที่ได้ รับอนุมตั ิ 2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม การบริหารความพร้ อมของทรัพยากรการเรี ยนการสอน ตารา หนังสืออ้ างอิง เอกสาร อุปกรณ์ การเรี ยนการสอน ห้ องปฏิบตั ิการ ห้ องสมุด สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยู่เดิม เป็ นไปตามแนวนโยบาย ระเบียบ และแนวปฏิบตั ิที่หลักสูตรสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้ องและ/หรื อหน่วยงานส่วนกลาง ของมหาวิทยาลัยเป็ นผู้รับผิดชอบ โดยสาขาวิชารับผิดชอบประสานงานเกี่ยวกับความต้ องการ ปั ญหา อุปสรรคการใช้ ทรัพยากรกับหน่วยต่าง ๆ ดังกล่าว 2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม 2.3.1 ฝ่ ายเทคโนโลยีและสารสนเทศของมหาวิทยาลัย จัดสรรงบประมาณประจาปี ในการจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอน ตารา วารสารทางวิชาการ ฐานข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 2.3.2 สาขาวิชา โดยหัวหน้ าหลักสูตรและอาจารย์ผ้ สู อนเสนอความต้ องการทรัพยากร เพื่อการจัดหาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง 2.3.3 คณาจารย์ประชุมร่วมกันเพื่อจัดทาข้ อเสนอแนะสาหรับงบประมาณครุภณ ั ฑ์และ อุปกรณ์การเรี ยน โดยผ่านคณะกรรมการประจาคณะ 2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร 2.4.1 สารวจความต้ องการทรัพยากรการเรี ยนการสอนจากผู้สอนและผู้เรี ยนเป็ นประจาทุกปี 2.4.2 ประเมินความเพียงพอของทรัพยากรกรเรี ยนการสอนของทุกรายวิชา 2.4.3 สารวจและระบุแหล่งทรัพยากรการเรียนการสอนในคณะและในมหาวิทยาลัย ที่ผ้ สู อน และผู้เรี ยนสามารถใช้ บริการได้
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
120
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3. การบริหารคณาจารย์ 3.1 การรับอาจารย์ ใหม่ 3.1.1 การกาหนดคุณสมบัติ 3.1.1.1 คุณสมบัติทวั่ ไปเป็ นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 3.1.1.2 คุณสมบัติเฉพาะของผู้สมัคร โดยทัว่ ไปมีดงั นี ้ (1) สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้ านนิเทศศาสตร์ หรื อ (2) สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทด้ านนิเทศศาสตร์ หรื อสาขาวิชาที่เกี่ยวข้ อง และ มีคณ ุ วุฒิปริญญาตรี ด้านนิเทศศาสตร์ โดยมีผลงานทางวิชาการหรื อผลงานวิจยั ด้ านวารสารศาสตร์ กบั สื่อใหม่ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ภาพเคลื่อนไหว และ/หรื อ มีประสบการณ์ใน การสอนด้ านวารสารศาสตร์ กบั สื่อใหม่ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ภาพเคลื่อนไหว ไม่น้อยกว่า 3 ปี หรื อ (3) สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทด้ านนิเทศศาสตร์ หรื อสาขาวิชาที่เกี่ยวข้ อง และ มีคณ ุ วุฒิปริญญาตรี ด้านนิเทศศาสตร์ โดยมีประสบการณ์ทางานวิชาชีพด้ านวารสารศาสตร์ กบั สื่อใหม่ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ภาพเคลื่อนไหว ไม่น้อยกว่า 5 ปี ทังนี ้ ้ รายละเอียดคุณสมบัติเฉพาะอาจปรับเปลี่ยนให้ สอดคล้ องกับตามความต้ องการของ หลักสูตรในแต่ละช่วง 3.1.2 การคัดเลือก 3.1.2.1 อธิการบดีแต่งตังคณะกรรมการสอบคั ้ ดเลือกอาจารย์ใหม่ประจาหลักสูตร เพื่อ ทาหน้ าที่ดาเนินการสอบคัดเลือกอาจารย์ใหม่ตามเกณฑ์คณ ุ สมบัติที่กาหนด 3.1.2.2 ผู้สมัครต้ องผ่านการสอบข้ อเขียน สอบสอน และสอบสัมภาษณ์ เพื่อประเมิน และเปรี ยบเทียบศักยภาพในการเป็ นอาจารย์ผ้ สู อน 3.2 การมีส่วนร่ วมของคณาจารย์ ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร 3.2.1 จัดประชุมคณาจารย์ในสาขาวิชา เดือนละ 1 ครัง้ เพื่อแจ้ งและร่วมพิจารณา การดาเนินงาน รวมทังติ ้ ดตามการดาเนินงานตามแผนงานประจาปี ของสาขาวิชา 3.2.2 สารวจความต้ องการจากคณาจารย์ผ้ ทู ี่เกี่ยวข้ อง เพื่อเป็ นข้ อมูลในการปรับปรุ งหลักสูตร 3.3 การแต่ งตัง้ คณาจารย์ พเิ ศษ 3.3.1 มหาวิทยาลัยมีนโยบายในการเชิญผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอกมาร่วมสอนบางรายวิชา หรื อ ร่วมเป็ นวิทยากรพิเศษในบางหัวข้ อที่ต้องการผู้มีประสบการณ์จริงในวิชาชีพ 3.3.2 สาขาวิชากาหนดเกณฑ์และแนวทางการคัดกรองผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอกเพื่อเชิญเป็ น อาจารย์พิเศษ เช่น คุณวุฒทิ างการศึกษา ผลงานทางวิชาการ ตาแหน่งงานและประสบการณ์ ในวิชาชีพ เป็ นต้ น 3.3.3 ขออนุมตั ิเชิญผู้ทรงคุณวุฒิที่ผา่ นการคัดกรองตามเกณฑ์ให้ เป็ นอาจารย์พิเศษ 3.3.4 อาจารย์พิเศษที่สอนประจาหรื อสอนร่วมประจารายวิชาต้ องมีแผนการสอน ตามคาอธิบายรายวิชาที่หลักสูตรกาหนดไว้ โดยประสานงานกับหัวหน้ าหลักสูตร หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
121
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน 4.1 การกาหนดคุณสมบัตเิ ฉพาะสาหรับตาแหน่ ง 4.1.1 คณะและมหาวิทยาลัยมีการกาหนดคุณสมบัติบคุ ลากรสายสนับสนุนตรงตาม ภาระหน้ าที่ที่ต้องรับผิดชอบก่อนการสอบคัดเลือกเข้ าปฏิบตั ิงาน 4.1.2 คณะและมหาวิทยาลัยมีระบบการสอบแข่งขันเพื่อคัดเลือกบุคคลเข้ าบรรจุทดลอง ปฏิบตั ิงาน 4.2 การเพิ่มทักษะความรู้เพื่อการปฏิบตั งิ าน 4.2.1 คณะและมหาวิทยาลัยมีการจัดประชุม การฝึ กอบรมเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานในหน้ าที่ และการบริหารงานที่เกี่ยวข้ องแก่พนักงานสายสนับสนุน 4.2.2 คณะและมหาวิทยาลัยจัดระบบการพัฒนาบุคลากรโดยจัดระบบการศึกษาดูงานภายใน และต่างประเทศ รวมทังจั ้ ดการสัมมนาและฝึ กอบรมแก่พนักงานอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทางาน 5. การสนับสนุนและการให้ คาแนะนานักศึกษา 5.1 การให้ คาปรึกษาด้ านวิชาการและอื่น ๆ แก่ นักศึกษา 5.1.1 หัวหน้ าหลักสูตร พิจารณาเสนอรายชื่ออาจารย์ในสาขาวิชาเพื่อขอแต่งตังเป็ ้ นอาจารย์ ที่ปรึกษาต่อคณบดี 5.1.1.1 อาจารย์ที่ปรึกษา มีหน้ าที่ให้ คาแนะนาปรึกษาทางวิชาการแก่นกั ศึกษา ครอบคลุมกรณีที่นกั ศึกษามีปัญหาการเรียน การปรับตัว ให้ คาแนะนาในการลงทะเบียน การเลือก เรี ยนในกลุม่ หรื อรายวิชาที่เหมาะสมกับความสนใจและความถนัด การเลือกแผนการเรี ยน การ ฝึ กงานหรื อการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา 5.1.1.2 อาจารย์ที่ปรึกษา มีหน้ าที่ให้ คาแนะนาปรึกษาด้ านกิจกรรมแก่นกั ศึกษา โดยให้ คาแนะนาและสนับสนุนการทากิจกรรมเสริมหลักสูตร และการเข้ าร่วมกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ทังในระดั ้ บคณะและมหาวิทยาลัย 5.1.2 มีคณะกรรมการกิจการนักศึกษาในระดับคณะ ทาหน้ าที่สง่ เสริม สนับสนุน ให้ คาแนะนา และจัดกิจกรรมอันเป็ นประโยชน์แก่นกั ศึกษาทังรายบุ ้ คคลและรายกลุม่ 5.1.3 จัดระบบแนะแนวรวม โดยการจัดประชุมนักศึกษาเป็ นกลุม่ จาแนกตามชันปี ้ เพื่อให้ ข้อมูล และคาแนะนาเกี่ยวกับการเตรี ยมตัวลงทะเบียนเรี ยน การเลือกรายวิชา การฝึ กงาน การเตรี ยมตัว ประกอบอาชีพ และอื่น ๆ 5.1.4 จัดระบบการดูแลนักศึกษาที่ประสบปั ญหาเกรดเฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ โดยมีคลินิควิทยา ทัณฑ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
122
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
5.2 การอุทธรณ์ ของนักศึกษา คณะต้ องมีการจัดระบบที่เปิ ดโอกาสให้ นกั ศึกษาอุทธรณ์ในเรื่ องต่าง ๆ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเด็นเกี่ยวกับวิชาการ การเรี ยนการสอน และกิจกรรมเสริมหลักสูตร ซึง่ มีผลเกี่ยวเนื่องกับ คุณภาพของหลักสูตรและนักศึกษา โดยกาหนดระเบียบการอุทธรณ์และกระบวนการพิจารณาคา อุทธรณ์ที่เป็ นธรรมและไม่ก่อให้ เกิดผลกระทบเชิงลบแก่นกั ศึกษาผู้อทุ ธรณ์ 6. ความต้ องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้ บัณฑิต 6.1 สาขาวิชาร่วมกับคณะกรรมการฝ่ ายวิชาการของคณะ จัดการสารวจความต้ องการของ ตลาดงาน และความพึงพอใจของผู้ใช้ บณ ั ฑิต ก่อนการปรับปรุงหลักสูตรเดิมหรื อการพัฒนา หลักสูตรใหม่ 6.2 ติดตามข้ อมูลเกี่ยวกับความรู้และทักษะที่พงึ ประสงค์ของวิชาชีพนวัตกรรมสื่อสารมวลชนซึง่ เปลี่ยนแปลงตามสภาพการขยายตัวและการแข่งขันของธุรกิจ รวมทังความก้ ้ าวหน้ าของเทคโนโลยี การสื่อสาร 6.3 มีแผนการสารวจความพึงพอใจของผู้ใช้ บณ ั ฑิตเมื่อครบรอบหลักสูตร 4 ปี เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูล ในการปรับปรุงหลักสูตรครัง้ ต่อไป 6.4 กาหนดแนวทางการประเมินคุณภาพของบัณฑิต โดยพิจารณาจากปั จจัยความต้ องการ ของตลาดแรงงาน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
123
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
7. ตัวบ่ งชีผ้ ลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators) (ปรับตัวบ่งชี ้ผลการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิให้ เหมาะสมโดยเป็ นไปตามหนังสือที่ ศธ.0506(1)/ว1639 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2558 และได้ รับการอนุมตั ิ/เห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยในการประชุมครัง้ ที่ 3/2559 เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2559) ปี ปี ปี ปี ดัชนีบ่งชีผ้ ลการดาเนินงาน ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ปี ที่ 3 ปี ที่ 4 ปี ที่ 5 ) ) ) ) (1) อาจารย์ผ้ รู ับผิดชอบหลักสูตรระดับปริญญาตรี อย่างน้ อย 4 x x x x x คน และอาจารย์ผ้ รู ับผิดชอบหลักสูตรระดับปริ ญญาโท/เอก อย่างน้ อย 3 คน ที่มีสว่ นร่วมในการประชุมแต่ละครัง้ เพื่อ วางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร ) ) ) ) (2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้ อง x x x x x กับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรื อ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ ามี) ) ) ) ) (3) มี ราย ล ะ เอี ย ด ข อ งราย วิ ช าแ ล ะ ราย ล ะ เอี ย ด ข อ ง x x x x x ประสบการณ์ ภ าคสนาม (ถ้ า มี ) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้ อยก่อนการเปิ ดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ให้ ครบทุกรายวิชา ) ) ) ) (4) จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงาน x x x x x ผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ ามี) ตาม แบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ น้ สุด การ สอบวัน สุด ท้ ายของภาคการศึก ษาที่ เปิ ด สอนให้ ค รบทุก รายวิชา ) ) ) ) (5) จัด ท ารายงานผลการด าเนิ น การของหลัก สูต รตามแบบ x x x x x มคอ.7 ก่ อ นการตรวจประเมิ น หลัก สูต รแต่ไม่ เกิ น 60 วัน (6)
(7)
(8) (9)
หลังสิ ้นสุด ปี การศึกษา มี การทวนสอบผลการเรี ยนรู้ ของนักศึกษาตามมาตรฐาน ผลการเรี ยนรู้ที่กาหนด อย่างน้ อยร้ อยละ 40 ของรายวิชาใน หมวดวิชาเฉพาะด้ าน กลุ่มวิชาแกนและกลุ่มวิชาเอกที่เปิ ด สอนในแต่ละปี การศึกษาของทุกหลักสูตร มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรี ยนการสอน กลยุทธ์การสอน หรื อ การประเมินผลการเรี ยนรู้จากผลการประเมินการ ดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปี ที่แล้ ว อาจารย์ ใ หม่ (ถ้ ามี ) ทุ ก คนได้ รั บ การปฐมนิ เ ทศหรื อ คาแนะนาด้ านการจัดการเรี ยนการสอน อาจารย์ ประจาทุกคนได้ รับการพัฒ นาทางวิชาการ และ/ หรื อวิชาชีพอย่างน้ อยปี ละหนึง่ ครัง้
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
124
) x
) x
)
x
) x
) x
x
)
)
x
x
) x
) x
)
)
)
)
)
x
x
x
)
)
)
)
) x
x
x
x
)
)
)
) x
)
ปี
) x
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ปี ปี ปี ดัชนีบ่งชีผ้ ลการดาเนินงาน ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ปี ที่ 3 ปี ที่ 4 ) ) ) (10) จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรี ยนการสอน (ถ้ ามี) ได้ รับ x x x x การพัฒนาวิชาการ และ/หรื อวิชาชีพไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50 ต่อปี ) (11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปี สดุ ท้ าย/บัณฑิตใหม่ที่มี x ต่อคุณ ภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนน เต็ม 5.00 (12) ระดับ ความพึ ง พอใจของผู้ใช้ บัณ ฑิ ต ที่ มี ต่ อ บัณ ฑิ ต ใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
ปี ปี ปี ที่ 5 ) ) x )
) x ) x
หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุ งการดาเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธิผลการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธ์ การสอน 1.1.1 จัดการประชุมสัมมนาร่วมกันของคณาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อรับฟั งข้ อเสนอแนะและ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การสอนที่มีประสิทธิผล เพื่อนาไปปรับใช้ ในการวางแผน กลยุทธ์การสอน 1.1.2 อาจารย์ผ้ สู อนประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการเรียนรู้ โดยสังเกตจาก พฤติกรรมการแสดงออก การทากิจกรรมในรายวิชา และผลการสอบ 1.1.3 อาจารย์ผ้ สู อนประเมินประสิทธิผลการเรี ยนรู้ของนักศึกษา ในระหว่างภาคการศึกษา โดยใช้ แบบสอบถามหรื อการสนทนากลุม่ 1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ ในการใช้ แผนกลยุทธ์ การสอน 1.2.1 จัดการประเมินการสอนโดยนักศึกษาผู้เรี ยน ทุกปลายภาคการศึกษา โดยใช้ แบบ ประเมินการสอนที่มหาวิทยาลัยออกแบบไว้ และให้ บริการสาหรับนักศึกษาสามารถเข้ าถึงได้ ทาง เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย 1.2.2 ให้ มีการประเมินการสอนโดยอาจารย์ผ้ สู อน โดยวิเคราะห์จดุ แข็ง จุดอ่อนของกลยุทธ์ ผลการเรี ยนของนักศึกษา และเขียนไว้ ในรายงานรายวิชา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
125
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 2.1 ประเมินจากนักศึกษาปั จจุบนั และบัณฑิตใหม่ที่สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร โดยใช้ แบบสอบถามเพื่อเก็บข้ อมูลในวันปั จฉิมนิเทศ การสัมภาษณ์กลุม่ ย่อยกับตัวแทนของนักศึกษา และ การเปิ ดรับข้ อมูลป้อนกลับจากนักศึกษาและบัณฑิตผ่านเว็บไซต์ของคณะ 2.2 ประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ และ/หรือ ผู้ประเมินภายนอก โดยดูจากรายงานผลการดาเนินงาน หลักสูตร และการเยี่ยมชม 2.3 ประเมินจากนายจ้ างหรื อผู้ใช้ บณ ั ฑิต หรื อผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ อง โดยพิจารณาความพึงพอใจ ต่อคุณภาพของบัณฑิต และการวิพากษ์ หลักสูตร 3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร ประเมินคุณภาพการศึกษาประจาปี ตามตัวบ่งชี ้ในหมวดที่ 7 ข้ อ 7 โดยคณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายในระดับสาขาวิชาที่แต่งตังโดยคณบดี ้ 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง 4.1 ในระดับรายวิชา ให้ อาจารย์ผ้ สู อนประจาวิชา ทบทวนผลการประเมินประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของการสอนในรายวิชาที่รับผิดชอบในระหว่างภาคการศึกษา ในกรณีที่จาเป็ นก็ให้ ปรับปรุง ได้ ทนั ที และให้ อาจารย์ผ้ สู อนจัดทารายงานผลการดาเนินงานรายวิชาเสนอต่อหัวหน้ าหลักสูตร เมื่อสิ ้น ภาคการศึกษา 4.2 ในระดับสาขาวิชา 4.2.1 หัวหน้ าหลักสูตรติดตามผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี ้ ในหมวดที่ 7 ข้ อ 7 จาก การประเมินคุณภาพภายในของสาขาวิชา 4.2.2 หัวหน้ าหลักสูตรจัดทาสรุปผลการดาเนินงานหลักสูตรประจาปี โดยรวบรวมข้ อมูล การประเมินประสิทธิผลของการสอน รายงานผลการดาเนินงานของรายวิชา รายงานผลการดาเนินงาน ของประสบการณ์ภาคสนาม รายงานผลการประเมินการสอนและสิ่งอานวยความสะดวก รายงานผล การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา รายงานผลการประเมินหลักสูตร รายงานผลการประเมิน คุณภาพภายใน ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ 4.2.3 หัวหน้ าหลักสูตรจัดประชุมคณาจารย์ประจาสาขาวิชา เพื่อพิจารณาทบทวนรายงาน สรุปผลการดาเนินงานหลักสูตรในข้ อ 4.2.2 เพื่อวางแผนปรับปรุงการดาเนินงานสาหรับใช้ ใน ปี การศึกษาต่อไป และจัดทารายงานผลการดาเนินงานหลักสูตรเพื่อเสนอต่อคณบดี
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
126
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
เอกสารแนบ ภาคผนวก ก. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การศึกษาระบบหน่วยกิต ขันปริ ้ ญญาบัณฑิต พ.ศ.2545 ภาคผนวก ข. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การศึกษาระบบหน่ วยกิตขันปริ ้ ญญาบัณฑิต (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554 ภาคผนวก ค. ระเบี ย บมหาวิ ท ยาลัย หอการค้ า ไทย ว่าด้ ว ย การเที ย บโอนหน่ ว ยกิ ต ในการเข้ าศึก ษา หลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ภาคผนวก ง. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ จากการศึกษานอกระบบและ/หรื อการศึกษาตามอัธยาศัยเข้ าสู่การศึกษาในระบบ ตาม หลักสูตรระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2547 ภาคผนวก จ. ตารางเปรี ยบเทียบหลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 กับหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 ภาคผนวก ฉ. การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ และแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการ เรี ยนรู้จากหลักสูตรสูร่ ายวิชา ของหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2557 ภาคผนวก ช. ค าสั่ง สภามหาวิ ท ยาลัย หอการค้ า ไทยที่ 6 /2559 เรื่ อ งแต่ง ตัง้ คณะกรรมการพัฒ นา หลักสูตร ภาคผนวก ซ. ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตร
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
127
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน
128
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ภาคผนวก ก
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
128
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
129
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
130
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
131
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
132
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
133
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
134
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
135
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
136
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ยวา่ ดว้ ย ท ไ ้ า ค ร า ก อ 2554 ิ ยาลัยห ท ว . า ศ ห . ม พ บ ) ย ี ่ 3 บ ี เ ะ ฉบับท ( ต ิ ฑ ยกเลิกตามร ณ ั บ า ั ้ ปรญญ น ข ต ิ ก ย ว ่ น ห บบ การศึกษาระ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
137
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
138
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
139
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
(1i1L'U1) 'i:aij!!U2JVl1 'VI!!1r!!Vlllm'iA11'VI!! ti
_
";I1IM";I!! m'iPln'l:f1'i:lUUVI'U";I!!nlM'!I'U'U'i'Y'kI1UnI'rIlM ('ilUU'VI 3) 'W.P!. 2554 I
..,
•
_
...,
..
..
Q.I'
L t'ltlY2-J'\.ni)'Vlmiu'"t'ln11 1i.'VlUUddt!"''Ufinr.mintun1j* flVl1rtl.\-ii 1lYiJim!ttl.\ Yl,nJj::;t'l f'1 12-J flMin1ffil" t'l 2-J,"1i)'Vlmiu mh'J t'l iJPll'J12-J1 f "'jij.J'U1IMULt'l-:Jt'lfi1 vit'lLrtt'l LLfl::;iJJ11'nin1ffil"'Vl1 1n"lj
Ut'l1nfl
U1Unt'lJ112-J," 1i)'VlU1iUt'l1filUthU1"1 1M 12-J Pll'J 12-J1U2-J11Mj1 34(2) LL1A-:J'n j::;11"ilU'Y 'Y"iit'l fi 1UU L'l2-J m!t1 Lt'ln"ilU 'n.I"I. 2546 LLti1."ilL 2-JL 2-J ('ilU1J 2) 'n.I"I. 2550 LLfl::;2-J t'lJ112-J,"1i)'Vlmiu'"t'lmj 1i.'VlU l.umjtl1::;'2-JPllf-:J 5/2554 (286) Ldt'lt)u 23 numuu 2554
LLti1."ilL 2-JL 2-Jj LUUU2-J,"1i)'Vlmiu'"t'lmj 1i.'VlU 11f'JU n1j m!t1 vit'li.t1d
1 uu,"u'Jun ium'YqnUtl.\-ii 'n.I"I. 2545
;)t'l 1 j LuuuuC1un 1 "j LUUU2-J,"1i)'Vlmiu'"t'ln1j hi.'VlU 11f'JU n1j n'1:t1j uu,"u'Jun ium'YqJ1 Utl.\-ii ('ilUUVl3) 'n.I"I. 2554" .
;)t'l 2 j::;LUUUU1.lY1;rU f"l1J't!ur;i LLvit)u5L'1"11ntu ) tlj ml"l LtlU Ui.t1 ;)t'l 31.lYumfln;)t'lPll'J12-JLL1A j LUU1J 11f'JU mj mt1j uu,"u'JunPlium'Yqj1utl.\-ii1M 'n.1"I.2545 ;)t'l 24 "
mjl.lYt'l'ltm'Y'Y1 LLfl::;1.lY1;r;)t'lPll'J12-Jvit'li.t1U LL'VlU t'lt'lUi. i.IfPll 1UVJ nin'l!ttl.\ i)"il1 PI 12-J,"i n IMjm'Y ry1P11LLfl::;i.1fLL 2-Jj::; U Pll ::;LL UUL'il U ,"in P11 1n 1Lntl.\erIn1j 1Ll"1m1 n'l!t11 t
t'l2-J P1flt'l L'I
umqJry1P11 LLvi'W 1n 1'"rt-:J'L'lL L'I"'1"11nj U1J LL 2-Jj::; UPll::;LLUU
fUt'l'ltm'Y'Y1
25.1.6 t'lU 1U;rt'lt'lt'l1Jt)L'l2-J1 j31UPll'J12-JlIf1UJ11'l!t1f n 'l!t jn"l1f1UL'VlPll1 U1fl t'l1j UL'Vl1"I LLfl
1UU1,"1j jn" 1M12-JLntl.\"rI 2-J,"1i)'Vlmimi1,"UL'lH ,"1n'l!n n'l!t1i.lJt'l12-J1dflt'lt'lU 1UPlldU -:Jt'l12-J 1U 'l!n n'l!t1 " 'Wt'l12-J1dfl!jU"ilt'l 1Ll"m1 n'l!t1i.1f m1t'lt'lU 1U;)t'lt'lt'lUt)L'l2-J1 131UPll'J12-Jl U "I::;L12-J U1;rU f"lU 1,"fu'I!n n'l!t1 .
"
.
ViL;r1 n'l!t1r;i LLl'itlm1 n'l!t1 2555 LtlU Ui.t1 .
"
t1j ml"l
tl.\ t)UVl .
1'1
(fl-:J t'l)
I9jfl1Pll2-J 'n.1"I.2554 ; iu ,"1'YL"Iuin'l!tnl' (L'ld.;-:Jiu ,"1qJL"Iuin'l!tnJ) t1u1Unt'lJ112-J,"1i)'VlU1iU
,yhWU1Vl LL'VlUU1unt'lJ112-J,"1i)'Vlmiu .
1LU1 n t'l
p'''JI'f''rl
If-,/
I
(ffi 1"I1 lMj1"11dtJ L'lj. i.j'J11tl.\ flUt'lC1P1tJ) dt'l t'lfin1du
1ui)"il1n11
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
140
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
.
,
.!
..
(tT1&U1) q
~
'
OJ
71
'j~&lJUlJ~'t111'tlU1t1U't18f1l'j~1 ,
71
q"
,~
~
71 '"
OJ
q
IUfIl'j&'U1Rn'tj1't1t1ntJ~'j'j~(;1lJ1J'jWW1~'j
1~£I~'VI'j~'j1'lf'ii'illru~
1&&11~'lf1~ 'VI.fI'. \J;IJ ~ d ~
&1 £ltJ 1)1 fl fl1'j ffflfJ 1 1 tJ 'j~ lJ lJ
..to
fl1'jffflfJ
to
.,
."",.s
I
'VI'j~ 'j1'lflJ'ill'illto tofI fl1'jfl'flfJ
V1ff£lfl1tJ
_I~
G> ~
&& 11~
.,
.s
" ...
c:.i/\.9J~dc:.i (\.9JdG» &~V1tJfI'fl1tl
71 IJ]
I
71
""
"i
I
~
I'VI£I 11~1£1 fl1'j&'VI£llJ IVtJMtJ1£1flfl
1
G>b itJ11tl]J 71'" tJfl1'j&'U1f1'flfJ1
"
""
IJ]91" ""
M~fl'tYfI'j'j~~lJ1J'j'ill'ill1f1'j
to
fl1'j
&..;1Vfl8lJ 'tYtJV~ tJ 1 'lfty1
,.,.,~
'" "" ~ 1 71 "" ""., \.9J~dc:.i 1)~]J]JfI MVVfl'j~&lJ£llJ]JM11'V1£11~£lMVfl1'jtl1 .,
&tl£llJ 18tJN~
1 1)fl1]J tl11]J 1 tJ]J 1f1 'j 1
~
'tY.tl1]JM11'V1£11-li£l1tJfl1'jtJ'j~'lf]Jtl1~tl
..to
n1MtJ~ 1 M]jfl1'j
1 && M~ 'lf1f1 'VI.fI'. \J;IJ ~ d \.9J && ~ ~ ]J1f1 'j 1 GYJ d && M ~'VI'j ~ 'j l'lflJ'ill'illfl ]JfI'flfJ 1 to to 'tY() llJ tJ V~ .
..
'VI.fI'.~~db
'Vi.R. ~~ dc:.i
to
fl1'j fffl fJ 1tJ 8fl'j ~ lJ lJ &&~~ fl1'j ffflfJ 1 fl1]J ij:fi £11ff£l
fl1 'j ffflfJ 1f1 ~V~.:Jf1f1 && ~~ 'U£11£I1 V fl1 'tY'VI1~fl1'jffflfJ1
.,
OJ _t=
11(;11U fIl'j&'tlUlJ 18U't1U1Un~
to
&Vfl'lftJ
'tlU
'VI.fI'.\.9J~dc:.i
11~~tJ
"
.fJv G> 'j~&,j£llJ,j&1£1fl11
"'j~&,j£llJ]JM11'V1£11-li£lMvm'jfJ11
91 '" OJ ., _I~ m'j&'U1f1'flfJ1M~fl'tYfI'j'j~~lJ1J'j'ill'ill1f1'j ..to
"" 'VI.fI'. \.9J~dc:.i " to
"
.fJv \Q) 'j~&,j£llJ,j1M1
'VI£I 11f11£1 m'j&tl£llJ 1 VtJMU1£1ftfl 1 tJ
.
.ff'ii~tilJnlJiJflffflfJ1tl'UV&tl£llJ
1 VtJMU1£1ftfl
1)lflfl1'jffflfJ1
1 tJ'j~lJlJ
ff1M1lJ
" M-lifl'tYfI'j'j~\91'lJtJ~'ill'ill1f11 ..to
~~&&fI'1Jfl1'jffflfJ1
to
\.9J~dfJ
&11 tJ fltJ 1 tJ
.fJv GYJ
M-liflfffl'j'j~\91'lJ~1~'tY~fl11tJ~'ill'ill1f11
."
.fJv d
to
'VI.fI'. \.9J~dd
to
iJ flffflfJ1tl]jff'VIi'Uv&tl£llJ ,
d.G>
lvtJMu1£1ftfl
OJ~
"
'"
N1tJ m'jtl~&~Vfl&&~~'UtJ 'UV&tl£llJ 1 VtJMU1£1ftfl ""
""
.
flv~]jtlw'tY]J'ii~\91'~~v
'VI~&lJ£ltJ&lJtJtJ flfl'flfJ1 fl1'jti~&avfliJflffflfJ1
1tJ,j
. ""_I
'"
1
~OJ.s
..
tJ.tl1tl m'jfl'flfJ1'V11J'j~
'tY~tl 1)~
1 M&11tJ 1 tJfl1]JtJ'j~fl1f1"UV~
OJ
]JM11'V1£11~£I
d. \.9J &11tJM~V&tl£l&11tJiJ flffflfJ 1'UV~'tY()1'iitJ fl1'jffflfJ
. .
1'j~\91'lJV~]JffflfJ1~
'" ~ ~ 0 ., fl'j~'VI'j1~ff.flfJ1:fim'jM'jv'tY1tJfl~ltJtlW~fl'j'j]Jm'jm'jV~]JfI'flfJ1'jlJ'jV~
'"
OJ
M~ V M U 1 £I~1tJ 'UV ~1! ~]j fl1tJ 1 1)fl1]J fl tl M]J1 £l1lJ 'j V~ M ~ V &11tJ ~ff1 &~ 1)
" fl1'jffflfJ1'j~\91'lJV~tJ~tyty1M~V'j~\91'lJtJ'j~mfl',j£l'iifl'j1'J11.:Jf'VI';;tJ~~1)lfl OJ d '" ~ ~ 0 OJ 'tY()llJtJ'VIfl'j~'VI'j1~fI'flfJ1:fifl1'jM'jV'tY1tJfl~ltJtlW~fl'j'j]Jm'jm'jV~]JfI'flfJ1
'"
.,
1lJ'jV~
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
, i
I
141
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559 "',
I
,
i 31
d.Q)
. 11],"'.,
31
31
.,
"
111].""
\91fl~!lJlJ~f1lJill~\91fl~111lJlPl~\91fl!IJ1.A G»
...
!111.A NiJ 1 'jfl9ilPl~flflU1~r1tJ!!'j 4 f11'jfff1lJ1 ~
~ 1 'jfl~{{
'" '" '" 11'jfl\91lPltJ1!'ff~\911Pl
31'"
.1
'" ~
~
\.!;!» !1J1.AfjlJfl11lJIJ 'j~~tl\91!'fffllJ!~ Q» 31 '\Ifl ~
'
31
tJfltJ1~'j1tJ!! 'j ~
!111.AN1f1~'j)1\91 ..
'" '" '" f11'j!"tJ1J'j1tJ1'11'1!'jtJ1.A ~.G>
~fllJ'.J ~!titJ'j) 1 'jfl~!111.Afl11'ff'j'jfl~fl
1 31"'"
"
..."
11].1'"
11t)fl11~f1!f1illC}1IPl~\91fl!IJ1.A
...
!111.A 'j1tJ1'11'1 1 1.A 11i\f1'ff\91'j'j~~1JfllPllJfff1lJ l11~fl! ~tJ1J!'ti 1~ ff1ii f1~11.A
1 31
d '" '" "' 1 31 11fl11lJ! 111.A 'll'fl1J11'jfl!" tJ1Jfl ill 1\PJJ11
4
flill~ f1'j'jlJf)l'jf)l'jfllPllJfff1lJ1
."
..
.
~ .\.!;!) !111.A 'j1tJ1'11'111~flf1-dlJ'j1tJ1'11'1~iJ!i7fl111'ff1'j ~fl'jfl1Jfl~
lJ 1~iI fltJf111'ff1lJ 1 1.A-ff
'\Ifl~'j1tJ1'11'1~'\Ifl!~tJ1JllPltJ~'j)1'jill1'j)lf1fl1fli1J1tJ'j1tJ1'11'1\911lJ11i\f1'ff\91'j/'ff1'\111'11'1 ..
...
'\I fl ~ 'fft) 1'111.Afl IPllJfff1 lJ1! tjilJ! ~ tJ1J!fl tJ~fl1J fl1 fli 1J1 tJ'j1 tJ1 '11'1 \911lJ11i\ f1'ff\91'j /'ff1'\1 11'11'1 '\Ifl~lJ1111"tJ1i\tJ11flf)l'j~11"tJ ~.Q)
!111.A'j 1 tJ1'11'1 1 1.A11lJ11Pl1'11'1f11'jfff1lJ1.rr1 1 1111lJ11Pl1'11'1!t1 ~1~f111.A 1'11'1!flf11'11'1
I
""""""
'"
'"
19i'1Vf1lJ'j(letter grade) 1~~1f111
.,
11]111]31 1
",d
!!f11.A11'jfl1'11'1'11'~1'11'1 "!!~~11lJ11Pl1'11'1!~flf1!'ff'j
"'fffl1J
!~!1Pl 1.A'j~IPl1Jfl~!!1.A1.A
C 11~fl!!"lJ'j~~1Jfl~!!1.A1.A(grade
11~fl!~tJ1J!'ti11IPltJ1~"fl~~'j)1'jill1'j~~1Jfl~!!1.A1.A19i'1Vf1lJ'j
point) ~.oo
(letter grade)
'\Ifl~l'11'l
d31 4' ., "\91fl~fff1lJlf1fl1.A\911lJ11~f1'ff\91'j .. 31
'\I fl b
.,
4
d
1
'"
1.Af1fff1 lJ 1" '\Ifl!"
I
'"
31
~
"' 1
.31'
"
..
d 31
4
.
.tl1tJ11.AG>d
'"
'"
tJ1J fl1.A111.A 1tJf1\91 'j)~\91fl~tJ1.A fl1'jfl~\91 flflill 1J1Pl1.A flill~1'11'1"\91fl~ f11'jfff1lJ 1
'"
fllf)l'j1J1Pl 31
'\Ifl ~ f)l'jfff1lJ1
.,
~
d1l] 31"
.
""'
1 31'"
1
""
31
4
~
11] , 31
,~
';'1
1.Af1nf1lJ1" !1Pl'j1Jfl1.AlJ\91 11!"tJ1J fl1.A111.A1tJf1\91'j)~\91fl~fff1lJ1!1J1.A'j~tJ~!1~1 !lJ1.AfltJm1111.A~IJ
1 IPltJ'j)~"fl~~~"~!,j
tJ1.A fff1lJ 11 1.A 'fffl~.tl1flf)l'jfff1lJ
~~,,~ !,jtJ1.Afff1lJ1 1~iI fltJf111rfltJ~~
111f19i!! 'j f11~~1f111
G>c:;I11~ 1tJti\91!!~~
\.!;!)~ '\Ifl~ ~ 11.A 11.A 11~ 1tJti\91'j1lJ\91~fllPl11i\ f1'ff\91'j .. ~~ 'j)~iJff"i
ff1!~'j)
4
f11'jfff1lJ1
" (]fl c:;I f11'j!~tJ1J"11.A~.j{1.AiJ'\Ifl~iif1fff1lJ1!~tJ1J
... .
c:;I.G> iif1fff1lJ1~1f1'.J1Jfl1.A~9i1,r!~tJ1J
"
lfl1.A lfl1.A11~1tJti\911~!ti1.A Q)\.!;!)11~1tJti\91 1,r!~tJ1J"11.A~
!111.Aiif1fff1lJ1.j{1.AiJ~ G>
." c:;I.~
.
iif1fff1lJ1~1f1'.J1Jfl1.A~9i1,r!~tJ1J
lfl1.A11~1tJti\91I9i'~!!~ Q)Q) 11~1tJti\91 !!~1~!ti1.A
"
.
11~1tJti\91 1 ,r!~tJ1J"l1.A~!111.Aii f1fff1lJ1.r;1.AiJ~ \.!;!)
." c:;I.Q)
iif1fff1lJ1~
.
1f1'.J1Jfl1.A~9i1,r!~tJ1J lfl1.A11~1tJti\91I9i'~!!~ b b 11~1tJti\91!!~1~!ti1.A f1c:;I
"
.
11~1tJti\91 1 ,r!~tJ1J"l1.A~!111.A ii f1fff1lJ1.r;1.AiJ~ Q)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
142
\.I;!J
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
b~
.,
(
i
. .""
r;:/.d
."
iififffifJ1\11"'i'1Jfl1.!~~1M!\1tJ1J i11.!~!111.!iififffifJ1.J1'1.!tI\1
tflfl f1 iififffifJ1!\1tJ1J 3J
OI.oi
'"
f1f1 Mtl1tJti~i1j1.! 1,j
1M!\1tJ1J
d
1 fl1.! 'iJ~"fl~.J111~fi1~11~!ijtJ~m1!\1tJ1J
1IJ3J0I .1'"
"16 G)O 1.!fifffifJ1'iJ~
1 fl1.!Mtl1tJti~fI~!!19i
.
"""
1 fl1.!~1~,j1~mff"1fl~~Mn'VltJ1-f1tJ
1IJ3J
t~11J1J1'fU'fU1!fitJ1~1.!tJ~M1fi " "
",.oi
1IJ I~
t~~~'Vl~!1JtJ1.!fffifJ1
'3J
t~~lm11fltJ~~
~ti
"1fl~
...
" Mtl1tJti~,j1.!,j~'fU'fU111wcn~ " " tflfl G)G) 1 Mfli
."
~.ff.
19Jtidti
tflfl 19Jb fi111M,j~'fU'fU1!ntJ1~UtJ~ " "
"
m11J~!111.!~i' .. fifJ1fi11 ~1~1~!11tJ1Jij!!~~ijV11.!
.
1'iJflflfi,j1~mff
f11ff ~ t11M1.!~
.."
!! 1.!1'Vl1~,j~11~! oWfl\9l 1!U1.! m1 1 M!111.!1,j ~ 1~1~!11tJ1Jij
11.!fi1W \1iji:J't;Ym!ntJ1n1Jm1,j~11~~1~1~!11
tJ1Jij
." M1flfi1W \1~ 1 '" !111.!1 ,j~1~ 1~!11 tJ1Jij1 Mfli m11J~ij V11.!1 'iJ1U'iJ\l'tJ
d
fi111U 'iJ\l'tJ"1fl~fli m11J~ 1Mtifl!111.!
.
'Vlff~
,j1~mff
w
11.!~~d
r;1.!11fl~
A
\!i1>tidr;:/
.1
(~~'lffl)
..'"
.
..
1J1~~1.!~ff~1~ff
.1
..'"
..
(1.!ltJ1J1~~1.!~~~1~ff)
1.!ltJfiff.tl1~Mn'VltJ1-f1tJ
0
3J
ff1!1.!1t)fi~fl~ ..
?'f""'.1'~
fN&'~(
..1IJ (1fl~ff1ff~11'iJ11tJ
.
~1.fl t1111W
'"
..
~1.!fft)~tJ)
1fl~flim11J~N1tJ1'lf1m1
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
143
~
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
.,
~
~-
,
,.
i
I "l::: bUtI'IJ 3,l1..II1';j'VItl1;tl1..II'f) n1"l~11 'VIti
I
11 ~'".ItI n1"lb ,ijtl'IJ b'f)'I.!~'".I13,1f vi'n'l.f:::bb~:::'lJ"l:::~'IJn1"lt:U 'OJ 1 n n1"l~n'l.f1'1.!'f) n"l:::'IJ'IJ bb~:::/1..II~'f) OJ n1"l~n'l.f11Pl13,1te)'fitl1IDi'tlb.jf1~n1"l~n'l.f1"l 'I.!"l:::'IJ'IJ1Pl13,11..11;n~ 1Pl"l OJ OJ G-"
_I~
Q
G-"
G-"
~
~
"l:::IPl'IJlJ"lt1jt1j1lPl"lbb~:::"l:::IPl'IJ'IJ~'III lPl~n'l.f1
Lc;,fJ~~~:::~1onoJt1Jt1J~fl1~P1fl~1LL\A~on1~ ~fJ'I.!"1flfl11P1
~. fI\. 2542
~. f!I.254 7
n1~\.!c;, 11;x~fl1~LVifJ'lJLIeJ'I.!eJ~fl11
fl~11 \.!'l:::'IJ'IJ fl1~P1fl~1\.!leJfl1:::~'lJLL~:::fl1~P1fl~1
(;113,1te)'fifJ1I"1'fJL~1eJ(;11eJ'IJ~\.!IeJ~
,jfont1J1fl1'lP1fl~1(;1~IeJc;,~(;1LL~:::"1JfJ1fJLleJfl1~'VI1~fl1'lP1fl~1 1eJ1I"1'fJ.e)1\.!1,,(;11~~,)13,11\,!3,l1(;1'l115 LL\A~~~:::~'lonoJt1J~fl'l~P1fl~'lLL\A~on1~
~.fI\.2542
LL~:::~'l(;11'l 34
LL\A~~~:::~1onoJt1Jt1J~'
" , -~tl'l,oJ\.!~c;,~P1fl~1LleJflon\.!
~.fI\.2546
r!\.!Vi 3 fl\.!')'l ~~ ,.. ..,
~,)'l~'l
OJ
254 7 ~~~~ ~1 ,:ifleJleJfl'l:::LUfJ~~~'l1'V1fJ'ltl{fJ~leJfl'l'lfl'l1 .1
.-~
'VIn~:::LL~:::u~:::~'iJfl'l'lru
fl1'lP1fl~'l1
,
~/l'l~~'l';s'VIfJ'ltl{fJ1\.!fl1'l,j~:::"1J~~f~Vi
~
,,'lfl fl1~~fl~'l\.!1eJ
6/2547
b~1eJ
'VIfJ~'l ~,)fJ fl1'lL VifJ~LIeJ\.! ~
..,
fl'l:::'IJ'IJ LL~:::/~~leJfl'l~l"lfl~'l
\.!'l:::'IJ'iJ (;1'l~~tl{ fl"3 (;1~~:::(;j"lJmt1Jt1J'l (;1'1LL~:::~:::(;j"lJoJruoV1 (;1P1fl~
x"'..1
(;1'l~leJfifJ1I"lfJ L"1J'l~ OJ
~. fI\.2547
1t'j'(;j'~~
" -n-1eJ 1 'l::: LUfJ'IJ,1~fJ fl~ 'l "'l:::LUfJ'iJ~~'l1'V1fJ'ltl{fJ~1eJ fl'l'lfl'l1
'VIfJ~1 ~,)fJ fl'l 'lLVifJ'IJLIeJ\.!~,)'l~ ~ OJ
.
0{(fl~:::LL~ :::,j'l:::~ 'iJfl'l'lru fl1'lP1fl~11\.!'l:::'IJ'IJ
,,1 fl fl'l ~P1fl~'l\.!1eJ fl ~:::'iJ'IJLL~:::/~1leJfl'l ~P1fl ~'l (;1'l~te)'fifJ'll"1'fJb-n-'l~ OJ
(;1'l~~tl{fl"3(;1~ ~:::(;j"lJmt1Jt1J'l(;1'1LL~:::'l:::(;j"iJoJruoV1(;1P1fl~'l ~.fI\.2547
"
"
"
-n-1eJ 2 'l:::LufJ'iJ,11mojfoJ~IP1"iJr;i~LLL9lUfl'l~P1fl~'l 2547
"
LU\.!~\.!1,j
,
-n-1eJ 3 'l:::LUfJ'IJ,11 m ojfoJ~lP1"iJtl'IJUflP1fl~'lVi LVifJ'iJLIeJ\.!~,)'l~~ o{(fl~:::LL~:::,j'l:::~'lJfl'l'lru
,,1fl
OJ
fl'l'lP1 fl~'l\.!1eJ fl ~:::'IJ'iJLL~:::/~11eJ fl'l ~P1 fl~1 (;1'l~te)'fifJ'll"1'£J L-n-'l~ fl1 ~P1 fl~'l1 \.!'l:::'IJ'iJ (;1'l~~tl{ fl~ 1Pl~~:::(;j"IJ OJ
..'" W
OJ
mt1J t1J'l (;1'1LL~:::'l:::(;j"lJoJruoV1 (;1P1fl~'l ,..
q
q
~
qq,..q
,
,..
,
"1J1eJ 4 fl 'l'lL 'VIfJ'IJL 1eJ\.!'VI\.!1eJ fl L~\.!IeJ,,'l fl'l:::L'lJfJ'iJ\.!1m on~:::L'iJfJ~~~'l,)'VIfJ'l~fJ~1eJ fl1 ~~ 'l1 'VIfJ,)'l
" ~,)fJfl'l~P1fl~'l'l:::~~~\l,)fJ ~1 ~,)fJ fl'l'lf~
Ii (;1-n-\.!mru (;1~. fI\.2545 'l:::LUfJ~~~'l1'V1fJ'ltl{fJ~leJfl'l'lfl11 ., ru'loJruoV1 .,
LIeJ\.!~\.i,)fJIi (;1~'l~f'IJ~tl{ fl"3 (;1~'l:::(;j'~~1:IJ"3~fl~'lmt1J t1J1 (;1'1 ~. fI\. 2544
-n-leJoJ~ 1P1'~~~1';s'VIfJ'ltl{fJ~'l ~,)fJfl'l~P1fl~1i\.!mt1J ,..
,
'VIfJ LL~:::
t1J'lL 'VI~. fI\.2534
" q
q
"1J1eJ 5 ~\.!'l:::L~fJ~\.! "~~'l1'V1fJ'ltl{fJ" "Ufl P1fl~'l" 0{(fl~:::LL~ :::,j'l:::~'IJ fl'l ~ru"'l
~~'lfJ ~~ ~~'l1'V1fJ'ltl{fJ~leJfl'l'lfl'l1
~~'lfJ ~~ Ufl P1 fl~'l~~'l';s'VIfJ'ltl{fJ~leJfl'l'lfl11 fl fl'l'lP1 fl~'l\.!1eJ fl ~:::'IJ~ LL~:::/~11eJfl'l'lP1 fl~'l
L~IeJU~ LU\.!~\l,)fJ Ii (;1LVifJ'iJ LvI'l ~'lfJ';son'l(;1'l~~tl{ fl ~OJ(;1~fl'l ~P1 fl~'l1 q
'VIfJ
~
,.. ..,
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
OJ
(;11~te)'fifJ 'll"1'fJ"1JIeJ~Ufl P1fl~'l
\.!~~'l1'V1fJ'ltl{fJ
.1
"fl'l'lL 'VIfJ'iJ~1eJ\.!~,)'l~~OJ 'VIfl~:::LL~ :::u~:::~~fl 'l'lru" 0{(fl~:::LL~ :::,j'l:::~ 'iJn'l1ru'Oj'l fl fl'l'lP1 fl~'l\.!1eJ fl 'l:::~~
'VIfJ~"1J1eJ LVifJ~ LIeJ\.!~,)1~~
.-oS
q
~
,..
~~'lfJ tl~ fl'l'lL 'VIfJ'iJ~1eJ\.!~,) 'l ~'lOJ
LL~:::/~11eJ fl'l ~P1fl ~'l (;1'l~te)'fifJ'll"1'fJ"1JleJ~un P1n~'l
144
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
;~
~ ;;
1 2 L~fe)iilJ L,j~~~'JrJ n I;9l LVlrJlJLv1'l~'lrJ~"D'lI;9l'l~~tf1 fl~.,l;9l~fl'l~~flM'll ~~~'l~VlrJ'ltf1rJ
", ... "1Jfe) 6 f.J~'&'jVlfi"1Jfe)LVlrJlJ bfe)~~'J'l~~ VlflM:::LL~:::1J~:::~lJfl'l~ru 1;9lfe)~~~'J'l~~~~~'l~I;9l'l~Vl "
"...~
A
...~
dB
,
"
1
.,
..2/'"
2/'"
q
I ~
6.1
2/...
.1
I
" (;)'~U
.."'.~
...2/
fl~ru"1Jfe)LVlrJlJ bfe)~~'J'l~~ ., VlflM:::LL~:::1J~:::~lJfl'l~ru~:::C;)lJu~ruru'll;9l~ ~ ~ " L,j~ej' fl'l ~~ flM'l~::: (;),lJ'iJfirJ~~ flM'lI;9lfe)~1J~'lrJ~1fe) LVlrJlJLv1'l~~11J .,~'l L~'o'j
1;9lfe)~
6.2
fl~ru"1Jfe) LVlrJlJbfe)~~'J'l~¥ ., -lIflM:::LL~:::1J~:::~lJfl'l~cii~:::(;),lJuru~ l;9l~flM'l " r;i'fe)~ L,j~ej'~'l L~'o'j fl'l~~flM'l~:::(;),lJWruru'l v1'l~~11J ., ~ ~ ~1~1fe)LVlrJlJL "1Jfe) 2/ 7 fl'l~LVlrJlJbfe)~~'J'l~~ ...~ 2/ VlflM::: LL~:::u~:::~lJfl'l~ru 1
~~~flLflru"Y1
" c;)~~
., 7.1 iifl~flM'l"1Jfe)~~~'l~VlrJ'ltf1rJ~~IO1'l¥fe)~ ~fe)~ru:::~"D'll~LVlrJlJbfe)~~'J'l~¥ '" -lIflM:::
"
LL~:::1J~:::~lJfl'l~cii
f1'lrJl~~:::rJ:::L'J~'l 7 r)~ iilJ[;j'~LL~LiJC;)f1'l~fl'l~~flM'l
bC;)rJl~~ru:::fl~~~fl'l~
" 8
~"D'lfl'l~/~ru:::fl~~~fl'l~lJ1'~'l~l
~~ru:::~"jj'l ~ru:::fl~~~fl'l~1J~:::t.J'l~tf1fl~ 1;9l~r?1'lLiJ~fl'l ~(;)'~U
7 .1.1 ~:::(;),lJw'!.!'!.!'l1;9l11~~ru:::fl~~~fl'l~~"jj'lfl'l~/~ru:::fl~~~fl'l~lJ1'~'l~ ~b~~
ru:::'J"jj'l~'o'j AA 'l~ru 'l c;) OA 'l L~~fl 'l~L...~ VlrJlJbfe)~~'J'l~~2/... Vlfl M:::LL~:::u .1 ~:::~lJfl 'l ~ru"1Jfe)~~ fl ,g ~ fl M'lVl"rJ~
., 02/
2/0
JA
~
~'l ~fe)~LL~'J~'lL~~fe)~ rulJ c;)L~fe)~'o'j'l~ru'lfe)~~ I;9l q 7 .1.2 ~:::(;),lJUru~l;9l~flM'l l~~ru:::fl~~~fl'l~1J~:::t.J'l~tf1fl~I;9l~~'o'j'l~ru'l ., fl'l~LVlrJlJbfe)~~'J'l~¥ "1Jfe)~iifl~flM'l~~~IO1'l¥fe)~LL""'JU'lL~~fe)~rulJ~ ., -lIflM::: LL~:::1J~:::~lJfl'l~cii , ...A
A
J
A
~
lJru"Y1I;9l'JVlrJ'l~rJL~fe)~'o'j'l~ru'lfe)~~1;9l q
7.2 t.J'l~'J~~~'JrJn l;9l~iifl~ flM'l~:::c;i'lJW'!.! '!.!'l1;9l1'o'j:::~~Vl:::LUrJ~~flM'l1 ~ L,j~l1J " ~.P\. 2545 8
LL~:::~:::LUrJlJ~~'l~VlrJ'ltf1rJ~fe)fl'l~Ir1'll VlrJ~'lI?1'JrJ fl'l~L VlrJlJbfe)~~~'JrJn 1;9l~'l~'{lJ~tf1fl~ .,1;9l~
~:::(;),lJ~1~~~fl~'lw'!.!'!.!'l1;9l1
~.P\.2544
t.J'l~'J~~~'JrJnl;9l~iifl~flM'l~:::(;),lJuru~l;9l~flM'l'o'j:::
" bVl ~.P\.2534 I " ...""12/ ...~ 2/... .1 .. 7.3 fl'l~lJ~Vlflf.J~fl'l~L~rJ~Vl ~c;)'o'j'lflfl'l~LVlrJlJ bfe)~~'J'l~~ ., VlflM:::LL~:::u~:::~lJfl'l~ru
"
1 ~u~oVjfll;9l'l~~fifl'l~1J~:::LrJ~f.J~(;)'~U 7 .3.1 ~~'JrJnl;9l'o'j'lflfl'l~Vlc;)~fe)lJ~'lI;9l~~'l~ l~u~oVjfl"CS" dB
(Credits from
Standardized Test) 7 .3.2 ~~'JrJn 1;9l'o'j'lflfl'l~Vl c;)~fe)lJ~l~l-rlfl'l~Vlc;)~fe)lJ~'lI;9l~~'l~l ~U~oVjfl dB "CE" (Credits from Exam) 7 .3.3 ~~'JrJnl;9l'o'j'lflfl'l~1J~:::LrJ~fl'l~~flM'l / fe)lJ~~~toi' c;) bC;)rJ~~'JrJ~'l~~~ ~l~l-rl~(l'lU~~C;)~~flM'll~u~oVjfl"CT"
(Credits from Training)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
145
.:
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
*..
~
1
. L
3
7.3.4 '\I1u'JtJn[;1'"l1nn1'1L~'l,!'f)LL~~~::;~~C,J~~1'l,!1~1J'l,!-Vin "CP" (Credits
I
from Portfolio) "'
"0,
..~
I
""'
7.4 'l,!n~n~1 [;1'f)~"J!1'1:;fP11fi'1'1~L'l,!tJ~n1'1LVltJUb'f)'l,!fP1'J1~'1 Vln~::;LL~::; OJ
tJ'1::;~un1'1t1I[;11~~~'\I11~VltJ1itJn1'\11'l,![;1 7.5 1'l,!n1'1~(:,)LLc;i'~L'U~tJ~::;~~'"l::;1~\J1C,J~n1'1L1tJ'l,!~'"l1nn1'1L VitJUb'f)'l,!fP1'J1~~ OJ
"'
.1
r
~
"
OJ
.J
Vln~::;LL~::;lJ'1::;~un1'1ru ~1fP1(:,)LL[;1~ L'U~tJ~::;~~
., lfJ'f)8 un~n~1~'1::;tJ::;L'J~1n1'1~n~1cJ1~iJ 8.1
"'.~ ~ '1::;(:')UlJ'1'1) '1)1 [;1'1 . 8.1.1
Un~n~1'"l::;c;i"f)~~n~1L,j'l,!'1::;tJ::;L'J~11~iJ"f)tJn~1'\11~~Un1'1~n~1
LL~::;~~Vl::;L,jtJ'l,!~n~11~iJ"f)tJn~1'\11~~1'l,!~ "lJ'f)~t.J1'l,!'J'l,!'\I1U'JtJn [;1'1'J~ [;1~'f)(:,)'\I1in~ [;1'1~~'"l::;~~Vlfi OJ
~1L~'"ln1'1~n~1 e
8.1.2 un~n~1~1~fU'f)~~~1~LVitJUb'f)'l,!'\I1U'JtJn[;1~1n~1
33 '\I1u'JtJn[;1
'"l::;c;i"f)~~n~11~~1L~'"l[;11~'\I1in~[;1'1111tJ1'l,!L'J~1 7 Un1'1~n~1 OJ
,
.,
.
8.1.3 un~n~1Vi1~fu'f)'l,!~1~LVitJUb'f)'l,!'\I1u'JtJn[;1cJ1~LLI;j33 '\I1u'JtJn[;1 LLI;j1~Ln'l,!65 '\I1u'JtJn[;1 '"l::;c;i"f)~~n~11~~1L~'"l[;11~'\I1in~[;1'1111tJ1'l,!L'J~1 6 Un1'1Pin~'l , ., 8.1.4 un~n~1Vi1~fU'f)~~~1~LVitJUb'f)'l,!'\I1U'JtJn[;1I;]~LLI;j66 '\I1u'JtJn[;1 OJ
LLI;j1~Ln'l,!98 '\I1u'JtJn[;1'"l:;c;i"f)~~n~11~~1L~'"l[;11~'\I1in~[;1'1111tJ1'l,!L'J~15 Un1'1~n~1 , ., 8.1.5 un~n~1Vi1~fU'f)'l,!~~1~LVitJUb'f)'l,!'\I1U'JtJn[;1I;]~LLI;j 99 '\I1u'JtJn[;1 OJ
.
LLI;jc;i"f)~1~ Ln'l,!~1~1 'l,!~"lJ'f)~t.J1'l,!'J'l,!'\I1u'JtJn [;11 'l,!'\I1in~ [;1'1'"l::;c;i"f)~ ~n~11 ~~1 L~'"l[;11~'\I1in~[;1'1111tJ1 'l,! OJ
OJ
L'J~1 4 ;jn1'1~n~1 8.2 '1::;cJ1U1JruaYi[;1~n~1 -un
~ n~1'"l::;c;i"f)~ ~n~1 L,j'l,!'1::;tJ::;L'J~11~iJ"f)tJn~1'\11~~Un1'1~n~1 LL~::; ~~Vl::;L,jtJ'l,!~n~11~iJ"f)tJn~1~'f)~1'l,!~1~"lJ'f)~t.J1'l,!'J'l,!'\I1U'JtJn[;1'1'J~[;1~'f)(:,)'\I1in~[;1'1~~'"l::;~~Vlfi OJ
., .,
~1L~'"ln1'1~n~1
.;r~iJ'"l::;c;i"f)~~n~11~~1L~'"l[;11~'\I1in~[;1'1111tJ1'l,!L'J~1 4 Un1'1~n~1 ., " ~" ~ ~."I ""' ~ ~ ~ ,,~ 0 .1 0 %, "lJ'f)9. b'\l1'f)fin1'1U(:,)LlJ'l,!C,J'1n~1n1'1[;11~'1::;LUtJU'l,! LL~::;b'\l1~'f)1'l,!1'"l'f)'f)nlJ'1::;n1~fPl1'~~ OJ
OJ
.
r
~
~.,
U'1'1~C,J~ [;11~L'"l[;1'l,!1'1~ru"lJ'f)~'1::;LUtJU'l,! tJ'1::;n1~ ru
~'l,!~
24
fi'l,!'J1fP1~ 2547
C:=:!)"\:,..-~\-\\-.,::::;:;;:--_/ r
"'
((:')'1.'f)1"J!'J L[;11~1'l,!'l,!Vl) 'l,!1tJn~111~'\I11~VltJ1itJ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
146
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ภาคผนวก จ ตารางเปรี ยบเทียบหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 กับหลักสูตรปรั บปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 1. ชื่อหลักสูตร 1. ชื่อหลักสูตร คงเดิม ภาษาไทย หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ภาษาไทย หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรม สาขาวิชานวัตกรรม สือ่ สารมวลชน สือ่ สารมวลชน ภาษาอังกฤษ Bachelor of Communication ภาษาอังกฤษ Bachelor of Communication Arts Program in Innovative Arts Program in Innovative Mass Communication Mass Communication 2. ชื่อปริญญา 2. ชื่อปริญญา คงเดิม ภาษาไทย นิเทศศาสตรบัณฑิต ภาษาไทย นิเทศศาสตรบัณฑิต (นวัตกรรม (นวัตกรรม สือ่ สารมวลชน) สือ่ สารมวลชน) นศ.บ. (นวัตกรรม นศ.บ. (นวัตกรรม สือ่ สารมวลชน) สือ่ สารมวลชน) ภาษาอังกฤษ Bachelor of Communication ภาษาอังกฤษ Bachelor of Communication Arts (Innovative Arts (Innovative Mass Communication) Mass Communication) B.Com. Arts (Innovative B.Com. Arts (Innovative Mass Communication) Mass Communication) เปลีย่ นชื่อกลุม่ วิชาเอก 2 3.ชื่อกลุ่มวิชาเอก 3.ชื่อกลุ่มวิชาเอก กลุม่ วิชา ได้ แก่ 3.1 วารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ 3.2 การกระจายเสียงและแพร่ภาพ 3.3 ภาพยนตร์ ดจิ ิทลั
3.1 วารสารศาสตร์ ดิจิทลั 3.2 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 3.3 ภาพยนตร์ ดจิ ิทลั
3.1 เปลีย่ นจาก “วารสาร ศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์” เป็ น”วารสารศาสตร์ ดิจิทลั ” 3.2 เปลีย่ นจาก” การ กระจายเสียงและแพร่ ภาพ” เป็ น “วิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์”
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
147
เหตุผลประกอบ
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 3. โครงสร้ างหลักสูตร จานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต 1. หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป 30 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่วยกิต 2.1 กลุม่ วิชาแกนนิเทศศาสตร์ 45 หน่วยกิต 2.2 กลุม่ วิชาแกนสาขา 9 หน่วยกิต 2.3 กลุม่ วิชาเอก 30 หน่วยกิต 2.3.1 วารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ 2.3.2 การกระจายเสียงและแพร่ภาพ 2.3.3 ภาพยนตร์ ดิจิทลั มี 2 แผนคือ หลักสูตรปกติ 1) กลุม่ วิชาเอกบังคับ 24 หน่วยกิต 2) กลุม่ วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต สหกิจศึกษา 1) กลุม่ วิชาเอกบังคับ 18 หน่วยกิต 2) กลุม่ วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต 3) วิชาสหกิจศึกษา 6 หน่วยกิต 2.4 กลุม่ วิชาโท 15 หน่วยกิต
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 3. โครงสร้ างหลักสูตร จานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต 1. หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป 30 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่วยกิต 2.1 กลุม่ วิชาแกนนิเทศศาสตร์ 45 หน่วยกิต 2.2 กลุม่ วิชาแกนสาขา 9 หน่วยกิต 2.3 กลุม่ วิชาเอก 30 หน่วยกิต 2.3.1 วารสารศาสตร์ ดจิ ิทลั 2.3.2 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ 2.3.3 ภาพยนตร์ ดจิ ิทลั มี 2 แผนคือ หลักสูตรปกติ 1) กลุม่ วิชาเอกบังคับ 24 หน่วยกิต 2) กลุม่ วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต สหกิจศึกษา 1) กลุม่ วิชาเอกบังคับ 18 หน่วยกิต 2) กลุม่ วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต 3) วิชาสหกิจศึกษา 6 หน่วยกิต 2.4 กลุม่ วิชาโท/หรื อเอกเลือก 15 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต 4. รายวิชา 4.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป HG008 ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร HG009 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 1 HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 2 HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 3 HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 4 SG004 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ SG005 คณิตศาสตร์ และสถิติสาหรับ ชีวิตประจาวัน SG006 การรู้ทางดิจิทลั BG002 ธุรกิจสมัยใหม่
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต 4. รายวิชา 4.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป HG008 ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร HG009 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 1 HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 2 HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 3 HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 4 SG004 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ SG005 คณิตศาสตร์ และสถิติสาหรับ ชีวิตประจาวัน SG006 การรู้ทางดิจิทลั BG003 การประกอบการเชิงนวัตกรรม ปรับรหัส ชื่อวิชา และ คาอธิบายรายวิชา HG022 การบริ หารตนเอง HG032 ทักษะการดารงชีวิตในสังคมโลก
HG022 การบริ หารตนเอง HG032 ทักษะการดารงชีวิตในสังคมโลก
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
คงเดิม
ปรับชื่อกลุม่ วิชาเอก ปรับชื่อกลุม่ วิชาเอก
เปิ ดโอกาสให้ น.ศ.ได้ เรี ยน วิชาเอกเลือกมากขึ ้น
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
148
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 4.2 หมวดวิชาเฉพาะ 4.2.1 กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ BA961 หลักการตลาด EC961 เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น LW961 กฎหมาย การเมืองและการปกครอง ของไทย CA106 หลักนิเทศศาสตร์ CA107 พื ้นฐานการสือ่ สารมวลชน CA108 CA109 CA110 CA202 CA205 CA206 CA303
พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ พัฒนาทักษะการอ่าน พัฒนาทักษะการเขียน วาทนิเทศ ศิลปะการสือ่ สารผ่านภาพและเสียง หลักการสือ่ ข่าวและเขียนข่าว ภาษาอังกฤษสาหรับงาน นิเทศศาสตร์ CA304 การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ CA305 การจัดการสารสนเทศเพื่องาน นิเทศศาสตร์ CA306 กฎหมายและจริ ยธรรมนิเทศศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 4.2 หมวดวิชาเฉพาะ 4.2.1 กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ BA961 หลักการตลาด EC961 เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น LW961 กฎหมาย การเมืองและการปกครอง ของไทย CA106 หลักนิเทศศาสตร์ CA111 พื ้นฐานการสือ่ สารมวลชนและสือ่ ใหม่ CA108 พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ CA109 พัฒนาทักษะการอ่าน CA110 พัฒนาทักษะการเขียน CA202 วาทนิเทศ CA205 ศิลปะการสือ่ สารผ่านภาพและเสียง CA206 หลักการสือ่ ข่าวและเขียนข่าว CA303 ภาษาอังกฤษสาหรับงาน นิเทศศาสตร์ CA304 การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ CA305 การจัดการสารสนเทศเพื่องาน นิเทศศาสตร์ CA306 กฎหมายและจริ ยธรรมนิเทศศาสตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ
คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม ปรับรหัส ชื่อ และ คาอธิบายรายวิชา ปรับคาอธิบายรายวิชา คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม ปรับชื่อภาษาอังกฤษ คงเดิม คงเดิม คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
149
CI001 CI002 CI003
CI101 CI102 CI103 CI104 CI105 CI106 CI107 C I108 CI109 CI110
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 4.2.2 กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา ศิลปะการเล่าเรื่ อง ทฤษฎีการสือ่ สารมวลชน การวิจยั ประยุกต์ทางนวัตกรรม สือ่ สารมวลชน 4.2.3 กลุ่มวิชาเอก วารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ 4.2.3.1 รายวิชาเอกบังคับ คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องาน วารสารศาสตร์ การสือ่ ข่าวสาหรับงาน วารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ การเขียนสร้ างสรรค์ เพื่องานวารสารศาสตร์ การจัดการธุรกิจวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ การบรรณาธิกรและ การผลิตหนังสือพิมพ์ การผลิตสือ่ วารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ สัมมนาวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์กบั สังคม ประสบการณ์วิชาชีพทาง วารสารศาสตร์ โครงงานด้ านวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ สหกิจศึกษา
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 4.2.2 กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา CI001 ศิลปะการเล่าเรื่ อง CI002 ทฤษฎีการสือ่ สารมวลชน CI003 การวิจยั ประยุกต์ทางนวัตกรรม สือ่ สารมวลชน 4.2.3 กลุ่มวิชาเอก วารสารศาสตร์ ดิจิทัล 4.2.3.1 รายวิชาเอกบังคับ CI101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องาน วารสารศาสตร์ CI111 การสือ่ ข่าวสาหรับงาน วารสารศาสตร์ ดจิ ิทลั CI103 การเขียนสร้ างสรรค์ เพื่องานวารสารศาสตร์ CI112 การจัดการธุรกิจวารสารศาสตร์ ดิจิทลั CI105 การบรรณาธิกรและ การผลิตหนังสือพิมพ์ CI113 การผลิตสือ่ วารสารศาสตร์ ดิจิทลั CI114 สัมมนาวารสารศาสตร์ ดิจิทลั กับสังคม C I116 ประสบการณ์วิชาชีพทาง วารสารศาสตร์ ดจิ ิทลั CI115 โครงงานด้ านวารสารศาสตร์ ดิจิทลั CI110 สหกิจศึกษา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ คงเดิม คงเดิม คงเดิม
ปรับชื่อกลุม่ วิชาเอก ปรับคาอธิบายรายวิชา ปรับรหัสวิชาและชื่อวิชา ปรับคาอธิบายรายวิชา ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชา และ คาอธิบายรายวิชา ปรับเงื่อนไขก่อนเรี ยน ปรับรหัสวิชาและชื่อวิชา ปรับรหัสวิชาและชื่อวิชา ปรับรหัสวิชาและชื่อวิชา ปรับรหัสวิชาและชื่อวิชา คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
150
CI131 CI132 CI133 CI134 CI135 CI136 CI137 CI138 CI139 CI140 CI141 CI142 CI143 CI144 CI145
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 4.2.3.2 รายวิชาเอกเลือก การสือ่ ข่าวขันสู ้ ง เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ การเขียนสารคดี วารสารศาสตร์ สากล การวิเคราะห์ขา่ วปั จจุบนั วารสารศาสตร์ เพื่อสิง่ แวดล้ อม และความยัง่ ยืน หัวข้ อคัดเฉพาะทางวารสารศาสตร์ การแปลข่าว การผลิตสิง่ พิมพ์เฉพาะกิจ การรายงานข่าวเศรษฐกิจและธุรกิจ การสือ่ ข่าวเพื่อเด็กและเยาวชน การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ การบรรณาธิกรและผลิต นิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ การศึกษาเฉพาะบุคคลด้ าน วารสารศาสตร์
CI131 CI132 CI133 CI134 CI135 CI136 CI137 CI138 CI139 CI140 CI141 CI147 CI143 CI144 CI145 CI146
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 4.2.3.2 รายวิชาเอกเลือก การสือ่ ข่าวขันสู ้ ง เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ การเขียนสารคดี วารสารศาสตร์ สากล การวิเคราะห์ขา่ วปั จจุบนั วารสารศาสตร์ เพื่อสิง่ แวดล้ อม และความยัง่ ยืน หัวข้ อคัดเฉพาะทางวารสารศาสตร์ การแปลข่าว การผลิตสิง่ พิมพ์เฉพาะกิจ การรายงานข่าวเศรษฐกิจและธุรกิจ การสือ่ ข่าวเด็กและเยาวชน การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ การบรรณาธิกรและผลิต นิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ การศึกษาเฉพาะบุคคลด้ าน วารสารศาสตร์ พัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสือ่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม ปรับรหัส ชื่อวิชา คงเดิม คงเดิม คงเดิม วิชาใหม่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
151
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 4.2.4 กลุ่มวิชาเอก การกระจายเสียง และแพร่ ภาพ 4.2.4.1 รายวิชาเอกบังคับ CI201 การสร้ างสรรค์บทรายการ CI202 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง CI203 กราฟิ กและแอนิเมชันเพื่องาน วิทยุโทรทัศน์ CI204 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์
เหตุผลประกอบ ปรับชื่อกลุม่ วิชาเอก
CI205
ปรับรหัส ชื่อ และ คาอธิบายรายวิชา ปรับรหัสวิชาและชื่อวิชา
CI206 CI207 CI208 CI209 CI210
CI231 CI232 CI233 CI234 CI235
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 4.2.4 กลุ่ มวิชาเอก วิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์ 4.2.4.1 รายวิชาเอกบังคับ CI201 การสร้ างสรรค์บทรายการ CI202 การผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง CI203 กราฟิ กและแอนิเมชันเพื่องาน วิทยุโทรทัศน์ CI204 การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ การ ผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ การผลิตรายการเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ CI215 การผลิตรายการเพือ่ เศรษฐกิจ สร้ างสรรค์ การจัดการธุรกิจ CI211 การจัดการธุรกิจ การกระจายเสียงและแพร่ภาพ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ สัมมนากิจการกระจายเสียง CI212 สัมมนา และแพร่ภาพ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ประสบการณ์วิชาชีพทางการ CI213 ประสบการณ์วิชาชีพ กระจายเสียงและแพร่ภาพ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ โครงงานด้ านสือ่ กระจายเสียง CI214 โครงงานด้ านวิทยุกระจายเสียงและ/ และ/หรื อแพร่ ภาพ หรื อวิทยุโทรทัศน์ สหกิจศึกษา CI210 สหกิจศึกษา
4.2.4.2 รายวิชาเอกเลือก การวางแผนและประเมินผล สือ่ มวลชน การกระจายเสียงและ แพร่ภาพนานาชาติ ผู้ดาเนินรายการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ การผลิตรายการข่าว วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การผลิตรายการสารคดี วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
CI231 CI252 CI233 CI234 CI253
4.2.4.2 รายวิชาเอกเลือก การวางแผนและประเมินผล สือ่ มวลชน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ นานาชาติ ผู้ดาเนินรายการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ การผลิตรายการข่าว วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การผลิตรายการสารคดี วิทยุโทรทัศน์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม
ปรับรหัสวิชาและชื่อวิชา ปรับรหัสวิชาและชื่อวิชา ปรับรหัสวิชาและชื่อวิชา คงเดิม
คงเดิม ปรับชื่อวิชา คงเดิม คงเดิม ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและ คาอธิบายรายวิชา
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
152
CI236 CI237 CI238 CI239 CI240 CI241 CI242
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 4.2.4.2 รายวิชาเอกเลือก (ต่ อ) การผลิตรายการโชว์ทาง วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การผลิตงานโฆษณาทาง วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การพูดภาษาอังกฤษในงาน กระจายเสียงและแพร่ภาพ เทคนิคการนาเสนองานด้ าน การกระจายเสียงและแพร่ภาพ การผลิตรายการละคร วิทยุกระจายเสียง การผลิตรายการละครวิทยุโทรทัศน์
CI247
เทคนิคการกากับรายการ วิทยุโทรทัศน์ ศิลปะการแสดงเพื่องาน วิทยุโทรทัศน์ การออกแบบเครื่ องแต่งกาย และ การแต่งหน้ าผู้แสดงเพื่องาน วิทยุโทรทัศน์ ฉากและเครื่ องประกอบฉาก เพื่องานวิทยุโทรทัศน์ หัวข้ อคัดเฉพาะทาง วิทยุกระจายเสียง หัวข้ อคัดเฉพาะทางวิทยุโทรทัศน์
CI248
หัวข้ อคัดเฉพาะทางสือ่ ประสม
CI249
การศึกษาเฉพาะบุคคลด้ าน การกระจายเสียงและ/หรื อแพร่ภาพ
CI243 CI244
CI245 CI246
CI254 CI237 CI255 CI256 CI240 CI241 CI242
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 4.2.4.2 รายวิชาเอกเลือก (ต่ อ) การผลิตรายการโชว์ทาง วิทยุโทรทัศน์ การผลิตงานโฆษณาทาง วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การพูดภาษาอังกฤษในงาน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ เทคนิคการนาเสนองานด้ าน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ การผลิตรายการละคร วิทยุกระจายเสียง การผลิตรายการละครวิทยุโทรทัศน์
เหตุผลประกอบ ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและ คาอธิบายรายวิชา คงเดิม ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและ ตัดเงื่อนไขก่อนเรี ยนออก ปรับรหัสวิชา และชื่อวิชา คงเดิม คงเดิม คงเดิม
CI247
เทคนิคการกากับรายการ วิทยุโทรทัศน์ ศิลปะการแสดงเพื่องาน วิทยุโทรทัศน์ การออกแบบเครื่ องแต่งกาย และ การแต่งหน้ าผู้แสดงเพื่องาน วิทยุโทรทัศน์ การออกแบบฉากและเครื่ องประกอบ ฉากเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ หัวข้ อคัดเฉพาะทาง วิทยุกระจายเสียง หัวข้ อคัดเฉพาะทางวิทยุโทรทัศน์
CI248
หัวข้ อคัดเฉพาะทางสือ่ ประสม
คงเดิม
CI257
การศึกษาเฉพาะบุคคลด้ าน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและ
CI243 CI244
CI258 CI246
คงเดิม คงเดิม
ปรับรหัสวิชา และชื่อวิชา คงเดิม คงเดิม
CI250 การสร้ างสรรค์รายการความรู้ทาง วิทยุกระจายเสียง
วิชาใหม่
CI251 ศิลปะการใช้ เสียงพูดทาง วิทยุกระจายเสียง
วิชาใหม่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
153
เหตุผลประกอบ
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559
4.2.5 กลุ่มวิชาเอก ภาพยนตร์ ดิจิทลั
4.2.5 กลุ่มวิชาเอก ภาพยนตร์ ดิจิทลั
4.2.5.1 กลุ่มวิชาเอกบังคับ
4.2.5.1 กลุ่มวิชาเอกบังคับ
CI301 CI302
CI303 CI304
ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น เครื่ องมือเพื่อการผลิต ภาพยนตร์ ดิจิทลั การผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั
การออกแบบโมชันกราฟิ กเพื่อ ภาพยนตร์ ดิจิทลั
CI305 CI306 CI307 CI308
ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น เครื่ องมือเพื่อการผลิต ภาพยนตร์ ดิจิทลั CI311 การสร้ างสรรค์บทภาพยนตร์ CI303 การผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั CI304 การออกแบบโมชันกราฟิ กเพื่อ
วิชาใหม่ คงเดิม คงเดิม
ภาพยนตร์ ดิจิทลั
การจัดการธุรกิจภาพยนตร์ ดิจิทลั โครงงานด้ านภาพยนตร์ ดจิ ิทลั 1 สัมมนาด้ านภาพยนตร์ ประสบการณ์วิชาชีพทาง ภาพยนตร์ ดิจิทลั CI309 โครงงานด้ านภาพยนตร์ ดจิ ิทลั 2 CI310 สหกิจศึกษา
CI305 CI306 CI312 CI308
4.2.5.2 กลุ่มวิชาเอกเลือก
4.2.5.2 กลุ่มวิชาเอกเลือก
CI331 CI332 CI333 CI334
CI331 CI332 CI333 CI334
การสร้ างสรรค์เนื ้อหาสาหรับสือ่ ดิจิทลั การกากับภาพยนตร์ การออกแบบเสียงในภาพยนตร์ การออกแบบภาพและแสงใน ภาพยนตร์ CI335 การออกแบบงานสร้ างภาพยนตร์ CI336 กระบวนการหลังการถ่ายทา CI337 การผลิตภาพยนตร์ สารคดี CI338 การผลิตภาพยนตร์ บนั เทิง CI339 ศิลปะดิจิทลั สาหรับภาพยนตร์ CI340 การวิเคราะห์และวิจารณ์ ภาพยนตร์
คงเดิม ปรับออก
CI301 CI302
การจัดการธุรกิจภาพยนตร์ ดิจิทลั โครงงานด้ านภาพยนตร์ ดจิ ิทลั 1 สัมมนาด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั ประสบการณ์วิชาชีพทาง ภาพยนตร์ ดิจิทลั CI309 โครงงานด้ านภาพยนตร์ ดจิ ิทลั 2 CI310 สหกิจศึกษา
การสร้ างสรรค์เนื ้อหาสาหรับสือ่ ดิจิทลั การกากับภาพยนตร์ การออกแบบเสียงในภาพยนตร์ การออกแบบภาพและแสงใน ภาพยนตร์ CI335 การออกแบบงานสร้ างภาพยนตร์ CI336 กระบวนการหลังการถ่ายทา CI337 การผลิตภาพยนตร์ สารคดี CI338 การผลิตภาพยนตร์ บนั เทิง CI339 ศิลปะดิจิทลั สาหรับภาพยนตร์ CI340 การวิเคราะห์และวิจารณ์ ภาพยนตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
คงเดิม คงเดิม ปรับรหัสวิชา และชื่อวิชา คงเดิม คงเดิม คงเดิม
คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
154
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 4.2.5 กลุ่มวิชาโทสาขาวิชา นิเทศศาสตร์ CX001 CX002 CX003 CX006
นิเทศศาสตร์ เบื ้องต้ น การสือ่ สารเพื่อการพัฒนา การโฆษณากับสังคม วารสารศาสตร์ สากล
CX007 การกระจายเสียงและแพร่ภาพ นานาชาติ CX008 พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 4.2.5 กลุ่มวิชาโทสาขาวิชา นวัตกรรม สื่อสารมวลชน 4.2.5.1 กลุ่มวิชาโทสาขาวิชานวัตกรรม สื่อสารมวลชนที่จัดให้ นศ.ต่ างคณะ CX200 นิเทศศาสตร์ เบื ้องต้ น CX201 พื ้นฐานการสือ่ สารมวลชนและสือ่ หใม่ CX202 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ CX203 วารสารศาสตร์ สากล CX204 การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ CX205 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ นานาชาติ CX206 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น CX208 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ 4.2.5.2 กลุ่มวิชาโทสาขาวิชานวัตกรรม สื่อสารมวลชนที่จัดให้ นศ.ต่ างสาขาวิชา CX202 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ CX203 วารสารศาสตร์ สากล CX204 การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ CX205 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ นานาชาติ CX206 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบื ้องต้ น CX207 การจัดการธุรกิจวารสารศาสตร์ ดิจิทลั CX208 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ CX209 การเขียนสารคดี CX210 การวิเคราะห์ขา่ วปั จจุบนั CX211 การจัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ CX212 การจัดการธุรกิจภาพยนตร์ ดิจิทลั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ ปรับรายวิชาในกลุม่ วิชาโท ที่จดั ให้ นกั ศึกษาต่างคณะ ปรับรหัสวิชา วิชาใหม่ วิชาใหม่ ปรับรหัสวิชา วิชาใหม่ ปรับรหัสวิชา และชื่อวิชา วิชาใหม่ วิชาใหม่ เปิ ดวิชาโทสาหรับ นศ. ต่ างสาขาวิชา วิชาใหม่ ปรับรหัสวิชา วิชาใหม่ ปรับรหัสวิชา และชื่อวิชา วิชาใหม่ วิชาใหม่ วิชาใหม่ วิชาใหม่ วิชาใหม่ วิชาใหม่ วิชาใหม่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
155
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 5. คาอธิบายรายวิชา 5.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป* 5.1.1 กลุ่มวิชาภาษา HG008 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3 (3-0-6) (Thai Language for Communication) พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า ไทย มาตรฐาน หลักการฟั ง การพูด การอ่าน และ การเขี ย น การใช้ ภาษาไทยเพื่ อ ถ่ า ยทอด ความคิดอย่างเป็ นระบบ และสามารถสือ่ สารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ HG009 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 3 (3-0-6) (English for Communication 1) พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อ การสือ่ สารในชีวิตประจาวัน โดยเน้ นทักษะการ ฟั งเพื่อจับใจความสาคัญและรายละเอียดจาก ข้ อความหรื อบทสนทนาสันๆ ้ การพูดทักทาย เริ่ ม ต้ น สนทนา แนะน าตนเอง ต้ อ นรั บ ถาม และตอบข้ อ มูลอย่า งง่ า ย การอ่ า นข้ อ ความ ระดับย่อหน้ าอย่างง่ายๆ เพื่อจับใจความสาคัญ และแสดงความคิดเห็น การเขียนข้ อความสันๆ ้ ในรูปแบบทัว่ ไปและผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ *หมายเหตุ
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 5 คาอธิบายรายวิชา 5.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป* 5.1.1 กลุ่มวิชาภาษา HG008 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ปรับชื่อวิชาภาษาอังกฤษ 3 (3-0-6) (Thai for Communication) พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า ไทย มาตรฐาน หลักการฟั ง การพูด การอ่าน และ การเขี ย น การใช้ ภาษาไทยเพื่ อ ถ่ า ยทอด ความคิดอย่างเป็ นระบบ และสามารถสือ่ สารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ HG009 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 คงเดิม 3 (3-0-6) (English for Communication 1) พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อ การสือ่ สารในชีวิตประจาวัน โดยเน้ นทักษะการ ฟั งเพื่อจับใจความสาคัญและรายละเอียดจาก ข้ อความหรื อบทสนทนาสันๆ ้ การพูดทักทาย เริ่ ม ต้ น สนทนา แนะน าตนเอง ต้ อ นรั บ ถาม และตอบข้ อ มูลอย่า งง่ า ย การอ่ า นข้ อ ความ ระดับย่อหน้ าอย่างง่ายๆ เพื่อจับใจความสาคัญ และแสดงความคิดเห็น การเขียนข้ อความสันๆ ้ ในรูปแบบทัว่ ไปและผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์
เป็ นไปตามหลักสูตรของหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2557
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
156
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3 (3-0-6) (English for Communication 2) ศึกษาก่อน HG009 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสือ่ สาร 1 หรื อ คะแนน TOEIC 250 หรื อ เทียบเท่า พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อ สารในชี วิตประจาวัน โดยเน้ นทักษะ การฟั งเพื่อจับใจความสาคัญและรายละเอียด จากข้ อความหรื อบทสนทนาที่ซบั ซ้ อนขึ ้น การมี ส่วนร่ วมในการสนทนาโดยการถามตอบและ แสดงความคิดเห็น การพูดในสถานการณ์ตา่ งๆ ที่พบในชีวิตประจาวัน รวมทังการน ้ าเสนอและ เปรี ยบเทียบข้ อมูลทางธุรกิจอย่างง่าย การอ่าน ข้ อ ความในหัว ข้ อ ที่ ห ลากหลายและสามารถ สรุ ป เรื่ อ งได้ การเขี ย นข้ อความในหั ว ข้ อที่ หลากหลายทัง้ ในรู ป แบบทั่ว ไปและผ่ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 3 (3-0-6) (English for Communication 3) ศึกษาก่อน HG010 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสือ่ สาร 2 หรื อ คะแนน TOEIC 350 หรื อ เทียบเท่า พั ฒ นาทั ก ษะการใช้ ภาษาอัง กฤษ เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจในชีวิตประจาวัน ซึ่ง เป็ นการบูรณาการทักษะการฟั ง พูด อ่าน และ เขี ย น โดยเน้ น การสนทนาทางโทรศัพ ท์ การ นาเสนอข้ อมูลเกี่ยวกับบริ ษัท สินค้ า และบริ การ การเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ ก า ร เ ขี ย น บั น ทึ ก ภ า ย ใ น แ ล ะ จ ด ห ม า ย อิเล็กทรอนิกส์ การอ่านข่าวที่เกี่ยวกับธุรกิจและ สรุปใจความสาคัญในเรื่ องที่อา่ น
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 คงเดิม 3 (3-0-6) (English for Communication 2) ศึกษาก่อน HG009 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสือ่ สาร 1 หรื อ คะแนน TOEIC 250 หรื อ เทียบเท่า พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อ สารในชี วิตประจาวัน โดยเน้ นทักษะ การฟั งเพื่อจับใจความสาคัญและรายละเอียด จากข้ อความหรื อบทสนทนาที่ซบั ซ้ อนขึ ้น การมี ส่วนร่ วมในการสนทนาโดยการถามตอบและ แสดงความคิดเห็น การพูดในสถานการณ์ตา่ งๆ ที่พบในชีวิตประจาวัน รวมทังการน ้ าเสนอและ เปรี ยบเทียบข้ อมูลทางธุรกิจอย่างง่าย การอ่าน ข้ อ ความในหัว ข้ อ ที่ ห ลากหลายและสามารถ สรุ ป เรื่ อ งได้ การเขี ย นข้ อความในหั ว ข้ อที่ หลากหลายทัง้ ในรู ป แบบทั่ว ไปและผ่ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 คงเดิม 3 (3-0-6) (English for Communication 3) ศึกษาก่อน HG010 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสือ่ สาร 2 หรื อ คะแนน TOEIC 350 หรื อ เทียบเท่า พั ฒ นาทั ก ษะการใช้ ภาษาอัง กฤษ เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจในชีวิตประจาวัน ซึ่ง เป็ นการบูรณาการทักษะการฟั ง พูด อ่าน และ เขี ย น โดยเน้ น การสนทนาทางโทรศัพ ท์ การ นาเสนอข้ อมูลเกี่ยวกับบริ ษัท สินค้ า และบริ การ การเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ ก า ร เ ขี ย น บั น ทึ ก ภ า ย ใ น แ ล ะ จ ด ห ม า ย อิเล็กทรอนิกส์ การอ่านข่าวที่เกี่ยวกับธุรกิจและ สรุปใจความสาคัญในเรื่ องที่อา่ น
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
157
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 3 (3-0-6) (English for Communication 4) ศึกษาก่อน HG011 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสือ่ สาร 3 หรื อ คะแนน TOEIC 450 หรื อ เทียบเท่า พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารทางธุรกิจในชีวิตประจาวัน ซึ่งเป็ น การบูรณาการทักษะการฟั ง พูด อ่าน และเขียน โดยเน้ นการประชุม การเจรจาต่อรองทางธุรกิจ เบื อ้ งต้ น การสัม ภาษณ์ ง านในสถานการณ์ จ าลอง การเขี ย นจดหมายสมัค รงาน และ ประวัติ ส่ ว นตัว ในรู ป แบบทั่ว ไปและผ่ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ การอ่านบทความและสรุปความ เกี่ ย วกับ สถานการณ์ ธุ รกิ จในปั จจุบัน รวมทัง้ การสือ่ สารทางธุรกิจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 คงเดิม 3 (3-0-6) (English for Communication 4) ศึกษาก่อน HG011 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสือ่ สาร 3 หรื อ คะแนน TOEIC 450 หรื อ เทียบเท่า พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารทางธุรกิจในชีวิตประจาวัน ซึ่งเป็ น การบูรณาการทักษะการฟั ง พูด อ่าน และเขียน โดยเน้ นการประชุม การเจรจาต่อรองทางธุรกิจ เบื อ้ งต้ น การสัม ภาษณ์ ง านในสถานการณ์ จ าลอง การเขี ย นจดหมายสมัค รงาน และ ประวัติ ส่ ว นตัว ในรู ป แบบทั่ว ไปและผ่ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ การอ่านบทความและสรุปความ เกี่ ย วกับ สถานการณ์ ธุ รกิ จในปั จจุบัน รวมทัง้ การสือ่ สารทางธุรกิจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
158
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 5.1.2 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ SG004 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Modern Science and Technology) วิ ท ยาการทางวิ ท ยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี สมัยใหม่ นวัตกรรม และการสร้ าง อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ท า ง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มี ผลกระทบต่อ สภาพแวดล้ อม พลังงาน ผลิตภัณฑ์การเกษตร การแพทย์ การสื่อสาร เศรษฐกิ จ ธุรกิ จและ สังคม SG005 คณิตศาสตร์ และสถิติสาหรับ ชีวิตประจาวัน 3 (3-0-6) (Mathematics and Statistics for Daily Life) ค ว า ม ส า คั ญ แ ล ะ บ ท บ า ท ข อ ง คณิ ตศาสตร์ และสถิติที่มีต่อวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี คณิ ต ศาสตร์ และสถิ ติ ที่ ใ ช้ ใน ชี วิ ต ประจ าวัน และธุ ร กิ จ การใช้ โปรแกรม สาเร็ จรู ปเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปล ผล SG006 การรู้ทางดิจทิ ัล 3 (3-0-6) (Digital Literacy) การใช้ สอื่ ดิจิทลั และเทคโนโลยี สารสนเทศในการสือ่ สารแลกเปลีย่ นเรี ยนรู้ และทางานร่วมกัน การใช้ เครื่ องมือและแหล่ง ทรัพยากรดิจิทลั ในการค้ นคว้ า รวบรวม วิเคราะห์และประเมินข้ อมูลเพื่อการตัดสินและ แก้ ปัญหา การศึกษาองค์ความรู้ใหม่ ๆ การ สร้ างสรรค์และนาเสนอผลงานดิจิทลั จริ ยธรรม และความปลอดภัยในการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร ตลอดจนผลกระทบ ของสือ่ ดิจิทลั ที่มตี อ่ บุคคล ธุรกิจ และการ เรี ยนรู้ตลอดชีวิต
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 5.1.2 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ SG004 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คงเดิม สมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Modern Science and Technology) วิ ท ยาการทางวิ ท ยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี สมัยใหม่ นวัตกรรม และการสร้ าง อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ใ ห ม่ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ท า ง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มี ผลกระทบต่อ สภาพแวดล้ อม พลังงาน ผลิตภัณฑ์การเกษตร การแพทย์ การสื่อสาร เศรษฐกิ จ ธุรกิ จและ สังคม SG005 คณิตศาสตร์ และสถิติสาหรับ คงเดิม ชีวิตประจาวัน 3 (3-0-6) (Mathematics and Statistics for Daily Life) ค ว า ม ส า คั ญ แ ล ะ บ ท บ า ท ข อ ง คณิ ตศาสตร์ และสถิติที่มีต่อวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี คณิ ต ศาสตร์ และสถิ ติ ที่ ใ ช้ ใน ชี วิ ต ประจ าวัน และธุ ร กิ จ การใช้ โปรแกรม สาเร็ จรู ปเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปล ผล SG006 การรู้ทางดิจทิ ัล 3 (3-0-6) คงเดิม (Digital Literacy) การใช้ สอื่ ดิจิทลั และเทคโนโลยี สารสนเทศในการสือ่ สารแลกเปลีย่ นเรี ยนรู้ และทางานร่วมกัน การใช้ เครื่ องมือและแหล่ง ทรัพยากรดิจิทลั ในการค้ นคว้ า รวบรวม วิเคราะห์และประเมินข้ อมูลเพื่อการตัดสินและ แก้ ปัญหา การศึกษาองค์ความรู้ใหม่ ๆ การ สร้ างสรรค์และนาเสนอผลงานดิจิทลั จริ ยธรรม และความปลอดภัยในการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร ตลอดจนผลกระทบ ของสือ่ ดิจิทลั ที่มตี อ่ บุคคล ธุรกิจ และการ เรี ยนรู้ตลอดชีวิต
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
159
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 5.1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ BG002 ธุรกิจสมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Modern Business) หลัก การและการประยุกต์ ใช้ ความรู้ พื น้ ฐานทางด้ า นธุ ร กิ จ รู ป แบบการท าธุ ร กิ จ สมั ย ใหม่ ความรู้ เบื อ้ งต้ นทางด้ านการเงิ น เศรษฐศาสตร์ การบัญชี กฎหมายธุรกิ จ และ สภาพแวดล้ อมทางธุรกิจ หลักธรรมาภิบาลใน องค์ ก าร จรรยาบรรณทางธุ ร กิ จ และความ รับผิดชอบต่อสังคม
5.1.4 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ HG022 การบริหารตนเอง 3 (3-0-6) (Self-Management) หลัก การและการประยุกต์ ใช้ ความรู้ เรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคลทางจิตวิทยา พฤติ ก รรมทางสั ง คมของบุ ค คลและกลุ่ ม เกี่ ยวกับการรั บรู้ การเรี ยนรู้ แรงจูงใจ ความ ฉลาดทางอารมณ์ การมี วุฒิภาวะ และสุขภาวะ การนาและการทางานเป็ นทีม การจัดการความ ขัดแย้ งอย่างสร้ างสรรค์ หลักการคิดและการใช้ เหตุผล การวิเคราะห์และเข้ าใจพฤติกรรมของ มนุษ ย์ แ ละน าไปสู่การรู้ จักตนเอง เข้ าใจผู้อื่น และปรับตัวได้ มีคณ ุ ธรรมและจริ ยธรรมในการ ดาเนินชีวิต
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 5.1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ BG 003 การประกอบการ 3(3-0-6) ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชา เชิงนวัตกรรม และ คาอธิบายรายวิชา (Innovative Entrepreneurship) หลักการและการประยุกต์ใช้ ความรู้ ทางด้ านนวัตกรรมกาประกอบการ รูปแบบการทาธุรกิจสมัยใหม่ ความรู้เบื ้องต้ น ด้ านการเงิน การตลาด บัญชี เศรษฐศาสตร์ กฎหมายธุรกิจ สภาพแวดล้ อมทางธุรกิจ หลัก ธรรมาภิบาลในองค์การ จรรยาบรรณทางธุรกิจ รวมทังเศรษฐกิ ้ จพอเพียง เศรษฐกิจเชิง สร้ างสรรค์ เศรษฐกิจสีเขียว ความรับผิดชอบ ต่อสังคม และวิสาหกิจสังคม 5.1.4 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ HG022 การบริหารตนเอง 3 (3-0-6) คงเดิม (Self-Management) หลัก การและการประยุกต์ ใช้ ความรู้ เรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคลทางจิตวิทยา พฤติ ก รรมทางสั ง คมของบุ ค คลและกลุ่ ม เกี่ ยวกับการรั บรู้ การเรี ยนรู้ แรงจูงใจ ความ ฉลาดทางอารมณ์ การมี วุฒิภาวะ และสุขภาวะ การนาและการทางานเป็ นทีม การจัดการความ ขัดแย้ งอย่างสร้ างสรรค์ หลักการคิดและการใช้ เหตุผล การวิเคราะห์และเข้ าใจพฤติกรรมของ มนุษ ย์ แ ละน าไปสู่การรู้ จักตนเอง เข้ าใจผู้อื่น และปรับตัวได้ มีคณ ุ ธรรมและจริ ยธรรมในการ ดาเนินชีวิต
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
160
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 5.1.5 กลุ่มวิชาพัฒนาคุณภาพชีวิต HG032 ทักษะการดารงชีวติ 3 (3-0-6) ในสังคมโลก (Global Life Skills) ความรู้ และทั ก ษะที่ จ าเป็ นในการ ดารงชีวิต เกี่ยวกับสถาบันทางสังคม การเมือง และการปกครองในระบอบประชาธิปไตย การ เปลีย่ นแปลงของสังคมโลกที่มีตอ่ เศรษฐกิจและ สังคมไทย และกลุม่ ประเทศอาเซียน ตลอดจน ความแตกต่างทางด้ าน ศิลปวัฒนธรรม ทักษะ ทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทังการพั ้ ฒนาบุคลิกภาพ การสมาคม และ การสร้ างความน่าเชื่อถือในสังคม
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 5.1.5 กลุ่มวิชาพัฒนาคุณภาพชีวิต HG032 ทักษะการดารงชีวติ 3 (3-0-6) ในสังคมโลก (Global Life Skills) ความรู้ และทั ก ษะที่ จ าเป็ นในการ ดารงชีวิต เกี่ยวกับสถาบันทางสังคม การเมือง และการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย การ เปลี่ยนแปลงของสังคมโลกที่มีตอ่ เศรษฐกิจและ สังคมไทย และกลุม่ ประเทศอาเซียน ตลอดจน ความแตกต่างทางด้ าน ศิลปวัฒนธรรม ทักษะ ทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทังการพั ้ ฒนาบุคลิกภาพ การสมาคม และ การสร้ างความน่าเชื่อถือในสังคม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
161
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 5.2 หมวดวิชาเฉพาะ 5.2.1 วิชาพืน้ ฐานวิชาชีพ BA961 หลักการตลาด 3 (3-0-6) (Principles of Marketing) ความหมายของการตลาด แนวความคิดทางการตลาด ความสาคัญของ การตลาดที่มีตอ่ ธุรกิจและเศรษฐกิจ หน้ าที่ทาง การตลาด สิง่ แวดล้ อมที่มีอิทธิพลทาง การตลาด พฤติกรรมและกระบวนการตัดสินใจ ซื ้อ ตลาดและส่วนแบ่งการตลาด การใช้ สว่ น ประสมทางการตลาด ได้ แก่ ผลิตภัณฑ์ การตัง้ ราคา การจัดจาหน่ายและการส่งเสริ ม การตลาด
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 5.2 หมวดวิชาเฉพาะ 5.2.1 กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ BA961 หลักการตลาด 3 (3-0-6) คงเดิม (Principles of Marketing) ความหมายของการตลาด แนวความคิดทางการตลาด ความสาคัญของ การตลาดที่มีตอ่ ธุรกิจและเศรษฐกิจ หน้ าที่ทาง การตลาด สิง่ แวดล้ อมทีม่ ีอิทธิพลทาง การตลาด พฤติกรรมและกระบวนการตัดสินใจ ซื ้อ ตลาดและส่วนแบ่งการตลาด การใช้ สว่ น ประสมทางการตลาด ได้ แก่ ผลิตภัณฑ์ การตัง้ ราคา การจัดจาหน่ายและการส่งเสริ มการตลาด
EC961 เศรษฐศาสตร์ เบือ้ งต้ น 3 (3-0-6) (Introduction to Economics ) หลักพื ้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ ทวั่ ไป ระดับจุลภาคและมหภาค การทางานของกลไก ราคา โครงสร้ างตลาดแบบต่าง ๆ การผลิตและ ต้ นทุนการผลิต ปั ญหาผลกระทบภายนอกและ การจัดสรรสินค้ าสาธารณะ หลักการเบื ้องต้ น ของการคานวณรายได้ ประชาชาติ โครงสร้ าง ของระบบเศรษฐกิจไทย การบริ โภค การออม การลงทุน ตลาดเงินและตลาดทุน การค้ า ระหว่างประเทศ นโยบายการเงินและการคลัง ปั ญหาเศรษฐกิจที่สาคัญ อาทิ เงินเฟ้ อ การ ว่างงาน เงินฝื ด เงินตึง รวมทังปั ้ ญหาเศรษฐกิจ ปั จจุบนั และแนวทางการแก้ ไข
EC961 เศรษฐศาสตร์ เบือ้ งต้ น 3 (3-0-6) (Introduction to Economics ) หลักพื ้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ ทวั่ ไป ระดับจุลภาคและมหภาค การทางานของกลไก ราคา โครงสร้ างตลาดแบบต่าง ๆ การผลิตและ ต้ นทุนการผลิต ปั ญหาผลกระทบภายนอกและ การจัดสรรสินค้ าสาธารณะ หลักการเบื ้องต้ น ของการคานวณรายได้ ประชาชาติ โครงสร้ าง ของระบบเศรษฐกิจไทย การบริ โภค การออม การลงทุน ตลาดเงินและตลาดทุน การค้ า ระหว่างประเทศ นโยบายการเงินและการคลัง ปั ญหาเศรษฐกิจที่สาคัญ อาทิ เงินเฟ้ อ การ ว่างงาน เงินฝื ด เงินตึง รวมทังปั ้ ญหาเศรษฐกิจ ปั จจุบนั และแนวทางการแก้ ไข
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
162
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 LW961 กฎหมาย การเมือง 3 (3-0-6) และการปกครองของไทย (Thai Law Politics and Government) ความหมาย ความสาคัญของหลักการ ของกฎหมาย ระบบกฎหมาย หลักกฎหมาย ทัว่ ไป กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ กฎหมายอาญา ศึกษารูปแบบของ การเมือง รัฐและสถาบันทางการเมือง โครงสร้ าง และวิวฒ ั นาการทางการปกครองของไทย ระบบ และกลไกการบริ หารของรัฐ CA106 หลักนิเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) (Principles of Communication) ความหมาย ความสาคัญ ประเภท องค์ประกอบ และกระบวนการสือ่ สาร หลักการ สือ่ สาร ปั จจัยและอุปสรรคของการสือ่ สาร แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการสือ่ สารในระดับต่างๆ ได้ แก่ การสือ่ สารภายในบุคคล การสือ่ สาร ระหว่างบุคคล การสือ่ สารกลุม่ การ สือ่ สารมวลชน และบทบาทของการสือ่ สารใน การพัฒนาสังคม CA107 พืน้ ฐานการ 3 (3-0-6) สื่อสารมวลชน (Fundamentals of Mass Communication) ศึกษาก่อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ ความหมาย ความสาคัญ ประเภท องค์ประกอบ กระบวนการ และแบบจาลองของ การสือ่ สารมวลชน วิวฒ ั นาการ บทบาทหน้ าที่ โครงสร้ าง ระบบสือ่ สารมวลชน จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบของสือ่ มวลชน อิทธิพลของ การสือ่ สารมวลชนต่อสังคม การวิเคราะห์ผ้ รู ับ สารสือ่ มวลชน องค์กรสือ่ สารมวลชนที่เกี่ยวข้ อง ทังในและต่ ้ างประเทศ
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 LW961 กฎหมาย การเมือง 3 (3-0-6) และการปกครองของไทย (Thai Law Politics and Government) ความหมาย ความสาคัญของหลักการ ของกฎหมาย ระบบกฎหมาย หลักกฎหมาย ทัว่ ไป กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายแพ่งและ พาณิชย์กฎหมายอาญา ศึกษารูปแบบของ การเมือง รัฐและสถาบันทางการเมือง โครงสร้ างและวิวฒ ั นาการทางการปกครอง ของไทย ระบบและกลไกการบริ หารของรัฐ CA106 หลักนิเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) (Principles of Communication) ความหมาย ความสาคัญ ประเภท องค์ประกอบ และกระบวนการสือ่ สาร หลักการสือ่ สาร ปั จจัยและอุปสรรคของการ สือ่ สาร แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการสือ่ สารใน ระดับต่างๆ ได้ แก่ การสือ่ สารภายในบุคคล การสือ่ สารระหว่างบุคคล การสือ่ สารกลุม่ การ สือ่ สารมวลชน และบทบาทของการสือ่ สารใน การพัฒนาสังคม CA111 พืน้ ฐานการ 3 (3-0-6) สื่อสารมวลชนและสื่อใหม่ (Fundamentals of Mass Communication and New Media) ศึกษาก่อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ พัฒนาการ บทบาทหน้ าที่ โครงสร้ าง ระบบของสือ่ สารมวลชนและสือ่ ใหม่ องค์กร สือ่ สารมวลชนที่เกี่ยวข้ องทังในและ ้ ต่างประเทศ หลักการของการสร้ างสรรค์ เนื ้อหา และคุณสมบัตขิ องผู้สร้ างสรรค์เนื ้อหา เพื่อเผยแพร่ทางสือ่ ต่างๆ การวิเคราะห์ผ้ รู ับสาร สือ่ มวลชนและสือ่ ใหม่ อิทธิพลของการ สือ่ สารมวลชนและสือ่ ใหม่ตอ่ สังคม จรรยาบรรณและความรับผิดชอบของ สือ่ มวลชนและสือ่ ใหม่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ คงเดิม
คงเดิม
ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชาและ คาอธิบายรายวิชา
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
163
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 เหตุผลประกอบ CA108 พืน้ ฐานการสื่อสาร 3(3-0-6) CA108 พืน้ ฐานการสื่อสาร 3(3-0-6) ปรับคาอธิบายรายวิชา เชิงกลยุทธ์ เชิงกลยุทธ์ (Fundamentals of Strategic (Fundamentals of Strategic Communication) Communication) ศึกษาก่อน CA 106 หลักนิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน CA 106 หลักนิเทศศาสตร์ หลักการ แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับ หลักการ แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับ การสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ การสร้ างและสือ่ สาร การประชาสัมพันธ์ การโฆษณา และการ แบรนด์ระดับองค์การ ระดับสินค้ าและบริ การ สือ่ สารเชิงกลยุทธ์ การสร้ าง และ การใช้ เครื่ องมือหลักในการสือ่ สารแบรนด์ สือ่ สารตราสินค้ า รวมทัง้ การใช้ เครื่ องมือใน โดยเน้ นหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และ การสือ่ สารตราสินค้ า จรรยาบรรณและความ กระบวนการดาเนินงานเกี่ยวกับการ รับผิดชอบต่อสังคมของการประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์และการโฆษณา จรรยาบรรณ การโฆษณา และการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ของ และความรับผิดชอบต่อสังคมในการสือ่ สาร องค์กร เชิงกลยุทธ์ขององค์การ CA109 พัฒนาทักษะการอ่ าน 3(3-0-6) CA109 พัฒนาทักษะการอ่ าน 3(3-0-6) คงเดิม (Reading Skill Development ) (Reading Skill Development ) ฝึ กการอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ ศึกษา ฝึ กการอ่านเพื่อจับใจความสาคัญ รูปแบบการเขียนของบทอ่าน วิเคราะห์ วิจารณ์ และศึกษารูปแบบการเขียนของบทอ่าน วิเคราะห์ ประเมินคุณค่าของบทอ่าน โดยเน้ นบทอ่านจากสือ่ วิจารณ์ และประเมินคุณค่าของบทอ่าน โดยเน้ น ต่าง ๆ ทังที ้ ม่ ีจดุ มุง่ หมายเพื่องานสือ่ สารมวลชนและบทอ่านจากสือ่ ต่าง ๆ ทังที ้ ่มจี ดุ มุง่ หมายเพื่องาน งานอื่น ๆ ได้ แก่ ข่าว บทความสารคดี สารคดีเชิง สือ่ สารมวลชนและงานอื่น ๆ ได้ แก่ ข่าว บทความ ข่าว รายงาน สารคดี สารคดีเชิงข่าว รายงาน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
164
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CA110 พัฒนาทักษะการเขียน 3(3-0-6) (Writing Skill Development ) ศึกษาก่อน HG 008 ภาษาไทยเพือ่ การ สือ่ สาร ฝึ กการเขียนอย่างมีระบบเพื่อให้ บรรลุจดุ ประสงค์ ที่ต้องการ ได้ แก่ การเขียนเพื่อเล่าเรื่ อง เพื่อ อธิบายคาหรื อข้ อความ เพื่อแสดงความคิดเห็น และเพื่อสร้ างจินตนาการ โดยการกาหนด จุดมุง่ หมายของการเขียน การวางเค้ าโครงเรื่ อง การนาเสนอ และการใช้ ภาษาในการสือ่ สาร
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 เหตุผลประกอบ CA110 พัฒนาทักษะการเขียน 3(3-0-6) คงเดิม (Writing Skill Development ) ศึกษาก่อน HG 008 ภาษาไทยเพือ่ การ สือ่ สาร ฝึ กการเขียนอย่างมีระบบเพื่อให้ บรรลุจดุ ประสงค์ที่ต้องการ ได้ แก่ การเขียน เพื่อเล่าเรื่ อง เพื่ออธิบายคาหรื อข้ อความ เพื่อ แสดงความคิดเห็น และเพื่อสร้ างจินตนาการ โดยการกาหนดจุดมุง่ หมายของการเขียน การ วางเค้ าโครงเรื่ อง การนาเสนอ และการใช้ ภาษาในการสือ่ สาร CA202 วาทนิเทศ 3(3-0-6) CA202 วาทนิเทศ 3(3-0-6) คงเดิม (Speech Communication ) (Speech Communication ) ทฤษฎีหลักการพูด ความสาคัญ ทฤษฎีหลักการพูด ความสาคัญ องค์ประกอบและประเภทของการพูด การเตรียมการองค์ประกอบและประเภทของการพูด การ พูด ฝึ กการพูดประเภทต่าง ๆ ในที่ เตรี ยมการพูด ฝึ กการพูดประเภทต่าง ๆ ในที่ ชุมชน ได้ แก่ การพูดเล่าเรื่ อง การพูดโน้ มน้ าวใจ ชุมชน ได้ แก่ การพูดเล่าเรื่ อง การพูดโน้ มน้ าวใจ การสัมภาษณ์ การประชุม การอภิปราย และการ การสัมภาษณ์ การประชุม การอภิปราย และการ โต้ วาที รวมทังฝึ้ กการวิเคราะห์ วิจารณ์ และ โต้ วาที รวมทังฝึ้ กการวิเคราะห์ วิจารณ์ และ ประเมินผลการพูด ประเมินผลการพูด
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
165
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CA205 ศิลปะการสื่อสาร 3(2-2-5) ผ่ านภาพและเสียง (Audio and Visual Arts for Communication) จิตวิทยาการสือ่ สารด้ วยภาพ ตัวอักษร และเสียง การใช้ จิตวิทยาในการ ถ่ายทอดความคิดและความรู้สกึ เพื่อให้ สอดคล้ องกับความรู้และความเข้ าใจของผู้รับ สาร การจัดองค์ประกอบของภาพและเสียง ทฤษฎีและเทคนิคเบื ้องต้ นเกี่ยวกับการถ่าย ภาพนิ่งและภาพเคลือ่ นไหว ฝึ กการถ่ายภาพนิ่ง และภาพเคลือ่ นไหวเบื ้องต้ นทังในสตู ้ ดิโอ และ นอกสถานที่
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 เหตุผลประกอบ CA205 ศิลปะการสื่อสาร 3(2-2-5) คงเดิม ผ่ านภาพและเสียง (Audio and Visual Arts for Communication) จิตวิทยาการสือ่ สารด้ วยภาพ ตัวอักษร และเสียง การใช้ จิตวิทยาในการ ถ่ายทอดความคิดและความรู้สกึ เพื่อให้ สอดคล้ องกับความรู้และความเข้ าใจของผู้รับ สาร การจัดองค์ประกอบของภาพและเสียง ทฤษฎีและเทคนิคเบื ้องต้ นเกี่ยวกับการถ่าย ภาพนิ่งและภาพเคลือ่ นไหว ฝึ กการถ่ายภาพนิ่ง และภาพเคลือ่ นไหวเบื ้องต้ นทังในสตู ้ ดิโอ และ นอกสถานที่
CA206 หลักการสื่อข่ าว 3(3-0-6) และเขียนข่ าว (News Reporting and Writing) ความหมาย องค์ประกอบ และ ประเภทของข่าว คุณสมบัติ ความรับผิดชอบ และจริ ยธรรมของผู้สอื่ ข่าว การประเมินคุณค่า ของแหล่งข่าว เน้ นเทคนิคการสืบค้ นและ รวบรวมข้ อมูล รวมทังฝึ ้ กการเขียนข่าวเพื่อ รายงานทางหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์
CA206 หลักการสื่อข่ าว 3(3-0-6) คงเดิม และเขียนข่ าว (News Reporting and Writing) ความหมาย องค์ประกอบ และ ประเภทของข่าว คุณสมบัติ ความรับผิดชอบ และจริ ยธรรมของผู้สอื่ ข่าว การประเมินคุณค่า ของแหล่งข่าว เน้ นเทคนิคการสืบค้ นและ รวบรวมข้ อมูล รวมทังฝึ ้ กการเขียนข่าวเพื่อ รายงานทางหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
166
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CA303 ภาษาอังกฤษสาหรับ 3(3-0-6) งานนิเทศศาสตร์ (English for Communication Arts ) สอบผ่าน HG 012 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสือ่ สาร 4 ฝึ กการฟั งเพื่อความเข้ าใจ โดย สามารถจับใจความสาคัญและรายละเอียด ของบท-สนทนา ข่าว สารคดี รายงาน การ บรรยาย ฝึ กการพูด การแสดงความคิดเห็น การ สัมภาษณ์ การเสนอรายงาน สรุปความจากที่ ฟั ง ฝึ กการอ่านสิง่ ตีพิมพ์ภาษาอังกฤษ ทางด้ านนิเทศศาสตร์ ได้ แก่ ข่าว โฆษณา บทความ เพื่อจับใจความสาคัญแล ะรายละเอียด ฝึ กการเขียนสรุปความข่าวและ การรายงานข่าว
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CA303 ภาษาอังกฤษสาหรับ 3(3-0-6) งานนิเทศศาสตร์ (English for Communication ) สอบผ่าน HG 012 ภาษาอังกฤษ เพือ่ การสือ่ สาร 4 ฝึ กการฟั งเพื่อความเข้ าใจ โดย สามารถจับใจความสาคัญและรายละเอียด ของบท-สนทนา ข่าว สารคดี รายงาน การ บรรยาย ฝึ กการพูด การแสดงความคิดเห็น การสัมภาษณ์ การเสนอรายงาน สรุปความ จากที่ฟัง ฝึ กการอ่านสิง่ ตีพมิ พ์ภาษาอังกฤษ ทางด้ านนิเทศศาสตร์ ได้ แก่ ข่าว โฆษณา บทความ เพื่อจับใจความสาคัญและ รายละเอียด ฝึ กการเขียนสรุปความข่าวและ การรายงานข่าว
CA304 การวิจัยเบือ้ งต้ น 3(3-0-6) ทางนิเทศศาสตร์ (Introduction to Communication Research) หลัก และแนวคิดเกี่ยวกับระเบียบ วิธีวจิ ยั ทางสังคมศาสตร์ กระบวนการวิจยั ตังแต่ ้ การตังปั ้ ญหานาวิจยั การสารวจ วรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง การตังสมมติ ้ ฐาน การ เลือกตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้ อมูล การ วิเคราะห์ข้อมูล การใช้ สถิติเบื ้องต้ นในการ ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล และการ นาเสนอผลการวิจยั
CA304 การวิจัยเบือ้ งต้ น 3(3-0-6) คงเดิม ทางนิเทศศาสตร์ (Introduction to Communication Research) หลัก และแนวคิดเกี่ยวกับระเบียบ วิธีวจิ ยั ทางสังคมศาสตร์ กระบวนการวิจยั ตังแต่ ้ การตังปั ้ ญหานาวิจยั การสารวจ วรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง การตังสมมติ ้ ฐาน การเลือกตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้ อมูล การ วิเคราะห์ข้อมูล การใช้ สถิติเบื ้องต้ นในการ ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล และการ นาเสนอผลการวิจยั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ ปรับชื่อภาษาอังกฤษ
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
167
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CA305 การจัดการสารสนเทศ 3(2-2-5) เพื่องานนิเทศศาสตร์ (Information Management for Communication) แนวคิด หลักการ โครงสร้ าง และ กระบวนการทางสารสนเทศ การใช้ แหล่ง สารสนเทศ การสืบค้ น การแปลผลข้ อมูลที่ ซับซ้ อน และการนาเสนอสารสนเทศ ฝึ กทักษะ การใช้ โปรแกรมสาเร็ จรูปเพื่อการจัดการและการ สือ่ สารสารสนเทศสาหรับงานนิเทศศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 เหตุผลประกอบ CA305 การจัดการสารสนเทศ 3(2-2-5) คงเดิม เพื่องานนิเทศศาสตร์ (Information Management for Communication) แนวคิด หลักการ โครงสร้ าง และ กระบวนการทางสารสนเทศ การใช้ แหล่ง สารสนเทศ การสืบค้ น การแปลผลข้ อมูลที่ ซับซ้ อน และการนาเสนอสารสนเทศ ฝึ กทักษะ การใช้ โปรแกรมสาเร็ จรูปเพื่อการจัดการและ การสือ่ สารสารสนเทศสาหรับงานนิเทศศาสตร์ CA306 กฎหมายและจริยธรรม 3(3-0-6) CA306 กฎหมายและจริยธรรม 3(3-0-6) คงเดิม นิเทศศาสตร์ นิเทศศาสตร์ (Law and Ethics for (Law and Ethics for Communication) Communication) กฎหมายเกี่ยวกับงานนิเทศศาสตร์ การ กฎหมายเกี่ยวกับงานนิเทศศาสตร์ โฆษณา การประชาสัมพันธ์และสือ่ ทุกประเภท การโฆษณา การประชาสัมพันธ์และสือ่ ทุก เช่น กฎหมายอาญาว่าด้ วยการหมิ่นประมาท ประเภท เช่น กฎหมายอาญาว่าด้ วยการหมิ่น ละเมิดและความรับผิดชอบทางแพ่ง กฎหมาย ประมาท ละเมิดและความรับผิดชอบทางแพ่ง ลิขสิทธิ์และสิทธิบตั ร จริ ยธรรมและจรยาบรรณ กฎหมายลิขสิทธิ์และสิทธิบตั ร จริ ยธรรมและ ของนักนิเทศศาสตร์ โดยคานึงถึงความ จรยาบรรณของนักนิเทศศาสตร์ โดยคานึงถึง รับผิดชอบต่อสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
168
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 5.2.2 กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 5.2.2 กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา
เหตุผลประกอบ
CI001 ศิลปะการเล่ าเรื่อง 3(3-0-6) ปรับชื่อภาษาอังกฤษ (The Art of Storytelling ) แนวคิด ความเป็ นมาของเรื่ องเล่า และการเล่าเรื่ อง การออกแบบโครงสร้ างของ เรื่ องและสไตล์การเล่าเรื่ อง หลักและเทคนิค การเล่าเรื่ องประเภทต่าง ๆ อาทิ การเล่าเรื่ อง จากข้ อเท็จจริ ง การเล่าเรื่ องแบบละคร การใช้ จินตนาการในการเล่าเรื่ อง โดยเน้ นฝึ กการเล่า เรื่ องผ่านการเขียน การพูด การแสดง ภาพ และสือ่ อื่น ๆ CI002 ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน 3(3-0-6) CI002 ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน 3(3-0-6) คงเดิม (Mass Communication Theory) (Mass Communication Theory) ทฤษฎี และแนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการ ทฤษฎี และแนวคิดเกี่ยวกับ สือ่ สารมวลชน บทบาทหน้ าที่ และอิทธิพลของ กระบวนการสือ่ สารมวลชน บทบาทหน้ าที่ สือ่ มวลชนที่มีตอ่ ปั จเจกบุคคลและสังคม โดยมุง่ และอิทธิพลของสือ่ มวลชนทีม่ ีตอ่ ปั จเจกบุคคล ให้ เข้ าใจทฤษฎี และการนาทฤษฎีมาใช้ ในการ และสังคม โดยมุง่ ให้ เข้ าใจทฤษฎี และการนา อธิบายผลสะท้ อนของสือ่ มวลชนที่มีตอ่ สมาชิก ทฤษฎีมาใช้ ในการอธิบายผลสะท้ อนของ ในสังคม สือ่ มวลชนที่มีตอ่ สมาชิกในสังคม CI003 การวิจัยประยุกต์ ทาง 3(3-0-6) CI003 การวิจัยประยุกต์ ทาง 3(3-0-6) คงเดิม นวัตกรรมสื่อสารมวลชน นวัตกรรมสื่อสารมวลชน (Applied Research for Innovative (Applied Research for Innovative Mass Communication) Mass Communication) สอบผ่าน CA 304 การวิจยั เบื ้องต้ น สอบผ่าน CA 304 การวิจยั เบื ้องต้ น ทางนิเทศศาสตร์ ทางนิเทศศาสตร์ วิจยั ประยุกต์โดยนาทฤษฎี แนวคิด กระบวนการ วิจยั ประยุกต์โดยนาทฤษฎี แนวคิด และเทคนิคการวิจยั มาใช้ ในการวิจยั ด้ าน กระบวนการ และเทคนิคการวิจยั มาใช้ ในการ นวัตกรรมการสือ่ สาร ตังแต่ ้ การกาหนดปั ญหา วิจยั ด้ านนวัตกรรมการสือ่ สาร ตังแต่ ้ การ วัตถุประสงค์ สมมติฐาน ตัวแปร กรอบแนวคิด กาหนดปั ญหา วัตถุประสงค์ สมมติฐาน ตัว ทฤษฎี ประมวลผลข้ อมูลและการรายงานผล แปร กรอบแนวคิดทฤษฎี ประมวลผลข้ อมูล วิจยั รวมถึงเทคนิคการนาเสนอผลวิจยั ใน และการรายงานผลวิจยั รวมถึงเทคนิคการ รูปแบบที่เหมาะสมทางสือ่ ประเภทต่าง ๆ นาเสนอผลวิจยั ในรูปแบบที่เหมาะสมทางสือ่ ประเภทต่าง ๆ CI001 ศิลปะการเล่ าเรื่อง 3(3-0-6) (Storytelling Arts) แนวคิด ความเป็ นมาของเรื่ องเล่าและการเล่า เรื่ อง การออกแบบโครงสร้ างของเรื่ องและสไตล์ การเล่าเรื่ อง หลักและเทคนิคการเล่าเรื่ อง ประเภทต่าง ๆ อาทิ การเล่าเรื่ องจากข้ อเท็จจริ ง การเล่าเรื่ องแบบละคร การใช้ จินตนาการในการ เล่าเรื่ อง โดยเน้ นฝึ กการเล่าเรื่ องผ่านการเขียน การพูด การแสดง ภาพ และสือ่ อื่น ๆ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
169
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 5.2.3 กลุ่มวิชาเอก วารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ 5.2.3.1 รายวิชาบังคับ CI101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่อ 3(2-2-5) งานวารสารศาสตร์ (Computer Graphics for Journalism) หลักและทฤษฎีการออกแบบ หลักการ จัดหน้ า การใช้ ตวั พิมพ์ การใช้ สี องค์ประกอบ ศิลป์ ฝึ กปฏิบตั ิการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่อผลิตชิ ้นงานวารสารศาสตร์ สาหรับ เผยแพร่ทางสือ่ สิง่ พิมพ์และสือ่ ดิจิทลั
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 5.2.3 กลุ่มวิชาเอก วารสารศาสตร์ ดิจิทัล 5.2.3.1 วิชาเอกบังคับ CI101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่อ 3(2-2-5) ปรับคาอธิบายรายวิชา งานวารสารศาสตร์ (Computer Graphics for Journalism) หลักและทฤษฎีการออกแบบ หลักการจัดหน้ า การใช้ ตวั พิมพ์ การใช้ สี องค์ประกอบศิลป์ ฝึ กปฏิบตั ิการใช้ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่อผลิตชิ ้นงานวารสาร ศาสตร์ สาหรับเผยแพร่ทางสือ่ ดังเดิ ้ มและสือ่ ดิจิทลั
CI102 การสื่อข่ าวสาหรับ 3( 2-2-5) งานวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ (News Reporting for Convergence Journalism) สอบผ่าน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และ เขียนข่าว หลักการสือ่ ข่าว การเขียนข่าวและการ รายงานข่าวเชิงบูรณาการ เพื่อนาเสนอผ่านสือ่ ดิจิทลั สือ่ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และสือ่ สิง่ พิมพ์ โดยเน้ นฝึ กการรายงานข่าวให้ สอดคล้ องกับเทคโนโลยีสอื่ สมัยใหม่บนพื ้นฐาน ของหลักกฎหมาย จรรยาบรรณ และความ รับผิดชอบต่อสังคม
CI111 การสื่อข่ าวสาหรับ 3( 2-2-5) ปรับรหัสวิชา และ ชื่อวิชา งานวารสารศาสตร์ ดิจิทัล (News Reporting for Digital Journalism) สอบผ่าน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และ เขียนข่าว หลักการสือ่ ข่าว การเขียนข่าวและการ รายงานข่าวเชิงบูรณาการ เพื่อนาเสนอผ่านสือ่ ดิจิทลั สือ่ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และสือ่ สิง่ พิมพ์ โดยเน้ นฝึ กการรายงานข่าวให้ สอดคล้ องกับเทคโนโลยีสอื่ สมัยใหม่บน พื ้นฐานของหลักกฎหมาย จรรยาบรรณ และ ความรับผิดชอบต่อสังคม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
170
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI103 การเขียนสร้ างสรรค์ 3(3-0-6) เพื่องานวารสารศาสตร์ (Creative Writing for Journalism) ศึกษาก่อน CA 109 พัฒนาทักษะ การอ่าน สอบผ่าน CA 110 พัฒนาทักษะ การเขียน หลักและแนวคิดเกี่ยวกับการเขียนเชิง สร้ างสรรค์ หลักการสร้ างสรรค์งานเขียนประเภท ต่าง ๆ เพื่องานวารสารศาสตร์ อาทิ บท บรรณาธิการ บทความแสดงความคิดเห็น บท วิเคราะห์ บทวิจารณ์ ฝึ กวิเคราะห์และวิจารณ์งาน เขียนเชิงสร้ างสรรค์ และฝึ กเขียนเชิงสร้ างสรรค์เพื่อ งานวารสารศาสตร์ ในรูปแบบต่าง ๆ โดยคานึงถึง จรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคม CI104 การจัดการธุรกิจ 3(3-0-6) วารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ (Business Management for Convergence Journalism ) หลักการจัดองค์กร การกาหนดนโยบาย และแผนงานธุรกิจวารสารศาสตร์ การบริ หารงาน กองบรรณาธิการ การบริ หารการเงินและ งบประมาณ การบริ หารการผลิต การบริ หารการ จัดจาหน่าย การบริ หารการตลาด รวมทังการ ้ ปรับตัวของธุรกิจวารสารศาสตร์ ในยุคหลอมรวม ของสือ่ สิง่ พิมพ์ สือ่ ดิจิทลั และสือ่ ใหม่
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI103 การเขียนสร้ างสรรค์ 3(3-0-6) เพื่องานวารสารศาสตร์ (Creative Writing for Journalism) ศึกษาก่อน CA 109 พัฒนาทักษะ การอ่าน ศึกษาก่อน CA 110 พัฒนาทักษะ การเขียน หลักและแนวคิดเกี่ยวกับการเขียนเชิง สร้ างสรรค์ หลักการสร้ างสรรค์งานเขียนประเภท ต่าง ๆ เพื่องานวารสารศาสตร์ เพือ่ เผยแพร่ทางสือ่ ดังเดิ ้ มและสือ่ ดิจิทลั อาทิ บทบรรณาธิการ บทความแสดงความคิดเห็น บทวิเคราะห์ บท วิจารณ์ ฝึ กวิเคราะห์และวิจารณ์งานเขียนเชิง สร้ างสรรค์ และฝึ กเขียนเชิงสร้ างสรรค์เพื่องาน วารสารศาสตร์ ในรูปแบบต่าง ๆ โดยคานึงถึง จรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคม CI112 การจัดการธุรกิจ 3(3-0-6) วารสารศาสตร์ ดิจิทัล (Business Management for Digital Journalism ) หลักการจัดองค์กร การกาหนดนโยบาย และแผนงานธุรกิจวารสารศาสตร์ การบริ หารงาน กองบรรณาธิการ การบริ หารการเงินและ งบประมาณ การบริ หารการผลิต การบริ หารการ จัดจาหน่าย การบริ หารการตลาด รวมทังการ ้ ปรับตัวของธุรกิจวารสารศาสตร์ ในยุคหลอมรวม ของสือ่ ดังเดิ ้ มและสือ่ ดิจิทลั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ -ปรับเงื่อนไขก่อน เรี ยน -ปรับคาอธิบาย รายวิชา
ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชา และ คาอธิบาย รายวิชา
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
171
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI105 การบรรณาธิกร 3(2-2-5) และการผลิตหนังสือพิมพ์ (Newspaper Editing and Production) ศึกษาก่อน CI 101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องาน วารสารศาสตร์ CI 103 การเขียน สร้ างสรรค์เพื่องาน วารสารศาสตร์ สอบผ่าน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และเขียนข่าว หลักการบรรณาธิกรและการผลิต หนังสือพิมพ์ การสือ่ ข่าว การคัดเลือกข่าว การเขียนหัวข่าว บทความ คอลัมน์ และ ภาพประกอบ การพิสจู น์อกั ษร การตกแต่ง ต้ นฉบับ การจัดหน้ า และฝึ กปฏิบตั ิการผลิต หนังสือพิมพ์ และหนังสือพิมพ์ออนไลน์ CI106 การผลิตสื่อวารสารศาสตร์ 3(2-2-5) คอนเวอร์ เจนซ์ (Media Production for Convergence Journalism) สอบผ่าน CI 101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก เพื่องานวารสารศาสตร์ ศึกษาก่อน CI 102 การสือ่ ข่าวสาหรับ งานวารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ แนวคิดเกี่ยวกับสือ่ วารสารศาสตร์ ดิจิทลั หลักและกระบวนการผลิตสือ่ ดิจิทลั บทบาทของบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ในการดาเนินงานวารสารศาสตร์ ผา่ นสือ่ ดิจิทลั อย่างมีจรรยาบรรณและมีความรับผิดชอบต่อ สังคม ฝึ กการวางแผนและผลิตสือ่ ดิจิทลั โดยใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทเี่ กี่ยวข้ อง
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI105 การบรรณาธิกร 3(2-2-5) -ปรับเงื่อนไขก่อนเรี ยน และการผลิตหนังสือพิมพ์ (Newspaper Editing and Production) ศึกษาก่อน CI 101 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องาน วารสารศาสตร์ CI 103 การเขียน สร้ างสรรค์เพื่องาน วารสารศาสตร์ ศึกษาก่อน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และเขียนข่าว หลักการบรรณาธิกรและการผลิต หนังสือพิมพ์ การสือ่ ข่าว การคัดเลือกข่าว การเขียนหัวข่าว บทความ คอลัมน์ และ ภาพประกอบ การพิสจู น์อกั ษร การตกแต่ง ต้ นฉบับ การจัดหน้ า และฝึ กปฏิบตั ิการผลิต หนังสือพิมพ์ และหนังสือพิมพ์ออนไลน์ CI113 การผลิตสื่อวารสารศาสตร์ 3(2-2-5) ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชา และ ดิจิทัล เงื่อนไขก่อนเรียน (Media Production for Digital Journalism) ศึกษาก่อนCI 101คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก เพือ่ งานวารสารศาสตร์ ศึกษาก่อน CI 102 การสือ่ ข่าวสาหรับ งานวารสารศาสตร์ ดิจิทลั แนวคิดเกี่ยวกับสือ่ วารสารศาสตร์ ดิจิทลั หลักและกระบวนการผลิตสือ่ ดิจิทลั บทบาทของบรรณาธิการและกองบรรณาธิการ ในการดาเนินงานวารสารศาสตร์ ผา่ นสือ่ ดิจิทลั อย่างมีจรรยาบรรณและมีความรับผิดชอบต่อ สังคม ฝึ กการวางแผนและผลิตสือ่ ดิจิทลั โดยใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทเี่ กี่ยวข้ อง
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
172
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI107 สัมมนาวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) คอนเวอร์ เจนซ์ กับสังคม (Seminar on Convergence Journalism and Society) ศึกษาก่อน CI 105 การบรรณาธิกรและการผลิตหนังสือพิมพ์ วิเคราะห์และวิพากษ์ บทบาทหน้ าที่ของสือ่ และ วิชาชีพด้ านวารสารศาสตร์ ทกุ ประเภท ทังในและ ้ ต่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสังคม โดยคานึงถึง องค์ประกอบด้ านความรับผิดชอบ จริ ยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ CI108 ประสบการณ์ วิชาชีพ 3(0-6-3) ทางวารสารศาสตร์ (Journalism Practicum) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจานวน ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด การฝึ กงานกับองค์กรวารสารศาสตร์ ภายนอก ได้ แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร สานัก ข่าว งานข่าวของสถานีวิทยุกระจายเสียง งาน ข่าวของสถานีวิทยุโทรทัศน์ รวมทังองค์ ้ กรผลิต ข่าวสาหรับสือ่ ออนไลน์ โดยได้ รับความเห็นชอบ จากสาขาวิชา ให้ มีระยะเวลาฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อ ไม่น้อยกว่า 400 ชัว่ โมงตามที่ สาขาวิชากาหนด และให้ เสนอรายงานการ ฝึ กงานประกอบ
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI114 สัมมนาวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) ปรับรหัสวิชา และ ชื่อวิชา ดิจิทัลกับสังคม (Seminar on Digital Journalism and Society) ศึกษาก่อน CI 105 การบรรณาธิกร และการผลิตหนังสือพิมพ์ วิเคราะห์และวิพากษ์ บทบาทหน้ าที่ของสือ่ และ วิชาชีพด้ านวารสารศาสตร์ ทกุ ประเภท ทังใน ้ และต่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสังคม โดย คานึงถึงองค์ประกอบด้ านความรับผิดชอบ จริ ยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ CI116 ประสบการณ์ วชิ าชีพ 3(0-6-3) ปรับรหัสวิชา และ ชื่อวิชา ทางวารสารศาสตร์ ดิจิทัล (Digital Journalism Practicum) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจานวน ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด การฝึ กงานกับองค์กรวารสารศาสตร์ ภายนอก ได้ แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร สานัก ข่าว งานข่าวของสถานีวิทยุกระจายเสียง งาน ข่าวของสถานีวิทยุโทรทัศน์ รวมทังองค์ ้ กรผลิต ข่าวสาหรับสือ่ ออนไลน์ โดยได้ รับความ เห็นชอบจากสาขาวิชา ให้ มีระยะเวลาฝึ กงาน ไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อ ไม่น้อยกว่า 400 ชัว่ โมงตามที่สาขาวิชากาหนด และให้ เสนอ รายงานการฝึ กงานประกอบ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
173
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI109 โครงงานด้ าน 3(1-2-6) วารสารศาสตร์ คอนเวอร์ เจนซ์ (Convergence Journalism Project) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจานวน ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชากาหนด นักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่ามี คุณสมบัติเหมาะสมในการจัดทาโครงงานด้ าน วารสารศาสตร์ แทนการออกฝึ กงานในหน่วยงาน ภายนอก ตามรายวิชา CI 108 ประสบการณ์วิชาชีพ ทางวารสารศาสตร์ ให้ จดั ทาโครงงานเรื่ องใด ๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับด้ านวารสารศาสตร์ ดิจิทลั โดยนักศึกษา ต้ องเขียนโครงการและนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดาเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการ ที่ได้ รับความเห็นชอบ CI110 สหกิจศึกษา 6(0-40-20) (Co-operative Education) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจานวน ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชากาหนด การปฏิบตั ิงานจริ งในสถานระกอบการอย่าง มีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษาเป็ นระยะเวลา 1 ภาค การศึกษาในฐานะพนักงานชัว่ คราว นักศึกษาจะต้ อง เข้ ารับการเตรียมความพร้ อมทังทางด้ ้ านวิชาการ และการปฏิบตั ิตนในสังคม การทางาน รวมทัง้ ดาเนินการตามขันตอนของสหกิ ้ จศึกษาที่ มหาวิทยาลัยกาหนด การปฏิบตั งิ านและการ ประเมินผล อยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของอาจารย์ที่ ปรึกษาของสาขาวิชา และพนักงานที่ปรึกษาที่สถาน ประกอบการมอบหมายการทางาน
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI115 โครงงานด้ าน 3(1-2-6) วารสารศาสตร์ ดิจิทัล (Digital Journalism Project) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจานวน ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่ สาขาวิชากาหนด
เหตุผลประกอบ ปรับรหัสวิชา และ ชื่อวิชา
นักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่ามี คุณสมบัติเหมาะสมในการจัดทาโครงงานด้ าน วารสารศาสตร์ แทนการออกฝึ กงานใน หน่วยงานภายนอก ตามรายวิชา CI 108 ประสบการณ์วิชาชีพทางวารสารศาสตร์ ให้ จดั ทาโครงงานเรื่ องใด ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับด้ าน วารสารศาสตร์ ดจิ ิทลั โดยนักศึกษาต้ องเขียน โครงการและนาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดาเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตาม โครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ CI110 สหกิจศึกษา 6(0-40-20) คงเดิม (Co-operative Education) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจานวน ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชากาหนด การปฏิบตั ิงานจริ งในสถานระกอบการ อย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษาเป็ น ระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะพนักงาน ชัว่ คราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการเตรี ยมความ พร้ อมทังทางด้ ้ านวิชาการ และการปฏิบตั ิตนใน สังคม การทางาน รวมทังด ้ าเนินการตาม ขันตอนของสหกิ ้ จศึกษาทีม่ หาวิทยาลัยกาหนด การปฏิบตั ิงานและการประเมินผล อยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาของ สาขาวิชา และพนักงานที่ปรึกษาที่สถาน ประกอบการมอบหมาย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
174
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 5.2.3.2 รายวิชาเลือก CI131 การสื่อข่ าวขัน้ สูง 3(3-0-6) (Advanced News Reporting) ศึกษาก่อน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และเขียนข่าว หลักการและเทคนิคการรายงานข่าวขัน้ สูง อาทิ การรายงานข่าวเชิงอธิบายความ การ รายงานข่าวสืบสวน ได้ แก่ ข่าวการเมือง ข่าว เศรษฐกิจ ข่าวต่างประเทศ ข่าวสิง่ แวดล้ อม ข่าวอาชญากรรม ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา โดยเน้ น ความรู้ที่จาเป็ นในการรายงานข่าว การเข้ าถึง แหล่งข่าว ประเด็นข่าวที่มกั พบ และแนวทางการ เสนอข่าวแต่ละด้ าน CI132 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) (Journalism Technology) เทคโนโลยีด้านการพิมพ์ และ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการดาเนินงานด้ านข่าว และการบรรณาธิกรหนังสือพิมพ์และนิตยสาร อาทิ เทคโนโลยีการสือ่ สาร เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีโทรคมนาคม และการ เลือกใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมสาหรับงานด้ าน วารสารศาสตร์ CI133 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) (Photojournalism) หลักการ และแนวคิดเกี่ยวกับภาพ ข่าว เทคนิคและวิธีการถ่ายภาพ การคัดเลือก ภาพเพื่อนาไปใช้ ในงานวารสารศาสตร์ ผลกระทบของภาพและภาพข่าวที่มีตอ่ ผู้รับสาร ฝึ กการถ่ายภาพและการนาเสนอภาพเพื่องาน วารสารศาสตร์ โดยคานึงถึงจรรยาบรรณและ ความรับผิดชอบต่อสังคม
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 5.2.3.2 วิชาเอกเลือก คงเดิม CI131 การสื่อข่ าวขัน้ สูง 3(3-0-6) (Advanced News Reporting) ศึกษาก่อน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และเขียนข่าว หลักการและเทคนิคการรายงานข่าว ขันสู ้ ง อาทิ การรายงานข่าวเชิงอธิบายความ การรายงานข่าวสืบสวน ได้ แก่ ข่าวการเมือง ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวต่างประเทศ ข่าว สิง่ แวดล้ อม ข่าวอาชญากรรม ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา โดยเน้ นความรู้ที่จาเป็ นในการ รายงานข่าว การเข้ าถึงแหล่งข่าว ประเด็นข่าว ที่มกั พบ และแนวทางการเสนอข่าวแต่ละด้ าน CI132 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) คงเดิม (Journalism Technology) เทคโนโลยีด้านการพิมพ์ และ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการดาเนินงานด้ านข่าว และการบรรณาธิกรหนังสือพิมพ์และนิตยสาร อาทิ เทคโนโลยีการสือ่ สาร เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีโทรคมนาคม และการ เลือกใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมสาหรับงานด้ าน วารสารศาสตร์ CI133 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) คงเดิม (Photojournalism) หลักการ และแนวคิดเกี่ยวกับภาพ ข่าว เทคนิคและวิธีการถ่ายภาพ การคัดเลือก ภาพเพื่อนาไปใช้ ในงานวารสารศาสตร์ ผลกระทบของภาพและภาพข่าวที่มีตอ่ ผู้รับ สาร ฝึ กการถ่ายภาพและการนาเสนอภาพเพื่อ งานวารสารศาสตร์ โดยคานึงถึงจรรยาบรรณ และความรับผิดชอบต่อสังคม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
175
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI134 การเขียนสารคดี 3(3-0-6) (Feature Writing) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสารคดี และกระบวนการผลิตสารคดี อาทิ การเลือก เรื่ อง การรวบรวมและคัดเลือกข้ อมูล การเขียน และการนาเสนอผลงานสารคดีผา่ นสือ่ รูปแบบ ต่าง ๆ โดยเน้ นฝึ กกระบวนการผลิตงานเขียน ประเภทสารคดี โดยคานึงถึงจริ ยธรรมในการ นาเสนอ CI135 วารสารศาสตร์ สากล 3(3-0-6) (Global Journalism) แนวคิดเกี่ยวกับวารสารศาสตร์ สากล การไหลเวียนของข่าวสารระหว่างประเทศ ภูมิ ทัศน์ของสือ่ ที่เปลีย่ นแปลงไปในยุคหลอมรวมสือ่ ซึง่ ก่อให้ เกิดผลกระทบกับประชาคมโลก ลักษณะและบทบาทหน้ าที่ของสือ่ มวลชนทังใน ้ ระดับสากล และ ระดับภูมิภาค โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งภูมิภาคอาเซียน วิเคราะห์ปัญหาการนาเสนอ ข่าวสารของประเทศกาลังพัฒนา CI136 การวิเคราะห์ ข่าวปั จจุบัน 3(3-0-6) (Current News Analysis) วิธีการวิเคราะห์ขา่ วที่ปรากฏใน สือ่ มวลชนในปั จจุบนั ทังข่ ้ าวภายในประเทศ และ ข่าวต่างประเทศทีม่ ีผลกระทบต่อสังคมไทย ภูมิ หลังและประเด็นหลักของข่าว ปรัชญาและ หลักการที่เกี่ยวข้ องกับประเด็นข่าว การใช้ ความรู้พื ้นฐานด้ านการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคมไทยในการวิเคราะห์บทบาทของสือ่ มวลชน การวิเคราะห์การนาเสนอของสือ่ มวลชนโดยใช้ ประเด็นข่าวเป็ นเกณฑ์ และการฝึ กปฏิบตั ิการ นาเสนอผลการวิเคราะห์ผา่ นสือ่ ที่หลากหลาย รูปแบบ
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI134 การเขียนสารคดี 3(3-0-6) คงเดิม (Feature Writing) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสารคดี และกระบวนการผลิตสารคดี อาทิ การเลือก เรื่ อง การรวบรวมและคัดเลือกข้ อมูล การเขียน และการนาเสนอผลงานสารคดีผา่ นสือ่ รูปแบบ ต่าง ๆ โดยเน้ นฝึ กกระบวนการผลิตงานเขียน ประเภทสารคดี โดยคานึงถึงจริ ยธรรมในการ นาเสนอ CI135 วารสารศาสตร์ สากล 3(3-0-6) คงเดิม (Global Journalism) แนวคิดเกี่ยวกับวารสารศาสตร์ สากล การไหลเวียนของข่าวสารระหว่างประเทศ ภูมิ ทัศน์ของสือ่ ที่เปลีย่ นแปลงไปในยุคหลอมรวม สือ่ ซึง่ ก่อให้ เกิดผลกระทบกับประชาคมโลก ลักษณะและบทบาทหน้ าที่ของสือ่ มวลชนทัง้ ในระดับสากล และ ระดับภูมิภาค โดยเฉพาะ อย่างยิ่งภูมิภาคอาเซียน วิเคราะห์ปัญหาการ นาเสนอข่าวสารของประเทศกาลังพัฒนา CI136 การวิเคราะห์ ข่าวปั จจุบัน 3(3-0-6) คงเดิม (Current News Analysis) วิธีการวิเคราะห์ขา่ วที่ปรากฏใน สือ่ มวลชนในปั จจุบนั ทังข่ ้ าวภายในประเทศ และข่าวต่างประเทศทีม่ ีผลกระทบต่อ สังคมไทย ภูมิหลังและประเด็นหลักของข่าว ปรัชญาและหลักการที่เกี่ยวข้ องกับประเด็น ข่าว การใช้ ความรู้พื ้นฐานด้ านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยในการวิเคราะห์ บทบาทของสือ่ มวลชน การวิเคราะห์การ นาเสนอของสือ่ มวลชนโดยใช้ ประเด็นข่าวเป็ น เกณฑ์ และการฝึ กปฏิบตั ิการนาเสนอผลการ วิเคราะห์ผา่ นสือ่ ที่หลากหลายรูปแบบ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
176
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI137 วารสารศาสตร์ เพื่อ 3(3-0-6) สิ่งแวดล้ อมและความ ยั่งยืน (Journalism for the Environment (Journalism for the Environment and Sustainability) ศึกษาก่อน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และเขียนข่าว ความสาคัญและความสัมพันธ์ของ งานวารสารศาสตร์ กบั การสือ่ สารวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้ อม บทบาทและอิทธิพล ในการรายงานข้ อเท็จจริงและความคิดเห็นของ สือ่ สิง่ พิมพ์และสือ่ ดิจิทลั ที่มีตอ่ ปั จเจกบุคคลและ สังคม เทคนิคการสืบค้ น รวบรวม วิเคราะห์ และ กลัน่ กรองข้ อมูล รวมทังการก ้ าหนดวาระการ นาเสนอข่าวที่มีผลต่อการเฝ้ าระวังทางสังคม ฝึ ก การรายงานข่าววิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สิง่ แวดล้ อมเพื่อความยัง่ ยืนของสังคมโลก CI138 หัวข้ อคัดเฉพาะทาง 3(3-0-6) วารสารศาสตร์ (Selected Topic in Journalism) เรื่ องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงานวารสาร ศาสตร์ โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือกและกาหนด หัวข้ อการศึกษาในแต่ละภาคให้ สอดคล้ องกับ สถานการณ์ปัจจุบนั
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 เหตุผลประกอบ CI137 วารสารศาสตร์ เพื่อ 3(3-0-6) คงเดิม สิ่งแวดล้ อมและความ ยั่งยืน (Journalism for the Environment (Journalism for the Environment and Sustainability) ศึกษาก่อน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และเขียนข่าว ความสาคัญและความสัมพันธ์ของ งานวารสารศาสตร์ กบั การสือ่ สารวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้ อม บทบาทและ อิทธิพลในการรายงานข้ อเท็จจริงและความ คิดเห็นของสือ่ สิง่ พิมพ์และสือ่ ดิจิทลั ที่มีตอ่ ปั จเจกบุคคลและสังคม เทคนิคการสืบค้ น รวบรวม วิเคราะห์ และกลัน่ กรองข้ อมูล รวมทัง้ การกาหนดวาระการนาเสนอข่าวที่มีผลต่อการ เฝ้ าระวังทางสังคม ฝึ กการรายงานข่าว วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้ อมเพื่อ ความยัง่ ยืนของสังคมโลก CI138 หัวข้ อคัดเฉพาะทาง 3(3-0-6) คงเดิม วารสารศาสตร์ (Selected Topic in Journalism) เรื่ องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงานวารสาร ศาสตร์ โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือกและกาหนด หัวข้ อการศึกษาในแต่ละภาคให้ สอดคล้ องกับ สถานการณ์ปัจจุบนั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
177
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI139 การแปลข่ าว 3(3-0-6) (News Translation) ศึกษาก่อน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และเขียนข่าว หลักการแปลภาษาต่างประเทศเพื่อการ ข่าว ฝึ กแปลข่าว จากภาษาอังกฤษเป็ น ภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็ นภาษาอังกฤษ โดยเน้ นความถูกต้ องด้ านภาษา โครงสร้ างข่าว ตามหลักวารสารศาสตร์ CI140 การผลิตสิ่งพิมพ์ เฉพาะกิจ 3(2-2-5) (Specialized Publication Production) หลักการผลิตสิง่ พิมพ์เฉพาะกิจประเภท ต่าง ๆ ที่มวี ตั ถุประสงค์และกลุม่ เป้าหมาย ต่างกัน ได้ แก่ สิง่ พิมพ์เพื่อชุมชน สิง่ พิมพ์เพื่อการ ประชาสัมพันธ์ สิง่ พิมพ์องค์กร ฝึ กปฏิบตั ิผลิต สิง่ พิมพ์กระดาษ และ/หรื อสิง่ พิมพ์ออนไลน์ CI141 การรายงานข่ าว 3(3-0-6) เศรษฐกิจและธุรกิจ (Business and Economics News Reporting) ศึกษาก่อน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และเขียนข่าว EC 961 เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น หลัก การและเทคนิ ค การรายงานข่า ว เศรษฐกิจด้ านต่างๆ ได้ แก่ ข่าวตลาดเงิน ข่าว ตลาดทุ น ข่ า วการตลาด ข่ า วเทคโนโลยี สารสนเทศ ข่าวอสังหาริ มทรัพย์ ข่าวยานยนต์ โดยเน้ นวิธีการอ่าน ทาความเข้ าใจ และตีความ ข้ อมู ล ตั ว เลขและเอกสารทางเศรษฐกิ จ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกับ แต่ ล ะสายข่ า ว ศึ ก ษาความรู้ ที่ จาเป็ นในการรายงานข่าว การเข้ าถึงแหล่งข่าว และเอกสาร ประเด็นข่าวที่มกั พบ และแนวทาง การรายงานข่าวเศรษฐกิจแต่ละด้ านให้ ถูกต้ อง ชัดเจนและฝึ กปฏิบตั ิ
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI139 การแปลข่ าว 3(3-0-6) คงเดิม (News Translation) ศึกษาก่อน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และเขียนข่าว หลักการแปลภาษาต่างประเทศเพื่อการ ข่าว ฝึ กแปลข่าว จากภาษาอังกฤษเป็ น ภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็ นภาษาอังกฤษ โดยเน้ นความถูกต้ องด้ านภาษา โครงสร้ างข่าว ตามหลักวารสารศาสตร์ CI140 การผลิตสิ่งพิมพ์ เฉพาะกิจ 3(2-2-5) คงเดิม (Specialized Publication Production) หลักการผลิตสิง่ พิมพ์เฉพาะกิจประเภท ต่าง ๆ ที่มวี ตั ถุประสงค์และกลุม่ เป้าหมาย ต่างกัน ได้ แก่ สิง่ พิมพ์เพื่อชุมชน สิง่ พิมพ์เพื่อการ ประชาสัมพันธ์ สิง่ พิมพ์องค์กร ฝึ กปฏิบตั ิผลิต สิง่ พิมพ์กระดาษ และ/หรื อสิง่ พิมพ์ออนไลน์ CI141 การรายงานข่ าว 3(3-0-6) คงเดิม เศรษฐกิจและธุรกิจ (Business and Economics News Reporting) ศึกษาก่อน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และเขียนข่าว EC 961 เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น หลักการและเทคนิคการรายงานข่าว เศรษฐกิจด้ านต่างๆ ได้ แก่ ข่าวตลาดเงิน ข่าว ตลาดทุน ข่าวการตลาด ข่าวเทคโนโลยี สารสนเทศ ข่าวอสังหาริ มทรัพย์ ข่าวยานยนต์ โดยเน้ นวิธีการอ่าน ทาความเข้ าใจ และตีความ ข้ อมูล ตัวเลขและเอกสารทางเศรษฐกิจที่ เกี่ยวข้ องกับแต่ละสายข่าว ศึกษาความรู้ที่ จาเป็ นในการรายงานข่าว การเข้ าถึงแหล่งข่าว และเอกสาร ประเด็นข่าวทีม่ กั พบ และแนวทาง การรายงานข่าวเศรษฐกิจแต่ละด้ านให้ ถูกต้ อง ชัดเจนและฝึ กปฏิบตั ิ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
178
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI142 การสื่อข่ าวเพื่อเด็ก 3(3-0-6) และเยาวชน (Children and Youth Journalism) แนวคิดและทฤษฎีการสือ่ ข่าวเกี่ยวกับ เด็กบนพื ้นฐานสิทธิเด็ก โดยเน้ นกรณีศกึ ษาการ สือ่ ข่าวเกี่ยวกับเด็กในสือ่ ต่าง ๆ และผลกระทบ แนวทางการนาเสนอข่าวเกี่ยวกับเด็กตามหลัก สากล รวมทังการฝึ ้ กปฎิบตั ิการเก็บรวบรวม ข้ อมูล การใช้ ภาพประกอบ และการเรี ยบเรี ยง เป็ นชิ ้นงานที่สมบูรณ์ภายใต้ กรอบจริ ยธรรม
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI147 การสื่อข่ าวเด็ก 3(3-0-6) และเยาวชน (Children and Youth Journalism) แนวคิดและทฤษฎีการสือ่ ข่าว เกี่ยวกับเด็กบนพื ้นฐานสิทธิเด็ก โดยเน้ น กรณีศกึ ษาการสือ่ ข่าวเกี่ยวกับเด็กในสือ่ ต่าง ๆ และผลกระทบ แนวทางการนาเสนอข่าว เกี่ยวกับเด็กตามหลักสากล รวมทังการฝึ ้ ก ปฎิบตั ิการเก็บรวบรวมข้ อมูล การใช้ ภาพประกอบ และการเรียบเรี ยงเป็ นชิ ้นงานที่ สมบูรณ์ภายใต้ กรอบจริ ยธรรม CI143 การจัดการธุรกิจ 3(3-0-6) CI143 การจัดการธุรกิจ 3(3-0-6) สานักพิมพ์ สานักพิมพ์ (Management for Publishing (Management for Publishing Business) Business) ระบบการจัดพิมพ์หนังสือเล่ม ได้ แก่ ระบบการจัดพิมพ์หนังสือเล่ม ได้ แก่ ระบบการพิมพ์และกลไลการตลาดหนังสือ ระบบการพิมพ์และกลไลการตลาดหนังสือ เล่ม การบริ หารการเงิน การคานวน เล่ม การบริ หารการเงิน การคานวน ต้ นทุน กลไกลิขสิทธิ์ กระบวนการแสวงหาและ ต้ นทุน กลไกลิขสิทธิ์ กระบวนการแสวงหา คัดเลือกต้ นฉบับ รวมทังกระบวนการบรรณาธิ ้ กร และคัดเลือกต้ นฉบับ รวมทังกระบวนการ ้ ต้ นฉบับ บรรณาธิกรต้ นฉบับ CI144 การบรรณาธิกรและ 3(2-2-5) CI144 การบรรณาธิกรและ 3(2-2-5) ผลิตนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ ผลิตนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Magazine Editing and (Electronic Magazine Editing and Production) Production) สอบผ่าน CI 105 การบรรณาธิกรและ สอบผ่าน CI 105 การบรรณาธิกรและ การผลิตหนังสือพิมพ์ การผลิตหนังสือพิมพ์ หลักการจัดทานิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ หลักการจัดทานิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ การคัดเลือกบทความ คอลัมน์ เนื ้อหาต่างๆ และ การคัดเลือกบทความ คอลัมน์ เนื ้อหาต่างๆ ภาพประกอบในรูปแบบนิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ และภาพประกอบในรูปแบบนิตยสาร อิเล็กทรอนิกส์ การตกแต่งต้ นฉบับ การตังชื ้ ่อ การตกแต่งต้ นฉบับ การตังชื ้ ่อเรื่ อง การสัง่ เรื่ อง การสัง่ ตัวพิมพ์ การพิสจู น์อกั ษร การจัด ตัวพิมพ์ การพิสจู น์อกั ษร การจัดหน้ า ความ หน้ า ความแตกต่างของนิตยสารฉบับพิมพ์และ แตกต่างของนิตยสารฉบับพิมพ์และนิตยสาร นิตยสารอิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ ปรับรหัสวิชา และ ชื่อ วิชา
คงเดิม
คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
179
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI145 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3(1-0-8) ด้ านวารสารศาสตร์ (Individual Study for Journalism) เรื่ องเกี่ยวกับการข่าวและวารสารศาสตร์ โดยนักศึกษาจะต้ องเสนอโครงร่างของเรื่ องที่ สนใจศึกษาพร้ อมเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อ ขออนุมตั ิจากสาขาวิชาก่อนการลงทะเบียน
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI145 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3(1-0-8) คงเดิม ด้ านวารสารศาสตร์ (Individual Study for Journalism) เรื่ องเกี่ยวกับการข่าวและวารสาร ศาสตร์ โดยนักศึกษาจะต้ องเสนอโครงร่างของ เรื่ องที่สนใจศึกษาพร้ อมเสนอชื่ออาจารย์ที่ ปรึกษา เพื่อขออนุมตั จิ ากสาขาวิชาก่อนการ ลงทะเบียน CI146 พัฒนาทักษะ 3(3-0-6) วิชาใหม่ การรู้เท่ าทันสื่อ (Media Literacy Skil Development) ความหมายของการรู้เท่าทันสือ่ อิทธิพลของสือ่ ที่มีตอ่ ผู้บริ โภค หลักการและ แนวคิดสาคัญที่เกี่ยวข้ องกับการรู้เท่าทันสือ่ จาแนกตามประเภทของสือ่ ได้ แก่ ภาพข่าว โฆษณา รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และสือ่ อินเทอร์ เน็ต โดยเน้ นทา ความเข้ าใจเกี่ยวกับบริ บทของสือ่ ต่าง ๆ อาทิ อุตสาหกรรมสือ่ เทคโนโลยีสอื่ จิตวิทยาการ สร้ างสาร รูปแบบและภาษาในสือ่ ฝึ กวิเคราะห์ ข่าวสารในสือ่ ประเภทต่าง ๆ เพื่อการรู้เท่าทัน สือ่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
180
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 5.2.4 กลุ่มวิชาเอกการกระจายเสียง และแพร่ ภาพ 5.2.4.1 รายวิชาบังคับ CI201 การสร้ างสรรค์ บทรายการ 3(3-0-6) (Script Writing for Broadcast Program) แนวคิดเกี่ยวกับการสร้ างสรรค์ บทรายการ รูปแบบและขันตอนการเขี ้ ยน บทรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ประเภทต่างๆ การประมวลความคิด การค้ นคว้ า การคัดเลือกข้ อมูล และการเรี ยบเรี ยงให้ เป็ นบท รายการ ฝึ กเขียนบทรายการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่างๆ ให้ สอดคล้ องกับ กลุม่ เป้าหมาย CI202 การผลิตรายการ 3(2-2-5) วิทยุกระจายเสียง (Radio Program Production) หลักการ ประเภท และกระบวนการผลิต รายการวิทยุกระจายเสียง การสือ่ ความหมาย ด้ วยเสียง การใช้ สญ ั ญาณมือและอุปกรณ์ตา่ งๆ ในการบันทึกเสียง การวิเคราะห์กลุม่ ผู้ฟัง เป้าหมาย เทคนิคการวางแผน การผลิต การ นาเสนอ และการประเมินผลรายการ ฝึ กผลิต รายการวิทยุกระจายเสียงประเภทต่างๆ ทังใน ้ และนอกสถานที่ เพื่อเผยแพร่ผา่ นทางคลืน่ วิทยุ เคเบิ ้ล และสือ่ ออนไลน์ CI203 กราฟิ กและแอนิเมชัน 3(2-2-5) เพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Graphic and Animation for Television) ลักษณะ ประเภท และหลักการ ออกแบบงานกราฟิ กและแอนิเมชัน ฝึ ก ปฏิบตั ิการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กราฟิ กและ แอนิเมชันเพื่องานวิทยุโทรทัศน์
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 5.2.4 กลุ่มวิชาเอกวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ 5.2.4.1 วิชาเอกบังคับ CI201 การสร้ างสรรค์ บทรายการ 3(3-0-6) คงเดิม (Script Writing for Broadcast Program) แนวคิดเกี่ยวกับการสร้ างสรรค์ บทรายการ รูปแบบและขันตอนการเขี ้ ยน บทรายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ประเภทต่างๆ การประมวลความคิด การ ค้ นคว้ า การคัดเลือกข้ อมูล และการเรี ยบเรียง ให้ เป็ นบทรายการ ฝึ กเขียนบทรายการ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ประเภท ต่างๆ ให้ สอดคล้ องกับกลุม่ เป้าหมาย CI202 การผลิตรายการ 3(2-2-5) คงเดิม วิทยุกระจายเสียง (Radio Program Production) หลักการ ประเภท และกระบวนการ ผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง การสือ่ ความหมายด้ วยเสียง การใช้ สญ ั ญาณมือและ อุปกรณ์ตา่ งๆ ในการบันทึกเสียง การวิเคราะห์ กลุม่ ผู้ฟังเป้าหมาย เทคนิคการวางแผน การ ผลิต การนาเสนอ และการประเมินผลรายการ ฝึ กผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงประเภท ต่างๆ ทังในและนอกสถานที ้ ่ เพื่อเผยแพร่ผา่ น ทางคลืน่ วิทยุ เคเบิ ้ล และสือ่ ออนไลน์ CI203 กราฟิ กและแอนิเมชัน 3(2-2-5) คงเดิม เพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Graphic and Animation for Television) ลักษณะ ประเภท และหลักการ ออกแบบงานกราฟิ กและแอนิเมชัน ฝึ ก ปฏิบตั ิการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กราฟิ กและ แอนิเมชันเพื่องานวิทยุโทรทัศน์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
181
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI204 การผลิตรายการ 3(2-2-5) วิทยุโทรทัศน์ (Television Program Production) หลักการ ประเภท และกระบวนการผลิต รายการวิทยุโทรทัศน์ จิตวิทยาการสือ่ ความหมายด้ วยภาพและเสียง การใช้ เครื่ องมือ และอุปกรณ์ตา่ งๆ ในการผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ การวิเคราะห์กลุม่ ผู้ชมเป้าหมาย เทคนิคการวางแผน การผลิต การนาเสนอ และ การประเมินผลรายการ ฝึ กผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ประเภทต่างๆ ทังในและนอกสถานที ้ ่ เพื่อเผยแพร่ผา่ นทางคลืน่ วิทยุ เคเบิ ้ล และสือ่ ออนไลน์ CI205 การผลิตรายการ 3(2-2-5) เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ (Broadcast Program for Creative Economy) กระบวนการผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ เพื่อเผยแพร่ ผ่านช่องทางต่างๆ โดยเน้ นหลักและกลวิธี นาเสนอเนื ้อหารายการตามกรอบแนวคิด เศรษฐกิจสร้ างสรรค์ ฝึ กกระบวนการคิด การ ผลิต และการประเมินผลรายการ เพื่อพัฒนา คุณภาพรายการให้ สอดคล้ องกับสภาพการณ์ ทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในปั จจุบนั
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI204 การผลิตรายการ 3(2-2-5) คงเดิม วิทยุโทรทัศน์ (Television Program Production) หลักการ ประเภท และกระบวนการ ผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ จิตวิทยาการสือ่ ความหมายด้ วยภาพและเสียง การใช้ เครื่ องมือ และอุปกรณ์ตา่ งๆ ในการผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ การวิเคราะห์กลุม่ ผู้ชมเป้าหมาย เทคนิคการวางแผน การผลิต การนาเสนอ และ การประเมินผลรายการ ฝึ กผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ประเภทต่างๆ ทังในและนอกสถานที ้ ่ เพื่อเผยแพร่ผา่ นทางคลืน่ วิทยุ เคเบิ ้ล และสือ่ ออนไลน์ CI215 การผลิตรายการ 3(2-2-5) ปรับรหัส ชื่อ และ เพื่อเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ คาอธิบายรายวิชา (Broadcast Program for Creative Economy) กระบวนการผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ เพื่อ เผยแพร่ผา่ นช่องทางต่างๆ ทังสื ้ อ่ ดังเดิ ้ มและ สือ่ ดิจิทลั โดยเน้ นหลักและกลวิธีนาเสนอ เนื ้อหารายการตามกรอบแนวคิดเศรษฐกิจ สร้ างสรรค์ ฝึ กกระบวนการคิด การผลิต และ การประเมินผลรายการ เพื่อพัฒนาคุณภาพ รายการให้ สอดคล้ องกับสภาพการณ์ทาง เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในปั จจุบนั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
182
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI206 การจัดการธุรกิจ 3(3-0-6) กระจายเสียงและแพร่ ภาพ (Business Management for Broadcasting) หลักการจัดองค์การ การกาหนดนโยบาย แผนงาน การบริ หารทรัพยากร ระบบการบริ หาร และจัดการธุรกิจกระจายเสียงและแพร่ภาพ ผ่าน ทางคลืน่ วิทยุ เคเบิ ้ล และสือ่ ออนไลน์ ประกอบด้ วย สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุ โทรทัศน์ องค์การหรื อหน่วยงานภาครัฐและ เอกชนที่ดาเนินธุรกิจกระจายเสียงและการแพร่ ภาพ โดยคานึงถึงปั จจัยทางธุรกิจ เทคโนโลยี นโยบายของรัฐและกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง CI207 สัมมนากิจการกระจายเสียง 3(3-0-6) และแพร่ ภาพ
(Seminar on Broadcasting) ศึกษาก่อน CI 202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ การวิเคราะห์สถานการณ์ อุปสรรค ปั ญหาของการดาเนินงานกิจวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ ทังด้ ้ านการสร้ างสรรค์เนื ้อหา เทคนิคการผลิต และการเผยแพร่รายการ เพื่อ เสนอแนะแนวทางพัฒนาการดาเนินงาน โดย คานึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมบนพื ้นฐาน ของหลักกฎหมาย จริ ยธรรมและจรรยาบรรณ วิชาชีพ
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI211 การจัดการธุรกิจ 3(3-0-6) ปรับรหัสวิชา และชื่อวิชา วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (Business Management for Broadcasting) หลักการจัดองค์การ การกาหนดนโยบาย แผนงาน การบริ หารทรัพยากร ระบบการบริ หาร และจัดการธุรกิจกระจายเสียงและแพร่ภาพ ผ่าน ทางคลืน่ วิทยุ เคเบิ ้ล และสือ่ ออนไลน์ ประกอบด้ วย สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุ โทรทัศน์ องค์การหรื อหน่วยงานภาครัฐและ เอกชนที่ดาเนินธุรกิจกระจายเสียงและการแพร่ ภาพ โดยคานึงถึงปั จจัยทางธุรกิจ เทคโนโลยี นโยบายของรัฐและกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง CI212 สัมมนาวิทยุกระจายเสียง 3(3-0-6) ปรับรหัสวิชา และชื่อวิชา และวิทยุโทรทัศน์ (Seminar on Broadcasting) ศึกษาก่อน CI 202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ การวิเคราะห์สถานการณ์ อุปสรรค ปั ญหาของการดาเนินงานกิจวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ ทังด้ ้ านการสร้ างสรรค์เนื ้อหา เทคนิคการผลิต และการเผยแพร่รายการ เพื่อ เสนอแนะแนวทางพัฒนาการดาเนินงาน โดย คานึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมบนพื ้นฐาน ของหลักกฎหมาย จริ ยธรรมและจรรยาบรรณ วิชาชีพ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
183
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI208 ประสบการณ์ วิชาชีพ 3(0-6-3) ทางการกระจายเสียง และแพร่ ภาพ (Broadcasting Practicum) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจานวน ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ทสี่ าขาวิชากาหนด การฝึ กงานวิทยุหรื อโทรทัศน์ใน หน่วยงานต่างๆ ได้ แก่ สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุโทรทัศน์ องค์การที่ดาเนินงานด้ าน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ รวมทัง้ หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง โดยได้ รับความ เห็นชอบจากสาขาวิชา ให้ มีระยะเวลาฝึ กงานไม่ น้ อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อ ไม่น้อยกว่า 400 ชัว่ โมงตามที่สาขาวิชากาหนด และให้ เสนอ รายงานการฝึ กงานประกอบ CI209 โครงงานด้ านสื่อ 3(1-2-6) กระจายเสียงและ/หรื อแพร่ ภาพ (Braodcast Media Project) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจานวน ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด นักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่า มี คุณสมบัติเหมาะสมในการจัดทาโครงงานด้ าน สือ่ กระจายเสียงและ/หรื อแพร่ภาพ แทนการออก ฝึ กงานในหน่วยงานภายนอก ตามรายวิชา CI 208 ประสบการณ์วชิ าชีพทางวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ ให้ จดั ทาโครงงานเรื่ องใด ๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับสือ่ กระจายเสียงและ/หรื อแพร่ภาพ โดยนักศึกษาต้ องเขียนโครงการและนาเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา ดาเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI213 ประสบการณ์ วิชาชีพ 3(0-6-3) ปรับรหัสวิชา และชื่อวิชา วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (Broadcasting Practicum) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจานวน ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด การฝึ กงานวิทยุหรื อโทรทัศน์ใน หน่วยงานต่างๆ ได้ แก่ สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุโทรทัศน์ องค์การที่ดาเนินงานด้ าน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ รวมทัง้ หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง โดยได้ รับความ เห็นชอบจากสาขาวิชา ให้ มีระยะเวลาฝึ กงาน ไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อ ไม่น้อยกว่า 400 ชัว่ โมงตามที่สาขาวิชากาหนด และให้ เสนอ รายงานการฝึ กงานประกอบ CI214 โครงงานด้ านวิทยุ 3(1-2-6) ปรับรหัสวิชา และชื่อวิชา กระจายเสียงและ/หรื อวิทยุ โทรทัศน์ (Braodcast Media Project) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจานวน ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กาหนด นักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่า มี คุณสมบัติเหมาะสมในการจัดทาโครงงานด้ าน สือ่ กระจายเสียงและ/หรื อแพร่ภาพ แทนการ ออกฝึ กงานในหน่วยงานภายนอก ตาม รายวิชา CI 208 ประสบการณ์วิชาชีพทาง วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ให้ จดั ทา โครงงานเรื่ องใด ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับสือ่ กระจาย เสียงและ/หรื อแพร่ภาพ โดยนักศึกษาต้ อง เขียนโครงการและนาเสนอต่ออาจารย์ที่ ปรึกษา ดาเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
184
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI210 สหกิจศึกษา 6(0-40-20) (Co-operative Education) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจานวนไม่ น้ อยกว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชากาหนด การปฏิบตั ิงานจริ งในสถาน ประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษา เป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะ พนักงานชัว่ คราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการ เตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ านวิชาการ และการ ปฏิบตั ิตนในสังคม การทางาน รวมทังด ้ าเนินการ ตามขันตอนของสหกิ ้ จศึกษาที่มหาวิทยาลัย กาหนด การปฏิบตั งิ านและการประเมินผล อยู่ ภายใต้ การกากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาของ สาขาวิชา และพนักงานที่ปรึกษาที่สถาน ประกอบการมอบหมาย
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI210 สหกิจศึกษา 6(0-40-20) คงเดิม (Co-operative Education) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจานวนไม่ น้ อยกว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชากาหนด การปฏิบตั ิงานจริ งในสถาน ประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ ศึกษาเป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะ พนักงานชัว่ คราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการ เตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ านวิชาการ และการ ปฏิบตั ิตนในสังคม การทางาน รวมทัง้ ดาเนินการตามขันตอนของสหกิ ้ จศึกษาที่ มหาวิทยาลัยกาหนด การปฏิบตั งิ านและการ ประเมินผล อยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของ อาจารย์ที่ปรึกษาของสาขาวิชา และพนักงานที่ ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมาย
5.2.4.2 วิชาเอกเลือก
5.2.4.2 วิชาเอกเลือก
CI231 การวางแผนและ 3(3-0-6) ประเมินผลสื่อมวลชน (Mass Media Planning and Evaluation) หลักและวิธีการวางแผนการใช้ สือ่ มวลชนเพื่อสนับสนุนงานสาธารณประโยชน์ และธุรกิจ โดยพิจารณาถึงปั จจัยที่เกี่ยวข้ อง กระบวนการวางแผน วิธีการดาเนินงาน รวมทัง้ เทคนิคการประเมินผลตามวัตถุประสงค์ของแผน และเป้าหมายที่กาหนดไว้ ฝึ กวางแผนและ ประเมินผลสือ่ มวลชน
CI231 การวางแผนและ 3(3-0-6) คงเดิม ประเมินผลสื่อมวลชน (Mass Media Planning and Evaluation) หลักและวิธีการวางแผนการใช้ สือ่ มวลชนเพื่อสนับสนุนงานสาธ ารณประโยชน์ และธุรกิจ โดยพิจารณาถึงปั จจัยที่เกี่ยวข้ อง กระบวนการวางแผน วิธีการดาเนินงาน รวมทัง้ เทคนิคการประเมินผลตามวัตถุประสงค์ของ แผนและเป้าหมายที่กาหนดไว้ ฝึ กวางแผนและ ประเมินผลสือ่ มวลชน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
185
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI232 การกระจายเสียง 3(3-0-6) และแพร่ ภาพนานาชาติ (International Broadcasting) โครงสร้ าง ระบบ และการดาเนินงาน ของกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ นานาชาติ ซึง่ เผยแพร่ผา่ นช่องทาง ภาคพื ้นดิน การสือ่ สารผ่านดาวเทียม เคเบิล อินเทอร์ เน็ต และการสือ่ สารรูปแบบอื่น ๆ ใน บริ บททางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมที่ แตกต่างกันของนานาชาติ CI233 ผู้ดาเนินรายการวิทยุ 3(2-2-5) กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (Radio and Television Moderator) หลักและวิธีการเป็ นผู้ดาเนิน รายการทางวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ฝึ กการประกาศ การพูดออกเสียง การใช้ น ้าเสียงทีถ่ กู ต้ องชัดเจนตามอักขระวิธีทาง วิทยุกระจายเสียง ฝึ กการวางท่าทาง บุคลิกภาพ การแสดงออกต่อหน้ า กล้ องโทรทัศน์ เทคนิค ไหวพริ บในการดาเนิน รายการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ประเภทต่าง ๆ ในห้ องแสดงและนอกสถานที่ ทังรายการสดและบั ้ นทึกเทป CI234 การผลิตรายการข่ าว 3(2-2-5) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ (News Program Production for Radio and Television) ศึกษาก่อน CA 206 หลักการสือ่ ข่าวและเขียนข่าว กระบวนการผลิต และการ สร้ างสรรค์รายการข่าวเพื่องานกิจ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ผา่ นทาง คลืน่ วิทยุ เคเบิ ้ล และสือ่ ออนไลน์ โดยเน้ นฝึ ก การสือ่ ข่าว การเขียนและรายงานข่าวทาง วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI252 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ปรับรหัสวิชาและ นานาชาติ 3(3-0-6) ชื่อวิชา (International Broadcasting) โครงสร้ าง ระบบ และการ ดาเนินงานของกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์นานาชาติ ซึง่ เผยแพร่ผา่ นช่องทาง ภาคพื ้นดิน การสือ่ สารผ่านดาวเทียม เคเบิล อินเทอร์ เน็ต และการสือ่ สารรูปแบบอื่น ๆ ใน บริ บททางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมที่ แตกต่างกันของนานาชาติ CI233 ผู้ดาเนินรายการวิทยุ 3(2-2-5) คงเดิม กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (Radio and Television Moderator) หลักและวิธีการเป็ นผู้ดาเนินรายการ ทางวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ฝึ กการ ประกาศ การพูดออกเสียง การใช้ น ้าเสียงที่ ถูกต้ องชัดเจนตามอักขระวิธีทาง วิทยุกระจายเสียง ฝึ กการวางท่าทาง บุคลิกภาพ การแสดงออกต่อหน้ ากล้ องโทรทัศน์ เทคนิค ไหว พริ บในการดาเนินรายการวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ ในห้ องแสดงและ นอกสถานที่ ทังรายการสดและบั ้ นทึกเทป CI234 การผลิตรายการข่ าว 3(2-2-5) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ (News Program Production for Radio and Television) ศึกษาก่อน CA 206 หลักการสือ่ ข่าว และเขียนข่าว กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์ รายการข่าวเพื่องานกิจวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์ผา่ นทางคลืน่ วิทยุ เคเบิ ้ล และสือ่ ออนไลน์ โดยเน้ นฝึ กการสือ่ ข่าว การเขียนและ รายงานข่าวทางวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
186
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI235 การผลิตรายการสารคดี 3(2-2-5) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ (Documentary Program Production for Radio and Television) ศึกษาก่อน CI 202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์ รายการสารคดีทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ การสืบค้ นข้ อมูล ข้ อเท็จจริงในการผลิตรายการ เทคนิควิธีการถ่าย ทา การนาเสนอ ตลอดจนการตัดต่อภาพ การ บันทึกเสียงบรรยายและดนตรี ประกอบ CI236 การผลิตรายการโชว์ ทาง 3(2-2-5) วิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ (Show Program Production for Radio and Television) ศึกษาก่อน CI 202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์ รายการโชว์ทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ ได้ แก่ ทอล์คโชว์ เกมโชว์ ไลฟ์ โชว์ เรี ยลลิตี ้โชว์ วาไรตี ้โชว์ การใช้ ไหวพริ บ ในการแก้ ไขปั ญหาเฉพาะหน้ าในการผลิต รายการโชว์
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI253 การผลิตรายการสารคดี 3(2-2-5) ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชา วิทยุโทรทัศน์ และ คาอธิบายรายวิชา (Documentary Program Production for Televisioin) ศึกษาก่อน CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์ รายการสารคดีวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ การสืบค้ นข้ อมูล ข้ อเท็จจริ งในการผลิตรายการ เทคนิควิธีการถ่ายทา การนาเสนอ ตลอดจน การตัดต่อภาพ การบันทึกเสียงบรรยายและ ดนตรี ประกอบ เพื่อนาเสนอทางสือ่ โทรทัศน์ และ สือ่ ดิจิทลั
CI254 การผลิตรายการโชว์ ทาง 3(2-2-5) ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชา และ วิทยุโทรทัศน์ คาอธิบายรายวิชา (Show Program Production for Television) ศึกษาก่อน CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์ รายการโชว์ทางวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่าง ๆ ได้ แก่ ทอล์คโชว์ เกมโชว์ ไลฟ์ โชว์ เรี ยลลิตี ้โชว์ วาไรตี ้โชว์ การใช้ ไหวพริ บในการแก้ ไขปั ญหา เฉพาะหน้ าในการผลิตรายการโชว์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
187
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI237 การผลิตงานโฆษณาทาง 3(2-2-5) วิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ (Advertising Production for Radio and Television) ศึกษาก่อน CI 202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์ งานโฆษณารูปแบบต่าง ๆ ทางวิทยุกระจาย เสียงและวิทยุโทรทัศน์ การเขียนบทโฆษณา การสร้ างเทคนิคพิเศษด้ านการถ่ายทาและตัด ต่อ เทคนิคการใช้ เสียงบรรยายและเสียง ประกอบที่เหมาะสมในงานโฆษณา ฝึ กเขียน บทและผลิตงานโฆษณาทางวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ CI238 การพูดภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) ในงานกระจายเสียงและแพร่ ภาพ (English Speaking for Broadcasting) สอบผ่าน CA 303 ภาษาอังกฤษ สาหรับงานนิเทศศาสตร์ เทคนิคการอ่านข่าวภาษาอังกฤษ โดยเน้ นการออกเสียงสาเนียงทีถ่ กู ต้ อง การเป็ น ผู้ประกาศ ผู้ดาเนินรายการ ผู้สมั ภาษณ์ภาค ภาษาอังกฤษทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI237 การผลิตงานโฆษณาทาง 3(2-2-5) คงเดิม วิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ (Advertising Production for Radio and Television) ศึกษาก่อน CI 202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์งาน โฆษณารูปแบบต่าง ๆ ทางวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์ การเขียนบทโฆษณา การสร้ าง เทคนิคพิเศษด้ านการถ่ายทาและตัดต่อ เทคนิค การใช้ เสียงบรรยายและเสียงประกอบที่เหมาะสม ในงานโฆษณา ฝึ กเขียนบทและผลิตงานโฆษณา ทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ CI255 การพูดภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) ในงานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ (English Speaking in Program for Broadcasting)
-ปรับรหัสวิชาและชื่อ วิชา -ตัดเงื่อนไขก่อนเรี ยน ออก
เทคนิคการอ่านข่าวภาษาอังกฤษ โดย เน้ นการออกเสียงสาเนียงที่ถกู ต้ อง การเป็ นผู้ ประกาศ ผู้ดาเนินรายการ ผู้สมั ภาษณ์ภาค ภาษาอังกฤษทางวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
188
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI239 เทคนิคการนาเสนองาน 3(2-2-5) ด้ านการกระจายเสียง และแพร่ ภาพ (Presentation Techniques for Broadcasting) หลักและวิธีการนาเสนอผลงานด้ าน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แก่บริ ษัท ลูกค้ า สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุ โทรทัศน์ และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้ อง ฝึ ก ปฏิบตั ิการเตรียมงาน เอกสารผลงานและ งบประมาณการผลิตให้ ลกู ค้ าอนุมตั ิ เทคนิคการ ประมูลงาน ต่อรองราคา ทังหน่ ้ วยงานของรัฐ และเอกชน ตลอดจนการแก้ ปัญหาเฉพาะ หน้ าต่างๆ CI240 การผลิตรายการละคร 3(2-2-5) วิทยุกระจายเสียง (Drama Program Production for Radio) ศึกษาก่อน CI 202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์ รายการละครวิทยุกระจายเสียงประเภทต่างๆ การใช้ เสียงในการแสดงละคร เทคนิคการสร้ าง เสียงและดนตรี ประกอบ การประยุกต์ใช้ ละคร วิทยุกระจายเสียงเพื่อประโยชน์ในงานด้ านต่างๆ
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI256 เทคนิคการนาเสนองาน 3(2-2-5) ปรับรหัสวิชาและชื่อวิชา ด้ านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ (Presentation Techniques for Broadcasting) หลักและวิธีการนาเสนอผลงานด้ าน วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แก่บริ ษัท ลูกค้ า สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุ โทรทัศน์ และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้ อง ฝึ ก ปฏิบตั ิการเตรียมงาน เอกสารผลงานและ งบประมาณการผลิตให้ ลกู ค้ าอนุมตั ิ เทคนิค การประมูลงาน ต่อรองราคา ทังหน่ ้ วยงานของ รัฐและเอกชน ตลอดจนการแก้ ปัญหาเฉพาะ หน้ าต่างๆ CI240 การผลิตรายการละคร 3(2-2-5) คงเดิม วิทยุกระจายเสียง (Drama Program Production for Radio) ศึกษาก่อน CI 202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์ รายการละครวิทยุกระจายเสียงประเภทต่างๆ การใช้ เสียงในการแสดงละคร เทคนิคการสร้ าง เสียงและดนตรี ประกอบ การประยุกต์ใช้ ละคร วิทยุกระจายเสียงเพื่อประโยชน์ในงานด้ าน ต่าง ๆ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
189
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI241 การผลิตรายการละคร 3(2-2-5) วิทยุโทรทัศน์ (Drama Program Production for Television) ศึกษาก่อน CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิต และการ สร้ างสรรค์รายการละครวิทยุโทรทัศน์ประเภท ต่างๆ การสร้ างเรื่ องราว การเลือกนักแสดง สถานที่ เครื่ องแต่งกาย อุปกรณ์ประกอบฉาก เทคนิคพิเศษในการผลิตรายการ บทบาทหน้ าที่ ของฝ่ ายต่างๆ ในการผลิตรายการละครวิทยุ โทรทัศน์ รวมทังการประยุ ้ กต์ใช้ ละครวิทยุ โทรทัศน์เพื่อประโยชน์ในงานด้ านต่างๆ CI242 เทคนิคการกากับ 3(2-2-5) รายการวิทยุโทรทัศน์ (Directing Techniques for Television Program) สอบผ่าน CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ เทคนิคการกากับรายการวิทยุ โทรทัศน์ประเภทต่างๆ ได้ แก่ รายการถ่ายทอด พิธีการ รายการเพลง รายการกีฬา การใช้ ไหว พริ บในการแก้ ไขปั ญหาเฉพาะหน้ าในการกากับ รายการ ฝึ กกากับรายการทังรายการสดและ ้ บันทึกเทป
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI241 การผลิตรายการละคร 3(2-2-5) คงเดิม วิทยุโทรทัศน์ (Drama Program Production for Television) ศึกษาก่อน CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ กระบวนการผลิต และการสร้ างสรรค์ รายการละครวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่างๆ การ สร้ างเรื่ องราว การเลือกนักแสดง สถานที่ เครื่ องแต่งกาย อุปกรณ์ประกอบฉาก เทคนิค พิเศษในการผลิตรายการ บทบาทหน้ าที่ของ ฝ่ ายต่างๆ ในการผลิตรายการละครวิทยุ โทรทัศน์ รวมทังการประยุ ้ กต์ใช้ ละครวิทยุ โทรทัศน์เพื่อประโยชน์ในงานด้ านต่างๆ CI242 เทคนิคการกากับ 3(2-2-5) คงเดิม รายการวิทยุโทรทัศน์ (Directing Techniques for Television Program) สอบผ่าน CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ เทคนิคการกากับรายการวิทยุ โทรทัศน์ประเภทต่างๆ ได้ แก่ รายการถ่ายทอด พิธีการ รายการเพลง รายการกีฬา การใช้ ไหว พริ บในการแก้ ไขปั ญหาเฉพาะหน้ าในการ กากับรายการ ฝึ กกากับรายการทังรายการสด ้ และบันทึกเทป
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
190
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI243 ศิลปะการแสดง 3(2-2-5) เพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Acting for Television) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง กับการแสดง การเป็ นนักแสดงละครเวที ละคร โทรทัศน์ และภาพยนตร์ ฝึ กสมาธิ การสร้ าง อารมณ์ ความรู้สกึ การเคลือ่ นไหวของร่างกาย การใช้ พลังเสียงเพื่อการแสดง การสวมบทบาท ของนักแสดงตามบท ฝึ กทักษะการแสดงเพื่องาน วิทยุโทรทัศน์ CI244 การออกแบบเครื่อง 3(2-2-5) แต่ งกายและการแต่ งหน้ าผู้แสดง เพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Costume and Make-up Design for Television) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง กับการออกแบบเครื่ องแต่งกาย เครื่ องประดับ ให้ เหมาะสมกับบุคลิกลักษณะของตัวละคร และผู้ ดาเนินรายการทางวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่างๆ รวมทังหลั ้ กการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง กับการแต่งหน้ าเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ การใช้ เครื่ องมือ และเครื่ องสาอางประเภทต่างๆ ในการ แต่งหน้ าแบบสวยงามและแบบพิเศษ CI245 ฉากและเครื่องประกอบฉาก3(2-2-5) เพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Set and Property for Television) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง กับการออกแบบฉากและวัสดุประกอบฉาก ฝึ ก การออกแบบ การจัดวางฉาก และการเลือกใช้ วัสดุประกอบฉากต่างๆ ที่เหมาะสมกับงานวิทยุ โทรทัศน์ประเภทต่างๆ
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI243 ศิลปะการแสดง 3(2-2-5) คงเดิม เพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Acting for Television) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่ เกี่ยวข้ องกับการแสดง การเป็ นนักแสดงละคร เวที ละครโทรทัศน์ และภาพยนตร์ ฝึ กสมาธิ การสร้ างอารมณ์ ความรู้สกึ การเคลือ่ นไหว ของร่างกาย การใช้ พลังเสียงเพื่อการแสดง การสวมบทบาทของนักแสดงตามบท ฝึ ก ทักษะการแสดงเพื่องานวิทยุโทรทัศน์ CI244 การออกแบบเครื่อง 3(2-2-5) คงเดิม แต่ งกายและการแต่ งหน้ าผู้แสดง เพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Costume and Make-up Design for Television) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่ เกี่ยวข้ องกับการออกแบบเครื่ องแต่งกาย เครื่ องประดับ ให้ เหมาะสมกับบุคลิกลักษณะ ของตัวละคร และผู้ดาเนินรายการทางวิทยุ โทรทัศน์ประเภทต่างๆ รวมทังหลั ้ กการ แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ องกับการแต่งหน้ า เพื่องานวิทยุโทรทัศน์ การใช้ เครื่องมือ และ เครื่ องสาอางประเภทต่างๆ ในการแต่งหน้ า แบบสวยงามและแบบพิเศษ CI258 การออกแบบฉากและ 3(2-2-5) ปรับรหัส และ ชื่อวิชา เครื่องประกอบฉาก เพื่องานวิทยุโทรทัศน์ (Set and Property for Television) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่ เกี่ยวข้ องกับการออกแบบฉากและวัสดุ ประกอบฉาก ฝึ กการออกแบบ การจัดวางฉาก และการเลือกใช้ วสั ดุประกอบฉากต่างๆ ที่ เหมาะสมกับงานวิทยุโทรทัศน์ประเภทต่างๆ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
191
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI246 หัวข้ อคัดเฉพาะทาง 3(2-2-5) วิทยุกระจายเสียง (Selected Topics in Radio) สอบผ่าน CI 202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง เรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงาน วิทยุกระจายเสียง และการแพร่กระจายเสียงผ่าน ช่องทางต่างๆ โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือกและ กาหนดหัวข้ อการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา ให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั CI247 หัวข้ อคัดเฉพาะทาง 3(2-2-5) วิทยุโทรทัศน์ (Selected Topic in Television) สอบผ่าน CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ เรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงานวิทยุ โทรทัศน์ และการแพร่ภาพผ่านช่องทางต่างๆ โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือกและกาหนดหัวข้ อ การศึกษาในแต่ละภาคการศึกษาให้ สอดคล้ อง กับสถานการณ์ปัจจุบนั CI248 หัวข้ อพิเศษทางสื่อประสม 3(2-2-5) (Selected Topic for Multimedia) สอบผ่าน CI 202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง และ CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ เรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงาน เทคโนโลยีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ รวมทังสื ้ อ่ ประสม โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือก และกาหนดหัวข้ อในการศึกษาแต่ละภาคให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั
เหตุผลประกอบ หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 CI246 หัวข้ อคัดเฉพาะทาง 3(2-2-5) คงเดิม วิทยุกระจายเสียง (Selected Topics in Radio) สอบผ่าน CI 202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง เรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงาน วิทยุกระจายเสียง และการแพร่กระจายเสียง ผ่านช่องทางต่างๆ โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือก และกาหนดหัวข้ อการศึกษาในแต่ละภาค การศึกษาให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั CI247 หัวข้ อคัดเฉพาะทาง 3(2-2-5) คงเดิม วิทยุโทรทัศน์ (Selected Topic in Television) สอบผ่าน CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ เรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงานวิทยุ โทรทัศน์ และการแพร่ภาพผ่านช่องทางต่างๆ โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือกและกาหนดหัวข้ อ การศึกษาในแต่ละภาคการศึกษาให้ สอดคล้ อง กับสถานการณ์ปัจจุบนั CI248 หัวข้ อพิเศษทางสื่อประสม 3(2-2-5) คงเดิม (Selected Topic for Multimedia) สอบผ่าน CI 202 การผลิตรายการ วิทยุกระจายเสียง และ CI 204 การผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ เรื่ องต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงาน เทคโนโลยีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ รวมทังสื ้ อ่ ประสม โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือก และกาหนดหัวข้ อในการศึกษาแต่ละภาคให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
192
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI249 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3(1-0-8) ด้ านการกระจายเสียง และแพร่ ภาพ (Individual Study for Broadcasting) เรื่ องเกี่ยวกับกิจการกระจายเสียงหรื อ การแพร่ภาพ ผ่านช่องทางต่างๆ โดยนักศึกษา จะต้ องเสนอโครงร่างของเรื่ องที่สนใจศึกษา พร้ อมเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขออนุมตั ิ จากสาขาวิชาก่อนการลงทะเบียน
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 CI257การศึกษาเฉพาะบุคคล 3(1-0-8) ด้ านวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศน์ (Individual Study for Broadcasting) เรื่ องเกี่ยวกับกิจการกระจายเสียงหรื อการ แพร่ภาพ ผ่านช่องทางต่างๆ โดยนักศึกษาจะต้ อง เสนอโครงร่างของเรื่ องที่สนใจศึกษา พร้ อมเสนอชื่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขออนุมตั ิจากสาขาวิชาก่อน การลงทะเบียน CI250 การสร้ างสรรค์ รายการ 3(2-2-5) ความรู้ทางวิทยุกระจายเสียง (Creative-Educational Radio Program) หลักการและกระบวนการการผลิตรายการ ความรู้ทางวิทยุกระจายเสียง การวางแผนผลิต รายการ การคิดสร้ างสรรค์รูปแบบรายการ การ กาหนดขอบเขตเนื ้อหา การแสวงหาความรู้และการ คัดเลือกข้ อมูลจากแหล่งข้ อมูลต่างๆ เทคนิคและ กลวิธีการนาเสนอเนื ้อหา การใช้ ภาษาพูด ดนตรี และ เสียงประกอบจากเหตุการณ์จริ ง (Actuality) ฝึ กผลิต รายการความรู้ในและนอกสถานที่ CI251 ศิลปะการใช้ เสียงพูดทาง 3(2-2-5) วิทยุกระจายเสียง (Voice Projection for Radio) หลักการใช้ เสียงพูด หลักการปฏิบตั ิหน้ าที่ผ้ ู ประกาศ ผู้อา่ นข่าว ผู้บรรยาย ผู้ดาเนินรายการ ผู้ สัมภาษณ์ ผู้แสดง และ ดีเจ การเตรี ยมพร้ อมทาง ร่างกายและจิตใจเพื่อการพูดทีม่ คี ณ ุ ภาพพัฒนา ทักษะการพูดให้ ได้ มาตรฐานตามเกณฑ์ทดสอบผู้ ประกาศในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ของ กสทช. ด้ านคุณภาพของเสียง อักขรวิธี ความ ถูกต้ อง ความชัดเจน ลีลาการอ่านและการนาเสนอ คุณธรรมจริ ยธรรม และจรรยาบรรณของผู้พดู ทาง วิทยุกระจายเสียง ฝึ กพูดเพื่อนาเสนอเนื ้อหารายการ วิทยุรูปแบบต่าง ๆ ทังในห้ ้ องปฏิบตั ิการและฝึ ก ภาคสนามนอกสถานที่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ ปรับรหัสวิชา และชื่อวิชา
วิชาใหม่
วิชาใหม่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
193
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 5.2.5 กลุ่มวิชาเอก(ภาพยนตร์ ดิจทิ ัล) 5.2.5.1. วิชาเอกบังคับ CI301 ภาพยนตร์ ดจิ ิทัลเบือ้ งต้ น 3(3-0-6) (Introduction to Digital Film) ความหมาย ความสาคัญ ประเภทและ พัฒนาการของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ดิจิทลั เทคนิคการเล่าเรื่ องผ่านภาพยนตร์ ดิจิทลั ใน สถานการณ์ตา่ งๆ บทบาทหน้ าที่ และอิทธิพล ของภาพยนต์ดิจิทลั ฝึ กวิเคราะห์ วิจารณ์ และ เสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้ ได้ อย่างมี หลักการ บนพื ้นฐานของการประเมินคุณค่าทาง สุนทรี ยศาสตร์ สังคม กฎหมาย และจริ ยธรรมของ ผู้ผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั CI302 เครื่องมือเพื่อการผลิต ภาพยนตร์ ดิจทิ ัล 3(2-2-5) (Tools for Digital Film Production) เทคนิคของการใช้ เครื่ องมือเพื่อการเล่าเรื่ อง ผ่านภาพยนตร์ ดจิ ิทลั ได้ แก่ การบันทึกภาพและ เสียง การตัดต่อ การออกแบบกราฟิ กและ ภาพเคลือ่ นไหว ฝึ กการใช้ เครื่ องมือเพื่อการเล่า เรื่ องแบบบูรณาการผ่านภาพยนตร์ ดิจิทลั
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 5.2.5 กลุ่มวิชาเอก(ภาพยนตร์ ดิจทิ ัล) 5.2.5.1. วิชาเอกบังคับ CI301 ภาพยนตร์ ดจิ ิทัลเบือ้ งต้ น 3(3-0-6) (Introduction to Digital Film) ความหมาย ความสาคัญ ประเภทและ พัฒนาการของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ดิจิทลั เทคนิคการเล่าเรื่ องผ่านภาพยนตร์ ดิจิทลั ใน สถานการณ์ตา่ งๆ บทบาทหน้ าที่ และอิทธิพลของ ภาพยนต์ดจิ ิทลั ฝึ กวิเคราะห์ วิจารณ์ และเสนอแนะ แนวทางการประยุกต์ใช้ ได้ อย่างมีหลักการ บน พื ้นฐานของการประเมินคุณค่าทางสุนทรี ยศาสตร์ สังคม กฎหมาย และจริ ยธรรมของผู้ผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั
เหตุผลประกอบ
คงเดิม
ปรับออก
CI 311 การสร้ างสรรค์ วิชาใหม่ บทภาพยนตร์ 3(3-0-6) (Script Writing for Digital Film) แนวคิดเกี่ยวกับการสร้ างสรรค์บท ภาพยนตร์ รูปแบบและขันตอนการเขี ้ ยนบท ภาพยนตร์ ประเภทต่างๆ การประมวลความคิด การ ค้ นคว้ า การคัดเลือกข้ อมูล และการเรี ยบเรียงให้ เป็ น บทภาพยนตร์ ฝึ กเขียนบทภาพยนตร์ ประเภทต่างๆ ให้ สอดคล้ องกับกลุม่ เป้าหมาย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
194
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI303 การผลิตภาพยนตร์ ดิจทิ ัล 3(2-2-5) (Digital Film Production) ศึกษาก่ อน : CI301 ภาพยนตร์ ดิจทิ ัลเบือ้ งต้ น CI302 เครื่องมือเพื่อการผลิต ภาพยนตร์ ดิจทิ ัล กระบวนการและขันตอนการผลิ ้ ต ภาพยนตร์ ดิจิทลั ขันพื ้ ้นฐาน ตังแต่ ้ ขนเตรี ั ้ ยมการ ผลิต การผลิต และหลังการผลิต โดยฝึ ก ออกแบบ วางแผนและปฏิบตั ิการเพื่อผลิต ชิ ้นงานภาพยนตร์ ดจิ ิทลั สาหรับสือ่ ออนไลน์ โดย ครอบคลุมการสร้ างสรรค์บทภาพยนตร์ ดิจิทลั การออกแบบงานสร้ าง การใช้ เครื่องมือและ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในการผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั เทคนิคการถ่ายภาพ การตัดต่อ ลาดับภาพ และ การบันทึกเสียง
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 CI303 การผลิตภาพยนตร์ ดิจทิ ัล 3(2-2-5) (Digital Film Production) ศึกษาก่ อน : CI301 ภาพยนตร์ ดิจทิ ลั เบือ้ งต้ น CI311 การสร้ างสรรค์ บทภาพยนตร์ กระบวนการและขันตอนการผลิ ้ ต ภาพยนตร์ ดิจิทลั ขันพื ้ ้นฐาน ตังแต่ ้ ขนเตรี ั ้ ยมการผลิต การผลิต และหลังการผลิต โดยฝึ กออกแบบ วางแผน และปฏิบตั ิการเพื่อผลิตชิ ้นงานภาพยนตร์ ดจิ ิทลั สาหรับสือ่ ออนไลน์ โดยครอบคลุมการสร้ างสรรค์บท ภาพยนตร์ ดิจิทลั การออกแบบงานสร้ าง การใช้ เครื่ องมือและอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในการผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั เทคนิคการถ่ายภาพ การตัดต่อ ลาดับภาพ และการบันทึกเสียง
CI304 การออกแบบโมชันกราฟิ ก เพื่อภาพยนตร์ ดิจทิ ัล 3(2-2-5) (Motion Graphics Design for Digital Film) ศึกษาก่ อน : CI301 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบือ้ งต้ น CI302 เครื่องมือเพื่อการผลิต ภาพยนตร์ ดิจิทัล ทฤษฎี หลักการ แนวคิดและ กระบวนการออกแบบกราฟิ กและ ภาพเคลือ่ นไหวสาหรับงานภาพยนตร์ ดิจิทลั วิธีการใช้ ทฤษฎีสี แสง และการเคลือ่ นไหว เพื่อ สร้ างสรรค์ตวั อักษรและรูปภาพในรูปแบบต่างๆ เพือ่ ใช้ ในการเล่าเรื่ องในงานภาพยนตร์ ดิจิทลั
CI304 การออกแบบโมชันกราฟิ ก เพื่อภาพยนตร์ ดิจทิ ัล 3(2-2-5) (Motion Graphics Design for Digital Film) ศึกษาก่ อน : CI301 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบือ้ งต้ น CI311 การสร้ างสรรค์ บท ภาพยนตร์ ทฤษฎี หลักการ แนวคิดและกระบวนการ ออกแบบกราฟิ กและภาพเคลือ่ นไหวสาหรับงาน ภาพยนตร์ ดิจิทลั วิธีการใช้ ทฤษฎีสี แสง และการ เคลือ่ นไหว เพื่อสร้ างสรรค์ตวั อักษรและรูปภาพใน รูปแบบต่างๆ เพื่อใช้ ในการเล่าเรื่องในงานภาพยนตร์ ดิจิทลั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ ปรับรายวิชาที่ต้อง ศึกษาก่อนเรี ยน เนื่องจากใน หลักสูตร ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2559 ได้ ตดั รายวิชา CI302เครื่ องมือ เพื่อการผลิต ภาพยนตร์ ดิจิทลั ออกจากหลักสูตร
ปรับรายวิชาที่ต้อง ศึกษาก่อนเรี ยน เนื่องจากใน หลักสูตร ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2559 ได้ ตดั รายวิชา CI302เครื่ องมือ เพื่อการผลิต ภาพยนตร์ ดิจิทลั ออก
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
195
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI305 การจัดการธุรกิจ 3(3-0-6) ภาพยนตร์ ดิจิทัล (Business Management for Digital Film) การฝึ กเขียนโครงการผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั ศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ หา แหล่งอบรม ฝึ กระดมทุน ทังในเชิ ้ งธุรกิจ และ/ หรื อเชิงศิลปะ ในประเทศและต่างประเทศ จัดทา งบประมาณ ทดลองผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั ทา โฆษณาประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ ที่ผลิตขึ ้น การ จัดฉาย ทังในเชิ ้ งธุรกิจ และ/หรื อเชิงศิลปะ รวมทังจั ้ ดจาหน่ายผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่มาจาก ภาพยนตร์ CI306 โครงงานด้ าน ภาพยนตร์ ดิจิทัล 1 3(2-2-5) (Digital Film Project 1) สอบผ่ าน: CI303 การผลิต ภาพยนตร์ ดิจทิ ลั CI304 การออกแบบโมชันกราฟิ ก เพื่อภาพยนตร์ ดิจทิ ลั โครงงานด้ านการผลิตสือ่ ดิจิทลั หรื อ ภาพยนตร์ สนั ้ โดยนักศึกษากลุม่ ย่อย จะต้ อง ควบคุมดาเนินการผลิตทุกขันตอน ้ ตังแต่ ้ การ เขียนบท การออกแบบงานสร้ าง การถ่ายทา การ ตัดต่อ จนกระทัง่ งานเสร็ จสมบูรณ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ.2559 เหตุผลประกอบ CI305 การจัดการธุรกิจ 3(3-0-6) คงเดิม ภาพยนตร์ ดิจิทัล (Business Management for Digital Film) การฝึ กเขียนโครงการผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั ศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ หาแหล่งอบรม ฝึ กระดมทุน ทังในเชิ ้ งธุรกิจ และ/หรื อเชิงศิลปะ ใน ประเทศและต่างประเทศ จัดทางบประมาณ ทดลอง ผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั ทาโฆษณาประชาสัมพันธ์ ภาพยนตร์ ที่ผลิตขึ ้น การจัดฉาย ทังในเชิ ้ งธุรกิจ และ/ หรื อเชิงศิลปะ รวมทังจั ้ ดจาหน่ายผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่มาจากภาพยนตร์ CI306 โครงงานด้ าน คงเดิม ภาพยนตร์ ดิจิทัล 1 3(2-2-5) (Digital Film Project 1) สอบผ่ าน: CI303 การผลิตภาพยนตร์ ดิจทิ ลั CI304 การออกแบบโมชันกราฟิ กเพื่อ ภาพยนตร์ ดิจทิ ลั โครงงานด้ านการผลิตสือ่ ดิจิทลั หรื อภาพยนตร์ สัน้ โดยนักศึกษากลุม่ ย่อย จะต้ องควบคุมดาเนินการ ผลิตทุกขันตอน ้ ตังแต่ ้ การเขียนบท การออกแบบงาน สร้ าง การถ่ายทา การตัดต่อ จนกระทัง่ งานเสร็ จ สมบูรณ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
196
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI307 สัมมนาภาพยนตร์ 3(3-0-6) (Seminar on Film) สอบผ่ าน: รายวิชา การผลิต ภาพยนตร์ ดิจทิ ลั 1 (Digital Film Production 1) การผลิตภาพยนตร์ ดิจทิ ลั 2 (Digital Film Production 2) การวิเคราะห์สถานการณ์ อุปสรรค ปั ญหาของการดาเนินงานเกี่ยวกับภาพยนตร์ ดิจิทลั ทังด้ ้ านการสร้ างสรรค์เนื ้อหา เทคนิคการ ผลิต และการเผยแพร่ เพื่อเสนอแนะแนวทาง พัฒนาการดาเนินงาน โดยคานึงถึงความ รับผิดชอบต่อสังคมบนพื ้นฐานของหลักกฎหมาย จริ ยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ CI308 ประสบการณ์ วิชาชีพทาง ภาพยนตร์ ดิจิทัล 3(0-6-3) (Digital Film Practicum) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตร จานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่สี าขาวิชากาหนด จัดให้ นกั ศึกษาออกฝึ กงานด้ าน ภาพยนตร์ ดิจิทลั โดยได้ รับความเห็นชอบจาก สาขาวิชา ให้ มีระยะเวลาฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อ ไม่น้อยกว่า 400 ชัว่ โมงตามที่ สาขาวิชากาหนด และให้ เสนอรายงานการ ฝึ กงานประกอบ
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CI312 สัมมนาภาพยนตร์ ดิจทิ ัล 3(3-0-6) ปรับรหัส (Seminar on Film) และชื่อวิชา สอบผ่ าน: CI303 การผลิต ภาพยนตร์ ดิจทิ ลั CI304 การออกแบบโมชันกราฟิ ก เพื่อภาพยนตร์ ดิจทิ ลั การวิเคราะห์สถานการณ์ อุปสรรค ปั ญหา ของการดาเนินงานเกี่ยวกับภาพยนตร์ ดิจิทลั ทังด้ ้ าน การสร้ างสรรค์เนื ้อหา เทคนิคการผลิต และการ เผยแพร่ เพื่อเสนอแนะแนวทางพัฒนาการ ดาเนินงาน โดยคานึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม บนพื ้นฐานของหลักกฎหมาย จริยธรรมและ จรรยาบรรณวิชาชีพ CI308 ประสบการณ์ วิชาชีพทาง คงเดิม ภาพยนตร์ ดิจิทัล 3(0-6-3) (Digital Film Practicum) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจานวนไม่ น้ อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ ี สาขาวิชากาหนด จัดให้ นกั ศึกษาออกฝึ กงานด้ านภาพยนตร์ ดิจิทลั โดยได้ รับความเห็นชอบจากสาขาวิชา ให้ มี ระยะเวลาฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อ ไม่ น้ อยกว่า 400 ชัว่ โมงตามที่สาขาวิชากาหนด และให้ เสนอรายงานการฝึ กงานประกอบ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
197
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI309 โครงงานด้ าน ภาพยนตร์ ดิจิทัล 2 3(1-2-6) (Digital Film Project 2) สอบผ่ าน: รายวิชาในหลักสูตร จานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต สาหรับนักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่า มี คุณสมบัติเหมาะในการจัดทาโครงงานด้ าน ภาพยนตร์ ดิจิทลั 2 แทนการออกฝึ กงานใน หน่วยงานภายนอก โครงงานด้ านการผลิตสือ่ ดิจิทลั หรื อ ภาพยนตร์ สนั ้ เป็ นรายบุคคล ควบคุมดาเนินการ ผลิตทุกขันตอน ้ ตังแต่ ้ การศึกษาสารวจความ ต้ องการผู้ชม การออกแบบงานสร้ าง การเขียน บท การถ่ายทา การตัดต่อ จนเสร็ จสมบูรณ์ พร้ อมทังมี ้ การนาเสนอฉายต่อผู้ชมและ ประเมินผลโครงการ โดยส่งผลงานและรูปเล่ม รายงานที่สมบูรณ์ CI310 สหกิจศึกษา 6(0-40-20) (Co-operative Education) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตร จานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ สี าขาวิชากาหนด การปฏิบตั ิงานจริงในสถาน ประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษา เป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะ พนักงานชัว่ คราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการ เตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ านวิชาการ และการ ปฏิบตั ิตนในสังคม การทางาน รวมทังด ้ าเนินการ ตามขันตอนของสหกิ ้ จศึกษาที่มหาวิทยาลัย กาหนด การปฏิบตั งิ านและการประเมินผล อยู่ ภายใต้ การกากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาของ สาขาวิชา และพนักงานที่ปรึกษาที่สถาน ประกอบการมอบหมาย
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 CI309 โครงงานด้ าน ภาพยนตร์ ดิจิทัล 2 3(1-2-6) (Digital Film Project 2) สอบผ่ าน: รายวิชาในหลักสูตร จานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต สาหรับนักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่า มี คุณสมบัติเหมาะในการจัดทาโครงงานด้ าน ภาพยนตร์ ดิจิทลั 2 แทนการออกฝึ กงานในหน่วยงาน ภายนอก โครงงานด้ านการผลิตสือ่ ดิจิทลั หรื อภาพยนตร์ สัน้ เป็ นรายบุคคล ควบคุมดาเนินการผลิตทุก ขันตอน ้ ตังแต่ ้ การศึกษาสารวจความต้ องการผู้ชม การออกแบบงานสร้ าง การเขียนบท การถ่ายทา การ ตัดต่อ จนเสร็ จสมบูรณ์ พร้ อมทังมี ้ การนาเสนอฉาย ต่อผู้ชมและประเมินผลโครงการ โดยส่งผลงานและ รูปเล่มรายงานที่สมบูรณ์ CI310 สหกิจศึกษา 6(0-40-20) (Co-operative Education) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจานวน ไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตาม เกณฑ์ ท่ สี าขาวิชากาหนด การปฏิบตั ิงานจริงในสถานประกอบการ อย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษาเป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะพนักงานชัว่ คราว นักศึกษา จะต้ องเข้ ารับการเตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ าน วิชาการ และการปฏิบตั ิตนในสังคม การทางาน รวมทังด ้ าเนินการตามขันตอนของสหกิ ้ จศึกษาที่ มหาวิทยาลัยกาหนด การปฏิบตั งิ านและการ ประเมินผล อยูภ่ ายใต้ การกากับดูแลของอาจารย์ที่ ปรึกษาของสาขาวิชา และพนักงานที่ปรึกษาที่สถาน ประกอบการมอบหมาย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ คงเดิม
คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
198
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 5.2.5.2 รายวิชาเอกเลือก
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 5.2.5.2 วิชาเอกเลือก
เหตุผลประกอบ
CI331 การสร้ างสรรค์ เนือ้ หาสาหรับ สื่อดิจิทัล 3(2-2-5) (Content Creation for Digital Media) แนวคิด หลักการ และเทคนิคการสร้ างสรรค์ เนื ้อหาสาหรับสือ่ ดิจิทลั ประเภทต่างๆ การ วิเคราะห์ผ้ รู ับสารเป้าหมาย การออกแบบเนื ้อหา และวิธีการนาเสนอเนื ้อหา รวมถึงการผลิต เนื ้อหาสาหรับเว็บไซต์ และสือ่ สังคมออนไลน์ เพื่อนาเสนอผ่านแพลทฟอร์ มต่างๆ CI332 การกากับภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Film Directing) คุณสมบัติและหน้ าที่ของผู้กากับการ ผลิตภาพยนตร์ การกากับภาพและการแสดงให้ เป็ นไปตามบท การใช้ ไหวพริ บในการแก้ ปัญหา เฉพาะหน้ าในการกากับการแสดง ฝึ กการ ควบคุมการทางานกองถ่ายให้ บรรลุเป้าหมาย 5.2.5.2 รายวิชาเอกเลือก
CI331 การสร้ างสรรค์ เนือ้ หาสาหรับ สื่อดิจิทัล 3(2-2-5) (Content Creation for Digital Media) แนวคิด หลักการ และเทคนิคการสร้ างสรรค์ เนื ้อหาสาหรับสือ่ ดิจิทลั ประเภทต่างๆ การวิเคราะห์ ผู้รับสารเป้าหมาย การออกแบบเนื ้อหาและวิธีการ นาเสนอเนื ้อหา รวมถึงการผลิตเนื ้อหาสาหรับ เว็บไซต์ และสือ่ สังคมออนไลน์ เพื่อนาเสนอผ่าน แพลทฟอร์ มต่างๆ CI332 การกากับภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Film Directing) คุณสมบัติและหน้ าที่ของผู้กากับการผลิต ภาพยนตร์ การกากับภาพและการแสดงให้ เป็ นไป ตามบท การใช้ ไหวพริ บในการแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า ในการกากับการแสดง ฝึ กการควบคุมการทางาน กองถ่ายให้ บรรลุเป้าหมาย 5.2.5.2 วิชาเอกเลือก
คงเดิม
CI333 การออกแบบเสียงใน ภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Sound Design for Film) กระบวนการออกแบบ และการผลิต เสียงเพื่อใช้ ในภาพยนตร์ ดิจิทลั เรี ยนรู้เครื่ องมือ และระบบการบันทึกเสียง การพากย์ การ บรรยาย การสร้ างดนตรี และเสียงประกอบ ฝึ ก การออกแบบการใช้ เสียงและระบบเสียงประเภท ต่างๆให้ สอดคล้ องกับภาพยนตร์ ดิจิทลั ที่นาเสนอ
CI333 การออกแบบเสียงใน คงเดิม ภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Sound Design for Film) กระบวนการออกแบบ และการผลิตเสียง เพื่อใช้ ในภาพยนตร์ ดิจิทลั เรี ยนรู้เครื่ องมือและระบบ การบันทึกเสียง การพากย์ การบรรยาย การสร้ าง ดนตรี และเสียงประกอบ ฝึ กการออกแบบการใช้ เสียง และระบบเสียงประเภทต่างๆให้ สอดคล้ องกับ ภาพยนตร์ ดิจิทลั ที่นาเสนอ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
199
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI334 การออกแบบภาพและแสง ในภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Visual and Lighting Design for Film) กระบวนการออกแบบ การจัด องค์ประกอบของภาพและการจัดแสงเพื่อใช้ ใน สือ่ ดิจิทลั และภาพยนตร์ ประเภทของแสงทีใ่ ช้ ใน การถ่ายทา เรี ยนรู้อปุ กรณ์และเครื่ องมือเสริ มใน การบันทึกภาพและการจัดแสง ฝึ กการจัด องค์ประกอบของภาพ ฝึ กการออกแบบแสงเพื่อ สือ่ ความหมายในลักษณะต่างๆ CI335 การออกแบบงานสร้ าง ภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Production Design for Film) กระบวนการตีความบท การค้ นคว้ า ข้ อมูล สร้ างสรรค์และแสวงหาแนวคิดการ ออกแบบงานศิลป์ในภาพยนตร์ ดจิ ิทลั ให้ มีความ เป็ นเอกลักษณ์สอดคล้ องสมเหตุผลกับอารมณ์ และเนื ้อเรื่ องที่นาเสนอ ฝึ กการสร้ างสรรค์และ ออกแบบเป็ นภาพร่าง การออกแบบฉาก การ เลือกใช้ วสั ดุประกอบฉาก iรวมทังการใช้ ้ คอมพิวเตอร์ ในการตกแต่งภาพให้ ดสู มจริ งและ สวยงาม 5.2.5.2 รายวิชาเอกเลือก CI336 กระบวนการหลัง 3(2-2-5) การถ่ ายทา (Post Production Process for Film) เทคนิคการตัดต่อลาดับภาพและเสียง สาหรับภาพยนตร์ ดจิ ิทลั การใช้ เครื่ องมือและ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในการตัดต่อลาดับภาพและเสียง การลาดับภาพเพื่อสือ่ ความหมาย ฝึ กการตัด ต่อลาดับภาพและเสียงด้ วยระบบดิจิทลั
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CI334 การออกแบบภาพและแสง คงเดิม ในภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Visual and Lighting Design for Film) กระบวนการออกแบบ การจัดองค์ประกอบ ของภาพและการจัดแสงเพื่อใช้ ในสือ่ ดิจิทลั และ ภาพยนตร์ ประเภทของแสงทีใ่ ช้ ในการถ่ายทา เรี ยนรู้ อุปกรณ์และเครื่ องมือเสริ มในการบันทึกภาพและการ จัดแสง ฝึ กการจัดองค์ประกอบของภาพ ฝึ กการ ออกแบบแสงเพื่อสือ่ ความหมายในลักษณะต่างๆ CI335 การออกแบบงานสร้ าง คงเดิม ภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Production Design for Film) กระบวนการตีความบท การค้ นคว้ าข้ อมูล สร้ างสรรค์และแสวงหาแนวคิดการออกแบบงานศิลป์ ในภาพยนตร์ ดิจิทลั ให้ มคี วามเป็ นเอกลักษณ์ สอดคล้ องสมเหตุผลกับอารมณ์และเนื ้อเรื่ องที่ นาเสนอ ฝึ กการสร้ างสรรค์และออกแบบเป็ นภาพ ร่าง การออกแบบฉาก การเลือกใช้ วสั ดุประกอบฉาก iรวมทังการใช้ ้ คอมพิวเตอร์ ในการตกแต่งภาพให้ ดู สมจริ งและสวยงาม 5.2.5.2 วิชาเอกเลือก CI336 กระบวนการหลัง 3(2-2-5) คงเดิม การถ่ ายทา (Post Production Process for Film) เทคนิคการตัดต่อลาดับภาพและเสียง สาหรับภาพยนตร์ ดจิ ิทลั การใช้ เครื่ องมือและ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในการตัดต่อลาดับภาพและเสียง การ ลาดับภาพเพื่อสือ่ ความหมาย ฝึ กการตัดต่อลาดับ ภาพและเสียงด้ วยระบบดิจิทลั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
200
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CI337 การผลิตภาพยนตร์ สารคดี 3(2-2-5) (Documentary Film Production) ประเภท และหลักการผลิตภาพยนตร์ สารคดี การค้ นคว้ าข้ อมูลและคัดเลือกเรื่ องราว เพื่อสร้ างบทภาพยนตร์ สารคดี ฝึ กเขียนโครงการ ผลิตภาพยนตร์ สารคดี หาแหล่งอบรม ฝึ กระดม ทุน และจัดการงบประมาณ ทดลองผลิต ภาพยนตร์ สารคดีดิจิทลั
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 CI337 การผลิตภาพยนตร์ 3(2-2-5) สารคดี (Documentary Film Production) ประเภท และหลักการผลิตภาพยนตร์ สาร คดี การค้ นคว้ าข้ อมูลและคัดเลือกเรื่ องราวเพื่อสร้ าง บทภาพยนตร์ สารคดี ฝึ กเขียนโครงการผลิต ภาพยนตร์ สารคดี หาแหล่งอบรม ฝึ กระดมทุน และ จัดการงบประมาณ ทดลองผลิตภาพยนตร์ สารคดี ดิจิทลั CI338 การผลิตภาพยนตร์ บนั เทิง CI338 การผลิตภาพยนตร์ บนั เทิง 3(2-2-5) 3(2-2-5) (Feature Film Production) (Feature Film Production) ประเภท และหลักการผลิตภาพยนตร์ ประเภท และหลักการผลิตภาพยนตร์ บันเทิง การค้ นคว้ าข้ อมูลและคัดเลือกเรื่ องราว บันเทิง การค้ นคว้ าข้ อมูลและคัดเลือกเรื่ องราวเพื่อ เพื่อสร้ างบทภาพยนตร์ บนั เทิง ฝึ กเขียนโครงการ สร้ างบทภาพยนตร์ บนั เทิง ฝึ กเขียนโครงการผลิต ผลิตภาพยนตร์ บนั เทิง การจัดการบุคลากรและ ภาพยนตร์ บนั เทิง การจัดการบุคลากรและ งบประมาณ ทดลองผลิตภาพยนตร์ บนั เทิงดิจิทลั งบประมาณ ทดลองผลิตภาพยนตร์ บนั เทิงดิจิทลั CI339 ศิลปะดิจิทัลสาหรับ ภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Digital Art for Film) ความเป็ นมา และหลักการใช้ ศิลปะ ดิจิทลั ในภาพยนตร์ ตังแต่ ้ การพัฒนาเรื่ องราว หน้ าที่ ความรับผิดชอบ และกระบวนการในการ ผลิตภาพยนตร์ การนาเสนอและเผยแพร่ชิ ้นงาน ผ่านสิอ่ ดิจิทลั รูปแบบต่าง ๆ 5.2.5.2. รายวิชาเอกเลือก CI340 การวิเคราะห์ และวิจารณ์ ภาพยนตร์ 3(3-0-6) (Film Criticism) ทฤษฎีภาพยนตร์ ทฤษฎีการวิจารณ์ ภาพยนตร์ ทฤษฏีการเขียนบทวิจารณ์ภาพยนตร์ และทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ อื่นๆ ที่นกั ศึกษา เลือก จรรยาบรรณของนักวิจารณ์ ฝึ กเขียน วิเคราะห์วจิ ารณ์ภาพยนตร์
เหตุผลประกอบ คงเดิม
คงเดิม
CI339 ศิลปะดิจิทัลสาหรับ คงเดิม ภาพยนตร์ 3(2-2-5) (Digital Art for Film) ความเป็ นมา และหลักการใช้ ศิลปะดิจิทลั ในภาพยนตร์ ตังแต่ ้ การพัฒนาเรื่องราว หน้ าที่ ความ รับผิดชอบ และกระบวนการในการผลิตภาพยนตร์ การนาเสนอและเผยแพร่ชิ ้นงานผ่านสิอ่ ดิจิทลั รูปแบบต่าง ๆ 5.2.5.2 วิชาเอกเลือก CI340 การวิเคราะห์ และวิจารณ์ คงเดิม ภาพยนตร์ 3(3-0-6) (Film Criticism) ทฤษฎีภาพยนตร์ ทฤษฎีการวิจารณ์ ภาพยนตร์ ทฤษฏีการเขียนบทวิจารณ์ภาพยนตร์ และทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ อื่นๆ ที่นกั ศึกษาเลือก จรรยาบรรณของนักวิจารณ์ ฝึ กเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ภาพยนตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
201
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 5.2.6 วิชาโทสาขานิเทศศาสตร์
CX 001 นิเทศศาสตร์ เบือ้ งต้ น 3 (3-0-6) (Introduction to Communication Arts) ความหมาย ความสาคัญ และประเภท ของการสื่ อ สาร องค์ ป ระกอบ แบบจ าลองของ กระบวนการสื่อสาร ลักษณะ บทบาท หน้ าที่และ วิ วัฒ นาการของการสื่ อ สารมวลชน ระบบและ อิทธิพลของการสื่อสารมวลชนที่มีตอ่ สังคม องค์กร ที่เกี่ยวข้ อง ทังในและต่ ้ างประเทศ การสื่อสารกับ การพัฒนาประเทศ CX 002 การสื่อสารเพื่อการพัฒนา 3(3-0-6) (Communication for Development) แนวคิด หลักการ และทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้ อง กับการสือ่ สารกับการพัฒนา ครอบคลุมทังแนวคิ ้ ด ทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนา การสือ่ สาร การสือ่ สาร เพื่อการพัฒนา การเปลีย่ นแปลงทางสังคม การ แพร่กระจายนวัตกรรม การสือ่ สารรณรงค์ การตลาดเพื่อสังคม และการสือ่ สารแบบมีสว่ นร่วม โดยมีกรณีศกึ ษาประกอบ CX 003 การโฆษณากับสังคม 3 (3-0-6) (Advertising and Society) บทบาท อิทธิ พล และผลกระทบของการ โฆษณาและกิจกรรมการตลาดอื่น ๆ ที่มีต่อบุคคล ชุมชน และสังคม บทบาทของการโฆษณาในด้ าน การเมื อ ง เศรษฐกิ จ สั ง คม และวั ฒ นธรรม จรรยาบรรณและความรับผิดชอบของนักโฆษณา การควบคุมโฆษณาทางกฎหมายและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้ อง โดยใช้ กรณีศกึ ษาในประเทศไทย
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ 5.2.6 วิชาโทสาขาวิชานวัตกรรม สื่อสารมวลชน 5.2.6.1 วิชาโทสาขาวิชานวัตกรรม สื่อสารมวลชนที่จัดให้ นักศึกษาต่ างคณะ CX 200 นิเทศศาสตร์ เบือ้ งต้ น 3 (3-0-6) ปรับรหัสวิชา (Introduction to Communication Arts) ความหมาย ความสาคัญ และประเภท ของการสื่ อ สาร องค์ ป ระกอบ แบบจ าลองของ กระบวนการสื่อสาร ลักษณะ บทบาท หน้ าที่และ วิ วัฒ นาการของการสื่ อ สารมวลชน ระบบและ อิทธิพลของการสือ่ สารมวลชนที่มีต่อสังคม องค์กร ที่เกี่ยวข้ อง ทังในและต่ ้ างประเทศ การสื่อสารกับ การพัฒนาประเทศ ปรับออก
ปรับออก
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
202
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557 CX 006 วารสารศาสตร์ สากล 3 (3-0-6) (Global Journalism) แนวคิดเกี่ ยวกับวารสารศาสตร์ สากล การไหลเวียนของข่าวสารระหว่างประเทศ ภูมิ ทัศน์ของสือ่ ที่เปลีย่ นแปลงไปในยุคหลอมรวมสื่อ ซึ่ ง ก่ อ ให้ เกิ ด ผลกระทบกั บ ประชาคมโลก ลักษณะและบทบาทหน้ าที่ของสื่อมวลชนทังใน ้ ระดับสากล และ ระดับภูมิภาค โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งภูมิภาคอาเซียน วิเคราะห์ปัญหาการนาเสนอ ข่ า วสารของประเทศก าลั ง พั ฒ นา องค์ ก ร สื่อสารมวลชนที่เกี่ยวข้ องทังในและต่ ้ างประเทศ ปั จจั ย ต่ า ง ๆ ด้ านการสื่ อ สารที่ ก่ อ ให้ เกิ ด ประสิทธิผลต่อการพัฒนา CX 007 การกระจายเสียง 3 (3-0-6) และแพร่ ภาพนานาชาติ (International Broadcasting) โครงสร้ าง ระบบ และการด าเนิ น งาน ของกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ผ่าน ช่องทางต่าง ๆ ได้ แก่ ทางภาคพื ้นดิน อินเทอร์ เน็ต เคเบิ ล ที วี การสื่ อ สารผ่ า นดาวเที ย ม และการ สื่ อ สารรู ป แบบอื่ น ๆ ในบริ บ ททางเศรษฐกิ จ การเมื อ งและสัง คมที่ แ ตกต่ า งกั น ของนานา ประเทศ CX008 พืน้ ฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Fundamentals of Strategic Communication) 3 (3-0-6) ศึกษาก่อนCX001 นิเทศศาสตร์ เบื ้องต้ น หลักการ แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ การสร้ างและสื่อสารแบ รนด์ระดับองค์กร ระดับสินค้ าและบริ การ การ ใช้ เครื่ องมือหลักในการสื่อสารแบรนด์ โดยเน้ น หลัก การ แนวคิ ด ทฤษฎี และกระบวนการ ดาเนินงานเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ และการ โฆษณา จรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อ สังคมในการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ขององค์กร
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CX 203 วารสารศาสตร์ สากล 3 (3-0-6) ปรับรหัสวิชา (Global Journalism) แนวคิ ด เกี่ ย วกับ วารสารศาสตร์ ส ากล การไหลเวียนของข่าวสารระหว่างประเทศ ภูมิ ทัศน์ของสื่อที่เปลี่ยนแปลงไปในยุคหลอมรวมสื่อ ซึ่งก่อให้ เกิดผลกระทบกับประชาคมโลก ลักษณะ และบทบาทหน้ าที่ของสือ่ มวลชนทังในระดั ้ บสากล และระดับ ภูมิ ภ าค โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ภูมิ ภ าค อาเซียน วิเคราะห์ปัญหาการนาเสนอข่าวสารของ ประเทศก าลัง พัฒ นา องค์ ก รสื่ อ สารมวลชนที่ เกี่ยวข้ องทังในและต่ ้ างประเทศปั จจัยต่าง ๆ ด้ าน การสือ่ สารที่ก่อให้ เกิดประสิทธิผลต่อการพัฒนา CX 205 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุ 3(3-0-6) โทรทัศน์ นานาชาติ ปรับรหัสวิชา (International Broadcasting) และชื่อวิชา โครงสร้ าง ระบบ และการดาเนินงานของ กิ จ การวิ ท ยุก ระจายเสีย งและวิ ท ยุโทรทัศ น์ ผ่า น ช่องทางต่าง ๆ ได้ แก่ ทางภาคพื ้นดิน อินเทอร์ เน็ต เคเบิ ล ที วี การสื่ อ สารผ่ า นดาวเที ย ม และการ สื่ อ สารรู ป แบบอื่ น ๆ ในบริ บททางเศรษฐกิ จ การเมื อ งและสั ง คมที่ แ ตกต่ า งกั น ของนานา ประเทศ ปรับออก
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
203
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CX201 พืน้ ฐานการสื่อสารมวลชน 3(3-0-6) วิชาใหม่ และสื่อใหม่ (Fundamentals of Mass Communication and New Media) พัฒนาการ บทบาทหน้ าที่ โครงสร้ าง ระบบ ของสือ่ สารมวลชนและสือ่ ใหม่ องค์กรสือ่ สารมวลชน ที่เกี่ยวข้ องทังในและต่ ้ างประเทศ หลักการของการ สร้ างสรรค์เนื ้อหา และคุณสมบัตขิ องผู้สร้ างสรรค์ เนื ้อหาเพื่อเผยแพร่ทางสือ่ ต่างๆ การวิเคราะห์ผ้ รู ับสาร สือ่ มวลชนและสือ่ ใหม่ อิทธิพลของการสือ่ สารมวลชน และสือ่ ใหม่ตอ่ สังคม จรรยาบรรณและความ รับผิดชอบของสือ่ มวลชนและสือ่ ใหม่ CX202 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ วิชาใหม่ (Journalism Technology) 3(3-0-6) เทคโนโลยีด้านการพิมพ์ และ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการดาเนินงานด้ านข่าวและ การบรรณาธิกรณ์หนังสือพิมพ์และนิตยสาร อาทิ เทคโนโลยีการสือ่ สาร เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีโทรคมนาคม และการเลือกใช้ เทคโนโลยีที่ เหมาะสมสาหรับงานด้ านวารสารศาสตร์ CX204 การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ วิชาใหม่ (Management for Publishing Business) 3(3-0-6) ระบบการจัดพิมพ์หนังสือเล่ม ได้ แก่ ระบบการพิมพ์และกลไกการตลาดหนังสือ เล่ม การบริ หารการเงิน การคานวณต้ นทุน กลไก ลิขสิทธิ์ กระบวนการแสวงหาและคัดเลือกต้ นฉบับ รวมทังกระบวนการบรรณาธิ ้ กรต้ นฉบับ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
204
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 CX206 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบือ้ งต้ น (Introduction to Digital Film) 3(3-0-6) ความหมาย ความสาคัญ ประเภทและ พัฒนาการของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ดิจิทลั เทคนิคการเล่าเรื่ องผ่านภาพยนตร์ ดิจิทลั ใน สถานการณ์ตา่ งๆ บทบาทหน้ าที่ และอิทธิพลของ ภาพยนต์ดจิ ิทลั ฝึ กวิเคราะห์ วิจารณ์ และเสนอแนะ แนวทางการประยุกต์ใช้ ได้ อย่างมีหลักการ บน พื ้นฐานของการประเมินคุณค่าทางสุนทรี ยศาสตร์ สังคม กฎหมาย และจริ ยธรรมของผู้ผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั CX208 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ (Photojournalism) 3(3-0-6) หลักการ และแนวคิดเกี่ยวกับภาพ ข่าว เทคนิคและวิธีการถ่ายภาพ การคัดเลือกภาพ เพื่อนาไปใช้ ในงานวารสารศาสตร์ ผลกระทบของ ภาพและภาพข่าวที่มีตอ่ ผู้รับสาร ฝึ กการถ่ายภาพ และการนาเสนอภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ โดย คานึงถึงจรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคม
เหตุผลประกอบ วิชาใหม่
วิชาใหม่
5.2.6.2 กลุ่มวิชาโทนวัตกรรมสื่อสารมวลชน ที่ จัดให้ นักศึกษาต่ างสาขาวิชาเลือกเรียน CX202 เทคโนโลยีวารสารศาสตร์ วิชาใหม่ (Journalism Technology) 3(3-0-6) เทคโนโลยีด้านการพิมพ์ และ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการดาเนินงานด้ านข่าวและ การบรรณาธิกรณ์หนังสือพิมพ์และนิตยสาร อาทิ เทคโนโลยีการสือ่ สาร เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีโทรคมนาคม และการเลือกใช้ เทคโนโลยีที่ เหมาะสมสาหรับงานด้ านวารสารศาสตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
205
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 CX 203 วารสารศาสตร์ สากล 3 (3-0-6) (Global Journalism) แนวคิดเกี่ยวกับวารสารศาสตร์ สากล การไหล เวียนของข่าวสารระหว่างประเทศ ภูมิทศั น์ของสือ่ ที่ เปลีย่ นแปลงไปในยุคหลอมรวมสือ่ ซึง่ ก่อให้ เกิดผล กระทบกับประชาคมโลก ลักษณะและบทบาทหน้ าที่ ของสือ่ มวลชนทังในระดั ้ บสากลและระดับภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิภาคอาเซียน วิเคราะห์ปัญหา การนาเสนอข่าวสารของประเทศกาลังพัฒนา องค์กร สือ่ สารมวลชนที่เกี่ยวข้ องทังในและต่ ้ างประเทศปั จจัย ต่าง ๆ ด้ านการสือ่ สารที่ก่อให้ เกิดประสิทธิผลต่อการ พัฒนา CX204 การจัดการธุรกิจสานักพิมพ์ 3(3-0-6) (Management for Publishing Business) ระบบการจัดพิมพ์หนังสือเล่ม ได้ แก่ ระบบการพิมพ์และกลไกการตลาดหนังสือ เล่ม การบริ หารการเงิน การคานวนต้ นทุน กลไก ลิขสิทธิ์ กระบวนการแสวงหาและคัดเลือกต้ นฉบับ รวมทังกระบวนการบรรณาธิ ้ กรต้ นฉบับ CX 205 วิทยุกระจายเสียงและวิทยุ 3(3-0-6) โทรทัศน์ นานาชาติ (International Broadcasting) โครงสร้ าง ระบบ และการด าเนิ น งานของ กิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ผ่านช่องทาง ต่าง ๆ ได้ แก่ ทางภาคพื ้นดิน อินเทอร์ เน็ต เคเบิลทีวี การ สื่อสารผ่านดาวเที ยม และการสื่อสารรู ปแบบอื่น ๆ ใน บริ บททางเศรษฐกิ จ การเมืองและสังคมที่แตกต่างกัน ของนานาประเทศ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ วิชาใหม่
วิชาใหม่
วิชาใหม่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
206
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 CX206 ภาพยนตร์ ดิจิทลั เบือ้ งต้ น 3(3-0-6) (Introduction to Digital Film) ความหมาย ความสาคัญ ประเภทและ พัฒนาการของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ดิจิทลั เทคนิค การเล่าเรื่ องผ่านภาพยนตร์ ดิจิทลั ในสถานการณ์ตา่ งๆ บทบาทหน้ าที่ และอิทธิพลของภาพยนต์ดิจิทลั ฝึ ก วิเคราะห์ วิจารณ์ และเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้ ได้ อย่างมีหลักการ บนพื ้นฐานของการประเมินคุณค่า ทางสุนทรี ยศาสตร์ สังคม กฎหมาย และจริ ยธรรมของ ผู้ผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั CX207 การจัดการธุรกิจวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) ดิจิทัล (Business Management for Digital Journalism) หลักการจัดองค์กร การกาหนดนโยบายและ แผนงานธุรกิจวารสารศาสตร์ การบริ หารงานกอง บรรณาธิการ การบริ หารการเงินและงบประมาณ การ บริ หารการผลิต การบริ หารการจัดจาหน่าย การบริ หาร การตลาด รวมทังการปรั ้ บตัวของธุรกิจวารสารศาสตร์ ใน ยุคหลอมรวมของสือ่ สิง่ พิมพ์ สือ่ ดิจิทลั และสือ่ ใหม่ CX208 ภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ 3(3-0-6) (Photojournalism) หลักการ และแนวคิดเกี่ยวกับภาพข่าว เทคนิคและวิธีการถ่ายภาพ การคัดเลือกภาพ เพื่อนาไปใช้ ในงานวารสารศาสตร์ ผลกระทบของภาพ และภาพข่าวทีม่ ีตอ่ ผู้รับสาร ฝึ กการถ่ายภาพและการ นาเสนอภาพเพื่องานวารสารศาสตร์ โดยคานึงถึง จรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคม CX209 การเขียนสารคดี 3(3-0-6) (Feature Writing) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสารคดีและ กระบวนการผลิตสารคดี อาทิ การเลือกเรื่ อง การ รวบรวม และคัดเลือกข้ อมูล การเขียนและการนาเสนอ ผลงานสารคดีผา่ นสือ่ รูปแบบต่าง ๆ โดยเน้ น ฝึ กกระบวนการผลิตงานเขียนประเภทสารคดี โดย คานึงถึงจริ ยธรรมในการนาเสนอ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
เหตุผลประกอบ วิชาใหม่
วิชาใหม่
วิชาใหม่
วิชาใหม่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
207
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2557
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CX210 การวิเคราะห์ ข่าวปั จจุบัน 3(3-0-6) วิชาใหม่ (Current News Analysis) วิธีการวิเคราะห์ขา่ วที่ปรากฏใน สือ่ มวลชนในปั จจุบนั ทังข่ ้ าวภายในประเทศ และข่าว ต่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสังคมไทย ภูมิหลังและ ประเด็นหลักของข่าว ปรัชญาและหลักการที่เกี่ยวข้ อง กับประเด็นข่าว การใช้ ความรู้พื ้นฐานด้ านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไทยในการวิเคราะห์บทบาทของ สือ่ มวลชน การวิเคราะห์การนาเสนอของสือ่ มวลชนโดย ใช้ ประเด็นข่าวเป็ นเกณฑ์ และการฝึ กปฏิบตั ิการนาเสนอ ผลการวิเคราะห์ผา่ นสือ่ ที่หลากหลายรูปแบบ CX211 การจัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ 3(3-0-6) วิชาใหม่ (Business Management for Broadcasting) หลักการจัดองค์การ การกาหนดนโยบาย แผนงาน การบริ หารทรัพยากร ระบบการบริ หารและ จัดการธุรกิจวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ผ่าน ทางคลืน่ วิทยุ เคเบิ ้ล และสือ่ ออนไลน์ ประกอบด้ วย สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีวทิ ยุโทรทัศน์ องค์การ หรื อหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ดาเนินธุรกิจกระจาย เสียงและการแพร่ภาพ โดยคานึงถึงปั จจัยทางธุรกิจ เทคโนโลยี นโยบายของรัฐและกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง วิชาใหม่ CX212 การจัดการธุรกิจภาพยนตร์ 3(3-0-6) ดิจิทัล (Business Management for Digital Film) การฝึ กเขียนโครงการผลิตภาพยนตร์ ดิจิทลั ศึกษาความเป็ นไปได้ ของโครงการ หาแหล่งอบรม ฝึ ก ระดมทุน ทังในเชิ ้ งธุรกิจ และ/หรื อเชิงศิลปะ ในประเทศ และต่างประเทศ จัดทางบประมาณ ทดลองผลิต ภาพยนตร์ ดิจิทลั ทาโฆษณาประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ ที่ ผลิตขึ ้น การจัดฉาย ทังในเชิ ้ งธุรกิจ และ/หรื อเชิงศิลปะ รวมทังจั ้ ดจาหน่ายผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่มาจากภาพยนตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
208
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ภาคผนวก ฉ การพัฒนาผลการเรียนรู้และแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบ มาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิ ชาของหมวดวิ ชาศึกษาทัวไป ่ หมวดวิ ชาศึกษาทัวไป ่ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2557 การพัฒนาผลการเรียนรู้ (Learning Outcome) 1. คุณธรรม จริ ยธรรม คุณธรรม จริยธรรมทีต่ อ้ งพัฒนา 1) มีวนิ ยั ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม 2) มีความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ 3) เคารพกฎระเบียบ และข้อบังคับของส่วนรวม 4) มีจติ สานึกทีด่ ตี ่อสังคม 5) มีความเสียสละและมีความอดทน 2. ความรู้ 1) ความรูพ้ น้ื ฐานด้านธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ การบัญชี และคณิตศาสตร์ 2) ความรูแ้ ละทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษธุรกิจ และสามารถสื่อสารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3) ความรูเ้ กีย่ วกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 4) ความรูแ้ ละตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม 5) ความรูค้ วามเข้าใจในตนเองและผูอ้ ่นื 3. ทักษะทางปัญญา ทักษะทางปญั ญาทีต่ อ้ งพัฒนา 1) มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ 2) มีความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ 3) มีความสามารถในการแก้ปญั หาในสถานการณ์ต่าง ๆ 4) มีความสามารถนาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
209
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบทีต่ อ้ งพัฒนา 1. พัฒนาทักษะในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เ รียนกับผู้เรียนและผู้เรียนกับ ผูส้ อน ตลอดจนสามารถทางานร่วมกับผูอ้ ่นื ได้ดี 2. มีการพัฒนาภาวะผูน้ า 3. เคารพสิทธิและรับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่นื 4. สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย 5. มีบุคลิกภาพทีด่ ที งั ้ ภายในและภายนอก รวมทัง้ มีความสามารถในการเข้าสังคม 5. ทักษะการวิ เคราะห์เชิ งตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทีต่ อ้ งพัฒนา 1) ทักษะการคิดคานวณเชิงตัวเลข 2) ทักษะในการสื่อสาร ได้แก่ การพูด การฟงั การอ่าน และการเขียน โดยการทางาน กลุ่ม 3) ทักษะการสืบค้นข้อมูลจาก internet 4) ทักษะการใช้โปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อคานวณ นาเสนอ วิเคราะห์ และแปรผลข้อมูล 5) ทักษะการเรียนรูด้ ว้ ยระบบ e-learning 6) ทักษะในการนาเสนอข้อมูล โดยใช้รปู แบบ เครือ่ งมือ และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
210
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิ ชา (Curriculum Mapping) หมวดวิ ชาศึกษาทัวไป ่ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2557 ระดับปริ ญญาตรี มหาวิ ทยาลัยหอการค้าไทย ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง 1. คุณธรรม จริยธรรม
211 หลักสุตรปรับปรุง พ.ศ.2559
HG008 HG009 HG010 HG011 HG012 SG004 SG005 SG006 BG003 HG022 HG032
ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 1 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 2 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 3 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 4 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ คณิตศาสตร์และสถิตใิ นชีวติ ประจาวัน การรูท้ างดิจทิ ลั การประกอบการเชิงนวัตกรรม การบริหารตนเอง ทักษะการดารงชีวติ ในสังคมโลก
1
2
3
2. ความรู้
4 5 1 2
3. ทักษะทาง ปัญญา
3 4 5 1
2 3
4
4. ทักษะ 5. ทักษะการวิ เคราะห์ ความสัมพันธ์ เชิ งตัวเลข การสื่อสาร ระหว่างบุคคล และเทคโนโลยี และความ สารสนเทศ รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6
(~'m.n)
~1i~~ll1~'VI1':3'Vlm~tJ'VI~m J'fl1b'VltJ ~ 6
il
/2559
I
I
I
~ll1~'VI1':3'Vlm~u1umnJJ':::1~ Af~VI 2/2559 (315) biJ~~uv~nVI 2 i1u1A~ 2559 i1~~m~l1~ '
~
bbl?l~~~Aru:::nJ'J'~mJ'~oo.J'IJ1'VI~n~ (;]J' ~1·1n':3"111l?l1~ 1 bri~1 ~ n1 J'~1 bilun 1 J''VI~n ~ (;]J'biJu1tJ rJf'JtJ A'J1 ~ ~
~
'
'
~
~(;]~~m~nb~mu ~.PL 2546 bbmonb'W~b~~ ('uuuVI 2) ~.PL 2550 ~~bbl?l~~~Aru:::mJ'~m~oo..~'IJ1'VI~n~(;]J' q
~
~1on1':3"1!1l?l1~
~
1 ~1'\J'J'\J 3 'VI~n~(;]J' ~~i1J'1tJ'IJ1~l?l~ttJil
~
1. P~1~(;]J'1/0l1J'~ ~J'.Pin(;]1 trub'VIti~bvhf 2. ffi~P11~(;]J'11il1J'~ (;]J'. ~J'1'Jn ~U'IJ(;]"J!1~ q
3. ffi~Pl1~(;]J'1/0l1J'~ (;]J'.~~~"ll ~'IJ':3~1'\J 4.
~J'.mu::: t~t':3~(;]J'
5. ffi~Pl1~(;]J'11il1J'~ ~J'.4'uYi~1 b~tJ'Jbbfl'J 6. ffi~P11~(;]J'11il1J'~ ~J'.t~'LJ'IOl'l! ':31~u"ll q cv
CLI'
.
.Q,
QJ
4
2. f1~0'1'1:1J01'l'W OOJ'l.I1VI~n~ j;~';i'lJL 'VIPIPI1~ j;~';i'i.J ni'VI j;~
~,~,~~1'lJ~j;lfl';j';j:IJi~~1'1:1J1~~'l.l 1.
rr
~
J'~~Pl1~(;]J'1/0l1J'tJ (;]J',(;]~tl.J
.:::.cv
cv
rr
'VIJ'qjJ'n'rl'
2. J'~~Pl1~(;]J'11il1J'~~J'VIu P~1-iu~~"ll q 3. e4-rl'JuP11~(;]J'11il1J'~ ~J'."ll~iur;J bn~':3u~~b'J"ll q ~
4.
~
'IJ1tJ~Nfi" t~tt~'LJ'Iilu
nJ'J'~n1J'
mJ'~mJ' (moifuru"Vi(;])
q
~
5. mlil1J'~ (;]J'. ~J'(;]~ bbfl'JUJ':::b~l~ 6. ~orl'JtJP\1~(;]d1/0l11~'W~:J,J~ 'J~fll'VI1'1J
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
212
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
3.
cv
-
Q.l.a.
flnl~n~~a.Jn1~VI~ n'lf 1?1~1H'VI PIPI1'lf l?l~'i.HU'YII?l
... 'lf1"1n1"il1 n1~i'il'lf1~b:a-3n~!I'Vl fi • ... ... "" 1. ~'el'lfi11~1?1~1'"l1~tl !Pl~.M11n 'elklkll?l"l!11?l 2.
~-rl'Jtifl11~1?l~1'"l1~cl" !Pl~.t[fll';jkl bkll?l~'i:~fbbrl'J 'IJ
mnm1~
I
m~l-Jm~ (erl-if1Jninl?l)
3.
u1un-:~fn ~'~~~11?l
4.
~-rl'Jtifl11~1?l~1'"l1~cl"m~'kl 'J~~'Vl~l?l
'IJ
...
~- !Pl'lkl ... ~ L111!13-Jll1~~VI\11'Vl
1. ~'"l1~ru1VI~n~ l?l~L~~'el !Pl ~~'el'lrl1Jl-J11?l~fi1kl'Vl1-:J';j"Jl1mm~~Lnru"Yll-J11?l~fi1'WVI~ n~ l?l~".ll'el-:1 cl9 dJ3 qJ
!I'
!I'll'
qJ
I
~-:~il~-:JbL~1uV1 9 ilu1~l-J 2559 Lilu~uhJ
I
(~-:~~'el)
u1u~~~~ ~'el-:~~fll~n'"l (u1u~~~~ ~'el-:~nfll~n'"l) q
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
213
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสูตร ชื่อ-สกุล อาจารย์ ดร.สุธี เผ่ าบุญมี ที่ทางาน สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 02-697-6630 โทรสาร : 02-2752210 email address: sutheeutcc@gmail.com
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
214
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสูตร ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัตนา เมฆนันทไพศิฐ ที่ทางาน สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 02-697-6630 โทรสาร : 02-2752210 email address: ratanaoy@hotmail.com รัตนา เมฆนันทไพศิฐ (2559). การสารวจสถานภาพการเป็ นผู้กาหนดวาระข่ าวสารของ สื่อมวลชน และสื่อสังคมในสภาพการณ์ ของสื่อที่เปลี่ยนแปลง. รายงานสืบเนื่อง (Proceeding) จากการประชุมวิชาการระดับชาติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ศิลปากร. 13 พฤษภาคม 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
215
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสูตร ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภนิตย์ วงศ์ ทางสวัสดิ์ ที่ทางาน สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 02-697-6630 โทรสาร : 02-2752210 email address: suphanit@yahoo.com ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์ (2557) “โซเชียลมีเดียกับการสื่อสารข้ อมูลทางด้ านการเมือง : ฤา สื่อมวลชนจะตายในยุคมุ่งหน้ าสู่ 4G”. รายงานสืบเนื่อง (Proceeding) การประชุม วิชาการระดับชาติสมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย วันที่ 30 พ.ค. 57 ที่ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จ.นครราชสีมา ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์ (2558) “กรณีศึกษาแฟนเพจเฟซบุ๊กจบข่ าวกับปรากฏการณ์ ล่อให้ คลิกในเว็บไซต์ ข่าว” . รายงานสื บเนื่อง (Proceeding) การประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษา ระดับชาติและนานาชาติ ครัง้ ที่ 7 ของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันศุกร์ ที่ 25 ธันวาคม 2558 ณ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
216
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสูตร ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นฤมล วงศ์ หาญ ที่ทางาน สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 02-697-6630 โทรสาร : 02-2752210 email address: narumondy@yahoo.com นฤมล วงศ์หาญ (2559)งานวิจยั เรื่ อง สถานภาพองค์ ความรู้เกี่ยวกับนวัตกรรรม สื่อสารมวลชน:การสังเคราะห์ งานวิจัยเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์ ออนไลน์ . รายงานการ วิจยั . มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย นฤมล วงศ์หาญ (2559).การสังเคราะห์ ผลงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับหนังสือพิมพ์ ออนไลน์ :การแสวงหานวัตกรรมสื่อสารมวลชน. รายงานสืบเนื่อง(Proceeding) จากการประชุม วิชาการระดับชาติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 13 พฤษภาคม 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
217
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสูตร ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัตนวดี นาควานิช ที่ทางาน สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 02-697-6630 โทรสาร : 02-2752210 email address: rattanawadee.tep@gmail.com รัตนวดี นาควานิช (2559). การบริหารงานนิตยสารดิจิทัลในประเทศไทย. รายงานสืบ เนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 13 พฤษภาคม 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
218
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสูตร ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่ าที่ร้อยตรี สมเกียรติ เหลืองศักดิ์ชัย ที่ทางาน สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 02-697-6630 โทรสาร : 02-2752210 email address: somkiet_lue@utcc.ac.th สมเกียรติ เหลืองศักดิช์ ยั (2559). โซเชียลทีวีกับการจัดการการนามาใช้ ประโยชน์ ทาง สังคมออนไลน์ . รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ คณะวิทยาการ จัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 13 พฤษภาคม 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
219
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสูตร ชื่อ-สกุล อาจารย์ ดร.ประภาส นวลเนตร ที่ทางาน สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 02-697-6630 โทรสาร : 02-2752210 email address: prapas9@hotmail.com ประภาส นวลเนตร (2555.) โครงการศึกษานโยบายและหลักเกณฑ์ เรื่องการใช้ และเชื่อมต่ อ โครงข่ ายในการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ , งานวิจยั ภายใต้ เงินทุนสนับสนุนจาก กสทช. โครงการร่วมของคณะนิตศิ าสตร์ กับ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย.
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
220
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสูตร ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิรมน สังณ์ ชัย ที่ทางาน สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 02-697-6630 โทรสาร : 02-2752210 email address: koojune007@hotmail.com จิรมน สังณ์ชยั (2559). วิเคราะห์ ลักษณะนิสัย ลินเนตต์ สกาโว จากละครชุด Desperate Housewife. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 13 พฤษภาคม 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
221
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสูตร ชื่อ-สกุล อาจารย์ ดร.นภารัตน์ พฤกษ์ สุราลัย ที่ทางาน สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 02-697-6630 โทรสาร : 02-2752210 email address: naparat_pr@yahoo.com
\
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
222
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ประจาหลักสูตร ชื่อ-สกุล อาจารย์ ดร.มานะ ตรีรยาภิวัฒน์ ที่ทางาน สาขาวิชานวัตกรรมสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 02-697-6630 โทรสาร : 02-2752210 email address:dr.mana@hotmail@hotmail.com
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชานวัตกรรมสือ่ สารมวลชน
223
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559