หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (หลักสูตรปรั บปรุ ง พ.ศ. 2559)
Bachelor of Communication Arts Program in Strategic Communication (Revised Curriculum, Year 2016)
คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
1
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ หลักสูตรปรั บปรุ ง พ.ศ. 2559 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา
มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย คณะนิเทศศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Communication Arts Program in Strategic Communication 2. ชื่อปริ ญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ไทย) : นิเทศศาสตรบัณฑิต (การสื่อสารเชิงกลยุทธ์) ชื่อย่อ (ไทย) : นศ.บ. (การสื่อสารเชิงกลยุทธ์) ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Bachelor of Communication Arts (Strategic Communication) ชื่อย่อ (อังกฤษ) : B.Com.Arts (Strategic Communication) 3. วิชาเอก 1. การประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ 2. การโฆษณา 3. การสร้ างสรรค์และออกแบบสื่อ 4. จํานวนหน่ วยกิตที่เรี ยนตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต 5. รู ปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับปริ ญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
2
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
5.2 ภาษาที่ใช้ จัดการเรี ยนการสอนเป็ นภาษาไทย เอกสารและตําราในวิชาหลักเป็ นตํารา ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 5.3 การรับเข้ าศึกษา - รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่ใช้ ภาษาไทยได้ ดีทงการฟั ั้ ง-พูดอ่าน-เขียน 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็ นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 5.5 การให้ ปริ ญญาแก่ผ้ สู ําเร็ จการศึกษา ให้ ปริ ญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัต/ิ เห็นชอบหลักสูตร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 ปรับปรุงจากหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558 - ได้ รับการพิจารณาเห็นชอบหลักสูตรจาก คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร นิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2559 - ได้ รับการพิจารณากลัน่ กรองจากสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ในการประชุมครัง้ ที่ 4/2559 เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2559 - ได้ รับอนุมตั /ิ เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ในการประชุมครัง้ ที่ 3/2559 (316) เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2559 เปิ ดสอนภาคต้ น ปี การศึกษา 2559 7. ความพร้ อมในการเผยแพร่ หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้ อมในการเผยแพร่ คณ ุ ภาพและมาตรฐานตามมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2552 ในปี การศึกษา 2561 ปี การศึกษา 2559 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้ หลังสําเร็จการศึกษา 1. นักโฆษณา 2. นักประชาสัมพันธ์ 3. นักสื่อสารการตลาด 4. นักสื่อสารองค์การ 5. เจ้ าหน้ าที่สื่อสารเชิงกลยุทธ์ 6. นักสร้ างสรรค์และออกแบบสื่อ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
3
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
7. ผู้ประกอบธุรกิจส่วนตัว 8. ผู้ประกอบวิชาชีพอิสระ 9. นักวิชาการ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
4
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
9. ชื่อ นามสกุล ตําแหน่ ง และคุณวุฒกิ ารศึกษาของอาจารย์ ผ้ ูรับผิดชอบหลักสูตร ลําดับ
1
2
3
4
5
ตําแหน่ ง
ชื่อ-นามสกุล
ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ นายพิชยั (นิเทศ นิรมานสกุล ศาสตร์ ) ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ นางสาวตระหนักจิต (นิเทศ ยุตยรรยง ศาสตร์ )
อาจารย์
นางสาวเบญจพร วุฒิพนั ธุ์
อาจารย์
นางสาวโศภชา เอี่ยมโอภาส
อาจารย์
นายนริ ส พิเชษฐ พันธ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
สําเร็จการศึกษาจาก สถาบัน จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย Friends University, USA มหาวิทยาลัยกรุงเทพ University of Queensland, Australia จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คุณวุฒิ
คุณวุฒ/ิ สาขาวิชา
นศ.ม.
นิเทศศาสตร์ พฒ ั นาการ
B.A. นศ.บ.
Radio Broadcasting การประชาสัมพันธ์
Ph.D.
Communication
นศ.ม. ว.บ.
การสือ่ สารมวลชน การประชาสัมพันธ์
Ph.D.
Public Communication University of Technology Sydney, Australia นิเทศศาสตร์ พฒ ั นาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การสือ่ สารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สือ่ สารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วาทวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยรังสิต นิเทศศาสตร์ การตลาด มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย การออกแบบนิเทศศิลป์ สถาบันเทคโนโลยีราช มงคล
นศ.ม. ศ.บ. ปร.ด. นศ.ม. นศ.บ. นศ.ม. ศ.บ.
5
ปี ที่สําเร็จ การศึกษา
2539 2531 2528
2553 2542 2539
2553 2541 2536 2557 2543 2538 2552 2538
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
10. สถานที่จัดการเรียนการสอน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 11. สถานการณ์ ภายนอกหรื อการพัฒนาที่จาํ เป็ นต้ องนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1. สถานการณ์ หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ พัฒนาการทางเศรษฐกิจและธุรกิจทังระดั ้ บชาติและระดับนานาชาติ ส่งผลให้ องค์กรต่าง ๆ ทัง้ ภาครั ฐและเอกชนจําเป็ นต้ องปรับตัวเพื่อให้ สอดคล้ องกับสภาวะทางเศรษฐกิ จและสามารถพัฒนา ต่อเนื่องได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเตรี ยมความพร้ อมขององค์กรเพื่อรองรับการ เปิ ดเสรี ทางการค้ าของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ.2558 นอกจากนี ้ การเปิ ดกว้ างด้ านการ ลงทุนจากทุกภูมิภาคทัว่ โลกยังส่งผลให้ ภาคธุรกิจขยายตัวอย่างรวดเร็ ว โดยมีบริ ษัทข้ ามชาติเข้ ามา ลงทุนในประเทศไทยเป็ นจํานวนมาก นอกจากนี ้ การเติบโตของธุรกิจเพื่อตอบสนองต่อแนวทางการพัฒนาเชิงเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ (Creative Economy) กอปรกับแนวโน้ มความต้ องการของตลาดแรงงานที่ ต้องการนักออกแบบที่ มี ความสร้ างสรรค์ และผลิตสื่อที่มีศกั ยภาพในการถ่ายทอดความคิดและขยายขอบเขตของจินตนาการ แก่ผ้ รู ับสารได้ เป็ นอย่างดี สามารถนําไปสูก่ รอบโจทย์เชิงกลยุทธ์สําหรับธุรกิจได้ อย่างมีประสิทธิภาพ การสื่อสารเพื่อผลักดันภารกิจขององค์กรเป็ นกลไกที่มีบทบาทอย่างสูงต่อการบรรลุเป้าหมาย ของหน่วยงานทุกประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่งการดําเนินงานขององค์กรในภาวะท้ าทายที่ทงหน่ ั ้ วยงาน ภาครั ฐ และเอกชนจํ า เป็ นต้ อ งแข่ ง ขัน เพื่ อ ความอยู่ร อดและเพื่ อ สร้ างโอกาสในการเติ บ โต ทํ า ให้ จําเป็ นต้ องอาศัยแนวทางการสื่อสารที่สามารถตอบสนองต่อความท้ าทายเชิงกลยุทธ์ ทงภายในและ ั้ ภายนอกอย่างจริ งจังและต่อเนื่อง การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ เพื่อเข้ าถึงกลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียต่าง ๆ จึง เป็ นแนวทางการสื่อสารเพื่อตอบโจทย์การแข่งขันและการพัฒนาขององค์กรทังภาครั ้ ฐและเอกชน ด้ วย เหตุนี ้ ตลาดแรงงานจึงมี ความต้ องการนักสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักประชาสัมพันธ์ นักโฆษณา นัก สื่ อ สารการตลาด รวมถึ ง นัก สร้ างสรรค์ แ ละออกแบบสื่ อ ที่ มี ค วามรู้ ความเข้ า ใจในวิ ช าชี พ มีความคิดสร้ างสรรค์ตลอดจนทักษะด้ านการสื่ อสารในเชิง กลยุทธ์ ที่ส ามารถสนับสนุนภารกิ จ ของ องค์กรในภาวะท้ าทายทางเศรษฐกิจและธุรกิจได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 11.2. สถานการณ์ หรื อการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม จากการปรับเปลี่ยนของมิตทิ างเศรษฐกิจและธุรกิจ รวมถึงเทคโนโลยีที่เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ ว และมีลกั ษณะข้ ามชาติมากยิ่งขึ ้น มิติทางสังคมในทุก ๆ ด้ านก็ถูกผลักดันให้ ปรับตัวอย่างต่อเนื่องใน ทํานองเดียวกัน โดยเป็ นองค์ประกอบที่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของประชาชนทุกกลุ่ม และทุกระดับ ซึ่งถื อว่าเป็ นผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียขององค์กรไม่ว่าจะเป็ นภาครัฐหรื อองค์กรเอกชน ทําให้ หน่วยงานต่าง ๆ มีภารกิจใหม่ซึ่งไม่เพียงแต่อาศัยการสื่อสารเพื่อตอบสนองต่อเป้าหมายขององค์กร หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
6
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
เพียงลําพัง แต่ยงั จําเป็ นต้ องสื่อสารโดยคํานึงถึงการตอบโจทย์ด้านความยัง่ ยืนของสังคม สิ่งแวดล้ อม และมนุษยชาติตามแนวทางของข้ อตกลงสากล ก่อให้ เกิดเงื่ อนไขใหม่ ๆ ทางสังคมและวัฒนธรรมที่ ท้ าทายต่อภารกิจขององค์กรเป็ นอย่างยิ่ง นอกจากนี ้ การเติบโตของสื่ อและช่องทางการสื่ อสารต่าง ๆ ที่ ก้าวหน้ าด้ วยเทคโนโลยี อัน ทันสมัย เปิ ดโอกาสสําหรับการขยายตัวของการสื่อสารทังในแง่ ้ ปริ มาณ ความหลากหลาย และความ รวดเร็ ว ควบคู่ไ ปกับ พัฒ นาการของสัง คมอัน ก่ อ ให้ เ กิ ด การร่ ว มมื อ กัน ทางสัง คม วัฒ นธรรมและ การศึกษานานาชาติใ นระดับ ต่าง ๆ ซึ่ง ส่ง ผลโดยตรงต่อกลยุทธ์ และวิ ธี การสื่ อสารของหน่ว ยงาน ทุกประเภท ปั จ จั ย ต่ า ง ๆ ข้ า ง ต้ น ส่ ง ผ ล ใ ห้ อ ง ค์ ก ร จํ า น ว น ม า ก มี ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร นั ก สื่ อ ส า ร ทังนั ้ กประชาสัมพันธ์ นักโฆษณา นักสื่อสารการตลาด รวมถึงนักสร้ างสรรค์และออกแบบสื่อ ที่มีความรู้ และทักษะในการเป็ นสื่ อกลางระหว่างองค์กรกับผู้มี ส่วนได้ ส่วนเสี ยกลุ่ม ต่าง ๆ เพื่ อช่วยให้ องค์กร สามารถก้ าวข้ ามความแตกต่างทางสังคมได้ อย่างมี ประสิทธิ ภาพ สามารถสร้ างสารและสื่ อสารเพื่อ ก่อให้ เกิดความเข้ าใจอันดี นําไปสูก่ ารบรรลุเป้าหมายขององค์กรทังในเชิ ้ งธุรกิจและสังคมได้ ด้ วยเหตุนี ้ คณะนิเทศศาสตร์ จึงมี ความจํ าเป็ น ที่จะต้ องปรับปรุ งหลักสูตรเพื่ อตอบสนองต่อความต้ องการของ องค์กรในการสื่อสารเชิงกลยุทธ์กบั กลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียอย่างสร้ างสรรค์และมีประสิทธิภาพ 12. ผลกระทบจาก ข้ อ 11.1 และ 11.2 ต่ อ การพั ฒ นาหลั ก สู ต รและความเกี่ ย วข้ อ งกั บ พันธกิจของสถาบัน 12.1. การพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ พฒ ั นาขึ ้นเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การศึกษา และเทคโนโลยีการสื่อสาร จึงมีเป้าหมายในการผลิตบัณฑิตให้ เป็ นผู้ที่มีความรู้ และทักษะความสามารถในการสื่ อสารเชิงกลยุทธ์ อย่างรอบด้ าน มี ความสามารถในการศึกษา ค้ นคว้ า การวิเคราะห์และวิจยั เพื่อพัฒนางานสื่อสารให้ สามารถตอบสนองต่อเป้าหมายขององค์กร ตลอดจนเป็ นผู้มีจริ ยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ เป็ นบุคลากรที่มีคณ ุ ภาพตรงกับความต้ องการ ของตลาดงานทังภาคธุ ้ รกิจและภาครัฐ ทังนี ้ ้ เป็ นการพัฒนาหลักสูตรให้ ทนั สมัยและมีมาตรฐานเป็ น ที่ยอมรับทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ 12.2. ความเกี่ยวข้ องกับพันธกิจของสถาบัน หลักสูตรการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ ม่งุ ผลิตบัณฑิตที่ มีลกั ษณะพึงประสงค์ตามอัตลักษณ์ ของ มหาวิทยาลัย (Business Smart) ใฝ่ รู้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และมีภาพลักษณ์ทางธุรกิจระดับ สากล ซึง่ สอดคล้ องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย และตอบสนองต่อการบรรลุวิสยั ทัศน์ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
7
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
การเป็ นสถาบันชัน้ นํ า ด้ านธุ ร กิ จ ในเอเซี ย การผลิตบัณ ฑิตของหลักสูตรนี จ้ ึง มุ่ง เน้ น การพัฒ นา บุคลากรที่มีคณ ุ ภาพ มีทกั ษะความสามารถในการสื่ อสารเชิงกลยุทธ์ อย่างสร้ างสรรค์ โดยเฉพาะ ด้ านการประชาสัมพันธ์ การโฆษณา การสื่อสารการตลาด รวมทังการสร้ ้ างสรรค์และออกแบบสื่อ เพื่อเป็ นกําลังสําคัญในการพัฒนาธุรกิจ เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรมของประเทศให้ เจริ ญก้ าวหน้ า และมีศกั ยภาพในการแข่งขันกับต่างประเทศภายใต้ สภาวะแวดล้ อมทางเศรษฐกิจระบบการค้ าเสรี 13.3. การบริหารจัดการ 13.3.1 แต่งตังคณะกรรมการฝ่ ้ ายวิชาการ มีหน้ าที่ประสานงานกับอาจารย์ประจําวิชาทุกรายวิชา เพื่อดําเนินงานจัดการเรี ยนการสอน การวัดและประเมินผลการศึกษา ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด โดยสอดคล้ องกับมาตรฐานผลการเรี ยนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา 13.3.2 หัวหน้ าหลักสูตร ของสาขาวิชาทําหน้ าที่กํากับดูแลและพัฒนาหลักสูตร โดยประสาน กับคณะ ภายใต้ กฎเกณฑ์ของมหาวิทยาลัยและสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
8
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หมวดที่ 2 ข้ อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรั ชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร 1.1 ปรั ชญา หลั ก สู ต รนิ เ ทศศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการสื่ อ สารเชิ ง กลยุ ท ธ์ มหาวิ ท ยาลั ย หอการค้ าไทย มีปรัชญาของหลักสูตรดังนี ้ (1) มุง่ ปลูกฝั งจริ ยธรรม จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบต่อวิชาชีพและสังคม (2) มุง่ อบรมและบ่มเพาะความรู้ และทักษะที่เกี่ยวข้ องกับการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (3) เน้ นการบูรณาการเชิงประยุกต์ของศาสตร์ แขนงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง เพื่อเป็ นพื ้นฐานทาง วิ ช าชี พ การประชาสัม พัน ธ์ การโฆษณา การสื่ อ สารการตลาด การสร้ างสรรค์ แ ละ ออกแบบสื่อที่ทนั สมัย 1.2 วัตถุประสงค์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่ถึงพร้ อมด้ วยคุณลักษณะดังต่อไปนี ้ (1) มีจริยธรรม จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบต่อวิชาชีพและสังคม (2) มีความรอบรู้ทางวิชาการ และทักษะทางวิชาชีพในศาสตร์ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ ที่สอดคล้ องกับสภาพธุรกิจ เศรษฐกิจ และสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความสามารถ ในการสื่อสาร การใช้ เทคโนโลยีที่ทนั สมัย การบริ หาร การจัดการ การวิเคราะห์ การวิจยั และความสามารถในการใช้ ภาษาต่างประเทศ เพื่อสามารถปฏิบตั งิ านได้ ทงในหน่ ั้ วยงาน ภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคเอกชนที่ไม่มงุ่ แสวงกําไร โดยมีมาตรฐานทางวิชาชีพเทียบเท่า กับภูมิภาคอื่นของโลก (3) มี ความรอบรู้ ในวิ ท ยาการแขนงต่าง ๆ ซึ่งเอื อ้ ต่อการประกอบวิ ช าชี พ ด้ านการสื่ อ สาร เชิ งกลยุทธ์ ที่ก้าวทันต่อการเปลี่ ยนแปลงของโลก และสามารถพัฒ นาตนเองได้ อ ย่ า ง ต่อเนื่อง (4) มี ทั ก ษะทางสัง คม มี ค วามสามารถในการทํ า งานร่ ว มกั บ ผู้ อื่ น ได้ ทุ ก ระดั บ อย่ า งมี ประสิทธิภาพ 2. แผนพัฒนาปรั บปรุ ง แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง 1.ปรับปรุงหลักสูตรตาม ความเปลี่ยนแปลงของ ตลาดแรงงานด้ านการ สื่อสารเชิงกลยุทธ์
กลยุทธ์
หลักฐาน/ตัวบ่ งชี ้
1.1 สร้ างเครื อข่ายกับหน่วยงาน ตัวบ่งชี ้: ภาคเอกชนและภาครัฐ เพื่อ 1. จํานวนหน่วยงานภาคเอกชน วิเคราะห์ความต้ องการและ ที่เข้ าร่วมเครื อข่าย แนวโน้ มความเปลี่ยนแปลง ไม่น้อยกว่า 5 หน่วยงาน ของงานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
9
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง
2. ปรับปรุงปั จจัยสนับสนุน การเรี ยนการสอน
กลยุทธ์
หลักฐาน/ตัวบ่ งชี ้
ตัวบ่งชี ้: 2. จํานวนหน่วยงานภาครัฐที่เข้ า ร่วมเครื อข่าย ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยงาน 3. จํานวนครัง้ ในการประชุม ร่วมกัน ไม่น้อยกว่า 1 ครัง้ /ปี หลักฐาน: 1. รายงานการประชุม 2. บันทึกการปรึกษากับหน่วยงาน ภาคเอกชนและภาครัฐ 1.2 สํารวจความต้ องการของ ตัวบ่งชี ้: ธุรกิจการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 1. จํานวนครัง้ ในการสํารวจ ไม่น้อยกว่า 2 ครัง้ ในรอบ 5 ปี 2. รายงานผลการสํารวจ แสดง ข้ อมูลอย่างน้ อย 3 ประเด็นคือ - แนวโน้ มของธุรกิจการ สื่อสารเชิงกลยุทธ์ - คุณลักษณะของบัณฑิตที่ เป็ นที่ต้องการ - ความรู้และทักษะด้ านการ สื่อสารเชิงกลยุทธ์ ที่จําเป็ น ต่อการปฏิบตั งิ าน หลักฐาน: รายงานผลการสํารวจ 2.1 สํารวจความต้ องการของ ตัวบ่งชี ้: อาจารย์ผ้ สู อนและนักศึกษา 1. จํานวนครัง้ ในการสํารวจ ไม่น้อยกว่า 1 ครัง้ /ปี 2. รายงานผลการสํารวจ แสดง ข้ อมูลอย่างน้ อย 2 ประเด็นคือ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
10
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง
กลยุทธ์
หลักฐาน/ตัวบ่ งชี ้
1) ชนิด และลักษณะของ ปั จจัยสนับสนุนที่ต้องการ รวมทังเหตุ ้ ผลความจําเป็ น ใน การจัดหา 2) ปั ญหา อุปสรรค และ ข้ อเสนอแนะเพื่อการจัดการและ การใช้ ปัจจัยอย่างมีประสิทธิภาพ หลักฐาน: รายงานผลการสํารวจ 2.2 จัดหาและจัดสรรทุนเพื่อ ตัวบ่งชี ้: ปรับปรุงปั จจัยสนับสนุนการ 1. จํานวนเงินงบประมาณเพิ่มขึ ้น เรี ยนการสอนให้ มี จากปี ที่ผา่ นมา ไม่น้อยกว่า ประสิทธิภาพเพิ่มขึ ้นและมี 10% ความทันสมัย 2. จํานวนกิจกรรม/โครงการ/ อุปกรณ์ ที่ปรับปรุงปั จจัย สนับสนุนการเรี ยนการสอน ไม่น้อยกว่า 2 รายการ/ปี หลักฐาน: 1. จํานวนเงินงบประมาณด้ าน การสนับสนุนการเรี ยนการสอน 2. กิจกรรม/โครงการ/อุปกรณ์ ที่ ปรับปรุงปั จจัยสนับสนุนการ เรี ยนการสอน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
11
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสร้ างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ จัดการศึกษาเป็ นแบบทวิภาค 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน การจัดการเรี ยนการสอนในภาคฤดูร้อนสามารถกระทําได้ ตามความจําเป็ นของผู้เรี ยน และ ตามแผนการสอนในหลักสูตร ทังนี ้ ้ ขึ ้นอยูก่ บั นโยบายของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 1.3 การเทียบเคียงหน่ วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี 2. การดําเนินการหลักสูตร 2.1 วัน-เวลาในการดําเนินการเรี ยนการสอน ภาคต้ น เดือนสิงหาคม – ธันวาคม ภาคปลาย เดือนมกราคม – พฤษภาคม ภาคฤดูร้อน เดือนมิถนุ ายน – กรกฎาคม 2.2 คุณสมบัตขิ องผู้เข้ าศึกษา 2.2.1 เป็ นผู้สําเร็ จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ (ม. 6) หรื อระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรื อเทียบเท่า หรื อ 2.2.2 เป็ นผู้สําเร็ จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสู ้ ง (ปวส.) หรื อเทียบเท่า หรื อ ระดับอนุปริ ญญา (3 ปี ) หรื อเทียบเท่า หรื อ 2.2.3 เป็ นผู้สําเร็ จการศึกษาขัน้ ปริ ญญาตรี จากมหาวิทยาลัยใด หรื อสถาบันการศึกษา ชันสู ้ งอื่นในประเทศหรื อต่างประเทศ ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการรับรองและสมัครเข้ าศึกษาในระดับปริ ญญา ตรี ในสาขาวิชาอื่น 2.3 ปั ญหาของนักศึกษาแรกเข้ า 2.3.1 นักศึกษามีพื ้นฐานความสามารถด้ านการสื่อสารไม่เท่ากัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะ ด้ านการเขียน ทําให้ ขาดความพร้ อมที่จะพัฒนาทักษะการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ ได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพเท่า เทียมกัน 2.3.2 นั ก ศึ ก ษาบางคนมี ค วามเข้ าใจคลาดเคลื่ อ น หรื อ มี ทั ศ นคติ แ ละค่ า นิ ย มที่ ไม่สอดคล้ องกับลักษณะงานด้ านการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 2.3.3 นักศึกษาบางคนมีบคุ ลิกภาพ มนุษยสัมพันธ์ และสุขภาพที่ไม่เอื ้อต่อการทํางาน ด้ านการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 2.4 กลยุทธ์ ในการดําเนินการเพื่อแก้ ไขปั ญหา / ข้ อจํากัดของนักศึกษาในข้ อ 2.3 2.4.1 จัดอาจารย์ที่ปรึ กษาเพื่อให้ คําปรึกษาทังทางวิ ้ ชาการและวิชาชีพให้ แก่นกั ศึกษา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
12
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2.4.2 จัด ประชุม ชี แ้ จง เพื่ อ ทํ า ความเข้ า ใจเกี่ ย วกับ ลัก ษณะของงานด้ า นการสื่ อ สาร เชิงกลยุทธ์ และคุณลักษณะของนักประชาสัมพันธ์ นักโฆษณา นักสื่อสารการตลาด หรื อนักสร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อที่พงึ ประสงค์แก่นกั ศึกษา 2.5 แผนการรั บนักศึกษาและผู้สาํ เร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี จํานวนนักศึกษาแต่ ละปี การศึกษา (คน) ระดับชัน้ ปี 2559 2560 2561 2562 2563 ระดับปริ ญญาตรี ชันปี ้ ที่ 1 300 300 300 300 300 ชันปี ้ ที่ 2 285 285 285 285 ชันปี ้ ที่ 3 271 271 271 ชันปี ้ ที่ 4 271 271 รวม 300 585 856 1127 1127 บัณฑิตที่คาดว่าจะสําเร็ จการศึกษา 271 271 2.6 งบประมาณตามแผน หมวดเงิน ก. งบดําเนินการ เงินเดือน ค่าตอบแทน ค่าใช้ สอย ค่าวัสดุ เงินอุดหนุน รายจ่ายอื่น ๆ รวม (ก) ข. งบลงทุน ค่าครุภณ ั ฑ์ ค่าบํารุงรักษาครุภณ ั ฑ์ รวม (ข)
2559
2560
2,262,192 4,260,349 53,482 933,781 504,800 8,014,604
2,375,302 4,473,366 56,156 980,470 530,040 8,415,334
4,209,298 486,203 4,695,501
4,419,763 510,513 4,930,276
ปี งบประมาณ 2561 2562 2,494,067 4,697,034 58,964 1,029,494 556,542 8,836,101
2,618,770 4,931,886 61,912 1,080,968 584,369 9,277,906
2563 2,749,709 5,178,481 65,008 1,135,017 613,588 9,741,801
4,640,751 4,872,789 5,116,429 536,039 56,2840 590,982 5,176,790 5,435,629 5,709,411 12,710,105 13,345,610 14,012,891 14,713,535 15,449,212
รวมทัง้ สิน้ 2.7 ระบบการศึกษา ระบบการศึกษาเป็ นแบบการเรี ยนในชันเรี ้ ยน ทังนี ้ ้ เป็ นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การศึกษาระบบหน่วยกิตขันปริ ้ ญญาบัณฑิต พ.ศ. 2545 (ดูภาคผนวก ก.) หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
13
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2.8 การเทียบโอนหน่ วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรี ยนข้ ามมหาวิทยาลัย (ถ้ ามี) การเทียบโอนหน่วยกิตจากหลักสูตรอื่นในสถาบันเดียวกันหรื อจากต่างสถาบัน ให้ เป็ นไปตาม ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทยว่าด้ วย การเทียบโอนหน่วยกิตในการเข้ าศึกษาหลักสูตรระดับปริ ญญา ตรี พ.ศ. 2548 (ภาคผนวก ข.) และระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การเที ยบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ จากการศึกษานอกระบบและ/หรื อการศึกษาตามอัธยาศัยเข้ าสู่การศึก ษาใน ระบบ ตามหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2547 (ภาคผนวก ค.) และนักศึกษา สามารถลงทะเบียนเรี ยนข้ ามมหาวิทยาลัยในรายวิชาที่มีเนื ้อหาวิชาที่สามารถเทียบเคียงกันได้ 3. หลักสูตรและอาจารย์ ผ้ ูสอน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จํานวนหน่ วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 3.1.2 โครงสร้ างหลักสูตร (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ก. กลุม่ วิชาภาษา ข. กลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ค. กลุม่ วิชาสังคมศาสตร์ ง. กลุม่ วิชามนุษยศาสตร์ จ. กลุม่ วิชาพัฒนาคุณภาพชีวิต (2) หมวดวิชาเฉพาะ ก. กลุม่ วิชาแกนนิเทศศาสตร์ ข. กลุม่ วิชาแกน สาขาวิชา ค. กลุม่ วิชาเอก มี 2 แผน คือ 1.หลักสูตรปกติ วิชาเอกบังคับ วิชาเอกเลือก 2.สหกิจศึกษา วิชาเอกบังคับ วิชาเอกเลือก วิชาสหกิจศึกษา ง. กลุม่ วิชาโท
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
14
135
หน่ วยกิต
30 15 6 3 3 3 99 45 9 30
หน่ วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่ วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต
24 6 18 6 6 15
หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
(3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่ วยกิต 3.1.3 รายวิชาในแต่ ละหมวดวิชาและจํานวนหน่ วยกิต 3.1.3.1 รหัสวิชา รายวิชาในหลักสูตรมีหลักเกณฑ์การใช้ รหัสวิชา โดยแทนด้ วยตัวอักษร 2 ตัว และตัวเลข 3 หลัก นําหน้ าทุกรายวิชาในหลักสูตร ดังต่อไปนี ้ (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รายวิชาต่าง ๆ ในหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไปมีรหัสนําหน้ าชื่อวิชา ซึง่ มีความหมายดังนี ้ อักษรตัวแรก คือ คณะวิชา ประกอบด้ วย B หมายถึง คณะบริ หารธุรกิจจัดบริ การ ได้ แก่ กลุม่ วิชาสังคมศาสตร์ H หมายถึง คณะมนุษยศาสตร์ และประยุกต์ศลิ ป์จัดบริ การ ได้ แก่ กลุ่มวิชาภาษา กลุม่ วิชาสังคมศาสตร์ กลุม่ วิชามนุษยศาสตร์ และกลุม่ วิชาพัฒนา คุณภาพชีวิต S หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีจดั บริ การ ได้ แก่ กลุม่ วิชา วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ อักษรตัวที่สอง คือ G หมายถึง หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป เลขหลักร้ อย คือ 0 หมายถึง รายวิชาศึกษาทัว่ ไป เลขหลักสิบและหลักหน่วย หมายถึง ลําดับวิชาตังแต่ ้ 01– 99 (2) หมวดวิชาเฉพาะ หมวดวิ ช าเฉพาะประกอบด้ วยรายวิ ช าในกลุ่ม วิ ช าแกนนิ เ ทศศาสตร์ กลุ่ม วิชาเอก และกลุม่ วิชาโท จะมีรหัสนําหน้ าชื่อวิชา ซึง่ มีความหมาย ดังนี ้ ก. กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ อักษรตัวแรกและตัวที่สอง คือ คณะวิชาที่สอน และคณะที่ให้ บริ การสอน ประกอบด้ วย CA หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ เลขหลักร้ อย คือ ชันปี ้ ที่ ประกอบด้ วย เลข 1 หมายถึง จัดสอนในชันปี ้ ที่ 1 เลข 2 หมายถึง จัดสอนในชันปี ้ ที่ 2 เลข 3 หมายถึง จัดสอนในชันปี ้ ที่ 3 เลข 4 หมายถึง จัดสอนในชันปี ้ ที่ 4 เลขหลักสิบและหลักหน่วย หมายถึง ลําดับวิชาตังแต่ ้ 01 - 99 BA หมายถึง คณะบริ หารธุรกิจ EC หมายถึง คณะเศรษฐศาสตร์ LW หมายถึง คณะนิตศิ าสตร์ เลขหลักร้ อย คือ 9 หมายถึง วิชาที่ให้ บริ การ เลขหลักสิบ คือ 6 หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ เป็ นคณะที่รับบริการ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
15
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
และหลักหน่วย
หมายถึง ลําดับวิชาตังแต่ ้ 1–9
ข. กลุ่มวิชาเอก ประกอบด้ วย (1) วิชาแกนสาขาวิชา อักษรแรกและตัวที่สอง คือ CS หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ เลขหลักร้ อย คือ 0 หมายถึง วิชาแกนสาขาวิชา เลขหลักสิบและหลักหน่วย หมายถึง ลําดับวิชา ตังแต่ ้ 01-99 (2) วิชาเอกการประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ อักษรแรกและตัวที่สอง คือ CS หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ เลขหลักร้ อย คือ 1 หมายถึง กลุม่ วิชาเอกการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ เลขหลักสิบและหลักหน่วย ประกอบด้ วย 01-30 หมายถึง ลําดับวิชาบังคับ ตังแต่ ้ 01-30 31-40 หมายถึง ลําดับวิชาเลือก ตังแต่ ้ 31-40 (3) วิชาเอกการโฆษณา อักษรแรกและตัวที่สอง คือ CS หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ เลขหลักร้ อย คือ 2 หมายถึง กลุม่ วิชาเอกการโฆษณา เลขหลักสิบและหลักหน่วย ประกอบด้ วย 01-30 หมายถึง ลําดับวิชาบังคับ ตังแต่ ้ 01-30 31-40 หมายถึง ลําดับวิชาเลือก ตังแต่ ้ 31-40 (4) วิชาเอกการสร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ อักษรแรกและตัวที่สอง คือ CS หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ เลขหลักร้ อย คือ 4 หมายถึง กลุม่ วิชาเอกการสร้ างสรรค์และออกแบบสื่อ เลขหลักสิบและหลักหน่วย ประกอบด้ วย 01-30 หมายถึง ลําดับวิชาบังคับ ตังแต่ ้ 01-30 31-40 หมายถึง ลําดับวิชาเลือก ตังแต่ ้ 31- 40
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
16
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ค. กลุ่มวิชาโท อักษรตัวแรก คือ C หมายถึง คณะนิเทศศาสตร์ อักษรตัวที่สอง คือ X หมายถึง รายวิชาโท เลขหลักร้ อย คือ 1 หมายถึง สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ เลขหลักสิบ และหลักหน่วย หมายถึง ลําดับวิชาตังแต่ ้ 00 - 99 3.1.3 รายวิชาในแต่ ละหมวดวิชาและจํานวนหน่ วยกิต 3.1.3.2 รายวิชา (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มี 5 กลุม่ วิชา จํานวนรวม 30 หน่วยกิต ประกอบด้ วย ก. กลุ่มวิชาภาษา จํานวน 5 วิชา รวม 15 หน่วยกิต รหัสวิชา
รายวิชา
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
HG008
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai Language for Communication) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 (English for Communication 1) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 (English for Communication 2)
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
HG011
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 (English for Communication 3)
3 (3-0-6)
HG012
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 (English for Communication 4)
3 (3-0-6)
ศึกษาก่อน HG009 หรื อ คะแนน TOEIC 250 หรื อ เทียบเท่า ศึกษาก่อน HG010 หรื อ คะแนน TOEIC 350 หรื อ เทียบเท่า ศึกษาก่อน HG011 หรื อ คะแนน TOEIC 450 หรื อ เทียบเท่า
HG009 HG010
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
หมายเหตุ สําหรับกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ นักศึกษาสามารถยื่นผลคะแนนสอบ TOEIC หรื อ เที ย บเท่า ตามที่ ร ะบุไ ว้ ใ นคํ า อธิ บ ายรายวิ ช า เพื่ อ ขอยกเว้ น รายวิ ช าภาษาอัง กฤษได้ โดยต้ อ งยื่ น ผลคะแนนสอบ TOEIC ให้ เสร็ จสิน้ ภายใน ภาคเรี ยนที่ 2 ของปี การศึกษาที่ 2 ที่นักศึกษาเข้ าศึกษา ในกรณีที่ยื่นผลคะแนน TOEIC 550 หรื อมากกว่า นักศึกษาสามารถได้ รับการยกเว้ นวิชาภาษาอังกฤษ ได้ ทุ ก รายวิ ช าในหมวดวิ ช าศึ ก ษาทั่ ว ไป และต้ อ งลงทะเบี ย นเรี ย นรายวิ ช าอื่ น ๆ ที่ เ ปิ ดสอนใน มหาวิทยาลัยฯ (ยกเว้ นรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป) ทดแทนให้ ครบ/ไม่น้อยกว่าจํานวนหน่วยกิ ตที่ ได้ รับการยกเว้ น เพื่อให้ มีจํานวนหน่วยกิตครบตามที่หลักสูตรกําหนด หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
17
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา SG004 SG005
SG006
รหัสวิชา BG003
รหัสวิชา HG022
รหัสวิชา HG032
ข. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ จํานวน 2 วิชา รวม 6 หน่วยกิต รายวิชา หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรี ยน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ (Modern Science and Technology) คณิตศาสตร์ และสถิตสิ ําหรับ ชีวิตประจําวัน ( Mathematics and Statistics for Daily Life) การรู้ทางดิจิทลั (Digital Literacy)
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
ค. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ จํานวน 1 วิชา รวม 3 หน่วยกิต รายวิชา หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรี ยน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
การประกอบการเชิงนวัตกรรม (Innovative Enterpreneurship)
3 (3-0-6)
-
ง. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ จํานวน 1 วิชา รวม 3 หน่วยกิต รายวิชา หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรี ยน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
การบริ หารตนเอง (Self -Management)
3 (3-0-6)
-
จ. กลุ่มวิชาพัฒนาคุณภาพชีวิต จํานวน 1 วิชา รวม 3 หน่วยกิต รายวิชา หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรี ยน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
ทักษะการดํารงชีวิตในสังคมโลก (Global Life Skills)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
3 (3-0-6)
18
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
(2) หมวดวิชาเฉพาะ หมวดวิชาเฉพาะมี 3 กลุม่ วิชา จํานวนรวม 99 หน่วยกิต ประกอบด้ วย
รหัสวิชา BA961 EC961 LW961 CA106 CA108 CA109 CA110 CA111 CA202 CA205 CA206
ก.กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ จํานวน 45 หน่วยกิต รายวิชา หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
หลักการตลาด (Principles of Marketing) เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น (Introduction to Economics) กฎหมาย การเมือง และการปกครองของ ไทย (Thai Laws, Politics and Government) หลักนิเทศศาสตร์ (Principles of Communication) พื ้นฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Fundamentals of Strategic Communication) พัฒนาทักษะการอ่าน (Reading Skill Development) พัฒนาทักษะการเขียน (Writing Skill Development) พื ้นฐานการสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่ (Fundamentals of Mass Communication and New Media) วาทนิเทศ (Speech Communication) ศิลปะการสื่อสารผ่านภาพและเสียง (Audio and Visual Arts for Communication) หลักการสื่อข่าวและเขียนข่าว (Principles of News Reporting and Writing)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
19
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
ศึกษาก่อน CA106 หลัก นิเทศศาสตร์
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
ศึกษาก่อน HG008 ภาษาไทยเพื่อการ สือ่ สาร ศึกษาก่อน CA106 หลัก นิเทศศาสตร์
3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
-
3 (2-2-5)
-
3 (3-0-6)
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา
รายวิชา
CA303
ภาษาอังกฤษสําหรับงานนิเทศศาสตร์ (English for Communication)
CA304
การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ (Introduction to Communication Research) การจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศ ศาสตร์ (Information Management for Communication) กฎหมายและจริ ยธรรมนิเทศศาสตร์ (Law and Ethics for Communication)
CA305
CA306
รหัสวิชา CS 001 CS 002 CS 003
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
3 (3-0-6)
-
3 (2-2-5)
-
3 (3-0-6)
-
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง) สอบผ่าน HG012 3 (3-0-6) ภาษาอังกฤษเพื่อการ สือ่ สาร 4
ข.กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา จํานวน 9 หน่วยกิต รายวิชา หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
ความคิดสร้ างสรรค์เพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Creativity for Strategic Communication) เครื่ องมือเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Tools for Strategic Communication) การวิจยั เพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Research for Strategic Communication)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
20
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
สอบผ่าน CA304 การ วิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศ ศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ค. กลุ่มวิชาเอก จํานวน 30 หน่วยกิต ให้ นกั ศึกษาเลือกเรี ยนวิชาเอกกลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ จํานวน 30 หน่วยกิต จากกลุม่ วิชาเอก ต่อไปนี ้ คือ (1) วิชาเอกการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ วิชาเอกบังคับ จํานวน 24 หน่วยกิต รหัสวิชา
รายวิชา
CS 101
การสื่อสารองค์กร (Corporate Communication) การประชาสัมพันธ์การตลาด (Marketing Public Relations) การออกแบบสารและการเขียนเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 1 (Message Design and Writing for Public Relations I) การออกแบบสารและการเขียนเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 2 (Message Design and Writing for Public Relations II) การออกแบบและผลิตสื่อเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ (Media Design and Production for Public Relations) การวางแผนและบริ หารงานประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ (Planning and Management for Strategic Public Relations) สัมมนาการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ (Seminar on Strategic Public Relations)
CS 102 CS 103
CS 104
CS 105
CS 106
CS 107
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
21
หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรี ยน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
ศึกษาก่อน CS 103 การออกแบบสารและ การเขียนเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 1 ศึกษาก่อน CS 002 เครื่ องมือเพื่อการ สื่อสารเชิงกลยุทธ์
3 (2-2-5)
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
ศึกษาก่อน CS 101 การสื่อสารองค์กร
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา
รายวิชา
CS 108
ประสบการณ์วิชาชีพทางการ ประชาสัมพันธ์ (Public Realations Practicum)
หรื อ CS 109
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
3 (1-0-8)
สอบผ่าน รายวิชาใน หลักสูตรจํานวนไม่น้อย กว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กําหนด
6 (0-40-20)
สอบผ่าน รายวิชาใน หลักสูตรจํานวนไม่น้อย กว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กําหนด
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง) สอบผ่าน รายวิชาใน 3 (0-6-3) หลักสูตรจํานวนไม่น้อย กว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กําหนด
โครงงานด้ านการประชาสัมพันธ์ (Public Realations Project)
หรื อ CS 110
สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรี ยนรายวิชาเอกเลือกของกลุม่ วิชาเอกการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ได้ ดังนี ้ รหัสวิชา รายวิชา CS 131
CS 132
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
การประชาสัมพันธ์ธุรกิจบันเทิงและการ ท่องเที่ยว (Public Relations for Entertainment and Tourism Businesses) การประชาสัมพันธ์ธุรกิจการเงิน (Public Relations for Financial Business)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
22
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา รายวิชา
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
CS 135
เทคนิคการพูดและนําเสนองานเพื่อ การประชาสัมพันธ์ (Speaking and Presentation Techniques for Public Relations) การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการสื่อสาร เชิงกลยุทธ์ (Special Events for Strategic Communication) กลยุทธ์สื่อใหม่เพื่อการประชาสัมพันธ์
3 (2-2-5)
-
CS 136
ชุมชนสัมพันธ์กบั ความรับผิดชอบต่อสังคม
3 (3-0-6)
-
CS 137
การบริ หารความสัมพันธ์ (Relationship Management) การสื่อสารเพื่อการพัฒนา (Development Communication) การประชาสัมพันธ์ระดับสากล (Global Public Relations) การสื่อสารรณรงค์ (Communication Campaign) การพูดภาษาอังกฤษเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ (Speaking English for Public Relations) การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ (Writing English for Public Relations)
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
สอบผ่าน CA303 ภาษาอังกฤษสําหรับงาน นิเทศศาสตร์
3 (3-0-6)
สอบผ่าน CA303 ภาษาอังกฤษสําหรับงาน นิเทศศาสตร์
CS 133
CS 134
CS 138 CS 139 CS 140 CS 141
CS 142
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
(New Media Strategy for Public Relations)
(Community Relations and Social Responsibility)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
23
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา รายวิชา
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
CS 143
การศึกษาเฉพาะบุคคล
1 (1-0-8)
-
CS 144
หัวข้ อพิเศษทางการประชาสัมพันธ์เชิง กลยุทธ์
3 (3-0-6)
-
(Individual Study)
(Special Topic in Strategic Public Relations)
(2) วิชาเอกการโฆษณา วิชาเอกบังคับ จํานวน 24 หน่วยกิต รหัสวิชา รายวิชา CS 201 CS 202 CS 203 CS 204 CS 205 CS 206 CS 207
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
การโฆษณากับพฤติกรรมผู้บริ โภค (Advertising and Consumer Behavior) การสื่อสารการตลาด (Marketing Communication) การสร้ างสรรค์และเขียนบทโฆษณา (Creativity and Copywriting)
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
การผลิตงานโฆษณา (Advertising Production) การวางแผนช่องทางการโฆษณา (Advertising Media Planning)
3 (2-2-5)
ศึกษาก่อน CS001 ความคิดสร้ างสรรค์เพื่อ การสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
การรณรงค์ทางการโฆษณา (Advertising Campaign) สัมมนาการโฆษณา (Seminar on Advertising)
3 (3-0-6)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
3 (3-0-6)
3 (3-0-6)
24
-
ศึกษาก่อน CS002 เครื่ องมือเพื่อการสือ่ สาร เชิงกลยุทธ์ ศึกษาก่อน CS202 การ สือ่ สารการตลาด ศึกษาก่อน CS202 การ สือ่ สารการตลาด
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา รายวิชา CS 208
หรื อ CS 209
หรื อ CS 210
ประสบการณ์วิชาชีพทางการโฆษณา (Advertising Practicum)
โครงงานด้ านการโฆษณา (Advertising Project)
สหกิจศึกษา
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
3 (1-0-8)
สอบผ่าน รายวิชาใน หลักสูตรจํานวนไม่น้อย กว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กําหนด
6 (0-40-20)
สอบผ่าน รายวิชาใน หลักสูตรจํานวนไม่น้อย -กว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กําหนด
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง) สอบผ่าน รายวิชาใน 3 (0-6-3) หลักสูตรจํานวนไม่น้อย กว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กําหนด
(Co-operative Education)
วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรี ยนรายวิชาเอกเลือกของกลุม่ วิชาเอกการโฆษณาได้ ดงั นี ้ รหัสวิชา รายวิชา CS 231 CS 232 CS 233
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
การโฆษณากับสังคม (Advertising and Society) เทคนิคการนําเสนอผลงานโฆษณา (Advertising Presentation Techniques) ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา (Persuasive Theory for Advertising)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
25
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา รายวิชา CS 234 CS 235 CS 236 CS 237 CS 238 CS 239 CS 240 CS 241 CS 242
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
3 (3-0-6)
-
3 (2-2-5)
-
3 (2-2-5)
-
3 (2-2-5)
-
3 (3-0-6)
-
3 (2-2-5)
ศึกษาก่อน CS 235 การออกแบบโฆษณา
3 (3-0-6)
-
3 (1-0-8)
-
3 (3-0-6)
-
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
กลยุทธ์การโฆษณาผ่านสื่อสมัยใหม่ (Advertising Strategy in New Media) การออกแบบโฆษณา (Advertising Design) การถ่ายภาพเพื่องานโฆษณา (Advertising Photography) คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องานโฆษณา (Computer Graphics for Advertising) การสร้ างแบรนด์ (Branding) การกํากับศิลป์เพื่องานโฆษณา (Advertising Art Direction) การจัดการโฆษณา (Advertising Management) การศึกษาเฉพาะบุคคล (Individual Study) หัวข้ อพิเศษทางการโฆษณา (Special Topic in Advertising)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
26
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา รายวิชา
วิชาเอกการสร้ างสรรค์และออกแบบสื่อ วิชาเอกบังคับ จํานวน 24 หน่วยกิต หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
พื ้นฐานการออกแบบ (Fundamental of Design) ทัศนศิลป์เพื่อการสื่อสาร (Visual Art for Communication) เครื่ องมือเพื่อการออกแบบสื่อและการ สื่อสาร (Tools for Media and Communication Design) การจัดการแบรนด์และการออกแบบสื่อ (Brand Management and Media Design) การสร้ างสรรค์และออกแบบเชิงธุรกิจ (Creativity and Design for Business) โครงงานด้ านการออกแบบสื่อ 1 (Media Design Project 1)
3 (2-2-5)
-
3 (2-2-5)
-
3 (2-2-5)
ศึกษาก่อน CS 401 พื ้นฐานการออกแบบ
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (1-0-8)
CS 407
สัมมนากลยุทธ์แบรนด์และการออกแบบสื่อ (Seminar on Brand Strategy and Media Design)
3 (3-0-6)
CS 408
ประสบการณ์วิชาชีพทางการสร้ างสรรค์และ ออกแบบสื่อ (Creativity and Media Design Practicum)
3 (0-6-3)
ศึกษาก่อน CS 401 พื ้นฐานการออกแบบ CS 402 ทัศนศิลป์เพื่อการสือ่ สาร ศึกษาก่อน CS 404 การจัดการแบรนด์และ การออกแบบสือ่ สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ ที่สาขาวิชากําหนด
CS 401 CS 402 CS 403
CS 404
CS 405 CS 406
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
27
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หรื อ รหัสวิชา รายวิชา CS 409
หรื อ CS 410
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
6 (0-40-20)
สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ ที่สาขาวิชากําหนด
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง) สอบผ่าน 3 (1-0-8) รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ ที่สาขาวิชากําหนด
โครงงานด้ านการออกแบบสื่อ 2 (Media Design Project 2)
สหกิจศึกษา (Co-operation Education)
วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรี ยนรายวิชาเอกเลือกของกลุ่มวิชาเอกการสร้ างสรรค์และออกแบบสื่อ ได้ ดังนี ้ รหัสวิชา รายวิชา CS 431 CS 432 CS 433 CS 434
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
3 (3-0-6)
-
3 (2-2-5)
-
3 (2-2-5)
-
3 (2-2-5)
-
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
สุนทรี ยภาพทางศิลปะและการออกแบบ (Art and Design Appreciation) การออกแบบสื่ออินเตอร์ แอคทีฟ (Interactive Media Design) การออกแบบภาพประกอบสื่อ (Visual Design for Media) การสร้ างภาพดิจิทลั (Digital Imaging)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
28
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา รายวิชา CS 435
CS 436
CS 437
หน่ วยกิต
เงื่อนไขก่ อนเรี ยน
3 (2-2-5)
-
3 (2-2-5)
-
(บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
การออกแบบกราฟิ กเพื่อองค์กรและ ผลิตภัณฑ์ (Graphic Design for Corporate and Product) การออกแบบเพื่อกิจกรรมพิเศษและ นิทรรศการ (Design for Special Event and Exhibition) การจัดการธุรกิจการออกแบบสื่อ (Communication Design Management)
3 (3-0-6)
ง. กลุ่มวิชาโท 15 หน่วยกิต วิชาโทต่ างคณะที่นักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ ต้องเลือกเรี ยน ให้ นักศึกษาทุกกลุ่มวิชาเอกสามารถเลื อกเรี ยนกลุ่มวิชาโทกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งที่คณะวิชา อื่ นๆ ในมหาวิทยาลัยเปิ ดให้ เรี ยนเป็ นวิชาโท ในกรณี ที่นักศึกษาไม่เลื อกเรี ยนวิชาโทคณะใดคณะหนึ่ง โดยเฉพาะ ให้ เลือกเรี ยนวิชานอกคณะ โดยเลือกจากรายวิชาในกลุ่มวิชาโทที่กําหนดไว้ ในหลักสูตร ไม่ตํ่า กว่า 15 หน่วยกิต กลุ่มวิชาโทที่สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จัดให้ นักศึกษาต่ างคณะเลือกเรี ยน วิชาโทสาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ รหัสวิชา CX100 CX101 CX102
รายวิชา นิเทศศาสตร์ เบื ้องต้ น (Introduction to Communication Arts) การสื่อสารเพื่อการพัฒนา (Communication for Development) การโฆษณากับสังคม (Advertising and Society)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
29
หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรี ยน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รหัสวิชา CX103 CX104 CX105 CX106
รายวิชา พื ้นฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Fundamentals of Strategic Communication) เครื่ องมือเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Tools for Strategic Communication) ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา (Persuasive Theory for Advertising) กลยุทธ์ การโฆษณาผ่านสื่อสมัยใหม่ (Advertising Strategy in New Media)
หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรี ยน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง) ศึกษาก่อน CX100 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
ศึกษาก่อน CX103
3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
กลุ่มวิชาโทที่สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จัดให้ นักศึกษาต่ างสาขาวิชาเลือกเรี ยน รหัสวิชา CX104 CX105 CX106 CX 107 CX 108 CX 109
รายวิชา
หน่ วยกิต เงื่อนไขก่ อนเรี ยน (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้ วยตนเอง) ศึกษาก่อน CX103 3 (3-0-6)
เครื่ องมือเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Tools for Strategic Communication) ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา (Persuasive Theory for Advertising) กลยุทธ์ การโฆษณาผ่านสื่อสมัยใหม่ (Advertising Strategy in New Media) การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Special events for Strategic Communicaton) การสื่อสารรณรงค์ (Communication Campaign) การสร้ างแบรนด์ (Branding)
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6)
-
(3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่ วยกิต นักศึกษาสามารถเลือกเรี ยนวิชาใดๆ ตามที่เปิ ดสอนในคณะต่างๆ ของมหาวิทยาลัยได้ ตามความสนใจ จํานวน 6 หน่วยกิต
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
30
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3.1.4 แสดงแผนการศึกษา
วิชาเอกการประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ ชัน้ ปี ที่ 1 ภาคต้ น
รหัสวิชา HG008 HG009 SG004 หรื อ SG006 LW961 CA106 CA109
ชื่อวิชา ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 1 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 18
-
การรู้ทางดิจิทลั กฎหมาย การเมือง และการปกครองของ ไทย หลักนิเทศศาสตร์ พัฒนาทักษะการอ่าน รวม
ภาคปลาย รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
HG010
ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 2
BG003 SG005 CA111 CA108 CA110
การประกอบการเชิงนวัตกรรม คณิตศาสตร์ และสถิติสาํ หรับชีวิตประจําวัน พื ้นฐานการสือ่ สารมวลชนและสือ่ ใหม่ พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ พัฒนาทักษะการเขียน
3 (3-0-6)
รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 18
31
-
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG009 หรื อคะแนน TOEIC 250 หรื อเทียบเท่า ศึกษาก่อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน HG008 ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 2 ภาคต้ น รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษา ด้ วยตนเอง)
HG011
ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 3
3 (3-0-6)
EC961 CA202 CA206 CS001
เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น วาทนิเทศ หลักการสือ่ ข่าวและเขียนข่าว ความคิดสร้ างสรรค์เพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ วิชาเลือกเสรี 1 วิชา รวม
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 18
ภาคปลาย รหัสวิชา
ชื่อวิชา
HG012
ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 4
HG022 BA961 CA205 CS002 CS101
การบริ หารตนเอง หลักการตลาด ศิลปะการสือ่ สารผ่านภาพและเสียง เครื่ องมือเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ การสือ่ สารองค์กร วิชาโท 1 วิชา รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษา ด้ วยตนเอง)
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (2-2-5) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 21
32
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG010 หรื อคะแนน TOEIC 350 หรื อเทียบเท่า
-
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG011 หรื อคะแนน TOEIC 450 หรื อเทียบเท่า
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 3 ภาคต้ น รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษา ด้ วยตนเอง)
CA303
ภาษาอังกฤษสําหรับงานนิเทศศาสตร์
3 (3-0-6)
CA305 CS102 CS103
การจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศศาสตร์ การประชาสัมพันธ์การตลาด การออกแบบสารและการเขียนเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 1 วิชาโท 2 วิชา รวม
3 (2-2-5) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 6 18
ภาคปลาย รหัสวิชา
ชื่อวิชา
HG032 CA304 CA306 CS104
ทักษะการดํารงชีวิตในสังคมโลก การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ กฎหมายและจริ ยธรรมนิเทศศาสตร์ การออกแบบสารและการเขียนเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 2
CS105
การออกแบบและผลิตสือ่ เพื่อการ ประชาสัมพันธ์ วิชาเอกเลือก 1 วิชา วิชาโท 1 วิชา รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษา ด้ วยตนเอง)
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (2-2-5) 3 3 21
33
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน HG012 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสาร 4
-
เงื่อนไขก่ อนเรียน -
ศึกษาก่อน CS103 การออกแบบ สารและการเขียนเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 1 ศึกษาก่อน CS002 เครื่ องมือเพื่อ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 4 ภาคต้ น รหัสวิชา
ชื่อวิชา
CS003
การวิจยั เพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
CS106
การวางแผนและบริ หารงานประชาสัมพันธ์เชิง กลยุทธ์ วิชาเอกเลือก 1 วิชา วิชาโท 1 วิชา วิชาเลือกเสรี 1 วิชา รวม
3 (3-0-6)
ภาคปลาย รหัสวิชา CS107
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต
3 (0-6-3) 3 (1-0-8)
รวม
CS110
3 3 3 15
3 (3-0-6)
CS108 ประสบการณ์วิชาชีพทางการประชาสัมพันธ์ หรื อ CS109 โครงงานด้ านการประชาสัมพันธ์
ชื่อวิชา
3 (3-0-6)
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
สัมมนาการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์
รหัสวิชา
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน CA304 การวิจยั เบื ้องต้ น ทางนิเทศศาสตร์
-
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน CS101 การสื่อสาร องค์กร สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชากําหนด
6 หรือ แผนสหกิจศึกษา ภาคปลาย หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
สหกิจศึกษา
6 (0-40-20)
รวม
6
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชากําหนด
หมายเหตุ : ในภาคปลาย ชันปี ้ ที่ 4 ผู้ที่เลือกวิชาโทภาษาจีน อาจมีวชิ าทีต่ ้ องเรียนอีก 1 วิชา จึงต้ องฝึ กงาน รายวิชาประสบการณ์วชิ าชีพในภาคฤดูร้อน และไม่สามารถเลือก แผนการเรี ยนสหกิจศึกษาได้ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
34
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
วิชาเอกการโฆษณา ชัน้ ปี ที่ 1 ภาคต้ น รหัสวิชา HG008 HG009 SG004 หรื อ SG006 LW961 CA106 CA109
ชื่อวิชา ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 1 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 18
-
การรู้ทางดิจิทลั กฎหมาย การเมือง และการปกครองของ ไทย หลักนิเทศศาสตร์ พัฒนาทักษะการอ่าน รวม
ภาคปลาย รหัสวิชา
ชื่อวิชา
HG010
ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 2
BG003 SG005 CA111 CA108 CA110
การประกอบการเชิงนวัตกรรม คณิตศาสตร์ และสถิติสาํ หรับชีวิตประจําวัน พื ้นฐานการสือ่ สารมวลชนและสือ่ ใหม่ พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ พัฒนาทักษะการเขียน
3 (3-0-6)
รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 18
35
-
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG009 หรื อคะแนน TOEIC 250 หรื อเทียบเท่า ศึกษาก่อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน HG008 ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 2 ภาคต้ น รหัสวิชา
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
HG011
ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 3
EC961 CA202 CA206 CS001
เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น วาทนิเทศ หลักการสือ่ ข่าวและเขียนข่าว ความคิดสร้ างสรรค์เพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ วิชาเลือกเสรี 1 วิชา รวม
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 18
ภาคปลาย รหัสวิชา
ชื่อวิชา
HG012
ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 4
HG022 BA961 CA205 CS002 CS201
การบริ หารตนเอง หลักการตลาด ศิลปะการสือ่ สารผ่านภาพและเสียง เครื่ องมือเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ การโฆษณากับพฤติกรรมผู้บริ โภค วิชาโท 1 วิชา รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษา ด้ วยตนเอง)
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (2-2-5) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 21
36
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG010 หรื อคะแนน TOEIC 350 หรื อเทียบเท่า
-
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG011 หรื อคะแนน TOEIC 450 หรื อเทียบเท่า
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 3 ภาคต้ น รหัสวิชา
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
CA303
ภาษาอังกฤษสําหรับงานนิเทศศาสตร์
CA305 CS202 CS203
การจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศศาสตร์ การสือ่ สารการตลาด การสร้ างสรรค์และเขียนบทโฆษณา วิชาโท 2 วิชา
หน่ วยกิต 3 (3-0-6)
3 (2-2-5) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 6 18
รวม
ภาคปลาย รหัสวิชา HG032 CA304 CA306 CS204 CS205
ชื่อวิชา ทักษะการดํารงชีวิตในสังคมโลก การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ กฎหมายและจริ ยธรรมนิเทศศาสตร์ การผลิตงานโฆษณา การวางแผนช่องทางการโฆษณา
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (2-2-5) 3 (3-0-6) 3 3 21
วิชาเอกเลือก 1 วิชา วิชาโท 1 วิชา รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
37
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสาร 4
-
ศึกษาก่อน CS001 ความคิด สร้ างสรรค์เพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
-
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน CS002 เครื่ องมือเพื่อการ สื่อสารเชิงกลยุทธ์
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 4 รหัสวิชา
ภาคต้ น
ชื่อวิชา
CS003
การวิจยั เพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
CS206
การรณรงค์ทางการโฆษณา
เงื่อนไขก่ อนเรียน
3 (3-0-6)
สอบผ่าน CA304 การวิจยั เบื ้องต้ น ทางนิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน CS202 การสื่อสาร การตลาด
3 (3-0-6)
วิชาเอกเลือก 1 วิชา วิชาโท 1 วิชา วิชาเลือกเสรี 1 วิชา รวม
3 3 3 15 ภาคปลาย
รหัสวิชา
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษา ด้ วยตนเอง)
CS207
สัมมนาการโฆษณา
3(3-0-6)
CS208 หรื อ CS209
ประสบการณ์วิชาชีพทางการโฆษณา
3(0-6-3)
โครงงานด้ านการโฆษณา
3(1-0-8)
รวม
รหัสวิชา CS210
ชื่อวิชา
-
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน CS202 การสื่อสาร การตลาด สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตรจํานวน ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชากําหนด
6 หรือ แผนสหกิจศึกษา ภาคปลาย หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษา ด้ วยตนเอง)
สหกิจศึกษา
6 (0-40-20)
รวม
6
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 100 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชากําหนด
หมายเหตุ : ในภาคปลาย ชันปี ้ ที่ 4 ผู้ที่เลือกวิชาโทภาษาจีน อาจมีวชิ าทีต่ ้ องเรียนอีก 1 วิชา จึงต้ องฝึ กงาน รายวิชาประสบการณ์วชิ าชีพในภาคฤดูร้อน และไม่สามารถเลือก แผนการเรี ยนสหกิจศึกษาได้ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
38
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
วิชาเอกการสร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ ชัน้ ปี ที่ 1 ภาคต้ น รหัสวิชา HG008 HG009 SG004 หรื อ SG006 LW961 CA106 CA109
ชื่อวิชา ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 1 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
เงื่อนไขก่ อนเรียน
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6) 3 (3-0-6)
-
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 18
-
การรู้ทางดิจิทลั กฎหมาย การเมือง และการปกครองของ ไทย หลักนิเทศศาสตร์ พัฒนาทักษะการอ่าน รวม
ภาคปลาย รหัสวิชา
ชื่อวิชา
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
HG010
ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 2
BG003 SG005 CA111 CA108 CA110
การประกอบการเชิงนวัตกรรม คณิตศาสตร์ และสถิติสาํ หรับชีวิตประจําวัน พื ้นฐานการสือ่ สารมวลชนและสือ่ ใหม่ พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ พัฒนาทักษะการเขียน
3 (3-0-6)
รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 18
39
-
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG009 หรื อคะแนน TOEIC 250 หรื อเทียบเท่า ศึกษาก่อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน HG008 ภาษาไทยเพื่อการ สื่อสาร
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 2 ภาคต้ น รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษา ด้ วยตนเอง)
HG011
ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 3
3 (3-0-6)
EC961 CA202 CA206 CS001
เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น วาทนิเทศ หลักการสือ่ ข่าวและเขียนข่าว ความคิดสร้ างสรรค์เพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ วิชาเลือกเสรี 1 วิชา รวม
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 18
ภาคปลาย รหัสวิชา
ชื่อวิชา
HG012
ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 4
HG022 BA961 CA205 CS002 CS401
การบริ หารตนเอง หลักการตลาด ศิลปะการสือ่ สารผ่านภาพและเสียง เครื่ องมือเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ พื ้นฐานการออกแบบ วิชาโท 1 วิชา รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษา ด้ วยตนเอง)
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (2-2-5) 3 (3-0-6) 3 (2-2-5) 3 21
40
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG010 หรื อคะแนน TOEIC 350 หรื อเทียบเท่า
-
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน HG011 หรื อคะแนน TOEIC 450 หรื อเทียบเท่า
-
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 3 ภาคต้ น รหัสวิชา
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษา ด้ วยตนเอง)
CA303
ภาษาอังกฤษสําหรับงานนิเทศศาสตร์
3 (3-0-6)
CA305 CS402 CS403
การจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศศาสตร์ ทัศนศิลป์เพื่อการสือ่ สาร เครื่ องมือเพื่อการออกแบบสือ่ และการ สือ่ สาร วิชาโท 2 วิชา รวม
3 (2-2-5) 3 (2-2-5) 3 (2-2-5) 6 18
ภาคปลาย รหัสวิชา HG032 CA304 CA306 CS404 CS405
ชื่อวิชา ทักษะการดํารงชีวิตในสังคมโลก การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ กฎหมายและจริ ยธรรมนิเทศศาสตร์ การจัดการแบรนด์และการออกแบบสือ่ การสร้ างสรรค์และออกแบบเชิงธุรกิจ วิชาเอกเลือก 1 วิชา วิชาโท 1 วิชา รวม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษา ด้ วยตนเอง)
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 3 21
41
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน HG012 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสาร 4
-
ศึกษาก่อน CS401 พื ้นฐานการ ออกแบบ
-
เงื่อนไขก่ อนเรียน -
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ชัน้ ปี ที่ 4 ภาคต้ น รหัสวิชา
ชื่อวิชา
CS003
การวิจยั เพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
CS406
โครงงานด้ านการออกแบบสือ่ 1
3 (3-0-6) 3 (1-0-8)
วิชาเอกเลือก 1 วิชา วิชาโท 1 วิชา วิชาเลือกเสรี 1 วิชา รวม
3 3 3 15 ภาคปลาย
รหัสวิชา CS407
ชื่อวิชา
3 (3-0-6)
CS408 ประสบการณ์วิชาชีพทางการสร้ างสรรค์และ หรื อ ออกแบบสือ่ CS409 โครงงานด้ านการออกแบบสือ่ 2 รวม
CS410
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
สัมมนากลยุทธ์แบรนด์และการออกแบบสือ่
รหัสวิชา
หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
3 (0-6-3) 3 (1-0-8)
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน CA304 การวิจยั เบื ้องต้ น ทางนิเทศศาสตร์ ศึกษาก่อน CS 401 พื ้นฐานการ ออกแบบ CS 402 ทัศนศิลป์เพื่อการสื่อสาร
-
เงื่อนไขก่ อนเรียน ศึกษาก่อน CS 404 การจัดการ แบรนด์และการออกแบบสื่อ สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชากําหนด
6 หรือ แผนสหกิจศึกษา ภาคปลาย หน่ วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
สหกิจศึกษา
6 (0-40-20)
เงื่อนไขก่ อนเรียน สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และตามเกณฑ์ที่สาขาวิชากําหนด
รวม 6 หมายเหตุ : ในภาคปลาย ชันปี ้ ที่ 4 ผู้ที่เลือกวิชาโทภาษาจีน อาจมีวชิ าทีต่ ้ องเรียนอีก 1 วิชา จึงต้ องฝึ กงาน รายวิชาประสบการณ์วชิ าชีพในภาคฤดูร้อน และไม่สามารถเลือกแผนการเรียนสหกิจศึกษาได้ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
42
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3.1.5 คําอธิบายรายวิชา (1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่ วยกิต ก. กลุ่มวิชาภาษา จํานวน 15 หน่ วยกิต HG008 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3 (3-0-6) (Thai Language for Communication) พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาไทยมาตรฐาน หลักการฟั ง การพูด การอ่าน และการเขียน การใช้ ภาษาไทยเพื่อถ่ายทอดความคิดอย่างเป็ นระบบและสามารถสื่อสารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ HG009 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 3 (3-0-6) (English for Communication 1) พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจําวัน โดยเน้ นทักษะการฟั งเพื่อ จับใจความสําคัญและรายละเอียดจากข้ อความหรื อบทสนทนาสัน้ ๆ การพูดทักทาย เริ่ มต้ นสนทนา แนะนําตนเอง ต้ อนรับ ถามและตอบข้ อมูลอย่างง่าย การอ่านข้ อความระดับย่อหน้ าอย่างง่ายๆ เพื่อจับ ใจความสํ า คั ญ และแสดงความคิ ด เห็ น การเขี ย นข้ อความสั น้ ๆ ในรู ป แบบทั่ ว ไปและผ่ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3 (3-0-6) (English for Communication 2) ศึกษาก่ อน HG009 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 หรื อ คะแนน TOEIC 250 หรื อเทียบเท่ า พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจําวัน โดยเน้ นทักษะการฟั งเพื่อ จับใจความสํ าคัญ และรายละเอี ยดจากข้ อความหรื อบทสนทนาที่ ซับซ้ อนขึน้ การมี ส่วนร่ วมในการ สนทนาโดยการถามตอบ และแสดงความคิดเห็น การพูดในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่พบในชีวิตประจําวัน รวมทังการนํ ้ าเสนอและเปรี ยบเทียบข้ อมูลทางธุรกิจอย่างง่าย การอ่านข้ อความในหัวข้ อที่หลากหลาย และสามารถสรุ ปเรื่ องได้ การเขี ยนข้ อ ความในหัวข้ อ ที่ หลากหลายทัง้ ในรู ป แบบทั่วไปและผ่ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
43
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 3 (3-0-6) (English for Communication 3) ศึกษาก่ อน HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 หรื อ คะแนน TOEIC 350 หรื อเทียบเท่ า พัฒ นาทัก ษะการใช้ ภ าษาอัง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารทางธุ รกิ จ ในชี วิ ต ประจํ า วัน ซึ่ ง เป็ นการ บูรณาการทักษะการฟั ง พูด อ่าน และเขียน โดยเน้ นการสนทนาทางโทรศัพท์ การนําเสนอข้ อมูลเกี่ ยวกับ บริ ษัท สินค้ า และบริ การ การเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ ข้อมูลทางธุรกิจ การเขียนบันทึกภายในและ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การอ่านข่าวที่เกี่ยวกับธุรกิจและสรุปใจความสําคัญในเรื่ องที่อา่ น HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 3 (3-0-6) (English for Communication 4) ศึกษาก่ อน HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 หรื อ คะแนน TOEIC 450 หรื อเทียบเท่ า พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจในชีวิตประจําวัน ซึ่งเป็ นการบูรณา การทักษะการฟั ง พูด อ่าน และเขียน โดยเน้ นการประชุม การเจรจาต่อรองทางธุรกิจเบื ้องต้ น และการ สัมภาษณ์ งานในสถานการณ์จําลอง การเขียนจดหมายสมัครงาน และประวัติส่วนตัวในรู ปแบบทัว่ ไป และผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การอ่านบทความและสรุ ปความเกี่ยวกับสถานการณ์ธุรกิจในปั จจุบนั รวมทัง้ การสื่อสารทางธุรกิจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง ข. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ จํานวน 6 หน่ วยกิต SG004 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Modern Science and Technology) วิทยาการทางวิทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยีส มัยใหม่ นวัตกรรม และการสร้ างองค์ความรู้ ความก้ าวหน้ า ทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ สภาพแวดล้ อ มและการพัฒ นา ทรัพยากรธรรมชาติในการรองรับความต้ องการของมนุษย์ เทคโนโลยีชีวภาพ วัสดุศาสตร์ พลังงาน ทดแทน นาโนเทคโนโลยี
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
44
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
SG005 คณิตศาสตร์ และสถิตสิ าํ หรั บชีวิตประจําวัน 3 (3-0-6) (Mathematics and Statistics for Daily Life) ความสําคัญของคณิตศาสตร์ และสถิ ติ บทบาทของคณิ ตศาสตร์ และสถิ ติที่ใช้ ในชีวิตประจําวันและ ในทางธุรกิจ การวิเคราะห์ข้อมูลเบื ้องต้ นและการแปลผลโดยใช้ โปรแกรมประยุกต์ที่ทนั สมัย SG006 การรู้ ทางดิจิทัล 3 (3-0-6) (Digital Literacy) การใช้ สื่อดิจิทลั และเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ และทํางานร่ วมกัน การใช้ เครื่ องมือและแหล่งทรัพยากรดิจิทลั ในการค้ นคว้ า รวบรวม วิเคราะห์และประเมินข้ อมูลเพื่อการ ตัดสินและแก้ ปัญหา การศึกษาองค์ความรู้ ใหม่ ๆ การสร้ างสรรค์และนําเสนอผลงานดิจิทลั จริ ยธรรม และความปลอดภัยในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตลอดจนผลกระทบของสื่อดิจิทลั ที่มี ต่อบุคคล ธุรกิจ และการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต . ค. กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ จํานวน 3 หน่ วยกิต BG003 การประกอบการเชิงนวัตกรรม 3 (3-0-6) (Innovative Enterpreneurship) หลักการและการประยุกต์ใช้ ความรู้ ทางด้ านนวัตกรรมการประกอบการ รู ปแบบ การทําธุรกิจ สมัยใหม่ ความรู้ เบื ้องต้ นด้ านการเงิน การตลาด บัญชี เศรษฐศาสตร์ กฎหมายธุรกิจ สภาพแวดล้ อม ทางธุรกิจ หลักธรรมาภิบาลในองค์การ จรรยาบรรณทางธุรกิจ รวมทังเศรษฐกิ ้ จพอเพียง เศรษฐกิจเชิง สร้ างสรรค์ เศรษฐกิจสีเขียว ความรับผิดชอบต่อสังคม และวิสาหกิจสังคม ง. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ จํานวน 3 หน่ วยกิต HG022 การบริหารตนเอง 3 (3-0-6) (Self- Management) หลั ก การและการประยุ ก ต์ ใ ช้ ความรู้ เรื่ อ งความแตกต่ า งระหว่ า งบุ ค คลทางจิ ต วิ ท ยา พฤติกรรมทางสังคมของบุคคลและกลุ่มเกี่ยวกับการรับรู้ การเรี ยนรู้ แรงจูงใจ ความฉลาดทางอารมณ์ การมีวฒ ุ ิภาวะ และสุขภาวะ มีความอดทน ใจกว้ าง ยอมรับฟั งความคิดเห็นที่แตกต่าง การนําและการ ทํางานเป็ นทีม การจัดการความขัดแย้ ง อย่างสร้ างสรรค์ หลักการคิดและการใช้ เหตุผล การวิเคราะห์ และเข้ าใจพฤติกรรมของมนุษย์และนําไปสู่การรู้ จกั ตนเอง เข้ าใจผู้อื่นและปรั บตัวได้ มีคณ ุ ธรรมและ จริ ยธรรมในการดําเนินชีวิต
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
45
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
จ. กลุ่มวิชาพัฒนาคุณภาพชีวิต จํานวน 3 หน่ วยกิต HG032 ทักษะการดํารงชีวิตในสังคมโลก 3 (3-0-6) (Global Life Skills) ความรู้ และทักษะที่ จํ าเป็ นในการดํ ารงชี วิ ตทัง้ ของตนเองและทางสังคม ระบบทางสัง คม โครงสร้ างและสถาบันทางสัง คม ความเป็ นพลเมื องในสัง คมภายใต้ ระบอบ การเปลี่ ย นแปลงของ สังคมโลกและกลุ่ม ประเทศอาเซี ยนที่ มี ต่อสัง คมไทย ตลอดจนศิล ปะ และวัฒนธรรมที่หลากหลายใน สังคมโลก รวมทังการพั ้ ฒนาบุคลิกภาพ เพื่อเสริ มสร้ างทักษะในการอยู่ร่วมกันในสังคม และการพัฒนา สังคมให้ อยูด่ มี ีสขุ รวมทังสร้ ้ างความเข้ าใจอันดีระหว่างประเทศ (2) หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่ วยกิต ก. กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ 45 หน่ วยกิต BA961 หลักการตลาด 3 (3-0-6) (Principles of Marketing) ความหมายของการตลาด แนวความคิดทางการตลาด ความสําคัญของการตลาดที่มีตอ่ ธุรกิจ และเศรษฐกิจ หน้ าที่ทางการตลาด สิ่งแวดล้ อมที่มีอิทธิ พลทางการตลาด พฤติกรรมและกระบวนการ ตัดสินใจซื ้อ ตลาดและส่วนแบ่งการตลาด การใช้ ส่วนประสมทางการตลาด ได้ แก่ ผลิตภัณฑ์ การตัง้ ราคา การจัดจําหน่าย และการส่งเสริ มการตลาด EC961 เศรษฐศาสตร์ เบือ้ งต้ น 3 (3-0-6) (Introduction to Economics ) หลักพื น้ ฐานทางเศรษฐศาสตร์ ทั่วไประดับจุลภาคและมหภาค การทํ างานของกลไกราคา โครงสร้ างตลาดแบบต่าง ๆ การผลิตและต้ นทุนการผลิต ปั ญหาผลกระทบภายนอกและการจัดสรร สินค้ าสาธารณะ หลักการเบื ้องต้ นของการคํานวณรายได้ ประชาชาติ โครงสร้ างของระบบเศรษฐกิจไทย การบริ โภค การออม การลงทุน ตลาดเงินและตลาดทุน การค้ าระหว่างประเทศ นโยบายการเงินและ การคลัง ปั ญหาเศรษฐกิจที่สําคัญ อาทิ เงินเฟ้อ การว่างงาน เงินฝื ด เงินตึง รวมทังปั ้ ญหาเศรษฐกิ จ ปั จจุบนั และแนวทางการแก้ ไข LW961 กฎหมาย การเมือง และการปกครองของไทย 3 (3-0-6) (Thai Laws, Politics and Government) ความหมาย ความสําคัญของหลักการของกฎหมาย ระบบกฎหมาย หลักกฎหมายทัว่ ไป กฎหมาย รั ฐธรรมนูญ กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ กฎหมายอาญา ศึกษารู ปแบบของการเมือง รั ฐและสถาบันทาง การเมือง โครงสร้ างและวิวฒ ั นาการทางการปกครองของไทย ระบบและกลไกการบริ หารของรัฐ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
46
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CA106 หลักนิเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) (Principles of Communication) ความหมาย ความสําคัญ ประเภท องค์ประกอบ และกระบวนการสื่อสาร หลักการสื่อสาร ปั จจัย และอุปสรรคของการสื่ อสาร แนวคิด ทฤษฎี เกี่ ยวกับการสื่ อสารในระดับต่าง ๆ ได้ แก่ การสื่อสารภายใน บุคคล การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสารกลุ่ม การสื่อสารมวลชน และบทบาทของการสื่ อสารในการ พัฒนาสังคม CA108 พืน้ ฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Fundamentals of Strategic Communication) ศึกษาก่ อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ หลักการ แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ การโฆษณา และการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ การสร้ างและสื่อสารตราสินค้ าและบริ การ รวมทังการใช้ ้ เครื่ องมือในการสื่อสารตราสินค้ า จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบต่อสังคมของการประชาสัมพันธ์ การโฆษณา และการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ CA109 พัฒนาทักษะการอ่ าน 3 (3-0-6) (Reading Skill Development ) ฝึ กการอ่านเพื่ อจับใจความสํ าคัญ ศึกษารู ปแบบการเขี ยนของบทอ่าน วิเคราะห์ วิจารณ์ และ ประเมินคุณค่าของบทอ่าน โดยเน้ นบทอ่านจากสื่อต่าง ๆ ทังที ้ ่มีจดุ มุง่ หมายเพื่องานสื่อสารมวลชนและงาน อื่น ๆ ได้ แก่ ข่าว บทความ สารคดี สารคดีเชิงข่าว รายงาน CA110 พัฒนาทักษะการเขียน 3 (3-0-6) (Writing Skill Development ) ศึกษาก่ อน HG008 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ฝึ กการเขี ยนอย่างมี ระบบเพื่ อให้ บรรลุจุดประสงค์ที่ต้องการ ได้ แก่ การเขี ยนเพื่ อเล่าเรื่ อง เพื่ อ อธิบายคําหรื อข้ อความ เพื่อแสดงความคิดเห็น และเพื่อสร้ างจินตนาการ โดยการกําหนดจุดมุ่งหมายของ การเขียน การวางเค้ าโครงเรื่ อง การนําเสนอ และการใช้ ภาษาในการสื่อสาร CA111 พืน้ ฐานการสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่ 3 (3-0-6) (Fundamentals of Mass Communication and New Media) ศึกษาก่ อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ พัฒนาการ บทบาทหน้ าที่ โครงสร้ าง ระบบของสื่อสารมวลชนและสื่อใหม่ องค์กรสื่อสารมวลชน ที่เกี่ยวข้ องทังในและต่ ้ างประเทศ หลักการของการสร้ างสรรค์เนื ้อหา และคุณสมบัติของผู้สร้ างสรรค์เนื ้อหา หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
47
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
เพื่อเผยแพร่ทางสื่อต่างๆ การวิเคราะห์ผ้ รู ับสารสื่อมวลชนและสื่อใหม่ อิทธิพลของการสื่อสารมวลชนและสื่อ ใหม่ตอ่ สังคม จรรยาบรรณและความรับผิดชอบของสื่อมวลชนและสื่อใหม่ CA202 วาทนิเทศ 3 (3-0-6) (Speech Communication) ทฤษฎีหลักการพูด ความสําคัญ องค์ประกอบและประเภทของการพูด การเตรี ยมการพูด ฝึ กการ พูดประเภทต่าง ๆ ในที่ ชุมชน ได้ แก่ การพูดเล่าเรื่ อง การพูดโน้ มน้ าวใจ การสัมภาษณ์ การประชุม การ อภิปราย และการโต้ วาที รวมทังฝึ ้ กการวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินผลการพูด CA205 ศิลปะการสื่อสารผ่ านภาพและเสียง 3 (2-2-5) (Audio and Visual Arts for Communication) จิตวิทยาการสื่อสารด้ วยภาพ ตัวอักษร และเสียง การใช้ จิตวิทยาในการถ่ายทอดความคิดและ ความรู้สกึ เพื่อให้ สอดคล้ องกับความรู้และความเข้ าใจของผู้รับสาร การจัดองค์ประกอบของภาพและเสียง ทฤษฎีและเทคนิคเบื ้องต้ นเกี่ยวกับการถ่ายภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ฝึ กการถ่ายภาพนิ่งและ ภาพเคลื่อนไหวเบื ้องต้ นทังในสตู ้ ดิโอ และนอกสถานที่ CA206 หลักการสื่อข่ าวและเขียนข่ าว 3 (3-0-6) (Principles of News Reporting and Writing) ความหมาย องค์ประกอบ และประเภทของข่าว คุณสมบัติ ความรับผิดชอบ และจริ ยธรรมของ ผู้สื่อข่าว การประเมินคุณค่าของแหล่งข่าว เน้ นเทคนิคการจับประเด็นข่าว เทคนิคการสืบค้ นและรวบรวม ข้ อมูล รวมทังฝึ ้ กการเขียนข่าวเพื่อรายงานทางหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ CA303 ภาษาอังกฤษสําหรั บงานนิเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) (English for Communication) สอบผ่ าน HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 ฝึ กการฟั งเพื่อความเข้ าใจ โดยสามารถจับใจความสําคัญและรายละเอียดของบทสนทนา ข่าว สารคดี รายงาน การบรรยาย ฝึ กการพูด การแสดงความคิดเห็น การสัมภาษณ์ การเสนอรายงาน สรุ ป ความจากที่ฟัง ฝึ กการอ่านสิ่งตีพิมพ์ภาษาอังกฤษทางด้ านนิเทศศาสตร์ ได้ แก่ ข่าว โฆษณา บทความ เพื่อจับใจความสําคัญและรายละเอียด ฝึ กการเขียนสรุปความข่าวและการรายงานข่าว
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
48
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CA304 การวิจัยเบือ้ งต้ นทางนิเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) (Introduction to Communication Research) หลัก และแนวคิดเกี่ ยวกับระเบียบวิธีวิจยั ทางสังคมศาสตร์ กระบวนการวิจยั ตังแต่ ้ การตัง้ ปั ญหานําวิจยั การสํารวจวรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง การตังสมมติ ้ ฐาน การเลือกตัวอย่าง การเก็บรวบรวม ข้ อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้ สถิติเบื ้องต้ นในการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล และการนําเสนอ ผลการวิจยั CA305 การจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศศาสตร์ 3 (2-2-5) (Information Management for Communication) แนวคิด หลักการ โครงสร้ าง และกระบวนการทางสารสนเทศ การใช้ แหล่งสารสนเทศ การสืบค้ น การแปลผลข้ อมูลที่ซบั ซ้ อน และการนําเสนอสารสนเทศ ฝึ กทักษะการใช้ โปรแกรมสําเร็ จรูปเพื่อการจัดการ และการสื่อสารสารสนเทศสําหรับงานนิเทศศาสตร์
CA306 กฎหมายและจริ ยธรรมนิเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) (Law and Ethics for Communication) กฎหมายเกี่ยวกับงานนิเทศศาสตร์ การโฆษณา การประชาสัมพันธ์และสื่อทุกประเภท เช่น กฎหมายอาญาว่าด้ วยการหมิ่นประมาท ละเมิดและความรับผิดชอบทางแพ่ง กฎหมายลิขสิทธิ์และ สิทธิบตั ร จริ ยธรรมและจรยาบรรณของนักนิเทศศาสตร์ โดยคํานึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
49
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ข. กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา 9 หน่ วยกิต CS 001 ความคิดสร้ างสรรค์ เพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Creativity for Strategic Communication) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีการพัฒนาความคิดเชิงสร้ างสรรค์ การคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิง วิพากษ์ เพื่ อพัฒนากลยุทธ์ การสื่ อสารที่แตกต่าง การสร้ างสรรค์เครื่ องมือและเนือ้ หาเพื่ อการสื่ อสาร เชิงกลยุทธ์ที่สอดคล้ องกับสถานการณ์ตา่ ง ๆ โดยใช้ กรณีศกึ ษาจากการสื่อสารเชิงกลยุทธ์เพื่อฝึ กพัฒนา ความคิดสร้ างสรรค์ CS 002 เครื่ องมือเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Tools for Strategic Communication) หลักการ แนวคิด ทฤษฎี เกี่ ยวกับเครื่ องมื อสื่ อสารเพื่ อการสื่ อสารเชิง กลยุทธ์ ประเภทของ เครื่ องมื อสื่ อสารที่ ใ ช้ ใ นการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา รวมทัง้ สื่อใหม่ การบูรณาการเครื่ องมื อ สื่ อสารที่ เ หมาะสมสํ าหรั บการสื่ อ สารเชิง กลยุท ธ์ ทัง้ ในระดับ องค์ ก ร และสิน ค้ าหรื อ บริ การ โดยฝึ ก ออกแบบเครื่ องมือสื่อสารเชิงกลยุทธ์เบื ้องต้ น CS 003 การวิจัยเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Research for Strategic Communication) สอบผ่ าน CA304 การวิจัยเบือ้ งต้ นทางนิเทศศาสตร์ แนวคิดและหลักการเกี่ ยวกับการวิจัยเพื่ อการสื่ อสารเชิง กลยุทธ์ กระบวนการวิจัยเพื่อ การ สื่อสารเชิงกลยุทธ์ โดยเน้ นการฝึ กเขียนโครงร่ างการวิจยั การดําเนินงานวิจยั และการเขียนรายงานการ วิจยั สําหรับงานสื่อสารเชิงกลยุทธ์ ได้ แก่ การวิจยั เพื่อการประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารองค์กร การวิจยั เพื่อการโฆษณาและการสื่อสารการตลาด ค. กลุ่มวิชาเอก 30 หน่ วยกิต วิชาเอกการประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ 30 หน่ วยกิต - วิชาเอกบังคับ 24 หน่ วยกิต CS 101 การสื่อสารองค์ กร 3 (3-0-6) (Corporate Communication) แนวคิดและหลักการเกี่ ยวกับการสื่อสาร องค์การ และการสื่อสารองค์กร โดยครอบคลุมการ สื่อสารองค์กรกับกลุ่มประชาชนเป้าหมายภายใน และการสื่อสารองค์กรกับกลุ่มประชาชนเป้าหมาย ต่าง ๆ ภายนอก รวมทังหลั ้ กการที่เป็ นพื ้นฐานสําคัญซึ่งเกี่ ยวข้ องกับการสื่อสารองค์กร ได้ แก่ การสร้ าง อัตลักษณ์ ภาพลักษณ์ และชื่อเสี ยง ความรับผิดชอบต่อสังคม การโฆษณาองค์กร และการสื่ อสารใน ภาวะวิกฤติ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
50
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CS 102 การประชาสัมพันธ์ การตลาด 3 (3-0-6) (Marketing Public Relations) แนวคิ ด และหลัก การเกี่ ย วกับ การประชาสัม พัน ธ์ ก ารตลาด ความแตกต่า งระหว่ า งการ ประชาสัม พัน ธ์ ก ารตลาดกั บ การประชาสัม พัน ธ์ รู ป แบบอื่ น ๆ วิ ธี ก ารและเครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการ ดําเนินงานประชาสัมพันธ์ การตลาด ปั จจัยที่เกี่ยวข้ องในการประยุกต์ใช้ การประชาสัมพันธ์ การตลาด ตลอดจนการวางแผนและการประเมินผลการประชาสัมพันธ์การตลาด CS 103 การออกแบบสารและการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ 1 3 (3-0-6) (Message Design and Writing for Public Relations I) แนวคิดและเทคนิคการวิเคราะห์ผ้ รู ับสารและออกแบบเนื ้อหาสารประเภทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง กับงานประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ สอดคล้ องกับกลุ่มเป้าหมาย ฝึ กการคิดและวิเคราะห์เชิงสร้ างสรรค์เพื่อ ผลิตงานเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ ประเภทข่าวประชาสัมพันธ์ บทสัมภาษณ์ คําบรรยายภาพเพื่อ เผยแพร่ผา่ นช่องทางการสื่อสารประเภทต่าง ๆ CS 104 การออกแบบสารและการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ 2 3 (3-0-6) (Message Design and Writing for Public Relations II) ศึกษาก่ อน CS 103 การออกแบบสารและการเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ 1 แนวคิดและเทคนิคการวิเคราะห์ผ้ รู ับสารและออกแบบเนื ้อหาสารประเภทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง กับงานประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ สอดคล้ องกับกลุ่มเป้าหมาย ฝึ กการคิดและวิเคราะห์เชิงสร้ างสรรค์เพื่อ ผลิตงานเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ ประเภทบทความ สารคดี ประกาศ แถลงการณ์ สุนทรพจน์ เพื่อ เผยแพร่ผา่ นช่องทางการสื่อสารประเภทต่าง ๆ CS 105 การออกแบบและผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ 3 (2-2-5) (Media Design and Production for Public Relations) ศึกษาก่ อน CS 002 เครื่องมือเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ แนวคิด หลักการและเทคนิคเกี่ยวกับการออกแบบสร้ างสรรค์สื่อและผลิตสื่อให้ สอดคล้ องกับ กลยุทธ์ ขององค์กรและกลุ่มเป้าหมาย ได้ แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกสทังวิ ้ ทยุกระจายเสียงและ วิ ท ยุโทรทัศน์ และสื่ อดิจิ ทัล เพื่ อการประชาสัม พันธ์ และการประเมิน ผลสื่ อ ฝึ กปฏิ บัติการผลิตสื่ อ ประชาสัมพันธ์ประเภทสิ่งพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง และสื่อดิจิทลั CS 106 การวางแผนและบริ หารงานประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Planning and Management for Strategic Public Relations) แนวคิ ด หลั ก การเกี่ ย วกั บ การวางแผนการประชาสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง กลยุ ท ธ์ การวิ เ คราะห์ สถานการณ์ องค์กร ความท้ าทายเชิงกลยุทธ์ และกลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการวางแผนกลยุทธ์ และการ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
51
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ประชาสัมพันธ์ การวางแผนสื่อ แนวทางการบริ หารแผนงาน และการประเมินผล ฝึ กการวิเคราะห์และ เขียนแผนการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ CS 107 สัมมนาการประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Seminar on Strategic Public Relations) ศึกษาก่ อน CS 101 การสื่อสารองค์ กร การวิเคราะห์สถานการณ์ ปั ญหาและแนวทางแก้ ไขปั ญหาในกระบวนการสื่อสารองค์กรและ การประชาสัมพันธ์ ทังในระดั ้ บการบริ หารจัดการและระดับปฏิบตั กิ าร การสื่อสารในภาวะวิกฤติ โดย ศึก ษาจากกรณี ตัว อย่า งซึ่ง เกี่ ย วข้ อ งกับ ภาพลัก ษณ์ แ ละชื่ อ เสี ย งขององค์ ก ร และพิ จ ารณาความ รับผิดชอบต่อสังคมบนพื ้นฐานของจรรยาบรรณวิชาชีพและจริ ยธรรม CS 108 ประสบการณ์ วิชาชีพทางการประชาสัมพันธ์ 3(0-6-3) (Public Relations Practicum) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจํานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ สี าขาวิชากําหนด จัดให้ นกั ศึกษาออกฝึ กงานสื่อสารองค์กรหรื องานประชาสัมพันธ์ ในหน่วยงานทังภาครั ้ ฐและ ภาคเอกชน โดยได้ รับความเห็นชอบจากสาขาวิชา ให้ มีระยะเวลาการฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อไม่ตํ่ากว่า 400 ชัว่ โมงตามที่สาขาวิชากําหนด และให้ เสนอรายงานการฝึ กงานประกอบ CS 109 โครงงานด้ านการประชาสัมพันธ์ 3 (1-0-8) (Public Relations Project) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจํานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ สี าขาวิชากําหนด นัก ศึก ษาที่ ส าขาวิ ช าพิ จ ารณาว่ า มี คุณ สมบัติ เ หมาะสมในการจัด ทํ า โครงงานด้ า นการ ประชาสัมพันธ์ แทนการออกฝึ กงานในหน่วยงานภายนอก ตามรายวิชา CS 108 ประสบการณ์วิชาชีพ ทางการประชาสัม พัน ธ์ ให้ จัด ทํ า โครงงานเรื่ อ งใด ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การสื่ อ สารองค์ ก รหรื อ การ ประชาสัมพันธ์ โดยนักศึกษาต้ องเขียนโครงการและนําเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดําเนินโครงงาน และ/ หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
52
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CS 110 สหกิจศึกษา 6 (0-40-20) (Co-operative Education) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจํานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ สี าขาวิชากําหนด การปฏิบตั ิงานจริ งในสถานประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศึกษาเป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะพนักงานชั่วคราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการเตรี ยมความพร้ อมทัง้ ทางด้ าน วิ ช าการ และการปฏิ บัติตนในสัง คม การทํ างาน รวมทัง้ ดําเนิน การตามขัน้ ตอนของสหกิ จ ศึกษาที่ มหาวิทยาลัยกําหนด การปฏิบตั งิ านและการประเมินผล อยูภ่ ายใต้ การกํากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึ กษา ของสาขาวิชา และพนักงานที่ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมาย - วิชาเอกเลือก 6 หน่ วยกิต CS 131 การประชาสัมพันธ์ ธุรกิจบันเทิงและการท่ องเที่ยว 3 (3-0-6) (Public Relations for Entertainment and Tourism Businesses) แนวคิด หลักการและแนวทางการดําเนินงานของธุรกิจบันเทิงและการท่องเที่ยว บทบาทและ ความสําคัญของการประชาสัมพันธ์ ที่มีตอ่ ธุรกิจบันเทิงและการท่องเที่ยว โครงสร้ างองค์กรและการจัด หน่วยงานประชาสัมพันธ์ เทคนิค กระบวนการวางแผนและดําเนินงานประชาสัมพันธ์ รวมทังเครื ้ ่ องมือ สื่ อสารเพื่ อการประชาสัมพันธ์ ธุรกิ จบันเทิงและการท่องเที่ ยว ฝึ กวิเคราะห์ การประชาสัมพันธ์ ธุรกิจ บันเทิงและการท่องเที่ยวจากกรณีศกึ ษา CS 132 การประชาสัมพันธ์ ธุรกิจการเงิน 3 (3-0-6) (Public Relations for Financial Business) แนวคิด หลักการและแนวทางการดําเนินงานของธุรกิจการเงิน บทบาทและความสําคัญของ การประชาสัมพันธ์ที่มีตอ่ ธุรกิจการเงิน โครงสร้ างองค์กรและการจัดหน่วยงานประชาสัมพันธ์ เทคนิค กระบวนการวางแผนและดําเนินงานประชาสัมพันธ์ รวมทังเครื ้ ่ องมือสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ ธุรกิจการเงิน ฝึ กวิเคราะห์การประชาสัมพันธ์ธุรกิจการเงินจากกรณีศกึ ษา CS 133 เทคนิคการพูดและนําเสนองานเพื่อการประชาสัมพันธ์ 3 (3-0-6) (Speaking and Presentation Techniques for Public Relations) หลักการพูดและการนําเสนองานเพื่อการประชาสัมพันธ์ การเตรี ยมการพูดและการนําเสนอ งาน การใช้ ภาษาในการพูดและการนําเสนองาน เทคนิค การวางแผนและการใช้ สื่อเพื่อการนําเสนอ งานประชาสัมพันธ์ ที่สอดคล้ องกับกลุ่มเป้าหมาย ฝึ กการพูดเพื่ อการประชาสัมพันธ์ ลักษณะต่าง ๆ ได้ แก่ การบรรยายสรุป การแถลงข่าว การสัมภาษณ์ การประชุม การเป็ นพิธีกร การพูดในโอกาสต่าง ๆ และฝึ กการนําเสนองานเพื่อการประชาสัมพันธ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
53
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CS 134 การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Special Events for Strategic Communication) แนวคิด หลักการเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ รูปแบบและเทคนิค การสร้ างสรรค์กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ และสอดคล้ อง กับกลุ่ม เป้าหมาย กระบวนการและวิธี การดําเนิน งานในการจัดกิ จ กรรมพิเ ศษ ฝึ กปฏิ บัติการจัด กิจกรรมพิเศษเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ CS 135 กลยุทธ์ ส่ ือใหม่ เพื่อการประชาสัมพันธ์ 3 (2-2-5) (New Media Strategy for Public Relations) แนวคิ ด หลัก การเกี่ ย วกั บ สื่ อ ใหม่ คุณ ลัก ษณะของสื่ อ ใหม่ ป ระเภทต่า งๆ การวิ เ คราะห์ กลุ่มเป้าหมายของสื่อใหม่ การกําหนดกลยุทธ์การใช้ สื่อใหม่ที่สอดคล้ องกับกลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการ วางแผนและออกแบบสื่อใหม่เพื่องานประชาสัมพันธ์ ทงภายในและภายนอก ั้ ฝึ กการวางแผน ออกแบบ และผลิตสื่อใหม่เพื่อการประชาสัมพันธ์ CS 136 ชุมชนสัมพันธ์ กับความรั บผิดชอบต่ อสังคม 3 (3-0-6) (Community Relations and Social Responsibility) แนวคิ ด หลั ก การเกี่ ย วกั บ ชุ ม ชนและการสร้ างความสั ม พั น ธ์ กั บ ชุ ม ชน การวิ เ คราะห์ สถานการณ์และปริ บทของชุมชนประเภทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับองค์กร การวิเคราะห์กลุม่ ผู้มีสว่ นได้ ส่วน เสียในชุมชน การกํ าหนดกลยุทธ์ การสื่อสาร การดําเนินกิจกรรมการสื่อสาร และการประเมินผลการ ดําเนินงานชุมชนสัมพันธ์ โดยเชื่อมโยงกับหลักความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร ฝึ กปฏิบตั กิ ิจกรรม ชุมชนสัมพันธ์ CS 137 การบริหารความสัมพันธ์ 3 (3-0-6) (Relationship Management) แนวคิด หลักการ ทฤษฎี เกี่ ยวกับความสัมพันธ์ การสร้ างและการบริ หารความสัมพันธ์ กล ยุทธ์ และวิธีการดําเนินงานบริ หารความสัมพันธ์ ระหว่างองค์กรกับกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ทังภายในและ ้ ภายนอก ได้ แก่ การบริ หารความสัมพันธ์กบั พนักงาน สื่อมวลชน ชุมชน ลูกค้ า CS 138 การสื่อสารเพื่อการพัฒนา 3 (3-0-6) (Communication for Development) แนวคิด หลักการ และทฤษฎี ที่เกี่ ยวข้ องกับการสื่อสารกับการพัฒนา ครอบคลุมทังแนวคิ ้ ด ทฤษฎี เกี่ ยวกับการพัฒนา การสื่ อสาร การสื่อสารเพื่อการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การ แพร่ กระจายนวัตกรรม การสื่อสารรณรงค์ การตลาดเพื่อสังคม และการสื่อสารแบบมีส่วนร่ วม โดยมี กรณีศกึ ษาประกอบ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
54
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CS 139 การประชาสัมพันธ์ ระดับสากล 3 (3-0-6) (Global Public Relations) หลัก แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการดําเนินงานประชาสัมพันธ์ ระดับสากล สถานการณ์ปัจจุบนั และโอกาสในการทํางานประชาสัมพันธ์ระดับสากล ผลกระทบด้ านการเมือง เศรษฐกิจ ประวัตศิ าสตร์ สังคมและวัฒนธรรมที่ มีต่อการดําเนินงานประชาสัมพันธ์ และสื่ อสารองค์ กรสมัยใหม่ บทบาทของ โลกาภิวตั น์ อินเทอร์ เน็ต และการเข้ าถึงข้ อมูลที่มีตอ่ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ระดับสากล CS 140 การสื่อสารรณรงค์ 3 (3-0-6) (Communication Campaign) แนวคิ ด หลัก การเกี่ ย วกับ การสื่ อ สารรณรงค์ เ พื่ อ สร้ างการรั บ รู้ และความเข้ า ใจกับกลุ่ม ประชาชนเป้าหมาย เกี่ ยวกับกิ จกรรม โครงการ และ/หรื อองค์กร เพื่ อมุ่งผลลัพธ์ ด้านชื่ อเสี ยงและ ความสัม พัน ธ์ อัน ดี โดยมุ่ ง เน้ น การวางแผนการสื่ อ สารรณรงค์ เ ชิ ง กลยุ ท ธ์ ตัง้ แต่ ก ารวิ เ คราะห์ สถานการณ์ เ กี่ ย วกั บ องค์ ก รและสภาพแวดล้ อม การกํ า หนดประเด็ น รณรงค์ การวิ เ คราะห์ กลุ่มเป้าหมาย การวางแผนกลยุทธ์ ทางการสื่อสาร การจัดกิจกรรมการสื่อสารรณรงค์ ตลอดจนการ ประเมินผลการสื่อสารรณรงค์ ฝึ กปฏิบตั กิ ารวางแผนและดําเนินงานสื่อสารรณรงค์ CS 141 การพูดภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์ 3 (3-0-6) (Speaking English for Public Relations) สอบผ่ าน CA303 ภาษาอังกฤษสําหรั บงานนิเทศศาสตร์ หลักและวิ ธี การพูดภาษาอัง กฤษเพื่ อการประชาสัม พัน ธ์ แต่ล ะประเภท ได้ แก่ การกล่าว ต้ อนรับ การแนะนําบุคคลและสถานที่ การตอบข้ อซักถาม CS 142 การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์ 3 (3-0-6) (Writing English for Public Relations) สอบผ่ าน CA303 ภาษาอังกฤษสําหรั บงานนิเทศศาสตร์ หลักและวิธีการเขี ยนภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์ แต่ละประเภท ได้ แก่ การเขี ยน บันทึกภายใน การเขียนข่าวประชาสัมพันธ์ การบรรยายภาพข่าวประชาสัมพันธ์ CS143 การศึกษาเฉพาะบุคคล 1 (1-0-8) (Individual Study) เรื่ องเกี่ ยวกับการประชาสัมพันธ์ โดยนักศึกษาจะต้ องเสนอโครงร่ างของเรื่ องที่ สนใจจะ ศึกษา พร้ อมเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา และได้ รับการอนุมตั จิ ากสาขาวิชาก่อนการลงทะเบียน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
55
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CS 144 หัวข้ อพิเศษทางการประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Special Topic in Strategic Public Relations) เรื่ องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงานประชาสัมพันธ์ โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือก และกําหนดหัวข้ อ ในการศึกษาแต่ละภาคการศึกษาให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั วิชาเอกการโฆษณา 30 หน่ วยกิต - วิชาเอกบังคับ 24 หน่ วยกิต CS 201 การโฆษณากับพฤติกรรมผู้บริโภค 3 (3-0-6) (Advertising and Consumer Behavior) การวิเคราะห์ผ้ บู ริ โภคในฐานะผู้รับสารและเป้าหมายในการจูงใจ ปั จจัยทางจิตวิทยาและ ปั จจัยทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริ โภค กระบวนการตัดสินใจซื ้อของผู้บริ โภค การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริ โภคเพื่อสร้ างคุณค่าตราสินค้ าในงานโฆษณา การนําพฤติกรรมผู้บริโภคมา ใช้ ในการวางกลยุทธ์โฆษณา CS 202 การสื่อสารการตลาด 3 (3-0-6) (Marketing Communication) แนวคิดและหลักการของการสื่อสารการตลาด เครื่ องมือที่ใช้ ในการสื่อสารการตลาด อาทิ การ โฆษณา การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริ มการขาย การตลาดตรง การวิเคราะห์ผ้ รู ับสารเป้าหมาย การ สร้ างตราสินค้ าและคุณค่าตราสินค้ า การพัฒนากลยุทธ์ สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ รวมถึงการ นําเสนอกลยุทธ์สื่อสารการตลาด CS 203 การสร้ างสรรค์ และเขียนบทโฆษณา 3 (3-0-6) (Creativity and Copywriting) ศึกษาก่ อน CS001 ความคิดสร้ างสรรค์ เพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ แนวคิด วิธีการ และขันตอนของการวางแผนกลยุ ้ ทธ์ ความคิดสร้ างสรรค์สําหรับการโฆษณา การสร้ างสรรค์งานโฆษณาสํ าหรั บสินค้ าและบริ การประเภทต่าง ๆ การออกแบบและการเขี ยนบท โฆษณา การเขียนคําขวัญ ฝึ กการสร้ างสรรค์งานโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ ทังสื ้ ่อดังเดิ ้ ม อาทิ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และสื่อสมัยใหม่ อาทิ อินเทอร์ เน็ต มัลติมีเดีย CS 204 การผลิตงานโฆษณา 3(2-2-5) (Advertising Production) หลักการและกระบวนการพื ้นฐานสําหรับการผลิตงานโฆษณาในสื่อต่าง ๆ ทังสื ้ ่อดังเดิ ้ มและ สื่ อ สมัย ใหม่ เทคนิ ค และแนวทางในการติ ด ต่อ ประสานงานระหว่ า งบริ ษั ท โฆษณากับ หน่ ว ยงาน หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
56
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ภายนอกที่เกี่ยวข้ องกับการผลิตงานโฆษณา การดําเนินงานของหน่วยงานภายนอก ฝึ กปฏิบตั กิ ารผลิต งานโฆษณาในสื่อรูปแบบต่าง ๆ ตังแต่ ้ การเตรี ยมการผลิต การผลิต และงานภายหลังการผลิต CS 205 การวางแผนช่ องทางการโฆษณา 3 (3-0-6) (Advertising Media Planning) ศึกษาก่ อน CS002 เครื่องมือเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ ช่องทางการสื่ อสารประเภทต่าง ๆ ที่ใช้ ในการโฆษณา ศัพท์เทคนิคที่ใช้ ในการวางแผนสื่ อ โฆษณา กระบวนการวางแผนสื่อโฆษณา การวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาด การนําข้ อมูลวิจยั เกี่ยวกับ ผู้บริ โภคมาใช้ ในการวางแผนสื่อ การวางกลยุทธ์ ช่องทางการสื่ อสารเพื่ อสร้ างตราสินค้ า การจัดทํา ตารางแผนสื่อ ตลอดจนการประเมินผลแผนสื่อโฆษณา CS 206 การรณรงค์ ทางการโฆษณา 3 (3-0-6) (Advertising Campaign) ศึกษาก่ อน CS202 การสื่อสารการตลาด กระบวนการและการดําเนินงานแผนรณรงค์โฆษณา การวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาด การ กํ าหนดกลุ่ม เป้าหมาย การวางกลยุทธ์ โฆษณา การผลิ ตงานโฆษณา การบูรณาการสาร สื่ อ และ เครื่ องมื อสื่ อสารต่าง ๆ เข้ าด้ วยกัน ตลอดจนการประเมิน ผลแผนรณรงค์โฆษณา ฝึ กปฏิ บัติ ก าร วางแผนและการดําเนินงานรณรงค์โฆษณา รวมทังการนํ ้ าเสนอแผนรณรงค์ CS 207 สัมมนาการโฆษณา 3 (3-0-6) (Seminar on Advertising) ศึกษาก่ อน CS 202 การสื่อสารการตลาด ข้ อเท็ จ จริ ง เกี่ ยวกับสภาพและปั ญหาของการสื่ อสารการตลาดหรื อการโฆษณา โดยเน้ น กรณี ศึกษาซึ่งเป็ นที่สนใจในวงการธุรกิจสื่ อสารการตลาดหรื อธุรกิจโฆษณาและสาธารณชน รวมทัง้ ศึกษาแนวความคิดของนักสื่อสารการตลาดหรื อนักโฆษณาที่มีชื่อเสียง เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ ในการ สร้ างทักษะแนวคิดในการวิเคราะห์และแก้ ไขปั ญหา CS 208 ประสบการณ์ วิชาชีพทางการโฆษณา 3 (0-6-3) (Advertising Practicum) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจํานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ สี าขาวิชากําหนด จัดให้ นกั ศึกษาออกฝึ กงานในหน่วยงานต่าง ๆ หรื อฝึ กกลุม่ ปฏิบตั ิการวิชาชีพสื่อสารการตลาด หรื อโฆษณา โดยได้ รับความเห็นชอบจากสาขาวิชา ให้ มีระยะเวลาการฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อไม่น้อยกว่า 400 ชัว่ โมง ตามที่สาขาวิชากําหนด และให้ เสนอรายงานการฝึ กงานประกอบ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
57
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CS 209 โครงงานด้ านการโฆษณา 3 (1-0-8) (Advertising Project) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจํานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ สี าขาวิชากําหนด นักศึกษาที่ ส าขาวิ ช าพิ จ ารณาว่ า มี คุณ สมบัติเ หมาะสมในการจัด ทํ า โครงงานด้ า นการ โฆษณา แทนการออกฝึ กงานในหน่ ว ยงานภายนอก ตามรายวิ ช า CS 208 ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ทางการโฆษณา ให้ จัดทํ าโครงงานเรื่ องใด ๆ ที่ เ กี่ ยวข้ องกับการโฆษณา โดยนักศึกษาต้ องเขี ย น โครงการและนําเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึ กษา ดําเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ได้ รับ ความเห็นชอบ CS 210 สหกิจศึกษา 6 (0-40-20) (Co-operative Education) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจํานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ สี าขาวิชากําหนด การปฏิบตั ิงานจริ งในสถานประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศึกษาเป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะพนักงานชัว่ คราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการเตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ าน วิชาการ และการปฏิ บัติตนในสัง คม การทํางาน รวมทัง้ ดําเนิ นการตามขัน้ ตอนของสหกิ จ ศึก ษาที่ มหาวิทยาลัยกํ าหนด การปฏิ บตั ิง านและการประเมิน ผล อยู่ภายใต้ การกํ ากับดูแลของอาจารย์ ที่ ปรึกษาของสาขาวิชา และพนักงานที่ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมาย - วิชาเอกเลือก 6 หน่ วยกิต CS 231 การโฆษณากับสังคม 3 (3-0-6) (Advertising and Society) บทบาท อิทธิ พล และผลกระทบของการโฆษณาและกิ จกรรมการตลาดอื่ น ๆ ที่มีต่อบุคคล ชุ ม ชน และสัง คม บทบาทของการโฆษณาในด้ า นการเมื อ ง เศรษฐกิ จ สัง คม และวัฒ นธรรม จรรยาบรรณและความรับผิดชอบของนักโฆษณา การควบคุมโฆษณาทางกฎหมายและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้ อง โดยใช้ กรณีศกึ ษาในประเทศไทย CS 232 เทคนิคการนําเสนอผลงานโฆษณา 3 (3-0-6) (Advertising Presentation Techniques) หลักการและวิธีการในการนําเสนอผลงานแก่บริ ษัทลูกค้ า เพื่อการแข่งขันกับบริ ษัทตัวแทน โฆษณาอื่น ๆ ฝึ กปฏิบตั กิ ารเตรี ยม การผลิต และการนําเสนอผลงานโฆษณา อาทิ แผนรณรงค์โฆษณา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
58
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
แผนงานความคิดสร้ างสรรค์ ผลงานวิจยั ตลาดและผู้บริ โภค ให้ ลกู ค้ าอนุมตั ิ ตลอดจนแนวทางในการ ปรับปรุงและแก้ ไขปั ญหาอุปสรรคที่เกี่ยวข้ องกับการนําเสนอผลงานโฆษณาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ CS 233 ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา 3 (3-0-6) (Persuasive Theory for Advertising) แนวคิดและทฤษฎีการจูงใจโดยใช้ สื่อประเภทต่าง ๆ เพื่องานโฆษณา องค์ประกอบเกี่ยวกับ ทฤษฎีการจูงใจทังด้ ้ านจิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และเศรษฐศาสตร์ การนําทฤษฎีการจูงใจ มาใช้ ในการวางกลยุทธ์โฆษณา รวมทังสภาพแวดล้ ้ อมที่เกี่ยวข้ องกับการจูงใจอันส่งผลต่องานโฆษณา CS 234 กลยุทธ์ การโฆษณาผ่ านสื่อสมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Advertising Strategy in New Media) หลักการและกลยุทธ์ สํ าหรั บการโฆษณาผ่านสื่ อสมัยใหม่ ได้ แก่ อิน เทอร์ เ น็ต มัล ติมี เดีย สื่อแวดล้ อม สื่อดิจิทลั และสื่ออื่น ๆ โดยการสร้ างสารและเลือกใช้ สื่อเพื่อใช้ ในการสื่อสารการตลาด อย่างมีประสิทธิภาพ CS 235 การออกแบบโฆษณา 3(2-2-5) (Advertising Design) หลัก การเบื อ้ งต้ น ของนิ เ ทศศิ ล ป์ ที่ นํ า มาใช้ ใ นงานโฆษณา การออกแบบเครื่ อ งหมาย สัญลักษณ์และตัวอักษร การเลือกใช้ สี กระบวนการผลิตวัสดุโฆษณาและต้ นฉบับที่ใช้ ในงานสิ่งพิมพ์ การใช้ ระบบการพิ ม พ์ ฝึ กปฏิ บัติการออกแบบสิ่ ง พิ ม พ์ ประเภทต่าง ๆ กระบวนการทํ าอาร์ ต เวิ ร์ ค ตลอดจนการออกแบบและผลิตวัสดุโฆษณาในสื่อประเภทอื่น ๆ CS 236 การถ่ ายภาพเพื่องานโฆษณา 3 (2-2-5) (Advertising Photography) หลักการถ่ายภาพจากความคิดเชิงสร้ างสรรค์เพื่อใช้ ในงานโฆษณา เกณฑ์ต่าง ๆ สํ าหรั บ ประเมินคุณภาพผลงาน เทคนิคการจัดองค์ประกอบภาพ การจัดแสง และฝึ กปฏิบตั ิการถ่ายภาพนิ่ง เพื่อใช้ ในงานโฆษณาทางสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อสมัยใหม่ที่ต้องใช้ ภาพนิ่งในการโฆษณา CS 237 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องานโฆษณา 3 (2-2-5) (Computer Graphics for Advertising) การออกแบบและฝึ กปฏิบตั ิการจัดทําชิ ้นงานโฆษณาด้ วยคอมพิวเตอร์ ในสื่อประเภทต่าง ๆ ได้ แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อวิทยุโทรทัศน์ และสื่อประสม กระบวนการและขันตอนการ ้ ออกแบบ และการนําเสนองานโฆษณาแบบสองมิตแิ ละสามมิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
59
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CS 238 การสร้ างแบรนด์ 3 (3-0-6) (Branding) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับแบรนด์และการสร้ างแบรนด์ องค์ประกอบของแบรนด์ คุณค่า เชิงมูลค่าของแบรนด์ (Brand Equity) บทบาทและความสําคัญของการสื่อสารการตลาดกับการสร้ าง แบรนด์ กรณีศกึ ษาเทคนิคการสื่อสารการตลาดเพื่อสร้ างแบรนด์ CS 239 การกํากับศิลป์เพื่องานโฆษณา 3 (2-2-5) (Advertising Art Direction) ศึกษาก่ อน CS235 การออกแบบโฆษณา หลักการและวิธีการกํากับศิลป์ ความเกี่ยวเนื่องกับการสื่อสารในด้ านการเลือกใช้ สี การวาง รูปแบบ การออกแบบหน้ า การจัดวางองค์ประกอบตัวอักษรและภาพ ฝึ กปฏิบตั งิ านด้ านกํากับศิลป์เพื่อ ใช้ ในงานโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ ทังสื ้ ่อดังเดิ ้ มและสื่อสมัยใหม่ที่ต้องการใช้ ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ในการโฆษณา CS 240 การจัดการโฆษณา 3 (3-0-6) (Advertising Management) การดํ า เนิ น งานธุ ร กิ จ ของหน่ ว ยงานโฆษณาและบริ ษั ท ตัว แทนโฆษณาในด้ า นการจัด โครงสร้ างองค์กร การจัดสรรบุคลากร งบประมาณ และทรัพยากรอื่น ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ การจัดหา การให้ บริ การและการประสานงานแก่บริ ษัทลูกค้ า การเสริ มสร้ างและรักษาความสัมพันธ์ อนั ดีกับบริ ษัทลูกค้ า ตลอดจนการติดตามประเมินผล เพื่ อนํ ามาปรั บปรุ ง แก้ ไขวิธี การดําเนินงานให้ มี ประสิทธิภาพ CS 241 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3 (1-0-8) (Individual Study) การศึกษาเรื่ องต่าง ๆ เกี่ ยวกับการโฆษณา โดยนักศึกษาจะต้ องเสนอโครงร่ างของเรื่ องที่ สนใจศึกษา พร้ อมเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขออนุมตั จิ ากสาขาวิชาก่อนการลงทะเบียน CS 242 หัวข้ อพิเศษทางการโฆษณา 3 (3-0-6) (Special Topic in Advertising) ประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้ องกับงานด้ านการโฆษณา โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือกและกํ าหนด หัวข้ อการศึกษาในแต่ละภาค ให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
60
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
วิชาเอกการสร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ 30 หน่ วยกิต - วิชาเอกบังคับ 24 หน่ วยกิต CS 401 พืน้ ฐานการออกแบบ 3 (2-2-5) (Fundamental of Design) ประวัติ แนวคิด ทฤษฎีเบื ้องต้ นของการออกแบบ ฝึ กปฏิบตั งิ านด้ านการสร้ างสรรค�การ ออกแบบสื่อ โดยใช้ ศลิ ปะพื ้นฐานการออกแบบ ได้ แก่ จุด เส้ น ระนาบ รู ปร่าง รูปทรง ลักษณะพื ้นผิว สี นํ ้าหนัก พื ้นที่ว่าง และหลักการออกแบบ ได้ แก่ เอกภาพ จังหวะ ความสมดุล สัดส่วน รวมถึงการใช้ สี และการสื่อสัญลักษณ์ทางการออกแบบ CS 402 ทัศนศิลป์เพื่อการสื่อสาร 3 (2-2-5) (Visual Art for Communication) หลักการ แนวคิดและเทคนิคการสื่อสารผ่านภาพ การออกแบบและจัดองค์ประกอบภาพ ทัง้ ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ฝึ กปฏิบตั ทิ กั ษะของการออกแบบภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์ การโฆษณา การสื่อสารการตลาด CS 403 เครื่องมือเพื่อการออกแบบสื่อและการสื่อสาร 3 (2-2-5) (Tools for Media and Communication Design) ศึกษาก่ อน CS401 พืน้ ฐานการออกแบบ หลักการ แนวคิดและเทคนิคการออกแบบสื่อและการสื่อสาร ได้ แก่ การออกแบบตัวอักษร การออกแบบอินเตอร์ แอคทีฟ การออกแบบอินโฟกราฟิ ก ฝึ กปฏิบตั กิ ารออกแบบด้ วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบสื่อที่สนับสนุนการสร้ างแบรนด์ CS 404 การจัดการแบรนด์ และการออกแบบสื่อ 3 (3-0-6) (Brand Management and Media Design) หลักการและความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการแบรนด์กบั การออกแบบสื่อ การสร้ างและปรับ คุณค่า ความหมาย อัตลักษณ์ การวางตําแหน่ง และบุคลิกภาพ ของแบรนด์สินค้ า บริ การ หรื อองค์กร การออกแบบสื่อเพื่อเชื่อมโยงกลยุทธ์แบรนด์ในการเข้ าถึงกลุม่ เป้าหมาย เน้ นกรณีศกึ ษาการจัดการ แบรนด์ด้วยการออกแบบ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
61
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CS 405 การสร้ างสรรค์ และออกแบบเชิงธุรกิจ 3 (3-0-6) (Creativity and Design for Business) ความสัมพันธ์ ของธุรกิ จกับการสร้ างสรรค์และออกแบบ กระบวนการและขัน้ ตอนการออกแบบ ตังแต่ ้ การวิเคราะห์บริ บททางการตลาด สังคม และวัฒนธรรม การศึกษาพฤติกรรมความต้ องการผู้บริ โภค และผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย ฝึ กปฏิบตั สิ ร้ างสรรค์งานออกแบบให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมของธุรกิจ CS 406 โครงงานด้ านการออกแบบสื่อ 1 3 (1-0-8) (Media Design Project 1) ศึกษาก่ อน CS 401 พืน้ ฐานการออกแบบ CS 402 ทัศนศิลป์เพื่อการสื่อสาร การจัดทําโครงงานด้ านการสร้ างสรรค์และออกแบบสื่อสําหรับองค์กรหรื อผลิตภัณฑ์ โดย นักศึกษาต้ องเขียนโครงการและนําเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึ กษา ดําเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ CS 407 สัมมนากลยุทธ์ แบรนด์ และการออกแบบสื่อ 3 (3-0-6) (Seminar on Brand Strategy and Media Design) ศึกษาก่ อน CS 404 การจัดการแบรนด์ และการออกแบบสื่อ การวิเคราะห์สถานการณ์ ปั ญหา และแนวทางการพัฒนากลยุทธ์แบรนด์และการออกแบบสื่อ เพื่อสนับสนุนงานสื่อสารเชิงกลยุทธ์ โดยเน้ นศึกษาจากกรณีตวั อย่างที่เกี่ยวข้ องกับการสร้ างแบรนด์ องค์กรและแบรนด์ผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียง รวมถึงพิจารณาความรับผิดชอบต่อลูกค้ า ผู้บริ โภค และผู้มี ส่วนได้ สว่ นเสียที่เกี่ยวข้ องบนพื ้นฐานของจรรยาบรรณวิชาชีพและจริยธรรม CS 408 ประสบการณ์ วิชาชีพทางการสร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ 3 (0-6-3) (Creativity and Media Design Practicum) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจํานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ สี าขาวิชากําหนด จัดให้ นกั ศึกษาออกฝึ กงานด้ านการสร้ างสรรค์และออกแบบสื่อในหน่วยงานทังภาครั ้ ฐและ ภาคเอกชน โดยได้ รับความเห็นชอบจากสาขาวิชา ให้ มีระยะเวลาการฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อไม่ตํ่ากว่า 400 ชัว่ โมงตามที่สาขาวิชากําหนด และให้ เสนอรายงานการฝึ กงานประกอบ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
62
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CS 409 โครงงานด้ านการออกแบบสื่อ 2 3 (1-0-8) (Media Design Project 2) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจํานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ สี าขาวิชากําหนด นักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่ามีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสมในการจัดทําโครงงานด้ านการ ออกแบบสื่อ แทนการออกฝึ กงานในหน่วยงานภายนอก ตามรายวิชา CS 408 ประสบการณ์วิชาชีพ ทางการสร้ างสรรค์และออกแบบสื่อ ให้ จดั ทําโครงงานเรื่ องใด ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการสร้ างสรรค์และ ออกแบบสื่อ โดยนักศึกษาต้ องเขียนโครงการและนําเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดําเนินโครงงาน และ/ หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ CS 410 สหกิจศึกษา 6 (0-40-20) (Co-operation Education) สอบผ่ าน รายวิชาในหลักสูตรจํานวนไม่ น้อยกว่ า 120 หน่ วยกิต และตามเกณฑ์ ท่ ีสาขาวิชากําหนด การปฏิบตั งิ านจริ งในสถานประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษาเป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะพนักงานชัว่ คราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการเตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ าน วิชาการ และการปฏิ บัติตนในสัง คม การทํางาน รวมทัง้ ดําเนิ นการตามขัน้ ตอนของสหกิจ ศึก ษาที่ มหาวิทยาลัยกํ าหนด การปฏิ บตั ิง านและการประเมิน ผล อยู่ภายใต้ การกํ ากับดูแลของอาจารย์ ที่ ปรึกษาของสาขาวิชา และพนักงานที่ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมาย - วิชาเอกเลือก 6 หน่ วยกิต CS 431 สุนทรี ยภาพทางศิลปะและการออกแบบ 3 (3-0-6) (Art and Design Appreciation) หลักการสุนทรี ยศาสตร์ ความเข้ าใจในทัศนศิลป์สาขาต่าง ๆ ความรู้คณ ุ ค่าในความเป็ นมา รูปแบบของศิลปะและการออกแบบของไทยและสากล เน้ นความเข้ าใจและประสบการณ์ในการดูงาน ศิลปะและการออกแบบเพื่อเป็ นพื ้นฐานในการสร้ างสรรค์งานออกแบบสื่อ CS 432 การออกแบบสื่ออินเตอร์ แอคทีฟ 3 (2-2-5) (Interactive Media Design) หลักการ แนวคิดเกี่ ยวกับการออกแบบสื่ อเพื่ อสร้ างปฏิสัมพันธ์ และการมี ส่วนร่ วมกับผู้ใช้ ผ่านเนื อ้ หารู ปแบบต่างๆ ทัง้ ตัวอักษร กราฟิ ก แอนิเมชั่น วี ดิทัศน์ และเสี ยง เพื่ อใช้ ในสื่อดิจิทัลและ สื่ อ ใหม่ ต่า ง ๆ ฝึ กปฏิ บัติ ก ารออกแบบสื่ อ อิ น เตอร์ แ อคที ฟ โดยคํ า นึ ง ถึ ง การออกแบบพื น้ ที่ ก ารใช้ งาน และประสบการณ์การใช้ งานของผู้ใช้
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
63
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CS 433 การออกแบบภาพประกอบสื่อ 3 (2-2-5) (Visual Design for Media) หลักการ กระบวนการ และเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบของการสื่อสารเพื่อพัฒนา ความคิดรวบยอดในการสร้ างสรรค์ภาพประกอบสําหรับการสื่อความหมายในการออกแบบสื่อ ฝึ กปฏิบตั กิ ารออกแบบภาพประกอบ ทังภาพถ่ ้ าย ภาพวาด ภาพกราฟิ ก ภาพเคลื่อนไหว CS 434 การสร้ างภาพดิจิทัล 3 (2-2-5) (Digital Imaging) หลักการ กระบวนการสร้ างและตกแต่งภาพ ระบบการจัดการสี และกระบวนการทํางานด้ าน ภาพดิจิทลั เพื่องานโฆษณา ประชาสัมพันธ์และการสื่อสารการตลาด ฝึ กปฏิบตั สิ ร้ างสรรค์ภาพด้ วย เทคโนโลยีดจิ ิทลั CS 435 การออกแบบกราฟิ กเพื่อองค์ กรและผลิตภัณฑ์ 3 (2-2-5) (Graphic Design for Corporate and Product) หลักการ วิธีการออกแบบกราฟิ ก โดยการนําเอารู ปประกอบ ภาพถ่าย สัญลักษณ์ รู ปแบบ ขนาดตัวอักษร มาจัดวาง เพื่อสื่อความหมาย และสะท้ อนภาพลักษณ์ขององค์กรและผลิตภัณฑ์ ฝึ ก ปฏิบตั กิ ารออกแบบกราฟิ กเพื่อการสื่อสารอัตลักษณ์องค์กร ตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ CS 436 การออกแบบเพื่อกิจกรรมพิเศษและนิทรรศการ 3 (2-2-5) (Design for Special Event and Exhibition) แนวคิด หลักการเกี่ยวกับการวางแผนและออกแบบประสบการณ์การรับรู้ ผา่ นกิจกรรมพิเศษ และนิ ท รรศการ การวิ เ คราะห์ ค วามต้ อ งการขององค์ ก รหรื อ ลู ก ค้ า การบริ ห ารจัด การพื น้ ที่ การ สร้ างสรรค์ด้วยเทคโนโลยีที่เกี่ ยวข้ อง ฝึ กปฏิบตั ิการออกแบบกิจกรรมพิเศษและนิทรรศการเพื่อสร้ าง ความเข้ าใจ การมีสว่ นร่วม การมีปฏิสมั พันธ์ และความรู้สกึ ผูกพันทางใจ CS 437 การจัดการธุรกิจการออกแบบสื่อ 3 (3-0-6) (Communication Design Management) การดําเนินงานของธุรกิจการออกแบบสื่อ ได้ แก่ ระบบและกลไกการตลาดของธุรกิจออกแบบ สื่อ การจัดองค์กร การบริ หารการเงิน การคํานวณต้ นทุน กลไกลิขสิทธิ์ รวมทังแนวโน้ ้ มทางธุรกิจและ เทคโนโลยีกบั การปรับตัวของธุรกิจการออกแบบสื่อ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
64
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ง. กลุ่มวิชาโท 15 หน่ วยกิต กลุ่มวิชาโทที่สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จัดให้ นักศึกษาต่ างคณะเลือกเรี ยน วิชาโทสาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ CX100 นิเทศศาสตร์ เบือ้ งต้ น 3 (3-0-6) (Introduction to Communication Arts) ความหมาย ความสํ า คัญ และประเภทของการสื่ อ สาร องค์ ป ระกอบ แบบจํ า ลองของ กระบวนการสื่อสาร ลักษณะ บทบาท หน้ าที่และวิวฒ ั นาการของการสื่อสารและการสื่อสารมวลชนที่มี ต่อสังคม องค์กรที่เกี่ยวข้ องทังในและต่ ้ างประเทศ CX101 การสื่อสารเพื่อการพัฒนา 3 (3-0-6) (Communication for Development) แนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ องกับการสื่อสารกับการพัฒนา ครอบคลุมทังแนวคิ ้ ด ทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนา การสื่อสาร การสื่อสารเพื่อการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การ แพร่กระจายนวัตกรรม การสื่อสารรณรงค์ การตลาดเพื่อสังคม และการสื่อสารแบบมีสว่ นร่วม โดยมี กรณีศกึ ษาประกอบ CX102 การโฆษณากับสังคม 3 (3-0-6) (Advertising and Society) บทบาท อิทธิ พล และผลกระทบของการโฆษณาและกิจกรรมการตลาดอื่น ๆ ที่มีต่อบุคคล ชุ ม ชน และสัง คม บทบาทของการโฆษณาในด้ า นการเมื อ ง เศรษฐกิ จ สัง คม และวัฒ นธรรม จรรยาบรรณและความรับผิดชอบของนักโฆษณา การควบคุมโฆษณาทางกฎหมายและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้ อง โดยใช้ กรณีศกึ ษา CX103 พืน้ ฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Fundamentals of Strategic Communication) ศึกษาก่ อน CX100 นิเทศศาสตร์ เบือ้ งต้ น หลักการ แนวคิด และทฤษฎีเกี่ ยวกับการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ การสร้ างและสื่อสารแบรนด์ ระดับองค์กร ระดับสินค้ าและบริ การ การใช้ เครื่ องมื อหลักในการสื่ อสารแบรนด์ โดยเน้ นหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และกระบวนการดําเนินงานเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบต่อสังคมในการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ขององค์กร
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
65
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CX104 เครื่ องมือเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Tools for Strategic Communication) ศึกษาก่ อน CX103 พืน้ ฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ หลักการ แนวคิด ทฤษฎี เ กี่ ยวกับเครื่ องมื อสื่ อสารเพื่ อ การสื่ อ สารเชิง กลยุท ธ์ ประเภทของ เครื่ องมือสื่อสารที่ใช้ ในการประชาสัมพันธ์และการโฆษรา รวมทังสื ้ ่อใหม่ การบูรณาการเครื่ องมือสื่สารที่ เหมาะสมกับการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ทงในระดั ั้ บองค์กร และสินค้ าหรื อบริการ CX105 ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา 3 (3-0-6) (Persuasive Theory for Advertising) แนวคิดและทฤษฎี การจูงใจโดยใช้ สื่อประเภทต่าง ๆ เพื่ องานโฆษณา องค์ประกอบเกี่ ยวกับ ทฤษฎีการจูงใจทังด้ ้ านจิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และเศรษฐศาสตร์ การนําทฤษฎีการจูงใจมา ใช้ ในการวางกลยุทธ์โฆษณา รวมทังสภาพแวดล้ ้ อมที่เกี่ยวข้ องกับการจูงใจอันส่งผลต่องานโฆษณา CX 106 กลยุทธ์ การโฆษณาผ่ านสื่อสมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Advertising Strategy in New Media) หลักการและกลยุทธ์ สําหรั บการโฆษณาผ่านสื่ อสมัยใหม่ ได้ แก่ อินเทอร์ เน็ต มัลติมีเดีย สื่ อ แวดล้ อม สื่อดิจิทลั และสื่ออื่น ๆ โดยการสร้ างสารและเลือกใช้ สื่อเพื่อใช้ ในการสื่อสารการตลาดอย่างมี ประสิทธิภาพ ง. กลุ่มวิชาโท 15 หน่ วยกิต กลุ่มวิชาโทที่สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จัดให้ นักศึกษา ต่ างสาขาวิชาเลือกเรี ยน CX104 เครื่ องมือเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Tools for Strategic Communication) ศึกษาก่ อน CX103 พืน้ ฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ หลักการ แนวคิด ทฤษฎี เ กี่ ยวกับเครื่ องมื อสื่ อสารเพื่ อ การสื่ อ สารเชิง กลยุท ธ์ ประเภทของ เครื่ องมือสื่อสารที่ใช้ ในการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา รวมทังสื ้ ่อใหม่ การบูรณาการเครื่ องมือสื่อสาร ที่เหมาะสมกับการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ทงในระดั ั้ บองค์กร และสินค้ าหรื อบริการ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
66
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CX105 ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา 3 (3-0-6) (Persuasive Theory for Advertising) แนวคิดและทฤษฎี การจูงใจโดยใช้ สื่อประเภทต่าง ๆ เพื่ องานโฆษณา องค์ประกอบเกี่ ยวกับ ทฤษฎีการจูงใจทังด้ ้ านจิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และเศรษฐศาสตร์ การนําทฤษฎีการจูงใจมา ใช้ ในการวางกลยุทธ์โฆษณา รวมทังสภาพแวดล้ ้ อมที่เกี่ยวข้ องกับการจูงใจอันส่งผลต่องานโฆษณา CX 106 กลยุทธ์ การโฆษณาผ่ านสื่อสมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Advertising Strategy in New Media) หลักการและกลยุทธ์ สําหรั บการโฆษณาผ่านสื่ อสมัยใหม่ ได้ แก่ อินเทอร์ เน็ต มัลติมีเดีย สื่ อ แวดล้ อม สื่อดิจิทลั และสื่ออื่น ๆ โดยการสร้ างสารและเลือกใช้ สื่อเพื่อใช้ ในการสื่อสารการตลาดอย่างมี ประสิทธิภาพ CX107 การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Special events for Strategic Communication) แนวคิด หลักการที่เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ รู ปแบบและเทคนิค การสร้ างสรรค์กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ และสอดคล้ องกับ กลุม่ เป้าหมาย กระบวนการและวิธีการดําเนินงานในการจัดกิจกรรมพิเศษ ฝึ กปฏิบติการจัดกิจกรรมพิเศษ เพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ CX 108 การสื่อสารรณรงค์ 3 (3-0-6) (Communication Campaign) แนวคิด หลักการเกี่ยวกับการสื่อสารรณรงค์เพื่อสร้ างการรับรู้และความเข้ าใจกับกลุ่มประชาชน เป้าหมาย เกี่ยวกับกิจกรรม โครงการ และ/หรื อองค์กร เพื่อมุ่งผลลัพธ์ ด้านชื่อเสียงและความสัมพันธ์ อนั ดี โดยมุ่งเน้ นการวางแผนการสื่อสารรณรงค์เชิงกลยุทธ์ ตังแต่ ้ การวิเคราะห์สถานการณ์เกี่ ยวกับองค์กรและ สภาพแวดล้ อม การกําหนดประเด็นรณรงค์ การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย การวางแผน กลยุทธ์ ทางการ สื่ อสาร การจัดกิ จกรรมการสื่ อสารรณรงค์ ตลอดจนการประเมินผลการสื่ อสารรณรงค์ ฝึ กปฏิ บัติก าร วางแผนและดําเนินงานสื่อสารรณรงค์หลักการและกลยุทธ์ สําหรั บการโฆษณาผ่านสื่ อสมัยใหม่ ได้ แก่ อินเทอร์ เน็ต มัลติมีเดีย สื่อแวดล้ อม สื่อดิจิทลั และสื่ออื่น ๆ โดยการสร้ างสารและเลือกใช้ สื่อเพื่อใช้ ในการ สื่อสารการตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
67
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CX 109 การสร้ างแบรนด์ 3 (3-0-6) (Branding) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับแบรนด์และการสร้ างแบรนด์ องค์ประกอบของแบรนด์ คุณค่าเชิง มูลค่าของแบรนด์ (Brand Equity) บทบาทและความสําคัญของการสื่อสารการตลาดกับการสร้ างแบรนด์ กรณีศกึ ษาเทคนิคการสื่อสารการตลาดเพื่อสร้ างแบรนด์ระดับภูมิภาคและแบรนด์ระดับโลก
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
68
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3.2 ชื่อ นามสกุล ตําแหน่ งและคุณวุฒขิ องอาจารย์ 3.2.1 อาจารย์ ประจําหลักสูตร ลําดับ
ตําแหน่ ง ทางวิชาการ
1
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
นายพิชยั นิรมานสกุล
2
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
นางสาวตระหนักจิต ยุตยรรยง
ชื่อ-นามสกุล
3
อาจารย์
นางสาวเบญจพร วุฒิพนั ธุ์
4
อาจารย์
นางสาวโศภชา เอี่ยมโอภาส
5
อาจารย์
นายนริ ส พิเชษฐพันธ์
6
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
นางสาววราภรณ์ ฉัตราติชาต
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
คุณวุฒิ
สาขาวิชา
นศ.ม. B.A. นศ.บ. Ph.D. นศ.ม. ว.บ. Ph.D.
นิเทศศาสตร์ พฒ ั นาการ Radio Broadcasting การประชาสัมพันธ์ Communication การสือ่ สารมวลชน การประชาสัมพันธ์ Public Communication
นศ.ม. ศ.บ. ปร.ด. นศ.ม. นศ.บ. นศ.ม. ศ.บ. Ph.D. M.B.
นิเทศศาสตร์ พฒ ั นาการ การสือ่ สารมวลชน สือ่ สารมวลชน วาทวิทยา การประชาสัมพันธ์ นิเทศศาสตร์ การตลาด การออกแบบนิเทศศิลป์ Political Communication Communication
นศ.บ.
การประชาสัมพันธ์
69
สําเร็จการศึกษาจากสถาบัน
ปี พ.ศ.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Friends University, USA มหาวิทยาลัยกรุงเทพ University of Queensland, Australia จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2539 2531 2528 2553 2542 2539
University of Technology Sydney, Australia จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล Bournemouth University, UK Queensland University of Technology, Australia จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2553 2541 2536 2557 2543 2538 2552 2538 2553 2541 2538
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ลําดับ
ตําแหน่ ง ทางวิชาการ
7
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
ชื่อ-นามสกุล นางรัตนาวดี ศิริทองถาวร
8
อาจารย์
นางสาวพิชญ์พธู ไวยโชติ
9
อาจารย์
นางสาวภัทรา แตงเที่ยง
10
อาจารย์
นางอัญชลี พิเชษฐพันธ์
11
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
นางสาวบุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์
12
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
นายกาลัญ วรพิทยุต
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
คุณวุฒิ นศ.ม. ศศ.บ. Ph.D. M.S.J. B.S. Ph.D. M.A. ว.บ. นศ.ด. นศ.ม. ศศ.บ. ปร.ด. นศ.ม. บธ.บ. M.F.A. นศ.บ.
สาขาวิชา การประชาสัมพันธ์ (นิเทศศาสตร์ พฒ ั นาการ) ศึกษาศาสตร์ Mass Communication
สําเร็จการศึกษาจากสถาบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2525
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ University of North Carolina of Chapel Hill, USA West Virginia University, USA Journalism Public Relations Indiana State University, USA Film, Media and Journalism University of Stirling, UK Mass Communication University of Leicester, UK การโฆษณา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การโฆษณา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การสือ่ สารมวลชน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สือ่ สารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การสือ่ สารมวลชน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การตลาด Illustration Academy of Arts College, USA การโฆษณา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
70
ปี พ.ศ.
2522 2556 2550 2548 2552 2538 2535 2554 2541 2538 2554 2547 2544 2539 2535
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3.2.2 ผลงานทางวิชาการและภาระการสอนของอาจารย์ ประจําหลักสูตร
ลําดับ 1.
2.
ตําแหน่ งทาง วิชาการ
ชื่อ-สกุล
ผู้ช่วย นายพิชยั นิรมานสกุล ศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นางสาวตระหนักจิต ยุตยรรยง (นิเทศศาสตร์ )
ผลงานทางวิชาการ (การค้ นคว้ าวิจัยหรือการแต่ ง ตํารา) ให้ เขียนในรูปแบบของบรรณานุกรม
ประสบการณ์ และการ ฝึ กอบรม การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรื่ อง การเขียน มคอ.3
ตระหนักจิต ยุตยรรยง. 2557. การสื่อสารในเครือข่ าย สังคมออนไลน์ ของการท่ องเที่ยวแห่ งประเทศไทย. กรุงเทพ. (ทุนสนับสนุนงานวิจยั ของมหาวิทยาลัย หอการค้ าไทย).
-หลักสูตร MINI MBA 2556 ม หอการค้ าไทย ศึกษาดูงานด้ านสือ่ และ ศิลปวัฒนธรรม สาธารณรัฐเกาหลี อบรมการจัดทํา มคอ 3
ภาระงานสอน (คาบ/ สัปดาห์ ที่มีใน ที่มีอยู่ หลักสูตรที่ แล้ ว จะเปิ ดใหม่ 12 12
12
12
-กรรมการสอบภายนอก วิทยานิพนธ์ ระดับ บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
71
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ลําดับ
ตําแหน่ งทาง วิชาการ
ชื่อ-สกุล
ผลงานทางวิชาการ (การค้ นคว้ าวิจัยหรือการแต่ ง ตํารา) ให้ เขียนในรูปแบบของบรรณานุกรม
ประสบการณ์ และการ ฝึ กอบรม -วิทยากรด้ านการสือ่ สาร สร้ างแบรนด์ กระทรวง อุตสาหกรรม
3 4 5 6
อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
นางสาวเบญจพร วุฒิพนั ธุ์ นางสาวโศภชา เอี่ยมโอภาส นายนริ ส พิเชษฐพันธ์ นางสาววราภรณ์ ฉัตราติชาต
1. CHATRATICHART, W. 2011. Do Political Leaders Matter? The Case of Young People and Thai Politics. aDResearch ESIC International Journal of Communication Research (Special Issue in Political Communication). Vol. 4 (July – December 2011). 2. วราภรณ์ ฉัตราติชาต. 2557. บทบาทของความคิด สร้ างสรรค์ในกิจกรรมพิเศษเพื่อการสือ่ สารแบรนด์. วารสารวิ ชาการมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ (ปี ที่ 22 ฉบับ 39).
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
72
ภาระงานสอน (คาบ/ สัปดาห์ ที่มีใน ที่มีอยู่ หลักสูตรที่ แล้ ว จะเปิ ดใหม่
12 12 12 การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรื่ องการเขียน มคอ.2 การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรื่ องการเขียน มคอ.3 การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร หลักสูตรโปรแกรม คอมพิวเตอร์ Advance 1 (รุ่นที่ 3)
12
12 6 12 12
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ลําดับ
ตําแหน่ งทาง วิชาการ
ชื่อ-สกุล
ผลงานทางวิชาการ (การค้ นคว้ าวิจัยหรือการแต่ ง ตํารา) ให้ เขียนในรูปแบบของบรรณานุกรม
ประสบการณ์ และการ ฝึ กอบรม
3. CHATRATICHART, W. 2014. Special Events as Communication Tool to Create Brand Experience: Thai Case Studies. Journal of WEI Business and Economics. Vol. 3 (April 2014). 7
8 9 10
11
ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ ) อาจารย์ อาจารย์ อาจารย์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
นางรัตนาวดี ศิริทองถาวร นางสาวพิชญ์พธู ไวยโชติ นางสาวภัทรา แตงเที่ยง นางอัญชลี พิเชษฐพันธ์
นางสาวบุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
อัญชลี พิเชษฐพันธ์. 2557. ผลของโฆษณาแฝง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่อกระบวนการตีความ สารสนเทศ การคิดขยายรายละเอียด และการ ตัดสินใจดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ของเยาวชนไทย. กรุงเทพ 1. บุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์. 2556. ความสัมพันธ์ ระหว่ างการเปิ ดรับข่ าวสารกับทัศนคติ และ พฤติกรรมการเล่ นการพนันของนิสติ นักศึกษาใน
73
ภาระงานสอน (คาบ/ สัปดาห์ ที่มีใน ที่มีอยู่ หลักสูตรที่ แล้ ว จะเปิ ดใหม่
การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรื่ อง การเขียน มคอ.2
3
3
การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรื่ อง การเขียน มคอ.3 หลักสูตร การเป็ น นักยุทธศาสตร์ การตลาด รุ่นที่ 10 (4-22 มีนาคม 2557) - กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ คณะสือ่ สารมวลชน
12
12
6
6
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ลําดับ
ตําแหน่ งทาง วิชาการ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
ชื่อ-สกุล
ผลงานทางวิชาการ (การค้ นคว้ าวิจัยหรือการแต่ ง ตํารา) ให้ เขียนในรูปแบบของบรรณานุกรม
ประสบการณ์ และการ ฝึ กอบรม
สถาบัน อุดมศึกษาทั่วประเทศ. กรุงเทพฯ : โครงการพัฒนาเครื อข่ายอาจารย์สอื่ สารมวลชนเพื่อ ขับเคลือ่ นสังคมลดปั ญหาการพนัน. 187 หน้ า 2.บุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์. 2557. ความสัมพันธ์ ระหว่ างการเปิ ดรับข่ าวสารกับ ทัศนคติ และพฤติกรรมการเล่ นการพนันของ นิสิตนักศึกษาในสถานบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .11 หน้ า 3.บุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์. (2557). การเล่ าเรื่องเกี่ยวกับ CSR. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย. 15 หน้ า 4.บุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์. 2556.เอกสาร ประกอบการสอนวิชา CA302 ทฤษฎีการ สื่อสารมวลชน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย หอการค้ าไทย. 147 หน้ า
มหาวิทยาลัยรามคําแหง - ผู้เชี่ยวชาญในโครงการวิจยั เรื่ อง “การพัฒนาตัวชี ้วัด ประสิทธิผลของโครงการ รณรงค์การสือ่ สารการตลาด เพื่อสังคม เพื่อลดพฤติกรรม เสีย่ งทางสุขภาพของเยาวชน ไทย” - ที่ปรึกษาด้ านการสือ่ สาร การตลาด โครงการวิจยั เรื่ อง การศึกษาอุปสงค์ อุปทาน และแผนการตลาดของ ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากดอก เก๊ กฮวยบนพื ้นที่สงู โครงการ หลวงสะโง๊ ะ
74
ภาระงานสอน (คาบ/ สัปดาห์ ที่มีใน ที่มีอยู่ หลักสูตรที่ แล้ ว จะเปิ ดใหม่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ลําดับ 12
ตําแหน่ งทาง วิชาการ ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
ชื่อ-สกุล
ผลงานทางวิชาการ (การค้ นคว้ าวิจัยหรือการแต่ ง ตํารา) ให้ เขียนในรูปแบบของบรรณานุกรม
นายกาลัญ วรพิทยุต
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
75
ประสบการณ์ และการ ฝึ กอบรม
ภาระงานสอน (คาบ/ สัปดาห์ ที่มีใน ที่มีอยู่ หลักสูตรที่ แล้ ว จะเปิ ดใหม่ 6 6
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3.2.3 อาจารย์ ประจํา
ลําดับ 1
ตําแหน่ ง ทางวิชาการ อาจารย์
ชื่อ-นามสกุล นางสาวจันทร์ ฉาย วิชญ์วโรทัย
2
รองศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
นางจันทิมา เขียวแก้ ว
3
อาจารย์
นางสาวจิรา กฤตยพงษ์
4
อาจารย์
5
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
นายดนัย หวังบุญชัย
คุณวุฒิ
สาขาวิชา
กศ.ม. นศ.บ. กศ.บ.
ภาษาไทย การโฆษณา ภาษาไทย Communication Library and Information Science รัฐศาสตร์ บรรณารักษศาสตร์ Communication Studies Communication Studies Technical Communication and Information Desigh การละคอน การหนังสือพิมพ์ การประชาสัมพันธ์ (โฆษณา) วิทยุโทรทัศน์ Integrated Marketing Communication การประชาสัมพันธ์
Ph.D. MLS ศศ.บ. ศศ.บ. Ph.D. MA MS ศศ.บ. นศ.ม. นศ.บ. นศ.บ. M.A.
นางสาวมานา คุณธาราภรณ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
ว.บ.
76
สําเร็จการศึกษาจากสถาบัน
ปี พ.ศ.
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร University of the Philippines, Philippines University of the Philippines, Philippines
2526 2533 2522 2538 2527
มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Ohio University, USA Ohio University, USA Illinois Institute of Technology, USA
2531 2521 2555 2551 2541
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช Emerson College, USA
2537 2535 2530 2529 2547
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2543
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ลําดับ
ตําแหน่ ง ทางวิชาการ
ชื่อ-นามสกุล
6
อาจารย์
นางสาวพิชญ์พธู ไวยโชติ
7
อาจารย์
นางสาวพัชรี พรหมคช
8
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (นิเทศศาสตร์ )
คุณวุฒิ Ph.D.
Mass Communication
M.S.J. B.S. ค.ม. นศ.บ.
Journalism Public Relations เทคโนโลยีการศึกษา การประชาสัมพันธ์ Communication นิเทศศาสตร์ พฒ ั นาการ การหนังสือพิมพ์ นิเทศศาสตร์ นิเทศศาสตร์ พฒ ั นาการ การหนังสือพิมพ์ International Studies
นางรุ่งรัตน์ ชัยสําเร็จ
Ph.D. นศ.ม. นศ.บ.
9
อาจารย์
นางสาวสุจิตรา เปลีย่ นรุ่ง
นศ.ด. นศ.ม. นศ.บ.
10
อาจารย์
นายโสภาค พาณิชพาพิบลู
M.A. ร.บ.
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
สาขาวิชา
77
สําเร็จการศึกษาจากสถาบัน
ปี พ.ศ.
University of North Carolina of Chapel Hill, USA West Virginia University, USA Indiana State University, USA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย University of Kentucky, USA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย University of Leeds, UK จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2556 2550 2548 2538 2525 2549 2529 2527 2553 2540 2538 2545 2543
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ลําดับ 1
3.2.4 อาจารย์ พเิ ศษ ตําแหน่ งวิชาการ อาจารย์
ชื่อ-สกุล นายกิ่งรัก อิงคะวัต
คุณวุฒิ นศ.ม. 2สถ.บ.
สาขาวิชา การโฆษณา ศิลปอุตสาหกรรม วางแผนและนโยบายการ สือ่ สาร การประชาสัมพันธ์ Communication Arts บริ หารธุรกิจ ศิลปศึกษา
2
อาจารย์
นางสาวแจคเกอร์ ลนี เมอร์ คาเดอร์
ว.ม. นศ.บ.
3
อาจารย์
นายนคริ นทร์ ชานะมัย
M.A. M.B.A. ค.บ.
4
อาจารย์
นางสาวมนฤดี ธาดาอํานวยชัย
5
อาจารย์
นางสาวเพ็ญจมาส ศิริกิจวัฒนา
6
อาจารย์
นายวีรชน วีรวรวิทย์
นศ.ด. ว.ม. นศ.ม. บธ.บ. นศ.ม. ศษ.บ. M.A นศ.บ.
อาจารย์
นางสาวอรสุรางค์ นามศิริ
7
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
M.M.D. ศศ.บ.
78
นิเทศศาสตร์ สือ่ สารมวลชน สือ่ สารมวลชน การตลาด นิเทศศาสตร์ พฒ ั นาการ เทคโนโลยีการศึกษา Advertising Design การโฆษณาและ ประชาสัมพันธ์ Multimedia Design ภาษาอังกฤษ
สําเร็จการศึกษาจากสถาบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า ลาดกระบัง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย New York Institute of Technology, USA สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร Academy of Art University, USA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย The University of Sydney, Australia สถาบันราชภัฏจันทรเกษม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
4. องค์ ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ ภาคสนาม (ประสบการณ์ วิชาชีพ และสหกิจศึกษา) หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ กําหนดให้ นกั ศึกษามี ประสบการณ์ ภาคสนามโดยเลือกแนวทางใดแนวทางหนึ่งระหว่างรายวิชาประสบการณ์ วิชาชี พหรื อ สหกิจศึกษา ดังนี ้ 4.1 องค์ ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ ภาคสนาม (รายวิชา ประสบการณ์ วิชาชีพ) 4.1.1 มาตรฐานผลการเรี ยนรู้ ของประสบการณ์ ภาคสนาม (รายวิชา ประสบการณ์ วิชาชีพ) 4.1.1.1 มี ค วามรู้ และทัก ษะการทํ า งานในส่ ว นงานด้ า นการสื่ อ สารเชิ ง กลยุ ท ธ์ ที่ สอดคล้ องกับกลุ่ม วิช าเอกของนักศึกษา อาทิ การประชาสัมพันธ์ การโฆษณา การ สื่อสารการตลาด และการสร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ 4.1.1.2 มี ทักษะการปฏิ บตั ิงานด้ านการสื่ อสารเชิงกลยุทธ์ ที่ต้องมี การฝึ กเฉพาะทาง เช่น การประชาสัม พันธ์ การสื่ อสารองค์ กร การโฆษณา การสื่ อสารการตลาด การ สร้ างสรรค์และออกแบบ 4.1.1.3 มีพฒ ั นาการด้ านต่าง ๆ ดังนี ้ • ด้ า นทัศ นคติ มี ทัศ นคติ ที่ ดี ต่อ ตนเอง ต่อ การทํ า งาน ต่อ เพื่ อ นร่ ว มงาน ต่อ ผู้บงั คับบัญชา ต่อองค์กร และต่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียขององค์กร ซึ่งจะนํ าไปสู่ ความตังใจในการปฏิ ้ บตั ิหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมายให้ มีประสิทธิภาพและเกิดการ เรี ยนรู้ • ด้ านคุณ ธรรม จริ ยธรรม มี คุณ ธรรมและจริ ยธรรม มี ความซื่ อสัตย์ สุจ ริ ต ต่อ ตนเองและผู้อื่น ต่อหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมาย ต่อผู้บงั คับบัญชา และต่อองค์กรที่ ไปฝึ กงาน โดยปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบขององค์กรอย่างเคร่งครัด • ด้ านบุคลิกภาพ เป็ นผู้ท่ีแต่งกายสุภาพเรี ยบร้ อย เหมาะสมกับการปฏิบตั ิงานใน หน้ าที่ มี กิริยามารยาทเหมาะสม มี ม นุษยสัม พันธ์ ดี มี สัม มาคารวะ มี ความ รับผิดชอบ และมีความคิดสร้ างสรรค์ในงานที่ทํา 4.1.2 ช่ วงเวลา ภาคปลาย ชันปี ้ ที่ 4 ระยะเวลารวม 12 สัปดาห์ หรื อไม่น้อยกว่า 400 ชัว่ โมง 4.1.2 จํานวนหน่ วยกิต 3 หน่วยกิต 4.1.3 การจัดเวลาและตารางสอน วันเวลาในการฝึ กปฏิบตั งิ านรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพ ให้ เป็ นไปตามที่ สถานประกอบการกําหนด หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
79
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
4.1.4 การเตรี ยมการ มี กระบวนการเตรี ยมการ ให้ คําแนะนํ าและช่วยเหลื อทางวิ ช าการแก่ นักศึกษา เช่น การเลือกสถานที่ฝึกปฏิบตั ิงาน การแนะนําแหล่งข้ อมูล การจัดตารางเวลาเข้ าพบ/ให้ คํ าปรึ กษา การจัดปฐมนิ เ ทศและเตรี ยมความพร้ อมแก่ นักศึกษาก่ อนไปฝึ กงานจริ ง อย่างน้ อย 1 สัปดาห์ 4.1.5 กระบวนการประเมินผล มีกระบวนการประเมินผลงานการฝึ กปฏิบตั งิ านรายวิชาประสบการณ์วิชาชีพ ดังนี ้ • การนิเทศการฝึ กปฏิบตั งิ านของนักศึกษา ณ สถานประกอบการ โดยอาจารย์ที่ปรึ กษา การฝึ กงาน ไม่น้อยกว่า 1 ครัง้ และการประเมินการปฏิบตั งิ านเมื่อสิ ้นสุดการฝึ กงาน โดย หัวหน้ าหน่วยงาน/พนักงานที่ปรึกษา • การเสนอบัน ทึ กการปฏิ บัติง านประจํ า วัน ซึ่ง ได้ รับการลงนามรั บรองโดยหัว หน้ า หน่วยงาน/พนักงานที่ปรึกษา ต่ออาจารย์ที่ปรึกษาการฝึ กงาน ทุก 2 สัปดาห์ • การประเมินความก้ าวหน้ าในการจัดทํารายงานการฝึ กงาน โดยให้ นกั ศึกษาส่ง โครง ร่ างรายงานครัง้ ที่ 1 เมื่อไปฝึ กงานแล้ ว 1 เดือน และมีการประเมินคุณภาพของรายงาน ฉบับสมบูรณ์ ภายหลังเสร็ จสิ ้นการฝึ กงานไม่เกิน 2 สัปดาห์ โดยอาจารย์ที่ปรึ กษาการ ฝึ กงาน ทังนี ้ ้ หลังจากเสร็ จสิ ้นการฝึ กงานแล้ ว นักศึกษาจะต้ องเข้ าร่ วมการสัมมนา เกี่ยวกับประสบการณ์ที่ได้ รับจากการฝึ กงาน 1 ครัง้ และนําเสนอผลสรุ ปจากการสัมมนา กลุ่มย่อย ทังในรู ้ ปแบบปากเปล่าและเล่มรายงาน ต่อคณาจารย์ประจําสาขาวิชาการ สื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 4.2 องค์ ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ ภาคสนาม (สหกิจศึกษา) 4.2.1 มาตรฐานผลการเรี ยนรู้ ของประสบการณ์ ภาคสนาม (สหกิจศึกษา) 4.2.1.1 มี ความรู้ และทักษะด้ านการทํ างาน ในส่วนงานด้ านการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ ที่ สอดคล้ องกั บ กลุ่ ม วิ ช าเอกของนั ก ศึ ก ษา อาทิ การประชาสั ม พั น ธ์ การโฆษณา การสื่อสารการตลาด และการสร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ 4.2.1.2 มี ทักษะการปฏิ บตั ิง านด้ านการสื่ อสารเชิงกลยุทธ์ ที่ต้องมี การฝึ กเฉพาะทาง เช่น การประชาสัมพันธ์ การสื่ อสารองค์กร การโฆษณา การสื่อสารการตลาด การ สร้ างสรรค์และออกแบบสื่อ เป็ นต้ น 4.2.1.3 มีพฒ ั นาการด้ านต่าง ๆ ดังนี ้ • ด้ า นทัศ นคติ มี ทัศ นคติ ที่ ดี ต่อ ตนเอง ต่อ การทํ า งาน ต่อ เพื่ อ นร่ ว มงาน ต่อ ผู้บงั คับบัญชา ต่อองค์กร และต่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียขององค์กร ซึ่งจะนําไปสู่ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
80
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ความตังใจในการปฏิ ้ บตั ิหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมายให้ มีประสิทธิภาพและเกิดการ เรี ยนรู้ • ด้ านคุณ ธรรม จริ ยธรรม มี คุณ ธรรมและจริ ยธรรม มี ความซื่ อสัตย์ สุจ ริ ต ต่อ ตนเองและผู้อื่น ต่อหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมาย ต่อผู้บงั คับบัญชา และต่อองค์กรที่ ไปฝึ กงาน โดยปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบขององค์กรอย่างเคร่งครัด • ด้ านบุคลิกภาพ เป็ นผู้ที่แต่งกายสุภาพเรี ยบร้ อย เหมาะสมกับการปฏิบตั งิ านใน หน้ าที่ มี กิริยามารยาทเหมาะสม มี มนุษยสัมพันธ์ ดี มี สัมมาคารวะ มีความ รับผิดชอบ และมีความคิดสร้ างสรรค์ในงานที่ทํา 4.2.2 ช่ วงเวลา ภาคปลาย ชันปี ้ ที่ 4 ระยะเวลาหนึง่ ภาคการศึกษาปกติ 4.2.3 จํานวนหน่ วยกิต 6 หน่วยกิต 4.2.4 การจัดเวลาและตารางสอน วันเวลาในการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา ให้ เป็ นไปตามที่สถานประกอบการกําหนด 4.2.5 การเตรี ยมการ มีกระบวนการเตรี ยมการ ให้ คําแนะนําและช่วยเหลือทางวิชาการแก่นกั ศึกษา เช่น การ เลื อ กสถานที่ ป ฏิ บัติ ง าน การเลื อ กหัว ข้ อ รายงาน การแนะนํ า แหล่ ง ข้ อ มู ล การจัด ตารางเวลาเข้ าพบ/ให้ คําปรึ กษา และนักศึกษาต้ องเข้ ารับการอบรมเตรี ยมความพร้ อม ก่อนไปฝึ กงานจริ งจากส่วนกลาง และการอบรมหัวข้ อเฉพาะคณะ/สาขาวิชาอย่างน้ อย 2 สัปดาห์ 4.2.6 กระบวนการประเมินผล มีกระบวนการประเมินผลการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา ดังนี ้ • การนิเทศการปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษาของนักศึกษา ณ สถานประกอบการ โดยอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาสหกิ จ ศึก ษา จํ า นวน 2 ครั ง้ และการประเมิ น การปฏิ บัติ ง าน โดยหัว หน้ า หน่วยงาน/พนักงานที่ปรึกษา • การประเมินความก้ าวหน้ าในการจัดทํารายงาน โดยให้ นกั ศึกษาส่งร่างรายงานครัง้ ที่ 1 เมื่ อไปฝึ กงานแล้ ว 1 เดือน และการประเมินคุณภาพของรายงานหรื อผลงาน โดย หัวหน้ าหน่วยงาน/พนักงานที่ปรึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจศึกษา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
81
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ทังนี ้ ้ หลังจากเสร็ จสิ ้นการปฏิบตั ิงาน นักศึกษาจะต้ องเข้ าร่ วมการสัมมนาสหกิจศึกษา เพื่ อจัดนิ ท รรศการและนํ าเสนอผลงานการปฏิ บัติง านต่อคณาจารย์ ผ้ ูควบคุม สหกิ จ ศึกษาประจําคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 5. ข้ อกําหนดเกี่ยวกับการทําโครงงานหรื องานวิจัย (ถ้ ามี) การกํ าหนดให้ นกั ศึกษาจัดทําโครงงานใช้ เฉพาะกรณี ที่สาขาวิชาได้ พิจารณาคุณสมบัติของ นักศึกษาคนใดคนหนึ่ง แล้ วเห็ นว่า เหมาะสมในการจัดทํ าโครงงานเกี่ ยวกับการสื่ อสารเชิงกลยุทธ์ โดยอาจเป็ นด้ า นการประชาสัม พัน ธ์ การโฆษณา การสื่ อ สารการตลาด หรื อ การสร้ างสรรค์ และ ออกแบบสื่ อ แทนการออกฝึ กงานในหน่วยงานภายนอกตามรายวิชาประสบการณ์ วิชาชีพหรื อตาม แผนสหกิจศึกษา 5.1 คําอธิบายโดยย่ อ การจัดทําโครงงานเรื่ องใด ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับกลุ่มวิชาเอกในสาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์นนั ้ นักศึกษาต้ องเขียนโครงการและวางแผนการดําเนินงาน นําเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึ กษาเพื่อให้ สาขาวิชา ให้ ความเห็นชอบ จากนันต้ ้ องดําเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงานตามขันตอนต่ ้ าง ๆ ที่กําหนด โดย อยู่ภายใต้ การกํ ากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน และในขันตอนสุ ้ ดท้ ายคือ นําเสนอผลงานที่ แล้ วเสร็ จสมบูรณ์ทงในรู ั ้ ปชิ ้นงานและ/หรื อเล่มรายงาน พร้ อมนําเสนอปากเปล่าต่อคณาจารย์ผ้ คู วบคุม โครงงานประจําสาขาวิชา ภายในระยะเวลาที่กําหนด 5.2 มาตรฐานผลการเรี ยนรู้ 5.2.1 มีความรู้และทักษะด้ านการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ ตามกลุม่ วิชาเอกที่ศกึ ษา 5.2.2 มีทกั ษะการทํางานด้ านการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ที่ต้องมีการฝึ กเฉพาะทาง เช่น การประชาสัมพันธ์ การสื่อสารองค์กร การโฆษณา การสื่อสารการตลาด การสร้ างสรรค์และ ออกแบบสื่อ เป็ นต้ น 5.2.3 มีการพัฒนาด้ านทัศนคติ คุณธรรม จริ ยธรรม บุคลิกภาพ ฯลฯ 5.3 ช่ วงเวลา ภาคปลาย ชันปี ้ ที่ 4 ระยะเวลารวมหนึง่ ภาคการศึกษา 5.4 จํานวนหน่ วยกิต 3 หน่วยกิต 5.5 การเตรี ยมการ มีกระบวนการเตรี ยมการ ให้ คําแนะนําและช่วยเหลือทางวิชาการแก่นกั ศึกษา เช่น การเลือก หัว ข้ อ ในการจัด ทํ า โครงงาน การเขี ย นร่ า งโครงการเพื่ อ นํ า เสนอ การแนะนํ า แหล่ง ข้ อ มูล การจัด ตารางเวลาเข้ าพบ/ให้ คําปรึกษา ก่อนกําหนดการลงทะเบียนเรี ยน อย่างน้ อย 2 สัปดาห์ 5.6 กระบวนการประเมินผล มีกระบวนการประเมินผลงานการทําโครงงานของนักศึกษาตามลําดับขันตอน ้ ดังนี ้ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
82
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
• การประเมินร่างโครงการที่นําเสนอเพื่อขอรับความเห็นชอบจากสาขาวิชาก่อน การลงทะเบียน • การประเมิ น ความก้ า วหน้ า ในการดํ า เนิ น โครงงาน โดยนัก ศึก ษาต้ อ งเสนอรายงาน ความก้ าวหน้ าต่ออาจารย์ที่ปรึกษา ครัง้ ที่ 1 เมื่อดําเนินโครงงานแล้ ว 4 สัปดาห์ และครัง้ ที่ 2 เมื่อดําเนินโครงงานแล้ ว 8 สัปดาห์ • การประเมินคุณภาพของผลงาน นักศึกษาต้ องนําเสนอผลงานที่แล้ วเสร็ จสมบูรณ์ทงใน ั้ รู ป ชิ น้ งาน และ/หรื อ เล่ ม รายงาน พร้ อมนํ า เสนอปากเปล่ า เพื่ อ รั บ การประเมิ น โดย อาจารย์ที่ปรึกษาและคณาจารย์ผ้ คู วบคุมโครงงานประจําสาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
83
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์ การสอน และการประเมินผล 1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา คุณลักษณะพิเศษ (1) ทางกาย ก. แต่งกายเหมาะสมกับการปฏิบตั งิ าน ข. มีบคุ ลิกภาพของนักธุรกิจ และการ เคลื่อนไหวที่ คล่องแคล่ว สง่างาม น่าประทับใจ (2) ทางวาจา ก. มีวาจาสุภาพ และรู้จกั กาลเทศะใน การพูด ข. มีทกั ษะในการพูดเพื่อนําเสนองาน (3) ทางใจ ก. มีความภาคภูมิใจในอาชีพนักนิเทศศาสตร์ ข. มีจิตสํานึกรับใช้ สงั คม ค. มีความเข้ าใจตนเอง และเข้ าใจความ แตกต่างระหว่างบุคคล ระหว่างวิชาชีพ ระหว่างสถานภาพ และรู้จกั ให้ อภัย ง. มีจริ ยธรรมทางวิชาชีพและความ รับผิดชอบต่อส่วนรวม (4) คุณลักษณะพิเศษอื่น ก. มีความรู้พื ้นฐานด้ านธุรกิจ การค้ า การบัญชี และศาสตร์ อื่น ๆ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
84
กลยุทธ์ หรื อกิจกรรมของนักศึกษา - ฝึ กการแสดงออกในชันเรี ้ ยน - ฝึ กการแสดงบทบาทในชันเรี ้ ยน - ฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารในกิจกรรมเสริ มหลักสูตร - ฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารในหลักสูตรอบรมพิเศษ เพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการประกอบอาชีพ - ฝึ กพูดในชันเรี ้ ยน - ฝึ กการนําเสนองานในชันเรี ้ ยน - ฝึ กอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารในหลักสูตรอบรมพิเศษ เพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการประกอบอาชีพ - สอดแทรกในการสอนรายวิชา - เชิญผู้ประสบความสําเร็ จ/มีชื่อเสียงทางวิชาชีพ มาเป็ นวิทยากรบรรยายพิเศษให้ ฟัง
- ศึกษารายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป - ศึกษารายวิชาในกลุม่ วิชาโทต่างคณะ
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2. การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ ในแต่ ละด้ าน 2.1 คุณธรรม จริ ยธรรม 2.1.1 ผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.1.1.1 มีคณ ุ ธรรมและจริ ยธรรมต่อการทํางานและต่อผู้อื่น อาทิ มีวินยั มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สจุ ริ ต มีจิตสาธารณะ อดทน และเข้ าใจมนุษย์ 2.1.1.2 มีทศั นคติที่ดีและความภาคภูมิใจในวิชาชีพ 2.1.1.3. มีความรับผิดชอบต่อสังคม และปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพให้ สอดคล้ อง กับลักษณะของธุรกิจหรื อองค์กร 2.1.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ พัฒนาการเรี ยนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.1.2.1. กําหนดให้ มีรายวิชาที่สอนจริ ยธรรมและจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้ องกับวิชาชีพ นิเทศศาสตร์ 2.1.2.2. สอดแทรกคุณธรรมและจริ ยธรรมในการเรี ยนการสอนของรายวิชาต่าง ๆ 2.1.2.3. สอนโดยใช้ กรณีศกึ ษา การอภิปรายร่วมกัน หรื อการวิเคราะห์ตนเองและ ผู้อื่น 2.1.2.4. อาจารย์ผ้ สู อนเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่นกั ศึกษา 2.1.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.1.3.1. พิจารณาจากผลการสอบในรายวิชาที่สอนจริ ยธรรมและจรรยาบรรณ 2.1.3.2. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในชันเรี ้ ยน 2.1.3.3. พิจารณาจากผลการประเมินอาจารย์โดยนักศึกษา 2.2 ความรู้ 2.2.1 ผลการเรี ยนรู้ ด้านความรู้ 2.2.1.1 มีความรู้ด้านนิเทศศาสตร์ แบบหลอมรวมและสร้ างสรรค์ 2.2.1.2 มีความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ โดยเฉพาะการประชาสัมพันธ์ การโฆษณา การสื่อสารการตลาด และการสร้ างสรรค์และออกแบบสื่ อ ทัง้ ในทางทฤษฎีและปฏิบตั อิ ย่างกว้ างขวาง เป็ นระบบ และทันสมัย 2.2.1.3 มีความรู้อนั เกิดจากการบูรณาการศาสตร์ ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับนิเทศศาสตร์ 2.2.1.4 มีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิจยั เพื่อแก้ ไขปั ญหาและเสริ มความรู้ในวิชาชีพ นิเทศศาสตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
85
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2.2.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ พัฒนาการเรี ยนรู้ ด้านความรู้ 2.2.2.1. มีการจัดทําประมวลรายวิชาไว้ ก่อนเริ่ มการเรี ยนการสอน 2.2.2.2. สอนโดยใช้ กรณีศกึ ษาที่ทนั สมัย และสอดคล้ องกับเนื ้อหาความรู้ที่สอน 2.2.2.3. เชิญนักวิชาชีพด้ านการสื่อสารเชิงกลยุทธ์มาเป็ นวิทยากรพิเศษหรื ออาจารย์ พิเศษ 2.2.2.4. ทบทวนเนื ้อหาสําคัญของวิชาที่นกั ศึกษาได้ เรี ยนมาแล้ ว และเชื่อมโยงกับ เนื ้อหาของวิชาที่กําลังเรี ยนอยู่ 2.2.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรี ยนรู้ ด้านความรู้ 2.2.3.1. แจกประมวลรายวิชาให้ นกั ศึกษาก่อนการเรี ยนการสอน 2.2.3.2. พิจารณาจากผลงานของนักศึกษา 2.2.3.3. พิจารณาจากผลการสอบของนักศึกษา 2.2.3.4. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในชันเรี ้ ยน 2.3 ทักษะทางปั ญญา 2.3.1 ผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปั ญญา 2.3.1.1 สามารถเข้ าใจแนวความคิดเกี่ยวกับนิเทศศาสตร์ โดยเน้ นหนักด้ านนวัตกรรม สื่อสารมวลชน และ/หรื อ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 2.3.1.2 สามารถวิเคราะห์ข้อมูลหรื อสถานการณ์ รวมทังสามารถวางแผนงานหรื ้ อแก้ ไข ปั ญหาได้ 2.3.1.3 สามารถประยุกต์ความรู้ในทางทฤษฎีไปใช้ ในทางปฏิบตั ไิ ด้ รวมทังสามารถ ้ ประยุกต์ความรู้ในทางทฤษฎีและปฏิบตั ไิ ปใช้ ในการฝึ กประสบการณ์ ภาคสนามหรื อสถานการณ์จริ ง 2.3.1.4 สามารถประยุกต์แนวคิดใหม่หรื อเทคโนโลยีใหม่จากศาสตร์ ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง มาใช้ ในการเรี ยนรู้ หรื อพัฒนาทักษะการทํางาน 2.3.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ พัฒนาการเรี ยนรู้ ด้านทักษะทางปั ญญา 2.3.2.1. สอนให้ นกั ศึกษาสรุ ปประเด็นจากเนื ้อหาที่ได้ บรรยายไป 2.3.2.2. สอนโดยใช้ กรณีศกึ ษา หรื อการอภิปรายร่วมกัน 2.3.2.3. ให้ นกั ศึกษาฝึ กปฏิบตั ทิ งแบบเดี ั้ ่ยวและกลุม่ 2.3.2.4. มอบหมายโครงการให้ นกั ศึกษาได้ วางแผนหรื อทําวิจยั 2.3.2.5. ให้ นกั ศึกษาฝึ กงานตามหน่วยงานต่าง ๆ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
86
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2.3.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะทางปั ญญา 2.3.3.1. พิจารณาจากผลการสอบ 2.3.3.2. พิจารณาจากผลงานของนักศึกษาทังงานเดี ้ ่ยวและงานกลุม่ 2.3.3.3. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในชันเรี ้ ยน 2.3.3.4. พิจารณาจากผลการประเมินการฝึ กงานของหน่วยงานที่นกั ศึกษาเข้ าฝึ กงาน 2.4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ 2.4.1 ผลการเรี ยนรู้ ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรั บผิดชอบ 2.4.1.1 สามารถรับผิดชอบงานที่ได้ รับมอบหมายตามหน้ าที่และบทบาทของตน ได้ อย่างเหมาะสม 2.4.1.2 สามารถแก้ ไขปั ญหาของตนเองและกลุม่ อย่างสร้ างสรรค์ 2.4.1.3 สามารถพัฒนาตนเองและวิชาชีพให้ ทนั สถานการณ์อยูเ่ สมอ 2.4.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ พัฒนาการเรี ยนรู้ ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความรั บผิดชอบ 2.4.2.1. มอบหมายงานให้ นกั ศึกษาทํางานเป็ นกลุม่ 2.4.2.2. สอนให้ นกั ศึกษาแบ่งหน้ าที่ความรับผิดชอบภายในกลุม่ 2.4.2.3. ฝึ กให้ นกั ศึกษาแก้ ไขปั ญหาความขัดแย้ งระหว่างตนเองและกลุม่ และ ระหว่างสมาชิกภายในกลุม่ 2.4.2.4. ให้ นกั ศึกษาฝึ กงานตามหน่วยงานต่าง ๆ 2.4.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและ ความรั บผิดชอบ 2.4.3.1. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในชันเรี ้ ยน 2.4.3.2. พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง และประเมินซึง่ กันและกัน 2.4.3.3. พิจารณาจากผลการประเมินการฝึ กงานของหน่วยงานที่นกั ศึกษาเข้ าฝึ กงาน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
87
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2.5 ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 ผลการเรียนรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1.1 สามารถใช้ ทกั ษะการสื่อสาร ทังการฟั ้ ง การพูด การอ่าน และการเขียน อย่างมีประสิทธิภาพ 2.5.1.2 สามารถสรุปประเด็นและเลือกรู ปแบบการนําเสนอที่เหมาะสมกับเนื ้อหาและ ผู้รับสารที่แตกต่างกันได้ 2.5.1.3 สามารถสื่อสารโดยใช้ ภาษาอังกฤษได้ อย่างเหมาะสม 2.5.1.4 สามารถเลือกใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศให้ เหมาะสมกับวิชาชีพ ้ ้นฐานทางคณิตศาสตร์ ในการคํานวณและสถิตใิ นการ 2.5.1.5 สามารถใช้ เทคนิคขันพื วิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมาย 2.5.2 กลยุทธ์ การสอนที่ใช้ พัฒนาการเรี ยนรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การ สื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.2.1. ให้ นกั ศึกษาฝึ กพูดหน้ าชันเรี ้ ยนและนําเสนอผลงาน สรุปประเด็นจากการฟั ง และการอ่าน รวมทังฝึ ้ กวิธีการเขียนที่หลากหลาย 2.5.2.2. ให้ เจ้ าของภาษาเป็ นผู้สอนในรายวิชาภาษาอังกฤษ รวมทังการสอนโดย ้ การจําลองสถานการณ์จริ งในการสื่อสารกับชาวต่างชาติ 2.5.2.3. ให้ นกั ศึกษาฝึ กเก็บข้ อมูลและประมวลผลข้ อมูลโดยใช้ โปรแกรมสําเร็ จรู ป 2.5.2.4. ฝึ กแก้ ปัญหาหรื อโจทย์ที่จําเป็ นต้ องใช้ ความรู้เบื ้องต้ นทางคณิตศาสตร์ หรื อ สถิติ 2.5.3 กลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.3.1. พิจารณาจากผลงานของนักศึกษาทังงานเดี ้ ่ยวและงานกลุม่ 2.5.3.2. พิจารณาจากผลการประเมินทักษะภาษาอังกฤษจากอาจารย์เจ้ าของภาษา 2.5.3.3. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในชันเรี ้ ยน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
88
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3. แผนที่แสดงการกระจายความรั บผิดชอบมาตรฐานผลการเรี ยนรู้ จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ผลการเรี ยนรู้ ในตารางมีความหมายดังนี ้ คุณธรรม จริยธรรม (1) มีคณ ุ ธรรมและจริ ยธรรมต่อการทํางานและต่อผู้อื่น อาทิ มีวินยั มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สจุ ริ ต มีจิตสาธารณะ อดทน และเข้ าใจมนุษย์ (2) มีทศั นคติที่ดีและความภาคภูมิใจในวิชาชีพ (3) มีความรับผิดชอบต่อสังคม และปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณวิชาชีพให้ สอดคล้ อง กับลักษณะของธุรกิจหรื อองค์กร ความรู้ (1) มีความรู้ ด้านนิเทศศาสตร์ แบบหลอมรวมและสร้ างสรรค์ (2) ความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ โดยเฉพาะการประชาสัมพันธ์ การโฆษณา และการ สื่อสารการตลาด และการสร้ างสรรค์และออกแบบสื่อ ทังในทางทฤษฎี ้ และปฏิบตั ิอย่าง กว้ างขวาง เป็ นระบบ และทันสมัย (3) มีความรู้ อนั เกิดจากการบูรณาการศาสตร์ ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับนิเทศศาสตร์ (4) มีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการวิจยั เพื่อแก้ ไขปั ญหาและเสริ มความรู้ในวิชาชีพ นิเทศศาสตร์ ทักษะทางปั ญญา (1) สามารถเข้ าใจแนวความคิดเกี่ยวกับนิเทศศาสตร์ โดยเน้ นหนักด้ านนวัตกรรม สื่อสารมวลชน และ/หรื อ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (2) สามารถวิเคราะห์ข้อมูลหรื อสถานการณ์ รวมทังสามารถวางแผนงานหรื ้ อแก้ ไข ปั ญหาได้ (3) สามารถประยุกต์ความรู้ในทางทฤษฎีไปใช้ ในทางปฏิบตั ไิ ด้ รวมทังสามารถ ้ ประยุกต์ความรู้ในทางทฤษฎีและปฏิบตั ไิ ปใช้ ในการฝึ กประสบการณ์ ภาคสนามหรื อสถานการณ์จริ ง (4) สามารถประยุกต์แนวคิดใหม่หรื อเทคโนโลยีใหม่จากศาสตร์ ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง มาใช้ ในการเรี ยนรู้หรื อพัฒนาทักษะการทํางาน ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรั บผิดชอบ (1) สามารถรับผิดชอบงานที่ได้ รับมอบหมายตามหน้ าที่และบทบาทของตน ได้ อย่างเหมาะสม (2) สามารถแก้ ไขปั ญหาของตนเองและกลุม่ อย่างสร้ างสรรค์ (3) สามารถพัฒนาตนเองและวิชาชีพให้ ทนั สถานการณ์อยูเ่ สมอ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
89
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) สามารถใช้ ทกั ษะการสื่อสาร ทังการฟั ้ ง การพูด การอ่าน และการเขียน อย่างมีประสิทธิภาพ (2) สามารถสรุ ปประเด็นและเลือกรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสมกับเนื ้อหาและ ผู้รับสารที่แตกต่างกันได้ (3) สามารถสื่อสารโดยใช้ ภาษาอังกฤษได้ อย่างเหมาะสม (4) สามารถเลือกใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศให้ เหมาะสมกับวิชาชีพ (5) สามารถใช้ เทคนิคขันพื ้ ้นฐานทางคณิตศาสตร์ ในการคํานวณและสถิตใิ นการวิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมาย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
90
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
แผนที่แสดงการกระจายความรั บผิดชอบมาตรฐานผลการเรี ยนรู้ จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ความรั บผิดชอบหลัก
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1
2
ความรั บผิดชอบรอง
ความรู้
3
1
2
ทักษะทางปั ญญา
3
4
1
2
3
4
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รับผิดชอบ
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
1
3
1
2
2
3
4
5
กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ BA 961 หลักการตลาด
EC 961 เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น
LW 961 กฎหมาย การเมือง และการปกครองของไทย
CA 106 หลักนิเทศศาสตร์
CA 108 พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
CA 109 พัฒนาทักษะการอ่าน
CA 110 พัฒนาทักษะการเขียน
CA 111 พื ้นฐานการสือ่ สารมวลชนและสือ่ ใหม่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
91
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1
2
CA 202 วาทนิเทศ
CA 205 ศิลปะการสือ่ สารผ่านภาพและเสียง
CA 206 หลักการสือ่ ข่าวและเขียนข่าว
CA 303 ภาษาอังกฤษสําหรับงานนิเทศศาสตร์
ความรู้
3
1
2
3
4
1
2
CA 305 การจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศศาสตร์
CA 306 กฎหมายและจริยธรรมนิเทศศาสตร์
4
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
1
1
2
2
3
CA 304 การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์
3
ทักษะทางปั ญญา
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รับผิดชอบ
3
5
4
กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา CS 001 ความคิดสร้ างสรรค์เพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
CS 002 เครื่ องมือเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
CS 003 การวิจยั เพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
92
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา
ความรู้
3
CS 101 การสือ่ สารองค์กร
CS 102 การประชาสัมพันธ์การตลาด CS 103 การออกแบบสารและการเขียนเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 1 CS 104 การออกแบบสารและการเขียนเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 2
CS 105 การออกแบบและผลิตสือ่ เพื่อการประชาสัมพันธ์ CS 106 การวางแผนและบริ หารงานประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์
CS 107 สัมมนาการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์
CS 108 ประสบการณ์วิชาชีพทางการประชาสัมพันธ์
CS 109 โครงงานด้ านการประชาสัมพันธ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
3
4
93
1
2
3
4
1
2
2
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
1
กลุ่มวิชาเอกการประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ - วิชาเอกบังคับ
1
ทักษะทางปั ญญา
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รับผิดชอบ 2
3
1
2
3
4
5
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา
ความรู้
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รับผิดชอบ
ทักษะทางปั ญญา
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
1
2
3
1
2
3
4
1
2
3
4
1
2
3
1
2
3
4
5
CS 110 สหกิจศึกษา - วิชาเอกเลือก
CS 131 การประชาสัมพันธ์ธุรกิจบันเทิงและการท่องเที่ยว
CS 132 การประชาสัมพันธ์ธุรกิจการเงิน CS 133 เทคนิคการพูดและนําเสนองานเพื่อการ ประชาสัมพันธ์
CS 134 การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
CS 135 กลยุทธ์สอื่ ใหม่เพื่อการประชาสัมพันธ์
CS 136 ชุมชนสัมพันธ์กบั ความรับผิดชอบต่อสังคม
CS 137 การบริ หารความสัมพันธ์
CS 138 การสือ่ สารเพื่อการพัฒนา
CS 139 การประชาสัมพันธ์ระดับสากล
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
94
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
รายวิชา
คุณธรรม จริยธรรม
ความรู้
1
2
3
CS 140 การสือ่ สารรณรงค์
CS 141 การพูดภาษาอังกฤษเพือ่ การประชาสัมพันธ์
CS 142 การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์
1
ทักษะทางปั ญญา
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รับผิดชอบ
2
3
4
1
2
3
4
1
CS 143 การศึกษาเฉพาะบุคคล
CS 144 หัวข้ อพิเศษทางการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์
2
3
1
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 2
3
4
5
กลุ่มวิชาเอกการโฆษณา -
วิชาเอกบังคับ
CS 201 การโฆษณากับพฤติกรรมผู้บริ โภค
CS 202 การสือ่ สารการตลาด
CS 203 การสร้ างสรรค์และเขียนบทโฆษณา
CS 204 การผลิตงานโฆษณา
CS 205 การวางแผนช่องทางการโฆษณา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
95
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา
ความรู้
2
3
CS 206 การรณรงค์ทางการโฆษณา
CS 207 สัมมนาการโฆษณา
CS 208 ประสบการณ์วิชาชีพทางการโฆษณา
CS 209 โครงงานด้ านการโฆษณา
CS 210 สหกิจศึกษา - วิชาเอกเลือก
CS 231 การโฆษณากับสังคม
CS 232 เทคนิคการนําเสนอผลงานโฆษณา
CS 233 ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา
CS 234 กลยุทธ์การโฆษณาผ่านสือ่ สมัยใหม่
CS 235 การออกแบบโฆษณา
2
3
1
2
3
4
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
4
1
2
1
2
ทักษะทางปั ญญา
1
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
1
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รับผิดชอบ
96
3
4
5
3
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1
2
CS 236 การถ่ายภาพเพื่องานโฆษณา
CS 237 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพือ่ งานโฆษณา
ความรู้
1
2
CS 238 การสร้ างแบรนด์
CS 239 การกํากับศิลป์เพื่องานโฆษณา
ทักษะทางปั ญญา
3
4
CS 240 การจัดการโฆษณา
CS 241 การศึกษาเฉพาะบุคคล
CS 242 หัวข้ อพิเศษทางการโฆษณา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
3
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รับผิดชอบ
3
4
1
2
2
3
1
2
97
1
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
3
4
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
5
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา 1
2
ความรู้
3
1
2
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รับผิดชอบ
ทักษะทางปั ญญา
3
4
1
2
3
4
1
2
3
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1
2
3
4
กลุ่มวิชาเอกการสร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ - วิชาเอกบังคับ CS 401 พื ้นฐานการออกแบบ
CS 402 ทัศนศิลป์เพื่อการสือ่ สาร
CS 403 เครื่ องมือเพื่อการออกแบบสือ่ และการสือ่ สาร
CS 404 การจัดการแบรนด์และการออกแบบสือ่
CS 405 การสร้ างสรรค์และออกแบบเชิงธุรกิจ
CS 406 โครงงานด้ านการออกแบบสือ่ 1
CS 407 สัมมนากลยุทธ์แบรนด์และการออกแบบสือ่ CS 408 ประสบการณ์วิชาชีพทางการสร้ างสรรค์และ ออกแบบสือ่
CS 409 โครงงานด้ านการออกแบบสือ่ 2
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
98
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
5
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา
ความรู้
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รับผิดชอบ
ทักษะทางปั ญญา
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
1
2
3
1
2
3
4
1
2
3
4
1
2
3
1
2
3
4
5
CS 410 สหกิจศึกษา - วิชาเอกเลือก
CS 431 สุนทรี ยภาพทางศิลปะและการออกแบบ
CS 432 การออกแบบสือ่ อินเตอร์ แอคทีฟ
CS 433 การออกแบบภาพประกอบสือ่
CS 434 การสร้ างภาพดิจิทลั
CS 435 การออกแบบกราฟิ กเพื่อองค์กรและผลิตภัณฑ์
CS 436 การออกแบบเพื่อกิจกรรมพิเศษและนิทรรศการ
CS 437 การจัดการธุรกิจการออกแบบสือ่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
99
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา
กลุ่มวิชาโทนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาการสื่อสารเชิง กลยุทธ์ สําหรับนักศึกษาต่ างคณะ
1
CX 100 นิเทศศาสตร์ เบื ้องต้ น
CX 101 การสือ่ สารเพื่อการพัฒนา
CX 102 การโฆษณากับสังคม
2
ความรู้
3
1
2
3
ทักษะทางปั ญญา
4
1
2
CX 103 พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
CX 104 เครื่ องมือเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
CX 105 ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา
CX 106 กลยุทธ์การโฆษณาผ่านสือ่ ใหม่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รับผิดชอบ
3
4
3
1
2
100
2
1
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
3
4
5
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
คุณธรรม จริยธรรม
รายวิชา
กลุ่มวิชาโทนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาการสื่อสารเชิง กลยุทธ์ สําหรับนักศึกษาต่ างสาขาวิชา
1
2
ความรู้
3
1
ทักษะ ความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคล และความ รับผิดชอบ
ทักษะทางปั ญญา
2
3
4
1
2
3
4
CX 104 เครื่ องมือเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
CX 105 ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา
CX 106 กลยุทธ์การโฆษณาผ่านสือ่ ใหม่
CX 107 การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการประชาสัมพันธ์
CX 108 การสือ่ สารรณรงค์
CX 109 การสร้ างแบรนด์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
1
101
3
1
2
2
ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
3
4
5
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ ในการประเมินผลนักศึกษา 1. กฎระเบียบหรื อหลักเกณฑ์ ในการให้ ระดับคะแนน (เกรด) การวัดผลและการสําเร็ จการศึกษาเป็ นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การศึกษาระบบหน่วยกิต ขันปริ ้ ญญาบัณฑิต พ.ศ. 2545 (ภาคผนวก ก.) 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 2.1 ให้ อาจารย์แสดงหลักฐานวิธีการประเมินผลทุกรายวิชา 2.2 จัดทําข้ อสอบมาตรฐานสําหรับรายวิชาเดียวกัน ในกรณีที่รายวิชามีผ้ สู อนมากกว่า 1 คน 2.3 ให้ เปรี ยบเทียบการให้ คะแนนข้ อสอบรายข้ อ/ผลงานรายชิ ้นตามเกณฑ์ที่กําหนด และ/หรื อ เปรี ยบเทียบการให้ คะแนนเก็บระหว่างภาค และ/หรื อ เปรี ยบเทียบคะแนนรวม สําหรั บ ทุกรายวิชาที่มีผ้ สู อนมากกว่า 1 คน 2.4 มีคณะกรรมการประเมินผลการศึกษา ซึง่ ประกอบด้ วยผู้ทรงคุณวุฒิทงนั ั ้ กวิชาการและผู้ใช้ บัณฑิตจากภายนอก เพื่อตรวจรับรองข้ อสอบไล่และรายงานการวัดผลการสอบไล่ ของ ทุกรายวิชาในกลุ่มวิชาเอก และบางรายวิชาในกลุ่มวิชาพื น้ ฐานวิชาชีพ ทังภาคต้ ้ นและ ภาคปลาย 3. เกณฑ์ การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 3.1 นักศึกษาที่มีสิทธิ์ได้ รับอนุปริญญา ปริ ญญา ต้ องมีคุณสมบัตคิ รบถ้ วน ดังต่ อไปนี ้ 3.1.1 การให้ อนุปริญญา นักศึกษาศึกษาได้ หน่วยกิตครบถ้ วนตามหลักสูตรขันปริ ้ ญญา ได้ แต้ มเฉลี่ยสะสมไม่ ถึง 2.00 แต่ไม่ตํ่ากว่า 1.75 หรื อสอบได้ หน่วยกิตตามที่กําหนดไว้ ในแต่ละสาขาวิชาของหลักสูตร แต่ยงั ไม่ถึงขันปริ ้ ญญา มีสิทธิขอรับอนุปริ ญญาได้ 3.1.2 การอนุมัตปิ ริญญา 3.1.2.1 นักศึกษาที่จะได้ รับอนุมตั ิปริ ญญาจะต้ องมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี ้ (1) สอบไล่ได้ จํานวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตรภายในระยะเวลาการศึกษา ที่กําหนดไว้ ในระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทยว่าด้ วยการศึกษาระบบหน่วยกิตขันปริ ้ ญญาบัณฑิต พ.ศ. 2545 (ภาคผนวก ก.) (2) ได้ แต้ มเฉลี่ยสะสมไม่ตาํ่ กว่า 2.00 (3) มีความประพฤติดี (4) ไม่มีพนั ธะติดค้ างหนี ้สินใด ๆ กับมหาวิทยาลัย (5) เข้ าร่ วมกิจกรรมบัณฑิตอุดมคติไทยรวม 60 ชัว่ โมงตามที่มหาวิทยาลัย กําหนด (ภาคผนวก ข.) (6) สอบผ่านข้ อสอบวัดมาตรฐานความรู้ด้านภาษาอังกฤษธุรกิจ ด้ าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้ านบริ หารธุรกิจ ตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกําหนด (ภาคผนวก ค.)
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
102
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3.1.2.2 นักศึกษาที่สอบไล่ได้ จํานวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร แต่แต้ มเฉลี่ยสะสม ไม่ถึง 2.00 จะได้ รับอนุมตั ปิ ริ ญญาก็ตอ่ เมื่อ (1) ลงทะเบียนศึกษาวิชาที่เปิ ดสอนตามหลักสูตรต่อไปอีกจนกว่าจะทําแต้ ม เฉลี่ยสะสมไม่ตํ่ากว่า 2.00 ภายในระยะเวลาการศึกษาที่กําหนดไว้ ในระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ า ไทยว่าด้ วยการศึกษาระบบหน่วยกิ ตขัน้ ปริ ญ ญาบัณ ฑิ ต พ.ศ. 2545 (ภาคผนวก ก.) ว่าด้ วยเรื่ อง ระยะเวลาการศึกษา (2) ลงทะเบียนศึกษาซํ ้าเฉพาะวิชาซึ่งนักศึกษาเคยสอบได้ ลําดับขัน้ D+ D หรื อ F จนกว่ า จะทํ า แต้ ม เฉลี่ ย สะสมไม่ ตํ่ า กว่ า 2.00 ภายในระยะเวลาที่ กํ า หนดไว้ ใ นระเบี ย บ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทยว่าด้ วยการศึกษาระบบหน่วยกิตขันปริ ้ ญญาบัณฑิต พ.ศ.2545 (ภาคผนวก ก.) ว่าด้ วยเรื่ องระยะเวลาการศึกษา 3.1.2.3 ในกรณี ที่ ไ ด้ รั บ ร้ องเรี ย นหรื อ ปรากฏแก่ ม หาวิ ท ยาลัย ว่ า นัก ศึก ษาผู้ ใ ดมี พฤติกรรมที่เสื่อมเสียต่อเกี ยรติภูมิของมหาวิทยาลัยอย่างร้ ายแรง สภามหาวิทยาลัยมีสิทธิ ที่จะชะลอ การอนุมตั ิปริ ญญาเอาไว้ ก่อน เพื่อสอบสวนพฤติกรรมและหาความจริ ง ในกรณีท่ีผลของการสอบสวน เป็ นที่ปรากฏชัดว่านักศึกษาผู้นนมี ั ้ พฤติกรรมที่เสื่อมเสียต่อเกี ยรติภูมิของมหาวิทยาลัยอย่างร้ ายแรง จริง สภามหาวิทยาลัยมีสิทธิที่จะไม่อนุมตั ปิ ริ ญญา หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย์ 1. การเตรี ยมการสําหรั บอาจารย์ ใหม่ 1.1 จัดเตรี ยมคูม่ ืออาจารย์และเอกสารที่เกี่ยวข้ องกับการปฏิบตั งิ านให้ อาจารย์ใหม่ 1.2 จัด ปฐมนิ เ ทศอาจารย์ ใ หม่ เรื่ อ ง บทบาท หน้ า ที่ ความรั บ ผิ ด ชอบ และรายละเอี ยด หลักสูตรในระดับคณะ 1.3 จัดหลักสูตรการอบรมสําหรับอาจารย์ใหม่ เกี่ยวกับการจัดทําประมวลรายวิชาตามแบบ มคอ. 3 ภาระงานของอาจารย์ผ้ สู อนและภาระงานอาจารย์ ที่ปรึ กษา โดยอาจจัดขึน้ ใน ระดับคณะหรื อมหาวิทยาลัย 1.4 สนับสนุนให้ อาจารย์ใหม่เข้ ารับการอบรมในโครงการที่จดั ขึ ้นโดยหน่วยงานภายนอก ซึ่งมี หัวข้ อเกี่ยวข้ องกับภาระงานของอาจารย์ผ้ สู อน (เช่น การออกข้ อสอบ การตัดเกรด ฯลฯ) และภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษา (เช่น จิตวิทยาการเป็ นที่ปรึกษา ฯลฯ) 1.5 จัดระบบพี่เลี ้ยง (Mentoring System) โดยให้ อาจารย์ใหม่สอนรายวิชาร่วมกับอาจารย์ที่มี ประสบการณ์การสอนในระดับกลางขึ ้นไป
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
103
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2. การพัฒนาความรู้ และทักษะให้ แก่ อาจารย์ 2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล 2.1.1 จัดอบรมเชิงปฎิบตั ิการเกี่ ยวกับรู ปแบบการจัดการเรี ยนการสอน กลวิธีในการสอน และการวัดประเมินผลรายวิชา 2.1.2 สนับสนุนให้ อาจารย์ผ้ สู อนเข้ าร่วมสัมมนาเชิงวิชาการในด้ านการเรี ยนการสอน เพื่อ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ กั บ ผู้ ส อนอื่ น ๆ หรื อ ผู้ เ ชี่ ย วชาญเฉพาะทาง ทัง้ ในระดับ คณะและระดับ มหาวิทยาลัย รวมทังภายนอกสถาบั ้ น 2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้ านอื่น ๆ 2.2.1 สนับสนุนให้ อาจารย์ผ้ สู อนทํางานวิจยั ที่สอดคล้ องกับสาขาวิชาอันจะเป็ นประโยชน์ ต่อ วงวิชาการและ/หรื อวิชาชีพ 2.2.2 สนับสนุนให้ อาจารย์ผ้ สู อนเข้ าร่ วมการประชุม สัมมนา การฝึ กอบรมภายนอกสถาบันที่ สอดคล้ องกับศาสตร์ ของสาขาวิชา 2.2.3 สนับ สนุน ให้ อ าจารย์ ผ้ ูส อนออกไปให้ บ ริ ก ารทางวิ ช าการแก่ สัง คม เพื่ อ สามารถนํ า ประสบการณ์มาพัฒนาการเรี ยนการสอน 2.2.4 สนับสนุนให้ ผ้ สู อนได้ รับประสบการณ์จริ ง โดยเปิ ดโอกาสให้ ไปปฏิบตั งิ านใน สถานประกอบการที่ตรงกับสาขาวิชา ตามโครงการสหกิจศึกษาอาจารย์ของมหาวิทยาลัย 2.2.5 สนับสนุนให้ ผ้ ูส อนมี ส่วนร่ วมในการจัด ทํ า ปรั บปรุ ง และ/หรื อพัฒ นาหลักสูต รใหม่ รวมทังการปรั ้ บปรุงรายวิชา 2.2.6 สนับสนุนให้ อาจารย์ผ้ สู อนได้ ศกึ ษาต่อในระดับที่สงู ขึ ้น หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร
1. การบริ หารหลักสูตร หัวหน้ าหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ เป็ นผู้ทําหน้ าที่ในการ บริ ห ารหลักสูตรให้ บรรลุวัตถุประสงค์ ตามแนวปฏิ บัติง านซึ่งเป็ นมติที่ประชุมคณะกรรมการฝ่ าย วิชาการ และ/หรื อได้ รับความเห็นชอบจากกรรมการประจํ าคณะ โดยมี รองคณบดีฝ่ายวิชาการทํ า หน้ าที่กํากับดูแลและประสานงานให้ การบริ หารหลักสูตรและการจัดการเรี ยนการสอนเป็ นไปตามที่ หลักสูตรกํ าหนด โดยมุ่งเน้ นการพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสํ าคัญ และการ เสริ มสร้ างการใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตและใช้ สื่อการสอน ตลอดจนการวัดและประเมินผล การเรี ยนอย่างเป็ นระบบ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
104
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
1.1 การเตรี ยมความพร้ อมก่ อนการเปิ ดการเรี ยนการสอน 1.1.1 จัดหาอาจารย์ผ้ ูสอนที่มีคณ ุ วุฒิหรื อประสบการณ์ ตรงและมีความสามารถในการ ถ่ายทอดความรู้ตามเนื ้อหารายวิชาที่เปิ ดสอน 1.1.2 มอบหมายอาจารย์ผ้ สู อนเตรี ยมความพร้ อมเกี่ยวกับการวางแผนกระบวนการเรี ยน การสอนตาม มคอ. 3 เอกสารประกอบการสอน สื่อการสอน อุปกรณ์และสิ่งอํานวยความสะดวกอื่น ๆ นอกเหนื อจากที่ ม หาวิ ทยาลัยจัดหาไว้ ใ ห้ รวมทัง้ การติดตามผลการเรี ยนการสอนและการจัดทํ า รายงาน 1.2 การติดตามการจัดการเรี ยนการสอน จัดให้ มีระบบติดตามการจัดการเรี ยนการสอน เพื่อให้ ทราบปั ญหา อุปสรรคเกี่ยวกับการเรี ยน การสอนทังจากอาจารย์ ้ ผ้ สู อนและจากนักศึกษาผู้เรี ยนรายวิชานัน้ ๆ 1.3 การติดตามประเมินผลการเรี ยนการสอน 1.3.1 ในช่วง 2-3 สัปดาห์ สุดท้ ายของการเรี ยนการสอน จัดให้ มีการประเมินผลผู้สอน โดยผู้เรี ยน ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง และผู้สอนได้ รับการประเมินผลรายวิชาโดยคณะฯ 1.3.2 เมื่อสิ ้นสุดภาคการศึกษา สาขาวิชาติดตามผลการประเมินคุณภาพการสอน และ การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของผู้เรี ยนโดยอาศัยกลไกคณะกรรมการมาตรฐานวิชาการประจําสาขาวิชา 1.3.3 เมื่ อสิ น้ สุดการเรี ยนการสอนแต่ล ะปี หัวหน้ าหลัก สูตรติ ด ตามผลการประเมิ น คุณภาพการสอน 1.4 การติดตามประเมินผลหลักสูตร 1.4.1 เมื่อสิ ้นสุดแต่ละปี การศึกษา หัวหน้ าหลักสูตรจัดประชุมสัมมนาคณาจารย์ประจํา หลักสูตรเพื่อวิเคราะห์ผลการดําเนินงานประจําปี เพื่อรวบรวมข้ อมูลเกี่ยวกับสภาพ ปั ญหา อุปสรรค และข้ อเสนอแนะ สําหรับใช้ ในการปรับปรุงกระบวนการเรี ยนการสอน ตลอดจนปั จจัยต่าง ๆ ที่ส่งผล กระทบต่อคุณภาพของหลักสูตร และจัดทํารายงานผลการดําเนินงานหลักสูตรเสนอต่อคณบดี 1.4 2 เมื่อครบรอบ 4 ปี แต่งตังกรรมการผู ้ ้ ทรงคุณวุฒิเพื่อประเมินผลการดําเนินงาน ของ หลักสูตร โดยประเมินจากการรายงานผลการดําเนินงานหลักสูตร การเยี่ยมชม 1.4.3 แต่งตังคณะกรรมการปรั ้ บปรุ งหลักสูตรตามหลักเกณฑ์ของสกอ. เพื่อให้ มี การ ปรับปรุ งหลักสูตรอย่างน้ อยทุก 5 ปี โดยนําความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ บัณฑิต และผู้ใช้ บณ ั ฑิต รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกี่ยวข้ องกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต มาประกอบการพิจารณา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
105
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2. การบริหารทรั พยากรการเรี ยนการสอน หัวหน้ าหลักสูตร ทําหน้ าที่วางแผนการดําเนินงานและจัดทํางบประมาณประจําปี ให้ สอดคล้ อง กับรายได้ และค่าใช้ จ่ายที่ จะเกิดขึน้ และเสนอขออนุมัติงบประมาณต่อมหาวิทยาลัย โดยผ่านการ เห็ น ชอบจากคณะกรรมการบริ หารคณะ เพื่ อ จัด ให้ มี ห้ อ งปฏิ บัติ ก าร วัส ดุ ครุ ภัณ ฑ์ แ ละอุปกรณ์ เฉพาะทางในการฝึ กปฏิบตั ิการทังในและนอกห้ ้ องปฏิบตั ิการของสาขาวิชา ในรายวิชาที่นกั ศึกษาต้ อง ฝึ กภาคปฏิบตั ิ การจัดหาและสัง่ ซื ้อทรัพยากรสารสนเทศเพื่ อให้ บริ การแก่นักศึกษาในหอสมุดกลาง ของมหาวิทยาลัย รวมทังการบริ ้ หารการใช้ ทรัพยากรการเรี ยนการสอนอย่างมี ประสิทธิ ภาพ โดยมี รองคณบดีฝ่ายบริ หารเป็ นผู้กํากับดูแล 2.1 การบริหารงบประมาณ การบริ หารงบประมาณเป็ นไปตามระเบียบและแนวทางที่มหาวิทยาลัยและคณะกํ าหนดไว้ ทังนี ้ ้ อยูใ่ นกรอบของจํานวนเงินงบประมาณที่ได้ รับอนุมตั ิ 2.2 ทรั พยากรการเรี ยนการสอนที่มีอยู่เดิม การบริ หารความพร้ อมของทรัพยากรการเรี ยนการสอน ตํารา หนังสืออ้ างอิง เอกสาร อุปกรณ์ การเรี ยนการสอน ห้ องปฏิ บตั ิการ ห้ องสมุด สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ท่ีมีอยู่เดิม เป็ นไปตามแนวนโยบาย ระเบี ย บ และแนวปฏิ บัติ ที่ ห ลัก สู ต รสาขาวิ ช าอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งและ/หรื อ หน่ ว ยงานส่ ว นกลางของ มหาวิทยาลัยเป็ นผู้รับผิดชอบ โดยสาขาวิชารับผิดชอบประสานงานเกี่ ยวกับความต้ องการ ปั ญหา อุปสรรคการใช้ ทรัพยากรกับหน่วยต่าง ๆ ดังกล่าว 2.3 การจัดหาทรั พยากรการเรี ยนการสอนเพิ่มเติม 2.3.1 ฝ่ ายเทคโนโลยีและสารสนเทศของมหาวิทยาลัย จัดสรรงบประมาณประจําปี ในการ จัดหาทรัพยากรการเรี ยนการสอน ตํารา วารสารทางวิชาการ ฐานข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ 2.3.2 สาขาวิ ช า โดยหัวหน้ า หลักสูตรและอาจารย์ ผ้ ูส อนเสนอความต้ องการทรั พ ยากร เพื่อการจัดหาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง 2.3.3 คณาจารย์ ประชุม ร่ วมกัน เพื่ อจัดทํ าข้ อเสนอแนะสํ าหรั บงบประมาณครุ ภัณฑ์ และ อุปกรณ์การเรี ยน โดยผ่านคณะกรรมการบริ หารคณะ 2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร 2.4.1 สํารวจความต้ องการทรัพยากรการเรี ยนการสอนจากผู้สอนและผู้เรี ยนเป็ นประจําทุกปี 2.4.2 ประเมินความเพียงพอของทรัพยากรกรเรี ยนการสอนของทุกรายวิชา 2.4.3 สํารวจและระบุแหล่งทรัพยากรการเรี ยนการสอนในคณะและในมหาวิทยาลัยที่ผ้ สู อน และผู้เรี ยนสามารถใช้ บริ การได้
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
106
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
3. การบริหารคณาจารย์ 3.1 การรั บอาจารย์ ใหม่ 3.1.1 การกําหนดคุณสมบัติ 3.1.1.1 คุณสมบัตทิ วั่ ไปเป็ นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 3.1.1.2 คุณสมบัตเิ ฉพาะของผู้สมัคร โดยทัว่ ไปมีดงั นี ้ (1) สําเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาเอกด้ านนิเทศศาสตร์ หรื อ (2) สําเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโทด้ านนิเทศศาสตร์ หรื อสาขาวิชาที่เกี่ยวข้ อง และ มีคณ ุ วุฒิปริ ญญาตรี ด้านนิเทศศาสตร์ โดยมีผลงานทางวิชาการหรื อผลงานวิจยั ด้ านการประชาสัมพันธ์ การโฆษณา หรื อการสื่อสารการตลาด และ/หรื อมีประสบการณ์ ในการสอนด้ านการประชาสัมพันธ์ การโฆษณา หรื อการสื่อสารการตลาด ไม่น้อยกว่า 3 ปี หรื อ (3) สําเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาโทด้ านนิเทศศาสตร์ หรื อสาขาวิชาที่เกี่ยวข้ อง และ มีคณ ุ วุฒิปริ ญญาตรี ด้านนิเทศศาสตร์ โดยมีประสบการณ์ทํางานวิชาชีพด้ านการประชาสัมพันธ์ การ โฆษณา หรื อการสื่อสารการตลาด ไม่น้อยกว่า 5 ปี ทังนี ้ ้ รายละเอียดคุณสมบัตเิ ฉพาะอาจปรับเปลี่ยนให้ สอดคล้ องกับตามความต้ องการของ หลักสูตรในแต่ละช่วง 3.1.2 การคัดเลือก 3.1.2.1 อธิการบดีแต่งตังคณะกรรมการสอบคั ้ ดเลือกอาจารย์ใหม่ประจําหลักสูตร เพื่อ ทําหน้ าที่ดําเนินการสอบคัดเลือกอาจารย์ใหม่ตามเกณฑ์คณ ุ สมบัตทิ ี่กําหนด 3.1.2.2 ผู้สมัครต้ องผ่านการสอบข้ อเขียน สอบสอน และสอบสัมภาษณ์ เพื่อประเมิน และเปรี ยบเทียบศักยภาพในการเป็ นอาจารย์ผ้ สู อน 3.2 การมีส่วนร่ วมของคณาจารย์ ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร 3.2.1 จัด ประชุม คณาจารย์ ใ นสาขาวิ ช า เดื อ นละ 1 ครั ง้ เพื่ อ แจ้ ง และร่ ว มพิ จ ารณาการ ดําเนินงาน รวมทังติ ้ ดตามการดําเนินงานตามแผนงานประจําปี ของสาขาวิชา 3.2.2 สํารวจความต้ องการจากคณาจารย์ผ้ ทู ี่เกี่ยวข้ อง เพื่อเป็ นข้ อมูลในการปรับปรุงหลักสูตร 3.3 การแต่ งตัง้ คณาจารย์ พเิ ศษ 3.3.1 มหาวิทยาลัยมีนโยบายในการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมาร่ วมสอนบางรายวิชา หรื อ ร่วมเป็ นวิทยากรพิเศษในบางหัวข้ อที่ต้องการผู้มีประสบการณ์จริ งในวิชาชีพ 3.3.2 สาขาวิชากํ าหนดเกณฑ์ และแนวทางการคัดกรองผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเพื่ อเชิญ เป็ น อาจารย์พิเศษ เช่น คุณวุฒิทางการศึกษา ผลงานทางวิชาการ ตําแหน่งงานและประสบการณ์ใน วิชาชีพ เป็ นต้ น 3.3.3 ขออนุมตั เิ ชิญผู้ทรงคุณวุฒิที่ผา่ นการคัดกรองตามเกณฑ์ให้ เป็ นอาจารย์พิเศษ 3.3.4 อาจารย์ พิ เ ศษที่ ส อนประจํ า หรื อ สอนร่ ว มประจํ า รายวิ ช าต้ อ งมี แ ผนการสอนตาม คําอธิบายรายวิชาที่หลักสูตรกําหนดไว้ โดยประสานงานกับหัวหน้ าหลักสูตร หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
107
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรี ยนการสอน 4.1 การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรั บตําแหน่ ง 4.1.1 คณะและมหาวิ ท ยาลั ย มี ก ารกํ า หนดคุ ณ สมบัติ บุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น ตรงตาม ภาระหน้ าที่ที่ต้องรับผิดชอบก่อนการสอบคัดเลือกเข้ าปฏิบตั งิ าน 4.1.2 คณะและมหาวิ ท ยาลัย มี ระบบการสอบแข่ง ขัน เพื่ อ คัด เลื อ กบุค คลเข้ า บรรจุทดลอง ปฏิบตั งิ าน 4.2 การเพิ่มทักษะความรู้ เพื่อการปฏิบัตงิ าน 4.2.1 คณะและมหาวิทยาลัยมีการจัดประชุม การฝึ กอบรมเกี่ ยวกับการปฏิบตั ิงานในหน้ าที่ และการบริ หารงานที่เกี่ยวข้ องแก่พนักงานสายสนับสนุน 4.2.2 คณะและมหาวิทยาลัยจัดระบบการพัฒนาบุคลากรโดยจัดระบบการศึกษาดูงานภายใน และต่างประเทศ รวมทังจั ้ ดการสัมมนาและฝึ กอบรมแก่พนักงานอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อให้ เกิดการ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้การทํางาน 5. การสนับสนุนและการให้ คาํ แนะนํานักศึกษา 5.1 การให้ คาํ ปรึกษาด้ านวิชาการและอื่น ๆ แก่ นักศึกษา 5.1.1 หัวหน้ าหลักสูตร พิจารณาเสนอรายชื่ ออาจารย์ในสาขาวิชาเพื่ อขอแต่งตังเป็ ้ นอาจารย์ ที่ปรึกษาต่อคณบดี 5.1.1.1 อาจารย์ที่ปรึ กษา มีหน้ าที่ให้ คําแนะนําปรึ กษาทางวิชาการแก่นกั ศึกษา ครอบคลุม กรณี ที่นกั ศึกษามีปัญหาการเรี ยน การปรับตัว ให้ คําแนะนําในการลงทะเบียน การเลือกเรี ยนในกลุ่ม หรื อรายวิชาที่เหมาะสมกับความสนใจและความถนัด การเลือกแผนการเรี ยน การฝึ กงานหรื อการ ปฏิบตั งิ านสหกิจศึกษา 5.1.1.2 อาจารย์ ท่ี ปรึ กษา มีหน้ าที่ ให้ คําแนะนํ าปรึ กษาด้ านกิ จกรรมแก่ นักศึกษา โดยให้ คําแนะนําและสนับสนุนการทํากิจกรรมเสริ มหลักสูตร และการเข้ าร่ วมกิจกรรมพัฒนานักศึกษา ทังใน ้ ระดับคณะและมหาวิทยาลัย 5.1.2 มีคณะกรรมการกิจการนักศึกษาในระดับคณะ ทําหน้ าที่สง่ เสริม สนับสนุน ให้ คําแนะนํา และ จัดกิจกรรมอันเป็ นประโยชน์แก่นกั ศึกษาทังรายบุ ้ คคลและรายกลุม่ 5.1.3 จัดระบบแนะแนวรวม โดยการจัดประชุมนักศึกษาเป็ นกลุ่มจําแนกตามชันปี ้ เพื่อให้ ข้อมูล และคําแนะนํ าเกี่ ยวกับการเตรี ยมตัวลงทะเบียนเรี ยน การเลื อกรายวิชา การฝึ กงาน การเตรี ยมตัว ประกอบอาชีพ และอื่น ๆ 5.1.4 จัดระบบการดูแลนักศึกษาที่ประสบปั ญหาเกรดเฉลี่ยตํ่ากว่าเกณฑ์ โดยมีคลินิกวิทยาทัณฑ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
108
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
5.2 การอุทธรณ์ ของนักศึกษา คณะต้ องมีการจัดระบบที่เปิ ดโอกาสให้ นกั ศึกษาอุทธรณ์ในเรื่ องต่าง ๆ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในประเด็นเกี่ ยวกับวิชาการ การเรี ยนการสอน และกิจกรรมเสริ มหลักสูตร ซึ่งมีผลเกี่ ยวเนื่องกับ คุณภาพของหลักสูตรและนักศึกษา โดยกําหนดระเบียบการอุทธรณ์ และกระบวนการพิจ ารณา คําอุทธรณ์ที่เป็ นธรรมและไม่ก่อให้ เกิดผลกระทบเชิงลบแก่นกั ศึกษาผู้อทุ ธรณ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
109
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
6. ความต้ องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรื อความพึงพอใจของผู้ใช้ บัณฑิต 6.1 สาขาวิชาร่ วมกับคณะกรรมการฝ่ ายวิช าการของคณะ จัดการสํ ารวจความต้ องการของ ตลาดงาน และความพึ ง พอใจของผู้ใ ช้ บัณ ฑิ ต ก่ อ นการปรั บ ปรุ ง หลัก สูต รเดิ ม หรื อ การพัฒ นา หลักสูตรใหม่ 6.2 ติดตามข้ อมูลเกี่ ยวกับความรู้ และทักษะที่พึงประสงค์ของวิชาชีพการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ ซึ่ง เปลี่ยนแปลงตามสภาพการขยายตัวและการแข่งขันของธุรกิจ รวมทังความก้ ้ าวหน้ าของเทคโนโลยี การสื่อสาร 6.3 มีแผนการสํารวจความพึงพอใจของผู้ใช้ บณ ั ฑิตเมื่อครบรอบหลักสูตร 4 ปี เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูล ในการปรับปรุงหลักสูตรครัง้ ต่อไป 6.4 กําหนดแนวทางการประเมินคุณภาพของบัณฑิต โดยพิจารณาจากปั จจัยความต้ องการของ ตลาดแรงงาน 7. ตัวบ่ งชีผ้ ลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators)
(ปรับตัวบ่งชี ้ผลการดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒใิ ห้ เหมาะสมโดยเป็ นไปตามหนังสือที่ ศธ. 0506(1)/ว1639 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2558 และได้ รับการอนุมตั ิ/เห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยในการ ประชุมครัง้ ที่ 3/2559 เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2559)
(1)
(2)
(3)
(4)
ดัชนีบ่งชีผ้ ลการดําเนินงาน อาจารย์ผ้ รู ับผิดชอบหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี อย่างน้ อย 4 คน และอาจารย์ผ้ รู ับผิดชอบหลักสูตรระดับปริ ญญาโท/เอก อย่าง น้ อย 3 คน ที่มีสว่ นร่วมในการประชุมแต่ละครัง้ เพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้ องกับ กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษาแห่ ง ชาติ หรื อ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ ามี) มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้ อย ก่อนการเปิ ดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ ครบทุกรายวิชา จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชา และรายงานผล การดําเนินการของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วั น หลั ง สิ น้ สุ ด การสอบ วันสุดท้ ายของภาคการศึกษาที่เปิ ดสอนให้ ครบทุกรายวิชา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
110
ปี ที่ ปี ที่ 1 2
ปี ที่ 3
ปี ที่ ปี ที่ 4 5
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
(5) จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ก่อนการตรวจประเมินหลักสูตรแต่ไม่เกิ น 60 วัน หลังสิ ้นสุด ปี การศึกษา (6) มี ก ารทวนสอบผลการเรี ย นรู้ ของนัก ศึ ก ษาตามมาตรฐาน ผลการเรี ยนรู้ ที่กําหนด อย่างน้ อยร้ อยละ 40 ของรายวิชาใน หมวดวิชาเฉพาะด้ าน กลุม่ วิชาแกนและกลุม่ วิชาเอกที่เปิ ดสอน ในแต่ละปี การศึกษาของทุกหลักสูตร (7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรื อ การประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดําเนินงานที่ รายงานใน มคอ.7 ปี ทีแ่ ล้ ว (8) อาจารย์ใหม่ (ถ้ ามี) ทุกคนได้ รับการปฐมนิเทศหรื อคําแนะนํา ด้ านการจัดการเรี ยนการสอน (9) อาจารย์ประจําทุกคนได้ รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรื อ วิชาชีพอย่างน้ อยปี ละหนึง่ ครัง้ (10) จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรี ยนการสอน (ถ้ ามี) ได้ รับการ พัฒนาวิชาการ และ/หรื อวิชาชีพไม่น้อยกว่าร้ อยละ 50 ต่อปี (11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปี สุดท้ าย/บัณฑิตใหม่ที่มีตอ่ คุณภาพหลักสูตร เฉลีย่ ไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00 (12) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ บณ ั ฑิตที่มีตอ่ บัณฑิตใหม่ เฉลีย่ ไม่ น้ อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.00
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x
x x
หมวดที่ 8 การประเมินและปรั บปรุ งการดําเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธิผลการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธ์ การสอน 1.1.1 จัดการประชุมสัมมนาร่ วมกันของคณาจารย์ในสาขาวิชา เพื่อรับฟั งข้ อเสนอแนะและ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การสอนที่มีประสิทธิผล เพื่อนําไปปรับใช้ ในการวางแผน กลยุทธ์การสอน 1.1.2 อาจารย์ ผ้ ูสอนประเมิน ประสิท ธิ ภาพและประสิท ธิ ผลของการเรี ยนรู้ โดยสังเกตจาก พฤติกรรมการแสดงออก การทํากิจกรรมในรายวิชา และผลการสอบ 1.1.3 อาจารย์ผ้ สู อนประเมินประสิทธิผลการเรี ยนรู้ ของนักศึกษา ในระหว่างภาคการศึกษา โดยใช้ แบบสอบถามหรื อการสนทนากลุม่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
111
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ ในการใช้ แผนกลยุทธ์ การสอน 1.2.1 จัดการประเมิ นการสอนโดยนักศึก ษาผู้เ รี ยน ทุกปลายภาคการศึก ษา โดยใช้ แ บบ ประเมินการสอนที่มหาวิทยาลัยออกแบบไว้ และให้ บริ การสําหรับนักศึกษาสามารถเข้ าถึงได้ ทาง เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย 1.2.2 ให้ มีการประเมินการสอนโดยอาจารย์ผ้ สู อน โดยวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของกลยุทธ์ ผลการเรี ยนของนักศึกษา และเขียนไว้ ในรายงานรายวิชา 2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 2.1 ประเมิ น จากนัก ศึ ก ษาปั จ จุ บัน และบัณ ฑิ ต ใหม่ ที่ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาตามหลัก สู ต ร โดยใช้ แบบสอบถามเพื่อเก็บข้ อมูลในวันปั จฉิ มนิเทศ การสัมภาษณ์กลุ่มย่อยกับตัวแทนของนักศึกษา และ การเปิ ดรับข้ อมูลป้อนกลับจากนักศึกษาและบัณฑิตผ่านเว็บไซต์ของคณะ 2.2 ประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิ และ/หรื อ ผู้ประเมินภายนอก โดยดูจากรายงานผลการดําเนินงาน หลักสูตร และการเยี่ยมชม 2.3 ประเมินจากนายจ้ างหรื อผู้ใช้ บณ ั ฑิต หรื อผู้มีส่วนเกี่ ยวข้ อง โดยพิจารณาความพึงพอใจต่อ คุณภาพของบัณฑิต และการวิพากษ์ หลักสูตร 3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร ประเมินคุณภาพการศึก ษาประจํ าปี ตามตัวบ่งชี ใ้ นหมวดที่ 7 ข้ อ 7 โดยคณะกรรมการประเมิ น คุณภาพภายในระดับสาขาวิชาที่แต่งตังโดยคณบดี ้ 4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุ ง 4.1 ในระดั บ รายวิ ช า ให้ อาจารย์ ผ้ ูสอนประจํ าวิชา ทบทวนผลการประเมินประสิทธิ ภาพและ ประสิทธิผลของการสอนในรายวิชาที่รับผิดชอบในระหว่างภาคการศึกษา ในกรณีที่จําเป็ นก็ให้ ปรับปรุ ง ได้ ทนั ที และให้ อาจารย์ผ้ สู อนจัดทํารายงานผลการดําเนินงานรายวิชาเสนอต่อหัวหน้ าหลักสูตร เมื่อ สิ ้นภาคการศึกษา 4.2 ในระดับสาขาวิชา 4.2.1 หัวหน้ าหลักสูตรติดตามผลการดํ าเนินงานตามตัวบ่งชี ้ ในหมวดที่ 7 ข้ อ 7 จากการ ประเมินคุณภาพภายในของสาขาวิชา 4.2.2 หัวหน้ าหลักสูตรจัดทําสรุ ปผลการดําเนินงานหลักสูตรประจําปี โดยรวบรวมข้ อมูลการ ประเมินประสิทธิผลของการสอน รายงานผลการดําเนินงานของรายวิชา รายงานผลการดําเนินงาน ของประสบการณ์ภาคสนาม รายงานผลการประเมินการสอนและสิ่งอํานวยความสะดวก รายงานผล การทวนสอบผลสัม ฤทธิ์ ข องนัก ศึก ษา รายงานผลการประเมิ น หลักสูต ร รายงานผลการประเมิ น คุณภาพภายใน ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ 4.2.3 หัวหน้ าหลักสูตรจัดประชุมคณาจารย์ ประจําสาขาวิชา เพื่อพิจารณาทบทวนรายงาน สรุ ปผลการดํ าเนิ นงานหลัก สูตรในข้ อ 4.2.2 เพื่ อวางแผนปรั บ ปรุ ง การดํ าเนิ น งานสํ า หรั บ ใช้ ใ นปี การศึกษาต่อไป และจัดทํารายงานผลการดําเนินงานหลักสูตรเพื่อเสนอต่อคณบดี หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
112
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
เอกสารแนบ ภาคผนวก ก. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การศึกษาระบบหน่วยกิต ขันปริ ้ ญญา บัณฑิต พ.ศ.2545 ภาคผนวก ข. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การศึกษาระบบหน่วยกิ ตขัน้ ปริ ญ ญา บัณฑิต (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2557 ภาคผนวก ค. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การศึกษาระบบหน่วยกิ ตขัน้ ปริ ญ ญา บัณฑิต (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2554 ภาคผนวก ง. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่าด้ วย การเทียบโอนหน่วยกิต ในการเข้ าศึกษา หลักสูตรระดับปริ ญญาตรี พ.ศ.2548 ภาคผนวก จ. ระเบี ย บมหาวิ ท ยาลั ย หอการค้ า ไทย ว่ า ด้ ว ย การเที ย บโอนความรู้ ทัก ษะและ ประสบการณ์ จากการศึ ก ษานอกระบบและ/หรื อ การศึ ก ษาตามอัธ ยาศัย เข้ า สู่ การศึกษาในระบบ ตามหลักสูตรระดับปริ ญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2547 ภาคผนวก ฉ. ตารางเปรี ยบเทียบหลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 กับหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 ภาคผนวก ช. การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ และแผนที่แสดงการกระจายความรั บผิดชอบมาตรฐานผล การเรี ยนรู้จากหลักสูตรสูร่ ายวิชา ของหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2557 ภาคผนวก ซ. คําสัง่ สภามหาวิทยาลัย ที่ 6/2559 เรื่ อง แต่งตังคณะกรรรมการพั ้ ฒนาหลักสูตร ภาคผนวก ฌ. ผลงานวิชาการอาจารย์ประจําหลักสูตร
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
113
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ภาคผนวก ก. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่ าด้ วย การศึกษาระบบหน่ วยกิต ขัน้ ปริ ญญาบัณฑิต พ.ศ.2545
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
114
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
115
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
116
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
117
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
118
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
119
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
120
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
121
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
122
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
123
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
124
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
125
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
126
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ภาคผนวก ข. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่ าด้ วย การศึกษาระบบหน่ วยกิตขัน้ ปริญญาบัณฑิต (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2557
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
127
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
128
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ภาคผนวก ค. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่ าด้ วย การศึกษาระบบหน่ วยกิตขัน้ ปริญญาบัณฑิต (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2554
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
129
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
130
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ภาคผนวก ง. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่ าด้ วย การเทียบโอนหน่ วยกิต ในการเข้ าศึกษาหลักสูตร ปริญญาตรี พ.ศ. 2548
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
131
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
132
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
133
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
134
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ภาคผนวก จ. ระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ว่ าด้ วย การเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ จาก การศึกษานอกระบบและ/หรื อการศึกษาตามอัธยาศัยเข้ าสู่การศึกษาในระบบ ตามหลักสูตรระดับ ปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2547
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
135
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
136
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
137
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
138
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ภาคผนวก ฉ. ตารางเปรี ยบเทียบหลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 กับหลักสูตรปรั บปรุ ง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
139
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
(ภาคผนวก ฉ) ตารางเปรี ยบเทียบหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 กับหลักสูตรปรั บปรุ ง พ.ศ. 2559 หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ
1. ชื่อหลักสูตร 1. ชื่อหลักสูตร คงเดิม ภาษาไทย หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ภาษาไทย หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสือ่ สารเชิง สาขาวิชาการสือ่ สารเชิง กลยุทธ์ กลยุทธ์ ภาษาอังกฤษ Bachelor of Communication ภาษาอังกฤษ Bachelor of Communication Arts Program in Strategic Arts Program in Strategic Communication Communication 2. ชื่อปริญญา 2. ชื่อปริญญา คงเดิม ภาษาไทย นิเทศศาสตรบัณฑิต ภาษาไทย นิเทศศาสตรบัณฑิต (การสือ่ สารเชิงกลยุทธ์) (การสือ่ สารเชิงกลยุทธ์) นศ.บ. (การสือ่ สารเชิงกลยุทธ์) นศ.บ. (การสือ่ สารเชิงกลยุทธ์) ภาษาอังกฤษ Bachelor of Communication ภาษาอังกฤษ Bachelor of Communication Arts (Strategic Arts (Strategic Communication) Communication) B.Com. Arts (Strategic B.Com. Arts (Strategic Communication) Communication)
3. กลุ่มวิชาเอก 1. การประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ 2. การโฆษณา 3. การสือ่ สารการตลาดข้ ามวัฒนธรรม 4. การสร้ างสรรค์และออกแบบสือ่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
3. กลุ่มวิชาเอก 1. การประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ 2. การโฆษณา 3. การสร้ างสรรค์และออกแบบสือ่
140
ป รั บ ก ลุ่ ม วิ ช าเอกการ สื่ อ สารการตลาดข้ าม วัฒ นธรรมออกจากกลุ่ม วิ ช า ตามมติ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ หาร คณะนิเทศศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 3. โครงสร้ างหลักสูตร จํานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต 1. หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป 30 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่วยกิต 2.1 กลุม่ วิชาแกนนิเทศศาสตร์ 45 หน่วยกิต 2.2 กลุม่ วิชาแกนสาขา 9 หน่วยกิต 2.3 กลุม่ วิชาเอก 30 หน่วยกิต มี 2 แผนคือ หลักสูตรปกติ 1) กลุม่ วิชาเอกบังคับ 24 หน่วยกิต 2) กลุม่ วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต สหกิจศึกษา 1) กลุม่ วิชาเอกบังคับ 18 หน่วยกิต 2) กลุม่ วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต 3) วิชาสหกิจศึกษา 6 หน่วยกิต 2.4 กลุม่ วิชาโท 15 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต 4. รายวิชา 4.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป HG008 ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร HG009 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 1 HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 2 HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 3 HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 4 SG004 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ SG005 คณิตศาสตร์ และสถิติสาํ หรับ ชีวิตประจําวัน SG006 การรู้ทางดิจิทลั BG002 ธุรกิจสมัยใหม่ HG022 การบริ หารตนเอง HG032 ทักษะการดํารงชีวิตในสังคมโลก
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ 3. โครงสร้ างหลักสูตร คงเดิม จํานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 135 หน่วยกิต 1. หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป 30 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ 99 หน่วยกิต 2.1 กลุม่ วิชาแกนนิเทศศาสตร์ 45 หน่วยกิต 2.2 กลุม่ วิชาแกนสาขา 9 หน่วยกิต 2.3 กลุม่ วิชาเอก 30 หน่วยกิต มี 2 แผนคือ หลักสูตรปกติ 1) กลุม่ วิชาเอกบังคับ 24 หน่วยกิต 2) กลุม่ วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต สหกิจศึกษา 1) กลุม่ วิชาเอกบังคับ 18 หน่วยกิต 2) กลุม่ วิชาเอกเลือก 6 หน่วยกิต 3) วิชาสหกิจศึกษา 6 หน่วยกิต 2.4 กลุม่ วิชาโท 15 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต 4. รายวิชา 4.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป HG008 ภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร HG009 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 1 HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 2 HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 3 HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 4 SG004 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ SG005 คณิตศาสตร์ และสถิติสาํ หรับ ชีวิตประจําวัน SG006 การรู้ทางดิจิทลั BG003 การประกอบการเชิงนวัตกรรม ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชา และ HG022 การบริ หารตนเอง คําอธิบายรายวิชา HG032 ทักษะการดํารงชีวิตในสังคมโลก
4.2 หมวดวิชาเฉพาะ 4.2.1 วิชาพืน้ ฐานวิชาชีพ BA961 หลักการตลาด EC961 เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น LW961 กฎหมาย การเมืองและการปกครอง ของไทย CA106 หลักนิเทศศาสตร์
4.2 หมวดวิชาเฉพาะ 4.2.1 กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ BA961 หลักการตลาด EC961 เศรษฐศาสตร์ เบื ้องต้ น LW961 กฎหมาย การเมืองและการปกครอง ของไทย CA106 หลักนิเทศศาสตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
141
คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CA107 พื ้นฐานการสือ่ สารมวลชน
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 CA111 พื ้นฐานการสือ่ สารมวลชนและสือ่ ใหม่ CA108 พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ CA108 พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ CA109 พัฒนาทักษะการอ่าน CA109 พัฒนาทักษะการอ่าน CA110 พัฒนาทักษะการเขียน CA110 พัฒนาทักษะการเขียน CA202 วาทนิเทศ CA202 วาทนิเทศ CA205 ศิลปะการสือ่ สารผ่านภาพและเสียง CA205 ศิลปะการสือ่ สารผ่านภาพและเสียง CA206 หลักการสือ่ ข่าวและเขียนข่าว CA206 หลักการสือ่ ข่าวและเขียนข่าว CA303 ภาษาอังกฤษสําหรับงาน CA303 ภาษาอังกฤษสําหรับงาน นิเทศศาสตร์ นิเทศศาสตร์ CA304 การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ CA304 การวิจยั เบื ้องต้ นทางนิเทศศาสตร์ CA305 การจัดการสารสนเทศเพื่องาน CA305 การจัดการสารสนเทศเพื่องาน นิเทศศาสตร์ นิเทศศาสตร์ CA306 กฎหมายและจริ ยธรรมนิเทศศาสตร์ CA306 กฎหมายและจริ ยธรรมนิเทศศาสตร์ 4.2.2 กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา 4.2.2 กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา CS001 ความคิดสร้ างสรรค์เพื่อการสือ่ สาร CS001 ความคิดสร้ างสรรค์เพื่อการสือ่ สาร เชิงกลยุทธ์ เชิงกลยุทธ์ CS002 เครื่ องมือเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ CS002 เครื่ องมือเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ CS003 การวิจยั เพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ CS003 การวิจยั เพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ 4.2.3 กลุ่มวิชาเอก 4.2.3 กลุ่มวิชาเอก (การประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ ) (การประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ ) 4.2.3.1 วิชาเอกบังคับ 4.2.3.1 วิชาเอกบังคับ CS101 การสือ่ สารองค์กร CS101 การสือ่ สารองค์กร CS102 การประชาสัมพันธ์การตลาด CS102 การประชาสัมพันธ์การตลาด CS103 การออกแบบสารและการเขียนเพื่อ CS103 การออกแบบสารและการเขียนเพื่อ การประชาสัมพันธ์ 1 การประชาสัมพันธ์ 1 CS104 การออกแบบสารและการเขียนเพื่อ CS104 การออกแบบสารและการเขียนเพื่อ การประชาสัมพันธ์ 2 การประชาสัมพันธ์ 2 CS105 การออกแบบและผลิ ต สื่ อ เพื่ อ การ CS105 การออกแบบและผลิ ต สื่ อ เพื่ อ การ ประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ CS106 การวางแผนและบริ หารงาน CS106 การวางแผนและบริ หารงาน ประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ ประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ CS107 สัมมนาการประชาสัมพันธ์เชิง CS107 สัมมนาการประชาสัมพันธ์เชิง กลยุทธ์ กลยุทธ์ CS108 ประสบการณ์วิชาชีพทาง CS108 ประสบการณ์วิชาชีพทาง การประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ CS109 โครงงานด้ านการประชาสัมพันธ์ CS109 โครงงานด้ านการประชาสัมพันธ์ CS110 สหกิจศึกษา CS110 สหกิจศึกษา หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
142
เหตุผลประกอบ ปรับคําอธิบายรายวิชา เกี่ยวกับสือ่ ใหม่ คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม ปรับชื่อวิชาภาษาอังกฤษ คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม
คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 4.2.3.2 รายวิชาเลือก CS131 การประชาสัมพันธ์ธุรกิจบันเทิงและ การท่องเที่ยว CS132 การประชาสัมพันธ์ธุรกิจการเงิน
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 4.2.3.2 วิชาเอกเลือก CS131 การประชาสัมพันธ์ธุรกิจบันเทิงและ การท่องเที่ยว CS132 การประชาสัมพันธ์ธุรกิจการเงิน
เหตุผลประกอบ
CS133 เทคนิคการพูดและนําเสนอผลงาน เพื่อการประชาสัมพันธ์ CS134 การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการสือ่ สาร เชิงกลยุทธ์ CS135 กลยุทธ์สอื่ ใหม่เพื่อการ ประชาสัมพันธ์ CS136 ชุมชนสัมพันธ์และความรับผิดชอบ ต่อสังคม CS137 การบริ หารความสัมพันธ์ CS138 การสือ่ สารเพื่อการพัฒนา CS139 การประชาสัมพันธ์ระดับสากล CS140 การสือ่ สารรณรงค์ CS141 การพูดภาษาอังกฤษเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ CS142 การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ CS143 การศึกษาเฉพาะบุคคล CS144 หัวข้ อพิเศษทางการประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์
CS133 เทคนิคการพูดและนําเสนอผลงาน เพื่อการประชาสัมพันธ์ CS134 การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการสือ่ สาร เชิงกลยุทธ์ CS135 กลยุทธ์สอื่ ใหม่เพื่อการ ประชาสัมพันธ์ CS136 ชุมชนสัมพันธ์และความรับผิดชอบ ต่อสังคม CS137 การบริ หารความสัมพันธ์ CS138 การสือ่ สารเพื่อการพัฒนา CS139 การประชาสัมพันธ์ระดับสากล CS140 การสือ่ สารรณรงค์ CS141 การพูดภาษาอังกฤษเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ CS142 การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ CS143 การศึกษาเฉพาะบุคคล CS144 หัวข้ อพิเศษทางการประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์
คงเดิม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
143
คงเดิม คงเดิม
คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 4.2.4 วิชาเอก (การโฆษณา) 4.2.4.1 รายวิชาบังคับ CS201 การโฆษณากับพฤติกรรมผู้บริ โภค CS202 การสือ่ สารทางการตลาด CS203 การสร้ างสรรค์และเขียนบทโฆษณา CS204 การผลิตงานโฆษณา CS205 การวางแผนช่องทางการโฆษณา CS206 การรณรงค์ทางการโฆษณา CS207 สัมมนาการโฆษณา CS208 ประสบการณ์วิชาชีพทางการ โฆษณา CS209 โครงงานด้ านการโฆษณา CS210 สหกิจศึกษา 4.2.4.2 วิชาเอกเลือก CS231 การโฆษณากับสังคม CS232 เทคนิคการนําเสนอผลงานโฆษณา CS233 ทฤษฎีการจูงใจเพื่องานโฆษณา CS234 การสร้ างสรรค์โฆษณาผ่านสือ่ สมัยใหม่ CS235 การออกแบบโฆษณา CS236 การถ่ายภาพเพื่องานโฆษณา CS237 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องาน โฆษณา CS238 CS239 CS240 CS241
การจัดการโฆษณา การกํากับศิลป์เพื่องานโฆษณา การศึกษาเฉพาะบุคคล หัวข้ อพิเศษทางการโฆษณา 4.2.5 กลุ่มวิชาเอก (การสื่อสารการตลาดข้ ามวัฒนธรรม) 4.2.5.1 วิชาเอกบังคับ CS301 หลักการสือ่ สารการตลาด CS302 จิตวิทยาผู้บริ โภคหลากวัฒนธรรม
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 4.2.4 กลุ่มวิชาเอก(การโฆษณา) 4.2.4.1 วิชาเอกบังคับ CS201 การโฆษณากับพฤติกรรมผู้บริ โภค CS202 การสือ่ สารทางการตลาด CS203 การสร้ างสรรค์และเขียนบทโฆษณา CS204 การผลิตงานโฆษณา CS205 การวางแผนช่องทางการโฆษณา CS206 การรณรงค์ทางการโฆษณา CS207 สัมมนาการโฆษณา CS208 ประสบการณ์วิชาชีพทางการ โฆษณา CS209 โครงงานด้ านการโฆษณา CS210 สหกิจศึกษา 4.2.4.2 วิชาเอกเลือก CS231 การโฆษณากับสังคม CS232 เทคนิคการนําเสนอผลงานโฆษณา CS233 ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา CS234 การสร้ างสรรค์โฆษณาผ่านสือ่ สมัยใหม่ CS235 การออกแบบโฆษณา CS236 การถ่ายภาพเพื่องานโฆษณา CS237 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องาน โฆษณา CS238 การสร้ างแบรนด์ CS239 การกํากับศิลป์เพื่องานโฆษณา CS240 การจัดการโฆษณา CS241 การศึกษาเฉพาะบุคคล CS242 หัวข้ อพิเศษทางการโฆษณา
คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม ปรับชื่อวิชา คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม วิชาใหม่ ปรับรหัสวิชา ปรับรหัสวิชา ปรับรหัสวิชา ปรับรหัสวิชา ยกเลิกกลุ่มวิชาเอก ปรับออก ปรับออก ปรับออก
CS303 เครื่ องมือสือ่ สารการตลาดเชิงกลยุทธ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
เหตุผลประกอบ
144
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
CS304 CS305 CS306 CS307 CS308 CS309 CS310 CS331 CS332 CS333 CS334 CS335 CS336 CS337 CS338 CS339 CS340
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 สือ่ ดิจิทลั เพื่อการสือ่ สารการตลาด ข้ ามวัฒนธรรม การสร้ างแบรนด์ข้ามวัฒนธรรม การรณรงค์ทางการสือ่ สารการตลาด ข้ ามวัฒนธรรม สัมมนาการสือ่ สารการตลาด ข้ ามวัฒนธรรม ประสบการณ์วิชาชีพทางการสือ่ สาร การตลาด โครงงานด้ านการสือ่ สารการตลาด ข้ ามวัฒนธรรม สหกิจศึกษา 4.2.5.2 วิชาเอกเลือก การสือ่ สารการตลาดข้ ามวัฒนธรรม เพื่อการท่องเที่ยว การสือ่ สารการตลาดสําหรับธุรกิจ ค้ าปลีกข้ ามชาติ การสือ่ สารการตลาดสําหรับ ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม การสือ่ สารการตลาดเชิงกิจกรรม ไมซ์เพื่อการสือ่ สารการตลาด ข้ ามวัฒนธรรม การออกแบบสารเพื่อการสือ่ สาร การตลาด ภาษาอังกฤษเพื่องานสือ่ สาร การตลาด การจัดการธุรกิจการสือ่ สารการตลาด ข้ ามวัฒนธรรม การศึกษาเฉพาะบุคคล หัวข้ อพิเศษทางการสือ่ สาร การตลาด
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก ปรับออก
145
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 4.2.6 กลุ่มวิชาเอก (การสร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ) 4.2.6.1 วิชาเอกบังคับ CS 401 พื ้นฐานการออกแบบ CS 402 ทัศนศิลป์เพื่อการสือ่ สาร CS 403 เครื่ องมือเพื่อการออกแบบสือ่ และการ สือ่ สาร CS 404 การจัดการแบรนด์และการออกแบบ สือ่ CS 405 การสร้ างสรรค์และออกแบบเชิงธุรกิจ CS 406 โครงงานด้ านการออกแบบสือ่ 1 CS 407 สัมมนากลยุทธ์แบรนด์และการ ออกแบบสือ่ CS 408 ประสบการณ์วิชาชีพทางการสร้ าง สรรค์และออกแบบสือ่ CS 409 โครงงานด้ านการออกแบบสือ่ 2 CS 410 สหกิจศึกษา 4.2.6.2 วิชาเอกเลือก CS 431 สุนทรี ยภาพทางศิลปะและการ ออกแบบ CS 432 การออกแบบสือ่ อินเตอร์ แอคทีฟ CS 433 การออกแบบภาพประกอบสือ่ CS 434 การสร้ างภาพดิจิทลั CS 435 การออกแบบกราฟิ กเพื่อองค์กรและ ผลิตภัณฑ์ CS 436 การออกแบบเพื่อกิจกรรมพิเศษและ นิทรรศการ CS 437 การจัดการธุรกิจการออกแบบสือ่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 4.2.6 กลุ่มวิชาเอก (การสร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ) 4.2.6.1 วิชาเอกบังคับ CS 401 พื ้นฐานการออกแบบ CS 402 ทัศนศิลป์เพื่อการสือ่ สาร CS 403 เครื่ องมือเพื่อการออกแบบสือ่ และการ สือ่ สาร CS 404 การจัดการแบรนด์และการออกแบบ สือ่ CS 405 การสร้ างสรรค์และออกแบบเชิงธุรกิจ CS 406 โครงงานด้ านการออกแบบสือ่ 1 CS 407 สัมมนากลยุทธ์แบรนด์และการ ออกแบบสือ่ CS 408 ประสบการณ์วิชาชีพทางการสร้ าง สรรค์และออกแบบสือ่ CS 409 โครงงานด้ านการออกแบบสือ่ 2 CS 410 สหกิจศึกษา 4.2.6.2 วิชาเอกเลือก CS 431 สุนทรี ยภาพทางศิลปะและการ ออกแบบ CS 432 การออกแบบสือ่ อินเตอร์ แอคทีฟ CS 433 การออกแบบภาพประกอบสือ่ CS 434 การสร้ างภาพดิจิทลั CS 435 การออกแบบกราฟิ กเพื่อองค์กรและ ผลิตภัณฑ์ CS 436 การออกแบบเพื่อกิจกรรมพิเศษและ นิทรรศการ CS 437 การจัดการธุรกิจการออกแบบสือ่
146
เหตุผลประกอบ คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 4.2.6 กลุ่มวิชาโทสาขาวิชา นิเทศศาสตร์ CX100 CX101 CX102 CX103 CX104
นิเทศศาสตร์ เบื ้องต้ น การสือ่ สารเพื่อการพัฒนา การโฆษณากับสังคม พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ เครื่ องมือเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 4 .2 . 7 ก ลุ่ ม วิ ช า โ ท ส า ข า วิ ช า การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ สําหรั บนักศึกษาต่ าง คณะ
เหตุผลประกอบ เพิ่มเติมรายวิชาโท สาขาวิชาการสื่อสาร เชิงกลยุทธ์ สาํ หรับ นักศึกษาต่ างคณะ CX100 นิเทศศาสตร์ เบื ้องต้ น คงเดิม CX101 การสือ่ สารเพื่อการพัฒนา คงเดิม CX102 การโฆษณากับสังคม คงเดิม CX103 พื ้นฐานการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ คงเดิม CX104 เครื่ องมือเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ คงเดิม CX105 ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา วิชาใหม่ CX106 กลยุทธ์การโฆษณาผ่านสือ่ สมัยใหม่ วิชาใหม่ 4 .2 . 7 ก ลุ่ ม วิ ช า โ ท ส า ข า วิ ช า เพิ่มกลุ่มวิชาโทสําหรับ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ สําหรั บนักศึกษาต่ าง นักศึกษาต่ างสาขาวิชา สาขาวิชา ตามมติท่ ปี ระชุมคณะ นิเทศศาสตร์ CX104 เครื่ องมือเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ วิชาใหม่ CX105 ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา วิชาใหม่ CX106 กลยุทธ์การโฆษณาผ่านสือ่ สมัยใหม่ วิชาใหม่ CX107 การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการ วิชาใหม่ ประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ CX108 การสือ่ สารรณรงค์ วิชาใหม่ CX109 การสร้ างแบรนด์ วิชาใหม่
147
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 5. คําอธิบายรายวิชา 5.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 5.1.1 กลุ่มวิชาภาษา HG008 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3 (3-0-6) (Thai Language for Communication) พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า ไท ย มาตรฐาน หลักการฟั ง การพูด การอ่าน และ การเขี ย น การใช้ ภาษาไทยเพื่ อ ถ่ า ยทอด ความคิดอย่างเป็ นระบบ และสามารถสือ่ สารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ HG009 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 3 (3-0-6) (English for Communication 1) พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการ สือ่ สารในชีวติ ประจําวัน โดยเน้ นทักษะการฟั ง เพื่อจับใจความสําคัญและรายละเอียดจาก ข้ อความหรื อบทสนทนาสัน้ ๆ การพูดทักทาย เริ่ มต้ นสนทนา แนะนําตนเอง ต้ อนรับ ถามและ ตอบข้ อมูลอย่างง่าย การอ่านข้ อความระดับย่อ หน้ าอย่างง่าย ๆ เพื่อจับใจความสําคัญและ แสดงความคิดเห็น การเขียนข้ อความสัน้ ๆ ใน รูปแบบทัว่ ไปและผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ 5. คําอธิบายรายวิชา 5.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 5.1.1 กลุ่มวิชาภาษา HG008 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ปรับชื่อวิชา 3 (3-0-6) (Thai for Communication) พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า ไท ย มาตรฐาน หลักการฟั ง การพูด การอ่าน และ การเขี ย น การใช้ ภาษาไทยเพื่ อ ถ่ า ยทอด ความคิดอย่างเป็ นระบบ และสามารถสือ่ สารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ HG009 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 คงเดิม 3 (3-0-6) (English for Communication 1) พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการ สือ่ สารในชีวติ ประจําวัน โดยเน้ นทักษะการฟั ง เพื่อจับใจความสําคัญและรายละเอียดจาก ข้ อความหรื อบทสนทนาสัน้ ๆ การพูดทักทาย เริ่ มต้ นสนทนา แนะนําตนเอง ต้ อนรับ ถามและ ตอบข้ อมูลอย่างง่าย การอ่านข้ อความระดับย่อ หน้ าอย่างง่าย ๆ เพื่อจับใจความสําคัญและ แสดงความคิดเห็น การเขียนข้ อความสัน้ ๆ ใน รูปแบบทัว่ ไปและผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์
148
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3 (3-0-6) (English for Communication 2) ศึกษาก่อน HG009 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสือ่ สาร 1 หรื อ คะแนน TOEIC 250 หรื อ เทียบเท่า พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อ การสือ่ สารในชีวิตประจําวัน โดยเน้ นทักษะการ ฟั งเพื่อจับใจความสําคัญและรายละเอียดจาก ข้ อความหรื อบทสนทนาที่ซบั ซ้ อนขึ ้น การมีสว่ น ร่ วมในการสนทนาโดยการถามตอบและแสดง ความคิดเห็น การพูดในสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่ พบในชี วิตประจํ าวัน รวมทัง้ การนําเสนอและ เปรี ยบเทียบข้ อมูลทางธุรกิจอย่างง่าย การอ่าน ข้ อ ความในหัว ข้ อ ที่ ห ลากหลายและสามารถ สรุ ป เรื่ องได้ การเขี ย นข้ อความในหั ว ข้ อที่ หลากหลายทัง้ ในรู ป แบบทั่ว ไปและผ่ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 3 (3-0-6) (English for Communication 3) ศึกษาก่อน HG010 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสือ่ สาร 2 หรื อ คะแนน TOEIC 350 หรื อ เทียบเท่า พั ฒ นาทั ก ษะการใช้ ภาษาอัง กฤษ เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจในชีวิตประจําวัน ซึ่ง เป็ นการบูรณาการทักษะการฟั ง พูด อ่าน และ เขี ย น โดยเน้ น การสนทนาทางโทรศัพ ท์ การ นําเสนอข้ อมูลเกี่ยวกับบริ ษัท สินค้ า และบริ การ การเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ ก า ร เ ขี ย น บั น ทึ ก ภ า ย ใ น แ ล ะ จ ด ห ม า ย อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ การอ่ า นข่ า วที่ เ กี่ ย วกับ ธุ ร กิ จ และสรุปใจความสําคัญในเรื่ องที่อา่ น
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 คงเดิม 3 (3-0-6) (English for Communication 2) ศึกษาก่อน HG009 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสือ่ สาร 1 หรื อ คะแนน TOEIC 250 หรื อ เทียบเท่า พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อ การสือ่ สารในชีวิตประจําวัน โดยเน้ นทักษะการ ฟั งเพื่อจับใจความสําคัญและรายละเอียดจาก ข้ อความหรื อบทสนทนาที่ซบั ซ้ อนขึ ้น การมีสว่ น ร่ วมในการสนทนาโดยการถามตอบและแสดง ความคิดเห็น การพูดในสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่ พบในชี วิตประจํ าวัน รวมทัง้ การนําเสนอและ เปรี ยบเทียบข้ อมูลทางธุรกิจอย่างง่าย การอ่าน ข้ อ ความในหัว ข้ อ ที่ ห ลากหลายและสามารถ สรุ ป เรื่ องได้ การเขี ย นข้ อความในหั ว ข้ อที่ หลากหลายทัง้ ในรู ป แบบทั่ว ไปและผ่ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 คงเดิม 3 (3-0-6) (English for Communication 3) ศึกษาก่อน HG010 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสือ่ สาร 2 หรื อ คะแนน TOEIC 350 หรื อ เทียบเท่า พั ฒ นาทั ก ษะการใช้ ภาษาอัง กฤษ เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจในชีวิตประจําวัน ซึ่ง เป็ นการบูรณาการทักษะการฟั ง พูด อ่าน และ เขี ย น โดยเน้ น การสนทนาทางโทรศัพ ท์ การ นําเสนอข้ อมูลเกี่ยวกับบริ ษัท สินค้ า และบริ การ การเปรี ยบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลทางธุรกิจ ก า ร เ ขี ย น บั น ทึ ก ภ า ย ใ น แ ล ะ จ ด ห ม า ย อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ การอ่ า นข่ า วที่ เ กี่ ย วกับ ธุ ร กิ จ และสรุปใจความสําคัญในเรื่ องที่อา่ น
149
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 3 (3-0-6) (English for Communication 4) ศึกษาก่อน HG011 ภาษาอังกฤษ เพื่อการสือ่ สาร 3 หรื อ คะแนน TOEIC 450 หรื อ เทียบเท่า พัฒนาทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารทางธุรกิจในชีวิตประจําวัน ซึ่งเป็ น การบูรณาการทักษะการฟั ง พูด อ่าน และเขียน โดยเน้ นการประชุม การเจรจาต่อรองทางธุรกิจ เบื อ้ งต้ น การสัม ภาษณ์ ง านในสถานการณ์ จํ า ลอง การเขี ย นจดหมายสมัค รงาน และ ประวัติ ส่ ว นตัว ในรู ป แบบทั่ว ไปและผ่ า นสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ การอ่านบทความและสรุปความ เกี่ ย วกับ สถานการณ์ ธุ รกิ จในปั จจุบัน รวมทัง้ การสือ่ สารทางธุรกิจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง 5.1.2 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ SG004 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Modern Science and Technology) วิ ท ยาการทางวิ ท ยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ส มัย ใหม่ นวัต กรรมและการสร้ าง องค์ ค วามรู้ ความก้ า วหน้ า ทางวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้ อม และการพั ฒ นาทรั พ ยากรธรรมชาติ ใ นการ รองรับความต้ องการของมนุษย์ เทคโนโลยีชีวภาพ วัสดุศาสตร์ พลังงานทดแทน นาโนเทคโนโลยี SG005 คณิตศาสตร์ และสถิติสาํ หรับ ชีวิตประจําวัน 3 (3-0-6) (Mathematics and Statistics for Daily Life) ความสํ า คัญ ของคณิ ต ศาสตร์ และ สถิติ บทบาทของคณิตศาสตร์ และสถิติที่ใช้ ใน ชีวิตประจําวันและในทางธุรกิจ การวิเคราะห์ ข้ อมูลเบื ้องต้ นและการแปลผล โดยใช้ โปรแกรม ประยุกต์ที่ทนั สมัย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 3 คงเดิม (3-0-6) (English for Communication 4) ศึกษาก่อน HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อ การสือ่ สาร 3 หรื อ คะแนน TOEIC 450 หรื อเทียบเท่า พัฒ นาทัก ษะการใช้ ภาษาอัง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารทางธุ ร กิ จ ในชี วิ ต ประจํ า วัน ซึ่ ง เป็ น การบูร ณาการทักษะการฟั ง พูด อ่า น และเขียน โดยเน้ น การประชุม การเจรจาต่อ รองทางธุรกิ จ เบื ้องต้ น การสัมภาษณ์งานในสถานการณ์จําลอง การเขียนจดหมายสมัครงาน และประวัติสว่ นตัวใน รู ปแบบทัว่ ไปและผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การอ่าน บทความและสรุ ปความเกี่ยวกับสถานการณ์ธุรกิจ ในปั จจุ บั น รวมทั ง้ การสื่ อ สารทางธุ ร กิ จ ใน วัฒนธรรมที่แตกต่าง 5.1.2 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ SG004 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ คงเดิม 3 (3-0-6) (Modern Science and Technology) วิ ท ย า ก า ร ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เทคโนโลยีสมัยใหม่ นวัตกรรมและการสร้ างองค์ ความรู้ ความก้ าวหน้ าทางวิ ท ยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีที่มีผลกระทบต่อ สภาพแวดล้ อม และ การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติในการรองรับความ ต้ องการของมนุษย์ เทคโนโลยีชีวภาพ วัสดุศาสตร์ พลังงานทดแทน นาโนเทคโนโลยี SG005 คณิตศาสตร์ และสถิติสาํ หรับ คงเดิม ชีวิตประจําวัน 3 (3-0-6) (Mathematics and Statistics for Daily Life) ความสําคัญ ของคณิ ตศาสตร์ และสถิ ติ บ ท บ า ท ข อ ง ค ณิ ต ศ า สต ร์ แ ละ สถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ น ชี วิ ต ประจํ า วัน และในทางธุ ร กิ จ การวิ เ คราะห์ ข้ อ มูล เบื อ้ งต้ น และการแปลผล โดยใช้ โ ปรแกรม ประยุกต์ที่ทนั สมัย
150
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 SG006 การรู้ทางดิจิทัล 3 (3-0-6) (Digital Literacy) การใช้ สอื่ ดิจิทลั และเทคโนโลยี สารสนเทศในการสือ่ สาร แลกเปลีย่ นเรี ยนรู้ และทํางานร่วมกัน การใช้ เครื่ องมือและแหล่ง ทรัพยากรดิจิทลั ในการค้ นคว้ า รวบรวม วิเคราะห์และประเมินข้ อมูลเพื่อการตัดสินและ แก้ ปัญหา การศึกษาองค์ความรู้ใหม่ ๆ การ สร้ างสรรค์และนําเสนอผลงานดิจิทลั จริ ยธรรม และความปลอดภัยในการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร ตลอดจนผลกระทบ ของสือ่ ดิจิทลั ที่มตี อ่ บุคคล ธุรกิจ และการเรี ยนรู้ ตลอดชีวติ
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 SG006 การรู้ทางดิจิทัล 3 (3-0-6) (Digital Literacy) การใช้ สื่ อ ดิ จิ ทั ล และเทคโนโลยี สารสนเทศในการสื่อ สาร แลกเปลี่ย นเรี ยนรู้ และทํางานร่ วมกัน การใช้ เครื่ องมือและแหล่ง ทรั พ ยากรดิ จิ ทั ล ในการค้ นคว้ า รวบรวม วิเคราะห์และประเมินข้ อมูลเพื่อการตัดสินและ แก้ ปั ญ หา การศึก ษาองค์ ค วามรู้ ใหม่ ๆ การ สร้ างสรรค์และนําเสนอผลงานดิจิทลั จริ ยธรรม และความปลอดภั ย ในการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ตลอดจนผลกระทบ ของสือ่ ดิจิทลั ที่มีตอ่ บุคคล ธุรกิจ และการเรี ยนรู้ ตลอดชีวิต
5.1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ BG002 ธุรกิจสมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Modern Business) หลักการและการประยุกต์ใช้ ความรู้ พื ้นฐานทางด้ านธุรกิจ การเป็ นผู้ประกอบการ รูปแบบการทําธุรกิจสมัยใหม่ ความรู้เบื ้องต้ นด้ าน การเงิน การตลาด บัญชี เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย ธุรกิจ สภาพแวดล้ อมทางธุรกิจ หลักธรรมาภิบาล ในองค์การ จรรยาบรรณทางธุรกิจ ความเข้ าใจ ใน เรื่ อง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจเชิงสร้ างสรรค์ เศรษฐกิจสีเขียว ความรับผิดชอบต่อสังคม และ วิสาหกิจสังคม 5.1.4 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ HG022 การบริหารตนเอง 3 (3-0-6) (Self-Management) หลัก การและการประยุกต์ ใช้ ความรู้ เรื่ องความแตกต่างระหว่างบุคคลทางจิตวิทยา พฤติ ก รรมทางสั ง คมของบุ ค คลและกลุ่ ม เกี่ ยวกับการรั บรู้ การเรี ยนรู้ แรงจูงใจ ความ ฉลาดทางอารมณ์ การมี วุฒิภาวะ และ สุขภาวะ การนําและการทํางานเป็ นทีม การจัดการความ ขัดแย้ งอย่างสร้ างสรรค์ หลักการคิดและการใช้ เหตุผล การวิเคราะห์และเข้ าใจพฤติกรรมของ มนุษ ย์ แ ละนํ าไปสู่การรู้ จักตนเอง เข้ าใจผู้อื่น และปรับตัวได้ มีคุณธรรมและจริ ยธรรมในการ ดําเนินชีวิต
5.1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ BG003 การประกอบการเชิงนวัตกรรม 3 (3-0-6) (Innovative Enterpreneurship) หลักการและการประยุกต์ ใช้ ความรู้ ทางด้ านนวัตกรรมกาประกอบการ รู ปแบบ การทํา ธุ รกิ จสมั ยใหม่ ความรู้ เบื อ้ งต้ นด้ านการเงิ น การตลาด บัญชี เศรษฐศาสตร์ กฎหมายธุ รกิ จ สภาพแวดล้ อมทางธุ รกิ จ หลักธรรมาภิ บาลใน องค์ การ จรรยาบรรณทางธุรกิ จ รวมทัง้ เศรษฐกิจ พอเพียง เศรษฐกิจเชิงสร้ างสรรค์ เศรษฐกิจสีเขียว ความรับผิดชอบต่อสังคม และวิสาหกิจสังคม 5.1.4 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ HG022 การบริหารตนเอง 3 (3-0-6) (Self-Management) หลักการและการประยุกต์ใช้ ความรู้ เรื่ อง ความแตกต่ า งระหว่ า งบุ ค คลทางจิ ตวิ ท ยา พฤติกรรมทางสังคมของบุคคลและกลุม่ เกี่ยวกับการ รับรู้ การเรี ยนรู้ แรงจูงใจ ความฉลาดทางอารมณ์ การมี วุฒิภาวะ และ สุขภาวะ มีความอดทน ใจกว้ าง ยอมรับฟั งความคิดเห็นที่แตกต่าง การนําและการ ทํ างานเป็ นที ม การจั ดการความขั ดแย้ งอย่ าง สร้ างสรรค์ หลักการคิ ดและการใช้ เหตุ ผล การ วิเคราะห์และเข้ าใจพฤติกรรมของมนุษย์และนําไปสู่ การรู้จกั ตนเอง เข้ าใจผู้อื่น และปรับตัวได้ มีคณ ุ ธรรม และจริ ยธรรมในการดําเนินชีวิต
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
151
เหตุผลประกอบ คงเดิม
ปรับรหัสวิชา ชื่อวิชา และ คําอธิบายรายวิชา เพื่อให้ สอดคล้ องกับนโยบาย และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย
คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 5.1.5 กลุ่มวิชาพัฒนาคุณภาพชีวิต HG032 ทักษะการดํารงชีวิตในสังคมโลก 3 (3-0-6) (Global Life Skills) ความรู้ และทัก ษะที่ จํ า เป็ นในการ ดํ า รงชี วิต ทัง้ ของตนเองและทางสังคม ระบบ ทางสัง คม โครงสร้ างและสถาบัน ทางสัง คม ความเป็ นพลเมื อ งในสั ง คมภายใต้ ระบอบ ประชาธิ ปไตย การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก และกลุ่ ม ประเทศอาเซี ย นที่ มี ต่ อ สัง คมไทย ตลอดจนศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลายใน สัง คมโลก รวมทัง้ การพัฒ นาบุค ลิก ภาพ เพื่ อ เสริ มสร้ างทักษะในการอยู่ร่วมกันในสังคมและ การพัฒนาสังคมให้ อยู่ดีมีสขุ รวมทังสร้ ้ างความ เข้ าใจอันดีระหว่างประเทศ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ 5.1.5 กลุ่มวิชาพัฒนาคุณภาพชีวิต HG032 ทักษะการดํารงชีวิตในสังคมโลก คงเดิม 3 (3-0-6) (Global Life Skills) ความรู้ และทักษะที่ จําเป็ นในการ ดํารงชี วิต ทัง้ ของตนเองและทางสังคม ระบบ ทางสัง คม โครงสร้ างและสถาบัน ทางสัง คม ความเป็ นพลเมื อ งในสัง คมภายใต้ ระบอบ ประชาธิ ปไตย การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก และกลุ่ ม ประเทศอาเซี ย นที่ มี ต่ อ สัง คมไทย ตลอดจนศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลายใน สัง คมโลก รวมทัง้ การพัฒนาบุคลิกภาพ เพื่ อ เสริ มสร้ างทักษะในการอยู่ร่วมกันในสังคมและ การพัฒนาสังคมให้ อยูด่ ีมีสขุ รวมทังสร้ ้ างความ เข้ าใจอันดีระหว่างประเทศ
152
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 5.2 หมวดวิชาเฉพาะ 5.2.1 วิชาพืน้ ฐานวิชาชีพ BA961 หลักการตลาด 3 (3-0-6) (Principles of Marketing) ความหมายของการตลาด แนวความคิ ด ทางการตลาด ความสํา คัญ ของ การตลาดที่มีต่อธุรกิจและเศรษฐกิจ หน้ าที่ทาง การตลาด สิ่งแวดล้ อมที่มีอิทธิพลทางการตลาด พฤติกรรมและกระบวนการตัดสินใจซือ้ ตลาด และส่วนแบ่งการตลาด การใช้ ส่วนประสมทาง การตลาด ได้ แก่ ผลิตภัณฑ์ การตังราคา ้ การ จัดจําหน่าย และการส่งเสริ มการตลาด
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ 5.2 หมวดวิชาเฉพาะ 5.2.1 กลุ่มวิชาแกนนิเทศศาสตร์ BA961 หลักการตลาด 3 (3-0-6) คงเดิม (Principles of Marketing) ความหมายของการตลาด แนวความคิดทางการตลาด ความสําคัญของ การตลาดที่มีตอ่ ธุรกิจและเศรษฐกิจ หน้ าที่ทาง การตลาด สิ่ ง แวดล้ อมที่ มี อิ ท ธิ พ ลทาง การตลาด พฤติกรรมและกระบวนการตัดสินใจ ซื อ้ ตลาดและส่ ว นแบ่ ง การตลาด การใช้ ส่วนประสมทางการตลาด ได้ แก่ ผลิตภัณฑ์ การตังราคา ้ การจัดจําหน่าย และการส่งเสริ ม การตลาด
EC961 เศรษฐศาสตร์ เบือ้ งต้ น 3 (3-0-6) (Introduction to Economics ) หลัก พื น้ ฐานทางเศรษฐศาสตร์ ทั่ว ไป ระดับจุลภาคและมหภาค การทํางานของกลไก ราคา โครงสร้ างตลาดแบบต่ า ง ๆ การผลิ ต และต้ นทุนการผลิต ปั ญหาผลกระทบภายนอก และการจั ด สรรสิ น ค้ าสาธารณะ หลั ก การ เบื อ้ งต้ นของการคํ า นวณรายได้ ประชาชาติ โครงสร้ างของระบบเศรษฐกิจไทย การบริ โภค การออม การลงทุน ตลาดเงิ น และตลาดทุน การค้ าระหว่างประเทศ นโยบายการเงินและการ คลัง ปั ญ หาเศรษฐกิ จ ที่ สํ า คัญ อาทิ เงิ น เฟ้ อ การว่ า งงาน เงิ น ฝื ด เงิ น ตึ ง รวมทั ง้ ปั ญหา เศรษฐกิจปั จจุบนั และแนวทางการแก้ ไข LW961 กฎหมาย การเมือง 3 (3-0-6) และการปกครองของไทย (Thai Law Politics and Government) ความหมาย ความสําคัญของหลักการ ของกฎหมาย ระบบกฎหมาย หลัก กฎหมาย ทั่วไป กฎหมายรั ฐธรรมนูญ กฎหมายแพ่งและ พาณิ ช ย์ กฎหมายอาญา ศึ ก ษารู ป แบบของ การเมือง รัฐและสถาบันทางการเมือง โครงสร้ าง และวิวฒ ั นาการทางการปกครองของไทย ระบบ และกลไกการบริ หารของรัฐ
EC961 เศรษฐศาสตร์ เบือ้ งต้ น 3 (3-0-6) คงเดิม (Introduction to Economics ) หลัก พื น้ ฐานทางเศรษฐศาสตร์ ทั่ว ไป ระดับจุลภาคและมหภาค การทํางานของกลไก ราคา โครงสร้ างตลาดแบบต่าง ๆ การผลิต และ ต้ นทุนการผลิต ปั ญหาผลกระทบภายนอกและ การจัดสรรสินค้ าสาธารณะ หลักการเบื ้องต้ น ของการคํานวณรายได้ ประชาชาติ โครงสร้ าง ของระบบเศรษฐกิจไทย การบริ โภค การออม การลงทุน ตลาดเงิ น และตลาดทุน การค้ า ระหว่างประเทศ นโยบายการเงินและการคลัง ปั ญ หาเศรษฐกิ จ ที่ สํา คัญ อาทิ เงิ น เฟ้ อ การ ว่างงาน เงินฝื ด เงินตึง รวมทังปั ้ ญหาเศรษฐกิจ ปั จจุบนั และแนวทางการแก้ ไข LW961 กฎหมาย การเมือง 3 (3-0-6) คงเดิม และการปกครองของไทย (Thai Law Politics and Government) ความหมาย ความสําคัญของหลักการ ของกฎหมาย ระบบกฎหมาย หลักกฎหมาย ทัว่ ไป กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายแพ่งและ พาณิ ช ย์ ก ฎหมายอาญา ศึ ก ษารู ป แบบของ การเมื อ ง รั ฐและสถาบั น ทางการเมื อ ง โครงสร้ างและวิ วัฒ นาการทางการปกครอง ของไทย ระบบและกลไกการบริ หารของรัฐ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
153
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CA106 หลักนิเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) (Principles of Communication) ความหมาย ความสํ า คั ญ ประเภท องค์ประกอบ และกระบวนการสื่อสาร หลักการ สื่ อ สาร ปั จจั ย และอุ ป สรรคของการสื่ อ สาร แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการสือ่ สารในระดับต่าง ๆ ได้ แก่ การสื่ อ สารภายในบุ ค คล การสื่ อ สาร ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ค ล ก า ร สื่ อ ส า ร ก ลุ่ ม ก า ร สื่ อ สารมวลชน และบทบาทของการสื่ อ สาร ในการพัฒนาสังคม CA107 พืน้ ฐานการสื่อสารมวลชน 3 (3-0-6) (Fundamentals of Mass Communication) ศึกษาก่อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ ความหมาย ความสํ า คั ญ ประเภท องค์ประกอบ กระบวนการ และแบบจําลองของ การสื่อสารมวลชน วิวัฒนาการ บทบาทหน้ าที่ โครงสร้ าง ระบบสือ่ สารมวลชน จรรยาบรรณและ ความรับผิดชอบของสื่อมวลชน อิทธิพลของการ สือ่ สารมวลชนต่อสังคม การวิเคราะห์ ผู้รับ สารสื่อมวลชน องค์กรสื่อสารมวลชนที่เกี่ยวข้ อง ทังในและต่ ้ างประเทศ
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 CA106 หลักนิเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) (Principles of Communication) ความหมาย ความสํ า คัญ ประเภท องค์ประกอบ และกระบวนการสือ่ สาร หลักการ สื่ อ สาร ปั จ จัย และอุป สรรคของการสื่ อ สาร แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการสือ่ สารในระดับต่าง ๆ ได้ แก่ การสื่อสารภายในบุคคล การสื่อสาร ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ค ล ก า ร สื่ อ ส า ร ก ลุ่ ม ก า ร สื่ อ สารมวลชน และบทบาทของการสื่อ สาร ในการพัฒนาสังคม CA111 พื น้ ฐานการสื่ อสารมวลชนและ สื่อใหม่ 3 (3-0-6) ( Fundamentals of Mass Communication and New Media) ศึกษาก่อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ พัฒนาการ บทบาทหน้ าที่ โครงสร้ างระบบ ของสื่ อ สารมวลชนและสื่ อ ใหม่ องค์ ก ร สื่ อ ส า ร ม ว ล ช น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ทั ง้ ใ น แ ล ะ ต่ า งประเทศ หลัก การของการสร้ างสรรค์ เนื ้อหา และคุณสมบัติของผู้สร้ างสรรค์เนื ้อหา เพื่อเผยแพร่ ทางสื่อต่างๆ การวิเคราะห์ผ้ ูรับ สารสื่อมวลชนและสื่อใหม่ อิทธิ พลของการ สื่ อ ส า ร ม ว ล ช น แ ล ะ สื่ อ ใ ห ม่ ต่ อ สั ง ค ม จรรยาบรรณและความรั บ ผิ ด ชอบของ สือ่ มวลชนและสือ่ ใหม่
เหตุผลประกอบ คงเดิม
CA108 พืน้ ฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Fundamentals of Strategic Communication) ศึกษาก่อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ หลัก การ แนวคิ ด และทฤษฎี เ กี่ ยวกับ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ การสร้ างและสื่อสาร แบ รนด์ ระดับองค์กร ระดับสินค้ าและบริ การ การ ใช้ เครื่ องมือหลักในการสื่อสารแบรนด์ โดยเน้ น หลั ก การ แนวคิ ด ทฤษฎี และกระบวนการ ดําเนินงานเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ และการ โฆษณา จรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อ สังคมในการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ขององค์กร
CA108 พืน้ ฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Fundamentals of Strategic Communication) ศึกษาก่อน CA106 หลักนิเทศศาสตร์ หลักการ แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับ การประชาสัม พั น ธ์ การโฆษณา และการ สื่อสารเชิ งกลยุทธ์ การสร้ างและสื่อสารตรา สินค้ าและบริ การ รวมทัง้ การใช้ เครื่ องมือใน การสื่อสารตราสินค้ า จรรยาบรรณและความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สัง คมของการประชาสัม พัน ธ์ การโฆษณา และการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
ปรับเปลีย่ นคําอธิบาย รายวิชาตามข้ อแนะนําของ ผู้ทรงคุณวุฒิ และมติของ คณะกรรมการบริ หารคณะ นิเทศศาสตร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
154
ปรับคําอธิบายรายวิชาตาม ข้ อแนะนําของผู้ทรงคุณวุฒิ และมติของคณะ กรรมการบริ หารคณะนิเทศ ศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CA109 พัฒนาทักษะการอ่ าน 3 (3-0-6) (Reading Skill Development ) ฝึ กการอ่ า นเพื่ อ จั บ ใจความสํ า คั ญ ศึก ษารู ป แบบการเขี ย นของบทอ่าน วิ เ คราะห์ วิจารณ์ และประเมินคุณค่าของบทอ่าน โดยเน้ น บทอ่านจากสื่อต่าง ๆ ทังที ้ ่มีจุดมุง่ หมายเพื่องาน สือ่ สารมวลชนและงานอื่น ๆ ได้ แก่ ข่าว บทความ สารคดี สารคดีเชิงข่าว รายงาน
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CA109 พัฒนาทักษะการอ่ าน 3 (3-0-6) คงเดิม (Reading Skill Development ) ฝึ กการอ่ า นเพื่ อ จั บ ใจความสํ า คัญ ศึกษารู ปแบบการเขียนของบทอ่าน วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินคุณค่าของบทอ่าน โดย เน้ นบทอ่านจากสื่อต่าง ๆ ทัง้ ที่มีจุดมุ่งหมาย เพื่ อ งานสื่อ สารมวลชนและงานอื่ น ๆ ได้ แ ก่ ข่าว บทความ สารคดี สารคดีเชิงข่าว รายงาน
CA110 พัฒนาทักษะการเขียน 3 (3-0-6) (Writing Skill Development ) ศึกษาก่อน HG008 ภาษาไทยเพือ่ การ สือ่ สาร ฝึ กการเขี ย นอย่า งมี ร ะบบเพื่ อ ให้ บ รรลุ จุ ด ประสงค์ ที่ ต้ องการ ได้ แก่ การเขี ย นเพื่ อ เล่าเรื่ อง เพื่ออธิ บายคําหรื อข้ อความ เพื่อแสดง ความคิ ด เห็ น และเพื่ อ สร้ างจิ น ตนาการ โดย เริ่ มต้ นจากการกําหนดจุดมุ่งหมายของการเขียน การวางเค้ าโครงเรื่ อง การนําเสนอ และการใช้ ภาษาในการสือ่ สาร CA202 วาทนิเทศ 3 (3-0-6) (Speech Communication ) ท ฤ ษ ฎี ห ลั ก ก า ร พู ด ค ว า ม สํ า คั ญ องค์ ป ระกอบและประเภทของการพู ด การ เตรี ย มการพูด ฝึ กการพูด ประเภทต่า ง ๆ ในที่ ชุมชน ได้ แก่ การพูดเล่าเรื่ อง การพูดโน้ มน้ าวใจ การสัมภาษณ์ การประชุม การอภิปราย และการ โต้ ว าที รวมทัง้ ฝึ กการวิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ และ ประเมินผลการพูด
CA110 พัฒนาทักษะการเขียน 3 (3-0-6) คงเดิม (Writing Skill Development ) ศึกษาก่อน HG008 ภาษาไทยเพือ่ การ สือ่ สาร ฝึ กการเขียนอย่างมีระบบเพื่อให้ บรรลุ จุ ด ประสงค์ ที่ ต้ อ งการ ได้ แก่ การเขี ย นเพื่ อ เล่าเรื่ อง เพื่ออธิบายคําหรื อข้ อความ เพื่อแสดง ความคิดเห็น และเพื่อสร้ างจิ นตนาการ โดย เริ่ ม ต้ น จากการกํ า หนดจุด มุ่ง หมายของการ เขียน การวางเค้ าโครงเรื่ อง การนําเสนอ และ การใช้ ภาษาในการสือ่ สาร CA202 วาทนิเทศ 3 (3-0-6) คงเดิม (Speech Communication ) ทฤษฎี ห ลั ก การพู ด ความสํ า คั ญ องค์ ป ระกอบและประเภทของการพูด การ เตรี ยมการพูด ฝึ กการพูดประเภทต่าง ๆ ในที่ ชุมชน ได้ แก่ การพูดเล่าเรื่ อง การพูดโน้ มน้ าว ใจ การสัม ภาษณ์ การประชุม การอภิ ปราย และการโต้ วาที รวมทั ง้ ฝึ กการวิ เ คราะห์ วิจารณ์ และประเมินผลการพูด
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
155
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CA205 ศิลปะการสื่อสารผ่ านภาพและ เสียง 3 (2-2-5) (Audio and Visual Arts for Communication) จิตวิทยาการสื่อสารด้ วยภาพ ตัวอักษร และเสี ย ง การใช้ จิ ต วิ ท ยาในการถ่ า ยทอด ความคิ ด และความรู้ สึ ก เพื่ อ ให้ สอดคล้ อ งกับ ความรู้และความเข้ าใจของผู้รับสาร การ จัด องค์ ป ระกอบของภาพและเสี ย ง ทฤษฎี แ ละ เทคนิ ค เบื อ้ งต้ นเกี่ ย วกั บ การถ่ า ยภาพนิ่ ง และ ภาพเคลื่ อ นไหว ฝึ กการถ่ า ยภาพนิ่ ง และ ภาพเคลือ่ นไหวเบื ้องต้ นทังในสตู ้ ดิโอและ นอก สถานที่ CA206 หลักการสื่อข่ าวและเขียนข่ าว 3 (3-0-6) (Principles of News Reporting and Writing) ความหมาย องค์ประกอบ และประเภท ของข่ า ว คุ ณ สมบั ติ ความรั บ ผิ ด ชอบ และ จริ ยธรรมของผู้สื่อข่าว การประเมินคุณค่าของ แหล่งข่าว เน้ นเทคนิคการจับประเด็นข่าว เทคนิค การสื บ ค้ น และรวบรวมข้ อ มูล รวมทัง้ ฝึ กการ เ ขี ย น ข่ า ว เ พื่ อ ร า ย ง า น ท า ง ห นั ง สื อ พิ ม พ์ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ
CA205 ศิลปะการสื่อสารผ่ านภาพและ คงเดิม เสียง 3 (2-2-5) (Audio and Visual Arts for Communication) จิ ต วิ ท ย า ก า ร สื่ อ ส า ร ด้ ว ย ภา พ ตัว อัก ษร และเสี ย ง การใช้ จิ ต วิ ท ยาในการ ถ่ า ยทอดความคิ ด และความรู้ สึ ก เพื่ อ ให้ สอดคล้ องกั บ ความรู้ และความเข้ าใจของ ผู้รั บ สาร การจัด องค์ ป ระกอบของภาพและ เสีย ง ทฤษฎี และเทคนิ คเบื อ้ งต้ นเกี่ ยวกับการ ถ่ ายภาพนิ่ งและภาพเคลื่อนไหว ฝึ กการถ่ า ย ภาพนิ่ ง และภาพเคลื่ อ นไหวเบื อ้ งต้ นทัง้ ใน สตูดิโอและนอกสถานที่ CA206 หลักการสื่อข่ าวและเขียนข่ าว คงเดิม 3 (3-0-6) (Principles of News Reporting and Writing) ความหมาย องค์ ป ระกอบ และ ประเภทของข่าว คุณสมบัติ ความรับผิดชอบ และจริ ยธรรมของผู้สอื่ ข่าว การประเมินคุณค่า ของแหล่งข่าว เน้ นเทคนิคการจับประเด็นข่าว เทคนิคการสืบค้ นและรวบรวมข้ อมูล รวมทัง้ ฝึ กการเขียนข่าวเพื่อรายงานทางหนังสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
156
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ
CA303 ภาษาอังกฤษสําหรับงานนิเทศ ศาสตร์ 3 (3-0-6) (English for Communication Arts ) สอบผ่าน: HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อ การสือ่ สาร 4 ฝึ กการฟั งเพื่อความเข้ าใจ โดยสามารถ จั บ ใจความสํ า คั ญ และรายละเอี ย ดของบท สนทนา ข่าว สารคดี รายงาน การบรรยาย ฝึ ก การพูด การแสดงความคิดเห็น การสัมภาษณ์ การเสนอรายงาน สรุ ปความจากที่ฟัง ฝึ กการ อ่ า นสิ่ ง ตี พิ ม พ์ ภ าษาอั ง กฤษทางด้ านนิ เ ทศ ศาสตร์ ได้ แ ก่ ข่า ว โฆษณา บทความ เพื่ อ จับ ใจความสํา คัญ และรายละเอี ย ด ฝึ กการเขี ย น สรุปความข่าวและการรายงานข่าว
CA303 ภาษาอังกฤษสําหรับงานนิเทศ ปรับชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ศาสตร์ 3 (3-0-6) (English for Communication) สอบผ่าน: HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อ การสือ่ สาร 4 ฝึ ก ก า ร ฟั งเพื่ อคว ามเข้ าใจ โด ย สามารถจับ ใจความสํา คัญ และรายละเอียด ของบทสนทนา ข่ า ว สารคดี รายงาน การ บรรยาย ฝึ กการพูด การแสดงความคิ ด เห็ น การสัมภาษณ์ การเสนอรายงาน สรุ ปความ จากที่ฟัง ฝึ กการอ่านสิ่งตีพิมพ์ ภาษาอังกฤษ ทางด้ านนิ เ ทศศาสตร์ ได้ แก่ ข่ า ว โฆษณา บ ท ค ว า ม เ พื่ อ จั บ ใ จ ค ว า ม สํ า คั ญ แ ล ะ รายละเอียด ฝึ กการเขียนสรุ ปความข่าวและ การรายงานข่าว
CA304 การวิจัยเบือ้ งต้ นทางนิเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) (Introduction to Communication Research) หลัก และแนวคิ ด เกี่ ย วกับ ระเบี ย บวิ ธี วิจยั ทางสังคมศาสตร์ กระบวนการวิจยั ตังแต่ ้ การตัง้ ปั ญ หานํ าวิจัย การสํา รวจวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้ อง การตังสมมติ ้ ฐาน การเลือกตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้ อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การ ใช้ สถิติเบื ้องต้ นในการประมวลผลและวิเคราะห์ ข้ อมูล และการนําเสนอผลการวิจยั
CA304 การวิจัยเบือ้ งต้ นทางนิเทศศาสตร์ คงเดิม 3 (3-0-6) (Introduction to Communication Research) หลัก และแนวคิดเกี่ยวกับระเบียบวิธี วิ จั ย ทางสั ง คมศาสตร์ กระบวนการวิ จั ย ตั ง้ แต่ ก ารตั ง้ ปั ญหานํ า วิ จั ย การสํ า รวจ วรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง การตังสมมติ ้ ฐาน การ เลื อ กตัว อย่ า ง การเก็ บ รวบรวมข้ อมู ล การ วิ เ คราะห์ ข้ อ มูล การใช้ ส ถิ ติ เ บื อ้ งต้ น ในการ ประมวลผลและวิ เ คราะห์ ข้ อมู ล และการ นําเสนอผลการวิจยั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
157
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CA305 การจัดการสารสนเทศเพื่องาน นิเทศศาสตร์ 3 (2-2-5) (Information Management for Communication) แนวคิ ด หลั ก การ โครงสร้ าง และ กระบวนการทางสารสนเทศ การใช้ แหล่ ง สารสนเทศ การสื บ ค้ น การแปลผลข้ อมู ล ที่ ซับซ้ อน และการนําเสนอสารสนเทศ ฝึ กทักษะ การใช้ โปรแกรมสําเร็ จรู ปเพื่อการจัดการและการ สือ่ สารสารสนเทศสําหรับงานนิเทศศาสตร์ CA306 กฎหมายและจริยธรรม นิเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) (Law and Ethics for Communication) กฎหมายเกี่ยวกับงานนิเทศศาสตร์ การ โฆษณา การประชาสัมพันธ์ และสื่อทุกประเภท เช่ น กฎหมายอาญาว่า ด้ วยการหมิ่ น ประมาท ละเมิดและความรั บผิดชอบทางแพ่ง กฎหมาย ลิขสิทธิ์และสิทธิบตั ร จริ ยธรรมและจรรยาบรรณ ของนั ก นิ เ ทศศาสตร์ โดยคํ า นึ ง ถึ ง ความ รับผิดชอบต่อสังคม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ
CA305 การจัดการสารสนเทศเพื่องาน คงเดิม นิเทศศาสตร์ 3 (2-2-5) (Information Management for Communication) แนวคิ ด หลัก การ โครงสร้ าง และ กระบวนการทางสารสนเทศ การใช้ แหล่ ง สารสนเทศ การสืบ ค้ น การแปลผลข้ อ มูล ที่ ซับซ้ อน และการนําเสนอสารสนเทศ ฝึ กทักษะ การใช้ โปรแกรมสําเร็ จรู ปเพื่อการจัดการและ การสือ่ สารสารสนเทศสําหรับงานนิเทศศาสตร์ CA306 กฎหมายและจริยธรรม คงเดิม นิเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) (Law and Ethics for Communication) กฎหมายเกี่ ย วกับ งานนิ เ ทศศาสตร์ การโฆษณา การประชาสัม พัน ธ์ แ ละสื่ อ ทุก ประเภท เช่น กฎหมายอาญาว่าด้ วยการหมิ่น ประมาท ละเมิดและความรับผิดชอบทางแพ่ง กฎหมายลิขสิทธิ์ และสิทธิ บตั ร จริ ยธรรมและ จรรยาบรรณของนักนิเทศศาสตร์ โดยคํานึงถึง ความรับผิดชอบต่อสังคม
158
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 5.2.2 กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา CS 001 ความคิดสร้ างสรรค์ เพื่อการ สื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Creativity for Strategic Communication) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีการพัฒนา ความคิดเชิงสร้ างสรรค์ การคิดเชิงวิเคราะห์ การ คิดเชิ งวิพากษ์ เพื่อพัฒนากลยุทธ์ การสื่อสารที่ แตกต่าง การสร้ างสรรค์เครื่ องมือและเนื ้อหาเพื่อ ก า ร สื่ อ ส า ร เ ชิ ง ก ล ยุ ท ธ์ ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ สถานการณ์ ต่าง ๆ โดยใช้ ก รณี ศึก ษาจากการ สื่ อ สารเชิ ง กลยุ ท ธ์ เพื่ อ ฝึ กพั ฒ นาความคิ ด สร้ างสรรค์ CS 002 เครื่องมือเพื่อการสื่อสาร เชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Tools for Strategic Communication) หลั ก การ แนวคิ ด ทฤษฎี เกี่ ย วกั บ เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารเพื่ อ การสื่ อ สารเชิ ง กลยุ ท ธ์ ประเภทของเครื่ องมื อ สื่ อ สารที่ ใ ช้ ในการ ประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา รวมทังสื ้ ่อใหม่ การบู ร ณาการเครื่ อ งมื อ สื่ อ สารที่ เ หมาะสม สําหรับการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ ทงในระดั ั้ บองค์กร และสินค้ าหรื อบริ การ โดยฝึ กออกแบบเครื่ องมือ สือ่ สารเชิงกลยุทธ์เบื ้องต้ น
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ 5.2.2 กลุ่มวิชาแกนสาขาวิชา CS 001 ความคิดสร้ างสรรค์ เพื่อการ คงเดิม สื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Creativity for Strategic Communication) หลัก การ แนวคิ ด และทฤษฎี ก าร พัฒ นาความคิ ด เชิ ง สร้ างสรรค์ การคิ ด เชิ ง วิ เ คราะห์ การคิ ด เชิ ง วิ พ ากษ์ เพื่ อ พัฒ นากล ยุ ท ธ์ ก ารสื่ อ สารที่ แ ตกต่ า ง การสร้ างสรรค์ เครื่ องมือและเนื ้อหาเพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ ที่ ส อดคล้ องกั บ สถานการณ์ ต่ า ง ๆ โดยใช้ กรณี ศึกษาจากการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ เพื่อฝึ ก พัฒนาความคิดสร้ างสรรค์ CS 002 เครื่องมือเพื่อการสื่อสาร คงเดิม เชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Tools for Strategic Communication) หลัก การ แนวคิ ด ทฤษฎี เกี่ ย วกับ เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารเพื่ อ การสื่ อ สารเชิ ง กลยุท ธ์ ประเภทของเครื่ องมื อ สื่ อ สารที่ ใ ช้ ในการ ประชาสัมพันธ์และการโฆษณา รวมทังสื ้ อ่ ใหม่ การบูร ณาการเครื่ อ งมื อ สื่ อ สารที่ เ หมาะสม สํ า หรั บ การสื่ อ สารเชิ ง กลยุ ท ธ์ ทั ง้ ในระดั บ องค์กร และสินค้ าหรื อบริ การ โดยฝึ กออกแบบ เครื่ องมือสือ่ สารเชิงกลยุทธ์เบื ้องต้ น
159
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 003 การวิจัยเพื่อการสื่อสารเชิง กลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Research for Strategic Communication) สอบผ่าน CA304 การวิจยั เบื ้องต้ น ทางนิเทศศาสตร์ แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการวิจัย เพื่อการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ กระบวนการวิจยั เพื่อ การสื่ อ สารเชิ ง กลยุท ธ์ โดยเน้ นการฝึ กเขี ย น โครงร่ างการวิจัย การดําเนินงานวิจัย และการ เขี ย นรายงานการวิ จัย สํ า หรั บ งานสื่ อ สารเชิ ง กลยุทธ์ ได้ แก่ การวิจัยเพื่อการประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารองค์กร การวิจยั เพื่อการโฆษณา และการสือ่ สารการตลาด 5.2.3 กลุ่มวิชาเอก การประชาสัมพันธ์ 5.2.3.1 รายวิชาบังคับ CS 101 การสื่อสารองค์ กร 3 (3-0-6) (Corporate Communication) แนวคิ ด และหลั ก การเกี่ ย วกั บ การ สื่ อ สาร องค์ ก าร และการสื่ อ สารองค์ ก ร โดย ครอบคลุมการสื่อสารองค์กรกับกลุ่มประชาชน เป้าหมายภายใน และการสือ่ สารองค์กรกับกลุม่ ประชาชนเป้ าหมายต่ า ง ๆ ภายนอก รวมทัง้ หลักการที่เป็ นพื ้นฐานสําคัญซึง่ เกี่ยวข้ องกับการ สื่ อ สารองค์ ก ร ได้ แก่ การสร้ างอั ต ลั ก ษณ์ ภาพลัก ษณ์ แ ละชื่ อ เสี ย ง ความรั บ ผิ ด ชอบต่อ สัง คม การโฆษณาองค์ ก ร และการสื่อ สารใน ภาวะวิกฤติ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ
CS 003 การวิจัยเพื่อการสื่อสารเชิง คงเดิม กลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Research for Strategic Communication) สอบผ่าน CA304 การวิจยั เบื ้องต้ น ทางนิเทศศาสตร์ แนวคิ ด และหลัก การเกี่ ย วกับ การ วิ จั ย เ พื่ อ ก า ร สื่ อ ส า ร เ ชิ ง ก ล ยุ ท ธ์ กระบวนการวิ จัย เพื่ อ การสื่อ สารเชิ ง กลยุทธ์ โดยเน้ น การฝึ กเขี ย นโครงร่ า งการวิ จัย การ ดําเนินงานวิจยั และการเขียนรายงานการวิจยั สําหรับงานสื่อสารเชิงกลยุทธ์ ได้ แก่ การวิจัย เพื่อการประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารองค์กร การวิ จั ย เพื่ อ การโฆษณาและการสื่ อ สาร การตลาด 5.2.3 กลุ่มวิชาเอก การประชาสัมพันธ์ 5.2.3.1 วิชาเอกบังคับ CS 101 การสื่อสารองค์ กร 3 (3-0-6) คงเดิม (Corporate Communication) แนวคิ ด และหลัก การเกี่ ย วกั บ การ สื่อ สาร องค์ ก าร และการสื่อสารองค์ กร โดย ครอบคลุมการสือ่ สารองค์กรกับกลุม่ ประชาชน เป้าหมายภายใน และการสื่อสารองค์ กรกับ กลุ่ ม ประชาชนเป้ าหมายต่ า ง ๆ ภายนอก รวมทั ง้ หลั ก การที่ เ ป็ นพื น้ ฐานสํ า คั ญ ซึ่ ง เกี่ ย วข้ องกั บ การสื่ อ สารองค์ ก ร ได้ แก่ การ สร้ างอัตลักษณ์ ภาพลักษณ์และชื่อเสียง ความ รั บผิดชอบต่อสังคม การโฆษณาองค์ กร และ การสือ่ สารในภาวะวิกฤติ
160
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 102 การประชาสัมพันธ์ การตลาด 3 (3-0-6) (Marketing Public Relations) แนวคิ ด และหลั ก การเกี่ ย วกั บ การ ประชาสัมพันธ์ การตลาด ความแตกต่างระหว่าง ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ก า ร ต ล า ด กั บ ก า ร ประชาสัมพันธ์รูปแบบอื่น ๆ วิธีการและเครื่ องมือ ที่ใช้ ในการดําเนินงานประชาสัมพันธ์ การตลาด ปั จจั ย ที่ เ กี่ ยวข้ องในการประยุ ก ต์ ใช้ ก า ร ประชาสัมพันธ์ การตลาด ตลอดจนการวางแผน และการประเมินผลการประชาสัมพันธ์การตลาด CS 103 การออกแบบสารและการเขียน เพื่อการประชาสัมพันธ์ 1 3 (3-0-6) (Message Design and Writing for Public Relations I) แนวคิ ด และเทคนิ ค การวิ เ คราะห์ ผู้รับสารและออกแบบเนื ้อหาสารประเภทต่าง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ งานประชาสั ม พั น ธ์ เ พื่ อ ให้ สอดคล้ อ งกับ กลุ่ม เป้ าหมาย ฝึ กการคิ ด และ วิเคราะห์ เชิ งสร้ างสรรค์ เพื่อ ผลิตงานเขีย นเพื่ อ การประชาสัมพันธ์ ประเภทข่าวประชาสัมพันธ์ บทสัมภาษณ์ คําบรรยายภาพเพื่อเผยแพร่ ผ่าน ช่องทางการสือ่ สารประเภทต่าง ๆ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 102 การประชาสัมพันธ์ การตลาด คงเดิม 3 (3-0-6) (Marketing Public Relations) แนวคิ ด และหลัก การเกี่ ย วกั บ การ ประชาสั ม พั น ธ์ ก ารตลาด ความแตกต่ า ง ระหว่างการประชาสัมพันธ์ การตลาดกับการ ประชาสั ม พั น ธ์ รู ปแบบอื่ น ๆ วิ ธี ก ารและ เครื่ องมือที่ใช้ ในการดําเนินงานประชาสัมพันธ์ การตลาด ปั จ จัย ที่ เ กี่ ยวข้ อ งในการประยุกต์ ใช้ การประชาสัมพันธ์ การตลาด ตลอดจนการ วางแผนและการประเมินผลการประชาสัมพันธ์ การตลาด CS 103 การออกแบบสารและการเขียน คงเดิม เพื่อการประชาสัมพันธ์ 1 3 (3-0-6) (Message Design and Writing for Public Relations I) แนวคิ ด และเทคนิ ค การวิ เ คราะห์ ผู้ รั บ สารและออกแบบเนื อ้ หาสารประเภท ต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้ องกับงานประชาสัมพันธ์ เพื่อ ให้ สอดคล้ องกับกลุม่ เป้าหมาย ฝึ กการคิดและ วิเคราะห์เชิงสร้ างสรรค์เพื่อผลิตงานเขียนเพื่อ การประชาสัมพันธ์ ประเภทข่าวประชาสัมพันธ์ บทสัม ภาษณ์ คํ า บรรยายภาพเพื่ อ เผยแพร่ ผ่านช่องทางการสือ่ สารประเภทต่าง ๆ
161
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 104 การออกแบบสารและการเขียน เพื่อการประชาสัมพันธ์ 2 3 (3-0-6) (Message Design and Writing for Public Relations II) ศึกษาก่อน CS 103 การออกแบบ สารและการเขียนเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 1 แนวคิ ด และเทคนิ ค การวิ เ คราะห์ ผู้รับสารและออกแบบเนื ้อหาสารประเภทต่าง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ งานประชาสั ม พั น ธ์ เ พื่ อ ให้ สอดคล้ อ งกับ กลุ่ม เป้ าหมาย ฝึ กการคิ ด และ วิเคราะห์ เชิ งสร้ างสรรค์ เพื่อ ผลิตงานเขีย นเพื่ อ การประชาสัม พัน ธ์ ป ระเภทบทความ สารคดี ประกาศ แถลงการณ์ สุนทรพจน์ เพื่อเผยแพร่ ผ่านช่องทางการสือ่ สารประเภทต่าง ๆ CS 105 การออกแบบและผลิตสื่อเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 3 (2-2-5) (Media Design and Production For Public Relations) ศึกษาก่อน CS 002 เครื่ องมือเพือ่ การสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ แนวคิ ด หลัก การและเทคนิ ค เกี่ ย วกับ การออกแบบสร้ างสรรค์ สื่ อ และผลิ ต สื่ อ ให้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ก ล ยุ ท ธ์ ข อ ง อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ไ ด้ แ ก่ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ทัง้ วิ ท ยุก ระจายเสี ย งและวิ ท ยุ โทรทัศน์ และสื่อดิจิทัลเพื่อการประชาสัมพันธ์ และการประเมิ น ผลสื่อ ฝึ กปฏิ บัติ ก ารผลิ ต สื่ อ ประชาสัมพันธ์ประเภทสิง่ พิมพ์วิทยุกระจายเสียง และสือ่ ดิจิทลั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 104 การออกแบบสารและการเขียน คงเดิม เพื่อการประชาสัมพันธ์ 2 3 (3-0-6) (Message Design and Writing for Public Relations II) ศึกษาก่อน CS 103 การออกแบบ สารและการเขียนเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 1 แนวคิดและเทคนิคการวิเคราะห์ ผู้รับสารและออกแบบเนื ้อหาสารประเภท ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงานประชาสัมพันธ์เพื่อ ให้ สอดคล้ องกับกลุม่ เป้าหมาย ฝึ กการคิดและ วิเคราะห์เชิงสร้ างสรรค์เพื่อผลิตงานเขียนเพื่อ การประชาสัมพันธ์ประเภทบทความ สารคดี ประกาศ แถลงการณ์ สุนทรพจน์ เพื่อเผยแพร่ ผ่านช่องทางการสือ่ สารประเภทต่าง ๆ CS 105 การออกแบบและผลิตสื่อเพื่อการ คงเดิม ประชาสัมพันธ์ 3 (2-2-5) (Media Design and Production For Public Relations) ศึกษาก่อน CS 002 เครื่ องมือเพือ่ การสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ แนวคิด หลักการและเทคนิคเกี่ยวกับ การออกแบบสร้ างสรรค์ สื่ อ และผลิ ต สื่ อ ให้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ก ล ยุ ท ธ์ ข อ ง อ ง ค์ ก ร แ ล ะ ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ไ ด้ แ ก่ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ สื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ทัง้ วิทยุก ระจายเสียงและวิ ท ยุ โทรทัศน์ และสื่อดิจิทลั เพื่อการประชาสัมพันธ์ และการประเมินผลสื่อ ฝึ กปฏิบตั ิการผลิตสื่อ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ป ร ะ เ ภ ท สิ่ ง พิ ม พ์ วิทยุกระจายเสียง และสือ่ ดิจิทลั
162
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 106 การวางแผนและบริหาร งานประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Planning and Management for Strategic Public Relations ) แนวคิ ด หลั ก การเกี่ ย วกั บ การวาง แผนการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ การวิเคราะห์ สถานการณ์ อ งค์ ก ร ความท้ า ทายเชิ ง กลยุท ธ์ และกลุ่มเป้าหมาย เทคนิคการวางแผนกลยุทธ์ และการประชาสัม พัน ธ์ การวางแผนสื่ อ แนว ทางการบริ หารแผนงาน และการประเมินผล ฝึ ก การวิเคราะห์ และเขียนแผนการประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ CS 107 สัมมนาการประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Seminar on Strategic Public Relations) ศึกษาก่อน CS 101 การสือ่ สาร องค์กร การวิเคราะห์สถานการณ์ ปั ญหาและ แนวทางแก้ ไขปั ญหาในกระบวนการสื่ อ สาร องค์ กรและการประชาสัมพันธ์ ทัง้ ในระดับการ บริ หารจัดการและระดับปฏิบัติการ การสื่อสาร ในภาวะวิกฤติ โดยศึกษาจากกรณีตวั อย่างซึ่ง เกี่ยวข้ องกับภาพลักษณ์และชื่อเสียงขององค์กร และพิ จ ารณาความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สัง คมบน พื ้นฐานของจรรยาบรรณวิชาชีพและจริ ยธรรม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 106 การวางแผนและบริหาร คงเดิม งานประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Planning and Management for Strategic Public Relations ) แนวคิ ด หลัก การเกี่ ย วกับ การวาง แผนการประชาสั ม พั น ธ์ เชิ ง กลยุ ท ธ์ การ วิ เ คราะห์ ส ถานการณ์ อ งค์ ก ร ความท้ า ทาย เชิ ง กลยุท ธ์ และกลุ่ม เป้ าหมาย เทคนิ ค การ วางแผนกลยุทธ์ และการประชาสัมพันธ์ การ วางแผนสื่อ แนวทางการบริ หารแผนงาน และ การประเมิ น ผล ฝึ กการวิ เ คราะห์ แ ละเขี ย น แผนการประชาสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ CS 107 สัมมนาการประชาสัมพันธ์ คงเดิม เชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Seminar on Strategic Public Relations) ศึกษาก่อน CS 101 การสือ่ สาร องค์กร การวิเคราะห์สถานการณ์ ปั ญหาและ แนวทางแก้ ไ ขปั ญ หาในกระบวนการสื่อ สาร องค์กรและการประชาสัมพันธ์ ทังในระดั ้ บการ บริ หารจัดการและระดับปฏิบตั ิการ การสื่อสาร ในภาวะวิกฤติ โดยศึกษาจากกรณีตวั อย่างซึ่ง เกี่ ย วข้ องกั บ ภาพลัก ษณ์ แ ละชื่ อ เสี ย งของ องค์กร และพิจารณาความรับผิดชอบต่อสังคม บนพื น้ ฐานของจรรยาบรรณวิ ช าชี พ และ จริ ยธรรม
163
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 108 ประสบการณ์ วิชาชีพ 3 (0-6-3) ทางการประชาสัมพันธ์ (Public Relations Practicum) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ที่ สาขาวิชากําหนด จั ด ให้ นั ก ศึ ก ษาออกฝึ กงานสื่ อ สาร องค์กรหรื องานประชาสัมพันธ์ ในหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน โดยได้ รับความเห็นชอบ จากสาขาวิชา ให้ มีระยะเวลาการฝึ กงานไม่น้อย กว่ า 12 สัป ดาห์ หรื อ ไม่ ตํ่ า กว่ า 400 ชั่ ว โมง ตามที่สาขาวิชากําหนด และให้ เสนอรายงานการ ฝึ กงานประกอบ CS 109 โครงงานด้ านการ 3(1-0-8) ประชาสัมพันธ์ 3 (1-0-8) (Public Relations Project) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ที่ สาขาวิชากําหนด นัก ศึ ก ษาที่ ส าขาวิ ช าพิ จ ารณาว่ า มี คุณสมบัติเหมาะสมในการจัดทําโครงงานด้ าน การประชาสัม พัน ธ์ แทนการออกฝึ กงานใน หน่ ว ยงานภายนอก ตามรายวิ ช า CS 108 ประสบการณ์วิชาชีพทางการประชาสัมพันธ์ ให้ จั ด ทํ า โครงงานเรื่ อ งใด ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ การ สื่ อ สารองค์ ก รหรื อการประชาสัม พั น ธ์ โดย นัก ศึ ก ษาต้ อ งเขี ย นโครงการและนํ า เสนอต่ อ อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา ดํ า เนิ น โครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 108 ประสบการณ์ วิชาชีพ 3 (0-6-3) คงเดิม ทางการประชาสัมพันธ์ (Public Relations Practicum) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ที่ สาขาวิชากําหนด จัด ให้ นัก ศึ ก ษาออกฝึ กงานสื่ อ สาร องค์กรหรื องานประชาสัมพันธ์ ในหน่วยงานทัง้ ภาครั ฐ และภาคเอกชน โดยได้ รั บ ความ เห็ น ชอบจากสาขาวิ ช า ให้ มี ร ะยะเวลาการ ฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อไม่ตํ่ากว่า 400 ชั่ว โมงตามที่ ส าขาวิ ช ากํ า หนด และให้ เสนอรายงานการฝึ กงานประกอบ CS 109 โครงงานด้ านการ 3(1-0-8) คงเดิม ประชาสัมพันธ์ 3 (1-0-8) (Public Relations Project) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ที่ สาขาวิชากําหนด นักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่า มี คุณสมบัติเหมาะสมในการจัดทําโครงงานด้ าน การประชาสัม พัน ธ์ แทนการออกฝึ กงานใน หน่ ว ยงานภายนอก ตามรายวิ ช า CS 108 ประสบการณ์ วิชาชี พทางการประชาสัมพันธ์ ให้ จดั ทําโครงงานเรื่ องใด ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการ สื่ อ สารองค์ ก รหรื อ การประชาสัม พัน ธ์ โดย นัก ศึก ษาต้ องเขี ยนโครงการและนํ าเสนอต่อ อาจารย์ ที่ปรึ กษา ดําเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิ ต ผลงาน ตามโครงการที่ ไ ด้ รั บ ความ เห็นชอบ
164
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 110 สหกิจศึกษา 6 (0-40-20) (Co-operative Education) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ที่ สาขาวิชากําหนด ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น จ ริ ง ใ น สถ า น ประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษา เป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึ ก ษาในฐานะ พนัก งานชั่ว คราว นัก ศึก ษาจะต้ อ งเข้ า รั บ การ เตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ านวิชาการ และการ ปฏิบตั ิตนในสังคม การทํางาน รวมทังดํ ้ าเนินการ ตามขัน้ ตอนของสหกิ จ ศึ ก ษาที่ ม หาวิ ท ยาลัย กําหนด การปฏิบตั ิงานและการประเมินผล อยู่ ภายใต้ การกํากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึ กษาของ สาขาวิ ช า และพนั ก งานที่ ป รึ กษาที่ ส ถาน ประกอบการมอบหมาย 5.2.3.2 รายวิชาเลือก
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 110 สหกิจศึกษา 6 (0-40-20) คงเดิม (Co-operative Education) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ที่ สาขาวิชากําหนด ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น จ ริ ง ใ น ส ถ า น ประกอบการอย่ า งมี ร ะบบ ตามสาขาวิ ช าที่ ศึกษาเป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะ พนักงานชั่วคราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการ เตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ านวิชาการ และการ ปฏิ บั ติ ต นในสั ง คม การทํ า งาน รวมทั ง้ ดํ า เนิ น การตามขัน้ ตอนของสหกิ จ ศึ ก ษาที่ มหาวิทยาลัยกําหนด การปฏิบตั ิงานและการ ประเมิ น ผล อยู่ ภ ายใต้ การกํ า กั บ ดู แ ลของ อาจารย์ที่ปรึกษาของสาขาวิชา และพนักงานที่ ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมาย 5.2.3.2 รายวิชาเอกเลือก
CS 131 การประชาสัมพันธ์ ธุรกิจบันเทิง และการท่ องเที่ยว 3 (3-0-6) (Public Relations for Entertainment and Tourism Businesses) แนวคิ ด หลัก การและแนวทางการ ดําเนินงานของธุรกิ จบันเทิงและการท่องเที่ ย ว บทบาทและความสําคัญของการประชาสัมพันธ์ ที่มีต่อธุรกิจบันเทิงและการท่องเที่ยว โครงสร้ าง องค์ ก รและการจัด หน่ ว ยงานประชาสัม พัน ธ์ เทคนิ ค กระบวนการวางแผนและดํ า เนิ น งาน ประชาสัมพันธ์ รวมทังเครื ้ ่ องมือสื่อสารเพื่อการ ประชาสัม พัน ธ์ ธุ ร กิ จ บัน เทิง และการท่องเที่ยว ฝึ กวิเคราะห์การประชาสัมพันธ์ ธุรกิจบันเทิงและ การท่องเที่ยวจากกรณีศกึ ษา
CS 131 การประชาสัมพันธ์ ธุรกิจบันเทิง คงเดิม และการท่ องเที่ยว 3 (3-0-6) (Public Relations for Entertainment and Tourism Businesses) แนวคิ ด หลัก การและแนวทางการ ดําเนินงานของธุรกิจบันเทิงและการท่องเที่ยว บ ท บ า ท แ ล ะ ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ ง ก า ร ประชาสัม พัน ธ์ ที่ มี ต่ อ ธุ ร กิ จ บัน เทิ ง และการ ท่ อ งเที่ ย ว โครงสร้ างองค์ ก รและการจั ด หน่วยงานประชาสัมพันธ์ เทคนิค กระบวนการ วางแผนและดําเนินงานประชาสัมพันธ์ รวมทัง้ เครื่ องมือสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ ธุรกิ จ บัน เทิ ง และการท่ อ งเที่ ย ว ฝึ กวิ เ คราะห์ ก าร ประชาสัมพันธ์ ธุรกิจบันเทิงและการท่องเที่ยว จากกรณีศกึ ษา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
165
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 132 การประชาสัมพันธ์ ธุรกิจการเงิน 3 (3-0-6) (Public Relations for Financial Businesses) แนวคิ ด หลัก การและแนวทางการ ดํ า เนิ น งานของธุ ร กิ จ การเงิ น บทบาทและ ความสําคัญของการประชาสัมพันธ์ ที่มีต่อธุรกิจ การเงิน โครงสร้ างองค์กรและการจัดหน่วยงาน ประชาสัมพันธ์ เทคนิ ค กระบวนการวางแผน และดําเนินงานประชาสัมพันธ์ รวมทังเครื ้ ่ องมือ สื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ ธุรกิจการเงิน ฝึ ก วิ เ คราะห์ การประชาสัมพันธ์ ธุรกิ จการเงิ นจาก กรณีศกึ ษา CS 133 เทคนิคการพูดและนําเสนอ งานเพื่อการประชาสัมพันธ์ 3 (3-0-6) (Speaking and Presentation Techniques for Public Relations) หลัก การพูด และการนํ า เสนองานเพื่ อ การประชาสัมพันธ์ การเตรี ยมการพูดและการ นํ า เสนองาน การใช้ ภาษาในการพูด และการ นําเสนองาน เทคนิค การวางแผนและการใช้ สอื่ เพื่อการนําเสนองานประชาสัมพันธ์ ที่สอดคล้ อง กั บ ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ฝึ ก ก า ร พู ด เ พื่ อ ก า ร ประชาสั ม พั น ธ์ ล ั ก ษณะต่ า ง ๆ ได้ แก่ การ บรรยายสรุ ป การแถลงข่าว การสัมภาษณ์ การ ประชุม การเป็ นพิธีกร การพูดในโอกาสต่าง ๆ และฝึ กการนําเสนองานเพื่อการประชาสัมพันธ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ
CS 132 การประชาสัมพันธ์ ธุรกิจการเงิน คงเดิม 3 (3-0-6) (Public Relations for Financial Businesses) แนวคิ ด หลัก การและแนวทางการ ดํ า เนิ น งานของธุ ร กิ จ การเงิ น บทบาทและ ความสํ า คัญ ของการประชาสัม พัน ธ์ ที่ มี ต่ อ ธุ ร กิ จ การเงิ น โครงสร้ างองค์ ก รและการจัด หน่วยงานประชาสัมพันธ์ เทคนิค กระบวนการ วางแผนและดําเนินงานประชาสัมพันธ์ รวมทัง้ เครื่ องมือสื่อสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ ธุรกิ จ การเงิน ฝึ กวิเคราะห์การประชาสัมพันธ์ ธุรกิจ การเงินจากกรณีศกึ ษา CS 133 เทคนิคการพูดและนําเสนอ คงเดิม งานเพื่อการประชาสัมพันธ์ 3 (3-0-6) (Speaking and Presentation Techniques for Public Relations) หลักการพูดและการนําเสนองานเพื่อ การประชาสัมพันธ์ การเตรี ยมการพูดและการ นําเสนองาน การใช้ ภาษาในการพูดและการ นําเสนองาน เทคนิค การวางแผนและการใช้ สื่ อ เพื่ อ การนํ า เสนองานประชาสั ม พั น ธ์ ที่ สอดคล้ อ งกับ กลุ่ม เป้ าหมาย ฝึ กการพูด เพื่อ การประชาสัมพันธ์ ลกั ษณะต่าง ๆ ได้ แก่ การ บรรยายสรุ ป การแถลงข่ า ว การสัม ภาษณ์ การประชุม การเป็ นพิธีกร การพูดในโอกาส ต่ า ง ๆ และฝึ กการนํ า เสนองานเพื่ อ การ ประชาสัมพันธ์
166
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
CS 134 การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Special Events for Strategic Communication) แนวคิ ด หลั ก การเกี่ ย วกั บ การจั ด กิจกรรมพิเศษเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ รูปแบบ และเทคนิ ค การสร้ างสรรค์ กิ จ กรรมพิ เ ศษเพื่ อ ตอบสนองต่อ วัต ถุป ระสงค์ ของการสื่อสารเชิ ง กลยุ ท ธ์ และสอดคล้ องกั บ กลุ่ ม เป้ าหมาย กระบวนการและวิ ธี ก ารดํ า เนิ น งานในการจัด กิจกรรมพิเศษ ฝึ กปฏิบตั ิการจัดกิจกรรมพิเศษ เพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์
CS 134 การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Special Events for Strategic Communication) แนวคิ ด หลัก การเกี่ ย วกั บ การจั ด กิ จ กรรมพิ เ ศษเพื่ อ การสื่ อ สารเชิ ง กลยุ ท ธ์ รู ป แบบและเทคนิ ค การสร้ างสรรค์ กิ จ กรรม พิเศษเพื่อตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของการ สื่ อ ส า ร เ ชิ ง ก ล ยุ ท ธ์ แ ล ะ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ กลุ่ ม เป้ าหมาย กระบวนการและวิ ธี ก าร ดํ า เนิ น งานในการจั ด กิ จ กรรมพิ เ ศษ ฝึ ก ปฏิ บัติ ก ารจัด กิ จ กรรมพิ เ ศษเพื่ อ การสื่อ สาร เชิงกลยุทธ์
CS 135 กลยุทธ์ ส่ อื ใหม่ เพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 3 (2-2-5) (New Media Strategy for Public Relations) แนวคิ ด หลั ก การเกี่ ยวกั บ สื่ อ ใหม่ คุณ ลัก ษณะของสื่ อ ใหม่ ป ระเภทต่ า ง ๆ การ วิเคราะห์กลุม่ เป้าหมายของสื่อใหม่ การกําหนด ก ล ยุ ท ธ์ ก า ร ใ ช้ สื่ อ ใ ห ม่ ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ กลุม่ เป้าหมาย เทคนิคการวางแผนและออกแบบ สื่อ ใหม่เ พื่ อ งานประชาสัม พัน ธ์ ทัง้ ภายในและ ภายนอก ฝึ กการวางแผน ออกแบบและผลิตสื่อ ใหม่เพื่อการประชาสัมพันธ์
คงเดิม CS 135 กลยุทธ์ ส่ อื ใหม่ เพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 3 (2-2-5) (New Media Strategy for Public Relations) แนวคิ ด หลั ก การเกี่ ย วกั บ สื่ อ ใหม่ คุณลักษณะของสื่อใหม่ประเภทต่าง ๆ การ วิ เ คราะห์ ก ลุ่ ม เป้ าหมายของสื่ อ ใหม่ การ กํ าหนดกลยุทธ์ การใช้ สื่อใหม่ที่สอดคล้ องกับ กลุ่ ม เป้ าหมาย เทคนิ ค การวางแผนและ ออกแบบสื่ อ ใหม่ เ พื่ อ งานประชาสัม พัน ธ์ ทัง้ ภายในและภายนอก ฝึ กการวางแผน ออกแบบ และผลิตสือ่ ใหม่เพื่อการประชาสัมพันธ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
167
เหตุผลประกอบ คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 136 ชุมชนสัมพันธ์ กับความ รับผิดชอบต่ อสังคม 3 (3-0-6) (Community Relations and Social Responsibility) แนวคิ ด หลัก การเกี่ ย วกับ ชุม ชนและ การสร้ างความสัมพันธ์ กับชุมชน การวิเคราะห์ สถานการณ์และบริ บทของชุมชนประเภทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับองค์กร การวิเคราะห์กลุม่ ผู้มีสว่ น ได้ ส่ว นเสี ย ในชุ ม ชน การกํ า หนดกลยุท ธ์ ก าร สื่อสาร การดําเนินกิจกรรมการสื่อสาร และการ ประเมิ น ผลการดํ าเนิ น งานชุมชนสัม พัน ธ์ โดย เชื่ อมโยงกับการหลักความรับผิดชอบต่อสังคม ขององค์กร ฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ CS 137 การบริหารความสัมพันธ์ 3 (3-0-6) (Relationship Management) แนวคิ ด หลั ก การ ทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ ความสัม พัน ธ์ และการบริ ห ารความสัม พัน ธ์ ก ล ยุ ท ธ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น บ ริ ห า ร ความสัมพันธ์ ระหว่างองค์กรกับกลุ่มเป้าหมาย ต่าง ๆ ทังภายในและภายนอก ้ ได้ แก่ การบริ หาร ความสัม พัน ธ์ กับ พนัก งาน สื่ อ มวลชน ชุ ม ชน ลูกค้ า
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ
CS 136 ชุมชนสัมพันธ์ กับความ คงเดิม รับผิดชอบต่ อสังคม 3 (3-0-6) (Community Relations and Social Responsibility) แนวคิด หลักการเกี่ยวกับชุมชนและ การสร้ างความสัมพันธ์ กบั ชุมชน การวิเคราะห์ สถานการณ์ แ ละบริ บ ทของชุ ม ชนประเภท ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับองค์กร การวิเคราะห์กลุม่ ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสียในชุมชน การกําหนด กล ยุทธ์การสือ่ สาร การดําเนินกิจกรรมการสื่อสาร และการประเมิ น ผลการดํ า เนิ น งานชุ ม ชน สัมพันธ์ โดยเชื่อมโยงกับหลักความรับผิดชอบ ต่อสังคมขององค์กร ฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมชุมชน สัมพันธ์ CS 137 การบริหารความสัมพันธ์ คงเดิม 3 (3-0-6) (Relationship Management) แนวคิ ด หลั ก การ ทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ ความสัมพัน ธ์ และการบริ หารความสัมพันธ์ ก ล ยุ ท ธ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น บ ริ ห า ร ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับกลุม่ เป้าหมาย ต่ า ง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอก ได้ แก่ การ บริ หารความสัมพันธ์ กับพนักงาน สื่อมวลชน ชุมชน ลูกค้ า
168
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
CS 138 การสื่อสารเพื่อการพัฒนา 3 (3-0-6) (Communication for Development) แนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง กั บ การสื่ อ สารกั บ การพั ฒ นา ครอบคลุ ม ทั ง้ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ ยวกับการพัฒนา การสื่อสาร การสื่อสารเพื่อการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงทาง สัง คม การแพร่ ก ระจายนวัต กรรม การสื่อ สาร รณรงค์ การตลาดเพื่อสังคม และการสื่อสาร แบบมีสว่ นร่วม โดยมีกรณีศกึ ษาประกอบ
CS 138 การสื่อสารเพื่อการพัฒนา 3 (3-0-6) (Communication for Development) แ น ว คิ ด ห ลั ก ก า ร แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การ สื่ อ สารกั บ การพั ฒ นา ครอบคลุ ม ทั ง้ แนวคิ ด ทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ การ พัฒนา การสื่อสาร การสื่อสารเพื่อการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การแพร่ กระจาย นวัตกรรม การสื่อสารรณรงค์ การตลาดเพื่อ สังคม และการสื่อสารแบบมีส่วนร่ วม โดยมี กรณีศกึ ษาประกอบ
CS 139 การประชาสัมพันธ์ ระดับสากล 3 (3-0-6) (Global Public Relations) หลั ก แนวคิ ด ทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ การ ดําเนินงานประชาสัมพันธ์ ข้ามชาติ สถานการณ์ ปั จจุบนั และโอกาสในการทํางานประชาสัมพันธ์ ข้ า มชาติ ผลกระทบด้ า นการเมื อ ง เศรษฐกิ จ ประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อการ ดํ า เนิ น งานประชาสัม พัน ธ์ แ ละสื่ อ สารองค์ ก ร สมัยใหม่ บทบาทของโลกาภิวตั น์ อินเทอร์ เน็ต และการเข้ าถึงข้ อมูลที่มีตอ่ การสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ ระดับสากล
CS 139 การประชาสัมพันธ์ ระดับสากล คงเดิม 3 (3-0-6) (Global Public Relations) หลัก แนวคิ ด ทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ การ ดํ า เ นิ น งานป ร ะชาสั ม พั น ธ์ ระดั บ สากล สถานการณ์ ปัจจุบนั และโอกาสในการทํางาน ประชาสัม พัน ธ์ ร ะดับ สากล ผลกระทบด้ า น การเมือง เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์ สังคมและ วัฒนธรรมที่มีตอ่ การดําเนินงานประชาสัมพันธ์ และสือ่ สารองค์กรสมัยใหม่ บทบาทของ โลกา ภิวตั น์ อินเทอร์ เน็ต และการเข้ าถึงข้ อมูลที่มี ต่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ระดับสากล
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
169
เหตุผลประกอบ คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 140 การสื่อสารรณรงค์ 3 (3-0-6) (Communication Campaign) แนวคิ ด หลัก การเกี่ ย วกับ การสื่ อ สาร รณรงค์เพื่อสร้ างการรับรู้และความเข้ าใจกับกลุม่ ประชาชนเป้าหมาย เกี่ยวกับกิจกรรม โครงการ และ/หรื อองค์กร เพื่อมุ่งผลลัพธ์ ด้านชื่อเสียงและ ความสัมพันธ์ อนั ดี โดยมุ่งเน้ นการวางแผนการ สื่อ สารรณรงค์ เ ชิ ง กลยุท ธ์ ตัง้ แต่การวิเคราะห์ สถานการณ์ เกี่ยวกับองค์กรและสภาพแวดล้ อม การกํ า หนดประเด็ น รณรงค์ การวิ เ คราะห์ กลุ่ม เป้ าหมาย การวางแผนกลยุ ท ธ์ ท างการ สื่ อ สาร การจั ด กิ จ กรรมการสื่ อ สารรณรงค์ ตลอดจนการประเมินผลการสื่อสารรณรงค์ ฝึ ก ปฏิบตั ิการวางแผนและดําเนินงานสือ่ สารรณรงค์ CS 141 การพูดภาษาอังกฤษเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 3 (3-0-6) (Speaking English for Public Relations) สอบผ่าน CA303 ภาษาอังกฤษ สําหรับงานนิเทศศาสตร์ หลักและวิธีการพูดภาษาอังกฤษเพื่ อ การประชาสัม พัน ธ์ แ ต่ ล ะประเภท ได้ แ ก่ การ กล่า วต้ อ นรั บ การแนะนํ า บุค คลและสถานที่ การตอบข้ อซักถาม CS 142 การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อ การประชาสัมพันธ์ 3 (3-0-6) (Writing English for Public Relations) สอบผ่าน CA303 ภาษาอังกฤษ สําหรับงานนิเทศศาสตร์ หลักและวิธีการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อ การประชาสัม พัน ธ์ แ ต่ ล ะประเภท ได้ แ ก่ การ เ ขี ย น บั น ทึ ก ภ า ย ใ น ก า ร เ ขี ย น ข่ า ว ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ก า ร บ ร ร ย า ย ภ า พ ข่ า ว ประชาสัมพันธ์ หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ คงเดิม
CS 140 การสื่อสารรณรงค์ 3 (3-0-6) (Communication Campaign) แนวคิด หลักการเกี่ยวกับการสื่อสาร รณรงค์ เพื่อสร้ างการรั บรู้ และความเข้ าใจกับ กลุ่ม ประชาชนเป้ าหมาย เกี่ ย วกับ กิ จ กรรม โครงการ และ/หรื อองค์กร เพื่อมุ่งผลลัพธ์ ด้าน ชื่อเสียงและความสัมพันธ์ อนั ดี โดยมุ่งเน้ นการ วางแผนการสื่อสารรณรงค์เชิงกลยุทธ์ ตัง้ แต่ การวิเคราะห์สถานการณ์ เกี่ยวกับองค์กรและ สภาพแวดล้ อ ม การกํ า หนดประเด็ น รณรงค์ การวิ เ คราะห์ ก ลุ่ ม เป้ าหมาย การวางแผน กลยุท ธ์ ท างการสื่อ สาร การจัด กิ จ กรรมการ สื่อสารรณรงค์ ตลอดจนการประเมิน ผลการ สื่ อ สารรณรงค์ ฝึ กปฏิ บัติ ก ารวางแผนและ ดําเนินงานสือ่ สารรณรงค์ คงเดิม CS 141 การพูดภาษาอังกฤษเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 3 (3-0-6) (Speaking English for Public Relations) สอบผ่าน CA303 ภาษาอังกฤษ สําหรับงานนิเทศศาสตร์ หลักและวิธีการพูดภาษาอังกฤษเพื่อ การประชาสัมพันธ์ แต่ละประเภท ได้ แก่ การ กล่าวต้ อนรับ การแนะนําบุคคลและสถานที่ การตอบข้ อซักถาม คงเดิม CS 142 การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อ การประชาสัมพันธ์ 3 (3-0-6) (Writing English for Public Relations) สอบผ่าน CA303 ภาษาอังกฤษ สําหรับงานนิเทศศาสตร์ หลักและวิธีการเขียนภาษาอังกฤษ เพื่ อ การประชาสัมพัน ธ์ แต่ละประเภท ได้ แก่ ก า ร เ ขี ย น บั น ทึ ก ภา ยใน ก า ร เ ขี ยนข่ า ว ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ก า ร บ ร ร ย า ย ภา พ ข่ า ว ประชาสัมพันธ์
170
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 143 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3 (1-0-8) (Individual Study) เรื่ องเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ โดย นักศึกษาจะต้ องเสนอโครงร่ างของเรื่ องที่ส นใจ จะศึกษา พร้ อมเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษา เพื่อ ขออนุมตั ิจากสาขาวิชาก่อนการลงทะเบียน CS 144 หัวข้ อพิเศษทางการ 3 (3-0-6) ประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ (Special Topic in Strategic Public Relations) เ รื่ อ ง ต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ง า น ประชาสัมพันธ์ โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือก และ กําหนดหัวข้ อในการศึกษาแต่ละภาคการศึกษา ให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั 5.2.4 กลุ่มวิชาเอกการโฆษณา 5.2.4.1 วิชาเอกบังคับ CS 201 การโฆษณากับพฤติกรรมผู้บริโภค 3 (3-0-6) (Advertising and Consumer Behavior) การวิเคราะห์ผ้ บู ริ โภคในฐานะผู้รับสาร และเป้าหมายในการจูงใจ ปั จจัยทางจิ ตวิทยา และปั จจัยทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีอิทธิ พล ต่อพฤติกรรมผู้บริ โภค กระบวนการตัดสินใจซื ้อ ของผู้บ ริ โ ภค การวิเคราะห์ พ ฤติกรรมผู้บ ริ โภค เพื่อสร้ างคุณค่าตราสินค้ าในงานโฆษณา การนํา พฤติ ก รรมผู้ บริ โ ภคมาใช้ ในการวางกลยุ ท ธ์ โฆษณา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ CS 143 การศึกษาเฉพาะบุคคล 1 (1-0-8) คงเดิม (Individual Study) เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การประชาสัม พัน ธ์ โดยนักศึกษาจะต้ องเสนอโครงร่ างของเรื่ องที่ สนใจจะศึกษา พร้ อมเสนอชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา เ พื่ อ ข อ อ นุ มั ติ จ า ก ส า ข า วิ ช า ก่ อ น ก า ร ลงทะเบียน CS 144 หัวข้ อพิเศษทางการ 3 (3-0-6) คงเดิม ประชาสัมพันธ์ เชิงกลยุทธ์ (Special Topic in Strategic Public Relations) เรื่ องต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ งาน ประชาสัม พัน ธ์ โดยสาขาวิช าเป็ นผู้คัดเลือก และกํ า หนดหัว ข้ อในการศึ ก ษาแต่ ล ะภาค การศึกษาให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั 5.2.4 กลุ่มวิชาเอกการโฆษณา 5.2.4.1 วิชาเอกบังคับ CS 201 การโฆษณากับพฤติกรรมผู้บริโภค คงเดิม 3 (3-0-6) (Advertising and Consumer Behavior) การวิเคราะห์ ผ้ ูบริ โภคในฐานะผู้รั บ สารและเป้ าหมายในการจู ง ใจ ปั จจั ย ทาง จิตวิทยาและปั จจัยทางสังคมและวัฒนธรรมที่ มีอิทธิ พลต่อพฤติกรรมผู้บริ โภค กระบวนการ ตั ด สิ น ใจซื อ้ ของผู้ บริ โภค การวิ เ คราะห์ พฤติกรรมผู้บริ โภคเพื่อสร้ างคุณค่าตราสินค้ า ในงานโฆษณา การนําพฤติกรรมผู้บริ โภคมา ใช้ ในการวางกลยุทธ์โฆษณา
171
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 202 การสื่อสารการตลาด 3 (3-0-6) (Marketing Communication) แนวคิ ด และหลัก การของการสื่อ สาร การตลาด เครื่ องมือที่ใช้ ในการสื่อสารการตลาด อาทิ การโฆษณา การประชาสั ม พั น ธ์ การ ส่ง เสริ ม การขาย การตลาดตรง การวิ เ คราะห์ ผู้ รั บ สารเป้ าหมาย การสร้ างตราสิ น ค้ าและ คุ ณ ค่ า ตราสิ น ค้ า การพัฒ นากลยุ ท ธ์ สื่ อ สาร การตลาดแบบบูร ณาการ รวมถึ ง การนําเสนอ กลยุทธ์สอื่ สารการตลาด CS 203 การสร้ างสรรค์ และเขียนบท โฆษณา 3 (3-0-6) (Creative and Copywriting) ศึกษาก่อน CS001 ความคิด สร้ างสรรค์เพื่อการ สือ่ สารเชิงกลยุทธ์ แนวคิ ด วิ ธี ก าร และขัน้ ตอนของการ วางแผนกลยุทธ์ ความคิดสร้ างสรรค์สําหรับการ โฆษณา การสร้ างสรรค์ ง านโฆษณาสํ า หรั บ สินค้ าและบริ การประเภทต่าง ๆ การออกแบบ และการเขียนบทโฆษณา การเขียนคําขวัญ ฝึ ก การสร้ างสรรค์งานโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ ทังสื ้ ่อ ดัง้ เดิ ม อาทิ สื่อ สิ่ง พิ ม พ์ สื่อ วิ ท ยุก ระจายเสียง และวิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ และสื่ อ สมั ย ใหม่ อาทิ อินเทอร์ เน็ต มัลติมีเดีย CS 204 การผลิตงานโฆษณา 3 (2-2-5) (Advertising Production) หลั ก การและกระบวนการพื น้ ฐาน สําหรับการผลิตงานโฆษณาในสื่อต่าง ๆ ทังสื ้ ่อ ดังเดิ ้ มและสื่อสมัยใหม่ เทคนิคและแนวทางใน การติดต่อประสานงานระหว่างบริ ษัทโฆษณากับ หน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้ องกับการผลิตงาน โฆษณา การดําเนินงานของหน่วยงานภายนอก ฝึ กปฏิ บัติ ก ารผลิ ต งานโฆษณาในสื่ อ รู ป แบบ ต่าง ๆ ตังแต่ ้ การเตรี ยมการผลิต การผลิต และ งานภายหลังการผลิต
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 202 การสื่อสารการตลาด 3 (3-0-6) คงเดิม (Marketing Communication) แนวคิ ด และหลัก การของการสื่ อ สาร การตลาด เครื่ องมือที่ใช้ ในการสื่อสารการตลาด อาทิ การโฆษณา การประชาสั ม พั น ธ์ การ ส่ง เสริ ม การขาย การตลาดตรง การวิ เ คราะห์ ผู้ รั บ สารเป้ าหมาย การสร้ างตราสิ น ค้ าและ คุ ณ ค่ า ตราสิ น ค้ า การพัฒ นากลยุ ท ธ์ สื่ อ สาร การตลาดแบบบูร ณาการ รวมถึ ง การนํ าเสนอ กลยุทธ์สอื่ สารการตลาด CS 203 การสร้ างสรรค์ และเขียนบท ปรับชื่อวิชาภาษาอังกฤษ โฆษณา 3 (3-0-6) (Creativity and Copywriting) ศึกษาก่อน CS001 ความคิด สร้ างสรรค์เพือ่ การ สือ่ สารเชิงกลยุทธ์ แนวคิ ด วิ ธี ก าร และขัน้ ตอนของการ วางแผนกลยุทธ์ ความคิดสร้ างสรรค์สําหรับการ โฆษณา การสร้ างสรรค์ ง านโฆษณาสํ า หรั บ สินค้ าและบริ การประเภทต่าง ๆ การออกแบบ และการเขียนบทโฆษณา การเขียนคําขวัญ ฝึ ก การสร้ างสรรค์งานโฆษณาทางสื่อต่าง ๆ ทังสื ้ ่อ ดัง้ เดิ ม อาทิ สื่อ สิ่ง พิ ม พ์ สื่อ วิ ท ยุก ระจายเสียง และวิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ และสื่ อ สมั ย ใหม่ อาทิ อินเทอร์ เน็ต มัลติมีเดีย CS 204 การผลิตงานโฆษณา 3 (2-2-5) คงเดิม (Advertising Production) หลั ก การและกระบวนการพื น้ ฐาน สําหรับการผลิตงานโฆษณาในสื่อต่าง ๆ ทังสื ้ ่อ ดังเดิ ้ มและสื่อสมัยใหม่ เทคนิคและแนวทางใน การติดต่อประสานงานระหว่างบริ ษัทโฆษณากับ หน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้ องกับการผลิตงาน โฆษณา การดําเนินงานของหน่วยงานภายนอก ฝึ กปฏิ บัติ ก ารผลิ ต งานโฆษณาในสื่ อ รู ป แบบ ต่าง ๆ ตังแต่ ้ การเตรี ยมการผลิต การผลิต และ งานภายหลังการผลิต
172
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 205 การวางแผนช่ องทางการโฆษณา 3 (3-0-6) (Advertising Channel Planning) ศึกษาก่อน CS002 เครื่ องมือเพื่อการ สือ่ สารเชิงกลยุทธ์ ช่ อ งทางการสื่อ สารประเภทต่าง ๆ ที่ ใช้ ในการโฆษณา ศั พ ท์ เ ทคนิ ค ที่ ใ ช้ ในการ วางแผนสื่อ โฆษณา กระบวนการวางแผนสื่อ โฆษณา การวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาด การ นํ า ข้ อมู ล วิ จั ย เกี่ ย วกั บ ผู้ บริ โ ภคมาใช้ ในการ วางแผนสื่อ การวางกลยุทธ์ ช่องทางการสื่อสาร เพื่ อ สร้ างตราสิ น ค้ า การจัด ทํ า ตารางแผนสื่อ ตลอดจนการประเมินผลแผนสือ่ โฆษณา CS 206 การรณรงค์ ทางการโฆษณา 3 (3-0-6) (Advertising Campaign) ศึกษาก่อน CS202 การสือ่ สาร การตลาด กระบวนการและการดํา เนิ น งานแผน รณรงค์ โฆษณา การวิ เ คราะห์ ข้ อมู ล ทาง การตลาด การกํ าหนดกลุ่มเป้าหมาย การวาง กลยุ ท ธ์ โ ฆษณา การผลิ ต งานโฆษณา การ บูรณาการสาร สื่อ และเครื่ องมือสื่อสารต่าง ๆ เข้ าด้ วยกัน ตลอดจนการประเมินผลแผนรณรงค์ โฆษณา ฝึ กปฏิ บั ติ ก ารวางแผนแ ละ ก า ร ดําเนินงานรณรงค์โฆษณา รวมทังการนํ ้ าเสนอ แผนรณรงค์ CS 207 สัมมนาการโฆษณา 3 (3-0-6) (Seminar on Advertising) ศึกษาก่อน CS 202 การสือ่ สาร การตลาด ข้ อ เท็ จ จริ ง เกี่ ย วกับ สภาพและปั ญ หา ของการสื่อสารการตลาดหรื อการโฆษณา โดย เน้ น กรณี ศึ ก ษาซึ่ ง เป็ นที่ ส นใจในแวดวงธุ ร กิ จ สื่ อ สารการตลาดหรื อธุ รกิ จ โฆษณ า แ ละ สาธารณชน รวมทัง้ ศึ ก ษาแนวความคิ ด ของ นักสื่อสารการตลาดหรื อนักโฆษณาที่มีชื่อเสียง เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ ในการสร้ างทักษะแนวคิด ในการวิเคราะห์และแก้ ไขปั ญหา หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 205 การวางแผนช่ องทางการโฆษณา ปรับชื่อวิชาภาษาอังกฤษ 3 (3-0-6) (Advertising Media Planning) ศึกษาก่อน CS002 เครื่ องมือเพื่อการ สือ่ สารเชิงกลยุทธ์ ช่องทางการสื่อสารประเภทต่าง ๆ ที่ ใช้ ในการโฆษณา ศั พ ท์ เ ทคนิ ค ที่ ใ ช้ ในการ วางแผนสื่อโฆษณา กระบวนการวางแผนสื่อ โฆษณา การวิเคราะห์ข้อมูลทางการตลาด การ นํ า ข้ อ มูล วิ จัย เกี่ ย วกับ ผู้บ ริ โ ภคมาใช้ ใ นการ วางแผนสือ่ การวางกลยุทธ์ช่องทางการสือ่ สาร เพื่อสร้ างตราสินค้ า การจัดทําตารางแผนสื่อ ตลอดจนการประเมินผลแผนสือ่ โฆษณา CS 206 การรณรงค์ ทางการโฆษณา คงเดิม 3 (3-0-6) (Advertising Campaign) ศึกษาก่อน CS202 การสือ่ สาร การตลาด กระบวนการและการดําเนินงานแผน รณรงค์ โ ฆษณา การวิ เ คราะห์ ข้ อมู ล ทาง การตลาด การกําหนดกลุ่มเป้าหมาย การวาง กลยุท ธ์ โ ฆษณา การผลิ ต งานโฆษณา การ บูรณาการสาร สื่อ และเครื่ องมือสื่อสารต่าง ๆ เข้ าด้ วยกั น ตลอดจนการประเมิ น ผลแผน รณรงค์โฆษณา ฝึ กปฏิบตั ิการวางแผนและการ ดําเนินงานรณรงค์โฆษณา รวมทังการนํ ้ าเสนอ แผนรณรงค์ CS 207 สัมมนาการโฆษณา 3 (3-0-6) คงเดิม (Seminar on Advertising) ศึกษาก่อน CS 202 การสือ่ สาร การตลาด ข้ อเท็จจริ งเกี่ยวกับสภาพและปั ญหา ของการสื่อสารการตลาดหรื อการโฆษณา โดย เน้ นกรณี ศึกษาซึ่งเป็ นที่สนใจในแวดวงธุรกิจ สื่ อ สารการตลาดหรื อธุ ร กิ จ โฆษณาและ สาธารณชน รวมทัง้ ศึก ษาแนวความคิดของ นักสือ่ สารการตลาดหรื อนักโฆษณาที่มีชื่อเสียง เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ ในการสร้ างทักษะแนวคิด ในการวิเคราะห์และแก้ ไขปั ญหา
173
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 208 ประสบการณ์ วิชาชีพทางการ โฆษณา 3 (0-6-3) (Advertising Practicum) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ ที่สาขาวิชากําหนด จั ด ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า อ อ ก ฝึ ก ง า น ใ น หน่วยงานต่าง ๆ หรื อฝึ กกลุม่ ปฏิบตั ิการวิชาชีพ สื่อสารการตลาดหรื อ โฆษณา โดยได้ รับความ เห็ น ชอบจากสาขาวิ ช า ให้ มี ร ะยะเวลาการ ฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อไม่น้อยกว่า 400 ชัว่ โมง ตามที่สาขาวิชากําหนด และให้ เสนอ รายงานการฝึ กงานประกอบ CS 209 โครงงานด้ านการโฆษณา 3 (1-0-8) (Advertising Project) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ ที่สาขาวิชากําหนด นัก ศึ ก ษาที่ ส าขาวิ ช าพิ จ ารณาว่ า มี คุณสมบัติเหมาะสมในการจัดทําโครงงานด้ าน การโฆษณา แทนการออกฝึ กงานในหน่วยงาน ภายนอก ตามรายวิชา CS 208 ประสบการณ์ วิชาชีพทางการโฆษณา ให้ จัดทําโครงงานเรื่ อง ใด ๆ ที่เกี่ ยวข้ องกับการโฆษณา โดยนักศึกษา ต้ อ งเขี ย นโครงการและนํ า เสนอต่ อ อาจารย์ ที่ ปรึ กษา ดําเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 208 ประสบการณ์ วิชาชีพทางการ คงเดิม โฆษณา 3 (0-6-3) (Advertising Practicum) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ ที่สาขาวิชากําหนด จั ด ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า อ อ ก ฝึ ก ง า นใน หน่วยงานต่าง ๆ หรื อฝึ กกลุม่ ปฏิบตั ิการวิชาชีพ สื่อสารการตลาดหรื อโฆษณา โดยได้ รับความ เห็ น ชอบจากสาขาวิ ช า ให้ มี ร ะยะเวลาการ ฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อไม่น้อยกว่า 400 ชั่ว โมง ตามที่ ส าขาวิ ช ากํ า หนด และให้ เสนอรายงานการฝึ กงานประกอบ CS 209 โครงงานด้ านการโฆษณา คงเดิม 3 (1-0-8) (Advertising Project) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ ที่สาขาวิชากําหนด นัก ศึก ษาที่ส าขาวิชาพิ จารณาว่า มี คุณสมบัติเหมาะสมในการจัดทําโครงงานด้ าน การโฆษณา แทนการออกฝึ กงานในหน่วยงาน ภายนอก ตามรายวิชา CS 208 ประสบการณ์ วิชาชีพทางการโฆษณา ให้ จดั ทําโครงงานเรื่ อง ใด ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการโฆษณา โดยนักศึกษา ต้ องเขียนโครงการและนําเสนอต่ออาจารย์ที่ ปรึกษา ดําเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ
174
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 210 สหกิจศึกษา 6 (0-40-20) (Co-operative Education) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ ที่สาขาวิชากําหนด ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น จ ริ ง ใ น ส ถ า น ประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษา เป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึ ก ษาในฐานะ พนัก งานชั่ว คราว นัก ศึก ษาจะต้ อ งเข้ า รั บ การ เตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ านวิชาการ และการ ปฏิบตั ิตนในสังคม การทํางาน รวมทังดํ ้ าเนินการ ตามขัน้ ตอนของสหกิ จ ศึ ก ษาที่ ม หาวิ ท ยาลัย กําหนด การปฏิบตั ิงานและการประเมินผล อยู่ ภายใต้ การกํากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึ กษาของ สาขาวิ ช า และพนั ก งานที่ ป รึ กษาที่ ส ถาน ประกอบการมอบหมาย 5.2.4.2 วิชาเอกเลือก CS 231 การโฆษณากับสังคม 3 (3-0-6) (Advertising and Society) บทบาท อิ ท ธิ พ ล และผลกระทบของ การโฆษณาและกิจกรรมการตลาดอื่น ๆ ที่มีต่อ บุคคล ชุมชน และสังคม บทบาทของการโฆษณา ในด้ านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม จรรยาบรรณและความรั บ ผิ ด ชอบของนั ก โฆษณา การควบคุมโฆษณาทางกฎหมายและ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อง โดยใช้ กรณี ศึ ก ษาใน ประเทศไทย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 210 สหกิจศึกษา 6 (0-40-20) คงเดิม (Co-operative Education) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ ที่สาขาวิชากําหนด ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น จ ริ ง ใ น ส ถ า น ประกอบการอย่ า งมี ร ะบบ ตามสาขาวิ ช าที่ ศึกษาเป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะ พนักงานชั่วคราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการ เตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ านวิชาการ และการ ปฏิ บั ติ ต นในสั ง คม การทํ า งาน รวมทั ง้ ดํ า เนิ น การตามขัน้ ตอนของสหกิ จ ศึ ก ษาที่ มหาวิทยาลัยกําหนด การปฏิบตั ิงานและการ ประเมิ น ผล อยู่ ภ ายใต้ การกํ า กั บ ดู แ ลของ อาจารย์ที่ปรึกษาของสาขาวิชา และพนักงานที่ ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมาย 5.2.4.2 วิชาเอกเลือก CS 231 การโฆษณากับสังคม 3 (3-0-6) คงเดิม (Advertising and Society) บทบาท อิทธิ พล และผลกระทบของ การโฆษณาและกิ จกรรมการตลาดอื่น ๆ ที่มี ต่อบุคคล ชุมชน และสังคม บทบาทของการ โฆษณาในด้ านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม จรรยาบรรณและความรับผิดชอบ ของนั ก โฆษณา การควบคุ ม โฆษณาทาง กฎหมายและหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยใช้ กรณีศกึ ษาในประเทศไทย
175
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 5.2.4.2 วิชาเอกเลือก CS 232 เทคนิคการนําเสนอผลงานโฆษณา 3 (3-0-6) (Advertising Presentation Techniques) หลัก การและวิ ธี ก ารในการนํ า เสนอ ผลงานแก่บริ ษัทลูกค้ า เพื่อการแข่งขันกับบริ ษัท ตัวแทนโฆษณาอื่น ๆ ฝึ กปฏิบตั ิการเตรี ยม การ ผลิต และการนําเสนอผลงานโฆษณา อาทิ แผน รณรงค์ โ ฆษณา แผนงานความคิ ด สร้ างสรรค์ ผลการวิจัยตลาดและผู้บริ โภค ให้ ลกู ค้ าอนุมตั ิ ตลอดจนแนวทางในการปรั บ ปรุ ง และแก้ ไข ปั ญหาอุ ป สรรคที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การนํ า เสนอ ผลงานโฆษณาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ CS 233 ทฤษฎีการจูงใจเพื่องานโฆษณา 3 (3-0-6) (Persuasive Theory for Advertising) แนวคิดและทฤษฎีการจูงใจโดยใช้ สื่อ ประเภทต่าง ๆ เพื่องานโฆษณา องค์ ประกอบ เกี่ยวกับทฤษฎีการจูงใจทังด้ ้ านจิตวิทยา สังคม วิทยา มานุษยวิทยา และเศรษฐศาสตร์ การนํา ทฤษฎีการจูงใจมาใช้ ในการวางกลยุทธ์ โฆษณา รวมทัง้ สภาพแวดล้ อ มที่เกี่ ยวข้ องกับการจูงใจ อันส่งผลต่องานโฆษณา CS 234 กลยุทธ์ การโฆษณาผ่ าน สื่อสมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Advertising Strategy in New Media) หลั ก การและกลยุ ท ธ์ สํ า หรั บ การ โฆษณาผ่ า นสื่ อ สมัย ใหม่ ได้ แ ก่ อิ น เทอร์ เ น็ ต มัลติมีเดีย สื่อแวดล้ อม สื่อดิจิทัล และสื่ออื่น ๆ โดยการสร้ างสารและเลือกใช้ สื่อเพื่อใช้ ในการ สือ่ สารการตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ 5.2.4.2 วิชาเอกเลือก CS 232 เทคนิคการนําเสนอ คงเดิม ผลงานโฆษณา 3 (3-0-6) (Advertising Presentation Techniques) หลัก การและวิ ธี ก ารในการนํ าเสนอ ผลงานแก่ บ ริ ษั ท ลูก ค้ า เพื่ อ การแข่ ง ขัน กั บ บริ ษั ท ตัว แทนโฆษณาอื่ น ๆ ฝึ กปฏิ บัติ ก าร เตรี ย ม การผลิ ต และการนํ า เสนอผลงาน โฆษณา อาทิ แผนรณรงค์ โ ฆษณา แผนงาน ความคิ ด สร้ างสรรค์ ผลการวิ จัย ตลาดและ ผู้บริ โภค ให้ ลกู ค้ าอนุมตั ิ ตลอดจนแนวทางใน การปรั บ ปรุ งและแก้ ไขปั ญหาอุ ป สรรคที่ เกี่ ย วข้ อ งกับ การนํ า เสนอผลงานโฆษณาใน สถานการณ์ตา่ ง ๆ CS 233 ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา ปรับชื่อวิชา 3 (3-0-6) (Persuasive Theory for Advertising) แนวคิ ด และทฤษฎี ก ารจูงใจโดยใช้ สื่ อ ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ เ พื่ อ ง า น โ ฆ ษ ณ า องค์ ประกอบเกี่ยวกับทฤษฎีการจูงใจทังด้ ้ าน จิ ต วิ ท ยา สัง คมวิ ท ยา มานุ ษ ยวิ ท ยา และ เศรษฐศาสตร์ การนําทฤษฎีการจูงใจมาใช้ ใน การวางกลยุทธ์ โฆษณา รวมทังสภาพแวดล้ ้ อม ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การจู ง ใจอั น ส่ ง ผลต่ อ งาน โฆษณา CS 234 กลยุทธ์ การโฆษณาผ่ าน คงเดิม สื่อสมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Advertising Strategy in New Media) หลั ก การและกลยุ ท ธ์ สํ า หรั บ การ โฆษณาผ่านสื่อสมัยใหม่ ได้ แก่ อินเทอร์ เน็ ต มัลติมีเดีย สือ่ แวดล้ อม สือ่ ดิจิทลั และสือ่ อื่น ๆ โดยการสร้ างสารและเลือกใช้ สื่อเพื่อใช้ ในการ สือ่ สารการตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ
176
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 235 การออกแบบโฆษณา 3 (2-2-5) (Advertising Design) หลั ก การเบื อ้ งต้ นของนิ เ ทศศิ ล ป์ ที่ นํ า ม า ใ ช้ ใ น ง า น โ ฆ ษ ณ า ก า ร อ อ ก แ บ บ เครื่ องหมายสัญลักษณ์และตัวอักษร การเลือกใช้ สี กระบวนการผลิตวัสดุโฆษณาและต้ นฉบับที่ใช้ ในงานสิ่ ง พิ ม พ์ การใช้ ระบบการพิ ม พ์ ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารออกแบบสิ่ ง พิ ม พ์ ป ระเภทต่ า งๆ กระบวนการทํ า อาร์ ตเวิ ร์ ค ตลอดจนการ ออกแบบและผลิต วัส ดุโ ฆษณาในสื่อ ประเภท อื่น ๆ CS 236 การถ่ ายภาพเพื่องานโฆษณา 3 (2-2-5) (Advertising Photography) หลั ก การถ่ า ยภาพจากความคิ ด เชิ ง สร้ างสรรค์ เพื่อใช้ ในงานโฆษณา เกณฑ์ ต่าง ๆ สําหรั บประเมินคุณภาพผลงาน เทคนิคการจัด องค์ประกอบภาพ การจัดแสง และฝึ กปฏิบตั ิการ ถ่ า ยภาพนิ่ ง เพื่ อ ใช้ ในงานโฆษณาทางสื่ อ สิ่งพิมพ์และสื่อสมัยใหม่ที่ต้องใช้ ภาพนิ่งในการ โฆษณา CS 237 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องาน โฆษณา 3 (2-2-5) (Computer Graphics for Advertising) การออกแบบและฝึ กปฏิบตั ิการจัดทํา ชิน้ งานโฆษณาด้ วยคอมพิวเตอร์ ในสื่อประเภท ต่าง ๆ ได้ แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อ วิ ท ยุโ ทรทัศ น์ และสื่อ ประสม (Multimedia) กระบวนการและขันตอนการออกแบบ ้ และการ นํ า เสนองานโฆษณาแบบสองมิ ติ แ ละสามมิติ ด้ วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 235 การออกแบบโฆษณา 3 (2-2-5) คงเดิม (Advertising Design) หลัก การเบื อ้ งต้ น ของนิ เ ทศศิ ล ป์ ที่ นํ า ม า ใ ช้ ใน งาน โฆ ษณ า ก าร อ อ กแบบ เครื่ อ งหมายสัญ ลัก ษณ์ แ ละตัว อั ก ษร การ เลือกใช้ สี กระบวนการผลิตวัสดุโฆษณาและ ต้ นฉบับที่ใช้ ในงานสิ่งพิมพ์ การใช้ ระบบการ พิมพ์ ฝึ กปฏิบตั ิการออกแบบสิ่งพิมพ์ประเภท ต่างๆ กระบวนการทําอาร์ ตเวิร์ค ตลอดจนการ ออกแบบและผลิตวัสดุโฆษณาในสื่อประเภท อื่น ๆ CS 236 การถ่ ายภาพเพื่องานโฆษณา คงเดิม 3 (2-2-5) (Advertising Photography) หลัก การถ่ายภาพจากความคิดเชิ ง สร้ างสรรค์เพื่อใช้ ในงานโฆษณา เกณฑ์ต่าง ๆ สําหรับประเมินคุณภาพผลงาน เทคนิคการจัด องค์ ประกอบภาพ การจั ด แสง และฝึ ก ปฏิบตั ิการถ่ายภาพนิ่ง เพื่อใช้ ในงานโฆษณา ทางสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ แ ละสื่ อ สมั ย ใหม่ ที่ ต้ องใช้ ภาพนิ่งในการโฆษณา CS 237 คอมพิวเตอร์ กราฟิ กเพื่องาน คงเดิม โฆษณา 3 (2-2-5) (Computer Graphics for Advertising) การออกแบบและฝึ กปฏิ บั ติ ก าร จัดทําชิ น้ งานโฆษณาด้ วยคอมพิวเตอร์ ในสื่อ ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ ไ ด้ แ ก่ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ สื่ อ วิ ท ยุก ระจายเสี ย ง สื่ อ วิ ท ยุโ ทรทัศ น์ และสื่ อ ประสม (Multimedia) กระบวนการและขันตอน ้ การออกแบบ และการนํ า เสนองานโฆษณา แบบสองมิ ติ แ ละสามมิ ติ ด้ วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์
177
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 238 การสร้ างแบรนด์ 3 (3-0-6) วิชาใหม่ (Branding) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับแบรนด์ และการสร้ างแบรนด์ คุณค่าเชิงมูลค่าของ แบรนด์ บทบาทและความสําคัญของการ สือ่ สารการตลาดกับการสร้ างแบรนด์ กรณีศกึ ษาเทคนิคการสือ่ สารการตลาดเพื่อ สร้ างแบรนด์
CS 238 การจัดการโฆษณา 3 (3-0-6) (Advertising Management) การดํ า เนิ น งานธุ ร กิ จ ของหน่ ว ยงาน โฆษณาและบริ ษัทตัวแทนโฆษณา ในด้ านการ จั ด โครงสร้ างองค์ ก ร การจั ด สรรบุ ค ลากร งบประมาณ และทรั พ ยากรอื่ น ๆ อย่ า งมี ประสิทธิ ภาพ กลยุทธ์ การจัดหา การให้ บริ การ และการประสานงานแก่ บ ริ ษั ท ลู ก ค้ า การ เสริ มสร้ างและรักษาความสัมพันธ์อนั ดีกบั บริ ษัท ลูก ค้ า ตลอดจนการติ ด ตามประเมิ น ผล เพื่ อ นํ า มาปรั บ ปรุ ง แก้ ไขวิ ธี ก ารดํ า เนิ น งานให้ มี ประสิทธิภาพ CS 239 การกํากับศิลป์เพื่องานโฆษณา 3 (2-2-5) (Advertising Art Direction) ศึกษาก่อน CS325 ศิลปะการ ออกแบบโฆษณา หลักการและวิธีการกํากับศิลป์ ความ เกี่ ย วเนื่อ งกับการสื่อ สารในด้ านการเลือกใช้ สี การวางรู ปแบบ การออกแบบหน้ า การจัดวาง องค์ ประกอบตัวอักษรและภาพ ฝึ กปฏิบัติงาน ด้ า นกํ า กับ ศิ ล ป์ เพื่ อ ใช้ ในงานโฆษณาทางสื่อ ต่ า งๆ ทัง้ สื่ อ ดัง้ เดิ ม และสื่ อ สมัย ใหม่ ที่ ต้ องใช้ ภาพนิ่งและภาพเคลือ่ นไหวในการโฆษณา
CS 239 การกํากับศิลป์เพื่องานโฆษณา ปรับรหัสของรายวิชา 3 (2-2-5) (Advertising Management) หลั ก การและวิ ธี ก ารกํ า กั บ ศิ ล ป์ ความเกี่ ย วเนื่ อ งกับ การสื่ อ สารในด้ า นการ เลือกใช้ สี การวางรู ปแบบ การออกแบบหน้ า การจัดวางองค์ประกอบตัวอักษรและภาพ ฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านด้ านกํ า กั บ ศิ ล ป์ เพื่ อ ใช้ ในงาน โฆษณาทางสื่ อ ต่ า งๆ ทัง้ สื่ อ ดัง้ เดิ ม และสื่ อ สมัยใหม่ที่ต้องใช้ ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ในการโฆษณา
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
CS 240 การจัดการโฆษณา
3 (3-0-6) (Advertising Art Direction) ศึกษาก่อน CS325 ศิลปะการ ออกแบบโฆษณา การดําเนินงานธุรกิ จของหน่วยงาน โฆษณาและบริ ษัทตัวแทนโฆษณา ในด้ านการ จั ด โครงสร้ างองค์ ก ร การจั ด สรรบุ ค ลากร งบประมาณ และทรั พ ยากรอื่ น ๆ อย่ า งมี ประสิทธิภาพ กลยุทธ์ การจัดหา การให้ บริ การ และการประสานงานแก่ บ ริ ษั ท ลูก ค้ า การ เสริ ม สร้ างและรั ก ษาความสัม พัน ธ์ อั น ดี กั บ บริ ษัทลูกค้ า ตลอดจนการติดตามประเมินผล เพื่อนํามาปรับปรุ งแก้ ไขวิธีการดําเนินงานให้ มี ประสิทธิภาพ
178
ปรับรหัสของรายวิชา
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 240 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3 (1-0-8) (Individual Study) การศึ ก ษาเรื่ อ งต่ า ง ๆ เกี่ ย วกั บ การ โฆษณา โดยนักศึกษาจะต้ องเสนอโครงร่ างของ เรื่ อ งที่ ส นใจศึ ก ษา พร้ อมเสนอชื่ อ อาจารย์ ที่ ปรึ ก ษา เพื่ อ ขออนุมัติ จ ากสาขาวิ ช าก่ อ นการ ลงทะเบียน CS 241 หัวข้ อพิเศษทางการโฆษณา 3 (3-0-6) (Special Topic in Advertising) ประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงานด้ าน การโฆษณา โดยสาขาวิ ช าเป็ นผู้คัด เลือ กและ กํ า หนดหั ว ข้ อการศึ ก ษาในแต่ ล ะภาค ให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 241 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3 (1-0-8) ปรับรหัสของรายวิชา (Individual Study) การศึก ษาเรื่ อ งต่าง ๆ เกี่ ย วกับ การ โฆษณา โดยนัก ศึก ษาจะต้ อ งเสนอโครงร่ าง ของเรื่ องที่สนใจศึกษา พร้ อมเสนอชื่ออาจารย์ ที่ปรึ กษา เพื่อขออนุมตั ิจากสาขาวิชาก่อนการ ลงทะเบียน CS 242 หัวข้ อพิเศษทางการโฆษณา ปรับรหัสของรายวิชา 3 (3-0-6) (Special Topic in Advertising) ประเด็ น ต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ งาน ด้ านการโฆษณา โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คดั เลือก และกําหนดหัวข้ อการศึกษาในแต่ละภาค ให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั ปรับกลุม่ วิชาเอกการสือ่ สาร การตลาดข้ ามวัฒนธรรมออก
5.2.5 กลุ่มวิชาเอกการสื่อสาร การตลาดข้ ามวัฒนธรรม 5.2.5.1 วิชาเอกบังคับ CS 301 หลักการสื่อสารการตลาด 3 (3-0-6) (Principles of Marketing Communication) หลักการ แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับ การสื่อ สารการตลาด ความเชื่ อ มโยงระหว่าง การสือ่ สารกับการตลาด บทบาทของการสือ่ สาร ก า ร ต ลา ด ใ น ส่ ว น ป ร ะ สม ท า ง ก า ร ต ลาด องค์ประกอบของการสือ่ สารการตลาด เครื่ องมือ สื่ อ สารการตลาดรู ป แบบต่ า ง ๆ พฤติ ก รรม ผู้บริ โภคภายใต้ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม การวางแผนงานด้ านการสื่ อ สารการตลาด ตลอดจนการกํ าหนดกลยุ ท ธ์ การสื่ อ สาร การตลาดแบบบูรณาการเพื่อสร้ างแบรนด์ของ ธุรกิจทังในระดั ้ บประเทศและในระดับสากล
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
ปรับออก
179
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 302 จิตวิทยาผู้บริโภคหลากวัฒนธรรม 3 (3-0-6) (Multicultural Consumer Psychology) แนวคิ ด และทฤษฎี ท างจิ ต วิ ท ยาและ พฤติ ก รรมศาสตร์ ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การศึ ก ษา ผู้ บริ โภค การศึ ก ษาปั จจั ย ภายใน การรั บ รู้ ความจํ า บุคลิกภาพ และปั จจัยแวดล้ อมทาง สัง คม ได้ แ ก่ ค่า นิ ย ม ครอบครั ว กลุ่ม อ้ า งอิงที่ เกี่ยวข้ องกับผู้บริ โภค การสื่อสารกับผู้บริ โภคที่มี ปั จจัยทางจิตวิทยาและวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน กระบวนการทางจิตวิทยาที่เป็ นพื ้นฐานความคิด ความรู้ สึ ก การตัด สิ น ใจ และพฤติ ก รรมของ ผู้บ ริ โ ภค การประยุก ต์ ใ ช้ ทฤษฎี แ ละงานวิ จัย สํา หรั บ การสื่อ สารการตลาดกับ กลุ่ม ผู้บ ริ โ ภค ภายใต้ ระบบวัฒนธรรมต่าง ๆ CS 303 เครื่องมือสื่อสารการตลาด เชิงกลยุทธ์ 3 (2-2-5) (Strategic Marketing Communication Tools) ศึกษาก่อน CS301 หลักการสือ่ สาร การตลาด หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับเครื่ องมือ สือ่ สารการตลาดตราสินค้ าและตราองค์กรข้ าม วัฒนธรรม การออกแบบและสร้ างสรรค์เครื่ องมือ การสือ่ สารการตลาดแบบบูรณาการ ได้ แก่ การ โฆษณา การประชาสัมพันธ์ การตลาดทางตรง การส่งเสริ มการขาย การตลาดเชิงกิจกรรม รวมถึงการประยุกต์ใช้ สอื่ ประเพณี สือ่ พื ้นบ้ าน สือ่ ใหม่ และสือ่ สังคมออนไลน์ การประเมินผล เครื่ องมือสือ่ สารการตลาด กฎระเบียบและ จริ ยธรรมที่เกี่ยวข้ อง ฝึ กผลิตสือ่ และสร้ างสรรค์ เครื่ องมือสือ่ สารการตลาด
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ ปรับออก
ปรับออก
180
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 304 สื่อดิจทิ ัลเพื่อการสื่อสาร การตลาดข้ ามวัฒนธรรม
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
3 (2-2-5) (Digital Media for Cross-Cultural Marketing Communication) ศึกษาก่อน CS301 หลักการสือ่ สาร การตลาด ห ลั ก ก า ร แ น ว คิ ด รู ป แ บ บ แ ล ะ พัฒ นาการของการใช้ สื่ อ ดิ จิ ทัล และสื่ อ สัง คม ออนไลน์ เพื่อการสื่อสารการตลาด เทคนิคและ วิ ธี ก ารใช้ สื่อ ดิ จิ ทัล และสื่อ สัง คมออนไลน์ เ พื่ อ เข้ าถึงผู้บริ โภคในสภาพแวดล้ อมข้ ามวัฒนธรรม การวัดและประเมินผลการสื่อสารผ่านสื่อดิจิทลั และสือ่ สังคมออนไลน์ CS 305 การสร้ างแบรนด์ ข้ามวัฒนธรรม 3 (3-0-6) (Cross-Cultural Branding) หลัก การและแนวคิ ดเกี่ ยวกับ แบรนด์ แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง แ บ ร น ด์ ข้ า ม วั ฒ น ธ ร ร ม องค์ประกอบของแบรนด์ คุณค่าเชิงมูลค่าของ แ บ ร น ด์ ( Brand Equity) บ ท บ า ท แ ล ะ ความสํา คัญ ของการสื่อ สารการตลาดกับ การ สร้ างแบรนด์ข้ามวัฒนธรรม กรณีศึกษาเทคนิค การสื่ อ สารการตลาดเพื่ อ สร้ างแบรนด์ ร ะดับ ภูมิภาคและแบรนด์ระดับโลก
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
เหตุผลประกอบ ปรับออก
ปรับออก
181
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 306 การรณรงค์ ทางการสื่อสาร การตลาดข้ ามวัฒนธรรม 3 (3-0-6) (Cross-Cutural Marketing Communication Campaign) ศึกษาก่อน CS303 เครื่ องมือ สือ่ สารการตลาด เชิงกลยุทธ์ บทบาทและความสําคัญของการ รณรงค์ทางการสือ่ สารการตลาด กระบวนการ วางแผนรณรงค์ ประกอบด้ วยการวิเคราะห์ ผลิตภัณฑ์และองค์กร การวิเคราะห์ สภาพแวดล้ อมทางการตลาดทังภายในประเทศ ้ และระหว่างประเทศ การวิเคราะห์กลุม่ ผู้บริ โภค เป้าหมาย การพัฒนา กลยุทธ์การสือ่ สาร การตลาดที่สอดคล้ องกับกลุม่ ผู้บริ โภคใน สภาพแวดล้ อมทางวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน และ การประเมินผลการรณรงค์ ฝึ กวางแผนและ นําเสนอแผนรณรงค์ทางการสือ่ สารการตลาด
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
182
เหตุผลประกอบ ปรับออก
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 307 สัมมนาการสื่อสารการตลาด ข้ ามวัฒนธรรม 3 (3-0-6) (Seminar on Cross-Cultural Marketing Communication) ศึกษาก่อน CS301 หลักการ สือ่ สารการตลาด การวิเคราะห์สถานการณ์ ปั ญหา และแนวทางแก้ ไขปั ญหาในกระบวนการสือ่ สาร การตลาดข้ ามวัฒนธรรม โดยศึกษาจากกรณี ตัวอย่างการสือ่ สารการตลาดข้ ามวัฒนธรรมของ ประเทศไทย แนวความคิดและผลงานของนัก สือ่ สารการตลาดที่มีชื่อเสียง เพื่อเป็ นแนวทางใน การพัฒนาแนวคิด ทักษะการวิเคราะห์และการ แก้ ไขปั ญหาเกี่ยวกับการสร้ างแบรนด์ กลยุทธ์ การสือ่ สารการตลาดแบบบูรณาการ รวมทังกล ้ ยุทธ์การสือ่ สารการตลาดข้ ามวัฒนธรรม CS 308 ประสบการณ์ วิชาชีพ 3 (0-6-3) ทางการสื่อสารการตลาด (Marketing Communication Practicum) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ที่ สาขาวิชากําหนด จั ด ให้ นั ก ศึ ก ษาออกฝึ กงานสื่ อ สาร การตลาดในหน่วยงานต่าง ๆ โดยได้ รั บความ เห็ น ชอบจากสาขาวิ ช า ให้ มี ร ะยะเวลาการ ฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อไม่น้อยกว่า 400 ชัว่ โมง ตามที่สาขาวิชากําหนด และให้ เสนอ รายงานการฝึ กงานประกอบ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ ปรับออก
ปรับออก
183
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 309 โครงงานด้ านการ 3 (1-0-8) สื่อสารการตลาดข้ ามวัฒนธรรม (Cross-Cultural Marketing Communication Project) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ที่ สาขาวิชากําหนด นักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่ามี คุณสมบัติเหมาะสมในการจัดทําโครงงานด้ าน การสือ่ สารการตลาดข้ ามวัฒนธรรมแทนการ ออกฝึ กงานในหน่วยงานภายนอก ตามรายวิชา CS 308 ประสบการณ์วิชาชีพทางการสือ่ สาร การตลาด ให้ จดั ทําโครงงานเรื่ องใด ๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับการสือ่ สารการตลาดข้ ามวัฒนธรรม โดยนักศึกษาต้ องเขียนโครงการและนําเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา ดําเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ CS 310 สหกิจศึกษา 6 (0-40-20) (Co-operative Education) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและตามเกณฑ์ ที่สาขาวิชากําหนด ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น จ ริ ง ใ น ส ถ า น ประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษา เป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึ ก ษาในฐานะ พนัก งานชั่ว คราว นัก ศึก ษาจะต้ อ งเข้ า รั บ การ เตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ านวิชาการ และการ ปฏิบตั ิตนในสังคม การทํางาน รวมทังดํ ้ าเนินการ ตามขัน้ ตอนของสหกิ จ ศึ ก ษาที่ ม หาวิ ท ยาลัย กําหนด การปฏิบตั ิงานและการประเมินผล อยู่ ภายใต้ การกํากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึ กษาของ สาขาวิ ช า และพนั ก งานที่ ป รึ กษาที่ ส ถาน ประกอบการมอบหมาย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ ปรับออก
ปรับออก
184
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 5.2.5.2 วิชาเอกเลือก
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 5.2.5.2 วิชาเอกเลือก
เหตุผลประกอบ
CS 331 การสื่อสารการตลาดข้ าม วัฒนธรรมเพื่อการท่ องเที่ยว 3 (3-0-6) (Cross-Cultural Marketing Communication for Tourism) ห ลั ก ก า ร แ ล ะ แ น ว คิ ด เ กี่ ย ว กั บ อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย ว บทบาทของ การตลาดต่อ อุต สาหกรรมการท่อ งเที่ ย ว ส่ว น ประสมทางการตลาดเพื่ อ การท่ อ งเที่ ย ว การ วิ เ คราะห์ พ ฤติ ก รรมของนั ก ท่ อ งเที่ ย วหลาก วัฒนธรรม การวางแผนการสื่อสารการตลาด เพื่อการท่องเที่ยว กลยุทธ์การใช้ เครื่ องมือสือ่ สาร การตลาดเพื่อส่งเสริ มการท่องเที่ยว
ปรับออก
CS 332 การสื่อสารการตลาดสําหรับ ธุรกิจค้ าปลีกข้ ามชาติ 3 (3-0-6) (Marketing Communication for Multinational Retail Business) แนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจค้ าปลีกสมัยใหม่ เครื่ องมือสือ่ สารการตลาดสําหรับธุรกิจค้ าปลีก สมัยใหม่ รูปแบบการใช้ ชวี ิต และพฤติกรรมของ ผู้บริ โภคเป้าหมายภายใต้ ความหลากหลายทาง วัฒนธรรม การสือ่ สาร อัตลักษณ์ของ ธุรกิจและการสร้ างประสบการณ์ให้ แก่ลกู ค้ า ณ ทุกจุดสัมผัส การสร้ างแบรนด์ธุรกิจค้ าปลีกใน ระดับสากล การสร้ างความผูกพันและความภักดี ของผู้บริ โภค
ปรับออก
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
185
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
CS 333 การสื่อสารการตลาดสําหรับ ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่ อม 3 (3-0-6) (Marketing Communication for Small and Medium Enterprises) แนวคิดเกี่ยวกับการตลาดสําหรับ ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แนวคิดเกี่ยวกับการสือ่ สารการตลาด การสร้ าง ความได้ เปรี ยบทางการแข่งขันภายใต้ งบประมาณทีจ่ ํากัดและแบรนด์ยงั ไม่เป็ นที่ร้ ูจกั ในตลาด การวางแผนและพัฒนากลยุทธ์การ สือ่ สารการตลาดแบบบูรณาการเพื่อการเติบโต อย่างยัง่ ยืนของธุรกิจ
ปรับออก
CS 334 การสื่อสารการตลาดเชิงกิจกรรม 3 (2-2-5) (Event Marketing Communication) แนวคิ ด และองค์ ป ระกอบของการ สื่ อ สารการตลาดเชิ ง กิ จ กรรม การวิ เ คราะห์ ผู้บ ริ โ ภคและปั จ จัย ในการกํ า หนดรู ป แบบของ การสื่อสารการตลาดเชิงกิ จกรรม กระบวนการ วางแผนและดําเนินงานสือ่ สารการตลาด เชิง กิจกรรม เทคนิคการจัดกิจกรรมเพื่อการสื่อสาร การตลาด วิ ธี การประเมิ น ผลการสื่ อ สาร การตลาดเชิงกิจกรรม ฝึ กปฏิบตั ิการจัดกิจกรรม เพื่อการสือ่ สารการตลาด
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
เหตุผลประกอบ ปรับออก
186
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
CS 335 ไมซ์ เพื่อการสื่อสารการตลาด ข้ ามวัฒนธรรม 3 (3-0-6) (MICE for Cross-Cultural Marketing Communication) หลักการเกี่ยวกับการจัดประชุมสัมมนา การท่องเที่ยวเพื่อเป็ นรางวัล การจัดงานแสดง สิ น ค้ า ร ะ ดั บ น า น า ช า ติ ( MICE- Meetings, Incentives, Conventions and Exhibitions) เพื่ อ การสื่อ สารการตลาดข้ า มวัฒ นธรรม การ วางแผนและกํ า หนด กลยุท ธ์ ก ารสื่ อ สาร การตลาดเพื่ อ ส่ ง เสริ มกิ จกรรมไมซ์ การ ดําเนินงาน และการประเมินผลการจัดกิจกรรม ไมซ์
ปรับออก
CS 336 การออกแบบสารเพื่อการสื่อสาร การตลาด 3 (3-0-6) (Message Design for Marketing Communication) การแปลงแนวคิดทางการตลาดสูก่ าร สร้ างสารเพื่อการสื่อสารการตลาด แนวคิดและ เทคนิคการวิเคราะห์ ผ้ ูรับสาร ฝึ กวิเคราะห์ เชิง สร้ างสรรค์เพื่อออกแบบเนื ้อหาสารประเภทต่าง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ การสื่ อ สารการตลาดเพื่ อ ให้ สอดคล้ องกับกลุม่ เป้าหมาย ได้ แก่ สารทางการ โฆษณาและการส่งเสริ มการขาย สารทางการ ประชาสัมพันธ์
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
เหตุผลประกอบ ปรับออก
187
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
CS 337 ภาษาอังกฤษเพื่องานสื่อสาร การตลาด 3 (3-0-6) (English for Marketing Communication) สอบผ่าน CA303 ภาษาอังกฤษ สําหรับงานนิเทศศาสตร์ การอ่าน การแปลความหมาย และ การเขียนภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้ องกับงานสือ่ สาร การตลาด ได้ แก่ การอ่านข่าวและการสรุปข่าว ภาษาอังกฤษ การแปลข่าวภาษาอังกฤษ การ อ่านและสรุปใจความของงานโฆษณา การเขียน บรรยายภาพข่าวประชาสัมพันธ์การตลาด การ แปลข่าวประชาสัมพันธ์การตลาด การเขียน บันทึกภายในและจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และ คําศัพท์ภาษาอังกฤษทีใ่ ช้ ในงานสือ่ สาร การตลาด CS 338 การจัดการธุรกิจการสื่อสาร การตลาดข้ ามวัฒนธรรม 3 (3-0-6) (Business Management for Cross-Cultural Marketing Communication) หลักการและแนวคิดการบริ หารธุรกิจ การสือ่ สารการตลาดข้ ามวัฒนธรรม โครงสร้ าง และการจัดการหน่วยปฏิบตั ิการสือ่ สาร การตลาด การบริ หารนโยบายและการจัดการ ทรัพยากรด้ านงบประมาณ บุคลากร ข้ อมูลเพื่อ การตัดสินใจ ศึกษาเปรี ยบเทียบการจัดการธุรกิจ สือ่ สารการตลาดในบริ บทของสังคมไทยและ นานาชาติ เน้ นประเทศในกลุม่ ภูมิภาคอาเซียน
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
เหตุผลประกอบ ปรับออก
ปรับออก
188
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 339 การศึกษาเฉพาะบุคคล 3 (1-0-8) (Individual Study) การศึ ก ษาเรื่ อ งต่ า ง ๆ เกี่ ย วกั บ การ สื่อสารการตลาดข้ ามวัฒนธรรม โดยนักศึกษา จะต้ องเสนอโครงร่ า งของเรื่ อ งที่ ส นใจศึ ก ษา พร้ อมเสนอชื่ ออาจารย์ ที่ปรึ กษา เพื่อขออนุมัติ จากสาขาวิชาก่อนการลงทะเบียน CS 340 หัวข้ อพิเศษทางการสื่อสาร การตลาด 3 (3-0-6) (Special Topic in Marketing Communication) ประเด็ น ต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ งาน สื่อสารการตลาด โดยสาขาวิชาเป็ นผู้คัดเลือก และกํ า หนดหั ว ข้ อในการศึ ก ษาแต่ ล ะภาค การศึกษาให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ปัจจุบนั 5.2.6 กลุ่มวิชาเอกการสร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ 5.2.6.1 วิชาเอกบังคับ CS 401 พืน้ ฐานการออกแบบ 3 (2-2-5) (Fundamental of Design) ประวัติ แนวคิด ทฤษฎีเบื ้องต้ นของการ ออกแบบ ฝึ กปฏิ บัติ ง านด้ านการสร้ างสรรค์ การออกแบบสื่ อ โดยใช้ ศิ ล ปะพื น้ ฐานการ ออกแบบ ได้ แก่ จุด เส้ น ระนาบ รู ปร่ าง รู ปทรง ลักษณะพื ้นผิว สี นํ ้าหนัก พื ้นที่วา่ ง และหลักการ ออกแบบ ได้ แ ก่ เอกภาพ จัง หวะ ความสมดุล สัดส่วน รวมถึงการใช้ สี และการสื่อสัญลักษณ์ ทางการออกแบบ CS 402 ทัศนศิลป์เพื่อการสื่อสาร 3 (2-2-5) (Visual Art for Communication) หลั ก การ แนวคิ ด และเทคนิ ค การ สื่ อ ส า ร ผ่ า น ภ า พ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ จั ด องค์ประกอบภาพ ทังภาพนิ ้ ่งและภาพเคลือ่ นไหว ฝึ กปฏิบัติทักษะของการออกแบบภาพเพื่อการ ประชาสั ม พั น ธ์ การโฆษณา การสื่ อ สาร การตลาด
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559
เหตุผลประกอบ ปรับออก
ปรับออก
5.2.6 กลุ่มวิชาเอกการสร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ 5.2.6.1 วิชาเอกบังคับ CS 401 พืน้ ฐานการออกแบบ 3 (2-2-5) (Fundamental of Design) ประวัติ แนวคิด ทฤษฎีเบือ้ งต้ นของ การออกแบบ ฝึ กปฏิบตั ิงานด้ านการสร้ างสรรค์ การออกแบบสื่ อ โดยใช้ ศิ ล ปะพื น้ ฐานการ ออกแบบ ได้ แก่ จุด เส้ น ระนาบ รู ปร่ าง รู ปทรง ลั ก ษณะพื น้ ผิ ว สี นํ า้ หนั ก พื น้ ที่ ว่ า ง และ หลัก การออกแบบ ได้ แก่ เอกภาพ จั ง หวะ ความสมดุล สัดส่วน รวมถึงการใช้ สี และการ สือ่ สัญลักษณ์ทางการออกแบบ CS 402 ทัศนศิลป์เพื่อการสื่อสาร 3 (2-2-5) (Visual Art for Communication) หลัก การ แนวคิ ด และเทคนิ ค การ สื่ อ สา ร ผ่ า น ภาพ ก า ร อ อ ก แบ บและจั ด อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ภ า พ ทั ้ ง ภ า พ นิ่ ง แ ล ะ ภาพเคลื่ อ นไหว ฝึ กปฏิ บั ติ ทั ก ษะของการ ออกแบบภาพเพื่ อ การประชาสัม พัน ธ์ การ โฆษณา การสือ่ สารการตลาด
189
คงเดิม คงเดิม
คงเดิม
คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 403 เครื่องมือเพื่อการออกแบบสื่อและ การสื่อสาร 3 (2-2-5) (Tools for Media and Communication Design) ศึกษาก่อน CS401 พื ้นฐาน การออกแบบ หลั ก การ แนวคิ ด และเทคนิ ค การ ออกแบบสื่อและการสื่อสาร ได้ แก่ การออกแบบ ตัว อัก ษร การออกแบบอิ น เตอร์ แ อคที ฟ การ ออกแบบอินโฟกราฟิ ก ฝึ กปฏิบัติการออกแบบ ด้ วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อการออกแบบสื่อที่ สนับสนุนการสร้ างแบรนด์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 403 เครื่องมือเพื่อการออกแบบสื่อ คงเดิม และการสื่อสาร 3 (2-2-5) (Tools for Media and Communication Design) ศึกษาก่อน CS401 พื ้นฐาน การออกแบบ หลัก การ แนวคิ ด และเทคนิ ค การ ออกแบบสื่ อ และการสื่ อ สาร ได้ แก่ การ ออกแบบตัวอักษร การออกแบบอินเตอร์ แอค ทีฟ การออกแบบอินโฟกราฟิ ก ฝึ กปฏิบตั ิการ ออกแบบด้ วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อการ ออกแบบสือ่ ที่สนับสนุนการสร้ างแบรนด์
CS 404 การจัดการแบรนด์ และ การออกแบบสื่อ 3 (3-0-6) (Brand Strategy and Media Design) หลักการและความสัมพันธ์ ระหว่างการ จัดการแบรนด์กบั การออกแบบสือ่ การสร้ าง และปรั บคุณค่า ความหมาย อัตลักษณ์ การวางตํ า แหน่ง และบุค ลิก ภาพ ของแบรนด์ สินค้ า บริ การ หรื อองค์กร การออกแบบสื่อเพื่อ เ ชื่ อ ม โ ย ง ก ล ยุ ท ธ์ แ บ ร น ด์ ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง กลุม่ เป้าหมาย เน้ นกรณีศกึ ษาการจัดการแบรนด์ ด้ วยการออกแบบ CS 405 การสร้ างสรรค์ และออกแบบเชิง ธุรกิจ 3 (3-0-6) (Creativity and Design for Business) ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ข อ ง ธุ ร กิ จ กั บ ก า ร สร้ างสรรค์ แ ละออกแบบ กระบวนการและ ขันตอนการออกแบบ ้ ตังแต่ ้ การวิเคราะห์บริ บท ทางการตลาด สังคม และวัฒนธรรม การศึกษา พฤติกรรมความต้ องการผู้บริ โภคและผู้มีส่วนได้ ส่ว นเสีย ฝึ กปฏิ บัติ ส ร้ างสรรค์ งานออกแบบให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมของธุรกิจ
CS 404 การจัดการแบรนด์ และ คงเดิม การออกแบบสื่อ 3 (3-0-6) (Brand Strategy and Media Design) หลักการและความสัมพันธ์ ระหว่า ง การจัดการแบรนด์กบั การออกแบบสือ่ การ สร้ างและปรั บคุณค่า ความหมาย อัต ลักษณ์ การวางตําแหน่ง และบุคลิกภาพ ของ แบรนด์สนิ ค้ า บริ การ หรื อองค์กร การออกแบบ สื่อเพื่อเชื่ อมโยงกลยุทธ์ แบรนด์ ในการเข้ าถึง กลุ่มเป้าหมาย เน้ นกรณีศึกษาการจัดการแบ รนด์ด้วยการออกแบบ CS 405 การสร้ างสรรค์ และออกแบบเชิง คงเดิม ธุรกิจ 3 (3-0-6) (Creativity and Design for Business) ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ขอ งธุ ร กิ จกั บ การ สร้ างสรรค์ แ ละออกแบบ กระบวนการและ ขันตอนการออกแบบ ้ ตังแต่ ้ การวิเคราะห์บริ บท ทางการตลาด สังคม และวัฒนธรรม การศึกษา พฤติกรรมความต้ องการผู้บริ โภคและผู้มีส่วน ได้ ส่วนเสีย ฝึ กปฏิบตั ิสร้ างสรรค์งานออกแบบ ให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมของธุรกิจ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
190
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 406 โครงงานด้ านการออกแบบสื่อ 1 3 (1-0-8) (Media Design Project 1) ศึกษาก่อน CS 401 พื ้นฐานการ ออกแบบ CS 402 ทัศนศิลป์เพื่อ การสือ่ สาร การจัดทําโครงงานด้ านการออกแบบ สื่ อ ในเรื่ อ งใดๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ ศิ ล ปะและการ ออกแบบสื่อ โดยนัก ศึก ษาต้ อ งเขี ย นโครงการ และนํ า เสนอต่ อ อาจารย์ ที่ ป รึ กษา ดํ า เนิ น โครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการ ที่ได้ รับความเห็นชอบ CS 407 สัมมนากลยุทธ์ แบรนด์ และการ ออกแบบสื่อ 3 (3-0-6) (Seminar on Brand Strategy and Media Design) ศึกษาก่อน CS 404 การจัดการ แบรนด์กบั การ ออกแบบสือ่ การวิเคราะห์สถานการณ์ ปั ญหา และ แนวทางการพั ฒ นากลยุ ท ธ์ แ บรนด์ แ ละการ ออกแบบสื่อเพื่อสนับสนุนงานสื่อสารเชิงกลยุทธ์ โดยเน้ นศึกษาจากกรณี ตวั อย่างที่เกี่ยวข้ องกับ การสร้ างแบรนด์ อ งค์ ก รและ แบรนด์ ผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง รวมถึ ง พิ จ ารณาความ รับผิดชอบต่อลูกค้ า ผู้บริ โภค และผู้มีสว่ นได้ สว่ น เสี ย ที่ เ กี่ ย วข้ องบนพื น้ ฐานของจรรยาบรรณ วิชาชีพและจริ ยธรรม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 406 โครงงานด้ านการออกแบบสื่อ 1 คงเดิม 3 (1-0-8) (Media Design Project 1) ศึกษาก่อน CS 401 พื ้นฐานการ ออกแบบ CS 402 ทัศนศิลป์เพื่อ การสือ่ สาร ก า ร จั ด ทํ า โ ค ร ง ง า น ด้ า น ก า ร ออกแบบสื่อในเรื่ องใดๆ ที่เกี่ยวข้ องกับศิลปะ และการออกแบบสื่อ โดยนักศึกษาต้ องเขียน โครงการและนํ า เสนอต่ อ อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา ดําเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตาม โครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ CS 407 สัมมนากลยุทธ์ แบรนด์ และการ คงเดิม ออกแบบสื่อ 3 (3-0-6) (Seminar on Brand Strategy and Media Design) ศึกษาก่อน CS 404 การจัดการ แบรนด์กบั การ ออกแบบสือ่ การวิ เ คราะห์ ส ถานการณ์ ปั ญ หา และแนวทางการพัฒ นากลยุท ธ์ แ บรนด์ แ ละ การออกแบบสื่ อ เพื่ อ สนั บ สนุ น งานสื่ อ สาร เชิงกลยุทธ์ โดยเน้ นศึกษาจากกรณีตวั อย่างที่ เกี่ยวข้ องกับการสร้ างแบรนด์องค์กรและ แบ รนด์ ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง รวมถึ ง พิ จ ารณา ความรั บ ผิ ด ชอบต่อ ลูก ค้ า ผู้บ ริ โ ภค และผู้มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ที่ เ กี่ ย วข้ องบนพื น้ ฐานของ จรรยาบรรณวิชาชีพและจริ ยธรรม
191
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 408 ประสบการณ์ วิชาชีพทางการ สร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ 3 (0-6-3) (Media Arts and Design Practicum) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กําหนด จัดให้ นักศึกษาออกฝึ กงานด้ านการ สร้ างสรรค์ แ ละออกแบบสื่ อ ในหน่ ว ยงานทั ง้ ภาครัฐและภาคเอกชน โดยได้ รับความเห็นชอบ จากสาขาวิชา ให้ มีระยะเวลาการฝึ กงานไม่น้อย กว่ า 12 สัป ดาห์ หรื อ ไม่ ตํ่ า กว่ า 400 ชั่ ว โมง ตามที่สาขาวิชากํ าหนด และให้ เสนอรายงาน การฝึ กงานประกอบ CS 409 โครงงานด้ านการออกแบบสื่อ 2 3 (1-0-8) (Media Design Project 2) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กําหนด นัก ศึก ษาที่ ส าขาวิ ชาพิ จารณาว่ามี คุณสมบัติเหมาะสมในการจัดทําโครงงานด้ าน การออกแบบสื่ อ แทนการออกฝึ กงานใน หน่ ว ยงานภายนอก ตามรายวิ ช า CS 408 ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ วิ ช า ชี พ ท า ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ ออกแบบสื่ อ ให้ จั ด ทํ า โครงงานเรื่ อ งใด ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกับ ศิ ล ปะและการออกแบบสื่ อ โดย นัก ศึ ก ษาต้ อ งเขี ย นโครงการและนํ า เสนอต่ อ อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา ดํ า เนิ น โครงงาน และ/หรื อ ผลิตผลงาน ตามโครงการที่ได้ รับความเห็นชอบ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 408 ประสบการณ์ วิชาชีพทางการ คงเดิม สร้ างสรรค์ และออกแบบสื่อ 3 (0-6-3) (Media Arts and Design Practicum) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กําหนด จัดให้ นกั ศึกษาออกฝึ กงานด้ านการ สร้ างสรรค์ แ ละออกแบบสื่อ ในหน่ว ยงานทัง้ ภาครั ฐ และภาคเอกชน โดยได้ รั บ ความ เห็ น ชอบจากสาขาวิ ช า ให้ มี ร ะยะเวลาการ ฝึ กงานไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ หรื อไม่ตํ่ากว่า 400 ชั่ว โมงตามที่ ส าขาวิ ชากํ าหนด และให้ เสนอรายงานการฝึ กงานประกอบ CS 409 โครงงานด้ านการออกแบบสื่อ 2 คงเดิม 3 (1-0-8) (Media Design Project 2) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต และ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กําหนด นักศึกษาที่สาขาวิชาพิจารณาว่ามี คุณสมบัติเหมาะสมในการจัดทําโครงงานด้ าน การออกแบบสื่ อ แทนการออกฝึ กงานใน หน่ ว ยงานภายนอก ตามรายวิ ช า CS 408 ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ วิ ช า ชี พ ท า ง ศิ ล ป ะ แ ล ะ ออกแบบสื่อ ให้ จัด ทํ า โครงงานเรื่ อ งใด ๆ ที่ เกี่ ยวข้ องกับศิลปะและการออกแบบสื่อ โดย นัก ศึก ษาต้ องเขี ยนโครงการและนํ าเสนอต่อ อาจารย์ ที่ปรึ กษา ดําเนินโครงงาน และ/หรื อ ผลิ ต ผลงาน ตามโครงการที่ ไ ด้ รั บ ความ เห็นชอบ
192
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 410 สหกิจศึกษา 6 (0-40-20) (Co-operation Education) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กําหนด ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น จ ริ ง ใ น ส ถ า น ประกอบการอย่างมีระบบ ตามสาขาวิชาที่ศกึ ษา เป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึ ก ษาในฐานะ พนัก งานชั่ว คราว นัก ศึก ษาจะต้ อ งเข้ า รั บ การ เตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ านวิชาการ และการ ปฏิบตั ิตนในสังคม การทํางาน รวมทังดํ ้ าเนินการ ตามขัน้ ตอนของสหกิ จ ศึ ก ษาที่ ม หาวิ ท ยาลัย กําหนด การปฏิบตั ิงานและการประเมินผล อยู่ ภายใต้ การกํากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึ กษาของ สาขาวิ ช า และพนั ก งานที่ ป รึ กษาที่ ส ถาน ประกอบการมอบหมาย 5.2.6.2 วิชาเอกเลือก CS 431 สุนทรียภาพทางศิลปะและการ ออกแบบ 3 (3-0-6) (Art and Design Appreciation) หลักการสุนทรี ยศาสตร์ ความเข้ าใจใน ทั ศ นศิ ล ป์ สาขาต่ า ง ๆ ความชื่ น ชมในความ เป็ นมา รู ปแบบของศิลปะและการออกแบบของ ไทยและสากล เน้ นความเข้ าใจและประสบการณ์ ในการดูง านศิ ล ปะและการออกแบบเพื่ อ เป็ น พื ้นฐานในการสร้ างสรรค์งานออกแบบสือ่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 410 สหกิจศึกษา 6 (0-40-20) คงเดิม (Co-operation Education) สอบผ่าน รายวิชาในหลักสูตร จํานวนไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิตและ ตามเกณฑ์ที่สาขาวิชา กําหนด ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น จ ริ ง ใ น ส ถ า น ประกอบการอย่ า งมี ร ะบบ ตามสาขาวิ ช าที่ ศึกษาเป็ นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาในฐานะ พนักงานชั่วคราว นักศึกษาจะต้ องเข้ ารับการ เตรี ยมความพร้ อมทังทางด้ ้ านวิชาการ และการ ปฏิ บั ติ ต นในสั ง คม การทํ า งาน รวมทั ง้ ดํ า เนิ น การตามขัน้ ตอนของสหกิ จ ศึ ก ษาที่ มหาวิทยาลัยกําหนด การปฏิบตั ิงานและการ ประเมิ น ผล อยู่ ภ ายใต้ การกํ า กั บ ดู แ ลของ อาจารย์ที่ปรึกษาของสาขาวิชา และพนักงานที่ ปรึกษาที่สถานประกอบการมอบหมาย 5.2.6.2 วิชาเอกเลือก CS 431 สุนทรียภาพทางศิลปะและการ คงเดิม ออกแบบ 3 (3-0-6) (Art and Design Appreciation) หลักการสุนทรี ยศาสตร์ ความเข้ าใจ ในทัศนศิลป์สาขาต่าง ๆ ความชื่นชมในความ เป็ นมา รู ป แบบของศิ ล ปะและการออกแบบ ของไทยและสากล เน้ นความเข้ าใจและ ประสบการณ์ ใ นการดู ง านศิ ล ปะและการ ออกแบบเพื่อเป็ นพื ้นฐานในการสร้ างสรรค์งาน ออกแบบสือ่
193
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 432 การออกแบบสื่ออินเตอร์ แอคทีฟ 3 (2-2-5) (Interactive Media Design) หลักการ แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบ สื่อ เพื่ อ สร้ างปฏิ ส ัมพัน ธ์ และการมี ส่วนร่ วมกับ ผู้ ใช้ ผ่ า นเนื อ้ หารู ป แบบต่ า งๆ ทั ง้ ตั ว อั ก ษร กราฟิ ก แอนิเมชั่น วีดิทศั น์ และเสียง เพื่อใช้ ใน สื่ อ ดิ จิ ทัล และ สื่ อ ใหม่ ต่า ง ๆ ฝึ กปฏิ บัติ ก าร ออกแบบสื่อ อิ น เตอร์ แ อคที ฟ โดยคํ า นึง ถึ ง การ ออกแบบพื ้นที่การใช้ งาน และประสบการณ์การ ใช้ งานของผู้ใช้ CS 433 การออกแบบภาพประกอบสื่อ 3 (2-2-5) (Visual Design for Media) หลัก การ กระบวนการ และเทคนิ ค การวิเคราะห์ องค์ประกอบของการสื่อสาร เพื่อ พั ฒ นาความคิ ด รวบยอดในการสร้ างสรรค์ ภาพประกอบสําหรับการสื่อความหมายในการ อ อ ก แ บ บ สื่ อ ฝึ ก ป ฏิ บั ติ ก า ร อ อ ก แ บ บ ภาพประกอบ ทังภาพถ่ ้ าย ภาพวาด ภาพกราฟิ ก ภาพเคลือ่ นไหว CS 434 การสร้ างภาพดิจทิ ัล 3 (2-2-5) (Digital Imaging) หลั ก การ กระบวนการสร้ างและ ตกแต่งภาพ ระบบการจัดการสี และกระบวนการ ทํ า งานด้ านภาพดิ จิ ทั ล เพื่ อ งานโฆษณา ประชาสัม พัน ธ์ แ ละการสื่อ สารการตลาด ฝึ ก ปฏิบตั ิสร้ างสรรค์ภาพด้ วยเทคโนโลยีดิจิทลั
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 432 การออกแบบสื่ออินเตอร์ แอคทีฟ คงเดิม 3 (2-2-5) (Interactive Media Design) ห ลั ก ก า ร แ น ว คิ ด เ กี่ ย ว กั บ การ ออกแบบสื่ อ เพื่ อ สร้ างปฏิ ส ัม พัน ธ์ แ ละการมี ส่วนร่ วมกับผู้ใช้ ผ่านเนื ้อหารู ปแบบต่างๆ ทัง้ ตัว อัก ษร กราฟิ ก แอนิ เ มชั่ น วี ดิ ทัศ น์ และ เสียง เพื่อใช้ ในสื่อดิจิทัลและ สื่อใหม่ต่าง ๆ ฝึ กปฏิบตั ิการออกแบบสื่ออินเตอร์ แอคทีฟโดย คํ า นึ ง ถึ ง การออกแบบพื น้ ที่ ก ารใช้ งาน และ ประสบการณ์การใช้ งานของผู้ใช้ CS 433 การออกแบบภาพประกอบสื่อ คงเดิม 3 (2-2-5) (Visual Design for Media) หลักการ กระบวนการ และเทคนิค การวิเคราะห์องค์ประกอบของการสื่อสาร เพื่อ พัฒ นาความคิ ด รวบยอดในการสร้ างสรรค์ ภาพประกอบสําหรับการสือ่ ความหมายในการ อ อ ก แ บ บ สื่ อ ฝึ ก ป ฏิ บั ติ ก า ร อ อ ก แ บ บ ภ า พ ป ร ะ ก อ บ ทั ้ง ภ า พ ถ่ า ย ภ า พ ว า ด ภาพกราฟิ ก ภาพเคลือ่ นไหว CS 434 การสร้ างภาพดิจทิ ัล 3 (2-2-5) คงเดิม (Digital Imaging) หลัก การ กระบวนการสร้ างและ ต ก แ ต่ ง ภ า พ ร ะ บ บ ก า ร จั ด ก า ร สี แ ล ะ กระบวนการทํางานด้ านภาพดิจิทัล เพื่องาน โฆษณา ประชาสั ม พั น ธ์ และการสื่ อ สาร การตลาด ฝึ กปฏิ บั ติ ส ร้ างสรรค์ ภ าพด้ วย เทคโนโลยีดิจิทลั
194
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CS 435 การออกแบบกราฟิ กเพื่อองค์ กร และผลิตภัณฑ์ 3 (2-2-5) (Graphic Design for Corporate and Product) หลักการ วิธีการออกแบบกราฟิ ก โดย การนํ า เอารู ป ประกอบ ภาพถ่ า ย สัญ ลัก ษณ์ รู ป แบบ ขนาดตั ว อั ก ษร มาจั ด วาง เพื่ อ สื่ อ ความหมาย และสะท้ อนภาพลักษณ์ขององค์กร และผลิตภัณฑ์ ฝึ กปฏิบัติการออกแบบกราฟิ ก เพื่อการสื่อสารอัตลักษณ์องค์กร ตราสัญลักษณ์ ผลิตภัณฑ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ CS 436 การออกแบบเพื่อกิจกรรมพิเศษ และนิทรรศการ 3 (2-2-5) (Design for Special Event and Exhibition) แนวคิด หลักการเกี่ยวกับการวางแผน และออกแบบประสบการณ์การรับรู้ ผ่านกิจกรรม พิ เ ศษ และนิ ท รรศการ การวิ เ คราะห์ ค วาม ต้ องการขององค์กรหรื อลูกค้ า การบริ หารจัดการ พืน้ ที่ การสร้ างสรรค์ ด้วยเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้ อง ฝึ กปฏิ บั ติ ก ารออกแบบกิ จ กรรมพิ เ ศษและ นิทรรศการเพื่อสร้ างความเข้ าใจ การมีสว่ นร่ วม การมีปฏิสมั พันธ์ และความรู้สกึ ผูกพันทางใจ CS 437 การจัดการธุรกิจการออกแบบสื่อ 3 (3-0-6) (Communication Design Management) การดําเนินงานของธุรกิจการออกแบบ สือ่ ได้ แก่ ระบบและกลไกการตลาดของธุรกิจ ออกแบบสือ่ การจัดองค์กร การบริ หารการเงิน การคํานวณต้ นทุน กลไกลิขสิทธิ์ รวมทังแนวโน้ ้ ม ทางธุรกิจและเทคโนโลยีกบั การปรับตัวของธุรกิจ การออกแบบสือ่
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CS 435 การออกแบบกราฟิ กเพื่อองค์ กร คงเดิม และผลิตภัณฑ์ 3 (2-2-5) (Graphic Design for Corporate and Product) หลัก การ วิ ธี ก ารออกแบบกราฟิ ก โ ด ย ก า ร นํ า เ อ า รู ป ป ร ะ ก อ บ ภ า พ ถ่ า ย สัญลักษณ์ รู ปแบบ ขนาดตัวอักษร มาจัดวาง เพื่ อ สื่อ ความหมาย และสะท้ อ นภาพลักษณ์ ขององค์ ก รและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ฝึ กปฏิ บั ติ ก าร ออกแบบกราฟิ กเพื่ อ การสื่ อ สารอัต ลัก ษณ์ องค์ ก ร ตราสัญ ลัก ษณ์ ผ ลิต ภัณฑ์ และบรรจุ ภัณฑ์ CS 436 การออกแบบเพื่อกิจกรรมพิเศษ คงเดิม และนิทรรศการ 3 (2-2-5) (Design for Special Event and Exhibition) แ น ว คิ ด ห ลั ก ก า ร เ กี่ ย ว กั บ ก า ร วางแผนและออกแบบประสบการณ์ การรั บรู้ ผ่ า นกิ จ กรรมพิ เ ศษ และนิ ท รรศการ การ วิเคราะห์ ความต้ องการขององค์กรหรื อลูกค้ า การบริ ห ารจัด การพื น้ ที่ การสร้ างสรรค์ ด้ ว ย เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้ อง ฝึ กปฏิบตั ิการออกแบบ กิจกรรมพิเศษและนิทรรศการเพื่อสร้ างความ เข้ าใจ การมีส่วนร่ วม การมีปฏิสมั พันธ์ และ ความรู้สกึ ผูกพันทางใจ CS 437 การจัดการธุรกิจการออกแบบสื่อ คงเดิม 3 (3-0-6) (Communication Design Management) การดําเนินงานของธุรกิจการ ออกแบบสือ่ ได้ แก่ ระบบและกลไกการตลาด ของธุรกิจออกแบบสือ่ การจัดองค์กร การ บริ หารการเงิน การคํานวณต้ นทุน กลไก ลิขสิทธิ์ รวมทังแนวโน้ ้ มทางธุรกิจและ เทคโนโลยีกบั การปรับตัวของธุรกิจการ ออกแบบสือ่
195
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 5.2.7 วิชาโทสาขานิเทศศาสตร์ CX 001 นิเทศศาสตร์ เบือ้ งต้ น 3 (3-0-6) (Introduction to Communication Arts) ความหมาย ความสําคัญ และประเภท ของการสื่อสาร องค์ ประกอบ แบบจํ าลองของ กระบวนการสือ่ สาร ลักษณะ บทบาท หน้ าที่และ วิวัฒนาการของการสื่อสารมวลชน ระบบและ อิ ท ธิ พ ลของการสื่ อ สารมวลชนที่ มี ต่ อ สัง คม องค์ กรที่เกี่ ยวข้ อง ทัง้ ในและต่างประเทศ การ สือ่ สารกับการพัฒนาประเทศ CX 002 การสื่อสารเพื่อการพัฒนา 3 (3-0-6) (Communication for Development) แนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง กั บ การสื่ อ สารกั บ การพั ฒ นา ครอบคลุ ม ทั ง้ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ ยวกับการพัฒนา การสื่อสาร การสื่อสารเพื่อการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงทาง สัง คม การแพร่ ก ระจายนวัต กรรม การสื่อ สาร รณรงค์ การตลาดเพื่อสังคม และการสือ่ สารแบบ มีสว่ นร่วม โดยมีกรณีศกึ ษาประกอบ CX 003 การโฆษณากับสังคม 3 (3-0-6) (Advertising and Society) บทบาท อิ ท ธิ พ ล และผลกระทบของ การโฆษณาและกิจกรรมการตลาดอื่น ๆ ที่มีต่อ บุคคล ชุมชน และสังคม บทบาทของการโฆษณา ในด้ านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม จรรยาบรรณและความรั บ ผิ ด ชอบของนั ก โฆษณา การควบคุมโฆษณาทางกฎหมายและ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อง โดยใช้ กรณี ศึ ก ษาใน ประเทศไทย
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 5.2.7 วิชาโทคณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ สําหรับนักศึกษาต่ างคณะ CX 100 นิเทศศาสตร์ เบือ้ งต้ น 3 (3-0-6) (Introduction to Communication Arts) ความหมาย ความสํ า คั ญ และ ป ร ะ เ ภท ข อง การ สื่ อ สาร อ ง ค์ ป ระกอบ แบบจําลองของกระบวนการสื่อสาร ลักษณะ บทบาท หน้ าที่ แ ละวิ วั ฒ นาการของการ สื่ อ สารมวลชน ระบบและอิ ท ธิ พ ลของการ สื่อสารมวลชนที่มีต่อสังคม องค์กรที่เกี่ยวข้ อง ทัง้ ในและต่ า งประเทศ การสื่ อ สารกั บ การ พัฒนาประเทศ CX 101 การสื่อสารเพื่อการพัฒนา 3 (3-0-6) (Communication for Development) แนวคิ ด หลั ก การ และทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การ สื่ อ สารกั บ การพั ฒ นา ครอบคลุ ม ทั ง้ แนวคิ ด ทฤษฎี เ กี่ ย วกั บ การ พัฒนา การสื่อสาร การสื่อสารเพื่อการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การแพร่ กระจาย นวัตกรรม การสื่อสารรณรงค์ การตลาดเพื่อ สัง คม และการสื่อ สารแบบมีส่วนร่ วม โดยมี กรณีศกึ ษาประกอบ CX 102 การโฆษณากับสังคม 3 (3-0-6) (Advertising and Society) บทบาท อิ ท ธิ พ ล และผลกระทบของ การโฆษณาและกิ จกรรมการตลาดอื่น ๆ ที่มี ต่อบุคคล ชุมชน และสังคม บทบาทของการ โฆษณาในด้ านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม จรรยาบรรณและความรับผิดชอบ ของนั ก โฆษณา การควบคุ ม โฆษณาทาง กฎหมายและหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยใช้ กรณีศกึ ษา
196
เหตุผลประกอบ คงเดิม
คงเดิม
คงเดิม
คงเดิม
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558 CX008 พืน้ ฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Fundamentals of Strategic Communication) ศึกษาก่อน CX001 นิเทศศาสตร์ เบื ้องต้ น หลักการ แนวคิด และทฤษฎีเกี่ยวกับ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ การสร้ างและสื่อสารแบ รนด์ระดับองค์กร ระดับสินค้ าและบริ การ การใช้ เครื่ อ งมื อ หลักในการสื่อ สารแบรนด์ โดยเน้ น หลัก การ แนวคิ ด ทฤษฎี และกระบวนการ ดําเนินงานเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ และการ โฆษณา จรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อ สังคมในการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ขององค์กร
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CX103 พืน้ ฐานการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คงเดิม 3 (3-0-6) (Fundamentals of Strategic Communication) ศึกษาก่อน CX100 นิเทศศาสตร์ เบื ้องต้ น ห ลั ก ก า ร แ น ว คิ ด แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี เกี่ยวกับการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ การสร้ างและ สื่อสารแบรนด์ระดับองค์กร ระดับสินค้ าและ บริ ก าร การใช้ เ ครื่ อ งมื อ หลัก ในการสื่อ สาร แบรนด์ โดยเน้ นหลักการ แนวคิด ทฤษฎี และ ก ร ะ บ ว น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ประชาสัมพันธ์ และการโฆษณา จรรยาบรรณ และความรั บผิดชอบต่อสังคมในการสื่อสาร เชิงกลยุทธ์ขององค์กร CX104 เครื่องมือเพื่อการสื่อสารเชิง CX104 เครื่องมือเพื่อการสื่อสารเชิง คงเดิม กลยุทธ์ 3 (3-0-6) กลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Tools for Strategic (Tools for Strategic Communication) Communication) ศึกษาก่อน CX103 พื ้นฐานการ ศึกษาก่อน CX103 พื ้นฐานการ สือ่ สารเชิงกลยุทธ์ สือ่ สารเชิงกลยุทธ์ หลักการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับ หลักการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับ เครื่ องมือสือ่ สารเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ เครื่ องมือสือ่ สารเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ ประเภทของเครื่ องมือสือ่ สารทีใ่ ช้ ในการ ประเภทของเครื่ องมือสือ่ สารทีใ่ ช้ ในการ ประชาสัมพันธ์และการโฆษณา รวมทังสื ้ อ่ ใหม่ ประชาสัมพันธ์และการโฆษณา รวมทังสื ้ อ่ ใหม่ การบูรณาการเครื่ องมือสือ่ สารทีเ่ หมาะสมกับ การบูรณาการเครื่ องมือสือ่ สารทีเ่ หมาะสมกับ การสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ทงในระดั ั้ บองค์กร และ การสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ทงในระดั ั้ บองค์กร และ สินค้ าหรื อบริ การ สินค้ าหรื อบริ การ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
197
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CX105 ทฤษฎีการจูงใจกับงานโฆษณา วิชาใหม่ (3-0-6) (Persuasive Theory for Advertising) แนวคิดและทฤษฎีการจูงใจโดยใช้ สื่ อ ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ เ พื่ อ ง า น โ ฆ ษ ณ า องค์ประกอบเกี่ยวกับทฤษฎีการจูงใจทังด้ ้ าน จิ ต วิ ท ยา สัง คมวิ ท ยา มานุ ษ ยวิ ท ยา และ เศรษฐศาสตร์ การนําทฤษฎีการจูงใจมาใช้ ใน การวางกลยุทธ์โฆษณา รวมทังสภาพแวดล้ ้ อม ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ การจู ง ใจอั น ส่ ง ผลต่ อ งาน โฆษณา CX 106 กลยุทธ์ การโฆษณาผ่ านสื่อ สมัยใหม่ วิชาใหม่ 3 (3-0-6) (Advertising Strategy in New Media) หลัก การและกลยุท ธ์ สํ า หรั บ การ โฆษณาผ่านสื่อสมัยใหม่ ได้ แก่ อินเทอร์ เน็ต มัลติมีเดีย สือ่ แวดล้ อม สือ่ ดิจิทลั และสือ่ อื่น ๆ โดยการสร้ างสารและเลือกใช้ สื่อเพื่อใช้ ในการ สือ่ สารการตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ 5.2.7 วิชาโทคณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ สําหรับนักศึกษาต่ างสาขาวิชา CX104 เครื่องมือเพื่อการสื่อสารเชิง กลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Tools for Strategic Communication) ศึกษาก่อน CX103 พื ้นฐานการ สือ่ สารเชิงกลยุทธ์ หลักการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับ เครื่ องมือสือ่ สารเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ ประเภทของเครื่ องมือสือ่ สารทีใ่ ช้ ในการ ประชาสัมพันธ์และการโฆษณา รวมทังสื ้ อ่ ใหม่ การบูรณาการเครื่ องมือสือ่ สารทีเ่ หมาะสมกับ การสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ทงในระดั ั้ บองค์กร และ สินค้ าหรื อบริ การ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
198
เพิ่มกลุ่มวิชาโท สาขาวิชาการสื่อสาร เชิงกลยุทธ์ สาํ หรับ นักศึกษาต่ างสาขาวิชา วิชาใหม่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 เหตุผลประกอบ CX105 ทฤษฎีการจูงใจในงานโฆษณา วิชาใหม่ 3 (3-0-6) (Persuasive Theory for Advertising) แนวคิดและทฤษฎีการจูงใจโดยใช้ สือ่ ประเภทต่าง ๆ เพื่องานโฆษณา องค์ประกอบเกี่ยวกับทฤษฎีการจูงใจทังด้ ้ าน จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และ เศรษฐศาสตร์ การนําทฤษฎีการจูงใจมาใช้ ใน การวางกลยุทธ์โฆษณา รวมทังสภาพแวดล้ ้ อม ที่เกี่ยวข้ องกับการจูงใจอันส่งผลต่องาน โฆษณา CX 106 กลยุทธ์ การโฆษณาผ่ านสื่อ วิชาใหม่ สมัยใหม่ 3 (3-0-6) (Advertising Strategy in New Media) หลัก การและกลยุท ธ์ สํ า หรั บ การ โฆษณาผ่านสื่อสมัยใหม่ ได้ แก่ อินเทอร์ เน็ต มัลติมีเดีย สือ่ แวดล้ อม สือ่ ดิจิทลั และสือ่ อื่น ๆ โดยการสร้ างสารและเลือกใช้ สื่อเพื่อใช้ ในการ สือ่ สารการตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ CX 107 การจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อ วิชาใหม่ การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ 3 (3-0-6) (Special Events for Strategic Communication) แนวคิด หลักการเกี่ยวกับการจัด กิจกรรมพิเศษเพื่อการสือ่ สารเชิงกลยุทธ์ รูปแบบและเทคนิคการสร้ างสรรค์กิจกรรม พิเศษเพื่อตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของการ สือ่ สารเชิงกลยุทธ์ และสอดคล้ องกับ กลุม่ เป้าหมาย กระบวนการและวิธีการ ดําเนินงานในการจัดกิจกรรมพิเศษ ฝึ ก ปฏิบตั ิการจัดกิจกรรมพิเศษเพื่อการสือ่ สาร เชิงกลยุทธ์ CX 108 การสื่อสารรณรงค์ 3 (3-0-6) วิชาใหม่ (Communication Campaign) แนวคิด หลักการเกี่ยวกับการสือ่ สาร รณรงค์เพื่อสร้ างการรับรู้และความเข้ าใจกับ กลุม่ ประชาชนเป้าหมาย เกี่ยวกับกิจกรรม โครงการ และ/หรื อองค์กร เพื่อมุง่ ผลลัพธ์ด้าน ชื่อเสียงและความสัมพันธ์อนั ดี โดยมุง่ เน้ นการ วางแผนการสือ่ สารรณรงค์เชิงกลยุทธ์ ตังแต่ ้
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
199
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2558
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
หลักสูตรปรับปรุ ง พ.ศ. 2559 การวิเคราะห์สถานการณ์เกี่ยวกับองค์กรและ สภาพแวดล้ อม การกําหนดประเด็นรณรงค์ การวิเคราะห์กลุม่ เป้าหมาย การวางแผน กล ยุทธ์ทางการสือ่ สาร การจัดกิจกรรมการสือ่ สาร รณรงค์ ตลอดจนการประเมินผลการสือ่ สาร รณรงค์ ฝึ กปฏิบตั ิการวางแผนและดําเนินงาน สือ่ สารรณรงค์ CX 109 การสร้ างแบรนด์ 3 (3-0-6) (Branding) หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ แบรนด์และการสร้ างแบรนด์ องค์ประกอบของ แบรนด์ คุณค่าเชิงมูลค่าของแบรนด์ (Brand Equity) บทบาทและความสําคัญของการ สือ่ สารการตลาดกับการสร้ างแบรนด์ กรณีศกึ ษาเทคนิคการสือ่ สารการตลาดเพื่อ สร้ างแบรนด์ระดับภูมิภาคและแบรนด์ระดับ โลก
200
เหตุผลประกอบ
วิชาใหม่
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ภาคผนวก ช. การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ และแผนที่แสดงการกระจายความรั บผิดชอบมาตรฐานผลการเรี ยนรู้ จาก หลักสูตรสู่รายวิชา ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ฉบับปรั บปรุ ง พ.ศ.2557
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
201
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ และแผนที่แสดงการกระจายความรั บผิดชอบมาตรฐานผลการเรี ยนรู้ จาก หลักสูตรสู่รายวิชา ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หลักสูตรปรั บปรุ ง พ.ศ.2557 การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ ของนักศึกษา (Learning Outcome) การพัฒนาผลการเรี ยนรู้ของนักศึกษา (Learning Outcome) หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป มีดงั นี ้ 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริ ยธรรมที่ต้องพัฒนา 1) มีวินยั ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม 2) มีความซื่อสัตย์ตอ่ หน้ าที่ 3) เคารพกฎระเบียบ และข้ อบังคับของส่วนรวม 4) มีจิตสํานึกที่ดีตอ่ สังคม 5) มีความเสียสละและมีความอดทน 1.2 วิธีการสอน 1) สอนโดยเป็ นต้ นแบบที่ดี เพื่อเป็ นตัวอย่างที่ดีให้ แก่นกั ศึกษา 2) มอบหมายงานให้ นกั ศึกษาทํางานทังที ้ ่เป็ นงานเดี่ยวและงานกลุม่ โดยกําหนดเวลาส่งงานชัดเจน 3) บรรยาย/ ฝึ กปฏิบตั /ิ กรณีศกึ ษา/ กิจกรรม (activity base) 1.3 วิธีการประเมินผล 1) การเช็คชื่อเข้ าห้ องเรี ยนระบบ student attendance 2) การส่งงานที่ได้ รับมอบหมายตรงเวลาที่กําหนด 3) การส่งงานที่ได้ รับมอบหมายครบถ้ วน 4) มีการอ้ างอิงแหล่งข้ อมูลได้ อย่างถูกต้ อง 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ท่ีต้องได้ รับ 1) ความรู้พื ้นฐานด้ านธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการบัญชี 2) ความรู้และทักษะการใช้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษธุรกิจ และสามารถสื่อสารได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ 3) ความรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 4) ความรู้และตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม 5) ความรู้ความเข้ าใจในตนเองและผู้อื่น
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
202
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
2.2 วิธีการสอน บรรยาย อภิปราย กรณีศกึ ษา บทบาทสมมติ สถานการณ์จําลอง การใช้ โปรแกรมสําเร็ จรูป และศึกษาผ่านระบบ e-learning 2.3 วิธีการประเมินผล 1) การนําเสนองานที่ได้ รับมอบหมาย 2) ทดสอบย่อยในห้ องเรี ยน 3) สอบกลางภาคและปลายภาค 4) ศึกษาและทดสอบย่อยผ่านระบบ e-learning 3. ทักษะทางปั ญญา 3.1 ทักษะทางปั ญญาที่ต้องพัฒนา 1) มีความสามารถในการคิดอย่างเป็ นระบบ 2) มีความสามารถในการคิดสร้ างสรรค์ 3) มีความสามารถในการแก้ ปัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ 4) มีความสามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจําวัน 3.2 วิธีการสอน กรณีศกึ ษา โครงงาน การแก้ ปัญหา การจําลองสถานการณ์ อภิปรายกลุม่ ระดมสมอง 3.3 วิธีการประเมินผล สอบย่อย สอบกลางภาค และสอบไล่ปลายภาค โดยเน้ นข้ อสอบที่ใช้ การวิเคราะห์ การนําไปใช้ การแสดงเหตุผล ประเมินผลงานของนักศึกษา 4. ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรั บผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 1) พัฒนาทักษะในการสร้ างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรี ยนกับผู้เรี ยนและผู้เรี ยนกับผู้สอน ตลอดจนสามารถทํางานร่ วมกับผู้อื่นได้ ดี 2) มีการพัฒนาภาวะผู้นํา 3) เคารพสิทธิและรับฟั งความคิดเห็นของผู้อื่น 4) สามารถปรับตัวให้ เข้ ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย 5) มีบคุ ลิกภาพที่ดีทงภายในและภายนอก ั้ รวมทังมี ้ ความสามารถในการเข้ าสังคม
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
203
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
4.2 วิธีการสอน 1) มอบหมายงานทังงานเดี ้ ่ยว และงานกลุม่ และการนําเสนอผลงาน 2) การทํากิจกรรมทังภายในและภายนอกมหาวิ ้ ทยาลัย 3) สถานการณ์จําลอง 4.3 วิธีการประเมินผล 1) ทําแบบทดสอบ on-line ในระบบ e-learning 2) การส่งงานผ่านระบบ web board 3) ประเมินการนําเสนอผลงาน 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 1) ทักษะการคิดคํานวณเชิงตัวเลข 2) ทักษะในการสื่อสาร ได้ แก่ การพูด การฟั ง การอ่าน และการเขียน โดยการทํางานกลุม่ 3) ทักษะการสืบค้ นข้ อมูลจาก internet 4) ทักษะการใช้ โปรแกรมสําเร็ จรูปเพื่อคํานวณ นําเสนอ วิเคราะห์ และแปลผลข้ อมูล 5) ทักษะการเรี ยนรู้ ด้วยระบบ e-learning 6) ทักษะในการนําเสนอข้ อมูล โดยใช้ รูปแบบ เครื่ องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2 วิธีการสอน 1) มอบหมายงานให้ นกั ศึกษาฝึ กฝนด้ วยตนเองจากโปรแกรมสําเร็จรู ป 2) มอบหมายคว้ าข้ อมูลจาก website และ สื่อการสอน e-learning โดยเน้ นข้ อมูลเชิงตัวเลข และสถิตอิ ้ างอิง 3) ฝึ กทักษะทางการสื่อสาร 5.3 วิธีการประเมินผล 1) ทํารายงาน และนําเสนอโดยใช้ เทคโนโลยีประเภทต่างๆ 2) ทําแบบฝึ กทักษะแบบ on-line
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
204
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
แผนที่แสดงการกระจายความรั บผิดชอบมาตรฐานผลการเรี ยนรู้ จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หลักสูตรปรั บปรุ ง พ.ศ. 2557 ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย ความรั บผิดชอบหลัก ความรั บผิดชอบรอง ทักษะความสัมพันธ์ ทักษะการวิเคราะห์ ระหว่ างบุคคลและ เชิงตัวเลข การสื่อสาร ความรู้ ทักษะทาง รายวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ และการใช้ เทคโนโลยี ปั ญญา สารสนเทศ 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 HG008 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร • • • • • • • • ο ο • ο ο ο HG009 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 • • ο ο ο • ο ο • • ο • ο ο HG010 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 • • ο ο ο • ο ο • • ο • ο ο HG011 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3 • • ο ο ο • ο ο • • ο • ο ο ο HG012 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4 • • ο ο ο • ο ο ο • • ο ο • ο ο ο SG004 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ • ο ο • ο • ο ο • • ο ο ο • ο SG005 คณิตศาสตร์ และสถิตใิ นชีวิตประจําวัน • • ο ο ο • • ο • • ο ο • ο • • • • SG006 การรู้ทางดิจิทลั • ο ο • ο • ο • ο • • ο ο • ο ο • BG003 การประกอบการเชิงนวัตกรรม • • ο • ο • • • ο • ο • ο ο HG022 การบริ หารตนเอง • • ο ο ο • • • • • • ο ο ο • • • • • HG032 ทักษะการดํารงชีวิตในสังคมโลก • • ο • ο • ο • ο ο • • ο • • • • • • ο
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
205
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ภาคผนวก ซ. คําสั่งสภามหาวิทยาลัย ที่ 6/2559 เรื่ อง แต่ งตัง้ คณะกรรรมการพัฒนาหลักสูตร
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
206
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
207
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
208
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ภาคผนวก ฌ. ผลงานวิชาการอาจารย์ ประจําหลักสูตร
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
209
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล อาจารย์พิชยั นิรมานสกุล ที่ทํางาน สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 02-697-6630 โทรสาร: 02-275-2210 Email address: pichainira@hotmail.com
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
210
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ตระหนักจิต ยุตยรรยง ที่ทํางาน สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 02-697-6630 โทรสาร: 02-275-2210 Email address: tranakjit@yahoo.com ตระหนักจิต ยุตยรรยง. 2557. การสื่อสารในเครือข่ ายสังคมออนไลน์ ของการท่ องเที่ยวแห่ ง ประเทศไทย.กรุงเทพ. (ทุนสนับสนุนงานวิจยั ของมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย).
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
211
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล อาจารย์ ดร.เบญจพร วุฒิพนั ธุ์ ที่ทํางาน สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 02-697-6630 โทรสาร: 02-275-2210 Email address: j.wuthipand@gmail.com
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
212
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล อาจารย์ ดร.โศภชา เอี่ยมโอภาส ที่ทํางาน สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 02-697-6630 โทรสาร: 02-275-2210 Email address: eam_suk@yahoo.com
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
213
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล อาจารย์นริ ส พิเชษฐพันธ์ ที่ทํางาน สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 02-697-6630 โทรสาร: 02-275-2210 Email address: naris03@yahoo.com
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
214
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ฉัตราติชาต ที่ทํางาน สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 02-697-6630 โทรสาร: 02-275-2210 Email address: kruporn@yahoo.com CHATRATICHART, W. 2011. Do Political Leaders Matter? The Case of Young People and Thai Politics. aDResearch ESIC International Journal of Communication Research (Special Issue in Political Communication). Vol. 4 (July – December 2011). วราภรณ์ ฉัตราติชาต. 2557. บทบาทของความคิดสร้ างสรรค์ ในกิจกรรมพิเศษ เพื่อการสื่อสารแบรนด์ . วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ (ปี ที่ 22 ฉบับ 39). CHATRATICHART, W. 2014. Special Events as Communication Tool to Create Brand Experience: Thai Case Studies. Journal of WEI Business and Economics. Vol. 3 (April 2014).
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
215
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์รัตนาวดี ศิริทองถาวร ที่ทํางาน สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 02-697-6630 โทรสาร: 02-275-2210 Email address: jimutcc@yahoo.com
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
216
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล อาจารย์ ดร.พิชญ์พธู ไวยโชติ ที่ทํางาน สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 02-697-6630 โทรสาร: 02-275-2210 Email address: Pitchpatu_wai@utcc.ac.th
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
217
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล อาจารย์ ดร.ภัทรา แตงเที่ยง ที่ทํางาน สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 02-697-6630 โทรสาร: 02-275-2210 Email address: p_tangthieng@yahoo.co.uk
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
218
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล อาจารย์ ดร.อัญชลี พิเชษฐพันธ์ ที่ทํางาน สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 02-697-6630 โทรสาร: 02-275-2210 Email address: ayingkae@yahoo.com อัญชลี พิเชษฐพันธ์ . 2557. ผลของโฆษณาแฝงเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ตอ่ กระบวนการ ตีความสารสนเทศ การคิดขยายรายละเอียด และการตัดสินใจดื่มเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ ของเยาวชนไทย. กรุงเทพ
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
219
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์ ที่ทํางาน สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 02-697-6630 โทรสาร: 02-275-2210 Email address: buppalap@gmail.com บุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์ . 2556. ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิ ดรับข่าวสารกับทัศนคติ และ พฤติกรรมการเล่นการพนันของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาทัว่ ประเทศ. กรุงเทพฯ: โครงการพัฒนาเครื อข่ายอาจารย์สื่อสารมวลชนเพื่อขับเคลื่อนสังคมลดปั ญหาการพนัน. 187 หน้ า บุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์ . 2557. ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิ ดรับข่าวสารกับทัศนคติ และ พฤติกรรมการเล่นการพนันของนิสิตนักศึกษาในสถานบันอุดมศึกษาทัว่ ประเทศ.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .11 หน้ า บุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์ . 2557. การเล่าเรื่ องเกี่ยวกับ CSR. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย หอการค้ าไทย. 15 หน้ า บุปผา ลาภะวัฒนาพันธ์ . 2556. เอกสารประกอบการสอนวิชา CA302 ทฤษฎีการ สื่อสารมวลชน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย. 147 หน้ า
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
220
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์กาลัญ วรพิทยุต ที่ทํางาน สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์: 02-697-6630 โทรสาร: 02-275-2210 Email address: kalan007@hotmail.com
หลักสูตร นศ.บ. สาขาวิชาการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
221
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559