หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2559 (สาหรับผู้เรียน)
คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย
สารบัญ
สารบัญ
2
ข้อมูลทัว่ ไป
3
ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการและโครงสร้างหลักสูตร
5
ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาดุษฎีนิพนธ์
31
เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
32
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
2
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2559 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย
คณะ/ภาควิชา
คณะนิเทศศาสตร์
1. ข้ อมู ลทัว่ ไป 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด ภาษาอังกฤษ Doctor of Communication Arts Program in Marketing Communication 2. ชื่อปริญญาบัตร ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต (นิเทศศาสตร์การตลาด) ชื่อย่ อ (ภาษาไทย) นศ.ด. (นิเทศศาสตร์การตลาด) ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) Doctor of Communication Arts (Marketing Communication) ชื่อย่ อ (ภาษาอังกฤษ) D. Com. Arts (Marketing Communication) 3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสู ตร เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญขัน้ สูงด้านการบริหารการสื่อสารการตลาดและการสื่อสารตราสินค้า 4. จานวนหน่ วยกิตที่เรียนตลอดหลัก สูตร จานวนหน่ วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร แบ่ งตามแผนการศึกษา คือ 1) แผน 1 เน้นการทาวิจยั แบบ 1.1 สาหรับผูส้ าเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาโท ศึกษาเฉพาะหมวดดุ ษฎีนิพนธ์ 48 หน่ วยกิต หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
3
2) แผน 2 ศึกษารายวิชาและทาวิจยั แบบ 2.1 สาหรับผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ศึกษารายวิชาเพิม่ เติมและหมวดดุษฎีนิพนธ์ ไม่น้อยกว่ า 48 หน่ วยกิต แบบ 2.2 สาหรับผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ศึกษารายวิชาเพิม่ เติมและหมวดดุษฎีนิพนธ์ ไม่น้อยกว่ า 72 หน่ วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ เป็ นหลักสูตรระดับปริญญาเอก 3 ปี 5.2 ภาษาที่ใช้ จัดการเรียนการสอนเป็ นภาษาไทยโดยใช้เอกสาร/ตาราในวิชาของหลักสูตรเป็ นภาษาอังกฤษ 5.3 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่สามารถใช้ภาษาไทยได้ดที งั ้ การฟัง พูด อ่านและเขียน 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็ นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ 5.5 การให้ปริญญาแก่ ผสู ้ าเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา เมื่อสาเร็จการศึกษาบัณฑิตสามารถประกอบอาชีพเป็ น 6.1 ผูบ้ ริหารด้านการสื่อสารการตลาดในองค์กรต่างๆ ที่ตอ้ งการผูบ้ ริหารที่มวี ิสยั ทัศน์และ ความสามารถในการวางแผน 6.2 จัดการการสื่อสารเพื่อสร้างภาพลักษณ์องค์กรและภาพลักษณ์ตราสินค้าในระดับประเทศและระดับ สากลทัง้ ในองค์กรภาครัฐและภาคธุรกิจ
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
4
2. ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการและโครงสร้างของหลักสู ตร 2.1. ระบบการจัดการศึกษา 2.1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็ นแบบทวิภาค ข้อกาหนดต่าง ๆ ให้เป็ นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ว่ าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 2.1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน มีการจัดการเรียนการสอนภาคฤดูรอ้ น 2.1.3 การเทียบเคียงหน่ วยกิตในระบบทวิภาค ไม่ม ี 2.2 การดาเนินการหลักสูตร 2.2.1
วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน
ภาคต้น
เดือนสิงหาคม – ธันวาคม
ภาคปลาย
เดือนมกราคม – พฤษภาคม
ภาคฤดูรอ้ น
เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม
2.2.2 คุณสมบัตแิ ละการคัดเลือกนักศึกษา 2.2.2.1 ผูเ้ ข้าศึกษาต้องเป็ นผูส้ าเร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาที่สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการรับรอง โดยมีคุณสมบัตดิ งั นี้ 1) แผน 1 เน้นการทาวิจยั แบบ 1.1 ต้องเป็ นผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่ า โดยผูส้ มัครต้องยื่นเสนอ โครงร่างการวิจยั ที่สนใจจะศึกษาให้คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาพิจารณา 2) แผน 2 เน้นศึกษารายวิชาและทาวิจยั แบบ 2.1 ต้องเป็ นผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเท่ า
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
5
แบบ 2.2 ต้องเป็ นผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ที่มคี ะแนนเฉลีย่ สะสมไม่น้อยกว่ า 3.00 หรือเป็ นผูท้ ี่มปี ระสบการณ์การทางานในสาขาวิชาไม่น้อยกว่ า 3 ปี หลังสาเร็จการศึกษาในระดับ ปริญญาตรี 2.2.2.2 สอบผ่านการทดสอบภาษาอังกฤษ UTCC Advanced BEST ของมหาวิทยาลัย หอการค้าไทยหรือมีผลการทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษจากสถาบันทดสอบที่ได้มาตรฐาน ทัง้ นี้ให้ เป็ นไปตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยกาหนด 2.2.2.3 สอบผ่านการสัมภาษณ์เพื่อคัดเลือกบุ คคลเข้าศึกษาในหลักสูตรจากคณะกรรมการที่ บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตัง้ 2.2.2.4 สาหรับผูท้ ี่มคี ุณสมบัตนิ อกเหนือจากเกณฑ์ที่กาหนดไว้ข้างต้น อาจได้รบั การพิจารณา คัดเลือกให้เข้าศึกษาตามดุลยพินิจของคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2.3 โครงสร้างหลักสูตร 2.3.1 หลักสูตร จานวนหน่ วยกิตตลอดหลักสูตร หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด กาหนดโครงสร้างของ หลักสูตรประกอบด้วยจานวนหน่ วยกิตรวมตลอดหลักสูตร โดยแบ่ งตามแผนการศึกษา คือ 1) แผน 1 เน้นการทาวิจยั แบบ 1.1 สาหรับ ผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ศึกษาเฉพาะดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่ วยกิต 2) แผน 2 เน้นการศึกษารายวิชาและทาวิจยั แบบ 2.1 สาหรับ ผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ศึกษารายวิชาเพิม่ เติมและดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อย กว่ า 48 หน่ วยกิต แบบ 2.2 สาหรับ ผูส้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ศึกษารายวิชาเพิม่ เติมและดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อย กว่ า 72 หน่ วยกิต 2.3.2 โครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตร 1) แผน 1 เน้ นการทาวิจัย หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
6
แบบ 1.1 สาหรับผู้ที่สาเร็จการศึกษาปริญญาโท อาจลงทะเบียนเรียนเพิม่ เติมตามที่ คณะกรรมการที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ให้ความเห็น โดยไม่ นับหน่ วยกิต หมวดวิชาเสริมพืน้ ฐาน
(ไม่นับหน่ วยกิต)
หมวดวิชาเฉพาะ
-
หน่ วยกิต
ดุษฎีนิพนธ์
48
หน่ วยกิต
รวม
48
หน่ วยกิต
2) แผน 2 ศึกษารายวิชาและทาวิจัย แบบ 2.1 สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หมวดวิชาเสริมพืน้ ฐาน
(ไม่นับหน่ วยกิต)
หมวดวิชาเฉพาะ
12
หน่ วยกิต
ดุษฎีนิพนธ์
36
หน่ วยกิต
รวม
48
หน่ วยกิต
แบบ 2.2 สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หมวดวิชาเสริมพืน้ ฐาน
(ไม่นับหน่ วยกิต)
หมวดวิชาระดับ ปริญญาโท
12
หน่ วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ
12
หน่ วยกิต
ดุษฎีนิพนธ์
48
หน่ วยกิต
รวม
72
หน่ วยกิต
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
7
ผังโครงสร้างหลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎี บณ ั ฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด 1) แผน 1 เน้นการทาวิจยั หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎี บณ ั ฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด แบบ 1.1 สาหรับผูท้ ี่สาเร็จการศึกษา ระดับปริญญาโท 48 หน่ วยกิต หมวดวิชาเสริมพืน้ ฐาน (ไม่นับหน่ วยกิต N/C)
สอบวัดคุณสมบัต ิ (Qualifying Examination)
ดุษฎีนิพนธ์ (48 หน่ วยกิต) (สอบดุษฎีนิพนธ์ผ่านและส่งเล่มดุษฎีนิพนธ์ฉบับสมบู รณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัย กาหนด ทัง้ นี้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ต ้องได้รบั การตีพิมพ์หรือ ได้รบั การยอมรับให้ตพี มิ พ์ในวารสารระดับ ชาติหรือนานาชาติที่มคี ุณภาพตามประกาศ คณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับ การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่ างน้อย 2 เรื่อง)
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
8
2) แผน 2 ศึกษารายวิชาและทาวิจยั หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎี บณ ั ฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด หมวดวิชาเสริมพืน้ ฐาน (ไม่นับหน่ วยกิต N/C)
แบบ 2.1 สาหรับผูท้ ี่สาเร็จการศึกษา ระดับ ปริญญาโท (48 หน่ วยกิต) หมวดวิชาเฉพาะ 12 หน่ วยกิต สอบวัดคุณสมบัต ิ (Qualifying Examination) ดุษฎี นิพนธ์ (36 หน่ วยกิต) (สอบดุษฎีนิพนธ์ผ่านและส่งเล่มดุษฎีนิพนธ์ ฉบับสมบู รณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัย กาหนด ทัง้ นี้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงาน ดุษฎีนิพนธ์ตอ้ งได้รบั การตีพมิ พ์หรือได้รบั การ ยอมรับให้ตพี มิ พ์ในวารสารระดับ ชาติหรือ นานาชาติที่มคี ุณภาพตามประกาศ คณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่องหลัก เกณฑ์การ พิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ)
แบบ 2.2 สาหรับผูส้ าเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี (72 หน่ วยกิต) หมวดวิชาระดับ ปริญญาโท 12 หน่ วยกิต และหมวดวิชาเฉพาะ 12 หน่ วยกิต สอบวัดคุณสมบัต ิ (Qualifying Examination) ดุษฎี นิพนธ์ (48 หน่ วยกิต) (สอบดุษฎีนิพนธ์ผ่านและส่งเล่มดุษฎีนิพนธ์ฉบับ สมบู รณ์ตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกาหนด ทัง้ นี้ ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ตอ้ ง ได้รบั การตีพมิ พ์หรือได้รบั การยอมรับให้ตพี มิ พ์ ในวารสารระดับ ชาติหรือนานาชาติที่มคี ุณภาพ ตามประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ)
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
9
2.4 รายวิชาในแต่ละหมวดวิชาและจานวนหน่ วยกิต 2.4.1 รหัสวิชา หลักเกณฑ์ในการให้รหัสวิชาในหลักสูตร มีดงั นี้ 1) ใช้อกั ษรย่ อเรียกชื่อหลักสูตรเป็ นภาษาอังกฤษ 2 ตัว “CA” เป็ น อักษรย่ อคณะนิเทศศาสตร์ 2. ใช้ตวั เลข 3 หลัก ตามหลังอักษรย่ อ “CA” โดยแทนความหมายต่อไปนี้ เลขหลักร้อย 5-6 หมายถึง รายวิชาในระดับปริญญาโท เลขหลักร้อย 7
หมายถึง รายวิชาในระดับปริญญาเอก
เลข 01 – 09
หมายถึง ลาดับวิชาของรายวิชาปรับพืน้ ฐาน
เลข 11 – 19
หมายถึง ลาดับวิชาของรายวิชาในกลุ่มวิชาบังคับ
เลข 21 – 29
หมายถึง ลาดับวิชาของรายวิชาในกลุ่มวิชาเลือก
เลขหลักร้อย 8 หมายถึง วิทยานิพนธ์ เลข 01
หมายถึง รายวิชาดุษฎีนิพนธ์ แบบ 1.1 (48 หน่ วยกิต)
เลข 02
หมายถึง รายวิชาดุษฎีนิพนธ์ แบบ 2.1 (36 หน่ วยกิต)
เลข 03
หมายถึง รายวิชาดุษฎีนิพนธ์ แบบ 2.2 (48 หน่ วยกิต)
2.4.2 รายวิชา (ก) หมวดวิชาเสริมพื้ นฐาน
ไม่นับหน่ วยกิต
ผู ้ที่ ส อบผ่ า นการคัด เลือ กเข้า ศึ ก ษาในหลักสู ต ร จะต้อ งลงทะเบี ยนเรียนวิ ช าเสริม พืน้ ฐาน ในรายวิชาที่ยังไม่เคยศึ กษามาก่ อ น ซึง่ คณะกรรมการบั ณฑิตศึก ษาประจ าหลักสู ตรจะเป็ นผูก้ าหนด โดยมีรายวิชา ดังนี้
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
10
รหัส
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ -ศึกษาด้วยตนเอง)
CA701 ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาด้านการสื่อสารการตลาด
ไม่นับหน่ วยกิต
English for Marketing Communication Studies CA702 วิทยปรัชญาทางการสื่อสาร
ไม่นับหน่ วยกิต
Philosophy of Science in Communication CA703 ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางการสื่อสารการตลาดขัน้ สูง
ไม่นับหน่ วยกิต
Advanced Research Methodology for Marketing Communication CA704 การใช้คอมพิวเตอร์ประยุ กต์เพื่อการวิจยั
ไม่นับหน่ วยกิต
Applied Computer for Research การเรียนเสริมพืน้ ฐานทางด้านวิชาการนี้ไม่นับหน่ วยกิตและมีการวัดผล ดังนี้ S (Satisfactory)
=
ผ่านเกณฑ์
U (Unsatisfactory)
=
ไม่ผ่านเกณฑ์
ทัง้ นี้ในกรณีที่ผู ้ส มัครสอบที่ ไม่ จบการศึก ษาจากหลัก สูต รที่เกี่ย วข้อ งด้า นนิเทศศาสตร์หรือการตลาด สามารถสอบผ่านการคัดเลือกมีสทิ ธิเข้ ์ าศึก ษาในหลัก สูตร คณะกรรมการหลักสูตรอาจพิจารณาให้ ลงทะเบี ย น เรียนวิชาในกลุ่มปรับพืน้ ฐานในบางรายวิช าร่วมกับ นักศึ กษาในหลักสู ตรนิเทศศาสตรมหาบั ณฑิต สาขานิเทศ ศาสตร์การตลาดตามความจาเป็ นเพื่อให้ผเู ้ รียนมีความรูพ้ นื้ ฐานทางนิเทศศาสตร์หรือการตลาดเพียงพอได้ (ข) หมวดวิชาระดับปริญญาโท 12 หน่ วยกิต หมวดวิชาระดับปริญญาโท เป็ นกลุ่มวิชาที่กาหนดให้ผสู ้ าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ต้องลงทะเบียน เรียนในรายวิชาที่กาหนดร่วมกับนักศึกษาในหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ การตลาด จานวน 12 หน่ วยกิต ดังนี้
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
11
รหัส
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ -ศึกษาด้วยตนเอง)
CA516 ทฤษฎีและกลยุ ทธ์การจัดการสื่อสารการตลาด
3 (3 –0– 6)
Theories and Strategic Management for Marketing Communication CA517 การวิเคราะห์ผบู ้ ริโภคเชิงกลยุ ทธ์
3 (3 –0– 6)
Strategic Consumer Analysis CA519 การวิจยั การสื่อสารการตลาด
3 (3 –0– 6)
Marketing Communication Research CB514 การสื่อสารและการจัดการแบรนด์ผลิตภัณฑ์
3 (3 –0– 6)
Product Brand Communication and Management (ค) หมวดวิชาเฉพาะ นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนในหมวดวิชาเฉพาะจานวน 12 หน่ วยกิต ซึง่ แบ่ งเป็ น 2 กลุ่ม วิชา คือ 1) วิชาบังคับ จานวน 6 รายวิชา เป็ นวิชานับหน่ วยกิต 2 รายวิชาและวิชาไม่นับหน่ วยกิต 4 รายวิชา จานวนรวม 6 หน่ วยกิต 2) วิชาเลือก จานวน 8 รายวิชา โดยนักศึกษาต้องเลือกเรียนตามความสนใจ จานวนรวม 6 หน่ วยกิต โดยมีรายละเอียดดังนี้
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
12
1) วิชาบังคับ มีจานวน 6 รายวิชา ดังนี้ รหัส
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ -ศึกษาด้วยตนเอง)
CA711 ทฤษฎีการสื่อสารการตลาดและการวิเคราะห์ผบู ้ ริโภคขัน้ สูง
3 (3 –0– 6)
Advanced Marketing Communication and Consumer Analysis Theories CA712 การจัดการและการสื่อสารตราสินค้า
3 (3 –0– 6)
Brand Management and Communication CA713 สัมมนาการสื่อสารการตลาด 1
ไม่นับหน่ วยกิต
Marketing Communication Seminar 1 CA714 สัมมนาการสื่อสารการตลาด 2
ไม่นับหน่ วยกิต
Marketing Communication Seminar 2 CA715 สัมมนาการสื่อสารการตลาด 3
ไม่นับหน่ วยกิต
Marketing Communication Seminar 3 CA716 การสอบวัดคุณสมบัต ิ
ไม่นับหน่ วยกิต
Qualifying Examination 2) วิชาเลือก นักศึกษาต้องเลือกเรียน จานวน 2 วิชา จากรายวิชาต่อไปนี้ รหัส
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ -ศึกษาด้วยตนเอง)
CA721 ระเบียบวิธวี ิจยั เชิงปริมาณขัน้ สูงในงานการสื่อสารการตลาด
3 (3 –0– 6)
Advanced Quantitative Research Methodology for Marketing Communication CA722 ระเบียบวิธวี ิจยั เชิงคุณภาพขัน้ สูงในงานการสื่อสารการตลาด
3 (3 –0– 6)
Advanced Qualitative Research Methodology for Marketing Communication
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
13
รหัส
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ -ศึกษาด้วยตนเอง)
CA723 การจัดการความสัมพันธ์และประสบการณ์ลูกค้า
3 (3 –0– 6)
Customer Relationship and Experiences Management CA724 สัมมนานวัตกรรมสื่อและเทคโนโลยีการสื่อสาร
3 (3 –0– 6)
Seminar on Innovations of Media and Communication Technologies CA725 สัมมนากลยุ ทธ์การสื่อสารเพื่อการบริหารภาวะวิกฤตและการเปลีย่ นแปลง
3 (3 –0– 6)
Seminar on Communication Strategies for Crisis and Change Management CA726 สัมมนากลยุ ทธ์การสื่อสารการตลาดสาหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม
3 (3 –0– 6)
Seminar on Marketing Communication Strategies for Small and Medium Enterprises CA727 สัมมนากลยุ ทธ์การสื่อสารการตลาดในธุรกิจสื่อและบันเทิง
3 (3 –0– 6)
Seminar on Marketing Communication Strategies in Media and Entertainment Business CA728 สัมมนาวัฒนธรรมกับการสื่อสารการตลาดโลกาภิวัตน์
3 (3 –0– 6)
Seminar on Culture and Global Marketing Communication (ง) หมวดดุษฎี นิพนธ์ รหัส
ชื่อวิชา
หน่ วยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ -ศึกษาด้วยตนเอง)
CA801 ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 1.1)
48 (0-0-144)
Doctoral Dissertation (Type 1.1) CA802 ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 2.1)
36 (0-0-108)
Doctoral Dissertation (Type 2.1) CA803 ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 2.2)
48 (0-0-144)
Doctoral Dissertation (Type 2.2) หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
14
2.5 แผนการศึกษา แบบ 1 แผนการศึกษาที่เน้ นการวิจัย (ทาเฉพาะดุษฎี นิพนธ์) แบบ 1.1 สาหรับผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท (48 หน่ วยกิต) ชัน้ ปี ที่ 1
ภาค รายวิชา การศึกษา ภาคต้น CA702 วิทยปรัชญาทางการสื่อสาร Philosophy of Science in Communication CA703 ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางการสื่อสารการตลาดขัน้ สูง Advanced Research Methodology for Marketing Communication CA716 การสอบวัดคุณสมบัต ิ Qualifying Examination ภาค ปลาย
ภาคฤดู ร้อน
จานวน หน่ วยกิต ไม่นับ หน่ วยกิต ไม่นับ หน่ วยกิต
รวม
0 ไม่นับ หน่ วยกิต ไม่นับ หน่ วยกิต 6 (0-0-18)
รวม
6 6 (0-0-18)
รวม
6
CA704 การใช้คอมพิวเตอร์ประยุ กต์เพื่อการวิจยั Applied Computer for Research CA713 สัมมนาการสื่อสารการตลาด 1 Marketing Communication Seminar 1 CA801 ดุษฎีนิพนธ์ (1) Doctoral Dissertation (1) CA801 ดุษฎีนิพนธ์ (2) Doctoral Dissertation (2)
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
15
แบบ 1.1 สาหรับผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท (48 หน่ วยกิต) ชัน้ ปี ที่ 2
ภาค รายวิชา การศึกษา ภาคต้น CA801 ดุษฎีนิพนธ์ (3) Doctoral Dissertation (3) ภาค ปลาย
ภาคฤดู ร้อน 3
ภาคต้น
จานวน หน่ วยกิต 9 (0-0-27) รวม
9 ไม่นับ หน่ วยกิต 9 (0-0-27)
รวม
9 9 (0-0-27)
รวม
9 ไม่นับ หน่ วยกิต 9 (0-0-27)
CA714 สัมมนาการสื่อสารเพื่อการตลาด 2 Marketing Communication Seminar 1 CA801 ดุษฎีนิพนธ์ (4) Doctoral Dissertation (4) CA801 ดุษฎีนิพนธ์ (5) Doctoral Dissertation (5) CA715 สัมมนาเพื่อการสื่อสารการตลาด 3 Marketing Communication Seminar 3 CA801 ดุษฎีนิพนธ์ (6) Doctoral Dissertation (6) รวม รวมทัง้ สิ้น
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
9 48
16
แบบ 2 แผนการศึกษาที่ศึกษารายวิชาและทาวิจัย แบบ 2.1 สาหรับผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท (48 หน่ วยกิต) ชัน้ ปี ที่ 1
ภาค การศึกษา ภาคต้น
ภาคปลาย
จานวน หน่ วยกิต ไม่นับหน่ วยกิต
รายวิชา
CA702 วิทยปรัชญาทางการสื่อสาร Philosophy of Science in Communication CA703 ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางการสื่อสารการตลาดขัน้ สูง ไม่นับหน่ วยกิต Advanced Research Methodology for Marketing Communication CA711 ทฤษฎีการสื่อสารการตลาดและการวิเคราะห์ 3 (3-0-6) ผูบ้ ริโภคขัน้ สูง Advanced Marketing Communication and Consumer Analysis Theories รวม 3 CA704 การใช้คอมพิวเตอร์ประยุ กต์เพื่อการวิจยั ไม่นับหน่ วยกิต Applied Computer for Research CA712 การจัดการและการสื่อสารตราสินค้า 3 (3-0-6) Brand Management and Communication CA713 สัมมนาการสื่อสารการตลาด 1 ไม่นับหน่ วยกิต Marketing Communication Seminar 1 3 (3-0-6) CAXXX วิชาเลือก รวม
6
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
17
แบบ 2.1 สาหรับผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท (48 หน่ วยกิต) ชัน้ ปี ที่ 2
ภาค การศึกษา ภาคต้น
รายวิชา
จานวน หน่ วยกิต 3 (3-0-6) -
CAXXX วิชาเลือก CA716 การสอบวัดคุณสมบัต ิ Qualifying Examination รวม
ภาคปลาย
CA714 สัมมนาการสื่อสารเพื่อการตลาด 2 Marketing Communication Seminar 2 CA802 ดุษฎีนิพนธ์ (1) Doctoral Dissertation (1)
6 (0-0-18) รวม
6 6 (0-0-18)
รวม
6
ภาคฤดูร้อน CA802 ดุษฎีนิพนธ์ (2) Doctoral Dissertation (2) 3
ภาคต้น ภาคปลาย
3 ไม่นับหน่ วยกิต
CA802 ดุษฎีนิพนธ์ (3) Doctoral Dissertation (3) CA715 สัมมนาเพื่อการสื่อสารการตลาด 3 Marketing Communication Seminar 3 CA802 ดุษฎีนิพนธ์ (4) Doctoral Dissertation (4) รวม รวมทัง้ สิ้น
12 (0-0-36) ไม่นับหน่ วยกิต 12 (0-0-36) 12 48
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
18
แบบ 2.2 สาหรับผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (72 หน่ วยกิต) ชัน้ ปี ที่ 1
ภาค การศึกษา ภาคต้น
จานวน หน่ วยกิต 3 (3-0-6)
รายวิชา CA516 ทฤษฎีและกลยุ ทธ์การจัดการสื่อสารการตลาด Theories and Strategic Management for Marketing Communication CA517 การวิเคราะห์ผบู ้ ริโภคเชิงกลยุ ทธ์ Strategic Consumer Analysis CA519 การวิจยั การสื่อสารการตลาด Marketing Communication Research CB514 การสื่อสารและการจัดการแบรนด์ผลิตภัณฑ์ Product Brand Communication and Management
3 (3-0-6) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) รวม
ภาคปลาย
ภาคฤดูร้อน
CA702 วิทยปรัชญาทางการสื่อสาร Philosophy of Science in Communication CA711 ทฤษฎีการสื่อสารการตลาดและการวิเคราะห์ ผูบ้ ริโภคขัน้ สูง Advanced Marketing Communication and Consumer Analysis Theories CA712 การจัดการและการสื่อสารตราสินค้า Brand Management and Communication CA713 สัมมนาการสื่อสารการตลาด 1 Marketing Communication Seminar 1
12 ไม่นับหน่ วยกิต 3 (3-0-6)
3 (3-0-6) ไม่นับหน่ วยกิต
รวม 6 CA703 ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางการสื่อสารการตลาดขัน้ สูง ไม่นับหน่ วยกิต Advanced Research Methodology for Marketing Communication CAXXX วิชาเลือก 3 (3-0-6) รวม 3
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
19
แบบ 2.2 สาหรับผู้ที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (72 หน่ วยกิต) ชัน้ ปี ที่ ภาคการศึกษา 2
ภาคต้น
จานวน หน่ วยกิต ไม่นับหน่ วยกิต
รายวิชา CA704 การใช้คอมพิวเตอร์ประยุ กต์เพื่อการวิจยั Applied Computer for Research CAXXX วิชาเลือก
3 (3-0-6)
CA716 การสอบวัดคุณสมบัต ิ Qualifying Examination
ไม่นับหน่ วยกิต รวม
ภาคปลาย
ภาคฤดูร้อน
3
ภาคต้น
ภาคปลาย
CA714 สัมมนาการสื่อสารการตลาด 2 Marketing Communication Seminar 2 CA803 ดุษฎีนิพนธ์ (1) Doctoral Dissertation (1)
12 (0-0-18) รวม
12 6 (0-0-18)
รวม
6 12 (0-0-36)
รวม
12 ไม่นับหน่ วยกิต
CA803 ดุษฎีนิพนธ์ (2) Doctoral Dissertation (2) CA803 ดุษฎีนิพนธ์ (3) Doctoral Dissertation (3) CA715 สัมมนาการสื่อสารการตลาด 3 Marketing Communication Seminar 3 CA803 ดุษฎีนิพนธ์ (4) Doctoral Dissertation (4)
12 (0-0-36) รวม
ภาคฤดูร้อน
3 ไม่นับหน่ วยกิต
CA803 ดุษฎีนิพนธ์ (5) Doctoral Dissertation (5)
12 6 (0-0-12)
รวม รวมทัง้ สิ้น หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
6 72 20
2.6 คาอธิบายรายวิชา 1) หมวดวิชาเสริมพืน้ ฐาน ชื่อวิชา
รหัส CA701
ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาด้านการสื่อสารการตลาด
จานวน หน่ วยกิต ไม่นับหน่ วยกิต
English for Marketing Communication Studies ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อ สื่อสารในระดับ วิชาการ ในด้านการฟั ง การอ่ า น การเขียนและการสรุปความ รูปแบบต่างๆ ที่จาเป็ นในงานด้านการสื่อสารการตลาด โดยมี ทักษะการพูดเป็ นทักษะเสริม CA702
วิทยปรัชญาทางการสื่อสาร
ไม่นับหน่ วยกิต
Philosophy of Science in Communication แนวความคิดเกี่ยวกับปรัชญาเชิง ศาสตร์ ความหมาย ที่มา และสถานภาพข อง ญาณวิทยา (Epistemology) และกระบวนการสร้างและสังสมองค์ ่ ความรู ้ ความจริงของ การศึ ก ษาด้านสัง คมศาสตร์ที่ม ีความสัม พันธ์กับการสื่อ สาร องค์ป ระกอบของปรัชญา การศึกษาเชิงประจักษ์ (Empiricism) สานักพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioralism) และสานั ก หลังพฤติกรรมศาสตร์ (Post-behavioralism) ซึง่ เป็ นพัฒนาการและการเปลีย่ นแปลงของ กระบวนการแสวงหาและจัด ระเบียบความรู ้ดา้ นสังคมศาสตร์ ทัง้ ในแง่ของการเป ลี่ย น กระบวนทัศ น์ (Paradigm) จุ ด เน้ น (Focus of Study) ขอบข่ า ย (Locus of Study) และ หน่ วยการวิเคราะห์ (Unit of Analysis) เพื่อนาไปสู่การสร้างและการพัฒนาทฤษฎีทางการ สื่อสารและที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารการตลาด
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
21
รหัส CA703
ชื่อวิชา ระเบียบวิธกี ารวิจยั ทางการสื่อสารการตลาดขัน้ สูง
จานวน หน่ วยกิต ไม่นับหน่ วยกิต
Advanced Research Methodology for Marketing Communication ปรัช ญาและวิ ธกี ารวิ จยั เพื่อ ใช้ ในงานสื่อ สารการตลาด กระบวนการแสวงหา ความรูด้ ว้ ยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ขัน้ ตอนในการด าเนิ นงานวิจ ัย ตัง้ แต่การก าห นด ปั ญหาการวิจยั และหัวข้อวิจยั วัตถุประสงค์การวิจยั การสารวจวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ตัว แปรและการวัดตัวแปร การออกแบบการวิจยั ระเบียบวิธวี ิจยั ทัง้ การวิจยั เชิงปริมาณและ การวิจยั เชิงคุณภาพขั ้นพื้นฐาน การเก็บรวบรวมข้อมู ล การวิเคราะห์ และการนาเ สนอ ข้อมูล การแปลความหมายของผลการวิจยั การประเมินงานวิจยั และการนาผลการวิ จ ัย ไปประยุ กต์ใช้ จริยธรรมในการวิจยั การเขียนโครงร่างการวิจยั และรายงานการวิจยั CA704
การใช้คอมพิวเตอร์ประยุ กต์เพื่อการวิจยั
ไม่นับหน่ วยกิต
Applied Computer for Research สถิตเิ บื้องต้น การเตรียมข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การจัดหมวดหมู่ข้อมูล การสร้า ง แฟ้ ม ข้ อ มู ล วิ ธ ีก ารใช้ ส ถิต ิในการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล โดยโปรแกรมคอมพิว เตอร์ การใช้ โปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อการวิจยั ทางสถิต ิ และการแปลความหมาย การนาผลการวิเคราะห์ ที่ได้จากโปรแกรมต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ไปใช้
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
22
ข) หมวดวิชาระดับปริญญาโท ชื่อวิชา
รหัส CA516
ทฤษฎีและกลยุ ทธ์การจัดการสื่อสารการตลาด
จานวน หน่ วยกิต 3 (3 –0– 6)
Theories and Strategic Management for Marketing Communication แนวคิด ทฤษฎี บทบาท และกลยุ ทธ์การสื่อ สาร เครื่อ งมือ การสื่อ สารการตลาด การตลาดแบบสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ปัจจัยและการดาเนินงานขององค์กรที่มผี ลกระทบ ต่อการดาเนินงานการตลาดและการสื่อสารการตลาดเพื่อสนับสนุ นแบรนด์ผลิตภัณฑ์และ แบรนด์องค์กร การแปลงกลยุ ทธ์สู่การปฏิ บัตทิ ี่สอดคล้องกับแนวทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การติดตามและประเมินผลการสื่อสารการตลาดเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายขององค์กร CA517
การวิเคราะห์ผบู ้ ริโภคเชิงกลยุ ทธ์
3 (3 –0– 6)
Strategic Consumer Analysis แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบ้ ริโภคและกระบวนการตัดสินใจซือ้ การวิ เ คราะห์ ผู ้บ ริโ ภคโดยใช้ ห ลัก พฤติก รร มศาสตร์ ปั จ จัย ทางจิต วิ ท ยา สัง คมและ วัฒนธรรม แบบจาลองการวิเคราะห์พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคเพื่อกาหนดกลยุ ทธ์ใน การสื่อสารการตลาด CA519
การวิจยั การสื่อสารการตลาด
3 (3 –0– 6)
Marketing Communication Research ปรัชญาและวิธีการวิจยั เพื่อ ใช้ ในงานสื่ อสารการตลาด กระบวนการแสวงหาความรู้ ด้ วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ขันตอนในการด ้ าเนินงานวิจยั ตังแต่ ้ การกาหนดปัญหาการวิ จ ั ย และหัวข้ อวิจยั วัตถุประสงค์การวิจยั การสารวจวรรณกรรมที่ เกี่ ยวข้ อง ตัวแปรและการวัด ตัว แปร การออกแบบการวิจ ัย ระเบียบวิธีวิจยั ทังการวิ ้ จยั เชิงปริมาณและการวิจยั เชิงคุณภาพขั น้ พื ้นฐาน การเก็บรวบรวมข้ อ มูล การวิเคราะห์ และการนาเสนอข้ อมูล
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
23
ชื่อวิชา
รหัส CB514
การสื่อสารและการจัดการแบรนด์ผลิตภัณฑ์
จานวน หน่ วยกิต 3 (3 –0– 6)
Product Brand Communication and Management ความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของแบรนด์ผลิตภัณฑ์ ประเภทของ แบรนด์ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาแบรนด์ผลิตภัณฑ์แต่ละประเภท การพัฒนากลยุ ทธ์ การสื่อสารแบรนด์ผลิต ภัณฑ์ให้ ส อดคล้องกับ สภาพแวดล้อมที่ มกี ารเปลีย่ นแปลง รวมทัง้ การจัดการแบรนด์ผลิตภัณฑ์เพื่อเพิม่ มูลค่าแบรนด์
(ค) หมวดวิชาเฉพาะ 1) วิชาบังคับ ชื่อวิชา
รหัส CA711
ทฤษฎีการสื่อสารการตลาดและการวิเคราะห์ผบู ้ ริโภคขัน้ สูง
จานวน หน่ วยกิต 3 (3 –0– 6)
Advanced Marketing Communication and Consumer Analysis Theories พัฒ นาการ บทบาทและความส าคัญ ของการสื่อ สาร แนวคิด หลัก การ ทฤษฎี แ ละ ผลกระทบทางด้านการสื่อสารต่องานด้า นการสื่อ สารการตลาดและพฤติกรรมผูบ้ ริโภค ปั จจัยที่ เกี่ยวข้องกับกระบวนการจิตวิทยาในการประมวลข้อมูลของผูบ้ ริโภค อาทิ ความสนใจการจดจา อารมณ์ เจตคติ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม การคิดไตร่ตรองและการตัดสินใจของผูบ้ ริโภคที่ ม ี ผลต่ อ การก าหนดกลยุ ท ธ์ก ารสื่ อ สารการตลาด เน้ นการวิเ คราะห์ การประยุ ก ต์ท ฤษฎีและ กระบวนทัศน์ที่เกี่ยวข้องเพื่อการจัดการการสื่อสารการตลาดในสถานการณ์ที่หลากหลาย
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
24
ชื่อวิชา
รหัส CA712
การจัดการและการสื่อสารตราสินค้า
จานวน หน่ วยกิต 3 (3 –0– 6)
Brand Management and Communication แนวคิด ร่ ว มสมัยต่ างๆ เกี่ ย วกั บตราสินค้า พัฒ นาการของตราสินค้า ในบริบทของการ เปลีย่ นแปลงทางสังคมและประวัตศิ าสตร์ กฎเกณฑ์ทางการค้าระหว่ างประเทศ ผลกระทบของ โลกาภิวัตน์ การสื่อสารระบบดิจทิ ัลและเทคโนโลยีทางการตลาดที่มตี ่อตราสินค้า แนวความคิด เกี่ยวกับการจัดการตราสินค้า การวางแผน การสร้างตราสินค้า คุณค่าตราสินค้า การรับรูข้ อง ผูบ้ ริโภคเกี่ยวกับตราสินค้า การสร้างความสัมพันธ์ระหว่ างผูบ้ ริโภคกับตราสินค้า กระบวนการ สื่อสารตราสินค้า การใช้เครื่องมือการสื่อสารการตลาดเพื่อสื่อ สารตราสินค้าไปยังกลุ่มเป้ าหมาย เน้นการวิเคราะห์กรณีศึกษาและการนาผลการวิจยั มาประยุ กต์ใช้ CA713
สัมมนาการสื่อสารการตลาด 1
ไม่นับหน่ วยกิต
Marketing Communication Seminar 1 ประเด็นปั ญหาที่เกี่ยวข้องและมีผลกระทบต่ อการสื่อ สารการตลาด วิเคราะห์ ศึกษาและ ค้นคว้าวิจยั อย่ างเจาะลึกเพื่อ นาผลมาเป็ นแนวทางการกาหนดปั ญ หาการวิจยั ในระดับ ดุ ษ ฎี บัณฑิต โดยนาเสนอผลการศึกษาในการประชุ มสัมมนาวิชาการ CA714
สัมมนาการสื่อสารการตลาด 2
ไม่นับหน่ วยกิต
Marketing Communication Seminar 2 ประเด็นปั ญหากฎหมายการสื่อ สาร กฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับ งาน สื่อสารการตลาด กฎหมายด้านการโฆษณา การประชาสัมพันธ์ กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจ และ การค้า ลิขสิทธิ ์ การคุม้ ครองผูบ้ ริโภค การละเมิดสิทธิส่ว นบุ คคล และอื่นๆ สิทธิ เสรีภ าพ จริยธรรมและความรับผิดชอบของนักสื่อ สารการตลาด ปั ญหาและแนวทางแก้ ไข กรณีศึกษา และการนาผลการวิจยั ที่เกี่ยวข้องมาประยุ กต์ใช้ ทงั ้ ในและต่างประเทศ
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
25
CA715
จานวน
ชื่อวิชา
รหัส สัมมนาการสื่อสารการตลาด 3
หน่ วยกิต ไม่นับหน่ วยกิต
(Marketing Communication Seminar 1) ประเด็นปั ญหาต่ า งๆ ที่ เ ป็ นกระแสในปั จ จุบั นและมีผ ลต่ อ การวางแผนกลยุ ทธ์ส่ อื สาร การตลาดในระดับ องค์ก ร ระดับ ประเทศ และระดับ นานาชาติ ปั ญ หาและแนวทางแก้ไข กรณีศึกษาทัง้ ในและต่างประเทศ CA716
การสอบวัดคุณสมบัต ิ
ไม่นับหน่ วยกิต
(Qualifying Examination) การสอบวัดความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีการสื่อสารขัน้ สูงที่เป็ นองค์รวม การประยุ กต์ระเบียบวิธวี ิทยาและการวิพากษ์ขนั ้ สูงสู่การทาดุษฎีนิพนธ์ทางการสื่อสาร การตลาด 2) วิชาเลือก
CA721
จานวน
ชื่อวิชา
รหัส
ระเบียบวิธวี ิจยั เชิงปริมาณขัน้ สูงในงานการสื่อสารการตลาด
หน่ วยกิต 3 (3 –0– 6)
Advanced Quantitative Research Methodology for Marketing Communication ความหมายและลักษณะทัว่ ไปของการวิจยั เชิงปริมาณ ระเบียบวิธวี ิจยั ประเภทวิจยั การ วิเคราะห์ประเด็นปั ญหาการวิ จยั เชิงปริมาณทางการสื่อสารการตลาด การออกแบบการวิ จ ัย การด าเนิ นการวิจ ัย การตรวจสอบคุณภาพของเครื่อ งมือ การวิเคราะห์ข้อ มู ล การแปลผล ข้อมูล และการนาเสนอข้อ มูล ในการวิจยั เชิงปริมาณ การเขียนโครงร่างและการเขียนรายงาน วิจยั เชิงปริมาณ
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
26
CA722
จานวน
ชื่อวิชา
รหัส
ระเบียบวิธวี ิจยั เชิงคุณภาพขัน้ สูงในงานการสื่อสารการตลาด
หน่ วยกิต 3 (3 –0– 6)
Advanced Qualitative Research Methodology for Marketing Communication ความหมายและลักษณะทัว่ ไป ระเบียบวิธวี ิจยั ประเภทวิจยั วิเคราะห์ประเด็นปั ญหา การวิจยั เชิงปริมาณทางด้านการสื่อสารการตลาด การออกแบบการวิจยั การดาเนินงานวิจยั การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจยั เชิงคุณภาพ อาทิ การวิเคราะห์การสนทนา (Conversation analysis) การสร้างทฤษฎีฐานราก (Grounded theory) การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มสี ่วนร่วม การระดมสมอง (Brain Storm) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเป็ นรายบุ คคล (Individual in depth interview) การสนทนา กลุ่ม (Focus group) การวิจยั เชิงปฏิบัตกิ าร (Action Research) การเขียนโครงร่างและ รายงานวิจยั เชิงคุณภาพ CA723
การจัดการความสัมพันธ์และประสบการณ์ลูกค้า
3 (3 –0– 6)
Customer Relationship and Experiences Management ปั จจัยที่มผี ลต่อโครงสร้างและสภาพแวดล้อมขององค์กรที่ มผี ลต่อ ความสัม พันธ์ร ะหว่ า ง ลูกค้ากับองค์กร หลักการรูปแบบการดาเนินกิจกรรมเพื่อสร้างความสัมพันธ์และประสบการณ์ ที่ยงั ่ ยืนกับลูกค้าและผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่าง ๆ การสร้าง การรักษาและการใช้ประโยชน์ จากฐานข้ อ มู ล ลู กค้าและผูม้ ีส่ วนได้ส่ วนเสีย กระบวนการจัดการความสัม พันธ์ การจัดการ ประสบการณ์ การวิ เ คราะห์ ก ลุ่ ม เป้ าหมายการก าหนดกลยุ ท ธ์ส าหรับ แผนงานบริห าร ความสัมพันธ์ การจัดการเครื่องมือการสื่อ สารการตลาดเพื่อสร้างความสัม พันธ์ที่ ดกี ับ ลู ก ค้า และผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย และการประเมินผล
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
27
ชื่อวิชา
รหัส CA724
สัมมนานวัตกรรมสื่อและเทคโนโลยีการสื่อสาร
จานวน หน่ วยกิต 3 (3 –0– 6)
Seminar on Innovations of Media and Communication Technologies ความหมาย บทบาท ความสาคัญ ประเภทและคุณสมบัต ิเฉพาะของ นวั ตกรรมสื่อ และ เทคโนโลยีการสื่อสารแพลตฟอร์ม ต่าง ๆ พฤติกรรมการใช้ส่ อื และเทคโนโลยีก ารสื่อ สารของ กลุ่ ม เป้ าหมาย วิ เ คราะห์ วางแผนกลยุ ท ธ์ในรู ป แบบต่ างๆ การประเมินประสิท ธิภ าพและ ประสิทธิผล และการใช้ข้อมูลจากการวัด ผล เน้นการประยุ กต์ใช้นวั ตกรรมสื่อ และเทคโนโ ลยี การสื่อสารอย่ างครบวงจรเพื่อเพิ่มประสิทธิภ าพการสื่อสารการตลาดในธุร กิจประเภทต่าง ๆ เน้นการวิเคราะห์กรณีศึกษาและการประยุ กต์ใช้ผลการวิจยั ที่เกี่ยวข้อง CA725
สัมมนากลยุ ทธ์การสื่อสารเพื่อการบริหารภาวะวิกฤตและการเปลีย่ นแปลง
3 (3 –0– 6)
Seminar on Communication Strategies for Crisis and Change Management สถานการณ์เกี่ยวกับ ประเด็นสาธารณะ การเปลีย่ นแปลงของเศรษฐกิจ การเมือง สังคม เทคโนโลยี ตลอดจนความเสีย่ งที่มผี ลกระทบต่ อการเกิ ดภาวะวิกฤติทางการสื่อสารการตลาด และการดาเนินธุรกิจขององค์ก รประเภทต่างๆ การตัดสินใจเกี่ยวกับความเสีย่ งและผลกระทบ ที่มผี ลต่อภาพลักษณ์และชื่ อเสียงองค์กร การวางกลยุ ทธ์การสื่อสารในการจัดการภาวะวิ ก ฤติ และการเปลีย่ นแปลง เน้นการวิเคราะห์กรณีศึกษา CA726
สัมมนากลยุ ทธ์การสื่อสารการตลาดสาหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม
3 (3 –0– 6)
Seminar on Marketing Communication Strategies for Small and Medium Enterprises แนวคิด หลักการ องค์ประกอบเกี่ยวกับการสื่อสารการตลาดและการสื่อสารตราสินค้า ของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม ศึกษาและวิเคราะห์ผบู ้ ริโภคเป้ าหมาย วางแผนกลยุ ทธ์ การสื่อสารการตลาด ตลอดจนกาหนดแนวทางการประเมินผลการสื่อสารการตลาดและการ สื่อสารตราสินค้าและบริการของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม เน้นการวิเคราะห์กรณีศึกษา หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
28
ชื่อวิชา
รหัส CA727
สัมมนากลยุ ทธ์การสื่อสารการตลาดในธุรกิจสื่อ และบันเทิง
จานวน หน่ วยกิต 3 (3 –0– 6)
Seminar on Marketing Communication Strategies in Media and Entertainment Business แนวคิด หลักการ องค์ประกอบเกี่ยวกับ การสื่อสารการตลาดและการสื่อ สารตราสินค้ า ใน ธุ ร กิ จ สื่อ และบั นเทิ ง ศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ ผบู ้ ริโ ภคเป้ าหมาย วางแผนกลยุ ท ธ์ก ารสื่อ สาร การตลาด ตลอดจนกาหนดแนวทางการประเมินผลการสื่อ สารการตลาด และการสื่อ สาร ตรา สินค้าสาหรับ ธุรกิจสื่อและบันเทิง เน้นการวิเคราะห์กรณีศึกษาและการประยุ กต์ใช้ ผลการวิ จ ัย ที่เกี่ยวข้อง CA728
สัมมนาวัฒนธรรมกับการสื่อสารการตลาดโลกาภิวัตน์
3 (3 –0– 6)
Seminar on Culture and Global Marketing Communication ความสาคัญ รูปแบบ และปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมซึง่ ส่งผลกระทบต่อ พฤติกรรมผูบ้ ริโภคและการรับรูก้ ารสื่อสารการตลาด ศึกษาโครงสร้าง ระบบ การจัดการ และ การดาเนินงานการสื่อสารการตลาดระหว่ างประเทศในองค์กรธุรกิจ ปั จจัยและพลังต่า ง ๆ ที่ เกี่ยวข้องและมีผลกระทบ ตลอดจนผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงในด้านต่างๆ ที่มตี ่อระบบ และเครือข่ ายความสัมพันธ์ของธุรกิจระหว่ างประเทศ และการสื่อสารการตลาดของโลก เน้น วิเคราะห์และอภิปราย โดยศึกษาจากกรณีศึกษาในภูมภิ าคอาเซียนและประเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนากลยุ ทธ์การสื่อสารการตลาดให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้ าหมายในวัฒนธรรมที่แตกต่ าง กัน
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
29
(ง) หมวดดุษฎี นิพนธ์ ชื่อวิชา
รหัส
จานวน หน่ วยกิต
CA 801
ดุษฎีนิพนธ์
48 (0-0-144)
Doctoral Dissertation ศึกษาค้นคว้าและวิจยั ในลักษณะที่แสดงความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ เกิดองค์ความรูใ้ หม่ โดยผลงานวิจยั จะต้องได้รบั การตีพมิ พ์หรืออย่ างน้อยดาเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของ ผลงานได้รบั การยอมรับให้ตพี มิ พ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มกี รรมการภายนอก มาร่วมกลันกรอง ่ (Peer Review) CA 802
ดุษฎีนิพนธ์
36 (0-0-108)
Doctoral Dissertation ศึกษาค้นคว้าและวิจยั ในลักษณะที่แสดงความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ เกิดองค์ความรูใ้ หม่ โดยผลงานวิจยั จะต้องได้รบั การตีพมิ พ์หรืออย่ างน้อยดาเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของ ผลงานได้รบั การยอมรับให้ตพี มิ พ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มกี รรมการภายนอก มาร่วมกลันกรอง ่ (Peer Review) CA 803
ดุษฎีนิพนธ์
48 (0-0-144)
Doctoral Dissertation ศึกษาค้นคว้าและวิจยั ในลักษณะที่แสดงความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ เกิดองค์ความรูใ้ หม่ โดยผลงานวิจยั จะต้องได้รบั การตีพมิ พ์หรืออย่ างน้อยดาเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของ ผลงานได้รบั การยอมรับให้ตพี มิ พ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มกี รรมการภายนอก มาร่วมกลันกรอง ่ (Peer Review) ก่ อนตีพมิ พ์
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
30
3. ข้ อกาหนดเกี่ ยวกับการทาดุษฎี นิพนธ์ ข้อกาหนดในการจัดท าดุ ษฎี นิพนธ์ ให้เป็ นไปตามข้อก าหนดของคณะกรรมการบั ณฑิต ศึก ษาปร ะจ า หลักสูตร ภายใต้กรอบข้อกาหนดตามประกาศกระทรวงศึ กษาธิก าร และระเบียบมหาวิทยาลัยหอการค้า ไทย ว่ าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 3.1 ความหมายและคาอธิบายเกี่ ยวกับดุษฎี นิพนธ์ เป็ นการศึกษาประเด็นปั ญหาทางการสื่อ สารการตลาดด้วยการใช้ กระบวนการแสวงหาความรู ้ด ้ว ย วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ตามความสนใจ/ความถนัดของนัก ศึก ษา โดยมีขนั ้ ตอนการด าเนิ นงานคือ กาหนด ประเด็นปั ญหาการวิจยั การวางแผนการวิจยั การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้ อง การออกแบบการวิจยั การ จัด ท าโครงการดุษ ฎี นิพนธ์ การสอบโครงการดุษ ฎี นิพนธ์ การสร้า งเครื่อ งมือ วิ จยั การตรวจสอบคุณภาพ เครื่องมือวิจยั การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้ อ มูล การเขียนสรุ ป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะการวิจยั การเสนอร่างบทความการวิ จยั ส าหรับการเผยแพร่ การเขียนและเรีย บ เรียงรายงานการวิจยั และการนาเสนอรายงานการวิจยั ฉบับสมบู รณ์ในการสอบป้ องกันดุษฎี นิพนธ์ 3.2 ขัน้ ตอนของการทาดุษฎี นิพนธ์ เริม่ จากการกาหนดประเด็นปั ญหาการวิจยั การวางแผนการวิจยั การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การออกแบบการวิจยั การจัดทาโครงการดุษฎีนิพนธ์ การสอบโครงการดุษฎีนิพนธ์ การสร้างเครื่องมือวิจยั การ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจยั การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนสรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะการวิจยั เขียนรายงานการวิจยั ฉบับ สมบู รณ์และเสนอรายงานการ วิจยั ฉบับสมบู รณ์ในการสอบป้ องกันดุษฎีนิพนธ์ 3.3 การเผยแพร่ผลงานวิจัยจากดุษฎี นิพนธ์ เสนอร่างบทความการวิจยั สาหรับการเผยแพร่ และเพื่อดาเนินการให้ผลงานวิทยานิพนธ์หรือ ส่วน หนึ่งของวิทยานิพนธ์ตอ้ งได้รบั การตีพมิ พ์หรืออย่ างน้อยได้รบั การยอมรับให้ตพี ิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือ นานาชาติที่มคี ุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทาง วิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่ างน้อย 2 เรื่องสาหรับการเรียนในแบบ 1.1 อย่ างน้อย 1 เรื่องสาหรับการเรียนในแบบ 2.1 และ 2.2
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
31
3.4 ช่วงเวลา แบบ 1.1 ภาคการศึกษาที่ 2 ปี ที่ 1 แบบ 2.1 ภาคการศึกษาที่ 1 ปี ที่ 2 แบบ 2.1 ภาคการศึกษาที่ 2 ปี ที่ 1 3.5 จานวนหน่ วยกิต แบบ 1.1 48 หน่ วยกิต แบบ 2.1 36 หน่ วยกิต แบบ 2.2 48 หน่ วยกิต 3.6 กระบวนการประเมินผล 1) ประเมินความก้า วหน้ า การจัดท าดุ ษ ฎี นิพนธ์ในระหว่ า งการดา เนิ นการของนั ก ศึก ษา โดย อาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ 2) ประเมินผลสรุ ปการทางานของนั กศึ กษา จากการติดตามการท างานผลงานที่ เกิ ดในแต่ละ ขัน้ ตอนและรายงานโดยอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ 3) ประเมินคุณภาพดุษฎีนิพนธ์ของนักศึกษาโดยอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์
4.เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 4.1 เรียนครบตามจานวนหน่ วยกิตที่กาหนดไว้ในหลักสูตร 4.2 ได้คะแนนเฉลีย่ สะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ ากว่ า 3.00 4.3 สอบผ่านการวัดระดับความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด ทัง้ นี้ ให้เป็ นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ว่ าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558
หลักสูตรนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์การตลาด คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย พ.ศ. 2559
32