สรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1ล่าสุด

Page 1

สวนที่ 1 ก ร ะ บ ว น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ค าํ ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ตั ิร า ช ก า ร ภ า ย ใ น ร ะ ด บั ห น ว ย ง า น ( In t e r n a l P e r f o r m a n c e A g r e e m e n t : IP A ) แนวคิด คํารับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหนวยงาน (Internal Performance Agreement : IPA) เปน เครื่องมือสําหรับผูบริหารในการบริหารยุทธศาสตรทั้งระบบ โดยเชื่อมโยงระบบการวางแผนยุทธศาสตร การนํา ยุทธศาสตรไปปฏิบัติ และการกํากับ ติดตามผลการปฏิบัติ โดยมี • กระบวนการถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายระดับองคกรสูระดับหนวยงานและระดับบุคคล • จัดทําขอตกลงการปฏิบัติงานเปนลายลักษณอักษร • มีระบบการรายงาน • มีการจัดการความรูเพื่อปรับปรุง พัฒนาบุคลากร พัฒนางาน • การเชื่อมโยงระหวางผลการฏิบัติงานตามขอตกลงกับระบบแรงจูงใจ เพื่อให การนํายุทธศาสตร ตัวชี้วัด เปาหมายขององคกรสูการปฏิบัติมีประสิทธิภาพ บรรลุผลสัมฤทธิ์

วัตถุประสงค 1. เพื่อถายทอดตัวชี้วัดและเปาหมายระดับองคกรสูระดับหนวยงานและระดับบุคคลใหเกิดผลเปนรูปธรรม บรรลุ เปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อสรางการเรียนรูระบบการบริหารยุทธศาสตรทั่วทั้งองคกร 3. เพื่อเสริมสรางขีดสมรรถนะองคกรใหสูงขึ้น

การดําเนินงานระดับหนวยงาน 1. ทบทวนยุทธศาสตร กลยุทธ เปาหมายการดําเนินงานที่ผานมาและกําหนดเปาหมาย ตัวชี้วัดและแนว ทางการดําเนินงานใหสอดคลองกับยุท ธศาสตร เปาหมาย ตัวชี้วัดและแนวทางการดําเนินงานของกรมฯ โดย บุคลากรในหนวยงานมีสวนรวมทุกขั้นตอน อยางทั่วถึงทั้งหนวยงาน 2. จัดใหมีการถายทอดตัวชี้วัด คาเปาหมายและแนวทางการดําเนินงานของหนวยงานลงสูระดับบุคคล อยางทั่วถึง 3. แตงตั้งคณะทํางานหรือมอบหมายผูรับผิดชอบการดําเนินงานตามตัวชี้วัดและเปาหมายการดําเนินงาน ตามคํารับรองการปฏิบัติราชการภายใน 4. วางแผนการดําเนินงาน ใหสอดคลองกับ แนวทางการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติร าชการ ภายในฯ ที่กรมฯ กําหนด 5. ประกาศรางวัลแรงจูงใจ เชื่อมโยงการประเมินผลการปฏิบัติราชการ 6. จัดใหมีการลงนามคํารับรองการปฏิบัติราชการภายในระหวางหัวหนาหนวยงานและบุคลากรในสังกัด 7. ขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนที่กําหนดไว 8. รายงานผลการดําเนินงานตามหวงเวลา และชองทางที่กรมฯ กําหนด


9. ประเมินผลการปฏิบัติราชการเชื่อมโยงการพิจารณาความดีความชอบเพื่อเลื่อนขั้นเงินเดือน ของบุคลากรในสังกัด 10. จัดเตรียมขอมูล พรอมทั้งเอกสารหลักฐานการดําเนินงานสําหรับการตรวจติดตามประเมินผล ของผูตรวจราชการกรม โดยจะมีการตรวจติดตามประเมินผลทุกไตรมาส 11. สรุปบทเรียน องคความรูที่ดีที่สามารถเปนแบบอยางการทํางานของหนวยงาน 12. รับรางวัลแรงจูงใจการปฏิบัติงานที่ดี

การดําเนินงานระดับบุคคล 1. รวมทบทวนยุทธศาสตร ตัวชี้วัด คาเปาหมายของหนวยงานใหสอดคลองตามยุทธศาสตร ตัวชี้วัด และคาเปาหมายของกรมฯ จังหวัด 2. รวมวางแผนการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการภายในของหนวยงาน 3. วางแผนการดําเนินงาน จัดทําฐานขอมูลการดําเนินงานใหสอดคลองตามตัวชี้วัด เปาหมายและ ภารกิจที่ไดรับมอบหมาย 4. ลงนามคํารับรองการปฏิบัติราชการภายในกับผูบังคับบัญชาตามลําดับ 5. ดําเนินงานตามแผนที่วางไว 6. รายงานผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด เปาหมาย และภารกิจที่รับผิดชอบตามแนวทางที่กรมฯ และ หนวยงานกําหนด 7. จัดเตรียมขอมูล พรอมเอกสารหลักฐานการดําเนินงานสําหรับการตรวจติดตามประเมินผลของ ผูตรวจราชการกรม ซึ่งจะมีการตรวจติดตาม ทุก เดือน และประเมินผลการปฏิบัติงานในภาพรวมทุกไตรมาส สําหรับในสวนกลาง 8. สรุปบทเรียน องคความรูผลการปฏิบัติงานที่ดี เพื่อเผยแพร เปนแบบอยางการทํางานของบุคคล ทั่วไป 9. รับรางวัลแรงจูงใจการปฏิบัติงานที่ดี

ขั้นตอนการจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการภายใน (IPA) กรมการพัฒ นาชุม ชน กําหนดขั้นตอนการจัด ทําคํารับ รองการปฏิบัติร าชการภายในระดั บ หนวยงานสูระดับบุคคล (Internal Performance Agreement : IPA) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อน ยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชนใหบรรลุเปาหมาย ดังนี้


กรอบการจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหนวยงานสูระดับบุคคล การดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหนวยงานสูระดับบุคคล กําหนดกรอบการจัดทํา IPA ดังนี้

บริษัท

โลโก้

ระดับกรม

สาระสําคัญ IPA เปาประสงค์และตัวชีวัดของกรม (จากยุทธศาสตร์ ,แผนปฏิบัติราชการ,PA และนโยบายสําคัญ)

บทบาทหน้าที และภารกิจของสํานัก/กอง ทีสนับสนุนต่อเปาประสงค์และตัวชีวัด ของกรม ระดับสํานัก กอง สพจ.

บทบาท หน้าทีและภารกิจในงานประจํา ของสํานัก/กอง/สพจ. (ตามกฎกระทรวงฯ)

เปาประสงค์ในระดับสํานัก/กอง /สพจ. ตัวชีวัดในระดับสํานัก/กอง / สพจ.

ระดับบุคคล

บทบาทหน้าที และภารกิจของสํานัก/ บทบาท หน้าทีและ งานทีได้รับ กอง/สพจ. ทีสนับสนุนต่อเปาประสงค์ ภารกิจในงานประจําของ มอบหมาย และตัวชีวัดในระดับกรม สํานัก/กอง เปนพิเศษ

เปาประสงค์ในระดับบุคคล ตัวชีวัดในระดับบุคคล

การถายทอดตัวชี้วัด คาเปาหมาย ระดับหนวยงานสูระดับบุคคล การถายทอดตัวชี้วัดและคาเปาหมายการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการภายใน กรมการพัฒนาชุมชน เปนขั้นตอนที่สําคัญที่สงผลตอความสําเร็จ การบรรลุเปาหมายของหน วยงาน ดังนั้น จึงจําเปนอยางยิ่งที่หนวยงานจะตองวางแผนในการถายทอดตัวชี้วัดและคาเปาหมายระดับ


หนวยงานสูระดับบุคคลใหชัดเจน และทั่วถึง รวมถึงการสรางความเขาใจแนวทางการดําเนินงานที่ สอดคลองกันในทุกระดับ สามารถนําไปปฏิบัติและเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานได ในป พ.ศ.2556 กรมการพัฒนาชุมชน ไดกําหนดรูปแบบการถายทอดตัวชี้วัดและคาเปาหมายการดําเนินงานตามคํา รับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหนวยงานสูระดับบุคคลไวดังแผนภาพตอไปนี้


ผลการดําเนินงานของจังหวัดชุมพร -ประชุมชี้แจงสรางความรูความเขาใจ และทบทวนยุทธศาสตร ตัวชี้วัด คาเปาหมายของหนวยงานให สอดคลองตามยุท ธศาสตร ตัวชี้วัด และคาเปาหมายของกรมฯ จัง หวัด แกเ จาหนาที่พัฒ นาชุม ชนทั้ง จัง หวัด จํานวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2555 : ประชุมชี้แจงมอบนโยบายและเพิ่มประสิทธิภาพการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชน และยุทธศาสตรจังหวัดชุมพร ประจําป 2556 ณ โรงแรมมรกต อําเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2556 : ประชุมเชิงปฏิบัติการการดําเนินงานตามคํารับรอง การปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน ประจําป 2556 ณ โรงแรมมรกต อําเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ประชุมประชุมชี้แจงสรางความรูความเขาใจในการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ฯ อยางตอเนื่องในที่ประชุมประจําเดือน นับตั้งแตเดือน มกราคม 2556 เปนตนมา ประชุมชี้แจงสรางความรูความเขาใจ ในประเด็นเนนย้ํา IPA ในที่ประชุมประจําเดือนของ จังหวัด และการปรับปรุงพัฒนางานตามขอเสนอโครงการริเริ่มสรางสรรค เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2556 ณ หอง ประชุมเกาะทองหลาง ศาลากลางจังหวัดชุมพร


ก า ร ล ง น า ม ค ํา ร บั ร อ ง ก า ร ป ฏ บิ ัต ริ า ช ก า ร ภ า ย ใ น ร ะ ด บั ห น ว ย ง า น แ ล ะ ร ะ ด บั บ คุ ค ล

กรมการพัฒนาชุมชนกําหนดรูปแบบการลงนาม ระหวางผูบังคับบัญชาหรือหัวหนาหนวยงาน กับบุคลากรในสังกัด พรอมทั้งรายละเอียดประกอบการลงนามคํารับรองการปฏิบัติราชการภายใน ดังนี้ หัวหนาสวนราชการ อธิ บ ดี กร มก าร พั ฒ น า ชุมชน และรองอธิบดี -ผอ.สํานัก กอง ศูนย/ -พัฒนาการจังหวัด

ลงนามกับ

ผูลงนาม ระดับหนวยงาน หัวหนาหนวยงาน -ผอ.สํานัก กอง ศูนย -พัฒนาการจังหวัด หัวหนากลุมงาน/ฝาย

ระดับบุคคล บุคลากรในหนวยงาน - เจาหนาที่ในสังกัด ลงนามกับ

หัวหนาหนวยงาน - หัวหนากลุมงาน/ฝาย

เอกสารประกอบการลงนาม - แผนที่ยุทธศาสตรหนวยงาน - กรอบการประเมิ นผลการปฏิ บั ติง านตามคํ ารั บ รองการปฏิ บั ติ ราชการภายในของหนวยงาน ประกอบดวยตัวชี้วัดผลการปฏิบัติ ราชการ น้ํ าหนั ก ค าเป า หมายและเกณฑ ก ารให ค ะแนนของ หนวยงาน - โครงการริเริ่มสรางสรรคเพื่อขับเคลือ่ นยุทธศาสตรกรมฯ - แผนปฏิ บัติ การ ,แผนขั บ เคลื่ อนคํ ารั บ รองการปฏิ บั ติร าชการ ภายในระดับหนวยงานที่ครอบคลุมทั้งระบบ - แผนที่ยุทธศาสตรหนวยงาน - กรอบการประเมิ นผลการปฏิ บั ติง านตามคํ ารั บ รองการปฏิ บั ติ ราชการภายในของหนวยงาน ประกอบดวยตัวชี้วัดผลการปฏิบัติ ราชการ น้ําหนัก คาเปาหมายและเกณฑการใหคะแนนของบุคคล - โครงการริเริ่มสรางสรรคเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตรกรมฯ ของบุคคล ที่สอดคลอง หรือตอบสนองขอเสนอโครงการริเริ่มสรางสรรคของ หนวยงาน - แผนปฏิ บัติ การ ,แผนขั บ เคลื่ อนคํ ารั บ รองการปฏิ บั ติร าชการ ภายในของบุ ค คลที่ ค รอบคลุ ม ทั้ ง ระบบ และตอบสนองการ ขับเคลื่อนการดําเนินงานของหนวยงาน


 จ ัง ห ว ดั ไ ด ด ํา เ น ิน ก า ร ล ง น า ม ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร แ ล ว ด ัง น ี้ 1 ) ร ะ ด ับ ห น ว ย ง า น - อ ธ ิบ ด ีก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ร อ ง อ ธ ิบ ด ี ก ับ พ ัฒ น า ก า ร จ ัง ห ว ัด - พ ัฒ น า ก า ร จ ัง ห ว ัด ก ับ ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น / ฝ า ย เ ม ื่อ ว ัน ท ี่ 1 1 ม ก ร า ค ม 2 5 5 6 ณ ห อ ง ป ร ะ ช ุม เ ก า ะ ท อ ง ห ล า ง ศ า ล า ก ล า ง จ ัง ห ว ัด ช ุม พ ร 2 ) ร ะ ด ับ บ ุค ค ล - ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น / ฝ า ย ก ับ น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น - พ ัฒ น า ก า ร อ ํา เ ภ อ ก ับ พ ัฒ น า ก ร . ห น ว ย ง า น ด ํา เ น ิน ก า ร ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ภ า ย ใ น ร ะ ด ับ ห น ว ย ง า น

ระยะเวลา

กิจกรรม

พย.-ธค.55 กําหนดแนวทางและ แผนปฏิบัติการ IPA ป 2556

มค. 56

มค. 56

ปฏิทินการดําเนินงาน วิธีการ

ผูรบั ผิดชอบ

- กรมฯ สรุป วิเคราะหผลการดําเนินงานและบทเรียน IPA - คณะกรรมการ ที่ผานมา บริหารและ - คณะทํางานพัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตรจัดทํา (ราง) คณะทํางาน แนวทางการดํ า เนิ น งาน กรอบการประเมิ น ผล และ พัฒนาระบบ แผนปฏิบัติการ IPA ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2556 บริหาร - คณะกรรมการบริหารยุทธศาสตรกรมฯ พิจารณาใหความ ยุทธศาสตรกรม เห็นชอบแนวทางการดําเนินงาน IPA ประจําปงบประมาณ ฯ พ.ศ.2556 - กองแผนงาน สรางความเขาใจแนว - กรมฯ จัดทําคูมือการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติ กองแผนงาน ทางการดําเนินงาน ราชการภายในกรมการพัฒนาชุมชน ประจําปงบประมาณ และถายทอดตัวชี้วัด พ.ศ.2556 ส ง ใหผู บ ริห ารและเจ า หน าที่ ทุ ก ระดั บ ทั้ง ใน และคาเปาหมายระดับ สวนกลางและสวนภูมิภาค กรมฯ สูร ะดับ - กรมฯ ถายทอดตั วชี้วัดและคาเปาหมายระดับ กรมฯ สู หนวยงาน ระดับหนวยงาน และชี้แจง สรางความเขาใจแนวทางการ ดําเนินงาน - กรมฯ แจง หนวยงานดําเนินงานตามแนวทางคํารับรอง การปฏิบัติราชการภายในฯ และรายงานผลการดําเนินงาน ตามหวงเวลาที่กําหนด ประกาศรางวัลจูงใจ - กรมฯ ประกาศรางวั ล จู ง ใจ หน ว ยงานขั บ เคลื่ อ น กองแผนงาน ยุทธศาสตรดีเดน ประจําป พ.ศ.2556 (พิจารณาคัดเลือก รอบที่ 1) และหนวยงานผลงานนวัตกรรมดีเดน (พิจารณา คัดเลือกรอบที่ 2)


ระยะเวลา

กิจกรรม

วิธีการ

ผูรบั ผิดชอบ

มค. 56

ถายทอดตัวชี้วัดและคา เปาหมายการดําเนินงาน ระดับหนวยงานสูร ะดับ บุคคล

- จัง หวัดถายทอดตัวชี้วัดและคาเปาหมายการดําเนินงาน และสรางความเขาใจแนวทางการดําเนินงาน IPA ประจําป พ.ศ.2556 ตามกรอบแนวทางที่ ก รมฯ และหน ว ยงาน กําหนด และมอบหมายผูรับผิดชอบดําเนินการ

สพจ./สพอ.

- หนวยงานทบทวนแผนยุทธศาสตร กลยุทธการดําเนินงาน และสรุป วิ เ คราะหบ ทเรีย น ผลการดํา เนิ นงาน ในการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตรกรมฯ ที่ผานมา - หนวยงานจัดทําขอเสนอโครงการริเริ่มสรางสรรค เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการขับเคลื่อนยุทธศาสตรกรมฯ ใหเกิดผลเชิง คุณภาพ - หนวยงานจัดทําแนวทางการดําเนินงาน แผนปฏิบัติการ ขับเคลื่อนการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ให ค รอบคลุ ม ทั้ ง ระบบ สอดคล อ งตามแนวทางและ แผนปฏิบัติการที่กรมฯ กําหนด - หนวยงานจัดสงขอเสนอโครงการริเริ่ม และแผนปฏิบัติ การใหกรมฯ ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ 2556 มค.-15 กพ. จัดสรรงบประมาณ - กรมฯ จั ด สรรงบประมาณขั บ เคลื่ อ นการดํ า เนิ น งาน 56 ขับเคลื่อนการ ขอ เสนอโครงการริ เ ริ่ ม สร างสรรค ใ ห ห น ว ยงานในส ว น ดําเนินงานตาม ภูมิภาค ใหแลวเสร็จภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ 2556 ขอเสนอโครงการริเริ่ม - กรมฯ พิ จ ารณา ให ข อ คิ ด เห็ น ข อ เสนอแนะเพื่ อ การ ปรับ ปรุง ขอเสนอโครงการริเริ่มสรางสรรคของหนวยงาน และแจงหนวยงานเพื่อปรับปรุงและดําเนินการตามขอเสนอ มค.-มีค..56 ลงนามคํารับรองการ - กรมฯ จัดใหมีก ารลงนามคํารับ รองการปฏิบัติร าชการ ปฏิบัติราชการภายใน ภายในระดับผูบริหาร - หนวยงานจัดใหมีการลงนามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ภายในระดับหนวยงานและระดับบุคคล ธค.๕๕-กย. ติดตาม สนับสนุนการ - กรมฯ โดยผูตรวจราชการกรม ติดตาม ใหคําปรึก ษา 56 ดําเนินงานตามคํา แนะนําการดําเนิน งานตามคํารับ รองการปฏิบัติร าชการ รับรองการปฏิบัติ ภายใน และสร า งการเรี ย นรู แ ก บุ ค ลากรในหน ว ยงาน ราชการภายในและ เพื่อใหการปฏิบัติเกิดผลอยางมีประสิทธิภาพ อยางตอเนื่อง เสริมสรางศักยภาพการ ทุกเดือน ดําเนินงานของ - กรมฯ ใหการสนับสนุนดานวิชาการ และขอมูลที่เกี่ยวของ บุคลากรในหนวยงาน เพื่อการขับเคลื่อนการดําเนินงาน - กรมฯ โดยหนวยงานรับผิดชอบตัวชี้วัด ติดตามสนับสนุน ใหขอเสนอแนะการดําเนินงานตามตัวชี้วัด

สพจ./สพอ.

มค.-15 กพ. จัดทําขอเสนอโครงการ 56 ริเริ่มและวางแผนการ ดําเนินงานตามกรอบ แนวทางที่กรมฯ และ

กองแผนงาน/ กองคลัง ผูตรวจราชการ กรม สพจ./สพอ.

ผูตรวจราชการ กรม กองแผนงาน กพร. สสช./สทอ./ สภว./ศสพ. ผูตรวจราชการ กรมฯ


ระยะเวลา

กิจกรรม

วิธีการ

- หนวยงานใหคําแนะนํา ปรึกษา สนับสนุนการดําเนินงาน ของเจาหนาที่ในการปฏิบัติใหสอดคลองตามแนวทางการ ดํา เนิ น งานที่กํ าหนด และสรา งสรรค ก ารดํา เนิน งานใน มุมมองใหมๆ เพื่อปรับปรุงและพัฒนางาน มค.-15 สค. ขับเคลื่อนการ - หนวยงานดําเนินกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงาน 56 ดําเนินงานตาม ตามคํารับรองการปฏิบัติร าชการภายในตามแนวทางและ คํารับรองการปฏิบัติ แผนปฏิ บั ติ ก ารที่ กํ า หนด ให แ ล ว เสร็ จ ภายในวั น ที่ 15 ราชการภายใน สิงหาคม 2556 5 เมย., รายงานผลการ - หนวยงานทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาครายงานผลการ 5 กค., ดําเนินงานตามหวง ดําเนินงานตามตัวชี้วัดคํารับรองการปฏิบัติราชการภายใน 15 สค.56 เวลา ดังนี้  ตัวชี้วัดคํารับรองการปฏิบัติราชการ ( PA) รายงาน ผานทางระบบการรายงานคํารับรองการปฏิบัติราชการที่ กพร.กําหนด  ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ หรือตัวชี้วัดผลผลิต ตามเอกสารงบประมาณ รายงานผานทางระบบ BPM และระบบรายงานคํารับ รองการปฏิบัติราชการที่ กพร. กําหนด  ตัวชี้วัดตามขอเสนอโครงการริเริ่มสรางสรรค รายงาน ตามแบบรายงาน SAR 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 ภายใน วันที่ 25 เมษายน 2556 ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 และครั้ง ที่ 3 ภายในวันที่ 15 สิง หาคม 2556 เพื่อเปน ข อ มู ล การตรวจประเมิ น หน ว ยงานดี เ ด น ของผู ต รวจ ราชการกรมและคณะกรรมการฯ ตรวจประเมินผล IPA - กองแผนงานและหน ว ยงานรั บ ผิ ด ชอบตั ว ชี้ วั ด จั ด ทํ า สรุ ป ผลการรายงาน SAR เพื่ อ เป น ข อ มู ล การติ ด ตาม ประเมินผลของผูตรวจราชการกรม 10 เมย., 15 รายงานผลการพัฒนา - หนวยงานรายงานผลการพัฒ นาและปรับ ปรุง งานตาม สค.2556 และปรับปรุงงานตาม ขอเสนอโครงการริเริ่มสรางสรรค จํานวน 2 ครั้ง ขอเสนอโครงการริเริ่ม ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 25 เมษายน 2556 สรางสรรค ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2556 25 ก.ค.56 พิจารณาคัดเลือก “โครงการริเริ่ม สรางสรรค ดีเดน” ประจําป พ.ศ.2556

- คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกคัดเลือกฯ ระดับจังหวัด ดําเนินการพิจารณาคัดเลือกใหแลวเสร็จและประกาศผล ภายในวันที่ 25 กรกฎาคม ๒๕๕๖

ผูรบั ผิดชอบ สพจ./สพอ.

สพจ./สพอ.

สพจ.

สพจ.

สพจ.


๑๐

ระยะเวลา

กิจกรรม

15-31 สค. พิจารณาคัดเลือก 56 “หนวยงานขับเคลื่อน ยุทธศาสตรดีเดน” ประจําป พ.ศ.2556

วิธีการ

- สวนภูมิภาค ผูตรวจราชการกรม ตรวจประเมินผลการ ดําเนิน งานตามคํา รับ รองการปฏิบัติร าชการภายในของ หน ว ยงาน และพิจ ารณาคั ดเลื อ กคั ด เลื อ ก “หน วยงาน ขั บ เคลื่ อ นยุ ท ธศาสตร ดี เ ด น ” ประจํ า ป พ.ศ. 2556 เขตตรวจราชการละ 1 หนวยงาน ใหแลวเสร็จภายในวันที่ 31 สิงหาคม ๒๕๕๖ และสงผลการพิจารณาคัดเลือกให กองแผนงาน ภายในวันที่ 10 กันยายน 2556 - ส ว นกลาง คณะกรรมการตรวจประเมิน ฯ ส ว นกลาง ดําเนินการตรวจประเมินผลการดําเนินงานตามคํารับรอง การปฏิบั ติร าชการภายในของหน วยงาน และพิจ ารณา คัดเลือก “หนวยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตรดีเดน” จํานวน ๒ หนวยงาน แยกเปนกลุมของหนวยงานหลัก 1 หนวยงาน และหนวยงานสนับสนุน 1 หนวยงาน 10-15 กย. ประกาศผลหนวยงาน - กรมฯ นํ า เสนอผลการพิ จ ารณาคั ด เลื อ กหน ว ยงาน 56 ขับเคลื่อนยุทธศาสตร ขับเคลื่อนยุทธศาสตรดีเดน ประจําป พ.ศ. 2556 ตอ อธิบดี ดีเดน ฯ เพื่ อ ทราบและประกาศผล “หน ว ยงานขั บ เคลื่ อ น ยุทธศาสตรดีเดน” ประจําป พ.ศ. 2556 15-20 กย. รับสมัครหนวยงาน - รับสมัคร หนวยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตรดีเดน เขารับ 56 ผลงานนวัตกรรมดีเดน การพิจารณาคัดเลือก “หนวยงานผลงานนวัตกรรมดีเดน” ประจําป พ.ศ.2556 20-30 กย. พิจารณาคัดเลือก -คณะกรรมการตรวจประเมิน ฯ ดํา เนิน การประเมิ นผล 56 หนวยงานผลงานเชิง หนวยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตรดีเดน ที่สมัครใจเขารับการ นวัตกรรมดีเดน พิจารณาคัดเลือก “หนวยงานผลงานเชิงนวัตกรรมดีเดน” ตามเกณฑการประเมิน - คณะกรรมการตรวจประเมิ น ฯ สรุ ป ผลการประเมิ น หนวยงานผลงานเชิงนวัตกรรมดีเดน สงใหกองแผนงาน 30 กย. 56 ประกาศผลหนวยงาน - กรมฯ ประกาศผล “หน ว ยงานผลงานเชิ ง นวั ต กรรม ผลงานเชิงนวัตกรรม ดีเดน” ประจําปพ.ศ. 2556 จํานวน 3 หนวยงาน ดีเดน ประจําป พ.ศ. - “หนวยงานผลงานเชิ ง นวัตกรรมดี เ ดน” ประจําปพ .ศ. 2556 2556 รับรางวัลจูงใจ (โลรางวัล) 30 กย. 56 สรุปผลการดําเนินงาน - กรมฯ จัดใหมีการสรุปบทเรียน องคความรู “หนวยงาน นําเสนอผูบริหาร ขับเคลื่อนยุทธศาสตรดีเดน” และ “หนวยงานผลงานเชิง นวัตกรรมดีเ ดน ” เพื่อเผยแพร ประชาสัม พันธและเป น แบบอยาง ตค.-ธค. 56 จัดสรรรางวัลจูงใจ - กรมฯ จั ด สรรรางวั ล จู ง ใจให กั บ หน ว ยงานขั บ เคลื่ อ น ยุทธศาสตรดีเดน 20 หนวยงาน (สวนภูมิภาค 18 หนวย งาน และสวนกลาง 2 หนวยงาน) และ “หนวยงานผลงานเชิง นวัตกรรมดีเดน” จํานวน 3 รางวัล

ผูรบั ผิดชอบ ผูตรวจราชการ กรม

กองแผนงาน

กองแผนงาน -คณะกรรมการ ตรวจประเมินฯ /กองแผนงาน

กองแผนงาน

หนวยงานดีเดน กองแผนงาน กองแผนงาน


๑๑

ระยะเวลา

กิจกรรม

วิธีการ

ผูรบั ผิดชอบ

- กรมฯ วิ เ คราะห บ ทเรี ย น องค ค วามรู และจั ด ทํ า สื่ อ เผยแพรบ ทเรียน องคความรู การขับ เคลื่อนยุทธศาสตร กรมการพัฒนาชุมขนเชิงคุณภาพ

ระบบการติดตาม รายงานและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ภายใน สวนภูมิภาค 1) ติดตามผลการปฏิบัติงาน โดยผูตรวจราชการกรม ในพื้นที่ความรับผิดชอบ 2) ติดตามผลการปฏิบัติงาน โดยเอกสารแบบรายงาน SAR ตามระยะเวลาที่กําหนด จํานวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 25 เมษายน 2556 ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 และครั้งที่ 3 ภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2556 3) ติด ตามผลการดํา เนิน งานทางระบบอิน เตอรเ น็ต แบบ Online Real Time ทางเว็บไซตกรมการพัฒนาชุมชน www.cdd.go.th

ระบบการรายงานผล กรมฯ กําหนดรูปแบบการรายงานของหนวยปฏิบัติ ไว 3 ชองทาง ดังนี้ 1) รายงานผลการปฏิบัติงาน โดยเอกสารแบบรายงาน SAR ตามระยะเวลาที่กําหนด จํานวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 25 เมษายน 2556 ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 ครั้งที่ 3 ภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2556 2) รายงานผลการดํ าเนิน งานทางระบบอินเตอรเ น็ต แบบ Online Real Time ทางเว็บไซตกรมการพัฒนาชุมชน www.cdd.go.th 3) รายงานผลการปรับปรุง พัฒนางานตามขอเสนอโครงการริเริ่มสรางสรรค จํานวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 25 เมษายน 2556 ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2556

ระบบการประเมินผล ในสวนภูมิภาคกรมฯ ไดกําหนดวิธีการประเมินผลระหวางดําเนินการและเมื่อเสร็จสิ้นการ ดําเนินงานตามเวลาที่กําหนด ดังนี้ 1) ประเมินผลจากการรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) 3 ครั้ง 2) ตรวจติดตาม โดยผูตรวจราชการกรม ระหวางดําเนินการทุกเดือน และประเมินผล ทุกไตรมาส และเมื่อสิ้นสุดการดําเนินงาน

ระยะเวลาสิ้นสุดการดําเนินงาน


๑๒

1) ระยะเวลาสิ้นสุดการดําเนินงานตามโครงการภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2556 2) การประเมินผล “หนวยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตรดีเดน” ระหวางวันที่ 15-31 สิงหาคม 2556 3) รับสมัครหนวยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตรดีเดน เขาการพิจารณาคัดเลือก “หนวยงานผลงานนวัตกรรม ดีเดน” ระหวางวันที่ 15-20 กันยายน 2556 4) การประเมินผล “หนวยงานผลงานนวัตกรรมดีเดน” ระหวางวันที่ 20-30 กันยายน 2556

การจัดสรรรางวัลจูงใจ กรมการพัฒ นาชุม ชน ประกาศจัดสรรรางวัล จูงใจในการปฏิบัติงานตามคํารับรองการปฏิบัติร าชการ ภายในแกหนวยงานที่มีคะแนนผลการประเมินตามเกณฑในระดับสูงสุดในแตละประเภท ดังนี้ 1. หนวยงานขับเคลื่อนยุทธศาสตรดีเดน ประจําป พ.ศ.2556 รางวัลละ 100,000 บาทพรอมโล ประกาศเกียรติคุณ แยกเปน 1) ส ว นภู มิ ภ าค (สํ า นัก งานพั ฒ นาชุ ม ชนจั ง หวัด ) เขตตรวจราชการ ๆละ 1 รางวั ล รวม 18 รางวัล รวมเปนเงินรางวัลทั้งสิ้น 1,800,000 บาท 2) ส วนกลาง แยกเป น หน วยงานหลัก 1 รางวัล และหน วยงานสนับ สนุ น 1 รางวั ล รวม 2 รางวัล รวมเปนเงินรางวัลทั้งสิ้น 200,000 บาท 2. หนวยงานผลงานเชิงนวัตกรรมดีเดน รางวัลละ 200,000 บาท พรอมโลประกาศเกียรติคุณ จํานวน รวม 3 รางวัล

สวนที่ 2


๑๓

กรอบและแนวทางการประเมินผล 1. กรอบการประเมินผล IPA ประจําป พ.ศ.2556 กรอบการประเมินผลคํารับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหนวยงานสูระดับบุคคล (IPA) สวนกลางและสวนภูมิภาค ประเด็นการประเมิน สวนที่ 1 ผลสําเร็จของ

การบรรลุเปาหมายตาม คํารับรองการปฏิบัติ ราชการ (PA) แผนปฏิบัตริ าชการกรมฯ แผนการปฏิบัติงานและ แผนการใชจาย งบประมาณ กรมฯ ประจําป ๒๕๕๖ และ นโยบายสําคัญของ รัฐบาลทีร่ ับผิดชอบ

สวนที่ ๒ ผลสําเร็จตาม

ขอเสนอโครงการริเริ่ม สรางสรรคเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร กรมการพัฒนาชุมชน ตามเกณฑทกี่ ําหนด

ตัวชี้วัด ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.1 ระดั บ ความสํ า เร็ จ ของร อ ยละเฉลี่ ย ถ วงน้ํ า หนั ก ในการบรรลุ เป า หมายการดํ า เนิ น งานตามคํ า รั บ รองการปฏิ บั ติ ร าชการกรมฯ ประจํ า ป งบประมาณ พ.ศ. 2556 (PA) ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.2 ระดั บ ความสํ า เร็ จ ของร อ ยละเฉลี่ ย ถ วงน้ํ า หนั ก ในการบรรลุ เปาหมายการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการกรมฯ และแผนปฏิบัติงานและ แผนการใชจายงบประมาณ ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ตั วชี้ วัด ที่ 1.3 ร อยละสะสมของการเบิ กจ ายงบประมาณตามแผนการใช จา ย งบประมาณของกรมฯ ป 2556 ตั วชี้ วัด ที่ 1.4 ระดั บ ความสํ า เร็ จของการบรรลุ เ ป าหมายการดํ าเนิ นงานตาม นโยบายสําคัญของรัฐบาล/กระทรวงที่กรมฯ มอบหมาย 1.4.1 ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 1.4.2 ระดับความสําเร็จของการดําเนินงานกองทุนแมของแผนดิน ตัวชี้ วัดที่ 1.5 ระดั บความสําเร็จของการบริ ห ารยุท ธศาสตรของหน วยงานตาม แนวทางที่กําหนด ตัวชี้วัดที่ 1.6 รอยละความพึงพอใจของผูรับบริการ ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสําเร็จในการเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนยุทธศาสตร กรมการพัฒนาชุมชนตามขอเสนอโครงการริเริ่มสรางสรรค ตามเกณฑที่กําหนด

น้ําหนัก (รอยละ)

50 10 5 5 10 (5) (5) 10 10 50

ระดั บ 1 ผลสํ าเร็ จตามกระบวนการ หรือขั้ นตอนการดําเนิ นงานและตั วชี้ วัด ขอเสนอโครงการริเริ่มของหนวยงานที่กําหนด ระดั บ 2 เกิ ด การพั ฒ นา แนวคิ ด รู ป แบบการดํ าเนินงานและบรรลุ เ ป าหมาย ผลผลิตตามที่กําหนด (เกิดนวัตกรรมอะไร) ระดับ 3 เกิ ดผลลั พ ธการดําเนิ นงานที่ สง ผลตอการประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผ ล และคุณภาพของงาน ระดับ 4 มีการนําผลการดําเนินงานไปทดลองใช ปฏิบัติจริง ระดับ 5 มี การเผยแพร ประชาสั ม พันธ ผลงาน องคค วามรู และเป นแบบอย าง (Best Practice) กับองคกร หรือพื้นที่อื่น รวม 100 หมายเหตุ : 1. ตัวชี้วัดที่ 1.4 วัดความสําเร็จการดําเนินงานเฉพาะหนวยงานสวนภูมิภาค (สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด) 2. กรณีหนวยงานสวนกลาง จะนําคาน้ําหนักตัวชี้วัดที่ 1.4 ไปรวมไวกับตัวชี้วัดที่ 1.2 และ 1.3 เปนรอยละ 10


1 4

รายละเอียดตัวชี้วัดและคาเปาหมายการประเมินผลการปฏิบตั ิราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการภายในระดับหนวยงาน (IPA) จังหวัดชุมพร เปาหมายผลสําเร็จของงาน

ตัวชี้วัดผลสําเร็จของงาน (KPIs)

สวนที่ 1 ผลสําเร็จของการ บรรลุเปาหมายตามคํา รับรองการปฏิบัติราชการ (PA) แผนปฏิบัติราชการ กรมฯ แผนการปฏิบัติงาน และแผนการใชจาย งบประมาณ กรมฯ ประจําป 2556 และ นโยบายสําคัญของรัฐบาล ที่รับผิดชอบ

ตัวชี้วัดที่ 1.1 ระดับ ความสําเร็จของรอ ยละ เฉลี่ยถวงน้ําหนัก ในการบรรลุเปาหมายการ ดําเนินงานตามคํารับ รองการปฏิบัติราชการ กรมฯ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 (PA) ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 1.1.4 รอ ยละที่เ พิ่ม ขึ้นของรายได จากการจําหนายผลิตภัณฑชุมชนเฉลี่ย 3 ป ยอนหลัง ตัวชี้วัดที่ 1.1.6 รายไดครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 รอยละของหมูบานเศรษฐกิจ พอเพียงตนแบบมีความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดที่ 1.2.2 รอยละที่ลดลงของครัวเรือน ยากจนเปาหมายที่มีรายไดต่ํากวาเกณฑ จปฐ. ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 รอ ยละของผลิตภัณฑชุมชน เปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและ พัฒนาผลิตภัณฑจาก KBO จังหวัด ตัวชี้วัดที่ 1.2.4 การปองกันและแกไขปญญา ยาเสพติด (Joint KPI) ตัวชี้วัดที่ 1.2 ระดับความสําเร็จของรอยละ

เกณฑการวัด ระดับ 1บรรลุตัวชี้วัดต่ํากวารอยละ 70 ระดับ 2 บรรลุตัวชี้วัดรอยละ 70-79 ระดับ 3 บรรลุตัวชี้วัดรอยละ 80-89 ระดับ 4 บรรลุตัวชี้วัดรอยละ 90-99 ระดับ 5 บรรลุตัวชี้วัดรอยละ 100

ระดับ 1บรรลุตัวชี้วัดต่ํากวารอยละ 70

น้ําหนัก รอยละ 10

5

แหลงขอมูล 1. รายงานการ ประเมินผลตนเอง (SAR) 2.ระบบรายงาน ผลการปฏิบัติ ราชการตามคํา รับรองการปฏิบัติ ราชการ

1. รายงานการ


15

เปาหมายผลสําเร็จของงาน

ตัวชี้วัดผลสําเร็จของงาน (KPIs) เฉลี่ยถวงน้ําหนักในการบรรลุเปาหมายการ ดํา เนินงานตามแผนปฏิบั ติ ราชการกรมฯ และแผนปฏิ บั ติ ง านและแผนการใช จ า ย งบประมาณ ป ง บประมาณ พ.ศ. 2556 ดังนี้ ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการกรมฯ จังหวัดชุมพรเลือกทําจํานวน 5 ตัวชี้วัด ไดแก ตัว ชี้ วั ด ที่ 1ร อ ยละของชุม ชนที่ มี ครั ว เรื อ น ยากจนมีก ารจัดสวัส ดิก ารเพื่อเพื่อ ดูแลชีวิต ครัวเรือนยากจน ตั ว ชี้ วั ด ที่ 2 ร อ ยละของจํ า นวนผู นํ า อช. ที่ส ามารถบริหารจัดการชุมชนตามเกณฑที่ กําหนด ตัวชี้วัดที่ 3 รอยละของหมูบานที่มีและใชแผน ชุม ชนในการบริห ารจัดการชุม ชนไดอ ยางมี ประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ 4 จํานวนรอยละสะสมชุมชนที่มีการ อนุรักษและสืบสานภูมิปญญาทองถิ่น ตัวชี้วัดที่ 5 รอยละสะสมของกลุมออมทรัพย เพื่อการผลิตที่มีการจัดสวัสดิการชุมชน ตัว ชี้ วั ดตามเอกสารงบประมาณรายจ า ย

เกณฑการวัด ระดับ 2 บรรลุตัวชี้วัดรอยละ 70-79 ระดับ 3 บรรลุตัวชี้วัดรอยละ 80-89 ระดับ 4 บรรลุตัวชี้วัดรอยละ 90-99 ระดับ 5 บรรลุตัวชี้วดั รอยละ 100

น้ําหนัก รอยละ

แหลงขอมูล ประเมินผลตนเอง (SAR) 2.รายงานผลผลิต ตามเอกสาร งบประมาณ รายจาย 3.ระบบรายงาน BPM


16

เปาหมายผลสําเร็จของงาน

ตัวชี้วัดผลสําเร็จของงาน (KPIs)

เกณฑการวัด

น้ําหนัก รอยละ

แหลงขอมูล

ประจําป พ.ศ.2556 จํานวน 6 ตัวชี้วัด ดังนี้ ตัว ชี้ วั ด ที่ 1 จํา นวนแผนชุ ม ชนที่ ไ ด รั บ การ บรรจุในแผนพัฒนาระดับทองถิ่น ตัวชี้วัดที่ 2 จํานวนครัวเรือนที่ตกเกณฑ จปฐ. ไดรับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตั ว ชี้ วั ด ที่ 3 จํ า นวนชุ ม ชนที่ มี ก ารพั ฒ นา ศั ก ยภาพชุ ม ชนภายใต แ นวคิ ด เศรษฐกิ จ พอเพียง ตัวชี้วัดที่ 4 จํานวนกลุม ออมทรัพ ยเ พื่อ การ ผลิ ต ได รั บ การพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพในการ บริหารจัดการทุนชุมชน ตัวชี้วัดที่ 5 จํานวนกลุมผูผ ลิตชุม ชนที่ไดรับ การพัฒนาการบริหารจัดการผลิตภัณฑชุมชน ตัวชี้วัดที่ 6 จํานวนครั้งการสงเสริม ชองทาง การตลาด

ตัว ชี้วั ด ที่ 1.3 ร อ ยละความสํา เร็ จ ของการ ระดับ 1 เบิกจายงบประมาณไดตามแผนปฏิบัตริ าชการและ

5

1. รายงานการ


17

เปาหมายผลสําเร็จของงาน

ตัวชี้วัดผลสําเร็จของงาน (KPIs)

เกณฑการวัด

น้ําหนัก รอยละ

เบิก จายงบประมาณที่ไดรับการจัดสรรจาก แผนการใชจายงบประมาณของกรมฯ รอยละ 80 กรมการพัฒนาชุมชน ระดับ 2 เบิกจายงบประมาณไดตามแผนปฏิบัตริ าชการและ แผนการใชจายงบประมาณของกรมฯ รอยละ 85 ระดับ 3 เบิกจายงบประมาณไดตามแผนปฏิบัตริ าชการและ แผนการใชจายงบประมาณของกรมฯ รอยละ 90 ระดับ 4 เบิกจายงบประมาณไดตามแผนปฏิบัตริ าชการและ แผนการใชจายงบประมาณของกรมฯ รอยละ 95 ระดับ 5 เบิกจายงบประมาณไดตามแผนปฏิบัตริ าชการและ แผนการใชจายงบประมาณของกรมฯ มากกวารอยละ 95 ตัวชี้ วัด ที่ 1.4 ระดับ ความสํ าเร็ จ การบรรลุ เปาหมายการดําเนินงานตามนโยบายสําคัญ ของรัฐบาล/กระทรวงที่กรมฯ มอบหมาย ตัวชี้วัดที่ 1.4.1 ระดับ ความสําเร็จของการ ระดับ 1 ดําเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี - มีการประชาสัมพันธรบั สมัครสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และมีสตรีสมัครเปนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ไดไมนอย กวารอยละ 30 ของจํานวนสตรีทมี่ ีคุณสมบัติ ระดับ 2 สนับสนุนใหคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัด (คกส.จ.) จัดทําแผนบริหารจัดการกองทุนพัฒนาบทบาท สตรีจังหวัด และแผนการใชจายงบบริหารของกองทุนฯใน ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ระดับ 3 สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเสนอโครงการ และ

แหลงขอมูล ประเมินผลตนเอง (SAR) 2.รายงานระบบ GFMIS

10 (5)

รายงานการ ประเมินผลตนเอง (SAR)


18

เปาหมายผลสําเร็จของงาน

ตัวชี้วัดผลสําเร็จของงาน (KPIs)

เกณฑการวัด

น้ําหนัก รอยละ

แหลงขอมูล

(5)

1.รายงานการ ประเมินผลตนเอง (SAR) 2.ระบบการ รายงานผลการ ตรวจสุขภาพ กองทุนแมฯ 3.ระบบรายงาน BPM

ไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัด (คกส.จ.) ไมนอยกวารอยละ 30 ของวงเงินที่ไดรบั การจัดสรร ระดับ 4 สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเสนอโครงการ และ ไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัด (คกส.จ.) ไมนอยกวารอยละ 40 ของวงเงินที่ไดรบั การ จัดสรร ระดับ 5 สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเสนอโครงการ และ ไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัด (คกส.จ.) ไมนอยกวารอยละ 50 ของวงเงินที่ไดรบั การ จัดสรร ตัวชี้วัดที่ 1.4.2 ระดับความสําเร็จในการ ดําเนินงานกองทุนแมของแผนดิน

ระดับ 1 -มีการจัดทําฐานขอมูลกองทุนแมของแผนดิน -มี ก ารตรวจสุ ข ภาพกองทุ น แม ข องแผ น ดิ น ทุ ก กองทุ น ตาม แนวทางที่ กรมฯ กําหนด ระดั บ 2 ดํา เนิ น การในระดั บ 1 และมี ก ารดํ าเนิ น กิ จ กรรม ครบถวนตามแนวทางการดําเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบัติงาน และ แผนการใชจายงบประมาณ ป 2556 ระดับ 3 ดํ าเนิ นการในระดั บ 2 และมีก ารรายงานผลการ ดําเนินงาน ตามหวงเวลาที่กรมฯ กําหนด ระดับ 4 ดําเนินการในระดับ 3 และมีการสรุป บทเรียน องค

4.เอกสารจัดการ


19

เปาหมายผลสําเร็จของงาน

ตัวชี้วัดผลสําเร็จของงาน (KPIs)

เกณฑการวัด

น้ําหนัก รอยละ

ความรูหมูบานกองทุนแม และศูนยเรียนรูกองทุนแมของแผนดิน สงใหกรมฯ ตามที่กําหนด ระดับ 5 ดําเนินการในระดับ 4 และมีก ารขยายผลองคความรู กองทุนแมฯ และกองทุนแมฯ เปนแกนนําในการดําเนินกิจกรรม ปองกันและแกไขปญหายาเสพติดภายในหมูบาน /ตําบล อยาง นอย 2 กิจกรรม ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.5 ระดั บ ความสํ า เร็ จ ของการ ระดับ 1 มีการวิเคราะหบทเรียน ผลการดําเนินงาน ทีผ่ านมา บริหารยุทธศาสตรกรมฯ ของหนวยงานตาม และนําขอมูลที่ไดไปกําหนดกลยุทธ เปาหมาย และแนวทางการ แนวทางที่กําหนด ดําเนินงานในป 2556 โดยผูบริหารและบุคลากรในหนวยงานมี สวนรวมในกระบวนการกําหนดกลยุทธ แนวทาง เปาหมายของ โครงการและวางแผนปฏิบัตกิ าร นอยกวารอยละ 70 ระดับ 2 มีการวิเคราะหบทเรียน ผลการดําเนินงาน ทีผ่ านมา และนําขอมูลที่ไดไปกําหนดกลยุทธ เปาหมาย และแนวทางการ ดําเนินงานในป 2556 โดยผูบริหารและบุคลากรของหนวยงาน มีสวนรวมในกระบวนการทบทวนบทเรียน ผลการดําเนินงานที่ ผานมา รวมถึงการกลยุทธ เปาหมาย แนวทางและแผนปฏิบตั ิ การแปลงยุทธศาสตรไปสูการปฏิบัติทกุ ขั้นตอนมากกวาหรือ เทากับรอยละ 70 ระดับ 3 มีการถายทอดตัวชี้วัด คาเปาหมาย ใหกบั บุคลากรใน หนวยงานอยางชัดเจน และทั่วถึง ระดับ 4

แหลงขอมูล ความรูกองทุนแม ของแผนดิน

10

-รายงานการ ประเมินผลตนเอง (SAR) -เอกสารสรุปผล บทเรียนการ ดําเนินงาน IPA ของหนวยงาน


20

เปาหมายผลสําเร็จของงาน

ตัวชี้วัดผลสําเร็จของงาน (KPIs)

เกณฑการวัด

- มีทะเบียนขอมูลกลุมเปาหมายในการดําเนินกิจกรรมตามแนว ทางการดําเนินกิจกรรมตามยุทธศาสตรกรมฯ ทุกกิจกรรม - มีการดําเนินกิจกรรมตามแนวทางที่กรมฯ กําหนดครบถวน โดยแสดงใหเห็นขอมูลที่เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรม ไดแก สรุป ประเมินผลกิจกรรม ภาพถายกิจกรรม ฯลฯ ระดับ 5 - มีการสรุป รายงานผลการดําเนินงาน เสนอตอผูบริหารตอเนื่อง - มีการสรุปบทเรียน องคความรูการดําเนินงานตามคํารับรอง การปฏิบัตริ าชการภายใน ระหวางดําเนินการและเมื่อเสร็จสิน้ การดําเนินงาน - มีการจัดสรรสิ่งจูงใจ ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.6 ร อ ยละความพึ ง พอใจของ ระดับ 1 ความพึงพอใจของผูร ับบริการนอยกวา รอยละ 70 ผูรับบริการ ระดับ 2 ความพึงพอใจของผูร ับบริการ รอยละ 70-74.99 ระดับ 3 ความพึงพอใจของผูร ับบริการ รอยละ 75-79.99 ระดับ 4 ความพึงพอใจของผูร ับบริการ รอยละ 80-84.99 ระดับ 5 ความพึงพอใจของผูร ับบริการ รอยละ 85 ขึ้นไป

น้ําหนัก รอยละ

10

แหลงขอมูล

รายงานการ ประเมินความพึง พอใจของ ผูรบั บริการ


21

เปาหมายผลสําเร็จของงาน สวนที่ ๒ ผลสําเร็จตาม ขอเสนอโครงการริเริ่ม สรางสรรคเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการขับเคลื่อน ยุทธศาสตรกรมการพัฒนา ชุมชนตามเกณฑที่กําหนด

ตัวชี้วัดผลสําเร็จของงาน (KPIs) ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสําเร็จในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการขับเคลื่อนยุทธศาสตร กรมการพัฒนาชุมชนตามขอเสนอโครงการ ริเริ่มสรางสรรค ตามเกณฑที่กําหนด -จังหวัดชุมพร : ชื่อโครงการ OTOP ชุมพร สูสากลดวย การตลาดอิเล็กทรอนิกส (Electronic Marketing : E-Marketing) จํานวน 4 ตัวชี้วัด ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ ๑ มีการประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (EMarketing) ตัวชีว้ ัดที่ ๒ มีการสั่งซื้อสินคา OTOP จาก การตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) ตัวชี้วัดที่ ๓ กลุมผูผลิต ผูประกอบการ OTOP มีรายไดจากการจําหนาย สินคา OTOP ตัวชี้วัดที่ ๔ พัฒนากร มีผลิตภัณฑชุมชน จําหนายในตลาดอิเล็กทรอนิกส (EMarketing)

เกณฑการวัด ระดับ 1 ผลสําเร็จตามกระบวนการ หรือขั้นตอนการดําเนินงาน และตัวชี้วัดขอเสนอโครงการริเริ่มของหนวยงานที่กําหนด ระดับ 2 เกิดการพัฒ นา แนวคิด รูป แบบการดําเนินงานและ บรรลุเปาหมายผลผลิตตามที่กําหนด (เกิดนวัตกรรมอะไร) ระดับ 3 เกิดผลลัพธการดําเนินงานที่สงผลตอการประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพของงาน ระดับ 4 มีการนําผลการดําเนินงานไปทดลองใช ปฏิบัติจริง ระดับ 5 มีการเผยแพร ประชาสัมพันธผลงาน องคความรูและ เปนแบบอยาง (Best Practice) กับองคกร หรือพื้นที่อื่น

น้ําหนัก รอยละ 50

แหลงขอมูล -รายงานการ ประเมินผลตนเอง (SAR) - สรุปรายงานผล การดําเนินงานตอ ผูบริหาร


21

สวนที่ 3 รายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) เปาหมาย และแนวทางการดําเนินงาน ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 1 . 1 : ร ะ ด บั ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ข อ ง ร อ ย ล ะ เ ฉ ล ี่ย ถ ว ง น ้ํา ห น ัก ใ น ก า ร บ ร ร ล ุเ ป า ห ม า ย ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ป ร ะ จ ํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 5 6 ( P A ) ห น ว ย ว ัด :

ร ะ ด ับ

น ้ํา ห น ัก :

ร อ ย ล ะ 1 0

ค ํา อ ธ ิบ า ย :

 ร ะ ด ับ ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ข อ ง ร อ ย ล ะ เ ฉ ล ี่ย ถ ว ง น ้ํา ห น กั ใ น ก า ร บ ร ร ล ุเ ป า ห ม า ย ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ค ํา ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ บิ ัต ิร า ช ก า ร ก ร ม ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ป ร ะ จ ํา ป ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 5 6 ( P A ) ห ม า ย ถ ึง ค ว า ม ส ํา เ ร จ็ อ ง ก า ร บ ร ร ล เุ ป า ห ม า ย ต า ม ค ํา ร บั ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ริ า ช ก า ร ข อ ง ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ น โ ย บ า ย ส ํา ค ญั ข อ ง ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย แ ล ะ ก ร ม ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ป ร ะ จ าํ ป ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 5 6 ท กี่ ร ม ก า ร พ ฒั น า ช มุ ช น ม อ บ ห ม า ย ใ ห  ํา น ัก ง า น พ ฒั น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด ช ุม พ ร ร ับ ผ ิด ช อ บ  พ ิจ า ร ณ า จ า ก ร ะ ด ับ ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ข อ ง ก า ร บ ร ร ล ุเ ป า ห ม า ย ต ัว ช ี้ว ัด แ ต  ล ะ ต ัว ช ี้ว ัด ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง า ร ป ฏ ิ บ ัต ิ ร า ช ก า ร ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ต า ม ร ะ บ บ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ฏ ิ บ ัต ิ ร า ช ก า ร ต า ม ค ํ า ร ั บ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ั ต ิ า ช ก า ร ข อ ง ก ล ุม พ ัฒ น า ร ะ บ บ บ ร ิห า ร ด ัง น ี้ 1 . น โ ย บ า ย ส ํา ค ัญ เ ร ง ด ว น ข อ ง ร ัฐ บ า ล แ ล ะ ภ า ร ก ิจ ห ล ัก 1 . 1 ร อ ย ล ะ เ ฉ ล ี่ย ถ ว ง น ้ํา ห น ัก ใ น ก า ร บ ร ร ล ุต อ น โ ย บ า ย ส ํา ค ัญ เ ร ง ด ว น ข อ ง ร ัฐ บ า ล แ ล ะ ภ า ร ก ิจ ล ัก ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง 1 . 1 . 4 ร อ ย ล ะ ท ี่เ พ ิ่ม ข ึ้น ข อ ง ร า ย ไ ด จ า ก ก า ร จ ํา ห น า ย ผ ล ิต ภ ัณ ฑ ช ุม ช น เ ฉ ล ี่ย 3 ป ย อ น ห ล ัง 1 . 1 . 6 ร า ย ไ ด ค ร ัว เ ร ือ น ( ท ั้ง ป ร ะ เ ท ศ ) เ พ ิ่ม ข ึ้น 1 . 2 ร อ ย ล ะ เ ฉ ล ี่ย ถ ว ง น ้ํา ห น ัก ข อ ง ต ัว ช ี้ว ัด ต า ม ภ า ร ก ิจ ข อ ง ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ัว ช ี้ว ัด ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย ท ี่ม ีเ ป า ห ม า ย ร ว ม ก ัน 1 . 2 . 1 ร อ ย ล ะ ข อ ง ห ม ูบ า น เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง ต น แ บ บ ม ีค ว า ม ส ุข ม ว ล ร ว ม เ พ ิ่ม ข ึ้น 1 . 2 . 2 ร อ ย ล ะ ท ี่ล ด ล ง ข อ ง ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น เ ป า ห ม า ย ท ี่ม ีร า ย ไ ด ต ่ํา ก ว า เ ก ณ ฑ  จ ป ฐ . 1 . 2 . 3 ร อ ย ล ะ ข อ ง ผ ล ิต ภ ัณ ฑ ช ุม ช น เ ป า ห ม า ย ผ า น ก า ร ร ับ ร อ ง ผ ล ก า ร ป ร ับ ป ร งุ แ ล ะ พ ัฒ น า ล ิต ภ ัณ ฑ จ า ก K B O จ ัง ห ว ัด 1 . 2 . 4 ก า ร ป อ ง ก ัน แ ล ะ แ ก ไ ข ป ญ ห า ย า เ ส พ ต ิด


2 2 เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น : ร ะ ด ับ ค ะ แ น น 1 2 3 4 5 โ ด ย ท ี่ : ร ะ ด ับ ค ะ แ น น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕

ร ะ ด ับ ข ั้น ข อ ง ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ( M i l e s t o n e ) ข ้นั ต อ น ท ี่ 2 ข ั้น ต อ น ท ่ี 3 ข ั้น ต อ น ท ี่ 4

ข ั้น ต อ น ท ี่ 1     

บ รร บ รร บ รร บ รร บ รร

ล ุต วั ล ุต ัว ล ุต ัว ล ุต ัว ล ุต ัว

ก า ร ค ํา น ว ณ ค า ค ะ แ น น : ต ัว ช ี้ว ัด ท ่ี ( i ) 1 . 1 . 4 ร อ ย ล ะ ท ี่เ พ ิ่ม ข ึ้น ข อ ง ร า ย ไ ด จ า ก ก า ร จ ํา ห น า ย ผ ล ิต ภ ัณ ฑ ช ุม ช น เ ฉ ล ี่ย 3 ป  ย อ น ห ล ัง 1 . 1 . 6 ร า ย ไ ด ค ร ัว เ ร อื น ( ท ั้ง ป ร ะ เ ท ศ ) เ พ ิ่ม ข ึ้น ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 รอยละของ หมูบานเศรษฐกิจ พอเพีย ง ตนแบบมีความสุขมวลรวม เพิ่มขึ้น ตั ว ชี้ วั ด ที่ 1.2.2 ร อ ยละที่ ลดลงของครัวเรือนยากจน เปาหมายที่มีรายไดต่ํากวา เกณฑ จปฐ.

   

ช ี้ว ดั ช ี้ว ัด ช ี้ว ัด ช ี้ว ัด ช ี้ว ัด

ต ํา่ ร อ ร อ ร อ ร อ

กว ยล ยล ยล ยล

า ร ะ ะ ะ ะ

อ ย ล ะ ๗ ๐ -๗ ๘ ๐ -๘ ๙ ๐ -๙ ๑ ๐ ๐

ค า เ ฉ ล ี่ย ถ ว ง น ้ํา ห น ัก ( W ) 0 .1 8

  

เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น

๗ ๐ ๙

 

ข ั้น ต อ น ท ี่ 5

๙ ๙

เ ก ณ ฑ ก า ร ป ร ะ เ ม นิ ( S M ) ๒ ๓ ๔ ๕

ค ะ แ น น ท ี่ไ ด  ( S M i ) (W i x S M ๑ )

0 .1 6

(W i x S M ๒ )

0 .1 7

(W i x S M ๓ )

0 .1 7

(W i x S M ๔ )


ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 รอยละของ ผลิตภั ณฑชุม ชนเป าหมาย ผ า น กา รรั บ รอ งผล กา ร ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ พั ฒ น า ผลิตภัณฑจาก KBO จังหวัด ตัวชี้วัดที่ 1.2.4 การปองกัน และแกไขปญ หายาเสพติด (Joint KPI) รวม ค ิด เ ป น ร อ ย ล ะ

0 .1 6

(W i x S M ๕ )

0 .1 6 1

Σ( W i x S M i ) x 1 ๐ ๐ ๕

Σ( W i x S M i )

ห ม า ย ถ ึง ค า เ ฉ ล ี่ย น ้ํา ห น ัก ค ว า ม ส ํา ค ญั ท ี่ใ ห ก ับ แ ต ล ะ ต ัว ช ี้ว ัด M ห ม า ย ถ ึง ค ะ แ น น ท ี่ไ ด จ า ก ก า ร เ ท ีย บ เ ป า ห ม า ย ต ัว ช ี้ว ัด ( ค ะ แ น น ๑ ถ ึง ๕ ) ห ม า ย ถ ึง ล ํา ด ับ ท ี่ข อ ง ต ัว ช ี้ว ัด ห ล ง ข อ ม ูล 1 . แ บ บ ร า ย ง า น ข อ ม ูล 2 . ส ํา น ัก ง า น พ ฒั น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด / อ ํา เ ภ อ ิธ ีก า ร จ ัด เ ก ็บ 1 . ส ํา น ัก ง า น พ ฒั น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด / อ ํา เ ภ อ จ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล ต า ม แ บ บ / ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ท รี่ ับ ผ ิด ช อ บ ร า ย ง า น ูบ ัง ค บั บ ญั ช า 2 . ส ํา น ัก ง า น พ ฒั น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด ร า ย ง า น ผ ล ต า ม แ บ บ ท กี่ ร ม ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ก ํา ห น ด ด ัง น ี้ 2 . 1 ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ผ ล ใ ห ย ึด ห ล กั ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ต น เ อ ง ข อ ง ห น ว ย ง า น แ ล ะ ใ ช ก ล ไ ก ส า ย บ งั ค ับ บ ญั ช า ี่ม ีอ ย ูใ น ก า ร ก ํา ก ับ ด ูแ ล แ ล ะ ต ิด ต า ม ป ร ะ เ ม ิน ผ ล ภ า ย ใ น แ ล ะ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม แ บ บ ร า ย ง า น ก า ร ร ะ เ ม ิน ต น เ อ ง ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ บิ ัต ิร า ช ก า ร ภ า ย ใ น ( S A R ) จ ํา น ว น 3 ค ร ั้ง ด ัง น ี้ ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 25 เมษายน 2556 ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 ครั้งที่ 3 ภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2556 2 . 2 ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ท ัน ท ีท ี่ด ํา เ น ิน ก า ร ก จิ ก ร ร ม ต า ม แ ผ น เ ส ร ็จ เ ร ีย บ ร อ ย า ง ร ะ บ บ O n l in e r e a l t im e

i

S

W

โ ด ย ท ี่

ผ ูก ํา ก ับ ด ูแ ล ต ัว ช ี้ว ัด

: 1 . น า ย เ ส ร ิม ศ ัก ด ิ์ แ น ม ใ ส พ ัฒ น า ก า ร จ งั ห ว ัด ช ุม พ ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐ 2 . น า ง ส า ว ว า ส น า บ ุญ ร อ ด ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น ย ุท ธ ศ า ส ต ร ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐ 3 . น า ย ต ร อ น น ิล ย ก า น น ท  ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น ส ง เ ส ร มิ ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๐ ๖ ๒ ๔ ๐ 4 . น า ง ม า ล ิน ี จ ัน ท ร จ ุต ิ หัวหนากลุมงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๐ ๗ ๔ ๘ ๙


ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล

1 . น า ย ว ิจ ิต ร ท อ ง ป ร ะ ด ู น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๐ ๖ ๒ ๔ ๐

2 . น า ย ส รุ พ ง ษ  เ ข ยี ว ผ ้งึ น ัก ว ิช า ก า ร พ ฒั น า ช มุ ช น ช าํ น า ญ ก า ร 3 . น า ง ส า ว ว ภิ า ว ี ล ยุ จ นั ท ร  น กั ว ชิ า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๐ ๗ ๔ ๘ ๙

4 . น า ง ช ฏ า ม า ศ ผ ิว ผ อ ง น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๐ ๗ ๔ ๘ ๙

5 . น า ง ส ุน ัน ท า ด ว ง แ ด ง น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๐ ๖ ๒ ๔ ๐


ตัวชี้วัดที่ 1.1.4 รอยละที่เพิ่มขึ้นของรายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑชุมชนเฉลี่ย 3 ปยอนหลัง หนวยวัด : รอยละ น้ําหนัก : 20 คําอธิบาย :  พิจารณาจากมูลคาการจําหนายผลิตภัณฑหนึ่งตําบล หนึ่ง ผลิตภัณฑ (OTOP) ปงบประมาณ พ.ศ.2556 ของจังหวัด เปรียบเทียบกับมูลคาจําหนายผลิตภัณฑ (OTOP) เฉลี่ยยอนหลัง 3 ป (ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2555) สูตรการคํานวณ :

มูลคาการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 มูลคาการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP เฉลี่ยยอนหลัง 3 ป (ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2555) x 100 มูลคาการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP เฉลี่ยยอนหลัง 3 ป (ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2555) เกณฑการใหคะแนน : ชวงปรับเกณฑการใหคะแนน +/- รอยละ 1 ตอ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับ 4

ระดับ 5

0

+1

+2

+3

+4

โดยที่ ระดับคะแนน 1 2 3 4 5

เกณฑการใหคะแนน มูลคาจากการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ของจังหวัด ไมมีการ เปลี่ยนแปลงไปจากมูลคาจากการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP เฉลี่ยยอนหลัง 3 ป (ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2555) ของจังหวัด จ ํา น ว น 3 6 9 , 8 4 0 , 8 0 6 บ า ท มูลคาจากการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ของจังหวัด มีการ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น รอยละ 1 จากมูลคาจากการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP เฉลี่ยยอนหลัง 3 ป (ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2555) ของจังหวัด จ ํา น ว น 3 7 3 , 5 3 9 , 2 1 4 บ า ท มูลคาจากการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ของจังหวัด มีการ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น รอยละ 2 จากมูลคาจากการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP เฉลี่ยยอนหลัง 3 ป (ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2555) ของจังหวัด จ ํา น ว น 3 7 7 , 2 3 7 , 6 2 2 บ า ท มูลคาจากการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ของจังหวัด มีการ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น รอยละ 3 จากมูลคาจากการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP เฉลี่ยยอนหลัง 3 ป (ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2555) ของจังหวัด จ ํา น ว น 3 8 0 , 9 3 6 , 0 3 0 บ า ท มูลคาจากการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ของจังหวัด มีการ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น รอยละ 4 จากมูลคาจากการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP เฉลี่ยยอนหลัง 3 ป


ระดับคะแนน

เกณฑการใหคะแนน (ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2555) ของจังหวัด จํานวน 384,634,438 บาท หมายเหตุ : กําหนดระดับคะแนน 3 เทากับ รอยละ 2 หมายถึ ง มูลคาจากการจํ าหนายผลิตภัณฑ OTOP ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ของจังหวั ด มีการเปลี่ ยนแปลงไปเพิ่มขึ้น รอยละ ๒ จากมูล คาจากการจํ าหนา ย ผลิตภัณฑ OTOP เฉลี่ยยอนหลัง 3 ป (ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2555) ของจังหวัด เหตุผล : การพิจารณามูลคาการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP ในปงบประมาณ พ.ศ. 2556 เปรียบเทียบกับมูลคา จากการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP เฉลี่ยยอนหลัง 3 ป (ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 – 2555) ของจังหวัด ตั้งอยูบน พื้นฐานขีดความสามารถที่แทจริงของจังหวัด เพื่อสะทอนถึงการสรางรายไดใหแกผูผลิต /ผูประกอบการ OTOP ตลอดจนชุมชน อีกทั้งเพื่อใหการประมาณมูลคาการจําหนายผลิตภัณฑ OTOP ที่สอดคลองกับแนวโนมภาวะ เศรษฐกิจ และศักยภาพของจังหวัด เพื่อใหจังหวัดกําหนดแนวทางและแผนการพัฒนาดานการตลาดของผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น ที่มีศักยภาพของจังหวัด ใหประชาชนสามารถมีรายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่นเพิ่มขึ้น และ เปนสวนหนึ่งของการสนับสนุนความยั่งยืนของการรวมกลุมในชุมชน รายละเอียดขอมูลพื้นฐาน : ขอมูลพื้นฐาน ประกอบตัวชี้วัด มูลคาการจําหนาย ผลิตภัณฑ OTOP

หนวยวัด บาท

ผลการดําเนินงานในอดีต ปงบประมาณ พ.ศ. 2553 2554 2555 328,725,200

354,676,700

426,120,520

รายไดเฉลีย่ 3 ปยอนหลัง 369,840,806.67

แหลงขอมูล / วิธีการจัดเก็บขอมูล : 1. สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ/จังหวัดเปนหนวยรับผิดชอบในการจัดเก็บขอมูล 2. สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดรายงานขอมูล ผาน “ระบบศูนยขอมูลกลาง (DOC)” กรมการพัฒนาชุมชน ทุกระยะที่มีผลความกาวหนา ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายเสริมศักกดิ์ แนมใส เบอรติดตอ : 0 7751 1330 2. นายตรอน นิลยกานนท เบอรติดตอ : 0 7751 1330 ผูจัดเก็บขอมูล : นายวิจิตร ทองประดู เบอรติดตอ : 08 7408 8762


เปาหมายตัวชี้วัดที่ 1.1.4 รอยละที่เพิ่มขึ้นของรายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑชุมชนเฉลี่ย 3 ป ยอนหลัง

ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8

อําเภอ เมืองชุมพร หลังสวน สวี ทาแซะ ปะทิว พะโตะ ทุงตะโก ละแม รวมทั้งสิ้น

ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 จังหวัดชุมพร คิดเปนรอยละของเปาหมาย เปาหมายการจําหนาย การจําหนายปงบประมาณ ปงบประมาณ 2556 2556 57,710,000 11 128,200,000 25 181,160,000 35 24,090,000 5 28,590,000 6 8,020,000 2 49,210,000 9 33,350,000 7 510,330,000 100


แนวทางการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของกรมการพัฒนาชุมชน ประจําป 2556 ตัวชี้วัดที่ 1.1.1 รอยละที่เพิม่ ขึ้นของรายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑชุมชนเฉลี่ย 3 ปยอนหลัง ระดับการปฏิบัติการ กระบวนการ ปจจัยนําเขา สวนกลาง (กรม) จังหวัด อําเภอ หลักฐานเชิงประจักษ ดําเนินงาน การจัดทําฐานขอมูล งบประมาณ 1. จัดทําฐานขอมูล 1. จัดทําฐานขอมูล 1. จัดทําประมาณ 1. จัดทําประมาณการ 1. เอกสารการ -ตามแผน ประมาณการรายได ประมาณการรายไดจาก การรายไดจากการ รายไดจากการจําหนาย ประมาณการรายไดจากการ ยุทธศาสตรกรมการ จากการจําหนายสินคา การจําหนายสินคา จําหนายสินคา (OTOP) สินคา (OTOP) ป 2556 จําหนายสินคา (OTOP) พัฒนาชุมชน (OTOP) ป 2556 (OTOP) ป 2556 ป 2556 (ตุลาคม 2555 (ตุลาคม 2555 – กันยายน ป 2556 ปงบประมาณ 2. จัดทําฐานขอมูล 2. จัดทําฐานขอมูล – กันยายน 2556) สง 2556) สงใหสํานักงาน 2. เอกสารการรายงาน พ.ศ.2556 การรายงานการ รายงานการจําหนายสินคา ใหกรมการพัฒนาชุมชน พัฒนาชุมชนจังหวัด การจําหนายสินคา (OTOP) จําหนายสินคา 2. รายงานรายไดจาก ป 2556 รายไตรมาส 1-4 (OTOP) ของ 76 จังหวัด 1) รายไดจากการ 2. รายงานรายได (OTOP) ป 2556 การจําหนายสินคา (OTOP) 3. หลักฐานเกี่ยวกับ จําหนายผลิตภัณฑ จากการจําหนายสินคา ป 2556 (ไตรมาส 1-4) ตัวเลขรายไดจากการ ชุมชนเฉลี่ย 3 ป (OTOP) ป 2556 สงใหสํานักงานพัฒนาชุมชน จําหนายสินคา (OTOP) ยอนหลัง (ไตรมาส 1-4) สงให จังหวัด ใหดําเนินการดังนี้ กรมการพัฒนาชุมชน 3. จัดทําหลักฐาน - ผูผลิต/ผูป ระกอบการ 3. จัดทําหลักฐาน เชิงประจักษเกี่ยวกับ ตัวเลขรายไดจากการ จําหนายสินคา (OTOP)

เชิงประจักษเกี่ยวกับตัวเลข รายไดจากการจําหนาย สินคา (OTOP)

(OTOP) ที่ออกบูธจําหนาย สินคาฯ ใหจัดทําบัญชีรายรับ ทุกครั้งที่มีการจําหนายสินคา เพื่อใชเปนหลักฐานอางอิง กับยอดจําหนายที่อําเภอฯ รายงานใหจังหวัดและใหเก็บ หลักฐานไวที่ผูผลิต/


ปจจัยนําเขา

กระบวนการ ดําเนินงาน

สวนกลาง (กรม)

ระดับการปฏิบัติการ จังหวัด การจัดทําฐานขอมูล

อําเภอ

หลักฐานเชิงประจักษ ผูประกอบการ 1 ชุด และอําเภอ 1 ชุด - การรายงานยอด จําหนายสินคาฯ ของอําเภอ และจังหวัด ตองจัดใหมีการ ประชุมเพื่อรับรองยอด จําหนายสินคาฯ โดยใหผาน ความเห็นชอบของ นตผ.อําเภอ, นตผ.จังหวัด กอนสงใหจงั หวัด และ กรมการพัฒนาชุมชน - หลักฐานอื่นๆ เชน ภาพถายการประชุม รายงานการประชุม ฯลฯ


เปาหมายตัวชี้วัดตามคํารับรองการปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ตัวชี้วัด ที่ 1.1.1 รอยละที่เพิ่มขึ้นของรายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑชุมชนเฉลี่ย 3 ปยอนหลัง

ที่

จังหวัด/ เขตตรวจ ราชการ เขต 6 ชุมพร

ฐานขอมูล

ฐานขอมูล

ฐานขอมูล

ยอดจําหนาย

ยอดจําหนาย

ยอดจําหนาย

สินคา OTOP

สินคา OTOP

ป 2553

ป 2554

328,725,200

354,676,700

ฐานขอมูล ยอดจําหนายสินคา (OTOP)

ฐานขอมูล ยอดจําหนายสินคา (OTOP)

ฐานขอมูล ยอดจําหนายสินคา (OTOP)

ฐานขอมูล ยอดจําหนายสินคา (OTOP)

ฐานขอมูล ยอดจําหนายสินคา (OTOP)

สินคา OTOP

เฉลี่ย 3 ปยอนหลัง

(ตัวชี้วัดกระทรวงฯ)

(ตัวชี้วัดกระทรวงฯ)

(ตัวชี้วัดกระทรวงฯ)

(ตัวชี้วัดกระทรวงฯ)

ป 2555

(ป 2553-2555)

เพิ่มขึ้นรอยละ 1

เพิ่มขึ้นรอยละ 2

เพิ่มขึ้นรอยละ 3

เพิ่มขึ้นรอยละ 4

426,120,520

369,840,806.67

373,539,214.73

377,237,622.80

380,936,030.87

384,634,438.93


ตัวชี้วัดที่ 1.1.6 รายไดครัวเรือน (ทั้งประเทศ) เพิ่มขึ้น หนวยวัด : ระดับ น้ําหนัก : รอยละ 15 คําอธิบาย :  วัดรายไดครัวเรือนทัง้ ประเทศ โดยใชฐานขอมูลรายไดครัวเรือนทั้งประเทศ ป 2554 ของสํานักงานสถิติ แหงชาติ เปนฐานในการดําเนินการ ซึง่ มีรายไดเฉลี่ย/คน/ป เทากับ 69,708 บาท  มติที่ประชุมกระทรวงมหาดไทย มอบให สป.มท. เปนหนวยบูรณาการประสานการขับเคลื่อนตัวชี้วัด โดยใหกรมการพัฒนาชุมชนเปนเจาภาพหลัก กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และกรมการปกครอง เปนหนวยรวมดําเนินการขับเคลื่อนในพื้นที่ เกณฑการใหคะแนน : ชวงปรับเกณฑการใหคะแนน +/- 2.5 ตอ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ ระดับ 1 X+5

ระดับ 2 X+7.5

ระดับ 3 X+10

ระดับ 4 X+12.5

ระดับ 5 X+15

เหตุผล :  มติที่ประชุมเจรจาตัวชี้วัดฯ เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2556 ณ กระทรวงมหาดไทย เห็นชอบใหวัดรายไดครัวเรือน ทั้งประเทศ โดยใชฐานขอมูลรายไดครัวเรือนทั้งประเทศป 2554 ของสํานักงานสถิติแหงชาติเปนฐานในการ ดําเนินการ ซึ่ง มีฐานรายไดเฉลี่ย/คน/ป เทากับ 69,708 บาท เพื่อใหเปนไปตามมติ ครม. ที่มอบหมายให กระทรวงมหาดไทยรับผิดชอบในการวัดรายไดครัวเรือนทั้งประเทศ  ขอมูลรายไดของครัวเรือนทั้งประเทศ มากจากสํานักงานสถิติแหงชาติโดยเปนขอมูลรายไดครัวเรือนเฉลี่ย ตอเดือน และกรมการพัฒนาชุมชนนํามาปรับขอมูลใหเปนขอมูลรายไดเฉลี่ยตอคนตอป  ในการประมวลผล กระทรวงมหาดไทยจะใชขอมูลจากการจัดเก็บ จปฐ. ของกรมการพัฒนาชุมชน ป 2557 แหลงขอมูล : - สํานักงานสถิติแหงชาติ : ขอมูลการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ.2554 - ศูนยสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน : ขอมูล จปฐ. วิธีการจัดเก็บขอมูล : 1. สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเปนหนวยรับผิดชอบในการจัดเก็บขอมูล 2. สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดรายงานขอมูลผานระบบรายงาน Online Real Time PA56 ทุกระยะที่มี ความกาวหนา


ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายเสริมศักกดิ์ แนมใส พัฒนาการจังหวัดชุมพร เบอรติดตอ : 0 7751 1330 2. นางมาลินี จันทรจุติ หัวหนากลุมงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน เบอรติดตอ : 0 7751 1330 ผูจัดเก็บขอมูล : นายสุรพงษ เขียวผึ้ง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ เบอรติดตอ : 0 7751 1330 เปาหมายดําเนินการป 2556 ตัวชี้วัดที่ 1.1.2 รายไดครัวเรือน (ทัง้ ประเทศ) เพิ่มขึ้น ลําดับ ที่

จังหวัด

* รายได ** รายได เฉลี่ย/ เฉลี่ย/คน/ ครัวเรือน/ ป เดือน

เกณฑการใหคะแนน 1

2

3

4

5

X+5%

X+7.5%

X+10%

X+12.5%

X+15%

90,371

92,473

94,574

96,676

หมาย เหตุ

เขตตรวจราชการที่ 6 ชุมพร

28,022

84,066

88,269

หมายเหตุ : X = รายไดเฉลี่ย/คน/ป * รายไดเฉลี่ย/คน/ป = รายไดเฉลี่ย/ครัวเรือน/ป หารดวยจํานวนเฉลี่ย 4 คนตอครัวเรือน ** รายไดเฉลี่ย/ครัวเรือน/ป = รายไดเฉลี่ย/ครัวเรือน/เดือน คูณ 12 เดือน *** จังหวัดบึงกาฬ ใชฐานขอมูลรวมกับจังหวัดหนองคาย เนื่องจากในการจัดขอมูลสถิติรายไดครัวเรือนในป 2554 ยังไมไดแยกจังหวัด



ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 รอยละของหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบมีความสุขมวลรวมเพิม่ ขึ้น หนวยวัด รอยละ น้ําหนัก รอยละ 6 คําอธิบาย 1. หมูบาน หมายถึง หมูบานตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่ พ.ศ. 2457 เปนหมูบาน ที่ผานเกณฑการประเมินเบื้องตน จากตัวชี้วัดตามเกณฑการวัดของกระทรวงมหาดไทย 2. การพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ หมายถึง หมูบานที่ไดรับการพัฒนาเปนหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียงที่ผานเกณฑการประเมินตัวชี้วัดของกระทรวงมหาดไทย ป พ.ศ. 2553 – 2555 จังหวัดชุมพร จํานวน 24 หมูบาน และป พ.ศ. 2556 จํานวน 8 หมูบาน รวมทั้งสิ้น จํานวน 32 หมูบาน เพื่อเปนตนแบบ สําหรับการขยายผลการดําเนินงานการพัฒนาหมูบานอื่นๆ ตอไป 3. เกณฑการวัดหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ คือหมูบานตองผานการประเมินตัวชี้วัดที่ กระทรวงมหาดไทยกําหนด 4. เกณฑการวัดความ “อยูเย็น เปนสุข” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน/ชุมชน ( Gross Village Happiness : GVH ) คือหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบตองมีผลการประเมินตามตัวชี้วัดที่ กรมการพัฒนาชุมชนกําหนดเพิ่มขึ้น โดยการเปรียบเทียบผลการประเมินกอนการดําเนินการพัฒนาหมูบาน และหลังการพัฒนาหมูบาน จึงมีการประเมินความสุขมวลรวม ( GVH ) รวม 2 ครั้ง สูตรการคํานวณ : จํานวนหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบที่มีความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น X 100 จํานวนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบทั้งหมด ( 32 หมูบาน) เกณฑการใหคะแนน : ตัวชี้วัด

หนวยวัด

1

รอยละของหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียง ตนแบบมีความ สุขมวลรวมเพิม่ ขึ้น

รอยละ

80

เกณฑการใหคะแนนปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ 2 3 4 82.5

(26 หมูบาน) (26 หมูบาน)

5

85

87.5

90

(27 หมูบาน)

(28 หมูบาน)

(29 หมูบา น)


แหลงขอมูล / วิธีการจัดเก็บขอมูล : 1. แบบรายงานแบบประเมิน จากสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ 2. แบบประเมินผาน เว็บไซต วิธีการจัดเก็บ 1. กําหนดใหพฒ ั นากรเปนผูจ ัดเก็บขอมูล โดยใชแบบรายงาน แบบประเมิน - ขอมูลหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง จัดเก็บเปนรายหมูบานตามเปาหมาย 2. จังหวัดสรุปผล รวบรวมผลการประเมิน แจงผลใหสวนกลางทราบ 3. สวนกลางสรุปผลขอมูลการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของทุกจังหวัด และสรุปผลการ เพิ่มขึ้นของคะแนนประเมิน “อยูเย็น เปนสุข” หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน / ชุมชน ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายเสริมศักกดิ์ แนมใส พัฒนาการจังหวัดชุมพร เบอรติดตอ : 0 7751 1330 2. นายตรอน นิลยกานนท หัวหนากลุมงานสงเสริมการพัฒนาชุมชน เบอรติดตอ : 0 7751 1330 ผูจัดเก็บขอมูล : นางสุนันทา ดวงแดง นักวิชากากรพัฒนาชุมชนชํานาญการ เบอรตดิ ตอ 08-9652-5743


เปาหมายการดําเนินงาน ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 ล ํา ด บั ท ี่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 8 1 9 2 0 2 1 2 2 2 3 2 4 2 5 2 6 2 7 2 8 2 9 3 0 3 1 3 2

ห ม ูท ี่ 1 4 3 1 2 3 1 8 1 6 8 4 1 1 2 4 9 4 9 1 0 1 2 9 5 8 9 8 7 1 9 1 1 8 6 5 3 9 4 6

บ า น เ ก า ะ พ ิท ัก ษ  ย า ย ไท ห ว ย ร า ก ย า ง ห ว ย ห ล ุด ป ร ะ ส า น ม ิต ร สระขาว ห ว ย ใ ห ญ  ถ ้ํา น ้ํา ล อ ด ถ ้ํา ส ิง ห  ศาลาป ระชาคม ว ัง ช า ง ไ ร ใ น แห ลม ยางน า ค ว น ห ิน ม ุย ใน จ อ ก ท ุง ข ี้ห น อ น ว ัด พ ร ะ ข ว า ง ท ุง ก ร ะ ท ิง ท อ ง แห ลมยาง เ ข า ห ล ัก บ อ ไ ค ร ท ุง ต ก ส ม ค ว า ย ห ว ย ท ร า ย ข า ว น า เ น ีย น บ างฝน ต ก พ ร ุใ ห ญ  ท า ห ิน ค ล อ งโซ น พ อ แ ด ง ป ากท รง เ ข า ช อ ง ล ม

ต ํา บ ล

บ า ง น ้ํา จ ืด ห ง ส เ จ ร ิญ ว ัง ไ ผ  ท ะ เ ล ท ร ัพ ย  พ ะ โ ต ะ ละแม ช อ ง ไ ม แ ก ว เข า ท ะ ล ุ ถ ้ํา ส ิง ห  ท า ข า ม ช ุม โ ค น า ส ัก ต ะ โก น าขา พ ะ โ ต ะ ละแม ข ุน ก ร ะ ท ิง ค ุร ิง บ างสน ว ิส ัย ใ ต  ท ุง ต ะ ไ ค ร น าพ ญ า ป ง ห ว า น ท ุง ห ล ว ง ว ัง ใ ห ม  ร ับ ร อ สะพ ลี ท า ห ิน ช อ ง ไ ม แ ก ว พ อ แ ด ง ป ากท รง ท ุง ค า ว ัด

ห ล งั ส ว น ท า แ ซ ะ เ ม ือ ง ช ุม พ ป ะ ท ิว พ ะ โ ต ะ ละแม ท ุง ต ะ โ ก สวี เ ม ือ ง ช ุม พ ท า แ ซ ะ ป ะ ท ิว สวี ท ุง ต ะ โ ก ห ล ัง ส ว น พ ะ โ ต ะ ละแม เ ม ือ ง ช ุม พ ท า แ ซ ะ ป ะ ท ิว สวี ท ุง ต ะ โ ก ห ล ัง ส ว น พ ะ โ ต ะ ละแม เ ม ือ ง ช ุม พ ท า แ ซ ะ ป ะ ท ิว สวี ท ุง ต ะ โ ก ห ล ัง ส ว น พ ะ โ ต ะ ละแม

อ ํา เ ภ อ 2

2

2 2 2 2 2 2 ร

2 2 2 2 2 2 2 2 ร

2 2 2 2 2 2 2

2

2

2

2

2

2

2

2

2 ร

ป  5 5 3 5 5 3 5 5 3 5 5 3 5 5 3 5 5 3 5 5 3 5 5 3 5 5 4 5 5 4 5 5 4 5 5 4 5 5 4 5 5 4 5 5 4 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 6 5 5 6 5 5 6 5 5 6 5 5 6 5 5 6 5 5 6 5 5 6

ห ม า ย เห ต ุ


แบบตรวจสอบหลักฐานอางอิงตัวชีว้ ัดที่ 1.2.1 ชื่อตัวชี้วัด

หลักฐานอางอิง

ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 1. ทะเบียนหมูบ านเปาหมาย รอยละของหมูบาน 2. ทะเบียนหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียง 3 ระดับ เศรษฐกิจพอเพียง (แยกรายป) ตนแบบมีความสุข 3. แผนปฏิบัติการสงเสริม/สนับสนุนกระบวนการ มวลรวมเพิ่มขึ้น พัฒนาหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ 4. ทะเบียนกิจกรรมที่ดําเนินการเพื่อพัฒนา หมูบาน 5. สรุปผลการประชุมตางๆ ในทุกระดับ 6. ผลการประเมินหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ตนแบบ 7. แบบประเมินหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียง 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด 8. คําสั่งที่เกี่ยวของในกระบวนการประเมินหมู บานในทุกระดับ 9. บันทึกสรุปผลการประเมินหมูบ าน เพื่อประ กาศเปนหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ 10. แบบรายงานผลการประเมิน (ศพพ.) 11. บันทึกการจัดเวทีประเมิน GVH ทั้ง 2 ครั้ง 12. แบบรายงานการประเมินความ “อยูเย็น เปนสุข” หรือความสุขมวลรวมของหมู บาน/ชุมชน แบบมีสวนรวม 13. ภาพถายกิจกรรม

ผูรับผิดชอบ จังหวัด อําเภอ หมูบาน / / / / /

/

/

/

/

/ /

/ /

/ /

/

/

/

/

/

/

/

/

/

/ / /

/ / /

/ /

/

/

/


แนวทางการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของกรมการพัฒนาชุมชน ประจําป 2556 ตัวชี้วัดที่ 1.2.1 รอยละของหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบที่มีความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น ปจจัยนําเขา กระบวนการ/ขั้นตอน กรมฯ จังหวัด อําเภอ 1. กิจกรรม 1. สรางความเขาใจ 1. จัดทําแนวทางการ 1. พิจารณาคัดเลือกหมูบาน 1. เจาหนาทีห่ รือผูเ กี่ยวของศึกษา ยุทธศาสตรกรมฯ ป เจาหนาที่ผเู กี่ยวของ ดําเนินงานตามตัวชี้วัด อําเภอละ 1 หมูบ าน ยกเวน สรางความเขาใจในแนวทางการ ๒๕๕๖ ประจําป 2556 คํารับรอง หมูบานที่ไดรับงบประมาณในป ดําเนินงาน ในปทผี่ านมา และ - ประชุมเชิงปฏิบัติการ 2. กําหนดแนวทาง 2. กําหนดแนวทางการ 2552 – 2555 มีเงื่อนไขดังนี้ เปาหมายทีจ่ ะดําเนินการในป สรางความเขาใจเจาหนาที่ พิจารณาหลักเกณฑ พิจารณาหลักเกณฑการ - เปนหมูบานที่ผานเกณฑการ 2556 รวมทั้งแนวทางการ ผูเกี่ยวของประจําป 2556 กําหนดพื้นทีเ่ ปาหมาย กําหนดพื้นทีเ่ ปาหมาย ประเมินตามตัวชี้วัดของ ดําเนินงานกิจกรรมตาม - สรางแกนนําการพัฒนา 3. จัดทํารูปแบบ 3. สรางความเขาใจ กระทรวงมหาดไทยในป 2555 ยุทธศาสตรกรมฯ ประจําป หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง กระบวนการพัฒนา เจาหนาที่ผเู กี่ยวของ - เปนหมูบานที่มีความพรอมใน งบประมาณ พ.ศ. 2556 ตนแบบ หมูบานเพื่อสรางความ ประจําป 2556 การบูรณาการกิจกรรมการพัฒนา 2. ทบทวนขอมูล และตรวจสอบ -การประเมินผลการจัด เขาใจกับแกนนําหมูบ าน 4. จัดทําแนวทางการ ตางๆ สถานการณการพัฒนาของพื้นที่ ระดับหมูบานเศรษฐกิจ 4. ตรวจสอบขอมูล พัฒนาหมูบานเศรษฐกิจ 2. ศึกษาแนวทางและรวมกับ เปาหมายการดําเนินงาน พอเพียงตนแบบ หมูบานเศรษฐกิจ พอเพียงตนแบบ อําเภอคัดเลือกหมูบานเปาหมาย 3. ประเมินหมูบานดวยเกณฑการ -การประเมินความ “อยู พอเพียง 3 ระดับที่ 3. จัดทําแผนปฏิบัติการ ประเมินหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง เย็นเปนสุข”หรือความสุข จังหวัดดําเนินการ 5. รวบรวม จัดทํา การดําเนินงานตามคํารับรอง ตนแบบ กระทรวงมหาดไทยและ มวลรวมของหมูบ าน ประเมินในป 2555 หลักฐานขอมูลหมูบ าน 4. อบรมสรางแกนนําการพัฒนา ดัชนี ชี้วัดความ “อยูเย็น เปนสุข” ชุมชน 5. จัดทําทะเบียน เปาหมายของกรมฯ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง หรือ ความสุขมวลรวมหมูบ าน/ 2. กิจกรรมความ หมูบานเปาหมายที่ 6.จัดทําแบบรายงาน ตนแบบ ชุมชน ครั้งที่ 1 รวมมือกับภาคี ดําเนินการพัฒนาเปน ติดตาม/ประเมินผล 5. นิเทศ ติดตามผล/ประเมินผล 4. กําหนดแนวทางสงเสริม -ความรวมมือการ หมูบานเศรษฐกิจ การพัฒนาหมูบ าน สนับสนุนการพัฒนาหมูบาน ดําเนินงานเพือ่ การ พอเพียงตนแบบ 6. ประเมินหมูบานตามตัวชี้วัดที่ เศรษฐกิจพอเพียงตนแบบและการ เสริมสรางความเขมแข็ง 6.จัดการประเมินความ กําหนด ยกระดับความสุขของหมูบาน ของชุมชน ทองถิ่น ในการ “อยูเย็นเปนสุข” หรือ 7. รวบรวมจัดทําทะเบียน 5. จัดการความรู กระบวนการ แกไขปญหาความยากจน ความสุขมวลรวมของ ฐานขอมูลหมูบานเปาหมายของ ทํางานของหมูบาน กลุม บุคคล

ประเมินผล/หลักฐาน 1. หลักเกณฑการ คัดเลือก/กําหนดพื้นที่ 2. การดําเนินกิจกรรม เปนไปตามแนวทาง ขอจํากัด ขอเสนอแนะ 3. เอกสาร สรุปผล การประชุม 4. หนังสือสั่งการที่ เกี่ยวของ 5. ทะเบียนขอมูล หมูบานเปาหมาย 6. แบบประเมิน หมูบาน 7. ภาพถายกิจกรรม 8. แบบรายงานผล การดําเนินงาน 9. หลักฐานการจัด กิจกรรมตางๆ ที่ สนับสนุนตัวชี้วัด


ปจจัยนําเขา และการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยกระบวนการแผน ชุมชน 3. กิจกรรมตาม ยุทธศาสตร/ทองถิ่น 4. กิจกรรมอื่นๆ

กระบวนการ/ขั้นตอน หมูบาน (GVH) ครั้งที่ 1 7. ดําเนินการสงเสริม การพัฒนาหมูบ านตาม แนวทาง 8. ประเมินหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียงตาม ตัวชี้วัด 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด 9. จัดการประเมินความ “อยูเย็นเปนสุข” หรือ ความสุขมวลรวมของ หมูบาน(GVH) ครั้งที่ 2 เปรียบเทียบผลการ เปลี่ยนแปลงในแตละ หมูบาน 10. ประกาศเปน หมูบานเศรษฐกิจ พอเพียงตนแบบของ จังหวัด 11. จัดทําทะเบียน หมูบานตนแบบ 12. รายงานผล

กรมฯ

จังหวัด จังหวัด 8. ออกประกาศจังหวัดรายชื่อ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ตนแบบของจังหวัด 9. รายงานผลการดําเนินงาน

อําเภอ ประเมินผล/หลักฐาน 6. ประเมินระดับหมูบานโดยใช กระบวนการประเมินและแบบ ประเมินหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงมหาดไทย จํานวน 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด รวมทั้งประเมิน ความ “อยูเย็น เปนสุข” หรือ ความสุขมวลรวมของหมูบาน/ ชุมชน ครั้งที่ 2 7. จัดทําทะเบียนฐานขอมูล/ หมูบานเปาหมายทีจ่ ะดําเนินการ ในป 2556


แนวทางการดําเนินการเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนโครงการหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ตามตัวชี้วัดที่ 1.2.1 รอยละของหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบมีความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น การดําเนินการโครงการพัฒนาหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ เปนการพัฒนาชุมชนดวยการนําปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมสําหรับปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง ระบบคิด เพื่อเสริมสรางวิถีชีวิตที่เหมาะสมเปนชุมชนเขมแข็งพึง่ ตนเองได และการกําหนดระบบการประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ ใชเกณฑชี้วัดและมีหลักฐานยืนยันการปฏิบัติใหเปนที่ยอมรับ การผานเกณฑการประเมินตามคํารับรองพิจารณาจาก 2 สวน คือ สวนที่ 1 การพัฒนาหมูบานตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงใหเปนตนแบบ โดยคิดจากจํานวนหมูบ าน เศรษฐกิจพอเพียงตนแบบทีป่ ระกาศในป 2552 จํานวน 2 หมูบาน ป 2553 จํานวน 8 หมูบาน ป 2554 จํานวน 16 หมูบาน ป 2555 จํานวน 8 หมูบาน และป 2556 จํานวน 8 หมูบาน รวมทั้งสิ้น 42 หมูบาน สวนที่ 2 มีผลกระทบจากการสงเสริมแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยพิจารณาจากระดับการเพิม่ ขึ้นของ ความสุขหมูบ าน/ชุมชน จากดัชนีชี้วัดความ “อยูเย็น เปนสุข” ของหมูบาน/ชุมชน (Gross Village Happiness : GVH ) ทั้งนี้การดําเนินโครงการของจังหวัดไดดําเนินการมาตามลําดับ จึงขอทบทวนการดําเนินการและ ขอหลักฐานเพื่อการเตรียมการตรวจติดตามประเมินผลตอไป ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. เงื่อนไขในการคัดเลือกหมูบ านเปาหมาย ประกอบดวย 1.1 เปนหมูบานที่ดําเนินการพัฒนา และประกาศเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบของจังหวัด ตั้งแตป 2552 ถึง 2556 1.2 หมูบานเปาหมายในป 2556 ตองผานเกณฑประเมินเบื้องตนเพื่อจัดระดับหมูบาน ในป 2555 โดยผาน เกณฑ 6 x 2 เปนแหลงเรียนรูและเกณฑการประเมินของกระทรวงมหาดไทย (4 ดาน 23 ตัวชี้วัด) ตามลําดับ 1.3 อาจเปนพื้นทีส่ ําหรับการบูรณาการกิจกรรมการพัฒนาชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชน 2. ขั้นตอนการดําเนินงานจัดกิจกรรมการพัฒนาและประเมินผลหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ 2.1 กําหนดพื้นที่หมูบานเปาหมายเพื่อดําเนินการพัฒนา 2.2 ประเมินสภาพหมูบ านและประเมินความ “อยูเย็น เปนสุข” หรือความสุขมวลรวมหมูบ าน/ ชุมชน ครั้งที่ 1 เพื่อทราบสถานการณและระดับคะแนนความสุขของชุมชน ภายในเดือน มกราคม – กุมภาพันธ 2556 2.3 ดําเนินการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาหมูบ านและยกระดับคะแนนความสุขของหมูบาน และจัดการ ความรูจากประสบการณทํางานของชุมชน กลุม องคกร หรือชุมชน 2.4 ประเมินหมูบานเพื่อประกาศเปนหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ และประเมินความ “อยูเย็น เปนสุข”หรือความสุขมวลรวมของหมูบาน/ชุมชน ครั้งที่ 2 ภายในเดือน กรกฏาคม - สิงหาคม 2556 3. จังหวัดไดจัดทําการพัฒนาไปแลว จะตองดําเนินการตรวจสอบ ประเมินผลและรับรอง หมูบานเพื่อพิจารณาประกาศเปนหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ จึงใหจงั หวัดจัดเก็บหลักฐานดังนี้ 3.1 เอกสารการดําเนินงานในแตละกิจกรรม 3.2 สมุดบันทึกการจัดกิจกรรมการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ


(ทุกหมูบานเปาหมายตามคํารับรองฯ ป 2556 ) 3.3 บันทึกการประชุมของคณะกรรมการประเมินระดับจังหวัด 3.4 บันทึกสรุปผลการประเมินหมูบ านเพื่อประกาศเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ 3.5 แบบรายงานผลการประเมินหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ (ศพพ.1-3) 3.6 แบบรายงานผลการตรวจสอบประเมินผลเพื่อประกาศเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ตนแบบ (ศพพ.4) 3.7 ประกาศจังหวัดเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ หากจังหวัดใดดําเนินการเสร็จสิ้นโครงการแลวใหสง หลักฐานตอไปนี้ใหกรมฯ ภายในวันที่ 10 กันยายน 2556 - เอกสารการจัดการความรูการดําเนินการพัฒนาหมูบาน 1 หมูบาน 1 เลม - สําเนาสมุดบันทึกการจัดกิจกรรมการพัฒนาหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ จํานวน 1 หมูบาน 1 เลม - บันทึกสรุปผลการประเมินหมูบ านเพือ่ ประกาศเปนหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ จํานวน 1 หมูบาน 1 ชุด - แบบรายงานผลการตรวจสอบประเมินผลเพื่อประกาศเปนหมูบ านเศรษฐกิจพอเพียงตน แบบ (ศพพ.4) - สําเนาประกาศจังหวัด จํานวน 1 ชุด - รายชื่อหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ (ศกพ.3) จํานวน 1 ชุด หมายเหตุ ให Download รายละเอียดจาก http://cddweb.cdd.go.th/chumchon

ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 1 . 2 . 1 ร อ ย ล ะ ข อ ง ห ม ูบ า น เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง ต น แ บ บ ม ีค ว า ม ส ุข ม ว ล ร ว ม เ พ ิ่ม ข ึ้น


แ น ว ท า ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิใ น ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ห ม ูบ า น เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง ต น แ บ บ ป  2 5 5 6 1 . ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ห ม ูบ า น เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง ต น แ บ บ 1 . 1 ด ํา เ น ิน ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ห ม ูบ า น ด ว ย เ ก ณ ฑ ป ร ะ เ ม ิน ห ม ูบ า น เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง ต น แ บ บ ข อ ง ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย ( 4 ด า น 2 3 ต ัว ช ี้ว ัด ) ใ น ห ม ูบ า น ต น แ บ บ ท ี่ป ร ะ ก า ศ ไ ว แ ล ว ท ุก ห ม ูบ า น ( ป  2 5 5 2 - 2 5 5 5 ) เ พ ื่อ เ ป น ก า ร ร ัก ษ า ส ภ า พ 1 . 2 จ ั ด ท ํ า ป ร ะ ก า ศ ห ม ู บ  า น ต  น แ บ บ เ ป  น ป ร ะ ก า ศ จ ั ง ห ว ั ด ส ํ า ห ร ั บ ห ม ู บ  า น เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ พ อ เ พ ี ย ง ต  น แ บ บ ป  2 5 5 2 , 2 5 5 4 ต อ ง ม ีก า ร ป ร ะ เ ม ิน ใ ห ม  เ น ื่อ ง จ า ก ค ร บ ก ํา ห น ด ก า ร ป ร ะ เ ม ิน 2 ป  ผ ล ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ร ะ ด ับ ก า ร เ ป น ต น แ บ บ ใ น ห ม ูบ า น อ า จ เ ป ล ี่ย น ไ ป ใ ห ป ร ะ ก า ศ เ ป น ต น แ บ บ ต า ม ส ภ า พ เ ป น จ ร ิง ห ร ือ ต า ม ท ี่ห ม ูบ า น ต อ ง ก า ร แ ต ไ ม ค ว ร จ ะ ต ่ํา ก ว า ร ะ ด ับ เ ด ิม 1 .3 จ ั ด ท ํ า เ อ ก ส า ร ห ล ั ก ฐ า น ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ( ศ พ พ . 1 ศ พ พ . 2 ศ พ พ . 3 ศ พ พ . 4 เ อ ก ส า ร ก า ร จ ั ด ก า ร ค ว า ม ร ู ฯ ส ม ุ ด บ ั น ท ึก ก า ร จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม พ ั ฒ น า ห ม ู บ  า น ฯ บ ั น ท ึ ก ส ร ุ ป ผ ล ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น ห ม ู บ า น เ พ ื่ อ ป ร ะ ก า ศ เ ป  น ห ม ูบ  า น ต  น แ บ บ ป ร ะ ก า ศ จ ัง ห ว ั ด ฯ ) เ ต ร ีย ม ไ ว ส ํา ห ร ับ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ / ร ับ ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ข อ ง ก พ ร . เ ม ื่อ ก ร ม แ จ ง ข อ ใ ห ส ง ไ ด ท ัน ท ี 2 . ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ค ว า ม “ อ ย ูเ ย ็น เ ป น ส ุข ” ห ร ือ ค ว า ม ส ุข ม ว ล ร ว ม ข อ ง ห ม ูบ า น / ช ุม ช น ( G r o s s v i l l a g e h a p p i n e s s : G V H ) 2 . 1 ด ํ า เ น ิน ก า ร ป ร ะ เ ม ิน 2 ค ร ั้ ง ป ร ะ เ ม ิน ค ร ั้ง ท ี่ 1 ก อ น ก า ร ด ํ า เ น ิน ก า ร พ ัฒ น า ห ม ู บ า น ป ร ะ ม า ณ เ ด ือ น ม ี น า ค ม ( ส า ม า ร ถ บ ั น ท ึก ใ น โ ป ร แ ก ร ม G V H ไ ด ถ ึง ว ัน ท ี่ 9 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2 5 5 6 ) แ ล ะ ค ร ั้ง ท ี่ 2 ห ล ัง ก า ร พ ัฒ น า ห ม ูบ า น เ ด ือ น ก ร ก ฎ า ค ม – ส ิง ห า ค ม 2 . 2 จ ัด เ ว ท ีก า ร ป ร ะ เ ม ิน แ บ บ ม ีส ว น ร ว ม ใ น ห ม ูบ า น ฯ เ ป า ห ม า ย ป  2 5 5 2 - 2 5 5 6 ท ุก ห ม ูบ า น 2 . 3 บ ัน ท ึก ข อ ม ูล ห ม ูบ า น แ ล ะ ผ ล ก า ร ป ร ะ เ ม ิน G V H แ บ บ ม ีส ว น ร ว ม ใ น โ ป ร แ ก ร ม ป ร ะ เ ม ิน ผ ล G V H อ ย า ง ถ ูก ต อ ง เ ป น ป จ จ ุบ ัน ใ น เ ว ็บ ไ ซ ต ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น h t t p : / / c d d a t a . c d d . g o . t h / v l i f e / ข อ ค ว ร ร ะ ว ัง ใ น ก า ร บ ัน ท ึก ข อ ม ูล ใ น โ ป ร แ ก ร ม G V H ( ท ั้ง 2 ค ร ั้ง )  ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ท ํา เ ค ร ื่อ ง ห ม า ย ห ม ูบ า น ว า เ ป น ต น แ บ บ ใ น ป ใ ด  ร ะ ด ับ ก า ร เ ป น ต น แ บ บ เ ป น ร ะ ด ับ ใ ด ต า ม ป ร ะ ก า ศ ใ ห ม ล า ส ุด  ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ ท ํา เ ค ร ื่อ ง ห ม า ย ว า ห ม ูบ า น ใ ด เ ป น ห ม ูบ า น ท ี่เ ป น เ ป า ห ม า ย ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง ฯ ป  2 5 5 6 จ ํา น ว น 3 , 5 1 1 ห ม ูบ า น แ ย ก เ ป น ป  2 5 5 3 จ ํา น ว น 8 7 7 ห ม ูบ า น ( อ ํา เ ภ อ ล ะ 1 ห ม ูบ า น ) ป  2 5 5 4 จ ํา น ว น 8 7 8 ห ม ูบ า น ( อ ํา เ ภ อ ล ะ 1 ห ม ูบ า น ) ป  2 5 5 5 จ ํา น ว น 8 7 8 ห ม ูบ า น ( อ ํา เ ภ อ ล ะ 1 ห ม ูบ า น ) ป  2 5 5 6 จ ํา น ว น 8 7 8 ห ม ูบ า น ( อ ํา เ ภ อ ล ะ 1 ห ม ูบ า น )  บ ัน ท ึก ค ะ แ น น ท ี่ไ ด จ า ก ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ด ว ย ป ร อ ท ว ัด ค ว า ม ส ุข ใ น ข อ ท ี่ 2 4 ( ค ะ แ น น เ ต ็ม 1 0 0 แ ล ะ ไ ม ม ีจ ดุ ท ศ น ิย ม )  บ ัน ท ึก ค ะ แ น น ร า ย ต ัว ช ี้ว ัด จ า ก ก า ร ป ร ะ เ ม ิน แ บ บ ม ีส ว น ร ว ม ใ น โ ป ร แ ก ร ม ส ว น ท ี่ 2 ( ค ะ แ น น เ ต ็ม 5 )  บ ัน ท ึก ข อ ม ูล ห ม ูบ า น ใ น โ ป ร แ ก ร ม ส ว น ท ี่ 1 ( ข อ ท ี่ 1 - 2 3 ) 3 . เ อ ก ส า ร ท ี่ต อ ง ส ง ใ ห ก ร ม ฯ ก อ น ว ัน ท ี่ 1 0 ก ัน ย า ย น 2 5 5 6 3 . 1 เ อ ก ส า ร ก า ร จ ัด ก า ร ค ว า ม ร ูก า ร ด ํา เ น ิน ก า ร พ ัฒ น า ห ม ูบ า น 1 ห ม ูบ า น 1 เ ล ม 3 . 2 ส ํา เ น า ส ม ุด บ ัน ท ึก ก า ร จ ัด ก ิจ ก ร ร ม ก า ร พ ัฒ น า ห ม ูบ า น เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง ต น แ บ บ จ ํา น ว น 1 ห ม ูบ า น 1 เ ล ม 3 . 3 บ ัน ท ึก ส ร ุป ผ ล ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ห ม ูบ า น เ พ ื่อ ป ร ะ ก า ศ เ ป น ห ม ูบ า น เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง ต น แ บ บ จ ํา น ว น 1 ห ม ูบ า น 1 ช ุด 3 . 4 แ บ บ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ป ร ะ เ ม ิน ผ ล เ พ ื่อ ป ร ะ ก า ศ เ ป น ห ม ูบ า น เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง ต น แ บ บ ( แ บ บ ศ พ พ . 4 ) 3 . 5 ส ํ า เ น า ป ร ะ ก า ศ จ ั ง ห ว ั ด จ ํา น ว น 1 ช ุ ด ( แ ย ก ป  ท ี่ เ ป  น ต น แ บ บ , แ ย ก ร ะ ด ั บ ห ม ู บ  า น แ ล ะ ล ง ว ัน ท ี่ ไ ม  เ ก ิน 3 0 ก ั น ย า ย น 2 5 5 6 ) 3 . 6 ร า ย ช ื่อ ห ม ูบ า น เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง ต น แ บ บ ( ศ พ พ . 3 ) จ ํา น ว น 1 ช ุด ( แ ย ก ป ท ี่เ ป น ต น แ บ บ , แ ย ก ร ะ ด ับ ห ม ูบ า น ) ห ม า ย เห ต ุ 1 . ใ ห  D o w n l o a d แ บ บ ฟ อ ร ม ก า ร ร า ย ง า น จ า ก w w w . c h u m c h o n . c d d . g o . t h 2 . เ อ ก ส า ร ต า ม ข อ 3 . 1 - 3 . 4 แ ล ะ 3 . 6 ใ ห บ ัน ท ึก ล ง ใ น แ ผ น C D ส ว น ข อ 3 . 5 ใ ห จ ัด ส ง เ ป น เ อ ก ส า ร … … … … … … … ..


ตัวชี้วัดที่ 1.2.2 รอยละที่ลดลงของครัวเรือนยากจนเปาหมายที่มีรายไดตา่ํ กวาเกณฑ จปฐ. หนวยวัด : จํานวน น้ําหนัก : รอยละ 8 คําอธิบาย :  ครัวเรือนยากจนเปา หมาย หมายถึง ครัว เรือ นที่มีร ายไดเ ฉลี่ย ต่ํา กวา 30,000 บาท/คน/ป จากการสํารวจขอมูล จปฐ. ป 2555 ของจังหวัดชุมพร จํานวน 17 ครัวเรือน  ระดับความสํ าเร็จของการลดลงของครัวเรือนยากจนเปา หมายที่มีรายไดต่ํ ากวา เกณฑ จปฐ. พิจารณาจากการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการการ : ชี้เปาชีวิต จัดทําเข็มทิศชีวิต บริห ารจัดการ ชีวิต และดูแลชีวิต ของสวนราชการ ชุม ชน ภาคีก ารพัฒ นาที่เ กี่ยวของ จนสามารถลดจํานวนครัวเรือนยากจน เปาหมายที่มีรายไดเฉลี่ยต่ํากวา 30,000 บาท/คน/ป หรือไดรับการสงเคราะห ในปงบประมาณ 2556

เกณฑการใหคะแนน : ชวงปรับเกณฑการใหคะแนน +/- รอยละ 5 ตอ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับ 4

ระดับ 5

ลดลงรอยละ 30

ลดลงรอยละ 35

ลดลงรอยละ 40

ลดลงรอยละ 45

ลดลงรอยละ 50

ระดับ เกณฑการใหคะแนน คะแนน 1 ครัวเรือนยากจนเปาหมายที่มรี ายไดเฉลี่ยต่ํากวาเกณฑ จปฐ. คงเหลือ รอยละ 70 (12 ครัวเรือน) 2 ครัวเรือนยากจนเปาหมายที่มรี ายไดเฉลี่ยต่ํากวาเกณฑ จปฐ. คงเหลือ รอยละ 65 (11 ครัวเรือน) 3 ครัวเรือนยากจนเปาหมายที่มรี ายไดเฉลี่ยต่ํากวาเกณฑ จปฐ. คงเหลือ รอยละ 60 (10 ครัวเรือน) 4 ครัวเรือนยากจนเปาหมายที่มรี ายไดเฉลี่ยต่ํากวาเกณฑ จปฐ. คงเหลือ รอยละ 55 (9 ครัวเรือน) 5 ครัวเรือนยากจนเปาหมายที่มรี ายไดเฉลี่ยต่ํากวาเกณฑ จปฐ. คงเหลือ รอยละ 50 (9 ครัวเรือน) เงื่อนไข : --

30,000 บาท/คน/ป 30,000 บาท/คน/ป 30,000 บาท/คน/ป 30,000 บาท/คน/ป 30,000 บาท/คน/ป


แหลงขอมูล : 1. ขอมูลครัวเรือนยากจนเปาหมายที่ตกเกณฑ จปฐ. ดานรายได ป 2555 ของจังหวัดชุมพร จํานวน 17 ครัวเรือน ไดจากการประมวลผลการจัดเก็บขอมูล จปฐ. ป 2555 โดยศูนยสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน 2. สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ เปนหนวยงานในการรวบรวมขอมูลผลการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือน ยากจนแบบบูรณาการในพื้นที่จังหวัด และรายงานสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดทราบตามแนวทางและแบบรายงานที่ กําหนด 3. สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เปนหนวยรับผิดชอบหลักในการสนับสนุน ประสานการขับเคลือ่ นกิจกรรม บริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ และเปนหนวยรวบรวมขอมูลระดับ จังหวัด และรายงานกรมฯ ภายในหวงระยะเวลาที่กําหนด วิธีการจัดเก็บ : 1. จังหวัดรายงานผลการดําเนินกิจกรรมสงเสริมการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ ตามแบบที่กําหนดรายไตรมาส (ไตรมาสที่ 2 วันที่ 29 มีนาคม 2556 , ไตรมาส 3 วันที่ 30 กรกฎาคม 2556 และ ไตรมาส 4 วันที่ 30 กันยายน 2556) 2. เก็บขอมูลรายไดเฉลี่ยของครัวเรือนยากจน ระหวางเดือนกันยายน 2556 ตามแบบจัดเก็บขอมูลที่ กําหนด ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด :

1. นายเสริมศักกดิ์ แนมใส พัฒนาการจังหวัดชุมพร โทร.0-7751-1330 2. นางมาลินี จันทรจุติ หัวหนากลุมงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน โทร.0-7751-1330

ผูจัดเก็บขอมูล : นางชฏามาศ ผิวผอง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ

โทร. 0-7751-1330

เ ป า ห ม า ย ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง :

จํานวนของครัวเรือนยากจนสามารถยกระดับรายไดผานเกณฑ จปฐ. ที่ 30,000 บาท/คน/ป

เขตตรวจ ราชการที่ 6

ที่

จังหวัด ชุมพร

ฐานขอมูล คร.ยากจน ป 2555 17

จํานวนครัวเรือนเปาหมายตามคํารับรอง ป 2556 เกณฑการใหคะแนน 1 2 3 4 5 12 11 10 9 9

หมายเหตุ 6


ทะเบียนรายชื่อครัวเรือนเปาหมาย จังหวัดชุมพร ตัวชี้วัดที่ 1.2.2 ที่

ชื่อ-สกุลหัวหนา คร.

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

นางนิตยา เนตรสมศรี นางสายพิน บุษยาภา นางประคอง ใยอุบล นางสําเภา บุญรอด นายสมบูรณ เหล็กคม นายทองบอ ขุมทอง นายเชาว ดวงทอง นายเฉลียว เข็มทอง นายตัน ผุยชา นางสมพิณ คชเดช นายพรอม ปรางใกลถิ่น นางเลมี้ยน มณีนวล นางชม ปลองใหม นางนิตยา สายทอง นายสํา จรรยา นายดี อุนใจ นายสนั่น วงศภักดี รวม

อายุ (ป) 59 51 71 74 56 61 54 60 59 89 93 64 75 50 64 51 50

สมาชิก คร. (คน)

2 9 2 7 5 3 3 2 2 1 15 6 4 6 2 4 6 อําเภอปะทิว จํานวน

บานเลขที่

หมูที่

ชื่อบาน

ตําบล

อําเภอ

อาชีพ

23/6 3 ดอนยาง ดอนยาง ปะทิว ทําสวน 57/6 9 ดอนสัก ดอนยาง ปะทิว รับจางทั่วไป 12/6 10 หวยแกล ดอนยาง ปะทิว อาชีพอื่นๆ 342/1 12 ทุงน้ําใส ดอนยาง ปะทิว ไมมีอาชีพ 999 15 ดอนทรายพัฒนา ดอนยาง ปะทิว รับจางทั่วไป 67 7 เขาไชยราช เขาไชยราช ปะทิว รับจางทั่วไป 110/4 8 ชัยพฤกษ เขาไชยราช ปะทิว รับจางทั่วไป 172 8 ชัยพฤกษ เขาไชยราช ปะทิว รับจางทั่วไป 16/2 1 ปากน้ําละแม ละแม ละแม ไมมอี าชีพ 31 1 ปากน้ําละแม ละแม ละแม ไมมีอาชีพ 15 2 ทาแพ ละแม ละแม ไมมีอาชีพ 9 3 หาดสูง ละแม ละแม ทําสวน 159 2 เขาหลาง ทุงหลวง ละแม คาขาย 111 2 เขาหลาง ทุงหลวง ละแม รับจางทั่วไป 107 7 หินลูกชาง ทุงคาวัด ละแม ทําสวน 97 2 พังเหา ปงหวาน พะโตะ ทําสวน 44/1 3 คองเหนก ปงหวาน พะโตะ ทําสวน 8 ครัวเรือน อําเภอละแม จํานวน 7 ครัวเรือน และอําเภอพะโตะ จํานวน 2 ครัวเรือน รวมทั้งสิ้น 17

รายไดเฉลี่ย ตอคน/ป 23,000 26,000 25,000 24,286 24,000 23,667 29,333 28,600 28,500 27,300 27,000 24,167 27,500 27,167 29,100 22,050 25,000 ครัวเรือน

ความสามารถของ ครัวเรือน พัฒนาได พัฒนาไมได                  9 8


กระบวนการขับเคลื่อนตัวชี้วัด : เพื่อใหการแกไขปญหาความยากจนระดับครัวเรือน เห็นผลเปนรูปธรรมสามารถลดความเหลื่อมล้ํา ดานรายไดของประชาชนในระดับฐานรากใหสามารถพึ่งพาตนเองและชุมชนไดอยางยั่ง ยืน กรมการพัฒ นาชุม ชน มีกระบวนการในการขับเคลื่อนการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ 4 กระบวนงาน ดังนี้ กระบวนงานที่ 1 ชี้เปาชีวิต 1.1 จัดประชุมคณะกรรมการแกไขปญหาความยากจนตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัด (ศจพ.จ) เพื่อสรางความเขาใจนโยบายการแกไขปญ หาความยากจน ดวยกระบวนการบริหารจัดการครอบครัว ยากจน และกําหนดแนวทางการบูรณาการโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติราชการประจําปของ จังหวัด ที่ยึดครัวเรือนยากจนเปาหมายเปนหลักในการยกระดับรายไดใหบรรลุตามเปาหมาย รวมถึงมีการติดตาม สนับสนุน ประชาสัมพันธการดําเนินงานเปนระยะ 1.2 สร า งและบู รณาการทีม ปฎิ บัติ การตํ า บลเพื่อ เขา ถึง ครั วเรือ นยากจน และกํา หนดแนวทาง การจัดเวทีประชาคมตรวจสอบและจําแนกครัวเรือนยากจน และแนวทางปฏิบัติการเคาะประตูครัวเรือนยากจน ดังนี้ 1) อําเภอแตง ตั้ง ชุดปฏิบัติก ารระดับ ตํา บล ประกอบดว ย ปลัด ตํา บล พัฒ นากร ผูนํา ชุม ชน (เชน อช. , ผูนํา อช. , ผูนําสตรี , ผูนํากลุม/องคกรประชาชน) ครู กศน. , เกษตรตําบล , สาธารณสุขตําบล เปนตน 2) อําเภอประชุมสรางความเขาใจนโยบายการแกไขปญหาความยากจน ดวยกระบวนการบริหาร จัดการครัวเรือนยากจน 4 กระบวนงาน ตามโครงการการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เปาชีวิต จัดทําเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิต 3) ทีมปฏิบัติการตําบลศึกษา ทําความเขาใจแนวทางการตรวจสอบขอมูล และคนหาครัวเรือน ยากจนเปาหมายเบื้องตน จากขอมูล จปฐ. และขอมูลจากเวทีประชาคมตําบล 4) ทีมปฏิบัติการตําบลกําหนดแนวทางการจัดเวทีประชาคมเพื่อตรวจสอบและจําแนกครัวเรือน ยากจน และแนวทางปฏิบัติการเคาะประตูบาน ตามแนวทาง “ปฏิบัติการ 4 ท” (ทัศนะ ตอชีวิต ตองาน , ทักษะ ฝมือแรงงาน ทักษะอาชีพ , ทรัพยากร มีปจจัยการผลิต ที่ดิน เครื่องมือตาง ๆ และ ทางออก แนวทางแกจน) 1.3 จัดเวทีชุมชนตรวจสอบขอมูลและจําแนกครัวเรือนยากจน โดย 1) ทีมปฏิบัติการตําบลจัดประชุมครัวเรือนยากจนเปาหมาย ผูนําชุม ชน เพื่อรวมกันตรวจสอบ ขอมูลและคนหาครัวเรือนยากจนเบื้องตน 2) ทีมปฏิบัติการตําบล ผูนําชุมชน และครัวเรือนยากจนเปาหมาย รวมกันจําแนกขอมูลตามศักยภาพ ของครัวเรือนเปาหมายเบื้องตน ระหวางกลุมที่ควรสงเคราะห และกลุมที่สามารถพัฒนาได กระบวนงานที่ 2 จัดทําเข็มทิศชีวิต 2.1 ชุดปฏิบัติการตําบลรวมกับครัวเรือนยากจนจัดทําเข็มทิศชีวิต เพื่อวิเคราะหสาเหตุและเงื่อนไข ความยากจนของครัวเรือนยากจนเปาหมาย สรางความตระหนัก พรอมยอมรับ สาเหตุความยากจน และกําหนด เปาหมายเพื่อหาทางออกจากปญหารวมกัน โดยใหมีการจัดทําสมุดบันทึกการแกไขปญหาความยากจนรายครัวเรือน (Family Folder) ทุกครัวเรือน ตามแนวทาง ดังนี้ 1) ชุดปฏิบัติการตําบล “ออกปฏิบัติการเคาะประตูบาน” โดยการออกพบปะเยี่ยมเยือนครัวเรือน เปาหมาย และจําแนกกลุมเปาหมายตามศักยภาพอีกครั้ง ระหวางกลุมที่ควรใหการสงเคราะห เพื่อพิจารณานําเขาสู กระบวนการสงเคราะห เชน ผูพิก าร เด็ก และผูสูง อายุที่ชวยเหลือตนเองไมได และกลุม ที่สามารถพัฒนาได เพื่อ นําเขาสูกระบวนการพัฒนาตนเองและครอบครัว


2) ชุดปฏิบัติการตําบลรวมกับครัวเรือนยากจนเปาหมายทั้ง สองกลุม รวมกันวิเ คราะห ส าเหตุ และเงื่อนไขความยากจนรายครัวเรือน และจัดทําสมุดบันทึกการแกไขปญหาความยากจนรายครัวเรือน (Family Folder) ทุกครัวเรือน 3) ชุดปฏิบัติก ารตําบลรวมกับครัวเรือนยากจนจัดทําเข็มทิศชีวิต โดยการกําหนดเปาหมายชีวิต วิเคราะหตามหลัก 4 ท (ทัศนะ ตอการดําเนินชีวิต ตอการทํางาน , ทักษะ ฝมือแรงงาน ทักษะอาชีพ , ทรัพยากร ที่ดิน ปจจัยการผลิต เครื่องมือในการประกอบอาชีพ และ ทางออก แนวทางในการแกจน) 4) ชุดปฏิบัติการตําบลกับครัวเรือนยากจนสรางขอตกลงในขอผูกพันตอเข็มทิศชีวิตที่จะเกิดขึ้น 5) ชุดปฏิบัติก ารตําบล ติดตาม สนับ สนุนการบริห ารจัดการชีวิตตามเข็ม ทิศชีวิตของครัวเรือน ยากจนเปาหมาย อยางสม่ําเสมอ กระบวนงานที่ 3 บริหารจัดการชีวิต 3.1 บูรณาการโครงการ/กิจกรรมตามเข็มทิศชีวิตของครัวเรือนยากจนเปาหมาย ทีมปฏิบัติการตําบล ภาคีการพัฒนาทุกภาคสวน รวมกันผลักดันแผนงาน/โครงการตามเข็มทิศชีวิตของครัวเรือนยากจน บรรจุในแผนให ความชวยเหลือของหนวยงาน และรวมกันผลักดัน ขับเคลื่อนกิจกรรมใหบรรลุผลตามโครงการ ตามแนวทาง ดังนี้ 1) อําเภอจัดประชุมทีมปฏิบัติการตําบล ครัวเรือนยากจนเปาหมายที่สามารถพัฒนาได และภาคี พัฒนาทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ เพื่อนําแผนงาน/โครงการตามเข็มทิศชีวิตของครัวเรือนยากจนเปาหมายที่จัดทําไว มารวมกันพิจารณาเพื่อหาทางใหการสนับสนุน และบรรจุในแผนใหความชวยเหลือของหนวยงาน 2) ทีมปฏิบัติการตําบล ครัวเรือนยากจนเปาหมาย และภาคีการพัฒนาทุกภาคสวนรวมกันผลักดัน ขับเคลื่อนกิจกรรมตามแผนที่ชีวิตหรือเข็มทิศชีวิตของครัวเรือนยากจนเปาหมาย 3) สงเสริมใหชุม ชน กลุม /องคก รการเงินในชุม ชนที่ครัวเรือนยากจนเปาหมายอาศัยอยู ใหการ สนับสนุน ชวยเหลือเกื้อกูลครัวเรือนยากจนทั้งกลุมที่สามารถพัฒนาได และกลุมที่ตองใหการสงเคราะห 3.2 จัดคลินิกแกจน เพื่อใหคําปรึกษาอาชีพทางเลือกสําหรับครัวเรือนยากจนเปาหมาย ใหสามารถดําเนิน กิจกรรมตามเข็มทิศชีวิตเพื่อยกระดับรายไดผานเกณฑ จปฐ. ที่ 30,000 บาท/คน/ป เชน การเชิญ วิท ยากร หรือ ผูนําอาชีพที่ประสบผลสําเร็จมาใหความรู การประสานความรวมมือกับ ภาคีก ารพัฒ นา เพื่อใหครัวเรื อนยากจน เปาหมายไดรับคําปรึกษาดานอาชีพตามความสนใจ ตลอดจนไดรับการสนับสนุนดานอาชีพทั้งดานความรู ทักษะการ ประกอบอาชีพ มุมมองดานอาชีพใหม ๆ หรืองบประมาณในการดําเนินงาน กระบวนงานที่ 4 ดูแลชีวิต 4.1 ทีมจังหวัดมีการติดตามความกาวหนาการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือน เพื่อประเมินผลการขับเคลือ่ น ดําเนินงานของอําเภอ และรายงานผลการดําเนินงานใหก รมการพัฒ นาชุม ชน และกระทรวงมหาดไทยทราบ ตามหวงเวลาและแบบรายงานที่กําหนด 4.2 มีการนําเสนอผลการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจน เพื่อประชาสัมพันธผลการดําเนินงาน ตามโครงการ โดยเชิญคณะกรรมการแกไขปญหาความยากจนตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัด (ศจพ.จ) ภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวของ ชุดปฏิบัติการระดับตําบล และครัวเรือนยากจนเปาหมายใหพื้นที่ดําเนินการ มานําเสนอผล การบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการในพื้นที่ พรอมวิเคราะห วิพากษผลการดําเนินงานและแนวทาง การสนับสนุน เพื่อขยายผลการดําเนินงานในปตอไป


แบบรายงานการขับเคลื่อน ตัวชี้วัดที่ 1.2.2 รอยละที่ลดลงของครัวเรือนยากจนเปาหมายที่มีรายไดตา่ํ กวาเกณฑ จปฐ. งวดรายงาน  ไตรมาส 2 วันที่ 29 มีนาคม 2556  ไตรมาส 3 วันที่ 30 กรกฎาคม2556 แบบรายงานผลการดํ าเนินงานโครงการ  ไตรมาส 4 วันที่ 30 กันยายน 2556 ท ี่ จ ัง ห ว ัด

จังหวัด

ฐาน ขอมูล คร. ยากจน (คร.)

คร.ที่ พัฒนา ได (คร.)

ฐ า น ข อ ม ูล ผ ล ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ค ร .ย า ก จ น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น การบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ : ชี้เปาชีวิต จัดทําเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิต ป 2556 คร. ค ร . ท ี่ ค ร . ท ี่ต อ ง ค ร . ท ี่เ ส ีย ช ีว ิต แ ล ะ ค ง เ ห ล ือ ค ร . ย า ก จ น เ ป า ห ม า ย ร า ย ไ ด ผ า น เ ก ณ ฑ  ร า ย ไ ด ย ัง ไ ม ผ า น เ ก ณ ฑ  จังหวัดชุมพร ยากจน พ ัฒ น า ส ง เ ค ร า ะ ห  ไ ม เ ห ล ือ ส ม า ช ิก อ ื่น / (ค ร .) ป 2 5 5 6 ( อ ย ูร ะ ห ว า ง ด ํา เ น ิน ก า ร ) ผลการตรวจสอบคร.เป ผลการดําเนินงาน กิจกรรมสนับสนุนการดําเนินงานตามโครงการ ( ค ร . ) าหมายไ ด  ( ค ร . ) ย า  ย อ อ ก น อ ก พ น ้ ื ท ่ ี / ค ร . ท ี่ รายไดค ยร ังไม. ท ผี่ตานเกณฑ อ ง รวม ร . ท ี่ ค ร . ท จําี่ต นวน อ ง วม ร . ท ี่ ค ร .ผูท รวี่ต มกิอ จง กรรม ร ว ม คร.ที่ คร.ที่ คงเหลือ ครัวเรือนยากจน รายไดผานเกณฑ กิค จกรรม จํร านวน หนวค ยงาน เคราะห เสียชีวิตและ( ค ร . ) (คร.) งบประ งบร . ) เปาหมายป 2556 บ ว ช (อยูรสะหว าค งดํร าา เนิะ นห การ) ทีพ ่สนั​ัฒ บสนุ นไ ด  คร. พ ฒ ั น า ง เ  ( ค ร . ) พ ฒ ั น า ไ ด  ส ง เ ค ร า ะ ห  ( ค น า ส ง เ ค ร า ภาคี ะ ห การ ( รวม ค ร .) ไมเหลือ (คร.) มาณ ประมาณ เปา พัฒนา (คน) คร.ที่ คร.ที่ รวม คร.ที่ คร.ที่ รวม คร.ที่ คร.ที่ รวม ( ค ร . ) สมาชิกอื่น/ ได  (ค ร .) (ค ร .) ( ค ร กรม .) (ค ร .) (ค ร .) สนับสนุน (1 )

(1)

1

(2)

ช ุม พ ร

(3)

1 7

ยายออก นอก พื้นที/่ บวช ( (4)

2 ) 9

พัฒนา ได (คร.)

ตองสง เคราะห (คร.)

(6)

(7)

(3 ) (5)

8

(คร.)

(4 ) (8)

-

พัฒนา ได (คร.)

ตองสง เคราะห (คร.)

(9)

(10)

(5 )

1 7

(คร.)

พัฒนา

( ค ร . ) ได ( 6 ) (คร.) (11) (12) 5

ตองสง เคราะห (คร.)

(7 ) (13) 4

(คร.)

(14)

(8 ) 9

(9 ) -

พช. ( บาท)

(1 0 ) -

หมาย (คน)

( บาท)

(1 1 ) -

(1 2 ) -

(คน)

(1 3 ) -

ห ม า ย เห ต ุ

หลักฐาน เชิงเชิง ประจักษมี อะไรบางใน ขั้นตอนนี้

หมาย เหตุ

(1 4 ) -

ชุมพร

ห ม า ย เห ต ุ:

กระบวนงานที่ 1 ชี้เปาชีวิต 1.ประชุมคณะกรรมการแกไขปญหาความยากจนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ศจพ.จ.)

ช อ ง ท ี่ ( 1 ) ห ม า ย ถ ึง จ ํา น ว น ค ร . ย า ก จ น ท ี่ต ก เ ก ณ ฑ  จ ป ฐ . ป  2 5 5 5 ท ั้ง ห ม ด ช อ ง ท ี่ ( 2 ) ห ม า ย ถ ึง จ ํา น ว น ค ร . ต า ม ช อ ง ท ่ี ( 1 ) ท ี่ส า ม า ร ถ พ ัฒ น า ไ ด  ช อ ง ท ี่ ( 3 ) ห ม า ย ถ ึง จ ํา น ว น ค ร . ต า ม ช อ ง ท ี่ ( 1 ) ท ี่ต อ ง ส ง เ ค ร า ะ ห  : ค ร ัว เ ร ือ น ท ี่ต อ ง ส ง เ ค ร า ะ ห  ห ม า ย ถ ึง ค ร ัว เ ร ือ น ผ สู ูง อ า ย ุ ผ ูม ีป ญ ห า ส ุข ภ า พ เ ร ื้อ ร ัง ผ ูพ กิ า ร / ท พุ พ ล 2.ภ าสรพ างและบู แ ล ะ เ ดรณาการ/ถอดบทเรี ็ก โ ด ย ค ร ัว เ ร ือ ยน นทีน มนั้ ปฏิ ไ ม บส ัตา ิกม ารระดั า ร ถ ป บร ตํะ าบลเพื ก อ บ ่ออ เขา าช ถึีพ งครัเ ล วื้อ เรืง อด นยากจน ูต น เ อ ง แ ล ะ ค ร อ บ ค ร ัว ไ ด  หมายเหตุ ท ี่ ( 2 ) ง+ คร.เป ( 3 ) + า( หมายที 4 ) ร ว ่ตม กเกณฑ ก ัน ต อ ง จปฐ. เ ท า ก ปับ 2555 ช อ ง ทัท ้งี่ หมด (1 ) ชอง ช (1)อ ง หมายถึ อ ง ท ี่ ( ง5 คร.ตามช ) เ ท า ก ับองทีช ่ อ(1)ง ท ที​ี่ ่ส( ามารถพั 1 ) ล บ ดฒว นาได ย ช อ ง ท ี่ ( 4 ) ชอง ช (2)หมาถึ 3. จัดเวทีชุมชนตรวจสอบขอมูลและจําแนกครัวเรือนยากจน ช อ  ง ท ่ ี ( 6 ) ห ม า ย ถ ง ึ จ า ํ น ว น ค ร . ย า ก จ น เ ป า  ห ม า ย ท ่ ี ด า ํ เ น น ิ ก า ร ใ น ป  2 5 5 6 ท ส ่ ี า ม า ร ถ พ ฒ ั น า ไ ด  ชอง (3) หมายถึง จํ านวนครัวเรือนตามชองที่ (1) ตองสงเคราะห : ครัวเรือนที่ตองสงเคราะหหมายถึง ครัวเรือนผูสูงอายุ ช อ ง ผูท มี่ีป( ญ7 หาสุ ) ห ขม ภาพเรื า ย ถ ึง ้อรัจ งํา ผูน พว ิกน าร/ทุ ค ร พ. ย ลภาพ า ก จ น และเด็ เ ป า ห กม โดยครั า ย ท วี่ด เรืํา อเ น นนัิน ้นก ไมา ร สใ ามารถประกอบอาชี น ป  2 5 5 6 ท ี่ต พอ เลีง ส ้ยง งดูเ ค ตรนเองและครอบครั าะห  วได กระบวนงานที่ 2 จัดทําเข็มทิศชีวิต ช อ  ง ท ่ ี ( 8 ) ห ม า ย ถ ง ึ จ า ํ น ว น ค ร . ต า ม ช อ  ง ท ่ ี ( 6 ) + ( 7 ) ม จ ี า ํ น ว น เ ท า  ก บ ั จ า ํ น ว น ค ร . ต ก เ ก ณ ฑ เ ป า ห ม า ย ท ี่ไ ด ร ับ จ ัด ส ร ร จ า ก ก ร ม ฯ ชองที่ (2) +(3)+(4) รวมกันตองเทากับชองที่ (1) 1.วิเคราะหศักยภาพครัวเรือน สรางทางเลือกและขอตกลงในการหาทางออกตามเข็มทิศชีวิต ช อ ง ท ี่ ( 9 ) ห ม า ย ถ ึง จ ํา น ว น ค ร . ต า ม ช อ ง ท ี่ ( 6 ) ม ีร า ย ไ ด ผ า น เ ก ณ ฑ  จ ป ฐ . ชองที่ (5) เทากับชองที่ (1) ลบดวยชองที่ (4) อ ง ท หมายถึ ี่ ( 1 0 ง) หคร.ยากจนเป ม า ย ถ ึง จ าํา หมายที น ว น ค ่ดําร เนิ. ต นา การในป ม ช อ ง ท 2556 ี่ ( 7 ) ทีไ ด่สามารถพั ร ับ ก า ร ฒส นาได ง เ ค ร า ะ ห ห ร ือ อ ุป ถ ัม ภ อ ย า ง ส ม ่ํา เ ส ม อ / ต อ เ น ื่อ ง จ น ส า ม า ร ถ ด ํา ร ง ช ีว ิต อ ย ไู ด อ ย า ง ม นั่ ค ง แ ล ะ ย ่งั ย ืน โ ด ย ใ กระบวนงานที ห ร ะ บ ุก ิจ ก ร ่ ร3ม บริส หน ารจั บั ส ดน การชี นุ ห วน ิต ว ย ง า น / บ ุค ค ล ท ี่ใ ห ก า ร ส น ับ ส น นุ ท ี่ช ัด เ จ น ร ะ บ ุจ ํา น ว น ใ น ช อ ง ห ม า ย เ ห ต ุ ( ถ า ม รี า ย ล ะ เ อ ีย ด ม า ก ใ ห  ชองทีช ่ (6) น บ เ หมายถึ อ ก ส า งร คร.ยากจนเป ไ ด ) ชองทีแ ่ (7) าหมายที่ดํ าเนินการในป 2556 ที่ตองสงเคราะห 1.บูรณาการโครงการ/กิจกรรมตามเข็มทิศชีวิตโดยที มปฏิบัติก ารตําบล/ภาคีการพัฒนาทุกภาคสวน ท ี่ ( 1 1 งจํ) าเนวน ท า ก คร. ับ ชตามช อ ง ท อี่ งที( 9 ่ (6)+(7) ) + ( 1 0 มี) จํานวนเทากับจํานวน คร.ตกเกณฑเปาหมายที่ไดรับจากกรมฯ ชอง ช (8)อ ง หมายถึ อ ง ท หมายถึ ี่ ( 1 2 ง) จํห านวน ม า ย คร. ถ ึง ตามข จ ํา น วอน (6)ค ทีร ่ม. ต ีรายได า ม ช ผอ าง นเกณฑ ท ี่ ( 6 ) ม ีร า ย ไ ด ย ัง ไ ม ผ า น เ ก ณ ฑ  จ ป ฐ . ( อ ย รู ะ ห ว า ง ด ํา เ น นิ ก า ร ) ชองทีช ่ (9) กระบวนงานที่ 4 ดูแลชีวิต อ ง ท หมายถึ ี่ ( 1 3 ) ง ห จํมานวน า ย ถ คร. ึง จ ตามช ํา น ว อน งทีค ่ ร (7). ต ไดา ม รับช การสงเคราะห อ ง ท ี่ ( 7 ) ย ัง หไ รืม อไ อุด ปร ถั​ับ มกภอา ยร าส งสม่ ง เ ค ํารเสมอ/ต า ะ ห ห อร เนื​ือ ่ออ งุป จนสามารถดํ ถ มั ภ  ( อ ย รู ารงชี ะ ห ว วิตา ง ด ํา เ น ิน ก า ร ) ชองทีช ่ (10) 1.ติดตามความกาวหน าการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจน ช อ ง ท มัี่ ่น( คงและยั 1 4 ) เ ท ่งายืนก ับ โดยให ช อ ง รทะบุี่ ก( 1 ิจกรรมสนั 2 ) + ( 1 3 บสนุ ) น หนวยงาน/บุคคล ที่ใหการสนับสนุนที่ชัดเจน ระบุจํานวนในชองหมายเหตุ (ถามีรายละเอียดมากใหแนบเอกสารได) ชองที่ (11) เทากับชองี่ (9)+(10) ชองที่ (12) หมายถึง จํ านวน คร. ตามชองที่ (6) มีรายไดยังไมผ านเกณฑ จปฐ. (อยูระหว างดําเนินการ)

2.นําเสนอผลการบริหารจัดการชีวิตครัวเรือนยากจน

ชองที่ (13) หมายถึง จํ านวน คร. ตามชองที่ (7) ยังไมไดรับการสงเคราะหหรืออุปถัมภ (อยูระหว างดําเนินการ) ชองที่ (14) เทากับชองที่ (12)+(13) หมายเหตุ 1. ใหรายงานโดยแบไฟลโปรแกรม Excell (ไมตองแปลงเปน PDF พรอมภาพถ าย (ถ ามี) ทาง FTP ที่คุณยภารัตน ฟองคํามูล กลุมงานนโยบายและยุทธศาสตร กองแผนงาน ทางระบบ OA 2. งวดรายงาน ทุกวันที่ 20 ของเดือน งวดแรกใหรายงานภายในวันที่ 20 มีนาคม 2556 2555 (ใหสแกนเฉพาะ หนังสือนําสงเปนไฟล PDF)

(ลงชื่อ)..........................................ผูรายงาน (……………………………………………..) วันที.่ ........เดือน..................................พ.ศ………………….....


ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 รอยละของผลิตภัณฑชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนา ผลิตภัณฑจาก KBO จังหวัด หนวยวัด : รอยละ น้ําหนัก : รอยละ 8 คําอธิบาย : การพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน หมายถึง การปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน ดานรูปแบบ หรือ ดานบรรจุภัณฑ หรือดานคุณภาพผลิตภัณฑ เพื่อการเพิ่มมูลคาใหมีโอกาสทางการตลาดมากขึ้น โดยการนําภูมิปญญา ทองถิ่นและเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกตใชในการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ และไดรบั การรับรองผล การปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ จากคณะกรรมการเครือขายองคความรู (Knowledge - Based OTOP : KBO) จังหวัด กลุมผูผลิตชุมชน หมายถึง กลุม ผูผ ลิตชุมชนที่ลงทะเบียนเปนผูผลิต/ผูป ระกอบการ OTOP งบประมาณ พ.ศ. 2555 จัง หวัดชุม พร จํานวน 107 กลุม* การรับรองการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ เครือขายองคความรู KBO จังหวัด พิจารณาการ ผลิตภัณฑทผี่ านการปรับปรุงและพัฒนาของกลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมาย ตามเกณฑการพิจารณาใหคะแนนการ รับรองการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑตามเกณฑทกี่ รมการพัฒนาชุมชนกําหนด เกณฑการใหคะแนน : ชวงปรับเกณฑการใหคะแนน +/- รอยละ 2.5 ตอ 1 คะแนน โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับ 4

ระดับ 5

64

66.5

69

71.5

74

โดยที่ : ระดับ เกณฑการใหคะแนน คะแนน 1 ๏ ผลิตภัณฑจากกลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนา ผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด ไดรอยละ 64 ในภาพรวม (13 กลุม) 2 ๏ ผลิตภัณฑจากกลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนา ผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด ไดรอยละ 66.5 ในภาพรวม (14 กลุม) 3 ๏ ผลิตภัณฑจากกลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนา ผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด ไดรอยละ 69 ในภาพรวม (15 กลุม) 4 ๏ ผลิตภัณฑจากกลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนา ผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด ไดรอยละ 71.5 ในภาพรวม (15 กลุม) 5 ๏ ผลิตภัณฑจากกลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนา ผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด ไดรอยละ 74 ในภาพรวม (16 กลุม)


เงื่อนไข : * กลุมผูผ ลิตชุมชนที่ลงทะเบียนเปนผูผ ลิต/ผูป ระกอบการ OTOP ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 จํานวน 107 กลุม โดยกรมการพัฒนาชุมชน วางเปาหมายการพัฒนาผลิตภัณฑของกลุม ป 2556 จํานวน 21 กลุม รายละเอียดขอมูลพื้นฐาน : ผลการดําเนินงานในอดีต ปงบประมาณ พ.ศ. ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด หนวยวัด 2553 2554 2555 ผลิตภัณฑจากกลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายผานการรับรองผล 21 15 13 การปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑจาก KBO จังหวัด กลุม กลุม กลุม

แหลงขอมูล / วิธีการจัดเก็บขอมูล : 1. สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเปนหนวยรับผิดชอบในการจัดเก็บขอมูล 2. สํา นั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชนจัง หวัด รายงานผ าน “ระบบรายงาน PA กรมการพัฒ นาชุ ม ชน” ทุก ระยะที่มี ผ ล ความกาวหนา ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด : ผูจัดเก็บขอมูล :

1. นายเสริมศักกดิ์ แนมใส 2. นายตรอน นิลยกานนท นายวิจิตร ทองประดู

เบอรติดตอ : 0 7751 1330 เบอรติดตอ : 0 7751 1330 เบอรติดตอ : 08 7408 8762


แนวทางการขับเคลื่อนตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 รอยละของผลิตภัณฑชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ จาก KBO จังหวัด การสงเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน โดยใชภูมิปญญาทองถิ่นและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อ เพิ่มมูลคาผลิตภัณฑและบริการของชุมชน เปนภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชนเพื่อใหผลิตภัณฑชุมชนมีคุณภาพ มาตรฐานเปนที่ตองการของตลาด สรางรายไดใหกับคนในชุมชน ซึ่งการดําเนินงานดังกลาวใหบรรลุเปาหมาย ที่ สามารถวัดผลการดําเนินงานไดอยางเปนรูป ธรรม จึง กําหนดใหเปนตัวชี้วัดตามคํารับ รองการปฏิบัติราชการ ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 โดยมีเกณฑการวัดผลการดําเนินงาน 5 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับคะแนนที่ 1 ผลิตภัณฑจากกลุมผูผลิตชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและ พัฒนาผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด ไดรอยละ 64 ในภาพรวม (13 กลุม) 2. ระดับคะแนนที่ 2 ผลิตภัณฑจากกลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและ พัฒนาผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด ไดรอยละ 66.5 ในภาพรวม (14 กลุม) 3. ระดับคะแนนที่ 3 ผลิตภัณฑจากกลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและ พัฒนาผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด ไดรอยละ 69 ในภาพรวม (15 กลุม) 4. ระดับคะแนนที่ 4 ผลิตภัณฑจากกลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและ พัฒนาผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด ไดรอยละ 71.5 ในภาพรวม (15 กลุม) 5. ระดับคะแนนที่ 5 ผลิตภัณฑจากกลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและ พัฒนาผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด ไดรอยละ 74 ในภาพรวม (16 กลุม) การดําเนินงานเพื่อใหบรรลุเปาหมายตามตัวชี้วัด ไดกําหนดแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 คนหาความตองการดานการพัฒนาผลิตภัณฑของกลุมเปาหมาย (บรรจุภัณฑ รูปแบบผลิตภัณฑ การ ผลิตเพื่อเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ การแปรรูปผลิตภัณฑ การเก็บรักษาผลิตภัณฑ การใชวัตถุดิบอื่นๆทดแทน การสราง เอกลักษณผลิตภัณฑ เรื่องราวผลิตภัณฑ เทคนิคการผลิตเพื่อเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑ เปนตน) โดยเครือขายองคความรู KBO จังหวัด เปนกลไกในการคนหาความตองการ เชน การออกแบบสอบถาม การสัมภาษณ การจัดเวที การประชุม กลุม Focus Group เปนตน แลวนํามารวบรวมสังเคราะหความตองการพัฒนาผลิตภัณฑของกลุม เพื่อวางแผนใน การพัฒนา หลักฐานอางอิง ทะเบียนกลุมผูผลิตชุมชนเปาหมาย ทะเบียนความตองการพัฒนาผลิตภัณฑรายกลุม ขั้นตอนที่ 2 จัดทําแผนพัฒนาผลิตภัณฑของกลุมเปาหมาย โดยการนําผลจากการสํารวจความตองการ พัฒนาผลิตภัณฑของกลุมเปาหมายนํามาสังเคราะหจัดหมวดหมูความตองการพัฒนา วางแผนและกําหนดขั้นตอน การดําเนินงานตามความตองการรวมกันระหวางเครือขายองคความรู KBO จังหวัดกับกลุมเปาหมาย หลักฐาน อางอิง แผนการพัฒนาผลิตภัณฑรายกลุม ขั้นตอนที่ 3 ดําเนินการพัฒนาผลิตภัณฑตามแผนรวมกันระหวางเครือขายองคความรู KBO จังหวัดกับ กลุมเปาหมาย ขั้นตอนที่ 4 รับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด โดย ผลิตภัณฑของกลุมเปาหมายที่ผานการพัฒนาจะตองผานการประเมินตามเกณฑที่กรมฯ กําหนดโดยเครือขายองคความรู KBO จังหวัดในภาพรวมไมนอยกวา 16 กลุม (รอยละ 74) จาก 21 กลุม หลักฐานอางอิง บันทึกการประชุมรับรอง ผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด ประกาศจังหวัดรับรองฯ


การติดตามและรายงานผลการดําเนินงาน การติดตาม : กรมการพัฒนาชุมชน ไดวางระบบการติดตาม ดังนี้ ระดับกรม 1. โดยบุคคล ประกอบดวย คณะทํางานศูนยประสานการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมการพัฒนาชุมชน คณะอํานวยการและคณะทํางานติดตามสนับสนุนการดําเนินงานพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชน 2. ผานระบบ VDO Conference ระดับจังหวัด โดยแตงตั้งคณะทํางานติดตามผลการดเนินงานตามคํารับรองปฏิบัติราชการ ระดับอําเภอ โดยแตงตั้งคณะทํางานติดตามผลการดเนินงานตามคํารับรองปฏิบัติราชการ การรายงานผลการดําเนินงาน กรมการพัฒนาชุมชน ไดกําหนดหวงระยะเวลาการรายงานผลดําเนินงานตาม ตัวชี้วัด ดังนี้ ระดับกรม 1. รวบรวมรายงานผลการการดําเนินงานผูบ ริหารทุกเดือน 2. จัดทํารายงานการประเมินผลตนเอง (Self – Assessmant : SAR) รอบ 6,9,12 เดือน ระดับจังหวัด 1. ทะเบียนกลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายที่จะดําเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ จังหวัดสงใหกรมฯ ภายใน วันที่ 30 เมษายน 2556 โดยจัดพิมพรปู แบบ File Excel 2. ทะเบียนความตองการพัฒนาผลิตภัณฑรายกลุม จังหวัดสงใหกรมฯ ภายในวันที่ 30 เมษายน 2556 โดยจัดพิมพรูปแบบ File Excel และขอใหระบุความตองการพัฒนาใหชัดเจนเปนรูปธรรม 3. แผนการพัฒนาผลิตภัณฑรายกลุม จังหวัดสงใหกรมฯ ภายในวันที่ 30 เมษายน 2556 โดย จัดพิมพรูปแบบ File Excel และขอใหระบุกจิ กรรมกอน ระหวาง และหลังการพัฒนาผลิตภัณฑ 4. รายงานผลการรับรองการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด จังหวัดสงใหกรมฯ ภายในวันที่ 20 กันยายน 2556 โดยจัดพิมพรปู แบบ File Excel 5. ประกาศจังหวัดเรือ่ งการรับรองการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด จังหวัดสงใหกรมฯ ภายในวันที่ 20 กันยายน 2556 ระดับอําเภอ 1. ทะเบียนกลุมผูผลิตชุมชนเปาหมายที่จะดําเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ อําเภอสงใหจงั หวัด ภายใน วันที่ 22 เมษายน 2556 โดยจัดพิมพรปู แบบ File Excel 2. ทะเบียนความตองการพัฒนาผลิตภัณฑรายกลุม อําเภอสงใหจงั หวัด ภายในวันที่ 22 เมษายน 2556 โดยจัดพิมพรูปแบบ File Excel และขอใหระบุความตองการพัฒนาใหชัดเจนเปนรูปธรรม


3. แผนการพัฒนาผลิตภัณฑรายกลุม อําเภอสงใหจังหวัด ภายในวันที่ 22 เมษายน 2556 โดย จัดพิมพรูปแบบ File Excel และขอใหระบุกจิ กรรมกอน ระหวาง และหลังการพัฒนาผลิตภัณฑ 4. รายงานผลการรับรองการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด จังหวัดสงใหกรมฯ ภายในวันที่ 20 กันยายน 2556 โดยจัดพิมพรปู แบบ File Excel 5. ประกาศจังหวัดเรือ่ งการรับรองการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑจากเครือขายองคความรู KBO จังหวัด จังหวัดสงใหกรมฯ ภายในวันที่ 20 กันยายน 2556 เปาหมายตัวชี้วัดตามคํารับรองการปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 รอยละของผลิตภัณฑชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ จาก KBO จังหวัด

เขตตรวจราชการ/ จังหวัด

ฐานขอมูลกลุม ผูผ ลิตชุมชนที่ ลงทะเบียนฯ ป 2555

จํานวนกลุมผูผลิตชุมชน ที่ไดรับการจัดสรร จํานวนกลุมผูผลิต งบประมาณในการพัฒนา ชุมชนดําเนินการ โดย KBO จังหวัด ตามตัวชี้วัดที่ 1.2.3 ป 2556 ป 2556

จํานวนผลิตภัณฑของกลุม ผูผลิตชุมชนตามตัวชี้วัดที่ 1.2.3 ผานการรับรองฯ จาก KBO จังหวัด

เขตตรวจราชการที่ 6 ชุมพร

107

18

21

16


แบบ 1 แบบทะเบียนกลุมผูผลิตชุมชนเปาหมาย ทะเบียนกลุมผูผลิตชุมชนเปาหมายที่จะดําเนินการพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน ตัวชี้วัดที่ 1.4.3 ร ะ ด ับ ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ใ น ก า ร พ ัฒ น า ผ ล ิต ภ ัณ ฑ ช ุม ช น จังหวัดชุมพร  กลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายทีจ่ ะดําเนินการพัฒนาผลิตภัณฑชุมชน จํานวน 21 กลุม ที่

ที่ตั้งกลุม

ชื่อกลุม หมูที่ 10 -

ตําบล วิสัยเหนือ ทาตะเภา

อําเภอ เมือง เมือง

1. ๒.

สุวารีสาดีไซด ยุพินเบเกอรี่

๓.

วิสาหกิจชุมชนกลุมสตรีเพื่อการแปร รูป

วังไผ

เมือง

๔.

นายธนากร ฤทธิ์จํานงค

นาชะอัง

เมือง

๕.

กลุมผลิตภัณฑจากกะลามะพราว

ทุงคา

เมือง

6.

กลุมน้ําดื่มสมุนไพรเพื่อสุขภาพรัง นกออก

ตากแดด

เมือง

7.

กลุมเยาวชนสืบสานภูมปิ ญญา เครื่องหนัง

ครน

สวี

ชื่อผลิตภัณฑที่ลงทะเบียนฯ ป 2555 ปกเสื้อตาขายโครเซต คุกกี้กาแฟสด ๑.กลวยเล็บมือนางอบแหง ๒.กลวยเล็บมือนางทอดกรอบ ๓.กลวยเล็บมือนางอบเคลือบชอค โกแล็ต ๔.ทุเรียนทอดกรอบ ๕.กลวยน้ําวาอบแหง 1. กระเปาหนัง 2. กระเปาสตางค ผลิตภัณฑจากกะลามะพราว 1.เครื่องดื่มรางจืดผสมกีวี 2.เครื่องดื่มโดไมรูลมผสมแอปเปล 3.เครื่องดื่มกําลังเสือโครงผสมน้ําสต อเบอรี่ 4.เครื่อมดื่มแปะกวยผสมผักพืช 5.เครื่อมดื่ม 6.เครื่องดื่มกระชายดําผสมน้ําองุน 7.เครื่องดื่มเถาวัลยเปรียง 1.เข็มขัดหนังแท 2.รองเทาแตะหนังแท 3.กระเปาสตางค 4.กระเปาสะพายหนังแท


หมูที่

ที่ตั้งกลุม ตําบล

อําเภอ

กลุมผลิตภัณฑจากกะลามะพราว บานน้ําชล

ทุงระยะ

สวี

9.

กลุมจักรสานบานนาคราม

10.

กลุมน้ําพริกเครื่องแกงบานเนินทอง

สลุย

ทาแซะ

๑1.

กลุมตัดเย็บเสื้อผาบานรานตัดผม

สองพี่นอง

ทาแซะ

๑2.

กลุมรับรอรวมใจ

รับรอ

ทาแซะ

๑3.

กลุมพัฒนาอาชีพศิลปะประดิษฐ จากผาใยบัว

สลุย

ทาแซะ

๑4.

กลุมผาบาติก/ผามัดยอม

๑๒

ละแม

ละแม

15. 16.

นางสาวดาเรศ อินทรโยธา กลุมตีเหล็ก กลุมแปรรูปสบูสมุนไพรเปลือก มังคุดพอแดง กลุมน้ําผึ้งโพรงธรรมชาติ นายนรานนท เพชรสุวรรณ

๑ ๑๐

ปากตะโก แหลมทราย

ทุงตะโก หลังสวน

-ผาบาติก -ผามัดยอม ไตปลาทูเจเจี๊ยบ มีด

3

พอแดง

หลังสวน

สบูสมุนไพรเปลือกมังคุด

10 10

นาขา พอแดง

หลังสวน หลังสวน

น้ําผึ้ง น้ํามันมะพราวบริสุทธิ์สกัดเย็น 1.กลวยเล็บมือนางอบแหง 2.มังคุดกวน 3.จันทนกรอบ 4.กลวยทอดกรอบ 1.กะปกุง 2.ไมกวาดกานมะพราว

ที่

8.

17. 18. 19.

ชื่อกลุม

นาโพธิ์

สวี

20

วิสาหกิจชุมชนกลุมอาชีพสตรีศรีขัน เงิน

1

ขันเงิน

หลังสวน

21.

กลุมแปรรูปตําบลนาพญา

16

นาพญา

หลังสวน

ชื่อผลิตภัณฑที่ลงทะเบียนฯ ป 2555 ๑.ตุกตาชางออมสิน ๒.โคมไฟ ๓.กระตายออมสิน ๔.เตา ๕.กาน้ํา ๖.แกวน้ํา ๗.พาน 1.กลองกระดาษทิชชู 2.หมุดใสยาเสน 3.กะเฌอ 1.เครื่องแกง 2.น้ําพริก เสื้อบาติก -กลวยเล็บมือนางทอดกรอบ -ทุเรียนกวน -เครื่องแกง ดอกไมประดิษฐจากผาใยบัว

หมายเหตุ 1. จังหวัดสงใหกรมฯ ภายในวันที่ 31 เมษายน 2556 โดยจัดพิมพรูปแบบ File Excel 2. การสงรายงานสงทาง E - mail : kbo@hotmail.co.th


ตัวชี้วัดที่ 1.4.3 ร ะ ด ับ ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ใ น ก า ร พ ัฒ น า ผ ล ิต ภ ัณ ฑ ช ุม ช น

ทะเบียนกลุมเปาหมาย KBO ประจําป 2556 จังหวัดชุมพร

ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 รวม

อําเภอ เมืองชุมพร หลังสวน ทาแซะ สวี ปะทิว พะโตะ ทุงตะโก ละแม กลุม เปาหมายรวม 6 อําเภอ

จํานวนกลุมเปาหมาย 6 6 4 3 1 1 21 กลุม

หมายเหตุ


แบบ 2 ทะเบียนความตองการพัฒนาผลิตภัณฑของกลุมผูผลิตชุมชนเปาหมาย ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 รอยละของผลิตภัณฑชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ จาก KBO จังหวัด จังหวัดชุมพร  กลุมผูผ ลิตชุมชนเปาหมายในการคนหาความตองการดานการพัฒนาผลิตภัณฑ จํานวน.............................กลุม ที่ตั้งของกลุม ที่

ชื่อกลุม

หมู ที่

ตําบล

อําเภอ

ชื่อผลิตภัณฑที่ ลงทะเบียนฯ ป 2555

ความตองการของกลุม ดานการพัฒนา ผลิตภัณฑ

ความตองการของ กลุมดานอื่น ๆ

วิธกี ารคนหา ความตองการ

หมายเหตุ

หมายเหตุ 1. จังหวัดสงใหกรมฯ ภายในวันที่ 31 เมษายน 2556 โดยจัดพิมพรูปแบบ File Excel และขอใหระบุความตองการพัฒนาใหชัดเจนเปนรูปธรรม 2. การสงรายงานสงทาง E - mail : kbo@hotmail.co.th

แบบ 3


แบบแผนการพัฒนาผลิตภัณฑของกลุมผูผลิตชุมชนเปาหมาย ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 รอยละของผลิตภัณฑชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ จาก KBO จังหวัด ชื่อกลุม.........................หมูท.ี่ .......ชื่อบาน...........................ตําบล.................................อําเภอ............................จังหวัดชุมพร  ความตองการดานการพัฒนา (ระบุใหชัดเจน) คือ ........................................................................................... ที่

กิจกรรม ที่ดําเนินการเพื่อ พัฒนาผลิตภัณฑ (ทําอะไร ,ทําอยางไร)

วัตถุประสงคของ กิจกรรม

ระยะเวลา ดําเนินการ (เดือน/ป)

งบประมาณ

สถานที่ ดําเนินการ

ผลที่คาดวา จะไดรับ

หนวยงานที่ สนับสนุน หรือบุคคล

หมายเหตุ

หมายเหตุ 1. จังหวัดสงใหกรมฯ ภายในวันที่ 31 เมษายน 2556 โดยจัดพิมพรูปแบบ File Excel และขอใหระบุกิจกรรมกอน ระหวาง และหลังการพัฒนาผลิตภัณฑ 3. การสงรายงานสงทาง E - mail : kbo@hotmail.co.th


แบบ 4 แบบรายงานผลการรับรองการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑของกลุมผูผลิตชุมชนเปาหมาย ตัวชี้วัดที่ 1.2.3 รอยละของผลิตภัณฑชุมชนเปาหมายผานการรับรองผลการปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ จาก KBO จังหวัด จังหวัดชุมพร ผลิตภัณฑเดิม กอนเขาสูก ระบวนการ พัฒนา

ที่ตั้งกลุม ที่

ชื่อกลุม หมูที่

ตําบล

อําเภอ

ชื่อผลิตภัณฑ

ลักษณะรูปแบบ

หมายเหตุ 1. จังหวัดสงใหกรมฯ ภายในวันที่ 20 กันยายน 2556 โดยจัดพิมพรูปแบบ File Excel 2. การสงรายงานสงทาง E - mail : kbo@hotmail.co.th

ผลิตภัณฑใหม หลังไดรับกระบวนการ พัฒนา ชื่อผลิตภัณฑ

ลักษณะรูปแบบ

ผลการรับรองการ ปรับปรุงและ พัฒนาผลิตภัณฑ จาก KBO จังหวัด รับ รอง

ไม รับ รอง


ตัวชี้วัดที่ 1.2.4 การปองกันและแกไขปญหายาเสพติด หนวยวัด : จํานวน น้ําหนัก : รอยละ 3 คําอธิบาย :  ตัวชี้วัดการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ประกอบดวย 7 กลยุทธ เปน Joint KPI ระหวางกระทรวง 9 กระทรวง และ 2 หนวยงาน ในการขับเคลื่อนระดับพืน้ ที่  กรมการพัฒนาชุมชน รับผิดชอบดําเนินการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด กลยุทธ 2 : การสรางพลังสังคมและพลังชุมชนเอาชนะยาเสพติด  การพิจารณาผลสําเร็จของการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ใชผลจากการดําเนินงาน ภาพรวมทั้งประเทศของสํานักงาน ป.ป.ส. 2 ประการ คือ 1) ปริมาณยาเสพติดที่จับกุมได เพิ่มขึ้น และ 2) จํานวนผูเสพ/ผูติด/ผูคายาเสพติดลดลง  การใหคะแนนจะพิจารณาเปรียบเทียบผลการดําเนินงานกับเกณฑการใหคะแนน แลวนําผล คะแนนที่ไดคํานวณคาคะแนนตามน้ําหนักรอยละทีห่ นวยงานไดรับ เกณฑการใหคะแนน : ยุทธศาสตรที่ 2.การปองกัน และแกไข ปญหา ยาเสพติด

ตัวชี้วัด ปริมาณยา เสพติดที่ จับกุมได เพิ่มขึ้น (หนวยวัด : กิโลกรัม) -เมธแอมเฟตา มีน ไอซ -กัญชา เฮโรอีน โคเคน เคตา มีน เอ็กซตาซี่ จํานวนผูเสพ/ ผูติด/ผูคายา เสพติดลดลง (หนวยวัด : จํานวนคน)

กระทรวงที่เกี่ยวของ

ผลการ ประมาณการ ดําเนินงาน ป 2555 ป 2554

ระดับ 3

เปาหมาย ระดับ 4

ระดับ 5

1.กระทรวงกลาโหม 2.กระทรวงการ ทองเที่ยวและกีฬา 3.กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคง ของมนุษย 4.กระทรวงมหาดไทย 7,208.97 7,929.87 7,929.87 8,326.37 8,722.86 (ป 54+10%) (0%) (+5%) (+10%) 5.กระทรวงยุติธรรม 6.กระทรวงแรงงาน 38,401.10 42,241.21 42,241.21 44,353.27 46,465.34 (ป 54+10%) (0%) (+5%) (+10%) 7.กระทรวงวัฒนธรรม 8.กระทรวงศึกษาธิการ 9.กระทรวงสาธารณสุข 10.สํานักงานตํารวจ 36,231 33,695 32,010 30,326 28,641 (ป 54 -7%) (-5%) (-10%) (-15%) แหงชาติ 11.กองอํานวยการ รักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร


แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บ : 1. สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเปนหนวยรับผิดชอบในการจัดเก็บขอมูล 2. สํา นั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชนจัง หวัด รายงานผ าน “ระบบรายงาน PA กรมการพัฒ นาชุ ม ชน” ทุก ระยะที่มี ผ ล ความกาวหนา ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายเสริมศักกดิ์ แนมใส 2. นางสาววาสนา บุญรอด

เบอรติดตอ : 0 7751 1330 เบอรติดตอ : 0 7751 1330

ผูจัดเก็บขอมูล : นางสาววิภาวี ลุยจันทร

เบอรติดตอ : 08 9871 6863


นโยบาย 1.2 กําหนดใหการแกไขและปองกันปญหายาเสพติดเปนวาระแหงชาติ เปาหมาย : ปญหายาเสพติดลดลงและไมสง ผลกระทบความสงบสุขของสังคม การบําบัดรักษา ฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติด

การปองกันยาเสพติด

Joint KPIs1 : รอยละที่ลดลงของจํานวนผูเ สพ/ผูติด/ผูคายาเสพติด (32,010 ราย) กลยุทธ 1 : การแกปญหาผูเสพ/ผูติดยาเสพติด กลยุทธ 2 : การสรางพลังสังคมและพลังชุมชน สป.สาธารณสุข/กรมการแพทย/กรมสุขภาพจิต/กรม เอาชนะยาเสพติด สป.มหาดไทย/กรมการปกครอง/กรมการพัฒนาชุมชน/กรม คุมประพฤติ/ป.ป.ส. สงเสริมปกครองทองถิ่น/ป.ป.ส./กรมพัฒนาสังคมและ สวัสดิการ

หมายเหตุ : กลยุทธ 1 – 7 มาจากแผนปฏิบัติการพลัง แผนดินเอาชนะยาเสพติดแหงชาติ

กลยุทธ 3

:

การสรางภูมิคุมกันและปองกันยาเสพติด

สป.ศึกษาธิการ/สนง.สงเสริมการศึกษาเอกชน/สนง.สงเสริม การศึกษานอกระบบฯ/สพฐ./สอศ./สกอ./สป.มหาดไทย/ กรมการปกครอง/กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน/ป.ป.ส./ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป/กรมพลศึกษา

หมายเหตุ : กลยุทธ 1 – 7 มาจากแผนปฏิบัติการพลัง แผนดินเอาชนะยาเสพติดแหงชาติ

กลยุทธ 7 : การบริหารจัดการ

ป.ป.ส./กองบัญชาการกองทัพไทย/กอ.รมน./สป.มหาดไทย/กรมการปกครอง

การปราบปรามยาเสพติด Joint KPIs2 : ปริมาณยาเสพติดทีจ่ ับกุมไดเพิ่มขึ้น -เมธแอมเฟตามีน ไอซ (7,929.87 กก.) -กัญชา เฮโรอีน โคเคน เคตามีน เอ็กซตาซี่ (42,241.21 กก.

กลยุทธ 4 : การปราบปรามยาเสพติดและบังคับใช กฎหมาย สตช./ป.ป.ส./กรมราชทัณฑ/ป.ป.ท./กอ.รมน./ปปง./DSI/ กองบัญชาการกองทัพไทย/อย.

กลยุทธ 5 : การสกัดกั้นยาเสพติด กองบัญชาการกองทัพไทย/กอ.รมน./สตช./อย./ป.ป.ส.

กลยุทธ 6 : ความรวมมือระหวางประเทศ กรมองคการระหวางประเทศ/กรมอาเซียน/สํานักงานความ รวมมือเพื่อการพัฒนาระหวางประเทศ/ป.ป.ส./กองบัญชาการ กองทัพไทย/สมช./สํานักขาวกรองแหงชาติ/สตช./ป.ป.ส.


ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ ๑ . 2 ร ะ ด ับ ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ข อ ง ร อ ย ล ะ เ ฉ ล ี่ย ถ ว ง น ้ํา ห น ัก ใ น ก า ร บ ร ร ล ุเ ป า ห ม า ย ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ก ร ม ฯ แ ล ะ แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิง า น แ ล ะ แ ผ น ก า ร ใ ช จ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . ๒ ๕ ๕ ๖ ห น ว ย ว ัด :

ร ะ ด ับ

น ้ํา ห น ัก :

ร อ ย ล ะ 5

ค ํา อ ธ ิบ า ย :

ก า ร พ ิจ า ร ณ า ผ ล ส ํา เ ร ็จ ข อ ง ร อ ย ล ะ เ ฉ ล ี่ย ถ ว ง น ้ํา ห น ัก ใ น ก า ร บ ร ร ล ุเ ป า ห ม า ย ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิง า น แ ล ะ แ ผ น ก า ร ใ ช จ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป ง บ ป ร ะ ม า ณ พ . ศ . 2 5 5 6 พ ิจ า ร ณ า จ า ก ผ ล ผ ล ิต ต า ม เ อ ก ส า ร ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ า ย แ ล ะ ร ะ บ บ ร า ย ง า น B P M เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น : ร ะ ด ับ ค ะ แ น น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕

∑ (W ∑ (W ∑ (W ∑ (W ∑ (W

xSM i x S M i x S M i x S M i x S M i

i) i) i) i) i)

ส ตู ร ก า ร ค ํา น ว ณ : เ ป า ห ม า ย ผ ล ผ ล ิต ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ( i )

ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 1 ร อ ย ล ะ ข อ ง ช ุม ช น ท ี่ม ี ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น ม กี า ร จ ัด ส ว ัส ด ิก า ร เ พ ื่อ ด ูแ ล ช ีว ิต ค ร ัว เ ร ือ น ยากจน ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 2 ร อ ย ล ะ ข อ ง จ ํา น ว น ผ ูน ํา อ ช . ท ี่ส า ม า ร ถ บ ร หิ า ร จ ัด ก า ร ช ุม ช น ต า ม เ ก ณ ฑ ท กี่ ํา ห น ด ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 3 ร อ ย ล ะ ข อ ง ห ม บู า น ท ี่ ม ีแ ล ะ ใ ช แ ผ น ช ุม ช น ใ น ก า ร บ ร หิ า ร จ ัด ก า ร ช ุม ช น ไ ด อ ย า ง ม ี ป ร ะ ส ิท ธ ิภ า พ

= 1 (ได = 2 (ได = 3 (ได = 4 (ได = 5 (ได

ค า ค ค า ค ค า ค ค า ค ค า ค

ค า เ ฉ ล ี่ย ถ ว ง น ้ํา ห น ัก ( W i) 0 .2 0

0 .2 0 0 .2 0

ะแน ะแน ะแน ะแน ะแน น

เก ณ เ ฉ ล ี่ย เ ฉ ล ี่ย เ ฉ ล ี่ย เ ฉ ล ี่ย เ ฉ ล ี่ย

ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น เ ท า ก บั 1 ) เ ท า ก บั 2 ) เ ท า ก บั 3 ) เ ท า ก บั 4 ) เ ท า ก บั 5 )

เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น ต า ม ต วั ช ี้ว ัด ๑ ๒ ๓ ๔ ๕

ค ะ แ น น ท ี่ ค ะ แ น น เ ฉ ล ี่ย ถ ว ง ไ ด  ( S M i ) น ํา้ ห น ัก ( W i x S M i )


ต วั ช ี้ว ัด ท ี่ 4 จ ํา น ว น ร อ ย ล ะ ส ะ ส ม ช ุม ช น ท ี่ม ีก า ร อ น รุ ัก ษ แ ล ะ ส บื ส า น ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 5 ร อ ย ล ะ ส ะ ส ม ข อ ง ก ล ุม อ อ ม ท ร ัพ ย เ พ ื่อ ก า ร ผ ล ิต ท ี่ม ี ก า ร จ ัด ส ว ัส ด ิก า ร ช ุม ช น น ้ํา ห น ัก ร ว ม

0 .2 0 0 .2 0 ∑ W i

= 1

ผ ล ร ว ม ค า ค ะ แ น น ข อ ง ต ัว ช ี้ว ัด น ี้เ ท า ก ับ

∑ (W i

โ ด ย ท ่ี : W ห ม า ย ถ ึง น ํา้ ห น ัก ค ว า ม ส ํา ค ญั ท ี่ใ ห ก ับ แ ต ล ะ เ ป า ห ม า ย ผ ล ผ ล ิต แ ล ะ ผ ล ร ว ม น ้ํา ห น ัก ข อ ง ท ุก เ ป า ห ม า ย ผ ล ผ ล ิต เ ท า ก ับ ๑ S M ห ม า ย ถ ึง ค ะ แ น น ท ี่ไ ด จ า ก ก า ร เ ท ีย บ ร อ ย ล ะ ข อ ง ผ ล ส ํา เ ร จ็ ต า ม เ ป า ห ม า ย ข อ ง ต ัว ช ี้ว ัด i ห ม า ย ถ งึ ล ํา ด ับ ท ี่ข อ ง ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ก ํา ห น ด ข ึ้น ต า ม ค ํา ร บั ร อ ง ก า ร ป ฏ บิ ัต ริ า ช ก า ร ภ า ย ใ น ; ๑ , ๒ , . . . . i แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล 1 . แ บ บ ร า ย ง า น ข อ ม ูล 2 . ส ํา น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด / ส ํา น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น อ ํา เ ภ อ วิธีการจัดเก็บ 1 . ก ํา ห น ด ใ ห คณะทํางานนิเทศติดตามผลการดําเนินงานตามงบยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชน เปนผูจัดเก็บขอมูลรวมกับอําเภอ 2 . ส ํา น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด / อ ํา เ ภ อ ส ร ุป ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต อ ผ ูบ ัง ค ับ บ ัญ ช า 3 . บ ัน ท ึก ข อ ม ูล ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ร ะ บ บ B P M ผ ูก ํา ก ับ ด ูแ ล ต ัว ช ี้ว ัด : 1 . น า ย เ ส ร ิม ศ ัก ด ิ์ แ น ม ใ ส พ ัฒ น า ก า ร จ งั ห ว ัด ช ุม พ ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐ 2 . น า ง ส า ว ว า ส น า บ ุญ ร อ ด ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น ย ุท ธ ศ า ส ต ร ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐ 3 . น า ย ต ร อ น น ิล ย ก า น น ท  ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น ส ง เ ส ร มิ ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น 4 . น า ง ม า ล ิน ี จ ัน ท ร จ ุต ิ ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น ส า ร ส น เ ท ศ ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐ ผ ูจ ดั เ ก ็บ ข อ ม ูล : ๑ . น า ย ว ิจ ิต ร ท อ ง ป ร ะ ด ู น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร ๒ . นายววรรธนพงศ คงนคร น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า 3 . นางชฏามาศ ผิวผอง น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร 4 . นายสุภัทร ขจรมาศบุษป น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า 5 . นางอนงคนาฏ กิตติสุบรรณ น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ 6 . น า ง ส า ว ว ิภ า ว ี ล ุย จ ัน ท ร  น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร

เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ก า ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗

๗ ๕ ๑ ๑ ๗ ๕ ๑ ๑ ๗ ๕ ๑ ๑ ๗ ๗ ๕ ๑ ๐ ๗ ๗ ๕ ๕ ๑ ๑ ๓

๓ ๓ ๐ ๓ ๓ 0 ๓ ๓ ๐ ๑ ๓ ๓ ๐ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐ ๓ ๐

x S M i)


ตัวชี้วัดที่ 1

ร อ ย ล ะ ข อ ง ช ุม ช น ท ี่ม ีค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น ม ีก า ร จ ัด ส ว ัส ด ิก า ร เ พ ื่อ ด ูแ ล ช ีว ิต ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น

หนวยวัด :

รอยละ

น้ําหนัก :

รอยละ 1

คําอธิบาย : ชุมชนทีมีครัวเรือนยากจน หมายถึง หมูบาน/ชุมชนทีม่ ีการสํารวจขอมูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2555 และมีครัวเรือนยากจนที่มรี ายไดเฉลี่ยต่ํากวา 30,000 บาทตอคนตอป ครัวเรือนยากจน หมายถึง ครัวเรือนยากจนเปาหมายที่มรี ายไดต่ํากวาเกณฑ จปฐ. ปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ที่มีรายไดเฉลี่ยต่ํากวา 30,000 บาท/คน/ป การจัดสวัสดิการ หมายถึง บริการหรือกิจกรรมใดที่ชุมชนจัดใหมีขึ้นในการสรางหลักประกันเพื่อ ความมั่นคงของคนในชุมชนหรือกิจกรรมที่เปนการชวยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนที่เปนเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตตัง้ แต เกิด แก เจ็บ ตาย รวมทั้งการทําใหคนในชุมชนมีความเปนอยูที่ดีขึ้น ตามกิจ กรรมดัง นี้ 1) สวัส ดิก ารดาน เกิด 2. สวัสดิการดานคารักษาพยาบาล 3.สวัสดิการดานทุนการศึกษา 4) สวัสดิการดานฌาปนกิจ สงเคราะห 5) สวัส ดิก ารดา นการสงเคราะหผู พ ิก าร/ผู ด อ ยโอกาส/คนชรา 6) สวัส ดิก ารดา น สาธารณประโยชน 7.สวัสดิการดานเงินกู และ 8.สวัส ดิก ารอื่นๆ เชน กรณีเ กิดภัยพิบัติ ไฟไหม น้ํา ทวม การใหเปนสิ่งของ ขาวสาร น้ําดื่ม

สูตรการคํานวณ : จํานวนชุมชนที่มีครัวเรือนยากจนมีการจัดสวัสดิการ x 100 จํานวนชุมชนที่มีครัวเรือนยากจนทั้งหมด เกณฑการใหคะแนน

ระดับ 1 80 โ ด ย ท ี่ : ระดับคะแนน

1 2 3 4 5

ระดับ 2 85

ระดับ 3 90

ระดับ 4 95

ระดับ 5 100

เกณฑการใหคะแนน ชุมชนที่มีการจัดสวัสดิการเพื่อดูแลชีวิตครัวเรือนยากจน รอยละ 80 ( 11 ชุมชน) ชุมชนที่มีการจัดสวัสดิการเพื่อดูแลชีวิตครัวเรือนยากจน รอยละ 85 ( 12 ชุมชน) ชุมชนที่มีการจัดสวัสดิการเพื่อดูแลชีวิตครัวเรือนยากจน รอยละ 90 ( 13 ชุมชน) ชุมชนที่มีการจัดสวัสดิการเพื่อดูแลชีวิตครัวเรือนยากจน รอยละ 95 ( 13 ชุมชน) ชุมชนที่มีการจัดสวัสดิการเพื่อดูแลชีวิตครัวเรือนยากจน รอยละ 100 ( 14 ชุมชน)


แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล 1. แบบรายงาน แบบประเมิน จากสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ 2. แบบรายงาน แบบประเมิน จากสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด รายละเอียดขอมูลประกอบตัวชี้วัด จํานวนหมูบาน/ชุมชนที่มคี รัวเรือนยากจนเปาหมาย จํานวน 14 ชุมชน แยกเปนรายอําเภอดังนี้ ที่

อําเภอ

1 2 3 4 5 6 7 8

เมืองชุมพร หลังสวน ทาแซะ สวี ปะทิว พะโตะ ทุงตะโก ละแม รวม

ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด : 1. นายเสริมศักกดิ์ แนมใส

จํานวนหมูบ าน/ชุมชน 7 2 5 14

จํานวนรอยละของชุมชนที่ ผานเกณฑ รอยละ 100 7 2 5 14

พัฒนาการจังหวัดชุมพร โทร.0-7751-1330

2. นางมาลินี จันทรจุติ หัวหนากลุมงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน โทร.0-7751-1330 ผูจัดเก็บขอมูล : นางชฏามาศ ผิวผอง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ โทร. 0-7751-1330


แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น นิ ง า น ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 1 ร อ ย ล ะ ข อ ง ช ุม ช น ท ี่ม ีค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น ม ีก า ร จ ัด ส ว ัส ด ิก า ร เ พ ื่อ ด ูแ ล ป จ จ ัย น ํา เ ข า ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น 1 . ก ิจ ก ร ร ม ต า ม ย ุท ธ ศ า ส ต ร  ก ํา ห น ด ข ั้น ต อ น แ ล ะ ว ิธ ีก า ร บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น แ บ บ บ ูร ณ า ก า ร ต า ม โ ค ร ง ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า ค ว า ม ก ร ะ บ ว น ง า น 4 ก ร ะ บ ว น ง า น ด ัง น ี้ ย า ก จ น แ บ บ บ ูร ณ า ก า ร : ช ี้ ก ร ะ บ ว น ง า น ท ี่ 1 ช ี้เ ป า ช ีว ิต เ ป า ช ีว ิต จ ัด ท ํา เ ข ม็ ท ิศ ช ีว ิต ก ร ะ บ ว น ง า น ท ี่ 2 จ ัด ท ํา เ ข ็ม ท ิศ ช ีว ิต บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ช ีว ิต แ ล ะ ด ูแ ล ก ร ะ บ ว น ง า น ท ี่ 3 บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ช ีว ิต ช ีว ิต ก ร ะ บ ว น ง า น ท ี่ 4 ด ูแ ล ช ีว ิต

ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ข อ ง ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ป ร ะ จ าํ ป  2 5 5 6 ช ีว ิต ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น จ ัง ห ว ัด อ ํา เ ภ อ ต ํา บ ล ก ร ะ บ ว น ง า น ท ี่ 1 ช ี้เ ป า ช ีว ิต ก ร ะ บ ว น ง า น ท ี่ 1 ช ี้เ ป า ช ีว ิต ก ร ะ บ ว น ง า น ท ี่ 1 ช ี้เ ป า ช ีว ิต 1 . 1 จ ัด ป ร ะ ช ุม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร 1 . 1 อ ํา เ ภ อ แ ต ง ต ั้ง ช ุด ป ฏ ิบ ัต ิก า ร 1 . ส ร า ง ท ีม บ ูร ณ า ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น ต า ม ร ะ ด ับ ต ํา บ ล ป ร ะ ก อ บ ด ว ย ป ล ัด 1 . 1 ท ีม ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ต ํา บ ล ศ ึก ษ า แ น ว ค ิด ป ร ัช ญ า เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ ต ํา บ ล พ ัฒ น า ก ร ผ ูน ํา ช ุม ช น ท ํา ค ว า ม เ ข า ใ จ แ น ว ท า ง ก า ร พ อ เ พ ีย ง จ ัง ห ว ัด ( เ ช น อ ช . , ผ ูน ํา อ ช . , ผ ูน ํา ส ต ร ี, ต ร ว จ ส อ บ ข อ ม ูล แ ล ะ ค น ห า ก ร ะ บ ว น ง า น ท ี่ 4 ด ูแ ล ช ีว ิต ผ ูน ํา ก ล ุม / อ ง ค ก ร ป ร ะ ช า ช น ) ค ร ู ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น เ ป า ห ม า ย 1 . จ ัง ห ว ัด ม ีก า ร ต ิด ต า ม ก ศ น . , เ ก ษ ต ร ต ํา บ ล , เ บ ื้อ ง ต น จ า ก ข อ ม ูล จ ป ฐ . ค ว า ม ก า ว ห น า ก า ร บ ร ิห า ร ส า ธ า ร ณ ส ุข ต ํา บ ล เ ป น ต น แ ล ะ ข อ ม ูล จ า ก เ ว ท ีป ร ะ ช า ค ม จ ัด ก า ร ช ีว ิต ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น 1 . 2 อ ํา เ ภ อ ป ร ะ ช ุม ส ร า ง ค ว า ม ต ํา บ ล 2 . ม ีก า ร น ํา เ ส น อ ผ ล ก า ร บ ร ิห า ร เ ข า ใ จ น โ ย บ า ย ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า 1 . 2 ท ีม ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ต ํา บ ล จ ัด ก า ร ช ีว ิต ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น ค ว า ม ย า ก จ น ด ว ย ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ํา ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร จ ัด เ ว ท ี บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น ป ร ะ ช า ค ม เ พ ื่อ ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ 4 กระบ วน งาน จ ํา แ น ก ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น แ ล ะ แ น ว ท า ง ป ฏ ิบ ัต ิก า ร เ ค า ะ ป ร ะ ต ู บ า น ต า ม แ น ว ท า ง “ ป ฏ ิบ ัต ิก า ร 4 ท ” ( ท ัศ น ะ ต อ ช ีว ิต ต อ ง า น , ท ัก ษ ะ ฝ ม ือ แ ร ง ง า น ท ัก ษ ะ อ า ช ีพ , ท ร ัพ ย า ก ร แ ล ะ ท างอ อก )

ห ล ัก ฐ า น เ ช ิง ป ร ะ จ ัก ษ  1 . ค ํา ส ั่ง ค ณ ะ ท ํา ง า น 2 . แ ผ น ป ฏ ิบ ัต กิ า ร 3 .F a m il y F o l d e r

4 .แ บ บ ร า ย ง า น 5 . ส ร ุป ผ ล จ า ก ข อ ม ูล จ ป ฐ . 6 . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม


ป จ จ ัย น ํา เ ข า

ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น

จ ัง ห ว ัด

อ าํ เ ภ อ ก ร ะ บ ว น ง า น ท ี่ 3 บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ช ีว ิต 1 ) อ ํา เ ภ อ จ ัด ป ร ะ ช ุม ท ีม ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ต ํา บ ล ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น เ ป า ห ม า ย ท ี่ส า ม า ร ถ พ ัฒ น า ไ ด แ ล ะ ภ า ค ีพ ัฒ น า ท ุก ภ า ค ส ว น ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง เ พ ื่อ น ํา แ ผ น ง า น / โ ค ร ง ก า ร ต า ม เ ข ็ม ท ิศ ช ีว ิต ข อ ง ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น เ ป า ห ม า ย ท ี่จ ัด ท ํา ไ ว ม า ร ว ม ก ัน พ ิจ า ร ณ า เ พ ื่อ ห า แ น ว ท า ง ใ ห ก า ร ส น ับ ส น ุน แ ล ะ บ ร ร จ ุใ น แ ผ น ใ ห  ค ว า ม ช ว ย เ ห ล ือ ข อ ง ห น ว ย ง า น

ต ํา บ ล ก ร ะ บ ว น ง า น ท ี่ 2 จ ดั ท ํา เ ข ็ม ท ิศ ช ีว ิต 2 . 1 ช ุด ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ต ํา บ ล ร ว ม ก ับ ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น จ ัด ท ํา เ ข ็ม ท ิศ ช ีว ิต ด ัง น ี้ 1 ) ช ุด ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ต ํา บ ล อ อ ก เ ค า ะ ป ร ะ ต ูบ า น โ ด ย ก า ร อ อ ก พ บ ป ะ เ ย ี่ย ม เ ย ีย น ค ร ัว เ ร ือ น เ ป า ห ม า ย 2 ) ช ุด ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ต ํา บ ล ร ว ม ก ับ ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น เ ป า ห ม า ย ท ั้ง ส อ ง ก ล ุม ร ว ม ก ัน ว ิเ ค ร า ะ ห ส า เ ห ต ุแ ล ะ จ ัด ท ํา ส ม ุด บ ัน ท ึก ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น ร า ย ร า ย ค ร ัว เ ร ือ น ( F a m i l y F o l d e r ) 3 . ) ช ุด ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ต ํา บ ล ร ว ม ก ับ ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น จ ัด ท ํา เ ข ็ม ท ิศ ช ีว ิต 4 ) ช ุด ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ต ํา บ ล ต ิด ต า ม ส น ับ ส น ุน ก า ร บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ช ีว ิต ต า ม เ ข ็ม ท ิศ ช ีว ิต ข อ ง ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น เ ป า ห ม า ย อ ย า ง ส ม ่ํา เ ส ม อ

ห ล ัก ฐ า น เ ช ิง ป ร ะ จ ัก ษ 


ป จ จ ัย น ํา เ ข า

ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น

จ ัง ห ว ัด

อ ํา เ ภ อ

ต ํา บ ล ก ร ะ บ ว น ง า น ท ี่ 3 บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ช ีว ิต 1 . ท ีม ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ต ํา บ ล ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น เ ป า ห ม า ย แ ล ะ ภ า ค ีก า ร พ ัฒ น า ท ุก ภ า ค ส ว น ร ว ม ก ัน ผ ล ัก ด ัน ข ับ เ ค ล ื่อ น ก ิจ ก ร ร ม ต า ม แ ผ น ท ี่ช ีว ิต ห ร ือ เ ข ็ม ท ิศ ช ีว ิต ข อ ง ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น เ ป า ห ม า ย 2 . ส ง เ ส ร ิม ใ ห ช ุม ช น ก ล ุม / อ ง ค ก ร ก า ร เ ง ิน ใ น ช ุม ช น ท ี่ ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น เ ป า ห ม า ย อ า ศ ัย อ ย ู ใ ห ก า ร ส น ับ ส น ุน ช ว ย เ ห ล ือ เ ก ื้อ ก ูล ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น ท ั้ง ก ล ุม ท ี่ส า ม า ร ถ พ ัฒ น า ไ ด แ ล ะ ก ล ุม ท ี่ต อ ง ส ง เค ร า ะ ห  3 . จ ัด ค ล ิน ิก แ ก จ น เ พ ื่อ ใ ห  ค ํา ป ร ึก ษ า อ า ช ีพ ท า ง เ ล ือ ก ส ํา ห ร ับ ค ร ัว เ ร ือ น ย า ก จ น เ ป า ห ม า ย

ห ล ัก ฐ า น เ ช ิง ป ร ะ จ ัก ษ 


ตัวชี้วัดที่ 2

รอยละของจํานวนผูนํา อช. ที่สามารถบริหารจัดการชุมชนตามเกณฑที่กําหนด

หนวยวัด :

รอยละ

น้ําหนัก :

รอยละ 1

ค าํ อ ธ ิบ า ย : ผูนํา อช. หมายถึง อาสาพัฒนาชุมชนที่ไดรับการคัดเลือกจากเวทีประชาคมอาสาพัฒนา ชุมชนรวมกับองคการบริหารสวนตําบล เพื่อใหปฏิบัติงานในฐานะผูนําของอาสาพัฒนาชุมชน อัตราสวน 1 ตําบล : 2 คน (ชาย 1 คน หญิง 1 คน) และไดรับคําสั่งแตงตั้งจากจังหวัดใหปฏิบัตงิ านในพื้นที่องคการบริหาร สวนตําบล ในปงบประมาณ พ.ศ. 2554-2557 จํานวน 120 คน โดยไดรับคาตอบแทนจากกรมการพัฒนา ชุมชน จํานวน 2,000 บาท/คน/ป การบริหารจัดการชุมชน หมายถึง การดําเนินงานในชุมชนโดยมีการวางแผนปฏิบัตงิ านอยางเปนระบบใน การพัฒนาหมูบ านและชุมชน โดยมุง หวังใหเปนไปตามวัตถุประสงคเพื่อ มุงผลสัมฤทธิ์ใหเปนไปตามแผนงานที่ กําหนดไวอยางเปนรูปธรรม 1. โดยผูนํา อช. ทุกคนจะตองปฏิบัติหนาที่ตามภารกิจหลัก จํานวน 2 ตัว ไดแก การขับเคลื่อนปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และการแกไขปญหาความยากจน 2. ผูนํา อช.ทุกคนตองเลือกดําเนินการตามความถนัดหรือปญหาความตองการของชุมชน อยางนอย 1 ภารกิจ ภารกิจของผูนํา อช. 10 ภารกิจ ประกอบดวย 1 . ก า ร จ ัด เ ก บ็ ข อ ม ูล เ พ ื่อ ก า ร พ ฒั น า ช น บ ท ( จ ป ฐ . / ก ช ช . 2 ค . / อ ื่น ๆ 2 . ก า ร ข ับ เ ค ล ื่อ น แ ผ น ช ุม ช น 3 . ก า ร ข ับ เ ค ล อื่ น ศ ูน ย เ ร ีย น ร ูช ุม ช น 4 . ก า ร ส ง เ ส ร มิ ว ิถ ีป ร ะ ช า ธ ิป ไ ต ย 5 . ก า ร ข ับ เ ค ล อื่ น ป ร ัช ญ า เ ศ ร ษ ฐ ก จิ พ อ เ พ ีย ง 6 . ก า ร ป อ ง ก ัน แ ล ะ แ ก ไ ข ป ญ ห า ย า เ ส พ ต ิด 7 . ก า ร อ น ุร ัก ษ ท ร ัพ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ต ิแ ล ะ ส ิ่ง แ ว ด ล อ ม 8 . ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น 9 . ก า ร ส ง เ ส ร ิม อ า ช ีพ 10. การสงเสริมทุนชุมชน สูตรการคํานวณ : จํานวนผูนํา อช. ที่สามารถบริหารจัดการชุมชนตามเกณฑที่กําหนด x 100 จํานวนผูนํา อช. ทั้งหมด เกณฑการใหคะแนน

ระดับ 1 40

ระดับ 2 45

ระดับ 3 50

ระดับ 4 55

ระดับ 5 60


โ ด ย ท ี่ : รายละเอียด

ระดับ

1 2 3 4 5

ผูนําอช. มีการบริหารจัดการชุมชนตามเกณฑที่กําหนด รอยละ 40 ผูนําอช. มีการบริหารจัดการชุมชนตามเกณฑที่กําหนด รอยละ 45 ผูนําอช. มีการบริหารจัดการชุมชนตามเกณฑที่กําหนด รอยละ 50 ผูนําอช. มีการบริหารจัดการชุมชนตามเกณฑที่กําหนด รอยละ 55 ผูนําอช. มีการบริหารจัดการชุมชนตามเกณฑที่กําหนด รอยละ 60

( ( ( ( (

48 คน) 54 คน) 60 คน) 66 คน) 72 คน)

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล 1. แบบรายงานแผนการปฏิบัติงานของผูนํา อช. 2. แบบรายงานผลการปฏิบัติงานของผูนํา อช. ผ ูก ํา ก ับ ด ูแ ล ต ัว ช ี้ว ัด

: 1 .น าย เบ อ 2 .น าย เบ อ

เ ส ร ิม ศ ัก ด ร ต ิด ต อ : ตรอน น ร ต ิด ต อ :

ิ์ แ น ม ใ ส ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ิล ย ก า น น ท ๐ ๗ ๗ ๕ ๐

พ ฒั ๑ ๓  ห ๖ ๒

น า ก า ร จ งั ห ว ดั ช มุ พ ร ๓ ๐ ัว ห น า ก ล มุ ง า น ส ง เ ส ร ิม ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ๔ ๐

ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล

: น า ง อ น ง ค น า ฏ ก ติ ต ิส ุบ ร ร ณ น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ดิ ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๐ ๖ ๒ ๔ ๐

รายละเอียดขอมูลประกอบตัวชี้วัด จํานวนผูนํา อช. จํานวน 60 ตําบล จํานวน 72 คน แยกเปนรายอําเภอดังนี้ ที่

อําเภอ

1 2 3 4 5 6 7 8

เมืองชุมพร หลังสวน ทาแซะ สวี ปะทิว พะโตะ ทุงตะโก ละแม รวม

จํานวนผูนํา อช. 26 20 20 22 12 8 4 8 120

จํานวนผูนํา อช.ที่ผานเกณฑ รอยละ 60 16 12 12 13 7 5 2 5 72


1

1

1

1

แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ข อ ง ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ป ร ะ จ ํา ป  2 5 5 6 ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 2 ร อ ย ล ะ ข อ ง จ ํา น ว น ผ ูน ํา อ ช . ท ี่ส า ม า ร ถ บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ช ุม ช น ต า ม เ ก ณ ฑ ท ี่ก ํา ห น ป จ จ ัย น ํา เ ข า ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น กรม ฯ จ ัง ห ว ัด อ ํา เ ภ อ . ก ิจ ก ร ร ม ต า ม ย ุท ธ ศ า ส ต ร  1 . ส ร า ง ค ว า ม ร ูค ว า ม เ ข า ใ จ 1 . ก ํา ห น ด ข ั้น ต อ น แ น ว 1 . ป ร ะ ช ุม ช ี้แ จ ง เ จ า ห น า ท ี่ 1 . ป ร ะ ช ุม ช ี้แ จ ง แ น ว ท า ง ร ม ฯ ป 2 5 5 6 เ จ า ห น า ท ี่ร ับ ผ ิด ช อ บ ง า น อ ช . ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ผ ูร บั ผ ิด ช อ บ ง า น อ ช . ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด . 1 โ ค ร ง ก า ร พ ัฒ น า 2 . ก ํา ห น ด เ ป า ห ม า ย ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด เ ก ี่ย ว ก ับ ต ัว ช ี้ว ัด แ ล ะ ค า ท ี่ก ร ม ฯ ก ํา ห น ด ใ ห ก ับ ผ ูน ํา ัก ย ภ า พ ข อ ง ผ ูน ํา อ า ส า ต ัว ช ี้ว ัด ร ะ ด ับ อ ํา เ ภ อ ใ ห  2 . ก ํา ห น ด ห ล ัก ฐ า น เ ช ิง เ ป า ห ม า ย ท ี่ก ร ม ฯ ก ํา ห น ด อ ช . ท ุก ค น ัฒ น า ช ุม ช น ( ผ ูน ํา อ ช . ) เ ป น ไ ป ต า ม เ ป า ห ม า ย ท ี่ ป ร ะ จ ัก ษ ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด 2 . ส ร ปุ เ ป า ห ม า ย ใ ห อ ํา เ ภ อ 2 . ผ ูน ํา อ ช . ท ุก ค น จ ัด ท ํา . 1 . 1 พ ัฒ น า ศ ัก ย ภ า พ ก ํา ห น ด 3 . ก ํา ห น ด ป ฏ ิท ิน ก า ร ต า ม ค า เ ป า ห ม า ย ท ี่ก ร ม ฯ แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ต า ม ภ า ร ก จิ ูน ํา อ ช . ต น แ บ บ ด า น 3 . จ ัด ท ํา ป ฏ ทิ ิน ข ั้น ต อ น ก า ร ร า ย ง า น ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ก ํา ห น ด ต า ม เ ป า ห ม า ย ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ร หิ า ร จ ัด ก า ร ช ุม ช น ภ า ย ใ ต  ด ํา เ น ิน ง า น 3 . ก ํา ห น ด ภ า ร ก จิ ห ล ัก ท ี่ก ํา ห น ด 2 ภ า ร ก ิจ แ ล ะ ร ัช ญ า เ ศ ร ษ ฐ ก จิ พ อ เ พ ีย ง 4 . ก ํา ห น ด ห ล ัก ฐ า น เ ช ิง ท ี่ผ ูน ํา อ ช . จ ะ ต อ ง ป ฏ ิบ ัต ิ ภ า ร ก ิจ ท เี่ ล อื ก ต า ม ค ว า ม . 1 . 1 เ พ ิ่ม ป ร ะ ส ิท ธ ิภ า พ ป ร ะ จ ัก ษ  ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง 2 ภ า ร ก ิจ ถ น ัด แ ล ะ ค ว า ม ต อ ง ก า ร า ร ด ํา เ น ิน ง า น ผ ูน ํา อ ช . / 3 . 1 ก า ร ข ับ เ ค ล ื่อ น ป ร ัช ญ า ข อ ง ช ุม ช น อ ย า ง น อ ย 1 ม า ค ม ผ ูน ํา อ ช . เ ศ ร ษ ฐ ก จิ พ อ เ พ ีย ง ภ า ร ก ิจ 3 . 2 ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า ค ว า ม 3 . ต ิด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ ม ิน ผ ล ยากจน ก า ร ป ฏ ิบ ัต งิ า น ต า ม แ ผ น 4 . ผ ูน ํา อ ช . ท ุก ค น ต อ ง ข อ ง ผ ูน ํา อ ช . ท ุก ค น เ ล ือ ก ภ า ร ก จิ ท ี่ถ น ัด แ ล ะ เ ป น 4 . ก ํา ห น ด ป ฏ ิท ิน ก า ร ส ง ค ว า ม ต อ ง ก า ร ข อ ง ช ุม ช น ห ล ัก ฐ า น เ ช ิง ป ร ะ จ ัก ษ  อ ย า ง น อ ย ค น ล ะ 1 ภ า ร ก จิ

ป ร ะ เ ม ิน ผ ล / ห ล ัก ฐ า น 1 . ท ะ เ บ ีย น ผ ูน ํา อ ช . (ป 2 5 5 6 ) 2 . ท ะ เ บ ีย น ผ ูน ํา อ ช . ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ( ป  2 5 5 6 ) 3 . ค ํา ส ั่ง แ ต ง ต ั้ง ผ ูน ํา อ ช . 4 . แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิง า น ข อ ง ผ ูน ํา อ ช . ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ห ล ัก ท ี่ก ํา ห น ด 2 ภ า ร ก ิจ แ ล ะ ภ า ร ก ิจ ท เี่ ล อื ก ต า ม ค ว า ม ถ น ัด แ ล ะ ค ว า ม ต อ ง ก า ร ข อ ง ช ุม ช น อ ย า ง น อ ย 1 ภ า ร ก ิจ 5 . ผ ล ก า ร ต ิด ต า ม ผ ูน ํา อ ช . ต า ม เ ป า ห ม า ย ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด


ท ี่

ท ะ เ บ ีย น ผ ูน ํา อ า ส า พ ัฒ น า ช ุม ช น ( ผ ูน ํา อ ช . ) ต วั ช ี้ว ัด ท ี่ 2 ร อ ย ล ะ ข อ ง จ ํา น ว น ผ ูน ํา อ ช . ท ี่ส า ม า ร ถ บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ช ุม ช น ต า ม เ ก ณ ฑ ต ัว ช ี้ว ดั อ ํา เ ภ อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . จ ัง ห ว ัด ช มุ พ ร ส ถ า น ท ี่อ ย ู ช ่อื - ส ก ลุ เ บ อ ร โ ท ร ศ ัพ ท  ห ม า ย เห ต ุ บ า น เ ล ข ท ี่ ห ม ูท ี่ ต ํา บ ล


2

แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิง า น ข อ ง ผ ูน าํ อ า ส า พ ัฒ น า ช ุม ช น ( ผ ูน ํา อ ช . ) ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 2 : ร อ ย ล ะ ข อ ง จ ํา น ว น ผ ูน ํา อ ช . ท ี่ส า ม า ร ถ บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ช มุ ช น ต า ม เ ก ณ ฑ ท ี่ก ํา ห น ด ช ่อื - ส ก ุล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ผ ูน ํา อ ช . ต ํา บ ล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . อ าํ เ ภ อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . จ ัง ห ว ัด ช ุม พ ร ว ัน เ ด ือ น ป  ท ่ี แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิก า ร โ ค ร ง ก า ร / ก ิจ ก ร ร ม ส ถ า น ท ี่ด ํา เ น ิน ก า ร ว ิธ ีด ํา เ น ิน ก า ร ห ม า ย เห ต ุ ด ํา เ น ิน ก า ร ภ า ร ก ิจ ห ล ัก 1 ก า ร ข ับ เ ค ล ื่อ น ป ร ัช ญ า เ ศ ร ษ ฐ ก จิ พ อ เ พ ีย ง ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น

1

ภ า ร ก ิจ เ พ ิ่ม เ ต ิม

2 3 ห ม า ย เ ห ต ุ - ภ า ร ก จิ ห ล ัก ไ ด แ ก  1 . ก า ร ข ับ เ ค ล ื่อ น ป ร ัช ญ า เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง 2 . ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น - ภ า ร ก ิจ เ พ ิ่ม เ ต ิม ไ ด แ ก  1 . ก า ร จ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล เ พ ื่อ ก า ร พ ัฒ น า ช น บ ท ( จ ป ฐ . / ก ช ช 2 ค . / อ ่ืน ๆ ) 2 . ก า ร ข ับ เ ค ล ื่อ น แ ผ น ช ุม ช น 3 . ก า ร ข ับ เ ค ล ่อื น ศ ูน ย เ ร ีย น ร ูช ุม ช น 4 . ก า ร ส ง เ ส ร ิม ว ิถ ีป ร ะ ช า ธ ิป ไ ต ย 5 . ก า ร ป อ ง ก ัน แ ล ะ แ ก ไ ข ป ญ ห า ย า เ ส พ ต ิด 6 . ก า ร อ น รุ ัก ษ ท ร ัพ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ต ิแ ล ะ ส ่งิ แ ว ด ล อ ม 7 . ก า ร ส ง เ ส ร ิม อ า ช ีพ 8 . ก า ร ส ง เ ส ร มิ ท ุน ช มุ ช น


ผ ล ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิง า น ข อ ง ผ ูน ํา อ า ส า พ ัฒ น า ช ุม ช น ( ผ ูน ํา อ ช . ) ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 2 : ร อ ย ล ะ ข อ ง จ ํา น ว น ผ ูน ํา อ ช . ท ี่ส า ม า ร ถ บ ร ิห า ร จ ัด ก า ร ช มุ ช น ต า ม เ ก ณ ฑ ท ี่ก ํา ห น ด ช ่อื - ส ก ุล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ผ ูน ํา อ ช . ต ํา บ ล . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . อ าํ เ ภ อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . จ ัง ห ว ัด ช ุม พ ร ท ี่

ภ า ร ก ิจ

1

ภ า ร ก ิจ ห ล ัก ก า ร ข ับ เ ค ล ื่อ น ป ร ัช ญ า เ ศ ร ษ ฐ ก จิ พ อ เ พ ีย ง 2

ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น

โ ค ร ง ก า ร / ก ิจ ก ร ร ม

ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น

ข อ เ ส น อ แ น ะ

1

ภ า ร ก ิจ เ พ ิ่ม เ ต ิม

2 3 ห ม า ย เ ห ต ุ - ภ า ร ก จิ ห ล ัก ไ ด แ ก  1 . ก า ร ข ับ เ ค ล ื่อ น ป ร ัช ญ า เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ พ อ เ พ ีย ง 2 . ก า ร แ ก ไ ข ป ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น - ภ า ร ก ิจ เ พ ิ่ม เ ต ิม ไ ด แ ก  1 . ก า ร จ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล เ พ ื่อ ก า ร พ ัฒ น า ช น บ ท ( จ ป ฐ . / ก ช ช 2 ค . / อ ื่น ๆ ) 2 . ก า ร ข ับ เ ค ล ื่อ น แ ผ น ช ุม ช น 3 . ก า ร ข บั เ ค ล ื่อ น ศ นู ย เ ร ยี น ร ชู ุม ช น 4 . ก า ร ส ง เ ส ร ิม ว ิถ ีป ร ะ ช า ธ ิป ไ ต ย 5 . ก า ร ป อ ง ก ัน แ ล ะ แ ก ไ ข ป ญ ห า ย า เ ส พ ต ิด 6 . ก า ร อ น ุร ัก ษ ท ร ัพ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ต แิ ล ะ ส ิ่ง แ ว ด ล อ ม 7 . ก า ร ส ง เ ส ร ิม อ า ช พี 8 . ก า ร ส ง เ ส ร มิ ท ุน ช ุม ช น

ห ม า ย เห ต ุ


ตัวชี้วัดที่ 3

รอยละของหมูบานที่มีและใชแผนชุมชนในการบริหารจัดการชุมชนไดอยางมีประสิทธิภาพ

หนวยวัด :

รอยละ

น้ําหนัก :

รอยละ 1

คําอธิบาย : กรมการพัฒนาชุมชน สงเสริม กระบวนการแผนชุมชนในทุก หมูบานชุมชน เพื่อสรางการ เรียนรูและการมีสวนรวมของประชาชน โดยความรวมมือของคนในหมูบานชุมชน ในการใหขอมูล และมี คณะกรรมการหมูบาน (กม.) เปนแกนนําในการดําเนินการขับเคลื่อนกิจกรรม โดยการจัดเก็บและรวบรวม ขอมูลของหมูบาน แลวรวมกับประชาชนในหมูบานชุมชน นําขอมูลไปจัดเวทีประชาคม รวมกันคิด วิเคราะห ตัดสินใจ กําหนดทิศทางการพัฒนาหมูบาน โดยการจัดทําแผนชุมชน เพื่อแกไขปญหาที่ชุมชนเผชิญอยูรวมกัน และพัฒนาชุมชนหรือทองถิ่นของตนเองใหเขมแข็ง มีการแนวทางการบริหารจัดการหมูบานชุม ชนอยางมี ประสิทธิภาพ รวมทั้ง เปนที่เชื่อถือขององคกรภาคีการพัฒนา ตลอดจนหนวยงานสนับสนุนตาง ๆ ในพื้นที่ โดยเฉพาะองคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งกรมฯ ไดกําหนดใหแผนชุมชน ทีห่ มูบานชุมชนรวมกันจัดทําขึ้นตอง มีการประเมินคุณภาพแผนชุมชน และ/หรือผานการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน กําหนดใหหมูบานชุมชนมีและใชแผนชุมชนในการบริหารจัดการชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ โดยพิจารณาจาก 1) ใชขอ มูล พื้นฐาน จปฐ, กชช. 2 ค และ/หรือขอมูล บัญ ชีรับ -จ ายครัวเรื อนในการ วิเคราะหและจัดทําแผนชุมชน 2) ประชาชนในชุม ชนและองคก รปกครองสวนทองถิ่นมีสวนรวมในการใหขอมูล คิด วิเคราะห ตัดสินใจ ดําเนินกิจกรรม และติดตาม 3) มีแผนชุมชนทึ่เปนลายลักษณอักษร เปนรูปเลม เปนปจจุ บัน และใชในการประสาน แผนกับหนวยงานตาง ๆ ได 4) มีแผนงาน/โครงการของชุมชน และกระบวนการชุมชนที่สอดคลองตามแนวปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 5) มีกิจกรรมพึ่งตนเอง (ทําเอง) อยางนอยรอยละ 30 ของกิจกรรมในแผนชุมชน และ นําไปปฏิบัติจริงรอยละ 30 ของกิจกรรมพึ่งตนเองและมีกิจกรรมที่ทํารวม/หนวยงานทําใหไดรับการสนับสนุน งบประมาณและรวมดําเนินการจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือหนวยงานภาคี เกณฑการใหคะแนน : แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 5 ระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน เกณฑการประเมิน 1 - รอยละ 55 ของแผนชุมชนที่สงเขารับการประเมิน ป 56 ผานการรับรองมาตฐานฯจาก คณะกรรมการฯ ระดับจังหวัด และ - รอยละ 10 ของแผนชุมชนที่ผานการรับรอง ป 55 มีการประเมินซ้ําในป 56 และผานการ รับรองฯ จากคณะกรรมการฯ ระดับอําเภอ 2 - รอยละ 75 ของแผนชุมชนที่สงเขารับการประเมิน ป 56 ผานการรับรองมาตฐานฯจาก คณะกรรมการฯ ระดับจังหวัด และ - รอยละ 30 ของแผนชุมชนที่ผานการรับรอง ป 55 มีการประเมินซ้ําในป 56 และผานการ รับรองฯ จากคณะกรรมการฯ ระดับอําเภอ


ระดับคะแนน เกณฑการประเมิน 3 - รอยละ 95 ของแผนชุมชนที่สงเขารับการประเมิน ป 56 ผานการรับรองมาตฐานฯจาก คณะกรรมการฯ ระดับจังหวัด และ - รอยละ 50 ของแผนชุมชนที่ผานการรับรอง ป 55 มีการประเมินซ้ําในป 56 และผานการ รับรองฯ จากคณะกรรมการฯ ระดับอําเภอ 4 รอยละ 80 ของแผนชุมชนที่ผานการรับรองมาตรฐานฯ ตามระดับคะแนนที่ 3 ไดรับการ สนับ สนุนหรือ รวมดําเนิน การจากองค ก รปกครองสวนทองถิ่น อยางนอย 1 กิจ กรรม/ โครงการ 5 รอยละ 95 ของแผนชุมชนที่ผานการรับรองมาตรฐานฯ ตามระดับคะแนนที่ 3 ไดรับการ สนับ สนุนหรือ รวมดําเนิน การจากองค ก รปกครองสวนทองถิ่น อยางนอย 1 กิจ กรรม/ โครงการ รายละเอียดประกอบตัวชี้วัด : ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด

หนวยวัด

จํานวนหมูบานทั้งหมด จํานวนหมูบานมีและใชแผนชุม ชนในการ บริหารจัดการชุมชนไดอยางมีประสิทธิภาพ

หมูบาน หมูบาน

ผ ูก ํา ก ับ ด ูแ ล ต ัว ช ี้ว ัด

ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล

: 1 .น าย เบ อ 2 .น าย เบ อ

เ ส ร ิม ศ ัก ด ร ต ิด ต อ : ตรอน น ร ต ิด ต อ :

ิ์ แ น ม ใ ส ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ิล ย ก า น น ท ๐ ๗ ๗ ๕ ๐

พ ฒั ๑ ๓  ห ๖ ๒

ผลการดําเนินงานในอดีต ปงบประมาณ พ.ศ.... 2553 2554 2555 712 712 712 -

น า ก า ร จ งั ห ว ดั ช มุ พ ร ๓ ๐ ัว ห น า ก ล มุ ง า น ส ง เ ส ร ิม ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ๔ ๐

: น า ย ส ุภ ัท ร ข จ ร ม า ศ บ ุษ ป  น กั ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๐ ๖ ๒ ๔ ๐ เปาหมายการดําเนินงาน ลําดับที่ อําเภอ จําหนวนหมูบานเปาหมาย ป 2556 1 เมืองชุมพร 53 2 หลังสวน 49 3 ทาแซะ 41 4 สวี 40 5 ปะทิว 26 6 พะโตะ 15 7 ทุงตะโก 12 8 ละแม 15 รวม 251


ตัวชี้วัดที่ 4 จํานวนรอยละสะสมชุมชนที่มีการอนุรักษและสืบสานภูมิปญญาทองถิ่น ห น ว ย ว ัด : ร อ ย ล ะ น ้ํา ห น ัก : ร อ ย ล ะ 1 ค ํา อ ธ ิบ า ย : ภ ูม ิป ญ ญ า ห ม า ย ถ งึ ค ว า ม ร ูข อ ง ช า ว บ า น ใ น ท อ ง ถ ิ่น ซ ึ่ง ไ ด ม า จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ  แ ล ะ ค ว า ม เ ฉ ล ีย ว ฉ ล า ด ข อ ง ช า ว บ า น ร ว ม ท งั้ ค ว า ม ร ูท สี่ ั่ง ส ม ม า แ ต บ ร ร พ บ ุร ุษ ส บื ท อ ด จ า ก ค น ร ุน ห น ึ่ง ไ ป ส ูค น อ ีก ร ุน ห น งึ่ ร ะ ห ว า ง ก า ร ส ืบ ท อ ด ม ีก า ร ป ร ับ ป ร ะ ย ุก ต แ ล ะ เ ป ล ี่ย น แ ป ล ง จ น อ า จ เ ก ิด เ ป น ค ว า ม ร ูใ ห ม ต า ม ส ถ า น ก า ร ณ  ท า ง ส งั ค ม ว ัฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ส ิ่ง แ ว ด ล อ ม ก า ร จ ด บ ัน ท ึก ภ ูม ปิ ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น เ ป น ก า ร ถ า ย ท อ ด ค ว า ม ร ทู ี่เ ป น ร ูป ธ ร ร ม ผ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร เ ร ีย น ร ู ม ี ก า ร จ ัด เ ก ็บ บ ัน ท กึ ข อ ม ูล อ ย า ง เ ป น ร ะ บ บ แ ล ะ ส า ม า ร ถ น ํา ข อ ม ูล ไ ป ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ไ ด  ก า ร จ ด บ ัน ท ึก ภ ูม ิป ญ ญ า เ ป น ส ว น ห น ึ่ง ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร บ ร หิ า ร ก า ร จ ัด เ ก บ็ บ ัน ท กึ แ ล ะ ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ข อ ม ลู ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น เ พ ื่อ ใ ห ม ี ร ูป แ บ บ ก า ร จ ัด เ ก ็บ แ ล ะ จ ด บ ัน ท ึก อ ย า ง เ ป น ร ะ บ บ แ ล ะ ง า ย ต อ ก า ร เ ร ีย น ร ูข อ ง ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น :

โ ด ย ท ี่ :

ร ะ ด ับ 1

ร ะ ด ับ 2

ร ะ ด ับ 3

ร ะ ด ับ 4

ร ะ ด ับ 5

1

2

3

4

5

ร ะ ด ับ คะแ น น 1 2 3 4 5

เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น ๏ ส ร า ง ค ว า ม ร ู ค ว า ม เ ข า ใ จ ใ น อ น รุ ัก ษ แ ล ะ ส บื ส า น ภ ูม ปิ ญ ญ า ท อ ง ถ ่นิ แ ก ภ า ค ีก า ร อ น รุ ัก ษ  ส ืบ ส า น ภ ูม ปิ ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ๏ พ ัฒ น า แ ล ะ เ พ ิ่ม พ ูน ท ัก ษ ะ เ ย า ว ช น ด า น ก า ร อ น รุ ัก ษ แ ล ะ ส บื ส า น ภ ูม ปิ ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ๏ จ ดั เ ว ท ีป ร ะ ช า ค ม เ พ ื่อ ก า ร อ น รุ ัก ษ แ ล ะ ส บื ส า น ภ ูม ปิ ๏ จ ด บ ัน ท ึก ภ ูม ปิ ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ต ํา บ ล เ ป า ห ม า ย แ ล ะ บ ท ี่เ ข า ร ว ม ก จิ ก ร ร ม เ พ ิ่ม พ ูน ท ัก ษ ะ เ ย า ว ช น ด า น ก า ร อ จ ํา น ว น 6 ภ ูม ิป ญ ญ า ๏ เ ผ ย แ พ ร ภ ูม ปิ ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ใ ห เ ป น ท รี่ ูจ ัก จ ํา น ว น 6

แ ห ล ง ข อ ม ลู / ว ธิ ีก า ร จ ดั เ ก ็บ ข อ ม ลู : 1 . เ อ ก ส า ร จ ด บ นั ท ึก ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น 2 . เ อ ก ส า ร เ ผ ย แ พ ร ป ร ะ ช า ส ัม พ ัน ธ ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น

ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ัน ท ึก ภ มู ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ข อ ง เ ย า ว ช น น ุร กั ษ แ ล ะ ส บื ส า น ภ ูม ปิ ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ภ ูม ิป ญ ญ า


ผ ูก ํา ก ับ ด ูแ ล ต ัว ช ี้ว ัด

: 1 .น าย เบ อ 2 .น าย เบ อ

เ ส ร ิม ศ ัก ด ร ต ิด ต อ : ตรอน น ร ต ิด ต อ :

ิ์ แ น ม ใ ส ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ิล ย ก า น น ท ๐ ๗ ๗ ๕ ๐

พ ฒั ๑ ๓  ห ๖ ๒

น า ก า ร จ งั ห ว ดั ช มุ พ ร ๓ ๐ ัว ห น า ก ล มุ ง า น ส ง เ ส ร ิม ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ๔ ๐

ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล

: น า ย ว ิจ ติ ร ท อ ง ป ร ะ ด ู น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๐ ๖ ๒ ๔ ๐

ท ะ เ บ ีย น เ ป า ห ม า ย ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ท ี่

ต ํา บ ล

รว

ท งุ ค า ส ล ุย ท ะ เ ล ท ร พั ย  ข ัน เ ง ิน ท ุง ต ะ ไ ค ร น า โ พ ธ ิ์ ม 6 อ ํา เ ภ อ 6 ต ํา บ ล ๆ ล ะ 1 ห ม ูบ

1 2 3 4 6

5

อ ํา เ ภ อ เ ม อื ง ช ุม พ ร ท า แ ซ ะ ป ะ ท ิว ห ล งั ส ว น ท ุง ต ะ โ ก สวี า น 6 ห ม ูบ า น / ช ุม ช น

จ ํา น ว น ช ุม ช น เ ป า ห ม า ย 1 1 1 1 1 1

6 ช ุม ช น


แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น นิ ง า น ต า ม ค ํา ร บั ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ริ า ช ก า ร ข อ ง ก ร ม ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ป ร ะ จ ํา ป  2 5 5 6 ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 4 จ ํา น น ว น ร อ ย ล ะ ส ะ ส ม ช ุม ช น ท มี่ ีก า ร อ น รุ ัก ษ แ ล ะ ส บื ส า น ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ป จ จ ัย น ํา เ ข า ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น กรม ฯ จ ัง ห ว ัด ฯ อ ํา เ ภ อ 1 . ก ิจ ก ร ร ม ต า ม 1 . ป ร ะ ช า ส ัม พ ัน ธ ร บั ส ม ัค ร 1 ย ุท ธ ศ า ส ต ร ก ร ม ฯ ป  เ ย า ว ช น เ พ ื่อ เ ข า ร ว ม ก ิจ ก ร ร ม ข 2 5 5 5 พ ัฒ น า ศ ัก ย ภ า พ เ ย า ว ช น ด า น 2 - พ ัฒ น า ศ ัก ย ภ า พ เ ย า ว ช น ก า ร อ น ุร กั ษ แ ล ะ ส ืบ ส า น ภ ูม ิ ท ด า น ก า ร อ น ุร กั ษ แ ล ะ ส ืบ ป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น 3 ส า น ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น 2 . น ํา เ ย า ว ช น เ ข า ร ว ม ฝ ก อ บ ร ม ภ - เ พ ิ่ม พ ูน ท กั ษ ะ เ ย า ว ช น ต า ม โ ค ร ง ก า ร พ ฒั น า ศ ัก ย ภ า พ ด า น ก า ร อ น ุร กั ษ แ บ ะ ส ืบ เ ย า ว ช น ด า น ก า ร อ น ุร ัก ษ แ ล ะ ส า น ภ มู ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ส ืบ ส า น ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น - ส ร า ง ภ า ค ีก า ร อ น รุ ัก ษ  แ ล ะ ส บื ส า น ภ ูม ปิ ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น

ป ร ะ เ ม ิน ผ ล / ห . ท ะ เ บ ีย น ภ ูม ิป ญ ญ า อ ง ช ุม ช น เ ป า ห ม า ย . เ อ ก ส า ร จ ด บ ัน ท ึก ภ อ ง ถ ิ่น . เ อ ก ส า ร เ ผ ย แ พ ร ป ร ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น

ล กั ฐ า น ท อ ง ถ ิ่น ข อ ง ูม ิป ญ ญ า ะ ช า ส มั พ ัน ธ 

8

7


ป จ จ ัย น ํา เ ข า - เ ว ท ีป ร ะ ช า ค ม เ พ ื่อ ก า ร อ น ุร ัก ษ แ บ ะ ส ืบ ส า น ภ ูม ิ ป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น

ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น 3 . ค ัด เ ล ือ ก เ ย า ว ช น ท ี่ผ า น ก า ร ฝ ก อ บ ร ม ต า ม โ ค ร ง ก า ร พ ัฒ น า เ ย า ว ช น เ พ ื่อ ก า ร อ น ุร ัก ษ แ ล ะ ส ืบ ส า น ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น เ ข า ร ว ม ก ิจ ก ร ร ม เ พ ิ่ม พ ูน ท ัก ษ ะ เ ย า ว ช น ด า น ก า ร อ น ุร ัก ษ แ ล ะ ส ืบ ส า น ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น 4 . ส ร า ง ค ว า ม ร ู ค ว า ม เ ข า ใ จ เ ก ี่ย ว ก ับ ภ ูม ปิ ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ต า ม โ ค ร ง ก า ร ส ร า ง ภ า ค ีก า ร อ น ุร ัก ษ  แ ล ะ ส บื ส า น ภ ูม ปิ ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น 5 . จ ัด เ ว ท ปี ร ะ ช า ค ม เ พ ื่อ ก า ร อ น ุร ัก ษ แ ล ะ ส บื ส า น ภ ูม ปิ ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น 6 . จ ด บ ัน ท ึก ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น 7 . เ ผ ย แ พ ร ภ ูม ิป ญ ญ า ท ี่จ ด บ ัน ท ึก ใ ห ร จู ัก อ ย า ง แ พ ร ห ล า ย ใ น ช ุม ช น แ ล ะ น อ ก ช ุม ช น

กรม ฯ

จ ัง ห ว ัด ฯ

อ ํา เ ภ อ

ป ร ะ เ ม ิน ผ ล / ห ล กั ฐ า น

8 8


แ บ บ ต ร ว จ ส อ บ ห ล ัก ฐ า น อ า ง อ งิ ต ัว ช ้วี ดั ท ี่ 4 จ ํา น ว น ร อ ย ล ะ ส ะ ส ม ช ุม ช น ท ี่ม กี า ร อ น รุ ัก ษ แ ล ะ ส ืบ ส า น ภ มู ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ช ื่อ ต ัว ช ี้ว ัด ห ล ัก ฐ า น อ า ง อ งิ ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 4 จ ํา น ว น ร อ ย ล ะ ส ะ ส ม ช ุม ช น ท ่มี ีก า ร อ น ุร ัก ษ แ ล ะ ส บื ส า น ภ ูม ิ ป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น

1 . ท ะ เ บ ยี น ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ข อ ง ช ุม ช น เ ป า ห ม า ย 2 . เ อ ก ส า ร จ ด บ ัน ท ึก ภ มู ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่ น 3 . เ อ ก ส า ร เ ผ ย แ พ ร ป ร ะ ช า ส มั พ นั ภ มู ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น

ผ ูร บั ผ ิด ช อ บ จ ัง ห ว ดั อ ํา เ ภ อ ห ม ูบ า น / / / / / / / / /


ตัวชี้วัดที่ 5

รอยละสะสมของกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตที่มีการจัดสวัสดิการชุมชน

หนวยวัด :

รอยละ

น้ําหนัก :

รอยละ 1

คําอธิบาย : 1. กลุม ออมทรัพยเพื่อการผลิตระดับ 3 หมายถึง กลุมออมทรัพยเ พื่อการผลิตที่ไดรับการ พัฒนาตามเกณฑประเมิน 32 ตัวชี้วัด โดยกรมการพัฒนาชุมชน และมีผลการพัฒนาอยูในระดับ 3 (ดี) กลุม ออมทรัพยเพื่อการผลิตระดับ 3 ที่มีการจัดสวัสดิการแกสมาชิกหรือชุมชนอยางนอย 2 ใน 5 กิจกรรม ไดแก 1) ทุนการศึกษา 2) ทุนชดเชยคารัก ษาพยาบาล 3) ทุนฌาปนกิจสงเคราะห 4) ทุนสงเคราะหดอยโอกาส 5) ทุนสาธารณประโยชน 2. สวัสดิการชุมชน หมายถึง การสรางหลักประกันเพื่อความมั่นคงของคนในชุมชน เปนการ ชวยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนที่เปนเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตตั้งแตเกิด แก เจ็บ ตาย รวมทั้งการทําใหคนในชุมชนมี ความเปนอยูที่ดีขึ้น 3. ทุนชดเชยคารักษาพยาบาล หมายถึง ทุนที่กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตจัดไวเพื่อมอบให สมาชิกเปนคาชดเชยการเจ็บปวยและเขารับการรักษาพยาบาล ณ สถานพยาบาล 4. ทุนฌาปนกิจสงเคราะห หมายถึง ทุนที่กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตจัดไวเพื่อมอบใหแก ทายาทของสมาชิกที่เสียชีวิต 5. ทุนสงเคราะหผูดอยโอกาส หมายถึง ทุนที่กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตจัดไวเพื่อมอบใหแก ผูดอยโอกาสในชุมชนสําหรับเปนคาใชจายในการดํารงชีพ หรือการประกอบอาชีพ 6. ผูดอยโอกาส หมายถึง คนพิการ คนชรา และคนยากจน 7. ทุนสาธารณประโยชน หมายถึง ทุนที่กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตจัดไวเพื่อดําเนินกิจกรรม ดานสาธารณประโยชนของชุมชน เชน กิจกรรมดานประเพณีวัฒนธรรม ดานการกีฬา ดานการปองกันยาเสพติด ดานการพัฒนาสิ่งแวดลอม เปนตน สูตรการคํานวณ : จํานวนกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตทีม่ ีการจัดสวัสดิการ X 100 จํานวนกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตทีม่ ีการจัดสวัสดิการที่ไดรับงบประมาณ ป 2556 จํานวน 40 กลุม เกณฑการใหคะแนน : ระดับ 1 30

ระดับ 2 35

ระดับ 3 40

ระดับ 4 45

ระดับ 5 50


โดยที่ : ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน 1 กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตที่มกี ารจัดสวัสดิการชุมชนอยางนอย 3 กิจกรรม รอยละ 30 (12 กลุม) 2 กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตที่มกี ารจัดสวัสดิการชุมชนอยางนอย 3 กิจกรรม รอยละ 35 (14 กลุม) 3 กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตที่มกี ารจัดสวัสดิการชุมชนอยางนอย 3 กิจกรรม รอยละ 40 (16 กลุม) 4 กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตที่มกี ารจัดสวัสดิการชุมชนอยางนอย 3 กิจกรรม รอยละ 45 (18 กลุม) 5 กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตที่มกี ารจัดสวัสดิการชุมชนอยางนอย 3 กิจกรรม รอยละ 50 (20 กลุม) รายละเอียดขอมูลประกอบตัวชี้วัด : ผลการดําเนินงานในอดีต ปงบประมาณ พ.ศ.... 2553 2554 2555 -

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด

หนวยวัด

จํานวนสะสมของกลุม ออมทรัพยเ พื่อการ ผลิตที่มีการจัดสวัสดิการชุมชน

กลุม

ผ ูก ํา ก ับ ด ูแ ล ต ัว ช ี้ว ัด

: 1 .น าย เบ อ 2 .น าย เบ อ

พ ฒั ๑ ๓  ห ๖ ๒

ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล

: น า ย ว ร ร ธ น พ ง ศ  ค ง น ค ร น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๐ ๖ ๒ ๔ ๐

เ ส ร ิม ศ ัก ด ร ต ิด ต อ : ตรอน น ร ต ิด ต อ :

ิ์ แ น ม ใ ส ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ิล ย ก า น น ท ๐ ๗ ๗ ๕ ๐

น า ก า ร จ งั ห ว ดั ช มุ พ ร ๓ ๐ ัว ห น า ก ล มุ ง า น ส ง เ ส ร ิม ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ๔ ๐


ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9

1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 8 1 9 2 0

ก ล มุ ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม

ออม ออม ออม ออม ออม ออม ออม ออม ออม ออม

ท ร พั ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ

ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ

ก ล ุม อ อ ม ท ร ัพ ย เ พ ื่อ ก

ก ล มุ ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม ก ล ุม

ออม ออม ออม ออม ออม ออม ออม ออม ออม

ท ร พั ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ ท ร ัพ

ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ ย เ พ

เปาหมายการดําเนินงานตัวชี้วัดที่ 5 รอยละสะสมของกลุมออมทรัพยเพือ่ การผลิตที่มีการจัดสวัสดิการชุมชน ชื่อกลุม หมูที่ ตําบล อําเภอ ื่อ ก า ื่อ ก า ื่อ ก า ื่อ ก า ื่อ ก า ื่อ ก า ื่อ ก า ื่อ ก า ื่อ ก า ื่อ ก า

รผล รผล รผล รผล รผล รผล รผล รผล รผล รผล

ิต บ า ิต บ า ิต บ า ิต บ า ิต บ า ิต บ า ิต บ า ิต บ า ิต บ า ิต บ า

น บ า ง เ ป ง น ด อ น ร ัก ษ  น น า เ น ีย น น เ ข า น อ ย น ใน โอ น น ส ว น ท ร ัพ ย  น ห ล ัง เ ข า น ส า ม ไก ร น ย าย ไท น ห น อ ง โ พ ธ ์ิ

5

ตากแดด 1 0 บ า ง ล ึก 1 ว ัง ใ ห ม  1 5 ท า แ ซ ะ 6 ส ล ุย 7 ส ล ุย 6 ร ับ ร อ 1 ห ง ษ เ จ ร ิญ 3 ห ง ษ เ จ ร ิญ 4 บ า น ค ว น 1 ท า ม ะ พ ล า า ร ผ ล ิต บ า น แ ม ท ะ เ ล พ ัฒ น า ื่อ ก า ร ผ ล ิต บ า น บ า ก แ ด ง 1 2 ว ัง ต ะ ก อ ื่อ ก า ร ผ ล ิต บ า น ท า ม ะ ป ร งิ 3 แห ลมท ราย ื่อ ก า ร ผ ล ิต บ า น ท ุง ค อ ก ช า ง 8 ท ุง ร ะ ย ะ ื่อ ก า ร ผ ล ิต บ า น ท า ห ิน 5 ท า ห ิน ื่อ ก า ร ผ ล ิต บ า น ไ ร ใ น 9 น า ส ัก ื่อ ก า ร ผ ล ิต บ า น ห น อ ง ก ร ุด 1 7 น า ส ัก ื่อ ก า ร ผ ล ติ บ า น ค ล อ ง โ ช ล 3 ช อ ง ไ ม แ ก ว ื่อ ก า ร ผ ล ิต บ า น ท อ น อ ม 6 ช อ ง ไ ม แ ก ว ื่อ ก า ร ผ ล ิต บ า น ป า ก บ อ 5 ท ะ เ ล ท ร ัพ ย  รวม 7 อําเภอ 20 กลุม

เ ม อื ง เ ม ือ ง เ ม ือ ง ท า แ ซ ะ ท า แ ซ ะ ท า แ ซ ะ ท า แ ซ ะ ท า แ ซ ะ ท า แ ซ ะ ห ล ัง ส ว น ห ล ัง ส ว น ห ล ัง ส ว น ห ล ัง ส ว น สวี สวี สวี สวี ท ุง ต ะ โ ก ท ุง ต ะ โ ก ป ะ ท ิว

หมายเหตุ


ตัวชี้วัดที่ 5 ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8

แบบตรวจสอบหลักฐานอางอิง รอยละสะสมของกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตที่มีการจัดสวัสดิการชุมชน หลักฐานอางอิง

ผูรบั ผิดชอบ จังหวัด อําเภอ     

ฐานขอมูลกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต ทะเบียนกลุม ออมทรัพยเพื่อการผลิตเปาหมาย แผนปฏิบัติการสงเสริมสนับสนุนกลุม ออมทรัพยเพื่อการผลิต จัด สวัสดิการ เอกสารการประชุมทบทวนและสรางความเขาใจแก  คณะกรรมการกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตเปาหมาย บันทึกการจัดเวทีประชาคมของกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต เปาหมายในการกําหนดแนวทางและแผนขับเคลื่อนการจัด สวัสดิการ แนวทางและแผนงานขับเคลื่อนกิจกรรมการจัดสวัสดิการของ กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตเปาหมาย แบบรายงานผลการจัดสวัสดิการกลุมออมทรัพยเพือ่ การผลิต ภาพกิจกรรม 

   


ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 1 . 3 ร อ ย ล ะ ค ว า ม ส าํ เ ร ็จ ข อ ง ก า ร เ บ ิก จ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ท ี่ไ ด ร ับ ก า ร จ ัด ส ร ร จ า ก ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น

ห น ว ย ว ัด :

ร อ ย ล ะ

น ้ํา ห น ัก :

ร อ ย ล ะ 5

ค ํา อ ธ ิบ า ย : ผ ล ก า ร เ บ ิก จ า ย ห ม า ย ถ ึง ผ ล ก า ร เ บ ิก จ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ใ น ภ า พ ร า ย ก า ร ค า ใ ช จ า ย ใ น ก า ร ด ํา เ น ิน ก จิ ก ร ร ม ต า ม ผ ล ผ ล ิต ท ี่จ ัง ห ว ดั ส า ม า ร ถ ง บ ป ร ะ ม า ณ ท ี่ไ ด ร ับ ก า ร จ ัด ส ร ร จ า ก ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ใ น แ ต ล ะ ไ ต ร ม ว ัน ส ิ้น ส ุด ก า ร เ บ ิก จ า ย ใ น แ ต ล ะ ร อ บ ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ค ือ ว ัน ท ี่ ๑ ๕ ( ร อ บ ท ี่ 1 ว ัน ท ี่ 1 5 ม ีน า ค ม 2 5 5 6 ร อ บ ท ี่ 2 ว ัน ท ี่ 1 5 ก ัน ย า ย น 2 5

ร ว ม ข อ ง จ ัง ห ว ัด ไ ด แ ก  ง บ ด ํา เ น ิน ง า น ด ํา เ น ิน ก า ร ไ ด จ ร ิง เ ป ร ีย บ เ ท ีย บ ก ับ าส ข อ ง เ ด ือ น ส ิ้น ส ุด ร อ บ ก า ร ป ร ะ เ ม ิน 5 6 )

เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น : ร ะ ด ับ ค ะ แ น น 1 2 3 4 5

เ ก ณ ฑ ก า ร ป ร ะ เ ม นิ เ บ ิก จ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ไ ด ต า ม แ ผ น ป ฏ บิ ัต ิร า ช ก า ร แ ล ะ แ ผ น ก า ร ใ ช จ า ย ง บ ป ร ะ ร อ ย ล ะ ๘ ๐ เ บ ิก จ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ไ ด ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร แ ล ะ แ ผ น ก า ร ใ ช จ า ย ง บ ป ร ะ ร อ ย ล ะ ๘ ๕ เ บ ิก จ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ไ ด ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร แ ล ะ แ ผ น ก า ร ใ ช จ า ย ง บ ป ร ะ ร อ ย ล ะ ๙ ๐ เ บ ิก จ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ไ ด ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร แ ล ะ แ ผ น ก า ร ใ ช จ า ย ง บ ป ร ะ ร อ ย ล ะ ๙ ๕ เ บ ิก จ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ไ ด ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร แ ล ะ แ ผ น ก า ร ใ ช จ า ย ง บ ป ร ะ ม า ก ก ว า ร อ ย ล ะ ๙ ๕

ม าณ ของก รม ฯ ม าณ ของก รม ฯ ม าณ ของก รม ฯ ม าณ ของก รม ฯ ม าณ ของก รม ฯ

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บ - จ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล ผ ล ก า ร เ บ กิ จ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ า ย ภ า พ ร ว ม ข อ ง จ ัง ห ว ัด จ า ก ร ะ บ บ ก า ร บ ร ิห า ร ก า ร เ ง ิน ก า ร ค ล ัง ภ า ค ร ัฐ ร ะ บ บ อ เิ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  ( G F M I S ) ผ ูก ํา ก ับ ด ูแ ล ต ัว ช ี้ว ัด ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล

: น า ย เ ส ร ิม ศ ัก ด ิ์ แ น ม ใ ส พ ัฒ น า ก า ร จ ัง ห ว ัด ช ุม พ ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐ : น า ง ส า ว ว ัฒ น า ม ห า แ ก ว ห ัว ห น า ฝ า ย อ าํ น ว ย ก า ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐


ต ัว ช ้วี ดั ท ่ี ๑ . ๔ ร ะ ด ับ ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ข อ ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม น โ ย บ า ย ส ํา ค ัญ ข อ ง ร ัฐ บ า ล / ก ร ะ ท ร ว ง ท ี่ร ับ ผ ดิ ช อ บ ห น ว ย ว ัด : ร ะ ด ับ น ้ํา ห น ัก : ร อ ย ล ะ 1 0 ค ํา อ ธ ิบ า ย :

ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 1 . 4 . 1 ร ะ ด ับ ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ข อ ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ก อ ง ท ุน พ ัฒ น า บ ท บ า ท ส ต ร ี ห น ว ย ว ัด : ร ะ ด ับ น ้ํา ห น ัก : ร อ ย ล ะ 5 ค ํา น ิย า ม : ก า ร ป ร ะ ช า ส ัม พ ัน ธ ร ับ ส ม ัค ร ส ม า ช ิก เ พ ิ่ม ห ม า ย ถ ึง ม ีก ิจ ก ร ร ม / โ ค ร ง ก า ร ท ี่ส ื่อ ส า ร ผ า น ช อ ง ท า ง ต า ง ๆ ไ ป ถ ึง ก ล ุม ป ร ะ ช า ช น เ ป า ห ม า ย เ พ ื่อ ใ ห ร ับ ร ูข อ ม ูล ข า ว ส า ร เ ก ี่ย ว ก ับ ก อ ง ท ุน พ ัฒ น า บ ท บ า ท ส ต ร ี แ ล ะ เ ช ิญ ช ว น ใ ห ผ ูม ี ค ุณ ส ม บ ัต ิส ม ัค ร เ ป น ส ม า ช ิก ก อ ง ท ุน พ ัฒ น า บ ท บ า ท ส ต ร ีเ พ ิ่ม ข ึ้น ว ง เ ง ิน ท ี่ไ ด ร ับ จ ัด ส ร ร ห ม า ย ถ ึง เ ง ิน ท ุน ป ร ะ เ ด ิม เ ง ิน อ ุด ห น ุน แ ล ะ เ ง ิน ส น ับ ส น ุน อ ื่น ๆ ท ี่ร ัฐ บ า ล จ ัด ส ร ร ใ ห  เ ป น เ ง ิน ส ํา ห ร ับ ก า ร บ ร ิห า ร แ ล ะ เ ง ิน ท ุน ห ม ุน เ ว ีย น ข อ ง ก อ ง ท ุน พ ัฒ น า บ ท บ า ท ส ต ร ี ส ต ร ีท ี่ม ีค ุณ ส ม บ ัต ิ ห ม า ย ถ ึง ส ต ร ีผ ูม ีส ัญ ช า ต ิไ ท ย อ า ย ุต ั้ง แ ต  ๑ ๕ ป บ ร ิบ ูร ณ ข ึ้น ไ ป แ ล ะ ม ีภ ูม ิล ํา เ น า ห ร ือ ถ ิ่น ท ี่อ ย ูห ร ือ เ ป น ผ ูม ีช ื่อ อ ย ูใ น ท ะ เ บ ีย น บ า น ห ร ือ อ า ศ ัย อ ย ูใ น ห ม ูบ า น ช ุม ช น ท ี่ข อ ข ึ้น ท ะ เ บ ีย น ไ ม น อ ย ก ว า ๖ เ ด ือ น โ ด ย จ ํา น ว น ส ต ร ีผ ูม ีค ุณ ส ม บ ัต ิจ ะ ใ ช ข อ ม ูล จ า ก ฐ า น ข อ ม ูล ท ะ เ บ ีย น ร า ษ ฎ ร  เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น : แ บ ง เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น เ ป น ๕ ร ะ ด ับ ด ัง น ี้ เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น : ร ะ ด ับ ค ะ แ น น

5

4

3

2

1

ข ั้น ต อ น ท ี่ 1     

ร ะ ด ับ ข ั้น ข อ ง ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ( M i l e s t o n e ) ข ้นั ต อ น ท ี่ 2 ข ั้น ต อ น ท ่ี 3 ข ั้น ต อ น ท ี่ 4    

  

 

ข ั้น ต อ น ท ี่ 5


โ ด ย ท ี่

ร ะ ด ับ ค ะ แ น น 1 2 3 4 5

แ ห ล ง ข อ ม 1 2 3

ูล / ว . ส ํา . จ ัด . จ ัด

ิธ กี า ร จ น ัก ง า น เ ก ็บ ข อ เ ก ็บ ข อ

เ ก ณ ฑ ก า ร ป ร ะ เ ม ิน มีการประชาสัมพันธรับสมัครสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี และมีสตรี สมัครเปนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ไดไมนอยกวารอยละ 30 ของจํานวน สตรีทมี่ ีคุณสมบัติ สนับสนุนใหคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัด (คกส.จ.) จัดทําแผนบริหารจัดการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจงั หวัด และแผนการใชจายงบ บริหารของกองทุนฯ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2556 สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเสนอโครงการ และไดรับการอนุมัตจิ าก คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจงั หวัด (คกส.จ.) ไมนอยกวารอยละ 30 ของวงเงินที่ไดรับการจัดสรร สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเสนอโครงการ และไดรับการอนุมัตจิ าก คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจงั หวัด (คกส.จ.) ไมนอยกวารอยละ 40 ของวงเงินที่ไดรับการจัดสรร สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเสนอโครงการ และไดรับการอนุมัตจิ าก คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจงั หวัด (คกส.จ.) ไมนอยกวารอยละ 50 ของวงเงินที่ไดรับการจัดสรร ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด เ ป น ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ลู ม ูล จ า ก ฐ า น ข อ ม ูล ใ น ร ะ บ บ อ ิน เ ต อ ร เ น ็ต ม ูล จ า ก เ อ ก ส า ร ห ล ัก ฐ า น ก า ร อ น ุม ัต ิโ ค ร ง ก า ร ก า ร โ อ น เ ง ิน ง บ ป ร ะ ม า ณ

ผ ูก ํา ก ับ ด ูแ ล ต ัว ช ี้ว ัด

:1 . น าย เบ อ ๒ . น าย เบ อ

เ ส ร ิม ศ ัก ด ิ์ แ น ม ใ ส ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ต ร อ น น ิล ย ก า น น ท ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๐

พ ฒั ๑ ๓  ห ๖ ๒

น า ก า ร จ งั ห ว ัด ช ุม พ ร ๓ ๐ ัว ห น า ก ล มุ ง า น ส ง เ ส ร มิ ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ๔ ๐

ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล

: น า ง อ น ง ค น า ฏ ก ิต ต ิส ุบ ร ร ณ น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ดิ ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๐ ๖ ๒ ๔ ๐


ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 1 . 4 . 2 ร ะ ด ับ ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ใ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ก อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ิน ห น ว ย ว ัด : ร ะ ด บั น ้ํา ห น ัก : ร อ ย ล ะ 5

ค ํา อ ธ ิบ า ย : ก อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ิน ห ม า ย ถ ึง ก อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ิน ท ี่ไ ด ร ับ พ ร ะ ร า ช ท ก อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ิน ป  2 5 5 5 ท ี่ร อ ร ับ พ ร ะ ร า ช ท า น เ ง ิน ข ว ัญ ถ ุง ต น ก ล า ก อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ิน ห ม า ย ถ ึง ต น ก ล า ก อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ิน ท ี่ค ัด ศ ูน ย เ ร ีย น ร ูก อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ิน ห ม า ย ถ ึง ศ ูน ย เ ร ีย น ร ูก อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ก า ร ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ป อ ง ก ัน แ ล ะ แ ก ไ ข ป ญ ห า ย า เ ส พ ต ิด ภ า ย ใ น ห ม ูบ า น / ต ก ิจ ก ร ร ม อ ื่น ข อ ง ก อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ิน น อ ก เ ห น ือ จ า ก ก ิจ ก ร ร ม ท ี่ไ ด ร ับ ง บ ป ร ะ ม า ณ จ 2 5 5 6 เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น : แ บ ง เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น เ ป น ๕ ร ะ ด ับ ด ัง น ี้ ร ะ ด ับ ค ะ แ น น 1

ข ั้น ต อ น ท ี่ 1     

2 3 4 5 โ ด ย ท ี่ :

ร ะ ด ับ ค ะ แ น น 1

5

4

3

2

า น เ ง ิน ข ว ัญ ถ ุง แ ล ะ ต น ก ล  า เ ล ือ ก ใ ห ม  ป  2 5 5 6 ิน ป  2 5 5 5 แ ล ะ ป  2 5 5 6 ํา บ ล ห ม า ย ถ ึง ก า ร ด ํา เ น ิน า ก ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ป 

ร ะ ด ับ ข ั้น ข อ ง ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ( M i l e s t o n e ) ข ้นั ต อ น ท ี่ 2 ข ั้น ต อ น ท ่ี 3 ข ั้น ต อ น ท ี่ 4    

  

 

ข ั้น ต อ น ท ี่ 5

เ ก ณ ฑ ก า ร ป ร ะ เ ม นิ - ม ีก า ร จ ัด ท าํ ฐ า น ข อ ม ูล ก อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ิน - ม ี ก า ร ต ร ว จ ส ุ ข ภ า พ ก อ ง ท ุน แ ม  ข อ ง แ ผ  น ด ิ น ท ุ ก ก อ ง ท ุ น ต า ม แ น ว ท า ง ท ี่ ก ร ม ฯ ก ํา ห น ด - ด ํา เ น ิน ก า ร ใ น ร ะ ด ับ 1 แ ล ะ - ม ีก า ร ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ค ร บ ถ ว น ต า ม แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิ ง า น แ ล ะ แ ผ น ก า ร ใ ช จ า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ ป  2 5 5 6 - ด ํา เ น ิน ก า ร ใ น ร ะ ด ับ 2 แ ล ะ - ม ีก า ร ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ห ว ง เ ว ล า ท ี่ก ร ม ฯ ก ํา ห น ด - ด ํา เ น ิน ก า ร ใ น ร ะ ด ับ 3 แ ล ะ - ม ีก า ร ส ร ุป บ ท เ ร ีย น อ ง ค ค ว า ม ร ูห ม ูบ า น ก อ ง ท ุน แ ม  แ ล ะ ศ ูน ย เ ร ีย น ร ูก อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ิน ส ง ใ ห ก ร ม ฯ ต า ม ท ี่ก ํา ห น ด - ด ํา เ น ิน ก า ร ร ะ ด ับ 4 แ ล ะ - ม ีก า ร ข ย า ย ผ ล อ ง ค ค ว า ม ร ูก อ ง ท ุน แ ม ฯ แ ล ะ ศ ูน ย เ ร ีย น ร ูก อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ิน เ ป น แ ก น น ํา ใ น ก า ร ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ป อ ง ก ัน แ ล ะ แ ก ไ ข ป ญ ห า ย า เ ส พ ต ิด ภ า ย ใ น ห ม บู า น / ต ํา บ ล อ ย า ง น อ ย 2 ก ิจ ก ร ร ม


แ ห ล ง ข อ ม 1 2 3 4

ูล / ว ิธ ีก า ร จ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล . ส ํา น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด เ ป น ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล . จ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล จ า ก ฐ า น ข อ ม ูล ใ น ร ะ บ บ ร ะ บ บ ก า ร ร า ย ง า น ก า ร ต ร ว จ ส ขุ ภ า พ ก อ ง ท ุน แ ม ฯ . จ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล จ า ก เ อ ก ส า ร ห ล ัก ฐ า น ก า ร อ น ุม ัต ิโ ค ร ง ก า ร ก า ร โ อ น เ ง ิน ง บ ป ร ะ ม า ณ . เ อ ก ส า ร จ ัด ก า ร ค ว า ม ร กู อ ง ท ุน แ ม ข อ ง แ ผ น ด ิน

ผ ูก ํา ก ับ ด ูแ ล ต ัว ช ี้ว ัด

: 1 . น า ย เ ส ร ิม ศ ัก เ บ อ ร ต ิด ต อ 2 .น างส าววาส เ บ อ ร ต ิด ต อ

ด ์ิ :๐ น า :๐

แน ๗ บ ๗

ม ใส ๗ ๕ ๑ ุญ ร อ ๗ ๕ ๑

พ ฒั น า ก า ร จ งั ห ว ัด ช ุม พ ร ๑ ๓ ๓ ๐ ด ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น ย ุท ธ ศ า ส ต ร ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ๑ ๓ ๓ ๐

ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล

: น า ง ส า ว ว ิภ า ว ี ล ุย จ นั ท ร  น กั ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ดิ ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐


ต ัว ช ้วี ัด ท ี่ 1 . 5 ร ะ ด บั ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ข อ ง ก า ร บ ร ิห า ร ย ุท ธ ศ า ส ต ร ก ร ม ฯ ข อ ง ห น ว ย ง า น ต า ม แ น ว ท า ง ท ี่ก ํา ห น ด ห น ว ย ว ัด :

ร ะ ด ับ

น ํา้ ห น ัก : ร อ ย ล ะ 1 0 ค ํา อ ธ ิบ า ย : ร ะ บ บ ฐ า น ข อ ม ูล พ ิจ า ร ณ า อ ง ค ป ร ะ ก อ บ ด ัง ต อ ไ ป น ี้ 1 . ค ว า ม ค ร บ ถ ว น ม ีฐ า น ข อ ม ูล ท ี่ค ร อ บ ค ล ุม อ ย า ง น อ ย ท ุก ป ร ะ เ ด ็น ย ุท ธ ศ า ส ต ร ข อ ซ ึ่ง ส น ับ ส น ุน ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิง า น ไ ด อ ย า ง เ ห ม า ะ ส ม 2 . ค ว า ม ถ ูก ต อ ง เ ช น แ บ บ ฟ อ ร ม แ ล ะ เ จ า ห น า ท ี่ท ี่ร ับ ผ ิด ช อ บ ใ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ข อ จ ัด เ ก ็บ ท ุก ค ร ั้ง ร ว ม ท ั้ง แ บ บ ฟ อ ร ม แ ล ะ เ จ า ห น า ท ี่ท ี่ร ับ ผ ิด ช อ บ ใ น ก า ร ส อ บ ถ า ม ข อ ม ูล ต า ง ๆ จ 3 . ค ว า ม น า เ ช ื่อ ถ ือ เ ช น ร ะ บ ุแ ห ล ง ท ี่ไ ด ม า ช ัด เ จ น ส า ม า ร ถ ส อ บ ย ัน ข อ ม ูล ก ับ เ จ จ ัด เ ก ็บ เ ป น ร ะ บ บ แ ล ะ ม ีเ จ า ห น า ท ี่ร ับ ผ ิด ช อ บ ใ น ก า ร จ ัด เ ก ็บ 4 . ค ว า ม ท ัน ส ม ัย เ ช น ค ว า ม ถ ี่ใ น ก า ร ป ร ับ ป ร ุง ข อ ม ูล ใ ห เ ป น ป จ จ ุบ ัน ท ุก ค ร ั้ง ท ี่ข อ ม ูล ใ น ร ะ บ บ ฐ า น ข อ ม ูล

ง แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ม ูล ก อ น แ ล ะ ห ล ัง ก า ร า ก เ จ า ข อ ง ข อ ม ูล า ข อ ง ข อ ม ูล ไ ด  ม ีก า ร ม ีก า ร เ ป ล ี่ย น แ ป ล ง ล ง

เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น : แ บ ง เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น เ ป น ๕ ร ะ ด ับ ด ัง น ี้ ร ะ ด ับ ค ะ แ น น 1 2 3 4 5 โ ด ย ท ี่ : ร ะ ด ับ ค ะ แ น น 0

4

3

2

1

ข ั้น ต อ น ท ี่ 1     

ร ะ ด ับ ข ั้น ข อ ง ค ว า ม ส ํา เ ร ็จ ( M i l e s t o n e ) ข ้นั ต อ น ท ี่ 2 ข ั้น ต อ น ท ่ี 3 ข ั้น ต อ น ท ี่ 4    

  

 

ข ั้น ต อ น ท ี่ 5

เ ก ณ ฑ ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ไ ม ม ีก า ร ว ิเ ค ร า ะ ห บ ท เ ร ีย น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ไ ม ม กี า ร ท บ ท ว น แ ผ น ย ุท ธ ศ า ส ต ร  ก ล ย ุท ธ  แ น ว ท า ง แ ล ะ ไ ม  ม ีแ ผ น ป ฏ ิบ ัต กิ า ร ใ น ก า ร แ ป ล ง ย ุท ธ ศ า ส ต ร ไ ป ส ูก า ร ป ฏ ิบ ัต ิท ี่ช ัด เ จ น ม ีก า ร ว ิเ ค ร า ะ ห บ ท เ ร ีย น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ท ผี่ า น ม า แ ล ะ น ํา ข อ ม ูล ท ี่ไ ด ไ ป ก ํา ห น ด ก ล ย ุท ธ  เ ป า ห ม า ย แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ใ น ป  ๒ ๕ ๕ ๖ โ ด ย ผ ูบ ร หิ า ร แ ล ะ บ ุค ล า ก ร ใ น ห น ว ย ง า น ม ีส ว น ร ว ม ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ก ํา ห น ด ก ล ย ุท ธ  แ น ว ท า ง เ ป า ห ม า ย ข อ ง โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ ว า ง แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิก า ร น อ ย ก ว า ร อ ย ล ะ 7 0 ม ีก า ร ว ิเ ค ร า ะ ห บ ท เ ร ีย น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ท ผี่ า น ม า แ ล ะ น ํา ข อ ม ูล ท ี่ไ ด ไ ป ก ํา ห น ด ก ล ย ุท ธ  เ ป า ห ม า ย แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ใ น ป  ๒ ๕ ๕ ๖ โ ด ย ผ ูบ ร ิห า ร แ ล ะ บ ุค ล า ก ร ข อ ง ห น ว ย ง า น ม ีส ว น ร ว ม ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ท บ ท ว น บ ท เ ร ีย น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ท ผี่ า น ม า ร ว ม ถ ึง ก า ร ก ล ย ุท ธ  เ ป า ห ม า ย แ น ว ท า ง แ ล ะ แ ผ น ป ฏ ิบ ัต ิก า ร แ ป ล ง ย ุท ธ ศ า ส ต ร ไ ป ส ูก า ร ป ฏ ิบ ัต ิท กุ ข ั้น ต อ น ม า ก ก ว า ห ร ือ เ ท า ก บั ร อ ย ล ะ 7 0 ม ีก า ร ถ า ย ท อ ด ต ัว ช ี้ว ัด ค า เ ป า ห ม า ย ใ ห ก ับ บ ุค ล า ก ร ใ น ห น ว ย ง า น อ ย า ง ช ัด เ จ น แ ล ะ ท ั่ว ถ ึง - ม ีร ะ บ บ ข อ ม ูล ก า ร ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ต า ม แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ก จิ ก ร ร ม ต า ม ย ทุ ธ ศ า ส ต ร ก ร ม ฯ ท กุ ก ิจ ก ร ร ม - ม ีก า ร ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ต า ม แ น ว ท า ง ท ี่ก ร ม ฯ ก ํา ห น ด ค ร บ ถ ว น โ ด ย แ ส ด ง ใ ห เ ห ็น ข อ ม ลู ท เี่ ก ี่ย ว ข อ ง ก บั ก า ร


ร ะ ด ับ ค ะ แ น น 5 ด

-

-

-

เ ก ณ ฑ ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ัด ก ิจ ก ร ร ม ไ ด แ ก  ส ร ปุ ป ร ะ เ ม ิน ผ ล ก จิ ก ร ร ม ภ า พ ถ า ย ก ิจ ก ร ร ม ฯ ล ฯ ม ีก า ร ส ร ปุ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น เ ส น อ ต อ ผ ูบ ร ิห า ร ต อ เ น ื่อ ง ม ีก า ร ส ร ปุ บ ท เ ร ีย น อ ง ค ค ว า ม ร กู า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ภ า ย ใ น ร ะ ห ว า ง ํา เ น ิน ก า ร แ ล ะ เ ม ื่อ เ ส ร จ็ ส ิ้น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ม ีก า ร จ ัด ส ร ร ส ิ่ง จ ูง ใ จ

แ ห ล ง ข อ ม ลู / ว ิธ ีก า ร จ ัด เ ก บ็ ข อ ม ูล 1 . ส ํา น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด เ ป น ผ ูจ ัด เ ก บ็ ข อ ม ูล 2 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด าํ เ น ิน ง า น ต า ม ร ะ บ บ ท ี่ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ก ํา ห น ด ผ ูก ํา ก ับ ด ูแ ล ต ัว ช ี้ว ัด

: 1 . น า ย เ ส ร ิม ศ ัก ด ิ์ แ น ม ใ ส พ ัฒ น า ก า ร จ งั ห ว ัด ช ุม พ ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐ 2 . น า ง ส า ว ว า ส น า บ ุญ ร อ ด ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น ย ุท ธ ศ า ส ต ร ก า ร พ ฒั น า ช มุ ช น เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐

ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล

: น า ง ส า ว ส า ร ิศ า ส ุด ใ จ น กั ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐


ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 1 . 6 ร อ ย ล ะ ค ว า ม พ ึง พ อ ใ จ ข อ ง ผ ูร ับ บ ร ิก า ร ห น ว ย ว ัด :

ร อ ย ล ะ

น ้ํา ห น ัก :

ร อ ย ล ะ 1 0

ค ํา อ ธ ิบ า ย :

 ผ ูร ับ บ ร กิ า ร ห ม า ย ถ ึง ก ล ุม เ ค ร ือ ข า ย อ ง ค ก ร ท ี่ม า ร ับ บ ร ิก า ร โ ด ย ต ร ง ห ร ือ เ จ า ห น า ท ่ีข อ ง ร ัฐ ห ร ือ ห น ว ย ง า น ท ั้ง ภ า ค ร ัฐ แ ล ะ เ อ ก ช น ท ี่ม า ร ับ บ ร ิก า ร จ า ก ส ํา น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด แ ล ะ อ ํา เ ภ อ  พ ิจ า ร ณ า จ า ก ผ ล ส ํา ร ว จ ค ว า ม พ ึง พ อ ใ จ ข อ ง ผ ูร ับ บ ร ิก า ร ข อ ง ส ํา น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด แ ล ะ อ ํา เ ภ อ  ป ร ะ เ ด ็น ก า ร ส ํา ร ว จ ป ร ะ ก อ บ ด ว ย 1 . ค ว า ม พ ึง พ อ ใ จ ด า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ข ั้น ต อ น ก า ร ใ ห บ ร ิก า ร 2 . ค ว า ม พ ึง พ อ ใ จ ด า น เ จ า ห น า ท ี่ผ ูใ ห บ ร ิก า ร 3 . ค ว า ม พ ึง พ อ ใ จ ด า น ส ิ่ง อ ํา น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก 4 . ค ว า ม พ ึง พ อ ใ จ ต อ ค ุณ ภ า พ ก า ร ใ ห บ ร ิก า ร 5 . ค ว า ม เ ช ื่อ ม ั่น เ ก ี่ย ว ก ั บ ค ุณ ภ า พ ก า ร ใ ห บ ร ิ ก า ร โ ด ย เ น น ว า ร ะ แ ห ง ช า ต ิด า น จ ร ิย ธ ร ร ม ธ ร ร ม า ภ ิบ า ล แ ล ะ ก า ร ป อ ง ก ัน ก า ร ท ุจ ร ิต แ ล ะ ป ร ะ พ ฤ ต ิม ิช อ บ ใ น ภ า ค ร ัฐ เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น : แ บ ง เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น เ ป น ๕ ร ะ ด ับ ด ัง น ี้

ร ะ ด ับ ค ะ แ น น 0 1 2 3 4 5

ไ ม ม ควา ควา ควา ควา ควา

ีก า ม พ ม พ ม พ ม พ ม พ

ร ว ัด ค ว า ม พ ึง พ ึง พ อ ใ จ ข อ ง ผ รู ึง พ อ ใ จ ข อ ง ผ รู ึง พ อ ใ จ ข อ ง ผ รู ึง พ อ ใ จ ข อ ง ผ รู ึง พ อ ใ จ ข อ ง ผ รู ับ

ับ

ับ

ับ

ับ

เ ก ณ ฑ ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ใ จ ข อ ง ผ ูร ับ บ ร ิก า ร บ ร ิก า ร น อ ย ก ว า ร อ ย ล ะ 7 บ ร ิก า ร ร อ ย ล ะ 7 0 - 7 4 . 9 บ ร ิก า ร ร อ ย ล ะ 7 5 - 7 9 . 9 บ ร ิก า ร ร อ ย ล ะ 8 0 - 8 4 . 9 บ ร ิก า ร ร อ ย ล ะ 8 5 ข ึ้น ไ ป 9

9

0

9

แ ห ล ง ข อ ม ลู / ว ิธ ีก า ร จ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล 1 . ส ํา น ัก ง า น พ ฒั น า ช ุม ช น จ งั ห ว ัด แ ล ะ อ ํา เ ภ อ เ ป น ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล 2 . เ ก ็บ จ า ก แ บ บ ป ร ะ เ ม ิน ค ว า ม พ งึ พ อ ใ จ ผ ูก ํา ก ับ ด ูแ ล ต ัว ช ี้ว ัด

: น า ย เ ส ร ิม ศ ัก ด ิ์ แ น ม ใ ส พ ัฒ น า ก า ร จ ัง ห ว ัด ช ุม พ ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐

ผ ูจ ัด เ ก ็บ ข อ ม ูล

: นางสาวกุลชญา สาครสิทธิ์ เจาพนักงานธุรการปฏิบัติงาน เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐


ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสําเร็จในการเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชน ตามขอเสนอโครงการริเริ่มสรางสรรค ตามเกณฑที่กําหนด หนวยวัด :

ระดับ

น้ําหนัก :

รอยละ 50

นิยาม : 1. ระดับความสําเร็จของการปฏิบัติงานตามขอเสนอโครงการริเริ่มสรางสรรคเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การขับ เคลื่อนยุท ธศาสตรก รมการพัฒ นาชุม ชน ตามเกณฑที่กําหนด หมายถึง การวั ดความสํ าเร็จ การ ดําเนินงานตามขอเสนอโครงการริเริ่มสรางสรรค เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนยุทธศาสตรก รมฯ ที่ หนวยงานกําหนดขึ้น 2. นวัตกรรม ในที่นี้ หมายถึง  แนวคิด วิธีการ และรูปแบบ ใหมๆ ในการจัดการ การดําเนินงาน และการใหบริการของกรมฯ  เปนผลที่เ กิดจากการสราง พัฒนา เพิ่ม พูน ตอยอด หรือประยุกตใชองคความรู และแนว ปฏิบัติตางๆ  กอใหเกิดการพัฒนาประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพของการปฏิบัติงานของกรมฯ  กอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในองคกร 3. ประเภทนวัตกรรม 1) นวัตกรรมเชิงนโยบายและยุทธศาสตร 2) นวัตกรรมดานสินคาและการบริการ 3) รูปแบบการใหบริการ /การสงมอบงาน 4) นวัตกรรมดานกระบวนการและการบริหารองคการ 5) นวัตกรรมดานการปฏิบัติสัมพันธเชิงกระบนการ 1) นวัตกรรมเชิงนโยบายและยุทธศาสตร หมายถึง การคิดคน ออกแบบ กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร ภารกิจ เปาประสงคใหมเพื่อแสดงใหเห็นถึงวิสัยทัศน หรือวางทิศทางใหมในการนําพาองคกรใน อนาคต เชน นโยบายการดําเนินงานกลุมออมทรัพยฯ ในรูปแบบโรงเรียนกลุมออมทรัพยฯ , ยุทธศาสตรการ พัฒนาทุนชุมชน ในรูปแบบสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน, รูปแบบการพัฒนาผูนําชุมชน โดยโรงเรียนผูนํา , การพัฒนาหมูบาน OVC เปนตน 2) นวัตกรรมดานสินคาและการบริการ หมายถึง การปรับปรุง ปรับเปลี่ยนรูปลักษณและ การออกแบบของสินคาและบริการของหนวยงานที่สงถึงลูกคา ผูรับบริการ เชน ระบบ OA 3) รูปแบบการใหบริการ /การสงมอบงาน หมายถึง การสราง หรือปรับเปลี่ยนแนวทาง/ รูปแบบในการบริก ารหรือติดตอกับลูก คา ประชาชน เชน การใหบริก ารผานอินเตอรเ น็ต, ระบบรายงาน Online Real Time, BPM 4) นวัตกรรมดานกระบวนการและการบริหารองคการ หมายถึง การออกแบบโครงสราง องคการ และกระบวนการภายในใหม เชน การจัดตั้งหนวยงานบริการรูปแบบพิเศษ การพัฒนาแนวทางการ บริหารงบประมาณ การบริหารบุคลากร เปนตน 5) นวัตกรรมดานการปฏิบัติสัมพันธเชิงกระบวนการ หมายถึง การปรับปรุงหรือพัฒนา รูปแบบ ระบบความสัมพันธเชิง อํานาจหนาที่ กับภาคสวนอื่น ขึ้นใหม


เงื่อนไข : 1. หนวยงานจัดทําขอเสนอโครงการริเริ่มสรางสรรค เพื่อตอบสนองตอการขับเคลื่อนยุทธศาสตรเชิง คุณภาพ (เนนการพัฒนา ปรับปรุงการขับเคลื่อนยุทธศาสตรที่ออนดอยใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ) โดยการ วิเ คราะห บทเรียน ผลการดําเนินงานที่ผานมา และจัดทําเปนขอเสนอโครงการริเ ริ่ม สรางสรรค เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการขับเคลื่อนยุทธศาสตรใหชัดเจน วัดผลได เกณฑการใหคะแนน : ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone) ระดับคะแนน ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 1  2   3    4     5      โดยที่ : ระดับคะแนน 1 2 3 4 5

เกณฑการประเมิน ผลสําเร็จตามกระบวนการ หรือขั้นตอนการดําเนินงานและตัวชี้วัดขอเสนอโครงการริเริม่ ของ หนวยงานที่กําหนด เกิดการพัฒนา แนวคิด รูปแบบการดําเนินงานและบรรลุเ ปาหมายผลผลิตตามที่กําหนด (เกิดนวัตกรรมอะไร) เกิดผลลัพธการดําเนินงานที่สงผลตอการประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพของงาน มีการนําผลการดําเนินงานไปทดลองใช ปฏิบัติจริง มีการเผยแพร ประชาสัมพันธผลงาน องคความรูและเปนแบบอยาง (Best Practice) กับ องคกร หรือพื้นที่อื่น

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล 1. รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) 2. รายงานผลการการปรับปรุง/พัฒนางาน 3. สรุปผลการดําเนินงานตอผูบังคับบัญชา ผ ูก ํา ก ับ ด ูแ ล ต ัว ช ี้ว ัด

: 1 . น า ย เ ส ร ิม ศ ัก ด ิ์ แ น ม ใ ส พ ัฒ น า ก า ร จ งั ห ว ัด ช ุม พ ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐ 2 . น า ง ส า ว ว า ส น า บ ุญ ร อ ด ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น ย ุท ธ ศ า ส ต ร ก า ร พ ฒั น า ช มุ ช น เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐

ผ ูจ ดั เ ก ็บ ข อ ม ูล : 1 . น า ง ส า ว ส า ร ิศ า ส ดุ ใ จ น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐ 1 . น า ง ส า ว ว ิภ า ว ี ล ยุ จ นั ท ร  น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร เ บ อ ร ต ิด ต อ : ๐ ๗ ๗ ๕ ๑ ๑ ๓ ๓ ๐


(สําเนา) ๑.ชื่อโครงการ O T O P ช ุม พ ร ส สู า ก ล ด ว ย ก า ร ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น กิ ส  ( E l e c t r o n i c M a r k e t i n g : E - M a r k e t i n g ) ๒ . ค ว า ม ส อ ด ค ล อ ง ก ับ ย ุท ธ ศ า ส ต ร ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ป ร ะ เ ด ็น ย ุท ธ ศ า ส ต ร ท ี่ 3 : ส ง เ ส ร ิม เ ศ ร ษ ฐ ก จิ ส ร า ง ส ร ร ค  3 . ห ล ัก ก า ร แ ล ะ เ ห ต ุผ ล รัฐบาลมีนโยบายเพิม่ ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการโครงการหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ เพื่อใหแต ละชุมชนสามารถใชทรัพยากร และภูมิปญญาทองถิ่นในการพัฒนาผลิตภัณฑ โดยรัฐพรอมที่จะสนับสนุนให ชุมชนเขาถึงองคความรูสมัยใหม แหลงเงินทุน และพัฒนาขีดความสามารถในการบริหารและการตลาด เพื่อ เชื่อมโยงผลิตภัณฑ จากชุมชนสูตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศการดําเนินงานเชิงยุทธศาสตรในการ เชื่อมโยงจากทองถิ่นสูส ากลในการพัฒนา คุณภาพ มาตรฐานผลิตภัณฑ OTOP ไปสูตลาดทัง้ ในประเทศและ ตางประเทศ และกระทรวงมหาดไทย ไดกําหนดให “การสงเสริมอาชีพผลิตสินคา OTOP” เปนนโยบาย เรงดวนทีส่ ําคัญ เพือ่ สรางอาชีพและรายไดใหกับประชาชนในชุมชนทองถิ่น ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ไ ด จ ัด ท ํา แ ผ น ย ุท ธ ศ า ส ต ร ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น พ . ศ . 2 5 5 5 – 2 5 5 9 ม ี เ ป า ห ม า ย ส ูง ส ุด ภ า ย ใ ต ว ิส ัย ท ัศ น  “ ช ุม ช น เ ข ม แ ข ็ง เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ ฐ า น ร า ก ม ั่น ค ง ” แ ล ะ ไ ด ก ํา ห น ด ป ร ะ เ ด ็น ย ุท ธ ศ า ส ต ร  ไ ว  5 ป ร ะ เ ด ็น โ ด ย ป ร ะ เ ด ็น ย ุท ธ ศ า ส ต ร ท ี่ 3 ค ือ ส ง เ ส ร ิม เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ ส ร า ง ส ร ร ค  ม ีเ ป า ป ร ะ ส ง ค ค ือ “ ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ย ก ร ะ ด ับ ไ ป ส ูเ ศ ร ษ ฐ ก ิจ ส ร า ง ส ร ร ค ” แ ล ะ เ พ ื่อ ใ ห ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น บ ร ร ล ุเ ป า ป ร ะ ส ง ค  ไ ด ก ํา ห น ด ก ล ย ุท ธ ท ี่ 3 . 1 พ ัฒ น า ผ ูผ ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ป ร ะ ก อ บ ก ับ ก า ร ท ี่ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย จ ะ กาวเขาสูประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนจึง เ ป น โ อ ก า ส ท า ง ธ ุร ก ิจ ข อ ง ผ ูผ ล ิต ส ิน ค า ห น ึ่ง ต ํา บ ล ห น ึ่ง ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ( O T O P ) ท ี่ต อ ง เ ร ง พ ัฒ น า ส ิน ค า ท ั้ง ด า น ค ุณ ภ า พ แ ล ะ ม า ต ร ฐ า น ร ะ ด ับ ส า ก ล ร ว ม ท ั้ง ก า ร ส ง เ ส ร ิม ก า ร ต ล า ด จ ัง ห ว ัด ช ุม พ ร ม ี 8 อ ํา เ ภ อ ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P จ ํา น ว น 1 6 8 ร า ย 4 5 2 ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ม ี ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  O T O P ร ะ ด ับ ๕ ด า ว จ ํา น ว น 1 1 ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ซ ึ่ง ส ง จ ํา ห น า ย ท งั้ ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ต า ง ป ร ะ เ ท ศ ดังนั้น เพื่อเปนการขับเคลื่อนนโยบายเรงดวนของรัฐบาล ข ับ เ ค ล ื่อ น ย ทุ ธ ศ า ส ต ร ก ร ม ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ยุทธศาสตร OTOP สูสากล และย ุท ธ ศ า ส ต ร จ ัง ห ว ัด ช ุม พ ร ส ํา น ัก ง า น พ ฒั น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด จึงไดจัดทําโครงการ ริเริ่มสรางสรรค ประจําป 2556 โครงการ O T O P ช ุม พ ร ส สู า ก ล ด ว ย ก า ร ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  ( E l e c t r o n i c M a r k e t in g : E - M a r k e t in g ) 4 . แ น ว ค ดิ ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น E-Marketing เปนสวนผสมแนวความคิดทางการตลาด และทางเทคนิค รวมเขาไวดวยกันทั้งดาน การออกแบบ (Design), การพัฒนา (Development), การโฆษณาและการขาย (Advertising and Sales) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนในการสรางมูลคาเพิม่ ใหแกธุรกิจและลูกคา เนื่องจากระบบทางอิเล็กทรอนิกส สามารถสนับสนุนการรองขอขอมูลของลูกคา การจัดเก็บประวัติ และพฤติกรรมของลูกคาเอาไว รวมถึงการ สรางความสัมพันธกบั ลูกคาได สงผลตอการเพิม่ และรักษาฐานลูกคา (Customer Acquisition and Retention) และอํานวยประโยชนในการประกอบธุรกิจอยางครบถวน เพื่อบรรลุจุดมุง หมายของ องคกรอยางแทจริงในรายละเอียดของการทําการตลาด E-Marketing จะมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 1. เปนการสือ่ สารกับกลุม เปาหมายในลักษณะเฉพาะเจาะจง (Niche Market) 2. เปนลักษณะเปนการสื่อสารแบบ 2 ทาง (2 Way Communication) /3. เปนรูปแบบ...


3. เปนรูปแบบการตลาดแบบตัวตอตัว (One to One Marketing หรือ Personalize Marketing) ที่ลูกคาหรือกลุมเปาหมายสามารถกําหนดรูปแบบสินคาและบริการไดตามความตองการของ ตนเอง 4. มีการกระจายไปยังกลุมผูบริโภค (Dispersion of Consumer) 5. เปนกิจกรรมที่นักการตลาดสามารถสื่อสารไปยังทั่วทุกมุมโลก ตลอด 24 ชั่วโมง (24 Business Hours) 6. สามารถติดตอสื่อสาร โตตอบ ปฏิสัมพันธไดอยางรวดเร็ว (Quick Response) 7. มีตนทุนต่ําแตไดประสิทธิผล สามารถวัดผลไดทันที (Low Cost and Efficiency) 8. มีความสัมพันธกบั กิจกรรมการตลาดแบบดั้งเดิม (Relate to Traditional Marketing) 9. มีการตัดสินใจในการซื้อจากขอมูลขาวสารที่ไดรับ (Purchase by Information) ป ร ะ โ ย ช น ส ํา ห ร ับ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร 1 . ป ร ะ ห ย ัด เ ง ิน เ พ ร า ะ เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ข า ย เ ช น แ ค ็ต ต า ล ็อ ค โ บ ว ช ัว ร  แ ล ะ เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก า ร ข า ย อ ื่น ๆ ไ ม ต อ ง พ ิม พ ใ น ก ร ะ ด า ษ ท ํา ใ ห ผ ล ิต เ อ ก ส า ร ไ ด ร ว ด เ ร ็ว ส ว ย ง า ม น อ ก จ า ก น ี้ย ัง ส า ม า ร ถ ป ร ับ เ ป ล ี่ย น เ อ ก ส า ร เ ห ล า น ี้ไ ด โ ด ย ไ ม ต อ ง พ มิ พ ใ ห ม  ก า ร จ ัด ส ง ก ็ท ํา ไ ด ร ว ด เ ร ็ว แ ล ะ ไ ม เ ส ีย ค า ใ ช จ า ย ใ น ก า ร จ ัด ส ง เ อ ก ส า ร เ ห ต ุผ ล เ ห ล า น ที้ ํา ใ ห ต น ท ุน ใ น ก า ร ส ื่อ ส า ร ต ่ํา ล ง 2 . ป ร ะ ห ย ัด เ ว ล า แ ล ะ ล ด ข ั้น ต อ น ท า ง ก า ร ต ล า ด เ น ื่อ ง จ า ก ไ ม ต อ ง ใ ช เ ว ล า ใ น ก า ร ผ ล ิต ส อื่ ท ั้ง ท า ง ด า น ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น ก ับ บ ร ิษ ัท โ ฆ ษ ณ า แ ล ะ ก า ร ผ ล ิต เ อ ก ส า ร ล ด ข ั้น ต อ น ก า ร ใ ช พ น ัก ง า น ข า ย ใ น ก า ร เ ข า พ บ ล ูก ค า ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร ส า ม า ร ถ เ ส น อ ข อ ม ูล ใ ห ล ูก ค า ไ ด อ ย า ง ร ว ด เ ร ็ว แ ล ะ ถ ูก ต อ ง แ ล ะ เ ม ื่อ ล ูก ค า ต อ ง ก า ร ข อ ม ลู เ พ ิ่ม เ ต มิ ห ร ือ เ ฉ พ า ะ เ จ า ะ จ ง ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร ก ็ส า ม า ร ถ จ ัด ท ํา ไ ด อ ย า ง ร ว ด เ ร ็ว ซ ึ่ง ท ํา ใ ห ก า ร ซ ื้อ ข า ย ส ะ ด ว ก ข ึ้น 3 . ผ ูข า ย ส า ม า ร ถ ก ํา ห น ด ข บ ว น ก า ร ก า ร ซ ื้อ ไ ด  เ พ ร า ะ ก า ร ข า ย บ น เ ว ็บ ผ ูข า ย ส า ม า ร ถ จ ัด ข ั้น ต อ น ก า ร จ ัด ซ ื้อ ใ ห ล ูก ค า ด ํา เ น ิน ต า ม ข ั้น ต อ น ท ี่ก ํา ห น ด ด ว ย ก า ร อ ํา น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น เ ร ื่อ ง ข อ ง แ บ บ ฟ อ ร ม แ ล ะ ก า ร ก ร อ ก เ พ ีย ง ล ูก ค า ค ล กิ๊ เ ม า ท เ ท า น ั้น ข บ ว น ก า ร ใ น ก า ร ซ ื้อ ก ็จ บ ล ง ซ ึ่ง เ ป น ก า ร ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต อ ง ก า ร ข อ ง ล ูก ค า ไ ด อ ย า ง ร ว ด เ ร ็ว แ ล ะ ต ร ง ก ับ ค ว า ม ต อ ง ก า ร ข อ ง ล ูก ค า ม า ก ท ี่ส ุด 4 . ผ ูข า ย ส า ม า ร ถ ใ ห ข อ ม ูล แ ก ล ูก ค า ไ ด ม า ก เ ท า ท ี่ล ูก ค า ต อ ง ก า ร แ ล ะ ข อ ม ลู จ ะ เ ป น ม า ต ร ฐ า น ซ ึ่ง ถ า เ ป ร ีย บ เ ท ีย บ ก บั ก า ร ต ล า ด แ บ บ ด ั้ง เ ด มิ ท ี่ใ ช พ น ัก ง า น เ ป น ผ ูใ ห ข อ ม ลู ม า ต ร ฐ า น ข อ ง ข อ ม ลู จ ะ ข ึ้น อ ย ูก ับ ค ว า ม เ ห น ื่อ ย แ ล ะ อ า ร ม ณ ข อ ง พ น กั ง า น 5 . ต ล า ด ก ว า ง ใ ห ญ ไ พ ศ า ล เ พ ร า ะ ส า ม า ร ถ ข า ย ใ ห ก บั ล กู ค า ท วั่ โ ล ก ด ัง น ั้น ร ะ ย ะ ท า ง แ ล ะ เ ว ล า จ ะ ไ ม เ ป น อ ปุ ส ร ร ค ส ํา ห ร ับ ก า ร ข า ย 6 . ก าํ จ ัด อ ุป ส ร ร ค ใ น ก า ร ข า ย ส ิน ค า ใ น บ า ง ป ร ะ เ ท ศ เ พ ร า ะ ส า ม า ร ถ ข า ย ใ ห ก บั ท ุก ค น ท มี่ ีเ ค ร อื่ ง ค อ ม พ ิว เ ต อ ร  ก ฎ ร ะ เ บ ีย บ แ ล ะ ข อ จ ํา ก ัด ต า ง ๆ ท า ง ก า ร ค า ซ ึ่ง เ ค ย เ ป น อ ปุ ส ร ร ค ใ น ก า ร ต ล า ด แ บ บ ด งั้ เ ด ิม จ ะ ไ ม เ ป น อ ุป ส ร ร ค อ กี ต อ ไ ป โ ด ย เ ฉ พ า ะ ย ิ่ง ส ิน ค า ท ี่ซ ื้อ ข า ย ด ว ย ว ิธ ีด า ว น โ ห ล ด 7 . ส า ม า ร ถ ข า ย แ ล ะ ส ื่อ ส า ร ไ ด ต ล อ ด เ ว ล า ด ว ย ม า ต ร ฐ า น เ ด ยี ว ก ัน ต ล อ ด 3 6 5 ว ัน แ ล ะ 2 4 ช ั่ว โ ม ง ซ ึ่ง ท ํา ใ ห ส า ม า ร ถ ข า ย ไ ด ต ล อ ด เ ว ล า / 8 .ก า ร โ ฆ ษ ณ า ...


8 . ก า ร โ ฆ ษ ณ า แ ล ะ ป ร ะ ช า ส ัม พ ัน ธ ท ํา ไ ด ก ว า ง ข ว า ง เ พ ร า ะ ส า ม า ร ถ เ ช ื่อ ม โ ย ง ก ับ เ ว ็บ ต า ง ๆ ไ ด  ผ ูส น ใ จ ส า ม า ร ถ ค น ห า ข อ ม ลู จ า ก เ ว ็บ อ ื่น ไ ด  ท ํา ใ ห เ ข า ถ ึง ผ ซู ื้อ ไ ด ม า ก 9 . ข อ ม ูล จ า ก ผ ูซ ื้อ ท ํา ใ ห น ัก ก า ร ต ล า ด ป ร ับ แ ผ น แ ล ะ ก ล ย ุท ธ ก า ร ต ล า ด ไ ด อ ย า ง ร ว ด เ ร ็ว ข อ เ ส น อ แ น ะ ห ร อื ข อ ค ิด เ ห ็น ข อ ง ผ ซู ื้อ จ ะ เ ป น ป ร ะ โ ย ช น ใ น ก า ร ป ร ับ ป ร งุ ส นิ ค า ร า ค า เ ง ื่อ น ไ ข แ ล ะ ก ล ย ุท ธ ก า ร ต ล า ด ต า ง ๆ ไ ด  1 0 . ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร ส า ม า ร ถ ส ืบ ห า ข อ ม ูล เ ก ี่ย ว ก ับ ก ล ย ุท ธ ก า ร ต ล า ด ข อ ง ค ูแ ข ง ข ัน ไ ด โ ด ย ก า ร เ ข า ไ ป ใ น เ ว ็บ ข อ ง ค ูแ ข ง ข ัน ก จ็ ะ ท ร า บ ก ล ย ทุ ธ ก า ร ต ล า ด ท ํา ใ ห ส า ม า ร ถ ป ร บั แ ผ น ก า ร ต ล า ด ไ ด อ ย า ง ร ว ด เ ร ็ว ข อ ด ีส ํา ห ร ับ ล ูก ค า 1 . ล ูก ค า ส า ม า ร ถ เ ล ือ ก ส ิน ค า แ ล ะ บ ร กิ า ร ไ ด ท ั่ว โ ล ก ท ํา ใ ห ไ ด ร บั ส ิ่ง ท ี่ด ีท สี่ ุด 2 . ผ ูซ ื้อ จ า ย เ ง ิน ซ ื้อ ส ิน ค า น อ ย ล ง เ พ ร า ะ ผ ูข า ย ไ ม ต อ ง เ ส ีย ค า ใ ช จ า ย ท า ง ด า น ค น ก ล า ง น อ ก จ า ก น ผี้ ูข า ย ม ัก จ ะ ข า ย ใ น ร า ค า ใ ก ล เ ค ีย ง ก บั ค ูแ ข ง ข ัน เ พ ร า ะ ผ ูซ ื้อ ส า ม า ร ถ เ ป ร ีย บ เ ท ีย บ ร า ค า ไ ด อ ย า ง ส ะ ด ว ก แ ล ะ ร ว ด เ ร ็ว 3 . ผ ูซ ื้อ ป ร ะ ห ย ัด เ ว ล า ใ น ก า ร เ ล ือ ก ซ ื้อ เ พ ร า ะ ส า ม า ร ถ ห า ข อ ม ลู ไ ด อ ย า ง ร ว ด เ ร ็ว แ ล ะ ใ ก ล เ ค ีย ง ก บั ค ว า ม เ ป น จ ร ิง ใ น ก า ร ต ล า ด แ บ บ ด ั้ง เ ด มิ ผ ซู ื้อ ต อ ง เ ด ิน ท า ง ห ล า ย แ ห ง ห ร อื ต อ ง เ ด ิน ท า ง อ อ ก จ า ก บ า น เ พ ื่อ ไ ป ย งั ส ถ า น ท ี่ข า ย ส ิน ค า แ ม ว า ถ ึง ส ถ า น ท ี่ข า ย ก ็อ า จ ม สี ิน ค า ใ ห เ ป ร ีย บ เ ท ีย บ ไ ด ไ ม ค ร บ แ ต ก า ร เ ล ือ ก ซ อื้ บ น เ ว ็บ ส า ม า ร ถ เ ป ร ีย บ เ ท ีย บ ส ิน ค า ไ ด ค ร บ แ ล ะ ด ว ย เ ท ค โ น โ ล ย สี า ม า ร ถ ท ํา ใ ห ส นิ ค า ใ ก ล เ ค ีย ง ค ว า ม จ ร ิง ม า ก ท สี่ ุด 5 . ว ัต ถ ุป ร ะ ส ง ค โ ค ร ง ก า ร 5.1 เพื่อประชาสัมพันธ สินคา OTOP ของจังหวัดชุมพร บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E - M a r k e t i n g ) จํานวน ๘ อําเภอ 5.๒ เพื่ อ บริ ก ารการสั่ ง ซื้ อ สิน ค า OTOP จากการตลาดอิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส (E - M a r k e t i n g ) แกผูบริโภค 5.๓ เพื่อสงเสริมชองทางการตลาดแกกลุมผูผลิต ผูประกอบการ OTOP ใหมีรายไดจากการ จําหนาย สินคา OTOP เพิ่มขึ้น 5.๔ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถของพัฒนากร ในการสงเสริมชองทางการตลาด และการ ประชาสัมพันธสินคา OTOP 6 . ต ัว ช ี้ว ัด จํานวน ๘ อําเภอ

๖.๑ มีการประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E - M a r k e t i n g )

๖.๒ มีการสั่งซื้อสินคา OTOP จากการการประชาสัมพันธบนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E - M a r k e t i n g ) อยางนอย 4 ผลิตภัณฑ ๖.๓ กลุมผูผลิต ผูประกอบการ OTOP มีรายไดจากการจําหนาย สินคา OTOP ๖.๔ รอยละ ๖๐ ของพัฒนากร มีผลิตภัณฑชุมชน จําหนายบนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E - M a r k e t i n g ) /7. เปาหมาย...


7 . เ ป า ห ม า ย ก า ร ด าํ เ น ิน ง า น 1 ) ก ล ุม เ ป า ห ม า ย พ ัฒ น า ก า ร อ ํา เ ภ อ แ ล ะ น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ํา น ว น ๖ 3 ค น 2 ) ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ม ีผ ล ิต ภ ัณ ฑ เ ด น อ ํา เ ภ อ ล ะ 1 ค น ร ว ม 8 ค น 2 ) ร ะ บ ุเ ป า ห ม า ย เ ช ิง พ ื้น ท ี่ ส ํา น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น อ ํา เ ภ อ ๘ อ ํา เ ภ อ 8 . ก ิจ ก ร ร ม แ ล ะ ม า ต ร ก า ร ด ํา เ น ิน ก า ร ระยะเวลา กิจกรรม งบประมาณ ผลผลิตที่ตองการ ดําเนินการ ๑. จัดฝกอบรมเจาหนาที่ มี.ค. 3 0 ,0 0 0 ๑.เจาหนาที่มีความรูความเขาใจ พัฒนาชุมชน เม.ย.56 บ าท ยุทธศาสตรกรมฯและยุทธศาสตร จังหวัด 2.เจาหนาที่ทราบกรอบและแนว ทางการ ประเมินผลการดําเนินงานตามคํารับรอง การปฏิบัตริ าชการ (PA)และการ ดําเนินงานตามคํารับ รองการปฏิบัติ ราชการภายใน (IPA) 3.เจาหนาที่(ทีมงาน IT ของอําเภอ)มี ความรูค วามเขาใจในการตลาดพาณิชย อิเล็กทรอนิกส และสามารถจัดทําหนา เว็บ E - M a r k e t i n g ได ๒. การถายทอดตัวชี้วัด และ มี.ค.56 ๑. มีการจัดทําคํารับรองการปฏิบัติ คาเปาหมายจากระดับองคกร ราชการตามแนวทางที่กรมกําหนด สูระดับบุคคล ๒. ดําเนินการถายทอดตัวชี้วดั เปา หมาย ระดับองคกรสูร ะดับบุคคล ๓. สํานักงานพัฒนาชุมชน มี.ค. ๕๖ ๑.แผนปฏิบัตกิ ารขับเคลื่อนการ อําเภอจัดทําแผนปฏิบัตกิ าร ดําเนินงานตามโครงการ ขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม 2.หนาเว็บ E - M a r k e t i n g จํานวน 8 โครงการ และรวบรวมขอมูล อําเภอ ผลิตภัณฑเดนของอําเภอ และนําขอมูลขึ้นหนาเว็บ E M a r k e t i n g ได ๔. แตงตั้งคณะกรรมการ เม.ย.๕๖ ๑. ติดตามผลการดําเนินงาน ขับเคลื่อนและคณะทํางาน ๒. ประเมินผลการดําเนินงาน ๓. สรุปรายงานผล 5.การติดตามและประเมินผล รอบ ๖, ๙ , ทราบความกาวหนาและปญหา อุปสรรค (Monitor)โดยคณะกรรมการ ๑๑ เดือน ในการดําเนินงาน ขับเคลื่อนคํารับรองการ ปฏิบัติราชการภายในระดับ หนวยงาน ประจําป ๒๕๕๖

ผูรับผิดชอบ สพจ.

สพจ.

สพอ.

สพจ. คณะกรรม การ ขับเคลื่อน คํารับรอง


9 . งบ ป ระม าณ ใชจายจากคาใชสอยประจําตัวเจาหนาที่พฒ ั นาชุมชนจังหวัดชุมพร และงบประมาณที่ไดรับการจัดสรร จากกรมการพัฒนาชุมชน (ตามรายละเอียดแนบ) 1 0 . ผ ูร ับ ผ ิด ช อ บ ๑ ๐ . ๑ ส ํา น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด ช ุม พ ร ๑ 0 . ๒ ส ํา น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น อ ํา เ ภ อ ๘ อ ํา เ ภ อ 1 1 . ร ะ บ บ ก า ร ต ิด ต า ม แ ล ะ ป ร ะ เ ม ิน ผ ล ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิง า น ต า ม โ ค ร ง ก า ร ประเด็นการ ติดตาม ๑. แผนปฏิบัติ การขับเคลื่อน กิจกรรมการ ดําเนินงานให บรรลุเปาหมาย ๒.การดําเนิน งานตามโครง การริเริม่ สราง สรรค

ขอมูลที่ตอง การติดตาม วิธีการและ ขั้นตอนในการ ทํางาน

เครื่องมือและ ผูรับผิดชอบ ความถี่การ ผูใชประโยชน วิธีการ เก็บขอมูล แบประเมิน คณะกรรมการ ๑ ครั้ง -สํานักงาน แบบสัมภาษณ ขับ เคลื่อนฯ พัฒนาชุมชน อําเภอ -คณะกรรม การขับเคลื่อนฯ ผลการดําเนิน แบประเมิน คณะกรรมการ เดือนละ -สํานักงาน งานตามเกณฑ แบบสัมภาษณ ขับเคลื่อนฯ ๑ ครั้ง พัฒนาชุมชน ที่ กําหนด อําเภอ -คณะกรรมการ ขับเคลื่อนฯ -ประชาชน ผูใชประโยชน ๓. การคัดเลือก กระบวนการ แบบประเมิน คณะกรรมการ ๒ เดือน/ -เจาหนาที่ ผลงานดีเดน ดําเนินงาน แบบสัมภาษณ ขับเคลื่อนฯ ครั้ง พัฒนาชุมชน และกิจกรรม -คณะกรรมการ ขับเคลื่อน -กลุมผูผ ลิต ผูประกอบการ OTOP

ชวงเวลา ทีใ่ ชขอมูล มี.ค.๕๖

มี.ค. – ส.ค. ๕๖

เม.ย. – ส.ค.๕๕

/ 1 2 . ผ ล ท ี่ค า ด ว า จ ะ ไ ด ร ับ . . .


1 2 . ผ ล ท ่คี า ด ว า จ ะ ไ ด ร ับ 12.1 มี ก ารประชาสั ม พั น ธ สิ น ค า OTOP ของจั ง หวั ด ชุ ม พร บนตลาดย อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E - M a r k e t i n g ) จํานวน ๘ อําเภอ 12.2 มีการสั่งซื้อสินคา OTOP จากการตลาดพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E - M a r k e t i n g ) อยางนอย ๑ ผลิตภัณฑ 12.3 กลุมผูผลิต ผูประกอบการ OTOP มีรายไดจากการจําหนาย สินคา OTOP 12.4 รอ ยละ ๖๐ ของพั ฒ นากร มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ชุม ชน จํา หน า ยบนตลาดพาณิ ชย อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E - M a r k e t i n g ) 1 3 . ก า ร ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ผ ล ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิง า น ๑ ๓ . ๑ ม ีก า ร น ํา น ว ัต ก ร ร ม ร ูป แ บ บ ก า ร ท าํ ง า น ท ี่เ ก ิด จ า ก ก ร ะ บ ว น ก า ร ด ํา เ น นิ ง า น ต า ม โ ค ร ง ก า ร ไ ป ป ร ับ ใ ช  ใ น พ ื้น ท ี่อ ื่น ๆ ๑ ๓ . ๒ ก า ร เ พ ิ่ม ข ีด ส ม ร ร ถ น ะ พ ัฒ น า ก า ร อ าํ เ ภ อ แ ล ะ น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ใ น ก า ร บ ร ิห า ร ย ุท ธ ศ า ส ต ร  แ ล ะ ก า ร ตลาดพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E - M a r k e t i n g ) 1 4 . ผ ูเ ส น อ โ ค ร ง ก า ร

ลงชื่อ วาสนา บุญรอด (นางสาววาสนา บุญรอด) หัวหนากลุมงานยุทธศาสตรการพัฒนาชุมชน

1 5 . ผ ูเ ห ็น ช อ บ โ ค ร ง ก า ร ลงชื่อ เสริมศักดิ์ แนมใส (นายเสริมศักดิ์ แนมใส) พัฒนาการจังหวัดชุมพร 1 6 . ผ ูอ น ุม ัต ิโ ค ร ง ก า ร ล ง ช ื่อ ป ฐ ม ส า ธ ิต า น น ท  (นายปฐม สาธิตานนท) รองผูวาราชการจังหวัดชุมพร ปฏิบัติราชการแทน ผูวาราชการจังหวัดชุมพร


ร า ย ล ะ เ อ ีย ด ค า ใ ช จ า ย แ น บ โครงการ O T O P ช มุ พ ร ส ูส า ก ล ด ว ย ก า ร ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น กิ ส  ( E l e c t r o n i c M a r k e t i n g : E - M a r k e t i n g ) …………………………. งบประมาณ เปนเงิน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถวน) ใชจายดังนี้ 1 . ค า อ า ห า ร ก ล า ง ว ัน จ ํา น ว น 6 3 ค น ๆ ล ะ 1 ม ื้อ ๆ ล ะ 2 5 0 บ า ท / ว ัน ร ว ม 1 ว ัน เ ป น เ ง ิน 1 5 , 7 5 0 บ า ท 2 . ค า อ า ห า ร ว า ง จ ํา น ว น 6 3 ค น ๆ ล ะ 2 ม ื้อ ๆ ล ะ 4 0 บ า ท เ ป น เ ง ิน 5 , 0 4 0 บ า ท 3 . ค า ว ัส ด ุใ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น เ ป น เ ง ิน 9 , 2 1 0 บ า ท หมายเหตุ : ถัวจายไดทุกรายการ


ตัวชี้วัดที่ ๑ มีการประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) หนวยวัด : จํานวน น้ําหนัก : รอยละ ๑๕ คําอธิบาย : มีการประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) หมายถึง ม ีก า ร น ํา ข อ ม ูล ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  O T O P ป ร ะ ช า ส มั พ ัน ธ บ น W e b s i t e E-Marketing ข อ ง อ ํา เ ภ อ โดยระบุรายละเอียดของ ผลิตภัณฑ และผูประกอบการ (ผูขาย) เชน ชื่อผลิตภัณฑ ราคา เบอรโทรศัพท E-mail ชื่อผูประกอบการ สถานที่ผลิต เปนตน เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น : แ บ ง เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น เ ป น ๕ ร ะ ด ับ ด ัง น ี้ ร ะ ด ับ ค ะ แ น น เ ก ณ ฑ ก า ร ป ร ะ เ ม ิน 1 มี ก ารประชาสั ม พั น ธ สิ น ค า OTOP บนตลาดอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E-Marketing) จ ํา น ว น ๔ อ ํา เ ภ อ 2 มี ก ารประชาสั ม พั น ธ สิ น ค า OTOP บนตลาดอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E-Marketing) จ ํา น ว น ๕ อ ํา เ ภ อ 3 มี ก ารประชาสั ม พั น ธ สิ น ค า OTOP บนตลาดอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E-Marketing) จ ํา น ว น ๖ อ ํา เ ภ อ 4 มี ก ารประชาสั ม พั น ธ สิ น ค า OTOP บนตลาดอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E-Marketing) จ ํา น ว น ๗ อ ํา เ ภ อ 5 มี ก ารประชาสั ม พั น ธ สิ น ค า OTOP บนตลาดอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E-Marketing) จ ํา น ว น ๘ อ ํา เ ภ อ แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล  แบบรายงานจากสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ  ดูจากหนาเว็บไซต W e b s i t e E-Marketing ข อ ง อ ํา เ ภ อ วิธีการจัดเก็บ ๑. กําหนดใหสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอเปนผูจัดเก็บขอมูล โดยใชแบบรายงาน ๒. จังหวัดสรุปผล รวบรวมผลการประเมิน แจงผลใหสวนกลางทราบ ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด ผูจัดเก็บขอมูล

นายเสริมศักดิ์ แนมใส นางสาววาสนา บุญรอด นายสุรพงษ เขียวผึ้ง นางสาวสาริศา สุดใจ

โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐


แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ภ า ย ใ น ( I P A ) ข อ ง ส าํ น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด ช ุม พ ร ป ร ะ จ ํา ป  2 5 5 6 โครงการ O T O P ช ุม พ ร ส ูส า ก ล ด ว ย ก า ร ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น กิ ส  ( E l e c t r o n i c M a r k e t i n g : E - M a r k e t i n g ) ต ัว ช ี้ว ดั ท ่ี 1 มีการประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) ป จ จ ัย น ํา เ ข า

ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น

จ ัง ห ว ัด

อ ํา เ ภ อ

ป ร ะ เ ม ิน ผ ล / ห ล ัก ฐ า น

ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต กิ า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท พี่ ัฒ น า ช ุม ช น ส ร า ง ทีมงาน IT ของอําเภอ รวบรวมขอมูลกลุมผูผ ลิต ผูประกอบการ OTOP และขอมูล ผลิตภัณฑของอําเภอ ค ว า ม ร ว ม ม ือ ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ร ะ ห ว า ง ท ีม I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ฝ ก ป ฏ ิบ ัต เิ รื่องการประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) แ ก ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ก า ร ส ง เ ส ร ิม ช อ ง ท า ง ก า ร ต ล า ด ส ิน ค า O T O P โ ด ย ใ ช เ ท ค โ น โ ล ย สี า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ช า ส มั พ ัน ธ 

1 . ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท พี่ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย 2 . จัดทําแผนปฏิบัติการขับเคลื่อน การดําเนินงานตามโครงการ และ รวบรวมขอมูลผลิตภัณฑของอําเภอ และนําขอมูลขึ้นหนาเว็บ EMarketing ได 3 . ฝ ก อ บ ร ม ท ีม ง า น I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ ใ น ก า ร จัดทําหนาเว็บ E-Marketing แ ล ะ การประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (EMarketing) 4 . จัดทําหนาเว็บ E-Marketing แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP 5 .รายงาน ผล

1 . จ ัด ท ํา แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ริ า ช ก า ร 2 . ก ํา ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร ร ว บ ข อ ม ูล แ ล ะ ก า ร ค ัด เ ล ือ ก ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  3 . จ ัด ท ํา ค ูม ือ ก า ร ใชงาน 4 . ฝ ก อ บ ร ม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต กิ า ร ส ร า ง ค ว า ม ร ูค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท พี่ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ๕ . ม อ บ ห ม า ย อ ํา เ ภ อ ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต กิ า ร 5 . น ิเ ท ศ ต ิด ต า ม ใ ห ค ํา แ น ะ น ํา แ ล ะ เ ม ิน ผ ล 6 . จ ัด เ ก บ็ ข อ ม ลู ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง แ ล ะ ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ๗ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น

1 . ค ัด เ ล ือ ก ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ๒ . จ ัด ท ํา ฐ า น ข อ ม ลู ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ภ า พ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๓ . ส ร า ง ค ว า ม ร ูค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ฒั น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย เ พ ื่อ ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ ใ น แ น ว ท า ง การประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (EMarketing) ๔ . จัดทําหนาเว็บ E-Marketing แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (EMarketing) 6 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น

1 . ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ติ ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  2 . ค ํา ส ั่ง ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง 3 .แผน การ ด ํา เ น ิน ง า น 6 . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม 7 .แบ บ รายงาน ผล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น 8 . ห ล ัก ฐ า น อ ื่น ๆ ท ี่ส น ับ ส น ุน ต ัว ช ี้ว ัด


แ บ บ ต ร ว จ ส อ บ ห ล ัก ฐ า น อ า ง อ ิง ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 1 ช ื่อ ต ัว ช ี้ว ัด ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 1 มีการ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาด อิเล็กทรอนิกส (E-Marketing)

ห ล ัก ฐ า น อ า ง อ ิง 1 . ค ํา ส ั่ง ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง 2 . แ ผ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น 3 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น 4 . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม ( P r i n t S c r e e n จ า ก ห น า เ ว ็บ ไ ซ ต ) ๕ . ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  6 . ห ล ัก ฐ า น อ ื่น ๆ ท สี่ น ับ ส น ุน ต ัว ช ี้ว ัด

จ ัง ห ว ัด      

ผ รู บั ผ ิด ช อ บ อ าํ เ ภ อ     

ห ม ูบ า น -

-


แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ก า ร เ พ ื่อ ส น ับ ส น ุน ก า ร ข ับ เ ค ล ื่อ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 1 มีการประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) .................................................. ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุ ม ช น ไ ด จ ัด ท ํา แ ผ น ย ุท ธ ศ า ส ต ร ก ร ม ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น พ . ศ . 2 5 5 5 – 2 5 5 9 ม ีเ ป า ห ม า ย ส ูง ส ุด ภ า ย ใ ต ว ิส ัย ท ัศ น  “ ช ุม ช น เ ข ม แ ข ็ง เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ ฐ า น ร า ก ม ั่น ค ง ” แ ล ะ ไ ด ก ํา ห น ด ป ร ะ เ ด ็น ย ุท ธ ศ า ส ต ร ไ ว  5 ป ร ะ เ ด ็น โ ด ย ใ น ป ร ะ เ ด ็น ย ุท ธ ศ า ส ต ร ท ี่ 3 ค ือ ส ง เ ส ร ิม เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ ส ร า ง ส ร ร ค  ม ีเ ป า ป ร ะ ส ง ค ค ือ “ ภ ูม ิป ญ ญ า ท อ ง ถ ิ่น ย ก ร ะ ด ับ ไ ป ส ู เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ ส ร  า ง ส ร ร ค  ” แ ล ะ เ พ ื่ อ ใ ห  ก า ร ด ํ า เ น ิ น ง า น บ ร ร ล ุ เ ป  า ป ร ะ ส ง ค  ไ ด ก ํ า ห น ด ก ล ย ุ ท ธ ท ี่ 3 . 1 พ ัฒ น า ผ ู ผ ล ิ ต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ป ร ะ ก อ บ ก ับ ก า ร ท ี่ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย จ ะ กาวเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจึง เ ป น โ อ ก า ส ท า ง ธ ุร ก ิจ ข อ ง ผ ูผ ล ิต ส ิน ค า ห น ึ่ง ต ํา บ ล ห น ึ่ง ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ( O T O P ) ท ี่ต อ ง เ ร ง พ ัฒ น า ส ิน ค า ท ั้ง ด า น ค ุณ ภ า พ แ ล ะ ม า ต ร ฐ า น ร ะ ด ับ ส า ก ล ร ว ม ท ั้ง ก า ร ส ง เ ส ร ิม ก า ร ต ล า ด โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย า ง ย ิ่ง ก า ร ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ท า ง ก า ร ต ล า ด โ ด ย ใ ช เ ค ร ื่อ ง ม ือ อ ิเ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  เ ช น ค อ ม พ ิว เ ต อ ร  เ ป น เ ค ร ื่อ ง ม ือ ใ น ก า ร ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ท า ง ก า ร ต ล า ด ก ับ ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ซ ึ่ง ส า ม า ร ถ ต ิด ต อ ก ับ ผ ูบ ร ิโ ภ ค ไ ด ท ั่ว โล ก แ ล ะ ต ล อ ด เว ล า ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น 1 . ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต กิ า ร ส ร า ง ค ว า ม ร ูค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ฒั น า ช ุม ช น ใ น แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ค ํา ร บั ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ริ า ช ก า ร ภ า ย ใ น ( I P A ) ข อ ง ส ํา น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ัด ช ุม พ ร ป ร ะ จ ํา ป  2 5 5 6 2 . อ ํา เ ภ อ ค ัด เ ล อื ก ผ ล ิต ภ ัณ ฑ ต า ม ป ร ะ เ ภ ท ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  แ ล ะ จ ัด ท ํา ข อ ม ูล ร า ย ล ะ เ อ ีย ด ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  แ ล ะ ภ า พ ถ า ย ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  3 . ฝ ก ป ฏ ิบ ัต เิ รือ่ งการประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) ใ ห แ ก เ จ า ห น า ท ี่ I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ แ ล ะ เ จ า ห น า ท ผี่ รู ับ ผ ิด ช อ บ ง า น OTOP แ ล ะ ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย อ ํา เ ภ อ ล ะ 1 ค น ร ว ม 8 อ ํา เ ภ อ 2 4 ค น ( ใ ช ง บ บ ร หิ า ร ข อ ง จ งั ห ว ัด ) 4 . จัดทําหนาเว็บ E-Marketing ข อ ง อ ํา เ ภ อ แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาด อิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) 5 . รายงาน ผล ก ิจ ก ร ร ม ใ น ร ะ ด ับ จ ัง ห ว ัด 1 . จ ัด ท ํา แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ บิ ัต ริ า ช ก า ร 2 . ก ํา ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร ร ว บ ข อ ม ูล แ ล ะ ก า ร ค ัด เ ล อื ก ผ ล ิต ภ ณั ฑ  3 . จ ัด ท ํา ค ูม อื ก า ร ใชงาน 4 . ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ัฒ น า ช มุ ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ๕ . ม อ บ ห ม า ย อ ํา เ ภ อ ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต กิ า ร 6 . น ิเ ท ศ ต ิด ต า ม ใ ห ค ํา แ น ะ น ํา แ ล ะ เ ม ิน ผ ล 7 . จ ัด เ ก บ็ ข อ ม ลู ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง แ ล ะ ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น 8 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น


ก ิจ ก ร ร ม ใ น ร ะ ด ับ อ ํา เ ภ อ 1 . ค ัด เ ล ือ ก ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ม ีผ ล ิต ภ ัณ ฑ ต า ม ป ร ะ เ ภ ท ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๒ . จ ัด ท ํา ฐ า น ข อ ม ลู ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ภ า พ ถ า ย ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๓ . เ จ า ห น า ท ี่พ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย เ ข า ร บั ก า ร ฝ ก ป ฏ บิ ัต ิส ร า ง ค ว า ม ร ู ค ว า ม เ ข า ใ จ ใ น แ น ว ท า ง การดําเนินงาน และการประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) ๔ . จัดทําหนาเว็บ E-Marketing แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP 5 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ใ ห จ งั ห ว ัด ท ร า บ จ ัง ห ว ัด ด าํ 1 2 3 4 5 6

เ น ิน ก า ร ต ร ว จ ส อ บ / ป ร ะ เ ม ิน ผ ล แ ล ะ จ ดั เ ก ็บ ห ล กั ฐ า น ด งั น ี้ . ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ เ ด น . ค ํา ส ั่ง ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง . แ ผ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม . แ บ บ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น . ห ล ัก ฐ า น อ ื่น ๆ ท สี่ น ับ ส น ุน ต ัว ช ี้ว ัด

ส อ บ ถ า ม ข อ ม ูล เ พ ิ่ม เ ต ิม ไ ด ท ี่ 1 . น า ง ส า ว ว า ส น า บ ุญ ร อ ด โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0 2 . น า ย ส ุร พ ง ษ  เ ข ีย ว ผ ึ้ง 3 . น า ง ส า ว ส า ร ิศ า ส ุด ใ จ โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0

ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น ย ทุ ธ ศ า ส ต ร ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น น ัก ว ชิ า ก า ร พ ฒั น า ช มุ ช น ช าํ น า ญ ก า ร น ัก ว ชิ า ก า ร พ ฒั น า ช มุ ช น ช าํ น า ญ ก า ร


แ บ บ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา กรม ก "โค ร ง ก า ร O T O P ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 1 ม ีก า ร ป ร ะ ช า ส ัม พ ัน ธ ส ิน ค า O T O P บ น ต ล า ด อ

เ น นิ ง า น ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 2 . 1 ร ะ ด ับ ค ว า ม ส าํ เ ร ็จ ใ น ก า ร เ พ ิ่ม ป ร ะ ส ิท ธ ิภ า พ ก า ร ข ับ เ ค ล ่อื น ย ุท ธ ศ า ส ต ร  า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ต า ม ข อ เ ส น อ โ ค ร ง ก า ร ร ิเ ร ่มิ ส ร า ง ส ร ร ค ต า ม เ ก ณ ฑ ท กี่ ํา ห น ด ช ุม พ ร ส ูส า ก ล ด ว ย ก า ร ต ล า ด อ เิ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  ( E l e c t r o n i c M a r k e t i n g : E - M a r k e t i n g ) " ิเ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  ( E - M a r k e t i n g )

 ก ล ุม ผ ผู ล ิต ช ุม ช น เ ป า ห ม า ย ท จี่ ะ ด ํา เ น ิน ก า ร ป ร ะ ช า ส ัม พ ัน ธ  จ ํา น ว น . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ก ล ุม

ท ี่

ช ื่อ ก ล ุม / ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร

ท ี่ต ั้ง ก ล ุม ห ม ูท ี่

ต ํา บ ล

อ ํา เ ภ อ

ห ม า ย เ ห ต ุ : 1 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น นิ ง า น ใ ห จ งั ห ว ัด ท ร า บ ภ า ย ใ น ว นั ท ่ี 5 ก ร ก ฎ า ค ม 2 5 5 6 2 . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม ใ ห แ น บ แ บ บ ร า ย ง า น เ พ ิ่ม ต า ม จ าํ น ว น ท ี่อ ํา เ ภ อ ด ํา เ น ิน ก า ร

ช ื่อ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ 

ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม ก า ร ป ร ะ ช า ส มั พ ัน ธ  ใ ห แ ท ร ก ภ า พ P r i n t S c r e e n ห น า เ ว ็บ E - M a r k e t i n g ข อ ง อ ํา เ ภ อ อ ย า ง น อ ย 1 ภ า พ

ล ง ช ื่อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ผ ูร า ย ง า น (.............................................................) ต ํา แ ห น ง พ ัฒ น า ก า ร อ ํา เ ภ อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .


ตัวชี้วัดที่ ๒ มีการสั่งซื้อสินคา OTOP จากการตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) หนวยวัด : จํานวน น้ําหนัก : รอยละ ๑๕ คําอธิบาย : มีการสั่งซื้อสินคา OTOP จากการตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) หมายถึง ผูบริโภคมีการสั่งซื้อสินคา OTOP โ ด ย ต ิด ต อ ส ั่ง ซ ื้อ ร ะ ห ว า ง ผ ูซ ื้อ แ ล ะ ผ ูข า ย ซ ึ่ง เ ป น ผ ล จ า ก ก า ร ป ร ะ ช า ส ัม พ ัน ธ ส ิน ค า บ น W e b s i t e E-Marketing ของอําเภอ เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น : แ บ ง เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น เ ป น ๕ ร ะ ด ับ ด ัง น ี้ ร ะ ด ับ ค ะ แ น น 1 2 3 4 5

เ ก ณ ฑ ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ไมมีการสั่งซื้อสินคา OTOP จากการตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) มีการสั่งซือ้ สินคา OTOP จากการตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) ๑ ผลิตภัณฑ มีการสั่งซือ้ สินคา OTOP จากการตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) 2 ผลิตภัณฑ มีการสั่งซือ้ สินคา OTOP จากการตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) 3 ผลิตภัณฑ มี ก า ร สั่ ง ซื้ อ สิ น ค า OTOP จ า ก ก า ร ต ล า ด อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ( E-Marketing) 4 ผลิตภัณฑขึ้นไป

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล แบบรายงานจากสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ วิธีการจัดเก็บ ๑. กําหนดใหสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอเปนผูจัดเก็บขอมูล โดยใชแบบรายงาน ๒. จังหวัดสรุปผล รวบรวมผลการประเมิน แจงผลใหสวนกลางทราบ ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด ผูจัดเก็บขอมูล

นายเสริมศักดิ์ แนมใส นางสาววาสนา บุญรอด นายวิจิตร ทองประดู นางสาวสาริศา สุดใจ

โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐


แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ภ า ย ใ น ( I P A ) ข อ ง ส ํา น กั ง า น พ ัฒ น า ช มุ ช น จ งั ห ว ดั ช ุม พ ร ป ร ะ จ ํา ป  2 5 5 6 โครงการ O T O P ช ุม พ ร ส ูส า ก ล ด ว ย ก า ร ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น กิ ส  ( E l e c t r o n i c M a r k e t i n g : E - M a r k e t i n g ) ต ัว ช ี้ว ดั ท ่ี ๒ มีการสั่งซื้อสินคา OTOP จากการตลาดอิเล็กทรอนิกส (E - M a r k e t i n g ) ป จ จ ัย น ํา เ ข า

ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น

จ ัง ห ว ัด

อ ํา เ ภ อ

ป ร ะ เ ม ิน ผ ล / ห ล ัก ฐ า น

ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต กิ า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่ พ ัฒ น า ช ุม ช น ส ร า ง ทีมงาน IT ของ อําเภอ รวบรวมขอมูลกลุม ผูผลิตผูป ระกกอบการ OTOP ผลิตภัณฑ และ ภาพผลิตภัณฑ ของอําเภอ ค ว า ม ร ว ม ม ือ ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ร ะ ห ว า ง ท มี I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ฝ ก ป ฏ ิบ ัต เิ รื่องการ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาด อิเล็กทรอนิกส (EMarketing) แ ก  ก ล ุม เ ป า ห ม า ย

1 . ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ฒั น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย 2 . จัดทําแผนปฏิบัติการ ขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม โครงการ และรวบรวมขอมูล ผลิตภัณฑเดนของอําเภอ และ นําขอมูลขึ้นหนาเว็บ E M a r k e t i n g ได 3 . ฝ ก อ บ ร ม ท ีม ง า น I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ ใ น ก า ร จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t i n g แ ล ะ การ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (EMarketing)

1 . จ ัด ท ํา แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ริ า ช ก า ร 2 . ก ํา ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร ร ว บ ข อ ม ูล แ ล ะ ก า ร ค ัด เ ล ือ ก ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  3 . จ ัด ท ํา ค ูม ือ ก า ร ใชงาน 4 . จ ัด ฝ ก ป ฏ ิบ ัต ิส ร า ง ค ว า ม ร ูค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท พี่ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ๕ . ม อ บ ห ม า ย อ ํา เ ภ อ ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต กิ า ร 5 . น ิเ ท ศ ต ิด ต า ม ใ ห ค ํา แ น ะ น ํา แ ล ะ เ ม ิน ผ ล 6 . จ ัด เ ก บ็ ข อ ม ลู ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง แ ล ะ ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ๗ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น

1 . ค ัด เ ล ือ ก ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ๒ . จ ัด ท ํา ฐ า น ข อ ม ลู ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ข อ ม ูล ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  แ ล ะ ภ า พ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๓ . ส ร า ง ค ว า ม ร ูค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ฒั น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย เ พ ื่อ ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ ใ น แ น ว ท า ง การประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาด อิเล็กทรอนิกส (EMarketing) ๔ . จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t in g แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาด อิเล็กทรอนิกส (E-Marketing)

1 . ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ติ ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  2 . ค ํา ส ั่ง ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง 3 .แผน การ ด ํา เ น ิน ง า น 6 . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม 7 .แบ บ รายงาน ผล ก า ร ด ํา เ น ิน ก า ร ๗ . ห ล ัก ฐ า น ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า / ก า ร ส ง ส ิน ค า 8 . ห ล ัก ฐ า น อ ื่น ๆ ท ี่ส น ับ ส น ุน ต ัว ช ี้ว ัด


ป จ จ ัย น ํา เ ข า ก า ร ส ง เ ส ร มิ ช อ ง ท า ง ก า ร ต ล า ด ส ิน ค า O T O P โ ด ย ใ ช เ ท ค โ น โ ล ย ี ส า ร ส น เท ศ แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ช า ส มั พ ัน ธ  มีการสัง่ ซื้อสินคา OTOP จากการตลาด อิเล็กทรอนิกส ( E M a r k e t in g )

ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น 4 . จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t in g แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (EMarketing) 5 . ร อ ร บั ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า บ น ห น า เ ว ็บ ฯ ท า ง E - m a i l ห ร ือ ท า ง โ ท ร ศ ัพ ท  6 .รายงาน ผล

จ ัง ห ว ัด

อ ํา เ ภ อ 5 . ร อ ร บั ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า บ น ห น า เ ว บ็ ฯ ท า ง E - m a i l ห ร ือ ท า ง โ ท ร ศ ัพ ท  6 .รายงาน ผลการ ด ํา เ น ิน ง า น

ป ร ะ เ ม ิน ผ ล / ห ล ัก ฐ า น


แ บ บ ต ร ว จ ส อ บ ห ล ัก ฐ า น อ า ง อ ิง ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 2 ช ื่อ ต ัว ช ี้ว ัด ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ ๒ มีการ สั่งซื้อสินคา OTOP จากการตลาด อิเล็กทรอนิกส (E M a r k e t in g )

ห ล ัก ฐ า น อ า ง อ ิง 1 . ค ํา ส ั่ง ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง 2 . แ ผ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น 3 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น 4 . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม ( P r i n t S c r e e n จ า ก ห น า เ ว ็บ ไ ซ ต ) ๕ . ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๖ . ห ล ัก ฐ า น ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า / ก า ร ส ง ส ิน ค า ใ ห ล ูก ค า ๗ . ห ล ัก ฐ า น อ ื่น ๆ ท สี่ น ับ ส น ุน ต ัว ช ี้ว ัด

จ ัง ห ว ัด       

ผ รู บั ผ ิด ช อ บ อ าํ เ ภ อ       

ห ม ูบ า น -

-


แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ก า ร เ พ ื่อ ส น ับ ส น ุน ก า ร ข ับ เ ค ล ื่อ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ ๒ มีการสั่งซื้อสินคา OTOP จากการตลาดอิเล็กทรอนิกส (E - M a r k e t i n g ) ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น 1 . ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ัฒ น า ช มุ ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย 2 . จัดทําแผนปฏิบัตกิ ารขับเคลื่อนการดําเนินงานตามโครงการ และรวบรวมขอมูลผลิตภัณฑของอําเภอ และ นําขอมูลขึ้นหนาเว็บ E - M a r k e t i n g ได 3 . ฝ ก อ บ ร ม ท ีม ง า น I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ ใ น ก า ร จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t i n g แ ล ะ การประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) 4 . จัดทําหนาเว็บ E-Marketing แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP 5 . ร อ ร บั ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า บ น ห น า เ ว บ็ ฯ ท า ง E - m a i l ห ร อื ท า ง โ ท ร ศ ัพ ท  6 .รายงาน ผล ก ิจ ก ร ร ม ใ น ร ะ ด ับ จ ัง ห ว ัด 1 . จ ัด ท ํา แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร 2 . ก ํา ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร ร ว บ ข อ ม ูล แ ล ะ ก า ร ค ัด เ ล อื ก ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  3 . จ ัด ท ํา ค ูม ือ ก า ร ใชงาน 4 . จ ัด ฝ ก ป ฏ ิบ ัต ิส ร า ง ค ว า ม ร ูค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ๕ . ม อ บ ห ม า ย อ ํา เ ภ อ ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต กิ า ร 6 . น ิเ ท ศ ต ิด ต า ม ใ ห ค ํา แ น ะ น ํา แ ล ะ เ ม ิน ผ ล 7 . จ ัด เ ก บ็ ข อ ม ลู ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง แ ล ะ ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น 8 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ก ิจ ก ร ร ม ใ น ร ะ ด ับ อ ํา เ ภ อ 1 . ค ัด เ ล ือ ก ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ม ีผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๒ . จ ัด ท ํา ฐ า น ข อ ม ลู ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ข อ ม ูล ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  แ ล ะ ภ า พ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๓ . ส ร า ง ค ว า ม ร ูค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ฒั น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย เ พ ื่อ ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ ใ น แ น ว ท า ง การประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) ๔ . จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t i n g แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) 5 . ร อ ร บั ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า บ น ห น า เ ว บ็ ฯ ท า ง E - m a i l ห ร อื ท า ง โ ท ร ศ ัพ ท  6 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น


จ ัง ห ว ัด ด าํ 1 2 3 4 5 6 7

เ น ิน ก า ร ต ร ว จ ส อ บ / ป ร ะ เ ม ิน ผ ล แ ล ะ จ ัด เ ก ็บ ห ล กั ฐ า น ด งั น ้ี . ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ข อ ม ลู ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  . ค ํา ส ั่ง ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง . แ ผ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม . แ บ บ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ก า ร . ห ล ัก ฐ า น ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า / ก า ร ส ง ส ิน ค า . ห ล ัก ฐ า น อ ื่น ๆ ท ี่ส น บั ส น ุน ต ัว ช ี้ว ัด

ส อ บ ถ า ม ข อ ม ลู เ พ ิ่ม เ ต ิม ไ ด ท ี่ 1 . น า ง ส า ว ว า ส น า บ ุญ ร อ ด โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0 2 . น า ย ส ุร พ ง ษ  เ ข ีย ว ผ ึ้ง โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0 3 . น า ย ว ิจ ิต ร ท อ ง ป ร ะ ด ู โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0 4 . น า ง ส า ว ส า ร ิศ า ส ุด ใ จ โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0

ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น ย ทุ ธ ศ า ส ต ร ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร


แ บ บ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 2 . 1 ร ะ ด ับ ค ว า ม ส าํ เ ร ็จ ใ น ก า ร เ พ ิ่ม ป ร ะ ส ิท ธ ิภ า พ ก า ร ข ับ เ ค ล ่อื น ย ุท ธ ศ า ส ต ร  ก ร ม ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ต า ม ข อ เ ส น อ โ ค ร ง ก า ร ร ิเ ร ่มิ ส ร า ง ส ร ร ค ต า ม เ ก ณ ฑ ท กี่ ํา ห น ด " โ ค ร ง ก า ร O T O P ช มุ พ ร ส ูส า ก ล ด ว ย ก า ร ต ล า ด อ เิ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  ( E l e c t r o n i c M a r k e t i n g : E - M a r k e t i n g ) " ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 2 ม ีก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า O T O P จ า ก ก า ร ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  ( E - M a r k e t i n g )  ล ูก ค า ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า O T O P จ า ก ก า ร ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  ( E - M a r k e t i n g ) จ ํา น ว น . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ผ ล ิต ภ ัณ ฑ 

ท ี่

E - m a i l ข อ ง ล ูก ค า ท ี่ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า บ น ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น ิก ส 

ช ื่อ ก ล ุม / ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ส ั่ง ซ ื้อ

ช ื่อ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ ท สี่ ั่ง ซ ื้อ

ห ม า ย เ ห ต ุ : 1 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ใ ห จ ัง ห ว ัด ท ร า บ จ ํา น ว น 2 ค ร ั้ง - ค ร ั้ง ท ี่ 1 ภ า ย ใ น ว ัน ท ี่ 5 ก ร ก ฎ า ค ม 2 5 5 6 - ค ร ั้ง ท ี่ 2 ภ า ย ใ น ว ัน ท ี่ 5 ส ิง ห า ค ม 2 5 5 6 2 . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม ใ ห แ น ต บ ํา แ บ ห บ น ร ง า ย พ ง า ัฒ น นเ พ า ิ่ม ก ต า า ร ม อ จ ํา ํา เ น ภ ว อ น . . ท . . ี่อ . . ํา. . เ . ภ . . .อ . . ด . . ํา . . เ . น . . ิน . . . ก . . า . ร. . . . .

จ าํ น ว น ห น ว ย / ร า ค า ต อ ห น ว ย ท สี่ ั่ง ซ อื้

เ อ ก ส า ร / ห ล ัก ฐ า น ก า ร ส ง ส ิน ค า ใ ห ล กู ค า

ภ า พ ก า ร ส งั่ ซ ื้อ ส ิน ค า จ า ก ก า ร ต ล า ด อ ิเ ล ก็ ท ร อ น ิก ส  ( E - M a r k e t i n g ) ใ ห แ ท ร ก ภ า พ P r i n t S c r e e n E - m a i l ก า ร ส งั่ ซ ื้อ ส ิน ค า ข อ ง ล ูก ค า

ล ง ช ื่อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ผ ูร า ย ง า น (.............................................................)


ตัวชี้วัดที่ ๓ กลุมผูผลิต ผูประกอบการ OTOP มีรายไดจากการจําหนาย สินคา OTOP หนวยวัด : จํานวน น้ําหนัก : รอยละ ๑๐ คําอธิบาย : กลุมผูผลิต ผูประกอบการ OTOP มีรายไดจากการจําหนาย สินคา OTOP หมายถึง มีการจําหนายสินคา OTOP จ า ก ก า ร ป ร ะ ช า ส ัม พ ัน ธ ส ิน ค า บ น W e b s i t e E-Marketing สงผลใหกลุมผูผลิต ผูประกอบการ OTOP มีรายได เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น : แ บ ง เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น เ ป น ๕ ร ะ ด ับ ด ัง น ี้ ร ะ ด ับ ค ะ แ น น 1 2 3 4 5

เ ก ณ ฑ ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ไมมีรายไดจากการจําหนาย สินคา OTOP มีรายไดจากการจําหนาย สินคา OTOP

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล แบบรายงาน จากสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ วิธีการจัดเก็บ ๑. กําหนดใหสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอเปนผูจัดเก็บขอมูล โดยใชแบบรายงาน ๒. จังหวัดสรุปผล รวบรวมผลการประเมิน แจงผลใหสวนกลางทราบ ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด ผูจัดเก็บขอมูล

นายเสริมศักดิ์ แนมใส นางสาววาสนา บุญรอด นายวิจิตร ทองประดู นางสาวสาริศา สุดใจ

โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐


แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ภ า ย ใ น ( I P A ) ข อ ง ส าํ น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ดั ช ุม พ ร ป ร ะ จ ํา ป  2 5 5 6 โครงการ O T O P ช ุม พ ร ส ูส า ก ล ด ว ย ก า ร ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น กิ ส  ( E l e c t r o n i c M a r k e t i n g : E - M a r k e t i n g ) ต ัว ช ี้ว ดั ท ่ี ๓ กลุมผูผลิต ผูประกอบการ OTOP มีรายไดจากการจําหนาย สินคา OTOP ป จ จ ัย น ํา เ ข า

ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น

จ ัง ห ว ัด

อ ํา เ ภ อ

ป ร ะ เ ม ิน ผ ล / ห ล ัก ฐ า น

ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต กิ า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่ พ ัฒ น า ช ุม ช น ส ร า ง ทีมงาน IT ของ อําเภอ ค ัด เ ล ือ ก ก ล มุ ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ม ี ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ฝ ก ป ฏ บิ ัต ิท ีม I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ แ ล ะ ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย รวบรวมขอมูลกลุม ผูผลิตผูป ระกกอบการ OTOP และผลิตภัณฑของ อําเภอ ค ว า ม ร ว ม ม ือ ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ร ะ ห ว า ง ท มี I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P

1 . ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ฒั น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย 2 . จัดทําแผนปฏิบัติการ ขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม โครงการ และรวบรวมขอมูล ผลิตภัณฑของอําเภอ และนํา ขอมูลขึ้นหนาเว็บ E M a r k e t i n g ได 3 . ฝ ก ป ฏ ิบ ัต ทิ ีม ง า น I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ ใ น ก า ร จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t i n g แ ล ะ การ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (EMarketing)

1 . จ ัด ท ํา แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ริ า ช ก า ร 2 . ก ํา ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร ร ว บ ข อ ม ูล แ ล ะ ก า ร ค ัด เ ล ือ ก ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  3 . จ ัด ท ํา ค ูม ือ ก า ร ใ ช ง า น 4 . จ ัด ฝ ก ป ฏ ิบ ัต ิส ร า ง ค ว า ม ร ู ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ฒั น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ๕ . ม อ บ ห ม า ย อ ํา เ ภ อ ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต กิ า ร ๖ . น ิเ ท ศ ต ิด ต า ม ใ ห ค ํา แ น ะ น ํา แ ล ะ เ ม ิน ผ ล ๗ . จ ัด เ ก บ็ ข อ ม ลู ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง แ ล ะ ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ๘ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น

1 . ค ัด เ ล ือ ก ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ม ี ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๒ . จ ัด ท ํา ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๓ . เ จ า ห น า ท ี่พ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ศ ึก ษ า ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ ใ น แ น ว ท า ง การประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาด อิเล็กทรอนิกส (EMarketing) ๔ . จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t in g แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาด อิเล็กทรอนิกส (E-

1 . ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ติ ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  เ ด น 2 . ค ํา ส ั่ง ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง 3 .แผน การ ด ํา เ น ิน ง า น ๔ . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม ๕ .แบ บ รายงาน ผล ก า ร ด ํา เ น ิน ก า ร ๖ . ห ล ัก ฐ า น ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า / ก า ร ส ง ส ิน ค า ๗ .ร า ย ง า น ย อ ด จ ํา ห น า ย ส ิน ค า O TO P 8 . ห ล ัก ฐ า น อ ื่น ๆ ท ี่ส น ับ ส น ุน ต ัว ช ี้ว ัด


ป จ จ ัย น ํา เ ข า

ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น

การสั่งซื้อสินคา OTOP 4 . จัดทําหนาเว็บ จากการตลาดอิเล็กทรอนิกส E - M a r k e t i n g แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP (E-Marketing) บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (EMarketing) ๕ . ร อ ร บั ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า 6 .รายงาน ผล

จ ัง ห ว ัด

อ ํา เ ภ อ Marketing) ๕ . ร อ ร บั ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ๖ . จ ัด ส ง ส ิน ค า ใ ห ล ูก ค า เ ม ื่อ ม ีก า ร ส ั่ง ซ อื้ ส ิน ค า ๗ .รายงาน ผลการ ด ํา เ น ิน ง า น

ป ร ะ เ ม ิน ผ ล / ห ล ัก ฐ า น


แ บ บ ต ร ว จ ส อ บ ห ล ัก ฐ า น อ า ง อ ิง ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 3 ช ื่อ ต ัว ช ี้ว ัด

ห ล ัก ฐ า น อ า ง อ ิง

ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ ๓ กลุมผูผลิต ผูป ระกอบการ OTOP มี รายไดจ ากการจํา หน า ย สินคา OTOP

1 . ค ํา ส ั่ง ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง 2 . แ ผ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น 3 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น 4 . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม ( P r i n t S c r e e n จ า ก ห น า เ ว ็บ ไ ซ ต ) ๕ . ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๖ . ห ล ัก ฐ า น ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า / ก า ร ส ง ส ิน ค า ใ ห ล ูก ค า ๗ . ร า ย ง า น ย อ ด จ ํา ห น า ย ส ิน ค า O T O P จาก การตลาดอิเล็กทรอนิกส (E - M a r k e t i n g ) 8 . ห ล ัก ฐ า น อ ื่น ๆ ท สี่ น ับ ส น ุน ต ัว ช ี้ว ัด

จ ัง ห ว ัด     

ผ รู บั ผ ิด ช อ บ อ าํ เ ภ อ     

 

 

ห ม ูบ า น -

-


แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ก า ร เ พ ื่อ ส น ับ ส น ุน ก า ร ข ับ เ ค ล ื่อ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ ๓ กลุมผูผลิต ผูประกอบการ OTOP มีรายไดจากการจําหนาย สินคา OTOP ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น 1 . ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ัฒ น า ช มุ ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย 2 . จัดทําแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามโครงการ และรวบรวมขอมูลผลิตภัณฑของ อําเภอ และนําขอมูลขึ้นหนาเว็บ E - M a r k e t i n g ได 3 . ฝ ก ป ฏ ิบ ัต ทิ ีม ง า น I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ ใ น ก า ร จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t i n g แ ล ะ การประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) 4 . จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t i n g แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (EMarketing) ๕ . ร อ ร บั ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า 6 .รายงาน ผล ก ิจ ก ร ร ม ใ น ร ะ ด ับ จ ัง ห ว ัด 1 . จ ัด ท ํา แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร 2 . ก ํา ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร ร ว บ ข อ ม ูล แ ล ะ ก า ร ค ัด เ ล อื ก ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  3 . จ ัด ท ํา ค ูม ือ ก า ร ใ ช ง า น 4 . จ ัด ฝ ก ป ฏ ิบ ัต ิส ร า ง ค ว า ม ร ูค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ๕ . ม อ บ ห ม า ย อ ํา เ ภ อ ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต กิ า ร ๖ . น ิเ ท ศ ต ิด ต า ม ใ ห ค ํา แ น ะ น ํา แ ล ะ เ ม ิน ผ ล ๗ . จ ัด เ ก บ็ ข อ ม ลู ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง แ ล ะ ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ๘ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ก ิจ ก ร ร ม ใ น ร ะ ด ับ อ ํา เ ภ อ 1 . ค ัด เ ล ือ ก ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ม ีผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๒ . จ ัด ท ํา ฐ า น ข อ ม ลู ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ข อ ม ูล ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๓ . เ จ า ห น า ท ี่พ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ศ ึก ษ า ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ ใ น แ น ว ท า ง การประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) ๔ . จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t i n g แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (EMarketing) ๕ . ร อ ร บั ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ๖ . จ ัด ส ง ส ิน ค า ใ ห ล ูก ค า เ ม ื่อ ม ีก า ร ส งั่ ซ ื้อ ส ิน ค า ๗ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น


จ ัง ห ว ัด ด าํ 1 2 3 ๔ ๕ ๖ ๗ 8

เ น ิน ก า ร ต ร ว จ ส อ บ / ป ร ะ เ ม ิน ผ ล แ ล ะ จ ัด เ ก ็บ ห ล ัก ฐ า น ด ัง น ี้ . ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  . ค ํา ส ั่ง ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง . แ ผ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม . แ บ บ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ก า ร . ห ล ัก ฐ า น ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า / ก า ร ส ง ส ิน ค า . ร า ย ง า น ย อ ด จ ํา ห น า ย ส ิน ค า O T O P จากการตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) . ห ล ัก ฐ า น อ ื่น ๆ ท สี่ น ับ ส น ุน ต ัว ช ี้ว ัด

ส อ บ ถ า ม ข อ ม ลู เ พ ิ่ม เ ต ิม ไ ด ท ี่ 1 . น า ง ส า ว ว า ส น า บ ุญ ร อ ด โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0 2 . น า ย ส ุร พ ง ษ  เ ข ีย ว ผ ึ้ง โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0 3 . น า ย ว ิจ ิต ร ท อ ง ป ร ะ ด ู โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0 4 . น า ง ส า ว ส า ร ิศ า ส ุด ใ จ โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0

ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น ย ทุ ธ ศ า ส ต ร ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร


แ บ บ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 2 . 1 ร ะ ด ับ ค ว า ม ส าํ เ ร ็จ ใ น ก า ร เ พ ิ่ม ป ร ะ ส ิท ธ ิภ า พ ก า ร ข ับ เ ค ล ่อื น ย ุท ธ ศ า ส ต ร  ก ร ม ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น ต า ม ข อ เ ส น อ โ ค ร ง ก า ร ร ิเ ร ่มิ ส ร า ง ส ร ร ค ต า ม เ ก ณ ฑ ท กี่ ํา ห น ด " โ ค ร ง ก า ร O T O P ช มุ พ ร ส ูส า ก ล ด ว ย ก า ร ต ล า ด อ เิ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  ( E l e c t r o n i c M a r k e t i n g : E - M a r k e t i n g ) " ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 3 ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ม ีร า ย ไ ด จ า ก ก า ร จ าํ ห น า ย ส ิน ค า O T O P  ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ม ีร า ย ไ ด จ า ก ก า ร จ ํา ห น า ย ส ิน ค า จ า ก ก า ร ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  ( E - M a r k e t i n g ) ร ว ม ท ั้ง ส ิ้น . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . บ า ท

ท ี่

ช ่อื ก ล ุม ผ ูผ ล ิต / ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P

ช ื่อ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ ท จี่ ํา ห น า ย

ห ม า ย เ ห ต ุ : 1 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ใ ห จ ัง ห ว ัด ท - ค ร ั้ง ท ี่ 1 ภ า ย ใ น ว ัน ท ี่ 5 ก ร ก ฎ า ค ม - ค ร ั้ง ท ี่ 2 ภ า ย ใ น ว ัน ท ี่ 5 ส ิง ห า ค ม 2 . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม ใ ห แ น บ แ บ บ ร า ย ง า น เ พ ิ่ม

E - m a il ข อ ง ผ สู ั่ง ซ อื้ ส ิน ค า

ร า บ จ ํา น ว น 2 ค ร ั้ง 2 5 5 6 2 5 5 6 ต า ม จ ํา น ว น ท ี่อ าํ เ ภ อ ด ํา เ น ิน ก า ร

ผ ล ก า ร จ ํา ห น า ย จ ํา น ว น ห น ว ย

ร า ค า ต อ ห น ว ย

ร ว ม เ ง ิน

ห ล กั ฐ า น ก า ร ร ับ - จ า ย เ ง ิน ใ ห ท าํ เ ค ร ื่อ ง ห ม า ย ( ) ใ น ช อ ง ท ี่ม ีเ อ ก ส า ร

ใ บ ส ง ข อ ง

ล ง ช ื่อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ผ ูร า ย ง า น (.............................................................) ต ํา แ ห น ง พ ัฒ น า ก า ร อ ํา เ ภ อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ใ บ เ ส ร ็จ ร ับ เ ง ิน

อ ื่น ๆ


ตัวชี้วัดที่ ๔ พัฒนากร มีผลิตภัณฑชุมชน จําหนายในตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) หนวยวัด : รอยละ น้ําหนัก : รอยละ ๑๐ คําอธิบาย : พัฒนากร มีผลิตภัณฑชุมชน จําหนายในตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) หมายถึง พ ัฒ น า ก ร น ํา ข อ ม ูล ผ ล ิต ภ ัณ ฑ เ ด น ไ ด แ ก  ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  O T O P ห ร ือ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ ช ุม ช น ( ก ร ณ ีท ี่อ ํา เ ภ อ ไ ม ม ีผ ล ิต ภ ัณ ฑ ม า ล ง ท ะ เ บ ีย น O T O P ป  ๒ ๕ ๕ ๕ ) ป ร ะ ช า ส ัม พ ัน ธ บ น W e b s i t e E-Marketing เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น : แ บ ง เ ก ณ ฑ ก า ร ใ ห ค ะ แ น น เ ป น ๕ ร ะ ด ับ ด ัง น ี้ ร ะ ด ับ ค ะ แ น น 1 2 3 4 5

เ ก ณ ฑ ก า ร ป ร ะ เ ม ิน ร  อ ย ล ะ ๒ ๐ ของพั ฒ นากร มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชน จํ า หน า ยในตลาดอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E-Marketing) ร  อ ย ล ะ ๓ ๐ ของพั ฒ นากร มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชน จํ า หน า ยในตลาดอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E-Marketing) ร  อ ย ล ะ ๔ ๐ ของพั ฒ นากร มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชน จํ า หน า ยในตลาดอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E-Marketing) ร  อ ย ล ะ ๕ ๐ ของพั ฒ นากร มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชน จํ า หน า ยในตลาดอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E-Marketing) ร  อ ย ล ะ ๖ ๐ ของพั ฒ นากร มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชน จํ า หน า ยในตลาดอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E-Marketing)

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล  แบบรายงาน จากสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ  ดูจากหนาเว็บไซต วิธีการจัดเก็บ ๑. กําหนดใหสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอเปนผูจัดเก็บขอมูล โดยใชแบบรายงาน ๒. จังหวัดสรุปผล รวบรวมผลการประเมิน แจงผลใหสวนกลางทราบ ผูกํากับดูแลตัวชี้วัด ผูจัดเก็บขอมูล

นายเสริมศักดิ์ แนมใส นางสาววาสนา บุญรอด นายตรอน นิลยกานนท นายสุรพงษ เขียวผึ้ง นางสาวสาริศา สุดใจ

โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐ โทรศัพท ๐ ๗๗๕๑ ๑๓๓๐


แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร ภ า ย ใ น ( I P A ) ข อ ง ส าํ น ัก ง า น พ ัฒ น า ช ุม ช น จ ัง ห ว ดั ช ุม พ ร ป ร ะ จ ํา ป  2 5 5 6 โครงการ O T O P ช ุม พ ร ส ูส า ก ล ด ว ย ก า ร ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น กิ ส  ( E l e c t r o n i c M a r k e t i n g : E - M a r k e t i n g ) ตัวชี้วัดที่ ๔ พัฒนากร มีผลิตภัณฑชุมชน จําหนายในตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) ป จ จ ัย น ํา เ ข า

ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น

1 . ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ส ร า ง ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต กิ า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่ ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ฒั น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ส ร า ง ทีมงาน IT ของ 2 . จัดทําแผนปฏิบัติการ อําเภอ ขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม ค ัด เ ล ือ ก ก ล มุ ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ม ี โครงการ และรวบรวมขอมูล ผลิตภัณฑของอําเภอ และนํา ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ขอมูลขึ้นหนาเว็บ Eฝ ก อ บ ร ม ท ีม I T ข อ ง Marketing ได อ ํา เ ภ อ แ ล ะ ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย 3 . ฝ ก อ บ ร ม ท ีม ง า น I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ ใ น ก า ร จัดทําหนาเว็บ รวบรวมขอมูลกลุม E - M a r k e t i n g แ ล ะ การ ผูผลิตผูป ระกอบการ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP OTOP และขอมูล บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (Eผลิตภัณฑของอําเภอ Marketing) ค ว า ม ร ว ม ม ือ ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ร ะ ห ว า ง ท มี I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P

จ ัง ห ว ัด

อ ํา เ ภ อ

ป ร ะ เ ม ิน ผ ล / ห ล ัก ฐ า น

1 . จ ัด ท ํา แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ริ า ช ก า ร 2 . ก ํา ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร ร ว บ ข อ ม ูล แ ล ะ ก า ร ค ัด เ ล ือ ก ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  3 . จ ัด ท ํา ค ูม ือ ก า ร ใ ช ง า น 4 . ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท พี่ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ๕ . ม อ บ ห ม า ย อ ํา เ ภ อ ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต กิ า ร ๖ . น ิเ ท ศ ต ิด ต า ม ใ ห ค ํา แ น ะ น ํา แ ล ะ เ ม ิน ผ ล ๗ . จ ัด เ ก บ็ ข อ ม ลู ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง แ ล ะ ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ๘ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น

1 . ค ัด เ ล ือ ก ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ม ี ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๒ . จ ัด ท ํา ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ข อ ม ลู ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๓ . ม อ บ ห ม า ย เ จ า ห น า ท ี่ พ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย เ ข า ร ับ ก า ร ฝ ก ป ฏ ิบ ัต ิใ น แ น ว ท า ง การประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาด อิเล็กทรอนิกส (EMarketing) ๔ . จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t in g แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาด อิเล็กทรอนิกส (EMarketing)

1 . ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ติ ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ข อ ม ลู ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  2 . ค ํา ส ั่ง ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง 3 .แผน การ ด ํา เ น ิน ง า น ๔ . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม ๕ .แบ บ รายงาน ผล ก า ร ด ํา เ น ิน ก า ร ๖ . ห ล ัก ฐ า น ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า / ก า ร ส ง ส ิน ค า ๗ .ร า ย ง า น ย อ ด จ ํา ห น า ย ส ิน ค า แ ล ะ จ ํา น ว น ผลิตภัณฑ ชุมชน ที่จําหนายใน ตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) ๘ .รายงาน ผลการ ส ั่ง ซ อื้ ส ิน ค า


ป จ จ ัย น ํา เ ข า การสั่งซือ้ สินคา OTOP จากการตลาด อิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) กลยุทธการจําหนาย สินคาในตลาด อิเล็กทรอนิกส (EMarketing)

ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น 4 . จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t in g แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (EMarketing) ๕ . ร อ ร บั ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า 6 .รายงาน ผล

จ ัง ห ว ัด

อ ํา เ ภ อ

ป ร ะ เ ม ิน ผ ล / ห ล ัก ฐ า น

๕ . ร อ ร บั ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ๙ . ห ล ัก ฐ า น อ ื่น ๆ ๖ . จ ัด ส ง ส ิน ค า ใ ห ล ูก ค า เ ม ื่อ ท ี่ส น ับ ส น นุ ต ัว ช ี้ว ัด ม ีก า ร ส ั่ง ซ อื้ ส ิน ค า ๗ . จ ัด เ ก บ็ ข อ ม ลู ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า แ ล ะ จ ํา น ว น ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ท ี่ล ูก ค า ส ั่ง ซ อื้ ๘ .รายงาน ผลการ ด ํา เ น ิน ง า น


แ บ บ ต ร ว จ ส อ บ ห ล ัก ฐ า น อ า ง อ ิง ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 4 ช ื่อ ต ัว ช ี้ว ัด ตัวชี้วัดที่ ๔ พัฒนากร มีผลิตภัณฑชุมชน จําหนายในตลาด อิเล็กทรอนิกส (E-Marketing)

ห ล ัก ฐ า น อ า ง อ ิง 1 . ค ํา ส ั่ง ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง 2 . แ ผ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น 3 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น 4 . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม ( P r i n t S c r e e n จ า ก ห น า เ ว ็บ ไ ซ ต ) ๕ . ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๖ . ห ล ัก ฐ า น ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า / ก า ร ส ง ส ิน ค า ใ ห ล ูก ค า ๗ . ร า ย ง า น ย อ ด จ ํา ห น า ย ส ิน ค า O T O P จาก การตลาดอิเล็กทรอนิกส (E - M a r k e t i n g ) ๘ . ร า ย ง า น จ ํา น ว น ผ ล ิต ภ ัณ ฑ ท ลี่ ูก ค า ส งั่ ซ ื้อ ๙ . ห ล ัก ฐ า น อ ื่น ๆ ท สี่ น ับ ส น ุน ต ัว ช ี้ว ัด

จ ัง ห ว ัด     

ผ รู บั ผ ิด ช อ บ อ าํ เ ภ อ     

 

 

 

 

ห ม ูบ า น -

-


แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ก า ร เ พ ื่อ ส น ับ ส น ุน ก า ร ข ับ เ ค ล ื่อ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ตัวชี้วัดที่ ๔ พัฒนากร มีผลิตภัณฑชุมชน จําหนายในตลาดพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) .................................................. ก ร ะ บ ว น ก า ร / ข ั้น ต อ น 1 . ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย 2 . จัดทําแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามโครงการ และรวบรวมขอมูลผลิตภัณฑ ของอําเภอ และนําขอมูลขึ้นหนาเว็บ E - M a r k e t i n g ได 3 . ฝ ก อ บ ร ม ท ีม ง า น I T ข อ ง อ ํา เ ภ อ ใ น ก า ร จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t i n g แ ล ะ การ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) 4 . จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t i n g แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) ๕ . ร อ ร บั ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า 6 .รายงาน ผล ก ิจ ก ร ร ม ใ น ร ะ ด ับ จ ัง ห ว ัด 1 . จ ัด ท ํา แ น ว ท า ง ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต า ม ต ัว ช ี้ว ัด ค ํา ร ับ ร อ ง ก า ร ป ฏ ิบ ัต ิร า ช ก า ร 2 . ก ํา ห น ด แ น ว ท า ง ก า ร ร ว บ ข อ ม ูล แ ล ะ ก า ร ค ัด เ ล อื ก ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  3 . จ ัด ท ํา ค ูม อื ก า ร ใ ช ง า น 4 . ป ร ะ ช ุม เ ช ิง ป ฏ ิบ ัต ิก า ร ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ จ า ห น า ท ี่พ ัฒ น า ช มุ ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย ๕ . ม อ บ ห ม า ย อ ํา เ ภ อ ด ํา เ น ิน ก ิจ ก ร ร ม ต า ม แ ผ น ป ฏ ิบ ัต กิ า ร ๖ . น ิเ ท ศ ต ิด ต า ม ใ ห ค ํา แ น ะ น ํา แ ล ะ เ ม ิน ผ ล ๗ . จ ัด เ ก บ็ ข อ ม ลู ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง แ ล ะ ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ๘ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ก ิจ ก ร ร ม ใ น ร ะ ด ับ อ ํา เ ภ อ 1 . ค ัด เ ล ือ ก ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่ม ีผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๒ . จ ัด ท ํา ฐ า น ข อ ม ลู ก ล ุม ผ ผู ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ข อ ม ูล ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  ๓ . ม อ บ ห ม า ย เ จ า ห น า ท พี่ ัฒ น า ช ุม ช น แ ล ะ ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P ท ี่เ ป น ก ล ุม เ ป า ห ม า ย เ ข า ร ับ ก า ร ฝ ก ป ฏ ิบ ัต ิใ น แ น ว ท า ง การประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) 4 . จัดทําหนาเว็บ E - M a r k e t i n g แ ล ะ ประชาสัมพันธ สินคา OTOP บนตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) ๕ . ร อ ร บั ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ๖ . จ ัด ส ง ส ิน ค า ใ ห ล ูก ค า เ ม ื่อ ม ีก า ร ส งั่ ซ ื้อ ส ิน ค า ๗ . จ ัด เ ก บ็ ข อ ม ลู ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า แ ล ะ จ ํา น ว น ผ ล ิต ภ ัณ ฑ ท ลี่ ูก ค า ส ั่ง ซ ื้อ ๘ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น


จ ัง ห ว ัด ด าํ เ น ิน ก า ร ต ร ว จ ส อ บ / ป ร ะ เ ม ิน ผ ล แ ล ะ จ ัด เ ก ็บ ห ล ัก ฐ า น ด ัง น ี้ 1 . ฐ า น ข อ ม ูล ก ล ุม ผ ูผ ล ิต ผ ปู ร ะ ก อ บ ก า ร O T O P แ ล ะ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ  2 . ค ํา ส ั่ง ท ี่เ ก ี่ย ว ข อ ง 3 . แ ผ น ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ๔ . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม ๕ . แ บ บ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ก า ร ๖ . ห ล ัก ฐ า น ก า ร ส ั่ง ซ ื้อ ส ิน ค า / ก า ร ส ง ส ิน ค า ๗ . ร า ย ง า น ย อ ด จ ํา ห น า ย ส ิน ค า แ ล ะ จ ํา น ว น ผลิตภัณฑชุมชน ที่จําหนายในตลาดอิเล็กทรอนิกส (E-Marketing) ๘ . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส งั่ ซ ื้อ ส ิน ค า ๙ . ห ล ัก ฐ า น อ ื่น ๆ ท ี่ส น บั ส น ุน ต ัว ช ี้ว ัด ส อ บ ถ า ม ข อ ม ลู เ พ ิ่ม เ ต ิม ไ ด ท ี่ 1 . น า ง ส า ว ว า ส น า บ ุญ ร อ ด โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0 2 . น า ย ส ุร พ ง ษ  เ ข ีย ว ผ ึ้ง โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0 3 . น า ย ว ิจ ิต ร ท อ ง ป ร ะ ด ู โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0 4 . น า ง ส า ว ส า ร ิศ า ส ุด ใ จ โ ท ร ศ ัพ ท  0 7 7 5 1 1 3 3 0

ห ัว ห น า ก ล ุม ง า น ย ทุ ธ ศ า ส ต ร ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร น ัก ว ิช า ก า ร พ ัฒ น า ช ุม ช น ช ํา น า ญ ก า ร


แ บ บ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ต ัว ช ี้ว ัด ก ร ม ก า ร พ ฒั น า ช ุม ช น " โ ค ร ง ก า ร O T O P ช ุม พ ร ส ูส า ก ล ด ต ัว ช ี้ว ัด ท ี่ 4 พ ัฒ น า ก ร ม ีผ ล ิต ภ ัณ ฑ ช ุม ช น จ ํา ห น า ย ใ น ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท  พ ัฒ น า ก ร ข อ ง อ ํา เ ภ อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ม จี ํา น ว น . . . . . . . . . . . ค น

ท ี่

ช ื่อ - ส ก ลุ พ ัฒ น า ก ร

ห ม า ย เ ห ต ุ : 1 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ํา เ น ิน ง า น ใ ห จ ัง ห ว ัด ท - ค ร ั้ง ท ี่ 1 ภ า ย ใ น ว ัน ท ี่ 5 ก ร ก ฎ า ค ม - ค ร ั้ง ท ี่ 2 ภ า ย ใ น ว ัน ท ี่ 5 ส ิง ห า ค ม 2 . ภ า พ ก ิจ ก ร ร ม ใ ห แ น บ แ บ บ ร า ย ง า น เ พ ิ่ม

ต ํา แ ห น ง

ท ่ี 2 . 1 ร ะ ด ับ ค ว า ม ส าํ เ ร ็จ ใ น ก า ร เ พ ิ่ม ป ร ะ ส ิท ธ ิภ า พ ก า ร ข ับ เ ค ล ่อื น ย ุท ธ ศ า ส ต ร  ต า ม ข อ เ ส น อ โ ค ร ง ก า ร ร ิเ ร ิ่ม ส ร า ง ส ร ร ค ต า ม เ ก ณ ฑ ท กี่ ํา ห น ด ว ย ก า ร ต ล า ด อ เิ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  ( E l e c t r o n i c M a r k e t i n g : E - M a r k e t i n g ) " ร อ น ิก ส  ( E - M a r k e t i n g )

ม ีผ ล ิต ภ ัณ ฑ ช ุม ช น จ ํา ห น า ย ใ น ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  ( E - M a r k e t i n g ) จ ํา น ว น . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ค น

ช ื่อ ก ล ุม / ผ ูป ร ะ ก อ บ ก า ร

ร า บ จ ํา น ว น 2 ค ร ั้ง 2 5 5 6 2 5 5 6 ต า ม จ ํา น ว น ท ี่อ าํ เ ภ อ ด ํา เ น ิน ก า ร

ช ื่อ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ 

ภ า พ ผ ล ิต ภ ัณ ฑ ช ุม ช น ท ี่ม จี ํา ห น า ย ใ น ต ล า ด อ ิเ ล ็ก ท ร อ น ิก ส  ( E - M a r k e t i n g ) ข อ ง พ ฒั น า ก ร แ ต ล ะ ค น ใ ห แ ท ร ก ภ า พ P r i n t S c r e e n ไ ม น อ ย ก ว า 1 ภ า พ / ค น

ล ง ช ื่อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . ผ ูร า ย ง า น (.............................................................) ต ํา แ ห น ง พ ัฒ น า ก า ร อ ํา เ ภ อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.