สรุปถอดบทเรียนโครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี ๕๘

Page 1

1


2

สรุปถอดบทเรียน ผลสำเร็จข้อเสนอโครงกำรริเริ่มสร้ำงสรรค์กรมกำรพัฒนำชุมชน ประจำปี 255๘ จังหวัดชุมพร โครงกำร CCD MOVING TOGETHER TO THE FUTURE ………………………………………………………………………………………….

๑.ชื่อหน่วยงำน : สำนักงำนพัฒนำชุมชนจังหวัดชุมพร ๒.ข้อมูลองค์ควำมรู้ ชื่อองค์ควำมรู้ : - กำรประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Cloud Computing ของ Google ได้แก่ Google Doc, Google Drive, Google Sites, Google Map, Google Earth, Google Plus , Google Plus Hangout on air - บำร์โค๊ด 2 มิติ (QR Code) และ QR Code All in one - เทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR Code) ๓.ที่มำ/ปัญหำ รูปแบบกำรทำงำนทีเ่ ริ่มเป็นที่นิยมและได้รับกำรยอมรับเพิ่มมำกขึ้นในประเทศที่มีโครงข่ำยกำรสื่อสำรที่พร้อมที่จะให้ คนสำมำรถทำงำนที่ไหน อย่ำงไร ได้ทุกที่ทุกเวลำ แนวโน้มรูปแบบการทางานแบบ mobile office นั้นกาลังเป็นที่นิยมและเริ่ม แพร่หลายมากขึ้นในประเทศไทย ด้วยความพร้อมของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีความครอบคลุมมากขึ้น ทาให้หลายองค์กรเริ่ม หันมาทดลองให้พนักงานสามารถทางานจากที่บ้านโดยไม่ต้องเข้าออฟฟิศ รูปแบบการทางานแบบนี้ พนักงานของกูเกิ้ลทั่วโลก ทาอยู่ และเริ่มเห็นแพร่หลายเพิ่มมากขึ้นในเมืองไทย เพราะปัจจุบันระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีความครอบคลุมมากขึ้น และ คนไทยเริ่มมีความคุ้นชินกับการใช้บริการคลาวด์ผ่านบริการของ Google หลายอย่าง อาทิ Gmail , Google Doc ,Spread Sheet และ Google Map เป็นต้น ประกอบกับจากสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง มีการปิดสถานที่ราชการ ทาให้ข้าราชการไม่สามารถเข้าไป ทางานได้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร ดังนั้นผู้บริหารของสานักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัดจึงมีแนวคิดในการนาเทคโนโลยี Cloud Computing ของ Google มาปรับใช้ในรูปแบบ Mobile Office เพื่อให้ข้าราชการสามารถทางานได้ในสถานการณ์คับขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้บริการข้อมูลแก่ผู้รับบริการในเชิงรุก ผ่าน ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก และปรับรูปแบบการทางานของสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสานักงานพัฒนา ชุมชนอาเภอ เป็นแบบ Mobile Office ให้สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการหลักของกรมการพัฒนาชุมชนได้ทุกที่ ทุกเวลา โดย ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีใหม่ รูปแบบการทางานแบบใหม่นี้อาจไม่เข้ามาแทนที่รูปแบบการทางานเดิมทั้งหมด แต่จะเข้ามา


3

เป็นส่วนเสริมและเติมเต็มรูปแบบการทางานในแบบเดิมๆให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทาให้ข้าราชการพัฒนาชุมชนสามารถ ทางานได้ทุกที่ ๔.การจัดการความรู้(KNOWLEDGE PROCESS) สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ในการปฏิบัติงานของบุคลากร ๒. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฎิบัติงานของบุคลากรและองค์กร ๓. เพื่อสร้างและพัฒนานวัตกรรมในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนา ชุมชน โดยใช้การจัดการความรู้ เป็น เครื่องมือ ๔. เพื่อประกาศเกียรติคุณบุคลากรที่สามารถจัดการความรู้ได้ดีเด่นและสามารถพัฒนานวัตกรรมไปสู่การขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์และงานพัฒนาชุมชนได้อย่างเป็นรูปธรรม

กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) ๑. การบ่งชี้ความรู้ โดยจัดประชุมคณะทางานจัดการความรู้ เพื่อกาหนดองค์ความรู้ที่จาเป็น เพื่อขับเคลื่อนประเด็น ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน,โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ และจังหวัดกาหนดให้โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ซึ่งเป็นงานท้าทาย เป็นแผนการดาเนินงานการจัดการความรู้แผนที่ ๑ ของหน่วยงาน ๒. การสร้างและแสวงหาความรู้ จากเว็บไซต์ และผู้เชี่ยวชาญเทคโนโลยี Cloud Computing ๓. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ ๔.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ ๕.การเข้าถึงความรู้ ทาให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการ โดยจัดเก็บในรูปแบบ E-Book และจัดเก็บในคลังความรู้ ของหน่วยงานในเว็บไซต์ และ Facebook ๖.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ จัดเวทีสังเคราะห์ความรู้ในระดับอาเภอ พัฒนาช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จัดเวที ในระดับจังหวัดโดยเชิญผู้เชี่ยวชาญมาให้ข้อเสอแนะเพิ่มเติม ๗.สร้างองค์ความรู้>นาความรู้ไปใช้>เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ ๕.รำยละเอียดของกระบวนกำร/ขั้นตอน/วิธีกำรสร้ำงนวัตกรรม ๕.๑ ประชุมเชิงปฏิบัติกำรให้ควำมรู้เจ้ำหน้ำที่พัฒนำชุมชนในเรื่องเทคโนโลยี Cloud Computing และกำรจัดทำ Google Doc Google Drive และ กำรจัดทำเว็บไซต์ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โดย Google Sites


4

๕.๒ เจ้ำหน้ำที่พัฒนำชุมชนจัดทำ Profile งำน โดย Google Doc และ Google Drive และ Share ข้อมูลระหว่ำง อำเภอ,กลุ่มงำน,ฝ่ำย กับผู้ดูแลระบบของจังหวัด (กลุ่มงำนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำชุมชน) และจัดทำเว็บไซต์ศูนย์บริการส่งเสริม เศรษฐกิจฐานราก โดย Google Sites ๕.๓ สำนักงำนพัฒนำชุมชนอำเภอประชำสัมพันธ์เว็บไซต์ ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โดย Google Plus และกำรประชำสัมพันธ์กิจกรรมพัฒนำชุมชนเพื่อสร้ำงภำพลักษณ์ที่ดีต่อกรมกำรพัฒนำชุมชน ๕.๔ กำร Conference ระหว่ำงจังหวัดกับอำเภอ โดย Google Plus Hangout on air เพื่อติดตำมงำน และให้ คำแนะนำในกำรจัดทำ Profile งำน และ กำรจัดทำเว็บไซต์ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ๕.๕ กำรให้บริกำรข้อมูลของศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก สอบถำมควำมพึงพอใจ และไม่พึงพอใจของ ผู้รับบริกำร ๕.๖ กำรจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของเจ้ำหน้ำที่พัฒนำชุมชน ตำมโครงกำรคัดสรรนวัตกรรมเด่น โดยเรียนเชิญ คุณ ปำณิสรำ หนูรักษำ นักวิชำกำรพำณิชย์จังหวัดชำนำญกำรร่วมเป็นคณะกรรมกำรคัดเลือก และให้ข้อเสนอแนะในกำรปรับปรุง กระบวนกำรทำงำน

๕.๗ กำรสรุปประเมินผล และสรุปถอดบทเรียน กำรสรุปถอดบทเรียน และนำควำมรู้จัดเก็บในคลังควำมรู้ในเว็บไซต์ในลักษณะ E-Book ในเว็บไซต์ http://issuu.com/porchorchumphon


5

๖.เปรียบเทียบควำมแตกต่ำงระหว่ำงแนวคิดใหม่ในกำรสร้ำงนวัตกรรมกับสิ่งที่ดำเนินกำรอยู่แล้วในปัจจุบัน แนวคิดเดิม ๑.รูปแบบกำรทำงำนเฉพำะบน office กำรทำงำนเอกสำรส่วนใหญ่ทำงำนกับเครื่อง PC หรือโน๊ตบุ๊ก

แนวคิดใหม่ ๑.รูปแบบการทางานแบบ mobile office สำมำรถ ทำงำนได้ทุกที่ทุกเวลำเปลี่ยนทุกที่เป็นที่ทำงำน ขับเคลื่อนประสิทธิภำพองค์กร ด้วยควำมก้ำวหน้ำ เทคโนโลยีอุปกรณ์และเครือข่ำยกำรสื่อสำรที่ เอื้ออำนวยควำมสะดวกในกำรติดต่อสื่อสำรและ ทำงำนร่วมกับคนอื่นได้อย่ำงมีประสิทธิภำพจำกที่ไหน มุมไหนเวลำไหนก็ได้ ๒.กำรทำงำนเอกสำรส่วนใหญ่ต้องใช้ soft ware ๒.สำมำรถจัดทำเอกสำรโดยใช้บริกำรจำกผู้ให้ หรือโปรแกรมที่ต้องมีลิขสิทธิ์ และมีค่ำใช้จ่ำยสูง บริกำร Cloud ไม่ต้องใช้ soft ware ไม่ต้องลง โปรแกรม และฟรี หำกต้องกำรใช้พื้นที่เพิ่มก็เสีย ค่ำใช้จ่ำยเฉพำะที่จำเป็น เป็นกำรลดต้นทุน และ ค่ำใช้จ่ำย ๓.กำรประชุมทำงไกล (Conference) ต้องใช้อุปกรณ์ ๓.กำรประชุมทำงไกล (Conference) โดยใช้ สื่อสำร ที่ต้องใช้งบประมำณสูง และต้องสื่อสำร Google Plus Hangout on air ผู้ให้บริกำรให้บริกำร เฉพำะบน office ฟรีและสำมำรถสื่อสำรจำกที่ใดก็ได้ทุกที่ที่มีสัญญำณ สำมำรถจัด Conference online ได้มำกที่สุดถึง 10 คน และเป็นกำรถ่ำยทอดสดกำรพูดคุยทำงสำธำรณะ ทั่วโลก ทำง You Tube ๔.กำรจัดทำเว็บไซต์ต้องเสียค่ำใช้จ่ำยค่ำเช่ำ Server ๔.กำรจัดทำเว็บไซต์ไม่ต้องเสียค่ำใช้จ่ำยค่ำเช่ำ ซึ่งถ้ำใช้งำนมำกก็ต้องเสียค่ำใช้จ่ำยสูง และเสี่ยงต่อ Server ถ้ำใช้งำนมำกก็ต้องเสียค่ำใช้จ่ำยเฉพำะที่ กำรถูกโจมตีด้วย Hacker หรือไวรัสคอมพิวเตอร์ และ จำเป็น และไม่ต้องเสียค่ำใช้จ่ำยในกำรดูแลระบบ ถ้ำมีกำรเข้ำใช้งำนมำกอำจทำให้เว็บล่ม กรณีมีผู้เข้ำใช้งำนมำกเว็บจะไม่ล่มเนื่องจำกเป็นกำร กระจำยกำรประมวลผลไปเรื่อยๆเป็นเครือข่ำย


6

๗.แผนผังกระบวนกำรสร้ำงนวัตกรรมโดยสังเขป (Process Flow Diagram)

ขัน้ ปฏิบัตกิ าร

• ทบทวนผลกำร ดำเนินงำนที่ผ่ำนมำ • ทบทวนสถำนกำรณ์ • จัดทำรำยละเอียด โครงกำรริเริ่มสร้ำงสรรค์ • จัดทำ Roadmap • ถ่ำยทอดตัวชี้วัด และค่ำ เป้ำหมำยระดับองค์กรสู่ ระดับบุคคล

ขัน้ เตรียมการ/วางแผน (Plan)

(Do)

• ประชุมเชิงปฏิบัติกำรให้ควำมรู้ เทคโนโลยี Cloud Computing) และกำรใช้งำน Feature ต่ำงๆของ Google • เจ้ำหน้ำที่พัฒนำชุมชนจัดทำ Profile งำนด้วย Google Doc นำ ขึ้น Google Drive และจัดทำ Website ศูนย์บริกำรส่งเสริม เศรษฐกิจฐำนรำก • ติดตำมผลกำรดำเนินงำนทำง Conference โดย Google Plus Hangout on air • ติดตำมผลกำรดำเนินงำนโดย คณะทำงำนฯ • ประชำสัมพันธ์เว็บไซต์ทำง Google Plus และให้บริกำรข้อมูล

•สอบถามความพึงพอใจ และไม่ พึงพอใจของผู้รับบริการ •ทบทวนกระบวนการ

ตรวจสอบ (Check)

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share)

•จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นวัตกรรม •จัดเก็บองค์ความรู้ในขุมความรู้ •เผยแพร่ความรู้

•ปรับปรุงเว็บไซต์ •ปรับปรุง Profile •ปรับปรุงกระบวนการตาม ความต้ องการและความ คาดหวังของผู้รับบริ การ ปรับปรุงแก้ ไข (Act)

คาตอบจากเวทีสังเคราะห์ความรู้ After Action Review (AAR) ๑. ความคาดหวังของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ต้องการเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ นอกเหนือจากสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว/การ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และนาแนวคิด แนวทางที่ได้รับไปปรับปรุงเว็บไซด์ให้ดีขึ้น/ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ เทคโนโลยี Cloud computing/ สามารถนาไปใช้ในการทางานได้จริง และสะดวกในการทางานของเจ้าหน้าที่/สามารถเข้าสู่ เว็บไซต์ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก เพื่อศึกษาข้อมูลต่างๆ รายงานผล โต้ตอบ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ทุกสถานที่ ทุก เวลาทาให้ทันต่อสถานการณ์ ฯลฯ ๒. สิ่งที่เกิดขึ้นจริง ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ เป็นไปตามความคาดหวัง/ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพิ่มขึ้น/นาไปใช้ งานได้จริง/ สามารถเข้าสู่เว็บไซต์ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก เพื่อศึกษาข้อมูลต่างๆ สามารถรายงานผล โต้ตอบ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ทุกสถานที่ ทุกเวลาทาให้ทันต่อสถานการณ์ ฯลฯ ๓. สาเหตุที่เป็นเช่นนั้น วิทยากรมีความรู้ความเข้าใจการใช้เทคโนโลยี Cloud computing เป็นอย่างดี/ทุกอาเภอ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ในการจัดทาเว็บไซต์ได้ดี และหลากหลาย ฯลฯ ๔. สิ่งที่ได้เรียนรู้และนาไปพัฒนาต่อ เทคนิคการทาเว็บไซต์โดยใช้เทคโนโลยี Cloud computing ในการจัดทา เว็บไซต์ของแต่ละอาเภอ / การพัฒนาปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีความสวยงาม โดดเด่น ทันสมัย มากกว่าเดิม ฯลฯ ๘.นวัตกรรมที่เกิดขึ้น ๑. ศูนย์บริกำรส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำกทุกอำเภอ มีระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศที่ทันสมัยโดยใช้เทคโนโลยีคลำวด์ คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) คือ Google Site และมีฐำนข้อมูลที่เกี่ยวข้องครบถ้วน ได้แก่ ข้อมูลกองทุนต่ำงๆ, ข้อมูล ผลิตภัณฑ์ OTOP, ข้อมูลด้ำนกำรตลำด เป็นต้น และนำเสนอข้อมูลหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบทำง G-Cloud ของ


7

สำนักงำนรัฐบำลอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้พื้นทีข่ องสำนักงำนสถิติจังหวัด และเชื่อมโยงกับศูนย์ปฏิบัติกำรจังหวัดชุมพร (Provincial Operation Chumphon) ตำมภำพหน้ำเว็บไซต์ศูนย์บริกำรส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำกของทุกอำเภอ


8


9

กำรนำเสนอข้อมูลหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียงทำง G-Cloud ของสำนักงำนรัฐบำลอิเล็กทรอนิกส์ แบบ GIS โดยขอใช้พื้นที่ของสำนักงำนสถิติจังหวัดชุมพร


10

๒. รูปแบบกำรทำงำนแบบ Mobile Office ให้สำมำรถทำงำนได้ทุกที่ ทุกเวลำ (multitasking workers) โดยใช้ Google Doc และ Google Drive และ Google Hangout ที่ประหยัดคุ้มค่ำ โดยไม่ต้องใช้งบประมำณของทำงรำชกำร

๓.กำรปรับใช้บำร์โค๊ด 2 มิติ (QR Code) และ QR Code All in one ติดบนบรรจุภัณฑ์ OTOP เพื่อประชำสัมพันธ์ สินค้ำ และนำเสนอเรื่องรำวผลิตภัณฑ์ Story of product


11

QR Code All in one

กำแฟเขำทะลุ

Chumphon Mobile Office QR Code เว็บไซต์ศูนย์บริกำรส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำกอำเภอต่ำงๆ

อำเภอท่ำแซะ อำเภอทุ่งตะโก

อำเภอพะโต๊ะ

อำเภอละแม

อำเภอปะทิว

อำเภอเมืองชุมพร

อำเภอสวี

อำเภอหลังสวน


12

๓.กำรจัดทำศูนย์บริกำรส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำกที่มีชีวิต โดยใช้เทคโนโลยี Augment reality (AR) จัดทำป้ำยไวนิล ให้ควำมรู้ AEC, กำรขอมำตรฐำนผลิตภัณฑ์, ผลิตภัณฑ์เด่น, หมู่บ้ำน OVC, กำรประชำสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัด และ แผ่นพับเมนูอำชีพ เป็นต้น ดังภำพ


13


14

๙.ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากนวัตกรรม ๙.๑ ผลลัพธ์ต่อประเด็นยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน - ผู้รับบริการที่มาใช้บริการจากศูนย์ฯ ได้รับองค์ความรู้ใหม่ สามารถเพิ่มมาตรฐาน และคุณภาพสินค้าได้ดี ยิ่งขึ้น


15

๙.๒ ผลลัพธ์ต่อคุณภาพการให้บริการ - ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากมีระบบเทคโนโลยี สารสนเทศที่ทันสมัยและบริการข้อมูลได้อย่าง เหมาะสมครอบคลุมตามภารกิจของศูนย์ฯ จานวน ๘ ศูนย์ ๙.๓ ผลลัพธ์ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ - มีการปรับปรุงรูปแบบการทางานของสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และอาเภอในรูปแบบ Mobile Office ให้สามารถทางานได้ทุกที่ ทุกเวลา (multitasking workers) - มีฐานข้อมูล (Profile) งานของบุคลากรทุกกลุ่มงาน ฝ่าย และสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอทุกอาเภอ ๙.๔ ผลลัพธ์ต่อการพัฒนาบุคลากร - ปรับวิธีคิดและรูปแบบการทางานให้สามารถ ทางานแบบ Dynamicได้ นั่นคือ ต้องทางานได้ ทาทุกที่ทุก เวลา โดยใช้งานบนระบบ Cloud Computing ๙.๕ ผลลัพธ์ต่อการเสริมสร้างภาพลักษณ์ของกรมการพัฒนาชุมชน - มีเพจประชาสัมพันธ์กิจกรรมพัฒนาชุมชนที่เชื่อมโยงทั่วโลก รวม ๙ เพจ

ข้อจำกัด/ปัญหำอุปสรรค - เนื่องจำกระบบนี้ต้องใช้สัญญำณอินเตอร์เน็ตที่มีควำมเร็วสูง ทำให้บำงครั้งในพื้นที่ที่มีปัญหำในเรื่องควำมเร็วของ สัญญำณอินเตอร์เน็ตทำให้ไม่สำมำรถ Conference ระหว่ำงกันได้โดยใช้ Hangouts On air - เจ้ำหน้ำที่พัฒนำชุมชนบำงคนยังมีควำมรู้ และทักษะในกำรใช้เทคโนโลยีน้อย ต้องมีกำรพัฒนำ ให้ควำมรู้อย่ำง ต่อเนื่อง เพื่อสำมำรถปรับตัวได้ทันกับกำรเปลี่ยนแปลง ขุมควำมรู้ ๑ ระบบประมวลผลกลุ่มเมฆ Cloud Computing จำเป็นต้องอำศัยองค์ประกอบที่สำคัญ คือ · อินเตอร์เน็ตที่มีช่องสัญญำณสูงจนเกือบจะไม่มีจำกัด (Nearly unlimited bandwidth) · เทคโนโลยีระบบเสมือนจริง (Increasingly sophisticated virtualization technologies) · สถำปัตยกรรมเครือข่ำยที่รองรับกำรเข้ำถึงพร้อมกันจำนวนมำก (Multitenant Architectures) · ลักษณะกำรใช้งำนได้ของเซิรฟ์เวอร์ประสิทธิภำพสูง (Availability of extremely powerful servers)


16

จุดเด่นของ Cloud Computing 1) Agility : มีควำมรวดเร็วในกำรใช้งำน 2) Cost : ค่ำใช้จ่ำยน้อย หรืออำจไม่เสียค่ำใช้จ่ำยสำหรับ Client 3) Device and Location Independence : ใช้ได้ทุกที่แค่มีคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต 4) Multi-Tenancy : แบ่งกำรใช้ทรัพยำกรให้ผู้ใช้จำนวนมำกได้ 5) Reliability : มีควำมน่ำเชื่อถือ 6) Scalability : มีควำมยืดหยุ่น 7) Security : มีควำมปลอดภัย 8) Sustainability : มีควำมมั่นคง ข้อดีของ Cloud Computing 1) ลดต้นทุนค่ำดูแลบำรุงรักษำเนื่องจำกค่ำบริกำรได้รวมค่ำใช้จ่ำยตำมที่ใช้งำน จริง เช่น ค่ำจ้ำงพนักงำน ค่ำซ่อมแซม ค่ำลิขสิทธิ์ ค่ำไฟฟ้ำ ค่ำน้ำ ค่ำน้ำมันเชื้อเพลิง ค่ำอัพเกรด และค่ำเช่ำคู่สำย เป็นต้น 2) ลดควำมเสี่ยงกำรเริ่มต้น หรือกำรทดลองโครงกำร 3) สำมำรถลดหรือขยำยได้ตำมควำมต้องกำร 4) ได้เครื่องแม่ข่ำยที่มีประสิทธิภำพ มีระบบสำรองข้อมูลที่ดี มีเครือข่ำยควำมเร็วสูง 5) อยู่ภำยใต้กำรดูแลของผู้เชี่ยวชำญ ข้อเสียของ Cloud Computing 1) จำกกำรที่มีทรัพยำกรที่มำจำกหลำยแห่ง จึงอำจเกิดปัญหำด้ำนควำมต่อเนื่องและควำมรวดเร็ว 2) ยังไม่มีกำรรับประกันในกำรทำงำนอย่ำงต่อเนื่องของระบบและควำมปลอดภัยของข้อมูล 3) แพลทฟอร์มยังไม่ได้มำตรฐำน ทำให้ลูกค้ำมีข้อจำกัดสำหรับตัวเลือกในกำรพัฒนำหรือติดตั้งระบบ site 4) เนื่อง จำกเป็นกำรใช้ทรัพยำกรที่มำจำกหลำยที่หลำยแห่งทำให้อำจมีปัญหำในเรื่องของ ควำมต่อเนื่องและ ควำมเร็วในกำรเข้ำทรัพยำกรมำกกว่ำกำรใช้บริกำร Host ที่ Local หรืออยู่ภำยในองค์กำรของเรำเอง Cloud Computing in Thailand ในอนำคต cloud computing จะเข้ำมำมีบทบำทสำคัญและก่อประโยชน์ให้กับผู้ประกอบกำรซอฟแวร์ไทย เพรำะ cloud computing เหมำะแก่ Application พื้นฐำนที่มีผู้ใช้งำนจำนวนมำก และยังช่วยลดต้นทุนให้กับผู้ประกอบกำร เพรำะ ไม่ต้องลงทุนสร้ำงเครือข่ำย และสำมำรถพัฒนำซอฟแวร์ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ใครๆก็สำมำรถตั้งตนเป็นผู้ให้บริกำร Cloud Computing ได้ ขอเพียงแต่สำมำรถลงทุนเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำด้วยกัน และมีซอฟต์แวร์และระบบบริหำรจัดกำร ทรัพยำกรคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภำพ อีกทั้งสำมำรถจัดหำวงจรอินเทอร์เน็ตควำมเร็วสูงเพื่อเชื่อมต่อไปโครงข่ำย Cloud Computing เข้ำด้วยกัน ในกรณีที่มีกำรแยกอำคำรสถำนที่ติดตั้ง กำรพัฒนำระบบคลำวด์ภำครัฐ Government Cloud G-Cloud คือโครงสร้ำงพื้นฐำนบนอินเทอร์เน็ตแบบใช้ทรัพยำกรร่วมกัน โดยสำนักงำนรัฐบำลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์กำรมหำชน) (สรอ.) หรือ อีจีเอ ให้บริกำรแก่หน่วยงำนภำครัฐด้วยเทคโนโลยี Cloud ซึ่งเก็บทรัพยำกรไว้บนอินเทอร์เน็ต สำมำรถเรียกใช้งำนผ่ำนเครือข่ำยได้ตลอดเวลำจำกระยะไกล ปรับขนำดได้ตำมควำมต้องกำรของผู้ใช้ มีกำรจัดสรรทรัพยำกร ลดภำระกำรบริหำรจัดกำร และมีควำมมั่นคงปลอดภัยสูง G-Cloud ช่วยสร้ำงประโยชน์อย่ำงมำกมำยให้กับกำรใช้งำนบริกำรด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ และช่วยให้บุคลำกร ภำครัฐสำมำรถทำงำนได้สะดวก คล่องตัว เพื่อมอบบริกำรที่ดีที่สุดสู่ประชำชน


17

ควำมคิดเห็นเกี่ยวกับ Cloud Computing ในอนำคต cloud computing จะมีประโยชน์ในหลำยๆด้ำน สร้ำงควำมสะดวกสบำยให้กับผู้ใช้งำน ซึ่งหำกทุกคนหัน มำใช้ Cloud Computing กันหมดก็คงไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือ โน้ตบุคเพื่อรันโปรแกรมเพื่อใช้งำนตำม ต้องกำร ขอแค่มี netbook หรืออะไรก็ตำมๆเล็กๆที่สำมำรถใช้อินเตอร์เน็ตและแสดงผลได้ก็เพียงพอ แล้ว AOL และ Google ในอนำคตมีแนวโน้มว่ำ Cloud Computing จะเข้ำมำอำนวยควำมสะดวกต่อกำรใช้ระบบคอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์อย่ำงมำก เหมือนอย่ำงที่อินเทอร์เน็ตเข้ำมำอำนวยควำมสะดวกต่อกำรติดต่อสื่อสำรและกำรสืบค้นข้อมูลมำแล้ว แก่นควำมรู้ ระบบ Cloud Computing นั้นเป็นระบบที่มีประโยชน์ต่อผู้ใช้อย่ำงมำกโดยมีกำรนำทรัพยำกร ฮำร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์มำแบ่งปันในรูปแบบของกำรให้บริกำร โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องลงทุนซื้อซอฟท์แวร์มำใช้เองหรือมีเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภำพสูง ๒ QR Code คือบำร์โค้ด 2 มิติ ย่อมำจำกคำว่ำ Quick Response ถูกคิดค้นขึ้นในปี 1994 โดยบริษัท DensoWave ประเทศญี่ปุ่น QR Code มีประโยชน์มำก สำมำรถนำมำใช้ได้หลำกหลำยเช่น เช่น แสดง URL ของเว็บไซต์, ข้อควำม, เบอร์โทรศัพท์ และข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ที่นิยมกันส่วนใหญ่คือนำเอำมำใช้เก็บ URL ของเว็บไซต์ เพื่อควำมสะดวกในกำร เข้ำถึงข้อมูลผ่ำนมือถือ แก่นควำมรู้ ด้วยกำรสแกนรูป QR Code ก็สำมำรถเข้ำสู่เว็บไชต์ได้อย่ำงรวดเร็วได้โดยไม่ต้องพิมพ์ URL QR Code สำมำรถแปลง ข้อมูลที่ซ่อนอยู่ในรูปได้โดยกำรนำมือถือที่มีโปรแกรมสแกน QR Code นำไปสแกนรูป QR Code ที่ต้องกำร เรำก็จะได้ข้อมูล ที่ซ่อนอยู่ในรูป QR Code รูปนั้นทันที ๓ เทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR Code) AR หรือ Augmented Reality เปนเทคโนโลยีที่ ผสำนเอำโลกแหงควำมเปนจริง (Real) เขำกับโลกเสมือน (Virtual) โดยผำนทำง อุปกรณ Webcam, กลองมือถือ ,Computer รวมกับกำรใช software ตำงๆ ซึ่งจะทำให ภำพที่เห็นในจอภำพจะเปน object (คน,สัตว,สิ่งของ,สัตวประหลำด, ยำนอวกำศ) 3 มิติ ซึ่งมีมุมมองถึง 360 องศำกันเลยทีเดียว ฉะนั้นเทคโนโลยี AR นี้จะสำมำรถทำใหผูใชเห็นภำพเสมือนจิงได รอบดำน 360 องศำ โดยที่ผูใชไมจำเป็นตองเดินไปสถำนที่จริงเลยแมแตนอย หลักกำรของมันจะประกอบดวย 1. ตัว Marker (บำงคนเรียกวำ Markup) ตำงๆ 2. กลอง webcam , มือถือ หรือตัวจับ sensor อื่นๆ 3. สวนแสดงผล อำจเปนจอภำพทำง คอมพิวเตอรหรือมือถือ หรืออื่นๆ 4. สวนประมวลผลเพื่อสรำง object 3D เชน software แก่นควำมรู้ Augmented Reality หรือที่เรำเรียกสั้นๆ ว่ำ “AR“ก็คือ กำรนำวัตถุ, ไฟล์วิดิทัศน์, ไฟล์เสียง, 3D Model , 2D Graphic หรือสิ่งอื่นใด ที่เรำสร้ำงขึ้นมำ แล้วนำมำซ้อนเข้ำกับโลกแห่งควำมจริง โดยสิ่งที่เรำนำเข้ำมำ จำเป็นที่จะต้องมองผ่ำน อุปกรณ์พิเศษเช่น Web Cam, Camera ของ SmartPhone หรือ Tablet, แว่นตำพิเศษ เช่น Google Glasses เป็นต้น ส่วน สิ่งเหล่ำนั้น จะทำหน้ำที่ใดๆ ก็ขึ้นกับเรำ ว่ำเรำอยำกให้ผู้ใช้งำนเห็นสิ่งนี้ แล้ว เกิดสิ่งใดตำมมำ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.