สรุปบทเรียนส่งกรม 30 ตค 57

Page 1

1

สรุปบทเรียนผลสำเร็จกำรดำเนินโครงกำร CCD MOVING TOGETHER หน่วยงำน สำนักงำนพัฒนำชุมชนจังหวัดชุมพร ………………………………………………………………………… 1.ควำมเป็นมำของกำรดำเนินโครงกำร ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอุปกรณ์และเครือข่ายการสื่อสาร ที่เอื้ออานวยความสะดวกในการ ติดต่อสื่อสารและทางานร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพจากที่ไหนมุมไหนเวลาไหนก็ได้ ทาให้เกิดรูปแบบ การทางานแบบใหม่ในยุคดิจิตอลที่คนทางานสามารถติดต่อสื่อสารกัน ทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ รูปแบบการทางานแบบนี้เริ่มเป็นที่นิยมและได้รับการยอมรับเพิ่มมากขึ้นในประเทศที่มีโครงข่ายการ สื่อสารที่พร้อมที่จะให้คนสามารถทางานที่ไหน อย่างไร ได้ทุกที่ทุกเวลา แนวโน้มรูปแบบการทางานแบบ mobile office นั้นกาลังเป็นที่นิยมและเริ่มแพร่หลายมากขึ้นในประเทศไทย ด้วยความพร้อมของเครือข่าย อินเทอร์เน็ตที่มีความครอบคลุมมากขึ้น ทาให้หลายองค์กรเริ่มหันมาทดลองให้พนักงานสามารถทางานจากที่ บ้านโดยไม่ต้องเข้าออฟฟิศ รูปแบบการทางานแบบนี้ พนักงานของกูเกิ้ลทั่วโลกทาอยู่ และเริ่มเห็นแพร่หลาย เพิ่มมากขึ้นในเมืองไทย เพราะปัจจุบันระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีความครอบคลุมมากขึ้น และคนไทยเริ่มมี ความคุ้นชินกับการใช้บริการคลาวด์ผ่านบริการของกูเกิ้ลหลายอย่าง อาทิ Gmail และ Google Doc ทาให้คน จานวนไม่น้อยเริ่มที่จะทางานจากทุกที่ที่เขาต้องการมากขึ้น คลาวด์แอพพลิเคชั่นที่ใช้เป็นประจาคือ Gmail, Google Talk, Calendar, Google Doc, SpreadSheet และ Google Map ประกอบกับจากสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง มีการปิดสถานที่ราชการ ทาให้ข้าราชการไม่ สามารถเข้าไปทางานได้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการ สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร ดังนั้น การนาเทคโนโลยีดังกล่าว มาปรับใช้เพื่อให้ข้าราชการสามารถทางานได้ในสถานการณ์คับขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้บริการข้อมูลแก่ผู้รับบริการในเชิงรุก โดยต่อยอดการให้บริการของศูนย์บริการ ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ให้สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ เป็นศูนย์กลาง ข้อมูลการพัฒนาเศรษฐกิจชนบทฐานรากตามนโยบายของอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน และจะปรับรูปแบบการ ทางานของสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ เป็นแบบ Mobile Working โดย ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีใหม่ รูปแบบการทางานแบบใหม่นี้อาจไม่เข้ามาแทนที่รูปแบบการทางานเดิม ทั้งหมด แต่จะเข้ามาเป็นส่วนเสริมและเติมเต็มรูปแบบการทางานในแบบเดิมๆให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทาให้ ข้าราชการพัฒนาชุมชนสามารถทางานได้ทุกที่ สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร จึงได้จัดทาโครงการริเริ่มสร้างสรรค์ คือ โครงการ “CCD MOVING TOGETHER” ขึ้น เพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบการทางานของสานักงาน เพื่อบริหารความเสี่ยงกรณีไม่ สามารถทางาน ณ สถานที่ทาการได้ และปรับปรุงรูปแบบการให้บริการประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การ


2

ปรับปรุงศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ให้เป็น ศูนย์กลางข้อมูลการพัฒนาเศรษฐกิจชนบทฐานราก และแสวงหารูปแบบ นวัตกรรมการทางานใหม่ๆ ๒.แนวคิดทฤษฎีที่นำมำใช้ ๒.๑ Mobile Office แนวโน้ มรู ปแบบการทางานใหม่เปลี่ ยนทุกที่เป็ นที่ทางาน ขับเคลื่ อ น ประสิทธิภาพองค์กร ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอุปกรณ์และเครือข่ายการสื่อสารที่เอื้ออานวยความ สะดวกในการติดต่อสื่อสารและทางานร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพจากที่ไหนมุมไหนเวลาไหนก็ได้ ทา ให้เกิดรูปแบบการทางานแบบใหม่ในยุคดิจิตอลที่คนทางานสามารถติดต่อสื่อสารกัน ทางานร่วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รูปแบบการทางานแบบนี้เริ่มเป็นที่นิยมและได้รับการยอมรับเพิ่มมากขึ้นในประเทศที่มีโครงข่าย การสื่อสารที่พร้อมที่จะให้คนสามารถทางานที่ไหน อย่างไร ได้ทุกที่ทุกเวลารูปแบบการทางานแบบ mobile office คือ ทางานที่ไหนก็ได้นั้นจะเริ่มมีปรากฏให้เห็นเพิ่มมากขึ้นในเมืองไทย เพราะความพร้อมมากขึ้นของ โครงข่ายสื่อสารอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงทั้ง WiFi และ 3G ประกอบกับอุปกรณ์ที่สามารถพกพาได้ง่ายและ เปี่ยมประสิทธิภาพในการทางานสูงเริ่มมีใช้แพร่หลาย และราคาไม่แพงมาก รวมถึงการที่มีแอพพลิเคชั่นที่ สามารถตอบโจทย์การทางานแบบ mobile office และเอื้อให้การทางานที่ไหนก็ได้เป็นไปได้ง่ายและสะดวก ขึ้น "รูปแบบการทางานแบบนี้ พนักงานของกูเกิ้ลทั่วโลกทาอยู่ และเริ่มเห็นแพร่หลายเพิ่มมากขึ้นในเมืองไทย เพราะปัจจุบันระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีความครอบคลุมมากขึ้น และคนไทยเริ่มมีความคุ้นชินกับการใช้ บริการคลาวด์ผ่านบริการของกูเกิ้ลหลายอย่าง อาทิ Gmail และ Google Doc ทาให้คนจานวนไม่น้อยเริ่มที่ จะทางานจากทุกที่ที่เขาต้องการมากขึ้น คลาวด์แอพพลิเคชั่นที่ใช้เป็นประจาคือ Gmail, Google Talk, Calendar, Google Doc, Spread Sheet และ Google Map" ๒.๒ ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก หมายถึง ศูนย์กลางการให้บริการทางวิชาการและพัฒนา ขีดความสามารถด้านการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน โดยเป็นช่องทางในการเชื่อมโยงการใช้ทรัพยากรจาก แหล่งทุน แหล่งผลิต แหล่งตลาด แหล่งความรู้ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน และเป็นกลไกขับเคลื่อนให้มีการเพิ่ม ประสิทธิภาพ การบริหารจัดการแหล่งทุน กลุ่มอาชีพ กลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ สาหรับการสร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายได้แก่ชุมชน เพื่อส่งผลต่อประชาชนในหมู่บ้าน ให้มีความมั่นคง ทางเศรษฐกิจฐานรากด้วยการสนับสนุนและส่งเสริมเชื่อมโยงการพัฒนาชุมชน ระหว่างภาคีการพัฒนาในระดับ อาเภอ การให้บริการของศูนย์ฯ หมายถึง การให้บริการตามภารกิจของศูนย์ฯอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลาย อย่าง หรือทุกภารกิจแก่บุคคล/กลุ่มเป้าหมายที่ขอรับบริการของศูนย์ฯตามความต้องการของผู้รับบริการนั้น ๆ ทั้งในเชิงรับ คือ ให้บริการ ณ ที่ตั้งของศูนย์ฯ และเชิงรุกคือให้บริการเคลื่อนที่ ตามความต้องการของชุมชน และตามสถานการณ์เร่งด่วน โดยการบริหารจัดการและให้บริการในรูปคณะกรรมการ ประกอบด้วย ผู้แทน เครือข่าย OTOP แกนนาชุมชนผู้เชี่ยวชาญปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ทรงคุณวุฒิ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนและภาคี หน่วยงานภาครัฐ ๒.๓ การจัดการความรู้ (Knowledge Management) การเรียนรู้ประกอบด้วย 4 เสาหลักแห่งการ เรียนรู้ คือ -Learning to know เป็นการเรียนเพื่อรู้


3

-Learning to do เป็นการเรียนเพื่อนาไปใช้งาน -Learning to live together เป็นการเรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติ -Learning to be เป็นการเรียนรู้เพื่อความเป็นมนุษย์ ๒.๔ การถ่ายทอดตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายจากระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล (Individual Scorecard) การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้ าหมายของระดับองค์กรสู่ ระดับบุคคล เริ่มขึ้นเมื่อองค์กรได้จัดทา ยุทธศาสตร์และมีการน ายุ ทธศาสตร์ นั้น ไปปฏิบัติ โดยมีตัวชี้วัดผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators : KPIs) เป็นเครื่องมือที่สาคัญประการหนึ่ง ในการวัดผลสาเร็จของแผน ทั้งนี้ จะต้องกาหนดตัวชี้วัด ให้ส อดคล้ องกับ เป้ าประสงค์ตามยุ ทธศาสตร์ขององค์กร อย่างไรก็ดีปัญหาที่มีในปัจจุบัน ก็คือ หน่วยงาน ราชการได้มีการนาเอาระบบตัวชี้วัดเข้ามาใช้อย่างแพร่หลาย แต่ตัวชี้วัดเหล่านั้นขาดความสอดคล้องและ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ มักเป็นตัวชี้วัดงานประจาเสียมากกว่า หน่วยงานราชการบางแห่งมีตัวชี้วัดจานวน มาก แต่ตัวชี้วัดเหล่านั้นกลับไม่ได้บ อกให้รู้ว่าการดาเนินงานของหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าประสงค์ทาง ยุทธศาสตร์ที่กาหนดขึ้นหรือไม่ ทาให้ระบบการวัดและประเมินผลโดยอาศัยตัวชี้วัดกลายเป็นพิธีกรรมอย่าง หนึ่ง แต่ขาดประโยชน์ในการผลักดันและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การจัดทาตัวชี้วัดระดับบุคคลจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการจัดทาหลังจากการกาหนดตัวชี้วัดใน ระดับองค์กรแล้ว เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า ยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดจะถ่ายทอดไปยังระดับล่าง รวมทั้งเพื่อให้ ทุก คนในหน่ ว ยงานเกิ ด ความรู้ สึ ก มี ส่ ว นร่ ว มและรั บ ผิ ด ชอบ รวมทั้ ง มี ร ะบบในการจู ง ใจให้ ทุ ก คนมุ่ ง เน้ น ยุ ทธศาสตร์ ดังนั้ น จึ งต้องแปลงเป้ าประสงค์ต ามยุทธศาสตร์และตัว ชี้วัด จากระดับ องค์กรลงไปสู่ ระดั บ หน่วยงานย่อยต่าง ๆ รวมทั้ง ลงไปถึงบุคลากรทุกคนในองค์กร ๓.กระบวนกำรดำเนินโครงกำร (ปัจจัยนำเข้ำ กระบวนกำรทำงำน ผลผลิต ผลกระทบ และผลลัพธ์ที่ เกิดขึ้น) PROCESS

• ควำมรู้เทคโนโลยี Cloud Computing) และกำรใช้ งำน Feature ต่ำงๆของ Google • ควำมรู้ในกำรจัดทำ

INPUT

• ทบทวนผลกำรดำเนินงำนที่ผ่ำนมำ • ทบทวนสถำนกำรณ์ • จัดทำ Roadmap • ถ่ำยทอดตัวชี้วัด และค่ำเป้ำหมำยระดับองค์กรสู่ ระดับบุคคล • เจ้ำหน้ำที่พัฒนำชุมชนจัดทำ Profile งำนด้วย Google Doc นำขึ้น Google Drive และจัดทำ Website ศูนย์บริกำรส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำก • ติดตำมผลกำรดำเนินงำนทำง Conference โดย Google Plus Hangout on air • ติดตำมผลกำรดำเนินงำนโดยคณะทำงำนฯ • ประชำสัมพันธ์เว็บไซต์ทำง Google Plus และ ให้บริกำรข้อมูล • สอบถำมควำมพึงพอใจ และไม่พึงพอใจของ ผู้รับบริกำร

• Mobile Office ที่มี profile บุคลำกร ๑๐๐% • Website ศูนย์บริกำรส่งเสริม เศรษฐกิจฐำนรำก จำนวน ๙ เว็บเพจ โดยใช้เทคโนโลยี Cloud Computing ของ Google • บำร์โค๊ด 2 มิติ (QR Code) • ไวนิลล์ที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เสมือนจริง (Augmented Reality: AR Code)

OUTCOME

• องค์ความรู้ในการให้บริการ ศูนย์บริการฯ • บุคลากรมีความรู้ และ ทักษะในการใช้เทคโนโลยี Cloud Computing

•ผู้รับบริ การ ศูนย์บริ การฯมีความ พึงพอใจในระดับ มาก •ความรวดเร็ วในการ ทางาน •ประหยัด •ลดขันตอน ้

OUTPUT IMPACT


4

๔.เปรียบเทียบผลกำรดำเนินงำนก่อนและหลังดำเนินโครงกำร ๑) สภำพกำรเปลี่ยนแปลงในเชิงปริมำณ และเชิงคุณภำพ ก่อนดำเนินโครงกำร เชิงปริมำณ -ไม่มีการดาเนินการ จัดทา Mobile Office

หลังดำเนินโครงกำร

เชิงคุณภำพ เชิงปริมำณ กำรจัดทำ Mobile Office - เอกสาร และรายงานส่ง - มีการดาเนินการ ทางระบบ OA หรืออีเมล์ จัดทา Mobile Office และ PAPER โดยจัดทาเว็บไซต์ จานวน ๑ เว็บไซต์ URL : https://sites.google.com /site/chumphonmobile office57/ - มีช่องทางการสื่อสารทาง Conference ระหว่าง จังหวัด และอาเภอ โดยใช้ ฟีเจอร์ Google Plus Hangout on air

-มีช่องทางการ ประชาสัมพันธ์กิจกรรม พัฒนาชุมชนทาง Google Plus ระดับจังหวัด จานวน ๑ ช่องทาง และระดับ อาเภอ จานวน ๘ ช่องทาง

เชิงคุณภำพ - มีการจัดเก็บข้อมูลการ ทางานของบุคลากรใน รูปแบบ Profile โดยใช้ Google Drive ซึ่งไม่ต้อง เสียค่าใช้จ่าย และมีการ จัดเก็บเอกสารอย่างเป็น ระบบ สามารถทางานได้ทุก ที่ ทุกเวลา ถ้ามีสัญญาณ Internet ในลักษณะ Mobile Office -มีฐานข้อมูลการทางานของ บุคลากร และเชื่อมโยงกับ ระบบการประเมินผลการ ปฏิบัติงาน - แม้มีการโยกย้ายบุคลากร ก็สามารถทางานแทนกันได้ เนื่องจากทุกคนในอาเภอ และกลุ่ม ฝ่าย สามารถ เข้าถึงข้อมูลของแต่ละคน จากการแชร์เอกสารใน Google Drive - การ Conference ระหว่างจังหวัด และอาเภอ โดยใช้ฟีเจอร์ Google Plus Hangout on air เป็นการ ประหยัด ลดค่าใช้จ่ายใน การเดินทางมาประชุมที่ จังหวัด กรณีจาเป็นเร่งด่วน หรือไม่สามารถขึ้น ปฏิบัติงาน ณ สานักงานได้ก็ สามารถสื่อสารได้อย่าง รวดเร็ว ทุกที่ ทุกเวลา และ สามารถถ่ายทอดสดทาง


5

ก่อนดำเนินโครงกำร เชิงปริมำณ

หลังดำเนินโครงกำร

เชิงคุณภำพ เชิงปริมำณ กำรจัดทำ Mobile Office

เชิงคุณภำพ You tube ได้ ๑๐ สาย ๘ ชั่วโมง โดยไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่าย -มีการประชาสัมพันธ์ กิจกรรมพัฒนาชุมชน เพื่อ เสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ให้กับกรมการพัฒนาชุมชน และเชื่อมโยงกับทั่วโลก และสามารถระบุสถิติในการ เข้าชม

-ไม่มีการดาเนินการ จัดทาเว็บไซต์ในการ ให้บริการข้อมูล

กำรดำเนินกำรศูนย์บริกำรส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำก -การให้บริการข้อมูลต่างๆ - มีการดาเนินการ จัดทา ของศูนย์บริการส่งเสริม เว็บไซต์ในการให้บริการ เศรษฐกิจฐานราก ข้อมูลของศูนย์บริการ บุคลากรให้บริการข้อมูล ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โดยทางเอกสาร และการ จานวน ๘ อาเภอ โดย สืบค้นข้อมูลทางเว็บไซต์ ประกอบไปด้วยข้อมูลต่างๆ อื่นๆ ที่ครอบคลุมตามภารกิจของ ศูนย์บริการฯ ได้แก่ ๑) ข้อมูล จปฐ.กชช.2 ค ๒) ข้นตอนการจดทะเบียน อย. มผช.ฮาลาล ๓) ข้อมูลผลิตภัณฑ์ OTOP ๔) ข้อมูลทุนชุมชน เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กองทุน กข.คจ.กองทุน หมู่บ้าน ๕) ข้อมูลด้านการตลาด

- บุคลากรสามารถให้บริการ ข้อมูลแก่ผู้รับบริการ ได้แก่ กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP และประชาชนทั่วไป ได้อย่างรวดเร็ว มี ประสิทธิภาพ ส่งผลให้ ผู้รับบริการส่วนใหญ่มีความ พึงพอใจในระดับมาก - การประยุกต์ใช้ Google Form มาใช้ในการจัดทา แบบสอบถามความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ และความ ต้องการ ความคาดหวังของ ผู้รับบริการ ทาให้มีข้อมูลใน การปรับปรุงคุณภาพการ ให้บริการ และกระบวนงาน ของกรมการพัฒนาชุมชน

๒) สิ่งที่เกิดขึ้น ทั้งดีหรือไม่ดี หรือสิ่งที่เป็นจุดแข็งหรือจุดอ่อน มีอะไรบ้ำง จุดแข็ง -เป็นการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านเทคโนโลยี สารสนเทศทาให้บุคลากรมีความรู้ และสามารถนา เทคโนโลยี Cloud Computing ไปปรับใช้ในการทางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ -เป็นการเตรียมความพร้อมบุคลากรได้มีความรู้ และเท่า ทันเทคโนโลยีในอนาคต

จุดอ่อน - การเรียนรู้เทคโนโลยีของบุคลากรแต่ละคนมีความ แตกต่างกันขึ้นอยู่กับวัย และความสนใจ ทาให้เป็นอุปสรรค ในการดาเนินงานตามโครงการ


6

จุดแข็ง -การนาเทคโนโลยี Cloud Computing ไปปรับใช้ในการ Conference ระหว่างสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด กับ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ เป็นการบริหารการ ปฏิบัติงานภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินได้ และประหยัด ลด ขั้นตอนการทางาน -ความรู้ในการจัดทา QR CODE เป็นประโยชน์สาหรับ ผู้ผลิตผู้ประกอบการ OTOP ในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ เป็นที่ดึงดูดใจของลูกค้ากลุ่มคนรุ่นใหม่

จุดอ่อน

๕.ปัจจัยที่ทำให้กำรดำเนินโครงกำรประสบผลสำเร็จ มีอะไรบ้ำง - การได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร ได้แก่ ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน เขตตรวจราชการที่ ๖ และพัฒนาการจังหวัดชุมพร - การได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมการพัฒนาชุมชนในการขับเคลื่อนการดาเนินงานตาม โครงการ - องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี Cloud Computing ของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ซึ่งสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานตามโครงการ - การได้รับการสนับสนุนจากส่วนราชการอื่น ได้แก่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร สนับสนุนอาจารย์ พิเศษ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คือ Miss Lore San มาให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงเว็บไซต์ และให้ ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์ของเทคโนโลยี Cloud Computing ๖.สิ่งที่ควรระมัดระวัง หรือปัจจัยเสี่ยงที่อำจเกิดขึ้น (หำกมี) ปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ได้แก่ ๑) ความเร็วของสัญญาณ Internet ซึ่งอาจทาให้ไม่สามารถสื่อสารกันทาง Google Plus Hangout on air ได้ ซึ่งอาจใช้การสื่อสารทาง Hangout Video แทน ๒) การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารทาง Google Plus ต้องระมัดระวังไม่โพสต์โดยใช้เรื่องส่วนตัวที่ไม่ เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ซึ่งได้ชี้แจงทาความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนแล้ว ๗.สิ่งที่หน่วยงำนต้องกำรเผยแพร่เพื่อให้หน่วยงำนอื่นๆนำไปใช้ประโยชน์มีอะไรบ้ำง ต้องการเผยแพร่เพื่อให้หน่วยงานอื่นๆนาไปใช้ประโยชน์ คือ การประยุกต์ใช้ Feature ต่างๆของ Google ไปปรับปรุงรูปแบบการทางานของสานักงานพัฒนาชุมชน ในลักษณะ Mobile Office เช่น การ จัดเก็บข้อมูลใน Google Drive, การจัดทาเอกสาร โดย Google Doc,การจัดทาเว็บไซต์ โดย Google Site, การ Conference โดยใช้ Google Plus Hangout on air ๘.หำกมีผู้ต้องกำรศึกษำเรียนรู้โครงกำรมำกขึ้น จะใช้ช่องทำงใดบ้ำง และมีวิธีกำรติดต่อสื่อสำรอย่ำงไร สามารถติดต่อสื่อสารทางเว็บไซต์ ที URL: https://sites.google.com/site/chumphonmobileoffice57/ ไปที่ Google group สามารถสอบถาม


7

ขั้นตอน หรือ ศึกษารายละเอียดจาก E-book ที่เมนูการจัดการความรู้ในหน้าเว็บไซต์ หรือเข้าโดยตรงที่ URL: http://issuu.com/porchorchumphon ๙.ภำพกิจกรรม กำรประชุมเชิงปฏิบัติกำรให้ควำมรู้เรื่องแนวทำงกำรดำเนินงำนตำมคำรับรองกำรปฏิบัติรำชกำร ภำยใน ( IPA) โครงกำรริเริ่มสร้ำงสรรค์ โครงกำร CCD MOVING TOGETHER และควำมรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี Cloud Computing วันที่ ๒๗ พฤษภำคม ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมเกำะพิทักษ์ ศำลำกลำงจังหวัดชุมพร วิทยำกร นำงสำววำสนำ บุญรอด หัวหน้ำกลุ่มงำนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำชุมชน

ฝึกปฏิบัติ จัดเก็บข้อมูลใน Google Drive, กำรจัดทำเอกสำร โดย Google Doc,กำรจัดทำ เว็บไซต์ศูนย์บริกำรส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำก โดย Google Site วันที่ ๒๗ – ๒๘ พฤษภำคม ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมสำนักงำนพัฒนำชุมชนจังหวัดชุมพร


8

กำร Conference โดยใช้ Google Plus Hangout on air

กำร Conference โดยใช้ Google Plus Hangout on air ระหว่ำง สพอ.พะโต๊ะ กับ สพอ.หลังสวน


9

บรรยำกำศกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อคัดสรรนวัตกรรมเด่น โดยเชิญ Miss Lore San อำจำรย์พิเศษวิทยำลัยอำชีวศึกษำชุมพรมำแนะนำกำรใช้เทคโนโลยี Cloud Computing และกำรจัดทำเว็บไซต์ ศูนย์บริกำรส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำก โดยประชำสัมพันธ์ทำงเพจประชำสัมพันธ์ของจังหวัด โดยใช้ Google Plus


10

มอบรำงวัลโครงกำรริเริ่มสร้ำงสรรค์ให้กับสำนักงำนพัฒนำชุมชนอำเภอ ในที่ประชุมกรมกำรจังหวัดโดย นำยชำติชำย อุทัยพันธ์ รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดชุมพร รักษำรำชกำรแทนผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดชุมพร เป็นผู้มอบ เมื่อวันที่ ๒๙ กันยำยน ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมสถำบันกำรพลศึกษำจังหวัดชุมพร

นวัตกรรมที่ได้จำกโครงกำร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.