ถอดบทเรียน กขคจ ละแม

Page 1

เอกสารสรุปบทเรียน กองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน(กข.คจ.) ที่มีการบริหารจัดการธรรมาภิบาลดีเด่น ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2558 กิจกรรม : การส่งเสริมสุขภาพทางการเงิน กองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน(กข.คจ.) สถานที่ดาเนินการ : บ้านเนินสันติ หมู่ที่ 8 ตาบลทุ่งคาวัด อาเภอละแม จังหวัดชุมพร

ความเป็นมา กรมการพั ฒ นาชุ ม ชนได้ ก าหนดแนวทางการด าเนิ น กิ จกรรมตามยุ ท ธศาสตร์ ก รมการพั ฒ นาชุ ม ชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2558 กิจกรรมหลักที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุ นชุมชน กิจกรรม ย่อยที่ 1 ส่งเสริมการดาเนินงานกองทุนชุมชน โครงการส่งเสริมสุขภาพทางการเงินกองทุนโครงการแก้ไขปัญหา ความยากจน (กข.คจ.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ กองทุน กข.คจ. มีการบริหารจัดการเป็นไปตามระเบียบ/ แนวทางที่กรมการพัฒนาชุมชน ส่งเสริม สนับสนุน และเพื่อส่งเสริมกองทุน กข.คจ. ให้มีการบริหารจัดการตาม หลักธรรมาภิบาล ขั้นตอน/แนวทางการตรวจสุขภาพทางการเงิน 1. จังหวัดพิจารณาคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายกองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)ตามจานวน ที่กรมการพัฒนาชุมชนกาหนด โดยพิจารณาจากกองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ระดับ 3 เป็นลาดับแรก ทั้งนี้ ต้องไม่ซ้ากับกลุ่มเป้าหมายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 – 2557 และเน้นกองทุนโครงการ แก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ในพื้นที่หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลัก 2. จังหวัดแต่งตั้งทีมตรวจสุขภาพทางการเงินกองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) และ คณะกรรมการพิจ ารณาคั ดเลื อ กกองทุน โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ที่มี การบริห ารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาลดีเด่น 3. จังหวัดจัดประชุมให้ความรู้ ความเข้าใจในการตรวจสุขภาพทางการเงิน แก่ทีมตรวจสุขภาพทางการ เงินกองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) และร่วมกันจัดทาแผนปฏิบัติการตรวจสุขภาพทางการเงิน โดยกาหนดรายละเอียด ดังนี้ - รอบที่ 1 ดาเนินการตรวจสุขภาพทางการเงินในไตรมาสที่ 1 (ตุลาคม – ธันวาคม 2557) - รอบที่ 2 ดาเนินการตรวจสุขภาพทางการเงินในไตรมาสที่ 2 (มกราคม – มีนาคม 2558) 4. ทีมตรวจสุขภาพทางการเงิน ฯ สร้างความรู้ ความเข้าใจกับกองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.)เป้าหมาย และดาเนินการตรวจสุขภาพ ทางการเงิน รอบที่ 1 (ตุลาคม – ธันวาคม 2557) 5. ทีมตรวจสุขภาพทางการเงิน ฯ สนับสนุน กองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) เป้าหมายที่ไม่ผ่านเกณฑ์ให้จัดทาแนวทางการพัฒนาและติดตามสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายดาเนินการพัฒนา ตามแนวทางที่กาหนด


2 6. ทีมตรวจสุขภาพทางการเงินฯ ดาเนินการตรวจสุขภาพทางการเงิน รอบที่ 2 (มกราคม – มีนาคม 2558) หากกลุ่มเป้าหมายยังไม่ผ่านเกณฑ์ ให้สนับสนุนการพัฒนาต่อไป 7. ทีมตรวจสุขภาพทางการเงิน สรุปและรายงานผลให้จังหวัดทราบ 8. จังหวัดตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูล และรายงานผลการตรวจสุขภาพทางการเงิน รอบที่1 และ 2 ในโปรแกรมบริหารงบประมาณและกิจกรรมฯ(BPM: Budget and Project Management)ดังนี้ - รอบที่ 1 ภายในเดือนมกราคม 2558 - รอบที่ 2 ภายในเดือนมีนาคม 2558 9. คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกกองทุน กข.คจ.ที่มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลดีเด่น พิจารณาคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเป็นกองทุน กข.คจ. ที่มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลดีเด่น จานวน 1 กองทุน และรายงานผลให้จังหวัดทราบ 10. จังหวัดถอดบทเรียนและจัดทาเอกสารสรุปบทเรียนกองทุน กข.คจ. ที่มีการบริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภิบาลดีเด่น จานวน 3 เล่ม โดยเก็บไว้ที่กองทุน กข.คจ. 1 เล่ม อาเภอ 1 เล่ม จังหวัด 1 เล่ม และจัดส่ง เอกสารสรุปบทเรียนให้กรมฯภายในเดือนสิงหาคม 2558 การคัดเลือกกองทุน กข.คจ. ที่มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลดีเด่น ระดับจังหวัด สานักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร ได้แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกกองทุนโครงการแก้ไขปัญหา ความยากจน (กข.คจ.) ที่มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลดีเด่น ระดับจังหวัด ประจาปี 2558 เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมตาม โครงการฯ ให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1.พัฒนาการจังหวัดชุมพร ประธาน 2.หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน รองประธาน 3.หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน กรรมการ 4.หัวหน้ากลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน กรรมการ 5.พัฒนาการอาเภอทุกอาเภอ กรรมการ 6.นายถัน ปั้นทองคา นายกสมาคมอาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร กรรมการ 7.นางสาววาสนา เกตุวารี นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ กรรมการและเลขานุการ ให้คณะกรรมการคัดเลือกกองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ที่มีการบริหารจัดการตาม หลักธรรมาภิบาลดีเด่นระดับจังหวัด มีหน้าที่ พิจารณาคัดเลือกกองทุนโครงการ กข.คจ. ที่มีการบริหารจัดการตาม หลั ก ธรรมาภิ บ าลดี เ ด่ น และรายงานผลการคั ด เลื อ กให้ พั ฒ นาการจั ง หวั ด ทราบ ผลการพิ จ ารณาของ คณะกรรมการได้คัดเลือก กองทุนโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน บ้านเนินสันติ หมู่ที่ 8 ตาบลทุ่งคาวัด อาเภอละแม จังหวัดชุมพร ซึ่งเป็ น กองทุน ที่มีผ ลการดาเนินงานผ่านเกณฑ์ชี้วัดทุกตัวชี้วัด ตามองค์ประกอบ ของกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพทางการเงินโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) จานวน 24 ตัวชี้วัด และ เป็นกองทุนที่มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล


3 การจัดทาเอกสารสรุปบทเรียน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ได้ จัดเวทีเพื่อจัดทาเอกสารสรุปบทเรียนกองทุนโครงการแก้ไขปัญหา ความยากจน (กข.คจ.) บ้านเนินสันติ หมู่ที่ 8 ตาบลทุ่งคาวัด อาเภอละแม จังหวัดชุมพร เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2558 ณ ศาลาหมู่บ้านบ้านเนินสันติ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วย • คณะกรรมการ กข.คจ.บ้านเนินสันติ • ครัวเรือนเป้าหมาย และครัวเรือนต้นแบบ นางแคล้ว แจ้งอรุณ และนายนิคม เกื้อกูล • นางบุญตา ฉิมบันเทิง พัฒนาการอาเภอละแม • นายนันทา ธรรมชูโชติ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอละแม • นายวีระกร แก้วพินิจ นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ พัฒนากรผู้ประสานงานตาบลทุ่งคาวัด • นางสาววาสนา เกตุวารี นักวิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ ผู้ช่วยหัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร ความเป็นมาของกองทุน กองทุน กข.คจ.บ้านเนินสันติ หมู่ที่ 8 ตาบลทุ่งคาวัด อาเภอละแม จังหวัดชุมพร ได้รับการจัดสรร งบประมาณโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน(กข.คจ.) จากกรมการพัฒนาชุมชน เมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2544 เป็นจานวนเงิน 280,000 บาท ที่ตั้ง บ้านเนินสันติ ตั้งอยู่ห่างจากอาเภอละแม เป็นระยะทาง 23 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดชุมพรไปทางทิศใต้ เป็นระยะทาง 116 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ หมู่ ที่ 9 ตาบลพระรักษ์ อาเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร ทิศใต้ ติดต่อกับ หมูที่ 16,19 ตาบลละแม อาเภอละแม จังหวัดชุมพร ทิศตะวันออก ติดต่อกับ หมู่ที่ 7 ตาบลทุ่งคาวัด อาเภอละแม จังหวัดชุมพร ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่ที่ 16 ตาบลละแม อาเภอละแม จังหวัดชุมพร ประชากร จานวนครัวเรือนทั้งสิ้น 195 ครัวเรือน จานวนประชากรรวม 721 คน โดยจาแนกเป็น เพศชาย 363 คน เพศหญิง 358 คน (ที่มา : ข้อมูล จปฐ.ปี 2558) อาชีพและรายได้ของประชากรในหมู่บ้าน ประชากรในหมู่บ้านเนินสันติร้อยละ 95 ประกอบอาชีพการเกษตร ส่วนที่เหลือประกอบอาชีพรับจ้าง และค้าขาย รายได้เฉลี่ยของประชากร = 77,293 บาท/คน/ปี (ที่มา : ข้อมูล จปฐ.ปี 2558) ผลการด าเนิ น งาน โครงการแก้ไ ขปั ญ หาความยากจน(กข.คจ.) บ้านเนิน สั นติ ตั้ง แต่ปี พ.ศ.2544 พบว่ า คณะกรรมการกองทุนสามารถบริหารกองทุนเป็นไปตามระเบียบและแนวทางที่กรมการพัฒนาชุมชนกาหนด จานวนครัวเรือนเป้าหมาย ทั้งสิ้น 56 ครัวเรือน ได้รับเงินยืมอย่างทั่วถึง และสามารถชาระคืนเงินยืม ตามระยะเวลาที่กาหนด ทาให้ไม่มีหนี้ค้างชาระ เงินทุนโครงการยังอยู่ครบตามที่ได้รับจัดสรร ครัวเรือนเป้าหมาย ที่ได้รับเงินยืมนาเงินไปลงทุนประกอบอาชีพ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ขอยืมเงิน เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ และรายได้แก่ครัวเรือนเป้าหมาย ทาให้คุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ยืมเงินดีขึ้น ปัจจุบันโครงการแก้ไขปัญหา ความยากจน (กข.คจ.) บ้านเนินสันติ มีจานวนเงินของกองทุน ทั้งสิ้น 280,415.84 บาท แยกเป็นเงินในบัญชี ธนาคาร 415.84 บาท เงินยืมของครัวเรือนเป้าหมาย 280,000 บาท


4 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของ กข.คจ. บ้านเนินสันติ ประกอบด้วย 1. คณะกรรมการ และครัวเรือนเป้าหมาย มีความเข้าใจในระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการ บริหารและการใช้จ่ายเงินโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน พ.ศ.2553 และพร้อมใจที่จะปฏิบัติตามระเบียบของ กองทุนเป็นอย่างดี 2. การคัดเลือกกรรมการเป็นไปตามองค์ประกอบคณะกรรมการ กข.คจ.หมู่บ้าน และมีการแบ่งหน้าที่ ความรั บ ผิ ดชอบชัดเจน และรั บ ผิ ดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย บริห ารจัดการกองทุนด้ว ยความโปร่งใส ตามหลักธรรมาภิบาล มีการประชุมคณะกรรมการ กข.ค.จ หมู่บ้าน เป็นประจาทุกเดือนโดยกาหนดวันประชุม คณะกรรมการในวันประชุมหมู่บ้าน รายชื่ อ คณะกรรมการ กข.คจ.บ้ า นเนิ น สั น ติ (ตามค าสั่ ง อ าเภอละแมที่ 138/2558 ลงวั น ที่ 18 พฤษภาคม 2558) ประกอบด้วย 1) นายจรัญ จันทร์แก้ว ประธาน 2) นายนิ่ม รักษ์ทอง รองประธาน 3) นายชาญณรงค์ ลอยลม เลขานุการ 4) นางจินตนา แก้วมหิงษ์ ผู้ช่วยเลขานุการ 5) นายสมพงษ์ รองพล เหรัญญิก 6) นางยุพา แก้วมหิงษ์ ผู้ช่วยเหรัญญิก 7) นางสาวอรัญญา แตงอ่อน ฝ่ายติดตามเร่งรัดหนี้สิน 8) นายสุจินทร์ คงสง ฝ่ายติดตามเร่งรัดหนี้สิน 9) นายนิคม เกื้อกูล ประชาสัมพันธ์ 3. คณะกรรมการและครัวเรือนเป้าหมายปฏิบัติตามกฎ กติกาของกองทุน ซึ่งประกอบด้วย 3.1 ครัวเรือนที่ประสงค์จะยืมเงินของโครงการ จะต้องเขียนแบบเสนอโครงการ แบบคาขอยืม เงิน และจัดทาสัญญายืมเงินเมื่อได้รับการอนุมัติให้ยืม พร้อมแนบหลักฐาน ประกอบด้วย สาเนาบัตรประจาตัว ประชาชน สาเนาทะเบียนบ้าน ทั้งของผู้ยืมและผู้ค้าประกัน โดยคู่สมรสหรือสมาชิกในครัวเรือนของผู้ยืม จะต้อง ลงลายมือชื่อ ในสัญญายืมเงินด้วย เป็นการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น กรณีผู้ยืมเสียชีวิต คู่สมรสและหรือ สมาชิกในครัวเรือน จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบใช้คืนเงินยืมกับกองทุน 3.2 ผู้ค้าประกัน 1 คน มีสิทธิค้าประกันได้เพียง 2 สัญญาเท่านั้น 3.3 กรณีเมื่อครบสัญญาแล้วหากผู้ยืมไม่สามารถนาเงินยืมมาชาระคืนแก่กองทุน ให้ผู้ยืมเงิน แจ้งเหตุผลอันควรต่อคณะกรรมการ โดยสามารถเลื่อนการชาระคืนเงินยืมออกไปอีกไม่เกิน 30 วัน นับจากวัน ครบสัญญา และหากผู้ยืมยังไม่สามารถนาเงินมาชาระคืน ผู้ค้าประกันจะต้องรับผิด ชอบภาระหนี้สินของผู้ยืมแก่ กองทุน 3.4 คณะกรรมการจะพิจารณาให้ยืมเงินรอบต่อไป ก็ต่อเมื่อ ได้รับเงินยืมครบทุกสัญญา โดย กองทุนกาหนดให้ชาระคืนภายใน 1 ปี 3.5 การอนุมัติเงินยืม มีขั้นตอนการดาเนินงานเป็นไปตามแนวทางและระเบียบของกองทุน ดังนี้ ครัวเรือนเป้าหมายที่มีความประสงค์จะยืมเงินโครงการ จัดทาแบบเสนอโครงการ และแบบขอ ยืมเงินทุนของครัวเรือนเป้าหมายตามโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน


5 คณะกรรมการประชุมเพื่อพิจารณาแบบเสนอโครงการของครัว เรือนเป้าหมาย โดยมีการ จดบันทึกการประชุมทุกครั้ง และเสนอแบบขอยืมเงิน ต่อพัฒนากรผู้รับผิดชอบตาบลให้ความเห็นชอบ คณะกรรมการแจ้งผลการพิจาณาให้ครัวเรือนเป้าหมายที่มีความประสงค์จะยืมเงินของ โครงการทราบ ผ่านที่ประชุมประจาเดือนหมู่บ้าน ครัวเรือนที่ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการให้ยืมเงินโครงการ จัดทาสัญญายืมเงิน และ สัญญาค้าประกัน 3.6 มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอนุมัติเงินยืมในแต่ละรอบอย่างชัดเจน  พิจารณาคนที่ไม่เคยยืมเงินมาก่อนเป็นอันดับแรก  พิจารณาจากการชาระคืนเงินยืมในรอบที่ผ่านมา เป็นไปกาหนดตามสัญญาหรือไม่  พิจารณาการมีส่วนร่วมในกิจกรรมสาธารณของหมู่บ้าน การเข้าร่วมประชุมประจาเดือนของ หมู่บ้าน  พิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการและความสามารถในการส่งใช้คืนเงินยืม 5. กรรมการ บริหารจัดการกองทุนด้วยความซื่อสัตย์ โปร่งใส ไม่ยึดพวกพ้อง มีความเสมอภาค และทาตัว เป็นแบบอย่างที่ดี โดยยึดหลัก การเข้าใจ เห็นอกเห็นใจกัน เพื่อให้เกิดความรักความสามัคคีในชุมชน นอกจากนี้ กรรมการจะต้องใฝ่รู้ โดยการแสวงหาความรู้ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทั้งภายในตาบล และพื้นที่ข้างเคียง เพื่อนาหลักการบริหาร ความรู้ ทักษะ มาปรับใช้ในกองทุน ชุมชนของบ้านเนินสันติ 6. เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ติดตามสนับสนุนการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง


6 ขุมความรู้ 1. คณะกรรมการ กข.คจ.หมู่บ้าน คัดเลือกตามองค์ประกอบที่กาหนดไว้ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่ า ด้ ว ยการบริ ห ารและการใช้ จ่ า ยเงิ น โครงการแก้ ไ ขปั ญ หาความยากจน พ.ศ.2553 มี ก ารแบ่ ง หน้ า ที่ ความรับผิดชอบชัดเจน และคณะกรรมการมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย บริหารจัดการกองทุน ด้วยความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล และมีการประชุมอย่างสม่าเสมอ 2. คณะกรรมการจะประชุม ชี้ แ จงสร้ างความเข้ าใจแก่ ส มาชิ ก ก่ อนท าสั ญ ญายื ม เงิน ทุ ก ครั้ ง โดยให้ ความสาคัญกับเอกสารประกอบสัญญายืมเงิน โดยผู้ยืมเงินและผู้ค้าประกันต้องมีเอกสารหลักฐานครบถ้วนถูกต้อง กรรมการจึงจะอนุมัติให้ยืมเงิน และกาหนดให้ทาสัญญาค้าประกันกับผู้ยืมเงินทุกราย 3. ครัวเรือนเป้าหมายที่ยืมเงินกองทุน กข.คจ.ต้องมีสัจจะและคุณธรรม แก่นความรู้ 1. ประชุมสร้างความเข้าใจในแนวทางการดาเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) ภายใต้ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการบริหารและการใช้จ่ายเงินโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน พ.ศ.2553 แก่เจ้าหน้าที่และคณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้องทุกระดับ 2. ออกคาสั่ ง แต่ ง ตั้ง คณะกรรมการทุ กระดั บตามองค์ป ระกอบ และอ านาจหน้า ที่ ภ ายใต้ร ะเบี ย บฯ ที่กาหนด คณะกรรมการฯทุกระดับเข้าใจบทบาทหน้าที่ แนวทางการดาเนินงาน และระเบียบที่เกี่ยวข้องชัดเจน เน้นการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล และการทางานเป็นทีม 3. นาเข้าที่ประชุมอย่างต่อเนื่อง ทั้งในระดับหมู่บ้าน อาเภอ และจังหวัด เพื่อกระตุ้นให้เจ้าหน้าที่ และ ผู้เกี่ยวข้องให้ความสาคัญและถือปฏิบัติภายใต้ระเบียบฯ และแนวทางที่กาหนดโดยเคร่งครัด 4. เจ้าหน้าที่ (พัฒนากร) ติดตามให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด ต่อเนื่อง เพื่อทราบความก้าวหน้า และปัญหา/ อุปสรรคในการดาเนินงาน 5. ด้านเอกสาร/หลักฐาน คณะกรรมการ กข.คจ.หมู่บ้าน ต้องจัดทาเอกสาร หลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ การดาเนินงานกองทุน กข.คจ. โดยเก็บรักษาไว้ที่คณะกรรมการฯ และสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเพื่อใช้ใน การติดตาม ตรวจสอบ ให้ เป็ น ไปตามแนวทางและระเบียบของกองทุน และเจ้าหน้าที่พัฒ นาชุมชนทุกระดับ ต้องให้ความส าคัญกับ การติดตาม ให้คาแนะนาอย่างใกล้ ชิด ต่อเนื่อง เพื่อทราบความก้าวหน้า และปัญหา/ อุปสรรคในการดาเนินงาน


7 ตัวอย่างครัวเรือน ทีป่ ระสบความสาเร็จจากการยืมเงินกองทุนโครงการ กข.คจ. บ้านเนินสันติไปประกอบอาชีพ

ชื่อ –สกุล ครัวเรือนเป้าหมาย นางแคล้ว แจ้งอรุณ สถานที่ติดต่อ บ้านเลขที่ 54 หมู่ที่ 8 ตาบลทุ่งคาวัด อาเภอละแม จังหวัดชุมพร จานวนสมาชิกในครัวเรือน 5 คน อาชีพ เกตรกรรม (สวนปาล์มน้ามัน ไร่กล้วยหอม ปลูกผักสวนครัว) ประวัติการยืมเงินกองทุน กข.คจ. จานวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 จานวนเงินที่ยืม 7,000 บาท ครั้งที่ 2 จานวนเงินที่ยืม 6,000 บาท ครั้งที่ 3 จานวนเงินที่ยืม 5,000 บาท

วัตถุประสงค์ที่ขอยืมเงิน ซื้อเครื่องตัดหญ้า วัตถุประสงค์ที่ขอยืมเงิน ซื้อปุ๋ย เมล็ดพันธุ์ผัก วัตถุประสงค์ที่ขอยืมเงิน ซื้อหน่อกล้วยหอมทอง

ปัจจุบัน นางแคล้ว แจ้งอรุณ และสมาชิกในครัวเรือน ประกอบอาชีพทาสวนปาล์มน้ามัน ปลูกกล้วย หอมทอง และผักสวนครัว โดยสามารถเก็บผลผลิตจาหน่าย มีรายได้เฉลี่ย วันละ 500-700 บาท มุมมองต่อกองทุนโครงการ กข.ค.จ “ กองทุนโครงการ กข.คจ. สามารถแก้ไขปัญหาในยามขัดสน หรือขาดแคลน เงินทุนมาสร้างอาชีพใหม่ หรือ นามาใช้จ่ายเพื่อพัฒนาอาชีพเดิมที่ทาอยู่ให้ดีขึ้น โดยไม่ต้องกังวลกับการที่จะต้อง จ่ายดอกเบี้ย


8 ตัวอย่างครัวเรือน ที่ประสบความสาเร็จจากการยืมเงินกองทุนโครงการ กข.คจ. บ้านเนินสันติไปประกอบอาชีพ

ชื่อ –สกุล ครัวเรือนเป้าหมาย นายนิยม เกื้อกูล สถานที่ติดต่อ บ้านเลขที่ 158 หมู่ที่ 8 ตาบลทุ่งคาวัด อาเภอละแม จังหวัดชุมพร จานวนสมาชิกในครัวเรือน 4 คน อาชีพ เกตรกรรม (สวนปาล์มน้ามัน ,ยางพารา, ปลูกผักสวนครัว,เลี้ยงไก้ไข่,เลี้ยงผึ้ง) ประวัติการยืมเงินกองทุน กข.คจ. จานวน 1 ครั้ง จานวนเงินที่ยืม 6,000 บาท โดยนาเงินที่ยืมจากกองทุน โครงการ กข.คจ. รวมกับเงินกู้กองทุนหมู่บ้านและเงินทุนส่วนตัว มาลงทุนเลี้ยงไก่ไข่ จานวน 150 ตัว มีรายได้ หลังหักค่าใช้จ่ายแล้ว เฉลี่ย 3,000 บาทต่อเดือน และนาขี้ไก่ไปทาปุ๋ยใส่สวนปาล์มน้ามัน และพืชผักสวนครัว รายได้จากการจาหน่ายพืชผักสวนครัว เฉลี่ยวันละ 200 – 300 บาท ปัจจุบันนายนิยม เกื้อกูล ไม่ได้ยืมเงินกองทุนโครงการ กข.คจ. ไปลงทุนประกอบอาชีพ โดยเปิดโอกาส ให้ครัวเรือนอื่นๆในชุมชนได้เข้าถึงแหล่งทุนก้อนนี้ เนื่องจากตนเองได้เคยยืมเงินไปลงทุนแล้วสามารถสร้างรายได้ และมีกาไรเป็นต้นทุนให้ประกอบอาชีพต่อไปได้ มุมมองต่อกองทุนโครงการ กข.ค.จ “เงินกองทุนโครงการ กข.คจ. แม้จะได้รับการจัดสรรเพียง 280,000 บาท หากคณะกรรมการและประชาชนในชุมชน ร่วมมือกันบริหารจัดการไม่ก่อความเสียหายให้เกิดขึ้นกับกองทุน ทาให้คนในชุมชนมีแหล่งทุนเพื่อนาไปใช้ในการประกอบอาชีพ เพื่อเพิ่มรายได้นามาพัฒนาคุณภาพชีวิตของคน ในครัวเรือน และชุมชน”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.