โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน “พช. ชุมพร รวมพลังสร้างสรรค์ความรู ้ มุ่งสูช่ มุ ชน”
หมู่ท่ี ๑ บ้านท่าตาเสือ ตาบลทะเลทรัพย์ อาเภอปะทิว จังหวัดชุมพร โดย นางชลิดา เกื้อบุญแก้ว นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบตั ิการ
คานา เอกสารสรุปบทเรียน เพือ่ ขับเคลือ่ นประเด็นยุทธศาตร์กรมการ-พัฒนาชุมชน และเพือ่ ส่งเสริม เสริมสร้าง ศักยภาพและขีดความสามารถ ในการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยัง่ ยืน จึงได้จดั ทาโครงการริเริ่ม สร้างสรรค์ คือ โครงการ พช ชุมพร รวมพลังสร้างสรรค์ความรูม้ งุ่ สู่ชมุ ชน เพือ่ พัฒนาบุคลากร ให้มคี ามรูแ้ ละทักษะ ในการคิดเชิงระบบ หลักการบริหารจัดการ และนาความรูส้ ่งเสริม เสนอแนะ แก่ผูน้ าชุมชนให้สามารถแก้ไขปัญหา ตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ของชุมชนได้ ผูจ้ ดั ทาได้รวบรวม เนื้อหาสาระสาคัญผลการดาเนินงาน และการใช้แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ของการ ดาเนินงานตามโครงการ และหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าจะสามารถถ่ายทอดความรู ้ เพือ่ เป็ นการแลกเปลีย่ นเรียนรู ้ แก่ผูส้ นใจ ได้บา้ ง
ชลิดา เกื้อบญแก้ว ผูจ้ ดั ทาโครงการ
-1โครงการริเริ่มสร้ างสรรค์ พช. ชุมพร รวมพลังสร้ างสรรค์ ความรู้ มุ่งสู่ ชุมชน บ้ านท่ าตาเสื อ หมู่ที่ ๑ ตาบลทะเลทรัพย์ อาเภอปะทิว จังหวัดชุ มพร สภาพทว่ ั ไปของหมูบ ่ า้ นท่ าตาเสื อ
ประว ัติความเป็นมา บ้านท่าตาเสื อ ตั้งอยูห่ มู่ที่ 1 ตาบลทะเลทรัพย์ อาเภอปะทิว เดิมทีชาวบ้านส่ วนใหญ่ได้อพยพมา จาก หมู่ที่ 2 ตาบลทะเลทรัพย์ และตาบลบางสน มาอาศัยสร้างหลักปั กฐานอยูร่ ิ มคลองซึ่ งเป็ นพื้นที่อุดม สมบูรณ์มาก ทั้งสภาพดิน น้ า เหมาะแก่การเพาะปลูก และ บริ เวณ ริ มคลองมีตน้ ไม้ใหญ่ แผ่กิ่งก้าน สวยงาม 1 ต้น ชื่อต้นตาเสื อ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า-เจ้าอยูห่ วั ได้มี พระราชบัญญัติ ให้มีการจัดตั้ง ผูป้ กครอง เพื่อการบริ หารและปกครองบ้านเมือง ได้มีการแต่งตั้งกานัน ผูใ้ หญ่บา้ นโดยผูใ้ หญ่บา้ นคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งมีชื่อว่า นายทิ้ง ดวงจายาม หลังจากและได้ต้ งั ชื่อ หมู่บา้ นใหม่ ตามสภาพความเป็ นอยูข่ องคนในชุมชน เนื่ องจากพื้นที่บริ เวณสองฝั่งคลองมีตน้ ตาเสื อ ขึ้นอยูท่ วั่ ไป จึงตั้งชื่อ หมู่บา้ นใหม่วา่ “ ท่าตาเสื อ”
-2 ลักษณะทีต่ ้งั และอาณาเขต บ้านท่าตาเสื อ หมู่ที่ 1 ตาบลทะเลทรัพย์ อาเภอปะทิว จังหวัดชุมพร มีพ้นื ที่ท้ งั หมด ประมาณ 8,477 ไร่ เป็ นพื้นสาหรับอยูอ่ าศัย 4,511 ไร่ ใช้ทาการเกษตร 3,966 ไร่ ตั้งอยูห่ ่าง จากที่วา่ การ อาเภอปะทิว ไปในทางทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือ ประมาณ 4 กิโลเมตร อาณาเขตติดต่ อ ทิศเหนือ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศใต้
ติดต่อกับ หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 2 ต.ทะเลทรัพย์ ติดต่อกับ หมู่ที่ 5 ตาบลบางสน ติดต่อกับ หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 8 ทะเลทรัพย์ ติดต่อกับ หมู่ที่ 4 ตาบลทะเลทรัพย์
จานวนประชากร/จานวนครัวเรือน จานวนครัวเรื อน 81 ครัวเรื อน จานวนประชากรทั้งหมด 249 คน แยกเป็ น ชาย 124 คน
หญิง 125 คน
ลักษณะภูมิประเทศและพืน้ ที่ ลักษณะทัว่ ไปเป็ นที่ราบสู งสภาพอากาศร้อนชื้นมีฝนตกตลอดปี พื้นที่ส่วนใหญ่เหมาะแก่การ ทาการปลูกพืชเศรษฐกิจและเลี้ยงสัตว์ ราษฎรส่ วนใหญ่ปลูกปาล์มน้ ามัน และยางพารา ซึ่ งเป็ นพืชเศรษฐกิจ ที่ทารายได้เข้าสู่ หมู่บา้ นเป็ นรายได้หลัก สภาพพืน้ ฐานของหมู่บ้าน 1. หอกระจายข่าว 2. ป่ าชุมชน 3. ศาลากลางบ้าน 4. แหล่งน้ าสาธารณะ 5. โทรศัพท์สาธารณะ 6. ร้านขายของชา (ของใช้จาเป็ น) 7. มีไฟฟ้ าใช้ครบทั้งหมู่บา้ น 81 ครัวเรื อน
จานวน 2 แห่ง จานวน 6 แห่ง จานวน 1 แห่ง จานวน 3 แห่ง จานวน 2 แห่ง จานวน 4 แห่ง
8. มีน้ าประปา 2 แห่ง ใช้บริ การ 62 ครัวเรื อน
-3การคมนาคม เส้นทางหลักภายในหมู่บา้ นเป็ นถนนพื้นปูนซี เมนต์และลูกรัง ใช้การสัญจรไป มา ประชาชนใช้ รถยนต์และรถมอเตอร์ ไซด์ส่วนตัวในการเดินทาง ระยะทางจากหมู่บา้ น ถึงอาเภอ จานวน 4 กิโลเมตร ระยะทางจากหมู่บา้ น ถึงจังหวัดชุมพร จานวน 37 กิโลเมตร สภาพทางสั งคม มีสภาพกึ่งสังคมชนบทและสังคมเมือง ชุมชนยังคงมีการอนุรักษ์ภาษาพูด ภาษาถิ่น สื บสาน ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมประเพณี ทอ้ งถิ่น ชุมชนมีความเป็ นอยูใ่ นลักษณะเครื อญาติ มีการช่วยเหลือซึ่ งกัน และกัน สมาชิกครัวเรื อนจะเข้าร่ วมกิจกรรมต่างๆ ในการพัฒนาหมู่บา้ น และมีส่วนร่ วมแสดงความคิดเห็นที่ เป็ นประโยชน์กบั หมู่บา้ น ร่ วมกันเสนอแนวทางการพัฒนาหมู่บา้ นในด้านต่าง ๆ คนในชุมชนมีจิตเอื้อเฟื้ อ รู ้ รัก สามัคคดี แหล่งนา้ / ทรัพยากรธรรมชาติ ป่ าต้นน้ าพรุ ตาอ้าย น้ าตกแก่งคอย คลองตาเสื อ ฝายกั้นน้ าท่าตาเสื อ สภาพเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ อาชีพหลัก ทาสวนปาล์มน้ ามันและยางพารา อาชีพรอง ทาสวนผสมและรับจ้างทัว่ ไป อาชีพเสริม ค้าขายและรับจ้างทัว่ ไป ศิลปวัฒนธรรม/ประเพณี ราษฎรส่ วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ มีการจัดกิจกรรมทุกวันสาคัญทางศาสนา เช่น 1) ประเพณี ทาบุญตักรบาทวันปี ใหม่ 2) ประเพณี วนั สงกรานต์ 3) ประเพณี เวียนเทียนทาบุญวันเข้า-ออกพรรษา 4) ประเพณี ลอยกระทง
-4-
สถานทีท่ ่ องเทีย่ ว น้ าตกแก่งคอย และป่ าต้นน้ าพรุ ตาอ้ายซึ่ ง เป็ น แหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามทั้งทางด้านภูมิทศั น์และธรรมชาติ สัตว์ป่า กล้วยไม้ป่า รวมทั้งเป็ นแหล่ง ศึกษาพฤกษศาสตร์ และระบบ นิเวศวิทยาซึ่ งเป็ นที่รู้จกั ของคนในหมู่บา้ นและตาบลใกล้เคียง บริ เวณ น้ าตก มีความร่ มรื่ น สวยงาม ล้อมรอบด้วยแมกไม้นานาชนิด สายน้ าใส สะอาด เป็ นสถานที่ให้ความประทับใจแก่นกั ท่องเที่ยว กลุ่มองค์ กรชุ มชน/ทุนในชุ มชน/ผู้นาชุ มชน 1) กลุ่มปุ๋ ยจุลินทรี ยช์ ีวภาพ 2) กลุ่มสตรี 3) กลุ่มกองทุนหมู่บา้ น 4) กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุ ข(อสม.) 5) กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 6) กลุ่มแก้ไขปั ญหาความยากจน (กข.คจ.) ประเภททรัพยากรบุคคล (ปราชญ์ ชาวบ้ าน) 1. 2. 3. 4. 5.
นายเรวัติ โสมโสรส นายถนอม จินดาพรหม นายมาโนช จินดาพรหม นายสมหมาย เอี่ยมเขียว นายบรรยง เชื้ อสุ วรรณ
ปราชญ์การทาสวนแก้วมังกร ปราช์ญด์ า้ นเกษตรและปุ๋ ยชีวภาพ (หมอดินอาสาประจาตาบล) ปราช์ญด้านนวดแผนไทย ปราช์ญด้านปุ๋ ยหมักชีวภิ าพ ปราช์ญด้านเกษตร
ผู้นาชุ มชนทีส่ าคัญในหมู่บ้าน 1. ผูใ้ หญ่บา้ นชื่ อ นายถนอม จินดาพรหม 2. ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นชื่อ นายพูลศักดิ์ จันทรภักดี 3. ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นชื่อ นายเรวัติ โสมโสรส 4. ประธาน กทบ. ชื่อ นายสมหมาย บุญเอี่ยม
5. ประธาน กขคจ. ชื่อ นายถนอม จินดาพรหม 6. ประธาน กพสม. ชื่อนางนุสรา จินดาพรหม
-5แหล่ งเงินทุนในชุ มชน 1) กองทุนหมู่บา้ น 2) กองทุนโครงการแก้ไขปั ญหาความยากจน(กขคจ. 3) กลุ่มสตรี
1,200,000.- บาท 280,000.- บาท 90,000.- บาท
วิสัยทัศน์ และทิศทางการพัฒนาหมู่บ้านท่ าตาเสื อ 1. มีผนู้ าชุมชนเข้มแข็ง ชุมชนให้ความเคารพนับถือผูน้ าชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน มีกลุ่ม/องค์กร ชุมชน เข้มแข็ง เช่น กลุ่มกองทุนหมู่บา้ น, กลุ่มแก้ไขปั ญหาความยากจน(กขคจ.) กลุ่มอาสาสมัคร สาธารณสุ ข (อสม.),กลุ่มคณะกรรมการพัฒนาสตรี หมู่บา้ น(กพสม.) ,และกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 2. ชุมชนมีความสามัคคี พึ่งพาอาศัยกัน ช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน วิถีชีวติ ยังมีการสื บทอดประเพณี วัฒนธรรม และการอนุรักษ์ธรรมชาติ ดั้งเดิม 3. อาชีพหลักคือการทาสวนปาล์มน้ ามันและยางพารา อาชีพรองคือสวนผสมและรับจ้าง อาชีพ เสริ มคือเลี้ยงสัตว์ ,ปลูกผัก และการค้าขาย และรับจ้างทัว่ ไป ซึ่งสร้างรายได้และเป็ นการสื บทอดภูมิปัญญา ดั้งเดิม และ สร้างเสริ มความสัมพันธ์ในชุมชน รวมถึงถ่ายทอดสู่ เยาวชนรุ่ นหลังได้ 4. น้ าเพื่อการเกษตร มีอย่างเพียงพอใช้ตลอดทั้งปี ถือว่าเป็ นหมู่บา้ นที่มีความอุดมสมบูรณ์อยูม่ าก เนื่องจากมีแหล่งน้ าธรรมชาติและฝายกั้นน้ าเพื่อกักเก็บน้ า 5. คุณภาพของดิน ไม่ถึงกับเสื่ อมโทรมมาก ซึ่ งเกิดจากการใช้สารเคมีสะสม ขาดการบารุ งดิน ปลูกพืชบารุ งดิน ซึ่ งส่ งผลกระทบต่อผลผลิต แต่ภายหลังได้มีการส่ งเสริ มการใช้ปุ๋ยอินทรี ยแ์ ละปุ๋ ยน้ าชีวภาพ 6.เยาวชนในหมู่บา้ น ได้รับการศึกษาที่สูงขึ้น สิ่ งที่ชุมชนวิตก คือ เยาวชนเริ่ มห่างเหิ นจากวิถีชีวติ ท้องถิ่นดั้งเดิม มีค่านิยมตามกระแสสังคมบริ โภค เนื่ องจากการสื่ อสารเทคโนโลยีที่เข้ามาอย่างรวดเร็ ว แม้จะ มีการสื บสานวัฒนธรรม และสื บทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นแก่เยาวชน แต่ก็ยงั เป็ นส่ วนน้อยที่ให้ความสนใจ จุดแข็งข้ อดี/สิ่ งดีของชุ มชน มีบุคคลากรที่มีความรู ้ความสามารถ ที่ประสบผลสาเร็ จสามารถเป็ น แบบอย่าง ให้กบั คนใน ชุมชน ด้านเศรษฐกิจ มีกลุ่มกองทุนหมู่บา้ น กลุ่มกองทุน กข.คจ. มีทรัพยากรธรรมชาติที่ควรค่าแก่การอนุ รักษ์ และปรับปรุ งเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะชน ด้านภูมิปัญญาชุมชน มีหมอยาสมุนไพรที่มีความสามารถให้การช่วยเหลือชุมชนในด้าน สมุนไพร จุดด้ อย/ข้ อเสี ย ของชุ มชน ขาดการมีส่วนร่ วมในการจัดทากิจกรรมของชุมชน
ไม่มีการประกันราคาพืชผลทางการเกษตร การนิยมปลูกพืชเชิงเดี่ยวดินเสื่ อมคุณภาพเพราะใช้สารเคมีมาก ประชาชนเป็ นหนี้มากเพราะต้นทุนการในการประกอบอาชีพสู ง -6โอกาส/ช่ องทางในการพัฒนาของชุ มชน มีแหล่งน้ าที่อุดมสมบูรณ์ใช้ในการบริ โภคและอุปโภคและเพื่อการเกษตร มีแหล่งเงินทุนจากกองทุนหมู่บา้ นและกองทุน กข.คจ. เพื่อใช้ในการประกอบอาชีพ ชุมชนดาเนิ นชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อุปสรรค/ความเสี่ ยงจากปัจจัยภายนอกชุ มชน ไม่มีการประกันราคาผลผลิตทางการเกษตร ประชาชนมีทศั นะคติแบบเดิม ๆ ต้องใช้เวลาในการกระตุน้ ส่ งเสริ มให้เกิดทัศนะคติที่ดี ขาดเงินทุนที่จะสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่ อง
การกาหนดอัตลักษณ์ ของหมู่บ้าน/ชุมชน (Identity) “ หมู่บ้านอนุรักษ์ ป่าต้ นนา้ นาวิถีเศรษฐกิจพอเพียง สู่ ความยัง่ ยืน” การพัฒนาชุ มชนสู่ การเปลีย่ นแปลงก้ าวทันโลกยุคโลกาภิวติ น์ 1. เสริ มสร้างกระบวนการเรี ยนรู ้ในการนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวติ ประจาวันให้ ครอบคลุม ทุกครัวเรื อน สู่ ชุมชน/สังคมที่ยงั่ ยืน เช่นการทากิจกรรม ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ การออม เงิน การผลิตพลังงานทดแทนเป็ นต้น 2. รณรงค์ให้ทุกครัวเรื อนมีส่วนร่ วมในการทากิจกรรม การพัฒนาหมู่บา้ น ปลุกจิตสานึกแก่คน ในชุมชน เยาวชน กระตุน้ ให้เกิดความภาคภูมิใจในชุมชน มีกิจกรรมเชิดชูเกียรติแก่ปราชญ์ชาวบ้าน ที่เป็ น แบบอย่าง การใช้วถิ ีชีวติ วัฒนธรรม สื บทอดภูมิปัญญาแก่ชนรุ่ นหลัง สร้างแรงจูงใจ จัดตั้งกลุ่มเยาวชน ตัวอย่าง มีกิจกรรมเข้าวัดพัฒนาจิตใจ การเล่นกีฬาและฝึ กลักษณะการเป็ นผูน้ าในสังคมให้มีคุณธรรม จริ ยธรรม 3. ปรับปรุ งและอนุรักษ์แหล่งน้ าที่มีอยูต่ ามธรรมชาติให้ใช้ประโยชน์ได้ตลอดปี 4. พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวน้ าตกแก่งคอย และป่ าต้นน้ าพรุ ตาอ้าย เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงออนุ รักษ์และ แหล่งศึกษาพืชพันธ์ไม้ สัตว์ ที่อาศัยในป่ าพรุ ตามระบบนิเวศวิทยา 5. รวมกลุ่มเพื่อสร้างกลุ่มอาชีพเสริ ม กลุ่มแปรรู ปผลิตภัณฑ์ชุมชน และศูนย์สาธิตตลาดชุมชน
-7-
พช. ชุมพร รวมพลังสร้างสรรค์ความรู ้ มุ่งสูช่ มุ ชน บ้านท่าตาเสือ หมู่ท่ี ๑ ตาบลทะเลทรัพย์ อาเภอปะทิว จังหวัดชุมพร โครงการริ เริ่ มสร้างสรรค์ คือ โครงการ พช. ชุมพร รวมพลังสร้างสรรค์ความรู ้ มุ่งสู่ ชุมชน เพื่อพัฒนาบุคลากร ตามยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมขน ที่ทางานใกล้ชิดกับชุมชนให้มีความรู ้ และทักษะ ในการคิดเชิงระบบ และนาความรู ้ที่ได้รับไปส่ งเสริ ม และเสนอแนะ แกนนาชุมชนให้สามารถพัฒนาชุมชน ตลอดจนสามารถแก้ไขปั ญหาและสร้างความเข้มแข็งในชุ มชนได้อย่างยัง่ ยืน จุดเริ่ มจากการวิเคราะห์ชุมชนบ้านท่าตาเสื อ ร่ วมด้วยผูน้ าชุมชน ผูน้ าอาสาพัฒนาชุมชน เป็ นการ แลกเปลี่ยนความคิด มุมมอง ทัศนคติ เพื่อศึกษาดูถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ในช่วงต่างๆ ของชุมชน ปั จจัยที่เป็ นตัวกาหนดการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านวัฒนธรรม ประเพณี เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจน ความสัมพันธ์ของกลุ่มบุคคล และทางสังคม ผลกระทบที่มีอิทธิ พลต่อปั จจัยภายในและภายนอกชุมชน และแยกแยะปัญหา ทาความเข้าใจกับปั ญหา และหาแนวทางแก้ไขปั ญหาโดยความร่ วมมือของคนในชุมชน เพื่อมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงทางด้านคุณภาพชีวติ ชุมชนเข้มแข็ง และพึ่งพาตนเองได้อย่าง ยัง่ ยืน จากการวิเคราะห์ครั้งนี้พบว่า ประชาชนในหมู่บา้ นมีความผูกพันกันระบบเครื อญาติจึงมีความช่วย เหลือกัน ชอบเรี ยนรู ้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาตนเองและอาชี พ คนในชุมชนสมัครเป็ นสมาชิกกองทุน หมู่บา้ น แต่มีปัญหาเรื่ องค่าใช้จ่ายที่ไม่พอกับรายได้ ผลมาจากการใช้จ่ายที่ฟุ้งเฟ้ อขาดการวางแผนการใช้จ่าย และ ต้นทุนการทา เกษตรที่สูง สถาบันครอบครัวมีความอบอุ่น พ่อแม่อบรมบุตรหลานให้มีความรับผิดชอบ ในการใช้ชีวติ ประจาทุกวัน สนับสนุนให้เด็กเรี ยนต่อในระดับที่สูงขึ้นอย่าเต็มกาลัง ประชาชนในชุมชน จะไป ทาบุญและ ปฏิบตั ิศาสนกิจ อยูเ่ ป็ นนิ จ ประชาชนไปใช้สิทธิ์ เลือกตั้งในหมู่บา้ นทุกครั้ง และเข้าไป ร่ วมกิจกรรมเพื่อพัฒนาหมู่บา้ น มีความรู ้ ในการนาพืชผักสมุนไพรมาประกอบอาหาร การทาน้ าหมักชีวภาพ จากเศษอาหาร และสัตว์ ให้ความเคารพผูส้ ู งอายุดว้ ยการไหว้ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา จัดประเพณี วันสงกรานต์ เข้าพรรษา ออกพรรษา ลอยกระทง ประชาชนในหมู่บา้ นมีความภูมิใจในชุมชนที่มี ป่ าพรุ่ ตาอ้าย เป็ น แหล่งต้นน้ าที่หล่อเลี้ยง คนทั้ง 2 ตาบล กว่า 1000 ครัวเรื อนใช้ประโยชน์ในการทา การเกษตร อุปโภค บริ โภค เป็ นสถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อนและหาปลา ให้ความอุดมสมบูรณ์ปราบเท่าทุก วันนี้ และมีการ ถ่ายทอดองค์ความรู ้ให้แก่บุตรหลาน ด้วยการส่ งเสริ มการปลูกต้นไม้ อนุรักษ์แหล่งน้ าและ สิ่ งแวดล้อม จากสิ่ งที่คน้ พบได้นามากาหนดเป็ นแผนงานโครงการดังนี้
-8-
โครงการตามแผนงาน ประกอบด้ วย ๕ กิจกรรมครอบคลุม ประเด็นยุทธศาสตร์ คือ ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาเศรษฐกิจชุ มชนให้ เข้ มแข็ง ส่ งเสริ มหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อส่ งเสริ มและพัฒนาชุมชนให้เกิดกระบวนการเรี ยนรู ้ และดาเนินชีวิตวิถีพอเพียงชุ มชนมีความรู ้ความเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและนาไปปฏิบตั ิ ถ่ายทอดได้ ครัวเรื อนต้นแบบจานวน 5 ครัวเรื อนสามารถขยายผลได้ ประเด็นยุทธศาสตร์ การเพิ่มขีดความสามารผู้นาชุ มชน การบริ หารจัดการชุมชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาความรู้ของผูน้ าชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชน เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ตลอดชีวติ ผูน้ าชุมชนมีความรู้ความเข้าใจและ สามารถประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริ หารจัดการชุมชน มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้และ ประสบการณ์และสามารถแก้ไขปั ญหาในชุมชนจานวน 2 เรื่ อง ประเด็นยุทธศาสตร์ การขับเคลือ่ นแผนชุ มชน ทบทวนแผนชุมชนเพื่อทบทวนแผนชุมชนให้มีกิจกรรมที่พ่ งึ ตนเองมากขึ้นเพื่อสร้าง เข้าใจในการจัดทาแผนชุมชนที่มีโครงการ/กิจกรรมที่ครอบคลุมทุกด้านประชุมจัดเวทีปรับปรุ ง แผนชุมชน จานวน 2 ครั้งแผนชุมชนมีกิจกรรมพึ่งตนเองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 30 ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาทุนชุ มชน ปลูกป่ าชุมชน ลดโลกร้อน เพื่อเป็ นการอนุรักษ์ รักษาสิ่ งแวดล้อม ลดภาวะโลกร้อน เพื่อให้คนในชุมชนเด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์โดยการดูแลรักษาต้นไม้และ เสริ มสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างกลุ่ม องค์กร ผูน้ าชุมชน เป็ นจุดเรี ยนรู้พฤกษชาติและ ธรรมชาติ เป็ นแหล่งรายได้จากการหาพืช ผลที่มีอยูต่ ามธรรมชาติ และคนในชุมชนมีตน้ ไม้ เพิ่มขึ้น 30 ต้นช่วยลดภาวะโลกร้อนมีสภาพอากาศที่ดี พื้นที่ป่าชุมชนได้รับการอนุรักษ์ ไม่ถูกทาลาย ประเด็นยุทธศาสตร์ การจัดการความรู้ของชุมชน นาความรู ้คืนสู่ ชุมชนเพื่อสารวจ ค้นหา รวบรวมและบันทึกภูมิปัญญาสามารถถ่ายทอดสู่ คน รุ่ นหลัง สามารถเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์มีการจัดการความรู้ชุมชนภูมิปัญญาได้รับการรวบรวมและ จดบันทึก จานวน 3เรื่ อง
-9กระบวนการดาเนินงานโครงการฯ
มีขน้ั ตอนการดาเนิ นงานดังนี้ ศึกษา/รวบรวมข้อมูลเชิงนโยบาย แผนยุทธศาสตร์ กรมฯและปั ญหาความต้องการของ กลุ่มเป้ าหมาย วิเคราะห์ขอ้ มูล/ลาดับความสาคัญของปั ญหาความต้องการ การเตรี ยมโครงการฯ และวางแผนการ ดาเนินงานโครงการอย่างเป็ นระบบ การดาเนิ นงาน ประชุมชี้แจงและการขับเคลื่อนโครงการฯ ภายใต้หลักการจัดการความรู ้ตลอดทั้ง กระบวนการเกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ ทั้งครัวเรื อนอาสา แกนนาชุมชน ภายใต้แผนวิถีพอเพียง สรุ ปบทเรี ยนและการเผยแพร่ องค์ความรู ้เพื่อการขยายผล การรวบรวมองค์ความรู้จากการขับเคลื่อน โครงการฯ เพื่อนามาจัดทาสื่ อเผยแพร่ สู่สาธารณะ ่ นร่วม กระบวนการมีสว การดาเนินงาน โครงการริเริ่ มสร้ างสรรค์ คือ โครงการ พช. ชุ มพร รวมพลังสร้ างสรรค์ ความรู้ มุ่งสู่ ชุมชน 1. ปัจจัยสนับสนุนการดาเนินงาน 1.1 การจัดประชุมชี้แจงทาความเข้าใจวัตถุประสงค์ เป้ าหมาย และขั้นตอน 1.2 การคัดเลือกแกนนาการพัฒนาชุมชน ที่มีความพร้อมความเสี ยสละ มีทกั ษะความรู้ และคัดเลือก ครัวเรื อนเป้ าหมายที่มีความตั้งใจเข้าร่ วมฯ 1.3 เกิดกระบวนการนเรี ยนรู ้ภายในตาบล กลุ่ม องค์กร ศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชน/อาสาพัฒนาชุมชน ขยายผลสู่ ชุมชน สามารถสื บทอดภูมิปัญญาจากบรรพบุรุษสู่ คนรุ่ นหลังได้ 2. ผูน้ าอาสาพัฒนาชุมชน/ศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชน เป็ นผูเ้ ข้ามามีส่วนร่ วมในโครงการ กระบวนการพัฒนาหมู่บา้ น ไปสู่ ทิศทางที่ได้กาหนด ในกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ 1) การจัดเก็บข้อมูล จปฐ. / กชช.2 ค 2) การจัดทาแผนชุมชน 3) การจัดการความรู้ชุมชน 4) การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5) การส่ งเสริ มวิถีประชาธิ ปไตย 6) การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม 7) การป้ องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติด
-10กิจกรรมของการมีสว่ นร่วมดาเนินงานของแกนนา/กลุม ่ /องค์กรชุมชน
1. กิจกรรมการจัดเก็บข้ อมูล จปฐ./กชช. 2 ค 1.1 เป็ นคณะทางานในการจัดเก็บข้อมูล จปฐ./กชช. 2 ค 1.2 มีการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนแก้ไขปั ญหาและพัฒนาชุมชน 2. กิจกรรมการจัดทาแผนชุ มชน 2.1 เป็ นคณะทางานในการจัดทาแผนชุมชน 2.2 มีการนาแผนชุมชนไปใช้ประโยชน์ในการทากิจกรรม คือการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในการดาเนินชีวิต 3. กิจกรรมการเรี ยนรู้ ชุมชน 3.1 ร่ วมส่ งเสริ มกระบวนการทางาน การพัฒนาชุมชน 3.2 เรี ยนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. กิจกรรมการขับเคลือ่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.1 มีการปฏิบตั ิตนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นต้นแบบแก่ชุมชน 4.2 มีการส่ งเสริ มวิถีพอเพียงและการจัดทาบัญชีครัวเรื อน 5. กิจกรรมการส่ งเสริมประชาธิปไตย 5.1 มีการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มวิถีประชาธิ ปไตย และการใช้สิทธในการเลือกตั้งที่ผา่ นมา 5.2 เป็ นสมาชิกกลุ่มกองทุนหมู่บา้ นในชุมชน 6. กิจกรรมการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม 6.1 มีการปลูกต้นไม้ ป่ าชุมชน 6.2 ปรับปรุ งภูมิทศั น์บา้ นเรื อน/ชุมชน 7. กิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 7.1 ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างโดยไม่เกี่ยวข้องกับสิ่ งเสพติด 7.2 ร่ วมข้ารับการอบรมการป้ องกันและปราบปรามยาเสพติด
-11ผลการดาเนินงาน พช. ชุมพร รวมพลังสร้างสรรค์ความรู้ มุ่งสู่ ชุมชน ผูร้ ับผิดชอบโครงการมุ่งเน้นกระบวนการ ส่ งเสริ มหลักแนวความคิดการดาเนินชีวิตวิถีเศรษฐกิจพอเพียง หลักการครองตนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ คนพอเพียง ส่ งเสริ ม สนับสนุนให้ผนู้ าชุมชน /แกนนา/กลุ่ม/องค์กร ตลอดจนครัวเรื อน เกิดจิตสานึกที่จะนา กระบวนการเรี ยนรู ้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในการครองตน ครองคน ครองงาน การเรี ยนรู้ และการ ถ่ายทอด สื บทอด ความรู ้ด้ งั เดิมจากบรรพบุรุษ จากรุ่ นสู่ รุ่น การสร้างจิตสานึกความภูมิใจในถิ่นกาเนิด ความเป็ นคนไทย ในชนบท วิถีชาวบ้าน ที่ตื่นนอนก่อนไก่ เข้านอนแต่หวั ค่า อยูอ่ ย่างพอเพียง ในการใช้ ชีวติ ให้น่าอยูแ่ ละมีสุข สุ ขในใจ ใจเป็ นสุ ข สุ ขแห่ งความพอใจ และสุ ขทีเ่ กิดจากการให้ เห็นผู้รับมีความสุ ข เราก็จะสุ ขใจ โดยการพึ่งตนเองเป็ นหลัก การแบ่งปั น การมีคุณภาพชีวติ ที่ดี สู่ การพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง อย่างยัง่ ยืน โดยการส่ งเสิ รมหลักปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรชญาของเศรษฐก ั ิจพอเพ ียง
“ เศรษฐกิจพอเพียง ” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนว ทางการดาเนิ นชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตดลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ าแนวทางการแก้ไข เพื่อให้รอดพ้น และสามารถดารงอยูไ่ ด้อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวฒั น์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็ นแนวทางการพัฒนาประเทศ ทีม่ ั่นคงและยัง่ ยืน หล ักแนวความค ิดของเศรษฐก ิจพอเพ ียง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ต้ งั อยูบ่ นฐานของทางสายกลางและความ ไม่ประมาท โดยคานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสิ นใจ และการกระทา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่ วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวทางการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนในทางที่ควรจะเป็ น โดยมี พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจาก ภัย และวิกฤตเพื่อความมัน่ คงและความยัง่ ยืนของการพัฒนา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กบั การปฏิบตั ิตนได้ในทุกระดับ โดย เน้นการปฏิบตั ิบนทางสายกลาง และพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอน 3. คานิยาม เศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อมๆ กัน ดังนี้ * ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไป และไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผูอ้ ื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ
-12* ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆ * การมีถูมิค้ มุ กันทีด่ ีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล 4. เงื่อนไข การตัดสิ นใจและการดาเนินกิจการต่างๆ ให้อยูใ่ นระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้ง ความรู ้และคุณธรรมเป็ นพื้นฐาน คือ * เงื่อนไขความรู้ ประกอบไปด้วยความรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนาความรู้มาใช้ในการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นตอนการปฏิบตั ิ * เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้าง ประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ สุ จริ ต และมีความอดทน มีความเพียรใช้สติปัญญาในการดาเนิ นชีวิต 5. แนวทางการปฏิบัติ / ผลทีค่ าดว่าจะได้ รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาที่สมดุลและยัง่ ยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่ งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี
-13ื “ อยูอ ่ ย่างพงตนเอง ึ่ ชุมชนบ ้านท่าตาเสอ ” ครอบครัวและสมาชิกได้เรี ยนรู ้วถิ ีพอเพียงโดยทากิจกรรม ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ การเรี ยนรู ้ การอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การเอื้ออารี การแบ่งปั น ดังนี้
เพื่อให้เกิดการออม
ด้ านการเงินในครัวเรือน จัดทาบัญชี รับ – จ่ าย ในครัวเรื อน เพื่อให้รู้ภาวะหนี้สิน รายได้ รายจ่ายของครัวเรื อน ควบคุมการใช้จ่ายของครัวเรื อน และวางแผนการใช้จ่ายเงินอย่างรอบคอบ โดยจัดทา แผนการใช้จ่ายเงินของครัวเรื อน สร้างวินัยการใช้ เงิน และออมเงินส่ วนที่เหลือจ่าย ไว้กบั กลุ่มการเงินในชุมชน หรื อสถาบันการเงิน ไม่ สร้ างหนี้ ลดภาระหนี้สินของตนเอง หรื อไม่พยายามก่อหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ไม่ใช้จ่ายฟุ่ มเฟื อย และรู้ ทนั กระแสบริ โภคนิยม พยายาม ลด ละ เลิก อบายมุข ด้ านการลดรายจ่ ายในครัวเรื อนโดยทากิจกรรมเพื่อ การบริ โภคในครัวเรื อนเองทาให้ครัวเรื อนสามารถประหยัด ค่ าใช้ จ่ายในครัวเรือนให้ได้ ดังนี้ ปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์เพื่อการบริ โภคในครัวเรื อน เช่น ปลูกข้าว ปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกิน ได้ เลี้ยงไก่พ้นื เมือง เป็ ด ปลา ไว้กินในครัวเรื อน โดยยึดหลัก “ ปลูกทุกอย่ างที่กนิ กินทุกอย่ างทีป่ ลูก และ ใช้ ทุกอย่ าง ที่ทา ทาทุกอย่ างทีใ่ ช้ ” ปลูกพืชสมุนไพรรักษาโรค ทากิจกรรมเพื่อลดต้นทุนการผลิตในอาชีพหลัก เช่น ผลิตปุ๋ ยชีวภาพ ลดการใช้สารเคมีใน การเกษตร เป็ นต้ ด้ านการเพิม่ รายได้ ครัวเรื อนมีอาชีพเสริ มประชาชนบ้านท่าตาเสื อมี การประกอบอาชีพหลักคือ เกษตรกรรม สวนยางพารา สวนปาล์มน้ ามัน ทาสวนผสม อาชีพเสริ มสวนผลไม้ปลูกผักไว้ขาย และเลี้ยงสัตว์ ครัวเรื อนมีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมครัวเรื อน มีการใช้อุปกรณ์ เครื่ องมือในการประกอบอาชีพ หรื อสิ่ งอานวยความสะดวกในครัวเรื อนที่
เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น ทาให้เกิดความคุม้ ค่าและประหยัด เช่น การใช้ปุ๋ยชีวภาพในการ เพาะปลูก ลดต้นทุน
-14ด้ านการประหยัด ครัวเรื อนมีการออมเงินกับกลุ่มกองทุนหมู่บา้ น มีการส่ งเสริ มให้ประชาชนในหมู่บา้ นได้มี การออมเพื่อสร้างอนาคตให้กบั ตัวเอง เรี ยนรู ้หลักการออม พยายามลดรายจ่ายที่ไม่จาเป็ น ใช้เงินน้อยกว่าที่หาได้ กันเงินส่ วนหนึ่งไว้สาหรับอนาคต ครัวเรื อนมีการออมเงินกับสถาบันการมีการเงิน,สหกรณ์ ด้ านการเรี ยนรู้ ครัวเรื อน มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ในชุมชนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความรู้จากบรรพบุรุษ สั่งสมมานานถ่ายทอดสู่ ลูกหลานในชุมชน การประกอบอาชีพ เรี ยนรู ้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีการอบรมเรื่ องเศรษฐกิจพอเพียงและมีการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใน ชีวติ ประจาวัน มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดหรื อจัดเวทีการเรี ยนรู ้หรื อกิจกรรมที่ก่อให้เกิด การเรี ยนรู้ นาไปสู่ ความเข้าใจ ในการดารงชีวติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเช่น การปลูกพืชผัก สวนครัว การออม การประหยัดมีเหตุผลในการใช้จ่ายมากขึ้น การลดรายจ่ายในการประกอบ อาชีพด้วยการทาปุ๋ ยอินทรี ยเ์ พื่อลดต้นทุน อนุรักษ์และส่ งเสริ มประเพณี ฝึ กอบรมให้ความรู้เยาวชนได้มีจิตสานึกอนุรักษ์ไว้ซ่ ึงวัฒนธรรม ประเพณี ตั้งแต่ ปู่ ย่า ตา ยาย รณรงค์และส่ งเสริ มประเพณี สงกรานต์เนื่องในวันผูส้ ู งอายุ คือ วันที่ 16 เมษายน ของทุกปี และมีพิธีรดน้ าดาหัวผูส้ ู งอายุ และพิธีสงฆ์น้ าพระด้วย ด้ านการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อมและใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่ างยัง่ ยืน ชุมชนใช้วตั ถุดิบอย่างยัง่ ยืนในการประกอบอาชีพ มีการวางแผนการใช้ทรัพยากรอย่างยัง่ ยืน และ การส่ งเสริ มให้มีการใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ ชุมชนปลูกต้นไม้ให้ร่มรื่ นเป็ นหมู่บา้ นน่าอยู่ ชุมชนบ้านท่าตาเสื อส่ งเสริ มให้มีการปลูกต้นไม้ บริ เวณป่ าพรุ่ เป็ นการอนุ รักษ์แหล่งน้ า ป่ าไม้ และสัตว์ป่า บริ เวณบ้านเรื อนมีการตกแต่งไม้ดอก ไม้ประดับไว้สวนงามน่าอยูอ่ าศัย และขยายผลให้เป็ นแหล่งศึกษาเรี ยนรู้ดา้ นพืช พันธ์ไม้ นานา พันธ์แก่นกั เรี ยน เยาวชนผูส้ นใจ ด้ านการเอือ้ อารี ชุมชนดูแลช่วยเหลือกัน ดูแลช่วยเหลือคนชราและคนพิการ คนด้วยโอกาส
ชุมชนรู้รักสามัคคี ร่ วมมือร่ วมใจกันในการดูแลรักษาความสงบในชุมชน เฝ้ าระวังปั ญหายาเสพ ติด ร่ วมกิจกรรมในวันสาคัญต่างๆ มีการจัดทาแผนชุมชนและนาแผนไปสู่ การปฏิบตั ิเพื่อการ แก้ไขปั ญหาชุมชนร่ วมกันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
-15-
ครัวเรือนวิถพ ี อเพียงตนแบบ ้ ลาดับที่
ชื่อ
กิจกรรมเด่ น
องค์ ความรู้
1
นายถนอม จินดาพรหม
ปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์ และการทาเกษตรอินทรี ย ์ อนุรักษ์ธรรมชาติ
หมอดินอาสา และ ปุ๋ ยน้ าชีวภาพจากสัตว์
2
นายเรวัติ
ปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์ การทาอาชีพเสริ มเพิ่มรายได้ การออมวิถีพอเพียง
การเกษตรผสมผสาน และ การทาสวนแก้วมังกร
3
นายมาโนช จินดาพรหม ปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์
การนวดแผนไทย และ การรักษาด้วยพืชผัก สมุนไพร
4
นายสมหมาย เอี่ยมเขียว
ปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์ ทาน้ าหมักชีวภาพ
การทาปุ๋ ยหมักชีวภาพจากพืช และ ปุ๋ ยอินทรี ย ์
5
นายบรรยง เชื้ อสุ วรรณ
ปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์
การเกษตร และ การเพาะพันธ์ตะพาบน้ า
โสมโสรส
-16-
จากการเรียนรูแ ้ ละน้อมนาหล ักปร ัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาใช้ในการดาเนิ นชีวติ ของครัวเรื อน ผูจ้ ดั ทาโครงการได้รณรงค์ ส่ งเสริ มให้ผนู ้ าชุมชน มีการแลกเปลี่ยน เรี ยนรู้แนวทางการบริ หารหารจัดการชุมชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ให้เกิดประสิ ทธิภาพ มีความรู้ และ ความเข้าใจ สามารถประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริ หารจัดการชุมชน แก้ไขปั ญหาให้ กับชุมชน และพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้ โดยผูน้ าชุมชนได้นาแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียง มาประยุกต์ใช้ ในการบริ หารจัดการชาชน มีการกาหนดระเบียบแบบแผน กฎกติกา และวิถี ปฏิบตั ิที่ฝัง
ไว้ในความเชื่อ และจารี ตประเพณี ของคนในชุมชน ให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ การ
จัดการ ดิน
น้ า
ป่ า และครัวเรื อนหรื อสังคม เ พื่อการพัฒนาชุมชนให้ยงั่ ยืน ดังนี้
การจ ัดการดิน ส่ งเสริ มให้คนในชุมชนรักษาที่ดินทากินไว้ ให้คนมีที่ดินทากิน หวงแหน
ที่ดินของตนเอง จะได้ไม่ตอ้ งทิ้งบ้านถิ่นฐาน ไปแสวงบุญต่างแดน ส่ งเสริ มให้มีการทาสวนแบบผสมผสาน การเกษตรทษฤฎีใหม่ ลดการใช้สารเคมีที่ส่งผลเสี ยต่อสุ ขภาพ และทาให้ดินเสื่ อมสภาพ โดยการส่ งเสริ ม ให้คนในชุมชนทา
ปุ๋ ยหมักชีวภาพ ,ปุ๋ ยอินทรี ย ์
นามาใช้ใน
การเกษตรเพื่อปรับปรุ งสภาพ
ดิน ให้มีคุณภาพที่
ดี
ผลผลิตทาง
การเกษตรเพิม่ มากขึ้น มี
รายได้ที่เพิม่ ขึ้น
ต้นทุนการผลิตลดต่าลง
-17การจ ัดการนา้ ชุมชนบ้านท่าตาเสื อมีกลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และให้ความ
สาคัญกับแหล่งน้ า ตระหนักอยูเ่ สมอว่า ขาดไฟฟ้ า ขาดน้ ามัน เรามีชีวิตอยูไ่ ด้ แต่ถา้ ชีวติ ขาดน้ าเราคงอยู่ ไม่ได้ จากการหวงแหนและอนุรักษ์ป่าต้นน้ า โดยการบริ หารจัดการตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง การเรี ยนรู ้ และรักษาพื้นที่ป่าโดยจัดการน้ าไห้มีน้ า ไว้บนพื้นที่ป่าต้นน้ า เก็บน้ าด้วยป่ า ชะลอด้วยฝายต้นน้ า ใช้อุปโภค บริ โภค และการเกษตร ที่หล่อเลี้ยงชาวบ้ านในเขตพื้นที่ 2 ตาบล 8 หมู่บ้าน กว่า 1.000 ครัวเรือน สายน้ าไม่เคยเหื อดแห้งไปจากลาธาร ใช้หลักการบาบัดเยียวยาธรรมชาติหรื อหล่อเลี้ยงระบบนิเวศ อยูค่ ู่ชุมชน แบบยัง่ ยืน
การจ ัดการป่า นาหลักการตามพระราชดารัสการปลูกป่ า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
ซึ่ งทาให้เกิด ป่ า 3 อย่างได้แก่ ป่ าเพื่อให้พออยูอ่ าศัย ป่ าเพื่อให้พอกิน ป่ าเพื่อให้พอใช้ ประโยชน์ นอกจาก อยู-่ กิน-ใช้แล้วเกิดความร่ มเย็นเกิดความสมดุลของระบบนิ เวศ นาแนวทางดังกล่าว มาประยุกต์ใช้ใน พื้นที่ทากินให้เป็ น ไร่ นาสวนผสม ส่ งเสริ มการปลูกต้นไม้ในป่ าชุมชนและขยายผลสู่ เยาวชนเกิด กระบวนการเรี ยนรู้พฤกษชาติ พันธ์ไม้และสัตว์ป่านา นา ชนิด ปัจจุบันป่ าต้ นนา้ พรุตาอ้ ายคงกลายเป็ นพื้นที่ ที่มีความอุดมสมบรูณ์ และเป็ นแหล่งอาหาร เป็ นแหล่งรายได้ให้แก่คนในชุมชนได้พ่ ึงพาตนเอง
-18การจ ัดการคร ัวเรือน /สั งคม ส่ งเสริ ม สนับสนุ นให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ มีปัจจัยที่เอื้อต่อการ
ดารงชีวิตที่ดี มีอาหาร พลังงาน ปัจจัยการผลิต และองค์ความรู้ ภูมิปัญญา วิถีชาวบ้าน การแบ่งปั นและการมี ส่ วนร่ วมของชุมชน และการปกป้ องสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัติย ์ นาวิถีพอเพียงมาใช้ในการดาเนิน ชีวติ บนพื้นฐานแห่งความพอดี ดังต่อไปนี้ ความพอดีทางจิตใจ o มีจิตใจเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ o มีจิตใจสานึกที่ดี o เอื้ออาทร ประนีประนอม o นึกถึงผลประโยชน์ส่วนรวมเป็ นหลัก ความพอดีดา้ นสังคมและการเรี ยนรู้ o ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน o รู้จกั สามัคคี o สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน o ชุมชนสื บทอดและใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น o ครัวเรื อนเรี ยนรู ้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจาวัน ความพอดีดา้ นเศรษฐกิจ o ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ใช้ชีวติ อย่างพอควร ลดละเลิกอบายมุข
o คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ มีภูมิคุม้ กัน มีการออมทรัพย์ มีการทาอาชีพเสริ ม o ไม่เสี่ ยงเกินไป การเผือ่ ทางเลือกสารอง การใช้พลังงานทดแทน ความพอดีดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม o รู ้จกั ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องต่อความต้องการและสภาพแวดล้อม o พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้าน o ขยายผลก่อให้เกิดประโยชน์กบั คนหมู่มาก
-19การพัฒนาชุ มชนให้ ยงั่ ยืนได้ ชุ มชนได้ ให้ ความสาคัญต่ อการพัฒนาคน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ งเสริ มการการเรี ยนรู ้และการมีส่วนร่ วมของคนในชุมชน โดยการรณรงค์ และ ประชาสัมพันธ์ให้คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดทาและทวนแผนชุมชนผ่านเวทีประชาคมหมู่บา้ นเพื่อ ร่ วมกันคิด และหาแนวทางแก้ไขปั ญหาของชุมชน โดยมุ่งเน้นให้คนในชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ มีการ กาหนดกิจกรรมที่พ่ งึ ตนเองมากขึ้น มีกิจกรรมพึ่งตนเอง ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 30 การบริ หารจัดการชุมชนแบบมีส่วนร่ วม การพึ่งตนเองและพึ่งพากันเองของคนในชุมชน รวมถึงการพึ่งพาทุนทางสังคมเดิมของชุมชนท่าตาเสื อ คนในชุมชนช่วยกันคิดแผน/กิจกรรม ว่าชุมชนจะ ทาอะไรด้วยตนเองได้บา้ ง จุดเริ่ มเกิดจากคนในชุมชนพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูล ความคิดเห็น ในเรื่ องราวต่างๆ ของคนในชุมชน พบว่าปั ญหาที่ตอ้ งแก้ไขโดยเร่ งด่วน เป็ นปั ญหาของส่ วนรวมทางด้านสังคม ปัญหา ปากท้อง การทากิน การพนัน ป่ าไม้ถูกทาลาย จากข้อมูล เหล่านี้ชุมชนนามาปรับสู่ กระบวนการ ทาแผนชุมชนพึ่งตนเอง บ้านท่าตาเสื อ คนในชุมชนมีส่วนร่ วมในการร่ วมคิด ร่ วมค้นหาว่าจะทาอย่างไร จะพึ่งตัวเองได้มากและพึ่งพาภายนอกเท่าที่จาเป็ น ชุมชนช่วยกันหาสาเหตุ และหาทางแก้ไข ทาให้เกิดการ เรี ยนรู ้ข้ ึนชุมชน เกิดความรัก ความสามัคดี ชุมชนมีแผนชุมชนพึ่งตนเอง สามารถทาได้และปฏิบตั ิได้เอง กว่าร้อยละ 30 กิจกรรม/โครงการที่บรรจุในแผนชุมชนพึ่งตนเอง ของบ้านท่าตาเสื อ กระบวนการปรับแผนชุ มชน 1. ผูน้ าชุมชนประชุมเพื่อรับทราบแนวทาง กรอบ แผนงาน โครงการ จากหน่วยงานภาคี ที่ให้การสนับสนุน
2. จัดเวทีประชาคมเพื่อปรับแผนชุมชน 3. นาข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช.2ค. และข้อมูลประกอบอื่น ๆ ของหมู่บา้ นข้อที่เป็ นปั ญหานามา เสนอเพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุ แนวทางแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึ้นภายในชุมชน 4. ประสานภาคีการพัฒนา การจัดทาแผน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาร่ วมแสดงความคิดเห็นและ ให้ขอ้ เสนอแนะ 5. โครงการกิจกรรมที่เกิดจากปั ญหาและความต้องการเร่ งด่วนของชุมชนนาเรี ยงลาดับ ความสาคัญ และจัดหมวดหมู่ให้อยูใ่ นแผนงาน กรอบยุทธศาสตร์ของจังหวัด 6. จัดหน่วยงานที่จะเข้ามารับผิดชอบบริ หารในเรื่ องงบประมาณของกิจกรรมโครงการที่ เสนอขอ 7. เน้นโครงการที่หมู่บา้ นสามารถดาเนิ นการได้เอง ขอรับการสนับสนุนเป็ นบางส่ วน หรื อ ขอรับการสนับสนุนทั้งหมด 8. ขอมมติที่ประชุมเห็นชอบโครงการที่เสนอ 9. จัดทารู ปเล่ม เพื่อส่ งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-20-
แผนชุมชนพึง่ ตนเอง รายละเอียดโครงการพัฒนา แผนงานด้ านการเรียนรู้ โครงการจัดประชุมประจาเดือน โครงการร่ วมพัฒนาในวันสาคัญต่างๆ โครงการอนุรักษ์ศิลปะและประเพรี พ้นื บ้าน โครงการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แผนงานด้ านการส่ งเสริมอาชี พ โครงการส่ งเสริ มปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ โครงการปลูกป่ าชุมชนและพืชสมุนไพร โครงการส่ งเสริ มอาชีพต่างๆ กลุ่มดอกไม้จนั ทน์ พวงหรี ด กลุ่มผูกผ้าในงานพิธีต่างๆ
โครงการกลุ่มปุ๋ ยหมัก-ปุ๋ ยน้ าชีวภาพ โครงการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ โครงการส่ งเสริ มปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษ โครงการจัดตั้งกลุ่มเลี้ยงโค โครงการปลูกป่ าชุมชนและพืชสมุนไพร โครงการส่ งเสริ มอาชีพต่างๆ กลุ่มดอกไม้จนั ทน์ พวงรี ด กลุ่มผูกผ้าในงานพิธีต่างๆ โครงการประชุมเชิงปฏิบตั ิการคณะกรรมการกลุ่มองค์กรในหมู่บา้ นเพื่อบริ การ จัดการที่มีประสิ ทธิภาพ แผนงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ ชุมชน (ด้ านการเกษตร) ส่ งเสริ ม อนุ รักษ์พืชพื้นบ้าน และการทาสวนแบบผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ส่ งเสริ มการปลูกพืชเศรษฐกิจ ส่ งเสริ มการเลี้ยงสัตว์เพื่อไว้จาหน่าย ส่ งเสริ มการแปรรู ปพืชผลทางการเกษตร แผนงานสนับสนุนชุ มชนให้ มีบทบาทรองรับความอ่ อนแอของครอบครัว รณรงค์ตา้ นยาเสพติด โครงการนวดแผนไทย สมุนไพรไทย โครงการสร้างกระบวนการมีส่านร่ วมกิจกรรมสาธารณะ โครงการลด ละ เลิก อบายมุข แผนการดูแลความอุดมสมบูรณ์ ของทรัพย์ และ สิ่ งแวดล้ อมของชุ มชน รณรงค์ให้ราษฎรปลูกต้นไม้ทดแทนและร่ วมอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม รณรงค์ให้ครัวเรื อนประหยัดพลังงานเพื่อลดสภาวะโลกร้อน จัดตั้งกลุ่มอาสาป้ องกันและพัฒนาพื้นที่สีเขียว -21-
ชุ มชนบ้ านท่ าตาเสื อ ได้มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้และสานึกถึงคุณค่าของทุนชุมชน ที่ เป็ นทรัพยากรที่มีคุณค่าแก่การอนุ รักษ์และสื บทอดองค์ความรู ้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทุนธรรมชาติ ของชุมชนไม่วา่ จะเป็ นดิน ป่ า ไม้ น้ า และได้มีการกาหนดให้มีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมไว้ในแผนชุ มชนผ่านเวทีประชาคม พร้อมนี้ได้นาแผนมาใช้ให้ เกิดประโยชน์ต่อคนใน ชุมชน โครงการปลูกป่ าชุมชน ลดโลกร้อน เช่นต้นทาเสา ต้นสะเดา ต้นตะเคียน เพื่อเป็ นกุาร อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดภาวะ โลกร้อน และเพื่อให้คนในชุมชน เด็ก เยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็ น ประโยชน์โดยการดูแลรักษาต้นไม้และเสริ มสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างกลุ่ม องค์กร ผูน้ าชุมชน
เป็ นจุดเรี ยนรู ้พฤกษชาติและธรรมชาติ เป็ นแหล่งรายได้จากการหาพืช ผลที่มีอยูต่ ามธรรมชาติ และคน ในชุมชนมีตน้ ไม้เพิ่มขึ้น ต้นช่วยลดภาวะโลกร้อนมีสภาพอากาศที่ดี พื้นที่ป่าชุมชนได้รับการอนุ รักษ์ ไม่ถูกทาลาย แนวคิดการพัฒนาทุนชุมชน
บานท าตาเสื อ ้ ่
จุดเริ่ มเกิดจากผูใ้ หญ่ถนอม จิ นดาพรหม ผูใ้ หญ่นกั พัฒนาหัวใจอรุ รักษ์ มีแนวคิดในการ ดูแลรักษาป่ าผืนนี้ไว้ต้ งั แต่สมัยที่เป็ นผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นมาก่อน เพราะอยากอนุ รักษ์ป่าผืนนี้ไว้ให้ลูกหลาน เราได้เห็น บ้านท่าตาเสื อ มีจุดเน้นของการพัฒนามุ่งที่ให้ชุมชนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนาการ ดารงชีวิตของคนในชุมชน การจัดการกับปั ญหาของชุมชน และรักษาไว้ให้มีอยูใ่ นชุมชน ให้คงอยู่ โดยไม่ทาลายรากฐานด้านทรัพยากรธรรมชาติ และการตระหนักสภาพอากาศโลกแปรปรวน สาเหตุ หลักเกิดขึ้นจากฝี มือมนุษย์ที่ทาลายสภาพแวดล้อมเสี ยหายอย่างหนัก ชุมชนบ้านท่าตาเสื อมีที่ป่าต้นน้ า ที่คนในชุมชนรัก และหวงแหน ต้องการอนุ รักษ์ไว้ให้อยู่ คู่ชุมชน จึงได้ช่วยกันรณรงค์ ส่ งเสริ มการ ปลูกต้นไม้ ปลูกป่ าชุมชนและ เพื่อลดโลกร้อน นาความรู ้สู่ชุมชน กิจกรรมที่ช่วยลดการก่อให้เกิด ภาวะโลกร้อนภายในชุมชนของตนเอง จึงชักชวนส่ งเสริ มให้คนในชุมชนร่ วมกันอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม
การปลูกต้ นไม้ เพื่อชุ มชน บ้านท่าตาเสื อ เป็ นความต้องการของคนในชุมชนอย่างแท้จริ ง และสามารถเป็ นแนวคิดต้นแบบ ของหมู่บา้ น/ชุมชนอื่นได้ ประโยชน์ที่ได้รับจากการดาเนินโครงการ ดังนี้ ชุมชนเกิดกระบวนการเรี ยนรู ้และภูมิใจในถิ่นกาเนิ ด เปิ ดโอกาสให้ประชาชนในทุกครัวเรื อน ได้ร่วมการพัฒนาหมู่บา้ น การวางแผนการบริ หารจัดการโครงการปลูกต้นไม้เพื่อชุมชน โดยการปลูกต้นไม้เช่น ต้นทาเสา ต้นสะเดา บริ เวณพื้นที่ป่าชุมชน เป็ นสถานที่พกั ผ่อนของหมู่บา้ น
ลดมลพิษและภาวะโลกร้อน สามารถใช้ประโยชน์จากต้นไม้ เป็ นจุดเรี ยนรู ้ความหลากหลายทางชีวภาพแก่นกั เรี ยน และ เยาวชน ประชาชนสามารถหาของป่ ามาเป็ นอาหารและขายเพิ่มรายได้เสริ มเช่น กล้วยไม้ป่า,พืช ผัก สมุนไพร มีการรวบรวมความหลากหลายทางชีวภาพ รวบรวมองค์ความรู้
-22-
การปลูกต้ นไม้ เพื่อชุ มชน บ้านท่าตาเสื อ เป็ นความต้องการของคนในชุมชนอย่างแท้จริ ง และสามารถเป็ นแนวคิดต้นแบบ ของหมู่บา้ น/ชุมชนอื่นได้ ประโยชน์ที่ได้รับจากการดาเนินโครงการ ดังนี้ ชุมชนเกิดกระบวนการเรี ยนรู ้และภูมิใจในถิ่นกาเนิ ด เปิ ดโอกาสให้ประชาชนในทุกครัวเรื อน ได้ร่วมการพัฒนาหมู่บา้ น การวางแผนการบริ หารจัดการโครงการปลูกต้นไม้เพื่อชุมชน โดยการปลูกต้นไม้เช่น ต้นทาเสา ต้นสะเดา บริ เวณพื้นที่ป่าชุมชน เป็ นสถานที่พกั ผ่อนของหมู่บา้ น ลดมลพิษและภาวะโลกร้อน สามารถใช้ประโยชน์จากต้นไม้ เป็ นจุดเรี ยนรู ้ความหลากหลายทางชีวภาพแก่นกั เรี ยน และ เยาวชน ประชาชนสามารถหาของป่ ามาเป็ นอาหารและขายเพิ่มรายได้เสริ มเช่น กล้วยไม้ป่า,พืช ผัก สมุนไพร
-23-
การจ ัดการความรูข ้ องชุมชน นาความรู ้คืนสู่ ชุมชนเพื่อสารวจ ค้นหา รวบรวมและ
บันทึก ภูมิปัญญาสามารถถ่ายทอดบรรพบุรุษจากสู่ คนรุ่ นหลัง สามารถเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์มีการจัดการ ความรู้ชุมชน ภูมิปัญญาได้รับการรวบรวมและ จดบันทึก มีองค์ความรู้ที่สามารถเป็ นต้นแบบและมีการดารง อยู่ สื บทอด จากรุ่ นหนึ่ งสู่ อีกรุ่ นหนึ่ง จากคนในครอบครัว /เพื่อนบ้านใกล้เคียง เช่น พ่อแม่สั่งสอนลูกว่า สมุนไพรชนิดนี้ ใช้ทาอะไร การเป็ นลูกมือ การเป็ นผูช้ ่วยงานในครอบครัว ชุมชนบ้านท่าตาเสื อ เป็ นชุมชนที่มีผนู ้ าเป็ นผูใ้ หญ่ ที่เข้มแข็งและมุง่ มัน่ ที่จะทางานพัฒนา บ้านเกิด รักและหวงแหนป่ าไม้ แหล่งน้ า และการอนุ รักษ์ ดิน น้ า ได้ศึกษาเรี ยนรู ้วธิ ี การและการบริ หารจัดการ ชุมชนให้มีประสิ ทธิ ภาพและคงอยู่ สนับสนุนและส่ งเสริ มให้คนในชุมชน เกิดการเรี ยนรู ้ โดยการลงมือปฏิบตั ิ และเป็ นต้นแบบแก่ชุมชน ทาความรู ้จกั ความเข้าใจ และ ช่วยเหลือซึ่ งกันและกันในการสร้างและใช้ความรู ้ ชุมชน เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชีวติ ความเป็ นอยูข่ องคนในชุมชน องค์ความรู ้ที่ชุมชนมีการแลกเปลี่ยนและถ่ายทอด นาไปใช้ในการประกอบอาชีพ เป็ นการ บารุ งรักษาดิน และลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร อีกทั้งยังส่ งผลดีต่อสุ ขภาพ ที่ไม่ตอ้ ง สัมผัสกับสารเคมี และการศึกษาพันธ์ไม้ สิ่ งมีชีวติ ที่อาศัยในป่ าพรุ่ เพื่อเก็บรวบรวม และศึกษาต่อไป การทาปุ๋ ยน้ าชีวภาพจากปลา การทาน้ าหมักชีวภาพจากเศษผัก ผลไม้ การสารวจความหลากหลายทางชีวภาพของป่ าพรุ่
-24-
นา้ หม ักชวี ภาพจากเศษพืช ผลไม้
วิธีทา นา้ หมักชีวภาพ นา้ หมักชีวภาพ หรือ นา้ สกัดชีวภาพ หรือ ปุ๋ ยน้าจุลนิ ทรีย์ ทาเพื่อใช้ประโยชน์ทางการเกษตร วิธีทา น้ าหมักชีวภาพ เพื่อการเกษตร สามารถเลือกส่ วนผสมจาก พืช ผลไม้ สุก ส่ วนผสม : เราสามารถเลือกส่ วนผสมจาก พืช ผลไม้สุก หรื อสัตว์ อย่างหอยเชอรี่ อย่างใดอย่างหนึ่ง ในการทาน้ าหมักชีวภาพ โดยสับเป็ นชิ้นเล็ก 3 ส่ วน, กากน้ าตาล 1 ส่ วน (อาจใช้น้ าตาลทรายแดง หรื อน้ าตาล ทรายขาว ผสมน้ ามะพร้าว 1 ส่ วนแทนได้) น้ าเปล่า 10 ส่ วน วิธีทา : นาส่ วนผสมทั้งหมดมาคลุกเคล้ากัน แล้วบรรจุลงในถังหมักพลาสติก หรื อขวดปิ ดฝาเก็บไว้ใน ที่ร่ม นานประมาณ 3 เดือน แล้วจึงสามารถนาไปใส่ เป็ นปุ๋ ยให้พืชผักผลไม้ได้ โดย ใช้น้ าหมักชีวภาพ อัตราส่ วน 10 ซี ซี ต่อน้ า 20 ลิตร เพื่อบารุ งใบพืชผักผลไม้ ใช้น้ าหมักชีวภาพอัตราส่ วน 15-20 ซี ซี ต่อน้ า 20 ลิตร เพื่อปรับปรุ งบารุ งดิน ให้ดินร่ วนซุ ย ใช้น้ าหมักชีวภาพ อัตราส่ วน 1 ส่ วน น้ า 1 ส่ วน เพื่อกาจัดวัชพืช นอกจากนี้ หากใช้สายยางดูดเฉพาะน้ าใส ๆ จากน้ าหมักชีวภาพที่หมักได้ 3 เดือนแล้วออกมา จะเรี ยก ส่ วนนี้วา่ "หัวเชื้อนา้ หมักชีวภาพ" เมื่อนาไปผสมอีกครั้ง แล้วหมักไว้ 2 เดือน จะได้หวั เชื้อน้ าหมักชีวภาพ อายุ 5 เดือน ซึ่ งหากขยายต่ออายุทุก ๆ 2 เดือน จะได้หวั เชื้ อที่อายุมากขึ้นเรื่ อย ๆ และประสิ ทธิ ภาพสู งมากขึ้น
-25-
น้ำหมักชีวภำพที่ผลิตจำกสัตว์ นา้ หมักชีวภาพจากปลา - วัสดุอุปกรณ์ อัตราส่ วนต่อ 1 ถัง 200 ลิตร 1. ปลาสด 40 กก. 2. กากน้ าตาล 20 กก. 3. สารเร่ งผลิตปุ๋ ยหมัก 200 กก. (1 ซอง) 4. น้ า -วิธีการ 1. เตรี ยมสารเร่ งผลิตปุ๋ ยหมัก 1 ซอง ละลายน้ าอุ่นประมาณ 20 ลิตร คนให้เข้ากันประมาณ15 – 30 นาที (อย่าให้น้ านิ่ง) 2. นาปลาสดและกากน้ าตาล ที่เตรี ยมไว้ใส่ ถงั 200 ลิตร และนาสารเร่ งทาปุ๋ ยหมักที่เตรี ยมเสร็ จแล้วใส่ ใน ถังรวมกับปลาสด และกากน้ าตาล 3. ใส่ น้ าพอท่วมตัวปลา ( ½ ถัง ) แล้วคนให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิปกติ ( 30 – 35 องศา ) ไม่ปิดฝา ก่อนที่จะนาไปใช้ จะได้ปุ๋ยชี วภาพ 200 ลิตร
อัตราการใช้ ปุ๋ ยชีวภาพ น้ า ฉี ดพ่นทางใบ 1 ลิตร 200 ลิตร ราดโคน 1 ลิตร 200 ลิตร น้ าหมักชีวภาพ มีธาตุอาหารสาคัญ ทั้งไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตสเซี ยม แคลเซี ยม กามะถัน ฯลฯ จึงสามารถนาไปเป็ นปุ๋ ย เร่ งอัตราการเจริ ญเติบโตของพืช เพิ่มคุณภาพของผลผลิตให้ดีข้ ึน และ ยังสามารถใช้ไล่แมลงศัตรู พืชได้ดว้ ย
-26-
การสารวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในป่ าพรุ่ ตาอ้ าย ความอุดมสมบูรณ์ของพันธุไ์ ม้ ท่หี ลากหลาย สายนา้ ที่อุดมสมบูรณ์จากตานา้ ในป่ าพรุตาอ้ าย เป็ น เสมือนเส้ นเลือดใหญ่ท่หี ล่อเลี้ยงชุมชนให้ อยู่ดีกนิ ดี และมีชีวิตที่ร่มเย็นเป็ นสุข พรุตาอ้ายยังเป็ น เสมือนที่ ให้ เด็กๆ มาวิ่งเล่นและลงเล่นนา้ กันอย่างสนุกสนาน รวมทั้งเป็ นห้ องเรียนธรรมชาติท่สี อนให้ เด็กๆ ในหมู่บ้านเข้ าใจเกี่ยวกับธรรมชาติ และสิ่งแวด ล้ อมที่อยู่รอบตัว และเป็ นแหล่งอาหารที่เกิดจากความอุดม สมบูรณ์ทางชีวภาพ ชุมชนบ้ านท่าตาเสือ ให้ ความสาคัญกับทรัพยากรธรราชาติท้งั ป่ า ดิน นา้ เนื่องจาก ตระหนักในความสาคัญของธรรมชาติ หากพื้นที่ป่าถูกทาลาย ส่วนใหญ่กด็ ้ วยฝี มือของมนุษย์ ทาให้ เกิดผล กระทบทั้งด้ าน สภาพอากาศ ความแห้ งแล้ ง แหล่งอาหารขาดความอุดมสมบูรณ์ ดินก็เช่นกันหากมนุษย์ เราใช้ สารเคมี ก็จะมีสารตกค้ างในดินทาให้ ดินกระด้ าง ดินเปรี้ยว บ้ านท่าตาเสือจึงรวมกลุ่มกันทาเกษตร อินทรย์หันมาใช้ นา้ หมักชีวภาพที่ทาจากพืช ผลไม้ และสัตว์ สาหรับนา้ มนุษย์เราขาดไฟฟ้ า ขาดนา้ มัน เรายังคงดารงชีวิตอยู่ได้ แต่ถ้าเราขาดนา้ หล่อเลี้ยงชีวิต มนุษย์เราคงอยู่ไม่ได้ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ โดยรวม บ้ านท่าตาเสือจึงเห็นความสาคัญของธรรมชาติ จัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ โดยมีการสารวจพบ ความหลากหลายทางขีวภาพ ดังนี้ ป่ าพรุ่ ตาอ้าย คือ ป่ าที่มีพ้นื ที่ลุ่มน้ าขังดินเป็ นหล่มเลนและมีซากอินทรี ย ์ วัตถุทบั ถมทาให้ดิน ยุบลงตัวได้ง่าย พืชที่ข้ ึนในป่ าพรุ จึงมีการพัฒนาและมีความหลากหลาย ป่ าพรุ เป็ นป่ าที่มีลกั ษณะ เด่น พื้นที่เดิมชั้นล่างเป็ นดินเลนทะเล มีสารประกอบกามะถัน ดินในป่ าพรุ เกิดจากการสะสมของซาก อินทรี ย ์ วัตถุ เช่น เศษไม้ และใบไม้ เป็ นเวลานานทับถมเป็ นชั้นหนา ซากพืชและอินทรี ยว์ ตั ถุส่วนใหญ่ จะจมอยูใ่ ต้ผวิ น้ า เรี ยกดิน ชนิดนี้วา่ ดินอินทรี ย ์ ป่ าพรุ่ ตาอ้ายเป็ นป่ าที่อุม้ น้ า น้ าจากดิน ที่ไม่เคยแห้งจาก แหล่งมีน้ าไหลผ่าน 2 ตาบลหล่อเลี้ยงผูค้ น กว่า 1,000 ครัวเรื อนมานานนับสิ บ ๆ ปี
-27-
ลักษณะของดิน พื้นที่เดิมชั้นล่างเป็ นดินเลนทะเล มีสารประกอบกามะถัน ดินในป่ าพรุ เกิดจากการสะสมของซาก อินทรี ย ์ วัตถุ เช่น เศษไม้ และใบไม้ เป็ นเวลานานทับถมเป็ นชั้นหนา ซากพืชและอินทรี ยวัตถุส่วน ใหญ่จะจมอยูใ่ ต้ผวิ น้ า จึงสลายได้อย่างเชื่องช้า เราเรี ยกดินชนิดนี้ วา่ ดินอินทรี ย ์ ลักษณะของดิน อินทรี ย ์ เป็ นสี น้ าตาลน้ าหนักเบาและ อุม้ น้ าได้ดี
ลักษณะของนา้ ป่ าพรุ มีน้ าแช่ขงั ตลอดปี การไหลเวียนของน้ าเป็ นไปอย่างช้า ๆ กระแสน้ าไหลเอื่อย ๆ ไม่หยุดนิ่ง สี ของน้ า เป็ นสี น้ าตาลคล้ายน้ าชา
-28-
พืชพันธุ์ไม้ ป่ าพรุ่ ตาอ้าย พื้นที่พรุ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยน้ าและดินอินทรี ย ์ ซึ่ งทับถมกันอยูห่ ลวม ๆ การดารงชีวิต อยูข่ องพืชโดยเฉพาะต้นไม้ใหญ่จึงเป็ นไปอย่างยากลาบาก พืชในป่ าพรุ จึงมีการพัฒนาระบบราก ชนิดพิเศษ แตกต่างไปจากระบบรากของพืชในป่ าประเภทอื่น ๆ เช่นต้นธงฟ้ า กาน้ า เตยน้ า ชมพู่น้ า ตะเคียน เต่าร้าง เพกาน้ า ปุก ทาเสา ขนุนป่ า หลาโอน ทือ กล้วยไม้ป่า ข่าน หว้าป่ า หาด ส้มกวาง เสม็ดขาว เสม็ดชุน หลุมพี หมากแดง หวาย กระจูด เป็ นต้น
เสม็ดขาว เป็ นไม้ตน้ สู ง5-25 เมตร เปลือกสี ขาวนวล เป็ นแผ่นบางๆ เรี ยงซ้อนกันเป็ นปึ กหนานุ่ม เปลือกชั้นในบางสี น้ าตาลยอดอ่อนกิ่ง อ่อน และใบอ่อน มีขนสี ขาวเป็ นมันคล้ายเส้นไหม ดอกมีขนาดเล็ก สี ขาว ออก 1-3 ดอก ตามง่ามใบ ส่ วนใหญ่ใบลดรู ปลงทาให้มองดูคล้าย ช่อแบบหางกระรอก
หลุมพี เป็ นพืชพวกปาล์ม ลาต้นสั้น แตกหน่อเป็ นกอใหญ่ ใบเป็ นใบ ประกอบ รู ปขนนก ก้านใบและกาบใบ มีหนามยาวแหลม เรี ยงเป็ นแผง มีใบย่อยเรี ยวยาว ปลายแหลม เรี ยงเป็ นระเบียบ สองข้างก้านช่อใบ ดอกมีขนาดเล็ก สี แดง ผลเป็ นรู ปไข่ มีเปลือกเป็ นเกล็ดเล็กๆ เรี ยงเกย ซ้อนกัน เยือ่ หุ ม้ เมล็ดกินได้
เต่ าร้ าง เป็ นพืชตระกูลปาล์ม พบทัว่ ไปในป่ าดิบทุกแห่ง ชอบขึ้นใน บริ เวณที่มีความชุ่มชื้นสู ง บางต้นเตี้ย บางต้นสู งถึง 8 เมตร เนื้ออ่อน ข้างในตรงบริ เวณคอต้นรับประทานได้ แต่ตอ้ งทาให้สุกเสี ยก่อนเพราะ ยางของพืชชนิดนี้ โดยเฉพาะยางจากผล เมื่อถูกผิวหนังจะเกิดอาการคัน หรื อถ้าเข้าตาอาจทาให้ตาบอดได้
หมากแดง เป็ นพืชพวกปาล์ม ลาต้นแตกหน่อ เป็ นกอใหญ่ สู ง 5-15 เมตร ยอดเป็ น ลาแหลม หุม้ ด้วยกาบใบสี แดง ใบเป็ นใบประกอบ รู ป ขนนก ก้านช่อใบสี แดง มีใบย่อยรู ปเรี ยวแคบ ปลายแหลม เรี ยงเป็ น ระเบียบ ด้านบนสี เขียวเข้ม ด้านล่างสี นวลแป้ ง ดอกมีขนาดเล็ก
กกสามเหลีย่ ม เป็ นพืชล้มลุกอายุหลายฤดู ขึ้นได้ท้ งั ในน้ าตื้นและน้ า ไหล เช่นในนาข้าว และคันคูน้ าทัว่ ไป แตกเป็ นกอขนาดใหญ่ สู ง 1-2 เมตร ใบยาว 50-100 เซนติเมตร ลักษณะใบค่อนข้างกว้างเป็ นร่ อง ปลายใบแหลม ดอกออกเป็ นช่อรวม มีกา้ นช่อดอกเป็ นรู ปสามเหลี่ยม ขนาดใหญ่ มีใบประดับ 3 ใบรองรับช่อดอก ช่อดอกย่อยมีดอกขนาด เล็กเป็ นจานวนมาก สี น้ าตาล
สั ตว์ ในป่ าพรุ นอกจากพืชพันธุ์ไม้ มีสัตว์ที่เข้ามาอาศัยอยูเ่ นื่องจากป่ าพรุ เป็ นพื้นที่ลุ่มน้ าขัง ดังนั้นพื้นที่ป่าเป็ นพื้นน้ าก็จะมี พวกปลาอาศัย เช่น ปลาดุก ปูหิน ปูราชินี ปลาช่อน ปลาชะโด สัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ าพวก กบ เขียด สัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนมที่พบ เช่น ค่างแว่น ลิง เก้ง นก ชาวบ้านได้ใช้ประโยชน์จากของป่ าเป็ นอาหารและขาย เพิ่มรายได้
-31-
ื ปลายทางของการพ ัฒนาทีย ่ ง่ ั ยืน บ้านท่าตาเสอ ตามแนวคิดของผูจ้ ดั ทาโครงการ ที่ได้จากประสบการณ์ การสังเกต การเรี ยนรู้จากตารา การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบั ผูน้ าชุมชน และจากรุ่ นสุ่ รุ่นในสายอาชีพการเป็ นนักพัฒนา รณรงค์ ส่ งเสริ มให้คนในชุมชนมีส่วนร่ วม ในกิจกรรมการพัฒนาชุมชน “คนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนา” สู่ การพัฒนา ที่ยงั่ ยืน ทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เพื่อการอยูด่ ีมีสุขของคนในชุมชน ผูน้ า/แกนนา/กลุ่ม องค์กร ประชาชนควรหันหน้าเข้าหากัน ร่ วมทุก ร่ วมสุ ข ปรับเปลียนทัศนคติ ความคิด แบบเดิม ๆ มาเห็นความสาคัญของกันและกัน อยูร่ วมกันบนพื้นฐานของความรัก สามัคคี และทุกคนควร ได้รับการปฏิบตั ิต่อกันด้วยความเสมอภาค และยุติธรรม มีการแบ่งปั น มีจิตใจที่พอเพียง อยูอ่ ย่างเพียงพอ การพัฒนาทีย ่ ั่งยืน รากฐานสาคัญคือมนุษย์ ชุมชนควรมีการปลูกฝั ง
เศรษฐกิจ เศรษฐกิจชุมชนที่มีรากฐานมัน่ คง มีขีดความสามารถในการแข่งขันและสามารถ พึ่งตนเองได้ มีการรวมกลุ่มพัฒนาอาชีพ การลดต้นทุนการผลิต และอานาจการต่อรองทางการตลาดโดยมีการ รวมกลุ่มกันในรู ปของสหกรณ์ บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั เป็ นแนวคิดหลัก สั งคม ส่ งเสริ มการพัฒนาทางด้านจิตใจ และเอื้อเฟื้ อแบ่งปั น ตามวิถีชนบท ที่ยงั ต้องอนุรักษ์ไว้ ซึ่งขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้คนเราอาศัย ดารงชีวิตไม่เบียดและทาลายผูอ้ ื่น รวมทั้งธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ต้องช่วยกันอนุ รักษ์และรักษาไว้ ให้เกิดความสมดุลของระบบ นิเวศ ป่ ามีน้ า น้ ามีสัตว์ ป่ าและสัตว์ หล่อเลี่ยงคนและสิ่ งมีชิวติ หากอยูร่ ่ วมกันโดยไม่เบียดเบียนกัน คนและ ป่ า สัตว์ จะอยูก่ นั ได้มีแต่คุณไม่เกิดโทษ