ห น้ า | ๑
ห น้ า | ๒
ส่วนที่ 1 : ข้อมูลทั่วไป
ห น้ า | ๓
ขนาดและที่ตั้ง จังหวัดชุมพรตั้งอยู่ทางทิศใต้ของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ตามทางหลวงหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ระยะทางประมาณ ๔๖๓ กิโ ลเมตร และตามทางรถไฟสายใต้ ระยะทางประมาณ ๔๘๕ กิโลเมตร มีอาณาเขตดังต่อไปนี้ ๑. ทิศเหนือ ติดต่อกับ อาเภอบางสะพานน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๒. ทิศใต้ ติดต่อกับ อาเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ๓ .ทิศตะวันออก ติดต่อกับทะเลอ่าวไทย ๔. ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อาเภอกระบุรี จังหวัดระนอง
เขตการปกครองและประชากร จังหวัดชุมพร มีพื้นที่ทั้งหมด จานวน ๖,๐๑๐,๘๔๙ ตารางกิโลเมตร หรือ ๓๗๕ ล้านไร่ การปกครอง จังหวัดชุมพร มีการแบ่งการปกครองออกเป็น ๘ อาเภอ ๗๐ ตาบล ๗๔๓ หมู่บ้าน ๒๕ เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตาบล จานวน ๕๓ แห่ง
ตารางแสดงการแบ่งเขตการปกครอง อาเภอ ๑ อาเภอเมือง ๒ อาเภอท่าแซะ ๓ อาเภอปะทิว ๔ อาเภอสวี ๕ อาเภอทุ่งตะโก ๖ อาเภอหลังสวน ๗ อาเภอพะโต๊ะ ๘ อาเภอละแม รวม
ตาบล
หมู่บ้าน
๑๗ ๑๐ ๗ ๑๑ ๔ ๑๓ ๔ ๔ ๗๐
๑๖๐ ๑๑๗ ๗๕ ๑๑๕ ๓๕ ๑๔๘ ๔๗ ๔๖ ๗๔๓
เทศบาลเมือง เทศบาลตาบล ๑ ๑ ๒
๙ ๒ ๖ ๑ ๒ ๑ ๑ ๑ 2๓
อบต.
สภาตาบล
๙ ๑๐ ๔ ๑๐ ๒ ๑๐ ๔ ๔ ๕๓
-
ประชากร จานวนครัวเรือน 99,745 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 296,532 คน แยกเป็นประชากรชาย 146,659 คน และประชากรหญิง 149,864 คน (ข้อมูล จปฐ. ปี ๒๕๕7 จ.ชุมพร)
ห น้ า | ๔
ห น้ า | ๕
ห น้ า | ๖
ยุทธศาสตร์สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร วิสัยทัศน์สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร (Vision) “เป็นหน่วยงานหลักในการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง”
พันธกิจ (Mission) - สร้างพลังชุมชน - สร้างกระบวนการจัดการความรู้ - สร้างกระบวนการบริหารจัดการชุมชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) : ๑. พัฒนาคุณภาพชีวิต ๒. พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๓. พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๔. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ๕. เสริมสร้างขีดสมรรถนะองค์กร
กลยุทธ์ (Strategy) : ๑.แก้ปัญหาความยากจนเชิงบูรณาการ ๒.การพัฒนาคุณภาพชีวิต ๓.การส่งเสริม และพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ๔.พัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP 5.พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP 6.ส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์ OTOP ๗.ส่งเสริมธรรมาภิบาลของกองทุนชุมชน ๘.เพิ่มขีดความสามารถผู้นาองค์กรเครือข่าย ๙.ขับเคลื่อนและบูรณาการแผนชุมชนสู่การปฏิบัติ ๑๐.บริหารจัดการข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบทไทย 11.พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ๑2.พัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์ ๑3.พัฒนาระบบการจัดการความรู้ ๑4.พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร
เป้าหมาย : “ชุมชนเข้มแข็ง ครอบครัวมีคุณภาพชีวิตดีมีความสุข ประชาชนดารงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจ พอเพียง”
ห น้ า | ๗
ห น้ า | ๘
1.2 ข้อมูลอัตรากาลังสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร ลาดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
กลุ่ม/ฝ่าย/อาเภอ พัฒนาการจังหวัด กลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน กลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน กลุ่มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน ฝ่ายอานวยการ อาเภอเมืองชุมพร อาเภอสวี อาเภอทุ่งตะโก อาเภอหลังสวน อาเภอละแม อาเภอพะโต๊ะ อาเภอท่าแซะ อาเภอปะทิว รวม
จานวน ตาบล 16 11 3 11 4 4 10 7 66
จานวน หมู่บ้าน 151 113 30 139 46 44 116 73 712
พจ./พอ. และหัวหน้า กลุ่ม/ฝ่าย (คน)
1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 13
จนท. (คน) 2 6 1 6 7 6 3 6 2 2 6 4 50
รวม (คน) 1 3 7 2 7 8 7 4 7 3 3 7 5 64
ห น้ า | ๙
1.3 สรุปงบประมาณและแผนงานโครงการที่ดาเนินการ ปี 2557 สรุปยอดการจัดสรรงบประมาณกิจกรรมตามยุทธศาสตร์กรมฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2557 จากการดาเนินงาน 2 ผลผลิต 1 โครงการ 5 กิจกรรมหลัก
ห น้ า | ๑๐
ส่วนที่ 2 : สรุปผลการปฏิบัติงาน ส่วนที่ 1 : สรุปผลสาเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามคารับรองการปฏิบัติราชการกรมฯ (PA), แผนปฏิบัติ ราชการกรมฯ,แผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปี พ.ศ.2557 และนโยบายสาคัญ ของรัฐบาลที่รับผิดชอบ
2.1 สรุปผลสาเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามคารับรองการปฏิบัติราชการกรมฯ (PA) จาก ระบบรายงาน online realtime ระบบรายงาน PA 57 ได้ ๕ คะแนน ๕ ตัวชี้วัด คะแนน SAR ในภาพรวม 4.98
ตัวชี้วัดที่ ๑.๑ จานวนครัวเรือนยากจน (ทั้งประเทศ) เป้าหมายครัวเรือนยากจน เป้าหมายที่มีรายได้เฉลี่ยต่ากว่าเกณฑ์ จปฐ.30,000 บาท/คน/ปี คงเหลือหลังดาเนินการ ๑ ครัวเรือน ผลการดาเนินงาน 0 ครัวเรือน ตัวชี้วัดที่ 1.2 จานวนผลิตภัณฑ์ OTOP ในกลุ่มปรับตัวสู่การพัฒนา (กลุม่ D) ได้รับ การพัฒนาและยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ เป้าหมาย ๔๓ กลุม่ ผลการดาเนินงาน ๔๓ กลุ่ม ตัวชี้วัดที่ 1.3 จานวน ที่มกี ารบูรณาการกิจกรรม การพัฒนาเพื่อให้มีความสุขมวลรวม เป้าหมาย ๓๘ หมู่บ้าน ผลการดาเนินงาน ๓๘ หมู่บ้าน
ห น้ า | ๑๑
ตัวชี้วัดที่ 1.4 ร้อยละของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตที่ได้รับการส่งเสริมธรรมาภิบาล เป้าหมาย ๓๒ กลุ่ม ผลการดาเนินงาน ๓๒ กลุ่ม ตัวชี้วัดที่ 1.5 รายได้จากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) เพิ่มขึ้นเป็น 92,000 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2557 เป้าหมาย ๕๗๐,๕๒๘,๓๙๒.๕๐ บาท ผลการดาเนินงาน ๖๕๙,๓๖๕,๗๓๕ บาท
ห น้ า | ๑๒
2.2 สรุปผลสาเร็จของการบรรลุเป้าหมายการดาเนินงานนโยบายสาคัญของรัฐบาลที่รับผิดชอบ 2.2.1 การดาเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดชุมพร สรุปข้อมูลผลการดาเนินงานรับสมัครสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (เดือน ตุลาคม ๒๕๕๖ - ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๗) ฐานข้อมูล (๑) ข้อมูลจานวนสตรีที่สมัคร (๒) จานวนสตรีรับสมัครเพิ่มร้อยละ ๖๐(๓) จานวนสตรี ผ่านการ สมัครปัจจุบัน สมัครเพิ่มขึ้น ร้อยละที่ เป้าหมาย สมัคร ณ ร้อยละของ อาเภอ (๑.๑) ตรวจสอบ ณ ร้อยละ (ยอดรวมทั้งหมด) ร้อยละ (ต.ค.๕๖ เพิ่มขึ้น (คน) ต.ค.๕๖ - เป้าหมาย ปี ๒๕๕๖ (๑.๒) (๒.๑) พ.ค.๕๗) (๓.๑) พ.ค.๕๗ (๓.๒) เมืองชุมพร ๓๖,๒๖๗ ๑๕,๒๔๓ ๔๒.๐๓ ๑๙,๔๔๐ ๕๓.๖๐ ๔,๑๙๗ ๒๗.๕๓ ๖,๕๑๗ ๔,๑๙๗ ๖๔.๔๐ หลังสวน ๒๒,๕๕๘ ๑๐,๖๑๓ ๔๗.๐๕ ๑๐,๖๘๕ ๔๗.๓๖ ๗๒ ๐.๖๗ ๒,๙๒๒ ๗๒ ๒.๔๖ สวี ๒๗,๗๖๓ ๑๑,๘๘๔ ๔๒.๘๑ ๑๕,๑๘๒ ๕๔.๖๘ ๓,๒๙๘ ๒๗.๗๕ ๔,๗๗๔ ๓,๒๙๘ ๖๙.๐๘ ท่าแซะ ๓๐,๘๖๖ ๑๐,๘๘๗ ๓๕.๒๗ ๑๙,๘๖๘ ๖๔.๓๖ ๘,๙๘๑ ๘๒.๔๙ ๗,๖๓๓ ๘,๙๘๑ ๑๒๕.๙๐ ปะทิว ๑๕,๗๗๖ ๙,๗๔๓ ๖๑.๗๖ ๙,๘๒๗ ๖๒.๒๙ ๘๔ ๐.๘๖ ๘๔ ๘๔ ทุ่งตะโก ๘,๓๐๗ ๔,๓๒๕ ๕๒.๐๖ ๔,๓๔๒ ๕๒.๒๖ ๑๗ ๐.๓๙ ๖๕๙ ๑๗ ๒.๕๗ ละแม ๑๐,๓๐๖ ๕,๐๑๔ ๔๘.๖๕ ๕,๐๓๔ ๔๘.๘๔ ๒๐ ๐.๓๙ ๑,๑๗๐ ๒๐ ๑.๗๐ พะโต๊ะ ๘,๔๖๔ ๓,๔๒๘ ๔๐.๕๐ ๕,๒๓๑ ๖๑.๘๐ ๑,๘๐๓ ๕๒.๕๙ ๑,๖๕๐ ๑,๘๐๓ ๑๐๙.๒๗ รวม ๑๖๐,๓๐๗ ๗๑,๑๓๘ ๔๔.๓๘ ๘๙,๕๒๙ ๕๕.๘๔ ๑๘,๔๗๒ ๒๕.๘๕ ๒๕,๓๒๕ ๑๘,๔๗๒ ๗๒.๙๓ หมายเหตุ : ๑) ฐานข้อมูลจานวนสตรี (๑.๑)และ(๑.๒) ใช้ฐานข้อมูลทางกรมการปกครอง ตามหนังสือที่แจ้งอาเภอ ที่ ชพ ๐๐๑๙/๐๐๑๕๘ ลงวันที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๗ ๒) ข้อมูลจานวนสตรีที่สมัคร (๒.๑) เป็นยอดรวมจานวนสตรีทั้งที่ผ่านการตรวจสอบ ไม่ผ่านการตรวจสอบและรอการตรวจสอบ จากเว็บไซต์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ณ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ๓) จานวนสตรีที่รับสมัครเพิ่มขึ้น (๒.๒) เท่ากับ ข้อ ๒.๑ - ข้อ ๑.๒
ห น้ า | ๑๓
ข้อมูลผลการอนุมัติงบประมาณตามโครงการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดชุมพร ข้อมูล ณ วันที่ ๒๖กรกฎาคม 2๕๕๖ ที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
อาเภอ
เงินทุนหมุนเวียน โครงการ งบประมาณ 119 11,215,516 30 3,427,622 114 10,976,250 125 14,294,323 39 4,486,250 80 10,859,727 28 2,758,040 18 1,686,500
เมืองชุมพร หลังสวน สวี ท่าแซะ ปะทิว ทุ่งตะโก ละแม พะโต๊ะ รวม 553 ฐานงบเงินทุนหมุนเวียน
59,704,228 56,000,000
ร้อยละ งบประมาณ 20.03 6.12 19.60 25.53 8.01 19.39 4.93 3.01
เงินอุดหนุน โครงการ งบประมาณ ๓๕ 2,469,515 27 1,973,348 18 1,217,950 29 1,973,296 29 1,751,605 21 908,660 26 1,718,060 20 1,251,000
106.61
๒๐๕ 13,263,434 งบอุด หนุน 13,580,000
๑๘.๑๘ ๑๔.๕๓ ๘.๙๗ ๑๔.๕๓ ๑๒.๙๐ ๖.๖๙ ๑๒.๖๕ ๙.๒๑
รวม ร้อยละ งบประมาณ ของงบประมาณ ๑๓,๖๘๕,๐๓๑ ๑๙.๖๗ ๕,๔๐๐,๙๗๐ ๗.๗๖ ๑๒,๑๙๔,๒๐๐ ๑๗.๕๓ ๑๖,๒๖๗,๖๑๙ ๒๓.๓๘ ๖,๒๓๗,๘๕๕ ๘.๙๗ ๑๑,๗๖๘,๓๘๗ ๑๖.๙๑ ๔,๔๗๖,๑๐๐ ๖.๔๓ ๒,๙๓๗,๕๐๐ ๔.๒๒
๙๗.๖๗
๗๒,๙๖๗,๖๖๒ 69,580,000
ร้อยละ งบประมาณ
๑๐๔.๘๗
ห น้ า | ๑๔
โครงการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประเภทเงินทุนหมุนเวียน รอบที่ 1 - 6 ข้อมูลการชาระคืนเงิน ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2557 ลาดับ
อาเภอ
ตาบล
1 2 3 4 5 6 7 8
เมืองชุมพร ปะทิว ท่าแซะ สวี หลังสวน ทุ่งตะโก พะโต๊ะ ละแม รวม
16 7 10 11 11 4 4 4
จานวนโครงการ ที่อนุมัติ 70 17 84 70 14 37 6 18 316
จานวนเงิน 5842775 1,834,600 10,325,861 7,551,250 2,027,622 6,929,436 441,500 1,258,040 36,211,084
จานวนโครงการ ที่ชาระเงินกู้ 25 13 58 40 5 2 5 15 163
จานวนเงินต้น 1846025 1,194,266 6,624,061 3,252,984 492,622 391,495 288,600 861,420 14,951,473
จานวนโครงการ ที่คงค้างชาระ 45 4 26 30 9 35 1 3 153
จานวนเงินคงค้าง หมายเหตุ ชาระ (เงินต้น) 3996750 640,334 3,701,800 4,298,266 1,535,000 6,537,941 152,900 396,620 21,259,611
ห น้ า | ๑๕
2) สรุปผลการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน
๕
๕
๕
สรุปผลการดาเนินงานกองทุนแม่ของแผ่นดิน สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร ************* ข้อมูลการดาเนินงานโครงการกองทุนแม่ของแผ่นดิน จังหวัดชุมพร 1. ฐานข้อมูลหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดิน ปี 2548 – 2553 ต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน ปี 2555 จานวน 21 กองทุน และ ปี 2556 เป้าหมาย 50 กองทุน ข้อมูลกองทุนแม่เดิม อาเภอ เมืองชุมพร ท่าแซะ ปะทิว หลังสวน ละแม พะโต๊ะ สวี ทุ่งตะโก รวม
ปี 2548 – 2553 26 16 13 16 16 14 14 13 128
ศูนย์เรียนรู้ฯ
ปี 2555
ปี2556
รวม
เป้าหมาย
ผลงาน
4 3 2 3 2 2 3 2 21
8 7 6 8 5 5 7 4 50
38 26 21 27 23 21 24 19 199
1 1 1 1 1 1 1 1 8
1 1 1 1 1 1 1 1 8
ห น้ า | ๑๖
รวมจานวน 199 กองทุน เป็นต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน ปี 2555 จานวน 21 กองทุน และต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน ปี 2556 จานวน 50 กองทุน ที่ยังไม่ได้รับเงินขวัญถุง พระราชทาน 2. การตรวจสุขภาพกองทุนแม่ของแผ่นดิน เพื่อจัดระดับความเข้มแข็งของกองทุนแม่ของ แผ่นดิน (กองทุนเดิม) ตามระดับการพัฒนา A B และ C เพื่อนาข้อมูลการตรวจสุขภาพฯ มาดาเนินการ วางแผนพัฒนากองทุนแม่ของแผ่นดิน ปรากฏผลการตรวจสุขภาพ จานวน 199 กองทุน โดยมีผลการจัด ระดับ ดังนี้ - ระดับ A จานวน 33 กองทุน, ระดับ B จานวน 116 กองทุน, ระดับ C จานวน 50 กองทุน
3. เสริมสร้างความเข้มแข็งกองทุนแม่ ของแผ่นดินเพื่อเสริมสร้างกองทุนแม่ของแผ่นดินในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน โดยการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน ด้าน การบริหารจัดการกองทุน ระดับ B และระดับ C โดยการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ด้านการบริหารจัดการ กองทุนแก่ผู้แทนหมู่บ้าน/ชุมชน กองทุนแม่ที่มีผลการประเมิน อยู่ในระดับ B จานวน 93 กองทุน และ C จานวน 25 กองทุน 4. ดาเนินการประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการหมู่บ้านต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดินเพื่อ สร้างความรู้ความเข้าใจคณะกรรมการหมู่บ้านต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน จานวน 8 อาเภอ แล้วจานวน 30 กองทุนๆ (เป้าหมายกรมฯ 20 กองทุน) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ แนวทางการดาเนินงานกองทุนแม่ ของแผ่นดิน และเป็นกลไกขับเคลื่อนพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติดได้ 5. ส่งเสริมศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน ที่เข้มแข็ง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ การแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การดาเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของคนใน หมู่บ้าน/ชุมชน การพัฒนา ศักยภาพคณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดิน มีกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ที่ดาเนินการโดย ชุมชนเอง ด้วยการการประชุมแกนนา อาสาสมัครและคณะกรรมการบริหารศูนย์เรียนรู้สนับสนุนดาเนินงาน ศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน ดาเนินการแล้วเสร็จ 8 แห่ง - สรุปบทเรียนองค์ความรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน จานวน 8 อาเภอๆ ละ 1 ชุดความรู้ และ จังหวัดได้ดาเนินการคัดเลือกกองทุนแม่ของแผ่นดิน ที่มีองค์ความรู้ที่เป็นแบบอย่างและมีการสร้างนวัตกรรม การดาเนินงานแก้ไขปัญหายาเสพติด จานวน 1 หมู่บ้าน คือบ้านพรุใหญ่ หมู่ที่ 6 ตาบลสะพลี อาเภอปะทิว จังหวัดชุมพร
ห น้ า | ๑๗
สร้างและสนับสนุ นกิจกรรมตามแผนเครือข่ายกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับอำเภอ อำเภอ ละ 1 เครือข่ำย รวม 8 เครือข่ำย ผลกำรดำเนิ นงำน มีกำรจัดตั้งคณะกรรมกำรเครือข่ำยกองทุนแม่ของ แผ่นดิน และมีกิจกรรมสนับสนุ นแผนกำรปฏิบตั ิงำน จำนวน 8 เครือข่ำย - สร้ำงเครือข่ำยกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับจังหวัด กำรประชุมตัวแทนคณะกรรมกำร เครือข่ำยกองทุนแม่ของแผ่นดิน และกรรมกำรกองทุนแม่ของแผ่นดิน เพื่อสร้ำงควำมรูค้ วำมเข้ำใจใน บทบำทของกำรดำเนิ นงำนร่วมกัน จัดทำแผนกำรขับเคลื่อนกองทุนแม่ของแผ่นดิน และปรับปรุง โครงสร้ำงคณะกรรมกำรเครือข่ำยกองทุนแม่ของแผ่นดินระดับจังหวัด
2.4 สรุปผลสาเร็จการเบิกจ่ายงบประมาณของหน่วยงาน ประจาปี พ.ศ.2557
ผลความก้าวหน้าในการเบิกจ่ายงบประมาณ ผลการใช้จ่าย
คิดเป็น ร้อยละ
งบดาเนินงาน : ค่าใช้จ่ายในการบริหาร
4,322,559,.03 3,597,890.99
83.24
724,668.04
กิจกรรมตามยุทธศาสตร์ ภายใต้ผลผลิตรวม
16,608,463.00 9,017,142.00
54.29
7,591,321.00
รวมทั้งสิ้น
20,931,022.03 12,615,032.99
60.27
8,315,989.04
รายการ
งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร
เงินคงเหลือ
ข้อมูล ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2557 สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชุมพร ได้ดาเนินการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารกรมการพัฒนาชุมชน ภาพรวมจังหวัด ข้อมูล ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2557 ดังนี้ งบประมาณจัดสรร “งบบริหาร” 4,322,599.03 บาท เบิกจ่ายแล้ว 3,597,890.99 บาท คิดเป็นร้อยละการเบิกจ่ายเท่ากับ 83.824 งบประมาณคงเหลือ เป็นเงิน 724,668.04 บาท งบยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ได้รับงบประมาณจัดสรร 16,608,463 บาท เบิกจ่ายแล้วทั้งสิ้น 9,017,142 บาท คิดเป็นร้อยละการเบิกจ่ายเท่ากับ 54.29 คงเหลือ 7,591,321 บาท รวมได้รับจัดสรรทั้งสิ้น (งบบริหารยุทธศาสตร์) 20,931,022.03 บาท เบิกจ่ายแล้ว เป็นเงิน 12,651,032.99 บาท งบประมาณคงเหลือทั้งสิ้น 8,315,989.04 บาท ร้อยละการเบิกจ่ายภาพรวมเท่ากับ 60.27
ห น้ า | ๑๘
2.5 สรุปผลสาเร็จของการบริหารยุทธศาสตร์ของหน่วยงานตามแนวทางทีก่ าหนด
การดาเนินการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล ได้ดาเนินการ ดังนี้ -ทบทวนยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และเป้าหมายการดาเนินงานที่ผ่านมา และกาหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางการดาเนินงานให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางการดาเนินงานของ กรมฯโดยบุคลากรในหน่วยงานมีส่วนร่วมทุกขั้นตอนอย่างทั่วถึงทั้งหน่วยงาน - จัดให้มีการถ่ายทอดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และแนวทางการดาเนินงานของหน่วยงานลงสู่ระดับบุคคล อย่างทั่วถึง - ลงนามตามคารับรองการปฏิบัติราชการระหว่างพัฒนาการจังหวัด กับหัวหน้ากลุ่ม ฝ่าย พัฒนาการ อาเภอ และระหว่างหัวหน้ากลุ่ม ฝ่าย พัฒนาการอาเภอ กับนักวิชาการพัฒนาชุมชน
ห น้ า | ๑๙
- แต่งตั้งคณะทางานดาเนินงานตามตัวชี้วัด และเป้าหมายการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติ ราชการภายใน - วางแผนการดาเนินงาน ให้สอดคล้องกับแนวทางการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ภายในฯที่กรมฯกาหนด - ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนการดาเนินงาน PA/IPA และโครงการริเริ่มสร้างสรรค์ เมื่อวันที่ ๒๗ – ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๗
- ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อน PA/IPA วันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ณ โรงแรมมรกตทวิน อาเภอ เมืองชุมพร
ห น้ า | ๒๐
วางระบบการติดตาม และประเมินผล (IPA) โดยมีคณะทางานในการสนับสนุนการขับเคลื่อนตัวชี้วัดระดับ จังหวัด และอาเภอ ติดตามผลการดาเนินงาน ให้คาแนะนาแนวทางในการดาเนินงาน และติดตามหลักฐานเชิง ประจักษ์ และรายงานผลในระบบ online realtime ทางระบบรายงาน PA ปี ๕๗ ตัวชี้วัดมิติภายนอก จานวน ๕ ตัวชี้วัด รอบ 9 เดือน และรอบ ๑๒ เดือน และทางระบบ BPM จานวน ๒ ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัดที่ 1.๕ ระดับ ความส าเร็ จ ของการบริ ห ารยุ ท ธศาสตร์ ข องหน่ ว ยงานตามแนวทางที่ก าหนด และตั ว ชี้ วั ด ที่ 2.1 ระดั บ ความสาเร็จในการเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนตามข้อเสนอโครงการริเริ่ม สร้างสรรค์ ตามเกณฑ์ที่กาหนด
ห น้ า | ๒๑
ส่วนที่ 2 : ผลสาเร็จตามข้อเสนอโครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ห น้ า | ๒๒
ห น้ า | ๒๓
ห น้ า | ๒๔
เทคโนโลยี Cloud Computing เป็นหนึ่งในรูปแบบการให้บริการภายใต้เทคโนโลยีการประมวลผลแบบ กลุ่มเมฆ (Cloud Computing) ที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถที่จะทางานได้ทุกอย่าง เช่น การสร้างเอกสาร การใช้เอกสารในการทางานร่วมกัน การแบ่งปันข้อมูล ผ่านทางระบบ Internet ได้อย่างรวดเร็วโดยไม่มี ค่าใช้จ่าย และผู้ใช้ยังสามารถเข้าถึงข้อมูล หรือเข้าใช้บริการได้จากอุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์แบบพกพาต่าง ๆ ที่ทันสมัย ทาให้การใช้งานได้สะดวกทุกที่ทุกเวลาที่มีสัญญาณ Internet ซึ่งมีผู้ให้บริการซอฟต์แวร์ ประยุกต์ในการจัดเก็บข้อมูลผ่านทาง Internet โดยใช้เทคโนโลยี Cloud Computing หลายค่ายบริษัท ด้วยกัน ผู้ให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบันคือ Google ซึ่งสามารถเลือกนา ซอฟต์แวร์ที่ Google ให้บริการมาประยุกต์ใช้ในงานพัฒนาชุมชนได้เป็นอย่างดี ได้แก่ 1. Google Drive เป็นช่องทางการจัดเก็บข้อมูลโดยการอัพโหลดข้อมูลไปเก็บไว้ใน Google Drive ที่สามารถเรียกดู/แชร์ข้อมูล ได้สะดวก ทุกที่ทุกเวลา 2. Google Doc เป็นช่องทางการสร้างเอกสาร ซึ่งมีทั้งเอกสาร Word, Excell, Power Point ที่ สามารถเรียกดู ปรับปรุง แก้ไข แชร์ข้อมูลได้สะดวก ทุกที่ทุกเวลา 3. Google Hangout เป็นช่องทางสื่อสารในรูปของ VDO Conferance ทีส่ ะดวกสามารถพูดคุย สื่อสารกันเป็น กลุ่มและส่งไฟล์ข้อมูลให้แก่กันได้ง่าย 4. Google Plus เป็นช่องทางการประชาสัมพันธ์กิจกรรมพัฒนาชุมชนได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ซึ่ง เรียกได้ว่าเป็น face book ของ Google 5. Google Site เป็นช่องทางการสร้างเว็บไซต์ที่สะดวก รวดเร็ว ไม่มีค่าใช้จ่าย และการทาเวปกับ Google จะมีคนผ่านไปมาเข้ามาชมมากกว่า เนื่องจากคนทั่วไปมีโอกาสพบเห็นง่ายกว่า ค้นหาก็จะเจอง่าย กว่า
ห น้ า | ๒๕
ห น้ า | ๒๖
ห น้ า | ๒๗
ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัดโครงการ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ร้อยละ ๑๐๐ ของสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอมีเว็บไซต์ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจ ฐานราก
ห น้ า | ๒๘
ห น้ า | ๒๙
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ๑ ระดับความสาเร็จของการดาเนินงานศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก -ผลการดาเนินงาน ระดับคะแนน ๕ ผู้ประกอบการ OTOP ที่มาใช้บริการศูนย์บริการส่งเสริม เศรษฐกิจฐานรากมีความพึงพอใจในการให้บริการ ร้อยละ ๘๕ โดยผลการสารวจจากแบบสอบถาม online ของแต่ละอาเภอ สรุปได้ ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ ๒ ระดับความสาเร็จของการดาเนินงาน mobile office นักวิชาการพัฒนาชุมชนของสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และอาเภอ มีการจัดทา Profile ร้อยละ ๑๐๐
ห น้ า | ๓๐
- มีการ Conference ระหว่างจังหวัดและอาเภอ จานวน ๒ ครั้งขึ้นไป ผลการดาเนินงาน มีการConference ระหว่างจังหวัดและอาเภอ จานวน ๓ ครั้ง ระหว่าง อาเภอและอาเภอ จานวน ๒ ครั้ง
ห น้ า | ๓๑
ตัวชี้วัดเชิงผลลัพธ์ ผลลัพธ์ต่อประเด็นยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน - ผู้รับบริการที่มาใช้บริการจากศูนย์ฯ ได้รับองค์ความรู้ใหม่ สามารถเพิ่มมาตรฐาน และคุณภาพ สินค้าได้ดียิ่งขึ้น ผลลัพธ์ต่อคุณภาพการให้บริการ - ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยและบริการข้อมูลได้ อย่างเหมาะสมครอบคลุมตามภารกิจของศูนย์ฯ ผลลัพธ์ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ - มีการปรับปรุงรูปแบบการทางานของสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และอาเภอในรูปแบบ Mobile Office ให้สามารถทางานได้ทุกที่ ทุกเวลา (multitasking workers) และสานักงานพัฒนา ชุมชนจังหวัด และอาเภอ มีฐานข้อมูล (Profile) การทางานของบุคลากร ผลลัพธ์ต่อการพัฒนาบุคลากร - ปรับวิธีคิดและรูปแบบการทางานให้สามารถ ทางานแบบ Dynamicได้ นั่นคือ ต้องทางานได้ ทา ทุกที่ทุกเวลา โดยใช้งานบนระบบคลาวด์ คอมพิวติ้ง และต้องสามารถทางานหลายๆ อย่างได้ในเวลา เดียวกัน และการที่มีความสามารถในการทางานได้ทุกที่ทุกเวลา (Mobility) มากขึ้น จะทาให้ทางาน ได้มากขึ้น - ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่ พัฒนาการอาเภอ และนักวิชาการพัฒนาชุมชนจังหวัด และอาเภอ มี ความรู้ ความเข้าใจในการทางานบนระบบคลาวด์ คอมพิวติ้ง ผลลัพธ์ต่อการเสริมสร้างภาพลักษณ์ของกรมการพัฒนาชุมชน
ห น้ า | ๓๒
- มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานตามภารกิจกรมต่อสื่อสาธารณะทาง
มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามโครงการคัดสรรนวัตกรรมเด่น เพื่อคัดสรรสานักงานพัฒนา ชุมชนอาเภอที่มีผลงานเด่น และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๕๗
ห น้ า | ๓๓
ห น้ า | ๓๔
บรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อคัดสรรนวัตกรรมเด่น ได้เรียนเชิญ Miss Loresan อาจารย์ พิเศษ จากวิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดทาเว็บไซต์ และ Cloud computing มาให้ ข้อเสนอแนะในการดาเนินงาน และจัดเก็บองค์ความรู้ไว้ใน Google Drive และในเว็บไซต์ issue.com เพื่อให้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนสามารถเข้าไปศึกษาข้อมูลได้สะดวก และรวดเร็ว
ห น้ า | ๓๕
นวัตกรรม ที่ได้จากการดาเนินงานโครงการ คือ Mobile Office ,เว็บไซต์ ศูนย์บริการส่งเสริม เศรษฐกิจฐานรากระดับจังหวัด และระดับอาเภอ,เว็บไซต์ Chumphon Mobile Office ที่ใช้ควบคุม ระบบ Mobile Office ทัง้ หมด,การ Conference ระหว่างจังหวัดกับอาเภอ และระหว่างอาเภอกับ จังหวัด หรืออาเภอกับอาเภอ โดย Google Hangout,เพจประชาสัมพันธ์ที่มีเครือข่ายเชื่อมโยงทั่วโลก โดย
ห น้ า | ๓๖
ใช้ และสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดได้นาเทคโนโลยี Augment Reality (AR) มา จัดทาไวนิล และแผ่นพับ สาหรับศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก เพื่อให้ผู้รับบริการมาเยี่ยมชม และ ตื่นตา ตื่นใจ กับศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากที่มีชีวิต โดยจากไวนิล และโบว์ชัว ธรรมดาจะ เปลี่ยนเป็น clip เมื่อนา Smart phone ที่ลงโปรแกรม Aurasma ไปส่องแผ่นป้าย
ห น้ า | ๓๗
สรุปความสาเร็จของโครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ได้แก่ ๑.การพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ๒.การพัฒนางาน และนวัตกรรมที่เกิดจากการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผล ให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ
ห น้ า | ๓๘
ข้อจากัด/ปัญหาอุปสรรค เนื่องจากระบบนี้ต้องใช้สัญญาณอินเตอร์เน็ตที่มีความเร็วสูง ทาให้บางครั้งในพื้นที่ที่มีปัญหาใน เรื่องความเร็วของสัญญาณอินเตอร์เน็ตทาให้ไม่สามารถ Conference ระหว่างกันได้โดยใช้ Hangout onair