ภูมิปัญญาท้องถิ่นจากป่าชุมชนบ้านบุโบย จังหวัดสตูล

Page 1

àÍ¡ÊÒÃà¼Âá¾Ã ÃǺÃÇÁÀÙÁÔ» ­­Ò · ͧ¶Ô่¹

al o c Lwis

d o m

2557 º Ò¹ºØâºÂ ËÁÙ ·Õ่ 3 µํÒºÅáËÅÁʹ ÍํÒàÀÍÅЧ٠¨Ñ§ËÇѴʵÙÅ

   

ปุยอินทรียชีวภาพจากราปน เรือใบประมง และทองเที่ยวเชิงนิเวศ หลาด สมุนไพรพื้นบาน


บทนํา

กิจกรรมบริหารจัดการปาชุมชนบานบุโบย ปฏิบัติอยูบนพื้นฐานความเปนธรรมชาติของคน ในชุมชน ซึ่ งสวนใหญ เปนคนพื้นเพดั้งเดิมที่มีถิ่นกําเนิดและใชชี วิตอยูในชุมชนมาตั้งแตบ รรพบุรุษ ไมใชคนที่อพยพมาจากถิ่นอื่น จึงมีความผูกพัน และเห็นความสําคัญของปา วาเปนแหลงพึ่งพิงทั้ง ดานวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ ตั้งแตเกิดจนตาย ซึ่งปรากฏออกมาในรูปแบบของภูมิ ป ญ ญา ทองถิ่น ที่เกี่ยวของอยูในวิถีชีวิต ทั้งการทําประมง การทําการเกษตรแบบวิถีธรรมชาติ การ บริหารจัดการและ ใชประโยชนทรัพยากรในปาชุมชน และมีการสืบทอดตอกันมา จึงสงผลใหการ ดําเนินงานกิจกรรมตางๆ เปนไปโดยยึดเอาความ คงอยูข องธรรมชาติอยางยั่งยืนเปนหลักสําคัญ ผู มาเยือนจึงสัมผัสไดถึงความเรียบงายของวิถีชีวิตที่เรียบงายของชุมชนแหงนี้ จนคณะที่เคยมาถายทํา สารคดีสั้นที่เกี่ยวกับความเปนอยูของคนในชุมชนบานบุโบย ตั้งชื่อตอนของสารคดีวา “ชีวิตเรียบ งาย: บานบุโบย” เอกสารฉบับนี้ จึงไดรวบรวมภูมิปญญาทองถิ่น โดยเนนภูมิปญ ญาที่มีความโดดเดนเปน เอกลั ก ษณ เฉพาะตั ว ของชุ ม ชนบ า นบุ โ บย เพื่ อ เผยแพร ห ลั ก คิ ด และวิ ธี ก ารใช ป ระโยชน ทรัพ ยากรธรรมชาติที่มี อ ยู ในท องถิ่น ควบคู กั บ ภู มิ ป ญ ญาที่ สื บ ทอดกั นมาของคนในชุ ม ชน บน หลักการของการอนุรักษไดอยางลงตัว เพื่อเปนประโยชนแกผูสนใจทั่วไป


สารบัญ ชื่อเรื่อง

หนา

 ราปน ปุยอินทรีย – ชีวภาพ

1-12

 ลองเรือใบ : จากวิถชี ุมชนประหยัดพลังงาน

13-16

สู “ทัวรชาวบาน”  หลาด : ซุปเปอรมารเก็ตใกลบาน

17-25

 สมุนไพรพื้นบาน : ภูมิปญญารักษาโรค

26-28



-1-

ราปน ปุยอินทรีย – ชีวภาพ บานบุโบย ตําบลแหลมสน อําเภอละงู จังหวัดสตูล ผูถายทอดภูมปิ ญญาทองถิ่น : คุณเจะยาหยา สาเบด คุณไหมมุนะ สาเบด คุณสะเร็น สันมาแอ คุณหารีอะ ตึงสงา คุณสุไรยา สามอ และ คุณกูอานีซะ รงโซะ

บริบทของพื้นที่และสภาพปญหา บ า นบุ โ บย หมู ที่ 3 ตํ า บลแหลมสน อํ า เภอละงู จั ง หวั ด สตู ล เป น หมู บ า น เล็ก ๆ มีเนื้อที่ทั้งหมด 1,210 ไร เปนปาชายเลน 430 ไร พื้นที่ทําการเกษตร 398 ไร และ พื้นที่ที่เปนชายหาด ความยาวตลอดแนวชายฝงทะเลตะวันตกประมาณ 4 กิโลเมตร ประชากร ทั้งหมด 247 ครัวเรือน อาชีพ หลัก ของคนในหมูบาน คือ อาชีพ ประมงพื้นบาน รองลงมาคือ การทําเกษตรกรรม คาขาย และรับจางทั่วไป พื้นที่สวนใหญ มีสภาพแห งแลง การทําการเกษตร อาศัยน้ําฝนเปนหลัก สภาพดินที่ใชในการเพาะปลูกเปนดินทราย ดินขาดธาตุอาหาร เกษตรกรตองใช สารเคมีหรือปุยเคมี เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เนื่องจากหมูบานอยูติดกับทะเล ในชวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนพฤศจิกายน เปน ฤดูมรสุม จึงไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ซึ่งในชวงดังกลาวมีลมพัดแรง คลื่นในทะเล ก็มีลักษณะเปนคลื่นลูกใหญ และจะพัดพาเอาตะกอนใตทองทะเลรวมถึงอินทรียวัตถุตางๆ ขึน้ มาทับ ถมกระจัดกระจายอยูทั่วไปตลอดแนวชายฝง มองดูคลายหาดทรายสีดํา ซึ่งอินทรียวัตถุเหลานั้น ชาวบานเรียกวา “ราปน”


-2ความหมายของ “ราปน” คําวา “ราปน” หรือ “ขี้ร าปน” เป นคํา ภาษาถิ่น ถา ออกเสีย งสําเนียงใตแบบสตูล จะเรี ย กว า “ราป น ” ไม มี ค วามหมายในพจนานุ ก รม แต เป น คํ า ที่ ช าวบ า นในแถบบ า นบุ โ บย ใชเรียกอินทรียวัตถุที่เกิดจากการยอยสลายของซากพืชซากสัตว ในทะเลและปาชายเลน เปนเศษ เล็ก ๆ ถูกกระแสลมและกระแสน้ําพัดมาทับ ถมตามแนวชายหาด ปน ๆ รวม ๆ กัน เปนชั้นหนาๆ ประมาณ 10-15 เซนติเมตร (ภาพที่ 4) ความหนามากหรือนอยขึน้ อยูกับฤดูกาล และ มีสีดําเขม เหมือนเชื้อรา จึงเปนที่มาของคําวา “ราปน” จากภาพที่ 1 จะปรากฏรอยเปนริ้วๆ ของแนวคลื่นอยู บนผิวหนา ของราปน ที่ลอยมาติดอยูบนชายหาด ซึ่งเปนแนวที่คลื่นพัดนําเอาราปนเขาหาฝง และภาพที่ 3 แสดงใหเห็นวาราปนมีความโปรง รวนซุย เมื่อเหยียบลงไปจะพบวาราปนมีการ ยุบตัวลง

ภาพที่ 2 บริเวณพื้นที่ที่ราปนทับถมกันอยู ภาพที่ 1 ราปนบริเวณชายหาด

ความหนาของ ชั้นราปน พื้นทราย

ภาพที่ 3 ราปนเปนอินทรียวัตถุที่มีเนื้อละเอียด ภาพที่ 4 แสดงความหนาของชั้นราปนที่ทับถม โปรง รวนซุย ระบายน้ําไดดี

อยูบ นชายหาด


-3-

ข อ สั ง เกตอี ก ประการหนึ่ ง คื อ ราปนจะพบมากเฉพาะที่ บ า นบุ โ บยเท า นั้ น หมูบานใกลเคียงแมจะพบบาง แตมีปริมาณนอยมาก ทั้งนี้ เนื่องมาจากสภาพภูมิประเทศบริเวณ บานบุโบย เปนรองน้ํา ตะกอนราปนจึงถูกลมมรสุมพัดพามาทับถมอยูบริเวณนี้มากที่สุด จนอาจ กลาวไดวา

“ราปน” เปนทรัพยากรเฉพาะถิ่นของบานบุโบยก็วาได ประโยชนและโทษของราปน

ประโยชน 1. เพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ทําใหดินมีธาตุอาหารอุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูก 2. ชวยลดแรงกระแทกของคลื่น ลดการกัดเซาะหาดทรายบริเวณชายฝงทะเล 3. มีคุณสมบัตชิ วยการระบายน้ําในดิน 4. ราปนที่ทับถมในปริมาณมาก ๆ นานเขา จะเกิดเปนพืน้ ดินงอกใหม 5. มีปริมาณแคลเซียมสูง โทษ ราปนไมมีปรากฏขอมูลวามีโทษตอสิ่งแวดลอม แตบริเวณที่มีราปนทับถมอยู อาจ ทําใหทัศนียภาพบริเวณชายหาดไมสวยงาม


-4แนวความคิดในการทําปุยหมักอินทรียชีวภาพจากราปน แนวคิดแรกเริ่มในการนําอินทรียวัตถุ “ราปน” มาใชประโยชนดานเกษตรกรรมใน พื้นที่บา นบุ โบย มี ม านานกวา 50 ปแ ลว โดยเปนภูมิ ป ญ ญาที่เกิด จากความชางสั งเกตของคน สมัยกอน วาแตงโมที่ปลูกหรือขึน้ อยูบริเวณใกลชายหาดที่มีอนิ ทรียวัตถุ “ราปน” ทับถมอยู จะมีลํา ตนแข็งแรง ใบหนาสีเขียวสด เนื้อกรอบ และรสชาติหวานเขมอรอยกวาแตงโมที่ปลูกในบริเวณอื่น ๆ จึงไดมีความคิดนําภูมิปญญาที่คนพบนีม้ าประยุกตใชในภาคเกษตรกรรม ซึ่งเปนอาชีพรองในพื้นที่ ในยุคแรก ๆ ของการนําราปนมาใช จะนํามาผสมกั บมูล วัว และมูลไก โดยยังไมมี การกําหนดอัตราสวนการผสมที่แนนอน เพราะการใสราปนลวน ๆ จะทําใหเกิดอาการใบเหลืองใน พืชขนาดเล็ก เนื่องจากราปนมีความเค็มจัด ตอมาเมื่อเห็นวาใชไดผลดี จึงนิยมกันอยางกวางขวาง และนําไปใชกับพืชชนิดอื่น ๆ ดวย เชน พริก มะเขือ มะพราว และผักตาง ๆ รวมทั้งในแปลงนา ขาวก็มีการนําไปใช การผลิตปุยหมักอินทรียชีวภาพจากราปน ไดรับการพัฒ นาจากการผลิตในระดับ ครั ว เรื อ น จนจั ด ตั้ ง เป น กลุ ม ผลิ ต ปุ ย หมั ก อิ น ทรีย ชี ว ภาพจากราปน แต ใ นระยะแรกของการ ดําเนินงานประสบปญหาในเรื่องของการรวมกลุมยังไมเขมแข็งนัก ขาดผูนํา รวมถึงขอมูลสนับสนุน ในเชิงวิจัย กระบวนการในการสงเสริม การผลิตและการใชปุย หมัก จากราปนในชุม ชน จึ งยั งไม ประสบผลสําเร็จเทาที่ควร แตภายหลังจากที่บัณฑิตอาสา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขต ปตตานี ไดจัดทําโครงการศึกษาดูงานและวิจัยเกี่ยวกับกระบวนการ และขั้นตอนการผลิตปุยหมัก จากราปนเผยแพรออกไป ซึ่งนับเปนจุดเริ่มตนของการเผยแพรศักยภาพความเขมแข็งขององคกร ชุมชนบานบุโบยออกสูภายนอก จนมีหนวยงานอื่น ๆ นํากิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งดานเกษตรกรรม ปศุสัตว ประมง

พัฒนาที่ดิน ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง และปาไม เปนตน เขามาสงเสริม

อยางตอเนื่อง เปนการเปดโอกาสใหราษฎรไดรับการถายทอดความรู รวมถึงการศึกษาดูงานที่เปน ประโยชน และนําองคความรูเ หลานั้น มาประยุกตใชในการบริหารจัดการการใชประโยชนทรัพยากร ที่มีอยูในชุมชนไดอยางเหมาะสม รวมถึงการพัฒนาการหมักปุยอินทรียชีวภาพจากราปนดวย เปน การสรางความตระหนักถึงความสําคัญของการอนุรักษและหวงแหนทรัพยากรในทองถิ่นของตนเอง


-5ขั้นตอนการผลิตปุยหมักอินทรียชีวภาพจากราปน 1. การเก็บวัตถุดิบราปน ดังที่กลาวไวขางตนวา ปริมาณมากนอยของราปน จะผันแปรไปตามปจ จัยหลัก คือ ฤดูกาลที่ลมมรสุมพัดผาน ชวงที่เก็บราปนไดปริมาณมากที่สุด คือ ชวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือน พฤศจิก ายน ของทุก ป ยกเวนในชวงฤดูแลง ปริมาณราปนจะมีนอยมาก จึงไมมีก ารเก็ บราปน ในชว งเวลาดั งกล า ว โดยขั้น แรกจะตอ งทํ า การคั ด แยกเศษวั ส ดุ ขนาดใหญ ที่ ป ะปนอยู ในราปน ออกกอน เชน กิ่งไม กระปอง พลาสติก เปลือกหอยขนาดใหญ เปนตน (ภาพที่ 5) จากนั้นใชแรง คน โกยใสกระสอบ (ความจุ 50 กิโลกรัม) จํานวน 100 กระสอบ ตอการหมัก 1 ครั้ง (1 ป จะ ทําการหมัก 3 ครั้ง) หรือโกยใสภาชนะบรรจุ (ภาพที่ 6-7) นําไปกองรวมไวในโรง ผสมปุย เพื่อ รอผสมกับสวนผสมอื่น ๆ

ภาพที่ 5 ทําการคัดแยกเศษวัสดุขนาดใหญทปี่ ะปนอยูใ นกองราปนออกเสียกอน

ภาพที่ 6 การโกยราปน สามารถทําไดโดยใช ภาพที่ 7 โกยราปนใสถุงบรรจุ หรือหากใชใน แรงงานคน ปริมาณมากจะใชกระสอบบรรจุ


-62. การผสมและหมักสวนผสม ปุยอินทรีย-ชีวภาพ (สูตรใชราปน) สําหรับการผลิต 150 กระสอบ วัสดุ/อุปกรณที่ใช 1. ราปน

จํานวน

100 กระสอบ

2. มูลสัตว

จํานวน

50

กระสอบ

(มูลวัว 20 กระสอบ มูลไก 30 กระสอบ) 3. กากน้ําตาล

จํานวน

20

ลิตร

4. สารเรง พด.1

จํานวน

2

ซอง

5. น้ํา

จํานวน

6. ถังน้ํา

จํานวน

1

ถัง

7. บัวรดน้ํา

จํานวน

2

อัน

8. จอบ

จํานวน

2

ดาม

ภาพที่ 8 กองราปน

ภาพที่ 10 ถังบรรจุกากน้าํ ตาล

100 ลิตร

ภาพที่ 9 มูลวัวและมูลไก

ภาพที่ 11 ถังสําหรับผสมน้ําหมักชีวภาพ (น้ํา+สารเรง พ.ด.1+กากน้ําตาล)


-7-

วิธที ํา 1. นําราปน จํานวน 10 กระสอบ มากองในโรงเรือน เกลี่ยใหเสมอกัน (รวม 100 กระสอบ ตอการผลิตปุย 1 ครั้ง) 2. นํามูลสัตว จํานวน 5 กระสอบ มากองซอนทับบนราปนอีกชั้นหนึ่งใชจอบคลุกเคลามูล สัตวใหเขากับราปน แลวเกลี่ยใหเสมอกัน (รวม 50 กระสอบ ตอการผลิตปุย 1 ครั้ง)

(ภาพที่

12-13)

ภาพที่ 12 นํามูลสัตวกองทับบนราปน

ภาพที่ 13 คลุกเคลามูลสัตวเขากับราปน

แลวเกลี่ยใหเสมอกันเปนชั้น 3. ผสมกากน้ําตาล สารเรง พด.1 (ภาพที่ 14) และน้ํา 100 ลิตร ใสในถัง คนใหเขากัน นําไปรดบนกองปุยดวยบัวรดน้ํา (ภาพที่ 15-17)

ภาพที่ 14 สารเรง พด.1


-8-

ภาพที่ 15 เทสารเรง พด.1 ผสมลงในน้ํา 100 ลิตร และกากน้าํ ตาล

ภาพที่ 17 รดน้ําหมักบนกองปุยใหทั่วถึง

ภาพที่ 16 คนสวนผสม เพื่อใหเขากัน และเปนการ กระตุนใหจุลินทรียตื่นตัว

ภาพที่ 18 เมื่อกองสวนผสมครบ 10 ชั้น แลวใช กระสอบคลุมทับไวบนกองปุย

4. ทําซ้ําขั้นตอนขอ 1-3 จนครบ 10 ครั้ง 5. คลุมกระสอบทับไวบนกองปุยหมัก (ภาพที่ 18) 6. ทํ าการพลิก กลบทุก ๆ 15 วัน เพื่ อระบายความรอนออกจากกองปุย และหมั ก ทิ้งไว 3 เดือน จนปุยเย็นตัวลง (ใชมือสัมผัสในกองปุย) จึงนํามาใชงานได


-9วิธีใชปุยหมักจากราปน ปุยหมักอินทรียชีวภาพจากราปนมีความเหมาะสมใชไดกับพืชทุกชนิด แตเปนที่นิยมสําหรับ พืชไร เชน แตงโม พริก มะเขือ ในพืชสวนบางชนิด เชน มะพราว หรือแมแต ปาลมน้ํามัน หรือ แปลงนาขาว ก็มีการทดลองนําไปใชไดผลดี พบวาหลังจากบํารุงดวยปุยหมักจากราปนแลวใหผล ผลิตเพิ่มขึ้น และมีคุณภาพดีขึ้นกวาเดิม สําหรับปริมาณการใชข้นึ อยูกับชนิดของพืช ดังนี้ 1. พืชไร เชน แตงโม พริก ใส 200 กรัมตอตน (ชาวบานจะใชกะลามะพราว ตวงในปริมาณ 1 กะลา ตอตน) 2. พืชสวนหรือไมยืนตน เชน มะพราว ปาลม ใส 1 กิโลกรัมตอตน หรืออาจใส ราปนลวนก็ได แตหากใชราปนลวน ตองผึ่งไวใหผานแดด ลม ฝน ระยะหนึ่งกอน เพื่อลดความเค็ม 3. นาขาว ใชราปนหวานลงในแปลงนาโดยตรงกอนการปกดําขาว

ภาพที่ 19 ไรพริกที่บาํ รุงรักษาดวยปุยหมัก

ภาพที่ 20 ไรแตงโมที่บํารุงรักษาดวยปุยหมัก

อินทรียชีวภาพจากราปน

อินทรียชีวภาพจากราปน

การใชปุย หมั ก อินทรีย ชีวภาพราปน ขึ้นอยู กั บ วิธีก ารของแตละคนแตกตางกั นไป เกษตรกรบางรายใชปุยราปนควบคูกับปุยเคมี แตบางรายใชปุยหมักราปนเพียงอยางเดียวเนือ่ งจาก มีความปลอดภัย และลดตนทุนในการทําการเกษตรไดมาก ทําใหมีรายไดเพิ่มขึ้น


- 10 คุณสมบัติเดนของปุยหมักอินทรียชีวภาพราปน 1. ชวยปรับปรุงบํารุงดิน ทําใหดนิ มีความรวนซุย 2. ชวยการระบายน้ําในดิน 3. ตนพืชที่ไดรับการบํารุงดวยปุยหมั กอินทรียชีวภาพราปน จะมีลําตนแข็งแรง ใบเขียวสด ผลผลิตมีคุณภาพดี เปนที่ตอ งการของตลาด 4. มีคุณสมบัติพเิ ศษ ชวยยืดระยะเวลาการเก็บเกี่ยวผลผลิตออกไปไดนานกวาการ ใชปุยเคมี สงผลใหขายผลผลิตไดราคาดีขึ้น ตนทุนวัตถุดิบและผลตอบแทนการผลิตปุยอินทรียชีวภาพ (สูตรใชราปน) ตนทุนวัตถุดิบ จากรายละเอียดในขั้นตอนการหมักปุย จะเห็นไดวาวัตถุดิบที่เปนสวนผสมสําหรับ การผลิตปุยหมักอินทรียชีวภาพจากราปน สวนใหญหาไดในทองถิ่น และไมจําเปนตองใชเครื่องจักร ใด ๆ ในการบดสวนผสม เนื่องจากราปนมีคุณ สมบัติพิเศษ คือ มีความละเอียด และถูกยอยโดย กระบวนการตามธรรมชาติแลว จึงมีตนทุนวัตถุดิบในการผลิตไมสูงนัก ตนทุนวัตถุดิบตอการผลิต ปุย 150 กระสอบ รวม 3,320 บาท ประกอบดวย 1. มูลไก 1,000 บาท (ประมาณ 750 กิโลกรัม) 2. มูลวัว 2,000 บาท (ประมาณ 500 กิโลกรัม) 3. กากน้ําตาล 320 บาท (25 ลิตร) 4. ราปน (ไมมีคาใชจาย) 5. สารเรง พด. (ไมมีคาใชจาย ไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานพัฒนาที่ดิน) ผลตอบแทน ผลิตภัณฑปุยอินทรียชีวภาพจากราปนของบานบุโบย จะบรรจุจําหนายเปนกระสอบ ๆ ละ 20 กิโลกรัม จําหนายราคากระสอบละ 120 บาท ไดผลตอบแทนจากการจําหนายจํานวน 150 กระสอบ (ผลิต 1 ครั้ง) เปนเงิน 18,000 บาท หัก คาตนทุ นวัตถุดิบ 3,320 บาท เหลือกําไร 14,680 บาท ใน 1 ป ผลิตไดประมาณ 450 กระสอบ คิดเปนกําไร 44,040 บาท/ป ซึ่งจะหักไว 5 % เปนเงินกองกลางสําหรับสนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชนของหมูบาน เชน การสนับสนุนของขวัญในกิจกรรมวันเด็ก เปนตน สวนกําไร ที่เหลือเปนคาตอบแทนแรงงาน ของกลุมสมาชิก


- 11 -

ผลสําเร็จที่เกิดจากภูมิปญญาทองถิ่น 1. ราษฎรมีความเปนอยู/คุณภาพชีวิตที่ดขี นึ้ 2. ลดรายจายเพิ่มรายได โดยมีรายไดเสริมจากการขายปุย การเปนวิทยากร 3. เกิดผลดีตอ การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - ดิน ดีมีสภาพเหมาะสําหรับการเพาะปลูก - น้ํา มีคุณภาพดีขึ้น เนื่องจากประชาชนลดปริมาณการใชสารเคมี - ดานสิ่งแวดลอม ระบบนิเวศนมีความสมดุลมากขึ้น 4. สงเสริมการรวมกลุมทํากิจกรรมในชุมชน สรางความสามัคคี และความเสียสละ ตอสวนรวม 5. เกษตรกรมีทัศนคติที่ดีข้ึน ตอการใชปุยที่ผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติ สงผลดีตอ การสงเสริมการทําเกษตรอินทรียอยางยั่งยืน แนวทางการสงเสริมและเผยแพรภูมิปญญาทองถิ่น 1. การรวมกลุมและจัด ตั้งศูนยเรียนรู เผยแพรความรู และถายทอดความรูใหกับ เกษตรกรในพื้ น ที่ ใ ห เ ห็ น ความสํ า คั ญ ของการประยุ ก ต ภู มิ ป ญ ญ าในการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในทองถิ่น 2. รณรงคใหเกษตรกร หันมาใชปุยอินทรีย-ชีวภาพ เพื่อลดปริมาณการใชปุยเคมี ซึ่งเปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดอีกทางหนึ่ง 3. ขอความร ว มมื อ หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งในการวิ เคราะห ป ริ ม าณธาตุ อ าหาร ในผลิ ต ภั ณ ฑ ปุ ย หมั ก อิ น ทรีย -ชี ว ภาพจากราปน รวมถึ งการรับ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ จ าก หนวยงานที่เชื่อถือได 4. สงเสริมการตลาดใหกวางขวางออกไป เนื่องจากกลุม ยังสามารถเพิ่มกําลังการ ผลิตไดมากกวา 450 กระสอบตอป


- 12 -

บทสงทาย ปจจุบันคุณประโยชนของราปนเปนที่รับรูอยางแพรหลาย แนวโนมความตองการนํา ราปนไปใชประโยชนมีมากขึ้น ทั้งจากคนในชุมชนเองและคนนอกพื้นที่ ชุมชนบานบุโบย จึงไดวาง มาตรการในการป อ งกั น การนํ า ราปนไปใช ป ระโยชน ใ นประมาณที่ ม ากเกิ น ขี ด จํ า กั ด เพื่ อ ให กระบวนการเกิ ด ทดแทนของทรัพ ยากรธรรมชาติช นิด นี้เป นไปอย างสมดุล และมี ใชอย างยั่ งยื น ตลอดไป



- 13 -

ลองเรือใบ : การทองเที่ยวที่ไมทําลายสิ่งแวดลอม แนวความคิดในการใชเรือใบทําการประมง เริ่มจากราคาน้ํามันเชื้อเพลิงที่ ปรับตัวสูงขึ้น สงผลใหตนทุนการทําประมงสูงตามไปดวย ตอมามีนักทองเที่ยวสนใจลองเรือใบชม ทัศนียภาพธรรมชาติ การลองเรือใบจึงกลายเป นจุดเดนดานการทองเที่ยวเชิงนิเวศอีก ดานหนึ่งที่ ไดรับความนิยม

จากวิถชี ุมชนประหยัดพลังงาน สู “ทัวรชาวบาน” “ลองเรือ ชมเกาะแกง แหลงตํานาน”


- 14 ลองเรือใบ : จากวิถชี ุมชนประหยัดพลังงาน สู “ทัวรชาวบาน” ผูถายทอดภูมิปญญาทองถิ่น : นายสนาน สันนก จุดเดนของภูมิปญญาทองถิ่น : เปนภูมิปญญาที่เกิดจากแนวคิดที่เชื่อมโยงเขากับวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพหลักของ คนในชุ ม ชนบา นบุ โบย ซึ่ งยึ ด อาชี พ ทํ าการประมงเลี้ย งชี พ มาตั้ งแต ยุ ค บรรพบุ รุษ แต ดวยสภาพ เศรษฐกิจที่ผันแปรไปอยางมากในปจจุบันโดยเฉพาะราคาพลังงาน (น้ํามันเชื้อเพลิง) สงผลใหตนทุน ในการทําประมงสูงขึ้นผลตอบแทนที่เปนรายไดเลี้ยงครอบครัวจึงลดลงตามไปดวย การจะประกอบ อาชีพประมงตอไปใหพอหาเลีย้ งครอบครัว จึงจําเปนตองลดตนทุนดานตางๆ ลง เปนการใชประโยชนจากความไดเปรียบทางดานภูมิศาสตรของพื้นที่ที่ตั้งอยูบริเวณชายฝง ทะเลดานตะวันตก (ชายฝงอันดามัน) และจากทรัพยากรและพลังงานที่มีอยูในธรรมชาติ โดยไมตอ ง ลงทุน และไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และวิถีชีวิตชุมชน ไดรับ การสนับ สนุนโดยความรว มมือจากหลายหนวยงาน ไดแ ก จั งหวั ด สตูล องค ก าร สะพานปลา สํานักงานประมงจังหวัดสตูล ศูนยพัฒนาการประมงแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต และ สถานีประมงทะเลจังหวัดสตูล รายละเอียดของภูมิปญญาทองถิ่น : จังหวัดสตูล ไดจัดทําโครงการสงเสริมการใชงานเรือใบเพื่อการประมง เพื่อลดการใช น้ํา มั น เชื้ อเพลิง โดยไดรับ ความรว มมื อจากองค ก ารสะพานปลา สํ า นั ก งานประมงจั งหวั ด สตู ล ศู น ย พั ฒ นาการประมงแห งเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต และสถานี ป ระมงทะเลจั งหวั ด สตู ล หลั ง ชาวประมงบานบุโบยทราบขาวก็ตัดสินใจเขารวมโครงการทันที 30 ราย การทําเรือใบของชาวประมงบานบุโบย ใชอุปกรณ ซึ่งหาซื้อไดงายในทองถิ่นมีตนทุน ประมาณ 1,000 ถึ ง 1,500 บาทต อ ลํ า การติ ด ตั้ ง ก็ ไ ม ซั บ ซ อ นอะไรมากนั ก ส ว นสํ า คั ญ คื อ เสากระโดงเรือ ซึ่งนําไมไผยาวประมาณ 5 เมตร มาติดตั้งบริเวณสวนหนาของเรือ เพื่อเปนเสาหลัก สําหรับยึดใบเรือ สวนการทําใบเรือนั้นจะใชผาใบมาตัดใหเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู จากนั้นจะนําเชือก 2 เสนมาผูกที่บริเวณสวนปลายของเพลาทั้งสอง เพื่อควบคุมใบเรือใหกางออกหรือหุบเขา สําหรับ เพิ่มหรือลดกําลังเรือขณะแลน


- 15 -

นายสนาน สันนก หรือบั งสนาน ชาวประมงบานบุโบย วัย 54 ป อยูบานเลขที่ 156 หมู ที่ 3 ตํ า บลแหลมสน เล า ให ฟ ง ว า หลั ง จากผ า นการอบรมทั้ ง ภาคทฤษฎี แ ละปฏิ บั ติ โดย ผูเชี่ยวชาญในการใชเรือใบของกรมประมง และพยายามหมั่นฝกฝนการควบคุมเรือใบเพียง 2 วัน ก็ เริ่มคุนเคยและสามารถบังคับเรือใบไดแลว ซึ่งปจจุบันจะใชเรือใบควบคูไปกับเครื่องยนตเล็ก นําไปใช ออกหาปลาไดเปนอยางดี ซึ่งสามารถลดคาน้ํามันเชื้อเพลิงจากเดิมวันละประมาณ 150 บาท เหลือ วันละ 70 บาท อยางไรก็ตาม การควบคุมเรือใบใหแลนไปตามลมและทวนลม เพื่อไปยังทิศทางที่ ตองการในระยะแรกนั้นจะยากพอสมควร เพราะหากลมทะเลพัดแรงและผูใชไมชํานาญหรือรูเทคนิค ก็จะทําใหเรือพลิกคว่ําได นายเจ ะ ยาหยา สาเบด ผู ใ หญ บ า นบ า นบุ โ บย เล า ว า ตั้ ง แต ต น ป ม านี้ ห ลั ง จากที่ ชาวประมงบานบุโบยหลายสิบรายหันมาติดตั้งเรือใบ เพื่อออกไปหาปลา ก็เริ่มไดรับความสนใจจาก นัก ทองเที่ ย วและนัก ตกปลามาขอเชาเรือใบกันมากขึ้น เพราะเป นสิ่งใหม ที่นัก ทองเที่ ย วอยากจะ ทดลองบังคับเรือใบ ที่ไดทงั้ ความสนุกตื่นเตนและทาทายไปดวยทุกครั้ง ซึ่งบานบุโบยอยูหางจากที่วา การอํา เภอละงูป ระมาณ 25 กิ โลเมตร นัก ทองเที่ย วสามารถเดินทางมาไดโดยรถยนตใช เวลา เดินทางจากตัวจังหวัดประมาณ ชั่วโมงครึ่งเทานั้น ทั้งนี้ หากนักทองเที่ยวชอบตกปลา เราก็จะแนะนําใหใชบริการของเรือประมงพื้นบาน เพื่อใหชาวประมงไดมีรายไดเสริม ดีกวาการจับปลาเพียงอยางเดียว


- 16 -

ขอดีขอเสียของภูมิปญญาทองถิ่น 1. ลดตนทุนในการประกอบอาชีพ ชวยใหมีรายไดเพียงพอเลี้ยงครอบครัว 2. ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากของเสียที่ปลอยจากเรือประมง 3. สามารถพัฒนาขยายผลไปสูการสงเสริมการทองเที่ยวในชุมชนได



- 17 -

หลาด : ซุปเปอรมารเก็ตใกลบาน เปนภูมิปญญาในการหาปลาโดยไมตองใชแรงงานคน ซึ่งใชไดผลดีเฉพาะใน พื้นที่บานบุโบย เนื่องจากมีสภาพพื้นที่เปนหาดเลนที่มีความลาดเทพอสมควร โดยตัดไมในปามาปก เรียงกันใหมีลักษณะเปนคอก 3 ชั้น ลอมดวยอวน และมีปากทางเข าสําหรับสั ตวทะเลวายเขามา ในชวงน้ําขึ้น เมื่อถึงชวงน้ําลงปลาจะติดอยูในคอกชั้นสุดทายซึ่งมีน้ําขังอยู ชาวประมงจะเขามาดูทุก วันหรืออาจเวนระยะบาง โดยหลาด 1 ตัว มีอายุใชไดนานเกือบ 1 ป การดักปลาดวยเครื่องมือชนิด นี้ดีก ว าเครื่องมืออื่นๆ เพราะไม สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ไม มีก ารใช ส ารเคมี ไดสั ตว ท ะเลใน ปริมาณพอสมควร ไมมากเกินความจําเปน และดวยหลักการเลือกอวนทําคอกตองเลือกที่มีขนาดตา หางเพื่อลดแรงตานของกระแสน้ํา ทําใหสัตวเล็กๆ สามารถลอดผานชองตาของอวนออกมาได


- 18 หลาด : อุปกรณประมงพื้นบาน

ผูถายทอดภูมิปญญาทองถิ่น : นายอํามาเหร็น ขาวเชาะ จุดเดนของภูมิปญญาทองถิ่น : ราษฎรในบานบุโบยมีอาชีพหลักคือทําการประมงมาตั้งแตบรรพบุรุษ อุปกรณการประมง ในสมัยกอนมีเพียงแหและอวนเทานั้น การคิดประดิษฐอุปกรณชวยทุนแรงในการหาปลาจึงประกอบ มาจากสิ่งใกลตัวที่หาไดงาย รวมกับการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในชุมชน หลาด เปนภู มิปญ ญาในการหาปลาที่อาศัยแรงงานคนเฉพาะในขั้นตอนการสรางหลาด และการชอนปลาไปบริโภคในขั้นตอนสุดทายเทานั้น นอกนั้นอาศัยกระบวนการทางธรรมชาติ ไดแก การหมุนเวียนของกระแสน้ํา น้ําขึ้นน้ําลง และสัญชาตญาณของสัตวทะเล ซึ่งวิธนี ี้จะใชไดผลดีเฉพาะ ในพื้นที่บานบุโบย เนื่องจากมีสภาพพื้นที่เปนหาดเลนที่มีความลาดเทพอสมควร เมื่อพิจารณาในแงของอายุการใชงานกับความคุมคาของทรัพยากรที่นํามาลงทุนประกอบ เปนหลาด จะเห็นไดวามี ความคุม คามาก เพราะหลาด 1 ตัว มีอายุใชงานไดนานเกือบ 1 ป แต สามารถสรางรายไดและลดรายจายภายในครัวเรือนของราษฎรในพื้นที่ สงเสริมการมีคุณภาพชีวิตที่ ดี ประกอบกับไมกอใหเกิดปญหาดานสิ่งแวดลอม เพราะไมมีการใชสารเคมี ไดสัตวทะเลในปริมาณ พอสมควร ไมมากเกินความจําเปน และดวยหลักการเลือกอวนทําคอกหลาด ตองเลือกที่มีขนาด ตาหางเพื่อลดแรงตานของกระแสน้ํา ทําใหสัตวทะเลเล็กๆ สามารถลอดผานชองตาของอวนออกมา ได นอกจากนีก้ ารนําไมมาสรางหลาด ยังชวยใหเกิดการใชประโยชนจากทรัพยากรปาชายเลน ในพื้นที่ ซึ่งเปนไปตามหลักของการอนุรักษ คือ แมจะมีการตัดไมออกมาใชประโยชน แตการตัดไม ออกมาใชป ระโยชน ในปริมาณที่พ อเหมาะ เทา กั บ เปน การเป ด พื้นที่ใหไ ม รุนใหม ไดเจริญ เติบ โต หมุนเวียนอยางยั่งยืนตอไป และสรางจิตสํานึกในการหวงแหนปา เพราะราษฎรในพื้นที่ไดรับและใช ประโยชนจากปา เปนภูมิปญญาเฉพาะถิ่น เฉพาะในพื้นที่บานบุโบยเทานั้น เพราะมีทําเลที่ตั้งหลาดที่มีความ เหมาะสม คือ เปนหาดที่มีความลาดเท ชวยใหการทํางานของหลาดไดผลดี


- 19 -

รายละเอียดของภูมิปญญาทองถิ่น : 1. อุปกรณที่ใชในการทํา “หลาด” 1 ตัว - ไม ดุนกลมเปลาตรง ความยาวประมาณ 2.5 -3 เมตร จํ านวนประมาณ 60 ดุน เดิมใชไมในปาโกงกาง แตปจจุบันนิยมใชไมไผ เพราะมีรูปทรงเปลาตรงตามตองการ - อวนขนาดตางๆ - เชือกไนลอน 2. สวนประกอบของ “หลาด” หลาด 1 ตัวประกอบดวย 2 สวนหลัก ดังนี้ 1. ปก เปนเสมือนหางเสือ เข็มทิศ ถนน และปากประตูทางเขา - ปกเลย - ปกแซงซีกซาย - ปกแซงซีกขวา สวนของปกแซงนี้ จะมีห รือไมก็ไดขึ้นอยูกับทําเล หากพื้นที่หาดมีความกวางไม มากก็ไมจําเปนตองสรางปกแซง 2. กุหรง ซึ่งหมายถึง “หอง” หลาด 1 ตัวจะประกอบดวย 3 กุหรง เหตุที่ตองสราง ใหมีถึง 3 กุห รง เพราะหากสรางเพียง 2 กุห รง จะไมส ามารถลวงปลาได และปลาอาจลอดหนี ออกมา แตในกรณีทําเลหาดมีความลาดชันมาก อาจใชเพียง 2 กุหรงก็ได ซึ่งแตละกุหรงมีขนาด และหนาที่แตกตางกัน ดังนี้ - กุหรงปาก (กุหรง 1) ทําหนาที่เสมือนเปนหองรับแขก ปลาที่ตดิ เขามาในหลาด โดยการนําทางรวมกันของป กเลย ปก แซงซ าย และป กแซงขวา จะเขามาติดอยูในกุห รงปากเป น อันดับแรก - กุหรงลวง (กุหรง 2) ทําหนาที่เปนหองลวง - กุหรงทาย (กุหรง 3) ทําหนาที่เสมือนเปนสวนพักผอน


- 20 สวนประกอบของหลาด

“หาดลึก”

บริเวณน้ําลง ต่ําสุด

กุหรงทาย

กุหรงลวง ไมหลักคอกกุหรง

กุหรงปาก

ปกแซง “หาดตื้น”

บริเวณน้ําขึ้น สูงสุด ไมหลักปกเลยและปกแซง ปกเลย อวนขึงเปนคอกหลาด


- 21 -

3. วิธกี ารสรางหลาด 3.1 ทําเลที่ตั้งหลาด ตามที่ ก ล า วไว ข า งต น หลาดเป น อุ ป กรณ ก ารประมงที่ อ าศั ย กระบวนการทาง ธรรมชาติเป น หลั ก สิ่ งสํ า คั ญ ที่ สุ ด ที่ห ลาดจะทํ า งานไดดีห รือไม คื อ ทํ า เลที่ ตั้งของหลาด ต องมี ลักษณะดังนี้ - เปนหาดเลน - มีนํา้ ขึ้นลงทวมถึง - เปนบริเวณที่มีความลาดเทลงไปหาบริเวณที่น้ําลงต่ําสุด - บริเวณที่ตั้งกุห รงทาย (กุห รงที่ 3) จะตองตั้งอยูในบริเวณที่มี น้ําขังตลอดเวลา แมในเวลาที่น้ําลงต่ําสุด

3.2 การสรางหลาด ไมดุนกลม เปลา ปกลงบริเวณที่ตั้งหลาดตามรูปแบบ คือ ประกอบดวยสวนปก เลย ปกแซงซายและขวา กุหรงปาก กุหรงลวง และกุหรงทาย โดยมีความแตกตางกันเล็กนอย ดังนี้

3.2.1 ระยะหางระหวางเสาหลัก - บริเวณปก หางหลักละ 2 เมตร - บริเวณคอกกุหรง หางหลักละ 1 เมตร ทั้ ง นี้ สามารถปรั บ เปลี่ ย นระยะห า งได โ ดยพิ จ ารณาจากความแรงของ กระแสน้ํา หากกระแสน้ําแรงมากใหปกเสาหลักหางขึ้น เพื่อลดแรงตานของน้ํา

3.2.2 ความยาวของปก - ปกเลย ยาวเทากับระยะหางจากปากกุหรงแรก จนถึงชายปา - ป ก แซง ความยาวประมาณไม เกิ น 8 เมตร (4 หลั ก ) หรือหาก ชายหาดกวางไมมาก อาจไมจําเปนตองมีปกแซงก็ได ทั้ ง นี้ สามารถปรั บ เปลี่ ย นระยะห า งได โ ดยพิ จ ารณาจากความแรงของ กระแสน้ํา หากกระแสน้ําแรงมากใหปกเสาหลักหางขึ้น เพื่อลดแรงตานของน้ํา

3.2.3 ขนาดของตาอวน - กุหรงปาก ใชอวนตาขนาด 1 ½ นิว้ – 2 นิ้ว - กุหรงลวง ใชอวนตาขนาด 2 นิ้ว - กุหรงทาย ใชอวนตาขนาด 1 นิ้ว


- 22 -

หลักการทํางานของหลาด หลาด นับเปนอุปกรณ ประมงอีกประเภทหนึ่งที่รบกวนธรรมชาตินอยมาก เพราะไมตอง อาศัยเรือ ไมตองอาศัยเครื่องจักร ใชเพียงหลักการที่วา ปลามีสัญชาตญาณที่ตองวายไปหาที่ลึก เสมอ ปลาจะวา ยเขา มาติ ด กั บ ในอุป กรณ ห ลาดนี้ ได ตามธรรมชาติ ก ารไหลเวีย นของกระแสน้ํา ตามลําดับดังนี้ - เมื่อปลาวายเขามาชนปกเลย ปกเลยจะทําหนาที่ในการนําทางหรือตอนปลาเขา สูประตูทางเขาหลาด เมื่อปลาวายเขาสูบริเวณปกแซงทั้งดานซายและขวา ปกทั้งสองดานก็จะทํา หนาที่ตอ นปลาใหวายลึกเขาไปเรื่อยๆ จนถึงเขตของ “กุหรงปาก (กุหรง 1)” - กุหรงปาก (กุหรง 1) ทําหนาที่เสมือนเปนหองรับแขก ปลาที่เขามาในบริเวณกุ หรงปากจะวายวนอยูบริเวณกุหรงปาก ไมสามารถวายยอนกลับไปทางเดิมไดอกี จนกระทั่งน้ําทะเล ลดระดับลง ปลาจะวายตามกระแสน้ําไปหาที่ลกึ กวา จนเขาสูเขต “กุหรงลวง (กุหรง 2)” - กุหรงลวง (กุหรง 2) ทําหนาที่เปนหองลวง - กุหรงทาย (กุหรง 3) ทําหนาที่เสมือนเปนสวนพักผอน กุหรงทายจะเปนสวน เดียวในหลาดที่จะมีน้ําขังอยูตลอดเวลา แมในเวลาที่น้ําลดลงต่ําสุด เพราะจะตั้งอยูในจุดที่ลุมที่สุด ของบริเวณที่ตงั้ หลาด ปลาจะวายวนเวียนอยูในกุหรงทายจนกวาชาวประมงจะมาตักออกไป ปลาที่หลงเขาไปในกุหรงทุกอัน จะไมสามารถวายทวนกลับออกมายังปากทางได อีกเนื่องจากเหตุผล 2 ประการ 1. บริเวณปากกุหรงแตละลูกจะมีลักษณะปากประตูโคงมวนเขาดานใน เรีย กวา “งา” ปลาจะไมสามารถวายทวนเสนทางออกมาไดอีก 2. บริเวณที่เปนทําเลสําหรับการวางอุปกรณหลาดจะตองเปนหาดที่มีความลาดเท ลึกลงไปในทะเลตามที่กลาวไวขางตน เพราะสัญชาตญาณของปลาและสัตวทะเลตางๆ จะวายไปหา บริเวณที่นํ้าลึกเสมอ ปลาจึงถูกตอนดวยธรรมชาติของกระแสน้ําขึ้นน้ําลงใหเขาไปติดในหลาดลึกเขา ไปเรื่อยๆ จนติดอยูใ นกุหรงสุดทาย รอใหชาวประมงมาตักไปเปนอาหารในที่สุด


- 23 -

ลักษณะทําเลที่เหมาะสมในการตั้งหลาด

ลักษณะและสวนประกอบตางๆ ของหลาด


- 24 ชนิดของสัตวทะเลที่มักพบเขามาติดในหลาด การสรางหลาดดักปลา ทําใหชาวประมงมีอาหารทะเลสดไวบริโภคอยูเสมอ หากตองการ เมื่ อใด ก็ ส ามารถไปชอนปลาจากหลาดมาบริโภคได ไม ขาดแคลน แตอาจไดป ริมาณมากนอย ตางกันในแตละวัน ซึ่งชนิดของสัตวทะเลที่มักพบเขามาติดอยูในหลาดบอยๆ ไดแก ปลากระบอก ปลาสามแกว (หรือปลามิหลังกะหรัง) กุง ปลาหมึก เปนตน

แมไมมีเรือประมง ไมสามารถออกหาปลาได แตมีอาหารทะเลจากหลาดไวบริโภคในครัวเรือนไมขาดแคลน

ปลาที่ไดจากหลาด


- 25 -

ขอดีขอเสียของหลาด 1. แมหลาดจะเปนอุปกรณประมงที่เขาขายขอหามทางการประมง เนื่องจากเปนเครื่องมือ ประเภทตั้งอยูก ับที่เชนเดียวกับโพงพาง ไซนั่ง และโปะ แตหลาดไมเปนอุปสรรคหรือกีดขวางทางรอง น้ํา หรือคลอง เหมือนอุป กรณป ระเภทอื่นดังกลาวขางตนซึ่งขวางทางรองน้ํา คลอง ทางออกเรื อ และ จะสงผลกระทบตอระบบนิเวศบริเวณคลอง ชายหาด และทะเลในระยะยาว 2. ตาอวนที่ใช ในหลาดเปนตาอวนขนาดใหญ ขนาดตากวางตั้งแต 1 นิ้วครึ่งจนถึง 2 นิ้ว ปลาเล็กปลานอยจึงยังสามารถวายลอดผานตาอวนออกมาได 3. เป นการทํ า ประมงเพื่ อวั ต ถุ ป ระสงค ในการเลี้ ย งชี พ มากกว า การค า จึ งมิ ได มุ งเน น ที่ ปริมาณของสัตวทะเล 4. มีสัตวทะเลบริโภคไดตลอดป แมเปนชวงฤดูมรสุมที่ไมสามารถออกทําการประมงในทะเล ตามปกติได 5. ผูสูงอายุ หรือสุภาพสตรี สามารถหาอาหารทะเลสําหรับบริโภคหรือเหลือจําหนายเปน รายได โดยไมจําเปนตองออกเรือไปในทะเล 6. ตนทุนอุปกรณต่ํา เนื่องจากไมตองใชเหยื่อลอ ไมสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิงออกไปในทะเล 7. ปลาไมตาย เนื่องจากในกุหรงทาย (กุหรงที่ 3) ที่ปลาหลงเขาไปจะมีน้ําขังอยูตลอด และ มีสวนที่เปดโลงเหนือผิวน้ํา ปลาจึงสามารถวายขึ้นมาหายใจเหนือน้ําได ปลาที่จับมาไดจึงมีความสด โดยไมผานการแชสารเคมี



- 26 -

สมุนไพรพื้นบาน : ภูมิปญญารักษาโรค


- 27 สมุนไพรพื้นบาน : ภูมิปญญารักษาโรค

ผูถายทอดภูมิปญญาทองถิ่น : นายยูหนัน จุยแมน หมูที่ 3 ตําบลแหลมสน อําเภอละงู จังหวัดสตูล โทรศัพท 089-9742243 จุดเดนของภูมิปญญาทองถิ่น : เปนภูมิปญญาที่ไดมาจากการถายทอดของบรรพบุรุษ ประกอบกับ ความสนใจศึกษาหา ความรูเพิ่ มเติ ม มีการพัฒ นาตอยอด โดยการแลกเปลี่ยนและศึกษาจากผู รูและประสบการณจ าก ผูอ่นื อยางรอบดาน แมภู มิ ป ญ ญาในการผสมยาสมุ นไพรจะไม มีก ารจดสิท ธิบัตร แตก็ ถือเป นทรัพ ย สินทาง ปญญาที่อยูในตัวบุคคลเพราะหมอยาสมุนไพรแตละคน แมจะผสมยาดวยสูตรและสวนผสมเดียวกัน แตผลในทางการรักษาอาจประสบความสําเร็จแตกตางกัน ขึ้นอยูกับความชํานาญและเทคนิคสวนตัว ของแตละคน การปรุงยาแตละครั้งจะเนนในเรื่องของความสะอาดเปนหลัก รายละเอียดของภูมิปญญาทองถิ่น : 1. แหลงที่มาของสมุนไพร - เก็ บ หาในพื้ น ที่ เช น ต น แก ม ปลาหมอ (ชื่ อ พื้ น เมื อ ง) หรื อ ต น เหงื อ กปลาหมอ ตนตายใบเปน เปนตน - ซื้อหาจากรานยาสมุนไพร 2. เทคนิคการเก็บและใชสมุนไพร - สมุนไพรสวนยอด ตองเก็บตอนเชา เพราะหากสายกวานี้จะทําใหมีสารพิษมาสะสม อยูบ ริเวณยอดจํานวนมาก - สมุนไพรสวนราก ตองเก็บชวงบายถึงเย็น - กอนนํา สมุนไพรชนิด ตางๆ มาผสมเขายา จะตองนํามาผึ่ งแดดจัดอยางนอย 1 วัน กอน เพื่อไลความชื้น เมื่อผูปวยนําไปตมจะชวยยืดอายุของยาใหใชไดนาน ไมบูดเร็ว แตหากเปนราน ขายสมุนไพรที่ตองจําหนายสมุนไพรในปริมาณมาก อาจใชวิธกี ารอบดวยเตาอบ เพื่อผลิตสมุนไพร ไดในปริมาณเพียงพอตอความตองการ


- 28 - ตนไมบางชนิดที่มีคุณคาดานสมุนไพร แมจะเปนตนไมชนิดเดียวกันแตจําแนกเปนตน เพศผู และตนเพศเมีย เชน ตนเหงือกปลาหมอตัวผูขอบใบจะไมหยักแหลม แตหากเปนตนตัวเมียจะมี ขอบใบเปนหยักแหลม จะมีคุณสมบัตทิ างยาแตกตางกันดวย - สมุนไพรบางชนิด จะเก็บมาใชปรุงยาไดในบางชวงเวลาเทานั้น เชน ตนปลาเงิน ปลา ทอง หากเก็บในเดือน 5 แลวนํามาใชปรุงยา อาจทําใหเกิดการแทงในสตรีที่ตงั้ ครรภได 3. วิธีการรักษาโรคโดยใชสมุนไพร 1. การวินิจฉัยโรค ในการวินิจฉัยโรค สําหรับผูปวยที่เลือกแนวทางการรักษาดวย สมุนไพรนั้น หมอยาสมุนไพรจะวินิจฉัยโรคโดย 2 แนวทาง ดังนี้ - การวิ นิ จ ฉั ย จากอาการที่ ผู ป ว ยบอกเล า หรื อ จากการสั ง เกตร ว มกั บ ประสบการณการรักษาที่ผานมา เชน โรคระบบเลือดของผูหญิง อาการวิงเวียน เปนลม - การวินิจฉัยโดยรักษาตามที่ผูปวยไดรับการวินิจฉัย จากแพทยแผนปจจุบั น เชน โรคนิ่ว

2. การปรุงยา หลังจากขั้นตอนการวินิจ ฉัยโรคแลว จะจัดปรุงยาสมุนไพรใหแก ผูปวยตามอาการ โดยสวนผสมขึน้ อยูกับเทคนิคและวิธีการของหมอสมุนไพรแตละคน 3. ระยะเวลาการรักษา ยาสมุนไพร 1 ชุด จะรับประทานไดป ระมาณ 1 เดือน ผู ป ว ยแต ล ะราย แต ล ะอาการ ใช เวลาในการรัก ษาด ว ยสมุ น ไพรแตกต า งกั น ออกไป บางราย รับประทานไมถึงเดือนอาการจะดีข้นึ หรือบางรายอาจตองใชเวลานานกวา ใชยามากกวา 1 ชุด ทั้งนี้ ขึน้ อยูกับสภาพรางกาย สภาพอาการของโรค บางรายอาจหายขาด บางรายอาจเพียงแคดีข้นึ ขอดีขอเสียของการใชยาสมุนไพร 1. เปนการสืบทอดภูมิปญญาของบรรพบุรุษ 2. เปนการรักษาอีกทางเลือกหนึ่ง นอกจากยาแผนปจจุบัน 3. ยาสมุ นไพรบางชนิด มี ส รรพคุ ณ ช ว ยรัก ษาหรือ บรรเทาอาการต า งๆ ไดดีก วา ยาแผน ปจจุบัน


¡ÃÁ» ÒäÁ Ê Ç¹¨Ñ´¡Òû ÒªØÁª¹ Êํҹѡ¨Ñ´¡Ò÷ÃѾÂҡû ÒäÁ ·Õ่ 13 (ʧ¢ÅÒ) ËÁÙ ·Õ่ 1 µํҺũÅا ÍํÒàÀÍËÒ´ãË­ ¨Ñ§ËÇѴʧ¢ÅÒ 90110 â·ÃÈѾ· 0-7420-5974 â·ÃÊÒà 0-7420-5974


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.