PP' P

Page 1

P

PARPPIM’S PORTFOLIO


PARPPIM PIMMARATANA Female • Birthday: 1 December 1991 • Nationality: Thai • Bhuddism

SKILL

STRENGTH

Photoshop Illustrator Indesign Archicad Autocad Artlantis

Adapability Relator Ideation Responsibility Futuristic

by Gallup’s Strengths Finder

WORK EXPERIENCE Art Director

LANGUAGE THAI - Native

Ashoka Thailand and School of Changemakers an initiative program by Ashoka Thailand

ENGLISH - Limited Working Proficiency

responsible for creating posters and banners to promote workshop and art director of e-magazine “Changemaker” which analyse and express social issue to public.

EDUCATION BACKGROUND

Winner Award

Sticker line design compettition Happy Mai Chai Len Award year 9

Bachelor of Architecture Degree Chulalongkorn University, Thailand (2010-2015) GPAX 3.07

Cross culture in urban and architecture design workshop

collaborate with L’Ecole nationale supérieure d’architecture de Versailles, France

Work with French architecture students to design an alternative energy tower to solve problem in two contexts, Arches, France – Chachoengsao,Thailand

2015

Trainee Graphic designer

Anonymous, Studio based in Singapore

2014

2013

Chulalongkorn University Demonstration School (2004-2010) GPAX 3.95

3 months training in publication design, Art Director responsible on art direction and for issue 154 “uniform” - special issue produce by junior team.

Teaspoon Studio

created window display with paper craft technique.

Volunteer Graphic Designer Plajapian (translate: Diligent Fish)

2012

Asst. Prof. Terdsak Tachakitrachorn,Ph.D

Secondary School

Junior Art director

Trainee Graphic Designer

Collabolate with Waseda University, Japan

Architecture Measure Team

Design a flyer for A Design Film Festival Singapore 2014 ,developing event identity, staff at launching party.

A day Magazine

Measure & Research in architecture

Went to Ayutthaya, Thailand to survey the possibility of improving houses inorder to better prepare for floods in collaberation with japanese students and put together a workshop in japan

Create a set of line sticker under concept “happy summer” which also reflect brand identity.

2011 2010

Design art direction and brochure for ‘Thai Vintage village Trip’ - a trip to explore riverfront living, floating market create revenue for the villagers post flooding.

Trainee

Thai Health Promotion Foundation

Interned on the creative team of media for society -planned and produced media for the campaign to stop smoking, drinking and educational material for poisonous animals during the flood.


DESIGN PORTFOLIO PARPPIM’S PUBLICATION COLLECTION, 2012-2015

2013

EDITORIAL DESIGN a day magazine issue 154

2015

INFORMATION GRAPHIC DESIGN Krabi (survey trip) : summary report

2015

2015

GRAPHIC DESIGN art direction, poster, logo, brochure for exhibition

2012

PUBLICATION DESIGN Klong Lud Mayom booklet

GRAPHIC DESIGN POSTER & FLYER EDITORIAL DESIGN BRAND IDENTITY ILLUSTRATION DRAWING & SKETCHING ARCHITECTURE

EDITORIAL DESIGN Changmakers magazine : a magazine for everyone who want to be a changemakers



THAI VINTAGE VILLAGE TRIP IDENTITY DESIGN Volunterer graphic designer, 2012

I have participated in the voluntary working group called “Plajapian” (translation: Diligent Fish) as a designer. The group focus on improving rural and suburban communities by co-creating projects with the locals to bridge the growing gap between them and urban people. ‘Thai Vintage Village’ is a trip to explore riverfront living, floating market create revenue for the villagers post flooding. I was responsible for design trip identity,logo, promoting material such as poster, facebook banner, instagram photo and a guidebook and a recipe book . I use hand drawing and watercolor to present a thai village’s charming.



MAIN COURSE ILLUSTRATION

A DAY MAGAZINE 154 Art Director #154 - UNIFORM issue junior art director trainee issue 151-153, 2013

An internship program of a day magazine, life style magazine, selected 12 college student to set up a junior team to learn process of publication and finally produce 1 edition by junior team which sold normally ; [issue 154 june 2013] I responsible for design art direction, key visual, making paper craft prop. The main illustration rely on the concept “invisible man� to represented an unique character of career which wear the uniform.



DELICIOUS TRIP POSTER Design poster for promoting Delicious trip, features in a day issue 154, 2013

This poster design for promoting a trip, a gimmick activities for Human Ride column in a day magazine, This trip is about ride a bicycle to ‘Klong Lad Ma Yom’, floating market, to explerience treditional and local food. Concept behind this poster is delicious poster, to represent the concept of the trip “ ride to eat” . I choose to illustrate local food and use yellow color that give a feel deliciosness.


SINGAPORE DESIGN FILM FESTIVAL 2014 Trainee Graphic Designer at Anonymous, Singapore, 2014

Sigapore Design Film Festival 2014 Flyer

** photo by anonymous.sg


A DAY AIC IDENTITY MAGAZINE DESIGN 154 Trainee Art Director Graphic #154Designer - UNIFORM issue junior at Anonymous, art director Singapore, trainee issue 2014 151-153, 2013

Thisinternship An is my workprogram when training of a dayatmagazine, Anonymous, life style magazine, design a visual identity selected and12 print college collateral student for to set the Asian up Intercultural a junior team Conference. to learn process of publication and finally produce 1 edition by junior AIC is represented team which in sold geometric normally shapes ; [issue to form 154 june its identity.The 2013] concept of this flyer is imagine the canvas as afor container conference hall or I responsible designlike artadirection, key a performance stage where people congregate, visual, making paper craft prop. different shapes and color falling into place, The main illustration rely on the concept taking the form of the container, filling the “invisible to represented an unique canvas in aman” whimsical fashion to portray the character ofunpredictable career whichnature wear the uniform. versatile and of theatre.



SML THESIS EXHIBITION Design Identity, Logo and Brochure, 2015

This SML Thesisi exhibition is senior thesis project exhibition by Architectural Design students from faculty of Architecture, Chulalongkorn University which contain a series of work from 3 main majors, Interior, Architcture and Thai Architecture, Urban design, of the faculty. ( I was architecture class attendance) Design concept : S M L represented the size of work S = small-for interior design, M = medium-for architecture design and L = large-for urban design. The logo design by deviding a square into 3 proportion which represent project size of 3 majors and reflects the exhibition as a square that host all 3 series of student work.



SCHOOL OF CHANGEMAKERS Art Director and Designer, School of changemaker identity design, 2015

For representing the concept of school of changemakers, “ Everyone can be a changemaker�, the logo combine small element together to make a word, which it means everyone like a small part that can be together to make meaningful action to change the world to better society. And this concept apply to others design such as invitation card which use element to creates people face. The Color scheme rely on cheerful and powerful spirit.



KRABI SURVEY TRIP & SUMARY REPORT

survey trip, design workshop to collect opinion from local people and produce report , 2013

This Project collaborrates with Srinakharinwirot University. School of changemakers team went to Krabi, southern province in Thailand, to do surver trip, collect opinion and problem that they have to face today from local people in 8 districts, find the most urgent issue and their needs. This is final report from the trip, transform basic information and summary by using graphic to illustrate their situation.



SOLUTION

โรงพยาบาล และหน่วยงานสาธารณสุข เปิดบริการส่วนงานพิเศษสำาหรับผู้สูง อายุ มีกองทุนและหลักประกันสุขภาพ ที่ผู้สูงอายุทุกคนเข้าถึงได้ ครอบคลุม อาการเจ็บป่วยต่างๆ ทัง้ ทางกายและใจ

CHANGE

เรื่อง << กองบรรณาธิการ ภาพ << กฤตฏิ์ สงฆประสิทธิ์

E L D E R- F R I E N D LY HOME

ในชวงเวลานี้ คุณพอคุณแมของหลายๆ คนคงเขาสูว ยั เกษียณอายุกนั แลว พรอมกับทีค่ ณ ุ ปูค ณ ุ ยาทีบ่ า น ก็มอี ายุมากขึน้ เรือ่ ยๆ เมือ่ พวกเขาตองใชเวลาอยูท ่ี ‘บาน’ มากขึน้ ดวยสภาพรางกายทีอ่ าจไมแข็งแรงเหมือนเกา แลวเราพอจะทําอะไรไดบา ง เพือ่ ใหผสู งู อายุในครอบครัวอยูบ า นไดอยางมีความสุขมากขึน้ ?

มี พ้ื น ที่ ส าธารณะให้ ผู้ สู ง อายุ ได้ พบปะ ได้ อ อกกำ าลั ง กายและ แสดงออกทางภูมปิ ญ ั ญา ความคิด ความต้องการ เพื่อให้ผู้สูงอายุมี ส่วนร่วมในชุมชน

เรียนรู้ตลอดชีวิต สนุก และมีคุณค่า

ปรับเปลี่ยนที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัย สำาหรับทุกคน

สมาชิกครอบครัวคือคนสำาคัญ ที่จะคอยพูดคุย และพาผู้สูงอายุ ไปไหนมาไหน และส่งเสริมให้ ได้ทำากิจกรรมที่สนใจ

รัฐสามารถพัฒนาระบบคมนาคม โดยเฉพาะการขนส่งสาธารณะให้ เข้าถึงง่าย ด้วยเส้นทางทีค่ รอบคลุม และโครงสร้างพืน้ ฐานทีอ่ าำ นวยความ สะดวกแก่ผสู้ งู อายุ เช่น รถเมล์ชานต่�ำ ทีน่ ง่ั สำาหรับรถเข็น เป็นต้น

องค์กรเอกชนสามารถตัง้ กองทุนสำาหรับ พนั ก งานเกษี ย ณอายุ และจ้ า งงาน ผู้สูงอายุในลักษณะงานที่เหมาะสมกับ วัย เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีรายได้ มีสังคม และมีคณ ุ ค่า รวมถึงการจัดกิจกรรมเพือ่ ช่วยส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุ

องค์กรท้องถิ่น และหน่วยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง สามารถจัด ตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิต และส่งเสริมการจ้างงาน ผู้สูงอายุ ปรับเปลี่ยนอาคารสถานที่ ด้วยการ ออกแบบ Universal design เพือ่ ให้ เหมาะสมกับผู้สูงวัย

SOLUTION

20

หองนอน

หองน้ํา

หองครัว

หองรับแขก

บันได

ประตู

- ควรอยูช น้ั ลาง สามารถเขาหองน้าํ ไดสะดวก และเตียงควรมีความสูงประมาณ 40 ซม. หรือจากพื้ น ถึ ง ข้ อ พั บ เข่ า เพื่ อ ให้ ลุ ก นั่ ง สะดวก - เลือกใชฟกู ทีน่ อนแบบลอน เหมาะสําหรับ ผูสูงอายุหรือผูปวยที่ตองนอนติดเตียง

- ควรอยูใกลหองนอน หรืออยูในหองนอน - ความกวางประมาณ 150-200 ซม. และ แบงพื้นที่สวนที่เปยกกับแหงใหชัดเจน - พืน้ เรียบ แตไมลน่ื และเลือกกระเบือ้ งปูพน้ื ที่มีลวดลาย เพื่อช่วยเพิ่มแรงเสียดทาน ปองกันการหกลม - โถชักโครก ควรเปนแบบนั่ง มีที่พิง และ โถสูงจากพื้นประมาณ 45 ซม. เพื่อให นั่งสะดวก - มีปุมฉุกเฉินในระยะเอื้อมถึง

- มีพื้นที่เพียงพอใหรถเข็นหมุนกลับตัวได - ระดั บ ของเคาน เ ตอร หรื อ เตา ควรอยู ประมาณ 75 ซม. ไมสูงหรือต่ําเกินไป - ก อ กน้ํ า ควรเป น แบบก า นโยก เพื่ อ ให สะดวกในการเปดปด

- เก า อี้ ค วรเป น ทรงสู ง เนื้ อ แน น แข็ ง แรง มีเบาะใหนั่งสบาย และมีที่เทาแขน - เฟอรนิเจอรทั้งหมด ควรเปนแบบมุมมน

- ขั้ น บั น ไดสู ง ไม เ กิ น ขั้ น ละ 15 ซม.และ ควรเปนขัน้ บันไดทึบ ไมเปดชองโลง เพือ่ ให เดินงายและปองกันการสะดุดลม - ควรมีชานพักทุก 2 เมตร - มีราวจับทีเ่ รียบแตไมลน่ื

- มีความกวาง 90 ซม. ขึน้ ไป เพือ่ ใหรถเข็น สามารถผานได - ที่ ดี ท่ี สุ ด ควรเป น ประตู แ บบบานเลื่ อ น เพราะเปดปดไดงา ย และชวยผอนแรง - ใชกา นโยก แทนลูกบิด เพือ่ สะดวกในการจับ และเปดปด

15

ทีม่ าขอมูล : คูม อื บานใจดี บานทีอ่ อกแบบเพือ่ คนทุกคน (Universal Design Home) โดย สสส.

30

21

31

ภาพ >> พีระ วรปรีชาพาณิชย์

INTERVIEW เรื่อง << ศศิวรรณ โมกขเสน ภาพ << วริษฐา นาครทรรพ

IT'S NOT IT'S ABOU ทุกวัยคือ...

ABOUT AGING, T LIVING "เรื่องเดียวกัน"

หลังเราทักวาคิวเยี่ยมญาติผูใหญยามลงมากรุงเทพฯ ของเขาดู ไมตางไปจากงานที่ทําอยูซึ่งจําเปนตองไปพบปะผูสูงอายุตามบาน เสมอเลย เบิ้ม-วีระพงษ กังวานนวกุล บอกวา “ทําใหมันเปนเรื่อง เดียวกัน” สําหรับเบิม้ ดูเหมือนทุกอยางจะเปนเรือ่ งเดียวกันอยูเ สมอ ตัง้ แต วันที่เขาตัดสินใจกาวออกจากบานในวัย 18 จับรถทัวรขึ้นเหนือไป ทํางานอาสาสมัครบนเขา เพราะคิดวาหากเขายังคอยรับภาระทํางาน เลี้ยงดูเหมือนเคย นองๆ อาจไมไดเรียนรูที่จะเติบโต เบิ้มยายจากการทํางานกับเด็กมาทํางานกับผูสูงอายุ กอตั้ง ‘พิพธิ ภัณฑเลนได’ จัดแสดงของเลนพืน้ บานฝมอื ‘กลุม คนเฒาคนแก’ จนกลายเปนตนแบบของพิพธิ ภัณฑทอ งถิน่ อีกกวา 30 แหง เขาเชือ่ วา ปญหาเรือ่ งเด็กแยกกับความสัมพันธตอ ผูใ หญผเู ฒาในครอบครัวไมได กวา 20 ปของการทํางานเพื่อสังคม วันนี้เบิ้มก็ยังเชื่อวาการ พัฒนาทุกอยางไมสามารถทําไดโดยแยกเปนเรื่องๆ ไป ในเมื่อปญหา ตางๆ ลวนเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยง แมไดรับเลือกใหเปน Ashoka Fellow ตัง้ แตป 2543 ในฐานะคนทํางานทางสังคมทีโ่ ดดเดนดานการสงเสริม ผูส งู อายุ แตสาํ หรับเบิม้ ดูเหมือนเขาจะใหคาํ จํากัดความตัวเองไวกวาง กวานั้นในฐานะคนทํางานเพื่อสราง ‘สังคมของคนทุกวัย’ และนีค่ อื คําอธิบายวาทําไมเขาจึงคิดวามันลวน ‘เปนเรือ่ งเดียวกัน’

ก็เขาไปสูร ะบบโรงงาน ในชุมชนสมัยนัน้ ก็จะเหลือแตคนแกกบั เด็ก เกิด ชองวางของสังคม รอยตอของการเติบโตระหวางเด็กกับผูใหญ ตอนนั้นผมทํางานกับเด็กที่ศูนยพัฒนาการศึกษาเพื่อลูกหญิง และชุมชนที่ อ.แมสาย ชวงวางเราจะไปเยี่ยมเด็กๆ ที่บาน ไดคุยแลก เปลีย่ นกับผูป กครอง เด็กๆ มาอยูก บั เราเขาเกง กลาพูด กลาแสดงออก แตวาถาที่บานไมไดเขาใจวาเขามาอยูกับเราเขาทําอะไรบาง กลาคิด กลาทําอะไรมากแคไหน พอเขากลับไปบานเขาก็เหมือนเดิม เพราะ คนในครอบครัว ไมเชื่อในศักยภาพของลูกหลานตัวเอง เราก็เลยคิด วาการทําใหคนที่เขาใจยากที่สุดอยางคนในครอบครัวเขาใจวาสังคม เปลี่ยนไปอยางไร ลูกหลานเปลี่ยนอยางไร มีสิ่งใหมอะไรเขามา นาจะ ทําใหเด็กคนหนึ่งเติบโตขึ้นมาอยางมีทิศทาง เราเชื่อแบบนั้นเลยไป ทํางานกับคนแก คิดวามันนาจะเปนเรื่องเดียวกัน

สําหรับคนทั่วไปพอพูดถึงคนแกอาจฟงแลวดูหอเหี่ยว แตทําไม คนหนุมอยางคุณถึงคิดมาทํางานกับผูสูงอายุ รากเหงาจุดเริ่มตนของการทํางานเรื่องผูสูงอายุ จริงๆ จับพลัด จับผลูมากกวา สมัยป 40 เปนยุคของการเปลีย่ นผานการเปลีย่ นแปลง ทางสังคม คอมพิวเตอร โลกาภิวตั น ยุคดิจติ อลกําลังจะเริม่ เขามา เปนยุค ความเจริญของสังคมไทยทีค่ นออกไปทํางานตางบานตางเมืองกันหมด เปนเรื่องของการเคลื่อนยายแรงงาน โรงงานมันผุดขึ้นๆ คนหนุมสาว

10

BOOK สูวัยชราอยางมีศิลปะ แรงบันดาลใจเพื่อชีวิตที่งามอุดม

เขียน: จอหน เลน, แปล: สายพิณ กุลกนกวรรณ ฮัมดานี, สํานักพิมพ สวนเงินมีมา

ยอนกลับไปในปค.ศ.2004 อัตราการเพิม่ ขึน้ ของนักโทษสูงวัย ในเรือนจํานาเปนหวง เพราะสภาพแวดลอมของเรือนจําไมเหมาะสม กับผูสูงวัย และกิจกรรมในเรือนจําก็ไมไดถูกออกแบบมาสําหรับ นักโทษสูงอายุ นอกจากนี้ สหรัฐอเมริกายังมีหนวยงานที่ดูแลนักโทษ สูงวัยทีใ่ หบริการทางการแพทยผสู งู อายุไดดอี ยูแ คเพียงหยิบมือเทานัน้ กลุมนักโทษสูงอายุตกเปนเปาของการรังแกในคุกมากพอๆ กับการใชชวี ติ นอกลูกกรง อัลเลน ซูลส หนึง่ ในนักโทษของทัณฑสถาน แหงนี้ใหสัมภาษณไวในเว็บไซตขาวซีบีซีวา “การลวงละเมิดผูสูงอายุ ในคุกมีจริง และมีมากเทาๆ กับทีเ่ กิดขึน้ ในโลกภายนอก นักโทษสูงอายุ มักจะเปนเปาของการถูกทํารายและกลัน่ แกลงภายในหองขัง พวกเรา เปนเปานิ่ง แมวาพวกเราจะไมไดแข็งแรงเทาเมื่อกอน หรือไมไดมี ปฏิกิริยาตอบโตเร็วเทากับเด็กๆ แตนั่นไมไดหมายความวาคนอื่นจะ มีสิทธิ์เอาเปรียบเราได” สถานการณน้ี ทําใหแมรรี่ แฮรรสิ นั ผูป ระสานงานการปองกัน การลวนลามทางเพศและเจ า หน า ที่ ฝ า ยจิ ต เวชของทั ณ ฑสถาน 26

นอรธเนวาดากังวลเปนอยางมาก และเริ่มดําเนินโครงการที่มีชื่อวา True Grit หรือโครงการปรับโครงสรางพื้นฐานชีวิตใหนักโทษสูงวัยใน เรือนจํา เปนโครงการใหมเฉพาะที่ทัณฑสถานนอรธเนวาดาเทานั้น ในขณะที่โปรแกรมพัฒนาตนเองของทั ณ ฑสถานมุ ง พั ฒ นา นักโทษอายุนอย ฝกใหทํางานและใหการศึกษาภายในคุกจนจบการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน แตโครงการ True Grit มีโปรแกรมที่นาสนใจสําหรับ นักโทษสูงวัยทีม่ คี วามสามารถและสมรรถภาพรางกายแตกตางออกไป และกลายเปนบานใหมของนักโทษสูงวัยที่มีอายุตั้งแต 55 ถึง 86 ป โดยนักโทษที่ประสงคจะเขารวมตองมีประวัติความประพฤติที่ดี เก็บ กวาดที่นอน และเขารับการบําบัดภาคบังคับกับทัณฑสถานเพื่อลด พฤติกรรมรุนแรง ซึง่ ประกอบไปดวยโปรแกรมสําหรับบุคคลทีเ่ สพสาร เสพติด การลดใชความรุนแรงในครอบครัว การจัดการความโกรธ บําบัด การคุกคามทางเพศ และโปรแกรมรับฟงความรูสึกเพื่อใหเห็นใจเหยื่อ ทัณฑสถานนอรธเนวาดาเปนหนึ่งในเรือนจําเพียงไมกี่แหงที่ี รับคุมขังนักโทษสูงวัยโดยแยกออกจากกลุมนักโทษที่มีอายุต่ํากวา 27

Assistant CEO บริษัท CT ASIA ROBOTICS ผูพัฒนาหุนยนตดูแลผูสูงอายุ ‘ดินสอ’

ปญหาอีกอยางของคนแก คือ

ยาเยอะมาก แตละมื้อก็ไมเหมือนกัน คนแกมองไมเห็น อานสลากลําบาก เตือนทานขาว ทานยา ออกกําลังกาย ฉี ด อิ น ซู ลิ น นอกจากนั้ น ก็ จ ะเป น เรื่องของคอนเทนตแกเหงา

PEOPLE

TRUE GRIT and TRIANGLE SQUARE

ประวีร ชนัฐชวริน

เราก็ ใ ส ฟ ง ก ชั่ น การเตื อ นด ว ยรู ป

25

เรื่อง << ปาจรีย ไตรสุวรรณ ภาพ << อาสาฬห สุภาจรรยาวัฒน

เบือ้ งหลังรัว้ เหล็กสูงทะมึนของทัณฑสถานนอรธเนวาดาทีต่ งั้ อยูไ มไกลจากตัวเมืองคารสนั ซิตี้ รัฐเนวาดา ประเทศสหรัฐอเมริกา เปน ดินแดนที่ใชคุมขังนักโทษคดีอุกฉกรรจกวา 1,600 ชีวิต แตใครจะไป คิดวาสิง่ ทีเ่ ราจะไดรสู กึ และจําไดตดิ ตาจริงๆ จากการเขาเยีย่ มชมสถาน ที่นี้ ไมใชบรรยากาศหดหูที่มีคนหนุมตัวใหญมากมาย แตคือการ ตอนรับจากชายชรารวมแปดสิบคน

MEDIA

เรื่อง << ภาณุพันธ วีรวภูษิต

SOLUTION

พยาบาลที่ผานการอบรมนี้ในเมืองที่ผมอยู มาจากศูนยของผมถึง 90% แตในประเทศไทยมีศูนยที่ทําหนาที่บรรเทาผูปวยมากกวาใน เมืองเคราลา บานเกิดของผม บุคลากรทางการแพทยของไทยจํานวน มากไดรับการฝกฝนจากศูนยบรรเทามาแลว เพราะฉะนั้นเราจึงเนน อบรมอาสาสมัครทั่วไปในประเทศไทยมากกวา เรามีพารทเนอรเปน องคกรและมหาวิทยาลัยในประเทศไทยทีม่ เี งินสนับสนุนมาชวยเหลือ โครงการดวย” ดร.สุเรชสังเกตวา “ในประเทศตะวันออก ไมใชเรื่องแปลกที่จะ มีคนนอกเขามาชวยดูแลผูปวยในชุมชน อยางในประเทศไทย โดย เฉพาะชนบท คุณจะเห็นไดเลยวามีคนมากมายที่พรอมจะเปดประตู บานของเพื่อนบาน เพื่อเขาไปชวยดูแลผูสูงอายุโดยไมมีใครคิดวานี่ คือการรุกล้ําพื้นที่สวนบุคคล ผมมีความเชื่อในครอบครัวและชุมชน มากกวาการอยูแบบปจเจก ชุมชนเปนสิ่งที่มีอยูแลว และมีพลังพอที่ จะพัฒนาใหเกิดประโยชนสูงสุดตอทุกคน”

นอกจากการจัดการความชวยเหลือบรรเทาทุกขผูสูงวัยโดยใช ชุมชนเปนตัวชวยแลว ดร.สุเรช คูมาร แพทยชาวอินเดียผูอุทิศการ ทํางานกวา 20 ป ในการเยียวยาจิตใจผูสูงอายุมองวาการรักษาโรค เรื้อรังและโรคที่รักษาไมหายยังเปนปญหาทางสังคมที่ชุมชนเองก็ สามารถมีสวนชวยเหลือไดดวย “เราไมสามารถพึ่งพาโรงพยาบาลตลอดเวลาได เราจะพาคน แกไปโรงพยาบาลทุกๆ ครัง้ ไดอยางไร ปญหาทีเ่ กิดจากโรคเรือ้ รังและ โรคทีร่ กั ษาไมหายไมใชแคปญ  หาทางการแพทย แตเปนปญหาสังคม และสุขภาพจิต ชุมชนตองรูว า จะรับมือกับภาวะอารมณออ นไหวของ ผูป ว ยสูงอายุไดอยางไร 70-75% ของผูป ว ยสูงอายุตอ งการความชวย เหลือดานนี้ ตองการคนคุยและคนใหกําลังใจ ไมวาจะเปนคนใน ละแวกบาน ครอบครัว เพื่อนฝูง เราจึงชวยฝกฝนทุกคนที่อยากชวย ดูแลผูสูงอายุ ในชวง 20 ปมานี้ผมพยายามสรางโมเดลการทํางานที่ อยูบนพื้นฐานของชุมชน” โครงการบรรเทาทุกขผูปวยสูงวัยของ ดร.สุเรช ทํางานอบรม อาสาสมัครในชุมชนใหสามารถเขาชวยเหลือดูแลผูส งู อายุและผูป ว ย สูงอายุในดานตางๆ ไดโดยเฉพาะการดูแล ในเบื้องตนและการพูด คุยเพื่อเยียวยาจิตใจ โครงการของ ดร.สุเรช เริ่มในชุมชนเล็กๆ เพื่อ พิสูจนวาโครงการที่ทํานั้นมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะไดเงินทุน สนับสนุนจากรัฐ ซึ่งขณะนี้โครงการของ ดร.สุเรช ก็ยังคงดําเนินการ อยูอยางตอเนื่องทั้งในอินเดียและตางประเทศ “ผมเคยเปนอาสาสมัครในประเทศไทย 3 ป เราพยายามใช โมเดลการทํางานแบบเดียวกัน แตก็ยังมีความแตกตางกัน ปกติเรา จะจัดการอบรมใหทกุ คนโดยเฉพาะบุคลากรทางการแพทย ทีอ่ นิ เดีย

24

True Grit คนชราหลังลูกกรง

เรื่อง << ศศิวรรณ โมกขเสน ภาพ << อาสาฬห สุภาจรรยาวัฒน

การรักษาตองไมพึ่งพาแคหมอและโรงพยาบาล หลังปวยดวยอาการหัวใจวายในชวงป 1980 เอดการจึงตั้งใจ สรางระบบที่สามารถนํามาปฏิบัติไดจริงเพื่อเพิ่มมาตรฐานการดูแล ผูสูงอายุ ซึ่งนําไปสูการริเริ่มโครงการ Care Bank ในเวลาตอมา โดย เอดการยดึ หลักความเชือ่ หาขอทีว่ า หนึง่ มนุษยทกุ คนมีสว นชวยเหลือ สังคม สอง การทํางานมีคา มากกวาเงิน สาม การตอบแทนกันและกัน ทําใหคนเทากัน สี่ ชุมชนเขมแข็งกวาปจเจก และ หา ทุกเสียงสะทอน ตองถูกรับฟง Care Bank เนนการเขาไปมีสวนแกปญหาในดานที่มักไมถูก รวมเข า กั บ การดู แ ลที่ รั ฐ บาลมี ใ ห เช น informal care การลด ความเครียดในหมูผ สู งู อายุ เยีย่ มผูส งู อายุทใี่ ชชวี ติ โดดเดีย่ ว เตือนให ผูสูงอายุทานยาใหตรงกับที่หมอสั่ง ชวยพาผูสูงอายุไปพบแพทย ไป ซือ้ ของ และไปเขารวมกิจกรรมชุมชน ชวยเหลือผูส งู อายุซอ มขาวของ และทําความสะอาดบาน เอดการเชือ่ วาปญหาหนึง่ ของสังคมคือเทคโนโลยีทกี่ าํ ลังทําให คนหางออกจากชุมชน ซึ่งงานวิจัยระบุวาการมีสวนรวมในสังคมจะ ทําใหสขุ ภาพจิตของทัง้ ผูใ หญและผูส งู อายุดขี นึ้ อยางมีนยั สําคัญ รวม ไปถึงกลุมผูที่เสี่ยงตอการเปนโรคสภาพจิตเสื่อมดวย ผูส งู อายุทเี่ ลือกจะอยูท บี่ า นมากกวาไปบานพักคนชราจึงจําเปน ตองมีคนดูแลเรื่องกิจกรรมในชีวิตประจําวัน เพื่อใหผูสูงอายุยังคง ความแข็งแรง ซึ่งนอกจากจะชะลอการเขาสูบานพักคนชราแลว ยังเปนการลดคาใชจา ยทีร่ ฐั จะตองใชเพือ่ ดูแลผูส งู อายุในบานพักของ รัฐอีกดวย

เมื่อพูดถึงสังคมผูสูงอายุ คนทั่วไปมักมีภาพในหัวแบบงายๆ คือผูสูงอายุกับลูกหลานในบาน ผูสูงอายุในบานพักคนชรา ในรานคา ริมถนนหรือสวนสาธารณะ แตในความจริงแลวสังคมผูส งู อายุมคี วาม หลากหลายทางอาชีพและความเปนอยูไมตางจากสังคมคนหนุมสาว เพียงแตเมือ่ แกตวั ลงแลวไมไดมพี นื้ ทีแ่ สดงออกมากเทาเด็กๆ จนกลาย เป น สั ง คมที่ ถู ก ซ อ นไว แ ละไม มี ใ ครนึ ก ถึ ง อย า งเช น สองกรณี นี้ ผูสูงอายุในบางพื้นที่ไมไดมีวิถีชีวิตคลายกับที่พวกเราจินตนาการไว

PEOPLE

ดร.สุเรช คูมาร

เปลี่ยนเวลาใหเปนเงินกับ ‘Care Bank’ หากลองจินตนาการวาการไปเยี่ยมคนปวย และผูสูงอายุที่ใช ชีวิตคนเดียว หรือการเขารวมกลุมดูแลรักษาชุมชนมีมูลคาคลายเม็ด เงิน และเรายังสามารถฝากและถอนกิจกรรมเหลานัน้ มาใชเมื่อมีคน ตองการความชวยเหลือได โลกของเราจะเปนอยางไร เอดการ คาหน หนึง่ ในอโชกาเฟลโลวของประเทศสหรัฐอเมริกา ไดคดิ คนกลไกทีผ่ สมผสานระบบการเงินและการบริการผูส งู อายุเขา ดวยกัน เพื่อสรางระบบการดูแลผูสูงอายุทั่วประเทศอยางยั่งยืน แนวความคิดของเอดการไดรับแรงบันดาลใจมาจากโมเดล Time Bank ทีเ่ ขาเคยทําใหประสบความสําเร็จมากอนแลวในชวงยุค 1980 หลังจากนั้นเอดการจึงเกิดไอเดีย Care Bank ซึ่งเปนโครงการ เพือ่ สังคมทีเ่ สริมสรางกลไกเศรษฐกิจทีจ่ ะสามารถชวยเหลือชุมชนกับ การดูแลผูสูงอายุได Care Bank เปนวิธที แี่ ลกเปลีย่ นระหวางเงินกับเครดิตทีไ่ ดจาก การใหบริการทางสังคมหรือชวยเหลือผูอ่นื เชน ธนาคารจะจายเงิน ชัว่ โมงละหนึ่งดอลลารเมื่อเราไปเยี่ยมผูสูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง หรือการ เขารวมกิจกรรมเฝาระวังของชุมชน โดยเครดิตหรือเงินดังกลาวจะถูก นํามาใชดแู ลสุขภาพผูส งู อายุขนั้ พืน้ ฐาน ซึง่ อยูน อกเหนือจากประกัน ชีวิตหรือการสนับสนุนจากภาครัฐอื่นๆ เอดการเติบโตมาในครอบครัวทีส่ อนใหเขามีความยุตธิ รรม เขา เชือ่ วาคนทุกคนเกิดมาเทากัน เพศหรือเชือ้ ชาติไมสามารถลดคาความ เปนคนลงได หลังเรียนจบนิตศิ าสตรจากมหาวิทยาลัยเยล เอดการและ ภรรยาไดชวยกันกอตั้งวิทยาลัยนิติศาสตรช่ือวา เดวิด เอ. คลารก ซึง่ เปนวิทยาลัยแหงแรกทีม่ นี กั ศึกษาเปนผูห ญิงอยูเ กินครึง่ ผิดไปจาก คณะนิติศาสตรทั่วๆ ไปที่นักศึกษาสวนใหญเปนผูชาย

11

SOLUTION

www.thehindu.com/features/metroplus/society/making-a-difference/article4013268.ece

เอดการ คาหน

INSIDE

39

http://jscms.jrn.columbia.edu/cns/2009-04-14/iasevoli-timebanks/timebank.jpg/asset.jpg

38

ถ้าโลกนี้มีการใช้ชีวิตที่เรียกว่าสไตล์ ‘เด็กแนว’ เราเชือ่ ว่า มันก็นา่ จะต้องมีคาำ ว่าสไตล์ ‘(รุน่ )เดอะแนว’ สองสิ่งนี้ คำาจำากัดความของมันอาจจะง่ายๆ และ ใกล้เคียงกัน ด้วยคำาว่า ‘ใช้ชีวิตในสิ่งที่ตัวเองอยากทำา’ ดูแลร้านกาแฟ แฮงค์เอาท์ในสยามสแควร์ ไปจน ถึงออกสเต็ปโชว์ลีลาในงานคอนเสิร์ต ถ้าวัยรุ่นทำาได้ ก็ไม่น่าแปลกใจอะไร หากวัยรุ่น (เดอะ) อยากจะลุกขึ้น มาลองทำาบ้าง 7 ภาพนี้ คือผลลัพธ์จากการสังเกตความเป็นไป ได้ทหี่ ลากหลายของผูส้ งู วัยผ่านกิจกรรมต่างๆ และการ เลือกใช้ชีวิตของพวกเขาในอีกสเต็ปหนึ่งของช่วงชีวิตที่ น่าสนใจและมีสีสันไม่แพ้วัยเด็กหรือวัยรุ่นแม้แต่น้อย

เราเลยกลายเปนคนหนุมสาวที่สวนทาง เปนคนกลับบานแทน ใช แตตอนนัน้ ยังไมไดคดิ อยางนัน้ (หัวเราะ) ตอนทีเ่ ริม่ ทําป 2542 เปนปผสู งู อายุสากล ก็เริม่ ไปเรียนรูว า ในชุมชนมีกลไกอะไรบางทีเ่ กีย่ ว กับคนเฒาคนแก เราก็คิดเพียงวานาจะทดลองทํากิจกรรมอะไรใหคน เฒาคนแกมารวมกันแลวเรียนรูการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ผมไดแรงบันดาลใจจากคุณลุงคนญี่ปุนที่รูจักกัน แกทําของเลน พื้นบานญี่ปุน เราก็เลยเอาของเลนมาใหคนเฒาคนแกที่เชียงรายลอง ทํากัน ของเลนเกิดจากพฤติกรรมของเด็กทั่วโลกที่อยากรู อยากเห็น อยากเลน อยากลอง แลวของเลนทัว่ โลกโดยฟงกชนั่ และกลไกก็เหมือน กันหมด ตางกันที่วัสดุในทองถิ่น ของเราก็เปนของเลนพื้นถิ่นในพื้นที่ ทางภาคเหนือ สวนใหญทําจากไมไผและเมล็ดพันธุไมปา ผมเริ่มจาก ใครนึกอะไรออกก็ใหเขาทดลองทํามาเลนๆ กอน พอของเลนเกิด เราก็ ตืน่ เตนไปดวย เริม่ จากเอามาฝากเพือ่ น ยังไมมรี ะบบคาขายอะไร ไมคดิ วามันจะขายได จนเริ่มมีคนสนใจ นิตยสารสารคดีเขียนลง

ทํ า ให นักโทษสูงวัยที่ผานเกณฑของทัณฑสถานตางขอยายมารวม โครงการทีน่ ่ี แมรร่ี แฮรรสิ นั กลาววา “เมือ่ ครัง้ ทีฉ่ นั ถูกยายมาประจําทีน่ ี่ ในชวงเดือนมกราคมป 2004 ฉันเดินตรวจรอบๆ แลวก็เห็นวามีนกั โทษ สูงวัยจํานวนมากที่นอนอยูเฉยๆ บนเตียง หรือนั่งบนรถเข็น แลวก็ไม ทําอะไรเลยไปตลอดทั้งวัน เราไมอยากเปนบานสงเคราะหที่คนแก แคมาอยูแลวก็จากไป พวกเขาจะตองชดใชอาชญากรรมที่ตัวเองกอ แต นั ก โทษสู ง วั ย เหล า นี้ ไ ม ไ ด เ ข า ร ว มโปรแกรมพั ฒ นาตนเอง ซึ่ ง หมายความวาพวกเขาจะไมมวี นั ไดลดโทษ ถานักโทษสูงวัยมีสว นรวม ในโปรแกรมพัฒนาตนเอง พวกเขาจะไดลดหยอนโทษดวย” ภายในหองหัตถกรรม โดนัลด สกอตตกําลังปลอยใหดาย โครเชตสีเทารอยผานมือของเขาอยางชํานาญ ชายวัย 63 ปกําลังถัก โครเชตอยางขะมักเขมน เขาเขารวมโครงการ True Grit เมื่อสองปที่ แลวหลังรับโทษจําคุกมานาน 16 ปจากขอหาฆาตกรรม “เวลาทีน่ ผี่ า น ไปเร็วมาก ผมอยูที่คุกนอรธเนวาดามาสองปแตยังรูสึกเหมือนเพิ่งมา เมือ่ วานอยูเ ลย” เขาพูดระหวางนัง่ ถักโครเชตขา งโตะทีเ่ รียงรายไปดวย กองผาหม หมวกไหมพรม ตุกตาแมว ถุงเทา และของเลน ซึ่งงาน หัตถกรรมทัง้ หมดจะถูกสงไปใหกบั คนไรบา นและทหารทีป่ ฏิบตั หิ นาที่ ในอัฟกานิสถาน แมรร่ี แฮรรสิ นั เลาวา “กิจกรรมทําใหนกั โทษไมงนุ งาน และการถักโครเชตเปนแคหนึ่งในหลายๆ กิจกรรมที่ใชในการบําบัด พฤติกรรมนักโทษ โดยการใหนกั โทษไดทาํ กิจกรรมเพือ่ ลดความเครียด” “ทีน่ ไี่ มมขี โมยเลยสักครัง้ แมแตเรือ่ งลักเล็กขโมยนอยก็ยงั ไมมี และไมมีการแกลงกันแบบแรงๆ เพราะวาเราอายุเทาๆ กันแทบจะ ทั้งหมด” นายวิลเลียมส นักโทษสูงวัยอีกคนในโครงการเปรียบเทียบ ชีวิตการอยูที่ทัณฑสถานนอรธเนวาดากับเรือนจําเดิม โครงการ True Grit ยังมีอีกจุดมุงหมาย คือการลดอัตราการ เจ็บปวยของนักโทษสูงวัย คนสูงวัยทีน่ ก่ี ไ็ มไดตา งกับคนสูงวัยคนอืน่ ๆ ที่ มีโรคประจําตัว ไมวาจะหอบหืด โรคหัวใจ ถุงลมโปงพอง และอาการ สมองเสื่อม ซึ่งเปนโรคที่เพิ่มรายจายใหกับเรือนจําเปนจํานวนเงิน มหาศาล คนชราบางคนมีปญหาเกี่ยวกับกลามเนื้อและการเคลื่อนที่ ทําใหไมสามารถไปไหนมาไหนไดอยางสะดวก หรือบางคนไมสามารถ อาบน้ําหรือแตงตัวไดดว ยซ้าํ ซึง่ กลายเปนทีม่ าของการเรียนออกกําลัง บนรถเข็น เรียนบรรเทาอาการปวดและการยืดกลามเนือ้ รวมไปถึงการ เล น เกมและกี ฬ าที่ มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นให เ ข า กั บ บุ ค คลที่ มี ป ญ หา ทุพพลภาพ นอกจากนีจ้ ติ แพทยจะมาตรวจ และบําบัดนักโทษทุกสัปดาห สําหรับนักโทษที่มีปญหาความโดดเดี่ยวที่เกิดจากเพื่อนรุนเดียวกัน ครอบครัว หรือคูส มรสไมไดมาเยีย่ มเปนเวลานานหรือเสียชีวติ หมดแลว กอนทีจ่ ะเริม่ โครงการ แมรรกี่ ลาววานักโทษสูงอายุกวาครึง่ มีอาการปวย จากโรคซึมเศรา โรควิตกกังวล และอาการทางจิตอื่นๆ แตปจจุบันมี นักโทษเพียงคนเดียวเทานั้นที่ตองรับยาและการบําบัดจากจิตแพทย โครงการ True Grit ไมไดใชงบประมาณใดๆ เพราะอุปกรณ หัตถกรรม รถเข็น และเครือ่ งดนตรีไดรบั บริจาคมาทัง้ สิน้ และยังมีอาสา สมัครในชุมชนจํานวนมากที่มาสอนการพัฒนาตนเอง ตั้งแตการดูแล

“เรากําลังจะเขาสังคมผูสูงอายุเต็มตัวเร็วๆ นี้ แตกลับสวนทาง กับจํานวนบุคลากรทีม่ อี ยูใ นตลาด คิวผูด แู ลสวนตัวยาวมาก เขาปอนคน ไมทันความตองการ เราเลยลองคิดวาใชหุนยนตไดไหม สามารถดูได 24 ชั่วโมงเลยวาคุณตาคุณยายทําอะไรอยู นอน เดิน หรือลม ไปเขา หองน้าํ หายไปเกินเวลาทีก่ าํ หนดไหม ถายังไมมา หุน ยนตมหี นาทีแ่ จง เตือนลูกหลานบน mobile application เมื่อเราไดรับการแจงเตือน ตองการคอนเฟรม หุน ยนตก็ video call แบบ real time และสามารถ ใช video call คุยกับคุณหมอได ถาไมไดไปทําการรักษาอยางอืน่ ก็แค ตรวจดูอาการวาสบายดีหรือเปลา ประหยัดเวลาเดินทางและความ ยุงยากของลูกหลานได” “มีคนแกบางคนถึงกับถักเสื้อใหหุนยนตเลย ไมมีใครอยูกับเขา แลวเขาเห็นวาหุนยนตเหมือนเปนเพื่อน เหมือนเขามีตุกตาตัวหนึ่ง รอบลาสุดเราไปทดสอบทีส่ ถานพักฟน คนชราทีญ ่ ป่ี นุ มีคณ ุ ยายทีเ่ งียบๆ ไมคอยพูด แตพอเราเอาหุนยนตไปวางไว เขาก็กระปรี้กระเปราขึ้น มาเลย ผูที่ดูแลบอกวา ดูมีชีวิตชีวามากขึ้น สนุกเหมือนมีของเลนใหม โลกไมนาเบื่อเหมือนแตกอนที่แคตื่นมา กินขาว... จบแลว”

หนั ง สื อ ที่ ผู เ ขี ย นหยิ บ เอาสิ่ ง ที่ ต นเอง กําลังเผชิญ และตัง้ คําถามกับวัยชรามาบอก ตอกับผองเพือ่ นวัยเดียวกัน ปรับมุมมองเกาๆ ที่คนสูงวัยหลายคนอาจรูสึกวาตัวเองไรคา หดหูและเศราหมอง มาสูการสํารวจภาวะ ภายในจิตใจตัวเองใหสามารถรับมือกับทัง้ สิง่ ดี และสิ่งรายในชวงวัยนี้ไดอยางเบิกบานและ เปนจริง ในเลม จอหน เลนเลาเรือ่ งราวการเขาสู วัยผมสีดอกเลาผานเจ็ดบทสั้นๆ แบงเปน หัวขอยอยที่อานงาย ปูเรื่องตั้งแตแนวคิด เกี่ยวกับวัยชรา วิธีใหคนสูงวัยคอยๆ ปรับ ความคิดและพฤติกรรมตัวเอง อยางการสราง อารมณขนั หมัน่ ทบทวนชีวติ ทีเ่ ชือ่ วาอานแลว ต อ งอยากคงความเยาว วั ย เอาไว แม ว า ตัวเลขอายุจะเพิ่มขึ้นก็ตาม สวนคนวัยหนุม สาว บทเรียนจากผูส งู วัย ทีจ่ อหน เลนไปตระเวนคุยและนําเรือ่ งราวของ พวกเขามาบอกตอก็ควรคาแกการอานและ เก็บขอคิดมาใชชีวิตตอไมนอย

ใครวาเรื่องผูสูงอายุจะทําใหปอบและสนุกไมได เรารวบรวมสื่อทั้งหนังสือ ภาพยนตร และนิทรรศการ ที่หยิบประเด็นคนสูงวัยมาเลาในมุมมองใหมๆ ใหลองไปตามอานตามดูกัน

EXHIBITION

FILM

Dialogue with Time

Nebraska

Orna Cohen และ Andreas Heinecke ทีมงานทํานิทรรศการ Dialogue in the Dark และ Dialogue in Silence ศึกษาขอมูลของ ผูสูงอายุในสังคมเยอรมันเปนหลัก และเปด นิทรรศการ Dialogue with Time ครั้งแรกที่ เมืองแฟรงกเฟรตเมื่อเดือนกันยายน 2014 ก อ นเวี ย นไปจั ด ที่ เ บอร ลิ น ถึ ง สิ้ น เดื อ น สิงหาคมปน้ี กอนไปแสดงทีเ่ มืองเบิรน ประเทศ สวิตเซอรแลนด โมเดลของนิทรรศการนี้เจง ตัง้ แตใหคณ ุ ปูค ณ ุ ยาอายุ 70 อัพเปนไกดนาํ ชม และคอยอธิบายประเด็นตางๆ อยางรูจริง เริม่ แรกผูช มจะไดฟง เรือ่ งราวชีวติ ของไกดสงู วัย กอนเขาไปเรียนรูและทบทวนคําวาแกชรา ผานสื่อเรียนรูและวิดีโอในหองตางๆ เชน Yellow Room ทีใ่ ชสเี หลืองแทนภาพทีผ่ สู งู อายุ มองเห็น เพือ่ ใหเขาใจถึงขอจํากัดทางกายภาพ และประสาทสัมผัสที่ผูสูงวัยตองเผชิญ Dialogue with Time ตัง้ ใจจะบอกผูช ม วาเราเรียนรูอะไรไดมากมายจากผูสูงวัยใน วันที่เรายังไมแก และเมื่อวันนั้นมาถึง เราจะ รับมือกับความชราอยางมีสติไดอยางไร www.dialogue-with-time.com

ภาพยนตรแนวโรดมูฟวี่เลาเรื่องของ Woody Grant (รับบทโดย Bruce Dern) ชายชรา ผูใ ชชวี ติ อยางรวงโรยและไรแกนสาร วันหนึง่ เขาไดรบั จดหมายชวนเชือ่ วาเปนเจาของเงิน รางวัล 1 ลานดอลลาร จนตัดสินใจออกเดินทาง หลายรอยไมลเพื่อไปรับรางวัลที่เนบราสกา รัฐเล็กๆ ตอนกลางของสหรัฐอเมริกาดวย ‘สิ่งยึดเหนี่ยว’ เดียวที่วัยนี้มีอยู โดยมี David (รับบทโดย Will Forte) ลูกชายคนรองทีค่ ดั คาน แตก็ยอมขับรถพาพอไปใหสิ้นเรื่อง

Museum foür Kommunikation, Germany

52

Alexander Payne, US, 2013

สไตลหนังของ Payne มักเลาเรือ่ งความ สัมพันธออกมาอยางเปนธรรมชาติ ภาพขาวดํา ตลอดทั้งเรื่องสะทอนความทรงจําในอดีต ของวัยชรา Woody พยายามพิสูจนตัวเองตอคน รอบขางอีกครั้ง แมจะรูวารางวัลนั้นเปนเรื่อง หลอกลวงก็ตาม

53

CHANGEMAKERS E-MAGAZINE Art Director, 2015

This the first issue, bold up “Aging issue” , content is including literature reviews, problem scoping, and content simplification that starts from identifying root cause of problems, arranging events into chronological orders, involving factors and insights from key stakeholders to learning innovative solutions from around the world. After its release, Changemakers reached more than 17,000 public readers in 5 days with praises and positive feedbacks on the content which is thought-provoking and keeps them engaged in a variety of social issues.



I

ILLUSTRATION DRAWING



^ FIRST ROUND WORK

A DAY MAGAZINE WINNER AWARD 154 Art Director #154compettition - UNIFORM issue Sticker line design junior Happyart Maidirector Chai Lentrainee Awardissue year 151-153, 9, 2015 2013

An program a day concept magazine,“happy life Thisinternship Line sticker set isofunder style magazine, summer” whichselected also refl12 ectcollege brand student identity. to set up a junior team to learn process of “Happy” is one the top mobile broad-by publication and of finally produce 1 edition band in Thailand, which target a juniorcompany team which sold normally ; [issue 154 young people. june 2013] IThis responsible forinspire design by art watermalon direction, key sticker set visual, making paper craft prop. which a popular fruite for summer in Thailand red color reflect Happy The main and illustration relyalso on the concept brand color, moreover it’s contain meaning “invisible man” to represented an unique of wishing your summer fresh like eating character of career whichsummer wear thetogether. uniform. watermelon and happy











A

ARCHITECTURE DESIGN



MRT COLOR CODE

infographic design for transportation : Bangkokʼs Mass Rapid Transit

MRT CODE 154 A DAYCOLOR MAGAZINE School project, design for solving problem Art Director #154 - UNIFORM issue incommunity, 2014 junior art director trainee issue 151-153, 2013

MRT is Mass Rapid Transit, a metro line life in An internship program of a day magazine, Bangkok Thailand. Due to the problem that style magazine, selected 12 college student tourist can’t recognize when they arrive their to set up a junior team to learn process of purpose station. the same publication and fiEvery nally station producehas 1 edition by atmosphere and unclear infographic. This junior team which sold normally ; [issue 154 project used color to solve the problems june 2013] and enhance unique of each MRT station I responsible for design art direction, key visual, making paper To Design a code thatcraft use prop. color to represent meaning. Each channel devided into 4 sesThe main illustration relyis on the concept sions (1) Favor line of thean matro “invisible man”of tothe represented unique (2) Transit of Station Zoning (4)the Represent character career(3) which wear uniform. station identity. Placed the color code light box in tunnel and painted on a colum. So tourist can get to know the desired station easily.


MAIN CORRIDOR SECTION


SITE ANALYSIS

ZONING

SCHOOL FOR THE BLIND my final architecture design project - Thesis Faculty of Architecture, Chulalongkorn University, 2015

This was due to my interest in the challenge that if normally people experienced architecture by visual what if our client are the blinds. This was an opportunity to apply designing skills to create elements that enable the visually impaired individuals to perceive and appreciate particular designs. The design concept was “Sensory pathway” to transform visual information to multisensory information which trigger remain sense. The pathwalk was a main corridor which adding sensory clue and using different texture to make a uniqueness of zoning and guiding direction for blind student.


1 st Floor PLAN

2 nd Floor PLAN




T

THANK YOU :) :) :)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.