มคอ.3 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ : TQF3 Packaging Design

Page 1

มคอ.3 วิชา ARTI3413 การออกแบบบรรจุภ1 ัณฑ สาขาวิชาศิลปกรรม ภาควิชามนุษย คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ผูสอน ผศ.ประชิด ทิณบุตร

ภาคเรียนที่ 2/2555 ประจําปการศึกษา 2555

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


2

รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป

1. รหัสและชื่อวิชา ARTI3413 ชื่อรายวิชา การออกแบบบรรจุภัณฑ Packaging Design 2.จํานวนหนวยกิต(ทฤษฏี-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง) หนวยกิต 3(2-2-5) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปกรรม หมวดวิชาเฉพาะ กลุมวิชาเอกบังคับ 4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน ผศ.ประชิด ทิณบุตร อาจารยผูสอน 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 2/ 2555 ชั้นปที่ 3 6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre-requisite) (ถามี) สอบผานวิชา – ARTI3318 การออกแบบดวยคอมพิวเตอร 7. รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (Co-requisites) (ถามี) ไมมี 8. สถานที่เรียน คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ 2553 หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค

1.จุดมุงหมายของรายวิชา 1.1 เพื่อใหนักศึกษาตระหนักรูในคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพทางการออกแบบ บรรจุ ภัณฑ (Ethical and Moral Development) 1.2 เพื่อใหนักศึกษามีความรู ความเขาใจในทฤษฎี หลักการ และกระบวนวิธีปฏิบัติการสรางสรรคผลงาน ดานการออกแบบบรรจุภัณฑ(Knowledge Skills) 1.3 เพื่อใหนักศึกษาสามารถคิดวิเคราะหและสังเคราะหขอมูล สื่อแสดงออกซึ่งทักษะทางปญญาในการ สรางสรรคผลงานดานการออกแบบบรรจุภัณฑ (Cognitive skills)

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


3

1.4 เพื่อใหนักศึกษาเกิดทักษะการทํางานเปนทีม ดวยการมีสวนรวมและมีบทบาทในการรับผิดชอบใน โครงงานสรางสรรคผลงานกลุม การปฏิบัติตนและความรับผิดชอบในภาระงานที่ไดรับมอบหมายดานการ ออกแบบบรรจุภัณฑ (Interpersonal Skills and Responsibility) 1.5 เพื่อใหนักศึกษามีทักษะและประสบการณ ในการประมาณการคาใชจาย สามารถคิดคํานวณทวน สรุปตนทุนการสรางสรรค การผลิต การนําเสนอและหรือการจําหนายผลงานดานการออกแบบ บรรจุ โดยวิธีการ สรุปรายงานผลและการนําเสนอเผยแพรผลงานดวยตนเอง หรือเปนหมูคณะ ดวยการใชทักษะทางการสื่อสาร รูปแบบ วิธีการ เครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ไดอยางสอดคลองเหมาะสมตามวิถีทางการดําเนินการ ประกอบวิชาชีพ และรูปแบบความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีการสื่อสารรวมสมัย (Analytical and Communication Skills) 1.6 เพื่อใหนักศึกษามีทักษะและประสบการณ ในเทคนิควิธี กระบวนการสรางสรรคและการนําเสนอ แฟมสะสมผลงานการออกแบบบรรจุภัณฑ ที่สรางสรรคดวยตนเอง หรือของหมูคณะ เพื่อการสรางโอกาสในการ ประกอบวิชาชีพทั้งอิสระสวนตัวและหรือในองคกร ดวยการใชทักษะการสื่อสาร รูปแบบ วิธีการ เครื่องมือและ เทคโนโลยีที่เหมาะสม ไดอยางสอดคลองตามวิถีทางการประกอบวิชาชีพและความตองการของตลาดแรงงาน (Psychomotor Skill) 2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา 2.1 เพื่อใหรายวิชามีความทันสมัย อยางสากล ที่สามารถสอดรับกับองคความรูใหม การฝกทักษะและ เทคนิคกระบวนการดําเนินงานในวิชาชีพการออกแบบบรรจุภัณฑแบบใหม ในตลาดแรงงานจริงปจจุบัน หรือ บูรณาการใชกับรายวิชาปฏิบัติการในหลักสูตรสถานศึกษาอื่นๆไดทั้งในปจจุบันและในอนาคต 2.2 เพื่อสามารถบูรณาการสื่อการสอน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณสนับสนุนเนื้อหาสาระ การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนไดหลากหลายวิธี ใหมีความสอดคลอง ยืดหยุน เหมาะสมกับศักยภาพและความเปนจริงปจจุบันหรือ อนาคตของการวางแผนพัฒนา ผูสอน หองเรียนหองปฏิบัติการ นักศึกษา สังคม สิ่งแวดลอมและความกาวหนา ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เปลี่ยนแปลงไป หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ

1. คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและฝกปฏิบัติการในองคความรูที่เกี่ยวของกับทฤษฎี หลักการบรรจุภัณฑ ขั้นตอน วิธีการ ดําเนินการออกแบบสรางสรรคโครงสรางและกราฟกสื่อสารของบรรจุภัณฑประเภทตางๆ โดยใชเทคนิควิธี อุปกรณเครื่องมือหรือวิทยาการทางคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีชวยการออกแบบ ใหไดผลงานที่ถูกตองสอดคลอง รองรับกับอุปสงคและอุปทานของการผลิต การจัดจําหนายสินคา การใชงานอุปโภคบริโภคหรือบริการ ทั้งของ ฝายผูผลิตและผูบริโภค อยางเหมาะสมกับการใชวัสดุ เทคโนโลยีการผลิตและการบรรจุ เทคโนโลยีทางการพิมพ ระบบการขนสง ระบบการตลาด ขอกําหนดกฏหมายทางสังคมและสิ่งแวดลอม

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


4

2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา บรรยาย

สอนเสริม

บรรยาย 24 ชั่วโมงตอ ภาคการศึกษา

ใชระบบอีเลิรนนิ่ง 24x7

การฝกปฏิบัติ/งาน การศึกษาดวยตนเอง ภาคสนาม/การฝกงาน การฝกปฏิบัติ 25 ชั่วโมง 5 ชั่วโมง ตอสัปดาห ตอภาคการศึกษา

3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล อาจารยผูสอนจัดระบบและเวลาใหคําปรึกษาเปนรายบุคคลหรือรายกลุมเรียนไวทั้งแบบโดยตรงและโดย ออม(Direct and Indirect Advice Method)ดังนี้คือ 3.1 ใชระบบอาจารยที่ปรึกษา( Mentor)ในชั้นเรียนชั่วโมง Home Room ทุกวันพุธ เวลา13.00-16.30 น. 3.2 ใชระบบอีเลิรนนิ่งของสาขาวิชา ArtChandra : Art and Design e-Learning Port เปนระบบบริหาร จัดการหองเรียนเสมือน( Virtual Classroom) ใหนักศึกษาสามารถเขาศึกษาเรียนรู ทํากิจกรรม การมีสวนรวม อภิปราย-ซักถามและทบทวนบทเรียนที่ผานมาดวยตนเอง( Self-Paced Learning) แบบทางไกลผานเว็บไซตของ รายวิชา ไดจากทุกสถานที่ ทุกเวลา URL: http://chandraonline.chandra.ac.th/claroline 3.3 ใชสื่อเครือขายสังคมออนไลนสากลที่รวมสมัยและเปนปจจุบัน( Real Time Social Network Media) ดวย Google+, GoogleDrive, Facebook ,Twitter และอื่นๆ เพื่อใหคําปรึกษา คําแนะนําและการติดตามผล ตามชองทาง-ขอตกลงเบื้องตนของอาจารยผูสอนหรือของสาขาวิชาที่ตั้งขึ้นใชเฉพาะกลุมเรียน และเชื่อมโยงแบบ สวนบุคคล ดวยการติดตอผานทางระบบอีเมลโดยตรงทุกคนตามที่อยูแจง หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ตองพัฒนา พัฒนานักศึกษาใหมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรณยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของขอมูลสวนบุคคล การไมละเมิดลิขสิทธิ์ทางการออกแบบและไมละเมิดลิขสิทธิ์ทางปญญา โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติ หลักสูตร ดังนี้ 1.1.1 การตระหนักรูในคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพนักออกแบบบรรจุภัณฑ 1.1.2 การมีวินัย ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอหนาที่ในการนัดหมายรับสงผลงานที่ออกแบบ 1.1.3 การเคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น รวมทั้งเคารพการรักษาผลประโยชนใน คุณคาของผลงานการสรางสรรคของตนเองและผูอื่น และยึดมั่นในหลักประชาธิปไตย 1.1.4 การเคารพและใชกฎระเบียบและขอบังคับตางๆทางกฏหมายขององคกรและสังคม ที่ตอง รับผิดชอบ รวมรักษาสิทธิทางปญญาที่เกี่ยวของและนํามาใชประกอบในผลงานออกแบบบรรจุภัณฑ หลักจรรยา มารยาทการนําเสนอเผยแพรทางการพิมพ และการโฆษณาประชาสัมพันธออกสูสาธารณะผานทางระบบออนไลน 1.2 วิธีการสอน โดยการใหผูเรียนไดศึกษาเรียนรูและไดฝกปฏิบัติการใหครอบคลุมกระบวนวิธีการคิด วิธีการศึกษา วิเคราะห วิธีการสรางสรรคและการพัฒนารูปแบบผลงานโครงสรางและกราฟกบรรจุภัณฑสินคาประเภทตางๆ ให มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


5

สอดคลองกับใหเขาใจถึงหลักการ แนวคิดและสามัญทัศนที่สําคัญเกี่ยวกับ การออกแบบการผลิต การตลาด ของ ผลิตภัณฑสินคาและการบรรจุภัณฑ โดยใชวิธีการสอนแบบ 1.2.1 บรรยายพรอมยกตัวอยางกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวของกับการออกแบบ ดวยทักษะฝมือพื้นฐาน เพื่อการสื่อสารผสานแนวความคิด การประยุกตใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี เพื่อสนับสนุนกระบวนการออกแบบกราฟก เพื่อการศึกษาวิเคราะหขอมูลทางการออกแบบ เชน การใชงานระบบ บริการทางอินเทอรเน็ต เพื่อเปนกรณีศึกษาอยางมีหลักวิชาการ เพื่อการนําเสนอแนวความคิดที่หลากหลาย ทางเลือก การรับขอมูลปอนกลับและการเผยแพรผลงานสูสาธารณะ เปนตน 1.2.2 แบบปฏิบัติการ/อภิปรายกลุม /การเรียนรูจากการทํางานจริง 1.2.3 กําหนดใหนักศึกษาหาตัวอยางที่เกี่ยวของ และศึกษาวิเคราะหขอมูลเฉพาะดานในสถาน ประกอบการตามกระบวนการสรางสรรคผลงาน 1.2.4 การมีสวนรวมในเวทีการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน และ/หรือใชเวทีสาธารณะออนไลนผาน ระบบสื่อสังคม (Social Network Media) 1.2.5 การสราง/แบงปนใชขอมูลรวมกันผานทาง Free Google Site สาธารณะ เพื่อสรุปสาระการ เรียนรู แสดงวิธีการคิด สรางสรรค แสดงผลงานทางระบบออนไลนรวมกัน และ/หรือสวนบุคคล ในลักษณะแฟม สะสมงานเพื่อใชกาวสูโลกอาชีพ (Professional Port Folio) เพื่อการยอมรับหรือใชเปนฐานอางอิงประสบการณ และการพัฒนาทักษะที่สูงขึ้นตอไป 1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 ตรวจสอบพฤติกรรมการเขาเรียนและพฤติกรรมการมีสวนรวม การสงผลงานที่ไดรับมอบหมาย ตามขอบเขต ระยะเวลาที่มอบหมายภาระงาน และการตรงตอเวลา 1.3.2 การนําเสนอผลงาน วิธีการคิดวิเคราะหตามกระบวนวิธีของวิชาชีพนักออกแบบ คุณภาพการ นําเสนอผลงานที่สรางสรรค มีการอางอิงเอกสารที่ไดนํามาทํารายงาน อยางถูกตองและเหมาะสม ตรงโจทย 1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะหกรณีศึกษาในโครงการออกแบบสวนบุคคล( Individual Design Project)และการนําเสนอเผยแพรสูสาธารณะ

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


6

2. ความรู 2.1 ความรูที่ตองไดรับ นักศึกษามีความรูและความเขาใจ เกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สําคัญในเนื้อหา กระบวนการคิดและการ วิเคราะหขอมูลบรรจุภัณฑ วิธีการสรางสรรคและการพัฒนาโครงสรางและรูปแบบกราฟกที่เกี่ยวของกับการ สื่อสารการรับรูรวมกับบรรจุภัณฑสินคาประเภทตางๆ ที่สอดคลองตรงกับวัตถุประสงคของการผลิตและหนาที่ ของการบรรจุภัณฑ โดยมีการฝกทักษะฝมือ ดวยเครื่องมือ ระบบ หรือโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูปเพื่อชวย สงเสริม สนับสนุนวิธีการคิด เทคนิควิธีการออกแบบ -เขียนแบบ การผลิตผลงานตนแบบจริงที่รวมสมัยกับ เทคโนโลยีการพิมพบรรจุภัณฑ ที่สามารถบริหารจัดการ ทรัพยากร การสื่อสาร การนําเสนอและเผยแพรผลงาน สวนบุคคลหรือกระบวนกลุมไดตามเกณฑทักษะวิชาชีพที่คาดหวัง ไดอยางเหมาะสมสอดคลองกับระบบเทคโนโลยี สารสนเทศที่เปลี่ยนแปลงไปในสังคม 2.2 วิธีการสอน วิธีการสอน เนนนักศึกษาเปนศูนยกลาง โดยบูรณาการวิธีการเรียนการสอนตางๆมาใชคือ 2.2.1 ใชการเรียนการสอนแบบสรางแผนผังความคิด (Concept Design Mapping or Mind Mapping) เนนพฤติกรรมใหนักศึกษามีการคิดการจัดระบบความคิด โดยใหนักศึกษามีบทบาทในจัดระบบ ความคิดของตนใหชัดเจน เห็นความสัมพันธในกระบวนการออกแบบ( Design Process)ของตนเอง และ กระบวนการบริหารจัดการระบบงานพิมพบรรจุภัณฑ ( Printing & Package Design Carreer Performance) ในสถานประกอบการจริง 2.2.2 ใชการเรียนการสอนแบบแกปญหา (Problem-Solving) เนนใหนักศึกษามีทักษะในการศึกษา คนควาการวิเคราะห สังเคราะหและประเมินขอมูลเบื้องตน กอนการรางแบบ เขียนแบบ การสรุปผลงานโดยให นักศึกษามีบทบาทในการศึกษา แกปญหาทางการออกแบบอยางเปนระบบ ( Design Solutions or Design Thinking Process) 2.2.3 ใชแบบบรรยาย อภิปราย การทํางานกลุม การนําเสนอรายงาน การวิเคราะหกรณีศึกษา และ มอบหมายใหคนควาหาบทความ ขอมูลที่เกี่ยวของ โดยนํามาสรุปและนําเสนอ การศึกษาโดยใชปญหา และ โครงงาน Problem or Project-based learning และ Student Center ที่เนนนักศึกษาเปนศูนยกลาง 2.2.4 ใชการสอนแบบ Tutorial เพื่อใหนักศึกษาเขาใจเนื้อหาของรายวิชา ซึ่งผูสอนบรรยายกอน หรือนักศึกษาไดรับมอบหมายใหไปศึกษามากอน โดยใชกระบวนการวิเคราะหและสังเคราะหในการแกไขปญหา โดยผูสอนเปนผูชี้แนะ กํากับ ควบคุม และตรวจสอบ เนนพฤติกรรมใหนักศึกษาตองมีการฝกซ้ํา ใชทักษะการ สื่อสารโดยใหนักศึกษามีบทบาทในทบทวนจากกลุมและเพื่อเรียนเพิ่มเติมดวยตนเองไดตลอดเวลา 2.2.5 จัดกิจกรรมและสื่อการสอนแบบ การจัดการเรียนการสอนที่ใชเทคโนโลยี (Technology Related Instruction)ประกอบดวย ระบบบริการการเรียนการสอนออนไลน e-learning ของสาขาวิชา ศิลปกรรม ระบบ Claroline LMS, และระบบบริการติดตอสื่อสารและการมีสวนรวมแบงปนความรู ของ GoogleSites และ Google+ รวมสนับสนุนและติดตามใหคําปรึกษา การวิจารณผลงานการเรียนรูดวยตนเองของ นักศึกษา โดยเปนสื่อเสริมการเรียนรูนอกชั้นเรียน เนนพฤติกรรมใหนักศึกษามีการซักถาม ตอบคําถาม การ แกปญหาโจทย การนําความรูและตัวอยางไปใชประโยชน การเรียนรูที่ตองการผลการเรียนรูทันที หรือใหเกิด การเรียนรูตามลําดับขั้นตอนเปนระยะ โดยใชวิธีการใหนักศึกษามีบทบาทในเรียนรูดวยตนเองตามระดับความรู ความสามารถของตน มีการแกไขฝกซ้ํา ทําตามวิดีโอบันทึกการสอน เพื่อสรางความรูความเขาใจและความ เชี่ยวชาญทางทักษะฝมือ ฝกการคิดวิเคราะห และมีทักษะทางวิชาชีพศิลปกรรมที่สัมพันธและรวมสมัยกับการใช เทคโนโลยีสารสนเทศในปจจุบัน มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


7

2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 ใชการทดสอบกอนเรียนและหลังการเรียน การทดสอบยอย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ดวย ขอสอบที่เนนการวัดหลักการและทฤษฎี ทั้งในชั้นเรียนและการทดสอบในระบบออนไลน 2.3.2 การตรวจผลงานตามเกณฑการประเมินผลงานที่นําเสนอและรายงานการสรุปผลงาน สรางสรรคโครงการออกแบบสวนบุคคลในชั้นเรียน 2.3. 3 แบบประเมินความกาวหนาและความสําเร็จของการจัดทํา Free GoogleSite เผยแพรแฟม สะสมผลงานสวนบุคคลสูสาธารณะ 3. ทักษะทางปญญา 3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา พัฒนานักศึกษาใหมีความสามารถในการคิดจัดกระทําอยางเปนระบบ มีการแสดงวิธีคิดวิเคราะห และสื่อ แสดงการแกปญหาและทางเลือกเปนขั้นตอนตามกระบวนออกแบบดวยทักษะฝมือ ( Manual Design Skill) ที่ ผสานสัมพันธกับการจัดดําเนินการใชวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ (Tools & Related Technology Manipulation) กับโจทยหรือภาระงานที่รับผิดชอบ มาปรับประยุกตใชได อยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 3.2 วิธีการสอน 3.2.1 การมอบหมายใหนักศึกษาทําโครงงานออกแบบสวนบุคคล และการนําเสนอผลงาน (Individual Design Project) 3.2.2 การรวมพิจารณาตัดสินผลงานและการอภิปรายกลุม (Design Focus Group) 3.2.3 การสรุปวิเคราะหกรณีศึกษา ในการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชในปจจุบันดวย GoogleSite 3.3 วิธีการประเมินผล 3.3.1 ใชแบบทดสอบสอบกลางภาคและปลายภาค โดยเนนขอสอบที่มีโจทยใหตองมีการวิเคราะห สังเคราะห หรือแสดงหลักฐาน การสรุปทฤษฎีและหลักการ การคิดวิเคราะหแนวคิดในการสรางสรรคผลงานตาม วิถีทางของนักออกแบบ 4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองพัฒนา 4.1.1 พัฒนาทักษะในการสรางสัมพันธภาพระหวางนักศึกษาดวยกัน 4.1.2 พัฒนาความเปนผูนําและผูตามในการทํางานเปนทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรูดวยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายใหครบถวนตาม กําหนดเวลา 4.2 วิธีการสอน 4.2.1 จัดกิจกรรมกลุมรายงาน การศึกษาวิเคราะหกรณีศึกษา เชนการศึกษาวิเคราะหตัวอยางผลงาน การออกแบบบรรจุภัณฑระดับประเทศและระดับสากล 4.2.2 มอบหมายโครงงานการออกแบบสรางสรรคผลงานแบบกลุม และแบบรายบุคคล เชน โครงงาน กลุมการออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑสินคาในชุมชน โดยมอบหมายภาระงานใหดําเนินการจริงโดยสามารถอางอิง ขอมูลจากผูประกอบการจริงตามรูปแบบการวิจัยแบบมีสวนรวม( Participatory Reseaerch)ใหแลวเสร็จออกมา จริงและเครงครัดตามกําหนดเวลา มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


8

4.2.3 การนําเสนอผลงานออกแบบและการทําแฟมสะสมผลงาน โดยมอบหมายใหมีการนําเสนอ ผลงานเปนนิทรรศการยอยในชั้นเรียนหรือภายนอกชั้นเรียนของแตละกลุม โดยการจัดทํา Mood Board ทั้งแบบ กลุมและรายบุคคล เพื่อแสดงสรุปภาระงานที่รวมรับผิดชอบ และจัดพิมพเปนรูปเลมรายงาน และสงไฟลแสดง เผยแพรเปนเอกสารออนไลนไวในเว็บไซต Issuu.com และ ที่ Free GoogleSite ของรายวิชา และเว็บไซตของ แตละรายบุคคล 4.3 วิธีการประเมิน 4.3.1 แบบประเมินตนเองและเพื่อน ดวยแบบฟอรมที่กําหนด 4.3.2 แบบบันทึกพฤติกรรมการทํางานเปนทีมและบุคคล 4.3.3 แบบประเมินผลโครงงานการเรียนรูจากการทํางานจริงของกลุมและรายบุคคล 5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ตองพัฒนา เชน 5.1.1 ทักษะการคิดคํานวณ เชิงตัวเลข เชนการประมาณราคาคาบริการออกแบบและการผลิตชิ้นงาน 5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟง การแปล การเขียน โดยการทํารายงาน และ นําเสนอในชั้นเรียน 5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะหขอมูลจากกรณีศึกษา 5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบคน ขอมูลทางอินเทอรเน็ต 5.1.5 พัฒนาทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร 5.1.6 ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใชรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2 วิธีการสอน 5.2.1 ใชการสอนแบบฝกอบรม( Tutorial )ทักษะการใชงานโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูปอยาง พอเพียงและเหมาะสมเพื่อการออกแบบ-เขียนแบบแสดงโครงสรางที่ตองสื่อแสดงผลการคิดคํานวณการใชขนาด พื้นที่ ปริมาตร ใชมาตราสวนตามจริง และการสรางภาพกราฟกจําลองบนโครงบรรจุภัณฑเสมือนจริง 3 มิติ ดวย โปรแกรม Google Sketchup (Free Version) 5.2.2 มอบหมายงานใหศึกษาคนควาดวยตนเอง จากเว็บไซต สื่อการสอน E-Learning และนําไป ประยุกตใชในกระบวนการออกแบบ ทํารายงานโดยเนนการนําตัวเลขคาตางๆ ของอุปกรณที่ใช หรือมีสถิติอางอิง จากแหลงที่มาขอมูลที่นาเชื่อถือ 5.2.3 จัดกิจกรรมการฝกทักษะการประยุกตใชเครื่องมือออนไลนและโปรแกรมฟรีของ Google เพื่อ สนับสนุนการเรียนรูภาคทฤษฏี ภาคปฏิบัติการและการนําเสนอเผยแพรแฟมผลงานออกแบบของนักศึกษา ศิลปกรรม 5.2.4 สรางระบบเครือขายการสังคมออนไลนไวรองรับการสื่อสารและการติดตอเฉพาะกลุมของ สาขาวิชาศิลปกรรม เพื่อการสอนเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรูดวยตนเองของนักศึกษาและคณาจารย มี การฝกอบรมทักษะการใชงานจริง เชนใหสามารถสงไฟลงานทางระบบบริการอินเตอรเน็ต ทางอีเมลล หรือการ สรางขาวสารสาระการเรียนรู การตรวจแสดงความคิดเห็น การติดตาม การเผยแพรแสดงผลงานทางออนไลนได จริง เชน การใช Weblog, Google+ การสื่อสารการทํางานในกลุมผานหองสนทนาดวย Chat Room, ทาง Social Media Network เชน FaceBook, หรือ Twitter เปนตน 5.3 วิธีการประเมิน มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


9

5.3.1 แบบประเมินทักษะการนําเสนอผลงาน การจัดทํารายงานและการนําเสนอผานทางระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.2 แบบบันทึกประวัติการมีสวนรวมในการใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.3.3 แบบประเมินผลงานเชิงประจักษ โครงงานออกแบบกลุมและรายบุคคลที่เผยแพรแสดงออนไลน ในระบบอินเตอรเน็ตที่เขาถึงไดจริง 6.ทักษะสัมพันธทางวิชาชีพศิลปกรรม 6.1 ทักษะฝมือทางศิลปะและการออกแบบที่ตองพัฒนา คือ 6.1.1 พัฒนาทักษะฝมือทางการวาดภาพ( Hand Drawing Skill) เพื่อสื่อความหมาย แสดงการศึกษา ขอมูล แสดงรายละเอียด แสดงแนวทางการแกปญหา แสดงแนวคิดสรางสรรคใหเห็นเปนรูปแบบทางเลือกอยาง เปนไปไดและเปนระบบ(Feasibility and Alternative Design Presentation) 6.1.2 พัฒนาทักษะการใชงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและเทคนิคการผลิต โดยสามารถปรับประยุกตใช สรางสรรคผลงานออกแบบ เขียนแบบ แสดงแบบรูป ไดเหมาะสมตามศักยภาพ 6.1.3 พัฒนาทักษะการนําเสนอและสรางแฟมสะสมผลงานได โดยใชรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยี ที่เหมาะสม 6.2 วิธีการสอน 6.2.1 ฝกทักษะปฏิบัติการวาดภาพสื่อแสดงการศึกษารายละเอียดและขั้นตอนการคิดวิเคราะห 6.2.2 ฝกอบรมทักษะการใชงานโปรแกรมคอมพิวเตอรดานการออกแบบเขียนแบบ ที่สอดคลองตรงกับ ความตองการของตลาดแรงงานและเทคโนโลยีการผลิต 6.2.3 จัดกิจกรรมและประสบการณจริง การนําเสนอและสรางแฟมสะสมผลงานของนักศึกษา 6.3 วิธีการประเมินผล 6.3.1 ผลงานแสดงในเลมเอกสารรายงานผลกระบวนการคิดวิเคราะหและสื่อแสดงวิธีการสรางสรรค ผลงานออกแบบ 6.3.2 การตรวจสอบความถูกตองของผลงานที่เกิดจากการจัดเก็บ การแสดงผล การคนคืนไฟลตนแบบ โปรแกรมประยุกตและผลงานตนแบบของจริงหรือเหมือนจริง 6.3.2 แบบประเมินผลการนําเสนอผลงานดวยโปสเตอรสรุปผลงานสรางสรรค(Mood Board)

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


10

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

1.แผนการสอน สัปดาห หัวขอ/รายละเอียด ที่ 1 แนะนําวิชา - คําอธิบายรายวิชา - ธรรมชาติวิชา - ขอตกลงและการเตรียมตัวกอน เรียน - วิธีการเรียนรู - ระบบสื่อ ระบบการสื่อสารและ ระบบสนับสนุนการเรียนการสอน ในชั้นเรียนและนอกเวลาเรียน - หัวขอเนื้อหาและบทเรียน - การวัดผลและการประเมินผล

จํานวน กิจกรรมการเรียนการสอน ชั่วโมง สื่อที่ใช (ถามี) 3.50 - การปฐมนิเทศวิชา - ปฏิบัติการฝกทักษะการบริหารจัดการ ใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสวน บุคคลและระบบเครือขายทางสังคม ใน ฐานขอมูลและผลิตภัณฑมาตรฐาน บริการของ Google.com และระบบ อื่นๆ - การสมัครสมาชิกระบบเครือขายสื่อ สังคมขาวสารออนไลน Google+ - การสมัครเรียนในระบบอีเลิรนนิ่ง ระบบคลาโรไลน -การทดสอบกอนการเรียน สื่อที่ใช -แผนการสอน - คอมพิวเตอร /อินเตอรเน็ต - วิดีทัศน/วิดีโอคลิปออนไลน - ตัวอยางผลงานบรรจุภัณฑจริง ประเภทตางๆ - บทเรียนออนไลนวิชาการออกแบบ บรรจุภัณฑ - แบบทดสอบกอนเรียน(Pre-Test) - เว็บไซตแหลงเรียนรูดานการผลิต - เว็บไซตรับสงขาวสารPackageNews -เว็บไซตเครือขายสื่อสังคมออนไลน ของ ”ArtChandra”, ”Prachid007” ของ Google, Facebook, Twitter ,Academia,

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555

ผูสอน ผศ. ประชิด ทิณบุตร และ อ. จารุณี เนตร บุตร


11

สัปดาห จํานวน หัวขอ/รายละเอียด ที่ ชัว่ โมง 2 1.สามัญทัศนเกี่ยวกับการออกแบบ 3.50 บรรจุภัณฑ - ประวัติความเปนมา - ความหมาย และความสําคัญ - ชนิดและประเภทบรรจุภัณฑ - บทบาทและหนาที่ของการบรรจุ ภัณฑ - จรรยาบรรณ บทบาทและหนาที่ ของนักออกแบบบรรจุภัณฑ

กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช (ถามี) - บรรยาย-สาธิต - อภิปราย - มอบหมายงาน การศึกษาคนควาดวย ตนเอง - การมีสวนรวมในการสรางสรรคสาระ ในเว็บไซตสื่อแสดงการจัดการความรู อยางพอเพียงของวิชา -การสรางแฟมสะสมความรูและผลงาน (Portfolio) แบบออนไลนสวนบุคคล สื่อที่ใช - คอมพิวเตอร /อินเตอรเน็ต - เว็บไซตสื่อแสดงผลงานและแฟม สะสมผลงาน - บทเรียนออนไลน - เว็บไซตแหลงเรียนรูดานการบรรจุ ภัณฑ - Google+ , GoogleDrive

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555

ผูสอน ผศ. ประชิด ทิณบุตร และ อ. จารุณี เนตร บุตร


12

สัปดาห หัวขอ/รายละเอียด ที่ 3 2.กระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ - การศึกษาวิเคราะหขอมูล - หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ - ขั้นตอนการพัฒนาบรรจุภัณฑ

จํานวน กิจกรรมการเรียนการสอน ชั่วโมง สื่อที่ใช (ถามี) 3.50 -ทบทวนซักถามและติดตามผลกิจกรรม การศึกษาคนควาดวยตัวเอง - บรรยาย – สาธิต - อภิปรายกลุมยอย - วิเคราะหผลงานออกแบบบรรจุภัณฑ ประเภทตางๆ -ฝกปฏิบัติการทดลองออกแบบพัฒนา บรรจุภัณฑ โดยมอบหมายทํางาน รวมกันแบบกลุม สื่อที่ใช - คอมพิวเตอร /อินเตอรเน็ต - วิดีทัศน/วิดีโอคลิปกระบวนการผลิต บรรจุภัณฑ/Youtube.com - ตัวอยางผลงานบรรจุภัณฑจริง ประเภทตางๆ - บทเรียนออนไลน - เว็บไซตแหลงเรียนรูดานการผลิต - Google+ , GoogleDrive

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555

ผูสอน ผศ. ประชิด ทิณบุตร และ อ. จารุณี เนตร บุตร


13

สัปดาห จํานวน หัวขอ/รายละเอียด ที่ ชัว่ โมง 4-5 3.กระบวนการออกแบบโครงสราง 7 บรรจุภัณฑ - บรรจุภัณฑปฐมภูมิ - บรรจุภัณฑทุติยภูมิ - บรรจุภัณฑเพื่อการขนสงและการ จัดจําหนาย - การออกแบบเขียนแบบโครงสราง บรรจุภัณฑดวยโปรแกรมสําเร็จรูป

กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช (ถามี) -ใหคําปรึกษา การนําเสนอและติดตาม การทํากิจกรรมกลุม -บรรยาย/ยกตัวอยางขั้นตอนการ สรางสรรคผลงานออกแบบและพัฒนา บรรจุภัณฑประเภทตางๆ -กิจกรรมกลุมในการรวมกันวิเคราะห กรณีศึกษา การแกปญหาโจทยและ ภาระงานที่รับมอบ -ฝกปฏิบัติการออกแบบโครงสรางบรรจุ ภัณฑ สื่อที่ใช - คอมพิวเตอร /อินเตอรเน็ต - คอมพิวเตอร/โปรแกรม Google Sketchup - ตัวอยางผลงานบรรจุภัณฑของจริง ประเภทตางๆ - บทเรียนออนไลน - เว็บไซตแหลงเรียนรูดานการออกแบบ พัฒนาบรรจุภัณฑเพื่อสิ่งแวดลอม - การปรับประยุกตและพัฒนาเว็บไซต ฟรีGoogleSite เพื่อใชเปนแหลงเรียนรู และการนําเสนอเผยแพรแฟมผลงาน สวนบุคคลและของกลุม - Google+ , GoogleDrive

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555

ผูสอน ผศ. ประชิด ทิณบุตร และ อ. จารุณี เนตร บุตร


14

สัปดาห จํานวน หัวขอ/รายละเอียด ที่ ชัว่ โมง 6-7 4.หลักการออกแบบกราฟกสําหรับ 7 บรรจุภัณฑ - การออกแบบกราฟกเอกลักษณ - การออกแบบจัดทําอารตเวิรค สําหรับงานพิมพบรรจุภัณฑ - การถายภาพประกอบและภาพ ผลิตภัณฑ

3.50

8

5.วัสดุบรรจุภัณฑ - วัสดุประเภทกระดาษ -วัสดุประเภทพลาสติก -วัสดุประเภทโลหะ -วัสดุประกอบรวมและตกแตง

9

สอบกลางภาคเรียน

10-11

6.เทคโนโลยีการออกแบบและการ 7 ผลิต - การใชงานโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อ การนําเสนอผลงานออกแบบบรรจุ ภัณฑจําลองเสมือนจริง

12

7.ระบบการพิมพบรรจุภัณฑ - ระบบการพิมพแบบไมสัมผัสพื้น -ระบบการพิมพแบบสัมผัสพื้น -ระบบการพิมพดิจิตัล

3.50

กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช (ถามี) บรรยาย/สาธิตการออกแบบกราฟก บรรจุภัณฑประเภทตางๆ สื่อที่ใช - ตัวอยางงานตนแบบและผลงาน จําลองเหมือนของจริง -ตัวอยางบรรจุภัณฑสินคามาตรฐาน -โปรแกรมสําเร็จรูปดานการออกแบบ กราฟกประเภทเวคเตอรและแรสเตอร -กลองดิจิตัลและโตะไฟในสตูดิโอ - Google+ , GoogleDrive บรรยาย/ยกตัวอยางการใชวัสดุบรรจุ ภัณฑประเภทตางๆ -ฝกปฏิบัติการทดลองออกแบบแผนคลี่ บรรจุภัณฑกระดาษกลองแข็ง สื่อที่ใช -ตัวอยางสินคา-ตัวอยางวัสดุพิมพ -ตัวอยางวัสดุบรรจุภัณฑ - Google+ , GoogleDrive -การนําเสนอผลงานกลุม -สอบกลางภาคเรียน สื่อที่ใช -แบบทดสอบในระบบออนไลน - ฝกปฏิบัติการออกแบบและการพัฒนา ตนแบบ สื่อที่ใช -คอมพิวเตอร/โปรแกรม Google Sketchup -คอมพิวเตอร/โปรแกรมกราฟกตกแตง ภาพ - Google+ , GoogleDrive บรรยาย/ยกตัวอยางผลงานการพิมพ บรรจุภัณฑประเภทตางๆ ฝกปฏิบัติการออกแบบผลิตงานตนแบบ งานพิมพสําหรับบรรจุภัณฑ สื่อที่ใช - ตัวอยางงานตนแบบ และผลงาน

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555

ผูสอน ผศ. ประชิด ทิณบุตร และ อ. จารุณี เนตร บุตร

ผศ. ประชิด ทิณบุตร และ อ. จารุณี เนตร บุตร

ผศ. ประชิด ทิณบุตร และ อ. จารุณี เนตร บุตร ผศ. ประชิด ทิณบุตร และ อ. จารุณี เนตร


15

สัปดาห ที่

หัวขอ/รายละเอียด

จํานวน ชั่วโมง

13-14

7 8.เทคนิคการนําเสนอผลงาน - การนําเสนอเผยแพรผลงานและ แฟมสะสมงานแบบออนไลน - การจัดทําภาคนิพนธสรุปผลการ ดําเนินงานโครงงานออกแบบสวน บุคคล -การจัดทําแผนภาพ Mood Board อธิบายสรุปยอประกอบการ นําเสนอผลงานตนแบบจริง

15

9.การนําเสนอผลงานโครงงานการ 3.50 ออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ -การทดสอบหลังการเรียน

16

สอบปลายภาคเรียน รวมชั่วโมงบรรยายและปฏิบัติการ

49

กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช (ถามี) จําลองเหมือนของจริง -โปรแกรมประเภทออกแบบสิ่งพิมพ -ตัวอยางเพลทแมพิมพระบบออฟเซท -ตัวอยางวัสดุพิมพและวัสดุตกแตง - Google+ , GoogleDrive บรรยาย/ยกตัวอยางผลงานบรรจุภัณฑ ตนแบบ ฝกปฏิบัติการออกแบบ สื่อที่ใช -คอมพิวเตอร/โปรแกรมประยุกต สําร็จรูปทางการนําเสนอ -ตัวอยางภาพผลงานการนําเสนอจาก Picasa Gallery ,Facebook Photo Album ของผูสอน - Google+ , GoogleDrive การนําเสนผลงานโครงการออกแบบ สวนบุคคลของนักศึกษา สื่อที่ใช -คอมพิวเตอร/เครื่องฉายโปรเจคเตอร -เว็บไซตแสดงและเผยแพรผลงานสวน บุคคลทาง GoogleSite, Issuu.com - Mood Board, Prototype, Paper/CD - Google+ , GoogleDrive สอบปลายภาคเรียน

2.แผนการประเมินผลการเรียนรู กิจกรรม ผลการ วิธีการประเมิน ที่ เรียนรู* 1 1.3.1 -ความรับผิดชอบและการมีสวนรวมในชั้นเรียน 1.3.2 -การศึกษาคนควาและการนําเสนอเผยแพร 5.3.1,5.3.2, ผลงานสวนบุคคล 5.3.3 - พัฒนาการทักษะวิชาชีพและกิจกรรมกลุม 1.3.1 - แบบฝกหัดทักษะยอย 1.1.1 - แบบทดสอบทักษะเชิงปฏิบัติการ

สัปดาหที่ ประเมิน ตลอดภาค การศึกษา

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555

ผูสอน บุตร

ผศ. ประชิด ทิณบุตร และ อ. จารุณี เนตร บุตร

ผศ. ประชิด ทิณบุตร และ อ. จารุณี เนตร บุตร

สัดสวนของการ ประเมินผล 5% 10 % 10 % 10 % 10 %


16

กิจกรรม ผลการ วิธีการประเมิน ที่ เรียนรู* 2.3.2, 5.3.3 - โครงงานออกแบบสวนบุคคล 4.3.3,6.3.1, 6.3.2 รวม 2 2.3.1 สอบกลางภาคเรียน 3 2.3.1 สอบปลายภาค รวมทั้งสิ้น

สัปดาหที่ ประเมิน

สัดสวนของการ ประเมินผล 15 %

60 % สัปดาหที่ 8 20 % สัปดาหท1ี่ 6 20 % 100%

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1.เอกสารและตําราหลัก ประชิด ทิณบุตร.การออกแบบบรรจุภัณฑ สํานักพิมพโอเดียนสโตร พ.ศ. 2531 -----------------.เอกสารการสอนชุดวิชาความรูเฉพาะวิชาชีพเตรียมการพิมพสําหรับชางปฏิบัติการเรียงพิมพ 3 หนวยที่ 5 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2540 -----------------. เอกสารการสอนชุดวิชา การออกแบบทางการพิมพ หนวยที่ 1 ,หนวยที่ 13.2 , 13.3 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2541. -----------------. การออกแบบบรรจุภัณฑ วารสารสถาปตยวิชาการ ฉบับที่5 คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ,2547. -----------------. การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห และทักษะการนําเสนอผลงานการสรางสรรคผลงานใน รายวิชาออกแบบบรรจุภัณฑ ของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม(ออกแบบประยุกตศิลป) มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วารสารจันทรเกษมสาร ปที่ : 15 ฉบับที่ : 29 เลขหนา : 31-40 ป พ.ศ. : 2552 2.เอกสารและขอมูลสําคัญ 2.1 ไฟลบันทึกขอมูลเพื่อการประมวลและประเมินผลประจํารายวิชา( Course–Class-EvaluationForm.xls) 2.2 ไฟลแบบฟอรมการจัดทําบันทึกผลการออกแบบดวยมือ ( Manual Design Sheets Form.xls) 2.3 เนื้อหาบทเรียนออนไลน วิชาการออกแบบบรรจุภัณฑ. ในระบบอีเลิรนนิ่ง สาขาวิชาศิลปกรรม URL: http://art.chandra.ac.th/claroline 3.เอกสารและขอมูลแนะนํา 3.1.เว็บไซตระบบอีเลิรนนิ่ง ภายในมหาวิทยาลัย ของสาขาวิชาศิลปกรรม 3.1.1 เว็บไซตสนับสนุนการเรียนรูออนไลน สาขาวิชาศิลปกรรม Artchandra e-Learning Portal Site : URL : http://art.chandra.ac.th มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


17

3.1.2 เว็บบล็อกศูนยรวมขาวสารของสาขาวิชาศิลปกรรม URL:http://artnet.chandra.ac.th 3.1.3 ระบบคลาโรไลนอีเลิรนนิ่งสําหรับการเรียนการสอนประจําวิชา URL: http://art.chandra.ac.th/claroline 3.2 เว็บไซตสนับสนุนการติดตอสื่อสาร การติดตามผลและแสดงผลสัมฤทธิ์การเรียนรูของนักศึกษา อยางพอเพียงและสากล 3.2.1 เว็บไซตการรับ-สงขอความสั้นผานทาง URL : http://www.twitter.com/prachid007 3.2.2 สื่อเครือขายสังคมออนไลน สาขาวิชาศิลปกรรม URL:http://www.facebook.com/artchandra 3.2.3 เว็บไซตเครือขายการจัดการความรูสูสาธารณะอยางพอเพียงและสากลประจําวิชา URL: http://packagingdesigncourse.blogspot.com http://sites.google.com/site/artd3301 3.3. เว็บไซตสากลเพื่อการนําเสนอเผยแพรและแสดงผลสัมฤทธิ์การเรียนรูของนักศึกษา URL : http://www.issuu.com/groups/packaging 3.4. เว็บไซตแหลงเรียนรูดวยตนเอง 3.4.1 http://sites.google.com/site/graphicpackage101 3.4.2 http://www.issuu.com/groups/packaging 3.4.3 http://package-guru.blogspot.com 3.4.4 http://www.designandtech.com 3.4.5 http://www.designtech2010.wordpress.com 3.4.6 http://www.design-technology.info 3.4.7 http://www.chanderakasem.info 3.4.8 http://www.thaifont.info 3.4.9 http://www.prachid.com 3.4.10 http://www.wittycomputer.com 3.4.11 htp://www.chandraonline.info 3.4.12 http://www.clarolinethai.info 3.4.13 http://www.efrontthai.info 3.4.14 http://www.novice-reserchers.net 3.4.15http://www.researchchandra.net 3.4.16 http://www.thaianimation.info 3.4.17 http://www.thaiteachers.info

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


18

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา 1.กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธิผลในรายวิชาโดยนักศึกษา ไดจัดกิจกรรมเพื่อสํารวจแนวคิดและความเห็นจาก นักศึกษาไดโดยมีวิธีการดังนี้คือ 1.1 ใชการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางผูสอนและนักศึกษา 1.2 ใชแบบบันทึกคะแนนกิจกรรมการเรียนรูและการรายงานผลการสังเกตการณพฤติกรรมของนักศึกษา 1.3ใชระบบสื่อสารและเทคโนโลยีรวมสมัย เพื่อเปนเวทีแสดงออกและรวบรวมขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ ผานระบบเครือขายสังคมออนไลน ผานการรับ-สงขาวสารแบบกลุมของ GooglePlus, การวิพากษ วิจารณ และ การติดตามใหคําปรึกษาดานการเรียนรูดานการสรางสรรคผลงานทั้งแบบกลุมและรายบุคคลผานทาง GoogleWave และผานทางกระดานสนทนา( Discuss Board)ในระบบ e-Learning สาขาวิชาศิลปกรรม ใน รายวิชาของอาจารยผูสอนที่ไดกําหนดและจัดทําไวเพื่อรองรับเปนชองทางสําหรับการติดตอสื่อสารกับนักศึกษา ตลอด 24 ชั่วโมง ตลอด 7 วัน 1.4 ใชแบบประเมินผูสอน และแบบประเมินรายวิชา ที่คณะฯเปนผูดําเนินการ 2.กลยุทธการประเมินการสอน ในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อประเมินการสอน ไดมีกลยุทธดังนี้ 2.1 ใชวิธีการซักถาม การสังเกตการณ การมีสวนรวมในชั้นเรียนและพฤติกรรมของนักศึกษา จากผูสอน รวม 2.2 ใชแบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนการสอนแบบออนไลน ของรายวิชา 2.3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์จากผลการสอบกอน-หลังเรียน และผลสอบภาคทฤษฏีความรู 2.4 ผลสรุประดับพัฒนาการตามเกณฑพฤติกรรมทักษะวิชาชีพ : ทักษะการปฏิบัติที่คาดหวังของนักศึกษา (Career Criterias : Performance Expectations Achievement) 3.การปรับปรุงการสอน ในระหวางดําเนินการสอน/หลังจากทราบผลการประเมินการสอนในแตละคราว/ภาคเรียนแลว มีวิธีการ ปรับปรุงการสอนโดยวิธีการดังนี้คือ 3.1 สรุปประเด็นสภาพปจจุบันและปญหาเพื่อหาทางแกไขปรับปรุงเฉพาะหนาระยะสั้นและระยะยาว 3.2 มีการทําวิจัยในชั้นเรียนควบคูไปกับการเรียนการสอน เพื่อหาขอสรุป เผยแพร ตั้งประเด็นดําเนินการ สอนและทวนสอบ ในการสอนคราวตอไป 3.3 นําผลสรุปจากแบบประเมินผูสอนและแบบประเมินรายวิชา ที่คณะฯเปนผูดําเนินการ มาทวนสอบรวม วางแผนปรับปรุง และจัดแผนการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3.4 ปรับปรุงประสิทธิภาพของสื่อหลัก สื่อเสริมและสื่อเติมใหมีประสิทธิภาพขึ้นกวาเดิม ใหมีทางเลือก หลากหลายระดับ เพื่อสนับสนุนสงเสริมการเรียนรูใหนักศึกษาสามารถเขาถึง เขาใชไดเต็มศักยภาพ ตามทักษะ วาระโอกาส ชองทางการติดตอสื่อสารและดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสม 3. 5 แบงปน พัฒนาความรูและฝกฝนทักษะตนเองรวมกับผูรูหรือผูรวมงานทานอื่นๆอยางสม่ําเสมอ 3.6 ประชุมกลุมผูสอน/สัมมนาการจัดการเรียนการสอน มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


19

4.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหวางกระบวนการสอนและหลังการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวขอตามที่ คาดหวังจากการเรียนรูในรายวิชา โดยการสอบถามนักศึกษา หรือการสุมตรวจผลงานของนักศึกษา รวมทั้งการ พิจารณาจากผลการทดสอบยอยและการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในรายวิชาไดดังนี้คือ 4.1 มีการทวนสอบการใหคะแนนจากการสุมตรวจผลงานของนักศึกษา โดยอาจารยทานอื่นหรือ ผูทรงคุณวุฒิที่ไมใชอาจารยประจําหลักสูตร 4.2 มีการจัดตั้งคณะกรรมการเฝาระวังมาตรฐานการเรียนรูของสาขาวิชา เพื่อทวนสอบการประเมินผลการ เรียนรูของนักศึกษา โดยการตรวจสอบหลักเกณฑ-วิธีการใหคะแนนกิจกรรม ขอสอบ คะแนนผลสอบ วิธีการให คะแนนสอบ การใหคะแนนพฤติกรรม รายงานหรืองานที่มอบหมาย 4.3 มีการทําวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะหและทักษะการนําเสนอผลงานของ นักศึกษาที่เรียนในวิชา 4.4 ใชแบบสํารวจความคิดเห็น-การรวบรวมขาวสาร คาสถิติผลงานเชิงประจักษและมีหลักฐานจริง อัน เปนผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา จากกิจกรรมการสงผลงานประกวดแขงขัน จากเกียรติยศ รางวัลที่ไดรับ จากการ สงผลงานเขารวมจัดแสดงนิทรรศการจริง หรือแบบออนไลนสูสาธารณะในเว็บไซตสากลหรือภายในหนวยงานที่ สามารถตรวจสอบ ติดตาม อางอิงและเขาถึงได 5.การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมินและการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ไดมีการวางแผนการปรับปรุงการ จัดการเรียนการสอนและรายละเอียดของวิชา เพื่อใหเกิดคุณภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น ดังนี้ 5.1 จัดใหมีการวิพากษเพื่อการปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ป หรือตามขอเสนอแนะและผลสรุปที่ไดจากการ ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามขอ 4 5.2 มีการเชิญวิทยากรพิเศษ การศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง หรือการจัดประสบการณจริง เพื่อใหนักศึกษามีวิสัยทัศนในเรื่องการสังเคราะหองคความรูที่ไดรับจากการเรียนในรายวิชามากขึ้น 5.3 มีการใหความรวมมือทําวิจัยรวมกันในหนวยงาน หรือทําวิจัยแบบบูรณาการกับผูสอนหรือนักวิจัยจาก ภายนอกสถาบัน

มคอ3.วิชาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ผศ.ประชิด ทิณบุตร สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม : 07/11/2555


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.