[เลือกวันที่]
ส่วนพัฒนายุทธศาสตร์ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สารบัญ หน้าที่ คานา สารบัญตาราง
ข
สารบัญภาพ
ค
บทที่ ๑ : บทนา ๑.๑ หลักการและเหตุผล ๑.๒ วัตถุประสงค์ ๑.๓ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑.๔ ขั้นตอนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ๑.๕ นิยามศัพท์สาคัญเกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์ ๑.๖ ชื่อย่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทัง้ ในและนอกสังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๑ ๑ ๒ ๒ ๒
บทที่ ๒ : บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ๒.๑ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ๒.๒ ลักษณะงานทีป่ ฏิบัติ ๒.๓ โครงสร้างการบริหารจัดการ
๘ ๘ ๘ ๙
๕ ๗
บทที่ ๓ : หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติงานและสิ่งที่ควรคานึง ในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๓.๑ หลักเกณฑ์การปฏิบัติงาน ๓.๒ ขั้นตอนการปฏิบัตงิ านหรือดาเนินการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ๓.๓ สิ่งที่ควรคานึงถึงในการปฏิบัติ
๑๑
บทที่ ๔ : บทสรุป บทวิเคราะห์และข้อเสนอแนะ ๔.๑ บทสรุป ๔.๒ บทวิเคราะห์ ๔.๓ ข้อเสนอแนะ
๑๗ ๑๗ ๑๘ ๑๙
บรรณานุกรม
๒๒
สารบัญ
๑๑ ๑๒ ๑๖
ก
สารบัญตาราง ตารางที่ ๑ ผังงาน (Flowchart) ของการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สารบัญ
หน้า ๑๕
ข
สารบัญภาพ ภาพที่ ๒ ผังแสดงทีม่ าของข้อมูลประกอบการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๓ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์ แผนบริหารราชการแผ่นดิน (ผลลัพธ์สุดท้าย) แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (ผลลัพธ์) และแผนปฏิบัติราชการ ประจาปี (ผลผลิต กิจกรรม ทรัพยากร) ๔ ความหมายของคาสาคัญเกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์ ๕ โครงสร้างการบริหารจัดการของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ๖ กรอบแนวคิด (Concept)
สารบัญ
หน้า ๓ ๔
๖ ๙ ๑๘
ค
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
บทที่ ๑ บทนำ ๑.๑ หลักกำรและเหตุผล พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๓ กาหนดให้คณะรัฐมนตรีต้องจัดให้มีแผนการบริหารราชการแผ่นดิน โดยมอบให้สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สานักงานคณะกรรมการพั ฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานัก งบประมาณ ร่วมกันจัดทาแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบายต่อรัฐสภา เพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในการบริหารราชการแผ่นดินในแต่ละรอบ การบริหารของคณะรัฐบาลทุก ๔ ปี โดยมีสาระสาคัญบนพื้นฐานหลักการที่สอดคล้อ งกับนโยบายของรัฐบาล และแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ และตาม มาตรา ๙ และ ๑๖ ระบุให้ ส่วนราชการนาแผนการบริห ารราชการแผ่นดินไปใช้เ ป็นแนวทางในการจัดท า แผนยุทธศาสตร์หรือแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ของส่วนราชการ นอกจากนี้ในหมวดที่ ๓ ของพระราชกฤษฎีกา ดัง กล่าวว่าด้วยการบริห ารราชการเพื่ อให้เ กิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจ ของรัฐได้บัญ ญัติให้ ส่วนราชการจัดท า แผนปฏิบัติร าชการไว้เ ป็นการล่วงหน้า ตลอดจนดาเนินการปรับ เปลี่ยนแผนปฏิบัติร าชการให้เ หมาะสม ตามสภาพปั ญหาหรือผลกระทบที่ อาจเกิดขึ้นต่อประชาชน เพื่อใช้เป็นกรอบและแนวทางในปฏิบัติราชการ โดยก าหนดเป็ น แผนยุ ท ธศาสตร์ ห รื อ แผนปฏิ บั ติ ร าชการของส่ ว นราชการขึ้ น และน าไปใช้ ป ระโยชน์ ในการปฏิบัติงานต่อไป สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นหน่วยงานศูนย์กลางการบริหาร ของกระทรวงในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์และแปลงแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็น รูปธรรม จัดสรรและบริหารทรัพยากรของกระทรวงเพื่อให้บรรลุเป้าหมายและเกิดการประหยัด คุ้มค่าและเกิด ผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจของกระทรวง โดยมุ่งสร้างประโยชน์ให้กับผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และส่งผลต่อ การบรรลุพันธกิจหลักของหน่วยงาน ซึ่งแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงจะเป็นเครื่องมือสาหรับการถ่ายทอด แผนการบริหารราชการแผ่นดินไปสู่การปฏิบัติ โดยสาระสาคัญของการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ประกอบด้วย การวิ เ คราะห์ป ระเมิ นสถานการณ์และสภาวะแวดล้อม การก าหนดวิสั ยทั ศน์ เป้า ประสงค์ การก าหนด ยุทธศาสตร์ รวมถึงการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ โดยการกาหนดแผนงาน/โครงการ และตัวชี้วัดเพื่อติดตาม และประเมิ นผล ทั้ ง นี้ ด้ วยข้ อจ ากั ดด้ านระยะเวลา และเพื่ อให้ แผนยุ ท ธศาสตร์ ของกระทรวงทรั พยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ มีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน สานักงาน ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ ได้สรุปขั้นตอนวิธีการ ในการดาเนินการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงภายใต้ ๓ กระบวนหลัก ได้แก่ การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ การจัดทาแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และการทบทวนแผนยุทธศาสตร์กระทรวง ซึ่งกระบวนการดังกล่าวได้นามา สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๑
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
รวบรวม สรุป และจัดทาเป็นคู่มือการปฏิบัติงานการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ส่วนราชการและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องสามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป ๑.๒ วัตถุประสงค์ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น คู่ มื อ ในการปฏิ บั ติ ง านของเจ้ า หน้ า ที่ ใ นสั ง กั ด กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่มีหน้าที่รับผิดชอบการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง หรือนาไปเป็น ตัวอย่าง หลักเกณฑ์และแนวทางในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ด้านอื่นๆ ต่อไป ๑.๓ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ คู่มื อในการจัดท าแผนยุ ทธศาสตร์ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็ น เครื่องมื อชี้แนะแนวทาง ขั้นตอนการดาเนินงาน ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบด้านแผนงาน และงบประมาณของหน่ว ยงาน เนื่ อ งจากมี ก ารถ่ า ยทอดในรู ป แบบเอกสารเผยแพร่ แนวทาง ขั้ น ตอน การดาเนินงานอย่างชัดเจน ทั้งนี้ หน่วยงานควรมีการทบทวนการดาเนินงานตามคู่มือเป็นประจาเพื่อให้คู่มือ ดังกล่าวมีประสิทธิภาพและมีความเหมาะสมตามสถานการณ์ปัจจุบัน ๑.๔ ขั้นตอนกำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์ของกระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม จากการจั ด ท าแผนยุ ท ธศาสตร์ และแผนปฏิ บั ติ ร าชการ ๔ ปี ของกระทรวงและส านั ก งาน ปลัดกระทรวงฯ ที่ผ่านมา (ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นต้นมา) สานักนโยบายและยุทธศาสตร์มี แนวทางในการ ดาเนินงานที่หลากหลาย โดยมีการดาเนินการหลักคือการจัดประชุมสัมมนาระดมสมองเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม ในการแสดงความคิดเห็นจากเจ้าหน้าที่ บุคลากรในสังกั ดกระทรวง บุคลากรภาครัฐ ภาคการศึกษา รวมถึ ง ประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากแผนงาน/โครงการของกระทรวง ซึ่งสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ได้รวบรวม และสรุป กระบวนการในการจัด ท าแผนยุท ธศาสตร์ และนามาจัด ท า “คู่ มื อ การจัด ท าแผนยุท ธศาสตร์ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” ได้ดังนี้ (๑) รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และประมวลผลข้อมูล ด้านนโยบาย แผน กฎระเบียบ กฎหมายที่ เกี่ ยวข้องกั บกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ณ ห้วงเวลาดาเนิน การนั้นๆ เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาจัดท าแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจาก - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ - พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๓๕ - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม - นโยบายรัฐบาล - แผนบริหารราชการแผ่นดิน - กฎกระทรวงการแบ่งส่วนราชการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๒
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
(๒) จัดประชุมสัมมนาเชิง ปฏิบั ติการการจัดทาแผนยุท ธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม โดยผ่านกระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภาพรวมของกระทรวง (SWOT Analysis) (๓) ร่ ว มระดมความคิ ด เห็ น วิ เ คราะห์ แ ละเสนอวิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ ประเด็ น ยุ ท ธศาสตร์ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ เพื่อประกอบการจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๔) จัดทา (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๕) จั ด กระบวนการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ต่ อ (ร่ า ง) แผนยุ ท ธศาสตร์ ก ระทรวง โดยการใช้ แบบสอบถามสอบถามความเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อแผนยุทธศาสตร์ (๖) นาเสนอ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ต่อ ผู้บริหารเพื่อ ขอความเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์ (๗) ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ นโยบำยรัฐบำล
พระรำชบัญญัติส่งเสริมและรักษำ คุณภำพสิ่งแวดล้อมแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๓๕ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคม แห่งชำติ แผนจัดกำรคุณภำพสิ่งแวดล้อม
แผนบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
แผนยุทธศำสตร์ ทส.
นโยบำยและแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
แผนปฏิบัติรำชกำร ๔ ปี ทส.
แผนปฏิบัติรำชกำรประจำปี ทส.
แผนปฏิบตั ิรำชกำรประจำปี ทส.
ภำพที่ ๑ ผังแสดงที่มาของข้อมูลประกอบการจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่มา: ส่วนพัฒนายุทธศาสตร์ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์, ๒๕๕๕
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๓
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
แผนบริหำรรำชกำร แผ่นดิน
แผนยุทธศำสตร์ แผนปฏิบัติรำชกำร ๔ ปี แผนปฏิบัติรำชกำร ประจำปี
ผลลัพธ์สุดท้ำย
ผลลัพธ์
ผลผลิต กิจกรรม ทรัพยำกร
ภำพที่ ๒ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (ผลลัพธ์สดุ ท้าย) แผนปฏิบตั ิราชการ ๔ ปี (ผลลัพธ์) และแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี (ผลผลิต กิจกรรม ทรัพยากร) ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, ๒๕๔๘
นอกจากนี้ ในการจัดท าแผนยุท ธศาสตร์ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม บางฉบับ ยัง มีก ระบวนการการดาเนินการทบทวนแผนยุท ธศาสตร์ขึ้นในระหว่างช่วงระยะเวลาดาเนินการ ตามแผน เนื่องจากการปรับเปลี่ยนนโยบายรัฐบาล เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศ ของประเทศอย่างแท้จริง ซึ่งในกระบวนดังกล่าว มีแนวทางในการดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ (๑) ศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบนโยบายรัฐบาลที่มีการปรับเปลี่ยน รวมทั้งแผนและนโยบาย ด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ณ ห้วงเวลาปัจจุบัน เพื่อใช้เป็น ข้อมูลประกอบการพิจารณาทบทวนแผนยุทธศาสตร์ (๒) จัดทา “ร่าง” แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ฉบับทบทวน) เพื่อเตรียมเสนอต่อหน่วยงานในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (๓) การจัดประชุ ม หน่ วยงานเพื่อร่ วมกั นพิจ ารณาทบทวนและปรับ ปรุง แผนยุท ธศาสตร์ใ ห้ สอดคล้องกั บนโยบายและแผน ตลอดจนสถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศ และของโลก (๓) จัดส่งแบบสอบถามสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับ “ร่าง”แผนยุทธศาสตร์กระทรวง ให้หน่วยงาน ในสังกัดพิจารณาให้ข้อคิดเห็น (๔) รวบรวม วิเคราะห์ และประมวลผลข้อมูลจากการจัดประชุมและแบบสอบถาม และปรับแก้ “ร่าง” แผนยุทธศาสตร์กระทรวง เสนอขอความเห็นชอบจากผู้บริหาร (๕) ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๔
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
๑.๕ นิยำมศัพท์สำคัญเกี่ยวกับแผนยุทธศำสตร์ (นิย ามจากหนัง สือ “คู่มื อ รูป แบบกลไกการมี ส่ วนได้ส่วนเสียในการบริหารจั ดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” โดยสถาบันวิจัยสังคม, ๒๕๔๗) แผนยุทธศำสตร์ หมายถึง แผนที่แสดงทิศทางหรือแนวทางปฏิบัติตามพันธกิจและภารกิจให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ และเป้าประสงค์ของส่วนราชการนั้นๆ แผนยุทธศาสตร์ที่ดีนั้นจะต้องมีวิสัยทัศน์ซึ่งมาจากกลุ่มบุคลากรทีท่ างาน ร่วมกันที่เห็นพ้องต้องกันว่าเป็นเป้าหมายในระยะยาวที่อยากจะมีอยากจะเป็น วิสัยทัศน์นี้ ควรแปลงมาเป็น เป้า ประสงค์ที ่เ ป็น รูป ธรรมและวัด ได้ ทั้ง นี้ ส่ว นราชการสามารถใช้แผนยุท ธศาสตร์เ ป็น กรอบในการ ประเมินผลงานประจาปีงบประมาณ นอกจากนี้ส่วนราชการยังสามารถใช้แผนยุทธศาสตร์เป็นกรอบในการทา แผนปฏิบัติการรายปี เพื่อการจัดตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปี วิสัยทัศน์ หมายถึ ง การก าหนดเป้ าหมายและทิ ศทางการพั ฒ นาในช่ ว ง ๕-๑๐ ปี อย่ างสมเหตุ ส มผล ให้สอดคล้องกับพันธกิจ โดยต้องครอบคลุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในทุกภาคส่วน ซึ่งวิสัยทัศน์ที่ดีจะต้องเป็นไปได้ เข้าใจง่าย จาง่าย มีความชัดเจน ส่งเสริมและสร้างความมั่นใจ กระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ สร้างพันธะ ผูกพัน กระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วม และกระตุ้นให้เกิดความเป็นเจ้าของ พันธกิจ หมายถึง กรอบหรือ ขอบเขตการดาเนินงานของหน่วยงาน หรือเหตุผ ลของการมีห น่วยงาน พันธกิจต่างจากภารกิจ (responsibility) ตรงที่ว่าภารกิจเป็นงานรับผิดชอบขององค์กรโดยตรง ส่วนพันธกิจ เป็นแนวทางที่ อ งค์ก รจะท าภารกิ จ ร่วมกั บ ผู้อื่น เพื่อให้บ รรลุเ ป้าประสงค์และเป็นการชี้ให้เ ห็นว่าองค์ก ร มีแนวทางที่จะทาร่วมกับใคร อย่างไรเพื่อตอบสนองอะไรหรือใคร ประเด็นยุทธศำสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ หรือ strategic issues หมายถึง พื้นที่ หรือ ประเด็นที่ต้องการเข้าไปบรรเทา ปัญหาหรือเพิ่มศักยภาพ ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เช่น จากการประเมินสถานการณ์พบว่า ทรัพยากรธรรมชาติ เสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว จะต้องมียุทธศาสตร์แก้ไข ประเด็นยุทธศาสตร์ก็จะหมายถึง “ทรัพยากรธรรมชาติ เสื่อมโทรม” ยุทธศาสตร์ที่จะแก้ไขปัญหานี้ ก็คือ การสงวน อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่นั้น เป้ำประสงค์ หมายถึง จุดมุ่งหมายที่ตอบสนองวิสัยทัศน์ เป็นผลกระทบหรือผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นแก่ ชุมชนหรือสังคมซึ่งเป็นผลจากการดาเนินงานของหน่วยงาน เป้าประสงค์ของกระทรวงจะต้องแสดงให้เห็นถึง ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๕
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
กลยุทธ์ หมายถึง แนวทางในการด าเนิน งานที่ ท าให้ อ งค์ก รบรรลุ เ ป้ าหมาย หรื อ หมายถึ ง วิ ธี ก าร ในการแข่ง ขันที่ ส ามารถทาให้อ งค์ก รเอาชนะคู่แข่ง ได้ หรือ หมายถึง แนวทางในการทาให้องค์กรประสบ ความสาเร็จ ซึ่งสรุปได้ว่า กลยุ ทธ์ คือ แนวทางที่องค์กรจะนาเสนอคุณค่า (Value) ให้กับลูกค้า เพื่อทาให้ องค์กรประสบความสาเร็จตามที่ ต้อ งการ (นิยามจากหนังสือ “Balanced Scorecard รู้ลึก ในการปฏิบัติ Implementing Balanced Scorecard” โดย ผศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์, ๒๕๔๖: ๔๔) กำรวำงแผนกลยุทธ์ หมายถึ ง เป็ นการวางแผนที่ เ น้ นความคล่อ งตั ว มี ก ารพิจ ารณาและวิ เ คราะห์ ทั้ ง ปั จ จั ย ลบ และปัจจัยบวกเพื่อพิจารณาสภาพแวดล้อมองค์กรทุกด้านรวมทั้งการแข่งขันและการป้องกันด้วย นอกจากนี้ ยังเน้นกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมโดยอาศัยความรู้และประสบการณ์จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการ กาหนดเป้าประสงค์ของการพัฒนาและพิจารณาตรวจสอบแนวทางหรือยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมด้วยการวางแผน กลยุทธ์จะมีการชี้นาการแปลงแผนสู่การปฏิบัติ และมีการติดตามประเมินผล โดยมีดัชนีติดตามประเมินผลเป็น เครื่องมือ ตัวชี้วัดหรือค่ำเป้ำหมำย ตัวชี้วัด หรือ ค่าเป้าหมาย หมายถึง เครื่อ งมือที่ ใช้วัดผลการดาเนินงานหรือประเมิ นผลการ ดาเนินงานในด้านต่างๆ ขององค์กร ซึ่งสามารถแสดงผลของการวัดหรือการประเมินในรูปข้อมูลเชิงประมาณ เพื่อสะท้อนประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานขององค์กรหรือหน่วยงานภายในองค์กร
ภำพที่ ๓ ความหมายของคาสาคัญเกี่ยวกับแผนยุทธศาสตร์ ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, ๒๕๔๘
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๖
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
๑.๖ ชื่อย่อหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ส่วนรำชกำรในสังกัดกระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ๑. สป.ทส. ๒. สผ. ๓. คพ. ๔. สส. ๕. อส. ๖. ปม. ๗. ทธ. ๘. ทช. ๙. ทน. ๑๐. ทบ.
สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมมลพิษ กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรมป่าไม้ กรมทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ กรมทรัพยากรน้า กรมทรัพยากรน้าบาดาล
รัฐวิสำหกิจในสังกัดกระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ๑๑. อสส. ๑๒. อสพ. ๑๓. ออป. ๑๔. อจน. ๑๕. มอท.
องค์การสวนสัตว์ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ องค์การจัดการน้าเสีย บริษัท ไม้อัดไทย จากัด
องค์กำรมหำชนในสังกัดกระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ๑๖. สพภ. ๑๗. อบก.
สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก หน่วยงำนที่รับผิดชอบนโยบำยระดับชำติ
๑. สศช. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๒. สงป. สานักงบประมาณ ๓. สานักงาน ก.พ.ร. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๗
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
บทที่ ๒ บทบาทหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ อานาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงแบ่ง ส่วนราชการสานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๔ กาหนดให้สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีภารกิจ เกี่ยวกับการเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการของกระทรวงในการพั ฒนายุทธศาสตร์และแปลงนโยบายของ กระทรวงเป็ น แผนการปฏิ บั ติ ง าน โดยมี ส านั ก นโยบายและยุ ท ธศาสตร์ ห น่ ว ยงานภายใต้ ก ากั บ ของ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีหน้าที่รับผิดชอบดาเนินการปฏิบัติภารกิจดังกล่าว ทั้งนี้ จากบทบาทหน้าที่และความรับ ผิดชอบของหน่วยงานที่ถูกกาหนดวว้ในกฎกระทรวง ผู้จัดท าจะวด้กล่าวถึง ๓ ประเด็น ดังนี้ ๑. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ๒. ลักษณะงานทีป่ ฏิบัติ ๓. โครงสร้างการบริหารจัดการ ๒.๑ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ชื่อตาแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผน หน้าที่ความรับผิดชอบ ผู้ปฏิบัติงานในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานมีหน้าที่ความรับผิดชอบในการวิเคราะห์ นโยบายและแผนโดยใช้ ความคิ ดริ เ ริ่ ม ในงานที่ มี ของเขตเนื้อ หาที่ ห ลากหลายและมี ขั้น ตอนการท างาน ที่ยุ่งยากซับซ้อนค่อนข้างมาก โดยต้องกาหนดแนวทางการทางานที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ความชานาญงานและประสบการณ์สูงมาก เป็นผู้ประสานงานที่ดี สร้างพันธมิตรหรือเครือข่ายใน การทางานทั้งในและนอกกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หากพบปัญหาต้องคิดหาทางแก้วขหรือ ปรับเปลี่ยนแนวทางการดาเนินงานให้เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ๆ เพื่อให้ง านสาเร็ จ ตามวัตถุประสงค์ ๒.๒ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ลัก ษณะของงานในการจัดท าแผนยุท ธศาสตร์เป็นงานที่ มี ความซับ ซ้อน เนื่องจากการจัดท า แผนยุทธศาสตร์หน่วยงานวม่สามารถจัดทาโดยอิสระและวม่คานึงถึงแผนยุทธศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มิเช่นนั้น แผนจะขาดคุณ ภาพ ขาดความสอดคล้องเชื่อ มโยงวปในระดับ ประเทศ จากมุ ม มองมหภาควปสู่จุ ล ภาค วม่สามารถนาวปสู่การปฏิบัติวด้อย่างจริงจัง ดังนั้นลักษณะงานดังกล่าวจึงเป็นงานที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ความช านาญงานและประสบการณ์ท างด้ า นวิ เ คราะห์ นโยบายและแผน งานประสาน งานสั ง เคราะห์ ประมวลผลเพื่ อ ประกอบการก าหนดนโยบาย จัดท าแผนหรือโครงการ รวมถึง งานติ ดตามประเมิ นผล การดาเนินงานตามแผนและโครงการต่างๆ งานเสนอแนะ งานเอกสารวิชาการ งานให้คาปรึก ษาแนะนา ในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๘
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
๒.๓ โครงสร้างการบริหารจัดการ
โครงสร้างของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สานักงานรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้ตรวจราชการกระทรวง
กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ทส. กลุ่มภารกิจ ด้านทรัพยากรนาใน แผ่นดิน กรมทรัพยากรนา (ทน.)
กรมควบคุมมลพิษ (คพ.)
กรมทรัพยากรนาบาดาล (ทบ.)
กรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม (สส.)
กลุ่มอานวยการ
กลุ่มภารกิจ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
สานักงานปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (สป.ทส.)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ ป่า (อส.) และพั ธุ์พ(ปม.) ืช (อส.) กรมป่านไม้
สานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (สผ.)
กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง (ทช.)
องค์การจัดการนาเสีย (อจน.)
กรมทรัยพากรธรณี (ทธ.)
องค์การบริหารจัดการก๊าซ เรือนกระจก (อบก.)
องค์การสวนสัตว์ฯ (อสส.)
กลุ่มภารกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์ (อสพ.) องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (ออป.) บริษัท ไม้อัดไทย จากัด (มอท.) สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจ จากฐานชีวภาพ (สพภ.)
หมายเหตุ : ๑๐ ส่วนราชการ ๕ รัฐวิสาหกิจ ๒ องค์การมหาชน
ภาพที่ ๔ โครงสร้างการบริหารจัดการของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่มา : แผนปฏิบัตริ าชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๙
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
ส านักนโยบายและยุ ทธศาสตร์เป็ นหน่ วยงานส่ วนกลางของส านักงานปลัดกระทรวงทรั พยากร ธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อ มที่ ท าหน้ าที่ ใ นการศึก ษา วิเ คราะห์ จัดท าข้อมู ล เพื่อเสนอแนะผู้บ ริห ารเพื่อใช้ ในการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของกระทรวง พัฒนายุทธศาสตร์การบริหารของกระทรวง แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนการปฏิบัติงานจัดสรรและบริหารทรัพยากรเพื่อให้เกิดการประหยัด คุ้มค่า และสมประโยชน์ อี ก ทั้ ง มี ห น้ า ที่ ใ นการประสานการปฏิ บั ติ ง าน รวมทั้ ง การก ากั บ เร่ ง รั ด ติ ด ตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในสังกัดกระทรวง ส่วนพัฒนายุทธศาสตร์ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นหน่วยงานหลักที่มีหน้าที่ รับผิดชอบ ในการจั ดท าแผนยุ ทธศาสตร์ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อม รวมทั้ ง ระดั บ หน่ว ยงาน คื อ แผนกลยุ ท ธ์ ข องส านั ก งานปลั ด กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ ส อดคล้ อ งกั บ กรอบนโยบายและยุท ธศาสตร์ร ะดับ ชาติที่เ กี่ ยวข้อง เพื่อก าหนดเป้าหมายการให้บริการ ผลผลิต ตัวชี้วัด ของงาน/โครงการ/กิจกรรม ของกระทรวง และสานักงานปลัดกระทรวงฯ อีกทั้ง กากับดูแลการดาเนินการ แปลงแผนยุ ท ธศาสตร์ ว ปสู่ ก ารปฏิ บั ติ และการสร้ า งกระบวนการให้ ทุ ก หน่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวง และสานักงานปลัดกระทรวงฯ จัดทารายละเอียดแผนปฏิบัติงานและรายงานผลความก้าวหน้าการดาเนินงาน รวมทั้ ง ผลการใช้ จ่ า ยเงิ น งบประมาณตามแผนปฏิ บั ติ ร าชการประจ าปี ผ่ า นทางระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (e-Project Tracking System) และสรุปเป็นภาพรวมรายงานต่อผู้บริหารระดับสูง โดยมีรายชื่อข้าราชการ และพนักงานราชการ ดังนี้ ๑. นางฉฏาธร สาอุดม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ ผู้อานวยการส่วนพัฒนายุทธศาสตร์ ๒. นางสาวสุทิศา ลุ่มบุตร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ ๓. นางสมพร มูลกิตติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ ๔. นางสุภัทรา คงมา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ ๕. นางสาวจิราภรณ์ เกสโร เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่ววป ๖. นายวัชระ เลาหะเพ็ญแสง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่ววป ๗. นายฤทธิรงณ์ วรรธนะเจริญกุล เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่ววป ๘. นางสาวประวพศรี สายสืบ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่ววป ๙. นางสาวสลิลรัตน์ ชูโชติ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่ววป ๑๐.นางสาววรัญญู บุญมาก เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๑๐
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
บทที่ ๓ หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติงานและสิ่งที่ควรคานึงในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การด าเนิ น การจั ด ท าแผนยุ ท ธศาสตร์ ข องกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม อัน มี วั ตถุ ป ระสงค์ห ลัก เพื่ อ ใช้เ ป็ นกรอบแนวทางในการปฏิบั ติ ง านในห้ วงระยะเวลา ๕ ปี ซึ่ ง โดยทั่ ว ไป มีหลักเกณฑ์ วิธีการปฏิบัติ และสิ่งที่ควรคานึงในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม” ทั้งนี้ จะนาเสนอเนื้อหา ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. หลักเกณฑ์การปฏิบัติงาน ๒. ขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือดาเนินการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ๓. สิ่งที่ควรคานึงในการปฏิบัติ ๓.๑ หลักเกณฑ์การปฏิบัติงาน พระราชกฤษฎี ก าว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารบริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี พ .ศ. ๒๕๔๖ หมวดที่ ๓ ว่าด้วยการบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐได้บัญญัติให้ส่วนราชการต้องจัดทา แผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า ตลอดจนดาเนินการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติราชการให้เหมาะสมตาม สภาพปัญหาหรือผลกระทบที่อาจเกิ ดขึ้นต่อประชาชน รวมทั้ง สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ของภารกิจที่กระทาได้ อย่างชัดเจน ซึ่งการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีวัตถุประสงค์เพื่อ ใช้เป็นกรอบแนวทางที่เป็นภาพรวมของกระทรวงและหน่วยงานในสัง กัดกระทรวง โดยมีหลักเกณฑ์สาคัญ คือ มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ณ ห้วงเวลาที่กาหนด และอยู่ ภายใต้ก ฎหมาย ข้อกาหนด กฎระเบียบที่ เกี่ยวข้ อง ได้แก่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๓๕ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนจัดการ คุณ ภาพสิ่ ง แวดล้อ ม แผนบริ ห ารราชการแผ่ นดิ น ตลอดจนนโยบายและแผนด้ า นอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข้อ งกั บ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อนามาเป็นกรอบในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์หลักในระยะยาวให้กับ กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ในลั ก ษณะที่ เ ป็ น ภาพรวมและในมุ ม มองที่ ย าวไกล ทั้งสถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มของสถานการณ์ที่กาลังจะเกิดขึ้น รวมทั้งมีความยืดหยุ่นเพื่อให้หน่วยงาน ต่างๆ ทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสามารถนาแผนยุทธศาสตร์มาทบทวนและปรับเป็นแผนปฏิบัติราชการ ให้กับหน่วยงานต่อไป
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๑๑
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
๓.๒ ขั้นตอนการปฏิบัติงานหรือดาเนินการจัดทาแผนยุ ทธศาสตร์ ข องกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านหรื อ ด าเนิ น การจั ด ท าแผนยุ ท ธศาสตร์ ข องทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มีดังนี้ ๑. รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และประมวลผลข้อมูลสาหรับการจัดทาแผนยุทธศาสตร์สานักงาน ปลัดกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ โดยเฉพาะประเด็นยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนจั ดการคุณ ภาพสิ่ งแวดล้อ ม ของส านัก งานนโยบายและแผนทรัพ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม แผนการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล นโยบายรัฐบาล เอกสารและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อมูลปีฐาน (หากเป็นแผนงานโครงการที่ต่อเนื่อง) ๒. เตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจให้กั บ ผู้ บ ริห าร และเจ้าหน้าที่ด้านแผนงานและ งบประมาณของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การออกแบบและจัดเตรียมกระบวนการระดมสมองเพื่อจัดทาแผนยุทธศาสตร์ จัดประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจให้กับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ด้านแผนงานงบประมาณของ หน่วยงาน ๓. จัดทา (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๓.๑ จัดประชุมเพื่อระดมสมองจัดทา (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้อม ซึ่งผู้ เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย ผู้บ ริห ารและเจ้าหน้าที่ ของหน่วยงานในสังกั ด รวมถึง นักวิชาการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยที่ประชุมร่วมพิจารณาในประเด็นสาคัญ ดังนี้ วิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) - วิเคราะห์ปัจจัยภายใน (จุดแข็ง และจุดอ่อน) - วิเคราะห์ปัจจัยภายนอก (โอกาส และอุปสรรค) ประเมินขีดสมรรถนะของหน่วยงาน กาหนดวิสัยทัศน์ กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ กาหนดโครงการ/ผลผลิ ต /กิ จ กรรม ตั ว ชี้ วั ด หรื อ ค่ า เป้ า หมาย งบประมาณ และ หน่วยงานที่รับผิดชอบ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๑๒
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
๓.๒ สรุปสาระสาคัญของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/ผลผลิต/กิจกรรม ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย งบประมาณ หน่วยงานที่รับผิดชอบ ๔. จัดกระบวนการสาหรับรับฟังความคิดเห็นต่อ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ๔.๑ ศึกษา (ร่าง) ประเด็นยุทธศาสตร์ เพื่อพิจารณาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนได้ส่วน เสียกับ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ โครงการ/ผลผลิต /กิจกรรมเพื่อเตรียมการรับ ฟังความ คิดเห็นต่อ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๔.๒ จัดประชุม สัมภาษณ์ หรือจัดทาแบบสอบถาม เพื่อรับฟังความคิดเห็นของนักวิชาการ ส่วนราชการ ภาคเอกชน หน่วยงานอิสระ NGOs และผู้แทนภาคประชาชน ที่มีต่อ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๕. ประมวลผลและปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข (ร่า ง) แผนยุ ท ธศาสตร์ ก ระทรวงทรัพ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมตามข้อเสนอ ประมวลผล และสรุ ป ผลข้ อ เสนอแนะต่ อ (ร่ าง) แผนยุ ทธศาสตร์ ก ระทรวงทรั พยากร ธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้อม เพื่ อ นาไปปรับ ปรุง แก้ ไข (ร่าง) แผนยุท ธศาสตร์ที่ ผ่านการรับ ฟังความคิดเห็น จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๖. นาเสนอผู้บ ริห ารเพื่ อ ขอความเห็นชอบแผนยุท ธศาสตร์และจัดท าหนัง สือเรียนผู้บ ริห าร (ปลั ดกระทรวงฯ) เพื่ อ น าเสนอ “(ร่ าง) แผนยุท ธศาสตร์ ก ระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อ ม ที่ ผ่านการรับ ฟั ง ความคิ ดเห็น จากผู้มี ส่ วนได้ส่ว นเสี ย ” เพื่ อขอความเห็ นชอบจากผู้ บ ริ ห าร ถ้า ยัง ไม่ ผ่า น ความเห็นชอบจะต้องนากลับไปสู่กระบวนการข้อที่ ๕ คือ ประมวลผลการพิจารณาและนามาปรับปรุงแก้ไข “(ร่าง) แผนยุทธศาสตร์สานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” และนาเสนอผู้บริหาร เพื่อขอความเห็นชอบใหม่อีกครั้ง ๗. ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๑๓
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
แผนผัง (Flowchart) การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ภาพที่ ๕ ผังงาน (Flowchart) การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ที่มา: กลุม่ พัฒนายุทธศาสตร์ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์, ๒๕๕๓
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๑๔
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
ตารางที่ ๑ : ผังงาน (Flowchart) ของการจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สัญลักษณ์ เริ่ม/สิ้นสุด
ขั้นตอน
ดาเนินการ
พิจารณา
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สนย.
ผู้บริหาร หน่วยงานใน ผู้มีส่วนได้ สศช./ สังกัด ส่วนเสีย ก.พ.ร./สงป.
เอกสารที่เกี่ยวข้อง - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ - พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๓๕ - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม - นโยบายรัฐบาล - แผนบริหารราชการแผ่นดิน - เอกสารและข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม - นโยบายรัฐบาล - แผนบริหารราชการแผ่นดิน - เอกสารและข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้องด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
๑. รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และประมวลผลข้อมูล สาหรับการจัดทาแผนยุทธศาสตร์
๒. เตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจให้กับ ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ด้านแผนงาน และ งบประมาณในสังกัด
๒.๑ การออกแบบและจัดเตรียมกระบวนการระดม สมองเพื่อจัดทาแผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน ๒.๒ จัดประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจให้กับผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ดา้ นแผนงาน งบประมาณของ หน่วยงาน ๓. จัดทา (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน ๓.๑ จัดประชุมเพื่อระดมสมองจัดทา (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน ๓.๒ สรุปสาระสาคัญของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน ๔. จัดกระบวนการสาหรับรับฟังความคิดเห็นต่อ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน ๕. ประมวลผลและปรับปรุงแก้ไข (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์หน่วยงานตามข้อเสนอ ๖. นาเสนอผู้บริหารเพื่อขอความเห็นชอบ แผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน ๗. จัดส่งแผนยุทธศาสตร์ให้หน่วยงานกลาง ที่รับผิดชอบการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ
การเชื่อมต่อ
- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ - แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม - แผนการจัดสรรงบประมาณ - แผนการบริหารราชการแผ่นดิน - เอกสารอื่นทีเ่ กี่ยวข้องการวางแผนของหน่วยงาน - (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน
- (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน - (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์หน่วยงาน - ข้อคิดเห็นจากการรับฟังความคิดเห็นผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย No
- (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์หน่วยงานที่ผ่านการรับฟังความคิดเห็น
Yes No
- (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์หน่วยงานที่ผ่านการรับฟังความคิดเห็น ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและความเห็นชอบผู้บริหาร
Yes
๘. ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม ๙. ทบทวนแผนยุทธศาสตร์*
(หลังจาก ปกท.ทส. เห็นชอบแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน) - แผนยุทธศาสตร์ ฉบับที่ทบทวนที่ผ่านการพิจารณารับฟัง ความคิดเห็นจากหน่วยงานในสังกัดและได้รับความเห็นชอบจาก ปกท.ทส.
หมายเหตุ : ขั้น ตอนที่ ๙ ช่ ว งเวลาในการทบทวนแผนยุท ธศาสตร์ขึ้ น กั บสถานการณ์ แ ละปั จ จั ยที่ เ กี่ย วข้ อง เช่น การเปลี่ ย นแปลงสถานการณ์ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงของนโยบายหรือยุทธศาสตร์ในการบริหารประเทศ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๑๕
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
๓.๓ สิ่งที่ควรคานึงถึงในการปฏิบัติ แนวคิดในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจเกิดขึ้นหลังจากมีการปฏิรูป ระบบราชการซึ่งถือว่าเป็นช่วงต้นของการทดลองปฏิบัติดังนั้น รูปแบบหรือขั้นตอนในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ อาจจะมี หลากหลายและสามารถปรับ เปลี่ยนได้ตลอดเวลา ซึ่งคณะผู้จัดทาได้สรุปประเด็นสาคัญ ที่ผู้จัดท า แผนยุทธศาสตร์ ของหน่วยงานควรคานึงถึง ๓ ประเด็น ดังนี้ ๑. เนื้อหาสาระสาคัญซึ่งจะต้องเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติ แผนยุทธศาสตร์ระดับชาติในที่ นี้จะกล่าวถึง แผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่งชาติ นโยบาย รัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยการวิเ คราะห์ประเด็นส าคัญ ที่ รัฐบาลมุ่งเน้นดาเนินการเพื่อลดหรือแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีบทบาทสาคัญต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของประชาชนรวมถึง การพัฒ นาประเทศ เพื่อให้เ กิ ดการแปลงนโยบายและแผนยุท ธศาสตร์ ระดับชาติไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ๒. สถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต สิ่งสาคัญในการพิจารณาจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านการสงวน ดูแล และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเกิดประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อ ความต้ องการของประชาชนได้สูง สุด คือ การศึกษาวิ เคราะห์ส ถานการณ์ ด้านทรั พยากร ธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อมปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต ในห้วงเวลาของแผนยุท ธศาสตร์ ซึ่ง ขึ้นอยู่กับการ กาหนดระยะเวลาโดยหน่วยงานนั้น ๓. รูปแบบ การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตั้งแต่เริ่มต้น ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ จนกระทั่งถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๕ มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบมาโดยตลอด เนื่องจากหน่วยงานกลางที่ กาหนด แผนยุทธศาสตร์ระดับชาติเป็นหน่วยงานกาหนดรูปแบบของแผนยุทธศาสตร์ และที่ผ่านมาหน่วยงานกลางไม่บูรณาการ แบบฟอร์มให้เป็นรูปแบบเดียวกันดังนั้น ผู้ ปฏิบัติงานจะต้องมีความคล่องตัว มีการปรับตัวอยู่เสมอเพื่อให้เกิด ความยืดหยุ่นในการทางานให้ตอบสนองรูปแบบการรายงานตามเป้าหมายที่หลากหลายของแต่ละหน่วยงาน แต่ อย่ า งไรก็ ต ามองค์ ป ระกอบหลั ก ของแผนยุ ท ธศาสตร์ จะประกอบด้ ว ย วิ สั ย ทั ศ น์ ประเด็ น ยุ ท ธศาสตร์ เป้ า ประสงค์ กลยุ ท ธ์ โครงการ/ผลผลิ ต /กิ จ กรรม ตั ว ชี้ วั ด /ค่ า เป้ า หมาย งบประมาณ หน่ ว ยงาน ที่รับผิดชอบ ซึ่งมีรายละเอียดตามที่กล่าวไว้แล้วในบทที่ ๑
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๑๖
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
บทที่ ๔ บทสรุป บทวิเคราะห์และข้อเสนอแนะ ๔.๑ บทสรุป การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ตั้งแต่ปีเริ่มต้น จนถึงปัจจุบัน มีการ เปลี่ยนแปลงตลอดมา โดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติ ราชการ ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๑ และกาหนดใช้เป็นแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงไปด้วยพร้อมกั น ทั้งนี้ ได้เห็นถึงความสาคัญของการทบทวนแผนปฏิบัติราชการระยะยาว โดยทาการวิเคราะห์ถึงสถานภาพ ของกระทรวง ภายใต้บ ริบ ทและสอดคล้องกั บ สถานการณ์ด้านทรั พยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อ ม ของประเทศ รวมทั้งแนวนโยบายในการบริหารประเทศของภาครัฐ ทาให้กระทรวงเล็งเห็นถึงความจาเป็น ของแผนยุ ท ธศาสตร์ จึ ง ได้ จั ด ท าแผนยุ ท ธศาสตร์ ก ระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม พ.ศ. ๒๕๕๑ - ๒๕๕๔ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ และแผนยุทธศาสตร์ก ระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ โดยใช้เป็น แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ไปในเวลาเดียวกัน เพื่อใช้เป็นกรอบในการปฏิบัติราชการ ณ แต่ละห้วงเวลา โดยมี ความสอดคล้องกับสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศ และมีเอกภาพในการ แก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถรองรับภารกิจสาคัญที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือภาคส่วน ต่างๆ คาดหวั ง จากกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติและสิ่ ง แวดล้ อมได้ ซึ่ ง ในกระบวนการจัด ท าแผน ยุทธศาสตร์ดาเนินการโดยการประชุมรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวง และภาคส่วน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่ างไรก็ ต าม จากการใช้ แผนยุ ท ธศาสตร์ ของกระทรวงและแผนปฏิ บัติ ร าชการ ๔ ปี ของกระทรวงเป็นแผนฉบับเดียวกั น ซึ่งช่วงเวลาที่ผ่านมาแผนยุทธศาสตร์หรือแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี แต่ละฉบับไม่สามารถใช้ได้ครบทั้ง ๔ ปี ก็จะต้องมีการจัดทาใหม่เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงคณะรัฐบาล จากเหตุผลและข้อจากัดของการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเวลา ทาให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมไม่มีแผนยุทธศาสตร์สาหรับบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมระยะยาว และในการจัดทาแผนของกระทรวงที่ผ่านมา กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศค่อนข้างน้อย ทาให้ภาคประชาชนอาจจะยังไม่รู้จัก และได้ใช้ประโยชน์จากแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเท่าที่ควร
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๑๗
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
๔.๒ บทวิเคราะห์ หลังจากการปฏิรูประบบราชการ พ.ศ.๒๕๔๕ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริห ารกิ จการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ กาหนดให้คณะรัฐมนตรีต้องจัดให้มี แผนการบริหารราชการ แผ่นดิน และส่ว นราชการจะต้ อ งนาแผนการบริห ารราชการแผ่นดินไปใช้เ ป็ นแนวทางในการจัดท า แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ของส่วนราชการต่อไป กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้มีการ จัดท าแผนปฏิบั ติร าชการ ๔ ปี และกาหนดให้เ ป็นแผนยุท ธศาสตร์ของกระทรวง จ านวน ๔ ฉบับ ตามจานวนของคณะรัฐบาลที่ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา จะเห็นได้ว่าช่วงเวลาของแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ทั้ง ๔ ฉบับ ยังคาบเกี่ยวกัน เพราะว่ามีการเปลี่ยนแปลงคณะรัฐบาลซึ่งคณะรัฐบาลแต่ละคณะจะต้องมีการ แถลงนโยบายของคณะรัฐบาลต่อรัฐสภาใหม่ ทาให้ต้องมีแผนการบริหารราชการแผ่นดินและแผนปฏิบัติ ราชการ ๔ ปี ที่ต้องอ้างอิงกับการเมืองทั้งสิ้น ซึ่งหากสถานการณ์การเมืองไม่มั่นคง ส่วนราชการจะต้องมี การจัดทาแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี ฉบับใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบายของคณะรัฐบาลชุ ดปัจจุบัน จะเห็นได้ว่ากระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะต้องดาเนินการจัดทาแผนฉบับใหม่อีกครั้ง กระทรวงต้อ งจัดประชุม สัม มนาโดยเชิญ ผู้เ ข้าร่วมจ านวนมาก และใช้ง บประมาณอีก จ านวนไม่ น้อย หากกระทรวงมีแผนยุทธศาสตร์หลักสาหรับบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระยะยาว กระทรวงสามารถนาแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวมาทบทวนกับนโยบายรัฐบาลใหม่ และปรับเป็นแผนปฏิบัติ ราชการ ๔ ปี ให้สอดคล้องและรับมือกับสถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัจจุบนั และมีแนวโน้มจะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
การทบทวนแผนยุทธศาสตร์
กรอบแนวคิด (Concept)
ขั้นตอนที่ ๑
ขั้นตอนที่ ๒
ขั้นตอนที่ ๓
ขั้นตอนที่ ๔
ขั้นตอนที่ ๕ การทบทวน แผนยุทธศาสตร์
ภาพที่ ๖ กรอบแนวคิด (Concept) ที่มา: ส่วนพัฒนายุทธศาสตร์ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์, ๒๕๕๕ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๑๘
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
วิธีดาเนินการ/ ขั้นตอนการดาเนินการหลักๆ การวิเคราะห์โดย SWOT Analysis การกาหนดวิสัยทัศน์ การกาหนดยุทธศาสตร์ การกาหนดแผนงาน/โครงการ และติดตามประเมินผล การทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ทั้งนี้ กระบวนการหลักมี ๕ ขั้นตอน ทุกขั้นตอนจะต้องมุ่งเน้น และให้ความสาคัญกับ กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน โดยเฉพาะขั้นตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ประเมินสถานการณ์และ สภาวะแวดล้อม จะต้องมีกระบวนการศึกษาความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้แผนที่จัดทาขึ้ นเกิดจากความคิดเห็นของทุกภาคส่วนทั้งภาคราชการ ภาคเอกชน และภาค ประชาชน โดยแผนดังกล่าวจะได้ตอบสนองความต้องการของประชาชนบนพื้นฐานของหลักวิชาการ อย่างแท้จริง และเมื่อได้แผนยุทธศาสตร์แล้วจะต้องส่งเสริม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์เพื่อให้ทุกภาคส่วน ได้รับ ทราบและใช้แผนยุท ธศาสตร์ในการก ากั บ ตรวจสอบการดาเนินงานของทุก ภาคส่วนที่ มี ห น้าที่ รับ ผิด ชอบต่อ แผนงาน/โครงการที่ ร ะบุ ไว้ ในแผนยุท ธศาสตร์ ดัง กล่ า ว ซึ่ง จะท าให้ แผนยุ ท ธศาสตร์ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นแผนที่ทุกภาคส่วนได้มีโอกาสร่วมในการจัดทา มากขึ้นและอาจจะส่งผลกระทบแง่บวกเพราะว่ามีโครงการบางอย่างที่อาจจะเกิดความขัดแย้ง หากมีการ ตกลงหรือเจรจากั นระหว่างที่ มีการจัดทาแผนปัญ หาเรื่องความขัดแย้งอาจจะไม่เกิ ดขึ้น หรือลดความ รุนแรงลง ทาให้แผนงาน/โครงการที่ได้กาหนดไว้สามารถถ่ายทอดและนาไปสู่การปฏิบัติให้เห็นอย่างเป็น รูปธรรม ๔.๓ ข้อเสนอแนะ การแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะต้องดาเนินการจัดทา ตามข้อกาหนดของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ และมีความสอดคล้อ งเชื่อมโยงกับ แผนบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายและแผนระดับชาติที่เกี่ ยวข้อง เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม นโยบายรัฐบาล แผนบริหาร ราชการแผ่นดิน เป็นต้น ซึ่งแผนและนโยบายดังกล่าว ส่วนใหญ่มีระยะเวลาตั้งแต่ ๔ ปีขึ้นไป ดังนั้นในการ จัดท าแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงจึง ควรมีช่วงเวลาที่สัมพันธ์กับ แผนและนโยบายหลักของประเทศ เพื่อแผนยุท ธศาสตร์ของกระทรวงสอดรับ กั บ สถานการณ์และนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมในภาพรวมที่ประเทศให้ความสาคัญและมุ่งเน้นเพื่อการพัฒนาประเทศในระยะเวลายาว ดังนั้น จึงขอเสนอแนะว่ากระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมควรเตรียมความพร้อมโดยเสนอให้มีการ จัดทา “แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” ซึ่งถือเป็นเสมือน “คัมภีร”์ หรือ “แผนยุทธศาสตร์หลักระยะยาว” ที่มีมุมมองที่ยาวไกล มองงานด้านการบริ หารจัดการ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๑๙
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ ป็ น ภาพรวม และค านึ ง ถึ ง แนวโน้ ม สถานการณ์ ข อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่กาลังจะเกิดขึ้ น เมื่ อมี ก ารเปลี่ยนแปลงที่ จะส่ง ผลกระทบต่อ แผนปฏิบั ติ ร าชการ ๔ ปี ของหน่ วยงาน เช่ นการเปลี่ ยนแปลงคณะรั ฐบาลใหม่ กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้อ มสามารถน าแผนยุ ท ธศาสตร์ ห ลัก ระยะยาวฉบั บ นี้ ม าปรั บ ปรุง ให้ ส อดรั บ กับสถานการณ์ และนโยบายที่เป็นปัจจุบันได้ทันที ไม่เสียเวลาในการดาเนินการมากเกินไป และประหยัด งบประมาณและเวลาในการด าเนิ น การด้ ว ย ทั้ ง นี้ การจั ด ท าแผนยุ ท ธศาสตร์ ก ารบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อ มที่ เ กิ ดขึ้นจะต้องมี ความยืดหยุ่นด้วยเพื่อให้ หน่วยงานต่างๆ ทั้ งใน และนอกสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสามารถนาแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวมาทบทวน และปรับเป็นแผนปฏิบัติราชการรายปี เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติต่อไป หัวใจของการจั ดทาแผนยุ ทธศาสตร์ คือ การมีส่วนร่วมจากผู้ที่เกี่ยวข้ องทุกภาคส่วน ในที่นี้อาจจะหมายถึง ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ผู้ป ฏิบัติงาน ผู้รับบริการหรือผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียจากการ ดาเนินงานตามแผนที่กาหนดไว้ ดังนั้น ในกระบวนการจัดทาแผนควรให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมใน การดาเนินการดังนี้ ๑. จัดตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ โดยมีกรรมการที่เป็นตัวแทนจากภาคส่วน ต่างๆ ได้แก่ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน นัก วิชาการ ผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการ ดาเนินงานตามแผน NGOs ผู้แทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น ๒. ประชุม ระดมความคิดเห็นจากคณะกรรมการเพื่อวางแผนในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ ๓. ประชุ ม ระดมความคิ ด เห็ น จากตั ว แทนทุ ก ภาคส่ ว นเพื่ อ จั ด ท าแผนยุ ท ธศาสตร์ ที่เกิดจากความต้องการของประชาชน ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง ๔. ยก (ร่ าง) แผนยุ ท ธศาสตร์ และจั ด เวที ส าหรั บ รั บ ฟัง ความคิ ด เห็ นของทุ ก ภาคส่ ว น ในระดับภูมิภาค/ ระดับพื้นที่ ที่มีต่อ (ร่าง) แผนยุท ธศาสตร์ เพื่อเป็นการเปิดกว้างรับฟัง ความคิดเห็น ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์ได้โดยง่าย ๕. ปรับปรุง (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์จากข้อคิดเห็นของการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น เพื่อให้ ได้แผนยุทธศาสตร์ซึ่งเป็นที่การยอมรับจากทุกภาคส่วน ๖. นาแผนยุทธศาสตร์ที่ได้แปลงไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม โดยที่ ผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง ผู้รับผิดชอบโครงการร่วมกันดาเนินโครงการ เป็นขั้นตอนของการนาโครงการไปสู่การปฏิบัติ ร่วมกันเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด ๗. ขั้นตอนสุดท้ายของการมีส่วนร่วม คือ การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลเปนระดับ การมีสวนรวมที่มีผูเขารวมนอย แตมีประโยชนที่ผูที่เกี่ยวของหรือไดรับผลกระทบสามารถมาคอยติดตาม การดาเนินกิจกรรมนั้นๆ ได รูปแบบของการติดตามตรวจสอบ หรือประเมินผลอาจอยู ในรูปแบบของ การจัดตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลที่มาจากหลายฝาย การสอบถามผูมีสวนไดเสีย โดยการทาการ สารวจเพื่อใหผูมีสวนไดเสียประเมินผลโครงการว่ามีความพึงพอใจมากน้อยเพียงใด เพื่อจะได้สะท้อนถึงผล สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๒๐
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
ที่ได้รับจากการดาเนินโครงการแล้วนามาปรับปรุงโครงการเพื่ อให้เกิดประโยชน์และความพึงพอใจของ ทุกภาคส่วนให้ได้มากที่สุด แต่ในความเป็นจริงมั ก จะพบว่าขั้นตอนของการมี ส่วนร่วมในการจัดท าแผนยุท ธศาสตร์ ดังกล่าวค่อนข้างจะมีปัญหาในเรื่อง เวลา และงบประมาณ ทาให้ในหลายๆ ขั้นตอนของการจัดทาแผนไม่ สามารถจัดให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมได้อย่างทั่วถึง เมื่อเกิดผลกระทบจากแผนหรือโครงการ สาคัญของภาครัฐที่ไม่ได้เกิดจากการมีส่วนร่วมประชาชนก็จะชุมนุมเดินขบวนเพื่อคัดค้านโครงการเหล่านัน้ ซึ่ง ท าให้ เ กิ ด ปัญ หาตามมามากมาย ดัง นั้น ผู้ที่ มี ห น้า ที่ รับ ผิดชอบในการจัด ท าแผนต้ องตระหนัก ถึ ง ความสมดุลในเรื่อง การมีส่วนร่วม คุณภาพของตัวแทนในแต่ละภาคส่วนต่างๆ ที่เข้ามาร่วมในการจัดทา แผนยุท ธศาสตร์ ระยะเวลาในการจัดท า และคุณภาพของแผนยุทธศาสตร์ด้วย สิ่งส าคัญที่จะทาให้ แผนยุทธศาสตร์มีประสิทธิภาพสูงสุดและประสบความสาเร็จ คือ การนาไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งเป็นหน้าที่ ของผู้ป ฏิบัติง านที่ เ กี่ ยวข้อ ง และภาคประชาชนก็ เ ป็นปัจ จัยสาคัญ ในการก ากับ ติดตาม และผลัก ดัน ให้เกิดผลในทางปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป ผลที่คาดว่าจะได้รับ หากกระทรวงมีแผนยุทธศาสตร์ที่เป็นแผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ที่เป็นแผนหลักในระยะยาวสาหรับเป็นคู่มือในการบริหารจัดการ หรือเตรียมรับมือกับ สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นโดยเกิดจากจากการมี ส่วนร่วมจากทุ ก ภาคส่วนอย่ างจริง จัง จะส่ง ผลให้ป ระชาชน นั ก วิชาการ หรือผู้มี ส่วนได้ส่ วนเสียให้ การยอมรั บ แผนยุ ท ธศาสตร์ ที่ จั ด ท าขึ้ น โดยการมี ส่ ว นร่ ว มของบุ ค ลากรในสั ง กั ด กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและบุคคลภายนอก และพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกับแผนยุทธศาสตร์ ดังกล่าว ทั้งนี้ ควรให้ความสาคัญกับประเด็นของการติดตามตรวจสอบโดยภาคส่วนต่างๆ ด้วย ซึ่งถ้าทุก ฝ่ายให้ความร่วมมือในการสนับสนุน ติดตาม ตรวจสอบ การดาเนินงานแล้ว ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจะได้รับการอนุรักษ์ ปกป้อง และใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการควบคุมสิ่งแวดล้อม ให้อยู่ในเกณฑ์ดี ท้ายที่สุดประชาชนทุกคนจะเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์อย่างแท้จริง ตัวชี้วัดความสาเร็จ ตัวชี้วัดความสาเร็จของแผน คือ แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมที่มีความครอบคลุมเชื่อมโยงในทุกระดับและทุกมิติของการปฏิบัติราชการ และเป็นกรอบการ ดาเนินงานในระยะยาว โดยทุกภาคส่วนให้การยอมรับและนาไปปฏิบัติให้เกิดผลตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ อย่างเป็นรูปธรรม ง่ายต่อการกากับ ติดตาม ตรวจสอบผลการดาเนินงานจากทุกภาคส่วนซึ่งจะส่งผลให้ มีการใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่ามากที่สุด
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๒๑
คู่มือการปฏิบัติงานกระบวนที่สร้างคุณค่า “การจัดทาแผนยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
บรรณานุกรม พสุ เดชะรินทร์. ๒๕๔๘. การพัฒนาคุณภาพการบริหารภาครัฐ. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐” วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์. ๒๕๕๑. “แผนกลยุทธ์และการประเมินความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ”. สถาบันพัฒนานโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ๒๕๕๕. แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. ๒๕๔๖. “คู่มือคาอธิบายและแนวทางปฏิบัติ ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖”. กรุงเทพมหานคร. สถาบันส่งเสริมการบริหารการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สานักงาน ก.พ.ร. สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ๒๕๕๕. แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. ๒๕๕๕. “แผนปฏิบัติราชการ ๔ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”. สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. คาแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา. แหล่งที่มา: www.cabinet.thaigov.go.th สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักงบประมาณ และสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. ๒๕๕๕. “แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘”. โรงพิมพ์สานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน้าที่ ๒๒
[เลือกวันที่]
จัดทำโดย : ส่วนพัฒนำยุทธศำสตร์ สำนักนโยบำยและยุทธศำสตร์ สำนักงำนปลัดกระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ๙๒ ซอยพหลโยธิน ๗ แขวงสำมำเสนใน เขตพญำไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐