คำนำ สำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9 อุดรธานี รับผิดชอบพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำโขงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน เป็นพืน้ ทีท่ ม่ี ที รัพยากรธรรมชาติทส่ี มบูรณ์ มีลกั ษณะภูมปิ ระเทศทีห่ ลากหลาย พืน้ ทีภ่ เู ขาสูงชัน บริเวณจังหวัดเลย พื้นที่ลุ่มน้ำที่สมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากร ทางประมง เขตลุ่มแม่น้ำเลย แม่น้ำสงคราม ลำน้ำอูน ห้วยหลวง รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมลุ่มน้ำโขง ปี 2550 จึงได้รวบรวม สถานะ/สภาพของ สิง่ แวดล้อมทีส่ ำคัญในพืน้ ทีภ่ าคที่ 9 อาทิเช่น คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน การจัดการน้ำเสีย การจัดการ ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย สิง่ ปฏิกลู เป็นต้น สำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9 หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า รายงานฉบับนีค้ งจะมีประโยชน์ตอ่ ท่านผูอ้ า่ น หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนประชาชนทีส่ นใจในการร่วมกันอนุรกั ษ์ สงวน รักษา แก้ไขและฟืน้ ฟูทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีภ่ าคที่ 9 ลุม่ น้ำโขงให้คงอยูอ่ ย่างทรงคุณค่าสืบไป
(นายธวัช ปทุมพงษ์) ผูอ้ ำนวยการสำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9 อุดรธานี มีนาคม 2551
สารบัญ คำนำ สารบัญ สารบัญรูป สารบัญตาราง 11
ข้อมูลทัว่ ไป ○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
1. ข้อมูลพื้นฐาน 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5
สภาพภูมปิ ระเทศ ประชากร สภาพภูมอิ ากาศ การแบ่งเขตปกครอง โรงงานอุตสาหกรรม
12 12 13 14 15 17
สถานการณ์คณ ุ ภาพสิง่ แวดล้อม ○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
2.1 สถานการณ์การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำลุม่ น้ำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนปี 2550 2.1.1 สรุปผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำลุม่ น้ำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนปี 2550 2.1.2 สถานการณ์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ เลย 2.1.3 สถานการณ์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ สงคราม 2.1.4 สถานการณ์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ อูน 2.1.5 สถานการณ์คณ ุ ภาพน้ำในหนองหารสกลนคร 2.1.6 สถานการณ์คณ ุ ภาพน้ำในห้วยหลวง
2.2 การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 2.2.1 การจัดการขยะมูลฝอย 2.2.2 การจัดการของเสียอันตรายชุมชนและสารอันตราย
2.3 สถานการณ์เรือ่ งร้องเรียนปัญหาสิง่ แวดล้อมปี 2550 2.4 สถานการณ์การจัดการน้ำเสีย 2.5 สิง่ ปฏิกลู กับชุมชนเมือง
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
18 18 19 21 23 25 27 29 29 32
34 36 45
○
สารบัญรูป สถานการณ์คณ ุ ภาพสิง่ แวดล้อม ○
○
○
○
○
2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
แสดงสถานีเก็บตัวอย่างน้ำในพืน้ ที่ สำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9 แสดงการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในแม่นำ้ เลย แสดงการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในแม่นำ้ สงคราม แสดงการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในแม่นำ้ อูน แสดงการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในหนองหาร แสดงการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในห้วยหลวง แสดงสภาพทางเข้าสถานทีก่ ำจัดขยะมูลฝอยและ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลนครอุดรธานี ก่อนทำการปรับปรุง 2.8 แสดงสภาพทางเข้าสถานทีก่ ำจัดขยะมูลฝอยและ การบริหารจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลนครอุดรธานี หลังทำการปรับปรุง 2.9 แสดงระบบกำจัดสิง่ ปฏิกลู เทศบาลนครอุดรธานี 2.10 แสดงลานล้างรถและเตาเผาขยะติดเชือ้ เทศบาลนครอุดรธานี 2.11 แผนภูมแิ สดงร้อยละของปัญหาร้องเรียนด้านมลพิษสิง่ แวดล้อม ในพืน้ ที่ สสภ.9 ปี 2550 2.12 แสดงร้อยละของเรือ่ งร้องเรียนด้านมลพิษสิง่ แวดล้อม แต่ละประเภทในพืน้ ที่ สสภ.9 ปี 2547-2550 2.13 แผนภูมแิ สดงจำนวนเรือ่ งร้องเรียนด้านมลพิษสิง่ แวดล้อม ในพืน้ ที่ สสภ.9 ปี 2547-2550 2.14 แสดงลักษณะของน้ำในบ่อ Oxidation pond ของระบบบำบัดน้ำเสียของเทศบาลเมืองสกลนคร(คูหมากเสือ่ ) ทีม่ สี เี ขียวเข้มของสาหร่ายและในบ่อดังกล่าวมีกลิน่ เหม็นเน่า ของสาหร่าย 2.15 แสดงบริเวณทางน้ำออกจากระบบบำบัดน้ำเสียหนองสนม และสภาพน้ำในบ่อทีม่ สี เี ขียวตลอดทัง้ ปี 2.16 แสดงสภาพปัญหาการระบายน้ำทีเ่ กิดจากสถานประกอบการในเขตเทศบาล 2.17 แสดงกิจกรรมการสำรวจสภาพพืน้ ทีล่ ำห้วย เพือ่ คัดเลือกพืน้ ทีด่ ำเนินโครงการคลองสวย น้ำใส 2.18 แสดงกิจกรรมเปิดตัวโครงการคลองสวย น้ำใส 2.19 แสดงกิจกรรมประชาสัมพันธ์ 2.20 แสดงกิจกรรมการจัดการน้ำเสียและขยะมูลฝอยชุมชน
○
○
○
○
○
○
○
○
○
18 20 22 24 26 28 30 31 31 31 34 35 35
38 38 40 41 42 42 42
○
สารบัญรูป (ต่อ) 3.18 แผนภูมแิ สดงประเภทแหล่งน้ำในพืน้ ทีท่ ำเกลือสินเธาว์ในพืน้ ทีภ่ าคที่ 9 ลุม่ น้ำโขง
70
ความเคลือ่ นไหวทีส่ ำคัญในรอบปี 2550 ○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
○
3.19 แสดงการนำไฟฟ้าของลำห้วยทวนและแม่นำ้ สงครามในพืน้ ทีท่ ำเกลือบ้านดุง-ศรีสทุ โธ อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ในการเก็บตัวอย่างน้ำครัง้ ที่ 1-3 3.20 แสดงการนำไฟฟ้าของลำห้วยบ่อแดงในพืน้ ทีท่ ำเกลือบ้านหนองกวัง่ -โนนแสบง อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ในการเก็บตัวอย่างน้ำครัง้ ที่ 1-3 3.21 แสดงการนำไฟฟ้าของลำห้วยซางและแม่นำ้ สงครามในพืน้ ทีท่ ำเกลือ บ้านหนองกวัง่ -โนนแสบง อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ในการเก็บตัวอย่างน้ำครัง้ ที่ 1-3 3.22 แสดงการนำไฟฟ้าของลำห้วยเซิมและห้วยพอกในพืน้ ทีท่ ำเกลือบ้านเซิมทุง่ อำเภอโพนพิสยั จังหวัดหนองคาย ในการเก็บตัวอย่างน้ำครัง้ ที่ 1-3 3.23 แสดงผังการผลิตของโรงงานกลัน่ น้ำมันเครือ่ งเก่า 3.24 แสดงสภาพทัว่ ไปภายในโรงงานกลัน่ น้ำมันเครือ่ งเก่าจังหวัดอุดรธานี ในปี 2548 ซึง่ เริม่ เปิดดำเนินการ 3.25 แสดงสภาพทัว่ ไปภายในโรงงานในปี 2548 ซึง่ เริม่ เปิดดำเนินการ 3.26 แสดงบริเวณเก็บวัตถุดบิ ทีเ่ ป็นน้ำมันเครือ่ งเก่าทีไ่ ม่ได้ใช้แล้วของโรงงาน ในปี 2550 3.27 แสดงบ่อดินทีท่ ง้ิ กากของเสียอันตรายและถูกถมด้วยดินซึง่ มีกากน้ำมันไหลซึม ขึน้ มาด้านบน และไหลล้นออกสูพ่ น้ื ทีข่ า้ งเคียงถายนอกโรงงาน 3.28 แสดงกากของเสียและน้ำเสียจากการปนเปือ้ นของเสียอันตราย ไหลออกสูพ่ น้ื ทีก่ ารเกษตรของชาวบ้านภายนอกโรงงาน 3.29 แสดงพืน้ ทีส่ มั ปทานโครงการเหมืองแร่โพแทซ จังหวัดอุดรธานี 3.30 แสดงการคัดค้านโครงการเหมืองแร่โพแทซในพืน้ ทีต่ ง้ั โครงการ 3.31 แสดงปรากฏการณ์เรือนกระจก
○
○
○
○
71 72 73 74 76 78 79 79 79 79 84 86 87
○
11
1.3 สภาพภูมอิ ากาศ พื้นที่ลุ่มน้ำโขง ตั้งอยู่บริเวณตอนบนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้รับอิทธิพลโดยตรงจาก ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงฤดูหนาว ซึ่งจะพัดผ่านระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ อากาศโดยทัว่ ไปจะหนาว เย็นจัดและแห้งแล้ง ฤดูฝนจะและตกอยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ซึง่ นำอากาศร้อนและความชืน้ จากมหาสมุทรเข้ามาทำให้มฝี นตก ทัว่ ไป ในขณะทีใ่ นช่วงการเปลีย่ นฤดูระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถงึ พฤษภาคม เป็นช่วงทีพ่ น้ื ดินได้รบั พลังงาน จากดวงอาทิตย์สงู สุด อากาศโดยทัว่ ไปจะร้อนอบอ้าวและแห้งแล้งซึง่ เป็นช่วงทีเ่ รียกว่า ฤดูรอ้ น 1.3.1 อุณหภูมิ อุณหภูมิในพื้นที่ลุ่มน้ำโขงในช่วงปี 2550 พบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในช่วง 26.89 - 27.93 องศาเซลเซียส โดยจังหวัดที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่จังหวัดสกลนคร เท่ากับ 22.3 องศาเซลเซียส และจังหวัดทีม่ อี ณ ุ หภูมเิ ฉลีย่ สูงสุดคือจังหวัดหนองคาย เท่ากับ 30.5 องศาเซียลเซียส ตารางที่ 1.2 แสดงอุณหภูมิ ในช่วงปี 2550
* อุณหภูมิ
จังหวัด เฉลี่ยต่ำสุด
เฉลีย่
เฉลี่ยสูงสุด
เลย
22.4
26.89
29.3
อุดรธานี
22.6
27.78
30.4
หนองคาย
22.5
27.93
30.5
สกลนคร
22.3
27.43
29.7
นครพนม
22.5
27.27
29.5
หมายเหตุ * ช่วงเดือนมกราคม - พฤศจิกายน 2550 ทีม่ า : กรมอุตนุ ยิ มวิทยา (www.tmd.go.th) ธันวาคม 2550
เกณฑ์การพิจารณาลักษณะอากาศ อากาศหนาวจัด อุณหภูมติ ำ่ กว่า อากาศหนาว อุณหภูมอิ ยูร่ ะหว่าง อากาศเย็น อุณหภูมอิ ยูร่ ะหว่าง อากาศร้อน อุณหภูมอิ ยูร่ ะหว่าง อากาศร้อนจัด อุณหภูมติ ง้ั แต่
8 8 - 15.9 16 - 22.9 35.0 - 39.9 40.0
องศาเซลเซียส องศาเซลเซียส องศาเซลเซียส องศาเซลเซียส องศาเซลเซียส ขึน้ ไป
13
นอกจากนีใ้ นจังหวัดต่างๆ ได้มกี ารจัดตัง้ หมูบ่ า้ นเพิม่ มากขึน้ ดังนี้ 1) จังหวัดอุดรธานี เดิมมีจำนวน 1,816 หมูบ่ า้ น ปัจจุบนั มีจำนวน 1,837 หมูบ่ า้ น 2) จังหวัดเลย เดิมมีจำนวน 904 หมูบ่ า้ น ปัจจุบนั มีจำนวน 910 หมูบ่ า้ น 3) จังหวัดสกลนคร เดิมมีจำนวน 1,470 หมูบา้ น ปัจจุบนั มีจำนวน 1,485 หมูบ่ า้ น 4) จังหวัดนครพนม เดิมมีจำนวน 1,105 หมูบา้ น ปัจจุบนั มีจำนวน 1,111 หมูบ่ า้ น ยกเว้นจังหวัดหนองคายทีจ่ ำนวนหมูบ่ า้ นลดลงจากเดิม 1,311 คงเหลือ 1,301 หมูบ่ า้ น ตารางที่ 1.4 แสดงเขตปกครองและจำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ * เขตการปกครอง(แห่ง)
จังหวัด
** จำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (แห่ง) เทศบาล เทศบาล เทศบาล อบต. รวม นคร เมือง ตำบล
อำเภอ
กิ่ง อำเภอ
เลย
12
2
90
910
1
-
1
14
85 101
อุดรธานี
18
2
156
1,837
1
1
2
28
149 181
หนองคาย
13
4
115
1,301
1
-
2
17
107 127
สกลนคร
18
-
125
1,485
1
-
1
15
124 141
นครพนม
11
1
99
1,111
1
-
1
9
93 104
รวม
72
9
584
6,654
5
1
7
83
558 654
ตำบล หมูบ่ า้ น
อบจ.
หมายเหตุ * ทีม่ า : www.dopa.go.th/ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2550 ** ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2550 ทีม่ า : กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ (http://www.thailocaladmin.go.th/) 22 พฤศจิกายน 2550
1.5 โรงงานอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำโขง มีจำนวนรวม 8,750 โรงงาน ซึง่ เพิม่ ขึน้ จากปี 2549 จำนวน 85 โรงงาน โดยส่วนใหญ่จดั เป็น โรงงานจำพวกที่ 1 จำนวน 5,761 โรงงาน คิดเป็นร้อยละ 65.84 ของจำนวน โรงงานทั้งหมด ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี รองลงมาได้แก่ โรงงานจำพวกที่ 3 จำนวนรวม 1,982 โรงงาน คิดเป็นร้อยละ 22.65 ส่วนใหญ่อยูใ่ นพืน้ ทีจ่ งั หวัดอุดรธานี
15
17
สถานการณ์คณ ุ ภาพสิง่ แวดล้อม 2.1 สถานการณ์การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำลุม่ น้ำภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน ปี 2550
รูปที่ 2.1 แสดงสถานีเก็บตัวอย่างน้ำในพืน้ ที่ สำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9 การตรวจสอบคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ จำนวน 5 แหล่งน้ำ ซึ่งได้แก่ แม่น้ำเลย แม่น้ำสงคราม แม่นำ้ อูน หนองหาร และห้วยหลวง เพือ่ ทราบถึงข้อมูลคุณภาพน้ำทางกายภาพ ทางเคมีและทางด้านชีวภาพ ของแหล่งน้ำผิวดิน ทำให้เกิดประโยชน์ในการจัดการลุม่ น้ำแก่ภาครัฐ ภาคเอกชนและท้องถิน่ นัน้ ๆ ซึง่ รวม ไปถึงสถานการณ์แนวโน้มของคุณภาพน้ำทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปในแต่ละปี และเพือ่ นำไปสูก่ ารวางแผนการอนุรกั ษ์ และจัดการสิง่ แวดล้อมทีต่ รงตามความต้องการของพืน้ ที่ การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำลุม่ น้ำภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ประจำปีงบประมาณ 2550 ครัง้ ที่ 1 ดำเนินการวันที่ 18 - 21 ธันวาคม 2549 (ฤดูหนาว) ครัง้ ที่ 2 ดำเนินการวันที่ 19 - 22 มีนาคม 2550 (ฤดูรอ้ น) ครัง้ ที่ 3 ดำเนินการวันที่ 14 - 17 สิงหาคม 2550 (ฤดูฝน) 2.1.1สรุปผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำลุม่ น้ำภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ปี 2550 คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ ครัง้ ที่ 1/2550 แหล่งน้ำทีอ่ ยูใ่ นมาตรฐานคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 2 (ดี) ได้แก่ แม่นำ้ สงคราม แม่นำ้ อูน แหล่งน้ำทีอ่ ยูใ่ นมาตรฐานคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 3 (พอใช้) ได้แก่ แม่นำ้ เลย หนองหาร ห้วยหลวง คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ ครัง้ ที่ 2 /2550 แหล่งน้ำทีอ่ ยูใ่ นมาตรฐานคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 2 (ดี) ได้แก่ หนองหาร
18
แหล่งน้ำทีอ่ ยูใ่ นมาตรฐานคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 3 (พอใช้) ได้แก่ แม่นำ้ สงคราม แม่นำ้ อูน แหล่งน้ำทีอ่ ยูใ่ นมาตรฐานคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 4 (เสือ่ มโทรม) ได้แก่ แม่นำ้ เลย ห้วยหลวง คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำ ครัง้ ที่ 3 /2550 แหล่งน้ำทีอ่ ยูใ่ นมาตรฐานคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 3 (พอใช้) ได้แก่ แม่นำ้ สงคราม แหล่งน้ำทีอ่ ยูใ่ นมาตรฐานคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 4 (เสือ่ มโทรม) ได้แก่ แม่นำ้ เลย แม่นำ้ อูน ห้วยหลวง และหนองหาร รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.1 แสดงเกณฑ์คณ ุ ภาพน้ำในลุม่ น้ำภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ปี 2550 คุณภาพน้ำ คุณภาพน้ำ คุณภาพน้ำ หมายเหตุ เกณฑ์คณ ุ ภาพน้ำ ครัง้ ที่ 2/2550 ครัง้ ที่ 3/2550 ครัง้ ที่ 1/2550 ดีมาก หนองหาร ดี แม่น้ำสงคราม แม่น้ำอูน
พอใช้
แม่นำ้ เลย หนองหาร ห้วยหลวง
แม่น้ำสงคราม แม่น้ำอูน
แม่น้ำสงคราม
-
เสื่อมโทรม
-
แม่นำ้ เลย ห้วยหลวง
แม่นำ้ เลย แม่น้ำอูน หนองหาร ห้วยหลวง
-
เสือ่ มโทรมมาก
-
-
-
-
2.1.2สถานการณ์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ เลย จุดกำเนิดแม่นำ้ เลยเริม่ จากภูกอ๊ กซากในเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ภูหลวงทีร่ ะดับความสูงประมาณ 1,500 เมตร แล้วไหลไปทางทิศใต้ ตามหุบเขาของเทือกเขาภูหลวงผ่านหน่วยพิทกั ษ์ปา่ ขุนเลยและไหลผ่านพืน้ ที่ เกษตรกรรมทีล่ าดชันประมาณ 10 กิโลเมตร จากนัน้ สายน้ำจะวกขึน้ ทางทิศเหนือไหลผ่าน อำเภอภูหลวง อำเภอวังสะพุง อำเภอเมืองเลย และไหลลงสูแ่ ม่นำ้ โขงทีบ่ า้ นโคกมาค อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย รวมระยะทาง ประมาณ 231 กิโลเมตร มีลำน้ำสาขาหลายสาย เช่น น้ำคู้ น้ำทบ น้ำฮวย น้ำปวน และน้ำหมาน เป็นต้น มีพน้ื ที่ การเกษตร 1,060,017 ไร่ มีปริมาณน้ำฝน 4,806 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี ปริมาณน้ำท่า 1,168 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี 1) ข้อมูลการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ การใช้ประโยชน์ที่ดินหลากหลายกิจกรรมส่วนใหญ่เป็นชุมชนชนบท มีการเลี้ยงสัตว์ การเกษตร การประมง บางสถานีตดิ กับชุมชนเมือง เลีย้ งปลาในกระชัง เป็นแหล่งรองรับน้ำเสียจากชุมชน เมืองและตลาดสด การเก็บตัวอย่างน้ำจำนวน 5 สถานี ครอบคลุมพื้นที่ 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอวังสะพุง และอำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ดังนี้
19
- สถานี LY 01 สะพานก่อนถึงปากแม่นำ้ เลย 100 เมตร อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 47 Q 777073 1976453 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เป็นการเลีย้ งสัตว์ การเลีย้ งปลา ในกระชัง การประมง การปลูกสวนยางพารา - สถานี LY 02 สะพานบ้านใหม่ อำเภอเมือง จังหวัดเลย พิกัดทางภูมิศาสตร์ 47 Q 790711 1936075 ติดกับชุมชนเมืองและตลาดสดของเทศบาล มีการปลูกพืช ผัก ริมแม่นำ้ ในช่วงฤดูแล้ง - สถานี LY 03 บ้ า นนาอาน อำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด เลย พิ ก ั ด ทางภู ม ิ ศ าสตร์ 47 Q 790433 1930832 ติดกับโรงงานแต่งแร่แบไรท์ ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์ในการเลีย้ งสัตว์ - สถานี LY 04 บ้านน้อยนา ตำบลวังสะพุง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย พิกดั ทาง ภูมศิ าสตร์ 47 Q 795082 1915914 ติดกับชุมชนเมือง มีการปลูกพืช ผัก ริมแม่นำ้ ในช่วงฤดูแล้ง - สถานี LY 05 บ้านทรายขาว ตำบลทรายขาว อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย พิกดั ทาง ภูมศิ าสตร์ 47 Q 788976 1907552 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์ในการเลีย้ งสัตว์และ การเกษตรกรรม
รูปที่ 2.2 แสดงการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในแม่นำ้ เลย 2) ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ 2.1) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ เลย ครัง้ ที่ 1/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพพอใช้ ได้แก่ สถานี LY 01 สถานี LY 03 และ สถานี LY 05 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพเสือ่ มโทรม ได้แก่ สถานี LY 02 และ สถานี LY 04 2.2) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ เลย ครัง้ ที่ 2 /2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพพอใช้ ได้แก่ สถานี LY 01 สถานี LY 03 และ สถานี LY 05 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพเสือ่ มโทรม ได้แก่ สถานี LY 02 และ สถานี LY 04
20
2.3) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ เลย ครัง้ ที่ 3/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพเสือ่ มโทรม ได้แก่ สถานี LY 01 สถานี LY 02 สถานี LY 03 สถานี LY 04 และ สถานี LY 05 คร
ตารางที่ 2.2 แสดงปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ บีโอดี แบคทีเรียกลุม่ โคลิฟอร์มและฟีคลั โคลิฟอร์มในแม่นำ้ เลย ปี 2550 DO(mg/L) BOD(mg/L) TCB(MPN/100 ml) FCB(MPN/100 ml) สถ าน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 ี ั้งท
ี่
LY 01 7.21 4.64 6.0 1.9 0.84 1.52
400
300
13,000 200
230
7,800
LY 02 7.02 5.16 6.0 2.14 1.51 1.48 30,000 160,000 33,000 7,000 160,000 11,000 LY 03 7.46 4.84 6.0 1.97 0.42 0.68 1,300
500
23,000 400
500
23,000
LY 04 5.74 4.20 6.0 1.95 1.54 1.43 30,000 16,000 33,000 8,000 6,000 23,000 LY 05 9.69 4.23 5.0 1.51 0.50 1.62 8,000
500
110,000 1,400
230
17,000
3) คุณภาพน้ำในแม่นำ้ เลย ปี 2550 คุณภาพน้ำในแม่นำ้ เลยจัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพน้ำ พอใช้–เสือ่ มโทรม หรืออยูใ่ นแหล่งน้ำ ผิวดินประเภท ที่ 3 - 4 (เพือ่ ใช้ประโยชน์การเกษตรและเพือ่ การอุตสาหกรรม) โดยมีคา่ ออกซิเจนละลายน้ำอยู่ ในช่วง 4.20-7.46 มิลลิกรัม/ลิตร ปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียอยูใ่ นช่วง 400–160,000 MPN/100 ml และ ค่าปริมาณฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรียอยูใ่ ช่วง 200-160,000 MPN/100 ml ซึง่ ปัญหาทีพ่ บคือมีคา่ ปริมาณ โคลิฟอร์มแบคทีเรียและปริมาณ ฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ค่อนข้างสูง มีบางสถานีทด่ี ำเนินการตรวจวิเคราะห์ดชั นีคณ ุ ภาพน้ำโลหะหนัก ได้แก่ สถานี LY 01 สถานี LY 02 และ สถานี LY 03 ส่วนการตรวจวิเคราะห์สารปราบศัตรูพืชและสารปราบวัชพืช ได้แก่ สถานี LY 02 ซึง่ ทุกสถานีทท่ี ำการตรวจวิเคราะห์ปลี ะ 3 ครัง้ มีคา่ ไม่เกินมาตรฐานคุณภาพในแหล่งน้ำผิวดิน ตามประกาศคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) 2.1.3สถานการณ์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ สงคราม มีตน้ กำเนิดอยูใ่ นจังหวัดอุดรธานี เขตอำเภอทุง่ ฝน บริเวณเทือกเขาภูพาน ซึง่ กัน้ ระหว่างจังหวัด สกลนครกับจังหวัดอุดรธานี ไหลผ่านอำเภอบ้านดุง และจังหวัดสกลนคร แล้ววกขึน้ ไปอำเภอโซ่พสิ ยั จังหวัด หนองคาย ต่อจากนั้นไหลเลียบเส้นแบ่งเขตจังหวัดหนองคาย และสกลนครไปบรรจบกับแม่น้ำโขงที่ อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม มีความยาว 420 กิโลเมตร 1) ข้อมูลการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ มีการประโยชน์ทด่ี นิ หลากหลายกิจกรรม ได้แก่ การทำประมง การเลีย้ งสัตว์ การเลีย้ งปลาใน กระชัง การเกษตรกรรม และการทำนาเกลือในหลายพืน้ ที่ เช่น บ้านโนนสะอาด อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย ซึง่ ประกอบกิจการการทำนาเกลือสินเธาว์ใกล้พน้ื ทีล่ มุ่ แม่นำ้ สงคราม ซึง่ ใช้วธิ กี ารสูบน้ำเกลือจากใต้ดนิ บริเวณ กลางแม่นำ้ สงครามเพือ่ นำมาต้มทำเกลือสินเธาว์ การเก็บตัวอย่างน้ำครอบคลุมพืน้ ที่ 5 อำเภอ ได้แก่ อำเภอท่าอุเทน อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร อำเภอเซกา และอำเภอโซ่พสิ ยั จังหวัดหนองคาย
21
จำนวน 5 สถานี ดังนี้ - สถานี SO 01 สะพานบ้านไชยบุรี อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม พิกัดทาง ภูมศิ าสตร์ 48 Q 443489 1950571 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เพือ่ การเลีย้ งปลาในกระชังเป็นหลัก การประมง และการเกษตรกรรม - สถานี SO 02 บ้านปากอูน อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 48 Q 420114 1949515 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เป็น การประมง การเลีย้ งสัตว์ และการเกษตรกรรมและ นอกจากนีย้ งั เป็นตำแหน่งทีต่ ง้ ั ของสถานีสบู น้ำดิบสำหรับชุมชนเพือ่ นำไปผลิตน้ำประปาของชุมชนอำเภอศรีสงคราม - สถานี SO 03 สะพานบ้านท่าก้อน อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร พิกดั ทาง ภูมศิ าสตร์ 48 Q 389380 1965676 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เป็น การประมง การเลีย้ งสัตว์ และการเกษตรกรรม และยังเป็นทีต่ ำแหน่งทีต่ ง้ั สถานีสบู น้ำดิบสำหรับชุมชนเพือ่ ไปผลิตน้ำประปาของชุมชนบ้านท่าก้อน - สถานี SO 04 สะพานบ้านท่ากกแดง อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย พิกัดทาง ภูมศิ าสตร์ 48 Q 370590 1975403 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เป็น การประมง การเลีย้ งสัตว์ การเกษตรกรรม มีแพอาหารซึง่ มีหอ้ งน้ำในตัวเรือนแพ ปล่อยน้ำเสียจากการขับถ่าย ใกล้กบั พืน้ ทีท่ ำนาเกลือ บ้านโนน อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย ใกล้พน้ื ทีล่ มุ่ แม่นำ้ สงคราม ซึง่ สถานีดงั กล่าวอยูท่ า้ ยน้ำของพืน้ ทีท่ ำนาเกลือ - สถานี SO 05 บ้านห้วยสงคราม อำเภอโซ่พิสัย จังหวัดหนองคาย พิกัดทาง ภูมศิ าสตร์ 48 Q 338658 1991151 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เพือ่ การประมง การเลีย้ งปลาในกระชัง การเลีย้ งสัตว์และการเกษตรกรรม
รูปที่ 2.3 แสดงการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในแม่นำ้ สงคราม 2) ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ 2.1) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ สงคราม ครัง้ ที่ 1/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพดี ได้แก่ สถานี SO 02 และ สถานี SO 03 สถานี SO 04 และ สถานี SO 05 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพพอใช้ ได้แก่ สถานี SO 01
22
2.2) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ สงคราม ครัง้ ที่ 2/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพดี ได้แก่ สถานี SO 04 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพพอใช้ ได้แก่ สถานี SO 02 และ สถานี SO 03 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพเสือ่ มโทรม ได้แก่ สถานี SO 01 และ สถานี SO 05 2.3) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ สงคราม ครัง้ ที่ 3/2550ผ - พอใช้ ได้แก่ SO 03 (สะพาน บ.ท่าก้อน อ.อากาศอำนวย จ.สกลนคร) และ SO 04 (สะพาน บ.ท่ากกแดง อ. เซกา จ.หนองคาย) - เสื่อมโทรม ได้แก่ SO 01 (สะพาน บ.ไชยบุรี อ.ท่าอุเทน จ.นครพนม) SO 02 (บ.ปากอูน อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม) และ SO 05 (บ.ห้วยสงคราม อ.โซ่พสิ ยั จ.หนองคาย) คร
ตารางที่ 2.3 แสดงปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ บีโอดี แบคทีเรียกลุม่ โคลิฟอร์มและฟีคลั โคลิฟอร์มในแม่นำ้ สงคราม ปี 2550 DO(mg/L) BOD(mg/L) TCB(MPN/100 ml) FCB(MPN/100 ml) สถ าน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 ี ั้งท
ี่
SO 01 5.80 3.85 4.0 0.86 0.52 0.95
500
140
7,800
300
140
4,500
SO 02 6.05 4.83 5.0 0.9 0.82 0.63
230
130
23,000
40
130
2,000
SO 03 6.63 5.40 6.0 1.05 0.62 0.69
500
80
2,000
40
80
2,000
SO 04 6.39 7.81 5.0 0.78 0.83 0.74
300
220
7,800
70
140
2,000
SO 05 6.43 2.70 5.0 0.74 1.34 0.68
800
2,200
11,000 110
2,200
4,500
3) คุณภาพน้ำในแม่นำ้ สงคราม ปี 2550 คุณภาพน้ำในแม่นำ้ สงครามจัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพ ดี–พอใช้ หรืออยูใ่ นแหล่งน้ำผิวดิน ประเภทที่ 2-3 (เพือ่ การอนุรกั ษ์สตั ว์นำ้ การประมง และการเกษตร) โดยมีคา่ ออกซิเจนละลายน้ำ อยูใ่ นช่วง 2.70-7.81 มิลลิกรัม/ลิตร ปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรีย อยูใ่ นช่วง 80–23,000 MPN/ 100 ml ค่าปริมาณ ฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย อยูใ่ ช่วง 80-4,500 MPN/ 100 ml และพบว่าแม่นำ้ สงครามมีคา่ การนำไฟฟ้าค่อนข้างสูง มีบางสถานีทด่ี ำเนินการตรวจวิเคราะห์ดชั นีคณ ุ ภาพน้ำโลหะหนัก ได้แก่ สถานี SO 01 สถานี SO 02 และ สถานี SO 04 ซึง่ ทุกสถานีทท่ี ำการตรวจวิเคราะห์ปลี ะ 3 ครัง้ มีคา่ ไม่เกินมาตรฐานคุณภาพ ในแหล่งน้ำผิวดินตามประกาศคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) 2.1.4สถานการณ์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ อูน ต้นน้ำเกิดจากจังหวัดสกลนคร แล้วไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เข้าสูจ่ งั หวัดนครพนมในเขต อำเภอนาหว้า อำเภอศรีสงครามแล้วไหลไปบรรจบ แม่นำ้ สงครามในเขตอำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม สร้างเขือ่ นปิดกัน้ ลำน้ำอูนที่ อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2517 เป็นเขือ่ นดินสูง 29.50 เมตร สันเขือ่ นยาว 3,000 เมตร เก็บน้ำได้ 520 ล้านลูกบาศก์เมตร 1) ข้อมูลการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ มีการประโยชน์ทด่ี นิ หลากหลายกิจกรรม ได้แก่ การประมง การเลีย้ งสัตว์ การเลีย้ งปลาใน กระชัง การเกษตรกรรม
23
การเก็บตัวอย่างน้ำครอบคลุมพืน้ ที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอศรีสงคราม อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม อำเภอพรรณนานิคม และอำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร จำนวน 4 สถานี ดังนี้ - สถานี ON 01 ปากแม่น้ำอูน บ้านปากอูน ตำบลศรีสงคราม อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 48 Q 419948 1949321 มีการใช้ประโยชน์เพือ่ การประมง การเลีย้ ง สัตว์ และการเกษตรกรรม - สถานี ON 02 โรงสูบน้ำแรงดันต่ำการประปานาหว้า อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม พิกัดทางภูมิศาสตร์ 48 Q 406040 1934160 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เพื่อ การเลี้ยงปลาในกระชัง การเกษตรกรรม การเลีย้ งสัตว์ และเป็นทีต่ ง้ั ของสถานีสบู น้ำดิบสำหรับชุมชนเพือ่ ไปผลิตน้ำประปาของชุมชน อำเภอนาหว้า - สถานี ON 03 บ้านสว่าง ตำบลบ้านสว่าง อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 48 Q 387737 1920224 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เป็น การเกษตรกรรม การเลีย้ งสัตว์ - สถานี ON 04 บ้านตาลเลีย่ น อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 48 Q 368629 1917966 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เป็นการเกษตรกรรม การเลีย้ งสัตว์ และการทำนาปีและ นาปรัง
รูปที่ 2.4 แสดงการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในแม่นำ้ อูน 2) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำแม่นำ้ อูน 2.1) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ อูน ครัง้ ที่ 1/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพดี ได้แก่ สถานี ON 03 และ สถานี ON 04 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพพอใช้ ได้แก่ สถานี ON 01 และ สถานี ON 02 2.2) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำแม่นำ้ อูน ครัง้ ที่ 2/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพดี ได้แก่ สถานี ON 04 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพพอใช้ ได้แก่ สถานี ON 01 สถานี ON 02 และสถานี ON 03
24
2.3) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ อูน ครัง้ ที่ 3/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพพอใช้ ได้แก่ สถานี ON 03 และ สถานี ON 04 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพเสือ่ มโทรม ได้แก่ สถานี ON 01 และ สถานี ON 02 คร
ตารางที่ 2.4 แสดงปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ บีโอดี แบคทีเรียกลุม่ โคลิฟอร์มและฟีคลั โคลิฟอร์มในแม่นำ้ อูน ปี 2550 DO(mg/L) BOD(mg/L) TCB(MPN/100 ml) FCB(MPN/100 ml) สถ าน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 ี ั้งท
ี่
ON 01 5.91 4.37 4.0 1.29 0.44 0.94 1,300
300
110,000 800
300
14,000
ON 02 5.41 4.33 4.0 1.62 0.4 1.24
20
220
34,000 <20
220
6,800
ON 03 6.89 5.02 4.0 1.19 0.69 1.24
20
1,400
6,800
20
1,400
2,000
ON 04 7.73 8.32 4.0 1.2 0.17 0.90
800
1,200
11,000 220
900
<1,800
3) คุณภาพน้ำในแม่นำ้ อูน ปี 2550 คุณภาพน้ำในแม่นำ้ อูนจัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพน้ำ ดี – เสือ่ มโทรม หรืออยูใ่ นแหล่งน้ำผิวดิน ประเภทที่ 2-4 (เพือ่ การอนุรกั ษ์สตั ว์นำ้ การประมง การเกษตร และเพือ่ การอุตสาหกรรม) โดยมีคา่ ออกซิเจน ละลายน้ำ อยู่ในช่วง 4.00-8.32 มิลลิกรัม/ลิตร ค่าปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียอยู่ในช่วง 20–110,000 MPN/ 100 ml และค่าปริมาณฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย อยูใ่ ช่วง 20-14,000 MPN/ 100 ml ซึง่ ปัญหาทีพ่ บ คือ มีคา่ ปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียและปริมาณฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรียปริมาณค่อนข้างสูง มีบางสถานีทด่ี ำเนินการตรวจวิเคราะห์ดชั นีคณ ุ ภาพน้ำโลหะหนัก ได้แก่ สถานี ON 01 และ สถานี ON 02 ซึง่ ทุกสถานีทท่ี ำการตรวจวิเคราะห์ปลี ะ 3 ครัง้ มีคา่ ไม่เกินมาตรฐานแหล่งน้ำผิวดิน ตามประกาศคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) 2.1.5สถานการณ์คณ ุ ภาพน้ำในหนองหาร สกลนคร หนองหารเป็นแหล่งน้ำจืดผิวดินธรรมชาติทใ่ี หญ่ เป็นอันดับสามของประเทศ และใหญ่ทส่ี ดุ ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ครอบคลุมพื้นที่ 123 ตารางกิโลเมตร อยู่ในเขตอำเภอเมืองสกลนครและอำเภอ โพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร พืน้ ทีล่ มุ่ น้ำ 77,014 ไร่ ลำห้วยแหล่งต้นน้ำ 16 สาย และ 16 เกาะ ปริมาณน้ำใน ฤดูฝน 198 ลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำในฤดูแล้ง 119 ลูกบาศก์เมตร 1) ข้อมูลการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ มีการประโยชน์ทด่ ี นิ หลากหลาย ได้แก่ การประมง การเลีย้ งสัตว์ การเกษตรกรรม และการทำนา การเก็บตัวอย่างน้ำครอบคลุมพืน้ ที่ 2 อำเภอ ได้แก่ อำเภอท่าแร่ และ อำเภอเมือง จังหวัด สกลนคร จำนวน 7 สถานี ดังนี้ - สถานี NH 01 จุดสูบน้ำประปาหนองหาร จังหวัดสกลนคร พิกัดทางภูมิศาสตร์ 48 Q 411329 1899683 เป็นตำแหน่งทีต่ ง้ั ของสถานีสบู น้ำดิบสำหรับชุมชนเพือ่ ไปผลิตน้ำประปาของอำเภอ เมืองสกล และมีการใช้ประโยชน์เพือ่ การประมง - สถานี NH 02 ปากน้ำพุง หนองหาร จังหวัดสกลนคร พิกัดทางภูมิศาสตร์ 48 Q 415602 1895890 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เพือ่ การประมง
25
- สถานี NH 03 ปากลำน้ำก่ำ หนองหาร จังหวัดสกลนคร พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 48 Q 423659 1896656 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เพือ่ การเกษตรกรรม การเลีย้ งสัตว์ การทำนาปี และการประมง - สถานี NH 04 ดอนพลาญ หนองหาร จังหวัดสกลนคร พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 48 Q 412882 1903012 มีการใช้ประโยชน์เพือ่ การประมง - สถานี NH 05 ดอนแซง หนองหาร จังหวัดสกลนคร พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 48 Q 410362 190387 มีการใช้ประโยชน์เพือ่ การประมง - สถานี NH 06 ดอนสวรรค์ใหญ่ หนองหาร จังหวัดสกลนคร พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 48 Q 414823 1900389 มีการใช้ประโยชน์เพือ่ การประมง - สถานี NH 07 บริเวณหน้าระบบบำบัดน้ำเสียคูหมากเสือ่ หนองหาร จังหวัดสกลนคร พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 48 Q 412762 1897748 เป็นทีร่ องรับน้ำทีผ่ า่ นระบบบำบัดน้ำเสีย (คูหมากเสือ่ ) ของ เทศบาลเมืองสกลนคร
รูปที่ 2.5 แสดงการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในหนองหาร 2) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำหนองหาร 2.1) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในหนองหาร ครัง้ ที่ 1/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพดี ได้แก่ สถานี NH 03 สถานี NH 04 สถานี NH 05 และ สถานี NH 06 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพพอใช้ ได้แก่ สถานี NH 01 สถานี NH 02 และ สถานี NH 07 2.2) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในหนองหาร ครัง้ ที่ 2/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพดี ได้แก่ สถานี NH 01 สถานี NH 02 สถานี NH 03 สถานี NH 04 สถานี NH 05 และ สถานี NH 07 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพพอใช้ ได้แก่ สถานี NH 06
26
2.3) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในหนองหาร ครัง้ ที่ 3/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพพอใช้ ได้แก่ สถานี NH 03 และ สถานี NH 05 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพเสือ่ มโทรม ได้แก่ สถานี NH 01 สถานี NH 02 สถานี NH 04 สถานี NH 06 และ สถานี NH 07 คร
ตารางที่ 2.5 แสดงปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ บีโอดี แบคทีเรียกลุม่ โคลิฟอร์มและฟีคลั โคลิฟอร์มในหนองหาร ปี 2550 DO(mg/L) BOD(mg/L) TCB(MPN/100 ml) FCB(MPN/100 ml) สถ าน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 ี ั้งท
ี่
NH 01 5.49 6.84 6.0 0.72 0.19 0.55
20
<20
22,000
20
<20
13,000
NH 02 5.28 6.57 4.0 1.29 0.98 0.42
70
20
33,000
40
20
4,500
NH 03 6.09 6.09 6.0 1.15 0.35 1.08
40
<20
6,800
20
<20
<1,800
NH 04 6.07 8.12 6.0 0.73 0.42 1.16
70
<20
23,000
20
<20
7,800
NH 05 6.01 7.72 6.0 0.35 0.49 0.68
20
<20
7,800
<20
<20
<1,800
NH 06 6.01 8.25 7.0 0.65 1.60 0.30
300
20
23,000
80
20
4,500
NH 07 5.48 6.73 6.0 0.70 0.76 1.90
170
<20
49,000
40
<20
<1,800
3) คุณภาพน้ำในหนองหาร สกลนคร ปี 2550 คุณภาพน้ำหนองหาร เฉลีย่ จัดอยูใ่ นเกณฑ์ ดี-เสือ่ มโทรม จัดอยูใ่ นแหล่งน้ำผิวดินประเภท ที่ 2-4 (เพือ่ การอนุรกั ษ์สตั ว์นำ้ การประมง การเกษตรและเพือ่ การอุตสาหกรรม) โดยมีคา่ ออกซิเจนละลายน้ำ อยูใ่ นช่วง 5.28-8.25 มิลลิกรัม/ลิตร ค่าปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียอยูใ่ นช่วง <20–49,000 MPN/ 100 ml และค่าปริมาณฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย อยูใ่ ช่วง <20-7,800 MPN/ 100 ml ซึง่ ปัญหาทีพ่ บคือมีคา่ ปริมาณ โคลิฟอร์มแบคทีเรียและปริมาณฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ปริมาณค่อนข้างสูง มีบางสถานีทด่ี ำเนินการตรวจวิเคราะห์ดชั นีคณ ุ ภาพน้ำโลหะหนัก ได้แก่ สถานี NH 01 สถานี NH 02 และสถานี NH 07 ซึง่ ทุกสถานีทท่ี ำการตรวจวิเคราะห์ปลี ะ 3 ครัง้ มีคา่ ไม่เกินมาตรฐานคุณภาพ ในแหล่งน้ำผิวดินตามประกาศคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537) 2.1.6สถานการณ์คณ ุ ภาพน้ำในห้วยหลวง ห้วยหลวงไหลจากอำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี ไหลผ่าน อำเภอเมือง อำเภอ พิบลู ย์รกั ษ์ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี และอำเภอสร้างคอม อำเภอโพนพิสยั จังหวัดหนองคาย แล้วไหลลงสูแ่ ม่นำ้ โขง รวมระยะทาง ประมาณ 150 กิโลเมตร 1) ข้อมูลการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ห้วยหลวงมีการประโยชน์ที่ดินหลากหลายกิจกรรม ได้แก่ การประมง การเลี้ยงสัตว์ การเกษตรกรรม และการทำนา การเก็บตัวอย่างน้ำครอบคลุมพืน้ ที่ 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอกุดจับ อำเภอเมือง จังหวัด อุดรธานี และอำเภอโพนพิสยั จังหวัดหนองคาย จำนวน 3 สถานี ดังนี้
27
- สถานี HL 01 สะพานบ้านหัวขัว อ.กุดจับ จ.อุดรธานี พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 48 Q 0244546 1927653 เป็นตำแหน่งทีต่ ง้ั ของสถานีสบู น้ำดิบสำหรับชุมชนเพือ่ ไปผลิตน้ำประปาของบ้านหัวขัว และมีการใช้ประโยชน์เพือ่ การประมง การเกษตรกรรม การเลีย้ งสัตว์ - สถานี HL 02 สะพานบ้านสามพร้าว อ.เมือง จ.อุดรธานี พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 48 Q 0274932 1931246 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เพือ่ การประมง การเกษตรกรรม การเลีย้ งสัตว์ และการทำนาปี - สถานี HL 03 (หน้าประตูระบายน้ำ บ้านดอนดง ต.วัดหลวง อ.โพนพิสยั จ.หนองคาย) พิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 48 Q 0296933 1992984 ส่วนมากมีการใช้ประโยชน์เพือ่ การประมง การเกษตรกรรม การเลีย้ งสัตว์ การทำนาปี และใกล้กบั ทีป่ ล่อยน้ำทิง้ ของเทศบาลนครอุดรธานี
รูปที่ 2.6 แสดงการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในห้วยหลวง 2) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำห้วยหลวง 2.1) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในห้วยหลวง ครัง้ ที่ 1/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพพอใช้ ได้แก่ สถานี HL 01 และ สถานี HL 03 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพเสือ่ มโทรม ได้แก่ สถานี HL 02 2.2) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในห้วยหลวง ครัง้ ที่ 2/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพเสือ่ มโทรม ได้แก่ สถานี HL 02 และ สถานี HL 03 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพเสือ่ มโทรมมาก ได้แก่ สถานี HL 01 2.3) ผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในห้วยหลวง ครัง้ ที่ 3/2550 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพพอใช้ ได้แก่ สถานี HL 03 - จัดอยูใ่ นเกณฑ์คณ ุ ภาพเสือ่ มโทรม ได้แก่ สถานี HL 01 และ สถานี HL 02
28
คร
ตารางที่ 2.6 แสดงปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ บีโอดี แบคทีเรียกลุม่ โคลิฟอร์มและฟีคลั โคลิฟอร์มในห้วยหลวง ปี 2550 DO(mg/L) BOD(mg/L) TCB(MPN/100 ml) FCB(MPN/100 ml) สถ าน 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 ี ั้งท
ี่
HL 01 4.07 1.83 5.0 1.40 0.87 0.64
40
20
70,000 <20
20
49,000
HL 02 4.64 2.15 4.0 2.05 1.73 1.26
20
40
7,800
20
40
4,500
HL 03 5.16 4.44 6.0 1.07 0.73 1.15
20
16,000 17,000
20
16,000 2,000
3) คุณภาพน้ำในห้วยหลวง ปี 2550 คุณภาพน้ำในห้วยหลวง เฉลีย่ จัดอยูใ่ นเกณฑ์ พอใช้ - เสือ่ มโทรม จัดอยูใ่ นแหล่งน้ำผิวดิน ประเภทที่ 3-4 (เพือ่ การเกษตรและเพือ่ การอุตสาหกรรม) โดยมีคา่ ออกซิเจนละลายน้ำอยูใ่ นช่วง 1.83-6.0 มิลลิกรัม/ลิตร ค่าบีโอดี อยู่ในช่วง 0.64–2.05 มิลลิกรัม/ลิตร ค่าปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรีย อยู่ในช่วง 20–70,000 MPN/100 ml และค่าปริมาณฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย อยูใ่ ช่วง <20-49,000 MPN/100 ml ซึง่ ปัญหาทีพ่ บคือมีคา่ ปริมาณโคลิฟอร์มแบคทีเรียและปริมาณฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ปริมาณค่อนข้างสูง และมีปริมาณออกซิเจนละลายน้ำค่อนข้างน้อย มีบางสถานีทด่ี ำเนินการตรวจวิเคราะห์ดชั นีคณ ุ ภาพน้ำโลหะหนัก ได้แก่ สถานี HL 02 ซึง่ ทุกสถานีทท่ี ำการตรวจวิเคราะห์ปลี ะ 3 ครัง้ มีคา่ ไม่เกินมาตรฐานคุณภาพแหล่งน้ำผิวดินตามประกาศ คณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2537)
2.2 สถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 2.2.1 การจัดการขยะมูลฝอย การสำรวจปริมาณขยะมูลฝอยทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบของสำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9 (สสภ.9) เฉพาะเขตเมืองหลัก ได้แก่ เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลเมืองเลย เทศบาลเมืองหนองคาย เทศบาลเมืองสกลนคร และเทศบาลเมืองนครพนม โดยใช้แบบสำรวจปริมาณขยะมูลฝอยในปี 2550 (ตารางที่ 2.7) พบว่า ส่วนใหญ่ มีอตั ราการผลิตขยะมูลฝอยของเทศบาลไม่เกิน 1.0 กิโลกรัม/คน/วัน ยกเว้นเทศบาลเมืองเลย และเทศบาลเมือง หนองคาย ทีม่ อี ตั ราการผลิตขยะมากกว่าแผนการจัดการคุณภาพ สิง่ แวดล้อม 2550–2554 ทีก่ ำหนดให้ อัตราการเกิดขยะมูลฝอยเฉลีย่ ไม่เกิน 1.0 กิโลกรัม/คน/วัน และมีการนำขยะมูลฝอยชุมชนกลับมา ใช้ประโยชน์ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 30 ตลอดจนมีการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนอย่างถูกสุขลักษณะ ไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 40 ของปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้น ซึ่งเทศบาลเมืองเลยและเทศบาลเมืองหนองคาย มีการผลิต ขยะมูลฝอยมากกว่าเป้าหมาย (1.0 กก./คน/วัน) ถึงร้อยละ 150 และ ร้อยละ 118 ตามลำดับ แต่อย่างไรก็ตามในระยะเวลา 4 ปีทผ่ี า่ นมา การผลิตขยะมูลฝอยของเทศบาลทัง้ 5 แห่งมีแนวโน้ม ทีล่ ดลง เมือ่ เปรียบเทียบจากอัตราการผลิตขยะมูลฝอยที่ สสภ.9 ได้ทำการศึกษา ไว้เมือ่ ปี 2547 ยกเว้น เทศบาลเมืองหนองคายทีม่ อี ตั ราการผลิตขยะมูลฝอยเพิม่ ขึน้ มากถึงร้อยละ 80.2 แสดงให้เห็นว่าการบริหาร จัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลทีม่ อี ตั ราการผลิตขยะมากกว่า 1.0 กก./คน/วัน หรือมีปริมาณเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ยๆ นัน้ อาจจะขาดการรณรงค์ประชาสัมพันธ์หรือขาดการสนับสนุนให้ ลด คัดแยกขยะ และนำขยะกลับมา
29
ใช้ประโยชน์ ซึง่ ข้อมูลเหล่านีย้ งั ไม่มเี ทศบาลใด ในพืน้ ที่ สสภ.9 ทีเ่ ล็งเห็นความสำคัญ และดำเนินการอย่างจริงจัง พร้อมกับยังขาดการบันทึกจัดเก็บข้อมูลด้านปริมาณขยะทีเ่ ทศบาลสามารถลด หรือนำกลับมาใช้ประโยชน์ ในเขตเทศบาลของตนเอง ตารางที่ 2.7 แสดงปริมาณขยะมูลฝอยทีเ่ กิดขึน้ ร้อยละขยะมูลฝอยทีถ่ กู เก็บขนและนำกลับมาใช้ประโยชน์ เทศบาล นครอุดรธานี เมืองเลย เมืองหนองคาย เมืองสกลนคร เมืองนครพนม
อัตราการผลิตขยะปี 2550 (ตัน/วัน) (กก./ตัน/วัน) 121 0.80 22 1.50 80 1.18 41 0.75 27.3 0.98
หมายเหตุ : - หมายถึง ลดลง
(%) 80 150 118 75 98
อัตราการผลิตขยะปี 2547 (ตัน) (%) 150 - 19.3 30 - 26.7 44.4 + 80.2 45 - 8.9 30 - 9.0
+ หมายถึง เพิม่ ขึน้
เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลเมืองเลย เทศบาลเมืองหนองคาย เทศบาลเมืองสกลนคร และ เทศบาลเมืองนครพนม มีระบบกำจัดขยะมูลฝอยทีถ่ กู หลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) ซึง่ สสภ. 9 ได้ทำ การศึกษาและสำรวจระบบกำจัดขยะมูลฝอยแบบ Sanitary Landfill ของเทศบาลแต่ละแห่งเมื่อปี 2547 พบว่าการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลได้ดำเนินการโดยเจ้าหน้าทีเ่ พียงไม่กค่ี น และมีเครือ่ งจักรอุปกรณ์ จำกัด บางแห่งมีงบประมาณไม่เพียงพอ ผูบ้ ริหารไม่ให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการด้านนี้ ต่อมา เทศบาล ได้ปรับปรุงระบบฯ ให้มปี ระสิทธิภาพดีมากขึน้ มีการจัดหาเครือ่ งจักร–อุปกรณ์ ทีจ่ ำเป็นเพิม่ มากขึน้ มีการปรับปรุงภูมทิ ศั น์ภายในสถานทีก่ ำจัดขยะ โดยเฉพาะสถานทีก่ ำจัดขยะของเทศบาลนครอุดรธานี เกิด การเปลีย่ นแปลงไปในทางทีด่ ี นับจากปี 2547 จนกระทัง่ ปี 2550 เช่น การก่อสร้างลานล้างรถ การก่อสร้าง ระบบบำบัดสิง่ ปฏิกลู การก่อสร้างเตาเผาขยะติดเชือ้ จัดทำคันดินล้อมรอบสถานทีฝ่ งั กลบก่อนทำการฝังกลบ ชัน้ ที่ 2 มีการแก้ไขปัญหา น้ำชะขยะมูลฝอยและน้ำเสียจากระบบกำจัดสิง่ ปฏิกลู (ซึง่ ปี 2547 มีการเททิง้ สิ่งปฏิกูลภายในสถานที่ กำจัดขยะมูลฝอยโดยปราศจากการบำบัด) และปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในบริเวณ สถานทีก่ ำจัดฯ ซึง่ การปรับปรุง ดังกล่าวเทศบาลนครอุดรธานีได้ใช้งบประมาณของเทศบาลเองทัง้ หมด
รูปที่ 2.7 แสดงสภาพทางเข้าสถานทีก่ ำจัดขยะมูลฝอยและการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ของเทศบาลนครอุดรธานีก่อนทำการปรับปรุง
30
รูปที่ 2.8 แสดงสภาพทางเข้าสถานทีก่ ำจัดขยะมูลฝอยและการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ของเทศบาลนครอุดรธานีหลังการปรับปรุง
รูปที่ 2.9 แสดงระบบกำจัดสิง่ ปฏิกลู เทศบาลนครอุดรธานี
รูปที่ 2.10 แสดงลานล้างรถและเตาเผาขยะติดเชือ้ เทศบาลนครอุดรธานี
31
2.2.2 การจัดการของเสียอันตรายชุมชนและสารอันตราย ของเสียอันตรายจากชุมชน การพัฒนาเทคโนโลยีในด้านต่างๆ ทีร่ ดุ หน้าอย่างรวดเร็ว เป็นสาเหตุทส่ี ำคัญประการหนึง่ ทีก่ อ่ ให้เกิดของเสียอันตรายจากชุมชนเพิม่ จำนวนขึน้ อย่างรวดเร็ว ของเสียอันตรายจากชุมชนทีส่ ำคัญ ได้แก่ หลอดไฟ ยาทีเ่ สือ่ มสภาพ ถังบรรจุสารเคมี ซากแบตเตอรีจ่ ากโทรศัพท์เคลือ่ นที่ และซากคอมพิวเตอร์เก่าทีช่ ำรุดและ ไม่ใช้งาน เป็นต้น ซึง่ ปัจจุบนั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ส่วนใหญ่ ยังไม่มี การจัดการขยะอันตรายจากชุมชนทำให้มกี ารทิง้ ของเสียอันตราย ปะปน ไปกับขยะทัว่ ไป ก่อให้เกิดการปนเปือ้ นต่อสิง่ แวดล้อม จากการสำรวจของสำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ พบว่าในพืน้ ที่ ลุม่ น้ำโขง มีการใช้คอมพิวเตอร์ในครัวเรือนเพิม่ มากขึน้ โดยมีจำนวน เครือ่ งคอมพิวเตอร์ในครัวเรือนรวม 113,973 ครัวเรือน จังหวัดอุดรธานี มีจำนวนมากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 11.77 ของครัวเรือนทัง้ หมด ในขณะที่ จังหวัดเลย หนองคาย สกลนคร และนครพนม มีสดั ส่วนของครัวเรือน ทีม่ คี อมพิวเตอร์อยูใ่ นอัตราทีใ่ กล้เคียงกัน ซึง่ โดยทัว่ ไปจะมีอายุใช้งาน อยู่ในช่วง 3-5 ปี แนมโน้มในอนาคต จะมีคอมพิวเตอร์เก่ากลายเป็น ของเสียอันตรายจากชุมชนเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้พบว่า ของเสียอันตรายที่เกิดจากเครื่องมือ สือ่ สาร ได้แก่ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ มีแนวโน้มสูงขึน้ ดังจะเห็นได้จากจำนวนของผูท้ ม่ี โี ทรศัพท์เคลือ่ นที่ มีจำนวน มากขึน้ จากการสำรวจของสำนักงานสถิตแิ ห่งชาติในปี 2550 พบว่า ในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำโขงมีจำนวนโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกลุ่มประชากร ตั้งแต่อายุ 6 ปี ขึ้นไป จำนวนรวม 1,358,453 คน คิดเป็นร้อยละ 31.63 ของประชากรทั้ง 5 จังหวัด โดยส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี คิดเป็นร้อยละ 37.14 ของจำนวน ประชากรทัง้ หมด รองลงมาได้แก่ จังหวัดหนองคาย ร้อยละ 32.61 ซึง่ โดยทัว่ ไปจะมีการเปลีย่ นแบตเตอรี่ ประมาณปีละ 1 ครัง้ ก่อให้เกิดการทิง้ แบตเตอรีเ่ ก่าปะปนกับขยะมูลฝอยทัว่ ไปเป็นจำนวนมากขึน้ ตารางที่ 2.8 แสดงจำนวนคอมพิวเตอร์ในครัวเรือนในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำโขง จำนวน จำนวน จำนวนครัวเรือน ที่มีคอมพิวเตอร์ ร้อยละ ร้อยละ ครัวเรือน ครัวเรือนทีม่ ี จังหวัด คอมพิวเตอร์
32
แบบกระเป๋าหิ้ว
เลย
167,941.00
13,961.00
8.31
630
อุดรธานี
373,582.00
43,976.00
11.77
3,117
0.38 0.83
หนองคาย
268,367.00
19,788.00
7.37
1,217
0.45
สกลนคร
290,653.00
22,818.00
7.85
2,128
0.73
นครพนม
152,442.00
13,430.00
8.81
338
0.22
รวม
1,252,985.00
113,973.00
9.10
7,430
0.59
ทีม่ า : สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ (www.nso.go.th) มกราคม 2551
ตารางที่ 2.9 แสดงจำนวนโทรศัพท์เคลือ่ นทีข่ องประชากรในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำโขง จังหวัด
จำนวนประชากร
ประชากรอายุ 6 ปี ขึ้นไปที่มีโทรศัพท์ เคลื่อนที่
ร้อยละของประชากรที่มี โทรศัพท์เคลื่อนที่
เลย
597,887
149,955
25.08
อุดรธานี
1,305,190
484,770
37.14
หนองคาย
908,088
296,090
32.61
สกลนคร
971,058
277,182
28.54
นครพนม
512,035
150,456
29.38
รวม
4,294,258
1,358,453
31.63
ทีม่ า : สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ (www.nso.go.th) มกราคม 2551
จากสถานการณ์ทม่ี แี นวโน้มรุนแรงมากขึน้ สสภ. 9 จึงได้ ร่วมกับสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดอุดรธานี และเทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลเมืองโนนสูง-น้ำคำ เทศบาลตำบล หนองบัว เทศบาลตำบลหนองสำโรง เทศบาลตำบลบ้านจัน่ และเทศบาล ตำบลนาข่า ดำเนินโครงการจัดการขยะพิษเฉลิมพระเกียรติขน้ึ ในปี 2550 ซึ่งมีการเปิดตัวโครงการฯและลงนามในบันทึกความร่วมมือกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ เมือ่ วันที่ 27 มีนาคม 2550 ณ โรงแรมบ้านเชียง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ซึง่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทัง้ 6 แห่ง ได้ดำเนินกิจกรรมรณรงค์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ประชาชนที่อยู่ใน พืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ มีความรู้ ความเข้าใจและมีสว่ นร่วมในการจัดการขยะพิษ เช่น โครงการขยะพิษ แลกแต้ม การจับฉลากชิงรางวัล การบูรณาการ เข้ากับโครงการประกวด ชุมชนน่าบ้านน่ามอง เป็นต้น ผลจากการดำเนิน กิจกรรมดังกล่าว ทำให้ประชาชนในพื้นที่อำเภอเมืองจังหวัดอุดรธานี มีสว่ นร่วมมากขึน้ ในการจัดการขยะพิษจากชุมชน
33
2.3 สถานการณ์เรือ่ งร้องเรียนปัญหาสิง่ แวดล้อม ปี 2550 จากการติดตามตรวจสอบและแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนด้านมลพิษสิ่งแวดล้อม ของ สสภ.9 โดยกลุม่ งานเฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพสิง่ แวดล้อมร่วมกับหน่วยงานต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องในพืน้ ทีท่ ง้ั 5 จังหวัด คือ จังหวัดเลย อุดรธานี หนองคาย สกลนครและนครพนม พบว่าเรือ่ งร้องเรียนด้านมลพิษสิง่ แวดล้อมที่ สสภ.9 ได้รบั ผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ ทางโทรศัพท์ ทางเว็บไซต์ ของสำนักงานฯ จากสำนักงานทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5 จังหวัด จากศูนย์บริการประชาชนของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมและจากกรมควบคุมมลพิษ ตลอดจนจากศูนย์ดำรงธรรมของจังหวัดต่างๆ ในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบโดย สสภ.9 ในปี 2550 มีเรือ่ งร้องเรียนด้านมลพิษสิง่ แวดล้อม จำนวนทัง้ สิน้ 31 เรือ่ ง ซึง่ เพิม่ จำนวนขึน้ จากปี ทีผ่ า่ นมา ดังแสดงในรูปที่ 2.11 ร้อยละของประเภทปัญหาด้านมลพิษสิง่ แวดล้อมทีม่ กี ารร้องเรียนในปี 2550 มลพิษจากขยะและ สิง่ ปฏิกลู 12.48%
มลพิษอื่นๆ 3.13%
กลิน่ เหม็น 28.13%
ฝุ่นละออง 6.25%
มลพิษทางน้ำ 40.63%
มลพิษทางเสียง 9.38%
รูปที่ 2.11 แผนภูมแิ สดงร้อยละของปัญหาร้องเรียนด้านมลพิษสิง่ แวดล้อมในพืน้ ที่ สสภ.9 ปี 2550 เมือ่ พิจารณาเป็นรายจังหวัดพบว่า จังหวัดอุดรธานีมเี รือ่ งร้องเรียนในแต่ละปีมากทีส่ ดุ รองลงมา คือจังหวัดเลย และนครพนม ส่วนจังหวัดหนองคายและสกลนครมีเรือ่ งร้องเรียนที่ สสภ.9 ร่วมดำเนินการ ตรวจสอบ แก้ไข เพียงจังหวัดละ 1 เรือ่ ง ดังแสดงในตารางที่ 2.10 ตารางที่ 2.10 แสดงจำนวนเรื่องร้องเรียนด้านมลพิษสิ่งแวดล้อมที่ดำเนินการโดย สสภ.9 ปี 2547-2550
34
จังหวัด
2547
2548
2549
2550
เลย
2
1
6
4
อุดรธานี
5
17
13
23
หนองคาย
1
1
3
1
สกลนคร
1
-
2
1
นครพนม
0
-
2
2
รวม
9
19
26
31
เมือ่ เปรียบเทียบข้อมูลย้อนหลังนับตัง้ แต่ปี 2547-2550 พบว่าเรือ่ งร้องเรียนด้านมลพิษ สิง่ แวดล้อม ในพืน้ ที่ 5 จังหวัด ส่วนใหญ่ คือปัญหาเรือ่ งกลิน่ เหม็นรบกวนและเรือ่ งน้ำเสีย ดังรูปที่ 2.12 เมือ่ พิจารณาจาก จำนวนเรือ่ งที่ สสภ.9 ได้รบั ร้องเรียนพบว่ามีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ ทุกปี ดังรูปที่ 2.13
60
ร้อยละ 57.9
50
1. กลิน่ เหม็น
44.39
2. น้ำเสีย
40.62
40 30
3. ฝุน่ ละออง
34.62
31.58
28.12
26.92
24.44
4. เสียงดัง
9
20
12.97
10
11.54
9
0
3.97
5.25
5 5.26 0 0
2547
2548
7.69 0
9.38
13
6
2549
5. สิง่ ปฏิกลู
12.5
6. มลพิษอืน่ ๆ
2550
ปี พ.ศ.
รูปที่ 2.12 แสดงร้อยละของเรือ่ งร้องเรียนด้านมลพิษสิง่ แวดล้อมแต่ละประเภทในพืน้ ที่ สสภ.9 ปี 2547-2550
จำนวน (เรือ่ ง) 40
26
30 20
31
19 9
10 0
2547
2548
2549
2550
ปี พ.ศ.
รูปที่ 2.13 แผนภูมแิ สดงจำนวนเรือ่ งร้องเรียนด้านมลพิษสิง่ แวดล้อมในพืน้ ที่ สสภ.9 ปี 2547-2550
35
2.4 สถานการณ์การจัดการน้ำเสีย จากข้อมูลโครงการศึกษาเพือ่ จัดลำดับความสำคัญการจัดการน้ำเสียชุมชน ของสำนักงานนโยบาย และแผนสิ่งแวดล้อม (2538) ที่ระบุไว้ว่าอัตราการเกิดน้ำเสียในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในปี 2545 เฉลีย่ ประมาณ 258 ลิตร/คน/วัน และในปี 2550 จะมีอตั ราการเกิดน้ำเสียเฉลีย่ ประมาณ 278 ลิตร/คน/วัน ดังนัน้ จึงสามารถคาดการณ์ปริมาณน้ำเสียทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีข่ อง สสภ.9 ประมาณวันละ 1,350,600 ลบ.ม. แต่มปี ริมาณน้ำเสียเพียง 71,812 ลบ.ม./วัน จะถูกนำไปบำบัดก่อนปล่อยทิง้ ลงสูแ่ หล่งน้ำสาธารณะ ซึง่ คิด เป็นร้อยละ 5.32 ของปริมาณน้ำเสียทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมดเท่านัน้ จากตารางที่ 2.11 จะพบว่ามีบางจังหวัดทีม่ ี ระบบบำบัดน้ำเสีย ซึง่ ในจำนวนนีม้ เี พียงจังหวัดสกลนครเท่านัน้ ทีม่ ี ระบบบำบัดน้ำเสียและมีการดำเนินการ (operate) แต่ยงั ไม่ครอบคลุมทุกเทศบาล กล่าวคือ มีเพียงเทศบาล เมืองสกลนครและเทศบาลตำบลท่าแร่ สำหรับจังหวัดอุดรธานี (เทศบาลนครอุดรธานี) และจังหวัดนครพนม (เทศบาลเมืองนครพนม) กำลังอยูใ่ น ระหว่างการก่อสร้างระบบฯ ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญมากเนื่องจากการก่อสร้างที่ไม่ดีอาจจะส่งผล กระทบโดยตรงต่อการดำเนินการระบบฯ เช่น การเชื่อมต่อท่อรวบรวมและท่อระบายน้ำเสียไม่ดี ทำให้ น้ำเสียไหลออกจากท่อ มีผลให้น้ำเสียเข้าระบบฯ น้อยกว่าที่ควร และน้ำเสียไหล ออกสู่สิ่งแวดล้อมโดย ปราศจากการบำบัด นอกจากนีย้ งั ทำให้มผี ลต่อประสิทธิภาพของระบบฯ อีกด้วย การก่อสร้างบ่อดักน้ำเสีย บ่อสูบน้ำเสียรวมทัง้ ระบบบำบัดน้ำเสียและองค์ประกอบอืน่ ๆ ควรคำนึงถึง การดำเนินการระบบฯ เป็นสำคัญ เพราะการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสีย โดยทัว่ ไปท้องถิน่ จะจ้างบริษทั ทีป่ รึกษาควบคุมงานก่อสร้างซึง่ ควร เป็นผูท้ ม่ี คี วามเชีย่ วชาญทางด้านงานก่อสร้างและด้านสิง่ แวดล้อม เพือ่ เสนอแนะรายการปรับปรุงแบบแปลน หรือควบคุมงานก่อสร้างให้เป็นไปตามมาตรฐานงานก่อสร้างพร้อมกับคำนึงถึงการดำเนินการระบบบำบัด น้ำเสียของเทศบาลในอนาคตด้วย ตารางที่ 2.11 แสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำเสียทีเ่ กิดขึน้ จังหวัด
จำนวนประชากร (คน)
ปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้น ปริมาณน้ำเสียทีถ่ กู บำบัด
(ลบ.ม./วัน)
(ลบ.ม./วัน)
1. เลย
615,802
171,193
-
2. อุดรธานี
1,529,617
425,234
45,156
3. หนองคาย
902,596
250,922
-
4. สกลนคร
1,112,998
309,413
18,054
5. นครพนม
697,259
193,838
8,602
รวม
4,858,272
1,350,600
71,812
หมายเหตุ : ปริมาณน้ำเสียที่ถูกบำบัดได้จากปริมาณน้ำเสียที่ได้จากการดำเนินการระบบบำบัดน้ำเสียและที่ระบบฯ สามารถรองรับได้ของ เทศบาลในพืน้ ทีส่ ำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9 จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมืองสกลนคร (16,000 ลบ.ม./วัน) และเทศบาลตำบลท่าแร่ (2,054 ลบ.ม./วัน) ซึ่งกำลังดำเนินการระบบฯส่วนอีกสองแห่งกำลังอยู่ในระหว่างก่อสร้างระบบฯ ได้แก่ เทศบาลนครอุดรธานี (45,156 ลบ.ม./ วัน ระยะที่ 1 เป็นระบบบ่อผึ่ง) และเทศบาลเมืองนครพนม (8,602 ลบ.ม./วัน) ทีม่ า : สถิตจิ ำนวนประชากรเมือ่ วันที่ 14 ธันวาคม 2550 จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (www.dopa.go.th)
36
สำหรับระบบบำบัดน้ำเสียทีก่ ำลังดำเนินการ (operate) มี 3 ระบบฯ ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีข่ องเทศบาล 2 แห่ง ได้แก่ - เทศบาลเมืองสกลนคร (มี 2 ระบบฯ คือ ระบบฯ คูหมากเสือ่ และระบบฯ หนองสนม) - เทศบาลตำบลท่าแร่ ซึง่ เทศบาลทัง้ สองแห่งประสบปัญหาเกีย่ วกับประสิทธิภาพของระบบฯ ในช่วงฤดูแล้งเพราะปริมาณ น้ำเสียที่เข้าสู่ระบบฯ น้อยกว่าที่ออกแบบไว้ ซึ่งสสภ.9 ได้ดำเนินโครงการติดตามประเมินประสิทธิภาพ ระบบบำบัดน้ำเสีย โดยทำการสำรวจสภาพพืน้ ที่ ผลการดำเนินการระบบฯ ของแต่ละเทศบาลและเก็บตัวอย่างน้ำ ก่อนเข้าระบบฯ และน้ำทิ้งออกจากระบบฯ เพื่อประเมินประสิทธิภาพการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสีย รายไตรมาส รวม 4 ไตรมาส ดังตารางที่ 2.12 จะเห็นว่าระบบบำบัดน้ำเสียของเทศบาลตำบลท่าแร่ สามารถ บำบัดน้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพในช่วงฤดูฝน ส่วนในฤดูแล้งน้ำทีเ่ ข้าสูร่ ะบบฯน้อย ไม่มนี ำ้ ไหลออกจากระบบฯ จึงไม่สามารถหาประสิทธิภาพของระบบฯได้ ทัง้ นีเ้ นือ่ งมาจากระบบท่อรวบรวมน้ำเสีย ยังไม่ครอบคลุมพืน้ ที่ ทัง้ หมดในเขตเทศบาล สำหรับระบบฯ คูหมากเสือ่ มีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำค่อนข้างดี มีบางไตรมาสเท่านัน้ ทีน่ ำ้ ทิง้ มีค่าเกินมาตรฐาน ส่วนน้ำทิ้งจากระบบฯ หนองสนมมีคุณภาพที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน เนื่องจาก ระบบบำบัดน้ำเสียหนองสนมมีสาหร่ายแขวนลอยอยูใ่ นน้ำภายในบ่อบำบัดในปริมาณทีส่ งู มาก ดังนัน้ ระบบฯ หนองสนมนีจ้ งึ ไม่เหมาะสมในการนำมาใช้บำบัดน้ำเสียจากชุมชน เนือ่ งจากมีการระบายน้ำเสียจากบ้านเรือน เข้าสู่หนองสนมในบริเวณที่ใกล้ทางระบายน้ำออกด้วย และสภาพของบ่อไม่เหมาะสมกับปริมาณและ คุณลักษณะ ของน้ำเสียในการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการแก้ไขปรับปรุงใหม่หรืออาจรวบรวม น้ำเสียไปบำบัดยังระบบฯ คูหมากเสือ่ เพราะคุณภาพน้ำทิง้ จากระบบฯ หนองสนมทัง้ 4 ไตรมาส ไม่อยูใ่ น เกณฑ์มาตรฐาน อย่างไรก็ตามสภาพน้ำในบ่อบำบัดยังคงมีสเี ขียวของสาหร่ายอยูต่ ลอดทัง้ ปี ทีผ่ า่ นมาท้องถิน่ ได้ใช้งบประมาณในการแก้ไขปัญหามลพิษน้ำเสียค่อนข้างมาก บางแห่งต้องใช้ งบประมาณเป็นหลักร้อยล้านบาทเพื่อก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชนซึ่งมีขนาดใหญ่ โดย ปราศจากการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทีอ่ าศัยอยูใ่ นเขตเทศบาลหรือสถานประกอบการ ทีน่ บั วัน จะมีจำนวนมากขึน้ ในขณะทีท่ อ้ งถิน่ บางแห่งยังไม่มมี าตรการควบคุม ดูแล และติดตามตรวจสอบ สถาน ประกอบการหรือแหล่งกำเนิดมลพิษชุมชน มีทอ้ งถิน่ เพียงบางแห่งเท่านัน้ ทีไ่ ด้ดำเนินการแก้ไขปัญหาน้ำเสีย ด้วยการออกเทศบัญญัตใิ ห้บา้ นเรือนและสถานประกอบการติดตัง้ ถังดักไขมัน เช่น เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลเมืองหนองคาย และเทศบาลตำบลหนองสำโรง ส่วนการมุง่ เน้นการแก้ไขปัญหาในรูปธรรมทีเ่ ป็น สิง่ ก่อสร้างหรือระบบบำบัดน้ำเสีย นัน้ ควรเป็นระบบทีม่ ขี นาดเล็ก ใช้พน้ื ทีน่ อ้ ย โดยอาจแบ่งเป็นพืน้ ทีห่ รือโซน และควรพิจารณาระบบทีป่ ระหยัด พลังงาน ดูแลรักษาง่าย ใช้งบประมาณในการก่อสร้างน้อย แต่ทง้ั นีท้ อ้ งถิน่ ต้องมีความพร้อมในการดำเนินการ ทัง้ ด้านงบประมาณ บุคลากร และให้ความสำคัญกับงานบริหารจัดการ เพราะไม่ว่าจะมีระบบที่ดีเพียงใดก็ตาม หากขาดการดูแลรักษาระบบที่ดีพอ ระบบก็มิอาจเดินได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ซึง่ ก็จะเป็นการใช้งบประมาณทีม่ ปี ระสิทธิภาพด้วยเช่นกัน นอกจากนี้แล้วผลกระทบโดยตรงจากมลพิษน้ำเสียไม่เพียงแต่จะทำให้แหล่งรองรับน้ำทิ้งมี คุณภาพน้ำแย่ลงเท่านัน้ ยังก่อให้เกิดผลกระทบโดยทางอ้อมต่อการระบายน้ำของเทศบาลอีกด้วย (รูปที่ 2.14 และ 2.15) นอกจากนีก้ ารขาดความจริงจังในการติดตามตรวจสอบของหน่วยงานทีม่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบ
37
หรือขาดบทลงโทษที่ชัดเจน ทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และสถานประกอบการไม่เห็น ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาน้ำเสียมากเท่าที่ควร ดังนั้นการแก้ไขปัญหาจึงควรเร่งดำเนินการรณรงค์ ให้ประชาชน สถานประกอบการ มีความตระหนักในการติดตัง้ ระบบบำบัดน้ำเสียภายในบ้านเรือน หน่วยงาน ท้องถิ่น ที่มีหน้าที่ตรวจสอบระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการควรเคร่งครัดและสม่ำเสมอกับการ ตรวจสอบทั้งนี้หน่วยงานส่วนกลางที่มีหน้าที่ออกกฎหมายควรเร่งรัดให้มีบทลงโทษที่ชัดเจนมากกว่าใน ปัจจุบัน
รูปที่ 2.14 แสดงลักษณะของน้ำในบ่อ Oxidation pond ของระบบบำบัดน้ำเสีย ของเทศบาลเมืองสกลนคร(คูหมากเสือ่ ) ทีม่ สี เี ขียวเข้มของสาหร่ายและในบ่อดังกล่าวมีกลิน่ เหม็นเน่าของส่าหร่าย
รูปที่ 2.15 แสดงบริเวณทางน้ำออกจากระบบบำบัดน้ำเสียหนองสนม และสภาพน้ำภายในบ่อทีม่ สี เี ขียวตลอดทัง้ ปี
38
17
< 0.1
7.22
3.36
1.10
3. ปริมาณสารแขวนลอย มก./ล. (Suspended Solids,SS)
มก./ล.
มก./ล.
4. ปริมาณตะกอนหนัก (Settleable Solid)
5. น้ำมันและไขมัน (Fat Oil and Grease)
6. ไนโตรเจนในรูป ทีเคเอ็น มก./ล. (TKN )
7. ฟอสฟอรัสทั้งหมด มก./ล. (Total Phosphorus, TP)
MPN/ 30,000,000 100 มล.
28.13
2. ค่าบีโอดี (Biological มก./ล. Oxygen Demand,BOD)
8. แบคทีเรียกลุ่มฟีคอล โคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria)
7.80
7.84
1. ค่าความเป็นกรดด่าง (pH)
40,000
0.11
1.12
0.10
< 0.1
3
10.0
น้ำออก
หน่วย
น้ำเข้า
พารามิเตอร์
ไตรมาสที่ 1
0.07
1.12
0.70
0.3
64
8.93
7.13
น้ำออก
1.28
2.24
0.06
< 0.1
19
24.45
6.89
น้ำเข้า
2,000
0.38
1.12
0.05
< 0.1
48
15.17
6.98
น้ำออก
ไตรมาสที่ 3
>160,000,000 2,600,000 >1,600,000
1.20
6.16
7.62
0.1
9
9.49
7.16
น้ำเข้า
ไตรมาสที่ 2
ตารางที่ 2.12 แสดงผลการตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำจากระบบบำบัดน้ำเสียคูหมากเสือ่
39
1,600,000
0.38
5.32
0.23
0.3
2
31.2
6.96
น้ำเข้า
<1,800
0.12
2.10
0.22
0.1
16
10.12
6.86
น้ำออก
ไตรมาสที่ 4
-
-
10 มก./ล. (ประเภท ก)
20 มก./ล. (ประเภท ก)
0.5 มก./ล. (ประเภท ก)
30 มก./ล. (ประเภท ก)
20 มก./ล. (ประเภท ก)
5-9 (ประเภท ก)
มาตรฐาน
การทิง้ น้ำมันเครือ่ งลงท่อระบายน้ำ
ขยะมูลฝอยและเศษวัสดุกอ่ สร้างอุดตันท่อระบายน้ำ
ไขมันอุดตันท่อระบายน้ำ ไขมันอุดตันท่อระบายน้ำ
การบุกรุกพื้นที่รอบคลองระบายน้ำ
รูปที่ 2.16 แสดงสภาพปัญหาการระบายน้ำทีเ่ กิดจากสถานประกอบการในเขตเทศบาล ดังนัน้ เพือ่ เป็นการแก้ไขปัญหาน้ำเสียตัง้ แต่แหล่งกำเนิดก่อนทีจ่ ะมีการระบายออกสูส่ ง่ิ แวดล้อม และต้องเสียงบประมาณจำนวนมากในการก่อสร้างและดำเนินการระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียรวมของ ชุมชนแล้ว กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม จึงได้ดำเนินโครงการคลองสวยน้ำใส ในแต่ละจังหวัด ทั่วประเทศ โดยในปี 2550 สสภ.9 ได้ร่วมกับสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเลย อุดรธานี หนองคาย สกลนคร และนครพนม ดำเนินงานโครงการคลองสวยน้ำใส ในพืน้ ทีด่ งั นี้
40
1) คลองบุง่ แสนฮาด อำเภอเมือง จังหวัดเลย ระยะทาง 1.6 กิโลเมตร ช่วงสะพานถนนมะลิวลั ย์ กับช่วงก่อนถึงตลาดเย็น 2) คลองห้วยหมากแข้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระยะทาง 300 เมตร ช่วงถนนอธิบดีกบั ถนนประจักษ์ฯ 3) คลองห้วยสะพานทอง อำเภอเมืองจังหวัดหนองคาย ระยะทาง 300 เมตร ช่วงหลังศูนย์การค้า เทสโก้ โลตัส ถึงถนนมิตรภาพ 4) คลองห้วยคำโพธิน์ อ้ ย อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร ระยะทาง 1 กิโลเมตร ช่วงสะพาน ถนนพังโคน-วาริช ถึงสะพานถนนนิตโย 5) คลองเทศบาลอำเภอเมือง จังหวัดนครพนม โครงการคลองสวย น้ำใส เป็นการดำเนินงานเพือ่ การฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำต่างๆ ซึง่ การทีจ่ ะแก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำให้ดขี น้ึ และสามารถใช้ประโยชน์เพือ่ กิจกรรมต่างๆ ได้นน้ั ต้องมองถึงภาพรวมทัง้ ระบบของลุม่ น้ำ ซึง่ คูคลองต่างๆ เป็นตัวเชือ่ มไปยังแหล่งน้ำทีส่ ำคัญในพืน้ ที่ โดยมุง่ เน้นให้ประชาชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และจังหวัด เห็นความสำคัญและความจำเป็นของ การดำเนินงานจัดการคุณภาพสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีด่ ว้ ยตนเองและเพือ่ ตนเอง ซึง่ จะเป็นต้นแบบการจัดการ คุณภาพน้ำและขยะมูลฝอย และการจัดการสภาพแวดล้อมรอบคลอง รวมทั้งการรณรงค์เพื่อสร้างความ ตระหนักในการเป็นเจ้าของลำคลอง ซึ่งจะนำไปสู่การเป็นกลไกสำคัญในการดำเนินงานจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ต่อไป โดยมีขอบเขตการดำเนินงานภายใต้กิจกรรมประชาสัมพันธ์ กิจกรรมการปรับภูมทิ ศั น์ กิจกรรมการขุดลอกคลอง กิจกรรมการจัดการน้ำเสียและขยะมูลฝอยชุมชน และ กิจกรรมการติดตามประเมินผล
รูปที่ 2.17 แสดงกิจกรรมการสำรวจสภาพพืน้ ทีล่ ำห้วยเพือ่ คัดเลือกพืน้ ทีด่ ำเนินโครงการคลองสวย น้ำใส
41
รูปที่ 2.18 แสดงกิจกรรมเปิดตัวโครงการคลองสวย น้ำใส
รูปที่ 2.19 แสดงกิจกรรมประชาสัมพันธ์
รูปที่ 2.20 แสดงกิจกรรมการจัดการน้ำเสียและขยะมูลฝอยชุมชน
42
รูปที่ 2.21 แสดงกิจกรรมการปรับภูมทิ ศั น์
รูปที่ 2.22 แสดงกิจกรรมการขุดลอกคลอง
รูปที่ 2.23 แสดงกิจกรรมการติดตามประเมินผล สสภ. 9 ได้ให้ความร่วมมือกับสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจังหวัดเลย อุดรธานี หนองคายและสกลนคร ในการเก็บตัวอย่างน้ำในพืน้ ทีแ่ ละดำเนินการตรวจวิเคราะห์ พร้อมทัง้ ติดตามประเมินผล ความพึงพอใจของประชาชนเกีย่ วกับการดำเนินงานโครงการในแต่ละพืน้ ที่ จากการติดตามคุณภาพน้ำในแต่ละ พืน้ ทีจ่ ำนวน 3 ครัง้ คือ ก่อนดำเนินงาน ระหว่างการดำเนินงาน และหลังการดำเนินงาน พบว่าคุณภาพน้ำโดย รวมของคลองทัง้ 4 แห่ง มีคณ ุ ภาพน้ำทีต่ รวจวัดหลังการดำเนินโครงการฯ ดีขน้ึ กว่าคุณภาพน้ำก่อนดำเนินงาน เป็นอย่างมาก แต่หากพิจารณาค่าเฉลีย่ คุณภาพน้ำจะพบว่า ค่า TCB และ FCB ค่อนข้างสูง เนือ่ งจากว่าเป็นห้วย ทีร่ องรับน้ำทิง้ จากย่านชุมชน พาณิชยกรรม และจากตลาดสดโดยตรง ส่งผลให้คณ ุ ภาพน้ำเฉลีย่ อยูใ่ นเกณฑ์ เสือ่ มโทรมมาก
43
หมายเหตุ
28.0 28.0 32.0 32.0 33.0
27.0 28.0 28.0 29.0 27.7
7.35 7.16 7.09 6.91 6.53
7.10 6.94 6.91 6.91 6.95 7.32 7.14 7.04 7.06 7.07
6.25 6.33 6.36 6.42 6.47
30.0 29.8 7.23 6.79 35.0 30.7 7.18 7.01 ธ ธ 5-9 5-9 ธ ธ 5-9 5-9 ธ 5-9 5-9 ธ
28.7 28.2 29.9 31.4 28.4
27.0 29.0 31.0 30.0 30.0
10.2 9.7 <1.5 <2.0 <4.0
22.8 23.0 13.1 13.7 17.4
7.5 6.9 7.3 7.3 7.9
32.5 32.0 6.84 7.47 2.3 32.0 32.5 6.95 7.05 5.3 32.0 34.0 6.81 7.09 7.8
5.0 1.0 5.1 9.0 1.0 0.6 6.0 26.0 3.6 54 30 29 28 31
16 10 10
4.0 98 4.0 41 4.0 38 5.0 70 3.5 361
5.0 5.0 5.0 5.0 4.0
4.0 3.5 5.5
12 11 18 26 23
54 55 55 55 54
48 21 70
FCB (MPN/100ml) ก่อน หลัง
823 855 668 651 730
597 502 487 498 498 183 174 231 286 294
285 287 287 289 281
160,000 160,000 >160,000 160,000 >160,000 160,000 >160,000 160,000 >160,000 160,000
54,000 54,000 160,000 92,000 92,000
>160,000 >160,000 >160,000 >160,000 >160,000 >160,000 90,000 >160,000
160,000 24,000 90,000 24,000 160,000 160,000 50,000 160,000
>160,000 92,000 160,000 28,000
>160,000 >160,000 >160,000 >160,000 >160,000
418 270 5,000 4,900 220 3,300 484 298 >160,000 13,000 >160,000 7,900 426 344 >160,000 >160,000 >160,000 >160,000
TCB (MPN/100ml) ก่อน หลัง
หลัง คือ คุณภาพน้ำหลังดำเนินงานโครงการคลองสวย น้ำใส
7.5 41.0 50.0 4.2 8.0 87 106 407 228 4,000 <1,800 4,000 <1,800 7.6 48.0 46.0 3.2 6.0 115 32 598 405 650,000 33,000 330,000 33,000 <1.5 - >6.0 >6.0 - <5,000 <5,000 <1,000 <1,000 <2.0 - >4.0 >4.0 - <20,000 <20,000 <4,000 <4,000 <4.0 - >2.0 >2.0 -
2.1 7.0 11.0 2.0 1.9 11.0 5.0 3.0 7.7 7.0 15.0 3.0 7.3 23.0 20.0 3.0 4.8 8.0 19.0 3.0
1.6 16.0 40.0 3.0 1.8 6.0 43.0 3.0 1.9 10.0 37.0 3.0 1.7 10.0 36.0 2.0 2.3 8.0 41.0 6.0
1.5 1.8 7.4
ก่อน คือ คุณภาพน้ำก่อนดำเนินงานโครงการคลองสวย น้ำใส ธ คือ เป็นไปตามธรรมชาติ
- จุดที่ 1 (ต้นน้ำ) - จุดที่ 2 (ท้ายน้ำ) มาตรฐานประเภทที่ 2 มาตรฐานประเภทที่ 3 มาตรฐานประเภทที่ 4
ห้วยคำโพธิ์น้อย/สกลนคร
- จุดที่ 1 (ก่อนเข้าโครงการ) - จุดที่ 2 (ช่วงต้นน้ำ) - จุดที่ 3 (ช่วงกลางน้ำ) - จุดที่ 4 (ช่วงท้ายน้ำ) - จุดที่ 5 (หลังโครงการ)
ห้วยสะพานทอง/หนองคาย
- จุดที่ 1 (ก่อนเข้าโครงการ) - จุดที่ 2 (ช่วงต้นน้ำ) - จุดที่ 3 (ช่วงกลางน้ำ) - จุดที่ 4 (ช่วงท้ายน้ำ) - จุดที่ 5 (หลังโครงการ)
ห้วยหมากแข้ง / อุดรธานี
- จุดที่ 1 (ต้นน้ำ) - จุดที่ 2 (ช่วงกลางน้ำ) - จุดที่ 3 (ท้ายน้ำ)
คลองบุ่งแสนฮาด / เลย
จุดเก็บ
pH Turb SS DO BOD Cond Temp (µS/cm) ( ํC ) (NTU) (mg/l) (mg/l) (mg/l) ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง ก่อน หลัง
ตารางที่ 2.13 แสดงผลการวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำตามโครงการคลองสวย น้ำใสปี 2550
44
ในส่วนของการประเมินความพึงพอใจของประชาชนเกีย่ วกับการดำเนินงานโครงการฯ จำนวน 6 ด้าน ได้แก่ กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ กิจกรรมการปรับภูมทิ ศั น์ กิจกรรมการขุดลอกคลอง กิจกรรม การจัดการขยะและน้ำเสีย การตรวจวัดคุณภาพน้ำ และการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ประชาชน ในพืน้ ทีม่ คี วามพึงพอใจไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของแบบสอบถาม โดยได้เก็บแบบสอบถาม กับ กลุม่ ตัวอย่างในจังหวัดเลยจำนวน 149 ตัวอย่าง จังหวัดอุดรธานีจำนวน 70 ตัวอย่าง จังหวัดหนองคาย จำนวน 98 ตัวอย่าง และจังหวัดสกลนครจำนวน 145 ตัวอย่าง โดยรวมประชาชนในจังหวัดเลย อุดรธานี หนองคาย และสกลนคร มีระดับความพึงพอใจอยูใ่ นระดับปานกลางถึงมากทีส่ ดุ ถึงร้อยละ 86.17, 72.46 81.69 และ 84.41 ตามลำดับ ตารางที่ 2.14 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจของประชาชน ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ) จังหวัด
มากทีส่ ดุ
มาก
ปานกลาง
น้อย
น้อยทีส่ ดุ
ไม่แสดง ความคิดเห็น
เลย อุดรธานี หนองคาย สกลนคร
13.20 8.17 14.91 18.00
33.63 32.94 30.50 29.86
39.34 31.35 36.28 36.55
10.89 10.32 10.32 6.28
1.16 4.21 3.85 2.00
1.78 13.01 4.14 7.31
2.5 สิง่ ปฏิกลู กับชุมชนเมือง สิง่ ปฏิกลู หมายถึง ของเสียทีป่ ล่อยออกมาจากร่างกายโดยมีนำ้ หนักแห้ง 27 กรัมต่อคนต่อวัน น้ำหนักเปียก 100-200 กรัมต่อคนต่อวัน มี E.coli ประมาณ 400 พันล้านต่อคนต่อวัน มีฟคี ลั โคลิฟอร์ม 2000 พันล้านต่อคนต่อวัน มีฟคี ลั สเตรปโตคอกไคประมาณ 450 พันล้านต่อคนต่อวัน หรืออีกความหมายหนึง่ สิง่ ปฏิกลู หมายถึง อุจจาระหรือปัสสาวะ และหมายรวมถึงสิง่ อืน่ ใดซึง่ เป็นสิง่ โสโครกหรือมีกลิน่ เหม็น เนือ่ งจากว่าอุจจาระมีเชือ้ โรค เช่น E.coli ปนเปือ้ นอยู่ ซึง่ สามารถติดต่อมายังมนุษย์ได้ ไม่วา่ จะ เป็นการผ่านทางอาหารหรือน้ำเป็นสือ่ เมือ่ มนุษย์ได้รบั เข้าไปอาจก่อให้เกิดโรคได้ จึงมีความจำเป็นทีจ่ ะต้อง มีการบำบัดและกำจัดสิง่ ปฏิกลู ให้ดแี ละถูกต้องเพือ่ ความปลอดภัย และเพือ่ ทีจ่ ะทำลายเชือ้ โรคหรือป้องกัน การแพร่กระจายของเชื้อโรคที่ปนเปื้อนมากับสิ่งปฏิกูลและเพื่อทำการย่อยสลายสารอินทรีย์ในสิ่งปฏิกูล ไม่ให้เกิดมลพิษต่อสิง่ แวดล้อมต่างๆ เช่น มลพิษทางน้ำ มลพิษทางดิน เป็นต้น เชือ้ โรคทีป่ นเปือ้ นมากับ สิ่งปฏิกูล มักทำให้เกิดโรคทางระบบทางเดินหายใจเป็นส่วนใหญ่ จึงต้องทำการสกัดกั้นการแพร่กระจาย ของเชือ้ โรคจากสิง่ ปฏิกลู ไม่ให้แพร่กระจายไปได้ จากการศึกษา โดยสำรวจข้อมูลในเขตเทศบาลต่างๆ ทัง้ หมดของพืน้ ทีภ่ าค 9 รวม 5 จังหวัด โดยยังไม่รวมเขต อบต. พบว่าปริมาณสิง่ ปฏิกลู จากรถสูบสิง่ ปฏิกลู เททิง้ ลงในสิง่ แวดล้อมทีไ่ ม่ถกู วิธกี อ่ ให้เกิด ปัญหามลพิษทางน้ำและปัญหาสุขภาพดังทีก่ ล่าวมาแล้ว
45
จังหวัด
ตารางที่ 2.15 แสดงการประเมิน ปริมาณสิง่ ปฏิกลู จากรถสูบสิง่ ปฏิกลู จำนวนเทศบาล (แห่ง) ปริมาณสิง่ ปฏิกลู จากรถสูบสิง่ ปฏิกลู
เลย
15
29,200
อุดรธานี
31
60,225
หนองคาย
19
34,675
สกลนคร
16
31,025
นครพนม
10
20,075
รวม
91
175,200
ทีม่ า : เทศบาลในพืน้ ทีภ่ าค 9 รวม 5 จังหวัด
รูปที่ 2.24 แสดงการเทสิง่ ปฏิกลู ในสถานทีก่ ำจัดขยะมูลฝอย (ซ้าย) และในสวนของเอกชน (ขวา) การเก็บกักสิง่ ปฏิกลู ในอาคาร ใช้ระบบบ่อเกรอะ บ่อซึม แต่กย็ งั มีบางส่วนลักลอบปล่อยสิง่ ปฏิกลู ลงสูท่ อ่ ระบายน้ำโดยตรง ซึง่ เป็นสาเหตุทท่ี ำให้เกิดการเน่าเสียของแม่นำ้ ลำคลองและการกระจายของเชือ้ โรค การกำจัดสิง่ ปฏิกลู ของเทศบาลทีม่ กี ารกำจัดสิง่ ปฏิกลู อย่างถูกวิธดี ว้ ยการหมักทำปุย๋ หรือเทลงในบ่อเกรอะ เพียงประมาณร้อยละ 30 ของจำนวนเทศบาลทั่วประเทศเท่านั้น ซึ่งในพื้นที่ของ สสภ.9 มีเทศบาล จำนวน 2 แห่งที่มีระบบกำจัดสิ่งปฏิกูลที่ถูกสุขลักษณะ ได้แก่ เทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี และเทศบาลเมืองท่าบ่อ อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย นอกนั้นมีการจัดการโดยระบบบ่อเกรอะ เมื่อ บ่อเกรอะเต็ม ประชาชนในชุมชนจะใช้บริการรถสูบสิง่ ปฏิกลู ของเทศบาล หรือรถของเอกชนทีไ่ ด้รบั สัมปทาน จากเทศบาล และเมือ่ รถสูบสิง่ ปฏิกลู เต็มแล้วก็จะนำไปเททิง้ ตามสถานทีต่ า่ งๆ ทีไ่ ม่มรี ะบบป้องกันอย่างถูกวิธี เช่น เททิง้ ข้างถนน ในร่องสวน ในสถานทีก่ ำจัดขยะ เป็นต้น ก่อให้เกิดปัญหามลพิษ ทางน้ำ ดิน และเชือ้ โรค เทศบาลและอบต.จำเป็นต้องมีระบบการจัดการ รองรับสิง่ ปฏิกลู จากรถสูบปฏิกลู โดยการก่อสร้าง ระบบบ่อกำจัดสิ่งปฏิกูลให้ปลอดภัยก่อนที่จะปล่อยระบายลงสู่สิ่งแวดล้อม ซึ่งรูปแบบที่ สสภ.9 ได้ศึกษา ออกแบบ ประกอบด้วยบ่อหมักทรายกรองแยกกากสิง่ ปฏิกลู ออกจากน้ำปฏิกลู ส่วนกากสิง่ ปฏิกลู (Sludge) จะถูกหมักย่อยสลายและแห้งเป็นแผ่น (Sludge Cake) เชือ้ โรคต่างๆ จะตายไข่พยาธิจะฝ่อไม่สามารถเจริญ เติบโตได้เป็นส่วนใหญ่ จากนัน้ จึงตักแผ่นปฏิกลู จากบ่อไปเก็บอบไว้ในโรงเก็บกากจนแห้งสนิทใช้เวลาประมาณ
46
3-5 วัน เชื้อโรคและไข่พยาธิจะตายหมด จึ ง ปลอดภั ย สามารถนำไปใช้ เ ป็ น ปุ ๋ ย บำรุงดินได้ตอ่ ไป ส่วนทีเ่ ป็นน้ำปฏิกลู จาก บ่อหมักทรายกรองจะไหลไปรวมบำบัด ที่สระน้ำ โดยวิธีธรรมชาติต่อไป โดยใช้ งบประมาณ 653,730 บาท ซึง่ มีตวั อย่าง รูปแบบดังต่อไปนี้
รูปที่ 2.25 แสดงตัวอย่างแบบแปลนระบบกำจัดสิง่ ปฏิกลู ข้อดีและข้อจำกัดของระบบ ระบบบำบัดสิง่ ปฏิกลู จากรถดูดส้วมทีอ่ อกแบบได้พฒ ั นาต่อยอดมาจากระบบบำบัดสิง่ ปฏิกลู เดิม ของกรมอนามัย โดยกองสุขาภิบาลได้ศกึ ษาวิจยั และสาธิตก่อสร้างระบบตัง้ แต่ปี 2520 โดยรูปแบบทีไ่ ด้พฒ ั นา นีส้ ามารถลดระยะเวลาในการย่อยสลายในบ่อหมักจากเดิม 28-30 วัน เป็น 10 วัน จึงสามารถลดค่าใช้จา่ ย ในการก่อสร้างจากแบบเดิม 40-50% และเป็นระบบปิดทั้งหมด จึงไม่มีปัญหาในฤดูฝนและปัญหาเรื่อง ร้องเรียนจากกลิน่ และแมลงวัน ส่วนข้อจำกัดของระบบทางเทศบาล/อบต. จะต้องดูแลทรายกองโดยเปลีย่ น หน้าทรายและเพิม่ ทรายกรองใหม่แทน เมือ่ เห็นว่าอัตราการกรองน้ำปฏิกลู ช้ามาก นอกจากนีเ้ ทศบาล/อบต. ต้องสามารถควบคุมให้รถดูดส้วมของเอกชนนำสิง่ ปฏิกลู มาทิง้ สูบ่ อ่ บำบัดและมีการบันทึกข้อมูลเป็นประจำ ต่อเนือ่ ง
รูปที่ 2.26 แสดงถังกักสิง่ ปฏิกลู ในรถทัวร์ (ซ้าย) และท่อระบายสิง่ ปฏิกลู ในรถไฟ (ขวา)
47
164
นอกจากนีป้ ญ ั หาสิง่ ปฏิกลู ปนเปือ้ นต่อสิง่ แวดล้อมจากห้องสุขาของรถทัวร์ทม่ี กี ารปล่อยทิง้ ข้างถนน ร่องระบายน้ำและในบริเวณที่รถทัวร์จอดพัก/ล้างรถ ส่วนรถไฟก็ประสบปัญหาที่ไม่มีถังรองรับสิ่งปฏิกูล มีการระบายสูร่ างรถไฟโดยตรง ทำให้เกิดการปนเปือ้ นในสิง่ แวดล้อมและแหล่งน้ำ ก่อให้เกิดปัญหาสกปรก และการระบาดของเชือ้ โรคซึง่ หน่วยงานต่างๆ ทีร่ บั ผิดชอบน่าจะมีวธิ กี ารจัดการทีเ่ ป็นรูปธรรมมากยิง่ ขึน้ จากการศึกษาโดยสำรวจข้อมูลของ สสภ.9 พบว่าปริมาณสิ่งปฏิกูลจากรถทัวร์ปนเปื้อนลงสู่ สิ่งแวดล้อมโดยไม่มีการบำบัดให้ปลอดภัยก่อนตามจังหวัดต่างๆ ที่มีรถทัวร์สิ้นสุดปลายทางที่เมืองนั้น ดังตาราง ตารางที่ 2.16 แสดงปริมาณสิง่ ปฏิกลู จากรถทัวร์ จังหวัด
จำนวนรถทัวร์ (คัน/วัน)
เลย 15 นครพนม 21 สกลนคร 12 หนองคาย 18 อุดรธานี 180 อุบลราชธานี 76 โลก น้ ทีภ่ าค 9 รวม 5 จั32 ทีม่ พิาษ: ณุเทศบาลในพื งหวัด สุราษฎร์ธานี 133 นครราชสีมา 314 รวม 801
จำนวนบริษัท เจ้าของรถ
ปริมาณสิง่ ปฏิกลู จากรถทัวร์ สูส่ ง่ิ แวดล้อม (ลบ.ม/ปี)
4 8 3 7 14 10 5 17 9 77
164 230 131 197 1,962 828 349 1,450 3,423 8,734
ทีม่ า : ขนส่งจังหวัดและเทศบาล ปี พ.ศ.2550
แนวทางแก้ไขปัญหา การถ่ายเททิง้ สิง่ ปฏิกลู ในทีส่ าธารณะถือว่าผิด พ.ร.บ.สาธารณสุข พ.ศ.2535 ดังนัน้ เทศบาลและ ขนส่งจังหวัดควรแจ้งบริษัทรถทัวร์ให้มีระบบรองรับสิ่งปฏิกูลที่ถูกวิธี โดยให้บริษัทก่อสร้างถังเกรอะและ ร่องซึมรองรับจากรถทัวร์บริเวณที่รถทัวร์จอดล้างทำความสะอาด(อู่รถบริษัท) หรือบริเวณสถานีจำหน่าย น้ำมันทีร่ ถทัวร์ไปใช้บริการ โดยมีรปู แบบที่ สสภ.9 ออกแบบโดยใช้งบประมาณ 5,709 บาท ดังนี้
รูปที่ 2.27 แสดงรูปแบบบ่อบำบัดสิง่ ปฏิกลู จากรถโดยสารปรับอากาศ
48
49
ความเคลือ่ นไหวทีส่ ำคัญในรอบปี 2550 3.1 เหมืองแร่ทองคำ การพัฒนาอย่างมีสว่ นร่วม พืน้ ทีป่ ระทานบัตรของ บริษทั ทุง่ คำ จำกัด เพือ่ ขุดแร่ทองคำในปัจจุบนั ได้รบั ประทานบัตรดำเนิน กิจการเหมืองแร่จากกรมทรัพยากรธรณี เมือ่ ปี พ.ศ.2538 อายุประทานบัตร 25 ปี จำนวน 6 แปลง รวมพืน้ ที่ 1,308 ไร่ 2 งาน 110 ตารางวา ตัง้ อยูใ่ นเขตตำบลเขาหลวง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ผ่านความเห็นชอบ จากสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (สผ.) ต่อรายงานการศึกษาผลกระทบ สิง่ แวดล้อม (Environmental Impact Assessment, EIA) เมือ่ ปี พ.ศ.2541 ใช้วธิ ที ำเหมืองประเภทเหมืองหาบ (open pit) และโรงแต่งแร่ทอ่ี อกแบบให้สามารถดำเนินการได้ 1,200 ตันต่อวัน โดยมีวธิ กี ารแยกโลหะทองคำ ที่เรียกว่า กระบวนการ Carbon-In-Pulp (CIP) มีองค์ประกอบ ได้แก่ พื้นที่สำนักงาน โรงแต่งแร่ โรงบำบัดน้ำเสีย Tailing disposal pond และ Engineering Wetland
รูปที่ 3.1 แสดงขัน้ ตอนการแต่งแร่ในการทำเหมืองแร่ทองคำ เริม่ ดำเนินการแต่งแร่ เมือ่ เดือนตุลาคม 2549 ซึง่ ในกระบวนการแต่งแร่ตอ้ งใช้ไซยาไนด์จบั ทองคำ ออกมาจากสินแร่ และในพืน้ ทีด่ งั กล่าวตัง้ อยูใ่ นบริเวณทีม่ ลี ำน้ำธรรมชาติ คือ ลำห้วยผุก และลำห้วยฮวย ทีเ่ ป็นลำน้ำสาขาของแม่นำ้ เลย ต่อมาเมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2549 ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเลย พร้อมหน่วยงาน ภาครัฐและมวลชน เข้าชมการดำเนินการของเหมืองแร่ พบว่า ยังไม่มกี ารดำเนินการติดตามตรวจสอบตาม ที่ระบุไว้ใน EIA และในเดือนธันวาคม 2549 สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 9 (สสภ.9) ได้เผยแพร่ รายงานสถานการณ์สง่ิ แวดล้อมปี 2549 แก่หน่วยงานต่างๆ ในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ เรือ่ งการเฝ้าระวังผลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อมบริเวณพืน้ ทีเ่ หมืองแร่ทองคำ รายงานการตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในแม่นำ้ ฮวย โดยตรวจ วิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำจำนวน 5 สถานี ในระยะเวลา 3 ปี (พ.ศ.2547-2549) พบว่าคุณภาพน้ำในลำห้วยฮวย เฉลีย่ ตลอดทัง้ ลำน้ำมีคณ ุ ภาพน้ำพอใช้ แต่มคี า่ ไซยาไนด์ (CN) และแมงกานีสค่อนข้างสูง โดยในปีแรกทีท่ ำ
50
การศึกษา(ปี 2547) มีคา่ แมงกานีสสูงเกินกว่าเกณฑ์มาตรฐานทุกสถานี และมีคา่ ไซยาไนด์สงู เกินมาตรฐาน จำนวน 3 สถานี ซึง่ หากพิจารณาเฉพาะแมงกานีสแล้ว สามารถสรุปได้วา่ สภาพตามธรรมชาติของพืน้ ทีท่ ท่ี ำ การศึกษานีม้ คี า่ แมงกานีสค่อนข้างสูง ส่วนไซยาไนด์กม็ คี า่ สูงเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะในปี พ.ศ.2549 มีคา่ สูงกว่า มาตรฐานน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ในสถานีท่ี 3 และ 4 คือ 0.03 และ 0.02 มิลลิกรัม/ลิตร ตามลำดับ (ค่ามาตรฐาน กำหนด ไว้ไม่เกิน 0.005 มิลลิกรัม/ลิตร) ซึง่ ทัง้ สองสถานีอยูใ่ กล้พน้ื ทีท่ ำเหมือง นอกจากนีใ้ นปี พ.ศ.2549 ยังพบว่ามีแคดเมียมสูงกว่าค่ามาตรฐานในสถานีท่ี 3 และ 4 คือ 0.0089 และ 0.007 มิลลิกรัม/ลิตร ตามลำดับ (ค่ามาตรฐาน 0.005 มิลลิกรัม/ลิตร) ส่วนผลการวิเคราะห์คา่ ดัชนีความหลากหลาย (Diversity Index) ของ แพลงก์ตอนพืช (Phytoplankton) แพลงก์ตอนสัตว์ (Zooplankton) และสัตว์พน้ื ท้องน้ำ (Benthos) ของทัง้ 5 สถานี ในระยะเวลาทั้งสามปีมีค่าเฉลี่ยต่ำกว่า 1.0 บ่งชี้ได้ว่าลำน้ำฮวยเป็นลำน้ำที่มีความหลากหลาย ทางชีวภาพค่อนข้างน้อย แต่การศึกษาของ สสภ.9 มิอาจสรุปได้อย่างชัดเจนว่าไซยาไนด์ทม่ี คี า่ สูงนัน้ เกิดจากสาเหตุใด เนือ่ งจากยังมิได้ทำการศึกษาสภาพทัว่ ไปโดยละเอียดเกีย่ วกับการใช้ประโยชน์ ทีด่ นิ ประกอบการศึกษาฯ ในครัง้ นีด้ ว้ ย เมือ่ เดือนกุมภาพันธ์ 2550 กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) ได้ตรวจพบว่า บริษทั ทุง่ คำ จำกัด ผูถ้ อื ใบอนุญาตประกอบโลหกรรม ปฏิบตั ไิ ม่เป็นไปตามเงือ่ นไขท้ายใบอนุญาตและเงือ่ นไข ตามรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม (EIA) โดยได้ปล่อยให้มปี ริมาณไซยาไนด์เจือปนในกากแร่กอ่ น นำไปกักเก็บในบ่อกักเก็บกากแร่ สูงถึง 62 มก./ล. เกินกว่าค่าทีก่ ำหนดไว้ในเงือ่ นไขของรายงาน EIA ทีก่ ำหนด ไว้ไม่เกิน 2 มก./ล. จึงให้สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเลยพิจารณาเปรียบเทียบปรับกรณีการปฏิบตั ใิ ห้เป็นไป ตามเงือ่ นไขท้ายใบอนุญาตประกอบโลหกรรมตามบทกำหนดโทษใน พ.ร.บ.แร่ พ.ศ.2510 และสัง่ การให้ บริษทั ฯ ปรับปรุงแก้ไขเพือ่ ลดปริมาณสารไซยาไนด์ทเ่ี จือปนในกากแร่กอ่ นนำไปกักเก็บในบ่อกักเก็บกากแร่ ให้อยูใ่ นเกณฑ์ ทีก่ ำหนดตามรายงาน EIA จากการดำเนินงานของภาครัฐที่ผ่านมา ทำให้มีผู้ให้ความสนใจและติดตามผลการประกอบ โลหกรรมของบริษทั ฯ จำนวนมาก และเพือ่ เป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพการตรวจสอบ กำกับดูแลการประกอบ โลหกรรม อีกทัง้ ยังเป็นการสร้างการมีสว่ นร่วม สร้างความมัน่ ใจแก่ประชาชนในพืน้ ทีโ่ ครงการ และเพือ่ ให้ การประกอบการของบริษทั ฯ มีความปลอดภัยสูงสุด กพร. จึงมีแนวทางการตรวจสอบกำกับดูแลตามมาตรการ ทีก่ ำหนดในรายงาน EIA โดยให้ บริษทั ฯ ว่าจ้าง third party เป็นผูด้ ำเนินการ พร้อมรายงานให้ กพร. และ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทราบเป็นระยะ ซึง่ บริษทั ฯ ได้วา่ จ้างศูนย์วจิ ยั น้ำบาดาล คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ขอนแก่น เป็นผูด้ ำเนินการ นอกจากนีจ้ งั หวัดเลย ได้มคี ำสัง่ จังหวัดเลย ที่ 871/2550 เรือ่ ง แต่งตัง้ คณะกรรมการ ตรวจสอบและกำกับดูแลการทำเหมืองแร่และการประกอบโลหกรรมของบริษทั ทุง่ คำ จำกัด ประกอบด้วย คณะกรรมการที่มีรองผู้ว่าราชการจังหวัดเลย (นายพรศักดิ์ เจียรณัย) เป็นประธานกรรมการอำนวยการ และมีคณะกรรมการมาจากหลายหน่วยงานทัง้ ภาครัฐ สถาบันการศึกษา ชุมชนในพืน้ ทีแ่ ละองค์กรเอกชน จำนวน 3 ชุด ได้แก่ 1) คณะกรรมการอำนวยการ จำนวน 26 คน ซึง่ ผูอ้ ำนวยการสำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9 อุดรธานี และทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจังหวัดเลย ร่วมเป็นคณะกรรมการในชุดนี้ 2) คณะกรรมการกองเลขานุการ จำนวน 17 คน 3) คณะกรรมการปฏิบตั กิ าร ประกอบด้วยคณะกรรมการต่างๆ จำนวน 3 ชุด ดังนี้
51
รูปที่ 3.2 แสดงตำแหน่งทีต่ ง้ั โครงการเหมืองแร่ทองคำและสถานีเก็บตัวอย่างน้ำ
52
3.1) คณะกรรมการตรวจสอบผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม จำนวน 18 คน 3.2) คณะกรรมการตรวจสอบผลกระทบด้านสุขภาพอนามัย จำนวน 19 คน 3.3) คณะกรรมการตรวจสอบผลกระทบและเฝ้าระวัง จำนวน 36 คน ทัง้ นีค้ ณะกรรมการอำนวยการมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ (1) พิจารณากำหนดแผนปฏิบตั กิ าร วิธกี ารดำเนินงาน และการกำกับ ดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม (2) พิจารณาแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อม สุขภาพอนามัย ทีเ่ กิดจากเหมืองแร่ทองคำ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดเลย (3) ให้คำปรึกษา ความเห็น และข้อเสนอแนะในการปฏิบตั งิ านแก่คณะกรรมการกองเลขานุการและ คณะกรรมการปฏิบัติการ (4) ส่งเสริม สนับสนุน และเผยแพร่ ความรู้ ความเข้าใจในเรือ่ งการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม และสุขภาพอนามัย (5) ส่งเสริม และสนับสนุนให้คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ดำเนินการให้สอดคล้องกับแผนงาน (6) แต่งตัง้ คณะทำงานตามทีเ่ ห็นสมควร เพือ่ ปฏิบตั งิ านในหน้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย สำหรับคณะทำงานชุดอืน่ ๆ มีหน้าทีป่ ระสานงาน จัดประชุม ประชาสัมพันธ์ ติดตามตรวจสอบ กำกับดูแลผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม การประเมินผลวิเคราะห์และรายงานผลการปฏิบตั งิ านต่อคณะกรรมการทัง้ หมดกรณีทต่ี รวจสอบว่า มีการกระทำ ซึง่ อาจละเมิดหรือผิดกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องให้รบี รายงานต่อคณะกรรมการอำนวยการและสัง่ การโดยเร่งด่วน และปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการอำนวยการ เมือ่ เดือนพฤษภาคม 2550 ผูแ้ ทนจากสำนักงานอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่เขต 2 อุดรธานี และผูแ้ ทนจากกรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ ได้เข้าตรวจสอบพืน้ ทีก่ ารทำเหมืองและการประกอบ โลหกรรมของบริษทั ฯ ปรากฏผลการตรวจสอบ ดังนี้ 1) การจัดการสารมลพิษและสิง่ ปนเปือ้ นจากบรรจุภณ ั ฑ์ไซยาไนด์ทใ่ี ช้แล้ว ยังไม่มกี ารจัดการทีถ่ กู ต้อง ตามหลักสุขอนามัยและความปลอดภัย 2) พืน้ ทีส่ ำหรับเก็บกองเปลือกดินทีเ่ กิดจากการทำเหมืองของชัน้ แร่ทรานซิชน่ั และซัลไฟด์ยงั ไม่มี การดำเนินการจัดทำให้ถกู ต้อง ตามแผนผังโครงการทำเหมือง เช่น ยังไม่มกี ารบดอัดดินเหนียวรองพืน้ และ ปูทบั ด้วยหินปูนขนาดสองนิว้ ความหนา 50 เซนติเมตร โดยตลอดพืน้ ทีเ่ ก็บกอง ไม่ยมีการจัดทำคูระบายน้ำ ล้อมรอบพืน้ ทีเ่ ก็บกอง และบ่อรับน้ำทีเ่ กิดจากการชะล้างของเปลือกดินยังไม่มกี ารจัดสร้างเป็นบ่อคอนกรีต 3) การก่อสร้างเพือ่ ยกระดับสันเขือ่ นทางทิศตะวันออกในบริเวณบ่อกักเก็บกากแร่จากการประกอบ โลหกรรมตามทีไ่ ด้ขอรับการพิจารณาเพือ่ ดำเนินการจัดสร้าง จากการตรวจสอบสภาพสันเขือ่ น พบว่า ไม่ สอดคล้องตามรายงาน EIA โดยวัสดุทใ่ี ช้เป็นดินเหนียวทัง้ หมด สันเขือ่ นมีการบดอัดดินเหนียว มีความกว้าง ประมาณ 50 เมตร 4) ให้ผปู้ ระกอบการแสดงผลการประเมินและคำนวณปริมาณน้ำฝนบริเวณทิศตะวันตกของบ่อกักเก็บ กากแร่ พร้อมทัง้ กำหนดระยะรองรับน้ำทีป่ ลอดภัย (Free Board) จากการกัดเซาะพังทลายและให้ปรับปรุง ทางเบี่ยงระบายน้ำจากบริเวณทิศตะวันตกของพื้นที่บ่อกักเก็บกากแร่ไปยังบ่อรับน้ำตามธรรมชาติและ ดำเนินการป้องกันการกัดเซาะของบริเวณดังกล่าว โดยใช้หนิ ทิง้ (Rip Rap) 5) ให้ผู้ประกอบการปรับปรุงทางเบี่ยงระบายน้ำโดยรอบบ่อเก็บกักกากแร่ ตามที่เสนอในแผนผัง โครงการฯ และมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อม
53
6) สภาพถังละลายไซยาไนด์และถังบำบัดไซยาไนด์จากการผลิตมีการไหลล้นของ Slurry ดังนัน้ จึง ให้ผปู้ ระกอบการเร่งปรับปรุงระบบท่อส่งน้ำให้มปี ระสิทธิภาพและระมัดระวังไม่ให้เกิดการไหลล้น 7) ระบบบำบัดน้ำเสียหลักมีเพียง 6 บ่อ แต่ในรายงาน EIA กำหนดให้มี 8 บ่อ 8) ให้ผปู้ ระกอบการดำเนินการจัดสร้างคูระบายน้ำโดยรอบโรงประกอบโลหกรรมตามเงือ่ นไขแนบท้าย ใบอนุญาต 9) ให้ผปู้ ระกอบการดำเนินการบดอัดและปูพน้ื พืน้ ทีเ่ ก็บกองสินแร่ปอ้ นก่อนเข้าสูก่ ระบวนการผลิต ด้วยวัสดุกนั ซึม ประเภท Impervious Clay รวมทัง้ สร้างทางเบีย่ งระบายน้ำออกไปสูร่ ะบบบำบัดน้ำเสียหลัก 10) ให้ผปู้ ระกอบการปรับปรุงระบบระบายน้ำจากหน้าเหมืองและสร้างบ่อกักเก็บน้ำจากการชะล้าง หน้าดินบริเวณหน้าเหมือง Sedimentation pond ให้เป็นไปตามแผนผังโครงการฯ และมาตรการในรายงาน EIA 11) ความเข้มข้นไซยาไนด์ทป่ี ล่อยออกจาก detoxification tank มีคา่ สูงเกินเกณฑ์กำหนดเนือ่ งจาก องค์ประกอบของสินแร่ปอ้ นและอัตราการป้อนสูงกว่าทีเ่ สนอไว้ในแผนผังโครงการทำเหมือง ทำให้ตอ้ งเพิม่ ปริมาณไซยาไนด์ทใ่ี ช้ในการละลายทองคำมากกว่าทีเ่ สนอไว้ ทำให้เกินความสามารถของระบบบำบัด 12) การปิดคลุมด้านข้างของบ่อกักเก็บน้ำทิง้ Tailing Dam โดยใช้พลาสติก HDPE พบว่าในส่วนที่ เชือ่ มต่อระหว่างแผ่นพลาสติก มีการเชือ่ มต่อไม่สนิทซึง่ อาจทำให้สารไซยาไนด์ทเ่ี กิดจาก การจัดเก็บรัว่ ไหล ออกนอกบ่อเก็บกักกากแร่ได้ 13) การหารือในประเด็นการตรวจสอบปริมาณไซยาไนด์ ตามทีก่ ำหนดโดยมาตรการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิง่ แวดล้อมไม่ให้เกิน 2 มก./ล. นัน้ ควรเป็น free cyanide หรือ total cyanide ซึง่ เจ้าหน้าทีเ่ ห็นว่า ปริมาณไซยาไนด์ดงั กล่าว ควรเป็นค่า total cyanide จึงให้ผปู้ ระกอบการตรวจวัดปริมาณไซยาไนด์ โดยใช้คา่ total cyanide ทัง้ นีใ้ ห้ผปู้ ระกอบการควบคุมปริมาณไซยาไนด์ให้อยูใ่ นเกณฑ์ทก่ี ำหนด หากมีขอ้ ขัดแย้งอืน่ ใด ให้สอบถามไปยังสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม คณะทำงานของ กพร. ได้มขี อ้ เสนอแนะในการแก้ไขปัญหาประเด็นต่างๆ ทัง้ 13 ข้อข้างต้น ทำให้ การติดตามตรวจสอบการดำเนินงานเหมืองแร่ทองคำของคณะกรรมการทัง้ 3 ชุด ได้เข้าร่วมตรวจสอบอย่าง สม่ำเสมอเพือ่ ให้บริษทั ฯ ดำเนินการแก้ไขปัญหาตามข้อเสนอแนะทัง้ 13 ข้อ จนเกิดเป็นการมีสว่ นร่วมของ แต่ละภาคส่วนในการติดตามตรวจสอบโครงการพัฒนาเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อนามัยของประชาชนทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ที่ ซึง่ บริษทั ฯ ได้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ตามทีห่ น่วยงาน และคณะกรรมการฯ เสนอแนะ นอกจากนีก้ ารติดตามตรวจสอบตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิง่ แวดล้อมตามรายงาน EIA โดย third party ก็สรุปผลการติดตามตรวจสอบฯ ได้วา่ คุณภาพน้ำผิวดิน น้ำใต้ดนิ อากาศ เสียงและความ สัน่ สะเทือน อยูใ่ นเกณฑ์ทก่ี ำหนดไว้
54
3.2 การจัดการมลพิษ เพือ่ กูว้ กิ ฤติหว้ ยหลวง 3.2.1 ความสำคัญของปัญหา ห้วยหลวง เป็นลำน้ำสายหนึง่ ทีเ่ กิดเหตุการณ์มลพิษทางน้ำขึน้ บ่อยครัง้ เนือ่ งจากเป็นลำน้ำที่ ไหลผ่านพืน้ ทีช่ มุ ชนเมืองหลายแห่ง โดยเฉพาะชุมชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ซึง่ เป็นแหล่งชุมชน ขนาดใหญ่จงึ มีกจิ กรรมและแหล่งกำเนิดมลพิษทางน้ำเป็นจำนวนมากตามไปด้วย กอรปกับเทศบาลนครอุดรธานี ซึง่ เป็นชุมชนเมืองขนาดใหญ่แต่ยงั ไม่มรี ะบบบำบัดน้ำเสียรวมของเมือง น้ำเสียซึง่ ถูกปล่อยจากสถานประกอบ การประเภทต่างๆ ได้แก่ โรงแรม โรงพยาบาล สถาบันการศึกษา อาคารทีท่ ำการ ของรัฐ / รัฐวิสาหกิจ ศูนย์การค้า / ห้างสรรพสินค้า ภัตตาคาร / ร้านอาหาร ตลาดสด / ตลาดโต้รงุ่ สถานบริการ โรงฆ่าสัตว์ และฟาร์มเลี้ยงสัตว์ประเภทต่างๆ ซึ่งสถานประกอบการเหล่านี้ จัดเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษตามประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่กำหนดให้ต้องถูกควบคุมการปล่อยน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำ สาธารณะหรือออกสูส่ ง่ิ แวดล้อม นอกจากนีบ้ ริเวณต้นน้ำยังมีโรงงานอุตสาหกรรมและฟาร์มปศุสตั ว์ ซึง่ ปล่อย น้ำเสียลงสูล่ ำน้ำห้วยหลวงเช่นกัน ทำให้ชมุ ชนทีใ่ ช้นำ้ ในลำห้วยหลวงหลายชุมชน ได้รบั ผลกระทบจนไม่ สามารถนำน้ำดิบไปใช้ผลิตน้ำประปาได้ โดยเฉพาะ อำเภอพิบลู ย์รกั ษ์ จังหวัดอุดรธานี ซึง่ เป็นพืน้ ทีต่ อนล่าง หลังจากลำห้วยไหลผ่านเทศบาลนครอุดรธานีไปแล้ว เคยพบปรากฏการณ์สาหร่ายบลูม (Algal bloom) จนไม่ สามารถใช้นำ้ ผลิตประปาได้ นอกจากนัน้ ยังพบว่า มีปลาตายในลำน้ำสาขาของห้วยหลวงเนือ่ งจากการขาด ออกซิเจนในหลายพืน้ ที่ ซึง่ แสดงให้เห็นว่าน้ำเสีย จากชุมชนส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้ำในลำน้ำห้วยหลวง การดำเนินงานในพืน้ ทีท่ ผ่ี า่ นมาตัง้ แต่ ปี 2547 - 2550 พบสภาพปัญหาทัว่ ไป พอสรุปได้ดงั นี้ 1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีม่ แี หล่งกำเนิดมลพิษในพืน้ ทีข่ องตนเองส่วนใหญ่ ยังไม่ได้ วางแผนการจัดการกับปัญหาการปล่อยของเสียจากแหล่งกำเนิดมลพิษออกสู่สิ่งแวดล้อม 2) การสำรวจข้อมูลแหล่งกำเนิดมลพิษในพื้นที่ยังไม่ครอบคลุมเนื่องจากผู้ประกอบการ บางแห่งไม่ให้ความร่วมมือ และขาดงบประมาณในการดำเนินงานให้ครอบคลุมตลอดทัง้ ลุม่ น้ำ 3) ผลการเฝ้าระวังและติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำในลำน้ำห้วยหลวงโดยสำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9 (สสภ.9) ในปี 2549-2550 พบว่า คุณภาพน้ำในลำน้ำห้วยหลวงอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพน้ำผิวดิน ระดับเสื่อมโทรมถึงเสื่อมโทรมมาก เนื่องจากมีทั้งชุมชนและแหล่งกำเนิดมลพิษ ตัง้ กระจายอยูต่ ลอดลำน้ำห้วยหลวงและลำน้ำสาขา ซึง่ ทุกท้องถิน่ ในจังหวัดอุดรธานียงั ไม่มรี ะบบบำบัดน้ำเสีย ของชุมชน จึงทำให้น้ำเสียจากชุมชนถูกปล่อยลงสู่ลำน้ำห้วยหลวง ทำให้คุณภาพน้ำในลำน้ำห้วยหลวง ในปัจจุบนั ยังอยูใ่ นภาวะเสือ่ มโทรมถึงเสือ่ มโทรมมาก 4) ขาดการบูรณาการแผนการจัดการสิง่ แวดล้อมของชุมชนในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำ โดยแต่ละท้องถิน่ ดำเนินการตามแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง ซึ่งในการพัฒนาบางโครงการส่งผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม กับพื้นที่ข้างเคียง ดังนัน้ หากปล่อยให้ลำน้ำห้วยหลวงอยูใ่ นสภาพนีต้ อ่ ไป ในอนาคตอันใกล้ จังหวัดอุดรธานี จะได้รบั ผลกระทบจากภาวะเสือ่ มโทรมของลำน้ำห้วยหลวงรุนแรงยิง่ ขึน้ จึงมีความจำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องหา แนวทางป้องกันและฟืน้ ฟู ตลอดจนมีการกำหนดแนวทางในการใช้ประโยชน์จากลำน้ำนี้ ให้มคี วามสอดคล้อง กับศักยภาพของทรัพยากรทีม่ อี ยู่ โดยให้แหล่งน้ำสามารถฟอกตัวเองได้ (self purification) ตลอดจนไม่ปล่อย
55
ของเสียลงสูล่ ำน้ำจนเกินขีดความสามารถในการรองรับได้ (carrying capacity) ของระบบนิเวศ ในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำ 3.2.2 สภาพทัว่ ไปของพืน้ ที่ ลำน้ำห้วยหลวง มีตน้ น้ำเกิดจากเทือกเขาภูพานในเขตอำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี ประกอบด้วย ห้วยโขง ห้วยตาลเหีย้ ม ห้วยดำป่า ไหลรวมตัวกันเป็นห้วยหลวง น้ำไหลจากทิศใต้ไปทิศเหนือ ผ่านอำเภอหนองวัวซอ จนถึงบ้านหัวบัวในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี แล้วเบนออกไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ซึง่ เป็นบริเวณทีม่ ฝี ายทดน้ำชลประทานส่ง น้ำผ่านที่ราบในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี ห้วยหลวง ไหลผ่านด้านทิศเหนือของตัวเมืองอุดรธานี จากนั้น ทิศทางน้ำไหลเปลี่ยนไปทางด้านทิศตะวันออกจนถึง บ้านหว้าน้อยแล้วจึงไหลไปทางทิศเหนือ รวมกับ ลำห้วยสาขา ได้แก่ ห้วยหมากแข้ง ซึ่งไหลผ่าน เทศบาลนครอุดรธานี และห้วยดานหรือห้วยบง ซึง่ ไหล ผ่านเทศบาลตำบลหนองสำโรงไหลมารวมกัน เป็น รูปที่ 3.3 แสดงสภาพทัว่ ไปและการใช้ประโยชน์ ห้วยเล็กๆ ที่ชาวบ้านเรียกว่า ห้วยอิฐ ชาวบ้าน ในลำน้ำห้วยหลวง (1) บางคนยังคงเรียกว่า ห้วยหมากแข้ง แล้วไหลต่อไป รวมกับพืน้ ทีร่ องรับน้ำอืน่ ๆ จนมีขนาดกว้างขึน้ และ ไหลลงสู่ลำห้วยหลวงบริเวณบ้านนาหยาด ไปยัง อำเภอพิ บ ู ล ย์ ร ั ก ษ์ และอำเภอสร้ า งคอมรวมกั บ ห้วยเสียว ห้วยบ่อ และห้วยเจียม ไหลผ่านที่ราบ ทำให้เกิดหนองน้ำขนาดใหญ่หลายแห่งและไหลไป รวมกั บ แม่ น ้ ำ โขงที ่ บ ้ า นวั ด หลวง ตำบลจุ ม พล อำเภอโพนพิสยั จังหวัดหนองคาย มีความยาวตลอด ลำน้ำกว่า 100 กิโลเมตร ดังนัน้ ห้วยหลวง จึงเป็น รูปที่ 3.4 แสดงสภาพทัว่ ไปและการใช้ประโยชน์ ลำน้ำสายสำคัญที่หล่อเลี้ยงชุมชนหลายแห่งที่ใช้น้ำ ในลำน้ำห้วยหลวง (2) จากลำน้ำสายนี้ เพือ่ การอุปโภค และบริโภค (รูปที่ 3.3, 3.4 และ 3.5)
56
รูปที่ 3.5 แสดงสภาพทัว่ ไปและการใช้ประโยชน์ ในลำน้ำห้วยหลวง (3)
รูปที่ 3.6 แสดงแผนทีแ่ สดงตำแหน่งลุม่ น้ำห้วยหลวงตลอดทัง้ ลุม่ น้ำ ที่มา: กรมพัฒนาทีด่ นิ , 2546
57
3.2.3 สถานการณ์มลพิษทางน้ำทีส่ ำคัญในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำห้วยหลวง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน พบว่า มีเหตุการณ์มลพิษทางน้ำในลำน้ำ ห้วยหลวงและลำน้ำสาขา ซึง่ สสภ.9 ได้รว่ มติดตาม ตรวจสอบหลายครัง้ ดังตารางข้างล่างนี้ ตารางที่ 3.1 สรุปสถานการณ์มลพิษทางน้ำทีส่ ำคัญในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำห้วยหลวง
ช่วงเวลา
สถานการณ์
สถานที่
มกราคม 2547 พบปรากฏการณ์สาหร่ายบลูม (Algal bloom) ซึ่งเป็นพื้นที่ พืน้ ที่ อบต.บ้านแดง อ.พิบลู ย์รกั ษ์ ตอนล่างของลำน้ำ จนไม่สามารถใช้นำ้ ดิบไปผลิตเป็นน้ำประปา จ.อุดรธานี ได้ สาเหตุสำคัญเนือ่ งมาจากการระบายน้ำเสียจากโครงการ ก่อสร้างทางระบายน้ำ เพือ่ ป้องกันปัญหาน้ำท่วมของเทศบาล นครอุดรธานี ซึง่ เป็นงานก่อสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กดาดขอบ ทางน้ำของห้วยหมากแข้งและห้วยบงทีไ่ หลผ่านเขตเทศบาลนคร โดยขณะก่อสร้างจะมีการกัน้ น้ำและระบายน้ำ ออกเป็นระยะๆ ทำให้นำ้ ทีร่ ะบายจากห้วยหมากแข้งลงสู่ ลำห้วยหลวง มีความ สกปรกและมีปริมาณมากเกินความสามารถในการรองรับความ สกปรกของแหล่งน้ำได้(เกิน carrying capacity) ซึง่ ในช่วงเวลา ทีม่ กี ารระบายน้ำออกไปสูล่ ำห้วยหลวงทำให้สภาพน้ำมีสคี ล้ำ ดำ และมีปลาทีม่ อี ยูใ่ นธรรมชาติตายเป็นจำนวนมาก ปริมาณ สารอาหารหรือความสกปรกทีเ่ จือปนสูงจากชุมชน และอาหาร ทีใ่ ช้ในการเลีย้ งปลาในกระชังตลอดลำน้ำห้วยหลวง อาจจะเป็น สาเหตุหนึง่ ทีท่ ำให้สาหร่ายมีการเจริญเติบโตผิดปกติ
มีนาคม 2547 ปลาในธรรมชาติและปลาทีเ่ ลีย้ งในกระชังตายเป็นจำนวนมาก หมูท่ ่ี 1 ต.นาคำ อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี ราษฎรผูเ้ ลีย้ งปลาในกระชังได้กล่าวหาว่าปลาทีต่ ายเกิดจากการ ใช้สารป้องกันและปราบศัตรูพชื ในไร่แตงโม ประมาณ 200 ไร่ บริเวณต้นน้ำห่างจากจุดทีเ่ ลีย้ งปลาในกระชังประมาณ 300 เมตร แต่จากการตรวจสอบและเก็บตัวอย่างน้ำส่งไปยังห้องปฏิบตั กิ าร ของกรมควบคุมมลพิษ เพือ่ ตรวจวิเคราะห์หาปริมาณสารเคมี กำจัดศัตรูพชื กลุม่ Organochlorine ยังพบว่า มีคา่ อยูใ่ นระดับ ทีต่ ำ่ กว่ามาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดินและต่ำกว่าค่า LC50 หรือ Lethal concentration (ความเข้มข้นของสารพิษที่ สัตว์ทดลองได้รบั และตายจำนวนร้อยละ 50) สาเหตุสำคัญที่ ทำให้ ป ลาตายเกิ ด จากการขาดออกซิ เ จน เนื ่ อ งจากค่ า ออกซิเจนทีล่ ะลายน้ำ (DO) มีคา่ ต่ำมากคืออยูใ่ นช่วง 0.8-1.3 มิลลิกรัมต่อลิตร
58
เป็นพืน้ ทีต่ อนล่างของลำน้ำห้วยหลวง ที่รับน้ำจาก เทศบาลนครอุดรธานี และอำเภอพิบลู ย์รกั ษ์ไหลลงสูพ่ น้ื ที่ เกิดเหตุ
ตารางที่ 3.1 สรุปสถานการณ์มลพิษทางน้ำทีส่ ำคัญในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำห้วยหลวง (ต่อ)
ช่วงเวลา
สถานการณ์
สถานที่
พฤศจิกายน มีสารปนเปือ้ นในลำห้วยเชียงลวงซึง่ เป็นลำน้ำสาขาของห้วยหลวง พืน้ ทีต่ ำบลหนองนาคำ จากการตรวจสอบ พบว่าน้ำในลำห้วยได้รบั ผลกระทบจากการ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 2547 ปล่อยน้ำทิ้งจากโรงฆ่าสัตว์ของเทศบาลนครอุดรธานี จาก ผลการตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำพบว่าคุณภาพน้ำอยูใ่ นเกณฑ์ เสื่อมโทรมมาก มีค่า DO ต่ำกว่ามาตรฐาน ส่วนค่า BOD, โคลิฟอร์มแบคทีเรียและฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรียเกินมาตรฐาน
กุมภาพันธ์ 2550
เกิดเหตุการณ์ปลาตามธรรมชาติในลำห้วยดาน ตายเป็นจำนวน มากโดยเฉพาะบริเวณสะพานในเขตเทศบาลฯ สภาพของ ลำห้วยดานในช่วงทีไ่ หลผ่านเทศบาลตำบลหนองสำโรง มีการ ก่อสร้างผนังคลองดาดคอนกรีตตลอดความยาวของคลอง เป็น ระยะทางประมาณ 6.6 ก.ม. และมีการเชือ่ มต่อท่อระบายน้ำทิง้ จากบ้านเรือนในเขตเทศบาลฯ เป็นระยะๆ รวมทัง้ เป็นแหล่ง รองรับน้ำเสียทีร่ ะบายมาจากเขตเทศบาลนครอุดรธานี ลักษณะ ของน้ำในลำห้วยดาน น้ำมีสเี ขียวคล้ำ ไหลช้า จากการสังเกต บริเวณสะพานพบว่า คานใต้สะพานมีการปิดกัน้ การไหลของน้ำ ทำให้นำ้ ไหลไม่สะดวกและอาจเกิดการตกสะสมของตะกอนท้องน้ำ จากน้ำเสียชุมชนบริเวณหน้าสะพาน ทำให้เกิดการย่อยสลาย แบบไม่ใช้ออกซิเจนและปล่อยก๊าซทีเ่ ป็นอันตรายต่อสิง่ มีชวี ติ ในน้ำ จากผลการตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำภาคสนาม พบว่าบริเวณ สะพานในเขตเทศบาลฯ ทีม่ ปี ลาตาย มีคา่ DO ต่ำมากเท่ากับ 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร บริเวณหลังประตูระบายน้ำเสียออกจาก เขตเทศบาลนครอุดรธานี มีคา่ DO เท่ากับ 0.03 มิลลิกรัมต่อลิตร คุณภาพน้ำบริเวณก่อนทีน่ ำ้ เสียจะไหลมารวมกับน้ำตามธรรมชาติ ในลำห้วยมีคา่ DO เท่ากับ 9.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่วนจุดอืน่ ๆ อีก 3 จุด มีคา่ DO อยูใ่ นช่วง 3.6 - 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
หมูท่ ่ี 1 ต.นาคำ อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี เป็นพืน้ ทีต่ อนล่างของลำน้ำห้วยหลวง ที่รับน้ำจาก เทศบาลนครอุดรธานี และอำเภอพิบลู ย์รกั ษ์ไหลลงสูพ่ น้ื ที่ เกิดเหตุ
18 กรกฎาคม เกิดเหตุการณ์ปลาในลำห้วยดานในบริเวณเดิมตายและลอยหัว เขตเทศบาลตำบลหนองสำโรง ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง จากการตรวจสอบสภาพพื้นที่ พบว่าทิศทาง อ.เมือง จ.อุดรธานี 2550 การไหลของน้ำเสียมาจากเขตเทศบาลนครอุดรธานี ซึง่ มีทาง น้ำไหลเชือ่ มต่อกับลำห้วยดานในเขต เทศบาลตำบลหนองสำโรง
59
3.2.4 การจัดการสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำห้วยหลวง จากสถานการณ์มลพิษสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ ในลำน้ำห้วยหลวงและลำน้ำสาขา ตัง้ แต่ปี 2547 เป็นต้นมา สสภ.9 ได้ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานทุกภาคส่วน ได้แก่ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมจังหวัดอุดรธานี (ทส.จ.อุดรธานี) สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 3 (ลุม่ น้ำโขง) มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี (อบจ.อุดรธานี) สำนักงานท้องถิ่นจังหวัดอุดรธานี สำนักงานประมงจังหวัดอุดรธานี เป็นต้น เพื่อร่วมกันวางแผนแก้ไขปัญหาและฟื้นฟูอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของลำน้ำห้วยหลวงและลำน้ำสาขาที่กำลังเข้าสู่ภาวะวิกฤติ โดยประสานความ ร่วมมือในการจัดสรรงบประมาณการศึกษาทางวิชาการในการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำรวมถึงการกำหนด แผนปฏิบตั กิ าร ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้ 1) การสำรวจแหล่งกำเนิดมลพิษ เพื่อให้ทราบถึงแหล่งกำเนิดมลพิษทางน้ำที่สำคัญในพื้นที่ลำน้ำห้วยหลวง สสภ.9 ร่วมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ได้ทำการสำรวจแหล่งกำเนิดมลพิษทีส่ ำคัญในพืน้ ที่ ในช่วงปี พ.ศ.2548 - 2549 ประเภทฟาร์มสุกร ฟาร์มโคนม และอาคารประเภท ก ครอบคลุมพืน้ ที่ 9 อำเภอของจังหวัดอุดรธานีทอ่ี ยูใ่ น พืน้ ทีล่ มุ่ น้ำห้วยหลวงประกอบด้วย อำเภอเมือง หนองหาน กุดจับ หนองวัวซอ ไชยวาน เพ็ญ พิบลู ย์รกั ษ์ ทุ่งฝน และ บ้านผือ จากการสำรวจสถานประกอบการ พบว่าประเภทการประกอบการที่พบมากที่สุด ในลุม่ น้ำห้วยหลวง คือ การประกอบกิจการประเภทฟาร์ม คิดเป็นร้อยละ 51.75 ของจำนวนสถานประกอบการ ทัง้ หมด รองลงมา คือ ประกอบกิจการโรงเรียน/วิทยาลัย เป็นร้อยละ 10.53 การประกอบกิจการโรงพยาบาลและ ร้านอาหาร เป็นร้อยละ 8.77 การประกอบกิจการศูนย์การค้า เป็นร้อยละ 6.14 และ การประกอบกิจการตลาด เป็นร้อยละ 5.26 เป็นต้น โดยสัดส่วนของประเภทสถานประกอบการแสดงดังรูปที่ 3.7 สำนักงาน 0.88% แมนชัน่ /อพาร์ทเมนท์/โรงแรม 7.89% ศูนย์การค้า 6.14% ร้านอาหาร 8.77%
โรงเรียน/วิทยาลัย 10.53% โรงพยาบาล 8.77% ฟาร์ม 51.75%
ตลาด 5.26% รูปที่ 3.7 แสดงประเภทของการประกอบกิจการของสถานประกอบการ
60
แผนทีแ่ สดงตำแหน่งทีต่ ง้ั แหล่งกำเนิดมลพิษทางน้ำทีส่ ำคัญในพืน้ ที่ ได้แก่ m ฟาร์มสุกร m ตลาดสด m โรงแรม/ หอพัก m อาคารสำนักงาน m โรงเรียน
รูปที่ 3.8 แสดงแผนทีแ่ สดงตำแหน่งกำเนิดมลพิษทางน้ำทีส่ ำคัญในพืน้ ที่
61
รูปที่ 3.9 แสดงแผนทีแ่ สดงตำแหน่งกำเนิดมลพิษทางน้ำทีส่ ำคัญในพืน้ ทีป่ ระเภทโรงงาน
62
2) การติดตามตรวจสอบ คุณภาพน้ำในลำน้ำห้วยหลวง ในปี พ.ศ.2549 สสภ.9 ได้ดำเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำในลำน้ำห้วยหลวง ตัง้ แต่ บริเวณต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ จำนวน 2 ครัง้ ๆละ 9 สถานี พบว่า คุณภาพน้ำโดยเฉลีย่ อยูใ่ นมาตรฐานคุณภาพ แหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 4 (เสือ่ มโทรม) มีเพียงสถานีเดียวทีม่ คี ณ ุ ภาพอยูใ่ นมาตรฐานคุณภาพแหล่งน้ำ ประเภทที่ 3 (พอใช้) คือ สถานีเก็บตัวอย่างบริเวณสะพานบ้านหัวขัว ตำบลเมืองเพีย อำเภอกุดจับ จังหวัด อุดรธานี ดังแสดงในรูปที่ 3.10
รูปที่ 3.10 แสดงคุณภาพน้ำ ในลำน้ำห้วยหลวงแต่ละสถานีตรวจวัด ปี 2549 ส่วนในปีงบประมาณ 2550 สสภ.9 ได้ดำเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ จำนวน 3 ครัง้ ในเดือนธันวาคม 2549 เดือนมีนาคมและเดือนสิงหาคม 2550 โดยกำหนดจุดเก็บตัวอย่างน้ำ 3 สถานี คือ สถานีท่ี 1 บริเวณสะพานบ้านหัวขัว อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี สถานีท่ี 2 บริเวณสะพานบ้านสามพร้าว อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี สถานีท่ี 3 บริเวณหน้าประตูระบายน้ำ บ้านดอนดง ตำบลวัดหลวง อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย ดังแสดงในรูปที่ 3.11 ถึง 3.13
รูปที่ 3.11 แสดงคุณภาพน้ำ ในลำน้ำห้วยหลวงแต่ละสถานีตรวจวัด ครัง้ ที่ 1 ปี 2550 (เดือนธันวาคม 2549)
63
รูปที่ 3.12 แสดงคุณภาพน้ำ ในลำน้ำห้วยหลวงแต่ละสถานีตรวจวัด ครัง้ ที่ 2 ปี 2550 (เดือนมีนาคม 2550) ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำใน ลำน้ำห้วยหลวง ครั้งที่ 1 เมื่อเดือนธันวาคม 2549 พบว่าคุณภาพน้ำอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 3 (พอใช้) จำนวน 2 สถานี คือบริเวณต้นน้ำ และท้ายน้ำ ส่วนบริเวณทีไ่ หลผ่านเขตอำเภอเมืองอุดรธานีจดั อยูใ่ นประเภทที่ 4 (เสือ่ มโทรม) ดังแสดงใน รูปที่ 3.11 ส่วนครัง้ ที่ 2 เมือ่ เดือนมีนาคม 2550 ซึง่ เป็นช่วงฤดูแล้ง พบว่าคุณภาพน้ำทัง้ 3 สถานีอยูใ่ น เกณฑ์มาตรฐาน แหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 4 และ 5 (เสือ่ มโทรมถึงเสือ่ มโทรมมาก) ดังแสดงในรูปที่ 3.12 เนือ่ งจากมีการปนเปือ้ นของแบคทีเรียกลุม่ โคลิฟอร์มทัง้ หมดและแบคทีเรียกลุม่ ฟีคอลโคลิฟอร์มในปริมาณ สูงเกินมาตรฐาน
รูปที่ 3.13 แสดงคุณภาพน้ำ ในลำน้ำห้วยหลวงแต่ละสถานีตรวจวัด ครัง้ ที่ 3 ปี 2550 (เดือนสิงหาคม 2550) ส่วนผลการตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำในครัง้ ที่ 3 ในช่วงฤดูฝนเมือ่ เดือนสิงหาคม 2550 พบว่า สถานีท่ี 1 และ 2 คุณภาพน้ำอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 4 (เสือ่ มโทรม) เนือ่ งจากมี การปนเปือ้ นของแบคทีเรียกลุม่ โคลิฟอร์มทัง้ หมดและแบคทีเรียกลุม่ ฟีคอลโคลิฟอร์มในปริมาณสูงเกินมาตรฐาน เช่นเดียวกับครัง้ ที่ 2 ส่วนสถานีทา้ ยน้ำอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐานแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 3 (พอใช้) ซึง่ จุดนี้ มีนำ้ โขงหนุนสูงขึน้ มาในขณะทีเ่ ก็บตัวอย่าง ดังแสดงในรูปที่ 3.13
64
3) การดำเนินงานโครงการเสริมสร้างศักยภาพในการจัดการสิ่งแวดล้อมของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำห้วยหลวง จังหวัดอุดรธานี ในปีงบประมาณ 2550 สสภ.9 ร่วมกับ ทส.จ.อุดรธานี ได้จัดทำ โครงการเสริมสร้าง ศักยภาพในการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยหลวง จังหวัดอุดรธานี โดยได้รบั การสนับสนุนงบประมาณดำเนินการส่วนหนึง่ จาก อบจ.อุดรธานี เป็นเงิน 367,300 บาท (สามแสนหกหมื่นเจ็ดพันสามร้อยบาทถ้วน) มี วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่กลุม่ เป้าหมายต่างๆ และสร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนใน จังหวัดอุดรธานีในการฟืน้ ฟู และอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ตลอดจนเพือ่ สร้างเครือข่าย เฝ้าระวังคุณภาพสิง่ แวดล้อม ในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำห้วยหลวง ซึง่ ได้รบั ความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัดอุดรธานี ทัง้ ภาครัฐ องค์กรเอกชน และภาคประชาชนเข้าร่วมเป็น คณะทำงานโครงการจำนวน 18 หน่วยงาน โดยมีพน้ื ทีเ่ ข้าร่วมโครงการและ ผลการดำเนินงาน ดังนี้ 3.1) พืน้ ทีด่ ำเนินงาน ปี 2550 ในปี พ.ศ.2550 มีพน้ื ทีด่ ำเนินงานนำร่อง จำนวน 6 อำเภอ 3 เทศบาล 12 อบต.ดังนี้ (1) อำเภอหนองวัวซอ จำนวน 1 พืน้ ที่ ได้แก่ อบต.น้ำพ่น (2) อำเภอกุดจับ จำนวน 1 พืน้ ที่ ได้แก่ อบต.กุดจับ (3) อำเภอเมือง จำนวน 8 พืน้ ที่ ได้แก่ เทศบาลนครอุดรธานี เทศบาลตำบล หนองสำโรง เทศบาลตำบลหนองบัว ได้แก่ อบต.เชียงยืน อบต.หมูมน่ อบต.กุดสระ อบต.สามพร้าว และอบต.บ้านเลือ่ ม (4) อำเภอพิบลู ย์รกั ษ์ จำนวน 1 พืน้ ที่ ได้แก่ อบต.บ้านแดง (5) อำเภอเพ็ญ จำนวน 2 พืน้ ที่ ได้แก่ อบต.เตาไห และ อบต.นาบัว (6) อำเภอสร้างคอม จำนวน 2 พืน้ ที่ ได้แก่ อบต.สร้างคอม และ อบต.หินโงม 3.2) สรุปผลการดำเนินงาน ได้ดำเนินกิจกรรมต่างๆ สามารถสรุปได้ ดังนี้ (1) การดำเนินงานของคณะทำงาน (1.1) จัดประชุมคณะทำงาน เพือ่ กำหนดรายละเอียดกิจกรรมการดำเนินงาน การ คัดเลือกพืน้ ทีน่ ำร่องในการดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงาน จำนวน 3 ครัง้ (1.2) คณะทำงานร่วมสำรวจและคัดเลือกพืน้ ทีใ่ นการจัดตัง้ วังปลา 1 ครัง้ (1.3) เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ข้อคิดเห็นในหัวข้อ การจัดการมลพิษ เพือ่ กูว้ กิ ฤติหว้ ยหลวงร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในพืน้ ทีท่ เ่ี ข้าร่วมโครงการ (2) การสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังคุณภาพสิง่ แวดล้อม โดยการจัดอบรมแก่กลุม่ เป้าหมาย จำนวน 2 รุน่ ๆ ละ 80 คน รวม 160 คน ดังนี้ (2.1) เครือข่ายโรงเรียนรักษ์สง่ิ แวดล้อม โดยกลุม่ เป้าหมายประกอบด้วยคณะครู และนักเรียน ทีต่ ง้ั อยูใ่ กล้ลำน้ำห้วยหลวงจำนวน 6 โรงเรียน (2.2) เครือข่ายท้องถิน่ ทีม่ กี ารอนุรกั ษ์พนั ธ์สตั ว์นำ้ หรือมีแหล่งกำเนิดมลพิษ ในพืน้ ที่ หรือท้องถิน่ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากกิจกรรมต่างๆ ในพืน้ ที่ จำนวน 14 แห่ง โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร
65
ในหัวข้อ “การจัดการมลพิษเพือ่ กูว้ กิ ฤติหว้ ยหลวง” เพือ่ กระตุน้ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ได้ตระหนักถึง สถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยหลวงที่เข้าสู่ภาวะวิกฤติและร่วมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น ตลอดจนหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน กิจกรรมของเครือข่ายที่ร่วมโครงการ คือการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำอย่างง่ายในลำน้ำ ห้วยหลวง และนำเสนอผลการตรวจวิเคราะห์ผา่ นทางแผ่นป้ายแสดงคุณภาพน้ำ โดยใช้ สัญลักษณ์รปู ปลา แบบต่างๆ แสดงคุณภาพน้ำในแต่ละประเภท (3) การส่งเสริม สนับสนุนการติดตัง้ ถังดักไขมันในอาคาร บ้านเรือน ทีต่ ง้ั ริมฝัง่ ลำน้ำ โดยการจัดทำถังดักไขมันสาธิตทีม่ ตี น้ ทุนต่ำและแผ่นพับเรือ่ งบ่อดัก/ถังดักไขมัน เพือ่ แจกให้แก่ทอ้ งถิน่ ทีร่ ว่ ม โครงการ นำไปเป็นต้นแบบต่อไป (4) การจัดตัง้ วังปลาสาธิต เพือ่ สร้างจิตสำนึกในการอนุรกั ษ์แม่นำ้ ลำคลอง แก่ประชาชน โดยได้คดั เลือกพืน้ ทีจ่ ดั ตัง้ วังปลาทีบ่ า้ นสินเจริญ ตำบลเตาไห อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี (5) การรณรงค์เนือ่ งในวันสำคัญ ได้แก่ วันสิง่ แวดล้อมโลก ซึง่ ในปี 2550 ได้จดั เวที เสวนาในหัวข้อ “รักษ์สง่ิ แวดล้อม ถนอมห้วยหลวง เป็นห่วงโลกร้อน ลดทอนขยะพิษ ด้วยชีวติ พอเพียง” และจัดนิทรรศการวิกฤติห้วยหลวง (6) การจัดกิจกรรมสืบชะตาแม่นำ้ ในลำน้ำห้วยหลวง ในพืน้ ทีท่ บ่ี า้ นสินเจริญ ตำบลเตาไห อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี ซึง่ เป็นพืน้ ทีจ่ ดั ตัง้ วังปลา (7) การประชาสัมพันธ์ผา่ นสือ่ ต่างๆ ทัง้ ในรูปเอกสาร แผ่นพับ สถานีวทิ ยุกระจายเสียง และสถานีโทรทัศน์ 4) ข้อเสนอแนะ หน่วยงานต่างๆ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดอุดรธานีควรให้ความสำคัญและตระหนักถึงปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำห้วยหลวง และควรมีการวางแผนการดำเนินงานร่วมกันเพือ่ แก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม และ ต่อเนือ่ ง โดยกำหนดบทบาทในการแก้ไขปัญหาของแต่ละหน่วยงานทีช่ ดั เจนขึน้ ได้แก่ 4.1) สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอุดรธานี(ทส.จ.อุดรธานี) ควรเข้ามารับ บทบาทการเป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการคุณภาพสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำห้วยหลวงในระยะต่อๆ ไป 4.2) องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุดรธานี ควรให้การสนับสนุนกิจกรรม/โครงการทีพ่ น้ื ทีเ่ สนอ ของบประมาณหรือเป็นเจ้าภาพร่วมกับ ทส.จ.อุดรธานี 4.3) สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 3 (ลุม่ น้ำโขง) และสำนักงานชลประทานจังหวัดอุดรธานี ควร บูรณาการในการดูแลในเรื่องการบริหารจัดการน้ำในลุ่มน้ำห้วยหลวง โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในพืน้ ที่ 4.4) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ควรดูแลเรื่องจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ของตนเองในทุกด้าน (เน้นหนักในเรือ่ งคุณภาพน้ำ) ควบคุมกิจกรรมทีจ่ ะก่อให้เกิดมลพิษทางน้ำ ดังนี้ (1) การออกใบอนุญาตให้ตั้งสถานประกอบการที่มีน้ำเสียควรกำหนดให้ติดตั้งระบบ บำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสูส่ ง่ิ แวดล้อม
66
(2) กำหนดมาตรการในการติดตามตรวจสอบสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิด มลพิษอย่างต่อเนือ่ ง (3) มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดโดยเฉพาะแหล่งกำเนิดมลพิษสิง่ แวดล้อม (4) ควรมีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน ในกรณีทจ่ี ะออกใบอนุญาตประกอบกิจการ ทีเ่ ป็นอันตรายต่อสุขภาพและ/หรืออาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิง่ แวดล้อม (5) ส่งเสริม สนับสนุนผูป้ ระกอบการทีส่ ามารถดำเนินการตามข้อกำหนดมาตรฐานด้าน สิง่ แวดล้อม 4.5) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยหลวงแต่ละแห่ง ควรจัดทำฐานข้อมูล สิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีข่ องตนเอง เพือ่ นำไปใช้ประโยชน์ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิน่ ของตนเอง 4.6) ควรกำหนดเขตและจำนวนการเลี้ยงปลาในกระชังในพื้นที่ลำน้ำห้วยหลวงไม่ให้เกิน ศักยภาพในการรองรับได้ของลำน้ำ 4.7) ภาคประชาชน ควรเข้ามามีบทบาทในเรือ่ งการเป็นเครือข่ายการเฝ้าระวังและติดตาม ตรวจสอบคุณภาพสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีข่ องตนเองให้มากขึน้ 4.8) โรงเรียนรักษ์สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ริมลำน้ำห้วยหลวง ควรมีการขยายเครือข่ายให้ ครอบคลุมตลอดทัง้ ลุม่ น้ำ เพือ่ ร่วมเป็นเครือข่ายในการเฝ้าระวังและติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำและร่วม กิจกรรมด้าน สิ่งแวดล้อมอื่นๆ ซึ่งจะเป็นการปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมแก่ เยาวชนในพืน้ ที่ 4.9) สสภ.9 ควรให้การสนับสนุนการจัดทำแผนการจัดการคุณภาพสิง่ แวดล้อมเชิงพืน้ ที่ 5) แผนการดำเนินงานในระยะต่อไป 5.1) จัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ะหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในพืน้ ทีท่ เ่ี ข้าร่วมโครงการ กับพืน้ ทีอ่ น่ื ๆ ในลุม่ น้ำห้วยหลวงจังหวัดอุดรธานีและหนองคาย ในปีงบประมาณ 2551-2552 5.2) ขยายเครือข่ายการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในโรงเรียนที่ตั้งริมน้ำให้ครอบคลุมพื้นที่ตลอด ทัง้ ลำน้ำ ในปีงบประมาณ 2551 5.3) ผลักดันการดำเนินงานฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ลุม่ น้ำห้วยหลวงเข้าสูแ่ ผนปฏิบตั กิ ารจัดการคุณภาพสิง่ แวดล้อมในระดับจังหวัดให้ครอบคลุมตลอดทัง้ ลุม่ น้ำ (ทัง้ ในเขตพืน้ ทีจ่ งั หวัดอุดรธานีและจังหวัดหนองคาย) ภายในปีงบประมาณ 2552 5.4) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อสร้างความตระหนักและจิตสำนึกขยายไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อืน่ ๆ ในพืน้ ทีล่ มุ่ น้ำห้วยหลวงให้ครอบคลุมตลอดทัง้ ลุม่ น้ำภายในปี 2553 5.5) ส่งเสริม สนับสนุนและผลักดันท้องถิน่ ทีต่ ง้ั ริมน้ำให้จดั ทำแผนการจัดการน้ำเสียในพืน้ ที่ ครอบคลุมร้อยละ 50 ของท้องถิน่ ทัง้ หมดทีต่ ง้ั ริมน้ำห้วยหลวงภายในปี 2553
67
3.3 การตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำจากการประกอบกิจการเกลือสินเธาว์ การประกอบกิจการเกลือสินเธาว์พน้ื ทีร่ บั ผิดชอบของสำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9 (สสภ.9) อยู่ ในบริเวณพื้นที่คาบเกี่ยว 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอุดรธานี สกลนคร และ หนองคาย ซึ่งเป็นพื้นที่ ที่อยู่ในแอ่งสกลนคร มีการทำเกลือในเชิงพาณิชย์มาตั้งแต่ปี 2525 จนกระทั่งได้มีการประกาศพื้นที่ ทำเกลือสินเธาว์โดยมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ ปี 2534 การทำเกลือจึงได้มกี ารกำหนดมาตรการในการควบคุม กำกับดูแลเพือ่ ป้องกันปัญหาผลกระทบสิง่ แวดล้อม สำหรับพืน้ ทีผ่ ลิตเกลือสินเธาว์ในเขตรับผิดชอบของ สสภ.9 ทัง้ 3 จังหวัด พบว่ามีจำนวนผูไ้ ด้รบั อนุญาตทำเกลือสินเธาว์เพิม่ ขึน้ ทุกปี โดยในปี 2548 มีผไู้ ด้รบั อนุญาตจำนวน 100 ราย ส่วนในปี 2549 มีจำนวน ผูไ้ ด้รบั อนุญาตจำนวน 188 ราย (สำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9, 2549) ในปี 2550 พบว่ามีผปู้ ระกอบการ ได้รบั อนุญาตทำเกลือสินเธาว์ทง้ั หมดจำนวน 272 ราย อยูใ่ นพืน้ ทีจ่ งั หวัดอุดรธานีมากทีส่ ดุ จำนวน 215 ราย รองลงมาอยูใ่ นจังหวัดสกลนคร 54 ราย และจังหวัดหนองคายจำนวน 3 ราย โดยการทำเกลือประเภทตาก มีมากกว่าประเภทต้ม เท่ากับ 143 และ 114 ราย ตามลำดับ (ทีม่ า: www.dpim.go.th) การทำเกลือประเภทตาก ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี และการทำเกลือประเภทต้มส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ ตำบลกุดเรือคำ อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร 3.3.1 สภาพปัญหาทัว่ ไปของพืน้ ทีท่ ำเกลือสินเธาว์ จากสำรวจพืน้ ทีใ่ นปี 2550 พบว่า 1) จังหวัดอุดรธานี เป็นพืน้ ทีท่ ำเกลือทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สภาพปัญหา ทีส่ ำคัญ พบว่า พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่อยูใ่ นทีล่ มุ่ น้ำท่วมถึงในช่วงฤดูฝน และอยูต่ ดิ กับแหล่งน้ำธรรมชาติ ทำให้มกี าร ชะล้างคราบเกลือลงสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ คันทำนบดินมีขนาดเล็กทำให้ชำรุดในช่วงฤดูฝน พื้นที่ทำเกลือ บางแห่งอยู่ติดกับพื้นที่เกษตรกรรม ปัญหาการลักลอบทำเกลือนอกฤดูการผลิต (ตุลาคม-กุมภาพันธ์) โดยเฉพาะการทำเกลือต้ม นอกจากนีย้ งั พบว่า การเก็บกองเกลือบางรายไม่เก็บในทีม่ หี ลังคามุงตามทีก่ ำหนด ในข้อกำหนดแนบท้ายใบอนุญาต 2) จังหวัดสกลนคร มีการทำเกลือในหลายพืน้ ทีใ่ นเขตอำเภอบ้านม่วง และอำเภอวานรนิวาส ส่วนใหญ่เป็นการทำเกลือต้ม ปัญหาทีพ่ บได้แก่ ปัญหาการเกิดหลุมยุบซึง่ เป็นปัญหารุนแรงทีส่ ดุ ในบริเวณ พืน้ ทีบ่ า้ นโนนแสบง ตำบลหนองกวัง่ อำเภอบ้านม่วง ซึง่ หลุมยุบยังคงมีการยุบอย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงคันทำนบ ดินมีขนาดเล็กและชำรุด ทำให้นำ้ เสียจากนาเกลือไหลปนเปือ้ นลงสูแ่ หล่งน้ำธรรมชาติ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
68
รูปที่ 3.14 แสดงคราบเกลือในพืน้ ทีต่ ดิ กับนาเกลือบริเวณร่องน้ำข้างถนน และคราบเกลือในหืวยบ่อแดง บ้านโนนแสบง
การนำน้ำไปผลิตน้ำประปาและทำการเกษตรในพืน้ ทีอ่ ำเภอบ้านม่วง ปัญหาการลักลอบทำเกลือนอกฤดูกาล ผลิต โดยเฉพาะการทำเกลือต้มทำการผลิตเกือบตลอดปี การปล่อยน้ำเสียลงสูแ่ หล่งน้ำธรรมชาติและปัญหา สภาพพืน้ ทีเ่ ป็นทีล่ มุ่ น้ำท่วมถึงในช่วงฤดูฝน ทำให้ชะล้างคราบเกลือลงสูแ่ ม่นำ้ สงคราม บริเวณพืน้ ทีท่ ำเกลือ บ้านคำอ้อ-ดอนแดง ตำบลดงเหนือ อำเภอบ้านม่วง
รูปที่ 3.15 แสดงหลุมยุบในบริเวณนาเกลือ และการเทกองเกลือกลางแจ้ง บ้านโนนแสบง 3) จังหวัดหนองคาย ปัจจุบันมีการทำเกลือในพื้นที่ ตำบลเซิม อำเภอโพนพิสัยและ บ้านท่าสะอาด อำเภอเซกา สภาพปัญหาทีพ่ บได้แก่ ปัญหาการจัดการขีเ้ ถ้าแกลบจากการต้มซึง่ กองทิง้ ไว้ โดยรอบบริเวณทีต่ ง้ั ของเตาต้มเกลือ และปัญหาเขม่าควันพัดพาเข้าสูห่ มูบ่ า้ น คันทำนบดินบางช่วงชำรุด ทำให้นำ้ ฝนชะล้างความเค็มออกสูภ่ ายนอกพืน้ ทีป่ ระกอบการ และมีการลักลอบต้มเกลือนอกฤดูการผลิต
รูปที่ 3.16 แสดงคราบเกลือบริเวณท้องน้ำและบ่อตอกเป็นจุดๆ ในแม่นำ้ สงครามในช่วงทำเกลือ และการต้มเกลือโดยใช้ฟนื ในพืน้ ทีบ่ า้ นท่าสะอาด อำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย 3.3.2 การติดตามตรวจสอบผลกระทบต่อคุณภาพน้ำผิวดิน 1) สถานการณ์คณ ุ ภาพน้ำในภาพรวม สสภ.9 ดำเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพแหล่งน้ำทีไ่ หลผ่านพืน้ ทีท่ ำเกลือสินเธาว์ในปี 2550 จำนวน 3 ครัง้ ๆ ละ 36 จุด แบ่งเป็นจุดอ้างอิง จำนวน 8 จุด ส่วนทีเ่ หลืออีก 29 จุดอยูใ่ นบริเวณใกล้เคียง พืน้ ทีท่ ำเกลือและบริเวณตอนล่างของพืน้ ทีท่ ำเกลือ (ตามทิศทางการไหลของน้ำ) ดังแสดงในรูปที่ 3.17
69
รูปที่ 3.17 แสดงจุดเก็บตัวอย่างน้ำในบริเวณพืน้ ทีท่ ำเกลือของ สสภ.9 ปี 2550 ครัง้ ที่ 1 ในเดือนกุมภาพันธ์ 2550 ซึง่ เป็นช่วงทีม่ กี ารประกอบกิจการทำเกลือสินเธาว์ จำนวน ทัง้ สิน้ 29 จุด (ไม่รวมจุดอ้างอิง) เมือ่ เทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้ำเพือ่ การชลประทานของสหรัฐอเมริกา (US. Salinity Laboratory Staff. 1954) พบว่า ส่วนใหญ่จดั อยูใ่ นคุณภาพน้ำชัน้ ที่ 3 ร้อยละ 31.03 รองลงมา จัดอยูใ่ นคุณภาพน้ำชัน้ ที่ 2 และ 4 จำนวนเท่ากันคิดเป็นร้อยละ 27.59 และคุณภาพน้ำชัน้ ที่ 1 ร้อยละ 13.79 ตามลำดับ ส่วนจุดอ้างอิงมีคณ ุ ภาพน้ำอยูใ่ นชัน้ ที่ 1 จำนวน 7 จุดและคุณภาพน้ำชัน้ ที่ 2 อีก 1 จุด ครัง้ ที่ 2 เดือนมิถนุ ายน 2550 จำนวนทัง้ สิน้ 29 จุด (ไม่รวมจุดอ้างอิง) เมือ่ เทียบกับมาตรฐาน คุณภาพน้ำเพื่อการชลประทานของสหรัฐอเมริกา(US. Salinity Laboratory Staff.1954) พบว่า ส่วนใหญ่จดั อยูใ่ นแหล่งน้ำ ชัน้ ที่ 4 ร้อยละ 44.83 รองลงมาจัดอยูใ่ นคุณภาพน้ำชัน้ ที่ 1 และ 2 จำนวนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 24.14 อีกร้อยละ 6.90 จัดอยูใ่ นคุณภาพแหล่งน้ำชัน้ ที่ 3 50.00 40.00 30.00 20.00 10.00 0.00
ร้อยละ ชัน้ ที่ 1 ชัน้ ที่ 2 ชัน้ ที่ 3 ชัน้ ที่ 4 1
2 3 ครั้งที่เก็บตัวอย่าง
รูปที่ 3.18 แผนภูมแิ สดงประเภทของแหล่งน้ำในพืน้ ทีท่ ำเกลือสินเธาว์ในพืน้ ทีภ่ าคที่ 9 ลุม่ น้ำโขง หมายเหตุ :มาตรฐานคุณภาพน้ำเพือ่ การชลประทานของ USSL (1954) ชัน้ ที่ 1 : 0-250 ไมโครโมห์ตอ่ เซนติเมตร, ชัน้ ที่ 2 : 250-750 ไมโครโมห์ตอ่ เซนติเมตร ชัน้ ที่ 3 :750-2,250 ไมโครโมห์ตอ่ เซนติเมตร, ชัน้ ที่ 4 : > 2,250 ไมโครโมห์ตอ่ เซนติเมตร
70
ครัง้ ที่ 3 เดือนสิงหาคม 2550 จำนวนทัง้ สิน้ 27 จุด (ไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้ 2 จุด เนือ่ งจาก น้ำท่วม) เมือ่ เทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้ำเพือ่ การชลประทานของสหรัฐอเมริกา(US. Salinity Laboratory Staff.1954) พบว่า ส่วนใหญ่จดั อยูใ่ นแหล่งน้ำชัน้ ที่ 1 ร้อยละ 40.47 เมือ่ เทียบกับคุณภาพแหล่งน้ำในครัง้ ที่ 1 และ 2 พบว่า คุณภาพแหล่งน้ำชัน้ ที่ 1 มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ จัดอยูใ่ นแหล่งน้ำชัน้ ที่ 2 และ 3 จำนวนร้อยละ 29.63 และ 25.93 ตามลำดับ ในขณะจำนวนจุดที่จัดอยู่ในแหล่งน้ำชั้นที่ 4 มีแนวโน้มลดลงเมื่อเทียบ กับผลการตรวจสอบในครัง้ ที่ 1 และ 2 โดยมีเพียงร้อยละ 3.70 2) สถานการณ์คณ ุ ภาพน้ำรายพืน้ ที่ 2.1) พืน้ ทีบ่ า้ นดุง-ศรีสทุ โธ อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี จากการติดตามตรวจสอบ และการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ในปีงบประมาณ 2550 จำนวน 3 ครัง้ โดยใช้คา่ การนำไฟฟ้า (EC) เป็นเกณฑ์กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำเพือ่ การชลประทานตามมาตรฐาน USSL(1954) ของสหรัฐอเมริกา ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ำพบว่า (1) ห้วยธง จุดเก็บบ้านดุงใหญ่ มีคา่ การนำไฟฟ้า ในเดือนกุมภาพันธ์สงู ถึง 11,200 ไมโครโมห์/ซม. จัดอยูใ่ นแหล่งน้ำชัน้ ที่ 4 (น้ำทีม่ เี กลือละลายอยูส่ งู มาก >2,250 ไมโครโมห์/ซม. ไม่เหมาะสม กับการชลประทาน) ส่วนเดือนมิถนุ ายน 2550 มีคุณภาพน้ำจัดอยูใ่ นคุณภาพแหล่งน้ำชัน้ ที่ 3 มีคา่ การนำ ไฟฟ้า ลดลงเหลือเพียง 2,200 ไมโครโมห์/ซม. 16000 (ms/cm.) 14000 12000 10000 8000 6000 4000 2000 0
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3
2 1 2 1 3 4 5 6 7 8 9 า้ งองิ า้ งองิ จุดที่ จุดที่ จุดที่ จุดที่ จุดที่ จุดที่ จุดที่ จุดที่ จุดที่ จดุ อ จดุ อ
รูปที่ 3.19 แสดงค่าการนำไฟฟ้าของลำห้วยทวนและแม่นำ้ สงครามในพืน้ ทีท่ ำเกลือบ้านดุง-ศรีสทุ โธ อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ในการเก็บตัวอย่างน้ำครัง้ ที่ 1-3 (2) ลำห้วยทวน ทำการเก็บตัวอย่างจำนวน 7 จุด (จุดที่ 1-7) และจุดอ้างอิง 2 จุดพบว่า คุณภาพน้ำในเดือนกุมภาพันธ์ จัดอยูใ่ นแหล่งน้ำชัน้ ที่ 4 จำนวน 3 จุด และแหล่งน้ำชัน้ ที่ 3 จำนวน 2 จุดโดย คุณภาพแหล่งน้ำในช่วงก่อนผ่านพื้นที่ทำเกลือสินเธาว์(จุดอ้างอิงที่ 1) มีค่าการนำไฟฟ้าต่ำเท่ากับ 85 ไมโครโมห์/ซม. จัดอยูใ่ นแหล่งน้ำชัน้ ที่ 1 (น้ำทีม่ เี กลือละลายอยูต่ ำ่ 0-250 ไมโครโมห์/ซม. ใช้ได้กบั พืชส่วนมาก ไม่เสีย่ งต่อการเกิดดินเค็ม) และเมือ่ ไหลผ่านบริเวณทีอ่ ยูต่ ดิ กับพืน้ ทีผ่ ลิตเกลือบ้านโพนสูง-บ้านฝาง พบว่าค่า การนำไฟฟ้า สูงขึน้ เท่ากับ 5,830 ไมโครโมห์/ซม. และสูงมากในเดือนมิถนุ ายนถึง 15,200 ไมโครโมห์/ซม. ส่วนน้ำทีร่ ะบาย ออกจากอ่างเก็บน้ำท่ามะนาวมีคา่ การนำไฟฟ้า เท่ากับ 5,410 ไมโครโมห์/ซม. และเพิม่ ขึน้ ใน เดือนมิถนุ ายนมีคา่ 6,400 ไมโครโมห์/ซม. และลดลงในเดือนสิงหาคม แต่ยงั คงมีคา่ สูงเกินมาตรฐาน โดยจัด อยูใ่ นแหล่งน้ำ ชัน้ ที่ 3 จำนวน 4 จุด (รูปที่ 3.19)
71
(3) แม่นำ้ สงคราม โดยมีนำ้ จากห้วยทวนไหลลงสูแ่ ม่นำ้ สงคราม ซึง่ ได้ทำการเก็บ ตัวอย่างจำนวน 2 ตัวอย่าง (จุดที่ 8-9) โดยจุดที่ 8 เป็นจุดที่อยู่เหนือจุดบรรจบของลำห้วยทวนกับ แม่นำ้ สงคราม คุณภาพน้ำทัง้ 3 ครัง้ อยูใ่ นชัน้ ที่ 1-2 ส่วนจุดที่ 9 เป็นจุดทีอ่ ยูต่ อนล่างของจุดบรรจบของ ลำห้วยทวนกับแม่นำ้ สงคราม พบว่า คุณภาพน้ำครัง้ ที่ 1 และ3 อยูใ่ นชัน้ ที่ 2 ส่วนครัง้ ที่ 2 ซึง่ เป็นช่วงต้นฤดูฝน คุณภาพน้ำ อยูใ่ นชัน้ ที่ 4 (รูปที่ 3.19) 2.2) พืน้ ทีบ่ า้ นทุง่ บ้านชัย อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี เป็นพืน้ ทีท่ ส่ี ามารถปฏิบตั ิ ตามเงื่อนไขการอนุญาตประกอบการได้ดี ไม่มีน้ำเสียจากพื้นที่ทำเกลือไหลออกมาปนเปื้อนกับแหล่งน้ำ สาธารณะ จากการตรวจวัดคุณภาพน้ำในลำห้วยติดกับพืน้ ทีท่ ำเกลือ จำนวน 2 จุด พบว่าค่าการนำไฟฟ้า ตลอดปี สูงสุดเพียง 280 ไมโครโมห์/ซม. ในเดือนกุมภาพันธ์ 2.3) พืน้ ทีบ่ า้ นหนองกวัง่ -โนนสะแบง อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร เป็นพืน้ ทีท่ ำ เกลือตากเป็นส่วนใหญ่ มีลำห้วยบ่อแดงไหลผ่านและรับน้ำจากพืน้ ทีท่ ำเกลือในบริเวณนี้ ก่อนจะไหลไปรวมกับ ห้วยซางทีบ่ า้ นบ่อแดง จากการตรวจวัดคุณภาพน้ำในลำห้วยบ่อแดงจำนวน 4 จุดและจุดอ้างอิง 1 จุด ในเดือน กุมภาพันธ์ซง่ึ เป็นช่วงทีม่ กี ารทำเกลือพบว่าจัดอยูใ่ นแหล่งน้ำชัน้ ที่ 4 ทัง้ 4 จุด และ เดือนมิถนุ ายน ซึง่ เป็นช่วงที่ เริม่ เข้าฤดูฝน พบว่าจัดอยูใ่ นแหล่งน้ำชัน้ ที่ 4 ทัง้ 4 จุดเช่นกัน โดยมีคา่ การนำไฟฟ้าสูงเกินกว่า 10,000 ไมโครโมห์/ซม. และค่าการนำไฟฟ้ามีแนวโน้มลดลง โดยในเดือนสิงหาคมพบว่าจัดอยู่ในแหล่งน้ำชั้นที่ 4 จำนวน 1 จุดและคุณภาพน้ำชัน้ ที่ 3 จำนวน 3 จุด เมือ่ วิเคราะห์แนวโน้มของค่าการนำไฟฟ้า พบว่า ในช่วงก่อนไหลผ่านพืน้ ทีท่ ำเกลือบ้านโนนแสบง(จุดอ้างอิง) ค่าการนำไฟฟ้าในเดือนกุมภาพันธ์ มีคา่ ต่ำเพียง 23 ไมโครโมห์/ซม. และมีคา่ สูงขึน้ เมือ่ ไหลผ่านพืน้ ทีท่ ำเกลือบ้านหนองกวัง่ -โนนแสบง โดยค่าการนำไฟฟ้า บริเวณสะพานบ้านหนองกวั่ง ซึ่งเป็นช่วงที่ห้วยบ่อแดงไหลผ่านพื้นที่นาเกลือบ้านหนองกวั่ง-โนนแสบง มาแล้วมีคา่ เท่ากับ 21,900 70,400 และ 9,050 ไมโครโมห์/ซม. ตามลำดับ ในเดือนกุมภาพันธ์ มิถนุ ายน และสิงหาคมตามลำดับ ซึ่งจัดอยู่ในชั้นคุณภาพน้ำที่ 4 ไม่สามารถใช้ประโยชน์เพื่อการชลประทานได้ เนือ่ งจากมีการการนำไฟฟ้าสูงมากกว่า 2,250 ไมโครโมห์/ซม. ส่วนค่าการนำไฟฟ้าในเดือนสิงหาคม มีคา่ ลดลง แต่ยงั คงมีคา่ สูงโดยเฉพาะบริเวณสะพานบ้านหนองกวัง่ 70000 65000 60000 55000 50000 45000 40000 35000 30000 25000 20000 15000 10000 5000 0
µs/cm.
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 จุดอ้างอิง จุดที่ 1
จุดที่ 2
จุดที่ 3
จุดที่ 4
รูปที่ 3.20 แสดงค่าการนำไฟฟ้าของลำห้วยบ่อแดงในพืน้ ทีท่ ำเกลือบ้านหนองกวัง่ -โนนแสบง อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ในการเก็บตัวอย่างน้ำครัง้ ที่ 1-3
72
2.4) พื้นที่บ้านกุดเรือคำ โคกก่องและบ้านจำปาดง อำเภอวานรนิวาส จังหวัด สกลนคร (1) ลำห้วยซาง เป็นแหล่งน้ำรองรับน้ำจากบริเวณพืน้ ทีผ่ ลิตเกลือแห่งนี้ จากนัน้ จะ ไหลไปรวมกับห้วยบ่อแดงก่อนไหลลงสูแ่ ม่นำ้ สงคราม จากการตรวจสอบคุณภาพน้ำในลำห้วยซางจำนวน 4 จุด (จุดที่ 1-4) จุดอ้างอิง 2 จุด ดังรูปที่ 3.17 ในเดือนกุมภาพันธ์พบว่าคุณภาพน้ำจัดอยู่ในแหล่งน้ำ ชัน้ ที่ 3 จำนวน 3 จุด และในเดือนมิถนุ ายน พบว่าคุณภาพน้ำของลำห้วยซางในช่วงทีไ่ หลผ่านพืน้ ทีท่ ำเกลือ มีการปนเปือ้ นน้ำเสียจากการทำเกลือโดยจัดอยูใ่ นแหล่งน้ำชัน้ ที่ 4 จำนวน 3 จุด ชัน้ ที่ 3 จำนวน 1 จุด (น้ำ ทีม่ เี กลือละลายอยูส่ งู อยูใ่ นช่วง 751-2,250 ไมโครโมห์/ซม. ไม่สามารถใช้กบั ดินทีม่ กี ารระบายน้ำทีเ่ ลว หรือ ใช้ปลูกพืชทนเค็ม) โดยมีคา่ อยูใ่ นช่วง 2080-15,800 ไมโครโมห์/ซม. ในขณะทีค่ ณ ุ ภาพแหล่งน้ำของห้วยซาง ก่อนไหลผ่านพื้นที่ ทำเกลือ(จุดอ้างอิงที่ 1) และบริเวณที่เคยมีการทำเกลือ (บ้านดอกนอ จุดอ้างอิงที่ 2 ซึ่งไม่มีการผลิตเกลือมาตั้งแต่ปี 2549) จัดอยู่ในแหล่งน้ำชั้นที่ 1 ทั้งสองจุด ในขณะที่ค่าการนำไฟฟ้าใน เดือนสิงหาคม มีแนวโน้มลดลงเนือ่ งจากอยูใ่ นช่วงฤดูฝนมีนำ้ เจือจาง พบว่าส่วนใหญ่จดั อยูใ่ นแหล่งน้ำชัน้ ที่ 2 อยูใ่ นช่วง 264 - 364 ไมโครโมห์/ซม. (2) แม่นำ้ สงคราม (จุดที่ 5) บริเวณจุดรับน้ำจากห้วยซางและห้วยบ่อแดง พบว่ามีคา่ การนำไฟฟ้าค่อนข้างต่ำทัง้ ในเดือนกุมภาพันธ์และมิถนุ ายน 93 และ 522 ไมโครโมห์/ซม.ตามลำดับ ส่วน เดือนสิงหาคม มีคา่ 307 ไมโครโมห์/ซม.จัดอยูใ่ นคุณภาพน้ำชัน้ ที่ 2 2.5) พืน้ ทีผ่ ลิตเกลือบ้านคำอ้อ-ดอนแดง ต.ดงเหนือ อ.บ้านม่วง จังหวัดสกลนคร พบว่าค่าการนำไฟฟ้าซึง่ ตรวจวัดในแม่นำ้ สงคราม 2 จุด ระยะห่างจากพืน้ ทีน่ าเกลือประมาณจุดละ 5 กิโลเมตร พบว่า ในเดือนกุมภาพันธ์ มีคา่ เท่ากันทัง้ 2 จุด (538 ไมโครโมห์/ซม.) ส่วนในเดือนมิถนุ ายนและกันยายน มีคา่ การนำไฟฟ้าต่ำอยูใ่ นคุณภาพน้ำชัน้ ที่ 1-2
17500 15000 12500 10000 7500 5000 2500 0
µs/cm.
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3
1 องิ 2 ดุ ท่ี 1 ดุ ท่ี 2 ดุ ท่ี 3 ดุ ท่ี 4 ดุ ท่ี 5 งองิ ง จ จ จ จ จ ุจ อา้ จดุ อา้ ด
รูปที่ 3.21 แสดงค่าการนำไฟฟ้าของลำห้วยซางและแม่นำ้ สงครามในพืน้ ทีท่ ำเกลือบ้านหนองกวัง่ -โนนสะแบง อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ในการเก็บตัวอย่างน้ำครัง้ ที่ 1-3
73
2.6) พืน้ ทีบ่ า้ นเซิมทุง่ ตำบลเซิม อำเภอโพนพิสยั จังหวัดหนองคาย จากการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพแหล่งน้ำในพืน้ ทีท่ ำเกลือสินเธาว์บา้ นเซิมทุง่ ได้แก่ ลำห้วยเซิม 3 จุด ลำห้วยพอก 1 จุด และจุดก่อนทีน่ ำ้ จะไหลผ่านพืน้ ทีท่ ำเกลืออีก 2 จุด พบว่าค่าการนำไฟฟ้าในเดือนกุมภาพันธ์ของ ลำห้วยเซิม จุดที่ 1 และ 2 มีคา่ 248 และ 2150 ไมโครโมห์/ซม.ตามลำดับ ส่วนค่าการนำไฟฟ้าในเดือนมิถนุ ายนพบว่า ทัง้ 2 จุดมีคา่ ลดลงในเกณฑ์ตำ่ ในขณะที่ ลำห้วยพอก มีคา่ การนำไฟฟ้าในกุมภาพันธ์สงู (1,640 ไมโครโมห์/ ซม.) ส่วนในเดือนมิถนุ ายนเพิม่ ขึน้ อยูใ่ นคุณภาพน้ำชัน้ ที่ 4 (3,150 ไมโครโมห์/ซม.) ส่วนเดือนสิงหาคม พบว่าค่าการนำไฟฟ้ามีคา่ ต่ำกว่า 250 ไมโครโมห์/ซม.ในทุกจุดตรวจวัด 3500 3000 2500 2000 1500 1000 500 0
µ s/cm.
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 จุดอ้างอิง จุดที่ 1
จุดที่ 2
จุดที่ 3
จุดที่ 4
รูปที่ 3.22 แสดงค่าการนำไฟฟ้าของลำห้วยเซิมและห้วยพอกในพืน้ ทีท่ ำเกลือบ้านเซิมทุง่ อำเภอโพนพิสยั จังหวัดหนองคาย ในการเก็บตัวอย่างน้ำครัง้ ที่ 1-3 ส่วนพืน้ ทีบ่ า้ นคำแวง ตำบลคำแก้ว อำเภอโซ่พสิ ยั ได้เลิกประกอบกิจการไปแล้ว จากการ ตรวจวัดคุณภาพน้ำ จำนวน 3 จุดในปี 2550 พบว่ามีคา่ การนำไฟฟ้าในช่วงชัน้ คุณภาพน้ำที่ 1-2 ตลอดปี สำหรับพืน้ ทีท่ ำเกลือบ้านท่าสะอาด ตำบลท่าสะอาด อำเภอเซกา นัน้ เป็นพืน้ ทีท่ ำเกลือต้ม ที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสงคราม จะหยุดประกอบการในฤดูน้ำหลากจึงเก็บตัวอย่างได้เพียงปีละ 2 ครั้ง ผลการ ตรวจวัดคุณภาพน้ำในแม่นำ้ สงคราม จำนวน 3 จุด คือ ก่อนเข้าพืน้ ทีท่ ำเกลือ (จุดอ้างอิง) จุดทีต่ ม้ เกลือ (จุดที่ 1) และหลังจากจุดทีต่ ม้ เกลือ (จุดที่ 2) พบว่า จุดที่ 1 และ 2 มีคา่ การนำไฟฟ้าในเดือนกุมภาพันธ์ ใกล้เคียงกันจัดอยูใ่ นคุณภาพน้ำชัน้ ที่ 2 (679 และ 822 ไมโครโมห์ตอ่ เซนติเมตร) ส่วนในเดือนมิถนุ ายน ค่าการนำไฟฟ้าต่ำทัง้ 3 จุด ซึง่ ต่ำกว่าในปี 2549 ในทุกจุดเนือ่ งจากช่วงเก็บตัวอย่างมีฝนตกจึงไม่มกี ารสูบน้ำ 3.3.3. สรุปและข้อเสนอแนะ 1) สภาพปัญหาทั่วไป จากการสังเกตพบว่าผู้ประกอบกิจการผลิตเกลือสินเธาว์ในพื้นที่ ทำเกลือหลายแห่งไม่ได้ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขการอนุญาต ดังนี้ 1.1) มีการทำเกลือนอกฤดูการผลิตทีไ่ ด้รบั อนุญาต คือเมือ่ สิน้ สุดเดือนมีนาคมแล้วยังมี การประกอบกิจการต่อ เกลือตากบางแห่งดำเนินการถึงเดือนมิถนุ ายน ส่วนเกลือต้มดำเนินการผลิตเกือบตลอดปี เช่น พืน้ ทีบ่ า้ นเซิมทุง่ ตำบลเซิม อำเภอโพนพิสยั จังหวัดหนองคาย และพืน้ ทีบ่ า้ นกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร 1.2) การเจาะบ่อสูบเกลือระยะห่างของบ่อสูบน้ำเกลือจากถนนสายหลักต้องไม่นอ้ ยกว่า 300 เมตร แต่มหี ลายพืน้ ทีไ่ ด้เจาะบ่อสูบเกลืออยูใ่ กล้กบั ถนนสายหลักน้อยกว่าเกณฑ์กำหนด เช่น บริเวณบ้านกุดเรือคำ
74
ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร บ้านโนนสะแบง อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร เป็นต้น นอกจากนัน้ ยังมีระยะห่างจากบ่อสูบข้างเคียงน้อยกว่า 50 เมตร (ตามเกณฑ์ตอ้ งห่างไม่นอ้ ยกว่า 50 เมตร) 1.3) ทำนบคันดินมีขาดเล็กและชำรุด เช่น พืน้ ทีโ่ พนสูงเหนือ โพนสูง-ฝาง อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี พืน้ ทีห่ นองกวัง่ -โนนแสบง อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร เป็นต้น ทำให้นำ้ เสียจากนาเกลือ ไหลลงสูแ่ หล่งน้ำธรรมชาติ พืน้ ทีด่ งั กล่าวจึงมีคา่ การนำไฟฟ้าสูง ส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้ำในพืน้ ทีใ่ กล้เคียง ผูป้ ระกอบการจึงควรปรับปรุงคันดินเป็นประจำทุกปี 1.4) ผูป้ ระกอบการส่วนใหญ่ไม่ได้สบู น้ำขมกลับลงสูใ่ ต้ดนิ เพือ่ รักษาระดับน้ำใต้ดนิ ซึง่ บ่อสูบน้ำกลับของผูป้ ระกอบการหลายรายเกิดการอุดตัน เนือ่ งจากไม่ได้ใช้งาน หรือชำรุดแล้วไม่ได้ดำเนินการ แก้ไข ดังนัน้ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการควบคุม กำกับการปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขการอนุญาต ร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จึงควรกำกับ ดูแลให้ผปู้ ระกอบการดำเนินการตามเงือ่ นไขอย่างเคร่งครัด และควรมี การทบทวนการอนุญาตให้ประกอบกิจการ หรือยกเลิกในรายทีไ่ ม่ปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขการอนุญาตหรือบทลงโทษอืน่ 2) จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำในพื้นที่ทำเกลือทุกพื้นที่ทั้ง 3 จังหวัด (อุดรธานี สกลนครและหนองคาย) พบว่า คุณภาพน้ำในช่วงฤดูการผลิตซึง่ ตรวจวัดในเดือนกุมภาพันธ์ ค่าการนำไฟฟ้า อยูใ่ นช่วงค่อนข้างสูง เมือ่ เทียบกับมาตรฐานคุณภาพน้ำเพือ่ การชลประทานของสหรัฐอเมริกา(US.Salinity Laboratory Staff. 1954) ส่วนใหญ่อยูใ่ นชัน้ ที่ 3 (750-2,250 ไมโครโมห์/ซม.) เมือ่ ตรวจวัดในช่วงต้นฤดูฝน ค่าการนำไฟฟ้าในจุดตรวจวัดส่วนใหญ่จะเพิม่ ค่าสูงขึน้ เนือ่ งจากมีการชะล้างคราบเกลือลงสูแ่ หล่งน้ำสาธารณะ และเมือ่ เข้าสูช่ ว่ งฤดูฝน พืน้ ทีท่ ำเกลือส่วนใหญ่จะมีนำ้ ท่วมและชะล้างคราบเกลือลงสูแ่ ม่นำ้ สงครามทีไ่ หล รวมกับน้ำฝนจากพืน้ ทีต่ า่ งๆ ค่าการนำไฟฟ้าในแหล่งน้ำโดยรอบพืน้ ทีท่ ำเกลือทุกแห่งจะลดต่ำลง ซึง่ จะเป็น เช่นนีใ้ นทุกๆ ปี 3) พืน้ ทีบ่ า้ นโนนแสบง-หนองกวัง่ อำเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ควรระงับการอนุญาต ให้ประกอบกิจการชัว่ คราว เนือ่ งจากกระทำผิดเงือ่ นไขการอนุญาตหลายข้อ และยังเกิดหลุมยุบอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ หากปล่อยให้ดำเนินการต่อไปโดยไม่ควบคุม กำกับอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผูป้ ฏิบตั งิ านในพืน้ ทีไ่ ด้ 4) ควรมีการกำหนดเขตพืน้ ทีอ่ นุญาต(Zoning) ให้ชดั เจน เพือ่ ควบคุมไม่ให้มกี ารขยายพืน้ ที่ ทำเกลือ โดยเฉพาะการทำเกลือตากออกไปมากกว่านี้ ทัง้ นีเ้ พือ่ ประโยชน์ในการควบคุมผลกระทบสิง่ แวดล้อม ทีอ่ าจจะเกิดขึน้
75
3.4 เส้นทางของน้ำมันเครือ่ งเก่าทีใ่ ช้แล้ว... กับผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ค่านิยมในปัจจุบนั ของคนเรามักจะเป็นไปตามกระแสวัตถุนยิ ม ส่วนใหญ่จะต้องมีพาหนะส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ก็ตาม ทำให้ความต้องการใช้รถ ใช้น้ำมัน วัสดุ อะไหล่ต่างๆ รวมทัง้ การใช้นำ้ มันเครือ่ งเพิม่ มากขึน้ แต่ของเสียทีเ่ กิดขึน้ ไม่วา่ จะเป็นเขม่าน้ำมัน ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ก๊าซพิษต่างๆ ชิน้ ส่วนทีช่ ำรุด และน้ำมันหล่อลืน่ หรือน้ำมันเครือ่ งเก่าทีเ่ กิดขึน้ จะมีสกั กีค่ นทีค่ ำนึงถึงเส้นทาง การกำจัดว่า วัสดุทไ่ี ม่ได้ใช้แล้วเหล่านีม้ กี ารกำจัดด้วยวิธกี ารอย่างไร การส่งเสริมกิจการการแปรรูปของทีใ่ ช้แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ โดยเฉพาะน้ำมันเครือ่ งเก่าทีไ่ ม่ได้ใช้แล้ว ควรกระทำอย่างยิง่ เพราะอูซ่ อ่ มรถบางแห่งได้ทง้ิ น้ำมันเครือ่ งลงในท่อระบายน้ำของเทศบาลโดยตรง แล้วน้ำเสีย จากท่อเทศบาลก็ถกู ระบายลงสูแ่ หล่งน้ำธรรมชาติ ส่งผลกระทบต่อประชาชนบริเวณท้ายน้ำ ดังนัน้ การนำ น้ำมันเครือ่ งเก่าทีไ่ ม่ได้ใช้แล้วมาแปรรูปแล้วนำกลับไปใช้ใหม่ จึงมีประโยชน์ตอ่ สภาวะการณ์มลพิษในปัจจุบนั แต่ผปู้ ระกอบการต้องคำนึงถึงผลกระทบจากกิจการต่อสิง่ แวดล้อมและประชาชน ในพืน้ ทีด่ ว้ ยเช่นกัน ในเขตจังหวัดอุดรธานี มีโรงงานกลัน่ น้ำมันเครือ่ งเก่า ซึง่ เดิมเป็นโรงงานลำดับที่ 45 ผลิตน้ำมัน ผสมสีทาบ้าน และลำดับที่ 106 ซึง่ ใช้วตั ถุดบิ จากน้ำมันเครือ่ งเก่า (ตามบัญชีประเภทโรงงานอุตสาหกรรม จำแนกตามกฏกระทรวง (พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535) โดยการนำ น้ำมันเครื่องเก่ามาผ่านกระบวนการผลิตด้วยการเติมกรดซัลฟูริกเข้มข้น ปูนขาวและแป้ง แล้วนำไปต้ม ในหม้อต้มไอน้ำ จากนั้นกรองตะกอนออกด้วยการบีบอัดผ่านถุงกรอง (filter press) ซึ่งเป็นกิจการที่มี ประโยชน์ แต่การประกอบกิจการของโรงงานทำให้ประชาชนได้รบั ความเดือดร้อนดังต่อไปนี้ 1) กลิน่ เหม็นฉุนรุนแรง ของไอกรดจากการต้ม และกลิน่ น้ำมันเครือ่ งเก่า 2) กากตะกอนน้ำมันที่ถูกกรองออกมา ซึ่งมีการนำไปทิ้งในบ่อดินภายในโรงงาน เป็นบ่อทิ้ง กากน้ำมันจำนวน 2 บ่อ และบ่อทิ้งกากตะกอนจำนวน 1 บ่อ ซึ่งต่อมาโรงงานได้ถมบ่อด้วยดิน ทำให้มี คราบน้ำมันสีดำไหลซึมขึน้ มา มีบางส่วนไหลซึมออกนอกโรงงาน 3) น้ำเสีย (ทีม่ สี ว่ นผสมของน้ำมันเครือ่ งเก่าและกรด) ส่วนทีเ่ หลือจากการผลิต ได้ปล่อยระบาย ลงในบ่อดินภายในโรงงานโดยไม่มวี สั ดุกนั ซึมหรือป้องกันการระเหยจากไอกรด ซึง่ น้ำเสียดังกล่าวได้ไหลล้น ออกนอกโรงงานไปสู่พื้นที่การเกษตรของชาวบ้าน วัตถุดิบ
กระบวนการ
น้ำมันเครือ่ งเก่า
ผสมกรดซัลฟูรกิ
กรดซัลฟูรกิ เข้มข้น ปูนขาว / อาจมีโซดาไฟ
ต้ม / อุน่ กรองโดยใช้ผา้ กรอง ผลผลิต (น้ำมันเครือ่ งทีก่ รองแล้ว)
76
รูปที่ 3.23 แสดงผังการผลิตของโรงงานกลัน่ น้ำมันเครือ่ งเก่า
ของเสีย
ไอกรด + สารระเหย กากตะกอนน้ำมัน ของเหลวสีดำเข้ม
ทำให้เกิดเรื่องร้องเรียนเรื่องกลิ่นเหม็นและกากของเสียปนเปื้อนลงในพื้นที่การเกษตรเรื่อยมา ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2548 ซึง่ สสภ.9 สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจังหวัดอุดรธานี (ทส.จ.อุดรธานี) อำเภอ เทศบาล โรงพยาบาลประจำอำเภอ องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ทีโ่ รงงานตัง้ อยูแ่ ละหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง มีการแต่งตัง้ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและแก้ไขปัญหา มีขอ้ เสนอแนะให้แก้ไขปรับปรุง โรงงาน แต่ไม่สามารถแก้ไขปัญหาให้เสร็จสิน้ ได้ เนือ่ งจาก คณะกรรมการไม่มอี ำนาจในการสัง่ การโดยตรง 1) การประกอบการของโรงงานดังกล่าวทีใ่ ช้วตั ถุดบิ น้ำมันเครือ่ ง/น้ำมันหล่อลืน่ ทีใ่ ช้แล้ว จัดเป็น วัตถุอันตรายชนิดที่ 3 ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 ซึ่งการผลิต นำเข้า ส่งออก หรือ ครอบครองต้องได้รบั ใบอนุญาตก่อน ทัง้ นีเ้ จ้าหน้าทีจ่ ากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องแจ้งว่าโรงงานได้รบั อนุญาต ให้ครอบครองและขนส่งวัตถุอนั ตรายแล้ว แต่ยงั มิได้รบั อนุญาตให้กำจัดของเสีย 2) ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่องการกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ.2548 หมวด 2 ข้อ 10 กำหนดให้ผกู้ อ่ กำเนิดสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี ม่ได้ใช้แล้วส่งสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี ม่ได้ใช้แล้ว ทีเ่ ป็นของเสียอันตรายให้ผบู้ ำบัดหรือกำจัดสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี ม่ได้ใช้แล้วเท่านัน้ (ในกรณีทจ่ี ะใช้บริการของ ผูอ้ น่ื จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม) แต่โรงงานดังกล่าว ได้นำดินถมกากของเสียใน บ่อทิ้งกากของเสียที่ขุดไว้ภายในโรงงาน ซึ่งกากของเสียเหล่านี้จัดเป็นของเสียอันตราย ลักษณะการถม ด้วยดินจึงมิได้เป็นการจัดเก็บวัตถุอนั ตรายทีม่ ดิ ชิดเพือ่ รอให้บริษทั ทีไ่ ด้รบั อนุญาตกำจัดของเสียอันตรายมารับ ไปกำจัด จึงถือว่าโรงงานแห่งนีด้ ำเนินการกำจัดของเสียเอง และไม่สอดคล้องกับประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ งการกำจัดสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไ่ี ม่ได้ใช้แล้ว พ.ศ.2548 ในช่วงปี พ.ศ.2549 ได้เกิดอุบัติเหตุไฟไหม้โรงงาน จึงหยุดดำเนินการชั่วคราวเพื่อซ่อมแซม ปรับปรุงโรงงานใหม่ ซึ่งโรงงานยังมิได้แจ้งประกอบกิจการต่อ แต่ขณะที่ทำการตรวจสอบเนื่องจากมี การร้องเรียนจากชาวบ้านอีกนัน้ พบว่าโรงงานมีการเดินเครือ่ งจักร และมีกลิน่ เหม็นรุนแรง นอกจากนี้ ยังได้ ขุดบ่อดินเพิม่ อีกจำนวน 2 บ่อ เพือ่ เตรียมไว้สำหรับเก็บกากของเสียจากการผลิต หลังจากทีไ่ ด้ขออนุญาต ประกอบกิจการแล้ว ในการตรวจสอบครั้งนั้น คณะกรรมการที่ร่วมตรวจสอบได้มีข้อเสนอแนะให้ ผูป้ ระกอบการ พิจารณาดำเนินการดังต่อไปนี้ 1) ให้มแี ละใช้ระบบกำจัดกลิน่ และมลพิษทางอากาศทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพียงพอเป็นไปตาม มาตรฐานที่กฏหมายกำหนด 2) ให้เก็บของเสียอันตรายจากการผลิตให้มดิ ชิดและมีระบบป้องกันการปนเปือ้ นสู่ สิง่ แวดล้อม ห้ามฝังลงดิน ให้สง่ กำจัดกับบริษทั ทีไ่ ด้รบั อนุญาตตามกฏหมาย และให้มมี าตรการป้องกัน ผลกระทบจากการประกอบกิจการที่มีต่อประชาชน 3) หากยังไม่มรี ะบบจัดการของเสียอันตรายทีถ่ กู ต้อง เห็นควรยังมิให้อนุญาตประกอบกิจการ 4) ให้มกี ารป้องกันการรัว่ ไหลของกากของเสียอันตราย ระหว่างการขนย้ายไปกำจัดกับบริษทั ทีไ่ ด้รบั อนุญาต 5) ให้เก็บกากของเสียอันตรายทีไ่ หลปนเปือ้ นสูพ่ น้ื ทีข่ า้ งเคียง และป้องกันมิให้มกี ารรัว่ ไหล สู่พื้นที่ข้างเคียงอีก 6) ให้ดแู ลรักษาความสะอาดพืน้ โรงงาน 7) ให้จดั หาอุปกรณ์ปอ้ งกันอันตรายส่วนบุคคลให้พนักงานระหว่างปฏิบตั งิ าน
77
อย่างไรก็ตามโรงงานแห่งนีก้ ย็ งั ได้รบั อนุญาตให้ประกอบกิจการต่อไป ในขณะทีย่ งั ไม่สามารถหา บริษัทที่รับกำจัดของเสียอันตรายที่เกิดจากกระบวนการผลิตได้ ต่อมาได้มีการร้องเรียนไปยังหน่วยงาน ส่วนกลาง มีการตรวจสอบข้อเท็จจริงและมีการสัง่ การล่าสุดของจังหวัดอุดรธานี ให้โรงงานปรับปรุงแก้ไข ผลกระทบจากกลิ่น และดำเนินการจัดเก็บวัตถุดิบและกากของเสียอันตรายให้มิดชิด และส่งกำจัดกาก ของเสียกับบริษทั ทีไ่ ด้รบั อนุญาตตามกฏหมาย ภายใน 2 เดือนหรือภายในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2551 ซึง่ ทส.จ.อุดรธานี ได้มขี อ้ คิดเห็นว่า เห็นควรให้พกั ใบอนุญาตชัว่ คราว (หยุดประกอบการชัว่ คราว) ระหว่างการ ปรับปรุงแก้ไขโรงงาน ด้วยเหตุผลประกอบดังนี้ - โรงงานดังกล่าวยังไม่สามารถหาบริษัทรับกำจัดของเสียอันตรายได้ ยังไม่มีการส่ง ของเสียไปกำจัด และยังไม่มกี ารจัดเก็บวัตถุดบิ และกากของเสียอย่างมิดชิดตามเงือ่ นไข ที่ระบุท้ายใบอนุญาต หากให้มีการประกอบกิจการต่อในขณะมีการปรับปรุง อาจถือว่า เป็นการอนุญาตให้โรงงานกระทำผิดกฏหมาย - กิจการทีเ่ ห็นควรให้ประกอบการได้ตามปกติระหว่างการปรับปรุงแก้ไข ควรเป็นกิจการ ที่ไม่ผิดต่อกฏหมาย - การพักใบอนุญาตชั่วคราวระหว่างการปรับปรุงโรงงาน น่าจะเป็นการดำเนินการกับ โรงงานสถานเบาเมือ่ เทียบกับการกระทำผิดกฏหมายอย่างต่อเนือ่ งมาเป็นระยะเวลา 3 ปี (แม้ได้มกี ารเสนอแนะหรือสัง่ การจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องให้ปรับปรุงแก้ไขมาโดยตลอด) - การพักใบอนุญาตชัว่ คราวจะทำให้โรงงานเร่งปรับปรุงแก้ไขในประเด็นต่างๆ ให้เป็นไป ตามเงือ่ นไขทีก่ ฏหมายกำหนดโดยเร็ว เพือ่ จะได้เริม่ ประกอบการได้เร็วทีส่ ดุ หากปล่อยให้ มีการประกอบการระหว่างปรับปรุงแก้ไข จะมีข้ออ้างจากโรงงานในการยืดระยะเวลา ปรับปรุง แก้ไขไปเรือ่ ยๆ ซึง่ ระยะเวลา 3 ปีทผ่ี า่ นมาเป็นบทพิสจู น์แล้วว่า การให้โอกาส โรงงานปรับปรุงแก้ไขโดยไม่พกั ใบอนุญาตนัน้ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้จริง การแก้ไขปัญหาดังกล่าวตามข้อคิดเห็นของ ทส.จ.อุดรธานี นัน้ น่าจะเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาที่ ตรงจุดและได้ขอ้ สรุปทีช่ ดั เจน เพราะการพัฒนาด้านเศรษฐกิจจะต้องคำนึงถึงผลกระทบต่อประชาชนควบคู่ ไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อมจึงจะเกิดความยั่งยืน และเชื่อมั่นของชาวบ้าน และไม่มีการต่อต้านของ ประชาชนจากการพั ฒ นาโครงการอี ก หลาย โครงการที่จะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคต
รูปที่ 3.24 แสดงสภาพทัว่ ไปภายในโรงงาน กลัน่ น้ำมันเครือ่ งเก่า จังหวัดอุดรธานี ในปี 2548 ซึง่ เริม่ เปิดดำเนินการ
78
รูปที่ 3.25 แสดงสภาพทัว่ ไปภายในโรงงานในปี 2548 ซึง่ เริม่ เปิดดำเนินการ
รูปที่ 3.26 แสดงบริเวณเก็บวัตถุดบิ ทีเ่ ป็นน้ำมันเครือ่ งเก่าทีไ่ ม่ได้ใช้แล้วของโรงงาน ในปี 2550
รูปที่ 3.27 แสดงบ่อดินทีท่ ง้ิ กากของเสียอันตรายและถูกถมด้วยดิน ซึง่ มีกากน้ำมันไหลซึมขึน้ มาด้านบน และไหลล้นออกสูพ่ น้ื ทีข่ า้ งเคียงภายนอกโรงงาน
รูปที่ 3.28 แสดงกากของเสียและน้ำเสียจากการปนเปือ้ นของเสียอันตรายไหลออกสูพ่ น้ื ทีก่ ารเกษตร ของชาวบ้านภายนอกโรงงาน
79
3.5 แหล่งผลิตก๊าซธรรมชาติ สินภูฮอ่ ม เป็นโครงการผลิตปิโตรเลียม โดยบริษทั อเมราดา เฮสส์ (ไทยแลนด์) จำกัด โครงการฯ ได้รับความเห็นชอบจาก สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม ต่อรายงานผลกระทบสิง่ แวดล้อม EIA เมือ่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2548
รายละเอียดของโครงการ 1) โครงข่ายภายในแหล่งผลิต ประกอบด้วย หลุมผลิตก๊าซธรรมชาติภฮู อ่ ม 3,4 และ 5 (รวม พืน้ ทีห่ ลุมเจาะ 3 แห่ง) โครงข่ายท่อส่งก๊าซภายในแหล่งผลิต ถนนเข้าสูแ่ หล่งผลิต และค่ายพักผูป้ ฏิบตั งิ าน 2) แนวท่อส่งก๊าซภูฮ่อม เป็นแนวท่อสำหรับลำเลียงก๊าซและของไหลจากแหล่งผลิตไปยัง สถานีผลิตก๊าซธรรมชาติ โดยมีความยาวประมาณ 62 กิโลเมตร และขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อ 16 นิว้ 3) สถานีผลิตก๊าซธรรมชาติ เป็นสถานีปรับเปลีย่ นคุณสมบัตกิ า๊ ซธรรมชาติและของไหลจาก แหล่งภูฮอ่ มให้เป็นก๊าซทีม่ คี ณ ุ ภาพตามข้อกำหนด แล้วส่งผ่านจุดซือ้ ขายเข้าท่อก๊าซเดิมของ ปตท. ส่งต่อไป โรงไฟฟ้าน้ำพอง ซึง่ เป็นโรงไฟฟ้าเดิมทีเ่ คยใช้กา๊ ซจากหลุมน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น พืน้ ทีห่ ลุมเจาะ มีพน้ื ทีห่ ลุมเจาะ 3 แห่ง ดังนี้ (1) ภูฮ่อม-3 มีขนาด 80 เมตรx110 เมตร คิดเป็นเนื้อที่ 5.5 ไร่ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของ บ้านทับไฮ และตะวันตกเฉียงใต้ของอำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี มีระยะห่างประมาณ 7 และ 9 กิโลเมตร ตามลำดับ (2) ภูฮ่อม-4 มีขนาด 90 เมตร x 130 เมตร คิดเป็นเนื้อที่ 7.3 ไร่ อยู่ทางทิศตะวันตกของ บ้านท่ายม และตะวันตกเฉียงใต้ของอำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี โดยมีระยะห่าง 10 และ 9.5 กิโลเมตร ตามลำดับ (3) ภูฮอ่ ม-5 มีขนาด 90 เมตร x 130 เมตร คิดเป็นเนือ้ ที่ 7.3 ไร่ อยูห่ า่ งจากบ้านโนนสวรรค์ ไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร กิจกรรมการขุดเจาะก๊าซธรรมชาติ ใช้แท่นเจาะแบบเคลือ่ นย้ายได้ กำลังเจาะ 1,000 กำลังม้า เจาะได้ลกึ สูงสุด 4,267 เมตร โดยใช้ รถบรรทุกขนย้ายแท่นเจาะประมาณ 120 เที่ยว ใช้เวลาขนย้าย 7-8 วัน การขุดเจาะแต่ละหลุม ใช้เวลา 60-70 วัน ตั้งแต่การประกอบแท่นเจาะ การย้ายแท่นเจาะ และการรื้อถอนแท่นเจาะ รวมใช้เวลาทั้งสิ้น ประมาณ 260 – 325 วัน โคลนขุดเจาะ (Mud) ใช้นำ้ โคลนชนิดทีม่ นี ำ้ เป็นส่วนผสมหลัก (Water-based fluids-EBF) ใช้ชว่ งหลุมเจาะขนาด 16 นิว้ , 12 3 นิว้ และ 8 2 นิว้ เพือ่ ควบคุมแรงเสียดทานและลดการทำปฏิกริ ยิ า กับโคลน ในช่วงหลุมเจาะขนาด 6 นิว้ ใช้นำ้ จืดเจาะแบบ Under-balanced drilling-UBD ผลจากการเจาะคาดว่าจะมีปริมาณกากน้ำโคลน 5,170 บาร์เรลต่อหลุม หรือประมาณ 4,700 ตันต่อหนึง่ พืน้ ทีห่ ลุมเจาะ ประกอบด้วยน้ำทีม่ สี ว่ นประกอบของโปตัสเซียมคาร์บอเนตและสารประกอบทีเ่ ป็น ของแข็ง เช่น แบเรียม ซัลเฟต เบนโทไนท์ ทรายแป้ง โพลีเมอร์ และสารเติมแต่งน้ำโคลน การบำบัดน้ำโคลน ทำโดยแยกของเหลวออกจากแข็งโดยวิธตี กตะกอนธรรมชาติ โดยใช้บอ่ กรุคอนกรีตหนา 10 เซนติเมตร ยาว 14 เมตร กว้าง 11 เมตร และลึก 3 เมตร ความจุรวม 446 ลูกบาศก์เมตร มีแนวคันดินกรุดว้ ยแผ่นกัน
80
น้ำล้อมรอบป้องกันการล้นไหล น้ำโคลนส่วนของของเหลวจะใส่รถบรรทุกไปรวมทีบ่ อ่ ของเสียใน ค่ายพัก ผูป้ ฏิบตั งิ าน น้ำโคลนทีส่ ว่ นของแข็งจะส่งไปทีโ่ รงปูน จังหวัดสระบุรี สำหรับเศษหินจากการขุดเจาะ (Cuttings) จะถูกเก็บรวบรวมในกระบะเหล็กเพื่อขนส่งไปยังเตาเผาปูน โดยมีปริมาณเศษหินที่เกิดจากการขุดเจาะ ประมาณ 2,600 ตันต่อวัน การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม 1. การตรวจวัดคุณภาพอากาศ มีการตรวจวัด ความเร็ว ทิศทางลม ตรวจวัดฝุน่ ละอองขนาด ไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) ในเวลา 24 ชัว่ โมง และตรวจวัดฝุน่ ละอองรวม (TSP) ในเวลา 24 ชัว่ โมง ช่วงเวลา ทีท่ ำการตรวจวัด ในระหว่างทีม่ กี ารเผาก๊าซทิง้ ต่อเนือ่ งเป็นเวลา 5 วัน เมือ่ วันที่ 29 มีนาคม–3 เมษายน 2550 ในพืน้ ที่ 6 สถานี บริเวณพืน้ ทีห่ ลุมเจาะภูฮอ่ ม 3(A1), 4(A2), 5(A3) และบริเวณวัด ใกล้เคียงอีก 3 วัด 2. การตรวจวัดคุณภาพน้ำผิวดิน ณ สถานีตรวจวัด 4 สถานี ในลำธารใกล้คยี งทีค่ าดว่าจะได้ รับผลประทบจากกิจกรรมของโครงการ ซึง่ จะดำเนินการตรวจเมือ่ มีการหกหล่น รัว่ ไหลของสารเคมีทเ่ี ป็นพิษ 3. การตรวจวัดคุณภาพน้ำใต้ดนิ ณ สถานีตรวจวัด 2 สถานี ในพืน้ ทีค่ า่ ยพักของโครงการ ซึง่ จะดำเนินการตรวจเมือ่ มีการหกหล่น รัว่ ไหลของสารอันตราย น้ำมันและสารเคมีทเ่ี ป็นพิษ 4. การติดตามตรวจสอบคุณภาพเสียง บริษทั ฯ ใช้มาตรฐานระดับเสียงทัว่ ไปในการตรวจวัด ซึง่ นักวิชาการของสำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9 (สสภ.9) ได้เสนอให้มกี ารใช้มาตรฐานระดับเสียงรบกวนแทน โดย วิธกี ารตรวจวัดจะแตกต่างจากการตรวจวัดโดยทัว่ ไป ทัง้ นีห้ ากค่าการรบกวนเกิน 10 เดซิเบล ให้ถอื ว่า ระดับเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงเป็นเสียงรบกวน โดยบริษัทจะมีการ Audit ในพื้นที่หลุมผลิต สสภ.9 จะเข้าไปดำเนินการตรวจสอบเมื่อมีผู้ร้องเรียนเหตุรำคาญ กิจกรรมการวางแนวท่อส่งก๊าซ วางท่อจากหลุมผลิตไปยังโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมน้ำพอง โดยเชือ่ มต่อจากชุมท่อภูฮอ่ มทีพ่ น้ื ทีภ่ ฮู อ่ ม-5 มีแนวท่อยาวประมาณ 62 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 16 นิว้ ฝังลึก 0.9–1.5 เมตร มีสถานีควบคุมก๊าซติดตัง้ เป็นระยะตามแนวท่อก๊าซ รวม 4 สถานี ระยะเวลาเฉลีย่ จนถึงขัน้ การกลบท่อจุดใดจุดหนึง่ ประมาณ 5 สัปดาห์ รวมใช้เวลา 13–20 สัปดาห์ ระยะแนวท่อไม่นอ้ ยกว่า 500 เมตร - ระบบท่อติดตัง้ บนชัน้ ทรายหนา 0.25 เมตร และปกคลุมด้วยทรายหนาเท่ากัน และปิดทับ ทรายด้วยวัสดุปกคลุมและหินละเอียดอีกชัน้ หนึง่ แล้วฝังกลบด้วยหินหยาบ และฝังสายเคเบิล้ ใยแก้วไปพร้อม กับท่อก๊าซด้วย ดินชัน้ บนหรือหน้าดินจะกองเก็บไว้ใช้คลุมดินเพือ่ ฟืน้ ฟูสภาพพืน้ ทีห่ ลังจากวางท่อเสร็จแล้ว - แนวท่อทีต่ ดั ผ่านลำน้ำพองใช้วธิ ดี นั ท่อลอดแบบ Horizontal Directional Drilling (HDD) แนวท่อทีต่ ดั ผ่านทางหลวงใช้วธิ เี จาะด้วยเครือ่ งเจาะ แนวท่อทีต่ ดั ผ่านถนน/ทางน้ำขนาดเล็กใช้วธิ ขี ดุ เปิดผสม กับการขุดเจาะ และแนวท่อที่ผ่านพื้นที่ที่มีระดับน้ำใต้ดินสูงอาจต้องหุ้มด้วยคอนกรีตหรือถ่วงด้วยแท่ง คอนกรีต เพือ่ ป้องกันการลอยตัว
ข้อสังเกต ต่อความคิดเห็นของประชาชนในแนวเส้นท่อ เนือ่ งจากบริษทั ได้จดั ประชุมกับชุมชนในพืน่ ทีโ่ ครงการเพือ่ เผยแพร่ขอ้ มูล และรับฟังความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของชุมชน รวมถึงการจ่ายค่าตอบแทนให้กับเจ้าของที่ดินในแนวเส้นท่อดังกล่าว ประชาชน มีความพอใจต่อการชีแ้ จงและค่าตอบแทนทีไ่ ด้รบั จะเห็นว่าไม่มกี ารต่อต้านจากประชาชนในแนวเส้นท่อ
แผนการฟื้นฟู คืนสภาพและการป้องกันการกัดเซาะของดินตามแนววางท่อ บริษัทได้กำหนดให้มีการปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดิน
81
กิจกรรมของการผลิตก๊าซธรรมชาติ 1. สถานีผลิตก๊าซ มีพน้ื ทีป่ ระมาณ 44 ไร่ ติดกับทิศตะวันออกของศูนย์ปฏิบตั กิ ารระบบท่อเขต 4 ของบริษทั ปตท. สามารถรองรับการผลิตก๊าซวันละ 135 ล้านลูกบาศก์ฟตุ น้ำจากกระบวนการผลิต 750 บาร์เรลต่อวัน (คาดว่ามีนำ้ จริงน้อยกว่า 100 บาร์เรลต่อวัน) และถังกักเก็บคอนเดนเสดประมาณ 10,000 บาร์เรล 2. ระบบอุปโภคของสถานีผลิตก๊าซธรรมชาติ ประกอบด้วย Tri - ethylene glycol (TEG) Regeneration Skid ระบบบำบัดน้ำที่ได้จากการผลิต ระบบระบายก๊าซและท่อเผาก๊าซ ระบบไฟฟ้า ระบบผจญเพลิง ระบบระบายน้ำ ระบบบำบัดน้ำโสโครก ระบบประปา และระบบจ่ายอากาศและก๊าซเฉือ่ ย 3. ระบบการผลิต มีขั้นตอนที่สำคัญคือระบบรับและแยกชนิดของไหลเบื้องต้น อุปกรณ์ลด ความชืน้ ของก๊าซ มาตรวัดปริมาณการซือ้ ขายก๊าซ และระบบจำหน่ายก๊าซธรรมชาติเข้าสูท่ อ่ ของ ปตท. และ อุปกรณ์แยก กักเก็บ และจำหน่ายคอนเดนเสด 4. ระบบบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิต น้ำจะผ่านระบบบำบัดเพือ่ แยกสารไฮโดรคาร์บอน ออกให้เหลือไม่เกิน 100 ส่วนในล้านส่วน แล้วส่งไปกำจัดโดยการระเหยในบ่อระเหยน้ำจำนวน 2 บ่อ และอาจ จัดให้มี Reverse osmosis เพือ่ ดึงน้ำส่วนหนึง่ ออกมา แล้วส่งไปยังบ่อระเหยน้ำ เพือ่ นำกากไปกำจัดต่อไป
หลักเกณฑ์การจัดสรรค่าภาคหลวงปิโตรเลียม ให้กบั ท้องถิน่ คิดจาก 100% ของเงินทีจ่ ดั สรรให้ แบ่งได้ดงั นี้ ค่าภาคหลวงจัดสรรให้ทอ้ งถิน่ 60% ส่วนทีเ่ หลือ 40% เป็นรายได้แผ่นดิน ค่าภาคหลวงจัดสรรให้ท้องถิ่น - อบต.และเทศบาลในเขตพืน้ ทีผ่ ลิตปิโตรเลียม 20% - อบต.และเทศบาลอืน่ ทีอ่ ยูใ่ นจังหวัดทีม่ พี น้ื ทีผ่ ลิตปิโตรเลียม 10% - อบต.และเทศบาลอืน่ ทีอ่ ยูใ่ นจังหวัดอืน่ (ทัว่ ประเทศ) 10% โดยจัดสรรตามจำนวนประชากร - อบจ.ในเขตพืน้ ทีผ่ ลิตปิโตรเลียม 20% ซึง่ ประกอบด้วย อบจ.อุดรธานี และ อบจ.ขอนแก่น ซึง่ จังหวัดขอนแก่น มี อบต.โนนสมบูรณ์ อำเภอเขาสวนกวาง เป็นพืน้ ทีใ่ นเขตผลิตปิโตรเลียม สินภูฮ่อม การจ่ายค่าภาคหลวง ครัง้ แรกเมือ่ วันที่ 31 มกราคม 2550 จำนวนเงิน 51,779,158 บาท ครัง้ ทีส่ อง เมือ่ วันที่ 30 เมษายน 2550 จำนวนเงิน 170,476,198 บาท
ประเด็นการร้องเรียน ของกลุม่ NGOs ในพืน้ ที่ กลุม่ อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมหนองแสง จังหวัดอุดรธานี จากการตรวจติดตามของกลุม่ อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ตามทีบ่ ริษทั ได้กำหนด ให้มกี ารปลูกหญ้าแฝกเพือ่ ป้องกันการ พังทลายของหน้าดินไว้นน้ั พบว่า การฟืน้ ฟูไม่เป็นไปตามแผนงาน โครงการทีก่ ำหนด สำหรับการดูแล ควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมนั้น เคยมีเรื่องร้องเรียนการจัดการขยะมูลฝอย จากกลุม่ ฯ บริษทั ได้ดำเนินการแก้ไขจนเป็นทีพ่ อใจแล้ว
82
3.6 โครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี แร่โพแทชเกิดขึ้นได้โดยการตกตะกอนของสารประกอบในน้ำทะเลเมื่อประมาณ 100 ล้านปี ทีผ่ า่ นมา โดยแหล่งแร่โพแทชและเกลือหินในประเทศไทยพบได้บนทีร่ าบสูงโคราช ได้แก่ แอ่งโคราชและ แอ่งสกลนคร โพแทชส่วนใหญ่ถกู นำไปใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตปุย๋ เคมีและนำไปใช้ในอุตสาหกรรมอืน่ ๆ การสำรวจโพแทชในประเทศไทยมีมานานแล้ว โดยในปี 2544 กรมทรัพยากรธรณีได้มีการเจาะสำรวจ บริเวณแหล่งอุดรธานี และได้พบว่ามีโพแทชทีม่ คี ณ ุ ภาพดี มีความบริสทุ ธิส์ งู อยูห่ ลายแห่งด้วยกัน หลังจากนัน้ มีบริษทั เอกชนเข้ามาขอสำรวจต่อ คือ บริษทั ไทยอะกริโก โพแทช จำกัด โดยการขออาชญาบัตรพิเศษจาก กรมทรัพยากรธรณี และรัฐบาลได้ทำสัญญาการสำรวจ การผลิตและการจำหน่ายกับ บริษทั เมือ่ ปี 2527 ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงผู้ถือหุ้นและสำรวจต่อตามลำดับดังนี้ m ธันวาคม 2543 บริษทั เอเชียแปซิฟคิ โปแตช คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (APPC) ได้รบั อาชญาบัตร พิเศษ ทีข่ อไว้ 53 แห่ง m กุมภาพันธ์ 2544 สำนักงานนโยบายและแผนสิง่ แวดล้อม (สผ.) ผ่านการพิจารณารายงานฯ m มกราคม 2545 เกิดกระแสต่อต้านขึน้ อย่างต่อเนือ่ งในหลายหมูบ่ า้ น สมาชิกองค์การบริหาร ส่วนตำบล (อบต.) และชาวบ้านร่วมกันผลักดันให้ อบต. มีมติไม่เห็นด้วยกับโครงการ m เมษายน 2545 จังหวัดอุดรธานี แต่งตัง้ คณะทำงานศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมจากโครงการเหมืองแร่โพแทช m สิงหาคม 2545 คณะทำงานทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ สรุปผลกระทบได้จากการดำเนินการศึกษา เผยแพร่แก่ประชาชนในพื้นที่ m มีนาคม 2546 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แต่งตั้งคณะกรรมการ ผู้ชำนาญการ ชุดใหม่จำนวน 6 คน เพื่อพิจารณาและให้ความเห็นต่อรายงานผลกระทบ สิง่ แวดล้อม EIA ในประเด็น ทีช่ าวบ้านร้องเรียน m มิถนุ ายน 2546 คณะกรรมการฯ ได้สรุปผลการพิจารณาทบทวน EIA ขาดความสมบูรณ์หลาย ประเด็นตามที่ชาวบ้านร้องเรียน m มิถนุ ายน 2546 APPC ได้ยน่ื ขอประทานบัตรต่อสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดอุดรธานี แต่ ถูกส่งกลับให้ไปแก้ไขใหม่ และจากการทบทวนรายงาน EIA ในประเด็นทีช่ าวบ้านร้องเรียน ต่อมา สผ. ได้ยื่นเรื่องให้สำนักงานกฤษฎีกาตีความในกรณีที่ว่าจะต้องมีการจัดทำรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมขึ้นมาใหม่ทั้งฉบับหรือไม่หรือให้มีการศึกษาใหม่เฉพาะ ประเด็นที่มีการท้วงติง m บริษทั อิตาเลีย่ นไทย ดีเวลล็อปเมนต์ จำกัด ซึง่ เข้ามาซือ้ หุน้ ของบริษทั เอพีพอี าร์ ซึง่ เป็น บริษทั แม่ของ เอพีพซี ี เข้าทำโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี ภายใต้ชอ่ื บริษทั สินแร่ไทย จำกัด บริษทั ไทยอริโก โปแตช จำกัด เริม่ ดำเนินการสำรวจแร่โพแทชแหล่งอุดรธานีในปี 2527 และเปลีย่ น ชื่อจาก ไทยอริโก โปแตช จำกัด มาเป็น บริษัท เอเชียแปซิฟิค โปแตช คอร์ปอเรชั่น จำกัด (APPC) ในเดือนสิงหาคม พ.ศ.2536 บริษทั ฯ ได้ยน่ื ขออาชญาบัตรพิเศษเมือ่ วันที่ 3 พฤศจิกายน 2543 และสิน้ สุดอายุ
83
ในวันที่ 2 พ.ย.2546 ซึง่ ก่อนทีอ่ าชญาบัตรผูกขาดสำรวจแร่จะสิน้ สุดลง บริษทั จะต้องยืน่ ขอประทานบัตร เพือ่ ทำเหมือง ซึง่ บริษทั ฯ ได้ยน่ื ขอประทานบัตรเมือ่ วันที่ 29 พฤษภาคม2546 พืน้ ทีข่ อประทานบัตรทัง้ สิน้ 22,400 ไร่ ในพืน้ ที่ 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลหนองไผ่ ตำบลโนนสูง อำเภอเมือง และตำบลนาม่วง ตำบลห้วยสามพาด กิง่ อำเภอประจักษ์- ศิลปาคม ทีต่ ง้ั โรงแยกแร่ อยูท่ ่ี บ้านหนองตะไก้ ตำบลหนองไผ่ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี อยูห่ า่ งจาก ตัวเมืองประมาณ 18 กิโลเมตร โดยเลือกใช้วธิ กี ารทำเหมือง แบบช่องทางสลับค้ำยัน (Room and Pillar) โดยการเจาะอุโมงค์จากพืน้ ดินลงไปในลักษณะเอียง ขนาดกว้าง 6 เมตร สูง 4.5 เมตร จำนวน 2 ช่ อ ง ยาวประมาณ 2.7 กิ โ ลเมตร เพื ่ อ เป็ น เส้ น ทางลงสู ่ ช ั ้ น แร่ แ ละขนส่ ง ลำเลี ย งแร่ จ น ถึงชั้นความลึกที่ระดับประมาณ 300 เมตร จากนั้นจะขุดเป็นอุโมงค์ใต้ดินไปตามสายชั้นแร่ในแนวราบ ขณะเดียวกันก็จะเว้นผนังบางส่วน ไว้เป็นเสาค้ำยันเพือ่ ป้องกันดินทรุด ดังนัน้ จะมีการขุดแร่ออก ประมาณ 6070% ส่วนทีเ่ หลือทิง้ ใว้ให้เป็นเสาค้ำยัน แร่จะถูกลำเลียงโดยสายพานขึน้ สูโ่ รงแต่งแร่บนพืน้ ดิน บนพืน้ ทีป่ ระมาณ 2,000 ไร่ โดยใช้วธิ กี ารลอยแร่ ตกตะกอนแยกแร่และอบแห้ง เพือ่ ให้ได้โพแทชสำหรับเป็นวัตถุดบิ ทำปุย๋ มีกำลังการผลิตประมาณ 6,000 ตันต่อวัน หรือสูงสุดปีละ 2 ล้านตัน
รูปที่ 3.29 แสดงพืน้ ทีส่ มั ปทานโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี ความเคลือ่ นไหวขององค์กรภาครัฐ / ภาคประชาชน 1) การเคลือ่ นไหวขององค์กรภาครัฐ ปี 2545 จังหวัดอุดรธานีได้มคี ำสัง่ ที่ 1043/2545 ลงวันที่ 2 เมษายน 2545 แต่งตัง้ คณะทำงาน ศึกษา ผลกระทบทีเ่ กิดจากโครงการเหมืองแร่โพแทช ซึง่ คณะทำงานประกอบด้วย ส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้อง ตัวแทนจากภาคเอกชน กลุม่ ผูค้ ดั ค้าน และผูส้ นับสนุนโครงการ ปี 2546 ในเดือนมีนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงฯ นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ ได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานจำนวน 6 คน เพื่อพิจารณา ข้อร้องเรียน รายงานการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อม ซึง่ คณะทำงานได้ทบทวนรายงานดังกล่าวตลอดจนลง พื้นที่ศึกษาพบว่า EIA มีข้อบกพร่องจำนวน 26 ข้อ และผลสืบเนื่องจากกรณีดังกล่าว ประกอบกับได้มี การแก้ไข พรบ.แร่ ปี 2510 สผ.ได้มกี ารหารือกับสำนักงานกฤษฎีกา ในการทบทวนการให้ความเห็นชอบ รายงาน EIA ซึง่ ต่อมาในเดือนมิถนุ ายน สำนักงานกฤษฎีกา ได้ให้ความเห็นว่า หากคณะกรรมการผูช้ ำนาญการ
84
เห็นว่ามีขอ้ เท็จจริงเกีย่ วกับสภาพพืน้ ทีห่ รือข้อกฎหมายเปลีย่ นแปลงไปและการเปลีย่ นแปลงนัน้ ไปกระทบ ต่อสาระสำคัญของรายงาน EIA ทีใ่ ห้ความเห็นชอบไปแล้ว คณะกรรมการผูช้ ำนาญการย่อมสามารถยกเลิก ความเห็นชอบได้ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ทั้งนี้เพื่อรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมนั้น สอดคล้องกับข้อเท็จจริง และข้อกฎหมายในปัจจุบนั อย่างไรก็ตามใน เดือนพฤษภาคม บริษทั APPC ได้ ยืน่ คำขอประทานบัตรทำเหมืองใต้ดนิ ในพืน้ ทีอ่ ดุ รใต้ครอบคลุมพืน้ ทีป่ ระมาณ 22,437 ไร่ คลอบคลุมพืน้ ทีใ่ น ตำบลหนองไผ่ ตำบลโนนสูง อำเภอเมือง และตำบลนาม่วง ตำบลห้วยสามพาด กิง่ อำเภอประจักษ์ศลิ ปาคม จังหวัดอุดรธานี ปี 2547 ในเดือนมิถนุ ายน สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดอุดรธานี ลงทะเบียนให้บริษทั APPC เป็นผูข้ อ ประทานบัตรทำเหมืองใต้ดนิ ในพืน้ ทีอ่ ดุ รใต้ และต่อมาพนักงานเจ้าหน้าทีข่ องกรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ เริม่ ดำเนินการรังวัดเพือ่ กำหนดเขตคำขอประทานบัตรในเดือนสิงหาคม แต่ประสบปัญหามีประชาชนคัดค้าน และเดือนกันยายน บริษทั APPC ยืน่ ขอประทานบัตรในพืน้ ทีอ่ ดุ รเหนือ ครอบคลุมพืน้ ที่ 52,073 ไร่ ปี 2548 จังหวัดอุดรธานีได้มคี ำสัง่ ที่ 49/2548 แต่งตัง้ คณะทำงานศึกษาผลกระทบและประชาสัมพันธ์ โครงการเหมืองแร่โพแทชจังหวัดอุดรธานี จำนวน 55 คน ขึน้ ใหม่แทนชุดเดิม โดยมีผแู้ ทน สสภ.9 สผ.และ ทสจ.อุดรธานี เข้าร่วมเป็นคณะทำงานและยังมีผแู้ ทนจากทุกภาคส่วน เพือ่ แก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่าง กลุม่ คัดค้านและกลุม่ สนับสนุนโครงการฯและผลจากการประชุมคณะทำงานในครัง้ ที่ 1/48 เมือ่ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2548 ทีป่ ระชุมมีมติให้มหี นังสือแจ้งให้ สผ. ยกเลิกรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม นอกจากนี้ คณะทำงานยังได้มีการจัดประชุมรับฟังข้อมูลจากฝ่ายต่างๆ ประกอบด้วย กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและ การเหมืองแร่ (กพร.) สผ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ ศ.ดร.ปริญญา นุตาลัย เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2548 ปี 2549 คณะอนุกรรมการศึกษาผลกระทบและประชาสัมพันธ์โครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี ได้จดั เวทีสาธารณะ เวทีแสดงความคิดเห็นและเผยแพร่ขอ้ มูลเกีย่ วกับโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี ในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี โดยมีกลุม่ ผูส้ นับสนุนและคัดค้านโครงการ และตัวแทนหน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา และตัวแทนบริษทั เอเชียแปซิฟคิ โปแตช คอร์ปอเรชัน่ จำกัด (APPC) เข้าร่วมสัมมนา อย่างไรก็ตามซึง่ ในช่วงท้ายของการสัมมนาได้เกิดความโกลาหล ทำให้ไม่สามารถ ดำเนินการสัมมนาได้ตอ่ เนือ่ งตามทีก่ ำหนดไว้ ปี 2550 จังหวัดอุดรธานีได้มคี ำสัง่ ที่ 86/2550 ลงวันที่ 16 มกราคม 2550 แต่งตัง้ คณะทำงานเพือ่ การเรียนรูร้ ว่ มกันสร้างสรรค์สงั คม: กรณีโครงการเหมืองแร่โพแทชจังหวัดอุดรธานี ประกอบด้วยคณะทีป่ รึกษาและ คณะทำงานฯ โดยมีอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เป็นประธาน ป้องกันจังหวัดอุดรธานีเป็นเลขานุการ และตัวแทนสำนักงาน อุตสาหกรรมจังหวัดเป็นผูช้ ว่ ยเลขานุการ ซึง่ คณะทำงานดังกล่าวยังประกอบด้วยตัวแทน กลุม่ อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม ทส.จ.อุดธานี สสภ.9 และกรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ นักวิจยั อิสระ เป็นคณะทำงาน โดยมีหน้าที่ให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการเหมืองแร่โพแทช ให้ครอบคลุม ทุกด้านแก่ประชาชน และเป็นคนกลางในการจัดเวทีเผยแพร่ความรูแ้ ละประสานงานผูเ้ ชีย่ วชาญต่างๆ 2) ความเคลือ่ นไหวขององค์กรภาคประชาชน ปี 2546 กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมจังหวัดอุดรธานี ร่วมประชุมเจรจาแก้ไขปัญหาโครงการ เหมืองแร่โพแทช ซึ่งจัดโดยจังหวัดอุดรธานี และตัวแทนหน่วยงานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม(ทส.) เข้าร่วมประชุม เมือ่ วันที่ 9 มกราคม 2546 ผลจากการหารือ ทำให้มกี ารแต่งตัง้ คณะทำงาน
85
ทบทวนรายงานวิเคราะห์ผลกระทบ สิง่ แวดล้อมของโครงการฯ ปี 2548 กลุม่ อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมจังหวัดอุดรธานีได้เข้ายืน่ หนังสือต่อปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2548 เรียกร้องให้มกี ารยกเลิกรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม ของโครงการเหมืองแร่โพแทช เนือ่ งจากพบว่ามีขอ้ บกพร่อง จำนวน 26 ประเด็น ต่อมาเมือ่ วันที่ 9 สิงหาคม 2548 กลุม่ อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมจังหวัดอุดรธานี ได้เข้ายืน่ หนังสือคัดค้านผังเมืองรวมต่อคณะอนุกรรมการผังเมือง จังหวัดอุดรธานี เนือ่ งจากร่างผังเมืองรวมอุดรธานีกำหนด ตำบลหนองขอนกว้าง ตำบลหนองนาคำ ตำบลโนนสูง ตำบลหนองไผ่ อำเภอเมือง และ ตำบลห้วยสามพาด ตำบลนาม่วง กิง่ อ.ประจักษ์ศลิ ปาคม เป็นพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม ปี 2549 ในเดือนมีนาคม 2549 แกนนำกลุม่ อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมจังหวัดอุดรธานี ได้เข้าทำการขัดขวาง และคัดค้านการรังวัดปักหลักหมายเขตพืน้ ทีเ่ หมืองแร่ และโรงแต่งแร่ จนถูก บริษทั เอเชีย แปซิฟคิ โปแตช คอร์ปอเรชัน่ จำกัด แจ้งความ ดำเนินคดี จำนวน 5 คน ในข้อหาร่วมกันบุกรุกและทำให้เสียทรัพย์ ซึง่ ต่อมา วันที่ 11 สิงหาคม 2549 น.ส.ประพิมพรรณ สุดชูเกียรติ ตัวแทน บริษทั อิตาเลีย่ นไทย ดีเวลล็อปเมนต์ จำกัด (ซึง่ เข้ามาซือ้ หุน้ ของ บริษทั เอพีอาร์ เป็นบริษทั แม่ของ เอพีพซี )ี ได้ทำการเปิดแถลงข่าว ณ ศาลากลางจังหวัดอุดรธานี โดยมีนายจารึก ปริญญาพล ผูว้ า่ ราชการ จังหวัดอุดรธานี ร่วมเป็นสักขีพยาน ในประเด็นทีส่ ำคัญ ประกอบด้วย จะทำการถอนแจ้งความกับ 5 แกนนำในข้อหาหมิน่ ประมาทและทำให้ เสียทรัพย์ จะมีการจัดทำรายงานการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อม (EIA) โครงการเหมืองแร่โพแทช ขึน้ มาใหม่ ต่อมาเมือ่ วันที่ 22 ธันวาคม 2549 กลุม่ อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมจังหวัดอุดรธานี ประมาณ 200 คน ได้ เดินทางไปยัง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอคำชีแ้ จงกรณี มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ได้ตกลงทำการศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อมโครงการเหมือง รูปที่ 3.30 แสดงการคัดค้านโครงการ แร่โพแทชจังหวัดอุดรธานี เพิม่ เติมในประเด็นต่างๆ ทีม่ กี ารท้วงติง เหมืองแร่โพแทชในพืน้ ทีต่ ง้ั โครงการ สถานะปัจจุบนั ของโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี m บริษทั เอเชีย แปซิฟกิ โปแตช คอร์ปอเรชัน่ จำกัด ได้วา่ จ้าง บริษทั โกลเด้น แพลน จำกัด ร่วมกับศูนย์การจัดการสิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อมโครงการเหมืองแร่ โพแทช เพิ่มเติมโดยมีขอบเขตความรับผิดชอบ 5 ด้าน ประกอบด้วย (1)งานศึกษาด้านการทำเหมือง และเทคนิควิศวกรรม (2)งานศึกษาด้านธรณีวทิ ยา ธรณีแหล่งแร่ รวมทัง้ น้ำใต้ดนิ (3)งานศึกษาวิเคราะห์ ผลกระทบสิง่ แวดล้อม (4)งานศึกษาผลกระทบทางสังคม และ (5)งานศึกษาผลกระทบด้านสุขอนามัย m บริษทั อิตาเลีย่ นไทย ดีเวลล็อปเมนต์ จำกัด ซึง่ เข้ามาซือ้ หุน้ ของบริษทั เอพีพอี าร์ ซึง่ เป็น บริษทั แม่ของ เอพีพซี ี เข้าทำโครงการเหมืองแร่โพแทช จังหวัดอุดรธานี ภายใต้ชอ่ื บริษทั สินแร่ไทย จำกัด ปัจจุบันยังไม่ได้รับสัมปทานการผลิตแร่ (ทีม่ า: จดหมายข่าวชุมชนคนฮักถิน่ ปีท่ี 2 ฉบับที่ 16 ประจำเดือนมิถนุ ายน 2549)
86
3.7 ภาวะโลกร้อน ปัจจุบนั ได้มกี ารพูดกันอย่างกว้างขวางถึงปรากฏการณ์ ภาวะโลกร้อน ก๊าซเรือนกระจก การลดลง ของชัน้ บรรยากาศโอโซน และการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ ซึง่ กำลังคุกคามพืน้ ทีท่ กุ หนทุกแห่งทัว่ โลกอยูใ่ นเวลา นี้ ไม่มที ใ่ี ดทีจ่ ะหลีกพ้นผลจากภาวะดังกล่าวไปได้ เพียงแต่มพี น้ื ทีบ่ างแห่งทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบมากบ้างน้อยบ้าง ต่างกันไปเท่านัน้ ขณะนีป้ ระเทศต่างๆ ทัว่ โลกเริม่ ตระหนักและกำลังหาทางแก้ไขกันอย่างเร่งรัด ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมอิ ากาศเปลีย่ นแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปัญหานี้ มาจาก ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse gases) ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสำคัญกับโลก เพราะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หรือมีเทน จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสูบ่ รรยากาศ ทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด (และตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มบี รรยากาศกรองพลังงานจากดวงอาทิตย์) ซึง่ การทำให้โลกอุน่ ขึน้ เช่นนี้ คล้ายกับหลักการของ เรือนกระจก (ทีใ่ ช้ปลูกพืช) จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect)
รูปที่ 3.31 แสดงปรากฏการณ์เรือนกระจก ที่มา: ภาพจาก Global Warming Exhibition of National Academy of Science (US) แต่การเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งของ CO2 ทีอ่ อกมาจาก โรงงานอุตสาหกรรม รถยนต์ หรือการกระทำ ใดๆทีเ่ ผา เชือ้ เพลิงฟอสซิล (เช่น ถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ หรือสารประกอบไฮโดรคาร์บอน) ส่งผลให้ ระดับปริมาณ CO2 ในปัจจุบนั สูงเกิน 300 ppm (300 ส่วนในล้านส่วน) เป็นครัง้ แรกในรอบกว่า 6 แสนปี ซึง่ คาร์บอนไดออกไซด์ ทีม่ ากขึน้ นี้ ได้เพิม่ การกักเก็บความร้อนไว้ในโลกของเรามากขึน้ เรือ่ ยๆ จนเกิดเป็น ภาวะโลกร้อน ดังเช่นปัจจุบนั (http://www.whyworldhot.com) สำนักงานคณะกรรมการสิง่ แวดล้อมแห่งชาติได้รายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกซึง่ เป็นปัจจัย สำคัญทีเ่ ร่งทำให้ภาวะโลกร้อนมากขึน้ ว่า ปัจจุบนั ไทยปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยเฉลีย่ 2.6 ตัน/คน/ปี และ พบว่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเกิดจากน้ำมือมนุษย์ถงึ ร้อยละ 90 จาก 3 กิจกรรมใหญ่ คือ 1) กลุม่ พลังงาน มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จากเชือ้ เพลิงฟอสซิลถึง 257 ล้าน ตัน หรือร้อยละ 80 ทำให้ภาคพลังงานของไทยเป็นตัวแปรสำคัญทีป่ ล่อยภาวะเรือนกระจกสูงกว่า 56% 2) กลุม่ การเกษตร กิจกรรมทางการเกษตรส่วนใหญ่รอ้ ยละ 91 ทีท่ ำกันอยู่ ได้กอ่ ให้เกิด ปฏิกริ ยิ า เรือนกระจก โดยปลดปล่อยก๊าซมีเทนและไนตรัสออกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์สชู่ น้ั บรรยากาศ ซึง่ ก๊าซเหล่านี้
87
มีคณ ุ สมบัตใิ นการดูดกลืนความร้อน โดยเฉพาะการปลูกข้าวปล่อยก๊าซมีเทนถึงร้อยละ 73 และการจัดการมูลสัตว์ ในภาคปศุสตั ว์ปล่อยก๊าซมีเทนร้อยละ 26 ผลวิจยั ระบุวา่ ทัง้ สองกิจกรรมปลดปล่อยก๊าซมีเทนออกมาประมาณ 3.3 ล้านตัน นอกจากนัน้ ภาคเกษตรยังปล่อยก๊าซไนตรัสออกไซด์ 70,000 ตัน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์รอ้ ยละ 16 ของปริมาณการปล่อยก๊าซทัง้ หมดออกมาด้วย 3) กลุม่ การเปลีย่ นแปลงการใช้ทด่ี นิ และป่าไม้ มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 36 ล้านตัน แต่มกี ารดูดซับ CO2 กลับคืนไปแค่ 13 ล้านตันเท่านัน้ ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน การศึ ก ษาของกลุ ่ ม เยอรมนี ว อทช์ (http://www.bangkokbiznews.com/2008/01/03/ WW83_8301_news.php?news.php?newsid=217021) ระบุว่า ในปี 2549 โลกเผชิญหายนะภัยทาง ธรรมชาติ เช่น พายุและน้ำท่วม มากกว่าช่วง 2 ปีกอ่ น โดยเกิดภัยธรรมชาติถงึ 953 ครัง้ เทียบกับ 716 ครัง้ ในปี 2548 และ 718 ครั้งในปี 2547 และหากศึกษาตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1950 พบว่าภัยธรรมชาติในรูป พายุเกิดเพิม่ ขึน้ เท่าตัว ส่วนน้ำท่วมและภาวะอากาศสุดขัว้ เช่น คลืน่ ความร้อน และภัยแล้ง เกิดเพิม่ 4 เท่า โดยชาติยากจนเป็นกลุม่ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบหนักสุด เช่น ฮอนดูรสั และนิการากัว ทีเ่ ผชิญเฮอริเคนหลายลูก ส่วนบังกลาเทศเผชิญพายุโซนร้อนทีส่ ร้างความเสียหายอย่างหนักกับเศรษฐกิจ สถาบันสิง่ แวดล้อมไทย (2537) ได้ใช้โมเดล GCMs คาดการณ์จากสถานการณ์โลกร้อนว่า ประเทศ ไทยอุณหภูมจิ ะสูงขึน้ อีก 2.5-6 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะในช่วงเดือนพฤศจิกายน - มกราคม ส่วนปริมาณ น้ำฝนจะเท่าเดิมหรือเพิม่ ขึน้ 40% ขณะทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจะแห้งแล้งมากขึน้ จากสภาวะ อากาศแปรเปลีย่ นมีระยะเวลาของฤดูสน้ั กว่าปกติ ภาวะโลกร้อน ส่งผลกระทบอย่างยิง่ ต่อภูมอิ ากาศในปัจจุบนั ทำให้ฤดูกาลต่างๆ ผิดเพีย้ น ฝน ไม่ตกต้องตามฤดูกาล หน้าแล้งยาวนานขึน้ หน้าฝน ตกหนักจนท่วม สิง่ เหล่านีแ้ ปรปรวนไปเพราะ ภาวะ โลกร้อน เป็นหลัก และเนือ่ งจากอุณหภูมบิ นพืน้ โลกสูงขึน้ ทำให้นำ้ ในมหาสมุทรและพืน้ ดินระเหยไปสะสม เป็นเมฆมากขึน้ ลมพายุได้นำพาเมฆเหล่านีเ้ ข้าสูพ่ น้ื ดิน และกลัน่ ตัวตกลงมาเป็นฝนตกหนัก เกิดน้ำท่วม เฉียบพลันในพืน้ ทีน่ น้ั ๆ อย่างไรก็ตาม ภาวะโลกร้อน กลับทำให้บางพืน้ ทีแ่ ห้งแล้งหนัก เนือ่ งจากฝนไม่ตกใน พืน้ ทีน่ น้ั อย่างทีค่ วรจะเป็น การเปลีย่ นของภูมอิ ากาศดังกล่าวย่อมส่งผลต่อการผลิต การบริโภค และด้าน สุขภาพอนามัยของสิง่ มีชวี ติ ในโลกนีอ้ ย่างถ้วนทัว่ กัน บัญญัตสิ บิ ประการในการแก้ไขปัญหาโลกร้อน (ทีม่ า: http://www.biothai.net/web/) วิถกี ารผลิตการบริโภคและการค้าในโลกปัจจุบนั เป็นปัจจัยทีท่ ำลายสิง่ แวดล้อมอย่างมหาศาล รวม ถึงนำมาซึง่ ภาวะโลกร้อนทีก่ ำลังคุกคามระบบนิเวศของโลก และผลักดันชุมชนมนุษย์ไปสูห่ ายนะ การป้องกัน และแก้ไขปัญหาโลกร้อน เราทุกคนสามารถทำได้ ดังนี้ 1) ใช้ขนส่งมวลชน เพือ่ หลีกเลีย่ งการใช้รถยนต์สว่ นตัว หรือเปลีย่ นมาใช้รถยนต์ทก่ี นิ น้ำมัน น้อยทีส่ ดุ 2) กินและใช้อย่างพอเพียง การผลิตและการขนส่งสินค้าเกือบทุกชนิดล้วนแต่ใช้พลังงานทัง้ นัน้ 3) นิยมไทยใช้และกินของทีผ่ ลิตในประเทศ สินค้าจากต่างประเทศต้องสิน้ เปลืองพลังงานขนส่ง เป็นอย่างมาก
88
4) ประหยัดการใช้กระดาษ อุตสาหกรรมการผลิตกระดาษใช้พลังงานมากเป็นอันดับ 4 ทัง้ ยัง ก่อมลพิษทางน้ำ เป็นต้นเหตุของการทำลายป่าไม้ซง่ึ เป็นตัวดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ท่ี สำคัญด้วย 5) สนับสนุนสินค้าจากบริษทั ผูผ้ ลิตทีส่ นใจปัญหาสิง่ แวดล้อม และเลิกสนับสนุนสินค้าของบริษทั ทีก่ อ่ มลพิษต่อสิง่ แวดล้อม เพือ่ แสดงความเป็นน้ำหนึง่ ใจเดียวกับผูผ้ ลิตทีอ่ ยากมีสว่ นในการ ปกป้องโลก 6) เลือกอุปกรณ์ประหยัดไฟฟ้า เช่น เปลีย่ นมาใช้หลอดประหยัดพลังงาน หลอดไฟทีใ่ ช้กนั อยู่ ทัว่ ไปเปลีย่ นพลังงานเพียงร้อยละ 10 ให้เป็นแสงสว่าง ส่วนพลังงานอีกร้อยละ 90 สูญเสีย ไปในรูปของความร้อน 7) เลือกทีจ่ ะซือ้ ของจากร้านทีใ่ ช้พลังงานน้อยทีส่ ดุ สิง่ สำคัญนอกจากช่วยแก้ปญ ั หาโลกร้อนแล้ว ยังช่วยให้รา้ นโชว์หว่ ยของคนไทยมีลมหายใจได้นานขึน้ ไปอีก 8) วางแผนการดำเนินชีวติ ในแต่ละวัน และดำเนินตามแผนให้เป็นจริงทีส่ ดุ เพือ่ ป้องกันการใช้ เงินฟุม่ เฟือย เพราะหลงทางหรือสนุกจนลืมตัว 9) ปฏิเสธการใช้ถงุ พลาสติกจากร้านค้า เมือ่ ไม่จำเป็นต้องใช้ เพราะจะทำให้เกิดขยะ การกำจัด ขยะต้องใช้พลังงานทีก่ อ่ ให้เกิดภาวะโลกร้อนอีกจำนวนมาก 10)บอกความรุนแรงของปัญหาโลกร้อนต่อไปให้เพื่อนหรือญาติทราบว่ามันจะเกิดอะไรขึ้นกับ พวกเราถ้ายังเพิกเฉยกันอยู่ และสุดท้าย...อย่าหวังสิ่งเหล่านี้จากผู้ใดทั้งสิ้น จงกระทำด้วยตนเอง “ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา”
89
คณะผู ้ จ ั ด ทำ รายงานสถานการณ์คณ ุ ภาพสิง่ แวดล้อม ปี 2550 ภาคที่ 9 ลุม่ น้ำโขง ที่ปรึกษา นายศักดิส์ ทิ ธิ์ ตรีเดช นายชาตรี ช่วยประสิทธิ์
ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
บรรณาธิการ นายธวัช ปทุมพงษ์
ผูอ้ ำนวยการสำนักงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9
กองบรรณาธิการ นายสายยนต์ สีหาบัว นายสุรพงษ์ ศรีประไหม นางเรียมสงวน งิว้ งาม นายสมพงษ์ บุญเฟรือง นางสาวนัทธมน แฝงศรีคำ นายพิชญ บุญญาสุ นางสาวรจนา อินทรธิราช นายไพบูลย์ มานพ นางสาวณภัทร ตัง้ กิจวานิชย์
นักวิชาการสิง่ แวดล้อม 8ว นักวิชาการสิง่ แวดล้อม 7ว นักวิชาการสิง่ แวดล้อม 7ว นักวิชาการสิง่ แวดล้อม 7ว นักวิชาการสิง่ แวดล้อม 7ว นักวิชาการสิง่ แวดล้อม 6ว นักวิชาการสิง่ แวดล้อม 6ว นักวิชาการสิง่ แวดล้อม 6ว นักวิชาการสิง่ แวดล้อม 5
ฝ่ายสนับสนุน เจ้าหน้าทีส่ ำน้กงานสิง่ แวดล้อมภาคที่ 9
รูปเล่ม/ออกแบบปก นางสาวธนิกานต์ สิรจิ นั ทพันธุ์
90
เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
รายชื่อผู้รวบรวมเรียบเรียง รายงานสถานการณ์คณ ุ ภาพสิง่ แวดล้อม ปี 2550 ภาคที่ 9 ลุม่ น้ำโขง บทที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป บทที่ 2 สถานการณ์คณ ุ ภาพสิง่ แวดล้อม 2.1 สถานการณ์การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำ ลุม่ น้ำภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ปี 2550 2.2 สถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย 2.3 สถานการณ์เรือ่ งร้องเรียนปัญหาสิง่ แวดล้อม ปี 2550 2.4 สถานการณ์การจัดการน้ำเสีย 2.5 สิง่ ปฏิกลู กับชุมชนเมือง บทที่ 3 ความเคลือ่ นไหวทีส่ ำคัญในรอบปี 2550 3.1 เหมืองแร่ทองคำ การพัฒนาอย่างมีสว่ นร่วม 3.2 การจัดการมลพิษ เพือ่ กูว้ กิ ฤติหว้ ยหลวง 3.3 การตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพน้ำ จากการประกอบกิจการเกลือสินเธาว์ 3.4 เส้นทางของน้ำมันเครือ่ งเก่าทีใ่ ช้แล้ว กับผลกระทบที่เกิดขึ้น 3.5 แหล่งผลิตก๊าซธรรมชาติ สินภูฮอ่ ม 3.6 โครงการเหมืองแร่โพแทซ จังหวัดอุดรธานี 3.7 ภาวะโลกร้อน
นายสมพงษ์ บุญเฟรือง
นายไพบูลย์ มานพ นายสมพงษ์ บุญเฟรือง นางสาวรจนา อินทรธิราช นางเรียมสงวน งิว้ งาม นางสาวรจนา อินทรธิราช นางสาวณภัทร ตัง้ กิจวานิชย์ นายธวัช ปทุมพงษ์ นางสาวรจนา อินทรธิราช นางเรียมสงวน งิว้ งาม นางเรียมสงวน งิว้ งาม นางสาวรจนา อินทรธิราช นายสายยนต์ สีหาบัว นายสายยนต์ สีหาบัว นายสุรพงษ์ ศรีประไหม
91