INTUNE WITH YOUR WORLD
รายงานประจำป 2554
สารบัญ 4 13 16 18 20 22 32 34 36 37 40 55 58 64 82 114 122 151 152 154
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ กิจกรรมเพื่อสังคมของอินทัช สารจากประธานคณะกรรมการ และประธานเจ าหน าที่บริหาร รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจำป 2554 คณะกรรมการและผ ูบริหาร รายละเอียดโดยย อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผ ูบริหาร การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย ของคณะกรรมการประจำป 2554 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย อย ผู ถือหุ นรายใหญ โครงสร างการถือหุ นกลุ มอินทัช ข อมูลทั่วไปของบริษัท และบริษัทในเครือ พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ลักษณะการประกอบธุรกิจ ป จจัยความเสี่ยง การจัดการและการกำกับดูแลกิจการ รายการระหว างกัน คำอธิบายและการวิเคราะห ผลการดำเนินงาน รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต อรายงานทางการเงิน รายงานของผ ูสอบบัญชีรับอนุญาต งบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน
01 รายงาน ประจำป 2554
“We are the leading value creation asset management company in telecom and media” Vision
Mission - To deliver sustainable growth and long-term value to shareholders by investing and managing telecom and media businesses - To continue Group good corporate governance practices - To uphold corporate core values that focus on integrity, teamwork, innovation, people excellence and social responsibility (I-TIES) - To continue sustainable corporate social responsibility activities - To explore new business opportunities in telecom and media
02 อินทัช
INTOUCH เป นสัญลักษณ ที่มาจากรอยยิ้ม ใช โทนสี สว างสดใส ดูอบอุ นและ เต็มไปด วยความหวัง สะท อนถึงการมองโลกในแง ดี ความคิดสร างสรรค และ การแสดงออกที่เป ยมพลัง
03 รายงาน ประจำป 2554
กลุ มชินคอร ปอเรชั่น ได ก าวข ามจากกลุ มธุรกิจโทรคมนาคม สู การเป นกลุ ม ธุรกิจที่มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้นในป จจุบัน จากองค กรที่ให ความสำคัญ กับความก าวหน าทางเทคโนโลยี สู การเป นองค กรที่มุ งสร างสรรค ความ พึงพอใจสูงสุดแก ลูกค า กลุ มชินคอร ปอเรชั่น จึงเปลี่ยนเครื่องหมายการค า จาก “SHIN” เป น "INTOUCH" (อินทัช) โดยเปลีย่ นจากสัญลักษณ ลกู โลกเดิม ที่ใช มากว า 20 ป สู สัญลักษณ ใหม ที่สามารถสะท อนความเป นมิตรได ดียิ่งขึ้น ใกล ชิด และสัมผัสได ง ายขึ้น โดยเราเรียกสัญลักษณ ใหม นี้ว า INTOUCH INTOUCH เป นสัญลักษณ ที่มาจากรอยยิ้ม ใช โทนสีสว างสดใส ดูอบอุ นและ เต็มไปด วยความหวัง สะท อนถึงการมองโลกในแง ดี ความคิดสร างสรรค และ การแสดงออกที่เป ยมพลัง แนวคิดหลักเรื่องรอยยิ้มยังช วยบอกเล าเรื่องราว ของการติดต อสือ่ สาร การสนทนา ความร วมมือ การเป นหุน ส วนการช วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน ฯลฯ อันเป นเป าหมายสำคัญที่ INTOUCH มุ งสร างสรรค ให เกิดขึ้น ภารกิจ ของ INTOUCH คื อ การเชื ่ อมโยงความต อ งการของคนไทยกั บ เทคโนโลยีที่สร างสรรค คุณภาพชีวิต เชื่อมโยงทุกคนให เข าถึงสิ่งสำคัญที่มี บทบาทในชีวิต ร อยสายสัมพันธ ระหว างผู คนด วยช วงเวลาแห งความสุข นำชีวิตไปสู โอกาสที่มากขึ้น สู อนาคตที่เต็มไปด วยความหวัง มีความมั่นคง และเติมความมุ งมั่นให แก คนในสังคมที่จะสร างสรรค สิ่งดีๆ ให แก กันเพื่อ ยกระดับสังคม INTOUCH พร อมส งมอบความรู สึกที่พิเศษ ประสบการณ ที่พิเศษ และความ สำเร็จครัง้ สำคัญของชีวติ เรามุง หวังจะเป น กลุม ผูบ ริหารจัดการสินทรัพย ชั้นนำ ในธุรกิจสื่อและโทรคมนาคม ตลอดจนต อยอดนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลค าให กับ ธุรกิจต อเนื่องที่หลากหลายมากขึ้น เราเชื่อว าเราเข าใจคนไทยมากกว าใคร คุ ณ ภาพแห ง การบริ ก ารเป น สิ่ ง ที่ เราไม เ คยละเลย เราเชื ่อ ว า INTOUCH จะกลายเป นพลังอนาคตที่เชื่อมโยงคนในสังคมไทยไว ด วยกัน
04 อินทัช
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ
บริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) และบริษัทย อย ข อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม ผลการดำเนินงาน (งบการเงินรวม) รายได จากการขายและการให บริการ ส วนแบ งผลกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร วม รายได รวม กำไรขั้นต น กำไรสำหรับป ส วนที่เป นของบริษัทใหญ สินทรัพย รวม หนี้สินรวม ส วนของบริษัทใหญ อัตราส วนทางการเงิน (งบการเงินรวม) อัตรากำไรสุทธิต อรายได รวม อัตราผลตอบแทนต อส วนของผู ถือหุ น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย รวม อัตราส วนหนี้สินรวมต อส วนของผ ู ถือห ุ น (เท า) กำไรสุทธิต อห ุ นขั้นพื้นฐาน (บาท) มูลค าตามบัญชีต อห ุ น (บาท) อัตราการจ ายเงินป ันผลต อห ุ น (บาท) จำนวนห ุ น (ล านห ุ น) (มูลค าที่ตราไว 1 บาท ต อหุ น)
2554
2553 ปรับปรุงใหม
ล านบาท 2552 ปรับปรุงใหม
8,649 10,069 26,225 1,899 16,559 55,527 26,201 21,159
7,967 9,196 17,328 952 8,016 47,173 16,454 22,142
8,533 7,465 16,568 1,188 6,496 61,467 16,571 35,754
63% 76% 32% 1.24 5.17 6.60 5.50
46% 28% 15% 0.74 2.50 6.92 6.77
39% 18% 10% 0.46 2.03 11.17 2.40
3,206.42
3,201.08
3,201.07
นโยบายการจ ายเงินป ันผล : คณะกรรมการบริษัท อาจพิจารณาการจ ายเงินป นผลประจำป ของบริษัท โดยจะต องได รับความเห็นชอบจาก ที่ประชุมผู ถือหุ น เว นแต เป นการจ ายเงินป นผลระหว างกาลซึ่งคณะกรรมการบริษัท มีอำนาจอนุมัติให จ ายเงิน ป นผลได เป นครั้งคราว เมื่อเห็นว าบริษัทมีผลกำไรสมควรจะทำเช นนั้นแล วให รายงานให ที่ประชุมผู ถือหุ นทราบ ในการประชุมคราวต อไป ป จจุบันบริษัทมีนโยบายที่จะจ ายเงินป นผลโดยพิจารณาจากงบการเงินเฉพาะบริษัท ไม น อยกว าร อยละ 40 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษี หากไม มีเหตุจำเป นอื่นใดและการจ ายเงินป นผลนั้นไม มี ผลกระทบต อการดำเนินงานปกติของบริษัทอย างมีนัยสำคัญ
สินทรัพย รวม หนี้สินรวม
ส วนของบริษัท
ล านบาท
16,571
16,454
2552
2553
21,159
22,142
26,201
35,754
47,173
55,527
61,467
05 รายงาน ประจำป 2554
สินทรัพย รวม หนี้สินรวม ส วนของบริษัทใหญ
ล านบาท 2554
06 อินทัช
RETURN OUR SUCCESS TO EVERY STAKEHOLDER เราเป นผูน ำการบริหารกิจการด านโทรคมนาคม โดยการสร างมูลค าของสินทรัพย ทเ่ี ราลงทุน ด วยการ เสริมสร างให สินทรัพย เหล านั้นมีการเติบโตได อย างต อเนื่องและแข็งแกร ง โดยสะท อนจากราคาหุ น ที่เพิ่มขึ้นและเงินป นผลที่ต อเนื่อง ในป 2554 ที่ผ านมา INTOUCH ประกาศจ ายเงินป นผลรวมทั้งสิ้น 5.50 บาทต อหุ น (รวมเงินป นผลระหว างกาลจำนวน 2.34 บาทต อหุ นที่ประกาศจ ายในวันที่ 26 ธันวาคม 2554) หรือคิดเป นอัตราผลตอบแทนร อยละ 12.8 ป จจุบันธุรกิจหลักของ INTOUCH ได แก ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร สาย ธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจ ต างประเทศ และธุรกิจสื่อและโฆษณา โดยมี บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส (AIS) เป นผูน ำในธุรกิจด านการสือ่ สารโทรคมนาคมแบบไร สาย บริษทั ไทยคม จำกัด (มหาชน) หรือ ไทยคม (THAICOM) ดำเนินธุรกิจโครงการดาวเทียมสือ่ สารและให บริการวงจรดาวเทียมเพือ่ การ สื่อสารทั้งในประเทศและต างประเทศ โดยในป ที่ผ านมา INTOUCH มีกำไรสุทธิจำนวน 16,559 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป 2553 คิดเป นร อยละ 107
07 รายงาน ประจำป 2554
like
08 อินทัช
IMPROVE YOUR LIFE THROUGH TECHNOLOGY
คุณภาพในการให บริการคือสิ่งที่เอไอเอสยึดมั่นมาโดยตลอด เราสร างโครงข ายข อมูลให กับ ผู ใช บริการได ใช งานได อย างต อเนื่องทั่วประเทศไทย ลูกค าของเอไอเอสกว า 9 ล านราย สามารถเชื่อมต ออินเทอร เน็ตไร สายด วยประสบการณ ที่เหนือกว า โดยเอไอเอสติดตั้งสถานี ฐานเทคโนโลยี 3G บนคลืน่ 900 เมกะเฮิรตซ จำนวน 1,884 สถานี เพือ่ ให บริการในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ และหัวเมืองหลัก ลูกค าของเอไอเอสสามารถเชือ่ มต อกับ WiFi กว า 70,000 จุดทัว่ ประเทศไทย ด วยความร วมมือระหว างเอไอเอสและผู ให บริการ WiFi ชัน้ นำ และแม วา จะอยูน อกพืน้ ทีบ่ ริการ 3G ลูกค าเอไอเอสยังคงใช โครงข ายข อมูลคุณภาพได อย างต อเนื่องจากโครงข าย EDGE+ ที่ดาวน โหลดข อมูลได เร็วกว าโครงข าย 2G ทั่วไป นี่คือความมุ งมั่นที่เอไอเอสจะสร างสรรค การเชื่อมต อข อมูลให ครอบคลุมทั่วไทย จากการขยายตัวดังกล าวเป นผลให เอไอเอส มีผลการดำเนินงานที่ดีอย างต อเนื่อง โดยในป 2554 มีกำไรสุทธิจำนวน 22,218 ล านบาท หรือคิดเป นอัตราการเติบโตร อยละ 8 โดยมี กำไรสุทธิจากการดำเนินงานปกติจำนวน 26,600 ล านบาท คิดเป นเพ่ิมขึ้นร อยละ 21 จากป ก อนหน า เรายังเชื่อมั่นว า เอไอเอส จะยังคงรักษาความเป นผู นำในธุรกิจนี้ได ต อไป ในอนาคต
MMS
09 รายงาน ประจำป 2554
10 อินทัช
CONNECTING YOU WITH THE WORLD
ทางด านไทยคม ได มีการส งเสริมและผลักดันการให บริการธุรกิจดาวเทียมบรอดแบนด ไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) มาอย างต อเนื่อง โดยในป ที่ผ านมา มีการทำสัญญากับโครงการ National Broadband Network (NBN) ของประเทศออสเตรเลีย และ MEASAT ของประเทศ มาเลเซีย รวมทั้งขยายฐานลูกค าในประเทศญี่ปุ นเพิ่มอีกด วย ทางด านธุรกิจดาวเทียมแบบ ทั่วไป (คอนเวนชันนอล) ขณะนี้มีจำนวนช องทีวีทั้งหมด 420 ช องบนดาวเทียมไทยคม 5 ซึง่ คิดเป นอัตราการใช งานเกือบเต็มร อยละ 100 และในป 2554 ไทยคมได รบั ความเห็นชอบจาก กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการสร างดาวเทียมไทยคม 6 ซึ่งคาดว าจะ สามารถนำขึ้นสู วงโครจรได ในช วงกลางป 2556 อันจะส งผลให มีลูกค าและบริการเพิ่มมากขึ้น ได อย างต อเนือ่ งในอนาคต ด วยผลการดำเนินงานทีด่ ขี น้ึ ในป ทผ่ี า นมา เป นผลให ผลประกอบการ ทั้งป 2554 ของไทยคม มีผลขาดทุนจากการดำเนินงานปกติลดลงเหลือเพียง 130 ล านบาท จากที่ขาดทุนจำนวน 806 ล านบาท ในป 2553 นอกจากนี้ บริษัท ดีทีวี จำกัด ซึ่งเป นผู จำหน ายจานรับสัญญาณดาวเทียมที่อยู ภายใต ไทยคมนั้น ในป 2554 มีจำนวนผู ใช บริการประมาณ 1.2 ล านราย คิดเป นเพิ่มขึ้นร อยละ 24 จากป กอ นหน า เราเชือ่ ว าการขยายตัวของจานรับสัญญาณดาวเทียมดังกล าว จะเป นโอกาส ในการเติบโตของกลุ มบริษัทได ต อไป
11 รายงาน ประจำป 2554
12 อินทัช
COMMITMENT TO COUNTRY AND SOCIETY
ปณิธานของ INTOUCH นอกเหนือจากการดูแลผู ถือหุ น เจ าหนี้ ลูกค า และพนักงานแล ว สิ่งสำคัญที่สุดอีกประการหนึ่งคือ การทำประโยชน เพื่อสังคมอย างต อเนื่อง
BOOK
13 รายงาน ประจำป 2554
กิจกรรมเพื่อสังคมของอินทัช
14 อินทัช
“สถานีทดลองพันธุ์มันสำ�ปะหลัง” โรงเรียน ร่ อ งตาที วิ ท ยา อำ � เภอลานสั ก จั ง หวั ด อุทัยธานี โดยผู้แทนนักศึกษามหาวิทยาลัย นเรศวร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ และวิทยาลัยเทคนิคอุทัยธานี มีแนวคิดเพื่อ ช่วยเพิ่มผลผลิตการปลูกมันสำ�ปะหลังให้แก่ เกษตรกรและส่งเสริมการใช้ทรัพยากรภายใน ท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม
“ศูนย์พฒ ั นาผลิตภัณฑ์จากต้นไมยราบยักษ์” โรงเรียนวังกระแสวิทยาคม อำ�เภอเมือง จังหวัด นครพนม โดยผู้แทนนักศึกษามหาวิทยาลัย นครพนม มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร มีแนวคิดเพือ่ นำ�ทรัพยากร ทีม่ อี ยูใ่ นท้องถิน่ รวมถึงวัชพืชทีไ่ ม่มปี ระโยชน์มา ประยุกต์ใช้ ได้อย่างคุม้ ค่า สร้างรายได้ให้ชมุ ชน
“ธนาคารจุลินทรีย์เพื่อสิ่งแวดล้อม” โรงเรียน บ้านไร่ออ้ ย อำ�เภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา โดยผูแ้ ทน นักศึกษามหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง และวิทยาลัยเทคนิคเชียงราย มี แนวคิดเพื่อรวบรวมและผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ ชนิ ด ต่ า งๆ ให้ ชุ ม ชนนำ � ไปใช้ ป ระโยชน์ ท าง เกษตรกรรม และช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อม
“พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ วิ ถี ชี วิ ต มุ ส ลิ ม ” โรงเรี ย นบ้ า น บ่อหิน อำ�เภอละงู จังหวัดสตูล โดยผู้แทน นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ นครศรี ธ รรมราช มี แนวคิดเพื่ออนุรักษ์วิถีชีวิตมุสลิม และเป็น ศู น ย์ ก ลางการถ่ า ยทอดความรู้ ก ารสร้ า ง อาชีพเสริมให้กับชุมชน “เศรษฐกิจพอเพียงตามวิถคี นเมือง” โรงเรียน ราชวินิตมัธยม กรุงเทพ โดยผู้แทนนักศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลพระนคร และโรงเรียนราชวินติ มัธยม มี แ นวคิ ด ให้ เ ยาวชนรู้ จั ก ความพอเพี ย งใน แบบของตนเอง กระตุ้นให้เยาวชนเห็นคุณค่า มากกว่ามูลค่า
จากเยาวชนพอดี สู่ศูนย์การเรียนรู้พอเพียง ศูนย์การเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียน และชุมชน เกิดจากแนวคิดที่อินทัชมองเห็น โอกาสในการขยายผลและพัฒนาตัวอย่าง โครงการเศรษฐกิจพอเพียงทีม่ ศี กั ยภาพ และ ความเข้มแข็งจากโครงการแคมป์สนุกคิดกับ อินทัช ปีที่ 8 - 10 โดยมุง่ หวังให้ศนู ย์การเรียน รูฯ้ ทำ�หน้าทีร่ วบรวม และเผยแพร่องค์ความรู้ ของชุมชนไปสู่บุคคล และหน่วยงานอื่นๆ รวม ทั้งยังเชื่อมโยงองค์ความรู้จากแหล่งอื่นๆ เข้า มาสูช่ มุ ชน เพือ่ ขยายองค์ความรูแ้ ละก่อให้เกิด ประโยชน์สวู่ งกว้าง โดยผสานหลักการทำ�งาน ทั้งด้านองค์ความรู้ ด้านกระบวนการเรียน รู้ ด้านกายภาพ ด้านการบริหารจัดการและ บุคลากร เพื่อให้ศูนย์การเรียนรู้ฯ เป็นแหล่ง สื บ สานแนวทางการดำ � เนิ น ชี วิ ต ด้ ว ยหลั ก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนต่อไป “ศูนย์การเรียนรู้เห็ดนางฟ้าครบวงจร ชุมชน โพธิ์ทอง” โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง อำ�เภอเมือง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช มี แ นวคิ ด เพื่ อ เผยแพร่ แ ละขยายผลองค์ ค วามรู้ ไ ปสู่ ก าร สร้างอาชีพเสริมให้กับชุมชน “ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ พั น ธุ์ ข้ า วชุ ม ชนบ้ า น ดักคะนน” โรงเรียนชุมชนวัดดักคะนน อำ�เภอ เมือง จังหวัดชัยนาท มีแนวคิดเพื่อช่วยลด ต้นทุนการซื้อเมล็ดพันธุ์ข้าว และสืบสานการ ทำ�นาตามวิถีท้องถิ่น
15 รายงาน ประจำ�ปี 2554
“ศูนย์การเรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ภูมปิ ญ ั ญาผ้าทอมือ ปกาเกอะญอ” โรงเรียนบ้านป่าเลา อำ�เภอ แม่ทา จังหวัดลำ�พูน มีแนวคิดเพื่อถ่ายทอด ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมสู่เยาวชนรุ่นหลัง พัฒนาอาชีพ และสร้างรายได้ ให้กับชุมชน เรื่องราวจากการอ่าน บันดาลใจสู่ภาพศิลป์
โครงการ จินตนาการ สืบสาน วรรณกรรม ไทยกับอินทัช ได้ดำ�เนินการมาอย่างต่อเนื่อง เป็นปีที่ 5 เพื่อเชิดชู สืบสานความเป็นไทยและ มรดกทางศิลปวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะภาษา และวรรณกรรมไทย สำ�หรับให้เยาวชนรักการ อ่าน และภาคภูมิใจในภาษาไทย กระตุ้นให้ ใช้ จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ส่งผล งานเข้าประกวดในหัวข้อ “ความสุขจากการ ให้” เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงเจริ ญ พระชนมพรรษา 84 พรรษา ร่วมรำ�ลึกถึงพระราชกรณียกิจ มากมายที่ ท รงทำ � ให้ แ ก่ พ สกนิ ก ร รวมถึ ง พระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในด้าน อักษรศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และวรรณกรรม อาทิ หนังสือพระราชนิพนธ์ เรือ่ งพระมหาชนก คำ�พ่อสอน ทองแดง นายอินทร์ผู้ปิดทอง หลังพระ และติโต โดยในปีนี้มีผลงานที่เยาวชนส่งเข้าประกวด 1,619 ผลงาน ได้รับรางวัลรวม 27 รางวัล และทุนการศึกษารวมมูลค่า 1,125,000 บาท นอกจากนี้ยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี พระราชทานถ้วยรางวัลชนะเลิศ แก่เยาวชนระดับอุดมศึกษา และมัธยมศึกษา ตอนปลาย นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้นำ�ผลงาน ของเยาวชนออกจำ�หน่ายการกุศล นำ�รายได้ ทั้ ง หมดไม่ หั ก ค่ า ใช้ จ่ า ยสมทบทุ น มู ล นิ ธิ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เพื่อสนับสนุน การศึกษาของนักเรียนทีข่ าดแคลนทุนทรัพย์ นับเป็นความภาคภูมิใจของอินทัชที่สามารถ ผลักดันและส่งเสริมให้เยาวชนอ่านหนังสือ วรรณกรรมไทยเพิ่มขึ้นกว่า 350 เรื่อง จาก ผลงานที่ส่งเข้าประกวดรวม 8,725 ผลงาน
ด้วยความ “เชื่อมั่นในพลังสร้างสรรค์ของ เยาวชน” อินทัช ยังคงมุ่งมั่นดำ�เนินกิจกรรม เพือ่ สังคมโดยเฉพาะกิจกรรมสำ�หรับเยาวชน และคนรุน่ ใหม่ ซึง่ ถือเป็นทรัพยากรทีส่ �ำ คัญใน การพัฒนาประเทศ ตามเจตนารมณ์ ในการ ดำ � เนินธุ ร กิ จ ที่ ยึ ด มั่ น ในหลั ก ธรรมาภิ บ าล ควบคู่ไปกับการดำ�เนินธุรกิจด้วยความรับ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ที่ มุ่ ง เน้ น กิ จ กรรมที่ เ ป็ น ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาศักยภาพของเยาวชน ให้ ก ล้ า คิ ด กล้ า แสดงความสามารถ และ จินตนาการอย่างสร้างสรรค์ พร้อมปลูกฝัง จิตสำ�นึกในการทำ�ความดี และทำ�ประโยชน์ตอ่ สังคม เพื่อบ่มเพาะพลเมืองรุ่นใหม่ ให้เป็นทั้ง “คนเก่ง” และ “คนดี” มีจติ อาสาพร้อมทีจ่ ะเป็น กำ�ลังสำ�คัญในการพัฒนาสังคมและประเทศ ชาติให้เจริญก้าวหน้าในอนาคต
อินทัช ร่วมช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ปลายปี 2554 ได้เกิดเหตุอุทกภัยครั้งใหญ่ สร้างความเสียหายทั้งทางร่างกาย จิตใจ และ ทรัพย์สนิ ของผูป้ ระสบภัย หน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภาครัฐ และเอกชน รวมทั้งพี่น้องชาวไทยต่าง เร่งระดมความช่วยเหลืออย่างเต็มกำ�ลัง เพื่อ บรรเทาความเดือดร้อนของผูป้ ระสบอุทกภัย อินทัช พร้อมบริษัทในเครือเป็นองค์กรหนึ่ง ที่ ได้ร่วมให้ความช่วยเหลือและบรรเทาทุกข์ ด้วยการมอบเงินบริจาคจำ�นวน 35,000,000 บาท ให้แก่นายกรัฐมนตรี มอบเงิน 500,000 บาท ผ่านครอบครัวข่าว 3 ช่วยผู้ประสบ อุทกภัย 54 นอกจากนี้ พนักงานอินทัช ยัง ร่วมบริจาคเงิน สิ่งของเครื่องใช้ และอาหาร แห้งสำ�หรับผู้ประสบอุทกภัย ณ วัดดักคะนน ตำ�บลธรรมามูล อำ�เภอเมือง จังหวัดชัยนาท และภายหลั ง จากที่ ส ถานการณ์ ค ลี่ ค ลาย พนักงานอินทัชและบริษัทในเครือได้ลงพื้นที่ ร่วมกับนักเรียนโรงเรียนชุมชนวัดดักคะนน นักศึกษาจิตอาสาโครงการแคมป์สนุกคิดกับ อินทัช ชุมชน และผู้แทนหน่วยงานราชการใน ท้องถิน่ เพือ่ ทำ�ความสะอาด ช่วยซ่อมแซมและ ปรับปรุงพืน้ ทีส่ าธารณประโยชน์ วัด โรงเรียน และศูนย์การเรียนรู้พันธุ์ข้าว ชุมชนบ้านดัก คะนน เพื่อให้สามารถกลับมาใช้ประโยชน์ ได้ ดังเดิม อีกทั้งยังเป็นการช่วยสร้างกำ�ลังใจ ให้กับผู้ที่ประสบภัยได้กลับมามีความสุขและ รอยยิ้มได้อีกครั้งหนึ่ง
16 อินทัช
เป นป โดยร (Tota ร อยล
สารจากประธาน คณะกรรมการ และประธาน เจ าหน าที่บริหาร เรียน ท านผู ถือหุ น ในป 2554 เป นป ที่สำคัญอีกป หนึ่ง ที่บริษัท ได ด ำเนิ น การเปลี ่ ย นสั ญ ลั ก ษณ ใ หม เ ป น “INTOUCH” (อินทัช) รวมทั้งเปลี่ยนชื่อ หลักทรัพย ของบริษัทเป น INTUCH เพื่อให สอดคล องกัน ซึ่งได ผลตอบรับในทางที่ดี นอกจากนี้ ยังเป นป ที่บริษัทสามารถสร าง ผลตอบแทนโดยรวมให ก ั บ ผู ถ ื อ หุ น ของ บริษัท (Total Shareholders Return) ได ในอัตราร อยละ 65 ซึ่งป นอัตราที่สูงมาก โดยเป น การจ า ยเงิน ป น ผลจำนวน 5.50 บาทต อหุน และราคาหุน ของบริษทั ได ปรับตัว สูงขึ้น โดยมีราคาป ด ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2554 ที ่ห ุ น ละ 43 บาท ทั ้ ง นี ้ เนื ่องจาก บริษัท มีฐานะการเงินที่เข มแข็ง และมีผลการ ดำเนินงานที่น าประทับใจ โดยบริษัทมีกำไร สุทธิจำนวน 16,559 ล านบาท เพิม่ ขึน้ ร อยละ 107 จาก 8,016 ล านบาท ในป 2553 และ ผู ถือหุ นใหญ ของบริษัท ได ดำเนินการขาย หุ น ให ก ั บ นั ก ลงทุ น รายย อ ยและบริ ษ ั ท ไทยเอ็น วีด ี อ าร จำกัด ซึ ่ ง ณ วั น ที ่ 26 มกราคม 2555 บริษทั มีการกระจายผูถ อื หุน รายย อยที่ร อยละ 20.35 ของทุนชำระแล ว ของบริษัท ซึ่งเกินกว าอัตราขั้นต่ำที่กำหนด โดยตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย ในด านการลงทุน บริษัทยังคงมุ งเน นลงทุน ในธุรกิจโทรคมนาคมและสื่อในประเทศไทย เป น หลัก โดยในสายธุ ร กิจ โทรคมนาคม ไร สายนั้น บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จำกัด (มหาชน) (เอไอเอส) ยังคงเป นผูน ำตลาด ทั้งส วนแบ งของรายได จำนวนผู ใช บริการ รวมทั้งเป นผู นำเรื่องการให บริการ 3G บน คลื่นความถี่เดิม บริษัทเชื่อว าอุตสาหกรรม
โทรคมนาคมยังสามารถเติบโตได อีกถึงแม จะมี อ ั ต ราส ว นจำนวนหมายเลขโทรศั พ ท เคลื่อนที่ต อจำนวนประชากรรวมที่สูงกว า ร อยละ 100 โดยเฉพาะเรื่องของการบริการ ด านข อมูลและอินเทอร เน็ตซึ่ง เอไอเอส ได เตรียมพร อมทีจ่ ะเข าร วมขอใบอนุญาตการให บริการเทคโนโลยีโทรศัพท ไร สายยุคที่ 3 หรือ 3G จากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิ จ การโทรทั ศ น แ ละกิ จ การโทรคมนาคม แห งชาติ สำหรับธุรกิจในสายดาวเทียมและโทรคมนาคม ในต า งประเทศโดยบริ ษั ท ไทยคม จำกัด (มหาชน) (ไทยคม) เป นผู ให บริการดาวเทียม แบบทัว่ ไปและดาวเทียมบรอดแบนด ซึง่ ถึงแม วา ในป 2554 ผลการดำเนินงานโดยรวมจะยังคง มีผลขาดทุนอยู แต แนวโน มธุรกิจดาวเทียม อยู ในทิศทางที่ดี เนื่องจากการขยายตัวของ ธุรกิจโทรทัศน ผ านดาวเทียม และจากความ สำเร็จในการขายช องสัญญาณดาวเที ย ม บรอดแบนด ไ อพี ส ตาร ใ นประเทศญี ่ ป ุ น ออสเตรเลียและอินเดียได และอยู ในระหว าง การเข าสูต ลาดหลักในประเทศจีน นอกจากนี้ ไทยคม ยั ง ได ร ั บ อนุ ญาตให ยิ ง ดาวเทียม ไทยคม 6 ซึ่งอยู ในระหว างการก อสร างและ คาดว าจะยิงขึ้นสู วงโคจรในป 2556 รวมทั้ง ไทยคม ได ด ำเนิ น การร ว มกั บ กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และ บริษทั Asia Satellite Telecommunications ในการจัดสร างดาวเทียมเพื่อรักษาตำแหน ง วงโคจรที ่ 120 องศาตะวั น ออกให ก ั บ ประเทศไทย ในส วนของธุรกิจโทรคมนาคมต างประเทศนัน้
การให บริการในประเทศลาว ยั ง คงอยู ใ น เกณฑ ที่ดี สำหรับ บริษัท เอ็มโฟน จำกัด ซึ่งให บริการโทรคมนาคมในประเทศกัมพูชา นั้น ในป 2554 ยังคงเผชิญกับป ญหาการ แข งขันด านราคาที่รุนแรงอย างมากต อเนื่อง จากป ก อน ทำให ผลประกอบการไม เป นไป ตามเป าหมายที่วางไว ในด านกิจกรรมเพือ่ สังคม ซึง่ ถือเป นพันธกิจ หลักด านหนึง่ ยังคงดำเนินการอย างต อเนือ่ ง ภายใต แนวคิด “คนไทยแข็งแรง ประเทศไทย แข็งแรง” โดยมุ งเน นกิจกรรมเพื่อเยาวชน เป นสำคัญ และในโอกาสป มหามงคลแห ง การเฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ าอยู หัวที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา อิ น ทั ช ร ว มน อ มรำลึ ก ถึ ง พระมหากรุณาธิคณ ุ และร วมเฉลิมพระเกียรติ พระองค ท าน ด วยการนำแนวพระราชดำริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต ใช ใน การดำเนินโครงการแคมป สนุกคิดกับอินทัช โดยจัดทำตัวอย างโครงการเศรษฐกิจพอเพียง ในโรงเรียน และขยายผลสู การเป นศูนย การ เรียนรู ในโรงเรียนและชุมชน เพื่อให เยาวชน และคนในสั ง คมสามารถนำไปปรั บ ใช ใ น การดำเนิ น ชี ว ิ ต ได อ ย า งสมดุ ล และยั ่ ง ยื น นอกจากนี้ ยังสนับสนุนและส งเสริมให เยาวชน ร วมกันอนุรักษ ภาษาและวรรณกรรมไทย ในโครงการจินตนาการ สืบสาน วรรณกรรม ไทยกับอินทัช โดยป นี้ส งเสริมให เยาวชน อ า นหนั ง สื อ พระราชนิ พ นธ ข องพระบาท สมเด็จพระเจ าอยู หัวเพื่อน อมรำลึกถึงพระ อั จ ฉริ ย ภาพด า นศิ ล ปะของพระองค ท า น โดยมี เ ยาวชนได ร ั บ รางวั ล ทุ น การศึ ก ษา รวม 1,125,000 บาท พร อมนำผลงานที่
ได รบั ราง ทั ้ ง หมดไ สมเด็จพ
ปลายป สร างคว บริษัทใน บรรเทาท บริจาคเง มอบสิ่งข หลังน้ำล กำลั ง ใจใ คืนสู สภา
บริษัทขอ การเงิน พนักงาน เสมอมา ธรรมาภ ตรวจสอ ถูกต องต กลางทา สูงสุดขอ ธรรม แล นโยบายภ โทรคมนา เชื่อมั่นใน โทรคมนา ประกอบก ในธุรกิจ ซึง่ เป นธุร มีความชำ เหล า นี ้ อย างยั่งย
ยัง คงอยู ใ น โฟน จำกัด ทศกัมพูชา บป ญหาการ ากต อเนื่อง ารไม เป นไป
เป นพันธกิจ ย างต อเนือ่ ง ประเทศไทย พื่อเยาวชน ามงคลแห ง าทสมเด็ จ นมพรรษา มรำลึ ก ถึ ง มพระเกียรติ พระราชดำริ ระยุกต ใช ใน คิดกับอินทัช ฐกิจพอเพียง ป นศูนย การ อให เยาวชน ปปรั บ ใช ใ น ลและยั ่ ง ยื น รมให เยาวชน ณกรรมไทย วรรณกรรม มให เยาวชน องพระบาท ำลึกถึงพระ ระองค ท า น การศึ ก ษา นำผลงานที่
17 รายงาน ประจำป 2554
เป นป ที่บริษัทสามารถสร างผลตอบแทน โดยรวมให กับผู ถือหุ นของบริษัท (Total Shareholders Return) ได ในอัตรา ร อยละ 65 ซ่ึงเป นอัตราที่สูงมาก ได รบั รางวัลออกจำหน ายการกุศล นำรายได ทั ้ ง หมดไม ห ั ก ค า ใช จ า ยสมทบทุ น มู ล นิ ธ ิ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ปลายป 2554 ได เกิดเหตุอทุ กภัยครัง้ ใหญ ขน้ึ สร างความเสียหายในวงกว าง อินทัชและ บริษัทในเครือได ร วมให ความช วยเหลือและ บรรเทาทุ ก ข แ ก ผ ู ป ระสบภั ย ด ว ยการร ว ม บริจาคเงินกว า 35,000,000 บาท รวมทั้ง มอบสิ่งของจำเป น และเข าช วยเหลือฟื้นฟู หลังน้ำลดอย างต อเนือ่ ง เพือ่ ช วยสร างขวัญ กำลั ง ใจให ผ ู ท ี ่ ป ระสบภั ย ได ส ามารถกลั บ คืนสู สภาวะปกติได ในเร็ววัน บริษัทขอขอบพระคุณท านผู ถือหุ น สถาบัน การเงิน พันธมิตรทางธุรกิจ ผู บริหาร และ พนักงาน สำหรับความช วยเหลือในทุกด าน เสมอมา บริษ ัท ขอให ค ำมั่ นที ่ จ ะยึ ดหลัก ธรรมาภิบาล มีความเป นกลาง โปร งใส ตรวจสอบได ดำเนินธุรกิจตามขั้นตอนที่ ถูกต องตามกฏหมาย ดำรงไว ซึ่งความเป น กลางทางการเมือง อีกทั้งรักษาประโยชน สูงสุดของผู มีส วนได เสียทุกกลุ มอย างเป น ธรรม และพร อมเป นส วนหนึง่ ในการสนับสนุน นโยบายภาครัฐด านการพัฒนาอุตสาหกรรม โทรคมนาคมให เจริญก าวหน าต อไป บริษัท เชื่อมั่นในทักษะและประสบการณ ในธุรกิจ โทรคมนาคม ที่ได สร างสมมาอย างต อเนื่อง ประกอบกับนโยบายหลักทีจ่ ะมุง เน นการลงทุน ในธุรกิจหลักคือธุรกิจโทรคมนาคมและสื่อ ซึง่ เป นธุรกิจทีก่ ลุม บริษทั มีประสบการณ และ มีความชำนาญ บริษทั เชือ่ มัน่ ว า องค ประกอบ เหล า นี ้ จะช ว ยสร า งความเจริ ญ เติ บ โต อย างยั่งยืนให กับธุรกิจในกลุ มบริษัท
ดร. วิรัช อภิเมธีธำรง ประธานคณะกรรมการ
สมประสงค บุญยะชัย ประธานเจ าหน าที่บริหาร
18 อินทัช
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบประจำ�ปี 2554 เรียน ท่านผู้ถือหุ้น บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ ว ย กรรมการอิ ส ระ จำ � นวน 3 ท่ า น โดยมี นายสมชาย ศุ ภ ธาดา เป็ น ประธานคณะ กรรมการตรวจสอบ นายวิทติ ลีนตุ พงษ์ และ นายชลาลักษณ์ บุนนาค เป็นกรรมการตรวจ สอบ และมีนายวิชัย กิตติวิทยากุล หัวหน้า หน่วยงานตรวจสอบภายใน ทำ�หน้าที่เป็น เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการ ตรวจสอบทุกท่านมีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วนตาม หลั ก เกณฑ์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ภ ายใต้ ข อบเขตหน้ า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบตามกฎบัตรที่อนุมัติโดย คณะกรรมการบริษทั ซึง่ รายละเอียดของกฎบัตร ของคณะกรรมการตรวจสอบสามารถดูได้ที่ www.intouchcompany.com ในรอบปี บั ญ ชี 2554 คณะกรรมการ ตรวจสอบ ได้ ป ระชุ ม ร่ ว มกั บ ฝ่ า ยบริ ห าร ผูต้ รวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชี รวม 7 ครัง้ ตลอดจนมีการประชุมร่วมกับผูส้ อบบัญชีโดย ไม่มฝี า่ ยบริหารของบริษทั เข้าร่วมประชุมด้วย 1 ครัง้ ซึง่ กรรมการตรวจสอบทุกท่านเข้าร่วม ประชุมครบทุกครัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่และข้อเสนอ แนะต่างๆดังกล่าวต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้มีการดำ�เนินการในเรื่องที่เห็นสมควร เป็นประจำ�ทุกไตรมาส ซึ่งสามารถสรุปสาระ สำ�คัญของการปฏิบัติหน้าที่ ได้ดังนี้ • งบการเงิน : คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ส อบทานงบการเงิ น ประจำ � ไตรมาส และประจำ�ปี 2554 รวมทั้งการเปิดเผย ข้ อ มู ล ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
ของบริษัท ซึ่งได้ผ่านการสอบทานและ ตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี ตลอดจนได้ หารือร่วมกับฝ่ายบริหารและผูส้ อบบัญชี เพือ่ พิจารณาถึงนโยบายการบัญชีทสี่ �ำ คัญ การประมาณการและการใช้ดลุ ยพินจิ ต่างๆ เพื่อใช้ ในการจัดทำ�งบการเงินดังกล่าว • ระบบควบคุมภายในและการบริหารความ เสีย่ ง : คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทาน การบริหารความเสี่ยง รวมถึงมาตรการ ต่างๆ ในการจัดการกับความเสีย่ งสำ�คัญ ต่างๆ ให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ เพื่อให้ บริษัทสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตาม เป้าหมายที่กำ�หนด ทั้งนี้ บริษัทได้เปิด เผยความเสี่ยงสำ � คัญต่างๆ ไว้ภายใต้ หัวข้อปัจจัยความเสี่ยงในรายงานประจำ� ปี 2554 นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ยังได้สอบทานผลการประเมินระบบการ ควบคุมภายในตามแนวทางทีก่ �ำ หนดโดย คณะกรรมการกำ � กั บ ตลาดทุ น ซึ่ ง จั ด ทำ�โดยฝ่ายบริหาร รวมทั้งได้สอบทาน ผลการสอบทานระบบควบคุ ม ภายใน ของหน่วยงานตรวจสอบภายในและของ ผู้ ส อบบั ญ ชี ตลอดจนแนวทางแก้ ไข ข้อบกพร่องของฝ่ายบริหารในเรือ่ งทีต่ อ้ ง ได้รับการปรับปรุง • งานตรวจสอบภายใน : คณะกรรมการ ตรวจสอบได้พจิ ารณาอนุมตั ขิ อบเขตและ แผนการตรวจสอบภายในประจำ�ปี 2554 และได้ติดตามผลการตรวจสอบภายใน และความคืบหน้าของการดำ�เนินงานเป็น ประจำ�ทุกไตรมาส นอกจากนี้ยังได้สอบ ทานความเป็นอิสระและความพอเพียง ของทรัพยากรต่างๆ ต่อการปฏิบัติงาน
ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน รวมทั้ง ได้ประเมินผลการปฏิบัติงานของหัวหน้า หน่วยงานตรวจสอบภายใน • การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย : คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ ส อบทานการปฏิบัติตาม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ล ะ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ข้ อ กำ � หนดของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยและ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท • การกำ�กับดูแลกิจการ : คณะกรรมการ ตรวจสอบได้พิจารณาปรับปรุงนโยบาย การกำ � กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท ให้ สอดคล้องกับแนวปฏิบตั ทิ ดี่ แี ละข้อกำ�หนด ของหน่วยงานกำ�กับดูแล ตลอดจนมีความ เหมาะสมกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท รวมทั้ ง ได้ เ ห็ น ชอบกั บ การนำ � นโยบาย การเปิดเผยสารสนเทศมาปฏิบตั ใิ ช้ตามที่ ฝ่ายบริหารได้นำ�เสนอ ทั้งนี้เพื่อเป็นการ ส่งเสริมให้บริษทั มีการเปิดเผยสารสนเทศ แก่ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียอย่างถูกต้อง เพียงพอ ทันเวลา เท่าเทียม และเป็นไปตาม กฎหมายและกฎระเบียบต่างๆ ได้ดียิ่งขึ้น • การรั บ แจ้ ง ข้ อ มู ล การกระทำ � ผิ ด และ การทุจริต (Whistleblowing) : คณะ กรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายงาน การรับแจ้งข้อมูลการกระทำ�ผิดและการ ทุ จ ริ ต ซึ่ ง ได้ รั บ การรายงานผ่ า นช่ อ ง ทางต่างๆ ตามนโยบายการให้ข้อมูลการ กระทำ�ผิดและการทุจริตของบริษทั โดยใน ปี 2554 ไม่มีการร้องเรียนเกี่ยวกับการ กระทำ�ผิดและการทุจริตใดๆ ของบริษัท • ผู้สอบบัญชี : คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ พิ จ ารณาผลการปฏิ บั ติ ง านในปี ที่
19 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ผ่ า นมาของผู้ส อบบัญชี รวมทั้งความ รู้ ความเชี่ ย วชาญและความเป็ น อิ ส ระ และได้ เ สนอให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ขออนุ มั ติ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น แต่ ง ตั้ ง ผู้สอบบัญชีจากบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด เป็นผู้สอบบัญชีของ บริษัทประจำ�ปี 2555 นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณากำ�หนดนโยบายการว่าจ้าง ผู้สอบบัญชีเพื่อทำ�หน้าที่ให้บริการอื่นที่ มิใช่การสอบบัญชี (Non-Audit Services) รวมทั้งกำ�หนดขั้นตอนการควบคุม เพื่อ ให้มนั่ ใจว่าความเป็นอิสระของผูส้ อบบัญชี จะไม่ถูกบั่นทอน • รายการที่เกี่ยวโยงกัน : คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ ส อบทานความสมเหตุ สมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท ของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการที่ อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รวม ทัง้ การเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวให้ถกู ต้องและ ครบถ้วนตามกฎหมายและข้อกำ�หนดของ หน่วยงานกำ�กับดูแลและตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย • การประเมินผลการปฏิบัติงานตนเอง : คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานและ ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตนเองประจำ� ปี โดยได้เปรียบเทียบกับแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ี และกฎบัตร ซึง่ ผลของการประเมินดังกล่าว คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั หิ น้าที่ อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามขอบเขต หน้าที่ที่กำ�หนดไว้ ในกฎบัตร นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังได้เสนอขอ อนุมตั ติ อ่ คณะกรรมการบริษทั เพือ่ ขยาย ขอบเขตหน้าที่ในกฎบัตรให้ครอบคลุม
ในเรื่องการสอบทานความเป็นอิสระของ ผูส้ อบบัญชีและนโยบายการรับบริการอืน่ ที่มิใช่การสอบบัญชีจากสำ�นักงานสอบ บัญชีเดียวกัน โดยสรุป คณะกรรมการตรวจสอบเชื่อว่า ในปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั ิ หน้าที่ตามขอบเขตหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย อย่ า งครบถ้ ว น ด้ ว ยความรอบคอบและมี ความเป็นอิสระ คณะกรรมการตรวจสอบ เห็นว่าบริษัทมีการจัดทำ�งบการเงินอย่างถูก ต้องตามที่ควรในสาระสำ�คัญตามหลักการ บัญชีทรี่ บั รองทัว่ ไป มีการเปิดเผยสารสนเทศ อย่ า งเพี ย งพอ ครบถ้ ว นและเชื่ อ ถื อ ได้ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในและการบริ ห าร ความเสี่ ย งที่ เ พี ย งพอและมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล นอกจากนี้ บริษัทได้ปฏิบัติตามกฎหมายและ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยไม่มีข้อบกพร่องที่ สำ�คัญและมีการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีตลอด ปีที่ผ่านมา
นายสมชาย ศุภธาดา ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 8 กุมภาพันธ์ 2555
20 อินทัช
คณะกรรมการ
ดร. วิรัช อภิเมธีธำรง
นายชลาลักษณ บุนนาค
นายสมประสงค บุญยะชัย
คณะกร
นายสมชาย ศุภธาดา
นายวิทิต ลีนุตพงษ
นายสมประ
นายบุน สวอน ฟู
นายบดินทร อัศวาณิชย
นางสุวิมล แก
นายประเสริฐ บุญสัมพันธ
* เข าดำรงตำแหน งกรรมการแทนนายอารักษ มีผลต้ังแต 26 ธันวาคม 2554
นายอารักษ ชลธาร นนท
คณะผู บ
* ลาออกจากตำแหน งกรรมการบริษัท มีผลต้ังแต 26 ธันวาคม 2554
นางศุภจี สุธ
* เข าดำรงตำแหน บริหาร สายธุร มีผลต้ังแต 1 ต
21 รายงาน ประจำป 2554
คณะกรรมการบริหาร
ษ
ณิชย
นนท
นายสมประสงค บุญยะชัย
นางสุวิมล แก วคูณ
นายอารักษ ชลธาร นนท
* ลาออกจากตำแหน งกรรมการบริหาร มีผลต้ังแต 11 สิงหาคม 2554
นายวิเชียร เมฆตระการ
* เข าดำรงตำแหน งกรรมการบริหาร มีผลต้ังแต 17 กุมภาพันธ 2554
นายวิกรม ศรีประทักษ
นางศุภจี สุธรรมพันธุ
* เข าดำรงตำแหน งกรรมการบริหาร มีผลต้ังแต 11 สิงหาคม 2554
คณะผู บริหาร
มการบริษัท 2554
นางศุภจี สุธรรมพันธุ
* เข าดำรงตำแหน ง ประธานกรรมการ บริหาร สายธุรกิจส่ือโฆษณาและธุรกิจใหม มีผลต้ังแต 1 ตุลาคม 2554
นายเอนก พนาอภิชน
นายวิชัย กิตติวิทยากุล
นายคิมห สิริทวีชัย
22 อินทัช
รายละเอียดโดยย่อเกี่ยวกับคณะกรรมการและผู้บริหาร ดร. วิรัช อภิเมธีธำ�รง
อายุ 68 ปี ประธานคณะกรรมการ และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท ไม่มี ไม่มี ปริญญาเอก การเงิน University of Illinois, USA DAP: Directors Accreditation Program รุ่น 2/2546
ตำ�แหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น 1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน 2550 – ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2547 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. บางกอก เชน ฮอสปิตอล กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. หลักทรัพย์ เอเซีย พลัส 2546 – ปัจจุบัน กรรมการ บจก. ทริสเรทติ้ง กรรมการ บจก. ทริส คอร์ปอเรชั่น 2538 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. เมโทรซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชั่น 2536 – ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ศุภาลัย 2531 – ปัจจุบัน ประธาน สำ�นักงานสอบบัญชี ดร. วิรัช แอนด์ แอสโซซิเอทส์ 2550 – 2554 กรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทย อะโกร เอ็นเนอร์ยี่ 2544 – 2554 กรรมการอิสระ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2547 – 2553 กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. แคลิฟอร์เนีย ว้าว เอ็กซ์พีเรียนซ์ 2550 – 2552 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารเอไอจี เพื่อรายย่อย จำ�กัด (มหาชน) 2549 – 2550 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ ไม่มี ผ่านมา นายสมชาย ศุภธาดา
อายุ 52 ปี ตำ�แหน่ง กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ สัดส่วนการถือหุ้น 1) ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท Professional Accounting University of Texas at Austin, USA
23 รายงาน ประจำ�ปี 2554
การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม DCP: Directors Certification Program รุ่น 100/2551 สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) DAP: Directors Accreditation Program รุ่น 56/2549 ประสบการณ์ทำ�งาน ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำ�ภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการคณะกรรมการกำ�กับมาตรฐานวิชาการ หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ และมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 2553 – ปัจจุบัน ห้วหน้าภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2550 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2549 – 2550 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ ไม่มี ผ่านมา นายวิทิต ลีนุตพงษ์ ตำ�แหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น 1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน
อายุ 56 ปี กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ กรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ�และกำ�หนดค่าตอบแทน และ กรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กร ไม่มี ไม่มี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of Southern California, USA SFE : Successful Formulation & Execution of Strategy รุ่น 3/2552 RCC : Role of the Compensation Committee รุ่นที่ 7/2551 ACP: Audit Committee Program รุ่น 5/2548 DCP: Directors Certification Program รุ่น 16/2545 2548 – ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการบริหาร บจก. ไทยยานยนตร์ กรรมการ บมจ. สหไทยสตีลไพพ์ กรรมการ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรรมการ มูลนิธิธนาคารกรุงเทพ 2544 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2551 – 2553 กรรมการ หอการค้าเยอรมัน–ไทย
24 อินทัช
2548 – 2552 2542 – 2552 2545 – 2550 ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ ไม่มี ผ่านมา นายชลาลักษณ์ บุนนาค ตำ�แหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น 1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด
กรรมการ บจก. ยนตรกิจ โฟส์คสวาเก้น มาร์เก็ตติ้ง รองประธานคณะกรรมการ ยนตรกิจ กรุ๊ป กรรมการ บจก. เวิร์ลคลาส เร้นท์อะคาร์ กรรมการ หอการค้าเยอรมัน–ไทย
อายุ 64 ปี กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ ไม่มี ไม่มี ปริญญาโท Industrial Administration, Carnegie-Mellon University, USA ปริญญาโท Civil Engineering, Oklahoma State University, USA DAP: Directors Accreditation Program รุ่น 5/2546
การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน 2550 – ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2548 – ปัจจุบัน ที่ปรึกษา บจก.ทุนลดาวัลย์ ประธานคณะกรรมการ บจก. สยามเลมเมอร์ซ กรรมการ บจก. สยามไอซิน กรรมการ บจก. ไทยโตไกคาร์บอนโปรดักท์ 2552 – 2554 ที่ปรึกษา บจก.อมตะ ซิตี้ 2548 – 2553 ที่ปรึกษาฝ่ายจัดการ บมจ. ปูนซิเมนต์ ไทย ที่ปรึกษา บจก. เหล็กสยามยามาโตะ กรรมการ บจก. สยามมิชลินกรุ๊ป ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ ไม่มี ผ่านมา นายบุน สวอน ฟู
อายุ 56 ปี ตำ�แหน่ง กรรมการ ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ ประธานคณะกรรมการ พัฒนาความเป็นผู้นำ�และกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานคณะกรรมการทบทวนกลยุทธ์ และโครงสร้างองค์กร และกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท 1) สัดส่วนการถือหุ้น ไม่มี ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ไม่มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ, NUS
25 รายงาน ประจำ�ปี 2554
การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน 2554 – ปัจจุบัน 2553 – ปัจจุบัน 2552 – ปัจจุบัน 2551 – ปัจจุบัน 2550 – ปัจจุบัน 2548 – ปัจจุบัน 2551 – 2554 2550 – 2552 2549 – 2552 2548 – 2552 2547 – 2552 ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ไม่มี ที่ผ่านมา
กรรมการ, Allgrace Investment Management Pte Ltd. ประธานกรรมการ, Global Investments Ltd. กรรมการ, MIH Holdings Ltd. กรรมการ, Dongfeng Motor Corporation กรรมการ, Sino-Singapore Guangzhou Knowledge City Investment and Development Co., Ltd. ที่ปรึกษา, Chartis Singapore Insurance Pte Ltd. ประธานกรรมการ, Perennial China Retail Trust Management Pte Ltd. กรรมการ, Ascendos Investments Ltd. กรรมการ, Singbridge International Singapore Pte Ltd. ที่ปรึกษาอาวุโส, Temasek Holdings (Private) Ltd. อาจารย์พิเศษ, Nanyang Technological University กรรมการ, บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการ, Cypress Holdings Ltd. กรรมการ, Aspen Holdings Ltd. ที่ปรึกษา, Singapore Technologies Engineering Ltd. กรรมการ, China–Singapore Suzhou Industrial Park Devt Co., Ltd. ประธานคณะกรรมการ, Nothacker Pte Ltd. กรรมการ, Motorola Inc กรรมการ, Singapore Utilities International Pte Ltd. ประธานกรรมการ, Singapore Computer Systems Ltd. กรรมการ, Keppel Amfels Inc
26 อินทัช
นายบดินทร์ อัศวาณิชย์ ตำ�แหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น 1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด
อายุ 67 ปี กรรมการ และกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ ไม่มี ไม่มี Master of Law (General) New York University, USA Master of Comparative Jurisprudence, New York University, USA DAP: Directors Accreditation Program รุ่น SCC/2547
การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน 2554 – ปัจจุบัน ที่ปรึกษา กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ปูนซีเมนต์ ไทย 2553 – ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2551 – ปัจจุบัน รองผู้จัดการใหญ่ กลุ่มงานกฎหมาย ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) 2545 – ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) 2550 – 2553 ที่ปรึกษาฝ่ายจัดการ บมจ. ปูนซิเมนต์ ไทย ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ไม่มี ที่ผ่านมา นายสมประสงค์ บุญยะชัย ตำ�แหน่ง
สัดส่วนการถือหุ้น 1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส่งเสริม สถาบัน กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน
อายุ 56 ปี กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ กรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ�และกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการทบทวนกลยุทธ์และ โครงสร้างองค์กร กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัทและ รักษาการกรรมการผู้อำ�นวยการ 0.0351% ไม่มี ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย RCP: Role of the Chairman Program รุ่น 21/2552 DCP: Directors Certification Program รุ่น 65/2548 DAP: Directors Accreditation Program รุ่น 30/2547 2553 – ปัจจุบัน รักษาการกรรมการผู้อำ�นวยการ, บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2551 – ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น รองประธานคณะกรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2550 – ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2549 – ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. ไทยคม 2547 – ปัจจุบัน กรรมการ บจก. โรงพยาบาลพระรามเก้า
27 รายงาน ประจำ�ปี 2554
2545 – ปัจจุบัน 2552 – 2554 2543 – 2551 2542 – 2551 2537 – 2551 2547 – 2550 ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ไม่มี ที่ผ่านมา นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 2)
กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บมจ. เพาเวอร์ ไลน์ เอ็นจิเนียริ่ง ประธานคณะกรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม กรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท์ ประธานคณะกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส กรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี
อายุ 59 ปี กรรมการอิสระ ไม่มี ไม่มี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Utah State University, USA DAP: Directors Accreditation Program รุ่น 26/2547
ตำ�แหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน 2554 – ปัจจุบัน 2548 – ปัจจุบัน 2550 – 2554 2548 – 2554 2546 – 2554 2543 – 2554 2551 – 2553 2547 – 2553 2549 – 2551 2549 – 2550 2548 – 2550 2546 – 2550 ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ไม่มี ที่ผ่านมา
กรรมการอิสระ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ประธานคณะกรรมการ บมจ. ไทยลู้บเบส กรรมการ บมจ. ปตท.อะโรเมติกส์และการกลั่น กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ปตท. ประธานคณะกรรมการ บมจ. ปตท.เคมิคอล ประธานคณะกรรมการ บมจ. ไทยออยล์ เพาเวอร์ ประธานคณะกรรมการ บมจ. ผลิตไฟฟ้า (ประเทศไทย) ประธานคณะกรรมการ บมจ. ปตท.สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม กรรมการ บมจ. ธนาคารนครหลวงไทย กรรมการ บมจ. ไทยออยล์ สมาชิกสภานิติบัญญัติ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานคณะกรรมการ บจก. ท่อส่งปิโตรเลียม กรรมการ บมจ. โรงกลั่นน้ำ�มันระยอง กรรมการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ปตท.
28 อินทัช
นายวิกรม ศรีประทักษ์
อายุ 59 ปี กรรมการบริหาร และกรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กร ไม่มี ไม่มี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ DCP: Directors Certification Program รุ่น 104/2551
ตำ�แหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น 1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน 2552 – ปัจจุบัน รองประธานคณะกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2550 – ปัจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2545 – ปัจจุบัน (รักษาการ) หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านเทคโนโลยี บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2550 – 2552 กรรมการบริหาร และหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ผู้บริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2543 – 2550 กรรมการผู้อำ�นวยการ บจก. ดิจิตอล โฟน ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ไม่มี ที่ผ่านมา นางสุวิมล แก้วคูณ
อายุ 56 ปี กรรมการบริหาร ไม่มี ไม่มี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ เอเซียนอินสติติวท์ออฟแมเนจเม้นท์ ประเทศฟิลิปปินส์ DCP: Directors Certification Program รุ่น 102/2551
ตำ�แหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น 1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน 2550 – ปัจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการบริการลูกค้า บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2550 – 2551 กรรมการ บจก. เพย์เมนท์ โซลูชั่น 2549 – 2550 กรรมการผู้จัดการ บจก. แคปปิตอล โอเค ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ไม่มี ที่ผ่านมา
29 รายงาน ประจำ�ปี 2554
นายวิเชียร เมฆตระการ 3) ตำ�แหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น 1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน
ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ที่ผ่านมา นางศุภจี สุธรรมพันธ์ุ 4) ตำ�แหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น 1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด
อายุ 57 ปี กรรมการบริหาร ไม่มี ไม่มี ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ้า (เกียรตินิยม) California Polytechnic University, USA DCP: Directors Certification Program รุ่น 107/2551 CMA: Capital Market Academy รุ่น 8/2552 2554 – ปัจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2553 – ปัจจุบัน รักษาการหัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการตลาด บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2552 – ปัจจุบัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2549 – 2552 กรรมการผู้อำ�นวยการ บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ไม่มี
อายุ 47 ปี กรรมการบริหาร กรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กร ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อโฆษณาและธุรกิจใหม่ ไม่มี ไม่มี ปริญญาโท MBA, International Finance and International Accounting Northrop University, USA DCP: Directors Certification Program รุ่น 89/2550
การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน 2555 – ปัจจุบัน ประธานคณะกรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม 2554 – ปัจจุบัน กรรมการบริหาร กรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กร และ ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อโฆษณา และธุรกิจใหม่ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. ไทยคม กรรมการ และประธานคณะกรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส ส.ค. – ธ.ค. 2554 กรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม
30 อินทัช
2553 – 2554 General Manager, Global Technology Services, IBM ASEAN 2552 – 2553 Client Advocacy Executive, Chairman’s Office, IBM Headquarters 2550 – 2552 Vice President, General Business, IBM ASEAN 2546 – 2550 Country General Manager, IBM Thailand Co., Ltd. ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ไม่มี ที่ผ่านมา นายเอนก พนาอภิชน
อายุ 46 ปี
ตำ�แหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น 1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน
รองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานการเงินและบัญชี 0.0112% ไม่มี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย DCP: Directors Certification Program รุ่น 111/2551
นายวิชัย กิตติวิทยากุล
อายุ 50 ปี เลขานุการบริษัท และผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส ส่วนงานเลขานุการบริษัทและตรวจสอบภายใน 0.0023% ไม่มี ปริญญาโท บัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ DCP: Directors Certification Program รุ่น 104/2551 Company Secretary Program ปี 2548 Board & CEO Assessment Program ปี 2546 Effective Audit Committee ปี 2545
2553 – ปัจจุบัน รองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานการเงินและบัญชี บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการ และกรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม ก.พ. – ก.ย. 2554 รักษาการหัวหน้าคณะผู้บริหารด้านการเงิน บมจ.ไทยคม 2547 – 2553 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ ส่วนงานการเงินและบัญชี บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ไม่มี ที่ผ่านมา
ตำ�แหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น 1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
31 รายงาน ประจำ�ปี 2554
Board Practices ปี 2545 Board Composition and Relations ปี 2545 Board Policy ปี 2545 ประสบการณ์ทำ�งาน 2554 – ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส ส่วนงานเลขานุการบริษัทและตรวจสอบภายใน บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น กรรมการวิชาชีพบัญชีด้านการศึกษาและเทคโนโลยีการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชี 2551 – ปัจจุบัน เลขานุการบริษัท บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2547 – 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ ส่วนงานเลขานุการบริษัทและตรวจสอบ ภายใน บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2550 – 2552 นายกสมาคม สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย (สตท.) 2546 – 2551 เลขานุการคณะกรรมการบริษัท บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ไม่มี ที่ผ่านมา นายคิมห์ สิริทวีชัย
อายุ 43 ปี ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส ส่วนงานบริหารการลงทุน 0.0012% ไม่มี ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ DCP: Directors Certification Program รุ่น 116/2552
ตำ�แหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น 1) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด การผ่านหลักสูตรอบรมของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ์ทำ�งาน 2554 – ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส ส่วนงานบริหารการลงทุน บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2553 – ปัจจุบัน กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส 2551 – 2554 ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการ ส่วนงานบริหารการลงทุน บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2550 – 2551 ผู้อำ�นวยการ สำ�นักบริหารการลงทุน บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น 2547 – 2550 ผู้อำ�นวยการ สำ�นักพัฒนาธุรกิจใหม่ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ประวัติการทำ�ผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ปี ไม่มี ที่ผ่านมา
หมายเหตุ
สัดส่วนการถือหุ้นนับรวมจำ�นวนหุ้นของคู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้ง นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ เป็นกรรมการบริษัทแทนนายอารักษ์ ชลธาร์นนท์ ซึ่งได้ลาออกจากตำ�แหน่ง กรรมการบริษัท โดยมีผลตั้งแต่ 26 ธันวาคม 2554 3) ได้รับการแต่งตั้งเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริหาร มีผลตั้งแต่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 4) ได้รับการแต่งตั้งเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริหารมีผลตั้งแต่ 11 สิงหาคม 2554 แทนนายอารักษ์ ชลธาร์นนท์ ที่ลาออกในวันเดียวกัน 1) 2)
32 อินทัช
การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของคณะกรรมการประจำ�ปี 2554 การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของคณะกรรมการประจำ�ปี 2554 รายชื่อ
ดร. วิรัช อภิเมธีธำ�รง นายสมชาย ศุภธาดา
นายชลาลักษณ์ บุนนาค นายวิทิต ลีนุตพงษ์ นายบุน สวอน ฟู นายบดินทร์ อัศวาณิชย์ นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 1)
ตำ�แหน่ง
บมจ. ชิน บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส บมจ. ไทยคม คอร์ปอเรชั่น หุ้นสามัญ หุ้นสามัญ หุ้นกู้ หุ้นสามัญ หุ้นกู้ 2554 2553 2554 2553 2554 2553 2554 2553 2554 2553 - 1,000 1,000 -
ประธานคณะ กรรมการ กรรมการอิสระ และประธานคณะ กรรมการ ตรวจสอบ กรรมการอิสระ และกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการอิสระ และกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ 1,126,459 10 กรรมการอิสระ -
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
200 -
-
-
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 รวมการถือหุ้นของภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
2,000 2,000 -
33 รายงาน ประจำ�ปี 2554
รายชื่อ
ดร. วิรัช อภิเมธีธำ�รง นายสมชาย ศุภธาดา
นายชลาลักษณ์ บุนนาค นายวิทิต ลีนุตพงษ์ นายบุน สวอน ฟู นายบดินทร์ อัศวาณิชย์ นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ 1)
ตำ�แหน่ง
ประธานคณะ กรรมการ กรรมการอิสระ และประธานคณะ กรรมการ ตรวจสอบ กรรมการอิสระ และกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการอิสระ และกรรมการ ตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ
บมจ. ไอทีวี 2) บจก. แมทช์บอกซ์ บจก. ไอ.ที. แอพ พลิเคชั่นส์ แอนด์ เซอร์วิส หุ้นสามัญ หุ้นสามัญ หุ้นสามัญ 2554 2553 2554 2553 2554 2553 -
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
260 -
170 -
3 -
3 -
ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 รวมการถือหุ้นของภรรยาและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 1) หมายเหตุ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ เป็นกรรมการอิสระของบริษัทแทน นายอารักษ์ ชลธาร์นนท์ โดยมีผลตั้งแต่ 26 ธันวาคม 2554 2) ณ วันที่ 8 มีนาคม 2550 ITV ไม่ได้ดำ�เนินธุรกิจ เนื่องจากไม่มีใบอนุญาตประกอบกิจการ
THAICOM
รายชื่อกรรมการ 1. นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา X 2. ศจ. หิรัญ รดีศรี / 3. นางชรินทร วงศ์ภูธร / 4. รศ.สำ�เรียง เมฆเกรียงไกร / 5. นายยอง ลำ� ซุง /, // 6. นายสมประสงค์ บุญยะชัย / 7. นายศุภจี สุธรรมพันธุ์ /, // 8. นายเอนก พนาอภิชน /, // 9. ดร.นงลักษณ์ พินัยนิติศาสตร์ // 10. นายไพบูลย์ ภานุวัฒนวงศ์ // 11. นายอนันต์ แก้วร่วมวงศ์ 12. นายวุฒิ อัศวเสริมเจริญ 13. นายธนฑิต เจริญจันทร์ 14. นายอธิป ฤทธาภรณ์ 15. นางแน่งน้อย ณ ระนอง 16. Mr. Lee Theng Kiat 17. Mr. Sio Tat Hiang 18. Dr. Nasser Marafih 19. Mr. Lim Eng Tuan 20. Mr. Alvin Oei Yew Kiong 21. Mr. Niclolas Tan 22. Mr. Mark D. Thompson 23. Mr. William L. Snell 24. Mr. York Shin Lim Voon Kee 25. Mr. Tommy Lo Seen Chong 26. Mr. Teh Kwang Hwee -
รายชื่อบริษัท SHEN
X, // /, // /, // / / / / // // // -
DTV
X / / / / -
/ / / / -
IPSTAR
/ / / / / -
STAR
/ / / / -
SPACE
/
/ / / /
IPI
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย่อย (ทั้งทางตรงและทางอ้อม)
34 อินทัช
/ / / / / -
IPG
/ -
CDN
X / / -
MFONE
/ / -
IPA
/ / -
IPN
-
ITV
/ / -
MB
/ / -
ITAS
-
AM
-
-
-
-
รายชื่อ
AM CDN DTV IPA IPG IPI IPN IPSTAR
-
-
-
บริษัท อาร์ตแวร์ มีเดีย จำ�กัด บริษัท แคมโบเดียน ดีทีวี เน็ตเวิร์ค จำ�กัด บริษัท ดีทีวี เซอร์วิส จำ�กัด บริษัท ไอพีสตาร์ ออสเตรเลีย พีทีวาย จำ�กัด บริษัท ไอพีสตาร์ โกลเบิล เซอร์วิส จำ�กัด บริษทั ไอพีสตาร์ อินเตอร์เนชัน่ แนล พีทอี ี จำ�กัด บริษัท ไอพีสตาร์ นิวซีแลนด์ จำ�กัด บริษัท ไอพีสตาร์ จำ�กัด
X = ประธานคณะกรรมการ / = กรรมการ // = กรรมการบริหาร
27. นายจิโรจน์ ศรีนามวงศ์ 28. นายเมฆินทร์ เพ็ชรพลาย 29. นายคมสัน เสรีภาพงษ์ 30. Mr. Kek Soon Eng 31. Mr. Ly Sam An 32. Mr. Pal Vudhica 33. Ms. Ley May Phoueng 34. ดร. สุพจน์ ชินวีระพันธุ์ 35. นายสมคิด หวังเชิดชูวงศ์ 36. นายวิชกรพุฒิ รัตนวิเชียร 37. นายสุเมธี อินทร์หนู 38. นายสมบูรณ์ วงษ์วานิช 39. นายณิทธิมน หัสดินทร ณ อยุธยา 40. นางรัตนาพร นามมนตรี 41. นายวุฒิพร เดี่ยวพานิช 42. นายวิกรม ศรีประทักษ์ 43. นายสรรค์ชัย เตียวประเสริฐกุล
ITAS ITV MB MFONE THAICOM SHEN SPACE STAR
-
/ / / -
/ -
/ -
/ /
/
/ / ข้อมูล ณ วันที่ 4 มกราคม 2555
X / / / / / / -
บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส์ แอนด์ เซอร์วิส จำ�กัด บริษัท ไอทีวี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แมทช์บอกซ์ จำ�กัด บริษัท เอ็มโฟน จำ�กัด บริษัท ไทยคม จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเม้นท์ส พีทีอี ลิมิเต็ด สเปซโคด แอล แอล ซี บริษัท สตาร์ นิวเคลียส จำ�กัด
/ / / / -
35 รายงาน ประจำ�ปี 2554
36 อินทัช
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 รายแรก ณ วันที่ 26 มกราคม 2555 จัดทำ�โดยบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ปรากฎดังนี้
รายชื่อผู้ถือหุ้น
จำ�นวนหุ้นสามัญ
1. บริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส์ จำ�กัด 1,334,354,825 2. บริษัท ซีดาร์ โฮลดิ้งส์ จำ�กัด 1,218,028,839 3. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำ�กัด 140,486,631 4. นายประชา ดำ�รงค์สุทธิพงศ์ 15,518,400 5. CHASE NOMINEES LIMITED 15 13,478,700 6. CREDIT SUISSE AG SINGAPORE BRANCH 11,448,400 7. HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD 10,838,800 8. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ พนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 9,627,300 ซึ่งจดทะเบียนแล้วโดย บลจ. ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) จำ�กัด 9. CHASE NOMINEES LIMITED 8,860,000 10. CITIBANK NOMINEES SINGAPORE PTE LTD-ARANDA 8,071,100 INVESTMENTS PTE LTD
สัดส่วนการถือหุ้น (%) 41.62 37.99 4.38 0.48 0.42 0.36 0.34 0.30 0.28 0.25
ผู้ลงทุนสามารถดูข้อมูลจาก www.set.or.th ก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555
ณ วันที่ 26 มกราคม 2555 บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) มีโครงสร้างการถือหุ้นดังนี้ นายสุร�นทร อุปพัทธกุล 68.00%
บจก. ไซเพรส โฮลดิ�งส ( Temasek Holdings ) 48.99%
บจก. ไซเพรส โฮลดิ�งส ( Temasek Holdings ) 29.90%
ธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) 5.78%
บจก. แอสเพน โฮลดิ�งส ( Temasek Holdings ) 41.62%
บจก. ซีดาร โฮลดิ�งส 37.99%
บมจ. ชิ น คอร ป อเรชั ่ น
นายพงส สารสิน 1.27%
บจก. กุหลาบแก ว 45.22%
นายศุภเดช พ�นพ�พฒ ั น 0.82%
37 รายงาน ประจำ�ปี 2554
โครงสร้างการถือหุ้นกลุ่มอินทัช
38 อินทัช
โครงสร างการถือหุ นกลุ มอินทัช บร�ษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 1), 2) บร�ษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร ว�ส จำกัด (มหาชน) 2) 40.45%
บร�ษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) 2) 41.14%
บร�ษัท ดิจ�ตอล โฟน จำกัด 98.55% บร�ษัท แอดวานซ ดาต าเน็ทเวอร ค คอมมิวนิเคชั่นส จำกัด 51.00% บร�ษัท ไวร เลส ดีไวซ ซัพพลาย จำกัด 99.99%
บร�ษัท ดีทีว� เซอร ว�ส จำกัด 99.99% บร�ษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จำกัด (มหาชน) 2) 42.07%
บร�ษัท แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จำกัด 99.99%
บร�ษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จำกัด (มหาชน) 99.99%
บร�ษัท แอดวานซ เอ็มเปย จำกัด 99.99%
บร�ษัท เอดี เวนเจอร จำกัด (มหาชน) 99.99%
บร�ษัท แอดวานซ เมจ�คการ ด จำกัด 99.99% บร�ษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด 99.99% บร�ษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอร ค จำกัด 99.99% บร�ษัท แอดวานซ ไวร เลส เน็ทเวอร ค จำกัด 99.99% บร�ษัท โมบาย บรอดแบนด บิสซิเนส จำกัด 99.99% บร�ษัท แอดวานซ โมบาย บรอดแบนด จำกัด 99.99% บร�ษัท ไมโม เทค จำกัด 99.99% บร�ษัท แฟกซ ไลท จำกัด 99.97% บร�ษัท แอดวานซ อินเทอร เน็ต เรโวลูชั่น จำกัด 99.99% บร�ษัท แอดวานซ บรอดแบนด เน็ทเวอร ค จำกัด 99.97% บร�ษัท ศูนย ให บร�การคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จำกัด 20.00% บร�ดจ โมบาย พ�ทีอี แอลทีดี 10.00%
บร�ษัท หรรษาดอทคอม จำกัด 3) 99.99% บร�ษัท วัฏฏะ คลาสสิฟายด ส จำกัด 60.00%
39 รายงาน ประจำป 2554
( ณ วันที่ 4 มกราคม 2555 ) บร�ษัท ไอทีว� จำกัด (มหาชน) 2) 52.92% บร�ษัท อาร ตแวร มีเดีย จำกัด 99.99% บร�ษัท เชนนิงตัน อินเวสเม นท ส พ�ทีอี ลิมิเต็ด1) 51.00% บร�ษัท เอ็มโฟน จำกัด 100%
บร�ษัท แมทช บอกซ จำกัด 99.96% บร�ษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอร ว�ส จำกัด 99.99%
บร�ษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จำกัด 49.00% บร�ษัท ไอพ�สตาร จำกัด 99.96% บร�ษัท ไอพ�สตาร ออสเตรเลีย พ�ทีวาย จำกัด 100% บร�ษัท ไอพ�สตาร นิวซีแลนด จำกัด 100% บร�ษัท สตาร นิวเคลียส จำกัด 100% สเปซโคด แอล แอล ซี 70.00% บร�ษัท ไอพ�สตาร อินเตอร เนชั่นแนล พ�ทีอี จำกัด 100% บร�ษัท ไอพ�สตาร โกลเบิล เซอร ว�ส จำกัด 100% บร�ษัท แคมโบเดียน ดีทีว� เน็ตเว�ร ค จำกัด 100%
1) Holding Company 2) บร�ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย 3) อยู ระหว างการชำระบัญชีบร�ษัท
40 อินทัช
ข้อมูลทั่วไปของบริษัท และบริษัทในเครือ ข้อมูลทั่วไปของบริษัท บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อย่อในตลาดหลักทรัพย์ฯ INTUCH (เปลี่ยนชื่อย่อหลักทรัพย์จาก SHIN เป็น INTUCH เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2554) ประเภทธุรกิจ ประกอบธุรกิจด้านการลงทุนโดยการเข้าถือหุ้นและเข้าไปบริหารงานในบริษัทต่างๆ ซึ่งดำ �เนินธุรกิจด้าน สื่อสารโทรคมนาคมไร้สาย ธุรกิจดาวเทียมและต่างประเทศ และธุรกิจสื่อและโฆษณา เว็บไซต์ www.intouchcompany.com เลขทะเบียนบริษัท 010753000257 ที่ตั้งสำ�นักงาน เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 5000 โทรสาร : (66) 2271 1058 ทุนจดทะเบียน 5,000,000,000 หุ้น ทุนชำ�ระแล้ว 3,206,420,305 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น 1 บาท ทุนชำ�ระแล้ว 3,206,420,305 บาท
ข้อมูลทั่วไปของบริษัทในเครือ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) ชื่อย่อในตลาดหลักทรัพย์ฯ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ เลขทะเบียนบริษัท ที่ตั้งสำ�นักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของอินทัช
ADVANC เป็นผู้ดำ�เนินงานและให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ 900 MHz Cellular www.ais.co.th 0107535000265 เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5165 4,997,459,800 หุ้น 2,973,095,330 หุ้น 1 บาท 2,973,095,330 บาท 40.45%
41 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษัท ไทยคม จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อย่อในตลาดหลักทรัพย์ฯ THCOM ประเภทธุรกิจ ดำ�เนินการและบริหารโครงการดาวเทียมสื่อสารและให้บริการวงจรดาวเทียมเพื่อการสื่อสารทั้งในและ ต่างประเทศ เว็บไซต์ www.thaicom.net เลขทะเบียนบริษัท 0107536000897 ที่ตั้งสำ�นักงาน สำ�นักงานใหญ่ เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร สำ�นักงานสาขาที่ 1 เลขที่ 41/103 ถนนรัตนาธิเบศร์ ตำ�บลบางกระสอ อำ�เภอเมือง จังหวัดนนทบุรี โทรศัพท์ : (66) 2591 0736 โทรสาร : (66) 2591 0705 สำ�นักงานสาขาที่ 2 เลขที่ 50 หมู่ที่ 1 ตำ�บลบ่อเงิน อำ�เภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท์ : (66) 2599 3000 โทรสาร : (66) 2599 3000 ต่อ 712 ทุนจดทะเบียน 1,132,082,300 หุ้น ทุนชำ�ระแล้ว 1,095,937,540 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น 5 บาท ทุนชำ�ระแล้ว 5,479,687,700 บาท สัดส่วนการถือหุ้นของอินทัช 41.14%
บริษัท ไอทีวี จำ�กัด (มหาชน)
ชื่อย่อในตลาดหลักทรัพย์ฯ ITV ประเภทธุรกิจ เคยดำ�เนินธุรกิจด้านสถานีวิทยุโทรทัศน์ระบบ UHF ภายใต้ชื่อ “สถานีโทรทัศน์ ไอทีวี” จนกระทั่งวันที่ 7 มีนาคม 2550 สปน. ได้บอกเลิกสัญญาอนุญาตให้ดำ�เนินการของไอทีวี โดยให้มีผลบังคับทันที ปัจจุบัน การบอกเลิกสัญญาเข้าร่วมงานฯ ของ สปน. ยังเป็นประเด็นข้อพิพาททีอ่ ยูร่ ะหว่างการดำ�เนินกระบวนการ พิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการในสถาบันอนุญาโตตุลาการ *เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2552 หลักทรัพย์ ไอทีวี ได้ถูกย้ายหลักทรัพย์เข้าหมวด Non-Performing Group (NPG) และ เลขทะเบียนบริษัท ที่ตั้งสำ�นักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของอินทัช
เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2554 SET ประกาศชื่อหลักทรัพย์ ไอทีวีเป็นบริษัทที่อยู่ในกลุ่ม NPG ระยะที่ 1
0107541000042 เลขที่ 1010 อาคารชินวัตรทาวเวอร์ 3 ชั้น 6 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2791 1795-6 โทรสาร : (66) 2791 1797 1,560,000,000 หุ้น 1,206,697,400 หุ้น 5 บาท 6,033,487,000 บาท 52.92%
42 อินทัช
บริษัท แมทช์บอกซ์ จำ�กัด
ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ ที่ตั้งสำ�นักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของอินทัช
MB ให้บริการด้านโฆษณาและรับจ้างผลิตสื่อโฆษณาทางวิทยุและโทรทัศน์ www.matchbox.co.th สำ�นักงานใหญ่เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 5600 โทรสาร : (66) 2299 5661 สำ�นักงานสาขาที่ 1 เลขที่ 408/41 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 5600 โทรสาร : (66) 2615 3052 900,000 หุ้น 900,000 หุ้น 10 บาท 9,000,000 บาท 99.96%
บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส์ แอนด์ เซอร์วิส จำ�กัด ชื่อย่อ ประเภทธุรกิจ เว็บไซต์ ที่ตั้งสำ�นักงาน ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของอินทัช
ITAS ให้บริการระบบคอมพิวเตอร์ www.itas.co.th เลขที่ 388 อาคาร บี (อาคารเอส พี) ชั้น 3 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2273 0760 โทรสาร : (66) 2273 0191 1,000,000 หุ้น 1,000,000 หุ้น 10 บาท 10,000,000 บาท 99.99%
43 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษัทในเครือสายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร้สาย บริษัท ดิจิตอล โฟน จำ�กัด (ดีพีซี)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5455 ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 เมกะเฮิรตซ์ 365.55 ล้านหุ้น 10 บาท 3,655.47 ล้านบาท 98.55%
บริษัท ไวร์เลส ดีไวซ์ ซัพพลาย จำ�กัด (ดับบลิวดีเอส)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 5777 โทรสาร : (66) 2299 5200 นำ�เข้าและจัดจำ�หน่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ์โทรคมนาคม 0.50 ล้านหุ้น 100 บาท 50 ล้านบาท 99.99%
บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ จำ�กัด (เอซีซี) ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5959 ให้บริการข้อมูลทางโทรศัพท์ 27.20 ล้านหุ้น 10 บาท 272 ล้านบาท 99.99%
44 อินทัช
บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำ�กัด (เอเอ็มพี) ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2687 4808 โทรสาร : (66) 2687 4788 ให้บริการชำ�ระค่าสินค้าและบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่แทนการใช้เงินสด หรือบัตรเครดิต 30 ล้านหุ้น 10 บาท 300 ล้านบาท 99.99%
บริษัท แอดวานซ์ เมจิคการ์ด จำ�กัด (เอเอ็มซี)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2615 3330 จำ�หน่ายบัตรแทนเงินสด (Cash Card) 25 ล้านหุ้น 10 บาท 250 ล้านบาท 99.99%
บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำ�กัด (เอไอเอ็น)
ที่ตั้งสำ�นักงาน เว็บไซต์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 408/127 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 29 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2278 7030 www.ain.co.th ให้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ 2 ล้านหุ้น 100 บาท 100 ล้านบาท 99.99%
45 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษัท ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำ�กัด (เอสบีเอ็น) ที่ตั้งสำ�นักงาน เว็บไซต์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2619 8777 www.sbn.co.th ให้บริการโทรคมนาคม และบริการโครงข่ายโทรคมนาคม เช่น บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) บริการอินเทอร์เน็ต ระหว่างประเทศ และบริการชุมสายอินเทอร์เน็ต (International & National Internet Gateway) บริการ โครงข่ายโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (IPLC & IP VPN) บริการเสียงผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Voice over IP) และบริการโทรทัศน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (IP Television) 3 ล้านหุ้น 100 บาท 300 ล้านบาท 99.99%
บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำ�กัด (เอดับบลิวเอ็น) ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2687 4986 ให้บริการโทรคมนาคม บริการโครงข่ายโทรคมนาคม และบริการระบบคอมพิวเตอร์ ปัจจุบัน ได้รับใบอนุญาตให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) แบบที่ 1 และใบอนุญาตให้บริการโทรคมนาคมแบบที่ 3 จาก กทช. 3.50 ล้านหุ้น 100 บาท 350 ล้านบาท 99.99%
บริษัท ไมโม่เทค จำ�กัด (เอ็มเอ็มที) ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5165 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ (IT) และบริการรวบรวมข้อมูลบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Content Aggregator) 0.50 ล้านหุ้น 100 บาท 50 ล้านบาท 99.99%
46 อินทัช
บริษัท แฟกซ์ ไลท์ จำ�กัด (เอฟเอ็กซ์แอล)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5165 จัดหา และ/หรือ ให้เช่า ที่ดิน อาคาร และสิ่งอำ�นวยความสะดวกต่างๆ ที่จำ�เป็นต่อการประกอบธุรกิจ โทรคมนาคม 0.01 ล้านหุ้น 100 บาท 1 ล้านบาท 99.97%
บริษัท แอดวานซ์ อินเทอร์เน็ต เรโวลูชั่น จำ�กัด (เอไออาร์) ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5200 ให้บริการอินเทอร์เน็ต 24 ล้านหุ้น 10 บาท 240 ล้านบาท 99.99%
บริษัท แอดวานซ์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำ�กัด (เอบีเอ็น)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนในเขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันยังไม่ได้เริ่มดำ�เนินธุรกิจ 0.01 ล้านหุ้น 100 บาท 1 ล้านบาท 99.97%
47 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำ�กัด (เอดีซี)
ที่ตั้งสำ�นักงาน เว็บไซต์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของดีพีซี
เลขที่ 408/157 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 38 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2270 1900 โทรสาร : (66) 2270 1860 www.adc.co.th ให้บริการสื่อสารข้อมูลผ่านเครือข่ายสายโทรศัพท์และสาย Optical Fiber 95.75 ล้านหุ้น 10 บาท 957.52 ล้านบาท 51.00%
บริษัท โมบาย บรอดแบนด์ บิสซิเนส จำ�กัด (เอ็มบีบี) ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สดั ส่วนการถือหุน้ ของเอดับบลิวเอ็น
เลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชัน้ 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันยังไม่ได้เริ่มดำ�เนินธุรกิจ 1.20 ล้านหุ้น 100 บาท 120 ล้านบาท 99.99%
บริษัท แอดวานซ์ โมบาย บรอดแบนด์ จำ�กัด (เอเอ็มบี)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอ็มบีบี
เลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันยังไม่ได้เริ่มดำ�เนินธุรกิจ 1 ล้านหุ้น 100 บาท 100 ล้านบาท 99.99%
บริษัท ศูนย์ให้บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์ จำ�กัด (ซีแอลเอช) ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
เลขที่ 10/97 ชั้นที่ 6 โครงการเดอะเทรนดี้ ซอยสุขุมวิท 13 (แสงจันทร์) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2646 2523 โทรสาร : (66) 2168 7744 ศูนย์ ให้บริการระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลกลาง ประสานงานการโอนย้ายผู้ ให้บริการโทรคมนาคม เพื่อการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์ 0.02 ล้านหุ้น 100 บาท 2 ล้านบาท 20.00%
48 อินทัช
บริดจ์ โมบาย พีทีอี แอลทีดี (บีเอ็มบี)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอไอเอส
750 Chai Chee Road, #03-02/03, Technopark @ Chai Chee, Singapore 469000 โทรศัพท์ : (65) 6424 6270 โทรสาร : (65) 6745 9453 ให้บริการเกี่ยวกับเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในภาคพื้นเอเชียแปซิฟิค เพื่อให้บริการเครือข่าย โทรคมนาคมระหว่างประเทศ 23 ล้านหุ้น 1 ดอลลาร์สหรัฐ 23 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 10.00%
บริษัทในเครือสายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจต่างประเทศ บริษัท ดีทีวี เซอร์วิส จำ�กัด (ดีทีวี) ที่ตั้งสำ�นักงาน เว็บไซต์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของไทยคม
สำ�นักงานใหญ่เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร สำ�นักงานสาขาเลขที่ 50 หมู่ที่ 1 ตำ�บลบ่อเงิน อำ�เภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท์ : (66) 2950 5005 www.dtvservice.net บริการจำ�หน่ายอุปกรณ์จานรับสัญญานดาวเทียม บริการให้คำ�ปรึกษาและติดตั้งระบบสำ�หรับ เครือข่ายบรอดแบนด์แบบครบวงจร (System Integration) และบริการขายเนื้อหา (Content) ผ่านจาน DTV และ HDTV 39.88 ล้านหุ้น 10 บาท 398.79 ล้านบาท 99.99%
บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเม้นท์ส พีทีอี ลิมิเต็ด (เชน) ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของไทยคม
8 Marina Boulevard #05-02, Marina Bay Financial Centre, Singapore 018981 โทรศัพท์ : (65) 6338 1888 โทรสาร : (65) 6337 5100 ประกอบธุรกิจหลักในการลงทุนด้านการสื่อสารโทรคมนาคมในต่างประเทศ 15 ล้านหุ้น 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ 14.66 ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ 51.00%
49 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษัท ไอพีสตาร์ จำ�กัด (ไอพีสตาร์) ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของไทยคม
Trident Chambers, P.O. Box 146, Road Town, Tortola, British Virgin Islands จัดจำ�หน่ายช่องสัญญาณดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) 200 ล้านหุ้น 0.01 ดอลลาร์สหรัฐ 2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 99.96%
บริษัท สตาร์ นิวเคลียส จำ�กัด (สตาร์) ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของไทยคม
Trident Chambers, P.O. Box 146, Road Town, Tortola, British Virgin Islands ให้บริการด้านวิศวกรรมพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ 0.05 ล้านหุ้น 1 ดอลลาร์สหรัฐ 10 ดอลลาร์สหรัฐ 100%
สเปซโคด แอล แอล ซี (สเปซ)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของไทยคม
8695 Zumwalt Road, Monmouth, OR 97365 USA ให้บริการด้านวิศวกรรมพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ 4.29 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 70.00%
บริษัท ไอพีสตาร์ อินเตอร์เนชั่นแนล พีทีอี จำ�กัด (ไอพี ไอ)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของไทยคม
8 Marina Boulevard #05-02, Marina Bay Financial Centre, Singapore 018981 โทรศัพท์ : (65) 6338 1888 โทรสาร : (65) 6337 5100 จัดจำ�หน่ายช่องสัญญาณดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) 0.10 ล้านหุ้น 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ 20,000 ดอลลาร์สิงคโปร์ 100%
50 อินทัช
บริษัท ไอพีสตาร์ โกลเบิล เซอร์วิส จำ�กัด (ไอพีจี) ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของไทยคม
Intercontinental Trust Limited, Suite 802, St. James Court, St. Denis Street, Port Louis, Mauritius โทรศัพท์ : (230) 213 9800 โทรสาร : (230) 210 9168 จัดจำ�หน่ายช่องสัญญาณดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) 0.02 ล้านหุ้น 1 ดอลลาร์สหรัฐ 20,000 ดอลลาร์สหรัฐ 100%
บริษัท แคมโบเดียน ดีทีวี เน็ตเวิร์ค จำ�กัด (ซีดีเอ็น) ที่ตั้งสำ�นักงาน เว็บไซต์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของไทยคม
9A, Street 271, Sangkat Tumnup Teuk, Khan Chamkamon, Phnom Penh, Kingdom of Cambodia โทรศัพท์ : (855) 023 305 990 โทรสาร : (855) 023 994 669 www.cdn.com.kh จัดจำ�หน่ายอุปกรณ์รับสัญญาณดาวเทียม 0.001 ล้านหุ้น 2,400,000 เรียล 2,400 ล้านเรียล หรือเทียบเท่า 0.60 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 100%
บริษัท เอ็มโฟน จำ�กัด (เอ็มโฟน)
ที่ตั้งสำ�นักงาน เว็บไซต์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเชน
721 Preah Monivong Blvd., Sangkat Boeng Keng Kang 3, Khan Chamkamon, Phnom Penh, Kingdom of Cambodia โทรศัพท์ : (855) 023 303 333 โทรสาร : (855) 023 361 111 www.mfone.com.kh ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐาน โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์ต่างประเทศแบบ VOIP และอินเทอร์เน็ตในประเทศกัมพูชา 24 ล้านหุ้น 1 ดอลลาร์สหรัฐ 24 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 100%
51 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส์ จำ�กัด (แอลทีซี)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเชน
Lanexang Avenue 0100, Vientiane, Lao People’s Democratic Republic โทรศัพท์ : (856) 2121 6465-6 โทรสาร : (856) 2121 9690 ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐาน โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์สาธารณะ โทรศัพท์ระหว่างประเทศ และอินเทอร์เน็ตในประเทศลาว 96.84 ล้านหุ้น 1 ดอลลาร์สหรัฐ 96.84 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 49.00%
บริษัท ไอพีสตาร์ ออสเตรเลีย พีทีวาย จำ�กัด (ไอพีเอ)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สดั ส่วนการถือหุน้ ของไอพีสตาร์
Artarmon Central, Unit 13, 12-18 Clarendon Street, Artarmon, NSW 2064, Australia โทรศัพท์ : (612) 8875 4300 โทรสาร : (612) 8875 4399 ให้บริการไอพีสตาร์ ในประเทศออสเตรเลีย 6.95 ล้านหุ้น 1 ดอลลาร์ออสเตรเลีย 6.95 ล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย 100%
บริษัท ไอพีสตาร์ นิวซีแลนด์ จำ�กัด (ไอพีเอ็น)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สดั ส่วนการถือหุน้ ของไอพีสตาร์
C/- Clendons Barristers & Solicitors Level 1, Levy Building, Corner of Commerce & Customs Sts, Auckland, New Zealand ให้บริการไอพีสตาร์ ในประเทศนิวซีแลนด์ 8.51 ล้านหุ้น 1 ดอลลาร์นิวซีแลนด์ 8.51 ล้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ 100%
52 อินทัช
บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จำ�กัด (มหาชน) (ซีเอสแอล) ชื่อย่อในตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่ตั้งสำ�นักงาน เว็บไซต์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของดีทีวี
CSL สำ�นักงานใหญ่เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร สำ�นักงานสาขาเลขที่ 90 อาคารไซเบอร์เวิร์ลด ทาวเวอร์ เอ ชั้น 17-20 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2263 8000 โทรสาร : (66) 2263 8132 www.csloxinfo.com ให้บริการอินเทอร์เน็ตภายใต้ชื่อ ซีเอส ล็อกซอินโฟ (CS LoxInfo) และบริการรับ-ส่ง สัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม 599,145,700 หุ้น 594,419,804 หุ้น 0.25 บาท 148,604,951 บาท 42.07%
บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จำ�กัด (มหาชน) (ทีเอ็มซี)
ที่ตั้งสำ�นักงาน เว็บไซต์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของซีเอสแอล
สำ�นักงานใหญ่เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร สำ�นักงานสาขาที่ 1 เลขที่ 2028 ถนนริมทางรถไฟสายปากน้� ำ แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร สำ�นักงานสาขาที่ 2 เลขที่ 1126/2 อาคารวานิช 2 ชั้น 25-28 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2262 8888 โทรสาร : (66) 2262 8899 www.teleinfomedia.net จัดพิมพ์และโฆษณาสมุดรายนามผู้ ใช้โทรศัพท์ฉบับธุรกิจ 15.65 ล้านหุ้น 10 บาท 156.54 ล้านบาท 99.99%
53 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษัท เอดี เวนเจอร์ จำ�กัด (มหาชน) (เอดีวี)
ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของซีเอสแอล
สำ�นักงานใหญ่เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร สำ�นักงานสาขาที่ 1 เลขที่ 1126/2 อาคารวานิช 2 ห้องชุดเลขที่ 2101 ชั้น 21 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2262 8888 โทรสาร : (66) 2262 8899 สำ�นักงานสาขาที่ 2 เลขที่ 154/1 อาคารราชสีมาเซ็นเตอร์ ชั้น 3 ถนนมนัส ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา สำ�นักงานสาขาที่ 3 เลขที่ 79/3-4-5 ชั้น 2, 3 และ 4 ถนนกลางเมือง ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ให้บริการข้อมูลข่าวสารและสาระความบันเทิงผ่านระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Content Provider) และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Community Portal) และธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอินเทอร์เน็ต 1.07 ล้านหุ้น 10 บาท 10.75 ล้านบาท 99.99%
บริษัท วัฏฏะ คลาสสิฟายด์ส จำ�กัด (วัฏฏะ) ที่ตั้งสำ�นักงาน เว็บไซต์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของซีเอสแอล
สำ�นักงานใหญ่เลขที่ 71/30 ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร สำ�นักงานสาขาเลขที่ 71/36 ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2422 8000 โทรสาร : (66) 2422 8032 www.watta.co.th ให้บริการลงโฆษณาย่อย หรือ คลาสสิฟายด์สในสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ของวัฏฏะ ผลิตและจำ�หน่าย สิ่งพิมพ์ประเภท หนังสือพิมพ์ นิตยสาร พ๊อคเก็ตบุ๊ค และอื่นๆ ภายใต้สื่อสิ่งพิมพ์ของวัฏฏะ 0.20 ล้านหุ้น 100 บาท 20 ล้านบาท 60.00%
54 อินทัช
บริษัท หรรษาดอทคอม จำ�กัด (หรรษา) ที่ตั้งสำ�นักงาน เว็บไซต์ ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของเอดีวี
สำ�นักงานใหญ่เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร สำ�นักงานสาขาเลขที่ 1126/2 อาคารวานิช 2 ห้องชุดเลขที่ 2101 ชั้น 21 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2262 8888 โทรสาร : (66) 2262 8899 www.hunsa.com ปัจจุบันอยู่ระหว่างการชำ�ระบัญชีบริษัท 0.80 ล้านหุ้น 10 บาท 8 ล้านบาท 99.99%
บริษัทในเครือสายธุรกิจสื่อและโฆษณา
บริษัท อาร์ตแวร์ มีเดีย จำ�กัด (เอเอ็ม) ที่ตั้งสำ�นักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค่าที่ตราไว้ต่อหุ้น ทุนชำ�ระแล้ว สัดส่วนการถือหุ้นของไอทีวี
เลขที่ 1010 อาคารชินวัตรทาวเวอร์ 3 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : (66) 2791 1000 โทรสาร : (66) 2791 1010 ปัจจุบันหยุดการดำ�เนินงาน 0.25 ล้านหุ้น 100 บาท 25 ล้านบาท 99.99%
หมายเหตุ ข้อมูลทุนจดทะเบียน ทุนชำ�ระแล้ว และสัดส่วนการถือหุ้น ณ วันที่ 4 มกราคม 2555
55 รายงาน ประจำ�ปี 2554
พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญ พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญก่อนปี 2554 ปี 2526 • จดทะเบียนจัดตัง้ บริษทั ชินวัตรคอมพิวเตอร์ เซอร์วสิ แอนด์ อินเวสเมนท์ จำ�กัด วัตถุประสงค์หลักคือ จำ�หน่ายและให้เช่าคอมพิวเตอร์ ขนาดกลางและขนาดใหญ่ (เปลี่ยนเป็นบริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร์ จำ�กัด ในปี 2527 และเปลี่ยนเป็นบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) (บริษัท) ในปี 2544) ปี 2533 • บริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร์ จำ�กัด เข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด ได้รับอนุญาตจาก องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ปัจจุบัน คือ บริษัท ทีโอที จำ�กัด (มหาชน) (ทีโอที)) ให้ดำ�เนินการติดตั้งและให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบเซลลูลาร์ 900 ตามสัญญาร่วมการงานแบบบีทีโอ (BTO: Build-Transfer-Operate) เป็นระยะเวลา 20 ปี ต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ได้ขยายเวลาของสัญญาร่วมการงานเป็น 25 ปี สิ้นสุดปี 2558 ปี 2534 • บริษัท ชินวัตรแซทเทลไลท์ จำ�กัด ได้รับอนุญาตจากกระทรวงคมนาคมให้เป็นผู้จัดสร้าง จัดส่ง และให้บริการดาวเทียมสื่อสารแห่ง ชาติโดยมีอายุ 30 ปี คุ้มครองสิทธิภายในเวลา 8 ปี • บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (เอไอเอส) เข้าเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และต่อมาจด ทะเบียนเป็นบริษัทมหาชน ในปี 2535 ปี 2536 • ดาวเทียมไทยคม 1 ได้ถูกส่งเข้าวงโคจรเป็นผลสำ�เร็จ • บริษัท ชินวัตรแซทเทลไลท์ จำ�กัด ได้แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน ปี 2537 • บริษัท ชินวัตรแซทเทลไลท์ จำ�กัด (มหาชน) เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (เปลี่ยนเป็นบริษัท ชิน แซทเทลไลท์ จำ�กัด (มหาชน) ในปี 2542 และเปลี่ยนเป็นบริษัท ไทยคม จำ�กัด (มหาชน) (ไทยคม) ในปี 2551) • ดาวเทียมไทยคม 2 ได้ถูกส่งเข้าวงโคจรเป็นผลสำ�เร็จ ปี 2540 • ดาวเทียมไทยคม 3 ได้ถูกส่งเข้าวงโคจรเป็นผลสำ�เร็จ ปี 2542 • Singapore Telecom International Pte. Ltd. เข้าร่วมลงทุนในเอไอเอส ทำ�ให้สัดส่วนการลงทุนของบริษัท ในเอไอเอส ลดลง เหลือประมาณร้อยละ 42 ปี 2543 • บริษัท เข้าลงทุนในบริษัท ดิจิตอล โฟน จำ�กัด (ดีพีซี) ผู้ ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบดิจิตอล GSM ย่านความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ์ โดยเข้าซื้อหุ้นดีพีซี จากบริษัท สามารถคอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ในสัดส่วนร้อยละ 45.59 และต่อมาเข้า ซื้อหุ้นเพิ่มทุนในดีพีซี ทำ�ให้สัดส่วนการถือหุ้นเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 47.55 • บริษัท เข้าลงทุนในบริษัท ไอทีวี จำ�กัด (มหาชน) (ไอทีวี) ในสัดส่วนร้อยละ 39 โดยซื้อหุ้นเพิ่มทุนของ ไอทีวี ปี 2544 • มีการจัดโครงสร้างการถือหุ้นในสายธุรกิจโทรคมนาคมไร้สาย โดยให้เอไอเอส เข้าถือหุ้นดีพีซีโดยตรงในสัดส่วนร้อยละ 98.17 ซึ่งเป็นสัดส่วนที่เพิ่มขึ้นหลังจากที่ได้มีการซื้อหุ้นดีพีซี จาก TMI Mauritius Limited ที่ถืออยู่ทั้งหมด • บริษัท และเอไอเอส เปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้จาก 10 บาทต่อหุ้นเป็น 1 บาทต่อหุ้น • บริษัท ซื้อหุ้นไอทีวี เพิ่มจากธนาคารไทยพาณิชย์ และซื้อหุ้นไอทีวี ผ่านการทำ�คำ�เสนอซื้อหลักทรัพย์ทั้งหมดของไอทีวี ทำ�ให้ สัดส่วนการลงทุนของบริษัท ในไอทีวี เพิ่มเป็นร้อยละ 77.48
56 อินทัช
ปี 2545 • ไอทีวีเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยออกหุ้นสามัญออกขายให้นักลงทุนเป็นการทั่วไปเป็นครั้งแรก พร้อม กันนี้ บริษัท นำ�หุ้นไอทีวีที่ถืออยู่บางส่วนเสนอขายพร้อมกัน ทำ�ให้สัดส่วนการลงทุนของบริษัท ในไอทีวี ลดลงเป็นร้อยละ 55.53 ปี 2546 • บริษัท เข้าลงทุนในสองธุรกิจใหม่ โดยร่วมกับ AirAsia Sdn. Bhd. จากประเทศมาเลเซีย ก่อตั้งบริษัท ไทยแอร์เอเชีย จำ�กัด (ทีเอเอ) ในสัดส่วนร้อยละ 50 และ 49 ตามลำ�ดับ เพื่อให้บริการสายการบินราคาประหยัดในประเทศไทย และร่วมกับธนาคารดีบี เอสจากประเทศสิงคโปร์ ก่อตั้งบริษัท แคปปิตอล โอเค จำ�กัด (โอเค) ในสัดส่วนร้อยละ 60 และ 40 ตามลำ�ดับ เพื่อดำ�เนินธุรกิจ การให้สินเชื่อส่วนบุคคล โดยทั้งสองธุรกิจเริ่มให้บริการในปี 2547 ปี 2547 • มีการจัดโครงสร้างการถือหุ้นในบริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จำ�กัด (ทีเอ็มซี) โดยให้ บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จำ�กัด (มหาชน) (ซีเอสแอล) เข้าซื้อหุ้นทีเอ็มซี จากบริษัท สัดส่วนร้อยละ 38.25 และซื้อหุ้น ทีเอ็มซีจาก Singtel Interactive Pte. Ltd. ในสัดส่วน ร้อยละ 25 ทำ�ให้ซีเอสแอล เข้าถือหุ้นในทีเอ็มซี ในสัดส่วนร้อยละ 63.25 เพื่อดำ�เนินธุรกิจที่เกื้อหนุนกัน และสร้างมูลค่าเพิ่ม ทางด้านการบริการจากความแข็งแกร่งของฐานข้อมูลของทีเอ็มซี • ซีเอสแอลเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อประชาชนเป็นครั้งแรก ปี 2548 • ไทยคมเพิ่มทุนโดยการเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่นักลงทุนสถาบันและนักลงทุนรายย่อยรวม 208 ล้านหุ้นในราคาหุ้นละ 15.30 บาท รวม 3,182 ล้านบาท ซึ่งทำ�ให้สัดส่วนการลงทุนของบริษัทในไทยคม ลดลงเป็นร้อยละ 41.34 • ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) ได้ถูกส่งเข้าวงโคจร ซึ่งเป็นดาวเทียมบรอดแบนด์ดวงแรกของภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก และเริ่มให้ บริการอย่างเต็มรูปแบบแก่ ทีโอที ซึ่งเป็นผู้ ให้บริการหลักในประเทศไทย • ไอทีวี ร่วมกับพันธมิตรญี่ปุ่น คือ CA Mobile Ltd. และ Mitsui & Co., Ltd. (Mitsui) ร่วมกันจัดตั้ง บริษัท มีเดีย คอนเน็คซ์ จำ�กัด (เอ็มซี) เพื่อประกอบธุรกิจผลิตเนื้อหาและสื่อโฆษณาบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยมีสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 60, 25 และ 15 ตาม ลำ�ดับ ต่อมาในปี 2549 มีการเปลี่ยนสัดส่วนการถือหุ้นในเอ็มซีโดยคงเหลือไอทีวี และ Mitsui ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 60 และ 40 ตามลำ�ดับ • ซีเอสแอลซื้อหุ้นทีเอ็มซีที่เหลือจากทีโอที ในสัดส่วนร้อยละ 36.75 ทำ�ให้ซีเอสแอลเข้าถือหุ้นทั้งหมดในทีเอ็มซี ปี 2549 • ดาวเทียมไทยคม 5 ได้ถูกส่งเข้าวงโคจรเป็นผลสำ�เร็จ และได้ดำ�เนินการปลดระวางดาวเทียมไทยคม 3 ออกจากวงโคจรค้างฟ้า ตำ�แหน่งที่ 50.5 องศาตะวันออกไปสู่อวกาศ เนื่องจากระบบพลังงานไฟฟ้าของดาวเทียมไม่เพียงพอต่อการให้บริการ • บริษัท ซื้อหุ้นโอเค ที่ธนาคารดีบีเอสถืออยู่ทั้งหมด ทำ�ให้สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท ในโอเค เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 99.99 • จัดโครงสร้างการถือหุ้นในทีเอเอ โดยขายหุ้นทีเอเอที่บริษัทถืออยู่ทั้งหมด ให้กับบริษัท เอเชีย เอวิเอชั่น จำ�กัด (เอเอ) ซึ่งเป็นบริษัท ที่บริษัทถือหุ้นอยู่ในสัดส่วนร้อยละ 49 ทำ�ให้สัดส่วนการลงทุนทางอ้อมของบริษัทในทีเอเอลดลงเหลือร้อยละ 24.50 • จัดโครงสร้างการถือหุ้นในบริษัท เอดี เวนเจอร์ จำ�กัด (เอดีวี) ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใน บริษัท ชินนี่ดอทคอม จำ�กัด ซึ่งให้บริการข้อมูล ข่าวสารและสาระความบันเทิงสำ�หรับผู้ ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Contents) และบริการเว็บท่า hunsa.com โดยซีเอสแอลเข้า ซื้อหุ้นเอดีวีจากบริษัทและกลุ่ม Mitsubishi ทำ�ให้ซีเอสแอล เข้าถือหุ้นในทั้งหมดในเอดีวี ปี 2550 • ตามมติคณะรัฐมนตรีในวันที่ 6 มีนาคม 2550 ที่อนุมัติให้ระงับการออกอากาศของไอทีวี โดยสำ�นักปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ได้มีหนังสือมายังไอทีวี ในวันที่ 7 มีนาคม 2550 เพื่อบอกเลิกสัญญาเข้าร่วมงานฯ กับไอทีวี โดยอ้างเหตุว่าไอทีวี ไม่ ดำ�เนินการชำ�ระหนี้ตามที่ สปน. เรียกร้อง และขอให้ส่งมอบทรัพย์สินที่ไอทีวี มีไว้ ใช้ ในการดำ�เนินกิจการตามสัญญาเข้าร่วม งานฯ คืนให้แก่ สปน. ซึ่งการบอกเลิกสัญญาดังกล่าวเป็นเหตุให้ ไอทีวี จำ�เป็นต้องหยุดดำ�เนินธุรกิจสถานีวิทยุโทรทัศน์ระบบ ยู เอช เอฟ อย่างไรก็ตามไอทีวี ยังคงดำ�เนินคดีฟ้องร้องกับ สปน. ต่อไปตามกระบวนการระงับข้อพิพาทตามสัญญาฯ และข้อเรียก
57 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ร้องค่าเสียหายข้ออื่นๆ ที่เรียกร้องให้ สปน. ชดเชยความเสียหายโดยชำ�ระคืนเป็นเงินสดให้แก่ไอทีวี โดยคดีความระหว่างไอทีวี และ สปน.อยู่ในกระบวนการระงับข้อพิพาทที่สถาบันอนุญาโตตุลาการ • บริษัท ซื้อหุ้น บริษัท เพย์เม้นท์ โซลูชั่น จำ�กัด (พีเอส) ในสัดส่วนร้อยละ 99.99 จากโอเค • บริษัท ขายหุ้นโอเค ที่ถืออยู่ทั้งหมดให้กับ บริษัท เอแคป แอ๊ดไวเซอรี่ จำ�กัด (มหาชน) และ ORIX Corporation • บริษัท ขายหุ้นที่ถืออยู่ทั้งหมดในเอเอ ในสัดส่วนร้อยละ 49 ให้กับกลุ่มผู้บริหารระดับสูงของทีเอเอ • ไทยคมขายหุ้นบริษัท เชนนิงตัน อินเวสท์เมนท์ พีทีอี จำ�กัด (เชน) ในสัดส่วนร้อยละ 49 ให้แก่ Asia Mobile Holdings Pte. Ltd. ทำ�ให้สัดส่วนการลงทุนของไทยคมในเชน ลดลงเหลือร้อยละ 51
ปี 2551 • บริษัท ขายหุ้นที่ถืออยู่ทั้งหมดในพีเอส • เอไอเอสซื้อหุ้นของบริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำ�กัด (เอเอ็มพี) ส่วนที่ NTT DoCoMo Co., Ltd. ถืออยู่ทั้งหมด ทำ�ให้สัดส่วนการ ลงทุนของเอไอเอส ในเอเอ็มพี เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 99.99 • เอไอเอสขายหุ้นของบริษัท แอดวานซ์ ดาต้าเน็ทเวอร์ค คอมมิวนิเคชั่นส์ จำ�กัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่เอไอเอส ถือหุ้นในสัดส่วน ร้อยละ 51 ให้ดีพีซี ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่ เอไอเอส ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 98.55 เพื่อเป็นการปรับโครงสร้างของสายธุรกิจ ให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งเป็นการผนวกจุดแข็งของเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กับเครือข่าย บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ • ซีเอสแอล ลดทุนจดทะเบียนของบริษัท โดยการลดมูลค่าหุ้นที่ตราไว้เดิม 1 บาทต่อหุ้น เป็น 0.25 บาทต่อหุ้น ปี 2552 • บริษัท กัมพูชา ชินวัตร จำ�กัด ได้เปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น “บริษัท เอ็มโฟน จำ�กัด” ปี 2553 • ไทยคมได้ทำ�การปลดระวางดาวเทียมไทยคม 1A และดาวเทียมไทยคม 2 ออกจากวงโคจร หลังจากครบกำ�หนดอายุการใช้งาน พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญในปี 2554 ปี 2554 • บริษัท เปลี่ยนเครื่องหมายการค้าจาก “SHIN” เป็น “INTOUCH” (อินทัช) โดยเปลี่ยนจากสัญลักษณ์ลูกโลกเดิมที่ใช้มากว่า 20 ปี สู่สัญลักษณ์ ใหม่ที่สามารถสะท้อนความเป็นมิตรได้ดียิ่งขึ้น ใกล้ชิด และสัมผัสได้ง่ายขึ้น • ไทยคมได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการสร้างดาวเทียมไทยคม 6 ซึ่งคาดว่าจะ สามารถนำ�ขึ้นสู่วงโครจรได้ ในช่วงกลางปี 2556 อันจะส่งผลให้มีลูกค้าและบริการเพิ่มมากขึ้นได้อย่างต่อเนื่องในอนาคต • ไทยคมได้มกี ารลงนามข้อตกลงความร่วมมือกับ Asia Satellite Telecommunications Co., Ltd. ในการจัดหาดาวเทียมชัว่ คราว ไปไว้ยงั ตำ�แหน่งวงโคจรที่ 120 องศาตะวันออก หลังจากนัน้ จะจัดส่งดาวเทียมดวงใหม่ ขึน้ สูว่ งโคจรในปี 2557 ความร่วมมือระหว่าง สองบริษัทในครั้งนี้ จะช่วยรักษาสิทธิ์ของประเทศไทยในตำ�แหน่งวงโคจรที่ 120 องศาตะวันออก และจะทำ�ให้มีช่องสัญญาณเพิ่ม เติมสำ�หรับให้บริการช่องสัญญาณโทรทัศน์ โทรคมนาคมและบรอดแบนด์ทั่วภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกอีกด้วย • บริษัท ขายเงินลงทุนในเอไอเอส บางส่วนจำ�นวน 61 ล้านหุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 2.05 ของทุนชำ�ระแล้วของเอไอเอส ให้แก่ Singtel Strategic Investments Pte. Ltd. ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ถือหุ้นเดิมของเอไอเอส ในราคา 130 บาทต่อหุ้น คิดเป็นมูลค่ารวม ทั้งสิ้น 7,930 ล้านบาท ทั้งนี้ ภายหลังจากการจำ�หน่ายหุ้นดังกล่าว บริษัทยังคงเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของเอไอเอส คิดเป็นร้อยละ 40.45 ของทุนชำ�ระแล้วของเอไอเอส และการขายหุ้นในครั้งนี้ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในอำ�นาจควบคุมและการดำ�เนินงาน ของเอไอเอสแต่อย่างใด
58 อินทัช
ลักษณะการประกอบธุรกิจ เมกะเฮิรตซ์ ภายใต้สัญญาร่วมการงานอายุ 16 ปี แบบสร้าง-โอนกรรมสิทธิ์-ดำ�เนินงาน กับบริษัท กสท โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน) บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (กสท.) ซึ่งเริ่มในปี 2540 ถึงปี 2556 โดยภาย (มหาชน) หรือ เอไอเอส ตอกย้�ำ ความเป็นผูน้ �ำ ใต้สัญญาดังกล่าวดีพีซีจะต้องจ่ายส่วนแบ่ง ธุรกิจในด้านการสื่อสารโทรคมนาคมแบบไร้ รายได้ ให้กับ กสท. ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่ร้อยละ 30 สาย โดยครองส่วนแบ่งทางการตลาดในเชิง ของรายได้จากการให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ รายได้กว่าร้อยละ 54 ในปี 2554 นำ�เสนอ ดีพีซีมีสัญญาในการเชื่อมโยงเครือข่ายกับ บริการคุณภาพให้แก่ลูกค้ากว่า 33.5 ล้าน เอไอเอส เพื่อให้ทั้งผู้ ใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ เลขหมาย หรือ ร้อยละ 44 ของจำ�นวนผู้ ใช้ ทัง้ สองเครือข่ายคือเอไอเอสและดีพซี ี สามารถ บริการในประเทศไทย เรายังคงนำ�เสนอบริการ ใช้บริการได้ครอบคลุมทั่วประเทศและสร้าง ที่เป็นเลิศยาวนานกว่า 21 ปี ให้กับสังคม คุณภาพที่ดีกว่าในการให้บริการ ไทยด้วยเครือข่ายคุณภาพที่ครอบคลุมกว่า ร้อยละ 97 ของประเทศ ธุรกิจหลักของเอไอเอส บริษัทร่วมทุน บริดจ์ โมบาย พีทีอี แอลทีดี (บีเอ็มบี) ให้บริการโทรข้ามแดนอัตโนมัตทิ เี่ ชือ่ ม และบริษัทในเครือมีดังนี้ ต่อกว่า 217 ประเทศทั่วโลก โดยเอไอเอสได้ เอไอเอสและบริษัทในเครือให้บริการโทรศัพท์ เข้าร่วมกลุ่ม Bridge Alliance เป็นพันธมิตร เคลือ่ นทีบ่ นคลืน่ ความถีย่ า่ น 900 เมกะเฮิรตซ์ ร่วมกับ 11 เครือข่ายผู้ ให้บริการโทรศัพท์ และ 1800 เมกะเฮิรตซ์ ด้วยเทคโนโลยี จีเอสเอ็ม เคลือ่ นทีช่ นั้ นำ� ทัว่ ภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ซึง่ ให้ บริการและสิทธิประโยชน์ทเี่ หนือกว่ากับลูกค้า เอไอเอสได้ทำ�สัญญาร่วมการงานอายุ 25 ปีแบบสร้าง-โอนกรรมสิทธิ์-ดำ�เนินงาน กับ บริ ษั ท เอไอเอ็ น โกลบอลคอม จำ � กั ด บริษัท ทีโอที จำ�กัด (มหาชน) (ทีโอที) โดยให้ (เอไอเอ็น) ให้บริการโทรทางไกลต่างประเทศ บริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีบ่ นคลืน่ ความถี่ 900 ผ่านรหัส 005 หรือ 00500 เพื่อให้ลูกค้า เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งสัญญาดังกล่าวกำ�หนดให้ สามารถสื่อสารแบบไร้พรมแดนครอบคลุม เอไอเอสเป็นผู้ลงทุนสร้างเครือข่ายเซลลูลาร์ 240 ประเทศปลายทางทั่วโลก รับผิดชอบในการหาเงินลงทุนและค่าใช้จ่าย อื่นทั้งหมด และโอนกรรมสิทธิ์ในเครือข่ายให้ ในปีทผี่ า่ นมาเอไอเอสได้ขยายขีดความสามารถ ทีโอที รวมถึงจ่ายผลตอบแทนในรูปแบบของ ของเครื อ ข่ า ยเพื่ อ รองรั บ การใช้ ง านด้ า น ส่วนแบ่งรายได้จากการบริการให้แก่ทีโอทีซึ่ง บริการข้อมูลทีส่ งู ขึน้ เพือ่ ตอบสนองแนวทาง ปัจจุบันอยู่ที่ร้อยละ 30 ของรายได้สำ�หรับ การใช้ชีวิตของคนไทยที่เปลี่ยนแปลงไปตาม บริการแบบชำ�ระค่าบริการหลังการใช้ (โพสต์ การพัฒนาของเทคโนโลยี ให้ลูกค้าเชื่อมต่อ เพด) และร้อยละ 20 สำ�หรับส่วนแบ่งรายได้ อินเทอร์เน็ตได้อย่างต่อเนื่องผ่านเครือข่าย จากการให้บริการแบบชำ�ระค่าใช้บริการล่วง คุณภาพ 3G WiFi และ EDGE Plus หน้า (พรีเพด) ในปลายเดื อ นกรกฎาคม 2554 เอไอเอส บริษัท ดิจิตอล โฟน จำ�กัด (ดีพีซี) ให้บริการ ให้ ลู ก ค้ า สั ม ผั ส ประสบการณ์ อิ น เทอร์ เ น็ ต โทรศัพท์เคลือ่ นทีบ่ นคลืน่ ความถีใ่ นย่าน 1800 เคลื่อนที่ที่เหนือกว่าเดิมผ่านบริการ 3G บน ภาพรวมการประกอบธุรกิจสายธุรกิจสือ่ สาร โทรคมนาคมไร้สาย
คลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ์ กว่า 1,884 สถานี ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพฯ ปริมณฑล และอีก 9 จังหวัดเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังได้ ร่วมมือกับบริษัท จัสมิน อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด (มหาชน) ซึง่ เป็นพันธมิตรทางธุรกิจ ให้ บริการ WiFi ทีม่ คี วามเร็วสูงสุดถึง 6 เมกะบิต ต่อวินาที จำ�นวนกว่า 70,000 จุดทั่วประเทศ รวมถึงได้ตอ่ ยอดเทคโนโลยี “EDGE Plus” ที่ ได้พัฒนาในปีที่แล้วให้ครอบคลุมทั่วประเทศ ซึ่งเหนือกว่า EDGE ทั่วไปด้วยความเร็วใน การอัพโหลดที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 50 สูงสุด 236 กิโลบิตต่อวินาที และความเร็วในการดาวน์โหลด เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 30 สูงสุด 296 กิโลบิตต่อวินาที นอกจากนีล้ กู ค้ายังสามารถใช้บริการทางเสียง ไปพร้อมกับการเชื่อมต่อได้อีกด้วย บริ ษั ท ไมโม่ เ ทค จำ � กั ด (เอ็ ม เอ็ ม ที ) เป็ น ศูนย์รวบรวมและบริหารคอนเทนต์และแอพ พลิเคชั่น ซึ่งช่วยส่งเสริมบริการต่างๆ ของ เอไอเอส และบริษทั อืน่ ๆในเครือ ทีจ่ ะตอบสนอง ความต้องการการใช้บริการข้อมูลที่เพิ่มขึ้น บริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค จำ�กัด (เอดับบลิวเอ็น) ให้บริการด้านโทรคมนาคม บริ ก ารโครงข่ า ยโทรคมนาคม และระบบ คอมพิวเตอร์ เพื่อรองรับการเติบโตของการ ใช้อินเทอร์เน็ต บริษทั ซุปเปอร์ บรอดแบนด์ เน็ทเวอร์ค จำ�กัด (เอสบีเอ็น) ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐานโดยมุ่ง เน้นเรื่องการให้บริการด้านข้อมูลต่างๆ เช่น ให้บริการอินเทอร์เน็ต บริการอินเทอร์เน็ต ระหว่างประเทศ บริการเสียงผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต และบริการโทรทัศน์ผ่านเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ต บริ ษั ท แอดวานซ์ ดาต้ า เน็ ท เวอร์ ค คอม มิวนิเคชั่นส์ จำ�กัด (เอดีซี) ให้บริการสื่อสาร
59 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ข้อมูลผ่านทางเครือข่ายสายโทรศัพท์ และสาย เคเบิลใยแก้วนำ�แสง บริการรับฝากเซิรฟ ์ เวอร์ และรับฝากข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต บริการให้ เช่าใช้พื้นที่ทำ�เว็บไซต์ รวมถึงการให้บริการ อินเทอร์เน็ตครบวงจร บริษัท แอดวานซ์ คอนแท็คเซ็นเตอร์ จำ�กัด (เอซีซี) หรือศูนย์บริการลูกค้าคอลเซ็นเตอร์ เป็นปัจจัยสำ�คัญในการสร้างความแตกต่าง ที่เหนือกว่าให้กับเอไอเอส โดยเน้นการสร้าง ความสัมพันธ์กับลูกค้าเป็นหลักนอกเหนือ จากบริการก่อนหรือหลังการขายหรือตอบ ปัญหาทัว่ ไป เช่น เรือ่ งการชำ�ระค่าบริการ หรือ สอบถามข้อมูลบริการ เอไอเอสคอลเซ็นเตอร์ ยังมีบทบาทสำ�คัญในการช่วยแนะนำ�กิจกรรม ทางการตลาด แนะนำ�สินค้าและบริการให้ทั้ง ลูกค้าปัจจุบันและลูกค้าใหม่ นอกเหนือจาก บริการคอลเซ็นเตอร์ผ่านโทรศัพท์ เอไอเอส ได้อ�ำ นวยความสะดวกให้แก่ลกู ค้าด้วยบริการ ออนไลน์จาก “iCall” (บริการผ่านแชทหรือคุย ผ่านกล้องพร้อมภาพและเสียง) และขยายสู่ เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อให้บริการที่ตรง กลุม่ และรวดเร็วยิง่ ขึน้ ผ่านเครือข่ายยอดนิยม เช่น เว็บบอร์ดพันทิป facebook และ twitter นอกจากนี้ เอไอเอสยังใส่ใจในความต้องการ ของลูกค้าผู้บกพร่อง โดยพัฒนา “iSign” ซึ่ง เป็นบริการถามตอบผ่านทางเว็บแคมโดยใช้ ภาษามือเพือ่ อำ�นวยความสะดวกให้แก่ลกู ค้า ผู้บกพร่องทางการได้ยิน นอกจากนี้เอไอเอสยังพัฒนาบริการเอ็มเปย์ (mPAY) ผ่าน บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จำ�กัด (เอเอ็มพี) ซึง่ ได้รบั ใบอนุญาตจากธนาคารแห่ง ประเทศไทย ให้ประกอบธุรกิจให้บริการชำ�ระ ค่าสินค้า และบริการผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ แทนการใช้เงินสดหรือ บัตรเครดิต ภายใต้ ชื่อ “เอ็มเปย์ (mPAY)” เพื่อให้ลูกค้าสามารถ
ทำ�ธุรกรรมต่างๆ ผ่านโทรศัพท์เคลือ่ นที่ โดย บริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์นี้ได้รับความ นิยมมากขึ้นเนื่องจากเพิ่มความรวดเร็วและ ช่วยให้ชีวิตประจำ�วันของลูกค้าสะดวกยิ่งขึ้น เช่น ชำ�ระค่าบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ การ ซือ้ สินค้าออนไลน์ เติมเงินค่าโทรพรีเพด เติม เงินเกมออนไลน์ รวมไปถึงชำ�ระค่าสินค้าและ บริการอื่นๆ
นิยมในการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านมือถือที่เพิ่ม ขึ้นอย่างรวดเร็วส่งผลให้ตลาดบริการข้อมูล เติบโตสูงถึงกว่าร้อยละ 30
อย่างไรก็ตาม แนวโน้มตลาดบริการเสียงใน ประเทศไทยนั้นน่าจะเข้าสู่สภาวะอิ่มตัว เห็น ได้จากจำ�นวนเลขหมายต่อประชากรสูงถึง ร้อยละ 109 การเติบโตจากตลาดต่างจังหวัด โดยเฉพาะพืน้ ทีน่ อกเมืองยังคงมีเพิม่ เติมบ้าง บริ ษั ท ไวร์ เ ลส ดี ไ วซ์ ซั พ พลาย จำ � กั ด แต่ก็นับเป็นสัดส่วนที่น้อย ทำ�ให้ผู้ ให้บริการ (ดั บ บลิ ว ดี เ อส) ดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ จั ด จำ � หน่ า ย ผันกลยุทธ์การเติบโตมามุง่ เน้นทีบ่ ริการด้าน โทรศัพท์เคลื่อนที่และอุปกรณ์โทรคมนาคม ข้อมูลมากขึ้น โดยเห็นได้จากรายได้บริการ ซิมการ์ดและบัตรเติมเงิน ผ่านตัวแทนจำ�หน่าย ข้อมูลที่มีสัดส่วนเกือบร้อยละ 20 ในสิ้นปี กว่า 950 สาขาทัว่ ประเทศ โดยในฐานะทีเ่ อไอเอส 2554 จากเดิมที่มีอยู่ต่ำ�ว่าร้อยละ 17 ในปี เป็นผูน้ �ำ ตลาดโทรคมนาคมไทย นอกจากจะมี 2553 และต่ำ�ว่าร้อยละ 14 ในปี 2552 และ โครงข่ายและบริการคุณภาพเพื่อรองรับการ เชื่อว่าอัตราการเติบโตระดับนี้จะยังเห็นได้ เติบโตของตลาดแล้ว ยังให้ความสำ�คัญอย่าง ต่อเนื่องในปี 2555 พร้อมทั้งการขยายตัวสู่ มากกับช่องทางจัดจำ�หน่าย โดยเล็งเห็นว่าการ ตลาดต่างจังหวัดมากขึ้น ช่วยให้ลูกค้าเข้าถึงอุปกรณ์สื่อสารได้อย่าง ทัว่ ถึงเป็นปัจจัยสำ�คัญทีช่ ว่ ยส่งเสริมการเติบโต ผู้ให้บริการต่างจำ�กัดการลงทุนโครงข่ายขณะที่ ของตลาดบริการข้อมูลซึ่งปัจจุบันมีความ รอใบอนุญาต 3G ทีเ่ ริม่ มีความชัดเจนมากขึน้ ต้องการเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ตเคลือ่ นทีม่ ากขึน้ ในช่วงกลางปี 2554 ประเทศไทยได้ยกระดับ บริการข้อมูลอีกขั้นสู่เทคโนโลยี 3G รวมถึง ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน ให้ บ ริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ไร้ ส ายความเร็ ว สู ง บริ ก ารข้ อ มู ล เป็ น ปั จ จั ย หลั ก ขั บ เคลื่ อ น ผ่ า นระบบ WiFi ในบริ เ วณที่มีก ารใช้ ง าน หนาแน่น ส่งผลให้บรรยากาศการแข่งขันใน อุตสาหกรรมโทรคมนาคม ตลาดบริการข้อมูลเริ่มคึกคักขึ้นแม้จะไม่มี สภาพตลาดโทรคมนาคมไทยเปลี่ยนแปลง การแข่ ง ขั น ทางด้ า นราคาก็ ต าม โดยต่ า ง ไปในปี 2554 ด้วยบรรยากาศการแข่งขันใน มุ่งเน้นการทำ�กิจกรรมทางการตลาด ขยาย ตลาดบริการข้อมูลที่คึกคักขึ้น ขณะที่การ พื้ น ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารโครงข่ า ยให้ ค รอบคลุ ม ใน แข่ ง ขั น ในตลาดบริ ก ารเสี ย งไม่ ค่ อ ยมี ก าร กรุงเทพฯ และพื้นที่เศรษฐกิจในบางจังหวัด เปลี่ยนแปลง โดยในปี 2554 รายได้โดยรวม ทั้งนี้แม้จะเห็นเม็ดเงินลงทุนเพิ่มจากปีก่อน ของตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ยังคงเติบโตได้ แต่การลงทุนดังกล่าวยังถือได้ว่าอยู่ในระดับ ดีกว่าร้อยละ 10 โดยมีแรงสนับสนุนจากการ จำ�กัด เนื่องจากต้องการรักษาสภาพคล่อง ฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ส่งผลให้รายได้จากการ และเงิ น ลงทุ น ไว้ สำ � หรั บ ใบอนุ ญ าตใหม่ บ น ให้บริการเสียงเติบโตได้ดี ประกอบกับความ คลืน่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ ซึง่ มีความชัดเจนและเป็น
60 อินทัช
รูปธรรมมากขึ้น โดยในปลายปี 2554 ที่ผ่าน มาคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้พิจารณา อนุ มั ติ ใ นร่ า งหลั ก การของแผนแม่ บ ทหลั ก 3 แผน ได้แก่ แผนแม่บทบริหารคลื่นความถี่ แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคมและแผนแม่บท กิจการกระจายเสียง โดยจะนำ�เข้าสูก่ ระบวนการ ประชาพิจารณ์เป็นลำ�ดับถัดไปในต้นปี 2555 นอกจากนี้ กสทช. ยังได้จดั ตัง้ คณะอนุกรรมการ เพื่อศึกษาแนวทางและเงื่อนไขการประมูลใบ อนุญาต 3G ให้ท�ำ งานคูข่ นานไปด้วย ซึง่ หาก การดำ�เนินการเป็นไปตามขัน้ ตอนทีก่ �ำ หนดไว้ คาดว่าจะนำ�ไปสูก่ ารจัดสรรประมูลภายในช่วง ครึ่งหลังของปี 2555 ได้ ปี 2555 ก้าวสู่จุดเปลี่ยนผ่านสู่ยุคใหม่ของ อุตสาหกรรมมือถือและการแข่งขันที่เข้มข้น ขึ้นในตลาดบริการข้อมูล ในปี 2554 ทีผ่ า่ นมา แม้ผู้ให้บริการจะเห็นศักยภาพ ในการเติบโตของตลาดบริการข้อมูลแต่ด้วย ข้อจำ�กัดในหลายประการของคลืน่ ความถีย่ า่ น 850 เมกะเฮิรตซ์ และ 900 เมกะเฮิรตซ์ ที่ใช้อยู่ ในปัจจุบัน ส่งผลให้โครงข่ายไม่สามารถตอบ สนองการเติบโตของตลาดได้เต็มที่ เนือ่ งจาก ปริมาณผู้ ใช้งานทีห่ นาแน่นทำ�ให้คลืน่ ความถี่ เดิมไม่เพียงพอต่อการเติบโตในระยะยาวแม้จะ ขยายการลงทุนโครงข่ายก็ตาม นอกจากนี้ สมาร์ทโฟนที่รองรับเทคโนโลยี 3G บนคลื่น ความถีย่ า่ นดังกล่าวมีไม่คอ่ ยหลากหลายนัก และยังมีราคาสูงเนือ่ งจากคลืน่ ความถีย่ า่ นดัง กล่าวไม่ใช่คลืน่ มาตรฐานสากลของเทคโนโลยี 3G รวมทั้งอายุสัญญาร่วมการงานที่ใกล้จะ หมดลงยังส่งผลให้ผู้ ให้บริการมุ่งความสนใจ ไปทีก่ ารประมูลคลืน่ ความถีใ่ หม่ยา่ น 2.1 กิกะ เฮิรตซ์ อีกด้วย
ปี 2555 จะถือเป็นจุดเปลี่ยนผ่านไปสู่ยุคใหม่ ของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทยด้วยการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างจากสัญญาร่วมการ งานภายใต้ อ งค์ ก รรั ฐ วิ ส าหกิ จ อย่ า งที โ อที และ กสท. ไปสู่รูปแบบการให้ ใบอนุญาตจาก องค์กรกำ�กับดูแลซึ่งมีความเป็นอิสระปลอด จากผลประโยชน์ทับซ้อนในด้านการแข่งขัน ทางธุรกิจ ซึ่งนอกจากจะปลดล็อกเรื่องระยะ เวลาที่ใกล้หมดลงของสัญญาร่วมการงาน แล้ว ยังหมายถึงกฎระเบียบใหม่ที่มีความเป็น ธรรมและส่งเสริมการแข่งขันแบบเสรี อันจะเป็น แรงจูงใจให้ผู้ ให้บริการเร่งลงทุนขยายโครง ข่ายและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างเต็มรูป แบบ นอกจากนี้ การประมูลคลื่นความถี่ใหม่ จะเป็นการเพิ่มความจุโครงข่ายเพื่อส่งเสริม การเติบโตในระยะยาว ประกอบกับเทคโนโลยี ในระดับมาตรฐานโลกทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ ด้วยราคาที่เหมาะสม ทำ�ให้ผู้ ให้บริการมีแรง จูงใจทั้งในเชิงเศรษฐกิจและการเงิน ที่จะขยาย โครงสร้างพืน้ ฐานด้านโทรคมนาคมของประเทศ ให้กว้างขวางมากยิ่งขึ้น สิ่งที่กล่าวมาข้างต้น นี้ต้องอาศัยการเปิดประมูลคลื่นความถี่ย่าน ใหม่เพือ่ เป็นตัวเปลีย่ นผ่านทัง้ ด้านเทคโนโลยี และโครงสร้างการแข่งขัน ซึง่ ผู้ ให้บริการต่างให้ ความสำ�คัญและจับตามองความคืบหน้าในปี นี้จาก กสทช. อย่างใกล้ชิด นอกเหนือจากการพัฒนาโครงข่ายคุณภาพให้ ตอบรับกับปริมาณการใช้งานทางด้านข้อมูล ทีเ่ พิม่ ขึน้ ตามการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของ ผู้บริโภค ผู้ ให้บริการยังผลักดันการเติบโต ของตลาดการให้บริการข้อมูลอย่างต่อเนื่อง โดยได้ ร่ ว มกั บ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ในการ จำ�หน่ายอุปกรณ์สื่อสารพร้อมกับแพ็กเกจ บริการข้อมูลให้กบั ลูกค้า ซึง่ ในปี 2555 ราคา อุปกรณ์สื่อสารยังคงมีแนวโน้มลดลงและมี การพัฒนาฟังก์ชันใหม่ๆ ออกสู่ตลาดอย่าง
ต่อเนื่อง ซึ่งช่วยให้กลุ่มมวลชนเข้าถึงการใช้ งานสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตได้ง่ายขึ้น รวม ถึงมีการพัฒนาบริการใหม่ๆ เพื่อให้ลูกค้าที่ ใช้งานโทรศัพท์ที่ไม่ใช่สมาร์ทโฟนเข้าถึงการ ใช้งานออนไลน์ โดยเฉพาะในด้านเครือข่าย สังคม ทัง้ นีก้ ารออกโปรโมชัน่ แพ็กเกจอาจแตก ต่างไปในปี 2555 โดยคาดว่าผู้ ให้บริการจะมี รูปแบบโปรโมชั่นที่หลากหลายเพื่อให้เหมาะ สมกับพฤติกรรมและตอบสนองความหลาก หลายของกลุ่มลูกค้ามากยิ่งขึ้น ภาพรวมการประกอบธุรกิจสายธุรกิจดาวเทียม และธุรกิจต่างประเทศ บริษัท ไทยคม จำ�กัด (มหาชน) หรือ ไทยคม เป็นผู้ให้บริการธุรกิจการสือ่ สารผ่านดาวเทียม เพียงผูเ้ ดียวในประเทศไทย ทีต่ อบสนองความ ต้องการของผู้บริโภคผ่านดาวเทียมที่มีอยู่ ปัจจุบัน 2 ดวง ได้แก่ ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) และดาวเทียมไทยคม 5 (แบบทัว่ ไป) รวมทัง้ ให้บริการธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง ได้แก่ ธุรกิจ บริการอินเทอร์เน็ตและสื่อโฆษณาผ่านสมุด รายนามผู้ ใช้ โทรศัพท์และสิ่งพิมพ์ประเภท โฆษณาย่อย รวมถึงบริการธุรกิจโทรศัพท์ ในต่างประเทศ ความต้องการด้านการสือ่ สารผ่านดาวเทียม ไทยคม 4 และ 5 เติบโตขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง พร้อม ขยายสู่ดาวเทียมไทยคม 6 และ 7 ในอนาคต ภายใต้สัญญาดำ�เนินการดาวเทียมสื่อสาร ภายในประเทศจากกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร เป็นระยะเวลา 30 ปี สิ้นสุดปี 2564 ไทยคม มีดาวเทียมรวม ทั้ ง สิ้ น 2 ดวง ได้ แ ก่ ดาวเที ย มไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) และไทยคม 5
61 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) ใช้ส�ำ หรับการ ให้บริการสื่อสารความเร็วสูงผ่านดาวเทียม บนโครงข่ายอินเทอร์เน็ตโปรโตคอล (IP) ใน ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ซึ่งมีประสิทธิภาพใน การรับส่งสัญญาณสูงกว่าดาวเทียมทั่วไป มาก เนื่ อ งจากดาวเที ย มไทยคม 4 (ไอพี สตาร์) ใช้เทคโนโลยีการกระจายคลื่นแบบรัง ผึ้ง ทำ�ให้สามารถนำ�ความถี่กลับมาใช้งาน ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยเพิ่มขีด ความสามารถในการรับส่งข้อมูลได้ถึง 45 Gbps หรือสามารถรองรับความต้องการ ใช้งานอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงของผู้ ใช้ ได้ จำ�นวนนับล้านคน ทั้งในระดับผู้ ใช้บริการ รายย่อยไปจนถึงระดับองค์กร ซึ่งรวมไปถึง ระดับผู้ ให้บริการโทรคมนาคมและอินเทอร์เน็ต ดาวเทียมไทยคม 5 เป็นดาวเทียมแบบทัว่ ไป ให้ บริการแก่ผู้ ใช้จ�ำ นวนมากทัง้ ในและต่างประเทศ โดยมีอัตราการใช้งานเต็มในปัจจุบัน ไทยคม จึงได้ขยายไปสูก่ ารนำ�ดาวเทียมไทยคม 6 และ 7 ขึ้นสู่วงโคจรในอนาคต ไทยคมได้รบั ความเห็นชอบกับโครงการดาวเทียม ไทยคม 6 จากกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารในเดือนพฤษภาคม 2554 โดย ดาวเทียมไทยคม 6 จะถูกส่งขึ้นสู่วงโคจร ณ ตำ�แหน่ง 78.5 องศาตะวันออก ซึง่ เป็นตำ�แหน่ง เดียวกันกับดาวเทียมไทยคม 5 และจะสามารถ รองรับปริมาณความต้องการใช้งานดาวเทียม สือ่ สารทีเ่ พิม่ ขึน้ ในอนาคตในภูมภิ าคเอเชียและ แอฟริกา รวมทัง้ ทดแทนดาวเทียมเดิมทีม่ อี ายุ การใช้งานสิน้ สุดลง ดาวเทียมไทยคม 6 จะเป็น ดาวเทียมขนาดกลางเช่นเดียวกับดาวเทียม ไทยคม 5 โดยเป็นดาวเทียมประเภท 3 แกน มีช่องสัญญาณดาวเทียมรวมทั้งสิ้น 26 ช่อง สัญญาณ แบ่งออกเป็นช่องสัญญาณในย่าน ความถี่ซีแบนด์ (C-band) 18 ช่องสัญญาณ
และช่องสัญญาณในย่านความถี่เคยูแบนด์ (Ku-band) 8 ช่องสัญญาณ โดยไทยคมคาด ว่าจะสามารถจัดส่งดาวเทียมไทยคม 6 ขึ้นสู่ วงโคจรได้ประมาณไตรมาสที่ 2 ของปี 2556 นอกจากนี้ ในเดือนธันวาคม 2554 ไทยคม ได้เข้าทำ�สัญญาความร่วมมือในการรักษา ตำ � แหน่ ง วงโคจรที่ 120 องศาตะวั น ออก กับ Asia Satellite Telecommunications Co., Ltd. ในการจัดหาดาวเทียมชั่วคราวไป ไว้ยังตำ�แหน่งวงโคจรที่ 120 องศาตะวันออก หลังจากนัน้ จะจัดส่งดาวเทียมดวงใหม่ภายใต้ ชื่อดาวเทียมไทยคม 7 ขึ้นสู่วงโคจร โดยจะ เป็นดาวเทียมขนาดกลางที่มีช่องสัญญาณ ดาวเทียมรวมทั้งสิ้น 28 ช่องสัญญาณ ซึ่ง เป็นช่องสัญญาณในย่านความถี่ C-band ทั้งหมดสำ�หรับบริการในภูมิภาคเอเชียและ ออสเตรเลีย ไทยคมจะเป็นเจ้าของจำ�นวนช่อง สัญญาณในดาวเทียมดังกล่าวรวมไม่เกิน 14 ช่องสัญญาณ และคาดว่าจะจัดสร้างแล้วเสร็จ และจัดส่งขึ้นสู่วงโคจร ณ ตำ�แหน่ง 120 องศา ตะวันออก ในปี 2557 ต่อยอดธุรกิจสูก่ ารจำ�หน่ายจานรับสัญญาณ ดาวเทียมดีทวี ี บริการอินเทอร์เน็ตและบริการ ที่เกี่ยวเนื่อง ไทยคมจำ � หน่ า ยอุ ป กรณ์ ชุ ด รั บ สั ญ ญาณ ดาวเทียม ซึ่งประกอบด้วยจานดาวเทียมและ เครือ่ งรับสัญญาณดาวเทียม Ku-band ผ่าน บริษัท ดีทีวี เซอร์วิส จำ�กัด (ดีทีวี) เพื่อรับ สัญญาณดาวเทียมไทยคม 5 ดีทีวีเป็นจาน ดาวเทียมขนาดเล็ก สะดวกในการติดตัง้ โดย จำ�หน่ายทัง้ แบบครบชุด และเฉพาะกล่อง ผูซ้ อ้ื สามารถรับชมรายการโทรทัศน์ ได้ชดั เจน โดย เน้นบริการทีช่ อ่ งฟรีทวี ที ว่ั ไป โทรทัศน์เพือ่ การ ศึกษา รวมทัง้ ช่องสาระและบันเทิงอืน่ ๆ
บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จำ�กัด (มหาชน) (ซีเอสแอล) ให้บริการรับส่งสัญญาณโทรทัศน์ ผ่ า นดาวเที ย ม และบริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่านดาวเทียมภายใต้สัญญาที่ทำ�กับกสท. ที่อนุญาตให้ซีเอสแอล สามารถให้บริการรับ ส่งสัญญาณโทรทัศน์ และสัญญาณบริการ อินเทอร์เน็ตผ่านดาวเทียมเป็นระยะเวลา 22 ปี สิน้ สุดปี 2559 ปัจจุบนั ซีเอสแอล มีบริการ หลักคือ บริการอินเทอร์เน็ตผ่านสายวงจรเช่า บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงผ่านสายโทรศัพท์ (เอดีเอสแอล) บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ผ่านดาวเทียม (ไอพีสตาร์) บริการอินเทอร์เน็ต ผ่านสายโทรศัพท์ บริการศูนย์ขอ้ มูลอินเทอร์เน็ต (ไอดีซ)ี บริการเสริมพิเศษ บริการโทรศัพท์ผา่ น ทางอินเทอร์เน็ตแก่ลูกค้าประเภทองค์กร และ บริการรับ-ส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม สำ�หรับธุรกิจสื่อโฆษณาผ่านสมุดหน้าเหลือง ไทยคมได้มีการลงทุนในธุรกิจดังกล่าวผ่าน บริ ษัท เทเลอิ น โฟ มี เ ดี ย จำ � กั ด (มหาชน) (ทีเอ็มซี) ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของซีเอสแอล โดย ทีเอ็มซีเป็นผูจ้ ดั พิมพ์และเผยแพร่สมุดรายนาม ผู้ ใช้โทรศัพท์ทง้ั หน้าเหลืองและหน้าขาว และใน รูปแบบอืน่ ๆ นอกจากนี้ ยังให้บริการข้อมูลราย ชือ่ ผู้ ใช้โทรศัพท์ รวมทัง้ บริการข้อมูลและสาระ บันเทิงผ่านการสอบถามข้อมูลทางโทรศัพท์ ที่ หมายเลข 1188 หรือบริการ 1900 222 xxx ขยายธุรกิจไปต่างประเทศโดยการร่วมทุน กับบริษัท เชนนิงตัน อินเวสเม้นท์ส พีทีอี ลิมิเต็ด (เชน) ไทยคมมีการให้บริการธุรกิจโทรศัพท์ผา่ นการ ลงทุนในเชน ทีจ่ ดทะเบียนในประเทศสิงคโปร์ ซึง่ ใน ปัจจุบนั มีกจิ การในเครือ 2 บริษทั คือ บริษทั เอ็ม โฟน จำ�กัด (เอ็มโฟน) และ บริษทั ลาว เทเลคอม มิวนิเคชั่นส์ จำ�กัด (แอลทีซี)
62 อินทัช
บริษทั เอ็มโฟน จำ�กัด (เอ็มโฟน) ได้รบั สัมปทาน จากรั ฐ บาลกั ม พู ช าในการดำ � เนิ น กิ จ การ โทรศัพท์ในประเทศกัมพูชาเป็นเวลา 35 ปี สิน้ สุดปี 2571 เพือ่ ให้บริการโทรศัพท์พนื้ ฐานภาย ใต้ระบบ ซีดีเอ็มเอ 450 และโทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบจีเอสเอ็ม 900/1800 เมกะเฮิรตซ์ รวมทัง้ บริการเครือข่าย 3G 2100 เมกะเฮิรตซ์ ต่อมา มีการขยายธุรกิจบริการอินเทอร์เน็ตในประเทศ และบริการเสียงผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ ง เป็ น บริ ก ารโทรศั พ ท์ ต่ า งประเทศราคา ประหยัดสำ�หรับลูกค้าโทรศัพท์เคลื่อนที่และ ลูกค้าโทรศัพท์พื้นฐานโดยผ่านอินเทอร์เน็ต
ผ่านดาวเทียมทั้งในและต่างประเทศ เป็นผล ให้ ธุ ร กิ จ การแพร่ สั ญ ญาณโทรทั ศ น์ ผ่ า น ดาวเทียมของไทยคมเติบโตขึน้ อย่างมาก โดย พิจารณาได้จากจำ�นวนช่องรายการโทรทัศน์ บนดาวเทียมแบบทัว่ ไป ณ ตำ�แหน่ง 78.5 องศา ตะวันออก ที่เพิ่มขึ้นจาก 358 ช่องรายการ ในปี 2553 เป็นจำ�นวนทั้งสิ้นกว่า 420 ช่อง รายการในปี 2554
ในปี 2555 ไทยคมจะยังคงดำ�เนินกลยุทธ์เพือ่ เป็นดาวเทียมที่ได้รบั ความนิยมสูงและเน้นการ ให้บริการแพร่สญ ั ญาณโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียม แบบครบวงจรแก่ลูกค้า และเพิ่มคุณค่าให้แก่ บริ ษั ท ลาว เทเลคอมมิ ว นิ เ คชั่ น ส์ จำ � กั ด บริการเพื่อเป็นการเสริมสร้างความมั่นคง (แอลทีซี) เป็นกิจการร่วมค้ากับรัฐบาลของ อย่างยัง่ ยืนให้กบั กิจการของลูกค้า นอกจากนี้ ประเทศลาว ได้รับสิทธิในการดำ�เนินธุรกิจ ไทยคมจะเน้นการขายช่องสัญญาณดาวเทียม โทรคมนาคมในประเทศลาวเป็นเวลา 25 ปี ไทยคม 6 ล่วงหน้าอีกด้วย สิน้ สุดปี 2564 เพือ่ ให้บริการโทรศัพท์พนื้ ฐาน ระบบพีเอสทีเอ็น และซีดีเอ็มเอ 450 โทรศัพท์ การแข่ ง ขั น ของอุ ต สาหกรรมดาวเที ย ม เคลือ่ นทีร่ ะบบจีเอสเอ็ม 900/1800 เมกะเฮิรตซ์ บรอดแบนด์ ไอพีสตาร์ บริการเครือข่าย 3G โทรศัพท์ระหว่างประเทศ มีการคาดคะเนจำ�นวนผู้ ใช้บริการบรอดแบนด์ และบริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพิ่มสูงถึง 540 ล้านคนทั่วโลกในไตรมาสที่ 1 ของปี 2554 โดยเพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 2.9 เมือ่ ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน เทียบกับไตรมาส 4 ของปี 2553 และร้อยละ 12 การแข่งขันของอุตสาหกรรมดาวเทียมแบบทัว่ ไป เมื่อเทียบกับไตรมาส 1 ของปี 2553 (www. point-topic.com) โดยภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ การแข่งขันของอุตสาหกรรมดาวเทียมจะเกิดขึน้ มีจำ�นวนผู้ ใช้บริการคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ ระหว่างดาวเทียมทีม่ ตี �ำ แหน่งวงโคจรใกล้เคียงกัน 13 ของผู้ ใช้บริการบรอดแบนด์ทั่วโลก จัด ดาวเทียมของประเทศทีอ่ ยูใ่ กล้กนั หรือดาวเทียม เป็นอันดับที่ 4 รองลงมาจากเอเชียตะวันออก ทีม่ กี ลุม่ เป้าหมายเดียวกัน โดยไทยคมวางกลยุทธ์ เฉียงใต้ (ร้อยละ 28.9) ยุโรปตะวันตก (ร้อยละ เพือ่ เป็นดาวเทียมทีไ่ ด้รบั ความนิยมสูง ทัง้ ในด้าน 22.5) และอเมริกาเหนือ (ร้อยละ18.4) จำ�นวนฐานผูช้ มและจำ�นวนช่องรายการโทรทัศน์ ทีอ่ ยูบ่ นดาวเทียมไทยคม ณ ตำ�แหน่ง 78.5 องศา แต่ทงั้ นี้ เมือ่ พิจารณาถึงจำ�นวนของผู้ใช้บริการ ตะวันออก และเป็นผู้นำ�ในการให้บริการแพร่ บรอดแบนด์ ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาพบว่า สัญญาณโทรทัศน์ผา่ นดาวเทียมในทวีปเอเชีย จำ � นวนผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารบรอดแบนด์ ใ นภู มิ ภ าค ในปี 2554 ไทยคมได้เน้นทำ�การตลาดโทรทัศน์ เอเชียแปซิฟิกนั้นยังคงมีอัตราการเติบโตขึ้น
มีจำ�นวนผู้ ใช้บริการบรอดแบนด์ประมาณ 27 ล้านราย ในปี 2546 และได้เพิ่มสูงขึ้นเป็น 187.3 ล้านรายในปี 2552 หรือเพิ่มสูงขึ้นถึง 7 เท่า จนในไตรมาสที่ 1 ของปี 2554 ประเทศ จี น ซึ่ ง เป็ น ผู้ นำ� ทางด้ า นตลาดบรอดแบนด์ (รวมฮ่องกง และมาเก๊า) มีจำ�นวนผู้ ใช้บริการ บรอดแบนด์เพิ่มขึ้น 6.44 ล้านคน หรือคิด เป็นร้อยละ 42.3 ของทั้งหมด ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสที่ผ่านมาถึง 4.68 ล้านคน ในปั จ จุ บั น ประชากรกว่ า ร้ อ ยละ 70 ของ ประเทศกำ�ลังพัฒนาภายในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟกิ อาศัยอยูใ่ นพืน้ ทีช่ นบท ซึง่ เป็นพืน้ ทีท่ มี่ ี โครงข่ายสาธารณูปโภคโทรคมนาคมพืน้ ฐาน ไม่เพียงพอ ดาวเทียมจึงนับว่าเป็นเทคโนโลยี ทีส่ �ำ คัญในการให้บริการทางด้านการติดต่อ สือ่ สาร รวมถึงการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ สำ�หรับพื้นที่ในเขตชนบท โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในพื้นที่ที่ไม่มีโครงข่ายสื่อสารชนิดอื่นเข้าถึง ความเหลื่อมล้ำ�ในการเข้าถึงของเทคโนโลยี ระหว่างประชากรในเขตเมืองและในเขตชนบท ยั ง คงปรากฎชั ด ในหลายๆ ประเทศ เช่ น ในประเทศจี น ที่ ข าดทั้ ง ความเป็ น ไปได้ ทางด้านเศรษฐศาสตร์และความตื่นตัวของ ทางภาครัฐที่จะจัดให้มีการบริการโทรศัพท์ พื้ น ฐานและการบริ ก ารบรอดแบนด์ ให้ ครอบคลุมทัว่ ประเทศ แต่อย่างไรก็ดเี นือ่ งจาก การขยายตั ว อย่ า งรวดเร็ ว ทางเศรษฐกิ จ จำ�นวนประชากร และจำ�นวนผู้ ใช้อนิ เทอร์เน็ต ทำ�ให้มผี ู้ให้บริการหลายรายในประเทศมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และพม่า มุ่งเน้นที่จะ ขยายการให้การบริการทางด้านโทรศัพท์ พื้นฐานและการบริการบรอดแบนด์ ในพื้นที่ ชนบทให้ตรงกับความต้องการของประชากร ในพื้นที่มากขึ้น สำ � หรั บ ประเทศไทย จากสถิ ติ ใ นปี 2554
63 รายงาน ประจำ�ปี 2554
จำ�นวนผู้ ใช้อินเทอร์เน็ตอยู่ที่ 18.3 ล้านคน คิดเป็นร้อยละประมาณ 27.4 ของจำ�นวน ประชากรทั้ ง หมด 66.72 ล้ า นคน ซึ่ ง ชี้ ใ ห้ เห็ น ถึ ง การเติ บ โตอย่ า งรวดเร็ ว ของตลาด อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย อีกทัง้ ประเทศไทย ยังถูกจัดอันดับให้เป็นประเทศที่มีผู้ ใช้บริการ อินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์มากทีส่ ดุ เป็นลำ�ดับ ที่ 9 ของภูมิภาคเอเชียอีกด้วย (ที่มา: www. internetworldstats.com) ภาพรวมการประกอบธุรกิจสายสือ่ และโฆษณา
หยุดดำ�เนินธุรกิจสถานีวิทยุโทรทัศน์ระบบ ยู เอช เอฟ ต่อมา ทั้งสองฝ่ายได้นำ�ข้อพิพาท ดังกล่าวเข้าสูก่ ระบวนการระงับข้อพิพาทโดย อนุญาโตตุลาการ บริ ษั ท แมทช์ บ อกซ์ จำ � กั ด (แมทช์ บ อกซ์ ) ประกอบธุรกิจโฆษณา รวมทัง้ จัดซือ้ สือ่ โฆษณา ทุกประเภท และรับจ้างผลิตชิ้นงานและวัสดุ โฆษณาผ่านทางโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วิทยุ ป้าย และเว็บไซต์ นอกจากนี้ แมทช์บอกซ์ยังมี บริการด้านการจัดกิจกรรม เพื่อให้ผู้บริโภค กลุ่มเป้าหมายนั้นเกิดประสบการณ์ที่ชวน จดจำ� มีทัศนคติที่ดี และสร้างความประทับ ใจในคุณภาพของสินค้าหรือบริการ
บริษทั ไอทีวี จำ�กัด (มหาชน) (ไอทีว)ี เคยประกอบ ธุรกิจสถานีวิทยุโทรทัศน์ระบบ ยู เอช เอฟ และบริษัท แมทช์บอกซ์ จำ�กัด (แมทช์บอกซ์) ประกอบธุรกิจให้บริการด้านออกแบบความ จากการวิจยั ของ นีลเส็น มีเดีย รีเสิรช์ (Nielsen คิดสร้างสรรค์และสื่อโฆษณาแบบครบวงจร Media Research) ในปี 2554 พบว่ามูลค่า การใช้จา่ ยโฆษณาโดยรวมมีจ�ำ นวน 103,819 บริษัท ไอทีวี จำ�กัด (มหาชน) (ไอทีวี) เคย ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีทีแ่ ล้วเพียงร้อยละ 2.8 ประกอบธุรกิจสถานีวทิ ยุโทรทัศน์ระบบ ยู เอช เนื่องจากภาคการบริโภคที่ชะลอตัวลง และ เอฟ ภายใต้ชื่อ “สถานีโทรทัศน์ ไอทีวี” โดย เศรษฐกิจโลกที่อ่อนตัว ไอทีวี ได้รบั สัญญาเข้าร่วมงานและดำ�เนินสถานี วิทยุโทรทัศน์ระบบยู เอช เอฟ ในลักษณะบีทโี อ จากสำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี (สปน.) เป็นระยะเวลา 30 ปี สิ้นสุดวันที่ 3 กรกฎาคม 2568 โดยไอทีวีจะต้องจ่ายผลประโยชน์ตอบ แทนแก่สปน. ในอัตราที่ระบุไว้ ในสัญญาเข้า ร่วมงานฯ เป็นร้อยละของรายได้ทั้งหมดของ ไอทีวี หรือเป็นจำ�นวนเงินขัน้ ต่�ำ ทัง้ สิน้ 25,200 ล้านบาท ตลอดอายุสัมปทาน อย่างไรก็ตาม เมือ่ วันที่ 7 มีนาคม 2550 สปน.มีหนังสือบอก เลิกสัญญาเข้าร่วมงานฯ กับไอทีวี โดยอ้าง เหตุผลว่าไอทีวี ไม่ดำ�เนินการชำ�ระหนี้ตามที่ สปน. เรียกร้องและขอให้ส่งมอบทรัพย์สินที่ ไอทีวมี ไี ว้ ใช้ ในการดำ�เนินกิจการตามสัญญา เข้าร่วมงานฯ คืนแก่สปน. ซึ่งการบอกเลิก สัญญาดังกล่าวเป็นเหตุให้ ไอทีวีจำ�เป็นต้อง
64 อินทัช
ปัจจัยความเสี่ยง ปัจจุบนั บริษทั ชิน คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) (บริษัท หรือ อินทัช) ประกอบธุรกิจโดยการ ลงทุนในธุรกิจสือ่ สารโทรคมนาคมไร้สาย ธุรกิจ ดาวเทียมและธุรกิจต่างประเทศ และธุรกิจสื่อ และโฆษณา ทัง้ นีใ้ นการประกอบธุรกิจดังกล่าว ย่อมมีความเสี่ยงต่างๆ จากปัจจัยทั้งภายใน และภายนอกที่อาจส่งผลกระทบต่อฐานะการ เงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัท บริษัทจัดให้มีกระบวนการบริหารความเสี่ยง และได้แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง ซึง่ ประกอบด้วยผูบ้ ริหารจากหน่วยงานต่าง ๆ ในการทำ�หน้าที่กำ�หนดนโยบายและประเมิน ความเสีย่ ง โดยระบุปจั จัยทีอ่ าจส่งผลให้บริษทั ไม่สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ทีก่ �ำ หนดไว้และ พิจารณาประเมินผลกระทบ โอกาสที่เกิดขึ้น เพือ่ กำ�หนดมาตรการจัดการความเสีย่ งให้อยู่ ในระดับทีบ่ ริษทั ยอมรับได้ ทัง้ นีค้ ณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงได้รายงานผลการประเมิน ความเสี่ ย งให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริษทั เพื่อพิจารณาสอบทานอย่างน้อยปีละครั้ง
ไอทีวี จำ�กัด (มหาชน) ได้จากแบบแสดงรายการ ข้อมูลประจำ�ปีของแต่ละบริษัท) 1. ความเสี่ยงของบริษัท 1.1 ความเสี่ยงจากการที่บริษัทเป็นบริษัท ที่ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) และ การดำ � รงอยู่ ของบริษัทขึ้นอยู่กับเงินปันผลที่ได้จากหุ้นที่ บริษัทถืออยู่ ในฐานะที่เป็นบริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการ ถือหุน้ ในบริษทั อืน่ การดำ�รงอยูข่ องบริษทั จึง ขึน้ อยูก่ บั เงินปันผลที่ได้รบั จากบริษทั ย่อยและ บริษทั ในเครือ ซึง่ จำ�นวนเงินปันผลทีส่ ามารถ จ่ายได้ขึ้นอยู่กับผลประกอบการและกระแส เงินสดของบริษัทเหล่านั้น หากผลประกอบ การของบริษัทย่อยและบริษัทในเครือไม่เป็น ไปตามเป้าหมาย จะมีผลทำ�ให้บริษทั ดังกล่าว จ่ายเงินปันผลไม่ได้ตามที่คาดการณ์ ไว้
นอกจากนี้ ความสามารถของบริษัทย่อยและ บริษทั ในเครือของบริษทั ในการจ่ายเงินปันผล ณ ปั จ จุ บั น บริ ษั ท มี ปั จ จั ย เสี่ ย งที่ สำ � คั ญ ให้กับผู้ถือหุ้น ซึ่งรวมถึงบริษัทเป็นไปตาม บางประการ อันอาจส่งผลกระทบต่อผลประกอบ กฎหมายที่บังคับใช้และอาจรวมถึงข้อจำ�กัด การ ฐานะการเงินหรือผลการดำ�เนินธุรกิจของ อื่นๆ ซึ่งระบุในตราสารหนี้ และสัญญาสินเชื่อ บริษทั ในอนาคตได้ ตามรายละเอียดทีแ่ สดงไว้ ของบริษัทดังกล่าว ด้านล่าง อย่างไรก็ตามนอกเหนือจากปัจจัย ความเสี่ยงที่ปรากฏในรายงานฉบับนี้ อาจมี ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็ น การลดความเสี่ ย งในเรื่ อ ง ความเสี่ยงอื่นๆ ซึ่งบริษัทไม่อาจทราบได้ ใน ดังกล่าว บริษัทจึงได้ก�ำ หนดให้แต่ละบริษัทใน ขณะนี้หรือเป็นความเสี่ยงที่บริษัทพิจารณา กลุ่มจัดทำ�แผนธุรกิจ (Business Plan) เพื่อ ในขณะนี้ ว่ า ไม่ เ ป็ น สาระสำ � คั ญ แต่ อ าจเป็ น กำ�หนดเป้าหมายทางธุรกิจในปีถดั ไป รวมถึง ปัจจัยความเสีย่ งทีม่ คี วามสำ�คัญในอนาคตได้ เสนอแผนดำ�เนินการและงบประมาณประจำ�ปี ซึ่งจะต้องผ่านการพิจารณาและได้รับอนุมัติ (ผูล้ งทุนสามารถศึกษาปัจจัยเสีย่ งของ บริษทั จากคณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการ แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) บริษัท นอกจากนี้คณะกรรมการบริหารยัง บริษัท ไทยคม จำ�กัด (มหาชน) และบริษัท มีการประชุมเพื่อพิจารณาติดตามผลการ
ดำ � เนิ น งานของแต่ ล ะสายธุ ร กิ จ เป็ น ประจำ� ทุ ก เดื อ น ทั้ ง ในส่ ว นของสภาพการแข่ ง ขั น กลยุทธ์ทางการตลาด การบริหารการเงิน และความคื บ หน้ า ของแผนการทางธุ ร กิ จ อันจะช่วยให้บริษัทสามารถวางแผนจัดการ ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที 1.2 ความเสี่ยงจากการที่กลุ่มอินทัชมีการ ขยายการลงทุน กลุ่ ม อิ น ทั ช ยั ง มี ก ารขยายการลงทุนอย่าง ต่อเนื่องเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการให้ บริการ รวมทั้งเพิ่มสินค้าและบริการใหม่ๆ ทีจ่ ะนำ�เสนอต่อลูกค้า ในกรณีทบี่ ริษทั ย่อยและ บริษัทร่วมไม่สามารถจัดหาแหล่งเงินทุนอื่น เพื่อสนับสนุนการขยายการลงทุนได้ บริษัท ในฐานะผูถ้ อื หุน้ จึงมีความเสีย่ งทีต่ อ้ งหาแหล่ง เงินทุนให้กับบริษัทดังกล่าว เช่น การเพิ่มทุน เป็นต้น นอกจากนี้ บริษทั อาจมีการขยายการ ลงทุนในธุรกิจใหม่ ซึ่งอาจได้รับผลตอบแทน ไม่เป็นไปตามที่คาดหรือต้องจัดหาแหล่งเงิน ทุนเพื่อสนับสนุนการลงทุนดังกล่าว อย่างไรก็ตาม บริษัทมีสถานะทางการเงิน ที่ เ ข้ ม แข็ ง รวมทั้ ง มี ก ระแสเงิ น สดรั บ อย่ า ง ต่อเนื่อง จากเงินปันผลจากบริษัทย่อยและ บริษทั ร่วม จึงคาดว่าหากบริษทั มีความจำ�เป็น ที่ จ ะต้ อ งให้ ก ารสนั บ สนุ น เงิ น ทุ น แก่ บ ริ ษั ท ย่อยและบริษัทร่วมหรือสนับสนุนการลงทุน ของบริษัทเอง เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนสำ�หรับ โครงการใหม่ จะไม่กระทบต่อสภาพคล่องและ กระแสเงินสดของบริษัท นอกจากนี้ บริษัทลดความเสี่ยงโดยกำ�หนด ขั้ น ตอนการขออนุ มั ติ ก ารลงทุ น ในโครง การใดๆ ที่มีสาระสำ�คัญของบริษัทในกลุ่ม ก่อนทีจ่ ะดำ�เนินการ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการลงทุน
65 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ในโครงการต่างๆ มีผลตอบแทนจากการลงทุน ในอัตราที่เหมาะสมและคุ้มค่า รวมทั้งกลุ่ม อิ น ทั ช มี น โยบายอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในการดู แ ล รักษาและบริหารความสัมพันธ์กับนักลงทุน และสถาบันการเงินทั้งในและต่างประเทศ เพื่อ เป็นการสนับสนุนโครงการขยายการลงทุน ของบริษัทในกลุ่ม ในกรณีที่มีความต้องการ แหล่ ง เงิ น ทุ น เพื่ อ สนั บ สนุ น โครงการต่ า งๆ ไม่ว่าจะเป็นเงินเพิ่มทุนหรือเงินกู้ 1.3 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ เนือ่ งจากลักษณะธุรกิจการสือ่ สารโทรคมนาคม และธุ ร กิ จ สื่ อ สารผ่ า นดาวเที ย มเกี่ ย วข้ อ ง โดยตรงกับเทคโนโลยีจากต่างประเทศซึ่งมี ค่าใช้จ่ายในสกุลเงินตราต่างประเทศ ทำ�ให้ กลุม่ อินทัชมีความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ น กลุม่ อินทัช มีนโยบายในการป้องกันความเสีย่ ง โดยจะพิจารณาจากฐานะสุทธิของรายการ ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ โครงสร้างรายได้ รวมทัง้ กระแสเงินสดของแต่ละบริษทั โดยกลุม่ อินทัชได้ติดตามสภาวะความเปลี่ยนแปลง ของปัจจัยทีส่ ง่ ผลกระทบต่ออัตราแลกเปลีย่ น เงิ น ตราต่ า งประเทศอย่ า งใกล้ ชิ ด และได้ ใ ช้ เครือ่ งมือทางการเงินต่างๆ ทีเ่ ห็นว่าเหมาะสม เพือ่ ลดความเสีย่ งจากการผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศที่อาจมีขึ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั และบริษทั ย่อย มีสนิ ทรัพย์และหนีส้ นิ ทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศ เทียบเป็นเงินบาทจำ�นวน 3,032 ล้านบาท และ 6,726 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ภายหลังจาก การทำ�สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้า สัญญาแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ
และอัตราดอกเบี้ย และสัญญาสิทธิเลือกซื้อ ขายเงินตราต่างประเทศ (รายละเอียดตาม หมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 32)
1.5 ความเสี่ยงหากบริษัทถูกตีความว่าเป็น “คนต่างด้าว”
ตามทีพ ่ ระราชบัญญัตกิ ารประกอบธุรกิจของ คนต่างด้าว พ.ศ. 2542 ได้ก�ำ หนดคุณสมบัติ ของบริ ษั ท ไทยและสั ด ส่ ว นการถื อ หุ้ น ของ คนต่ า งด้ า วในบริ ษั ท ไทยและได้ มี ก ารนำ � คำ�นิยามของ “คนต่างด้าว” ในพระราชบัญญัติ ดังกล่าวไปใช้ ในพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ เศรษฐกิ จ ไทยในปี 2554 มี ก ารขยายตั ว กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ในส่วน ลดลง ซึ่ ง มี แ นวโน้ ม ว่ า อั ต ราการขยายตั ว คุณสมบัติของผู้ที่ยื่นขอใบอนุญาตประกอบ ดังกล่าวจะยังคงอยูใ่ นระดับต่�ำ อย่างต่อเนือ่ งใน กิจการโทรคมนาคมแบบที่ 2 และแบบที่ 3 นั้น ปี 2555 เนือ่ งจากภาวะเศรษฐกิจต่างประเทศ ตกต่ำ � และภาวะอุ ท กภั ย ในประเทศที่ ส่ ง ผล ในปี 2549 กระทรวงพาณิชย์ ได้ทำ�การตรวจ กระทบต่อสภาพเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ สอบการถือหุ้นแทนคนต่างด้าวของบริษัท ทำ�ให้การใช้จ่ายภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจ ต่างๆ ซึง่ รวมถึงการตรวจสอบการถือหุน้ ของ ยังคงเป็นไปอย่างระมัดระวัง ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ใน บจก. กุหลาบแก้ว ซึง่ เป็น อาจกระทบต่อรายได้ของบริษทั ในกลุม่ จากทัง้ บริษัทสัญชาติไทยที่ถือหุ้นในบริษัท ซีดาร์ ปัจจัยภายนอกและภายในดังกล่าวข้างต้น โฮลดิ้งส์ จำ�กัด (ซีดาร์) ในประเด็นว่าผู้ถือหุ้น อาจส่งผลให้อตั ราแลกเปลีย่ นและอัตราดอกเบีย้ สัญชาติไทยรายใหญ่ของบจก. กุหลาบแก้ว มีความผันผวน นอกจากนีธ้ นาคารต่างๆ ยัง อาจเข้าข่ายถือหุ้นแทนคนต่างด้าว ระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อ ซึ่งอาจทำ�ให้ เศรษฐกิจในประเทศไทยเข้าสูส่ ภาวะ เงินตึงตัว ดังนัน้ หาก บจก. กุหลาบแก้ว ถูกศาลพิพากษา และอาจส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องภายใน ถึงที่สุดตัดสินว่าเป็นคนต่างด้าวแล้ว อาจ ประเทศ และกระทบต่อการจัดหาแหล่งเงินทุน ส่งผลให้ซีดาร์กลายเป็นคนต่างด้าวได้และ และต้นทุนทางการเงินของบริษัทและบริษัทใน อาจส่งผลให้ บริษัท บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ กลุม่ หากมีการขยายการลงทุนและต้องจัดหา เซอร์วิส (เอไอเอส) และ บจก. ดิจิตอล โฟน (ดีพซี )ี อาจถูกตัง้ ข้อสงสัยว่าจะสามารถดำ�เนิน แหล่งเงินทุนเพิ่มในอนาคต การให้บริการต่างๆ ในประเทศไทยได้หรือไม่ อย่างไรก็ตามกลุม่ อินทัชได้ด�ำ เนินการบริหาร โดยในกรณีนี้บริษัทเข้าใจว่าบริษัทไม่ได้เป็น ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องอย่างรัดกุม โดย ผู้กระทำ�ผิดกฎหมาย ทั้งนี้การให้บริการของ จัดให้มีแหล่งเงินทุนที่หลากหลาย และการ บริษัทในกลุ่มที่อยู่ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ ดำ�รงเงินสดสำ�รองส่วนเกินให้เพียงพอต่อ ดำ�เนินการในปัจจุบนั นัน้ ไม่ได้มขี อ้ กำ�หนดเรือ่ ง การดำ�เนินธุรกิจและการลงทุน รวมทั้งยังได้ สัดส่วนการถือหุ้นของคนต่างด้าวไว้ มีการป้องกันความเสี่ยงด้านอัตราดอกเบี้ย และอัตราแลกเปลี่ยนอย่างเหมาะสม 1.4 ความเสี่ยงจากผลกระทบทางอ้อมจาก สถานการณ์ทางการเงินของโลกและความ ไม่ แ น่ น อนของการชะลอตั ว ทางเศรษฐกิ จ (Economic Recession)
66 อินทัช
อย่ า งไรก็ ต ามข้ อ มู ล ที่ปรากฎในบัญชีราย ชื่อผู้ถือหุ้นของ บจก. กุหลาบแก้ว ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555 ก็แสดงว่าถือหุ้นโดย ผู้ถือสัญชาติไทยทั้งหมด 7 ราย โดยไม่มี คนต่ า งด้ า ว และยั ง ไม่ มี คำ � ตั ด สิ น ของศาล ออกมาในเรื่องดังกล่าว แต่บริษัทก็ ไม่อาจ คาดได้ว่าจะมีผลของคำ�พิพากษา กฎหมาย ประกาศ ระเบียบใดๆ ออกมากระทบต่อสัญญา อนุญาตให้ด�ำ เนินการและใบอนุญาตต่างๆ หรือ เปลี่ยนแปลงหลักกฎหมายที่มีอยู่เดิมในเรื่อง คำ�นิยามของ “คนต่างด้าว” หรือการกำ�หนด ข้ อ ห้ า มการกระทำ � ใดที่ มี ลั ก ษณะเป็ น การ ครอบงำ�กิจการโดยคนต่างด้าวหรือไม่ 1.6 การดำ�เนินการทีอ่ าจเกิดขึน้ จากหน่วยงาน ของรัฐอันเนื่องจากคำ�พิพาษาของศาลฎีกา แผนกคดีอาญาของผู้ดำ�รงตำ�แหน่งทางการ เมืองในคดียดึ ทรัพย์ของอดีตนายกรัฐมตรีใน วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 คำ�พิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญา ของผู้ดำ�รงตำ�แหน่งทางการเมือง เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับ บริษัทและบริษัทในกลุ่มอยู่บางประการ แต่ใน ทุกประการนั้นคำ�พิพากษาก็จำ�กัดผลอยู่แต่ เฉพาะในประเด็นที่ว่าทรัพย์สินบางส่วนของ ผูด้ �ำ รงตำ�แหน่งทางการเมืองนัน้ เป็นทรัพย์สนิ ที่ ได้มาโดยไม่สมควร สืบเนื่องมาจากการ ปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อำ�นาจในตำ�แหน่งหน้าที่ เท่านั้น โดยคำ�พิพากษาของศาลฎีกามิได้มี การวินิจฉัยถึงผลหรือความสมบูรณ์หรือ ไม่ ส มบู ร ณ์ ข องสิ่ ง ต่ า งๆ ที่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น หรื อ ได้ดำ�เนินการไปแล้วนั้น และมิได้มีคำ�สั่งให้ บริษทั หรือบริษทั ในกลุม่ หรือหน่วยงานราชการ ที่เกี่ยวข้องต้องไปดำ�เนินการใด ๆ ซึ่งผลของ คำ�พิพากษาผูกพันเฉพาะคูค่ วามในคดีเท่านัน้ ซึ่งไม่ใช่บริษัท
ดังนัน้ บริษทั และบริษทั ในกลุม่ จึงยังไม่มเี หตุทจี่ ะ ต้องดำ�เนินการใดๆ เพราะมิได้มสี ว่ นเกีย่ วข้อง ใดๆในคดีดงั กล่าว และบริษทั เชือ่ ว่าสิง่ ทีบ่ ริษทั รวมทั้งบริษัทในกลุ่มได้ดำ�เนินการไปทั้งหมด ก็เป็นไปตามหลักปฏิบตั ภิ ายใต้กฎหมายหรือ ข้อสัญญาที่มีอยู่ด้วยความสุจริตและผูกพัน ตามผลของการแสดงเจตนาของคู่สัญญา 1.7 ความเสีย่ งจากการตรวจสอบของกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเกีย่ วกับ การปฏิบตั ติ ามสัญญาดำ�เนินกิจการดาวเทียม สื่อสารภายในประเทศ
และหาแนวทางที่เป็นประโยชน์ ในการดำ�เนิน การตามสั ญ ญาฯ ร่ ว มกั น แต่ ห ากกลาย เป็นข้อพิพาทระหว่างกัน ก็จะต้องนำ�เข้าสู่ กระบวนการระงับข้อพิพาทที่ตกลงกันไว้ ใน สัญญาฯ ต่อไป 2. สายธุ ร กิ จ สื่ อ สารโทรคมนาคมไร้ ส าย ภายในประเทศ 2.1 การจั ด สรรคลื่ น ความถี่ สำ � หรั บ การ ประกอบกิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่าน ความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ หรือ 3G
ภายหลังจากที่ศาลปกครองสูงสุดได้มีคำ�สั่ง ยืนตามคำ�สั่งกำ�หนดมาตรการหรือวิธีการ คุ้มครองเพื่อบรรเทาทุกข์ชั่วคราวก่อนการ พิพากษาของศาลปกครองกลางที่ให้ระงับ การอนุ ญ าตให้ ใ ช้ ค ลื่ น ความถี่ เพื่ อ การ ประกอบกิ จ การโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ IMT ย่านความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ และการดำ�เนินการ ต่ อ ไปตามประกาศคณะกรรมการกิ จ การ โทรคมนาคมแห่งชาติ เรือ่ งหลักเกณฑ์ และวิธี การอนุญาตให้ใช้คลืน่ ความถีเ่ พือ่ การประกอบ กิจการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ IMT ย่านความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ ไว้เป็นการชั่วคราวเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2553 ส่งผลทำ�ให้การจัดสรรคลื่น บริษัทและไทยคมได้มีหนังสือถึงกระทรวงฯ ความถี่สำ�หรับการประกอบกิจการโทรศัพท์ เมือ่ วันที่ 14 มีนาคม 2554 ชีแ้ จงว่าบริษัทและ เคลื่อนที่ IMT ย่านความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ ไทยคมได้ดำ�เนินการถูกต้องตามที่กำ�หนด ซึ่ ง ดำ � เนิ น การโดยคณะกรรมการกิ จ การ ไว้ ในสัญญาฯ และการดำ�เนินการของบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ต้องหยุดชะงัก และไทยคมก็ ได้รับการอนุมัติจากกระทรวงฯ ลง จึ ง ไม่ มี ก ารจั ด สรรคลื่ น ความถี่ ใ ห้ แ ก่ ก่อนทุกครั้ง อย่างไรก็ดี บริษัทและไทยคม ผู้ประกอบการรายใด นอกเหนือจากบริษัท ยินดีพร้อ มให้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ กระทรวงฯ ทีโอที จำ�กัด (มหาชน) (ทีโอที) ที่ ได้รับการ ในการพิจารณาร่วมกันดำ�เนินการเพือ่ ให้เกิด จัดสรรคลื่นความถี่ไปก่อนหน้าแล้วนั้น ประโยชน์แก่ทุกฝ่ายต่อไป เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2554 ได้มีการแต่งตั้ง ทั้งนี้ บริษัทเข้าใจว่ากระทรวงฯ จะเปิดโอกาส คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ ให้บริษัทและไทยคม ได้เข้าชี้แจงความเป็นมา โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ตามทีบ่ ริษทั ได้รบั หนังสือจากทางกระทรวงฯ ลงวั น ที่ 1 มี น าคม 2554 ขอให้ บ ริ ษั ท ปฏิ บั ติ ต ามความเห็ น ของคณะกรรมการ ประสานงานฯ ให้ปฏิบัติตามสัญญาดำ�เนิน กิ จ การดาวเที ย มสื่ อ สารภายในประเทศ ดั ง นี้ 1) ให้ จั ด สร้ า งดาวเที ย มสำ � รองของ ดาวเทียมไทยคม 3 2) ให้นำ�ส่งเงินค่าสินไหม ทดแทนของดาวเที ย มไทยคม 3 จำ � นวน 6,765,299 ดอลลาร์สหรัฐที่ ไทยคมนำ�ไป เช่ า ช่ อ งสั ญ ญาณดาวเที ย มต่ า งประเทศ และ 3) ให้ บ ริ ษั ท คงสั ด ส่ ว นการถื อ หุ้ น ใน ไทยคมในอัตราร้อยละ 51 นั้น
67 รายงาน ประจำ�ปี 2554
(กสทช.) จำ�นวน 11 คน ตามที่กำ�หนดไว้ ในพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความ ถี่และกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจาย เสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 โดยขณะนี้ กสทช. ได้เตรียมจัด ทำ�แผนแม่บทกิจการโทรคมนาคม และแผน แม่บทบริหารคลื่นความถี่และตารางกำ�หนด คลืน่ ความถีแ่ ห่งชาติ พร้อมทัง้ ศึกษาแนวทาง การอนุญาตให้ ใช้คลื่นความถี่เพื่อประกอบ กิจการโทรศัพท์เคลื่อนที่ IMT ย่านความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ์ หรือ 3G ซึ่งโฆษก กสทช.ได้ ให้สัมภาษณ์ลงหนังสือพิมพ์ ไทยรัฐออนไลน์ วันที่ 28 ธันวาคม 2554 เปิดเผยว่า กสทช. เห็นชอบตัง้ คณะกรรมการเตรียมความพร้อม การประมูลใบอนุญาต 3G เพื่อทำ�งานควบคู่ กับการประชาพิจารณ์ เพือ่ ความรวดเร็วในการ ดำ�เนินการ และเปิดประมูล 3G ได้ ในปี 2555
ในวันที่ 7 ตุลาคม 2554 ได้มีการแต่งตั้งคณะ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ครบจำ�นวน ทั้ง 11 คนแล้ว เอไอเอสไม่สามารถคาดการณ์ ได้ว่า การใช้ อำ�นาจกำ�กับดูแลโดยการกำ�หนดนโยบาย และการออกกฎหรือระเบียบต่างๆ ของ กสทช. ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จะส่งผลกระทบอย่างมี นัยสำ�คัญต่ออุตสาหกรรมและต่อเอไอเอสที่ ประกอบกิจการโทรคมนาคมในขอบเขตทีเ่ ป็น อยูใ่ นปัจจุบนั รวมทัง้ ฐานะการเงิน การดำ�เนิน งานและโอกาสทางธุรกิจของเอไอเอสหรือไม่ 2.3 สัญญาร่วมการงานระหว่างรัฐกับเอกชน ที่กำ�หนดในพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้ เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำ�เนินการในกิจการ ของรัฐ พ.ศ. 2535
สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้มบี นั ทึก สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องการ บังคับใช้พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชน เข้าร่วมงานหรือดำ�เนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 (กรณีสัญญาอนุญาตให้บริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีร่ ะหว่าง ทีโอที กับ เอไอเอส) เรื่องเสร็จที่ 291/2550 ให้ความเห็นดังนี้ “…ทีโอทีเข้าเป็นคู่สัญญาในเรื่องนี้เป็นการ กระทำ�แทนรัฐโดยอาศัยอำ�นาจหน้าที่ตาม กฎหมายว่ า ด้ ว ยองค์ ก ารโทรศั พ ท์ แ ห่ ง ประเทศไทย สั ญ ญาอนุ ญ าตฯ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จึ ง เป็ น สั ญ ญาระหว่ า งรั ฐ กั บ เอกชนเพื่ อ มอบหมายให้ เ อกชนดำ � เนิ น การให้ บ ริ ก าร สาธารณะแทนรัฐ รัฐจึงมีหน้าที่ปฏิบัติตาม ข้อกำ�หนดในสัญญาดังกล่าว
แต่เมื่อการแก้ ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ตามกรณีขอ้ หารือ ดำ�เนินการไม่ถกู ต้องตาม 2.2 องค์กรทีท่ ำ�หน้าทีก่ �ำ กับดูแลกิจการด้าน โทรคมนาคมและกิจการวิทยุกระจายเสียง 2.3.1 การแก้ ไขเพิ่มเติมสัญญาร่วมการงาน พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้าร่วม ระหว่าง บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จำ�กัด งานฯ ซึง่ มีผลใช้บงั คับในขณะทีม่ กี ารแก้ ไขเพิม่ วิทยุโทรทัศน์ (มหาชน) กับ บริษัท ทีโอที จำ�กัด (มหาชน) เติมสัญญาอนุญาตฯ เนือ่ งจากมิได้เสนอเรือ่ ง การแก้ ไขเพิ่มเติมให้คณะกรรมการประสาน ตามพระราชบัญญัตอิ งค์กรจัดสรรคลืน่ ความ ถี่และกํากับการประกอบกิจการวิทยุกระจาย ตามที่ ก ระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศและ งานตามมาตรา 22 พิจารณา และเสนอให้ เสียง วิทยุโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม การสื่ อ สารได้ มี ห นั ง สื อ ถึ ง สำ � นั ก งานคณะ คณะรัฐมนตรี ซึง่ เป็นองค์กรทีม่ อี �ำ นาจพิจารณา พ.ศ. 2553 ที่ประกาศใช้ ในวันที่ 19 ธันวาคม กรรมการกฤษฎีกา ขอความเห็นเกี่ยวกับ เห็นชอบกับการแก้ไขเพิม่ เติมสัญญาอนุญาตฯ 2553 แทนที่กฎหมายฉบับเดิม เพื่อให้เป็น การแก้ ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตให้บริการ ตามนั ย แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า วดั ง ที่ ไปตามมาตรา 47 ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง โทรศัพท์เคลื่อนที่ระหว่างทีโอที ซึ่งในขณะนั้น ได้วินิจฉัยข้างต้น การแก้ ไขเพิ่มเติมสัญญา ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 กำ�หนดให้ มีสถานะเป็นองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย อนุญาตฯ โดยทีโอทีเป็นคู่สัญญา จึงกระทำ� มีองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระองค์กรหนึ่งเพียง กับเอไอเอส ภายหลังจากวันทีพ่ ระราชบัญญัติ ไปโดยไม่มีอำ�นาจตามกฎหมาย องค์กรเดียว ซึ่งก็คือ คณะกรรมการกิจการ ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำ�เนิน กระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ แ ละกิ จ การ การในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ใช้บังคับ อย่างไรก็ดี กระบวนการแก้ ไขเพิม่ เติมสัญญา โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อทำ�หน้าที่ แล้ ว ว่ า ได้ ดำ � เนิ น การถู ก ต้ อ งตามพระราช อันเป็นนิตกิ รรมทางปกครองสามารถแยกออก จัดสรรคลืน่ ความถี่ กำ�กับการประกอบกิจการ บัญญัตดิ งั กล่าวหรือไม่ และหากการแก้ ไขเพิม่ จากข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทำ� วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์และกิจการ เติมสัญญาอนุญาตฯ ดำ�เนินการไม่ถูกต้อง ขึ้นได้ และข้อตกลงต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ตามพระราชบัญญัติดังกล่าว จะมีแนวทาง ที่ทำ�ขึ้นนั้นยังคงมีผลอยู่ตราบเท่าที่ยังไม่มี โทรคมนาคม นั้น การเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลาหรือ การปฏิบัติต่อไปอย่างไร
68 อินทัช
เหตุอื่น หากคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้มีอำ�นาจ ตามกฎหมายได้ พิ จ ารณาถึ ง เหตุ แ ห่ ง การ เพิกถอน ผลกระทบ และความเหมาะสม โดย คำ�นึงถึงประโยชน์ของรัฐและประโยชน์สาธารณะ แล้วว่าการดำ�เนินการที่ไม่ถกู ต้องนัน้ มีความ เสียหายอันสมควรจะต้องเพิกถอนข้อตกลง ต่อท้ายสัญญาอนุญาตฯ ทีท่ �ำ ขึน้ คณะรัฐมนตรี ก็ชอบที่จะเพิกถอนข้อตกลงต่อท้ายสัญญา อนุญาตฯ แต่ถา้ คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาแล้วมี เหตุผลความจำ�เป็นเพื่อประโยชน์ของรัฐหรือ ประโยชน์สาธารณะและเพือ่ ความต่อเนือ่ งของ การให้บริการสาธารณะ คณะรัฐมนตรีกอ็ าจ ใช้ดลุ พินจิ พิจารณาให้ความเห็นชอบให้มกี าร ดำ�เนินการแก้ ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ดังกล่าวได้ตามความเหมาะสม โดยหน่วยงาน เจ้าของโครงการและคณะกรรมการประสาน งานตามมาตรา 22 เป็นผู้ดำ�เนินการเสนอ ข้อเท็จจริง เหตุผล และความเห็นเพือ่ ประกอบ การพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 ได้เสนอความเห็นกรณีการแก้ ไขเพิ่มเติม สัญญาอนุญาตฯ ของเอไอเอส ต่อรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารแล้ว เอไอเอสมีความเชือ่ มัน่ ในหลักการและเหตุผล ของการแก้ ไขเพิม่ เติมสัญญา เอไอเอสได้ปฏิบตั ิ ตามสั ญ ญาร่ ว มการงานและข้ อ กฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้องทุกประการ ตลอดจนตัง้ อยูใ่ นหลัก ธรรมาภิบาล จึงเชือ่ ว่าไม่นา่ จะมีการเปลีย่ นแปลง ที่มีผลกระทบต่อเอไอเอสอย่างมีนัยสำ�คัญ อย่ า งไรก็ ต ามเอไอเอสมิ อ าจคาดการณ์ ถึ ง ผลการพิ จ ารณากรณี ดั ง กล่ า วของ ภาครัฐและคณะรัฐมนตรี ได้ หากการแแก้ ไข สัญญาร่วมการงานของเอไอเอสถูกเพิกถอน อาจมีผลให้อายุสญ ั ญาร่วมการงานสัน้ ลงและ/
เซลลูลาร์ โดย กสท.และดีพีซี เป็นคู่สัญญา และไม่ถอื ว่าเป็นส่วนหนึง่ ของโครงการดำ�เนิน การใช้บริการวิทยุคมนาคมฯ ที่ กสท.อนุญาต 2.3.2 สัญญาร่วมการงาน ระหว่าง บริษัท ให้แก่ดีแทคแต่อย่างใด ดีพีซีจึงเป็นคู่สัญญา ดิจติ อล โฟน จำ�กัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั ทีอ่ ยูภ่ ายใต้การดูแลกำ�กับของ กสท. และจ่าย แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) ค่าตอบแทนให้แก่ กสท. ดีพีซีในฐานะที่เป็น กับ บริษทั กสท โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน) เอกชนผูเ้ ข้าร่วมงานหรือดำ�เนินงานในกิจการ ของรัฐจึงต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ ตามทีก่ ระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ เนื่องจาก กสท. ได้มี สือ่ สารได้มหี นังสือถึงสำ�นักงานคณะกรรมการ การกำ�หนดขอบเขตของโครงการและเอกชน กฤษฎีกาขอความเห็นเกี่ยวกับการแก้ ไขเพิ่ม ผู้ดำ�เนินการให้บริการเป็นการเฉพาะเจาะจง เติมสัญญาอนุญาตให้บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ รวมทั้ ง ได้ มี ก ารให้ บ ริ ก ารโครงการไปแล้ ว ระหว่าง บริษัท กสท โทรคมนาคม (กสท.) กับ จึงไม่มกี รณีทจี่ ะต้องประกาศ เชิญชวนเอกชน บริษัท ดิจิตอล โฟน จำ�กัด (ดีพีซี) ภายหลัง เข้าร่วมงาน หรือดำ�เนินการในกิจการของรัฐ จากวันทีพ่ ระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชน และการคัดเลือกเอกชนด้วยวิธีประมูลตามที่ เข้ า ร่ ว มงานหรื อ ดำ� เนิ น การในกิ จ การของ บัญญัติไว้ ในหมวด 3 การดำ�เนินโครงการ รัฐ พ.ศ. 2535 ใช้บังคับแล้วว่าได้ดำ�เนินการ แต่เป็นการที่ต้องนำ�บทบัญญัติในหมวด 3 นี้ ถูกต้องตามพระราชบัญญัติดังกล่าวหรือไม่ มาใช้บังคับโดยอนุโลมเท่าที่ ไม่ขัดต่อสภาพ และหากการแก้ ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ แห่งข้อเท็จจริง โดย กสท. ต้องดำ�เนินการ ดำ�เนินการไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติ แต่งตั้งคณะกรรมการตาม พ.ร.บ. มาตรา ดังกล่าว จะมีแนวทางการปฏิบตั ติ อ่ ไปอย่างไร 13 เพือ่ ดำ�เนินการตามมาตรา 21 คือให้คณะ กรรมการนำ�ผลการคัดเลือกพร้อมเหตุผล สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็น ประเด็ น ที่ เ จรจาต่ อ รองเรื่ อ งผลประโยชน์ เรือ่ งการบังคับใช้พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการ ของรัฐ ร่างสัญญาและเอกสารทั้งหมดเสนอ ให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำ�เนินการในกิจการ ต่อรัฐมนตรีกระทรวงเจ้าสังกัดเพื่อนำ�เสนอ ของรัฐ พ.ศ. 2535 กรณีสัญญาอนุญาตให้ คณะรัฐมนตรีพิจารณาภายในเก้าสิบวันนับ บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่กสท.กับดีพีซี โดย จากวันทีค่ ณะกรรมการตัดสินโดยอนุโลมต่อไป จากบันทึกสำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรือ่ งเสร็จที่ 294/2550 ให้ความเห็นโดยสรุปว่า ดังนั้น การดำ�เนินการจึงอยู่ในอำ�นาจและ หน้าทีข่ องคณะกรรมการตามมาตรา 13 ทีจ่ ะ “...การที่ บมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซส คอมมูนิเคชั่น พิจารณาตามที่เห็นสมควรได้ และ ดีพีซี ผู้ ได้ (ดีแทค) โอนสิทธิและหน้าที่ตามสัญญาให้ รับโอนสิทธิและหน้าที่จากดีแทคตามสัญญา ดำ�เนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซล ให้ดำ�เนินการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบ ลูลาร์ ให้แก่ดีพีซี และดีพีซีกับกสท.ได้มีการ เซลลูลาร์ ระหว่าง กสท. กับ ดีแทค แล้ว ดีพีซี ทำ�สัญญาระหว่างกันในวันที่ 19 พฤศจิกายน ย่อมเป็นผู้มีสิทธิดำ�เนินการให้บริการวิทยุ 2539 ว่ า กสท.ได้ อ นุ ญ าตให้ สิ ท ธิ เ อกชน คมนาคมฯ ได้ตามสิทธิและหน้าที่ที่ได้รับโอน รายใหม่ในการให้บริการวิทยุคมนาคมระบบ แม้ว่าสัญญาให้ดำ�เนินการระหว่าง กสท.กับ หรืออาจมีตน้ ทุนในส่วนแบ่งรายได้ของบริการ โทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ บบเติมเงินทีส่ งู ขึน้ เป็นต้น
69 รายงาน ประจำ�ปี 2554
แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ทรู มูฟ จำ�กัด บริษทั กสท โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน) และบริษัท ดิจิตอล โฟน จำ�กัด ซึ่ง สั ญ ญาดั ง กล่ า วได้ ผ่ า นการเห็ น ชอบจาก คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.)แล้ว เอไอเอสได้ ให้บริการตามสัญญา เชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคมดังกล่าว โดย ณ ขณะนั้นเอไอเอสยังมิได้เรียกเก็บค่าเชื่อมต่อ ทั้งนี้ คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา โครงข่ายโทรคมนาคมจากคู่สัญญาทั้งสอง 13 ได้เสนอความเห็นกรณีการแก้ ไขเพิ่มเติม และมิได้บนั ทึกรายการทีเ่ กีย่ วข้องกับค่าเชือ่ ม สั ญ ญาอนุ ญ าตฯ ของดีพีซี ต่อรัฐมนตรี ต่อโครงข่ายโทรคมนาคมในงบการเงินระหว่าง ว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ กาล เนื่องจากทีโอทีซึ่งเป็นผู้ ให้อนุญาตได้ มีหนังสือแจ้งให้เอไอเอสทราบว่า เอไอเอส การสื่อสารแล้ว มิใช่ผรู้ บั ใบอนุญาตทีม่ โี ครงข่ายโทรคมนาคม เอไอเอสมีความเชือ่ มัน่ ในหลักการและเหตุผล ตามกฎหมาย จึ ง ไม่ มี สิ ท ธิ เ ข้ า ทำ � สั ญ ญา ของการแก้ ไขเพิ่มเติมสัญญา ดีพีซีได้ปฏิบัติ เชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมตามประกาศ ตามสัญญาร่วมการงานและข้อกฎหมายที่ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติวา่ เกี่ยวข้องทุกประการตลอดจนตั้งอยู่ในหลัก ด้วยการใช้และเชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ธรรมาภิบาล จึงเชือ่ ว่าไม่นา่ จะมีการเปลีย่ นแปลง พ.ศ. 2549 ที่มีผลกระทบต่อเอไอเอสอย่างมีนัยสำ�คัญ อย่างไรก็ตามเอไอเอสมิอาจคาดการณ์ถึง วันที่ 31 สิงหาคม 2550 ทีโอทีได้ยื่นฟ้อง ผลการพิ จ ารณากรณี ดั ง กล่ า วของทาง กทช. ต่อศาลปกครองกลาง เพือ่ ขอเพิกถอน ภาครัฐและคณะรัฐมนตรี ได้ หากการแก้ ไข ประกาศฯ ดั ง กล่ า ว (ซึ่ ง ต่ อ มาในวั น ที่ 15 สัญญาร่วมการงานของดีพีซีถูกเพิกถอน กั น ยายน 2553 ศาลปกครองกลางได้ มี อาจมีผลให้อายุสัญญาร่วมการงานสั้นลง คำ�พิพากษายกฟ้องกรณีที่ทีโอทียื่นฟ้องขอ เพิกถอนประกาศ กทช. ว่าด้วยการใช้และเชือ่ ม และส่วนแบ่งรายได้ที่ต้องชำ�ระเพิ่มเติม ต่อโครงข่ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และทีโอที 2.4 กฎหมายว่าด้วยการใช้และการเชื่อมต่อ ได้ยนื่ อุทธรณ์ตอ่ ศาลปกครองสูงสุดแล้ว) และ โครงข่ายโทรคมนาคม (Interconnection เมือ่ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 ทีโอทีได้มหี นังสือ แจ้งให้เอไอเอสทราบว่า เอไอเอสควรรอให้ศาล Charge) มีคำ�พิพากษาเพื่อยึดถือเป็นแนวทางในการ ตามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบการกิจการ ปฏิบตั ติ อ่ ไป และหากเอไอเอสดำ�เนินการตาม โทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และประกาศคณะ ประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม กรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติว่า แห่ ง ชาติ ก่ อ นศาลมี คำ � พิ พ ากษาถึ ง ที่ สุ ด ด้วยการใช้และเชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ทีโอทีจะไม่รบั รูแ้ ละเอไอเอสจะต้องเป็นผูร้ บั ผิด พ.ศ. 2549 เอไอเอสได้ทำ�สัญญาการเชื่อม ชอบในการดำ�เนินการดังกล่าว ต่อโครงข่ายโทรคมนาคมกับบริษัท โทเทิ่ล
ดีพีซีที่ทำ�ขึ้นใหม่มิได้ดำ�เนินการหรือปฏิบัติ ตามพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการให้เอกชนเข้า ร่วมงานฯ แต่อย่างไรก็ตาม สัญญาที่ทำ�ขึ้น นั้นยังคงมีผลอยู่ตราบเท่าที่ยังไม่มีการเพิก ถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลา หรือเหตุอื่น ดังนัน้ กสท. และ ดีพซี ี จึงยังต้องมีภาระหน้าที่ ในการปฏิบัติตามสัญญาที่ได้กระทำ�ไว้แล้ว”
อย่างไรก็ตาม เอไอเอสได้พิจารณาหนังสือ ของทีโอทีดังกล่าวและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ประกอบกับความเห็นของที่ปรึกษากฎหมาย ผูบ้ ริหารของเอไอเอสเห็นว่าการไม่ปฏิบตั ติ าม สัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ข้างต้น อาจถือได้ว่าเป็นการขัดต่อประกาศ กทช. ว่าด้วยการใช้และเชื่อมต่อโครงข่าย เอไอเอสจึงได้ตดั สินใจปฏิบตั ติ ามสัญญาการ เชื่อมต่อโครงข่าย ซึ่งเป็นไปตามบทบัญญัติ แห่ ง กฎหมายที่ มี ผ ลใช้ บั ง คั บ อยู่ ใ นปั จ จุ บั น โดยออกใบแจ้งหนี้เพื่อเรียกเก็บค่าเชื่อมต่อ โครงข่ายจากคู่สัญญา ในวันที่ 30 ธันวาคม 2551 เอไอเอสนำ�ส่ง เงินผลประโยชน์ตอบแทนจากการเชื่อมต่อ โครงข่ายโทรคมนาคม ตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ 2550 ถึงเดือนมิถนุ ายน 2551 จำ�นวนเงิน 761 ล้านบาท ซึง่ คำ�นวณรายได้สทุ ธิตามอัตราและ วิธีคิดคำ�นวณของ เอไอเอส ให้แก่ทีโอที ซึ่ง ต่อมาได้มีการจัดตั้งคณะทำ�งานเจรจาเกี่ยว กับอัตราผลประโยชน์จากค่าเชื่อมต่อโครง ข่ายโทรคมนาคมระหว่าง เอไอเอสและทีโอที แต่ก็ ไม่สามารถมีข้อยุติร่วมกันได้ เนื่องจาก ทีโอทีต้องการให้เอไอเอสชำ�ระเงินส่วนแบ่ง รายได้จากค่าเชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ที่เอไอเอสได้รับทั้งจำ�นวนตามอัตราร้อยละ ที่ กำ � หนดไว้ ใ นสั ญ ญาอนุ ญ าตฯ โดยมิ ใ ห้ เอไอเอสนำ�ค่าเชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคม ที่เอไอเอสถูกผู้ประกอบการรายอื่นเรียกเก็บ มาหักออกก่อน ในวันที่ 26 มกราคม 2554 ทีโอทีจงึ ได้มหี นังสือ แจ้งให้เอไอเอสชำ�ระเงินผลประโยชน์จากรายได้ ค่าเชือ่ มต่อโครงข่ายโทรคมนาคมของปีด�ำ เนิน การที่ 17 – 20 เป็นเงินรวม 17,803 ล้าน บาท พร้อมดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ 1.25 ต่อ เดือน แต่เอไอเอสไม่เห็นด้วย โดยได้มีหนังสือ
70 อินทัช
โต้แย้งคัดค้านไปยังทีโอที และเอไอเอสได้เสนอ ข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำ�นัก ระงั บ ข้ อ พิ พ าท สำ � นั ก งานศาลยุ ติ ธ รรม เป็นข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่19/2554แล้ว เมื่ อ วั น ที่ 9 มี น าคม 2554 เพื่ อ ให้ ค ณะ อนุญาโตตุลาการมีค�ำ ชีข้ าดว่าทีโอทีไม่มสี ทิ ธิ เรียกร้องเงินผลประโยชน์ตอบแทนดังกล่าว
2.5.2 บริษทั ดิจติ อล โฟน จำ�กัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) กับ บริษทั กสท โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน)
กสท.ได้ ยื่ น คำ � ร้ อ งขอเพิ ก ถอนคำ � ชี้ ข าด ดังกล่าวต่อศาลปกครองกลางแล้ว ขณะนีค้ ดี อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง
2.6 ข้อพิพาทระหว่างบริษทั ดิจติ อล โฟน จำ�กัด เมื่ อ วั น ที่ 9 มกราคม 2551 บริ ษั ท กสท (ดีพซี )ี ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั แอดวานซ์ โทรคมนาคม จำ � กั ด (มหาชน) ได้ ยื่ น อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) กับ บริษัท คำ�เสนอข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่ 3/2551 กสท โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน) (กสท.) 2.5 ข้อพิพาทอันเนื่องจากภาษีสรรพสามิต ต่อสถาบั น อนุญาโตตุลาการ สำ � นั กระงับ ข้ อ พิ พ าท สำ � นั ก งานศาลยุ ติ ธ รรม เพื่ อ เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2552 กสท.ได้เสนอ (Excise Tax) เรี ย กร้ อ งให้ ดี พี ซี ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยของ ข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำ�นัก 2.5.1 บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จำ�กัด เอไอเอส ชำ�ระเงินส่วนแบ่งรายได้เพิ่มเติมอีก ระงับข้อพิพาท สำ�นักงานศาลยุติธรรม เป็น (มหาชน) กับ บริษัท ทีโอที จำ�กัด (มหาชน) จำ�นวน 2,449 ล้านบาท ตามสัญญาให้ด�ำ เนิน ข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่ 8/2552 เรียกร้องให้ การให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร์ ดีพีซีส่งมอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/ เมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2551 บริษทั ทีโอที จำ�กัด พร้อมเรียกเบี้ยปรับในอัตราร้อยละ 1.25 เสาสูง (Tower) จำ�นวน 3,343 ต้น พร้อม (มหาชน) ได้ยื่นคำ�เสนอข้อพิพาทหมายเลข ต่อเดือนของจำ�นวนเงินที่ค้างชำ�ระในแต่ละปี อุปกรณ์แหล่งจ่ายกำ�ลังงาน (Power Supply) ดำ�ที่ 9/2551 ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ นับตั้งแต่วันผิดนัด จนกว่าจะชำ�ระเสร็จสิ้น จำ�นวน 2,653 เครื่อง ตามสัญญาให้ดำ�เนิน สำ�นักระงับข้อพิพาท สำ�นักงานศาลยุตธิ รรม รวมเป็นเงินทั้งหมดจำ�นวน 3,410 ล้านบาท การให้บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร์ เรียกร้องให้เอไอเอสชำ�ระเงินส่วนแบ่งรายได้ ซึ่ง จำ � นวนเงิ น ส่ ว นแบ่ ง รายได้ ดั ง กล่ า วเป็ น หากไม่สามารถส่งมอบได้ ให้ชดใช้เงินจำ�นวน ี ซี ไี ด้ 2,230 ล้านบาท ซึ่งดีพีซีเห็นว่าเสาอากาศ/ เพิ่มเติมอีกจำ�นวน 31,463 ล้านบาท ตาม จำ�นวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตทีด่ พ สั ญ ญาอนุ ญ าตให้ ดำ � เนิ น กิ จ การบริ ก าร นำ�ส่งตั้งแต่วันที่16 กันยายน 2546 ถึงวันที่ เสาสูง (Tower) พร้อมอุปกรณ์แหล่งจ่ายกำ�ลัง โทรศัพท์เคลื่อนที่ พร้อมดอกเบี้ยในอัตรา 15 กันยายน 2550 และได้นำ�มาหักออกจาก งาน (Power Supply) มิใช่เครือ่ งหรืออุปกรณ์ ี ซี จี ะมี ร้ อ ยละ 1.25 ต่ อ เดื อ นของเงิ น ดั ง กล่ า ว ส่วนแบ่งรายได้ อันเป็นการปฏิบัติตามมติ ตามทีก่ �ำ หนดไว้ ในสัญญาข้อ 2.1 ทีด่ พ นับตั้งแต่วันที่ 10 มกราคม 2550 อันเป็นวัน คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2546 หน้าที่จัดหาและส่งมอบตามสัญญา ถูกต้องครบถ้วนแล้ว และมีการปฏิบัติเช่น ผิดนัดจนกว่าจะชำ�ระเสร็จสิ้น เดียวกันทั้งอุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่ ดี พี ซี ไ ด้ ยื่ น คำ � คั ด ค้ า นคำ � เสนอข้ อ พิ พ าท ดังกล่าวและได้มกี ารแต่งตัง้ คณะอนุญาโตตุลาการ เมื่ อ วั น ที่ 20 พฤษภาคม 2554 คณะ อนุญาโตตุลาการได้มีมติเป็นเอกฉันท์ชี้ขาด ในวันที่ 1 มีนาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการ จำ�นวน 5 ท่าน ดำ�เนินกระบวนการพิจารณา ให้ยกคำ�เสนอข้อพิพาททัง้ หมด โดยให้เหตุผล ได้มีคำ�ชี้ขาดให้ยกคำ�เสนอข้อพิพาททั้งหมด ข้ อ พิ พ าทดั ง กล่ า วเรื่ อ ยมา ขณะนี้ อ ยู่ ใ น สรุปได้ว่า เอไอเอสได้ชำ�ระหนี้โดยชอบด้วย ของ กสท. โดยให้เหตุผลสรุปได้วา่ การชำ�ระหนี้ ระหว่ า งการพิ จ ารณาทำ � คำ � ชี้ ข าดของ กฎหมายแล้ ว จึ ง ไม่ เ ป็ น ฝ่ า ยผิ ด สั ญ ญา เดิมเสร็จสิน้ และระงับไปแล้ว กสท. ไม่อาจกลับ คณะอนุญาโตตุลาการ ไม่ต้องชำ�ระเงินค่าผลประโยชน์ตอบแทนเพิ่ม มาเรียกร้องส่วนทีอ่ า้ งว่าขาดไปได้อกี ดีพซี จี งึ ไม่เป็นผู้ผิดสัญญา กสท. ไม่มีสิทธิเรียกร้อง 2.7 ข้อพิพาทระหว่างบริษทั ดิจติ อล โฟน จำ�กัด เติมใดๆ ให้แก่ทีโอที ให้ดพ ี ซี ชี �ำ ระหนีซ้ �้ำ อีก อีกทัง้ ไม่มสี ทิ ธิเรียกเบีย้ (ดีพซี )ี ซึง่ เป็นบริษทั ย่อยของบริษทั แอดวานซ์ ที โ อที ไ ด้ ยื่ น คำ � ร้ อ งขอเพิ ก ถอนคำ � ชี้ ข าด ปรับรวมทัง้ ภาษีมลู ค่าเพิม่ ตามทีเ่ รียกร้องมา อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำ�กัด (มหาชน) (กสท.) ดังกล่าวต่อศาลปกครองกลางแล้ว ขณะนีค้ ดี อยูร่ ะหว่างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง
71 รายงาน ประจำ�ปี 2554
เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2553 กสท.ได้เสนอ ข้อพิพาทต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำ�นัก ระงับข้อพิพาท สำ�นักงานศาลยุติธรรม เป็น ข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่ 62/2553 เรียกร้อง ให้ดพ ี ซี ี ชำ�ระผลประโยชน์ตอบแทนส่วนเพิม่ ปี ดำ�เนินการที่ 10-12 ทีเ่ กิดจากการทีด่ พี ซี ปี รับ ลดอัตราค่า Roaming ระหว่างดีพซี ี - เอไอเอส จาก 2.10 บาท ลงเหลือ 1.10 บาท โดยมิได้ รับอนุมัติ จาก กสท.ก่อน ในช่วงระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2550 – วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เป็นจำ�นวนเงินรวม 1,640 ล้านบาท พร้อม เบีย้ ปรับทีค่ �ำ นวณถึงเดือนมีนาคม 2553 เป็น จำ�นวนเงิน 365 ล้านบาท รวมเป็นจำ�นวนเงิน ประมาณ 2,000 ล้านบาท และเรียกเบีย้ ปรับใน อัตราร้อยละ 1.25 บาทต่อเดือน นับแต่เดือน เมษายน 2553 เป็นต้นไป
ช่วงระยะเวลาทีเ่ ป็นข้อพิพาทนัน้ กสท.ก็มไิ ด้มี หนังสือตอบปฏิเสธหรือคัดค้านมายังดีพซี แี ต่ อย่างใด อีกทั้งค่า Roaming ในอัตรานาทีละ 1.10 บาท นีเ้ ป็นไปตามสภาวะของตลาดทีอ่ ตั รา ค่าใช้บริการได้ลดต่�ำ ลงกว่าอัตราค่าใช้เครือ ข่ายร่วมเดิม นอกจากนีด้ พ ี ซี ยี งั ได้ทำ�สัญญา การให้ ใช้โครงข่ายโทรคมนาคม (Roaming) กับเอไอเอส โดยใช้อัตรา 1.10 บาทต่อนาที ซึ่งก็ ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติแล้ว 2.8 ข้อพิพาทระหว่างบริษัท ดิจิตอล โฟน จำ�กัด (ดีพีซี) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) กับบริษัท ทีโอที จำ�กัด (มหาชน)
เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ทีโอที ได้ยื่น เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2554 กสท.ได้เสนอ ฟ้อง กสท. เป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 และ ดีพีซี ข้อพิพาทเพิ่มเติมในส่วนของปีดำ�เนินการที่ เป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 เป็นคดีหมายเลขดำ�ที่ 12 (วันที่ 1 เมษายน 2552-วันที่ 15 มิถนุ ายน 1099/2554 เพื่อเรียกร้องให้ร่วมกันชำ�ระ 2552) ต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สำ�นัก ค่าเชือ่ มโยงโครงข่าย (Access Charge) ตาม ระงับข้อพิพาท สำ�นักงานศาลยุติธรรม เป็น ข้อตกลง เรือ่ งการเชือ่ มโยงโครงข่ายโทรศัพท์ ข้อพิพาทหมายเลขดำ�ที่ 89/2554 เป็นจำ�นวน เคลื่อนที่ของดีพีซี ลงวันที่ 8 กันยายน 2540 ซึ่งประกอบด้วย เงิน 113 ล้านบาท
ดีพีซี นำ�ส่วนลดค่าเชื่อมโยงโครงข่ายใน อัตรา 22 บาทต่อเลขหมายต่อเดือนมาหัก ออกก่อน เป็นเงินรวม 191,019,147.89 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 2,954,051,099.16 บาท พร้ อ มดอกเบี้ ย ขณะนี้ ค ดี อ ยู่ ร ะหว่ า งการ พิจารณาของศาลปกครองกลาง ทัง้ นีก้ ระบวนพิจารณาของศาลปกครองกลาง อาจใช้ ร ะยะเวลาหลายปี และผู้บริหารของ เอไอเอส เชื่อว่า ดีพีซีไม่มีหน้าที่ต้องชำ�ระค่า Access Charge ตามที่ ที โ อที เ รี ย กร้ อ ง เนือ่ งจากดีพซี ไี ด้บอกยกเลิกข้อตกลงดังกล่าว ต่อทีโอทีแล้ว โดยเห็นว่าข้อตกลงดังกล่าวขัด หรือแย้งกับกฎหมายในปัจจุบนั จึงเช่อื ว่าไม่นา่ จะมีผลกระทบต่อเอไอเอสอย่างมีนัยสำ�คัญ 3. สายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจต่างประเทศ 3.1 ความเสี่ ย งจากธุ ร กิ จ บริ ก ารสื่ อ สาร ดาวเทียม 3.1.1 ความเสีย่ งจากการทีด่ าวเทียมอาจเกิด ความเสียหายหรือเกิดความบกพร่องในขณะ ที่อยู่ในวงโคจร (In-Orbit Failure)
ขณะนีข้ อ้ พิพาทอยูใ่ นระหว่างกระบวนการทาง 1) ค่าเชื่อมโยงโครงข่ายซึ่งดีพีซีต้องชำ�ระ ให้ แ ก่ ที โ อที โ ดยคำ � นวณจากจำ � นวน ดาวเทียมเป็นงานสร้างทางวิศวกรรมขั้นสูง อนุญาโตตุลาการ ซึง่ อาจใช้เวลาการพิจารณา เลขหมายที่ดีพีซีมีการให้บริการในแต่ละ และเมื่อมีการส่งดาวเทียมเข้าสู่วงโคจรแล้ว เป็นระยะเวลาหลายปี แต่อย่างไรก็ตามผูบ้ ริหาร เดือนในอัตรา 200 บาทต่อเลขหมาย เป็น ดาวเทียมอาจได้รับความเสียหายจากการ ของเอไอเอส เชื่ อ ว่ า คำ � วิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดของ ขัดข้องของระบบการทำ�งานของดาวเทียม เงินรวม 432,218,677.35 บาท คณะอนุญาโตตุลาการน่าจะคลีค่ ลายไปในทาง ทีด่ ี เนือ่ งจากดีพซี ไี ด้มหี นังสือแจ้งการใช้อตั รา 2) ค่าเชื่อมโยงโครงข่ายซึ่ง กสท. ต้องชำ�ระ พายุสุริยะ หรือการชนกันระหว่างดาวเทียม ให้แก่ทโี อที โดยคำ�นวณจากครึง่ หนึง่ ของ กับวัตถุต่างๆ ในอวกาศ เป็นต้น ซึ่งอาจส่ง ค่า Roaming ในอัตรานาทีละ 1.10 บาท ต่อ จำ�นวนเงินส่วนแบ่งรายได้ที่ กสท. ได้รับ ผลให้ดาวเทียมได้รบั ความเสียหาย ทำ�ให้ความ กสท.เรือ่ ยมานับตัง้ แต่เดือนกรกฎาคม 2549 จากดีพซี ี เป็นเงินรวม 2,330,813,273.92 สามารถในการให้บริการถ่ายทอดสัญญาณ เป็นต้นมา ซึง่ กสท.ได้มหี นังสือตอบอนุมตั นิ บั ลดลงชั่ ว คราวหรื อ ถาวร หรื อ เกิ ด ความ บาท ตัง้ แต่เวลาดังกล่าวเรือ่ ยมาจนถึงเดือนมีนาคม 2550 และยังได้มีหนังสืออนุมัติในช่วงเดือน 3) ค่าเชื่อมโยงโครงข่ายซึ่ง กสท. ชำ�ระให้ เสียหายทัง้ หมด ซึง่ อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ู เสียลูกค้าทีม่ ี แก่ทีโอทีไม่ครบถ้วน เนื่องจาก กสท.และ การให้บริการ และอาจทำ�ให้สญ มกราคมถึงเดือนมีนาคม 2552 ให้อกี ส่วนใน
72 อินทัช
อยู่ในปัจจุบัน และ/หรือสูญเสียโอกาสในการ หาลูกค้าใหม่ในระหว่างการจัดหาดาวเทียม ดวงใหม่มาให้บริการแทน อย่างไรก็ดผี จู้ ดั สร้าง ดาวเทียมได้ออกแบบให้ดาวเทียมมีคณ ุ ลักษณะ ทีส่ ามารถทนทานต่อสภาพแวดล้อมบนอวกาศ ที่เลวร้าย ซึ่งทำ�ให้ดาวเทียมมีความน่าเชื่อ ถือ (Reliability)สูงเทียบเท่ามาตรฐานสากล ถึงแม้ว่าความเสียหายขั้นรุนแรงจนอาจทำ�ให้ ดาวเทียมหมดสภาพการใช้งานจะมีความ เป็นไปได้น้อยมาก แต่ไทยคมก็ ได้จัดเตรียม แผนการเพือ่ รองรับผลเสียหายอันอาจจะเกิด ขึน้ กับลูกค้า หากเกิดความเสียหายขัน้ รุนแรง ขึน้ กับดาวเทียมดวงใดดวงหนึง่ จนหมดสภาพ การใช้งาน โดยสามารถดำ�เนินการให้ผู้ ใช้ บริการส่วนหนึง่ ย้ายมาใช้ชอ่ งสัญญาณทีย่ งั คงว่างอยูใ่ นดาวเทียมไทยคมทีเ่ หลือ นอกจาก นี้ไทยคมยังมีขอ้ ตกลงร่วมกับผู้ ให้บริการราย อืน่ ในการเช่าช่องสัญญาณจากดาวเทียมอืน่ ชั่วคราว เพื่อให้ผู้ ใช้บริการสามารถโอนการ ใช้งานไปได้ ในระหว่างที่ไทยคมเร่งดำ�เนินการ สร้างดาวเทียมขึน้ เพือ่ ทดแทน ซึง่ โดยทัว่ ไปจะ ใช้ระยะเวลาประมาณ 24 - 30 เดือน ทั้งนี้ขึ้น อยู่กับขนาดและความซับซ้อนของดาวเทียม
ไทยคมสามารถเรียกร้องค่าเสียหายในทันทีที่ ดาวเทียมได้รับความเสียหายเพียงบางส่วน ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัท ผู้รับประกันภัย ไทยคมจะต้องยื่นหนังสือแจ้ง ความเสียหาย (Notice of Loss) และหนังสือ พิสจู น์ความเสียหาย (Proof of Loss) ให้บริษทั ผูร้ บั ประกันภัยและเมือ่ บรรลุขอ้ ตกลง ไทยคม จะได้รับเงินค่าสินไหมทดแทนภายใน 45 วัน มู ล ค่ า ประกั น ภั ย ดั ง กล่ า วมี มู ล ค่ า เท่ า กั บ มูลค่าทางบัญชีของดาวเทียม ณ ระยะเวลา ที่ทำ�ประกันภัย อย่างไรก็ตามมูลค่าประกัน ภั ย ดั ง กล่ า วไม่ ค รอบคลุ ม ผลเสี ย หายจาก การสูญเสียรายได้ อันสืบเนื่องมาจากการ เสียหายของดาวเทียม ซึ่งอาจส่งผลกระทบ ต่อผลประกอบการของไทยคม ปัจจุบันไทยคมอยู่ระหว่างการพิจารณาถึง ประโยชน์และต้นทุนในการจัดทำ�ประกันภัยให้ ครอบคลุมผลเสียหายจากการสูญเสียรายได้ หากเกิดความเสียหายขัน้ รุนแรงกับดาวเทียม ตารางมูลค่าวงเงินประกันภัย
ไทยคมได้ตระหนักถึงความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ โครงการ วงเงินประกัน ระยะเวลา กับดาวเทียมขณะทีอ่ ยูใ่ นวงโคจรค้างฟ้า ดังนัน้ ดาวเทียม (ล้านดอลลาร์ สหรัฐ) เพือ่ ป้องกันความเสีย่ งภัยดังกล่าวทีอ่ าจเกิด ขึน้ ไทยคมจึงได้จดั ทำ�ประกันภัยดาวเทียมเพือ่ ไทยคม 4 181.82 สิงหาคม คุ้มครองความเสี่ยงภัยทุกชนิด (All Risks) (ไอพีสตาร์) 2554 – สิงหาคม (เป็นข้อกำ�หนดตามสัญญาดำ�เนินกิจการ 2555 ดาวเทียมสือ่ สารภายในประเทศ) โดยกระทรวง ไทยคม 5 66.50 พฤษภาคม เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารและ 2554 – ไทยคมเป็นผูร้ บั ผลประโยชน์รว่ มกัน กรมธรรม์ พฤษภาคม ประกันภัยทีจ่ ดั ทำ�นัน้ เป็นแบบ Full Coverage 2555 with Partial Loss ซึ่งเป็นกรมธรรม์ปีต่อปี (รายละเอียดระยะเวลาการเอาประกันดังทีแ่ สดง อนึง่ กรมธรรม์ประกันภัยของกิจการดาวเทียม ไว้ ในตารางมูลค่าวงเงินประกันภัย) กล่าวคือ จะไม่ครอบคลุมเหตุการณ์ต่อไปนี้
1. ภาวะสงคราม การคุกคาม หรือการป้องกัน หรือการกระทำ�อันนำ�ไปสู่สงครามโดย รัฐบาล หรือการใช้กำ�ลังทางทหาร 2. อุปกรณ์ตอ่ ต้านดาวเทียม หรืออุปกรณ์ เกีย่ วข้องกับระเบิดปรมาณูหรือนิวเคลียร์ 3. การก่อกบฏ การก่อความไม่สงบ การ จลาจล การนั ด หยุ ด งาน การปฏิ วั ติ สงครามกลางเมือง การก่อการร้าย 4. การยึดทรัพย์โดยหน่วยงานรัฐบาล 5. ปฏิ กิ ริ ย าตอบสนองของนิ ว เคลี ย ร์ กัมมันตภาพรังสีของนิวเคลียร์ทีต่ กค้าง โดยทางตรงหรือทางอ้อมอันทำ�ให้เกิด การสู ญ เสี ย /เสี ย หายต่ อ ดาวเที ย ม ยกเว้นกัมมันตภาพรังสีทเี่ กิดขึน้ เองตาม ธรรมชาติ 6. คลืน่ กระแสไฟฟ้า หรือคลืน่ ความถีร่ บกวน 7. ความตัง้ ใจ หรือเจตนาในการกระทำ�ของ ผูเ้ อาประกันหรือผูม้ อี �ำ นาจในการกระทำ� อันก่อให้เกิดการสูญเสียหรือเสียหายของ ดาวเทียม 3.1.2 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยี เทคโนโลยี ใ นด้ า นการส่ ง สั ญ ญาณวิ ท ยุ / โทรทัศน์และโทรคมนาคม (Broadcasting and Telecommunications) มีการเปลี่ยนแปลง อย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว ประกอบกับมีการ พัฒนาคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่าง ต่อเนือ่ ง อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีของดาวเทียม ทีม่ กี ารใช้งานในปัจจุบนั (Conventional Satellite) ยังไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงจากอดีตมากนัก ดังนัน้ ปัจจัยทางด้านการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี สำ�หรับดาวเทียมประเภท Conventional Satellite จึงยังคงส่งผลกระทบค่อนข้างน้อยต่อการ ตัดสินใจของลูกค้าในการเลือกใช้ดาวเทียมของ ไทยคม หรือดาวเทียมของคูแ่ ข่งขัน โดยปัจจัย
73 รายงาน ประจำ�ปี 2554
เฉลี่ยประมาณ 12-16 ปี แต่ยังมีปัจจัยอื่นๆที่ มีผลให้ดาวเทียมมีอายุการใช้งานเฉลี่ยเพิ่ม ขึ้นหรือลดลง เช่น คุณภาพของโครงสร้าง ความแข็งแกร่ง และความทนทานของอุปกรณ์ ต่างๆ จรวดที่ใช้ส่งดาวเทียม ประสิทธิภาพ ในการจัดส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจร ตลอด ทั้งปริมาณการใช้เชื้อเพลิงของดาวเทียมและ ทักษะความสามารถในการควบคุมดาวเทียม ในสภาวการณ์ ต่ า งๆ ดั ง นั้ น ไทยคมอาจ สูญเสียลูกค้าและรายได้ หากดาวเทียมของ ไทยคมมีอายุการใช้งานสัน้ กว่าทีไ่ ด้คาดการณ์ ไว้และไทยคมไม่สามารถจัดหาหรือส่งดาวเทียม ในส่วนเทคโนโลยีของดาวเทียม Broadband ดวงใหม่แทนได้ทนั เวลา วิศวกรดาวเทียมของ Satellite นั้น ถึงแม้ว่าดาวเทียมไทยคม 4 ไทยคมจะทำ�การประเมินอายุดาวเทียมทีเ่ หลือ (ไอพีสตาร์) จะเป็นดาวเทียมที่ทันสมัยที่สุด และถ้าอายุดาวเทียมใกล้หมดอายุก็จะแจ้ง และมีต้นทุนต่อช่องสัญญาณต่ำ�ที่สุดตอนที่ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ พิ จ ารณาเรื่ อ ง เริ่มให้บริการก็ตาม ปัจจุบันได้มีผู้ ให้บริการ งบประมาณ แหล่งเงินทุน และผลตอบแทนจาก ดาวเทียม Broadband รายอื่น ๆ ได้พัฒนา การลงทุน ในการจัดหาดาวเทียมมาทดแทน เทคโนโลยี ไ ด้ ทั ด เที ย มดาวเที ย มไทยคม 4 ดาวเทียมที่กำ�ลังจะหมดอายุลง (ไอพีสตาร์) ทัง้ ในส่วนของดาวเทียมและอุปกรณ์ ภาคพื้นดิน ซึ่งจะทำ�ให้ความได้เปรียบของ 3.1.4 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงใน ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) ลดลงจาก กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายของ เดิม และทำ�ให้ความสามารถในการทำ�กำ�ไร รัฐบาล ต่อหน่วยช่องสัญญาณ และอุปกรณ์ภาคพืน้ ไทยคมก่อตั้งและจดทะเบียนในประเทศไทย ดินลดลงตามไปด้วย และดำ�เนินการให้บริการด้านโทรคมนาคม อย่างไรก็ตามในปัจจุบัน ดาวเทียมไทยคม 4 ผ่านดาวเทียมภายใต้สัญญาดำ�เนินกิจการ (ไอพีสตาร์) ยังคงเป็นดาวเทียม Broadband ดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ ซึ่งไทยคม ดวงเดียวที่ให้บริการในภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก อาจจะมีความเสี่ยงในการดำ�เนินธุรกิจจาก และไทยคมยังคงพัฒนาเทคโนโลยีอุปกรณ์ การแข่งขันทีส่ งู ขึน้ อันเกิดจากการเปลีย่ นแปลง ภาคพื้นดินและลดต้นทุนอย่างต่อเนื่องเพื่อ กฎระเบี ย บและหลั ก เกณฑ์ ใ นการประกอบ กิจการโทรคมนาคมผ่านดาวเทียมสื่อสาร รักษาความได้เปรียบในการแข่งขัน และนโยบายของรัฐบาลในด้านการเปิดเสรี 3.1.3 ความเสี่ ย งจากอายุการใช้งานของ ภาคอุตสาหกรรมโทรคมนาคม นอกจาก นี้ การเปลี่ ย นแปลงในกฎหมาย ระเบี ย บ ดาวเทียมสั้นลง ข้อบังคับ และนโยบายของรัฐบาลในเรื่องอื่นๆ ดาวเทียมทุกดวงมีอายุการใช้งานจำ�กัด โดย นัน้ อาจจะส่งผลกระทบอย่างมีนยั สำ�คัญต่อการ
ด้านคุณภาพและมาตรฐานในการบริการตลอด จนนโยบายการให้บริการและศักยภาพของ ผู้ ให้บริการเป็นปัจจัยที่สำ�คัญในการตัดสิน ใจของลูกค้า สำ�หรับระบบดาวเทียมประเภท Conventional Satellite ที่เหมาะกับการ ใช้งานทางด้านการส่งสัญญาณวิทยุ/โทรทัศน์ (Broadcasting) นั้น ไทยคมยังคงติดตาม และศึกษาพัฒนาเทคโนโลยีในการให้บริการ อย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมการสำ�หรับการ จัดหาดาวเทียมดวงใหม่ไปทดแทนดาวเทียม เก่าที่หมดอายุลง
ดำ�เนินงานของไทยคมทัง้ ทางตรงและทางอ้อม สัญญาดำ�เนินกิจการดาวเทียมสือ่ สารภายใน ประเทศมีอายุสญ ั ญาจนถึงปี พ.ศ. 2564 การ เปลีย่ นแปลงในกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับและ นโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้อง อาจมีผลให้ ไม่สามารถต่ออายุการให้บริการภายใต้สญ ั ญาฯ เดิมได้ภายหลังจากสัญญาฯหมดอายุลง และ ไทยคมจะดำ�เนินการเพื่อให้ ได้รับอนุญาตใน การดำ�เนินธุรกิจต่อไปภายหลังจากสัญญาฯ หมดอายุ นอกจากนีก้ ารเปลีย่ นแปลงดังกล่าว อาจจะทำ�ให้เกิดผู้ประกอบการรายใหม่ที่เป็น คู่แข่งทางการค้าของไทยคมได้ ในอนาคต 3.1.5 ความเสีย่ งด้านกฎหมายและข้อกำ�หนด ในแต่ละประเทศที่ไทยคมเข้าไปประกอบธุรกิจ ในปัจจุบนั กระแสโลกาภิวฒ ั น์ซงึ่ สนับสนุนให้มี การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจและการค้าได้ชว่ ยให้ ไทยคมสามารถเข้าไปประกอบธุรกิจให้บริการ โทรคมนาคมผ่านดาวเทียมในประเทศต่างๆ ได้กว้างขวางยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามการเข้าไป ประกอบธุรกิจในแต่ละประเทศนั้น ไทยคม จะต้ อ งปฏิ บั ติ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ กฎระเบี ย บ กฎเกณฑ์ นโยบายหรื อ ข้ อ ตกลงระหว่ า ง ประเทศ รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ ประกอบธุรกิจโทรคมนาคมผ่านดาวเทียม ของประเทศนั้นๆ ด้วย เนื่องจากอุตสาหกรรมสื่อสารโทรคมนาคม ผ่านดาวเทียมอยูภ่ ายใต้การควบคุมทีเ่ ข้มงวด การแก้ ไขกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ประกอบธุรกิจโทรคมนาคมในแต่ละประเทศ รวมถึงการเปลีย่ นแปลงในนโยบายของรัฐบาล ของประเทศต่างๆ ในการสนับสนุนหรืออุดหนุน อุตสาหกรรมโทรคมนาคมดาวเทียม อาจส่ง ผลให้ ไทยคมไม่สามารถได้รับหรือดำ�รงไว้ซึ่ง
74 อินทัช
การอนุญาตในการประกอบธุรกิจหรือการ ดำ�เนินการให้เป็นไปตามกลยุทธ์ทางธุรกิจของ ไทยคม นอกจากนีก้ ารแก้ไขเปลีย่ นแปลงนโยบาย หรือกฎเกณฑ์ในข้อตกลงระหว่างประเทศของ ITU ข้อตกลงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และ ประเทศอื่นที่ไทยคมให้บริการอาจก่อให้เกิด ผลกระทบอย่างมีนัยสำ�คัญต่อธุรกิจ ฐานะ ทางการเงิน ผลการดำ�เนินงาน และโอกาส ทางธุรกิจของไทยคม โดยเฉพาะอย่างยิง่ หาก การแก้ ไขเปลีย่ นแปลงดังกล่าวส่งผลให้ตน้ ทุน ในการดำ�เนินงานเพิม่ สูงขึน้ หรือเพิม่ ข้อจำ�กัด ในการประกอบธุรกิจของไทยคม นอกจาก ปัจจัยที่ได้กล่าวมาข้างต้นไทยคมยังมีความ เสี่ยงทางภาษีที่อาจเกิดขึ้นจากการตีความ และกฎหมายที่เกี่ยวกับภาษีอากรของแต่ละ ประเทศที่แตกต่างกัน การให้บริการไอพีสตาร์ของดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) มีพื้นที่ให้บริการครอบคลุมถึง 14 ประเทศในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ซึง่ ปัจจุบนั สามารถเปิดให้บริการได้ถึง 13 ประเทศนั้น (ยกเว้นประเทศไต้หวันที่ไม่มปี ญ ั หาใบอนุญาต แต่อยู่ในการดำ�เนินการหาผู้ร่วมให้บริการ) กฎระเบียบและข้อจำ�กัดทางกฎหมายถือเป็น ความเสีย่ งในการให้บริการไอพีสตาร์ในอดีต ที่ผ่านมา แต่ปัญหานี้ก็ ได้รับการแก้ ไขและได้ รับความร่วมมือดีขึ้นเป็นลำ�ดับ ดังจะเห็นได้ จากการที่มียอดขายเพิ่มขึ้นมาก เช่น จาก ประเทศอินเดีย
เหล่านั้น ซึ่งมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านใน เรื่องดังกล่าว เพื่อให้คำ�แนะนำ�และ/หรือเพื่อ ช่วยดำ�เนินการให้ ไทยคม สามารถดำ�เนินการ และปฏิ บั ติ ต ามข้ อ บั ง คั บ ต่ า งๆ ได้ อ ย่ า ง ถูกต้องครบถ้วน 3.1.6 ความเสี่ยงจากการที่รายได้หลักของ ไทยคมขึ้นอยู่กับการให้บริการแก่ลูกค้าหลัก เพียงน้อยราย รายได้หลักของไทยคมขึน้ อยูก่ บั การให้บริการ แก่ลูกค้าหลักเพียงน้อยราย ซึ่งส่วนใหญ่เป็น ผู้ประกอบธุรกิจการสื่อสารโทรคมนาคมและ การสื่อสารโทรทัศน์ โดยในปี 2554 ไทยคม มีรายได้จากการให้บริการแก่ลูกค้ารายใหญ่ สุดสามรายแรกคิดเป็นร้อยละ 13 ของรายได้ จากการขายและบริการตามงบการเงินรวม ของไทยคม
หากลูกค้าหลักรายใดรายหนึง่ ยกเลิกสัญญา ไม่ต่อสัญญา หรือต่อสัญญาโดยกำ�หนด เงื่ อ นไขที่ เ ป็ น ภาระต่ อ ไทยคมเพิ่ ม ขึ้ น อาทิ การกำ�หนดค่าบริการทีล่ ดลง หรือลูกค้าหลัก อาจประสบปัญหาด้านการเงิน และชำ�ระเงิน ให้แก่ไทยคมล่าช้า อาจก่อให้เกิดผลกระทบ ในทางลบต่อธุรกิจของไทยคม อย่างไรก็ตาม ที่ ผ่ า นมาลู ก ค้ า หลั ก ของไทยคมได้ ชำ � ระ ค่าบริการอย่างสม่ำ�เสมอ เนือ่ งมาจากลูกค้า มีความจำ�เป็นต้องใช้บริการช่องสัญญาณ ดาวเทียมเพื่อออกอากาศรายการโทรทัศน์ ทั้ ง นี้ ใ นการประกอบธุ ร กิ จ ในต่ า งประเทศ และเพือ่ ให้บริการสือ่ สารโทรคมนาคม ซึง่ การ ไทยคมได้ ใช้ความระมัดระวังอย่างมากในอัน เปลีย่ นไปใช้ดาวเทียมดวงอืน่ จะทำ�ให้มตี น้ ทุน ที่จะปฏิบัติตามกฎหมายของแต่ละประเทศที่ และความยุ่งยากในการปรับเปลี่ยนแนวรับ ไทยคมเข้าไปประกอบธุรกิจให้บริการอยู่ รวม ของจานดาวเทียม ซึ่งเป็นข้อจำ�กัดประการ ถึงนโยบายหรือกฎเกณฑ์ ในข้อตกลงระหว่าง สำ�คัญหากลูกค้าจะเปลี่ยนไปใช้ดาวเทียม ประเทศและของประเทศอืน่ ที่ไทยคมให้บริการ ของผู้ ให้บริการรายอืน่ และหยุดการใช้บริการ และในกรณีที่จำ�เป็นไทยคมจะขอคำ�ปรึกษา ดาวเทียมของไทยคม จากสำ � นั ก งานกฎหมายในประเทศต่ า งๆ
การขายบริการไอพีสตาร์ อาจมีความเสี่ยง จากการให้ บ ริ ก ารและจำ�หน่ ายสินค้าผ่าน ตัวแทนจำ�หน่ายรายใหญ่เพียงรายเดียวใน บางประเทศในลักษณะผู้ร่วมบริการก่อนที่จะ ไปถึงผู้ ใช้ปลายทาง อันเป็นผลมาจากระเบียบ กฎหมายของประเทศนัน้ เช่น จีน อินเดีย ทำ�ให้ ผู้ ให้บริการรายอืน่ ไม่สามารถเข้ามาแข่งขันใน ตลาดได้ เกิดข้อจำ�กัดในการขยายตลาดให้ เร็วขึ้น อย่างไรก็ตาม ไทยคมมียุทธศาสตร์ ในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและสร้างแรง จูงใจกับผู้ร่วมบริการ เพื่อให้ ได้รับความไว้ วางใจและความร่วมมือในการดำ�เนินธุรกิจ ไอพี ส ตาร์ ม ากยิ่ ง ขึ้ น ดั ง เช่ น กรณีป ระเทศ อินเดีย ที่ช่วยให้เกิดยอดขายที่ดีในปีที่ผ่าน มา และประเทศจีนในอนาคตข้างหน้า 3.1.7 ความเสี่ยงด้านการตลาดของบริการ ดาวเทียม จากการแข่งขันการให้บริการการสือ่ สารภาค พื้นดินและการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสาร ภาคพืน้ ดินอืน่ ๆ ไทยคมไม่สามารถยืนยันหรือ คาดการณ์เกี่ยวกับแนวโน้มความต้องการ หรือผลกระทบของการแข่งขันดังกล่าวได้ หาก ความต้องการไม่ได้เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำ�คัญ อาจมีผลกระทบต่อผลประกอบการและกระแส เงินสดของไทยคมหรือความสามารถในการ ชำ�ระหนี้ในอนาคต การเติบโตในธุรกิจ Broadband Satellite หรือดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) อันได้แก่ การพัฒนาด้านการบริการด้านการสื่อสาร ด้วย Internet Protocol (IP) ซึง่ รวมถึงบริการ ข้อมูลและมัลติมเิ ดีย ขึน้ อยูก่ บั การเติบโตของ ความต้องการสำ �หรับการสื่อสารด้วย IP และการสื่อสารด้วยอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ส่ ว นการขยายธุ ร กิ จ ของ Conventional Satellite ขึ้นอยู่กับความต้องการบริการ
75 รายงาน ประจำ�ปี 2554
และการพั ฒ นาการทางด้ า น Television Broadcasting ซึง่ ความต้องการดังกล่าวอาจ ไม่เพิม่ มากขึน้ อย่างมีนยั สำ�คัญ อย่างไรก็ตาม การพัฒนาเทคโนโลยีดา้ นการสือ่ สารโทรทัศน์ และการให้บริการโทรทัศน์แบบความละเอียด สูงจะทำ�ให้ความต้องการบริการดาวเทียม เพิ่มมากขึ้น ในทำ�นองเดียวกัน 3.1.8 ความเสี่ยงจากการแข่งขันที่สำ�คัญ จากผู้ประกอบการธุรกิจดาวเทียมรายอื่น ผู้ประกอบธุรกิจด้านโครงข่ายภาคพื้นดิน ไทยคมเป็นผู้ประกอบธุรกิจดาวเทียมเพียง แห่งเดียวในประเทศ อย่างไรก็ดีอาจจะมีการ ให้ ใบอนุญาตในการประกอบกิจการนีแ้ ก่ผอู้ นื่ ในอนาคต ส่วนในระดับระหว่างประเทศ มีการ แข่งขันอยู่ในคาบสมุทรอินโดจีนและเอเชียใต้ โดยคูแ่ ข่งรายใหญ่ของไทยคม ได้แก่ AsiaSat, Intelsat, Apstar, New Skies, Measat, และ ABS ซึ่งผู้ประกอบการดังกล่าวบางรายมี พื้นที่ในการให้บริการกว้างกว่าและมีแหล่ง เงินทุนมากกว่าไทยคม รวมถึงการควบรวม กิจการของผูป้ ระกอบการส่งผลให้มผี ปู้ ระกอบ การรายที่ใหญ่ขึ้น มีการประหยัดต้นทุนต่อ หน่วยเพิ่มมากขึ้นและจะทำ�ให้การแข่งขันใน การประกอบธุรกิจเข้มข้นขึน้ ซึง่ อาจก่อให้เกิด ข้อจำ�กัดในการกำ�หนดราคาค่าบริการ และ อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อธุรกิจของไทยคม อนึ่ง ไทยคมยังแข่งขันกับผู้ดำ�เนินการธุรกิจ เครือข่ายภาคพื้นดิน เช่น เคเบิลใยแก้วนำ� แสง DSL ระบบสื่อสัญญาณดิจิตอลโดยใช้ คลื่นไมโครเวฟ วีเอชเอฟ/ยูเอชเอฟ การให้ บริการ IP Broadband และอื่นๆ ซึ่งการให้ บริการโดยใช้เครือข่ายภาคพืน้ ดินมีคา่ บริการ ทีต่ ่�ำ กว่าการให้บริการสือ่ สารผ่านดาวเทียม การแข่งขันทางธุรกิจที่เพิ่มขึ้นระหว่างผู้ ให้
ไทยคมจึ ง ได้ เ จรจากั บ กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สาร (กระทรวงฯ) ในเรื่องนี้และได้แก้ ไขสัญญาดำ �เนินกิจการ ดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศในปี 2547 เพือ่ ลดข้อกำ�หนดสัดส่วนการถือหุน้ ของ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชัน่ ในไทยคมจากเดิมร้อยละ 51 เหลือเพียงร้อยละ 40 และ กระทรวงฯ ได้ส่ง เรื่องให้สำ�นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อ นำ�เสนอคณะรัฐมนตรีพจิ ารณา แต่เลขาธิการ คณะรัฐมนตรีได้แจ้งกลับมาว่าเรือ่ งนี้ไม่จ�ำ เป็น ต้องเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา ต่อมาได้มี การตีความเกีย่ วกับสัญญาดำ�เนินกิจการอืน่ ว่า ตามพระราชบัญญัตกิ ารให้เอกชนเข้าร่วม งานในกิจการของรัฐ การแก้ ไขสัญญาอนุญาต ให้ดำ�เนินกิจการจะต้องได้รับความเห็นชอบ จากคณะรัฐมนตรี การแก้ ไขสัญญาอนุญาต ให้ดำ�เนินกิจการเพื่อลดสัดส่วนการถือหุ้น ของบมจ.ชิน คอร์ปอเรชั่น อาจเป็นโมฆะ และ 3.1.9 ความเสี่ยงจากการที่ถูกกล่าวหาว่า ไทยคมอาจปฏิบตั ผิ ดิ ข้อสัญญาเดิมก่อนทีจ่ ะ ปฏิบัติผิดสัญญาดำ�เนินกิจการดาวเทียม มีการแก้ ไข กระทรวงฯ ได้ขอให้คณะกรรมการ กฤษฎีกาพิจารณาให้ความเห็นในเรื่องนี้แล้ว สื่อสารภายในประเทศ ซึง่ คณะกรรมการกฤษฎีกาได้แจ้งว่าเนือ่ งจาก ตามที่ ไทยคมดำ � เนิ น ธุ ร กิ จ ดาวเที ย ม ประเด็นทีก่ ระทรวงฯ ขอหารือมานัน้ เป็นเรือ่ งที่ ภายใต้สญ ั ญาดำ�เนินกิจการดาวเทียมสือ่ สาร อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกาแผนก ภายในประเทศ ไทยคมอาจถูกยกเลิกสัญญา คดีอาญาของผูด้ �ำ รงตำ�แหน่งทางการเมือง ที่ ได้ หากมี ก ารปฏิ บั ติ ผิ ด ข้ อ สั ญ ญาข้ อ ใด อัยการสูงสุดเป็นโจทก์ยื่นฟ้อง พ.ต.ท.ดร. ข้อหนึ่งซึ่งอาจส่งผลกระทบในทางลบอย่างมี ทักษิณ ชินวัตร คณะกรรมการกฤษฎีกาจึง นัยสำ�คัญต่อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการ ไม่ให้ความเห็นและไม่รับไว้พิจารณา ดำ�เนินงาน และโอกาสทางธุรกิจ สืบเนือ่ งจาก ความจำ�เป็นที่ไทยคมต้องทำ�การเพิม่ ทุนโดย หลั ง จากที่ ศ าลฎี ก าฯ ได้ มี คำ � ตั ด สิ น เมื่ อ ออกหุน้ ใหม่เพือ่ จำ�หน่ายแก่บคุ คลทัว่ ไปเมือ่ ปี วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 แล้ว กระทรวงฯ 2548 ซึง่ ทำ�ให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของ บมจ.ชิน ได้เสนอเรื่องให้คณะกรรมการประสานงานฯ คอร์ปอเรชั่น ลดลงน้อยกว่าร้อยละ 51 (ซึ่ง พิจารณา ซึ่งคณะกรรมการประสานงานฯ เป็นสัดส่วนทีส่ ญ ั ญาดำ�เนินกิจการดาวเทียม (โดยเสียงข้างมาก) ได้มคี วามเห็นให้กระทรวงฯ สื่อสารภายในประเทศกำ�หนดให้ บมจ. ชิน เสนอเรื่องนี้ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณามีมติ ให้ ไทยคมแก้ ไข โดยให้ บมจ.ชิน คอร์ปอเรชั่น คอร์ปอเรชั่น ต้องดำ�รงไว้) ดำ�เนินการให้มสี ดั ส่วนการถือหุน้ ไม่นอ้ ยกว่า บริการสื่อสารผ่านดาวเทียมและผู้ ให้บริการ โดยใช้เครือข่ายภาคพื้นดิน อาจก่อให้เกิดข้อ จำ�กัดในการกำ�หนดราคาค่าบริการหรืออาจจะ ส่งผลให้ลกู ค้าผูร้ บั บริการของไทยคมเปลีย่ น ไปใช้บริการของผู้ประกอบการดังกล่าว และ อาจทำ�ให้ ไทยคมประสบปัญหาในการรักษา หรือหาลูกค้าเพิม่ เติม ซึง่ การแข่งขันทีเ่ พิม่ ขึน้ ดังกล่าวอาจก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบ ต่อธุรกิจของไทยคม อย่างไรก็ตามสำ�หรับ การให้บริการแก่ลูกค้าที่อยู่ห่างไกลและอยู่ กระจายกันเป็นบริเวณกว้าง บริการสื่อสาร ผ่ า นดาวเที ย มจะมี ค่ า บริ ก ารที่ ต่ำ � กว่ า และ เข้าถึงได้ ร วดเร็ ว กว่ า นอกจากนั้ น บริ ก าร สื่อสารผ่านดาวเทียมยังช่วยเสริมการขยาย เครือข่ายภาคพืน้ ดินในการเชือ่ มต่อเครือข่าย ภาคพื้นดินในแต่ละภูมิภาค รวมถึงการเป็น ระบบสำ�รองของเครือข่ายภาคพืน้ ดินอีกด้วย
76 อินทัช
ร้อยละ 51 เช่นเดิม เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 กระทรวงฯ ได้ส่ง หนังสือถึงไทยคม ให้ ไทยคมปฏิบตั ติ ามแนวทาง ตามความเห็นของคณะกรรมการประสานงานฯ ซึง่ ไทยคมได้มหี นังสือถึงกระทรวงเมือ่ วันที่ 14 มีนาคม 2554 ชี้แจงว่าไทยคมได้ดำ�เนินการ ถูกต้องตามที่กำ�หนดไว้ ในสัญญา และการ ดำ�เนินการของไทยคมก็ ได้รบั การอนุมตั จิ าก กระทรวงก่อนทุกครั้ง หากกระทรวงฯ เห็นว่า ไทยคมกระทำ�การไม่ชอบด้วยสัญญาหรือ กฎหมายในเรื่องใด ขอให้แจ้งให้ ไทยคม โดย เมื่อไทยคมได้รับทราบเหตุดังกล่าว ไทยคม ยินดีจะพิจารณาร่วมกันดำ�เนินการเพื่อให้ เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่ายต่อไป
ว่า เนือ่ งจากประเด็นทีก่ ระทรวงฯ ขอหารือมา นัน้ เป็นเรือ่ งทีอ่ ยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูด้ �ำ รงตำ�แหน่ง ทางการเมืองทีอ่ ยั การสูงสุดเป็นโจทย์ยนื่ ฟ้อง พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร คณะกรรมการ กฤษฎีกาจึงไม่ให้ความเห็นและไม่รบั ไว้พจิ ารณา
เมื่อไทยคมได้รับทราบเหตุดังกล่าว ไทยคม ยินดีจะพิจารณาร่วมกันดำ�เนินการเพื่อให้ เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่ายต่อไป
ต่อมาไทยคมได้มหี นังสือขอความเห็นชอบจาก กระทรวงฯ ในการจัดสร้างและจัดส่งดาวเทียม ไทยคม 6 เพื่อเป็นดาวเทียมสำ�รองเพิ่มเติม หลังจากทีศ่ าลฎีกาฯ ได้มคี �ำ ตัดสินเมือ่ วันที่ 26 ของดาวเทียมไทยคม 3 และกระทรวงฯ ก็ ได้ กุมภาพันธ์ 2553 แล้วว่าดาวเทียมไทยคม 4 ให้ความเห็นชอบให้ ไทยคมจัดสร้างและจัดส่ง (ไอพีสตาร์) ไม่สามารถเป็นดาวเทียมสำ�รอง ดาวเทียมไทยคม 6 สำ�หรับดาวเทียมไทยคม ของดาวเทียมไทยคม 3 ได้ และดาวเทียม 4 (ไอพีสตาร์) นั้น กระทรวงฯ อยู่ในระหว่าง ไทยคม 4 (ไอพี ส ตาร์ ) เป็ น ดาวเที ย มที่ มี การพิจารณา คุณสมบัตแิ ละวัตถุประสงค์เพือ่ ให้บริการต่าง ประเทศเป็นสำ�คัญ จึงไม่ใช่ดาวเทียมตามสัญญา 3.1.10.2 ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการประกันภัย ดำ�เนินกิจการดาวเทียมสือ่ สารภายในประเทศ กระทรวงฯ ได้เสนอเรื่องให้คณะกรรมการ จากการที่ ด าวเที ย มไทยคม 3 ได้ รั บ 3.1.10 ความเสีย่ งจากความไม่ชดั เจนในการ ประสานงานฯ พิจารณา ซึ่งคณะกรรมการ ความเสี ย หายนั้ น ไทยคมได้ รับค่าสินไหม ตีความให้ปฏิบัติตามสัญญาดำ�เนินกิจการ ประสานงานฯ ได้มีความเห็นว่า กระทรวงฯ ทดแทนประมาณ 33.0 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ควรแจ้งให้ ไทยคม ดำ�เนินการจัดให้มดี าวเทียม ซึ่งไทยคมได้นำ�ฝากเงินจำ�นวนดังกล่าวไว้ ดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ สำ�รองของดาวเทียมไทยคม 3 ให้เป็นไปตาม ในบัญชีรักษาทรัพย์สิน (Escrow Account) 3.1.10.1 ขอ้ กำ�หนดทีเ่ กีย่ วข้องกับดาวเทียม สัญญาดำ�เนินกิจการดาวเทียมสือ่ สารภายใน ซึ่งอยู่นอกประเทศไทย และไทยคมได้ ใช้เงิน ประเทศ และควรเสนอคณะรัฐมนตรีให้พจิ ารณา ค่ า สิ น ไหมทดแทนทั้ ง จำ � นวนเพื่ อ เป็ น ค่ า ใช้ สำ�รอง แนวทางดำ�เนินการเรื่องดาวเทียมไทยคม 4 จ่ายบางส่วน สำ�หรับการก่อสร้างและการ ภายใต้สญ ั ญาดำ�เนินกิจการดาวเทียมสือ่ สาร (ไอพีสตาร์) เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ทั้ง จัดส่งดาวเทียมไทยคม 5 และสำ�หรับการเช่า ภายในประเทศ ไทยคมมีหน้าทีจ่ ดั ให้มดี าวเทียม ไทยคมและกระทรวงฯ และให้สอดคล้องกับ ช่ อ งสั ญ ญาณจากดาวเที ย มอื่ น เป็ น การ ชั่วคราว อย่างไรก็ตามพระราชบัญญัติวิธี สำ�รองสำ�หรับดาวเทียมหลักทุกดวงที่ไทยคม คำ�พิพากษาของศาลฎีกา การงบประมาณ พ.ศ. 2502 กำ � หนดว่ า ได้จัดส่งขึ้นสู่วงโคจรแล้ว เนื่องจากดาวเทียม ไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) ซึ่งไทยคมได้ขออนุมัติ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 กระทรวงฯ ได้ บรรดาเงินที่หน่วยงานราชการได้รับจะต้อง ส่งเข้าสู่วงโคจรเป็นดาวเทียมสำ�รองไม่ได้มี ส่งหนังสือถึงไทยคม ให้ ไทยคมปฏิบัติตาม นำ�ส่งให้แก่กระทรวงการคลัง เนื่องจากตาม รายละเอียดลักษณะเฉพาะ (Specification) แนวทางตามความเห็นของคณะกรรมการ กรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย กระทรวงเทคโนโลยี เหมือนกับดาวเทียมไทยคม 3 ทุกประการ ทำ�ให้ ประสานงานฯ ซึง่ ไทยคมได้มหี นังสือถึงกระทรวง สารสนเทศและการสื่ อ สาร (กระทรวงฯ) มีข้อสงสัยว่าดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ชี้แจงว่าไทยคมได้ เป็นผู้รับผลประโยชน์ร่วมกับไทยคม จึงมีข้อ สามารถเป็นดาวเทียมสำ�รองของดาวเทียม ดำ�เนินการถูกต้องตามทีก่ �ำ หนดไว้ ในสัญญา สงสัยว่าการนำ�ฝากเงินค่าสินไหมทดแทนไว้ ไทยคม 3 ได้ ห รื อ ไม่ กระทรวงเทคโนโลยี และการดำ�เนินการของไทยคมได้รบั การอนุมตั ิ ในบัญชีรักษาทรัพย์สิน (Escrow Account) สารสนเทศและการสือ่ สาร (กระทรวงฯ) ได้ขอ จากกระทรวงก่อนทุกครัง้ หากกระทรวงฯ เห็น ซึ่งอยู่นอกประเทศไทย อาจเป็นการปฏิบัติที่ ให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาให้ความ ว่าไทยคมกระทำ�การไม่ชอบด้วยสัญญาหรือ ไม่เป็นไปตามบทบัญญัตขิ องพระราชบัญญัติ เห็นในเรือ่ งนี้ ซึง่ คณะกรรมการกฤษฎีกาได้แจ้ง กฎหมายในเรื่องใด ขอให้แจ้งให้ ไทยคม โดย วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 กระทรวงฯ
77 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ได้ขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณา ให้ ค วามเห็ น ในเรื่ อ งนี้ ซึ่ ง คณะกรรมการ กฤษฎี ก าได้ แ จ้ ง ว่ า เนื่ อ งจากประเด็ น ที่ กระทรวงฯ ขอหารือมานั้นเป็นเรื่องที่อยู่ใน ระหว่ า งการพิ จ ารณาของศาลฎี ก าแผนก คดีอาญาของผู้ดำ�รงตำ�แหน่งทางการเมือง ที่อัยการสูงสุดเป็นโจทก์ยื่นฟ้อง พ.ต.ท.ดร. ทักษิณ ชินวัตร คณะกรรมการกฤษฎีกาจึง ไม่ให้ความเห็นและไม่รับไว้พิจารณา
จากกระทรวงก่อนทุกครัง้ หากกระทรวงฯ เห็น ว่าไทยคมกระทำ�การไม่ชอบด้วยสัญญาหรือ กฎหมายในเรือ่ งใดขอให้แจ้งให้ ไทยคม โดยเมือ่ ไทยคมได้รับทราบเหตุดังกล่าว ไทยคมยินดี จะพิจารณาร่วมกัน ดำ � เนิ นการเพื่อให้เกิด ประโยชน์แก่ทุกฝ่ายต่อไป ขณะนี้เรื่องอยู่ใน ระหว่างการพิจารณาของกระทรวงฯ
ถึงผลหรือความสมบูรณ์หรือไม่สมบูรณ์ของ ของสิง่ ต่าง ๆ ที่ได้เกิดขึน้ หรือได้ดำ�เนินการไป แล้วนั้น และมิได้มีคำ�สั่งให้ ไทยคมหรือหน่วย งานราชการทีเ่ กีย่ วข้องต้องไปดำ�เนินการใด ๆ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (กระทรวงฯ) ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวน ข้อเท็จจริงขึน้ มาเพือ่ ทำ�การพิจารณาว่าจาก รายละเอียดและขั้นตอนการดำ�เนินการของ คำ�พิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญา กระทรวงฯ ในเรื่องการลดสัดส่วนการถือหุ้น ของผู้ดำ�รงตำ�แหน่งทางการเมือง ไทยคมได้ หลั ง จากที่ ศ าลฎี ก าฯ ได้ มี คำ � ตั ด สิ น เมื่ อ ของ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่นในไทยคม จากไม่ กระทำ�การอันไม่เป็นไปตามสัญญาดำ�เนิน วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 ว่า การอนุมัติให้ น้อยกว่าร้อยละ 51 เป็นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 กิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศหรือ ไทยคมนำ � เงิ น ค่ า สิ น ไหมทดแทนความเสี ย ในข้อ 3.1.9 เรือ่ งข้อกำ�หนดเกีย่ วกับดาวเทียม ไม่ เพียงใด คณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จ หายของดาวเทียมไทยคม 3 บางส่วนจำ�นวน สำ�รอง และ ข้อกำ�หนดเกี่ยวกับการประกัน จริงได้มีความเห็นสรุปได้ว่า 6.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไปเช่าช่องสัญญาณ ภัยในข้อ 3.1.10 ปรากฎภายใต้หัวข้อ “การ ดาวเทียมของต่างประเทศมาให้บริการก่อนมี ดำ�เนินการที่อาจเกิดขึ้นจากหน่วยงานของ 1. ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) ไม่ใช่ ดาวเทียมสำ�รองของดาวเทียมไทยคม การจัดสร้างดาวเทียมไทยคม 5 นั้นเป็นการ รัฐอันเนือ่ งมาจาก คำ�พิพากษาของศาลฎีกา 3 ดังนั้นไทยคมจะต้องจัดให้มีดาวเทียม กระทำ�ที่ไม่ชอบ กระทรวงฯ ได้เสนอเรื่องนี้ให้ แผนกคดีอาญาของผู้ดำ�รงตำ�แหน่งทางการ สำ�รองของดาวเทียมไทยคม 3 คณะกรรมการประสานงานฯ พิจารณา ซึ่ง เมือง ในคดียดึ ทรัพย์ของอดีตนายกรัฐมนตรี 2. ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) มีคณ ุ สมบัติ คณะกรรมการประสานงานฯ ได้มคี วามเห็นว่า เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553” และวัตถุประสงค์เพือ่ ให้บริการต่างประเทศ กระทรวงฯ ควรแจ้งให้ ไทยคมส่งคืนเงินจำ�นวน เป็นหลัก จึงไม่ใช่ดาวเทียมตามสัญญาดำ�เนิน 6.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่ไทยคมนำ�ไปใช้เช่า 3.1.10.3 การดำ�เนินการที่อาจเกิดขึ้นจาก กิจการดาวเทียมสือ่ สารภายในประเทศ ช่องสัญญาณดาวเทียมของต่างประเทศมาให้ หน่วยงานของรัฐอันเนือ่ งมาจากคำ�พิพากษา บริการให้กระทรวงฯ และหากไทยคมประสงค์ ของศาลฎี ก าแผนกคดี อ าญาของผู้ ดำ � รง 3. การลดสัดส่วนการถือหุ้นของ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ในไทยคม จากร้อยละ 51 จะได้รับเงินจำ�นวนดังกล่าวเพื่อนำ�ไปใช้เป็น ตำ�แหน่งทางการเมือง ในคดียดึ ทรัพย์ของอดีต เป็นไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 นั้นไม่ชอบ ส่วนหนึ่งของค่าจัดสร้างและจัดส่งดาวเทียม นายกรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553 เพราะเป็นการแก้ ไขสัญญาดำ�เนินกิจการ ไทยคม 5 ซึ่งมาทดแทนดาวเทียมไทยคม 3 ที่ ดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศในสาระ เสียหายจนไม่สามารถใช้งานได้และปลดระวาง คำ�พิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญา สำ�คัญ ซึ่งจำ�เป็นจะต้องได้รับอนุมัติจาก ไปแล้ว ก็ ให้ ไทยคมทำ�เรือ่ งเข้ามาทีก่ ระทรวงฯ ของผู้ดำ�รงตำ�แหน่งทางการเมืองเมื่อวันที่ คณะรัฐมนตรี 26 กุมภาพันธ์ 2553 มีส่วนที่เกี่ยวข้องกับ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 กระทรวงฯ ได้ ไทยคมอยู่บางประการ แต่ในทุกประการนั้น 4. การอนุมัติให้ ไทยคมนำ�เงินค่าสินไหม ทดแทนความเสี ย หายของดาวเที ย ม ส่งหนังสือถึงไทยคม ให้ ไทยคมปฏิบัติตาม คำ�พิพากษาก็จ�ำ กัดผลอยูแ่ ต่เฉพาะในประเด็น ไทยคม 3 บางส่วน จำ�นวน 6.7 ล้าน แนวทางตามความเห็นของคณะกรรมการ ที่ว่าทรัพย์สินบางส่วนของผู้ดำ�รงตำ�แหน่ง ดอลลาร์ ส หรั ฐ ไปเช่ า ช่ อ งสั ญ ญาณ ประสานงานฯ ซึง่ ไทยคมได้มหี นังสือถึงกระทรวง ทางการเมืองนั้น เป็นทรัพย์สินที่ ได้มาโดย ดาวเทียมของต่างประเทศมาให้บริการ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ชี้แจงว่าไทยคมได้ ไม่สมควร สืบเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าที่ ก่อนมีการจัดสร้างดาวเทียมไทยคม 5 ดำ�เนินการถูกต้องตามทีก่ �ำ หนดไว้ ในสัญญา หรือใช้อำ�นาจในตำ�แหน่งหน้าที่เท่านั้น โดย นั้นเป็นการกระทำ�ที่ไม่ชอบ และการดำ�เนินการของไทยคมได้รบั การอนุมตั ิ คำ�พิพากษาของศาลฎีกามิได้มีการวินิจฉัย
78 อินทัช
รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงฯ ได้ มี คำ � สั่ ง ให้ คณะกรรมการประสานงานฯ พิจารณาความ เห็นของคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริง ซึ่งคณะกรรมการประสานงานฯ พิจารณา ความเห็ น ของคณะกรรมการสอบสวน ข้อเท็จจริง ซึง่ คณะกรรมการประสานงานฯ โดย เสียงข้างมาก (ประกอบด้วยผูแ้ ทนจากภาครัฐ) ก็เห็นด้วยกับความเห็นของคณะกรรมการ สอบสวนข้อเท็จจริงและมีข้อเสนอว่า 1. กระทรวงฯ ควรแจ้งให้ ไทยคมดำ�เนินการ จัดให้มีดาวเทียมสำ�รองของดาวเทียม ไทยคม 3 ให้เป็นไปตามสัญญาดำ�เนิน กิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ 2. กระทรวงฯ ควรเสนอคณะรั ฐ มนตรี ให้ พิ จ ารณาแนวทางดำ � เนิ น การเรื่ อ ง ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) เพื่อ ให้เกิดความเป็นธรรมแก่ทั้งไทยคมและ กระทรวงฯ และให้สอดคล้องกับคำ�พิพากษา ของศาลฎีกาฯ 3. กระทรวงฯ ควรนำ�เสนอการแก้ ไขสัญญา ดำ�เนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายใน ประเทศ เพื่อลดสัดส่วนการถือหุ้นของ บมจ. ชิน คอร์ปอเรชั่น ในไทยคม จาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 51 เป็นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 40 ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา 4. กระทรวงฯ ควรแจ้ ง ให้ ไ ทยคมส่ ง คื น เงินจำ�นวน 6.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐที่ ไทยคมนำ�ไปใช้เช่าช่องสัญญาณดาวเทียม ของต่างประเทศมาให้บริการให้กระทรวงฯ และหากไทยคมประสงค์จะได้รบั เงินจำ�นวน ดังกล่าวเพือ่ นำ�ไปใช้เป็นส่วนหนึง่ ของค่า จัดสร้างและจัดส่งดาวเทียมไทยคม 5 ซึ่ง มาทดแทนดาวเทียมไทยคม 3 ทีเ่ สียหาย จนไม่สามารถใช้งานได้และปลดระวางไป แล้ว ก็ให้ ไทยคมทำ�เรือ่ งเข้ามาทีก่ ระทรวงฯ
คณะกรรมการประสานงานฯ ได้เสนอความ เห็นต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงฯ ไปตั้งแต่ วันที่ 7 กรกฎาคม 2553 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 กระทรวงฯ ได้ ส่งหนังสือถึงไทยคม ให้ ไทยคมปฏิบัติตาม แนวทางตามความเห็นของคณะกรรมการ ประสานงานฯ ซึง่ ไทยคมได้มหี นังสือถึงกระทรวง เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ชี้แจงว่าไทยคมได้ ดำ�เนินการถูกต้องตามทีก่ �ำ หนดไว้ ในสัญญา และการดำ�เนินการของไทยคมได้รบั การอนุมตั ิ จากกระทรวงก่อนทุกครั้ง หากกระทรวงฯ เห็นว่าไทยคมกระทำ�การไม่ชอบด้วยสัญญา หรือกฎหมายในเรื่องใด ขอให้แจ้งไทยคม โดย เมื่อไทยคมได้รับทราบเหตุดังกล่าว ไทยคม ยินดีจะพิจารณาร่วมกันดำ�เนินการ เพื่อให้ เกิดประโยชน์แก่ทุกฝ่ายต่อไป
3.1.11 ความเสี่ยงจากคดีความที่ ไทยคม มิ ไ ด้ เ ป็ น คู่ ก รณี อ าจส่ ง ผลให้ มี ก ารเพิ ก ถอนสั ญ ญาอนุ ญ าตให้ ดำ � เนิ น การธุ ร กิ จ ดาวเทียม เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2549 นายศาสตรา โตอ่อน ได้ยนื่ ฟ้องกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร และกระทรวงคมนาคมเป็น จำ�เลยต่อศาลปกครองกลาง โดยขอให้ศาล มี คำ � สั่ ง ให้ จำ � เลยยกเลิ ก สั ญ ญาอนุ ญ าต ให้ดำ�เนินการของเอไอเอส และไทยคม และ กำ�หนดมาตรการชั่วคราว มิให้ผู้ถือหุ้นราย ใหม่ของ บมจ.ชิน คอร์ปอเรชั่น ซึ่งเป็นผู้ถือ หุ้นใหญ่ของไทยคม ดำ�เนินการใดๆ หรือรับ ผลประโยชน์ ใดๆ จากกิจการตามสัญญา อนุญาตให้ดำ�เนินการดังกล่าว
ในคำ�ฟ้อง นายศาสตรา ได้กล่าวหาว่า จำ�เลย อย่างไรก็ตาม ไทยคมเชื่อว่าสิ่งที่ ไทยคมได้ ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยการไม่ใช้อำ�นาจ ดำ�เนินการไปทัง้ หมด ก็เป็นไปตามหลักปฏิบตั ิ หน้าทีใ่ นการยกเลิกสัญญาอนุญาตให้ด�ำ เนิน ภายใต้กฎหมายหรือสัญญาทีม่ อี ยูด่ ว้ ยความ การภายหลั ง จากมี ก ารโอนหุ้ น ของ บมจ. สุ จ ริ ต ส่ ว นหน่ ว ยงานราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ชิน คอร์ปอเรชั่น ให้กับผู้ถือหุ้นรายใหม่ โดย จะดำ�เนินการในเรื่องนี้ต่อไปอย่างไรหรือไม่ การโอนหุ้นดังกล่าวทำ�ให้มีการเปลี่ยนแปลง นัน้ ขณะนีย้ งั ไม่มขี อ้ สรุปใดๆ มายังไทยคม แต่ โครงสร้ า งการถื อ หุ้ น ของไทยคมอย่ า งมี ทีมงานกฎหมายของไทยคมได้ศึกษาเรื่องนี้ นัยสำ�คัญ ซึ่งส่งผลให้กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหม่ แล้วและเห็นว่าการดำ�เนินการใดๆ ต่อไปของ มีอำ�นาจควบคุมไทยคม ซึ่งประกอบธุรกิจ ผู้ที่เกี่ยวข้องในส่วนที่อาจจะมีผลกระทบต่อ ที่เป็นทรัพยากรของประเทศ เพื่อประโยชน์ ไทยคมนัน้ จะต้องเป็นไปตามกระบวนการทาง สาธารณะ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2549 สัญญา กฎหมาย และหลักความยุตธิ รรม มีขนั้ ศาลปกครองกลางมีคำ�สัง่ ไม่รบั คำ�ขอให้ศาล มีตอนไม่สามารถดำ�เนินการใดๆ ไปโดยรวบรัด กำ�หนดมาตรการหรือวิธีการคุ้มครองเพื่อ หรือกระทำ�โดยพลการแต่เพียงฝ่ายเดียว ซึ่ง บรรเทาทุกข์ชวั่ คราวและในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ไทยคมมีสทิ ธิโดยชอบตามกฎหมายและสัญญา 2554 ศาลปกครองกลางได้ตดั สินคดีดงั กล่าว ที่จะพิสูจน์ข้อเท็จจริงและความสุจริตในส่วน โดยพิพากษาให้ยกฟ้อง เนื่องจากไม่ปรากฎ ของตน อันจะเป็นผลให้เกิดความเป็นธรรม หลักฐานว่าไทยคมมีสถานะเป็นคนต่างด้าว ตามพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของ แก่ผู้สุจริตทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง คนต่างด้าว พ.ศ.2542 และการที่กระทรวง
79 รายงาน ประจำ�ปี 2554
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไม่ได้ ยกเลิกสัญญากับไทยคม ไม่ถือว่าเป็นการ ละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่แต่อย่างใด และผู้ฟ้อง คดีคือ นายศาสตรา โตอ่อน ไม่ได้อุทธรณ์ คำ�พิพากษาของศาลปกครองกลางต่อศาล ปกครองสูงสุด คดีสิ้นสุดแล้ว เมื่ อ วั น ที่ 19 เมษายน 2550 นายสุ พ งษ์ ลิ้มธนากุล ได้ยื่นฟ้อง กทช. และ กระทรวง เทคโนโลยีฯ ต่อศาลปกครองกลาง โดยอ้าง เหตุเรือ่ งเจ้าหน้าทีร่ ฐั และหน่วยงานทางปกครอง ละเลยต่อการปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจสอบ ไทยคม ว่าประกอบกิจการโทรคมนาคมโดย ฝ่าฝืนกฎหมายหรือไม่ หลังจากที่มีการโอน ขายหุ้นของ บมจ.ชิน คอร์ปอเรชั่น ให้แก่ผู้ ถือหุ้นรายใหม่ ศาลปกครองกลางได้มคี �ำ สัง่ ลงวันที่ 28 เมษายน 2552 เรียกให้ ไทยคมเข้ามาเป็นผู้ถูกฟ้องคดี ร่วม โดยกำ�หนดให้ ไทยคมเป็นผูถ้ กู ฟ้องคดีที่ 4 และไทยคมได้ยนื่ คำ�ให้การแก้ค�ำ ฟ้อง รวมทัง้ พยานหลักฐานต่อศาลปกครองกลางไปแล้ว เมื่อเดือนกรกฎาคม 2552 และเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2554 ศาลปกครองกลางได้ตัดสิน คดีดงั กล่าว โดยพิพากษาให้ยกฟ้อง เนือ่ งจาก ไทยคมไม่ใช่คนต่างด้าวตามพระราชบัญญัติ การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ.2542 การที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อ สารไม่ ไ ด้ ย กเลิ ก สั ญ ญาสั ม ปทานกั บ ไทยคม ไม่ถอื ว่าเป็นการละเลยไม่ปฎิบตั หิ น้าที่ แต่อย่างใด ซึ่งนายสุพงษ์ฯ ได้ยื่นอุทธรณ์ คำ � พิ พ ากษาศาลปกครองกลางต่ อ ศาล ปกครองสูงสุด เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2554 ซึง่ ไทยคมได้ยนื่ คำ�แก้อทุ ธรณ์ตอ่ ศาลปกครอง สูงสุดไปแล้วเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2554 ที่ ผ่านมา ขณะนี้เรื่องอยู่ในระหว่างการดำ�เนิน การของศาลปกครองสูงสุด
3.1.12 ความเสี่ ย งด้ า นการจั ด หาช่ อ ง สัญญาณดาวเทียมเพือ่ ให้บริการอย่างเพียง พอและต่อเนื่อง ปัจจุบนั ไทยคมมีดาวเทียมให้บริการ 2 ดวงได้แก่ ไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) และไทยคม 5 สำ�หรับ ธุรกิจ Conventional Satellite ดาวเทียม ไทยคม 5 มีอัตราการใช้งานใกล้เต็มปริมาณ ช่องสัญญาณดาวเทียมสูงสุดที่ให้บริการได้ หากไทยคมไม่สามารถจัดหาช่องสัญญาณ ดาวเทียมเพิ่มเติมได้ ในปริมาณที่เพียงพอ และต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการ ใช้งานที่เพิ่มขึ้น ไทยคมอาจสูญเสียลูกค้า บางรายให้กับผู้ประกอบการดาวเทียมคู่แข่ง ซึ่งจะส่งผลกระทบในเชิงลบกับการประกอบ ธุรกิจของไทยคม อย่างไรก็ตามไทยคมได้ลดความเสีย่ งดังกล่าว ให้เบาบางลง จากการที่ไทยคมเริม่ พัฒนาและ ดำ�เนินการโครงการดาวเทียมไทยคม 6 และ โครงการดาวเทียมไทยคม 7 ซึ่งคาดว่าจะ สามารถส่งขึน้ สูว่ งโคจรได้ประมาณไตรมาสที่ 2 ของปี 2556 และ ภายในปี 2557 ตามลำ�ดับ ทัง้ นี้ ไทยคมจะดำ�เนินการจัดหาช่องสัญญาณ ดาวเทียมเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับ ปริมาณความต้องการใช้งานในช่วงเวลาก่อน ที่ดาวเทียมไทยคม 6 และดาวเทียมไทยคม 7 จะเริ่มให้บริการ 3.1.13 ความเสีย่ งจากการที่ไทยคมอาจถูก เรียกเก็บภาษีเงินได้ย้อนหลังจากค่าสินไหม ทดแทนดาวเทียมไทยคม 3 จากการที่ดาวเทียมไทยคม 3 ได้รับความ เสียหายในปี 2546 ซึ่งไทยคมได้รับค่าสินไหม ทดแทนประมาณ 33.0 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยไทยคมและกระทรวงเทคโนโลยี ฯ เป็ น
ผู้รับผลประโยชน์จากค่าสินไหมทดแทนร่วม กันในปี 2547 กระทรวงเทคโนโลยีฯ ได้มอบ ค่ า สิ น ไหมทดแทนให้ ไ ทยคม เพื่ อ นำ � ไปใช้ ในการสร้ า งดาวเที ย มไทยคม 5 ทดแทน ไทยคมได้รับรู้เงินค่าสินไหมทดแทนเป็นราย ได้และนำ�มารวมคำ�นวณกำ�ไรสุทธิ เพื่อเสีย ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ ค คลประจำ � ปี 2548 และ ไทยคมได้ท�ำ หนังสือขอหารือเกีย่ วกับประเด็น ดังกล่าวไปยังกรมสรรพากรว่า เงินค่าสินไหม ทดแทนดังกล่าวจะต้องนำ�มารวมเป็นรายได้ใน การคำ�นวณภาษีเงินได้นิติบุคคลหรือไม่ ซึ่ง กรมสรรพากรได้ตอบข้อหารือมาในปี 2549 ว่าค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวไม่เป็นรายได้ที่ ต้องนำ�มารวมคำ�นวณ เพื่อเสียภาษีเงินได้ นิติบุคคล ไทยคมจึงยื่นเรื่องขอคืนภาษีที่ได้ จ่ายไปแล้วและได้รับคืนจากกรมสรรพากร ในปีเดียวกัน มี ก ารรายงานข่ า วว่ า คณะกรรมการ ตรวจสอบการกระทำ�ที่ก่อให้เกิดความเสีย หายแก่รฐั (คตส.) มีมติให้กรมสรรพากรเรียก เก็บภาษีจากไทยคมจำ�นวนประมาณ 306.0 ล้านบาท โดย คตส. มีความเห็นว่า ค่าสินไหม ทดแทนนั้นถือว่าเป็นรายได้ของไทยคม จึง ต้องนำ�มารวมคำ�นวณภาษีเงินได้นิติบุคคล แต่ ข ณะนี้ ไ ทยคมยั ง ไม่ ไ ด้ รั บ หนั ง สื อ จาก กรมสรรพากรในเรื่องนี้ 3.2 ความเสี่ยงจากธุรกิจบริการสื่อสารทาง โทรศัพท์ 3.2.1 ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ การตลาดและการแข่งขัน ไทยคมประกอบธุรกิจให้บริการสื่อสารทาง โทรศัพท์ ในประเทศกัมพูชาและประเทศลาว ซึง่ ปัจจุบนั ผู้ ใช้โทรศัพท์ในประเทศยังมีจ�ำ นวน
80 อินทัช
น้อยเมือ่ เทียบกับจำ�นวนประชากรทัง้ หมด ทำ�ให้ ธุรกิจบริการสือ่ สารทางโทรศัพท์มโี อกาสทีจ่ ะ สร้างฐานลูกค้าเพิ่มขึ้นจากลูกค้ารายใหม่ ๆ ประกอบกับประเทศกัมพูชาและประเทศลาว มีแนวโน้มทีเ่ ศรษฐกิจจะขยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง ในอนาคต ซึ่งเป็นผลดีจากการเข้ามาลงทุน ของต่างชาติ ธุรกิจสื่อสารและโทรคมนาคม จึงมีโอกาสที่จะได้รับผลบวกจากการเติบโต ของเศรษฐกิจของประเทศไปด้วย ส่งผลให้การ แข่งขันในธุรกิจให้บริการสือ่ สารทางโทรศัพท์ โดยเฉพาะตลาดโทรศั พ ท์ แ บบเคลื่ อ นที่ ในประเทศกัมพูชาและประเทศลาว มีแนวโน้ม ที่ จ ะแข่ ง ขั น กั น รุ น แรงมากขึ้ น ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี ผู้ ให้บริการระบบโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นประเทศ กัมพูชาและประเทศลาว จำ�นวน 9 ราย และ 4 ราย ตามลำ�ดับ ธุรกิจให้บริการสือ่ สารทางโทรศัพท์ ในประเทศ กัมพูชาในปีที่ผ่านมามีการแข่งขันทางด้าน ราคาค่อนข้างสูง เพือ่ ช่วงชิงส่วนแบ่งทางการ ตลาดจากคู่แข่ง ในขณะที่ประเทศลาวมีการ พัฒนาเทคโนโลยีสื่อสารอย่างรวดเร็ว โดย มีการนำ�เทคโนโลยีที่ทันสมัยและมีคุณภาพ มาให้บริการกับลูกค้า ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการที่ ไม่สามารถตอบสนองต่อการแข่งขันได้อย่าง รวดเร็ว อาจได้รับผลกระทบทางลบกับการ ประกอบธุรกิจ ไทยคมได้ตระหนักถึงภาวะการแข่งขันที่อาจ รุนแรงมากขึ้น และได้มุ่งพัฒนาขยายเครือ ข่ายและพื้นที่การให้บริการ รวมทั้งคุณภาพ ของการให้บริการลูกค้า ตลอดจนกลยุทธ์ ทางการตลาดใหม่ ๆ อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ เตรียม พร้อมกับสถานการณ์การแข่งขันในอนาคต
อาจมีภาระหนีส้ นิ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากกรณีของ ค่าตอบแทนส่วนต่างงวดวันที่ 3 กรกฎาคม 2547 จนถึง 7 มีนาคม 2550 จำ�นวน 2,891 ล้านบาท ดอกเบี้ยของค่าตอบแทนส่วนต่าง การประกอบธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก ารสื่ อ สารทาง ร้อยละ15 คำ�นวณนับตัง้ แต่ศาลปกครองสูงสุด โทรศัพท์ ในประเทศกัมพูชาและประเทศลาว มีคำ�ชี้ขาดวันที่ 14 ธันวาคม 2549 จนถึง จะครบกำ�หนดสัญญาในปี พ.ศ.2571 และ วันทีใ่ นงบการเงินสิน้ สุด ณ 31 ธันวาคม 2554 พ.ศ.2564 ตามลำ�ดับ หากไทยคมไม่สามารถ เป็นเงินจำ�นวน 2,132 ล้านบาท (ซึ่งไอทีวีได้ เจรจาขอต่อสัญญากับหน่วยงานของรัฐบาล ตั้งสำ�รองภาระหนี้สินอันอาจเกิดจากการแพ้ ได้เมือ่ ครบสัญญา ไทยคมจะต้องโอนทรัพย์สนิ คดีไว้ ในบัญชีงบการเงินของไอทีวีแล้วตั้งแต่ ทัง้ หมดให้แก่รฐั บาลกัมพูชา และโอนหุน้ ส่วนของ งบการเงินงวดไตรมาส ที่ 4 ปี 2549 เป็นต้นมา) ไทยคมในกิจการร่วมค้าให้แก่รฐั บาลของลาว โดยไม่คดิ ค่าตอบแทนใดๆ ซึง่ หากเกิดเหตุการณ์ นอกจากนี้ หากศาลมีคำ�พิพากษาให้ ไอทีวี ดังกล่าวขึน้ ไทยคมจะสูญเสียรายได้จากการ ต้องชำ�ระค่าปรับจากการปรับผังรายการใน ให้บริการสื่อสารทางโทรศัพท์ ไปและย่อมมี ปี 2547 โดยคำ�นวณจากวันที่ 31 มกราคม ผลกระทบกับผลการดำ�เนินงานของไทยคม 2547 จนถึงวันที่ 14 ธันวาคม 2549 ตาม อย่างไรก็ตามไทยคมมีความเชื่อมั่นว่าด้วย จำ�นวนทีส่ �ำ นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ศักยภาพ ความพร้ อ ม และประสบการณ์ เรี ย กร้ อ ง ซึ่ ง มี จำ � นวนสู ง มากถึ ง 97,760 ในธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมจะส่งเสริมให้ ล้านบาท รวมถึงมูลค่าทรัพย์สินที่ส่งมอบ ไทยคม สามารถต่อสัญญาดำ�เนินการเป็น ไม่ครบจำ�นวน 656 ล้านบาทและดอกเบีย้ ของ ผู้ ให้บริการสื่อสารทางโทรศัพท์ ในประเทศ ทรัพย์สนิ ทีส่ ง่ มอบไม่ครบในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของมูลค่าทรัพย์สนิ ทีส่ ง่ มอบไม่ครบนับ กัมพูชาและประเทศลาวต่อไปได้ จากวันทีส่ �ำ นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ยื่นฟ้องไอทีวี ซึ่งหากศาลมีคำ�ตัดสินให้ ไอทีวี 4. สายธุรกิจสื่อและโฆษณา ต้องรับภาระค่าใช้จ่ายตามที่สำ�นักงานปลัด 4.1 ความเสีย่ งจากคดีความระหว่างไอทีวกี บั สำ�นักนายกรัฐมนตรีเรียกร้องและมีจำ�นวน เงินเกินกว่าเงินสดหรือทรัพย์สินเทียบเท่า สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี เงินสด จำ�นวน 1,126 ล้านบาท ที่ไอทีวีมีอยู่ แม้ ว่ า ไอที วี จ ะได้ ป ฏิ บั ติ ต ามคำ � ชี้ ข าดของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 อาจทำ�ให้ ไอทีวี อนุ ญ าโตตุ ล าการโดยสุ จ ริ ต เป็ น ไปตาม ประสบปัญหาทางการเงินได้ ข้ อ กฎหมายและข้ อ สั ญ ญา ซึ่ ง ถื อ ว่ า คำ�ชีข้ าด มีผลผูกพันคูส่ ญ ั ญาทัง้ 2 ฝ่ายโดย 4.2 ความเสีย่ งตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์ ทันที แต่หากไอทีวีแพ้ ในคดีพิพาทที่มีอยู่กับ แห่งประเทศไทย เรื่องการปรับปรุงแนวทาง สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ไอทีวี การดำ�เนินการกับบริษัทจดทะเบียนที่มีการ 3.2.2 ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการต่อสัญญา เป็นผู้ให้บริการโทรคมนาคมในประเทศกัมพูชา และประเทศลาว
81 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ดำ�เนินงานหรือฐานะการเงินที่เข้าข่ายอาจ ถูกเพิกถอน ฉบับวันที่ 26 มกราคม 2554 จากเหตุการณ์ในวันที่ 7 มีนาคม 2550 เป็นต้น มา เป็นเหตุให้ไอทีวจี �ำ เป็นต้องหยุดดำ�เนินธุรกิจ สถานีโทรทัศน์ ไอทีวี ซึ่งทำ�ให้ ไอทีวีต้องขาด รายได้จากการประกอบธุรกิจสถานีโทรทัศน์ ไป และเป็นเหตุให้นับแต่วันที่ 9 มีนาคม 2550 เป็นต้นมา ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้ ป ระกาศให้ หุ้ น ของไอที วี เ ป็ น หลั ก ทรั พ ย์ ที่เข้าข่ายอาจถูกเพิกถอนหลักทรัพย์ตาม ข้อบังคับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เรื่อง การเพิกถอนหลักทรัพย์จดทะเบียน พ.ศ. 2542 พร้อมทั้งขึ้นเครื่องหมาย NC (Non-Compliance) และ SP (Suspension) ห้ามซือ้ หรือขายหลักทรัพย์ของไอทีวี จนกว่า ไอทีวจี ะสามารถแก้ ไขฟืน้ ฟูกจิ การเพือ่ ให้เหตุ แห่งการเพิกถอนหมดไป เมือ่ วันที่ 4 มิถนุ ายน 2552 ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยได้ยา้ ยหลักทรัพย์ของไอทีวีไป อยู่หมวด NPG (Non-performing Group) จนกว่าไอทีวีจะสามารถแก้ ไขผลการดำ�เนิน งานให้หลุดพ้นจากเหตุแห่งการเพิกถอนได้ เมือ่ วันที่ 19 มกราคม 2554 ตลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทยได้ ป ระกาศการปรั บ ปรุ ง แนวทางการดำ�เนินการกับบริษัทจดทะเบียน ทีม่ กี ารดำ�เนินงานหรือฐานะการเงินทีเ่ ข้าข่าย อาจถูกเพิกถอน ประกาศมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วั น ที่ 26 มกราคม 2554 โดยแนวทาง ดังกล่าวได้กำ�หนดระยะเวลาให้ ไอทีวีดำ�เนิน การแก้ ไขเหตุแห่งการเพิกถอนภายในระยะ เวลา 3 ปี (กำ�หนด 3 ระยะๆ ละ 1 ปี) เริ่ม
ตั้งแต่วันที่ 10 มีนาคม 2554 ทั้งนี้ ไอทีวี สามารถยืน่ คำ�ขอขยายระยะเวลาฟืน้ ฟูกจิ การ ได้ 1 ครั้ง ระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี (กำ�หนดระยะ เวลาสูงสุดในการฟื้นฟูกิจการไม่เกิน 4 ปี) โดยไอทีวีต้องมีคุณสมบัติครบทุกข้อ ดังนี้ 1. มีส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่ต่ำ�กว่า 20 ล้าน บาท หรือมีกำ�ไรจากการดำ�เนินธุรกิจ หลัก 1 ปี 2. มีธุรกิจหลักดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง ชัดเจน 3. มีแนวทางแก้ ไขเหตุเพิกถอนชัดเจน 4. คุณสมบัติอื่นๆ ครบถ้วน เช่น ผู้บริหาร หรือผู้มีอำ�นาจควบคุม ไม่เป็นบุคคลที่มี ลักษณะต้องห้าม เป็นต้น นอกจากนี้ ไอที วี ยั ง มี ค ดี ค วามที่ ยั ง อยู่ ใ น กระบวนการพิจารณาของศาล และอาจต้อง ใช้ระยะเวลานานจนกว่ากระบวนการยุตธิ รรม จะถึงที่สุด และผลของคดีความดังกล่าวอาจ ส่งผลที่เป็นสาระสำ�คัญต่อสถานะการเงิน และการดำ�เนินธุรกิจต่อไปในระยะยาว รวมถึง สถานะงบการเงินของไอทีวี ณ 31 ธันวาคม 2554 ไอที วี มี ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น ติ ด ลบอยู่ 3,898 ล้านบาท อีกทั้งมีภาระค่าใช้จ่ายทาง บัญชีในการสำ�รองเผื่อค่าดอกเบี้ยอันอาจ เกิดขึ้น ในกรณีที่ไอทีวีแพ้คดีในอัตราร้อยละ 15 ต่อปีของค่าอนุญาตให้ดำ�เนินการส่วน ต่างรวม 2,891 ล้านบาท คิดเป็นจำ�นวน เงินปีละประมาณ 434 ล้านบาท หรือไตรมาส ละประมาณ 109 ล้านบาท ซึ่งตามเงื่อนไขใน การดำ�เนินการแก้ ไขเหตุแห่งการเพิกถอน ภายในระยะเวลา 3 ปี ตามเกณฑ์ข้างต้นของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ไอทีวีจะ
ต้องหาธุรกิจใหม่ทีส่ ร้างผลกำ�ไรสะสมได้เพิม่ ขึ้น อย่างน้อย 4,198 ล้านบาทหรือหาวิธีอื่น ใดเพือ่ ทำ�ให้สว่ นของผูถ้ อื หุน้ ในงบดุลเป็นบวก ไม่ต่ำ�กว่า 300 ล้านบาท และนอกจากนั้น ไอทีวีต้องสามารถทำ�กำ�ไรจากการดำ�เนิน งานในธุรกิจหลักไม่น้อยกว่า 30 ล้านบาท หรือมีกำ�ไรสุทธิในงวด 466 ล้านบาท ในระยะ เวลา 1 ปี (ในกรณีที่ผลกำ�ไรไม่ต่อเนื่อง) จึง จะพ้นจากเหตุแห่งการเพิกถอนหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ทั้งนี้ หากไอทีวีไม่สามารถดำ�เนินการแก้ ไขให้ มีคณ ุ สมบัตติ ามแนวทางดังกล่าวภายในระยะ เวลาทีก่ �ำ หนด ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จะเสนอคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศ เพื่อพิจารณาอนุมัติการเพิกถอน หลักทรัพย์ต่อไป ซึ่งอาจจะทำ�ให้ ไอทีวีพ้น สภาพจากการเป็ น บริ ษั ท จดทะเบี ย น และ หลักทรัพย์ของไอทีวีไม่สามารถทำ�การซือ้ ขาย ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้อกี ต่อไป
82 อินทัช
การจัดการและการกำ�กับดูแลกิจการ โครงสร้างองค์กร คณะกรรมการบร�ษัท
คณะกรรมการพัฒนาความเป นผู นำ และกำหนดค าตอบแทน
คณะกรรมการบร�หาร
คณะกรรมการสรรหาและ กำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร
ประธานคณะกรรมการบร�หาร คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการบร�หารความเสี่ยง กรรมการผู อำนวยการ
ส วนงานเลขานุการบร�ษัท ส วนงานตรวจสอบภายใน
ส วนงานบร�หาร การลงทุน สำนักกฎหมาย
ส วนงานบัญชี
สำนักการเง�น
สำนักนักลงทุน สัมพันธ
ส วนงานพัฒนา ธุรกิจไหม
ฝ าย Compliance
สำนักเทคโนโลยี และสารสนเทศ
ฝ ายทรัพยากร บุคคล
ฝ ายกิจการ สัมพันธ
83 รายงาน ประจำ�ปี 2554
โครงสร้างผู้บริหารสี่รายแรก นายสมประสงค บุญยะชัย
ประธานคณะกรรมการบร�หาร นางศุภจ� สุธรรมพันธุ
ประธานกรรมการบร�หาร สายธุรกิจสื่อโฆษณา และธุรกิจใหม นายสมประสงค บุญยะชัย (รักษาการ)
กรรมการผู อำนวยการ นายเอนก พนาอภิชน
รองกรรมการผู อำนวยการ สายงานการเง�นและบัญชี
นายคิมห สิร�ทว�ชัย
ผู ช วยกรรมการผู อำนวยการอาวุโส ส วนงานบร�หารการลงทุน
นายว�ชัย กิตติว�ทยากุล
ผู ช วยกรรมการผู อำนวยการอาวุโส ส วนงานเลขานุการบร�ษัทและตรวจสอบภายใน
1. คณะกรรมการบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการ ดังนี้
ชื่อ-นามสกุล 1. ดร.วิรัช อภิเมธีธำ�รง 2. นายวิทิต ลีนุตพงษ์ 3. นายสมชาย ศุภธาดา 4. นายชลาลักษณ์ บุนนาค 5. นายบุน สวอน ฟู 6. นายบดินทร์ อัศวาณิชย์ 7. นายสมประสงค์ บุญยะชัย 8. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์
ตำ�แหน่ง ประธานคณะกรรมการบริษัท กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร กรรมการบริหาร กรรมการอิสระ
วันที่ดำ�รงตำ�แหน่ง 7 พฤศจิกายน 2544 16 ตุลาคม 2543 30 มิถุนายน 2549 14 สิงหาคม 2550 26 กันยายน 2550 11 สิงหาคม 2553 25 เมษายน 2550 26 ธันวาคม 2554
กรรมการที่ลาออกระหว่างปี 2554 นายอารักษ์ ชลธาร์นนท์ ได้ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการบริษัท มีผลตั้งแต่ 26 ธันวาคม 2554 และคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้ง นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ เป็นกรรมการบริษัทแทน เลขานุการคณะกรรมการบริษัท : นายวิชัย กิตติวิทยากุล
84 อินทัช
2. หน้าที่และความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำ�คัญ ดังนี้ • ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และ ระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท • กำ�หนดวิสัยทัศน์ นโยบาย และทิศทางการดำ�เนินงานของบริษัท และกำ�กับดูแลให้ฝ่ายบริหารดำ�เนินการให้เป็นไปตามนโยบายที่กำ�หนด ไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุดให้แก่บริษัท และผู้ถือหุ้น • พิจารณาอนุมัติรายการที่สำ�คัญ เช่น โครงการลงทุนธุรกิจใหม่ การซื้อขายทรัพย์สิน ฯลฯ และการดำ�เนินการใดๆ ที่กฎหมายกำ�หนด • พิจารณาอนุมัติและ/หรือให้ความเห็นชอบต่อรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัท และบริษัทย่อยให้เป็นไปตามประกาศ ข้อกำ�หนด และแนวทาง ปฏิบัติที่เกี่ยวข้องของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ประเมินผลงานของประธานคณะกรรมการบริหารและกรรมการบริหารอย่างสม่ำ�เสมอและกำ�หนดค่าตอบแทน • รับผิดชอบต่อผลประกอบการและการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร โดยให้มีความตั้งใจและความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน • จัดให้มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงินและการสอบบัญชีที่เชื่อถือได้ รวมทั้งดูแลให้มีกระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของ การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลการบริหารจัดการความเสี่ยง การรายงานทางการเงินและ การติดตามผล • ดูแลไม่ให้เกิดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผู้มีส่วนได้เสียของบริษัท • กำ�กับดูแลกิจการให้มีการปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรม • ทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัท และประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวเป็นประจำ�อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทำ�รายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคู่กับรายงานของผู้สอบบัญชีไว้ในรายงานประจำ�ปีและ ครอบคลุมในเรื่องสำ�คัญๆ ตามนโยบายเรื่องข้อพึงปฏิบัติที่ดีสำ�หรับกรรมการบริษัทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3. กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัท กรรมการผู้มีอำ�นาจลงนามผูกพันบริษัทมีดังนี้ “นายบุน สวอน ฟู นายวิรัช อภิเมธีธำ�รง หรือ นายสมประสงค์ บุญยะชัย กรรมการสองใน สามคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกัน และประทับตราสำ�คัญของบริษัท" 4. การสรรหาและแต่งตั้งกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ มีหน้าที่ในการสรรหากรรมการเพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัทอนุมัติและ/หรือเสนอขออนุมัติ แต่งตั้งต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น ในการสรรหาคณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ อาจใช้วิธีการให้คณะกรรมการบริษัทเสนอชื่อเพื่อ คัดกรอง รวมทั้งใช้ที่ปรึกษาภายนอกช่วยคัดกรองผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ในการคัดเลือกกรรมการบริษัทนั้นจะพิจารณาความเหมาะสม ของโครงสร้างคณะกรรมการบริษัท ความเชี่ยวชาญของคณะกรรมการบริษัท รวมถึงแนวทางในการดำ�เนินธุรกิจในอนาคต เพื่อพิจารณาว่า คณะกรรมการบริษัทยังขาดความเชี่ยวชาญในด้านใด แล้วจึงค่อยคัดเลือกบุคคลที่มีความเหมาะสมที่สุดเสนอให้คณะกรรมการบริษัท หรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้ง (แล้วแต่กรณี) ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำ�หนดอยู่ในข้อบังคับของบริษัท (ผู้ที่สนใจสามารถดูข้อบังคับ ของบริษัทได้ที่ www.intouchcompany.com) สรุปได้ดังนี้ (1) ในการประชุมสามัญประจำ�ปีทุกครั้ง กรรมการต้องพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระเป็นจำ�นวน 1 ใน 3 ถ้าจำ�นวนกรรมการที่จะแบ่งออกให้ตรง เป็น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจำ�นวนที่ใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 โดยกรรมการที่จะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรกและปีที่ 2 ภายหลังจด ทะเบียนบริษัทนั้น ให้ใช้วิธีจับฉลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลังๆ ต่อไป ให้กรรมการที่อยู่ในตำ�แหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออกจากตำ�แหน่ง และกรรมการที่ออกตามวาระนี้อาจถูกเลือกเข้ามาดำ�รงตำ�แหน่งใหม่ก็ได้
85 รายงาน ประจำ�ปี 2554
(2) ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ 2.1 ผู้ถือหุ้นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท่ากับจำ�นวนหุ้นที่ถือ 2.2 ผู้ถือหุ้นแต่ละคนจะใช้คะแนนเสียงที่มีอยู่ทั้งหมดตามข้อ 2.1 เพื่อที่จะเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป็นกรรมการก็ได้ในกรณี ที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเป็นกรรมการจะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่ผู้ใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้ 2.3 บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลำ�ดับลงมาเป็นผู้ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการเท่าจำ�นวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือก ตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณีทีบ่ คุ คลซึง่ ได้รบั การเลือกตัง้ ในลำ�ดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจำ�นวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือจะพึงเลือก ตั้งในครั้งนั้น ให้ผู้เป็นประธานเป็นผู้ออกเสียงชี้ขาด (3) ในกรณีทีต่ �ำ แหน่งกรรมการว่างลงเพราะเหตุอืน่ นอกจากออกตามวาระ ให้คณะกรรมการมีมติดว้ ยคะแนนไม่นอ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของกรรมการ ที่เหลืออยู่ เลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 68 และ 75 แห่งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จำ�กัด พ.ศ. 2535 และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่นๆ เข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของกรรมการ จะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน ทั้งนี้บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวจะอยู่ในตำ�แหน่งกรรมการได้เพียงวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการ ที่ตนแทน 5. นิยามของกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ หมายถึง บุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนและมีความเป็นอิสระตามที่คณะกรรมการบริษัทได้กำ�หนดไว้ในนโยบายการกำ�กับดูแล กิจการของบริษัท และสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนกล่าวคือ 5.1) ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้นของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด้วย 5.2) ไม่เป็นหรือเคยเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจำ� หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท เว้นแต่จะได้ พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ ทั้งนี้ ลักษณะต้องห้ามดังกล่าว ไม่รวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระเคยเป็นข้าราชการ หรือที่ปรึกษา ของส่วนราชการซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุม ของบริษัท 5.3)
ไม่เป็นบุคคลที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป็น บิดามารดา คู่สมรส พี่น้องและ บุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตรของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอให้เป็นผู้บริหารหรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทย่อย
5.4)
ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของ บริษัท ในลักษณะที่อาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือ ผู้มีอำ�นาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจ ควบคุมของบริษัท เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ
86 อินทัช
ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทำ�รายการทางการค้าที่กระทำ�เป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือให้เช่า อสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กู้ยืม ค้ำ�ประกัน การให้สินทรัพย์เป็นหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ์อื่นทำ�นองเดียวกัน ซึ่งเป็นผลให้บริษัทหรือคู่สัญญามีภาระ หนี้ที่ต้องชำ�ระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละ 3 ของสินทรัพย์ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทหรือตั้งแต่ 20 ล้านบาทขึ้นไป แล้วแต่จำ�นวนใด จะต่�ำ กว่า ทัง้ นี้ การคำ�นวณภาระหนีด้ งั กล่าวให้เป็นไปตามวิธกี ารคำ�นวณมูลค่าของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตามประกาศคณะกรรมการ กำ�กับตลาดทุนว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล่าว ให้นับรวมภาระ หนี้ที่เกิดขึ้นในระหว่าง 1 ปีก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน
5.5)
ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมบริษัท และ ไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือหุ้นส่วนของสำ�นักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผู้สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริ ษั ท ร่ ว ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ มี อำ � นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท สั ง กั ด อยู่ เว้ น แต่ จ ะได้ พ้ น จากการมี ลั ก ษณะดั ง กล่ า วมาแล้ ว ไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ
5.6) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้รับค่า บริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุมหรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลักษณะ ดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ก่อนวันที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการอิสระ 5.7) ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 5.8) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วนที่มีนัยใน ห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจำ� หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของ จำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่มีนัยกับกิจการของ บริษัทหรือบริษัทย่อย 5.9) ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำ�ให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระเกี่ยวกับการดำ�เนินงานของบริษัท ภายหลั ง ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการอิ ส ระที่ มี ลั ก ษณะเป็ น ไปตามข้ อ 5.1 ถึ ง 5.9 แล้ ว กรรมการอิ ส ระอาจได้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท ให้ตัดสินใจในการดำ�เนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำ�ดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้น รายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัท โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (Collective decision) ได้ 6. คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบตัง้ แต่ 5 พฤษภาคม 2541 ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำ�นวน 3 ท่าน และมีคณ ุ สมบัติ ครบถ้วนตามที่กำ�หนดโดยคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
87 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ณ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการ ดังต่อไปนี้ ชื่อ-นามสกุล ตำ�แหน่ง 1. นายสมชาย ศุภธาดา ประธาน 2. นายวิทิต ลีนุตพงษ์ กรรมการ 3. นายชลาลักษณ์ บุนนาค กรรมการ นายสมชาย ศุภธาดา เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ และดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้าภาควิชาการบัญชี ประจำ�ภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชย์ศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นผู้มีความรู้มีประสบการณ์การทำ�งานเป็นที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการบัญชีมาเป็นระยะเวลากว่า 13 ปี ซึ่งมีความสามารถอย่างเพียงพอที่จะสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้ นายวิทิต ลีนุตพงษ์ และนายชลาลักษณ์ บุนนาค เป็น ผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหาร การเงินและการลงทุน คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำ�คัญ ดังนี้ สอบทานให้บริษัท มีรายงานทางการเงินถูกต้องตามที่ควร ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และมีการเปิดเผยอย่างเพียงพอ สอบทานให้บริษทั มีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิผล สอบทานให้บริษัท ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจของบริษัท • พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป็นอิสระเพื่อทำ�หน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท และเสนอค่าตอบแทนของบุคคล ดังกล่าว รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • สอบทานความเป็นอิสระของผู้สอบบัญชี และกำ�หนดนโยบายการรับบริการอื่นที่มิใช่การสอบบัญชีจากสำ�นักงานสอบบัญชีเดียวกัน • พิจารณาทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการและเสนอขออนุมัติเปลี่ยนแปลงใดๆ ต่อคณะกรรมการบริษัท • พิจารณาสอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำ�หนดของ คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ทั้งนี้ เพื่อให้มั่นใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผลและเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัท • สอบทานให้บริษัท มีระบบการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล • พิจารณาความเป็นอิสระของหน่วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบในการพิจารณาแต่งตั้งโยกย้าย เลิกจ้างและ การพิจารณาผลการปฏิบัติงาน ความดีความชอบหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน • สอบทานและให้ความเห็นต่อแผนตรวจสอบภายใน การปฏิบัติงานของสำ�นักงานตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผู้สอบบัญชี • จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นที่เชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู้สอบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - จำ�นวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละท่าน - ความเห็นหรือข้อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎบัตร (Charter) - รายการอื่ น ที่ เ ห็ น ว่ า ผู้ ถื อ หุ้ น และผู้ ล งทุ น ทั่ ว ไปควรทราบภายใต้ ข อบเขตหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท
• • •
88 อินทัช
•
•
• • • • • •
ดำ�เนินการตรวจสอบพฤติการณ์อันควรสงสัยว่ากรรมการ ผู้จัดการหรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการดำ�เนินงานของบริษัท ได้กระทำ� ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึ่งผู้สอบบัญชีได้ตรวจพบและรายงานให้ทราบ และ ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบในเบื้องต้นให้แก่ คณะกรรมการบริษัท สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ และผู้สอบบัญชีทราบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี ทั้งนี้ พฤติการณ์อันควรสงสัยที่ต้องแจ้ง และวิธีการเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติการณ์ดังกล่าว ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกำ�กับตลาดทุนประกาศกำ�หนด ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีข้อสงสัยว่า มีรายการหรือการกระทำ�ดังต่อไปนี้ ซึ่งอาจมีผลกระทบ อย่างมีนัยสำ�คัญต่อฐานะการเงินและผลการดำ�เนินงานของบริษัท ให้คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการของบริษัท เพื่อดำ�เนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร - รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ - การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร่องที่สำ�คัญในระบบควบคุมภายใน - การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจของบริษัท หากคณะกรรมการของบริษทั หรือผูบ้ ริหารไม่ดำ�เนินการให้มกี ารปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร กรรมการ ตรวจสอบรายใดรายหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือการกระทำ�นั้นต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้คณะกรรมการบริษัททราบอย่างน้อย ปีละ 4 ครั้ง ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีอำ�นาจเชิญให้ฝ่ายจัดการ ผู้บริหาร หรือพนักงานของบริษัท ที่ เกี่ยวข้องมาให้ความเห็น ร่วมประชุม หรือส่งเอกสารตามที่เห็นว่าเกี่ยวข้องจำ�เป็น ให้มีอำ�นาจว่าจ้างที่ปรึกษา หรือบุคคลภายนอกตามระเบียบของบริษัท มาให้ความเห็นหรือคำ�ปรึกษาในกรณีจำ�เป็น พิจารณาทบทวนขอบเขตและประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบเป็นประจำ�ทุกปี พิจารณาทบทวนและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรนี้และเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติเปลี่ยนแปลงเป็นประจำ � ทุกปี ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
ในปี 2554 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมจำ�นวน 7 ครั้ง ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ซึ่งรายละเอียดการ ปฏิบัติงานและความเห็นปรากฏอยู่ในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 7. คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ�และกำ�หนดค่าตอบแทน คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ�และกำ�หนดค่าตอบแทน ประกอบด้วยกรรมการ 3 ท่าน โดยกรรมการส่วนใหญ่เป็นกรรมการที่ไม่เป็น ผู้บริหาร ณ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ�และกำ�หนดค่าตอบแทนประกอบด้วยกรรมการดังต่อไปนี้
ชื่อ-นามสกุล 1. นายบุน สวอน ฟู 2. นายวิทิต ลีนุตพงษ์ 3. นายสมประสงค์ บุญยะชัย
ตำ�แหน่ง ประธาน กรรมการ กรรมการ
89 รายงาน ประจำ�ปี 2554
คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ�และกำ�หนดค่าตอบแทน มีหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำ�คัญ ดังนี้ • กำ�หนดค่าตอบแทนที่จำ�เป็นและเหมาะสมทั้งที่เป็นตัวเงินและมิใช่ตัวเงิน เพื่อจูงใจและรักษากรรมการ กรรมการชุดย่อยและผู้บริหาร ระดับสูงของบริษัท ในแต่ละปี • จัดทำ�หลักเกณฑ์และนโยบายในการกำ�หนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูงเพื่อเสนอให้คณะกรรมการบริษัท พิจารณาอนุมัติและ/หรือนำ�เสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติตามแต่กรณี • พิจารณาสอบทานและอนุมัติผลการดำ�เนินงานของบริษัท เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินโบนัสประจำ�ปีตามผลตัวชี้วัดการ ปฏิบัติงานและพิจารณาปรับเพิ่มเงินเดือนประจำ�ปี • พิจารณาและอนุมัติโครงการค่าตอบแทนระยะยาว และแนวทางปฎิบัติที่เกี่ยวข้อง • พิจารณาและอนุมัติผลการประเมินการปฏิบัติงานเพื่อกำ �หนดเงินโบนัสประจำ�ปี และการปรับขึ้นเงินเดือนประจำ �ปีให้แก่ประธาน คณะกรรมการบริหารของบริษัทและบริษัทย่อย รวมทั้งบุคคลซึ่งรายงานขึ้นตรงต่อประธานคณะกรรมการบริหารดังกล่าว • พิจารณาและอนุมัติการจ่ายเงินโบนัสประจำ�ปีให้กับกรรมการของบริษัท • รายงานนโยบายด้านค่าตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผลและวัตถุประสงค์ของนโยบายเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปี • ร่วมกับประธานคณะกรรมการบริหารของบริษัท ประเมินและกำ�หนดผู้สืบทอดตำ�แหน่งประธานคณะกรรมการบริหารของบริษัทและ บริษัทย่อย รวมทั้งบุคคลซึ่งรายงานขึ้นตรงต่อประธานคณะกรรมการบริหารดังกล่าว และรายงานแผนการสืบทอดตำ�แหน่งของผู้บริหาร ระดับสูงให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบเป็นประจำ�ทุกปี • ร่วมกับประธานคณะกรรมการบริหารของบริษัท จัดทำ�นโยบายแผนการสืบทอดตำ�แหน่งสำ�หรับตำ�แหน่งประธานคณะกรรมการบริหาร ของบริษัทและบริษัทย่อย รวมทั้งบุคคลซึ่งรายงานขึ้นตรงต่อประธานคณะกรรมการบริหารดังกล่าว • ทำ�หน้าที่ดูแลกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานคณะกรรมการบริหารและผู้บริหารระดับสูง • ว่าจ้างทีป่ รึกษาหรือบุคคลทีม่ คี วามเป็นอิสระ เพือ่ ให้ความเห็นหรือคำ�แนะนำ�ตามความจำ�เป็น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในด้านการพัฒนาความ เป็นผู้นำ� • คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ�และกำ�หนดค่าตอบแทนรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัท และมีหน้าที่ให้คำ�ชี้แจงตอบคำ�ถามใดๆ เกี่ยวกับค่าตอบแทนในที่ประชุมผู้ถือหุ้น • พิจารณาทบทวนและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรและเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติเปลี่ยนแปลง • รายงานผลการปฏิบัติงานที่สำ�คัญให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบเป็นประจำ� รวมทั้งประเด็นสำ�คัญต่างๆ ที่คณะกรรมการบริษัทควร ได้รับทราบ • มีอำ�นาจเชิญฝ่ายจัดการ ผู้บริหาร หรือบุคคลใดที่เกี่ยวข้องของบริษัทมาให้ความเห็น เข้าร่วมประชุมหรือให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง • ดำ�เนินการอื่นๆ ใดหรือตามอำ�นาจและความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายหน้าที่ให้เป็นคราวๆ ไป ในปี 2554 คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ�และกำ�หนดค่าตอบแทน ได้ประชุมจำ�นวน 7 ครั้ง เพื่อทำ�หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท 8. คณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการประกอบไปด้วยกรรมการ 4 ท่าน โดยกรรมการส่วนใหญ่เป็นกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร ณ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ ประกอบด้วยกรรมการ ดังต่อไปนี้
90 อินทัช
1. 2. 3. 4.
ชื่อ-นามสกุล นายบุน สวอน ฟู นายวิทิต ลีนุตพงษ์ นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายบดินทร์ อัศวาณิชย์
ตำ�แหน่ง ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ
คณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ มีหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำ�คัญ ดังนี้ พิจารณาทบทวนเกณฑ์คณ ุ สมบัตขิ องบุคคลทีจ่ ะมาดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการของบริษทั ซึง่ ได้ก�ำ หนดไว้ในนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ ของบริษัท เป็นประจำ�ทุกปี • พิจารณาทบทวนและให้คำ�เสนอแนะแก่คณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับขนาด โครงสร้าง องค์ประกอบ วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง กระบวนการ ทำ�งานและแนวปฏิบัติของคณะกรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการ • พิจารณาสรรหา ประเมิน คัดเลือก บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเข้าดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการบริษัท • พิจารณาบุคคลที่จะมาดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการ ตามที่เสนอโดยผู้ถือหุ้นของบริษัท • พิจารณาเสนอบุคคลทีจ่ ะมาดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษทั เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาเสนอขออนุมตั แิ ต่งตัง้ ต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ หรือให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทแทนตำ�แหน่งที่ว่างลงหรือเพิ่มตำ�แหน่งกรรมการบริษัทใหม่ • พิจารณาเสนออนุมตั แิ ต่งตัง้ บุคคลทีจ่ ะดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการและประธานคณะอนุกรรมการในคณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการ ชุดต่างๆ ต่อคณะกรรมการบริษัท • พิจารณาเสนอชื่อบุคคลของบริษัท ที่จะไปดำ�รงตำ�แหน่งเป็นกรรมการในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทร่วมค้าของบริษัท • พิจารณาทบทวนเกณฑ์คุณสมบัติของกรรมการอิสระและเสนอขออนุมัติเปลี่ยนแปลงใดๆ ต่อคณะกรรมการบริษัท • รับผิดชอบดูแลการปฐมนิเทศกรรมการใหม่ • พิจารณาทบทวนและให้คำ�เสนอแนะแก่คณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่องแก่กรรมการบริษัท • ว่าจ้างที่ปรึกษาหรือบุคคลที่มีความเป็นอิสระ เพื่อให้ความเห็นหรือคำ�แนะนำ�ตามความจำ�เป็นตามระเบียบข้อบังคับของบริษัท • ดูแลการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำ�ปีของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการแต่ละชุด (รวมทั้งประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของ คณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ) และกรรมการแต่ละคน ตลอดจนทำ�หน้าที่สอบทานผลการประเมินของคณะอนุกรรมการ แต่ละชุดและรายงานผลต่อคณะกรรมการบริษัท • สนับสนุนและให้ค�ำ แนะนำ�ต่อคณะกรรมการตรวจสอบในการพิจารณาทบทวนนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการและเสนอขออนุมตั เิ ปลีย่ นแปลง ใดๆ ต่อคณะกรรมการบริษัท • พิจารณาสอบทานและเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับการขอยกเว้นการปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับกรรมการบริษัท และผู้บริหารระดับสูง • ร่วมกับประธานคณะกรรมการบริษทั และประธานคณะกรรมการบริหารประเมินและกำ�หนดผูส้ บื ทอดตำ�แหน่งประธานคณะกรรมการบริษทั และกรรมการ และรายงานผลของแผนการสืบทอดตำ�แหน่งให้คณะกรรมการบริษัทเป็นประจำ�ทุกปี • พิจารณาทบทวนและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรและเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติเปลี่ยนแปลง • รายงานผลการปฏิบัติงานที่สำ�คัญให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบเป็นประจำ� รวมทั้งประเด็นสำ�คัญต่างๆ ที่คณะกรรมการบริษัทควร ได้รับทราบ • ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายและตามที่กฎหมายกำ�หนด หรือตามความจำ�เป็นและเหมาะสม เพื่อให้มั่นใจ ว่าคณะกรรมการบริษัทได้ทำ�หน้าที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิผล มีการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งมีการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและ จรรยาบรรณอย่างมีประสิทธิผล
•
91 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ในปี 2554 คณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ ได้ประชุมจำ�นวน 2 ครั้ง เพื่อทำ�หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 9. คณะกรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กร คณะกรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กรประกอบด้วยกรรมการหรือผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมจำ�นวน 6 ท่าน ตามที่คณะกรรมการ บริษัทแต่งตั้ง ณ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กรประกอบด้วยกรรมการ ดังต่อไปนี้
1. 2. 3. 4. 5. 6.
ชื่อ-นามสกุล นายบุน สวอน ฟู นายวิทิต ลีนุตพงษ์ นายสมประสงค์ บุญยะชัย Mr. Yong Lum Sung นายวิกรม ศรีประทักษ์ นางศุภจี สุธรรมพันธุ์ *
ตำ�แหน่ง ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
* ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กร มีผลตั้งแต่ 11 สิงหาคม 2554 แทน นายอารักษ์ ชลธาร์นนท์ ที่ลาออกในวันเดียวกัน คณะกรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กร มีหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำ�คัญ ดังนี้ • กำ�หนดทิศทางและกลยุทธ์ของบริษัท และบริษัทในกลุ่มร่วมกับฝ่ายบริหาร • สอบทานทิศทางกลยุทธ์ของบริษัทในกลุ่มแต่ละบริษัทเป็นประจำ�ทุกปี เพื่อใช้จัดทำ�แผนธุรกิจประจำ�ปีสำ�หรับเสนอให้คณะกรรมการบริษัท • สอบทานผลการปฏิบตั งิ านกลางปีของบริษทั ในกลุม่ แต่ละบริษทั และพิจารณาเสนอขออนุมตั แิ ก้ไขเปลีย่ นแปลงทิศทางกลยุทธ์ทีส่ �ำ คัญตาม ความจำ�เป็นต่อคณะกรรมการบริษัท • ศึกษาการเคลื่อนเชิงกลยุทธ์หรือแนวคิดธุรกิจใหม่ตามที่คณะกรรมการบริหารของบริษัทในกลุ่มเสนอ • กำ�หนดโครงสร้างองค์กร รวมทั้งกำ�หนดทรัพยากรต่างๆ ที่จำ�เป็นต้องใช้ในการสนับสนุนทิศทางและกลยุทธ์ของบริษัท และบริษัทในกลุ่ม • ประสานงานกับคณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ�และค่าตอบแทน เพื่อให้มั่นใจว่าขอบเขตการทำ�งานสอดคล้องกับทิศทางกลยุทธ์ของ กลุ่มบริษัท • ดูแลและกำ�หนดนโยบายธุรกิจใหม่ สำ�หรับบริษัท และบริษัทในกลุ่ม • แสวงหาและประเมินโอกาสในการลงทุนใหม่ๆ สำ�หรับธุรกิจและก่อให้เกิดการผนึกกำ�ลังภายในกลุ่มบริษัท • ว่าจ้างที่ปรึกษาหรือบุคคลที่มีความเป็นอิสระ เพื่อให้ความเห็นหรือคำ�แนะนำ�ตามความจำ�เป็น • เข้าร่วมงานการประชุม งานแสดงนิทรรศการ หรือเข้าเยี่ยมชมกิจการในต่างประเทศ ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อเรียนรู้ และติดตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ผลิตภัณฑ ์หรือบริการใหม่เป็นระยะๆ • พิจารณาทบทวนและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรและเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติเปลี่ยนแปลง • รายงานผลการปฏิบัติงานที่สำ�คัญให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบเป็นประจำ� รวมทั้งประเด็นสำ�คัญต่างๆ ที่คณะกรรมการบริษัทควร ได้รับทราบ • มีอำ�นาจเชิญฝ่ายจัดการ ผู้บริหาร หรือบุคคลใดที่เกี่ยวข้องของบริษัท มาให้ความเห็น เข้าร่วมประชุม หรือให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง • ดำ�เนินการอื่นใด หรือตามอำ�นาจและความรับผิดชอบตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายหน้าที่ให้เป็นคราวๆ ไป
92 อินทัช
ในปี 2554 คณะกรรมการทบทวนกลยุ ท ธ์ แ ละโครงสร้ า งองค์ ก ร ได้ ป ระชุ ม จำ � นวน 7 ครั้ ง เพื่ อ ทำ � หน้ า ที่ ต ามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท 10. คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการที่มีคุณสมบัติและประสบการณ์ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ กำ�หนด และได้รับอนุมัติการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วยกรรมการ ดังต่อไปนี้
1. 2. 3. 4. 5.
ชื่อ-นามสกุล นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายวิกรม ศรีประทักษ์ นายวิเชียร เมฆตระการ* นางสุวิมล แก้วคูณ นางศุภจี สุธรรมพันธุ์ **
ตำ�แหน่ง ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
* ได้รับการแต่งตั้งเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริหารมีผลตั้งแต่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 ** ได้รับการแต่งตั้งเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริหารมีผลตั้งแต่ 11 สิงหาคม 2554 แทนนายอารักษ์ ชลธาร์นนท์ ที่ลาออกในวันเดียวกัน คณะกรรมการบริหาร มีหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำ�คัญ ดังนี้ • ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับทิศทางกลยุทธ์ โครงสร้างการบริหารงาน แผนธุรกิจและงบประมาณประจำ�ปีของบริษัทต่อคณะกรรมการทบทวน กลยุทธ์และโครงสร้างองค์กรเพื่อพิจารณา • บริหารการดำ�เนินธุรกิจใดๆ ของบริษัท ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ได้วางไว้ • กำ�กับและติดตามผลการดำ�เนินงานและฐานะการเงินของบริษัท และบริษัทในกลุ่ม และรายงานผลการดำ�เนินงานและฐานะการเงินให้แก่ กรรมการบริษัทรับทราบเป็นประจำ�ทุกเดือน • แสวงหาและประเมินโอกาสในการลงทุนในธุรกิจใหม่ • พิจารณาและให้ความเห็นแก่คณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษัท • พิจารณาสอบทานและอนุมัติรายการเกี่ยวกับการลงทุนและจำ�หน่ายทรัพย์สิน การบริหารทรัพยากรบุคคล การเงินและการบริหารเงิน การบริหารงานทั่วไป และรายการอื่นใด ที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัท ภายในขอบเขตอำ�นาจที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท • กำ�กับดูแลและบริหารเงินลงทุนของบริษัท รวมถึงพิจารณาให้แนวทางในเรื่องที่สำ�คัญของบริษัทในกลุ่มก่อนที่จะมีการพิจารณาเรื่อง ดังกล่าวในคณะกรรมการบริหารของแต่ละธุรกิจ • พิจารณาและให้ความเห็นต่อเรื่องที่ต้องผ่านการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ยกเว้นในกิจกรรมใดๆ ซึ่งคณะกรรมการบริษัทได้ มอบหมายให้คณะอนุกรรมการชุดอื่นเป็นผู้ดำ�เนินการไว้แล้ว • พิจารณาและสอบทานการบริหารความเสี่ยงและระบบการควบคุมภายในของบริษัท • คณะกรรมการบริหารอาจมอบอำ�นาจช่วงให้ผู้บริหารหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอำ�นาจในการดำ�เนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลาย เรื่องตามที่คณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควรได้ การอนุมัติรายการของคณะกรรมการบริหารและหรือการมอบอำ�นาจช่วงต้อง
93 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ไม่ เ ป็ น การอนุ มั ติ ร ายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ หรื อ รายการที่ ค ณะกรรมการบริ ห าร มีส่วนได้เสียตามที่กำ�หนดในข้อบังคับของบริษัท และตามที่กำ�หนดโดยคณะกรรมการบริษัทและหน่วยงานกำ�กับดูแล ในปี 2554 คณะกรรมการบริหารได้ประชุมจำ�นวน 16 ครั้ง เพื่อทำ�หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 11. เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทได้มีมติอนุมัติจัดตั้งสำ�นักเลขานุการบริษัทขึ้น เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2551 และปัจจุบันมี นายวิชัย กิตติวิทยากุล ดำ�รง ตำ�แหน่งเลขานุการบริษัท ทั้งนี้ เลขานุการบริษัทจะรายงานตรงต่อทั้งคณะกรรมการบริษัท คณะอนุกรรมการชุดต่างๆ และฝ่ายบริหาร โดย มีหน้าที่และความรับผิดชอบในเรื่องดังต่อไปนี้
• • • • • • • •
ดูแลและจัดการเรื่องการประชุมคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ จัดประชุมผู้ถือหุ้นและจัดทำ�รายงานการประชุม จัดเก็บเอกสารและรายงานที่เกี่ยวข้อง ดูแลให้คณะกรรมการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท ดูแลและให้คำ�ปรึกษาเรื่องการกำ�กับดูแลกิจการของคณะกรรมการบริษัท ดูแลเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการ ฝ่ายบริหาร และผู้ถือหุ้น ติดตามให้มีการดำ�เนินการตามมติที่ประชุมของคณะกรรมการบริษัท มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ดำ�เนินการอื่นๆ ตามที่พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่4) พ.ศ. 2551 กฎหมาย และข้อบังคับอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งประกาศและข้อกำ�หนดของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน
12. ผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษัท มีผู้บริหาร 4 รายแรก ตามคำ�นิยามของคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน จำ�นวน 5 คน ดังนี้ นายสมประสงค์ บุญยะชัย นางศุภจี สุธรรมพันธุ์ * นายเอนก พนาอภิชน นายวิชัย กิตติวิทยากุล นายคิมห์ สิริทวีชัย
ประธานคณะกรรมการบริหาร และรักษาการกรรมการผู้อำ�นวยการ ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อโฆษณา และธุรกิจใหม่ รองกรรมการผู้อำ�นวยการ สายงานการเงินและบัญชี ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโสส่วนงานเลขานุการบริษัทและตรวจสอบภายใน ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโสส่วนงานบริหารการลงทุน
* ได้รับการแต่งตั้งเข้าดำ�รงตำ�แหน่งแทนนายอารักษ์ ชลธาร์นนท์ มีผลตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2554 13. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารของบริษัท ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ในการประชุมผู้ถือหุ้นสามัญประจำ�ปี 2554 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2554 ผู้ถือหุ้นได้มีมติอนุมัติกำ�หนดค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทและ คณะอนุกรรมการชุดต่างๆ ในวงเงินไม่เกิน 18 ล้านบาท โดยค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ ประกอบด้วย ค่าตอบแทนรายเดือน เบี้ยประชุม ค่าตอบแทนรายปี (โบนัส) ดังนี้
94 อินทัช
•
ประธานคณะกรรมการบริษัท จะได้รับค่าตอบแทนรายเดือน เดือนละ 300,000 บาท และโบนัสประจำ�ปีเท่านั้น และจะไม่ได้รับเบี้ยประชุมใน การประชุมคณะกรรมการบริษทั อีก ในกรณีทปี่ ระธานคณะกรรมการไปดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการหรือกรรมการในคณะอนุกรรมการ อื่นจะไม่ได้รับค่าตอบแทนรายเดือนและเบี้ยประชุมใดๆ • กรรมการบริษัทจะได้รับค่าตอบแทนรายเดือน เดือนละ 75,000 บาท และโบนัสประจำ�ปี รวมทั้งได้รับค่าเบี้ยประชุมในการประชุม คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการอื่นๆ ครั้งละ 25,000 บาท • ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ จะได้รับค่าตอบแทนรายเดือนเพิ่มอีก เดือนละ 25,000 บาท ประธานคณะอนุกรรมการอื่นๆ จะได้รับ ค่าตอบแทนรายเดือนเพิ่มอีก เดือนละ 10,000 บาท กรรมการบริษัทที่เป็นผู้บริหารของบริษัท จะไม่ได้รับค่าตอบแทนในฐานะกรรมการ ค่าตอบแทนปี 2554 (บาท) รายเดือน เบี้ยประชุม โบนัส คณะกรรมการบริษัท ประธาน กรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ ประธาน กรรมการ คณะอนุกรรมการอื่นๆ ประธาน กรรมการ
300,000 75,000
25,000
ü ü
25,000 -
25,000 25,000
ü ü
10,000 -
25,000 25,000
ü ü
บริษทั จ่ายค่าตอบแทนกรรมการและอนุกรรมการปี 2554 จำ�นวนรวม 16,674,795 บาท (รวมเงินโบนัสค้างจ่าย ซึง่ จ่ายจริงในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 จำ�นวน 5,375,000 บาท) เพิ่มขึ้น 1,239,796 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 8.03 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2553 ที่มีจำ�นวน 15,434,999 บาท โดยมีรายละเอียดการจ่ายเป็นรายบุคคล ดังนี้ หน่วย : บาท รายชื่อ ตำ�แหน่ง ค่าตอบแทนประจำ�ปี 2554 1. ดร.วิรัช อภิเมธีธำ�รง ประธานคณะกรรมการบริษัท 4,600,000 2. นายสมชาย ศุภธาดา กรรมการบริษัท 2,650,000 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 3,500,000 3. นายวิทิต ลีนุตพงษ์ กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ กรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ�และกำ�หนดค่าตอบแทน กรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กร
95 รายงาน ประจำ�ปี 2554
รายชื่อ 4. นายชลาลักษณ์ บุนนาค 5. นายบุน สวอน ฟู
6. นายบดินทร์ อัศวาณิชย์ 7. นายอารักษ์ ชลธาร์นนท์** 8. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ *** อนุกรรมการ 9. Mr. Yong Lum Sung รวม
ตำ�แหน่ง กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ ประธานคณะกรรมการพัฒนาความเป็นผูน้ �ำ และกำ�หนดค่าตอบแทน ประธานคณะกรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กร กรรมการบริษัท กรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กร กรรมการบริษัท
ค่าตอบแทนประจำ�ปี 2554 2,350,000
กรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กร
3,085,000
0* 350,000 14,795 125,000 16,674,795
* แจ้งความประสงค์ไม่รับค่าตอบแทนในฐานะกรรมการบริษัท มีผลตั้งแต่ 1 มกราคม 2554 ** เป็นกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2554 และลาออกจากกรรมการบริษัท มีผลตั้งแต่ 26 ธันวาคม 2554 *** ดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทแทนนายอารักษ์ ชลธาร์นนท์ มีผลตั้งแต่ 26 ธันวาคม 2554 ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินของผู้บริหาร ตามนิยามของสำ�นักงาน ก.ล.ต. รวมจำ�นวน 6 ราย เป็นเงิน 69.21 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยเงินเดือน โบนัสและกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพและผลตอบแทนอื่นๆ ของผู้บริหารของบริษัท ค่าตอบแทนอื่น บริษัท ได้ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท แก่กรรมการ และพนักงาน ตั้งแต่ปี 2545 – 2549 ต่อเนื่องกัน 5 ปี โดยใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ออกจะมีอายุไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกและเสนอขายในแต่ละครั้งของการเสนอขาย โดยมีรายละเอียด ลักษณะ รวมถึงสิทธิและเงือ่ นไขของใบสำ�คัญแสดงสิทธิทคี่ ล้ายคลึงกันทัง้ 5 ครัง้ ทัง้ นีโ้ ครงการเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิทจี่ ะซือ้ หุน้ สามัญแก่กรรมการ และพนักงานของบริษัทครบกำ�หนดอายุการใช้สิทธิทั้ง 5 โครงการเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2554 14. ค่าตอบแทนรวมของกรรมการและผู้บริหารของบริษัทย่อยที่เป็นธุรกิจหลัก 14.1 บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) (เอไอเอส)
96 อินทัช
•
ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท เอไอเอสจ่ายค่าตอบแทนกรรมการปี 2554 จำ�นวนรวม 13,257,103 บาท (รวมเงินโบนัสค้างจ่าย ซึ่งจ่ายจริงในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 จำ�นวน 5,254,247 บาท) เพิ่มขึ้น 32,103 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 0.24 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2553 ที่มีจำ�นวน 13,225,000 บาท โดยมี รายละเอียดการจ่ายเป็นรายบุคคล ดังนี้ หน่วย : บาท รายชื่อ ตำ�แหน่ง ค่าตอบแทนประจำ�ปี 2554 2,850,000 1. ดร.ไพบูลย์ ลิมปพยอม ประธานคณะกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ ประธานคณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน 3,100,000 2. นายอวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ กรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน 3. นางทัศนีย์ มโนรถ กรรมการบริษัท 2,150,000 กรรมการตรวจสอบ 2,225,000 4. นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ 5. นายดุสิต นนทนาคร* กรรมการบริษัท 841,438 6. Mr. Hubert Ng Ching-Wah กรรมการบริษัท 1,925,000 กรรมการบริหาร 7. ดร.อานนท์ ทับเที่ยง** กรรมการบริษัท 165,665 รวม 13,257,103 * ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัทเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2554 และสิ้นสภาพกรรมการด้วยเหตุถึงแก่กรรมเมื่อ 6 กันยายน 2554 ** ลาออกจากตำ�แหน่งกรรมการบริษัท มีผล 11 กุมภาพันธ์ 2554
•
ค่าตอบแทนอื่น เอไอเอสได้ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท แก่กรรมการ และพนักงานของเอไอเอส ตั้งแต่ปี 2545 – 2549 ต่อ เนื่องกัน 5 ปี โดยใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ออกจะมีอายุไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกและเสนอขายในแต่ละครั้งของการเสนอขาย โดยมีรายละเอียด ลักษณะ รวมถึงสิทธิและเงื่อนไขของใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่คล้ายคลึงกันทั้ง 5 ครั้ง ทั้งนี้โครงการเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ แก่กรรมการ และพนักงานของเอไอเอสครบกำ�หนดอายุการใช้สิทธิทั้ง 5 โครงการเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2554
• ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินของผู้บริหาร ตามนิยามของสำ�นักงาน ก.ล.ต. รวม 7 ราย เป็นจำ�นวนเงิน 101.59 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยเงิน เดือน โบนัสและกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพและผลตอบแทนอื่นๆ ของผู้บริหารของเอไอเอส
97 รายงาน ประจำ�ปี 2554
14.2 บริษัท ไทยคม จำ�กัด (มหาชน) (ไทยคม)
• ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ไทยคมจ่ายค่าตอบแทนกรรมการปี 2554 จำ�นวนรวม 9,000,000 บาท (รวมเงินโบนัสค้างจ่าย ซึ่งจ่ายจริงในเดือนกุมภาพันธ์ 2554 จำ�นวน 2,125,000 บาท) เพิ่มขึ้น 925,000 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 11.45 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2553 ที่มีจำ�นวน 8,075,000 บาท โดยมีราย ละเอียดการจ่ายเป็นรายบุคคล ดังนี้ รายชื่อ ตำ�แหน่ง 1. นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ประธานคณะกรรมการ ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา ประธานคณะกรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน 2. ศาสตราจารย์หิรัญ รดีศรี กรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 3. นางชรินทร วงศ์ภูธร กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา กรรมการกำ�หนดค่าตอบแทน 4. นายสำ�เรียง เมฆเกรียงไกร กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ 5. Mr. Yong Lum Sung กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร รวม
หน่วย : บาท ค่าตอบแทนประจำ�ปี 2554 2,109,896 1,906,250 1,767,708
1,517,708 1,698,438 9,000,000
•
ค่าตอบแทนอื่น ไทยคมได้ออกและเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทแก่กรรมการ และพนักงานของไทยคมตั้งแต่ปี 2545 – 2549 ต่อ เนื่องกัน 5 ปี โดยใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่ออกจะมีอายุไม่เกิน 5 ปี นับจากวันออกและเสนอขายในแต่ละครั้งของการเสนอขาย โดยมีรายละเอียด ลักษณะ รวมถึงสิทธิและเงื่อนไขของใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่คล้ายคลึงกันทั้ง 5 ครั้ง ทั้งนี้โครงการเสนอขายใบสำ�คัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ แก่กรรมการ และพนักงานของไทยคมครบกำ�หนดอายุการใช้สิทธิทั้ง 5 โครงการเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2554
•
ค่าตอบแทนรวมของผู้บริหาร ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินของผู้บริหาร ตามนิยามของสำ�นักงาน ก.ล.ต. รวม 7 ราย จำ�นวน 51.57 ล้านบาท ซึ่งประกอบด้วยเงินเดือน โบนัส และกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพและผลตอบแทนอื่น ๆ ของผู้บริหารของไทยคม
98 อินทัช
14.3 บริษัท ไอทีวี จำ�กัด (มหาชน) (ไอทีวี)
•
ค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ไอทีวีจ่ายค่าตอบแทนกรรมการปี 2554 จำ�นวนรวม 4,8000,000 บาท เท่ากับปี 2553 โดยมีรายละเอียดการจ่ายเป็นรายบุคคล ดังนี้ รายชื่อ 1. นายสมคิด หวังเชิดชูวงศ์ 2. นายวิชกรพุฒิ รัตนวิเชียร 3. นายณิทธิมน หัสดินทร ณ อยุธยา 4. นายสุเมธี อินทร์หนู 5. นายสมบูรณ์ วงษ์วานิช 6. นางรัตนาพร นามมนตรี 7. นายวุฒิพร เดี่ยวพานิช รวม
•
ตำ�แหน่ง ประธานคณะกรรมการ กรรมการ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ เลขานุการคณะกรรมการบริษัท กรรมการ กรรมการตรวจสอบ, กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
หน่วย : บาท ค่าตอบแทนประจำ�ปี 2554 960,000 600,000 840,000 600,000 600,000 600,000 600,000 4,800,000
ค่าตอบแทนของผู้บริหารและผู้รับจ้างบริหารจัดการ เนือ่ งด้วยไอทีวไี ม่ได้ประกอบกิจการใดๆ จึงไม่มกี ารจ่ายค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร อย่างไรก็ตาม ไอทีวมี กี ารจ่ายค่าตอบแทนให้กบั ทีป่ รึกษากฎหมาย ทนายความ บริหารจัดการงานบัญชี การเงิน และที่ปรึกษาทางการเงิน ในปี 2554 รวมมูลค่า 13.71 ล้านบาท
99 รายงาน ประจำ�ปี 2554
การกำ�กับดูแลกิจการ (Corporate Governance) นโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทเชื่อมั่นว่าการกำ�กับดูแลธุรกิจตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) อันประกอบด้วย กรรมการและผู้บริหารที่มีภาวะผู้นำ� วิสัยทัศน์และความรับผิดชอบ มีโครงสร้างการบริหารงานที่มีกลไกการควบคุมและการถ่วงดุลอำ�นาจ เพื่อให้การบริหารงานเป็นไปอย่างโปร่งใส เป็นธรรม สามารถตรวจสอบได้คำ�นึงถึงสิทธิความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นและความรับผิดชอบ ต่อผู้มีส่วนได้เสีย อันเป็นรากฐานที่สำ�คัญต่อการเจริญเติบโตที่ยั่งยืน นั้น จะช่วยสามารถเพิ่มมูลค่าและผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท ได้ในระยะยาว ตลอดจนเป็นที่ยอมรับของสังคมไทยและสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัตินโยบายการกำ�กับดูแลกิจการเป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีหลักการและแนวปฏิบัติที่สอดคล้องกับหลักการการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งได้ถือปฏิบัติมาตั้งแต่วันที่ 13 พฤศจิกายน 2545 ซึ่งได้ปรับปรุงล่าสุดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2554 ทั้งนี้ได้มีการสื่อสารให้คณะกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท ได้รับทราบและถือปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง นโยบายดังกล่าวแบ่งออกเป็น 5 หมวดครอบคลุมหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้
สิทธิและความเท าเทียมกัน ของผู ถือหุ นและบทบาท ต อผู มีส วนได เสีย
การเป ดเผยสารสนเทศและความโปร งใส
คณะกรรมการบร�ษัท
การบร�หารความเสี่ยงและ การควบคุมภายใน
จรรยาบรรณ
(ผู้ที่สนใจสามารถศึกษาเพิ่มเติมและดาวน์โหลดนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ ได้ที่ www.intouchcompany.com) การปฏิบัติตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ ในปี 2554 คณะกรรมการบริษัทได้นำ�แนวปฏิบัติต่างๆ ของการกำ�กับดูแลกิจการมาใช้ในการบริหารจัดการตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้ รับมอบหมาย รวมทั้ง ได้มีส่งเสริมการกำ�กับดูแลกิจการที่สำ�คัญในหลายๆ ด้านเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทและผู้ถือหุ้น ทั้งนี้ มีรายละเอียด ของการปฏิบัติแบ่งเป็น 5 หมวด ดังนี้
100 อินทัช
หมวดที่ 1. คณะกรรมการบริษัท 1.1) องค์ประกอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในสาขาต่างๆ ของธุรกิจ ณ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการ จำ�นวน 8 คน ดังนี้
• • •
กรรมการอิสระ จำ�นวน 4 คน (ซึ่งคิดเป็นสัดส่วน 4 ใน 8 หรือร้อยละ 50 ของจำ�นวนกรรมการทั้งคณะ) กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 3 คน กรรมการที่เป็นผู้บริหาร จำ�นวน 1 คน
ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัท (โดยคำ�แนะนำ�ของคณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ) จะพิจารณาทบทวนจำ�นวน องค์ประกอบ และความ เชี่ยวชาญของคณะกรรมการบริษัทให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับทิศทางและการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทเป็นประจำ�ทุกปี เพื่อให้มั่นใจว่า สามารถทำ�หน้าที่พิจารณา ตัดสินใจใดๆ ได้อย่างรอบคอบ คำ�นึงถึงผลประโยชน์ของบริษัทอย่างสูงสุด คณะกรรมการบริษัทเชื่อมั่นว่า ด้วยองค์ประกอบ ประสบการณ์และขนาดของคณะกรรมการบริษัทดังกล่าว มีความเหมาะสมและคล่องตัว สามารถดูแลติดตามและบริหารงานต่างๆ ของบริษัท ในอนาคตได้เป็นอย่างดี 1.2) การแยกตำ�แหน่งประธานคณะกรรมการบริษัทและประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัทถือเป็นนโยบายสำ�คัญในการแบ่งแยกตำ�แหน่งประธานคณะกรรมการบริษัทและประธานคณะกรรมการบริหารไม่ให้เป็นบุคคลเดียวกัน ประธานคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้นำ�และมีหน้าที่รับผิดชอบในการกำ�กับดูแลการปฏิบัติงานใดๆ ของคณะกรรมการบริษัท ประธาน คณะกรรมการบริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการบริษัทตามแผนธุรกิจ กลยุทธ์และนโยบายของบริษัท ทั้งนี้เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งให้ ดร.วิรัช อภิเมธีธำ�รง ประธานคณะกรรมการบริษัทเป็นกรรมการผู้มีอำ�นาจลงนาม ซึ่งมีผล ให้ ดร.วิรัช ขาดคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระตั้งแต่นั้นมา 1.3) วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง นโยบายของบริษัท ปัจจุบันได้กำ�หนดให้กรรมการแต่ละท่านมีวาระการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการแต่ละคนตามข้อบังคับของบริษัท โดยไม่ ได้มีการจำ�กัดคุณสมบัติในเรื่องอายุของกรรมการและไม่ได้จำ�กัดจำ�นวนครั้งสูงสุดของกรรมการที่ถูกแต่งตั้งกลับเข้ามาเป็นกรรมการใหม่ไว้ สำ�หรับการดำ�รงตำ�แหน่งของกรรมการอิสระนั้น คณะกรรมการบริษัทกำ�หนดเป็นนโยบายว่ากรรมการอิสระอาจขาดความเป็นอิสระเมื่อ ได้ปฏิบัติงานเป็นระยะเวลา 9 ปี หรือ 3 วาระติดต่อกัน ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาทบทวนขยายระยะเวลาได้ครั้งละ 1 ปี โดยในปี 2554 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้มีมติอนุมัติให้ขยายระยะเวลาการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการอิสระของนายวิทิต ลีนุตพงษ์ ออกไปอีก 1 ปี 1.4) อำ�นาจดำ�เนินการของบริษัท คณะกรรมการบริษทั ได้แยกอำ�นาจของคณะกรรมบริษทั และฝ่ายบริหารอย่างชัดเจน รวมทัง้ ได้ก�ำ หนดตารางการใช้อ�ำ นาจดำ�เนินการภายในของ บริษัท พร้อมวงเงิน เพื่อกระจายอำ�นาจให้ฝ่ายบริหารระดับต่างๆ สามารถปฏิบัติงาน และตัดสินใจในงานภายในบริษัทได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความคล่องตัว และมีระบบการควบคุมที่เหมาะสม ซึ่งได้แยกอำ�นาจดำ�เนินการภายในไว้ 4 ประเภท ดังนี้
101 รายงาน ประจำ�ปี 2554
1. การลงทุนและการจัดการ 2. การบริหารทรัพยากรบุคคล 3. การเงินและการบริหารเงิน 4. การบริหารงานธุรการทั่วไปและค่าใช้จ่าย 1.5) คณะอนุกรรมการ ณ 31 ธันวาคม 2554 คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการจำ�นวน 5 คณะ เพื่อทำ�หน้าที่ช่วยศึกษาในรายละเอียดและกลั่นกรอง งานและเพื่อแบ่งเบาภาระของคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1. คณะกรรมการตรวจสอบ 2. คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ�และกำ�หนดค่าตอบแทน 3. คณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ 4. คณะกรรมการทบทวนกลยุทธ์และโครงสร้างองค์กร 5. คณะกรรมการบริหาร ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการทั้ง 5 คณะมีนโยบายและกรอบการทำ�งานไว้อย่างชัดเจนเกี่ยวกับหน้าที่และความรับผิดชอบ การดำ�เนินการประชุม และการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท ในปี 2554 สมาชิกส่วนใหญ่ของคณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้น�ำ และกำ�หนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแลกิจการ รวมถึงประธานคณะกรรมการของคณะอนุกรรมการอีก 2 ชุด ไม่ได้เป็นกรรมการอิสระ ซึ่งไม่สอดคล้องกับหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เนื่องจากคณะกรรมการบริษัทเห็นว่าองค์ประกอบของคณะอนุกรรมการทั้งสองชุดดังกล่าว มีความ เหมาะสมกับธุรกิจและโครงสร้างการควบคุมของบริษัทในปัจจุบัน 1.6) การดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการในบริษัทอื่น ตามแนวทางการกำ�กับดูแลกิจการทีด่ ขี องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้กำ�หนดให้กรรมการรายใดรายหนึง่ ควรดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ บริษัทจดทะเบียนไม่เกิน 5 บริษัท อย่างไรก็ตาม นโยบายบริษทั ปัจจุบนั ไม่ได้จ�ำ กัดจำ�นวนบริษทั ทีก่ รรมการแต่ละคนดำ�รงตำ�แหน่งไว้ เนือ่ งจากคณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแล กิจการจะพิจารณาเสนอแต่งตั้งบุคคลเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการของบริษัท โดยพิจารณาถึงความรู้ ความสามารถ และมีเวลาอย่างเพียงพอ ที่จะปฏิบัติหน้าที่ให้แก่บริษัท 1.7) แผนการสืบทอดตำ�แหน่งผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการบริษัทได้เล็งเห็นถึงความจำ�เป็นและความสำ�คัญของการสืบทอดตำ�แหน่งของผู้บริหารระดับสูงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในตำ�แหน่ง ประธานคณะกรรมการบริหารของบริษัท โดยมอบหมายให้คณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้นำ�และกำ�หนดค่าตอบแทนร่วมกับประธาน คณะกรรมการบริหาร ดำ�เนินการจัดทำ�แผนการสืบทอดตำ�แหน่งประธานคณะกรรมการบริหารและบุคคลซึ่งรายงานขึ้นตรงต่อประธาน คณะกรรมการบริหาร
102 อินทัช
ในตำ�แหน่งผู้บริหารระดับสูง บริษัทได้จัดทำ�แผนสืบทอดตำ�แหน่งรองรับผู้บริหารระดับตั้งแต่ผู้อำ�นวยการฝ่ายขึ้นไปโดยได้ระบุตัวบุคคลที่จะ ทำ�หน้าที่แทน ในกรณีที่ยังไม่มีตัวบุคคลที่สามารถรองรับได้ทันทีได้จัดให้มีระบบพัฒนาบุคลากรในลำ�ดับรองลงมาเพื่อเตรียมความพร้อม รวมทั้งสรรหาจากภายนอก ทั้งนี้ เพื่อรักษาความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุน องค์กร ตลอดจนพนักงาน ว่าในการดำ�เนินงานของบริษัท จะได้รับ การสานต่ออย่างทันท่วงที 1.8) การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทที่มีประสิทธิผล (Board Effectiveness) ถือเป็นปัจจัยสำ�คัญต่อความสำ�เร็จของบริษัท ดังนั้นคณะกรรมการบริษัทจึง ได้กำ�หนดเป็นนโยบายให้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นประจำ�ทุกปี ใน 2 รูปแบบ คือ
• •
การประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะกรรมการบริษัทโดยรวม การประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของกรรมการรายบุคคล
โดยมีวตั ถุประสงค์ส�ำ คัญเพือ่ ช่วยให้คณะกรรมการบริษทั และกรรมการแต่ละท่านได้สอบทานผลการปฏิบตั งิ านของตนเองในปีทผี่ า่ นมา ตลอดจน ได้ช่วยปรับปรุงในการทำ�หน้าที่ของทั้งคณะกรรมการบริษัทและกรรมการมีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ ในปี 2554 คณะกรรมการบริษัท ได้มีการประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งสองรูปแบบ และได้นำ�ผลประเมินมากลั่นกรองอย่างรอบคอบ โดยคณะกรรมการสรรหาและกำ�กับดูแล กิจการได้พิจารณาผลประเมิน และยกร่างแผนพัฒนา และมอบหมายให้เลขานุการบริษัทนำ�ไปหารือกับประธานคณะกรรมการบริษัท ก่อน นำ�เสนอต่อที่ประชุมกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหารกลั่นกรองอีกครั้งหนึ่ง และเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา โดยที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติแผนงานในการพัฒนาและมอบหมายให้เลขานุการบริษัทร่วมกับฝ่ายบริหารไปดำ�เนินการ ซึ่งส่วนหนึ่งของแผน พัฒนาได้วางให้เชื่อมโยงกับดัชนีชี้วัดความสำ�เร็จของบริษัท (KPI) 1.9) การพัฒนาความรู้ บริษทั ได้จดั ทำ�คูม่ อื ให้แก่กรรมการบริษทั โดยได้สรุปกฎหมาย หลักเกณฑ์ ข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้องกับกรรมการบริษทั เพือ่ ให้กรรมการได้รบั ทราบ บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติในตำ �แหน่งหน้าที่กรรมการทั้งหมด สำ�หรับกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งใหม่ บริษัท ได้จัดให้มีการปฐมนิเทศ และมอบหมายให้บุคคลไปรายงานข้อมูลพื้นฐาน แนวปฏิบัติต่างๆ ของบริษัท รวมทั้งความรู้ในด้านธุรกิจของบริษัทในกลุ่ม บริษัท ได้สนับสนุนให้กรรมการบริษัทได้เข้าร่วมสัมมนาและหลักสูตรอบรมต่างๆ เพื่อประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 1.10) การประชุมคณะกรรมการ กำ�หนดและวาระการประชุม คณะกรรมการบริษัทกำ�หนดให้มีประชุมวาระปกติอย่างน้อย 7 ครั้งต่อปี และได้กำ�หนดวันเวลาประชุมไว้ล่วงหน้าตลอดทั้งปีเพื่อให้กรรมการ จัดเวลาเข้าร่วมประชุมได้ทุกครั้งเพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริษัท ทั้งนี้ อาจมีการประชุมวาระพิเศษเพิ่มตามความจำ�เป็น ในการจัดประชุมคณะกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการบริษัทโดยการหารือร่วมกับประธานคณะกรรมการบริหารจะเป็นผู้ดูแลให้ความ เห็นชอบวาระการประชุม เลขานุการคณะกรรมการบริษัททำ�หน้าที่จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารประกอบ การประชุมไปให้กรรมการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน เพื่อให้กรรมการได้มีเวลาศึกษามาก่อนล่วงหน้า
103 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ในการประชุมแต่ละครั้งจะใช้เวลาประมาณ 2-3 ชั่วโมง ประธานคณะกรรมการบริษัทจะทำ�หน้าที่ดูแลและจัดสรรเวลาแต่ละวาระให้อย่าง เพียงพอสำ�หรับกรรมการที่จะอภิปรายและการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระในประเด็นที่สำ�คัญ โดยคำ�นึงถึงผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างเป็นธรรม รวมทั้งให้ฝ่ายบริหารที่เกี่ยวข้องนำ�เสนอข้อมูลประกอบการอภิปรายปัญหาสำ�คัญ เลขานุการคณะกรรมการบริษทั เข้าร่วมในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ ทำ�หน้าทีใ่ ห้ค�ำ แนะนำ�ด้านกฎหมาย ขัน้ ตอน กฎเกณฑ์ตา่ งๆ ทีค่ ณะกรรมการต้องปฏิบตั ิ ดูแลประสานงานให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมติของคณะกรรมการ รวมทัง้ ทำ�หน้าทีจ่ ดบันทึกทำ�รายงานการประชุม จัดเก็บ รายงานการประชุมของคณะกรรมการบริษัทที่ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการบริษัทและเอกสารประกอบการประชุมเพื่อพร้อมสำ�หรับ การตรวจสอบจากคณะกรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้น และผู้ที่เกี่ยวข้อง รายละเอียดการเข้าประชุมของกรรมการและอนุกรรมการชุดย่อยต่างๆ แต่ละท่านในปี 2554 มีดังนี้
ชื่อ-นามสกุล กรรมการปัจจุบัน ดร.วิรัช อภิเมธีธำ�รง นายสมชาย ศุภธาดา นายวิทิต ลีนุตพงษ์ นายชลาลักษณ์ บุนนาค นาย บุน สวอน ฟู นายบดินทร์ อัศวาณิชย์ นายสมประสงค์ บุญยะชัย นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ กรรมการที่ลาออกในปี 2554 นายอารักษ์ ชลธาร์นนท์ อนุกรรมการ Mr. Yong Lum Sung นายวิกรม ศรีประทักษ์ นางสุวิมล แก้วคูณ นางศุภจี สุธรรมพันธุ์
(จำ�นวนครั้งการเข้าประชุม/จำ�นวนครั้งประชุมทั้งหมด) คณะกรรมการ พัฒนาความ ทบทวน การประชุม สรรหาและ เป็นผู้นำ�และ กลยุทธ์และ การประชุม วิสามัญ กำ�กับดูแล กำ�หนด โครงสร้าง สามัญผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นครั้งที่ คณะกรรมการ ตรวจสอบ กิจการ ค่าตอบแทน องค์กร บริหาร ประจำ�ปี 2554 1/2554 บริษัท
เข้า เข้า ไม่เข้า เข้า เข้า เข้า เข้า -
เข้า เข้า เข้า ไม่เข้า เข้า เข้า เข้า -
11/11 11/11 10/11 10/11 11/11 7/11 11/11 -
เข้า
เข้า
10/11
7/7 7/7 7/7
อื่น ๆ
2/2
7/7
7/7
2/2 2/2 2/2
7/7
7/7
12/12 5/5 6/6
7/7
7/7
16/16 13/13
4/4
11/11
5/7 5/7 3/3
16/16 15/16 6/6
104 อินทัช
การประชุมของกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร บริษัท ได้กำ�หนดให้เฉพาะกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร ได้ประชุมระหว่างกันเองเป็นประจำ�อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้กรรมการที่ไม่เป็น ผู้บริหารได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพิจารณาประเด็นต่างๆ ทั้งที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัท และเรื่องที่อยู่ในความสนใจ โดยในปี 2554 ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2554 1.11) การเข้าถึงสารสนเทศ กรรมการของบริษัท มีอิสระในการเข้าถึงและติดต่อสื่อสารกับฝ่ายบริหาร และเลขานุการบริษัทได้โดยตรงหากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ผลการดำ�เนินงานของบริษัท และข้อมูลอื่นๆ นอกเหนือจากที่ได้รับจากการประชุมตามวาระปกติเป็นประจำ�ทุกไตรมาส นอกจากนี้บริษัท ยังได้จัดทำ�รายงานการวิเคราะห์หลักทรัพย์ของบริษัท และบริษัทในกลุ่มและบริษัทคู่แข่งที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันให้กับ กรรมการบริษัทเพื่อที่จะได้รับทราบถึงการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำ�คัญอย่างทันเวลาเป็นประจำ�ทุกเดือน 1.12) ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร บริษัท ได้กำ�หนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหารไว้อย่างชัดเจน และมีคณะกรรมการพัฒนาความเป็นผู้น�ำ และกำ�หนดค่าตอบแทน เป็นผู้พิจารณากลั่นกรอง และเสนอค่าตอบแทนของกรรมการในแต่ละปีให้คณะกรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ ค่าตอบแทนของ กรรมการและผู้บริหารของบริษัท จะสอดคล้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบ และเมื่อเปรียบเทียบค่าตอบแทนกับอุตสาหกรรมเดียวกันแล้ว ทั้งนี้ ค่าตอบแทนดังกล่าวอยู่ในระดับที่เหมาะสม และเพียงพอที่จะจูงใจและรักษากรรมการที่มีคุณภาพไว้ รายละเอียดค่าตอบแทนเปิดเผยอยู่ ในหัวข้อค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร หมวดที่ 2 สิทธิ ความเท่าเทียมของผู้ถือหุ้น และบทบาทต่อผู้มีส่วนได้เสีย 2.1) สิทธิและความเท่าเทียมของผู้ถือหุ้น บริ ษั ท เคารพในสิ ท ธิ พื้ น ฐานและถื อ ปฏิ บั ติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก รายอย่ า งเท่ า เที ย มกั น ไม่ ว่ า ผู้ ถื อ หุ้ น นั้ น จะเป็ น รายย่ อ ยหรื อ ชาวต่ า งชาติ นักลงทุนสถาบันหรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โดยผู้ถือหุ้นทุกรายมีสิทธิและความเท่าเทียมกัน ดังนี้ 1. สิทธิในการได้รับใบหุ้น โอนหุ้น และสิทธิในการรับทราบข้อมูล ผลการดำ�เนินงาน นโยบายการบริหารงาน อย่างสม่ำ�เสมอและทันเวลา 2. สิทธิในการรับส่วนแบ่งกำ�ไรร่วมกันอย่างเท่าเทียม 3. สิทธิในการเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้น แสดงความเห็น ให้ข้อเสนอแนะ และร่วมพิจารณาตัดสินใจในการเปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญต่างๆ เช่น การ แก้ไขข้อบังคับบริษัท การแต่งตั้งคณะกรรมการบริษัท การแต่งตั้งผู้สอบบัญชี การออกหุ้นเพิ่มทุน 4. สิทธิในการรับทราบข้อมูลการทำ�รายการที่เกี่ยวโยงกัน 5. สิทธิในการแต่งตั้งกรรมการบริษัท 6. สิทธิในการขายหุ้นคืนให้กับบริษัท เฉพาะกรณีที่ไม่เห็นด้วยกับมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นซึ่งแก้ไขข้อบังคับของบริษัท เกี่ยวกับสิทธิในการ ออกเสียงลงคะแนนและสิทธิในการรับเงินปันผล ซึ่งผู้ถือหุ้นเห็นว่าตนไม่ได้รับความเป็นธรรม นอกจากนี้แล้ว ผู้ถือหุ้นทุกรายยังได้รับสิทธิอย่างเท่าเทียมตามที่กำ�หนดไว้ในข้อบังคับบริษัท และกฎหมายที่เกี่ยวข้องและเพื่อเป็นการให้ความ มั่นใจว่าผู้ถือหุ้นทุกรายจะได้สิทธิอย่างเท่าเทียมกัน บริษัท ได้จัดให้มีกระบวนการประชุมผู้ถือหุ้นที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ มีมาตรการดูแล
105 รายงาน ประจำ�ปี 2554
การใช้ข้อมูลภายใน มีการควบคุมและดูแลการทำ�รายการระหว่างกัน รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลที่เพียงพอ อย่างไรก็ตาม บริษัท ยังไม่ได้เปิดโอกาสผู้ให้ถือหุ้นส่วนน้อยสามารถเสนอวาระการประชุม เพื่อให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาก่อนวันประชุม ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี รวมทั้งไม่ได้กำ�หนดวิธีการสำ�หรับให้ผู้ถือหุ้นส่วนน้อยสามารถเสนอชื่อกรรมการบริษัทที่เป็นตัวแทนผู้ถือหุ้น ซึ่งไม่เป็น ไปตามหลักการที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเสนอแนะ ทั้งนี้ บริษัท จะได้พิจารณากำ�หนดวิธีการที่หมาะสมสำ�หรับการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2556 เนื่องจากเห็นว่าการกระจายการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นรายย่อยรวมกันในปัจจุบันเพิ่มขึ้น (ข้อมูล ณ วันปิดสมุดทะเบียน ล่าสุดเมื่อ 26 มกราคม 2555) บริษัทมีผู้ถือหุ้นรายย่อยถือหุ้นรวมกันคิดเป็นร้อยละ 20.35 ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมดซึ่งทำ�ให้ การดำ�เนินการนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้ถือหุ้นอย่างแท้จริง การประชุมผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัทจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นเป็นการประชุมสามัญประจำ�ปี 1 ครั้ง ภายใน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นสุดรอบปีบัญชีของบริษัท และอาจเรียกประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นเป็นกรณีไป หากมีความจำ�เป็นเร่งด่วนต้องเสนอวาระเป็นกรณีพิเศษซึ่งเป็นเรื่องที่กระทบต่อผลประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นหรือเกี่ยวกับข้อบังคับตามกฎหมาย คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายจัดประชุมผู้ถือหุ้นอย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใส มีข้อมูลให้แก่ผู้ถือหุ้นเพื่อประกอบการตัดสินใจในแต่ละวาระ อย่างเพียงพอ ดำ�เนินการประชุมเป็นไปตามแนวทางการประชุมผู้ถือหุ้นที่ดีและตามที่กฎหมายกำ�หนด เริ่มตั้งแต่การเรียกประชุม การจัดส่ง หนังสือเชิญประชุมและแจ้งวาระการประชุมพร้อมความเห็นของคณะกรรมการบริษัทล่วงหน้าตามกฎหมายกำ�หนดทั้งภาษาไทยและภาษา อังกฤษ ขั้นตอนในการดำ�เนินการประชุม การจัดทำ�และส่งรายงานการประชุม บริษทั เปิดเผยวาระการประชุมและเอกสารประกอบการประชุมไว้ในเว็บไซต์ของบริษทั ล่วงหน้า เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเข้าถึงและศึกษาได้เป็นการ ล่วงหน้า 30 วันก่อนการประชุม โดยในปี 2554 บริษัท ได้นำ�เอกสารประกอบการประชุมขึ้นเว็บไซต์ของบริษัท ในวันที่ 2 มีนาคม 2554 และ จัดส่งให้ผู้ถือหุ้นในวันที่ 18 มีนาคม 2554 บริษัท ได้อำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ถือหุ้นทุกท่านโดยนำ�ระบบ Bar Code มาใช้ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียงในที่ประชุม เพื่อให้เกิด ความรวดเร็วและถูกต้องทุกครั้งในการประชุม บริษัท ได้ถือปฏิบัติให้มีการแถลงให้ผู้ถือหุ้นได้รับทราบสิทธิตามข้อบังคับของบริษัท วิธีการ ในการดำ�เนินการประชุม วิธีการใช้สิทธิลงคะแนนและสิทธิในการแสดงความเห็นรวมทั้งการตั้งคำ�ถามใดๆ ต่อที่ประชุมตามระเบียบวาระการ ประชุมและเรื่องที่เสนอ ประธานคณะกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการ ผู้สอบบัญชีและผู้บริหารได้เข้าร่วมประชุมเพื่อให้ข้อมูล ตอบ ข้อซักถามตามวาระต่างๆ ทั้งนี้ ประธานที่ประชุมได้จัดสรรเวลาให้อย่างเหมาะสม เพียงพอและส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้นมีโอกาสแสดงความเห็นและ ซักถามในที่ประชุมอย่างเท่าเทียมกัน นอกจากนี้ การจัดประชุมทุกครั้ง บริษัทมีนโยบายให้มีการแต่งตั้งกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 คน เป็นผู้รับมอบฉันทะออกเสียงแทนผู้ถือหุ้น ที่ไม่สะดวกเข้าร่วมประชุมและแจ้งไว้ในหนังสือนัดประชุม บริษัท กำ�หนดให้จัดทำ�รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นให้แล้วเสร็จภายใน 14 วันและมีรายละเอียดเพียงพอ รวมทั้งคำ�ถามและคำ�ตอบที่เกิดขึ้นใน
106 อินทัช
ที่ประชุม สำ�หรับผู้ถือหุ้นที่มิได้มาร่วมประชุมสามารถตรวจสอบรายงานการประชุมได้จากเว็บไซต์ของบริษัท หากผู้ถือหุ้นต้องการสอบถาม ข้อมูลหรือต้องการตั้งคำ�ถามในการประชุมผู้ถือหุ้นล่วงหน้า สามารถส่งคำ�ถามมาที่เลขานุการบริษัท ในปี 2554 บริษัท มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2554 เมื่อ 1 เมษายน 2554 มีผู้ถือหุ้นที่เข้าร่วมประชุมด้วยตนเองและผู้ถือหุ้นที่ เข้าร่วมประชุมโดยการรับมอบฉันทะ รวมทั้งสิ้นจำ�นวน 273 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 97.93 จากจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่ายได้แล้วทั้งหมด ทั้งนี้ มีผู้ถือหุ้นที่มอบฉันทะให้กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระของบริษัท จำ�นวน 25 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.69 ของจำ�นวนหุ้นที่จำ�หน่าย ได้แล้วทั้งหมดของบริษัท ในการประชุมดังกล่าวกรรมการบริษัทได้เข้าร่วมประชุมทั้งคณะ ยกเว้น นายวิทิต ลีนุตพงษ์ นอกจากนี้ ในปี 2554 บริษัทได้จัดให้มีการประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2554 เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2554 เพื่อเสนอให้ผู้ถือหุ้นพิจารณา อนุมัติขายเงินลงทุนบางส่วนในเอไอเอสให้กับ Singtel Strategic Investments Pte. Ltd. ซึ่งเป็นบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยที่ประชุมผู้ถือ หุ้นในครั้งนี้ได้มีมติอนุมัติรายการดังกล่าว ทั้งนี้ รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น ได้เปิดเผยอยู่ในเว็บไซต์ของบริษัท www.intouchcompany.com 2.2) ผู้มีส่วนได้เสีย 2.2.1) การดูแลสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย บริษัท เคารพสิทธิของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ และได้กำ�หนดเป็น แนวปฏิบัติไว้ในจรรยาบรรณ ตลอดจนนโยบายความรับผิดชอบสังคมและ สิง่ แวดล้อม ของบริษทั เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจว่าสิทธิตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องใดๆ ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ทัง้ ผูถ้ อื หุน้ พนักงาน ผูบ้ ริหาร ลูกค้า คู่ค้า เจ้าหนี้ ตลอดจนสาธารณชนและสังคมจะได้รับการดูแล และได้เสริมสร้างความร่วมมือกันระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกลุ่มต่างๆ ตาม บทบาทและหน้าที่ ทั้งนี้ เพื่อให้กิจการของบริษัทดำ�เนินไปด้วยดี มีความมั่นคงและตอบสนองผลประโยชน์ที่เป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย
ลูกค า
คู แข ง
พนักงาน
สังคมและสิ�งแวดล อม
ผู ถือหุ น
คู ค าและเจ าหนี้
107 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ผู้ถือหุ้น บริษัท มุ่งมั่นเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ถือหุ้นในการดำ�เนินธุรกิจเพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับผู้ถือหุ้น โดยคำ�นึง ถึงการเจริญเติบโตของมูลค่าบริษัทในระยะยาวด้วยผลตอบแทนที่ดีและต่อเนื่อง รวมทั้งการดำ�เนินการเปิดเผย ข้อมูลอย่างโปร่งใสและเชื่อถือได้ต่อผู้ถือหุ้น พนักงาน พนักงานเป็นทรัพยากรอันมีค่าสูงสุดและเป็นปัจจัยสำ �คัญสู่ความสำ�เร็จของบริษัท จึงได้มุ่งพัฒนาเสริมสร้าง วัฒนธรรมและบรรยากาศการทำ�งานทีด่ ี รวมทัง้ ส่งเสริมการทำ�งานเป็นทีม ปฏิบตั ติ อ่ พนักงานด้วยความสุภาพและ ให้ความเคารพต่อความเป็นปัจเจกชน การว่าจ้าง แต่งตัง้ และโยกย้ายพนักงานจะพิจารณาบนพืน้ ฐานของคุณธรรม และการใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่บริษัท บริษัท มีความรับผิดชอบในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมการทำ�งานให้มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของ พนักงานอยู่เสมอ และยึดมั่นปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานอย่างเคร่งครัด ลูกค้า บริษัท มีความมุ่งมั่นในการสร้างความพึงพอใจและความมั่นใจให้กับลูกค้าที่จะได้รับผลิตภัณฑ์และบริการที่ดีมี คุณภาพ ในระดับราคาที่เหมาะสม รวมทั้งรักษาสัมพันธภาพที่ดี จึงได้กำ�หนดแนวทางปฏิบัติไว้ดังต่อไปนี้ สินค้าและบริการ ผลิตสินค้าและบริการทีม่ คี ณ ุ ภาพ โดยมุง่ มัน่ ทีจ่ ะยกระดับมาตรฐานให้สงู ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งและจริงจัง เปิดเผยข่าวสาร ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าและบริการอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง การรักษาข้อมูลของลูกค้า กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับจะไม่เปิดเผยข้อมูลของลูกค้า โดยไม่ได้รับอนุญาตจากลูกค้าหรือจากผู้มี อำ�นาจของกลุม่ บริษทั ก่อน เว้นแต่เป็นข้อมูลทีต่ อ้ งเปิดเผยต่อบุคคลภายนอกทีเ่ กีย่ วข้องตามบทบังคับของกฎหมาย คู่แข่ง บริษัทสนับสนุนและส่งเสริมนโยบายการแข่งขันทางการอย่างค้าเสรีและเป็นธรรม ไม่ผูกขาด หรือกำ�หนดให้คู่ค้า ต้องขายสินค้าของบริษัท เท่านั้น และไม่มีนโยบายในการแข่งขันทางการค้าโดยใช้วิธีการใดๆ ให้ ได้มาซึ่งข้อมูลของ คู่แข่งขันอย่างผิดกฎหมายและขัดต่อจริยธรรม สังคมและสิ่งแวดล้อม บริษัท ในฐานะเป็นบริษัทไทย ตระหนักและมีจิตสำ�นึกในบุญคุณของประเทศและเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ซึ่งต้อง รับผิดชอบช่วยเหลือสังคม สนับสนุนกิจกรรมของท้องถิ่นที่บริษัท มีการดำ�เนินธุรกิจ บริษัท มีนโยบายผลิตสินค้าและให้บริการใดๆ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล้อม บริษัท ส่งเสริมกิจกรรมการดูแลรักษาธรรมชาติและอนุรกั ษ์พลังงาน และมีนโยบายทีจ่ ะคัดเลือกและส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คู่ค้าและเจ้าหนี้ การดำ�เนินธุรกิจกับคู่ค้าใดๆ ต้องไม่นำ�มาซึ่งความเสื่อมเสียต่อชื่อเสียงของบริษัท หรือขัดต่อกฎหมายใดๆ มีการ คำ�นึงถึงความเสมอภาคในการดำ�เนินธุรกิจและผลประโยชน์รว่ มกันกับคูค่ า้ การคัดเลือก คูค่ า้ ต้องทำ�อย่างยุตธิ รรม ทั้งนี้ บริษัทถือว่าคู่ค้าเป็นปัจจัยสำ�คัญในการร่วมสร้าง Value Chain ให้กับลูกค้า บริษัท ยึดมั่นในสัญญาและถือปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้เป็นสำ�คัญ ในการชำ�ระคืน เงินต้น ดอกเบี้ย และการ ดูแลหลักประกันต่างๆ
108 อินทัช
2.2.2) ช่องทางในการติดต่อคณะกรรมการและเลขานุการบริษัท ผู้มีส่วนได้เสียสามารถติดต่อสื่อสารในการแสดงความคิดเห็นต่างๆ รวมถึงแจ้งเบาะแสในกรณีที่พบเห็น หรือการไม่ได้รับความเป็นธรรมจาก การกระทำ�ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือจรรยาบรรณของบริษัท โดยสามารถแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรส่งมาที่คณะกรรมการตรวจสอบหรือ คณะกรรมการบริษัท ตามที่อยู่ ดังนี้ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ส่วนงานเลขานุการบริษัท 414 ชั้น 13 อาคารอินทัช ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 หรือที่อีเมล์ดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ ที่อีเมล์ AuditCommittee@intouchcompany.com คณะกรรมการบริษัทผ่านเลขานุการบริษัท ที่อีเมล์ companysecretary@intouchcompany.com ทั้งนี้ ข้อคำ�ถาม /ข้อร้องเรียน / ข้อเสนอแนะต่างๆ จะส่งต่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำ�เนินการ เพื่อให้มีการแก้ ไข ปรับปรุง สรุปผลเพื่อรายงาน ต่อคณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทต่อไป หมวดที่ 3 การเปิดเผยสารสนเทศและความโปร่งใส บริษัท ได้ให้ความสำ�คัญต่อการเปิดเผยสารสนเทศทางการเงินและไม่ใช่การเงินต่างๆ ของบริษัท และตระหนักดีว่าสารสนเทศดังกล่าวนั้นมีผล กระทบสำ�คัญต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น นักลงทุน รวมทั้งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น เจ้าหนี้ คู่ค้า ฯลฯ ดังนั้น บริษัทถือเป็นนโยบายมาอย่างต่อ เนื่องในอันที่จะเปิดเผยสารสนเทศอย่างถูกต้อง เพียงพอ ทันเวลา โปร่งใสและเท่าเทียมกัน ทั้งนี้ ในปี 2554 บริษัทได้จัดทำ�และใช้บังคับนโยบาย การเปิดเผยสารสนเทศเพื่อช่วยให้บริษัทสามารถปฏิบัติตามภาระหน้าที่ในการรายงานสารสนเทศตามที่กฎหมายกำ�หนดไว้ ตลอดจนช่วยให้ บริษัทสามารถเปิดเผยสารสนเทศสมตามความคาดหวังของผู้ลงทุนที่มีต่อบริษัทจดทะเบียน บริษัทได้จัดตั้งฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations) ตั้งแต่ปี 2538 เพื่อทำ�หน้าที่สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ให้ ผู้ถือหุ้นและชี้แจงกรณีที่มีข่าวลือหรือข่าวสารใดที่ไม่ถูกต้องตามข้อเท็จจริงแก่นักลงทุนผ่านช่องทางต่างๆ เช่น การประชุมร่วมกับนักวิเคราะห์ การทำ� Newsletter การเยี่ยมชมกิจการของนักลงทุนและนักวิเคราะห์ การตอบคำ�ถามทางโทรศัพท์และอีเมล์ การเผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ และ ผ่านเว็บไซต์ของบริษัท และยังได้จัดทำ�นโยบาย คู่มือ สำ�หรับกิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน กิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ที่ได้จัดขึ้นอย่างต่อเนื่องในปี 2554 ประกอบไปด้วย
• การเข้าพบโดยนักลงทุนและนักวิเคราะห์ (18 ครั้ง) • เข้าร่วมงานบริษัทจดทะเบียนพบปะนักลงทุน (Opportunity Day) 4 ครั้ง
109 รายงาน ประจำ�ปี 2554
• จัดทำ� Newsletter รายงานผลการดำ�เนินงานของบริษัท รวมทั้งกิจกรรมทางสังคมต่างๆ ให้ผู้ถือหุ้นทราบ เป็นประจำ�ทุกไตรมาส • Non-deal roadshow 2 ครั้ง นอกจากนี้ ได้มีการเปิดเผยสารสนเทศต่างๆ บนเว็บไซต์ของบริษัท เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่นๆ ได้รับรู้ข้อมูลอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง ผู้สนใจสามารถติดต่อขอข้อมูลต่างๆ จาก นางสาวทมยันตี คงพูลศิลป์ สำ�นักนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษัท ได้ที่โทรศัพท์หมายเลข (66) 2299 5050 หรือ ส่งอีเมล์: investor@intouchcompany.com หรือค้นหาข้อมูลได้ที่www.intouchcompany.com หมวดที่ 4 การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน 4.1 การบริหารความเสี่ยง บริษทั ได้ก�ำ หนดนโยบายให้การบริหารความเสีย่ งเป็นส่วนหนึง่ ของการดำ�เนินธุรกิจของบริษทั ตัง้ แต่ปี 2545 และมีคณะกรรมการบริหารความ เสี่ยง (Risk Management Committee) และหน่วยงานบริหารความเสี่ยง (Risk Management Unit) ทำ�หน้าที่ในการจัดทำ�นโยบาย วางระบบ และประเมินความเสี่ยงต่างๆ ทั้งที่เกิดจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก รวมทั้งกำ�หนดแนวทางในการบริหารและจัดการความเสี่ยงให้อยู่ใน ระดับที่ยอมรับได้ เพื่อให้การดำ�เนินธุรกิจสามารถเพิ่มมูลค่าและผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท ในระยะยาว บริษัท ได้กำ�หนดให้พนักงาน ผู้บริหาร และทุกหน่วยงานเป็นเจ้าของความเสี่ยงและมีความรับผิดชอบที่จะประเมิน บริหารและจัดการความเสี่ยง ที่รับผิดชอบให้มีระดับความเสี่ยงที่เหลืออยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (Acceptable Residual Risk) ตลอดจนมีการสื่อสาร จัดฝึกอบรม สัมมนา เชิงปฏิบัติการแก่พนักงาน ให้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการบริหารความเสี่ยง นอกจากนี้ คณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการตรวจสอบ ยังทำ�หน้าที่ในการติดตามการดำ�เนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงเป็น ระยะๆ รวมถึงรายงานให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาและรับทราบ 4.2 การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารมีหน้าที่และความรับผิดชอบโดยตรงในการจัดให้มีและรักษาไว้ซึ่งระบบควบคุมภายใน รวมทั้งดำ�เนินการ ทบทวนความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมอย่างสม่ำ�เสมอ เพื่อปกป้องเงินลงทุนของผู้ถือหุ้นและทรัพย์สินของบริษัท การควบคุม ภายในจะครอบคลุมถึง การควบคุมทางการเงิน การดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง และการบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุมภายในที่บริษัทได้จัดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้บริษัทมีความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล (Reasonable Assurance) ที่ จะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้ในเรื่อง ดังนี้
• • • • •
ระบบข้อมูล และรายงานทางการเงินมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ ได้มีการปฏิบัติตามกฎระเบียบ นโยบาย กระบวนการทำ�งานของบริษัท และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทรัพย์สินของบริษัท มีอยู่จริงและได้มีการควบคุมดูแล จัดเก็บ รักษา เป็นอย่างดี การดำ�เนินงานของบริษัท เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ของบริษัท ได้มีการบรรลุและดำ�เนินงานอย่างมีประสิทธิผล
110 อินทัช
นอกจากนี้ การมีระบบควบคุมภายในทีด่ จี ะช่วยให้บริษทั รับทราบรายการผิดปกติและเป็นสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า (Early Warning System) รวมทั้งช่วยลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ระบบการควบคุมภายในทีบ่ ริษทั กำ�หนดขึน้ สอดคล้องกับแนวทางการจัดระบบการควบคุมภายในทีก่ �ำ หนดโดย The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission (COSO) ซึ่งสามารถสรุปตามองค์ประกอบของการควบคุมแต่ละด้านดังนี้ 1. ด้านองค์กรและสภาพแวดล้อม (Organization & Control Environment) บริษัทได้จัดให้มีโครงสร้างองค์กรและสภาพแวดล้อมที่ดีซึ่งเป็นรากฐานที่สำ�คัญของการควบคุมภายใน ที่มีประสิทธิผล โดยบริษัทมีการ กำ�หนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย กลยุทธ์ งบประมาณ รวมทั้งกำ�หนดหลักเกณฑ์ในการวัดผลที่ชัดเจนในการดำ�เนินงาน และปรับโครงสร้าง องค์กรให้สอดคล้องกับแผนธุรกิจเป็นประจำ�ต่อเนื่อง มีการปรับปรุงระบบการกำ�กับดูแลกิจการ สรรหาบุคลากรที่มีคุณภาพและพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง มีนโยบายและระเบียบในการปฏิบัติงานที่ครอบคลุมธุรกรรมทางด้านการเงิน จัดซื้อ การบริหารความเสี่ยงและด้านอื่นอย่างครบถ้วน บริษัทมีจรรยาบรรณที่เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อเป็นแนวทางให้กรรมการ ผู้บริหาร พนักงานปฏิบัติงานอย่างมีจริยธรรมและดูแลผู้มี ส่วนได้เสียอย่างเป็นธรรม 2. ด้านการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) บริษทั กำ�หนดให้ทกุ หน่วยงานประเมินและพิจารณาความเสีย่ งในการทำ�ธุรกรรมต่างๆ และบริษทั ได้จดั ให้มรี ะบบการบริหารความเสีย่ งในระดับ องค์กรตั้งแต่ปี 2545 โดยมีหน่วยงานบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและคณะกรรมการตรวจสอบทำ�หน้าที่กำ�กับดูแล 3. ด้านการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร (Management Control) บริษัทได้กำ�หนดให้มีการแบ่งแยกหน้าที่งาน เพื่อให้เกิดระบบการควบคุมระหว่างกัน กำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ในการอนุมัติรายการและวงเงินเป็น ลายลักษณ์อักษร และได้จัดทำ�แนวทางการดูแลรายการที่เกี่ยวโยงและรายการระหว่างกันให้เป็นไปตามกฎหมาย 4. ด้านระบบสารสนเทศและสื่อสารข้อมูล (Information & Communication) บริษัทจัดให้มีระบบข้อมูลเพื่อการตัดสินอย่างพอเพียงโดยมีหน่วยงานที่รวบรวม วิเคราะห์และจัดเก็บในระบบคลังข้อมูลของบริษัท ระบบข้อมูล ในองค์กรมีการสื่อสารทั้งสองทางอย่างมีประสิทธิภาพ ในระดับคณะกรรมการบริษัทได้มีการจัดเตรียมข้อมูลและเอกสารอย่างเพียงพอต่อ การตัดสินใจ 5. ด้านระบบการติดตาม (Monitoring) บริษัทจัดให้มีระบบการติดตามโดยผู้บริหารและคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้การดำ�เนินงานเป็นไปตามแผนที่วางไว้และหน่วยงานตรวจสอบ ภายในทำ � หน้ า ที่ ติ ด ตามและประเมินผลระบบการควบคุ ม อย่ า งอิ ส ระและรายงานผลพร้ อ มข้ อ เสนอแนะให้ ฝ่ า ยบริ ห ารดำ � เนินการแก้ไข
111 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ในการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2555 เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 ซึ่งมีคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุมด้วย คณะกรรมการบริษัทได้ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษัท ตามแบบประเมินที่จัดทำ�ขึ้นโดยคณะกรรมการกำ�กับตลาดทุน ทั้ง 5 ด้าน คือ องค์กรและสภาพแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล และระบบการติดตาม แล้วเห็นว่า บริษัทมีการควบคุมภายในที่เพียงพอในแต่ละด้าน นอกจากนี้ผู้สอบบัญชีภายนอกของบริษัท คือ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด เป็นผู้ตรวจสอบงบการเงินประจำ�งวดบัญชี 2554 ได้ให้ความเห็นว่าไม่พบข้อบกพร่องที่มีสาระสำ�คัญเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในทางด้านบัญชีการเงินของบริษัท 4.3 การตรวจสอบภายใน บริษัทได้จัดตั้งส่วนงานตรวจสอบภายในเป็นหน่วยงานอิสระหน่วยงานหนึ่งในบริษัท โดยมีสายการบังคับบัญชารายงานตรง (Functionally) ต่อคณะกรรมการตรวจสอบและรายงานด้านการบริหาร (Administratively) ต่อประธานคณะกรรมการบริหาร ส่วนงานตรวจสอบภายใน มีหน้าที่ในการให้คำ�ปรึกษาและตรวจสอบ ประเมินระบบควบคุมภายใน ระบบบริหารความเสี่ยงและการกำ�กับดูแลกิจการ เพื่อให้แน่ใจว่า ระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบควบคุมภายในและกระบวนการกำ�กับดูแลกิจการของบริษัทและบริษัทย่อย ได้จัดให้มีขึ้นอย่างพอเพียง มี ประสิทธิภาพตรงตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ส่วนงานตรวจสอบภายในของบริษัท ได้จัดทำ�แผนการตรวจสอบประจำ�ปี โดยพิจารณาตามปัจจัยเสี่ยง (Risk based Approach) ซึ่งจะเน้น ความเสีย่ งสำ�คัญต่างๆ ทีจ่ ะมีผลกระทบต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ของบริษทั และความถูกต้องของการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา สอบทานและอนุมัติแผนการตรวจสอบประจำ�ปีดังกล่าว และติดตามผลการตรวจสอบและผลการปฏิบัติงานของส่วนงานตรวจสอบภายใน เป็นรายไตรมาส ส่วนงานตรวจสอบภายในของบริษัท ได้อ้างอิงมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายในของสมาคมผู้ตรวจสอบภายใน เป็นกรอบในการปฏิบตั หิ น้าที่ มีความเป็นอิสระและความเทีย่ งธรรม ตลอดจนได้รบั การสนับสนุนในด้านทรัพยากรต่างๆ ทีจ่ �ำ เป็นอย่างเพียงพอ ปัจจุบัน พนักงานทุกคนของส่วนงานตรวจสอบภายในจะได้รับการอบรมเกี่ยวกับทักษะและวิธีการตรวจสอบที่จ�ำ เป็นทั้งด้านการตรวจสอบ การดำ�เนินงาน การตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย การตรวจสอบด้านการเงิน การตรวจสอบระบบสารสนเทศ ซึ่งจะทำ�ให้สามารถปฏิบัติ หน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หมวดที่ 5 จรรยาบรรณ บริษัทได้จัดทำ�จรรยาบรรณ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการเพื่อเป็นแนวทางและข้อพึงปฏิบัติที่ดีให้กรรมการ ผู้บริหาร ตลอดจนพนักงานทุกๆ คนของบริษัท ได้ยึดมั่นปฏิบัติงาน ดำ�เนินธุรกิจบริษัทอย่างซื่อสัตย์ มีจริยธรรม ทั้งนี้ จรรยาบรรณของบริษัท มี เนื้อหาครอบคลุมในเรื่อง ดังนี้
112 อินทัช
• • • • • • • • •
ความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ความรับผิดชอบต่อลูกค้า ความรับผิดชอบต่อคู่ค้าและเจ้าหนี้ ความรับผิดชอบต่อพนักงาน การแข่งขันทางการค้ากับคู่แข่งขัน ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ การเสนอเงิน สิ่งจูงใจหรือรางวัล กิจกรรมทางการเมือง
•• •• •• •• ••
การปกป้อง ดูแลรักษาทรัพย์สินของบริษัท การใช้ข้อมูลภายในและการซื้อขายหลักทรัพย์ของกลุ่มบริษัท การให้ข้อมูลข่าวสาร หรือให้สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชน หรือต่อสาธารณชน รายการระหว่างกันในกลุ่มบริษัท การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ
กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานของบริษัท มีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามจรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด การละเลยหรือฝ่าฝืนใดๆ จะได้รับการลงโทษ หรือเลิกจ้างตามลักษณะแห่งความผิดตามควรแก่กรณี นอกจากนี้ผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้นมีหน้าที่สอดส่องและส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กำ�หนดและประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี 5.1 Whistle- Blower Policy บริษทั ได้กำ�หนดนโยบายและขัน้ ตอนต่างๆ รวมทัง้ ได้จดั ทำ� Ethics Hotline เพือ่ สนับสนุน ให้พนักงาน ผูบ้ ริหาร และกรรมการสามารถรายงาน การพบเห็นการทุจริตหรือการปฏิบัติที่อาจขัดต่อจรรยาบรรณต่อผู้บังคับบัญชา หรือฝ่ายทรัพยากรบุคคล หรือส่วนงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการจรรยาบรรณและคณะกรรมการตรวจสอบแล้วแต่กรณี ทัง้ นี้ ผูท้ รี่ ายงานข้อมูลดังกล่าวจะได้รบั การปกป้องดูแลจากบริษทั อย่างดี โดยในปี 2554 ไม่มีการร้องเรียนเกี่ยวกับการกระทำ�ผิด และการทุจริตใดๆ มายังคณะกรรมการจรรยาบรรณและคณะกรรมการตรวจสอบ 5.2 ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการบริษัท มีนโยบายในการดูแลรายการที่อาจจะเกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflict of Interest) ของผู้ที่เกี่ยวข้องต่างๆ อาทิ กรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือพนักงาน อย่างรอบคอบ ซื่อสัตย์สุจริต เพื่อให้มั่นใจการกระทำ�หรือตัดสินใจใดๆ ต้องทำ�ไป เพื่อมุ่งประโยชน์สูงสุดของบริษัท ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ส่วนตน ครอบครัว พวกพ้องหรือบุคคลใกล้ชิด และให้เกิดความเป็นธรรม โปร่งใส รวม ทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลในเรื่องดังกล่าวอย่างครบถ้วน เพียงพอ โดยได้กำ�หนดไว้เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการในด้าน จรรยาบรรณของบริษัท บริษทั ได้จดั ทำ�หลักเกณฑ์และวิธกี ารรายงานส่วนได้เสียของกรรมการและผูบ้ ริหาร โดยได้กำ�หนดให้กรรมการและผูบ้ ริหารทุกคนต้องรายงาน ส่วนได้เสียของตนรวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งสำ�นักเลขานุการบริษัทจะจัดทำ�สำ�เนารายงานเสนอให้ประธานคณะกรรมการบริษัทและประธาน คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ และนำ�เสนอให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบในการประชุมครั้งถัดไป
113 รายงาน ประจำ�ปี 2554
5.3 การดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายใน บริษัท มีนโยบายในการดูแลปกป้องข้อมูลภายในที่เป็นความลับและมีสาระสำ�คัญที่ยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อไม่ให้บุคคลภายในและ ผู้ที่ไม่มีอำ�นาจในการเข้าถึงข้อมูลนำ�ข้อมูลไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน โดยได้จัดทำ�นโยบายการดูแลรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เพื่อจัดชั้น ความลับของข้อมูล ตลอดจนกำ�หนดผู้มีอำ�นาจที่จะเข้าถึงข้อมูลที่เป็นความลับ เฉพาะที่มีความจำ�เป็นและเกี่ยวข้องต้องการใช้ข้อมูลเท่านั้น บริษัท ยังมีนโยบายให้กรรมการและผู้บริหารต้องรายงานข้อมูลการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทให้ทราบทุกครั้งและห้ามซื้อขายหลักทรัพย์ ของกลุ่มบริษัท โดยใช้ข้อมูลภายในของบริษัท ที่มีสาระสำ�คัญและยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อประโยชน์ตนเองและผู้อื่น รวมทั้งกำ�หนด ไว้ในจรรยาบรรณให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานหลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพย์ของกลุ่มบริษัท ในช่วง 1 เดือน ก่อนการเปิด เผยข้อมูลแก่สาธารณชน สำ�นักงานเลขานุการยังได้รายงานสถานะการถือครองและการเปลี่ยนแปลงในหลักทรัพย์ของบริษัท ของกรรมการและผู้บริหารให้ประธาน คณะกรรมการบริษัทและประธานคณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ และนำ�เสนอให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบในการประชุมครั้งถัดไป การกระทำ�ฝ่าฝืนใดๆ บริษัทถือเป็นการปฏิบัติขัดกับนโยบายและจรรยาบรรณมีโทษทางวินัยอย่างร้ายแรงและยังมีความผิดตามมาตรา 241 และ 242 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551
114 อินทัช
รายการระหว่างกัน รายการระหว่างกัน ในระหว่างปี 2554 กลุ่มอินทัช มีรายการระหว่างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน โดยคิดราคาซื้อ/ขาย สินค้าและบริการกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ตามราคาที่เทียบเท่ากับราคาที่คิดกับบุคคลภายนอก โดยมีเงื่อนไขต่างๆ ตามปกติธุรกิจ ซึ่งรายการเกี่ยวกับกิจการที่เกี่ยวข้องกันนี้ บริษัท ได้เปิดเผยไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 6 ในงบการเงินประจำ�ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 1 รายการระหว่างกันที่สำ�คัญกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง ทุนเรือนหุ้นของบริษัท ส่วนใหญ่ถือโดยบริษัท ซีดาร์ โฮลดิ้งส์ จำ�กัด (ซีดาร์) และ บริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส์ จำ�กัด (แอสเพน) โดยแอสเพน เป็น บริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในประเทศไทยและเป็นบริษทั ย่อยทางอ้อมของ Temasek Holdings (Pte) Ltd. (Temasek) ขณะทีซ่ ดี าร์เป็นบริษทั ทีจ่ ดทะเบียน จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย ซึ่งถือหุ้นโดยธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) ร้อยละ 5.8 บริษัท กุหลาบแก้ว จำ�กัด (กุหลาบแก้ว) ร้อยละ 45.2 และบริษัท ไซเพรส โฮลดิ้งส์ จำ�กัด (ไซเพรส) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยทางอ้อมของ Temasek ร้อยละ 49.0 ทั้งนี้กุหลาบแก้วถือหุ้นโดยผู้ถือหุ้นหลัก สี่รายซึ่งได้แก่ ไซเพรส ร้อยละ 29.9 คุณสุรินทร์ อุปพัทธกุล ร้อยละ 68.0 คุณพงส์ สารสิน ร้อยละ 1.3 และคุณศุภเดช พูนพิพัฒน์ ร้อยละ 0.8 รายการที่บริษัท บริษัทย่อยและกิจการที่ควบคุมร่วมกันมีกับบริษัทในกลุ่มซีดาร์และแอสเพน และกลุ่ม Temasek จะถือเป็นรายการกับบุคคล ที่อาจมีความขัดแย้ง ในปี 2554 บริษัท บริษัทย่อย และกิจการที่ควบคุมร่วมกันมีรายการระหว่างกันที่สำ�คัญกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง และความสมเหตุสม ผลของรายการระหว่างกันมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
115 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง / ความสัมพันธ์กับบริษัท
ลักษณะรายการ
1. บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส และกลุ่ม บริษัทแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (เอไอเอส) เอไอเอสเป็นบริษัทร่วม ของบริษัท และมี Singtel Strategic Investments Pte. Ltd. (Singtel) เป็น ผู้ถือหุ้นในเอไอเอสร้อย ละ 23.32 ทั้งนี้ Singtel เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ถือหุ้น ใหญ่ โดยมีผู้ถือหุ้นใหญ่ ร่วมกัน
ค่าใช้จ่าย: กลุ่มอินทัชใช้บริการโทรศัพท์ มือถือและค่าบริการอื่นๆ จาก เอไอเอส
มูลค่ารายการระหว่างกันที่มีสาระสำ�คัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2554 ของบริษัทและบริษัทย่อย (ล้านบาท) บริษัท
0.65
ไทยคม และ บริษัทย่อย
บริษัทอื่นๆ
3.91
0.10
รวม
ความสมเหตุสมผลของการทำ� รายการ และนโยบายการกำ�หนด ราคา
4.65 กลุ่มอินทัชใช้บริการโทรศัพท์มือ ถือเพื่อดำ�เนินธุรกิจ โดยเครือข่าย ของเอไอเอสครอบคลุมพื้นที่บริการ อย่างทั่วถึง และเป็นการดำ�เนินธุรกิจ ปกติ อัตราค่าบริการเป็นราคาตลาด เสมือนทำ�รายการกับบุคคลภายนอก กิจการที่ควบคุมร่วมกัน (แอลทีซี) ใช้ บริการ International Roaming ซึ่ง เป็นการดำ�เนินธุรกิจปกติ โดยคิด อัตราค่าบริการเป็นตามราคาตลาด เสมือนทำ�รายการกับบุคคลภายนอก
รายได้: กลุ่มอินทัชให้บริการในการ ปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์ โฆษณาและ ให้เช่าทรานสปอนเดอร์แก่ เอไอเอส ดังนี้ 1. รายได้ค่าบริการระบบ คอมพิวเตอร์
-
-
63.98
2. รายได้ค่าโฆษณา
-
-
10.77
3. ออกแบบเว็บไซต์
-
2.59
-
63.98 บริษัทย่อย (ไอทีเอเอส) ให้บริการ โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อประมวล ผลทางบัญชีซึ่งคิดค่าบริการใกล้เคียง กับราคาของบริษัทอื่นที่ให้บริการใน ลักษณะเดียวกัน 10.77 บริษัทย่อย (ไอทีเอเอส) ให้บริการด้าน โฆษณาผ่านทางเว็บไซต์ซึ่งเป็นการ ดำ�เนินธุรกิจปกติโดยคิดค่าบริการใน อัตราเดียวกันกับลูกค้าทั่วไป 2.59 บริษัทย่อยของไทยคม (ดีทีวี) ให้ บริการออกแบบเว็บไซต์ซึ่งเป็นการ ดำ�เนินธุรกิจปกติ โดยคิดค่าบริการ ในอัตราเดียวกันกับลูกค้าทั่วไป
116 อินทัช
บุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง / ความสัมพันธ์กับบริษัท
ลักษณะรายการ
มูลค่ารายการระหว่างกันที่มีสาระสำ�คัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2554 ของบริษัทและบริษัทย่อย (ล้านบาท) บริษัท
ไทยคม และ บริษัทย่อย
บริษัทอื่นๆ
4. รายได้ค่าโฆษณา
-
-
312.28
5. รายได้คา่ เช่าทรานสปอนเดอร์
-
51.39
-
6. รายได้ค่า International Roaming
-
8.04
-
10,223
-
-
0.33
-
2.50
7. รายได้เงินปันผล 8. รายได้ค่าดอกเบี้ย
รวม
ความสมเหตุสมผลของการทำ� รายการ และนโยบายการกำ�หนด ราคา
312.28 บริษัทย่อย (เอ็มบี) ให้บริการ ผลิตชิ้น งานและสื่อโฆษณาซึ่งเป็นการดำ�เนิน ธุรกิจปกติ โดยคิดค่าบริการตาม อัตราค่าบริการเสมือนทำ�รายการกับ บุคคลภายนอก 51.39 บริษัทย่อย (ไทยคม) ให้บริการเช่า ช่องสัญญาณดาวเทียม ทั้งใน ด้านดาวเทียมเพื่อรับส่งสัญญาณ โทรทัศน์และเพื่อการสื่อสาร ซึ่ง เป็นการดำ�เนินธุรกิจปกติ โดยคิดค่า บริการเสมือนทำ�รายการกับบุคคล ภายนอก 8.04 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน เอ็มโฟน และแอลทีซี ให้บริการ International Roaming ในประเทศกัมพูชาและ ประเทศลาวตามลำ�ดับ ซึ่งเป็นการ ดำ�เนินธุรกิจปกติ โดยคิดอัตราค่า บริการเป็นตามราคาตลาด เสมือน ทำ�รายการกับบุคคลภายนอก 10,223 บริษัทมีรายได้เงินปันผล ซึ่งเป็นไป ตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือที่ประชุม คณะกรรมการของเอไอเอสอนุมัติ 2.83 กลุ่มอินทัชมีเงินลงทุนในหุ้นกู้ของ เอไอเอสผ่านกองทุนส่วนบุคคลที่ บริหารโดยบริษัทจัดการกองทุนอิสระ อัตราดอกเบี้ยที่ได้รับเป็นอัตราเดียว กับที่บุคคลภายนอกได้รับ
117 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง / ความสัมพันธ์กับบริษัท
ลักษณะรายการ
มูลค่ารายการระหว่างกันที่มีสาระสำ�คัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2554 ของบริษัทและบริษัทย่อย (ล้านบาท) บริษัท
2. บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ ค่าใช้จ่าย: และกลุ่มบริษัท ซีเอส ล็อกซ กลุ่มอินทัชใช้บริการเชื่อม อินโฟ (ซีเอสแอล) อินเทอร์เน็ตชนิดวงจรเช่า ซีเอสแอลเป็นบริษัทร่วม (Leased Line) และลงโฆษณา ของบริษัท ทางอ้อม (ซีเอส ในสมุดหน้าเหลืองดังนี้ แอลเป็นบริษัทร่วมของ 1. ค่าเช่าและอื่นๆ ไทยคม) โดยมี Singtel ถือหุ้นร้อยละ 14.18 ในซีเอสแอลทั้งนี้ Singtel เกี่ยวข้องกันกับกลุ่ม ผู้ถือหุ้นใหญ่โดยมี ผู้ถือหุ้นใหญ่ร่วมกัน 2. ค่าโฆษณา รายได้: กลุ่มอินทัชให้บริการในการ ปรับปรุงและพัฒนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์ โฆษณาและให้ เช่าทรานสปอนเดอร์ดังนี้ 1. รายได้ค่าบริการระบบ คอมพิวเตอร์
ไทยคม และ บริษัทย่อย
บริษัทอื่นๆ
0.69
23.90
1.16
0.03
0.04
-
-
0.20
5.95
รวม
ความสมเหตุสมผลของการทำ� รายการ และนโยบายการกำ�หนด ราคา
25.75 ซีเอสแอลให้บริการรับส่งสัญญาณ โทรทัศน์และเชื่อมอินเทอร์เน็ตประเภท วงจรเช่า (Leased Line) ซึ่งเป็นการ ดำ�เนินธุรกิจปกติ อัตราค่าบริการที่ เรียกเก็บเป็นราคาตลาด 0.07 กลุ่มอินทัชลงโฆษณาในสมุดหน้า เหลือง โดยมีอัตราค่าบริการเสมือน ทำ�รายการกับบุคคลภายนอก
6.15 บริษัทย่อย (ไอทีเอเอส) ให้บริการ โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อประมวล ผลทางบัญชีซึ่งคิดค่าบริการใกล้เคียง กับราคาของบริษัทอื่นที่ให้บริการใน ลักษณะเดียวกัน บริษัทย่อยของไทยคม (ดีทีวี) ให้ บริการ Domain Name โดยมีอัตรา ค่าบริการเสมือนทำ�รายการกับ บุคคลภายนอก
118 อินทัช
บุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง / ความสัมพันธ์กับบริษัท
ลักษณะรายการ
มูลค่ารายการระหว่างกันที่มีสาระสำ�คัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2554 ของบริษัทและบริษัทย่อย (ล้านบาท) บริษัท
ไทยคม และ บริษัทย่อย
บริษัทอื่นๆ
2. รายได้ค่าโฆษณา
-
-
12.62
3. รายได้ค่าเช่าช่อง สัญญาณดาวเทียม
-
10.08
-
4. รายได้เงินปันผล
-
130.05
-
-
1.62
0.01
รายได้: 3.บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเม้นท์ส พีทอี ี จำ�กัด (เชน) ถือหุ้นโดยไทยคมร่วมกัน กลุ่มอินทัชให้คำ�ปรึกษาทาง กับเอเอ็มเอช ในสัดส่วน ธุรกิจและอื่นๆ ร้อยละ 51:49 ตามลำ�ดับ โดยเอเอ็มเอชมีผู้ถือหุ้น ใหญ่ร่วมกันกับบริษัท
รวม
ความสมเหตุสมผลของการทำ� รายการ และนโยบายการกำ�หนด ราคา
12.62 บริษัทย่อย (เอ็มบี) ให้บริการผลิตชิ้น งานและสื่อโฆษณาซึ่งเป็นการดำ�เนิน ธุรกิจปกติ โดยคิดค่าบริการตาม อัตราค่าบริการเสมือนทำ�รายการกับ บุคคลภายนอก 10.08 บริษัทย่อย (ไทยคม) ให้บริการ เช่าช่องสัญญาณดาวเทียม ทั้งใน ด้านดาวเทียมเพื่อรับส่งสัญญาณ โทรทัศน์และเพื่อการสื่อสาร ซึ่ง เป็นการดำ�เนินธุรกิจปกติ โดยคิดค่า บริการเสมือนทำ�รายการกับบุคคล ภายนอก 130.05 บริษัทย่อยของไทยคม (ดีทีวี) มีรายได้ เงินปันผล ซึ่งเป็นไปตามมติที่ประชุม ผู้ถือหุ้นหรือที่ประชุมคณะกรรมการซี เอสแอลอนุมัติ 1.63 บริษัทย่อย (ไทยคม) มีนโยบายในการ กำ�กับดูแลบริษัทในเครือเพื่อให้การ ควบคุมเป็นประโยชน์สูงสุด โดยเชน ต้องจ่ายค่าที่ปรึกษาและบริหารงาน เป็นรายเดือนโดยค่าบริการกำ�หนด จากต้นทุนของผู้บริหารและพนักงาน ที่ให้คำ�ปรึกษาและบริหารงานเพื่อ สนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท ย่อย บริษัทย่อย (ไอทีเอเอส) ให้บริการ โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อประมวล ผลทางบัญชีซึ่งคิดค่าบริการใกล้เคียง กับราคาของบริษัทอื่นที่ให้บริการใน ลักษณะเดียวกัน
119 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง / ความสัมพันธ์กับบริษัท
ลักษณะรายการ
4. บริษัท เอ็มโฟน จำ�กัด (เอ็มโฟน) ถือหุ้นโดยเชนในสัดส่วน 100% ทั้งนี้เชนถือหุ้นโดย ไทยคมและเอเอ็มเอชใน สัดส่วนร้อยละ 51:49 ตาม ลำ�ดับ โดยเอเอ็มเอชมีผู้ถือ หุ้นใหญ่ร่วมกันกับบริษัท
ค่าใช้จ่าย: กลุ่มอินทัชจ่ายค่าดำ�เนินการ สถานีควบคุมเครือข่ายภาค พื้นดินและอื่นๆ
บริษัท
รายได้: กลุ่มอินทัชให้บริการเช่าช่อง สัญญาณดาวเทียมและอื่นๆ
5. บริษัท ลาว เทเลคอม มิวนิเคชั่นส์ จำ�กัด (แอลทีซี) ถือหุ้นโดยเชนในสัดส่วน ร้อยละ 49 ทั้งนี้เชนถือหุ้น โดยไทยคมและเอเอ็มเอชใน สัดส่วนร้อยละ 51:49 ตาม ลำ�ดับ โดยเอเอ็มเอชมีผู้ถือ หุ้นใหญ่ร่วมกันกับบริษัท
มูลค่ารายการระหว่างกันที่มีสาระสำ�คัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2554 ของบริษัทและบริษัทย่อย (ล้านบาท)
รายได้: กลุ่มอินทัชให้เช่าทรานสปอน เดอร์และให้บริการโฆษณา ดังนี้ 1.กลุ่มอินทัชให้บริการเช่า ช่องสัญญาณดาวเทียม
2. รายได้ค่าโฆษณา
ไทยคม และ บริษัทย่อย
บริษัทอื่นๆ
รวม
ความสมเหตุสมผลของการทำ� รายการ และนโยบายการกำ�หนด ราคา
-
3.72
-
3.72 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน (เอ็มโฟน) ให้ บริการดำ�เนินการดูแล บำ�รุงรักษา สถานีควบคุมเครือข่ายภาคพื้นดิน โดยรายการดังกล่าวเป็นรายการ สนับสนุนธุรกิจ คิดค่าบริการตาม สัญญาและเงื่อนไขทางการค้าปกติ เช่นเดียวกับบุคคลภายนอก
-
8.45
-
8.45 บริษัทย่อย (ไทยคม) เป็นผู้ ให้บริการ เช่าช่องสัญญาณดาวเทียม และเป็น ผู้จำ�หน่ายอุปกรณ์ผู้ ใช้ปลายทาง ไอพีสตาร์ ซึง่ เป็นการดำ�เนินธุรกิจปกติ โดยคิดค่าบริการตามสัญญาและ เงื่อนไขทางการค้าโดยปกติเช่นเดียว กับบุคคลภายนอก
-
0.57
-
-
-
2.60
0.57 บริษัทย่อย (ไทยคม) เป็นผู้ ให้บริการ เช่าช่องสัญญาณดาวเทียม และเป็น ผู้จำ�หน่ายอุปกรณ์ผู้ ใช้ปลายทาง ไอพีสตาร์ ซึง่ เป็นการดำ�เนินธุรกิจปกติ โดยคิดค่าบริการตามสัญญาและ เงื่อนไขทางการค้าโดยปกติเช่นเดียว กับบุคคลภายนอก 2.60 บริษัทย่อย (เอ็มบี) ให้บริการผลิตชิ้น งานและสื่อโฆษณาซึ่งเป็นการดำ�เนิน ธุรกิจปกติ โดยคิดค่าบริการตาม อัตราค่าบริการเสมือนทำ�รายการกับ บุคคลภายนอก
120 อินทัช
บุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้ง / ความสัมพันธ์กับบริษัท 6. บริษัท เอเชีย โมบายส์ โฮลดิงส์ พีทีอี จำ�กัด (เอเอ็มเอช) เอเอ็มเอชเป็นบริษัทที่ เกี่ยวข้องกันกับกลุ่มผู้ถือ หุ้นใหญ่โดยมีผู้ถือหุ้นใหญ่ ร่วมกัน 7. บริษัท สตาร์ฮับ พีทีอี จำ�กัด (สตาร์ฮับ) สตาร์ฮับ เป็นบริษัทที่ เกี่ยวข้องกันกับกลุ่มผูถือ หุ้นใหญ่โดยมีผู้ถือหุ้นใหญ่ ร่วมกัน
ลักษณะรายการ
มูลค่ารายการระหว่างกันที่มีสาระสำ�คัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2554 ของบริษัทและบริษัทย่อย (ล้านบาท) บริษัท
ค่าใช้จ่าย: กลุ่มอินทัชมีดอกเบี้ยจ่าย
ไทยคม และ บริษัทย่อย
บริษัทอื่นๆ
รวม
ความสมเหตุสมผลของการทำ� รายการ และนโยบายการกำ�หนด ราคา
-
0.61
-
0.61 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน (เชน) ได้รับ การสนับสนุนทางการเงิน ในรูปแบบ ของ Shareholder Loan จาก เอเอ็มเอช อัตราดอกเบี้ยถูกคำ�นวณจากต้นทุน การกูย้ มื ทีเ่ กิดขึน้ จริงบวกด้วยส่วนต่าง เสมือนทำ�รายการกับบุคคลภายนอก
ค่าใช้จ่าย: กลุ่มอินทัชจ่ายค่า International Roaming
-
0.17
-
0.17 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน (เอ็มโฟน) ใช้บริการ International Roaming ซึ่งเป็นการดำ�เนินธุรกิจปกติ โดยคิด อัตราค่าบริการเป็นตามราคาตลาด เสมือนทำ�รายการกับบุคคลภายนอก
รายได้: กลุ่มอินทัชมีรายได้จากค่า International Roaming
-
0.90
-
15,779
-
-
0.90 กิจการที่ควบคุมร่วมกัน (เอ็มโฟน) ให้บริการ International Roaming ในประเทศกัมพูชาซึ่งเป็นการดำ�เนิน ธุรกิจปกติ โดยคิดอัตราค่าบริการ เป็นตามราคาตลาด เสมือนทำ� รายการกับบุคคลภายนอก 15,779 เป็นไปตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นหรือที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ
7,930
-
-
8. ซีดาร์ และ แอสเพน เงินปันผลจ่าย ซีดาร์ และ แอสเพน เป็น ผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท 9. Singtel ขายเงินลงทุนบางส่วนใน Singtel เกี่ยวข้องกับกลุ่ม บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นใหญ่ โดยมีผู้ถือ หุ้นใหญ่ร่วมกัน
7,930 เป็นไปตามมติทป่ี ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษัท ทั้งนี้ราคาขายเป็นราคา ที่ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระมีความ เห็นว่าเป็นราคาเหมาะสม เนื่องจาก เป็นราคาที่สูงกว่าการประเมินด้วยวิธี ราคาตลาด
121 รายงาน ประจำ�ปี 2554
2 นโยบายและขั้นตอนของกลุ่มอินทัชในการทำ�รายการระหว่างกัน กลุ่มอินทัช มีนโยบายเกี่ยวกับการทำ�รายการระหว่างกัน โดยในกรณีที่กลุ่มอินทัช มีรายการซื้อ/ขาย สินค้าและบริการระหว่างกัน ให้ ใช้ราคา เช่นเดียวกับที่คิดกับบุคคลภายนอก กรณีที่ไม่มีราคาดังกล่าว กลุ่มอินทัช จะพิจารณาเปรียบเทียบราคาสินค้าหรือบริการกับราคาภายนอก ภายใต้เงื่อนไขที่เหมือนหรือคล้ายคลึงกัน หรือในกรณีที่จำ�เป็นอาจใช้ประโยชน์จากรายงานของผู้ประเมินอิสระซึ่งแต่งตั้งโดยบริษัท หรือบริษัท ในกลุ่มมาทำ�การเปรียบเทียบราคาสำ�หรับรายการระหว่างกันที่สำ�คัญ เพื่อให้มั่นใจว่าราคาดังกล่าวสมเหตุสมผลและเพื่อประโยชน์สูงสุดของ กลุ่มอินทัช ในการดำ�เนินการอนุมัติการทำ�รายการระหว่างกันจะยึดแนวปฏิบัติเช่นเดียวกับการทำ�รายการอื่นๆ ทั่วไป โดยจะกำ�หนดอำ�นาจ ของผู้มีสิทธิอนุมัติตามประเภทของรายการและวงเงินที่กำ�หนด โดยผู้บริหารที่มีส่วนได้เสียในรายการดังกล่าวจะไม่เป็นผู้อนุมัติรายการดัง กล่าว นอกจากนี้คณะกรรมการตรวจสอบยังทำ�หน้าที่เป็นผู้สอบทานการทำ�รายการระหว่างกันที่สำ�คัญ และการเปิดเผยรายการระหว่าง กันทุกรายไตรมาส เพื่อดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างกัน หากบริษัทมีรายการระหว่างกันอื่นๆ ที่เข้าข่ายตามข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บริษัทมีนโยบายที่จะปฏิบัติตามข้อกำ�หนด ดังกล่าวอย่างเคร่งครัด 3 นโยบายและแนวโน้มในการทำ�รายการในอนาคต บริษัทยังคงยึดนโยบายในการทำ�รายการในธุรกิจที่เสริมซึ่งกันและกัน และถือความสมเหตุสมผลตลอดจนคำ�นึงถึงความเหมาะสมในเงื่อนไข และราคาที่เป็นธรรมเป็นหลักในการพิจารณาการทำ�รายการระหว่างกัน
122 อินทัช
คำ�อธิบายและการวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงาน ภาพรวม บริษทั ประกอบธุรกิจโดยการเข้าลงทุนในบริษทั ต่างๆ ซึง่ ดำ�เนินธุรกิจหลักในธุรกิจสือ่ สารโทรคมนาคม และธุรกิจสือ่ และโฆษณา ทัง้ นีก้ ลุม่ อินทัช ได้จำ�แนกตามส่วนงานเป็นธุรกิจต่างๆ ได้แก่ ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร้สาย ในประเทศ ดำ�เนินธุรกิจผ่านบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) (เอไอเอส) ซึ่งเป็นบริษัทร่วม ธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจต่างประเทศ ดำ�เนินธุรกิจผ่านบริษัท ไทยคม จำ�กัด (มหาชน) (ไทยคม) ซึ่งเป็นบริษัทย่อย และกิจการที่ควบคุมร่วมกันของไทยคม ซึ่งดำ�เนินธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในประเทศกัมพูชาและประเทศลาว ธุรกิจสื่อและ โฆษณา ดำ�เนินธุรกิจผ่านบริษัทย่อยของบริษัท คือ บริษัท ไอทีวี จำ�กัด (มหาชน) (ไอทีวี) และบริษัท แมทช์บอกซ์ จำ�กัด (แมทช์บอกซ์) และธุรกิจ อื่น ซึ่งส่วนใหญ่ดำ�เนินธุรกิจผ่านบริษัท ดีทีวี เซอร์วิส จำ�กัด (ดีทีวี) และบริษัท ซีเอส ล็อกซ อินโฟ จำ�กัด (มหาชน) (ซีเอสแอล) ก่อนวันที่ 7 มีนาคม 2550 ไอทีวี ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของบริษัท ดำ�เนินธุรกิจเกี่ยวกับสถานีโทรทัศน์ และเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2550 สำ�นักงาน ปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ได้เพิกถอนสัญญาอนุญาตให้ดำ�เนินการของไอทีวี ทำ�ให้ต้องหยุดดำ�เนินกิจการสถานีโทรทัศน์ และผลจาก การเพิกถอนสัญญาอนุญาตให้ดำ�เนินการดังกล่าว ทำ�ให้ ไม่มีรายได้ของไอทีวี ในธุรกิจสื่อและโฆษณาตั้งแต่วันที่หยุดดำ�เนินกิจการสถานี โทรทัศน์เป็นต้นมา โดยไอทีวีอยู่ระหว่างรอผลการพิจารณาจากสถาบันอนุญาโตตุลาการ ชี้ขาดในเรื่องดังกล่าว ซึ่งผลของคำ�ชี้ขาดไม่อาจ คาดการณ์ ได้ สำ�หรับกรณีพิพาทของไอทีวีได้ระบุไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษัทแล้ว เมือ่ วันที่ 1 เมษายน 2554 บริษทั ได้มหี นังสือแจ้งต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถึงการเปลีย่ นแปลงสัญลักษณ์ (Logo) ของบริษทั เนือ่ งจาก กลุ่มชินคอร์ปอเรชั่น ได้ก้าวข้ามจากกลุ่มธุรกิจโทรคมนาคม สู่การเป็นกลุ่มธุรกิจที่มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้นในปัจจุบัน จากองค์กรที่ให้ ความสำ�คัญกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สู่การเป็นองค์กรที่มุ่งสร้างความพึงพอใจสูงสุดแก่ลูกค้า บริษัทจึงเปลี่ยนเครื่องหมายการค้า จาก SHIN เป็น “INTOUCH” (อินทัช) โดยมองเห็นว่าถึงเวลาที่จะเปลี่ยนจากสัญลักษณ์ลูกโลกเดิมที่ใช้มากว่า 20 ปี สู่สัญลักษณ์ ใหม่ที่มาจาก รอยยิ้ม สามารถสะท้อนความเป็นมิตรได้ดียิ่งขึ้น ใกล้ชิดและสัมผัสได้ง่ายขึ้น และเพื่อให้สอดคล้องกับสัญลักษณ์ ใหม่ บริษัทจึงขอเปลี่ยนแปลง ชื่อย่อหลักทรัพย์ของบริษัทที่ใช้ ในระบบการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (Trade Name) จากชื่อย่อหลักทรัพย์เดิม SHIN เป็น ชื่อย่อหลักทรัพย์ ใหม่ INTUCH โดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้กำ�หนดให้ ใช้ชื่อย่อหลักทรัพย์ INTUCH มีผลในระบบการซื้อขายใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2554 การเสนอจ่ายเงินปันผลของบริษัท เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทมีมติให้จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลสำ�หรับงวดตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 ถึง 29 มีนาคม 2555 ให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัท ในอัตราหุ้นละ 1.58 บาท คิดเป็นเงินปันผลประมาณ 5,066 ล้านบาท ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับมติการ อนุมัติการจ่ายเงินปันผลสำ�หรับผลประกอบการงวดครึ่งปีหลังของปี 2554 ของเอไอเอส ในอัตรา 4.26 บาท/หุ้น ของที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำ�ปี 2555 ของเอไอเอส ในวันที่ 28 มีนาคม 2555 โดยบริษัทจะนำ�เสนอการจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2555 ของบริษัทพิจารณาอนุมัติต่อไป การจำ�หน่ายเงินลงทุนบางส่วนในเอไอเอส ในเดือนธันวาคม 2554 บริษัทได้ขายเงินลงทุนบางส่วนในเอไอเอส จำ�นวน 61 ล้านหุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 2.05 ของทุนชำ�ระแล้วของเอไอเอส ให้แก่ Singtel Strategic Investments Pte Ltd. ในราคา 130 บาทต่อหุ้น คิดเป็นมูลค่ารวมทั้งสิ้น 7,930 ล้านบาท ทำ�ให้บริษัทมีก�ำ ไรจากการ
123 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ขายเงินลงทุนหลังค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ จำ�นวน 7,264 ล้านบาท และ 7,499 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ภายหลังจากการขายหุ้นในครั้งนี้บริษัทยังคงสัดส่วนในการถือหุ้นร้อยละ 40.45 ของทุนชำ�ระแล้วของเอไอเอส และการขายหุ้นในครั้งนี้ไม่มีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงในอำ�นาจการควบคุมและการดำ�เนินงานของเอไอเอสแต่อย่างใด สรุปผลกระทบต่องบการเงินจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 กลุ่มอินทัชได้ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหม่ตามที่ได้กล่าวไว้ ในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินข้อที่ 3 ของงบการเงิน สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซึ่งมีผลให้นโยบายการบัญชีของกลุ่มอินทัชเปลี่ยนแปลง จากนโยบายการบัญชีที่ใช้ ในการจัดทำ� งบการเงินสำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 โดยสรุปผลกระทบต่องบการเงินรวมและงบการ เงินเฉพาะกิจการ ดังนี้ •• มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ซึ่ง กำ�หนดให้ถือปฏิบัติโดยวิธีเปลี่ยน ทันทีตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 เป็นต้นไป โดยงบการเงินก่อนวันที่ 1 มกราคม 2554 บริษัทไม่ได้ปันส่วนขาดทุนเกินทุนของไอทีวี ให้ผู้ ถือหุ้นส่วนน้อย (ส่วนได้เสียที่ไม่มีอ�ำ นาจควบคุม) ซึ่งเป็นไปตามข้อกำ�หนดในมาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมก่อนการปรับปรุง แต่สำ�หรับงบ การเงินตั้งแต่ไตรมาส 1/2554 เป็นต้นไป บริษัทต้องปันส่วนผลขาดทุนในไอทีวี ไปยังส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม เป็นผลให้กำ�ไรส่วน ที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัทในงบเฉพาะกำ�ไรขาดทุนรวม สำ�หรับปี 2554 เพิ่มขึ้นประมาณ 199 ล้านบาท •• มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์พนักงาน กลุ่มอินทัชเลือกปรับปรุงผลกระทบจากมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันของผล ประโยชน์ของพนักงานภายหลังออกจากงาน โดยวิธีปรับย้อนหลังงบการเงิน การถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีดังกล่าวเป็นผลให้ กำ�ไรสุทธิส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ในงบเฉพาะกำ�ไรขาดทุนรวมและงบเฉพาะกำ�ไรขาดทุนเฉพาะกิจการ สำ�หรับปี 2554 ลดลงประมาณ 31 ล้านบาท และ 4 ล้านบาท ตามลำ�ดับ และทำ�ให้กำ�ไรสะสมในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ลดลง ประมาณ 232 ล้านบาท และ 40 ล้านบาท ตามลำ�ดับ และเป็นผลให้กำ�ไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ในงบเฉพาะกำ�ไรขาดทุนรวมและงบเฉพาะ กำ�ไรขาดทุนเฉพาะกิจการ สำ�หรับปี 2553 (แสดงเปรียบเทียบกับงบการเงินสำ�หรับปี 2554) ลดลงประมาณ 24 ล้านบาท และ 4 ล้านบาท การเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล เมื่อวันที 11 ตุลาคม 2554 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นอัตราร้อยละ 23 สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้น สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และอัตราร้อยละ 20 สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เป็นต้นไป ต่อมาได้มีพระราช กฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 530) พ.ศ. 2554 เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2554 กำ�หนดให้ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นอัตราร้อยละ 23 สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และอัตราร้อยละ 20 สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556-2557 อย่างไรก็ตามสภาวิชาชีพบัญชีฯ เห็นว่า อัตราภาษีที่นำ�มาใช้ ในการวัด มูลค่าของสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี ควรเป็นอัตราตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ กล่าวคืออัตราร้อยละ 23 สำ�หรับ รอบระยะเวลาบัญชี 2555 และร้อยละ 20 สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชี 2556 เป็นต้นไป ทั้งนี้การลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลดังกล่าว มีผลให้ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีของกลุ่มอินทัชมีมูลค่าลดลง ทำ�ให้ กำ�ไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ในงบเฉพาะกำ�ไรขาดทุนรวมลดลง 1,358 ล้านบาท
124 อินทัช
งบการเงินรวม สำ�หรับปีสิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุม่ อินทัชมีรายได้รวม 26,225 ล้านบาท และมีก�ำ ไรส่วนทีเ่ ป็นของบริษทั ใหญ่ 16,559 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่มาจากส่วนแบ่งผลกำ�ไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียในเอไอเอส ซึ่งเป็นบริษัทร่วมและเป็นบริษัทหลักในการดำ�เนิน ธุรกิจโทรคมนาคมไร้สายในประเทศของกลุ่มอินทัช โดยมีส่วนแบ่งผลกำ�ไรจากเงินลงทุนในเอไอเอส สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำ�นวน 9,912 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 37.8 ของรายได้รวม และร้อยละ 59.9 ของกำ�ไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ สำ�หรับคำ�อธิบายและการวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของเอไอเอส โปรดดู สรุปคำ�อธิบายและการวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของเอไอเอส ที่ แนบมาด้วยแล้ว ผลการดำ�เนินงานของบริษัท (ตามวิธีราคาทุน) ตารางต่อไปนี้แสดงผลการดำ�เนินงานเฉพาะของบริษัท ทั้งนี้ควรอ่านควบคู่กับงบการเงินฉบับเต็ม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่) ล้านบาท % ล้านบาท % รายได้เงินปันผล กำ�ไรจากการขายเงินลงทุนบางส่วนในบริษัทร่วม รายได้อื่น รวมรายได้
10,268 7,499 56 17,823
57.6% 42.1% 0.3% 100.0%
21,908 29 21,937
99.9% 0.1% 100.0%
ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้บริหาร รวมค่าใช้จ่าย กำ�ไรก่อนหักต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน กำ�ไรสำ�หรับปี
205 86 291 17,532 (2) 17,530
1.2% 0.5% 1.7% 98.3% 0.0% 98.3%
195 89 284 21,653 (2) 21,651
0.9% 0.4% 1.3% 98.7% 0.0% 98.7%
-
กำ�ไรของบริษัท กำ�ไรของบริษัท ลดลงร้อยละ 19.0 จากจำ�นวน 21,651 ล้านบาท ในปี 2553 เป็นจำ�นวน 17,530 ล้านบาท ในปี 2554 โดยมีสาเหตุหลัก มาจากในปี 2553 เอไอเอสได้มีการจ่ายเงินปันผลพิเศษให้ผู้ถือหุ้น สุทธิกับปี 2554 บริษัทมีกำ�ไรจากการขายเงินลงทุนบางส่วนในเอไอเอส
125 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ตารางต่อไปนี้แสดงฐานะการเงินเฉพาะของบริษัท ทั้งนี้ควรอ่านควบคู่กับงบการเงินฉบับเต็ม สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่) ล้านบาท % ล้านบาท % สินทรัพย์ เงินสด รายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์
9,820 20 12,077 65 21,982
44.7% 0.1% 54.9% 0.3% 100.0%
7,503 125 7,628
34.1% 0.6% 34.7%
130 130
0.9% 0.9%
ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ สำ�รองตามกฎหมายและอื่นๆ กำ�ไรสะสมยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
3,206 10,342 500 306 14,354
14.6% 47.0% 2.3% 1.4% 65.3%
3,201 10,198 499 404 14,302
22.2% 70.6% 3.5% 2.8% 99.1%
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
21,982
100.0%
14,432
100.0%
เงินปันผลค้างจ่าย หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน
1,827 45 12,502 58 14,432
12.7% 0.3% 86.6% 0.4% 100.0% -
งบแสดงฐานะการเงินของบริษัท สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เพิ่มขึ้นร้อยละ 52.3 เมื่อเทียบกับสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ส่วนใหญ่เป็นผลจาก เงินสด รายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชัว่ คราวทีเ่ พิม่ ขึน้ เนือ่ งจากบริษทั รับเงินสดสุทธิจากการขายเงินลงทุนบางส่วนในเอไอเอส จำ�นวน 7,924 ล้านบาท เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมลดลงจากการขายเงินลงทุนบางส่วนใน เอไอเอส หนี้สินรวมเพิ่มขึ้นจากการบันทึก เงินปันผลค้างจ่าย (โดยบริษัทจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นแล้วในเดือนมกราคม 2555) และส่วนของผู้ถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จำ�นวน 14,354 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากจำ�นวน 14,302 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
126 อินทัช
ผลการดำ�เนินงานตามงบการเงินรวม ตารางต่อไปนี้แสดงผลการดำ�เนินงานตามงบการเงินรวมของกลุ่มอินทัช พร้อมสัดส่วนต่อรายได้รวม ทั้งนี้ควรอ่านควบคู่กับงบการเงินรวม และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมของบริษัท สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่) ล้านบาท % ล้านบาท % รายได้ รายได้จากการขายและบริการ - ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ในต่างประเทศ (ซึ่งไม่รวมเอไอเอส) - ธุรกิจดาวเทียม - ธุรกิจสื่อและโฆษณา - ธุรกิจอื่น* รวมรายได้จากการขายและบริการ ส่วนแบ่งผลกำ�ไรจากเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย - เอไอเอส (โทรคมนาคมภายในประเทศ) - อื่นๆ รวมส่วนแบ่งผลกำ�ไรจากเงินลงทุน ตามวิธีส่วนได้เสีย กำ�ไรจากการขายเงินลงทุนบางส่วนในบริษัทร่วม รายได้อื่น รายได้รวม
1,182 5,738 1,305 424 8,649
4.5% 21.9% 5.0% 1.6% 33.0%
1,467 4,627 1,104 769 7,967
8.5% 26.7% 6.4% 4.4% 46.0%
9,912 157
37.8% 0.6%
9,042 154
52.2% 0.9%
10,069 7,264 243 26,225
38.4% 27.7% 0.9% 100.0%
9,196
53.1% 0.9% 100.0%
165 17,328
127 รายงาน ประจำ�ปี 2554
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่) ล้านบาท % ล้านบาท % ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายและต้นทุนการให้บริการ ผลประโยชน์ตอบแทนตามสัญญาอนุญาตให้ดำ�เนินการ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ขาดทุนจากการสำ�รองเผื่อดอกเบี้ยของ ส่วนต่างของสัญญาอนุญาตให้ดำ�เนินการ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ค่าตอบแทนผู้บริหาร รวมค่าใช้จ่าย กำ�ไรก่อนหักต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ ต้นทุนทางการเงิน รายได้(ค่าใช้จ่าย)ภาษีเงินได้ กำ�ไรสำ�หรับงวด การแบ่งปันกำ�ไร ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม
6,129 621 173 1,593
23.4% 2.4% 0.7% 6.1%
6,521 494 244 1,494
37.6% 2.9% 1.4% 8.6%
433 85 153 9,187 17,038 (482) (487) 16,069
1.6% 0.3% 0.6% 35.1% 64.9% (1.8)% (1.9)% 61.2%
433 90 137 9,413 7,915 (499) 124 7,540
2.5% 0.5% 0.8% 54.3% 45.7% (2.9)% 0.7% 43.5%
16,559 63.1% (490) (1.9)% 16,069 61.2% * รวมธุรกิจอินเทอร์เน็ต ธุรกิจ Direct Satellite TV ธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศ และรายการระหว่างกัน
8,016 (476) 7,540
46.3% (2.8)% 43.5%
128 อินทัช
รายได้ รายได้รวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 51.3 จากจำ�นวน 17,328 ล้านบาท ในปี 2553 เป็นจำ�นวน 26,225 ล้านบาท ใน ปี 2554 รายได้จากการขายและการให้บริการ รายได้จากการขายและการให้บริการในปี 2554 เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.6 จากปี 2553 โดยรายได้จากการขาย และการให้บริการจากธุรกิจดาวเทียม เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.0 จากจำ�นวน 4,627 ล้านบาท ในปี 2553 เป็นจำ�นวน 5,738 ล้านบาท ในปี 2554 และรายได้จากการขายและการให้บริการจากธุรกิจสื่อและโฆษณา เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.2 ขณะที่รายได้จากการขายและการให้บริการจากธุรกิจ โทรคมนาคมในต่างประเทศ ลดลงร้อยละ 19.4 จากจำ�นวน 1,467 ล้านบาท ในปี 2553 เป็นจำ�นวน 1,182 ล้านบาท ในปี 2554 และรายได้ จากการขายและการให้บริการจากธุรกิจอื่นลดลงร้อยละ 44.9 ธุรกิจดาวเทียม รายได้จากสายธุรกิจดาวเทียม เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.0 โดยมีสาเหตุหลักจากรายได้จากดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) เพิ่มขึ้น จากปริมาณการใช้งานแบนด์วิธในประเทศอินเดีย ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย มาเลเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ นิวซีแลนด์ เมียนมาร์ และอินโดนีเซีย รวมทั้ง การที่ไทยคมคิดค่าบริการการใช้งานแบนด์วิธเต็มจำ�นวนกับลูกค้าในประเทศญี่ปุ่น และการรับรู้ค่าบริการการเข้าใช้งานสถานีควบคุมเครือ ข่ายภาคพื้นดิน (Gateway Access Fee) จากบริษัท เอ็นบีเอ็น จำ�กัด สุทธิกับรายได้จากการขายอุปกรณ์ผู้ ใช้ปลายทางไอพีสตาร์ (UT) ที่ ลดลงจากการมุ่งเน้นที่การเพิ่มยอดขายของแบนด์วิธ โดยการเปิดให้ระบบและอุปกรณ์ผู้ ใช้ปลายทางของผู้ผลิตรายอื่นสามารถทำ�งานร่วม กับระบบไอพีสตาร์ ได้ ขณะที่รายได้จากดาวเทียมแบบทั่วไปเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากการให้เช่าช่องสัญญาณดาวเทียมแก่ลูกค้ากลุ่มผู้ประกอบ การโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในต่างประเทศ (ไม่รวมเอไอเอส) รายได้จากสายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในต่างประเทศซึ่งได้แก่ ประเทศกัมพูชา และประเทศลาว ลดลงร้อยละ 19.4 เนื่องจากสภาวะการแข่งขันที่สูงขึ้นในประเทศลาวและประเทศกัมพูชา ในประเทศลาว มีจำ�นวนผู้ ใช้บริการโทรศัพท์ (รวมโทรศัพท์เคลื่อนที่และโทรศัพท์พื้นฐาน) ในปี 2554 ลดลงร้อยละ 21.7 เป็นจำ�นวน 1.30 ล้าน ราย จากจำ�นวน 1.66 ล้านราย ณ สิน้ ปี 2553 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการแข่งขันทีส่ งู ขึน้ ขณะที่ ARPU ของโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นระบบ Prepaid เพิ่มขึ้นร้อยละ 70.1 จากสิ้นปี 2553 เนื่องจากในเดือนสิงหาคม 2554 รัฐบาลของประเทศลาวโดย Ministry of Post, Telecommunication, and Communication (MPTC) ได้ประกาศห้ามผู้ ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ให้ส่วนลดเป็นชั่วโมงโทรฟรีกับลูกค้า และมีการควบคุมการตั้ง อัตราค่าใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างเคร่งครัด ส่วน ARPU ของ PSTN เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปีก่อน ในประเทศกัมพูชา มีจำ�นวนผู้ ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ณ สิ้นปี 2554 จำ�นวน 0.46 ล้านราย ลดลงจากจำ�นวน 0.72 ล้านราย ณ สิ้นปี 2553 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการลดลงของจำ�นวนลูกค้าโทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นระบบ Prepaid เนือ่ งจากมีการแข่งขันด้านราคาจากคูแ่ ข่ง ขณะที่ ARPU เพิ่มขึ้นร้อยละ 32.0 จากสิ้นปี 2553 เนื่องจากมีรายการส่งเสริมการขายซึ่งส่งผลให้ลูกค้ามีการใช้งาน (Minute of Usage) เพิ่มมากขึ้น ธุรกิจสื่อและโฆษณา รายได้จากสายธุรกิจสื่อและโฆษณา เพิ่มขึ้นร้อยละ 18.2 เนื่องจากการใช้จ่ายเพื่อการโฆษณาของลูกค้าเพิ่มขึ้น โดย เฉพาะจากกลุ่มเอไอเอส ธุรกิจอื่น รายได้จากสายธุรกิจอื่นลดลง ร้อยละ 44.9 เนื่องจากยอดขายอุปกรณ์จานรับสัญญาณดาวเทียมดีทีวีในประเทศไทยและประเทศ กัมพูชาลดลง โดย ณ สิ้นปี 2554 มียอดจำ�หน่ายอุปกรณ์จานรับสัญญาณดาวเทียมดีทีวีสะสม ณ สิ้นปี 2554 จำ�นวน 1.17 ล้านชุด เพิ่ม ขึ้น 0.22 ล้านชุด จากจำ�นวน 0.95 ล้านชุด ณ สิ้นปี 2553
129 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ส่วนแบ่งผลกำ�ไรจากเงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสีย ส่วนแบ่งผลกำ�ไรจากเงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสียของกลุม่ อินทัช ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นผลจากส่วน แบ่งผลกำ�ไรจากเงินลงทุนในกลุ่มเอไอเอส เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.5 จากจำ�นวน 9,196 ล้านบาท ในปี 2553 เป็นจำ�นวน 10,069 ล้านบาท ในปี 2554 กำ�ไรสุทธิของกลุ่มเอไอเอส สำ�หรับปี 2554 มีจำ�นวน 22,218 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.3 เมื่อเปรียบเทียบกับกำ�ไรสุทธิ จำ�นวน 20,514 ล้าน บาท ในปี 2553 (กำ�ไรสุทธิดังกล่าวไม่รวมผลกระทบจากการปรับมูลค่ายุติธรรมของ Derivatives และกำ�ไรระหว่างกัน ซึ่งบริษัทได้ปรับปรุง เป็นส่วนหนึง่ ของรายการส่วนแบ่งผลกำ�ไรจากเงินลงทุนตามวิธสี ว่ นได้เสียในงบการเงินรวมของบริษทั ) อย่างไรก็ตามกำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนิน งานปกติ (Normalized net profit) (ซึ่งไม่รวมผลขาดทุนจากการด้อยค่าของค่าความนิยมในเงินลงทุนใน DPC และผลกระทบจากการลด อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล) ในปี 2554 จะมีจำ�นวน 26,600 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 20.5 เมื่อเปรียบเทียบกับกำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนินงาน ปกติในปี 2553 จำ�นวน 22,074 ล้านบาท กำ�ไรสุทธิจากการดำ�เนินงานปกติเพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการให้บริการเสียง และรายได้จากการให้บริการ ข้อมูล สุทธิกับอัตรากำ�ไรจากการขายที่ลดลง และค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารที่เพิ่มขึ้น การเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการให้บริการเสียง เนือ่ งจากเอไอเอสมีการสร้างสรรค์โปรโมชัน่ ในการให้บริการเสียงทีห่ ลากหลาย ตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าในแต่ละพืน้ ทีแ่ ละสอดคล้องตามพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้าทีม่ คี วามแตกต่างกัน จึงทำ�ให้รายได้จากการให้บริการเสียง ของกลุ่มลูกค้าระบบเติมเงินเพิ่มขึ้น ส่วนในกลุ่มลูกค้าระบบเหมาจ่ายรายเดือนนั้น เอไอเอสใช้จุดแข็งด้านโครงข่ายการให้บริการที่มีคุณภาพ และมีโปรโมชั่นที่ลูกค้าสามารถเลือกออกแบบได้เองทำ�ให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้ากลุ่มนี้ได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้เอไอเอสยังสร้าง ฐานลูกค้าที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องจากการปรับปรุงนโยบายการจัดจำ�หน่าย จึงเป็นผลให้เอไอเอสมีรายได้จากการให้บริการเสียงของ กลุ่มลูกค้าระบบเหมาจ่ายรายเดือนเพิ่มขึ้น สำ�หรับรายได้จากการให้บริการข้อมูลเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณการใช้งานและจำ�นวนผู้ ใช้งานบริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ ตาม ความต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งการให้บริการด้านข้อมูลที่ใช้งานได้อย่างต่อเนื่องทั่วประเทศไทยผ่านเทคโนโลยี 3G, EDGE+ และ WiFi นอกจากนี้รายได้จากการขายเพิ่มขึ้นจากกระแสความนิยมในอุปกรณ์สมาร์ทโฟน ขณะที่อัตรากำ�ไรจากการขายลดลง เนื่องจากราคาขายเครื่องที่ลดลง ซึ่งเป็นผลจากสภาวะการในตลาดอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่มีการแข่งขันที่สูงมากขึ้น ต้นทุนจากการให้บริการค่อนข้างคงที่ โดยค่าตัดจำ�หน่ายโครงข่ายลดลงจากค่าตัดจำ�หน่ายโครงข่ายของสินทรัพย์ที่ลงทุนใหม่มีมูลค่าน้อย กว่ามูลค่าสินทรัพย์ที่ตัดจำ�หน่ายหมด สุทธิกับต้นทุนโครงข่ายที่เพิ่มขึ้นจากจำ�นวนสถานีฐานที่เพิ่มขึ้น ต้นทุนการให้บริการอื่นเพิ่มขึ้นจาก ค่าใช้จ่ายด้านศูนย์บริการลูกค้า ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับโครงการ 3G-900 เมกะเฮิรตซ์ รวมถึงการบันทึกกลับรายการบัญชีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ โครงข่ายจำ�นวน 360 ล้านบาทในไตรมาส 2/2553 ส่วนค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารที่เพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่เป็นผลจากค่าใช้จ่ายในการขายที่เพิ่มขึ้นจากการรีแบรนด์หรือเปลี่ยนโฉมของเอไอเอส ใหม่ เพื่อตอบรับกับความต้องการของลูกค้าที่แตกต่างกันได้ดีขึ้นกว่าเดิม และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงานที่สูงขึ้น รวมถึงการช่วยเหลือ การ บริจาคเงินและสิ่งของในช่วงเหตุการณ์อุทกภัย สำ�หรับคำ�อธิบายและการวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของ เอไอเอส เพิ่มเติมโปรดดู สรุปคำ�อธิบายและการวิเคราะห์ผลการดำ�เนินงานของ เอไอเอสที่แนบมาด้วยแล้ว
130 อินทัช
ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายรวม ลดลงเล็กน้อยจากจำ�นวน 9,413 ล้านบาท ในปี 2553 เป็นจำ�นวน 9,187 ล้านบาท ในปี 2554 ต้นทุนขายและต้นทุนการให้บริการ ต้นทุนขายและต้นทุนการให้บริการลดลงร้อยละ 6.0 จากจำ�นวน 6,521 ล้านบาท ในปี 2553 เป็นจำ�นวน 6,129 ล้านบาท ในปี 2554 ส่วนใหญ่เป็นผลจากการลดลงของ ต้นทุนในธุรกิจดาวเทียม และต้นทุนในธุรกิจอื่น สุทธิกับต้นทุนในธุรกิจสื่อ และโฆษณาที่เพิ่มขึ้น โดยต้นทุนในธุรกิจดาวเทียมส่วนใหญ่ลดลงจากต้นทุนการให้บริการดาวเทียมแบบทัว่ ไป จากการลดลงของต้นทุนการให้บริการจัดหาอุปกรณ์ สำ�หรับจัดตั้งเครือข่ายสื่อสารผ่านดาวเทียม ต้นทุนค่าเช่าช่องสัญญาณดาวเทียมสำ�หรับการให้บริการเครือข่ายโทรทัศน์ดิจิตอลทั่วโลก ต้นทุน Fiber optic สำ�หรับการให้บริการเช่าช่องสัญญาณดาวเทียมแก่ลูกค้ากลุ่มผู้ประกอบการโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม และต้นทุนค่าเบี้ย ประกันภัยดาวเทียมแบบทั่วไปบนวงโคจร ขณะที่ต้นทุนการให้บริการดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากค่าดำ�เนินการสถานีควบคุมเครือข่ายภาคพื้นดินในประเทศ อินเดีย สุทธิกับการลดลงของต้นทุนค่าเบี้ยประกันภัยดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร์) บนวงโคจร และต้นทุนการขายอุปกรณ์ผู้ ใช้ปลายทาง ไอพีสตาร์ตามยอดขายที่ลดลง ส่วนต้นทุนในธุรกิจอื่นลดลงตามการลดลงของรายได้จากการให้บริการคอมพิวเตอร์ และลดลงตามรายได้จากการขายอุปกรณ์จากรับ สัญญาณดาวเทียมดีทีวี ขณะที่ต้นทุนในธุรกิจสื่อและโฆษณาเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของรายได้ ผลประโยชน์ตอบแทนตามสัญญาอนุญาตให้ดำ�เนินการ ผลประโยชน์ตอบแทนตามสัญญาอนุญาตให้ดำ�เนินการของธุรกิจดาวเทียมและ ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในต่างประเทศเพิ่มขึ้นร้อยละ 25.7 จากปี 2553 โดยผลประโยชน์ตอบแทนจากธุรกิจดาวเทียมเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.9 ตามการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการให้บริการดาวเทียม สุทธิกับการลดลงของผลประโยชน์ตอบแทนจากธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในประเทศ กัมพูชาตามการลดลงของรายได้ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการขายลดลงร้อยละ 29.1 จากจำ�นวน 244 ล้านบาท ในปี 2553 เป็นจำ�นวน 173 ล้านบาท ในปี 2554 ส่วน ใหญ่เป็นผลมาจากการลดลงของค่าใช้จ่ายทางการตลาดในธุรกิจดาวเทียม ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในต่างประเทศ และธุรกิจดีทีวี (Direct Satellite TV) ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายในการบริหารเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.6 จากจำ�นวน 1,494 ล้านบาท ในปี 2553 เป็นจำ�นวน 1,593 ล้านบาท ในปี 2554 ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน และค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ กลุ่มอินทัชมีขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ในปี 2554 และปี 2553 มี จำ�นวน 85 ล้านบาท และ 90 ล้านบาท ตามลำ�ดับ เนื่องจากในปี 2553 ค่าเงินบาทต่อเงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้น เป็นผลให้เกิดขาดทุน จากการแปลงค่าสินทรัพย์สุทธิคงเหลือที่เป็นเงินตราต่างประเทศสกุลอื่นๆ ขณะที่ในปี 2554 ค่าเงินบาทต่อเงินดอลลาร์สหรัฐฯ อ่อนค่าลง กลุ่มอินทัชมีหนี้สินที่เป็นเงินตราต่างประเทศจากการกู้ยืมเงินสำ�หรับโครงการดาวเทียมไทยคม 6 ทำ�ให้เกิดผลให้เกิดขาดทุนจากการแปลง ค่าหนี้สินสุทธิคงเหลือที่เป็นเงินตราต่างประเทศ รวมถึง มีผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจากการจ่ายคืนเงินกู้ยืมที่เป็น เงินตราต่างประเทศในระหว่างปี 2554
131 รายงาน ประจำ�ปี 2554
กำ�ไรก่อนหักต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ จากคำ�อธิบายและการวิเคราะห์ข้างต้น กลุ่มอินทัชมีกำ�ไรก่อนหักต้นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 115.3 จากจำ�นวน 7,915 ล้านบาท ในปี 2553 เป็นจำ�นวน 17,038 ล้านบาท ในปี 2554 ต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงินของกลุ่มอินทัชลดลงเล็กน้อย จากจำ�นวน 499 ล้านบาท ในปี 2553 เป็นจำ�นวน 482 ล้านบาท ในปี 2554 รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้ ในปี 2554 กลุ่มอินทัชมีค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ จำ�นวน 487 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นผลจากการบันทึกผลกระทบจากการลดอัตราภาษีเงินได้ นิติบุคคล ซึ่งมีผลทำ�ให้สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชีลดลงและบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น ขณะที่ปี 2553 กลุ่มอินทัชมีรายได้ ภาษีเงินได้ จำ�นวน 124 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นผลจากการบันทึกบัญชีรายได้ภาษีเงินได้ของผลขาดทุนในธุรกิจดาวเทียม ขาดทุนส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียทีไม่มีอำ�นาจควบคุม ในปี 2554 และปี 2553 มีส่วนแบ่งผลขาดทุนแก่ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม จำ�นวน 490 ล้านบาท และจำ�นวน 476 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยส่วนแบ่งผลขาดทุนแก่ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมในปี 2554 ส่วนใหญ่เป็นผลจากการบันทึกผลกระทบจากการลดอัตราภาษีเงิน ได้นิติบุคคล ซึ่งมีผลทำ�ให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้เพิ่มขึ้น โดยแบ่งค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้แก่ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ประมาณ 215 ล้านบาท นอกจากนี้ในปี 2554 บริษัทได้ปันส่วนผลขาดทุนของไอทีวีให้แก่ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม ประมาณ 199 ล้านบาท ซึ่ง เป็นไปตามข้อกำ�หนดของมาตรฐานการบัญชีที่ปรับปรุงใหม่และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2554 ทั้งนี้หากไม่รวมผลกระทบจากทั้ง สองเรื่องดังกล่าวข้างต้นแล้ว ส่วนแบ่งผลขาดทุนแก่ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุมในปี 2554 ลดลงจากปี 2553 เนื่องจากมีผลขาดทุนจาก ธุรกิจดาวเทียมลดลง กำ�ไรส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ จากคำ�อธิบายและการวิเคราะห์ข้างต้น กลุ่มอินทัชมีกำ�ไรสุทธิเพิ่มขึ้นจากจำ�นวน 8,016 ล้านบาท ในปี 2553 เป็นจำ�นวน 16,559 ล้านบาท ในปี 2554
132 อินทัช
งบแสดงฐานะการเงินรวม ตารางต่อไปนี้แสดงงบแสดงฐานะการเงินรวมของกลุ่มอินทัช ทั้งนี้ควรอ่านควบคู่กับงบการเงินรวม และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมของ บริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 (ปรับปรุงใหม่) ล้านบาท % ล้านบาท % เงินสด รายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว 13,954 25.1% 4,335 9.2% สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 2,312 4.2% 2,188 4.6% เงินลงทุนในบริษัทร่วม 16,977 30.6% 18,039 38.2% อาคารและอุปกรณ์ 6,668 12.0% 5,318 11.3% อาคารและอุปกรณ์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ดำ�เนินการ 12,828 23.1% 14,177 30.1% สินทรัพย์ ไม่หมุนเวียนอื่น 2,788 5.0% 3,116 6.6% รวมสินทรัพย์ 55,527 100.0% 47,173 100.0% เงินปันผลค้างจ่าย หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินกู้ยืมระยะยาว หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน ส่วนของบริษัทใหญ่ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
7,503 12,366 5,653 679 26,201 21,159 8,167 29,326 55,527
13.5% 22.3% 10.2% 1.2% 47.2% 38.1% 14.7% 52.8% 100.0%
8,443 7,549 462 16,454 22,142 8,577 30,719 47,173
17.9% 16.0% 1.0% 34.9% 46.9% 18.2% 65.1% 100.0%
สินทรัพย์ เงินสด รายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีจำ�นวน 13,954 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 221.9 จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ส่วนใหญ่เป็นผลจากเงินรับสุทธิจากการขายเงินลงทุนบางส่วนในเอไอเอส จำ�นวน 7,924 ล้านบาท
133 รายงาน ประจำ�ปี 2554
เงินลงทุนในบริษัทร่วม ลดลงร้อยละ 5.9 ส่วนใหญ่เป็นผลจากการขายเงินลงทุนบางส่วนในบริษัทร่วม อาคารและอุปกรณ์เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.4 ส่วนใหญ่เป็นผลจากการลงทุนเพิ่มในโครงการดาวเทียมไทยคม 6 ส่วนอาคารและอุปกรณ์ภายใต้สัญญาอนุญาตให้ด�ำ เนินการลดลงร้อยละ 9.5 เนื่องจากค่าตัดจำ�หน่ายของสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจดาวเทียม หนี้สิน หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เพิ่มขึ้นร้อยละ 59.2 จากการบันทึกเงินปันผลค้างจ่าย โดยบริษัทจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือ หุ้นแล้วในเดือนมกราคม 2555 และจากการเพิ่มขึ้นของเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินของธุรกิจดาวเทียม เพื่อใช้ ในโครงการดาวเทียมไทยคม 6 ส่วนของผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น ลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 จากการจ่ายเงินปันผลสูงกว่ากำ�ไรจากการดำ�เนินงานในปี 2554 กระแสเงินสดรวม* กระแสเงินสดรวมของกลุ่มอินทัชสามารถสรุปได้ดังตารางต่อไปนี้
เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงาน เงินสดสุทธิได้มาจาก(ใช้ ไปใน)กิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสด รายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น(ลดลง)-สุทธิ เงินสด รายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราวต้นงวด ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศคงเหลือสิ้นงวด เงินสดรายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราวปลายงวด * กระแสเงินสดรวม ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว
สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 ล้านบาท ล้านบาท (ปรับปรุงใหม่) 13,264 23,574 5,401 (689) (9,041) (22,454) 9,624 431 4,335 3,908 (5) (4) 13,954 4,335
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุ่มอินทัชมีเงินสด รายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราวคงเหลือ 13,954 ล้านบาท โดยเพิ่มขึ้นจำ�นวน 9,624 ล้านบาท (ไม่รวมผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต่างประเทศคงเหลือสิ้นงวด) จากสิ้นปี 2553 ในขณะที่เงินสด รายการ เทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราวคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2552 จำ�นวน 431 ล้านบาท เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงาน กลุ่มอินทัชมีกระแสเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำ�เนินงานจำ�นวน 13,264 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 43.73 เมื่อเทียบกับปี 2553 ส่วนใหญ่ เป็นผลจากการลดลงของเงินปันผลจากเอไอเอส ซึ่งในปี 2553 เอไอเอสมีการจ่ายเงินปันผลพิเศษ
134 อินทัช
เงินสดสุทธิได้มาจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมลงทุน จำ�นวน 5,401 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2553 ซึ่งมีกระแสเงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน จำ�นวน 689 ล้านบาท เนื่องจากในปี 2554 มีเงินสดรับสุทธิจากการขายเงินลงทุนบางส่วนในบริษัทร่วม สุทธิกับการจ่ายลงทุนในอาคารและ อุปกรณ์มากขึ้น ซึ่งรวมถึงการลงทุนในดาวเทียมไทยคม 6 เงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน กระแสเงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน จำ�นวน 9,041 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 59.7 จากปี 2553 เนื่องจากในปี 2553 บริษัทมีการจ่าย เงินปันผลพิเศษ ปัจจัยที่อาจมีผลต่อฐานะการเงินหรือผลการดำ�เนินงานอย่างมีนัยสำ�คัญในอนาคต สืบเนือ่ งจากบริษทั ประกอบธุรกิจการลงทุนโดยการเข้าถือหุน้ ในบริษทั อืน่ ดังนัน้ ปัจจัยทีอ่ าจมีผลต่อฐานะการเงินหรือผลการดำ�เนินงานอย่าง มีนัยสำ�คัญของบริษัทที่เข้าลงทุนจึงเป็นปัจจัยที่จะส่งผลกระทบต่อบริษัทด้วย ทั้งนี้โปรดดูรายละเอียดในหัวข้อดังกล่าวได้จากแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี 2554 ของเอไอเอสและไทยคม ในหัวข้อฐานะการเงินและผล การดำ�เนินงาน
บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด (มหาชน) คำ�อธิบายและบทวิเคราะห์ของฝ่ายบริหารประจำ�ปี 2554
บทวิเคราะห์สำ�หรับผู้บริหาร
ในปี 2554 เอไอเอสมีรายได้เติบโต 14% จากความนิยมในการใช้บริการข้อมูล รายได้ที่เติบโตนี้มาจากทั้งบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่เติบโต 12% และยอดขายอุปกรณ์ที่เติบโต 41% ด้วยกระแสนิยมของอุปกรณ์อย่างสมาร์ทโฟน นอกจากนี้เอไอเอสมีส่วนแบ่งทางการตลาดในเชิง รายได้เพิ่มขึ้นอันเป็นผลจากความเชื่อมั่นของลูกค้าที่มีต่อโครงข่ายและบริการที่มีคุณภาพของบริษัท ในรอบปีที่ผ่านมา ผู้บริโภคมีการใช้ งานอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นจากการใช้งานสังคมออนไลน์และอุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ต่างๆ ทั้งสมาร์ทโฟนและแอร์การ์ด ส่งผลให้รายได้จากบริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นมากกว่า 70% เอไอเอสได้ออกแบบโปรโมชั่นการใช้งานอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ให้มีความ หลากหลายตอบสนองในทุกกลุ่มลูกค้าไม่ว่าลูกค้าจะใช้สมาร์ทโฟนหรือโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบธรรมดา หรือลูกค้าจะใช้จำ�นวนอินเทอร์เน็ตใน ปริมาณมากหรือหรือใช้ปริมาณน้อยโดยจ่ายแค่เพียง 9 บาทต่อวัน ในครึ่งหลังของปี 2554 เอไอเอสได้เปิดให้บริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่บนเทคโนโลยีทั้ง 3G, EDGE+ และ WiFi ทำ�ให้เอไอเอสสามารถสร้าง ประสบการณ์การใช้งานอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ได้อย่างต่อเนื่องให้กับลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น โดยภาพรวม ผู้ ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่างกำ�หนด ราคาบริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่สอดคล้องตามกลไกตลาด และมีการกำ�หนดเงื่อนไขการใช้งานอย่างเหมาะสม (Fair usage policy) ใน การใช้บริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ ในขณะที่บริการ 3G บนคลื่น 900MHz ของเอไอเอสที่เปิดให้บริการไปกว่า 6 เดือนนั้น มีผู้นิยมใช้บริการ ดังกล่าวเป็นจำ�นวนมาก โดยมีผู้ ใช้บริการ 3G ของเอไอเอสกว่า 1.2 ล้านรายและปริมาณการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพิม่ ขึน้ มากกว่า 100% สำ�หรับ ในปี 2555 เอไอเอสยังคงมุ่งมั่นให้บริการโดยเน้นที่คุณภาพเช่นเดิม เพื่อสร้างประสบการณ์ ใช้งานที่ดีให้กับลูกค้า เอไอเอสจะเสริมคุณภาพใน การให้บริการ 3G บนคลื่น 900MHz ให้ดียิ่งขึ้นโดยการเพิ่มสถานีฐานเทคโนโลยี3G อีกประมาณ 2,000 สถานีในพื้นที่กรุงเทพฯ ปริมณฑล
135 รายงาน ประจำ�ปี 2554
และจังหวัดสำ�คัญ โดยเน้นที่การเพิ่มความจุในการรับส่งข้อมูลให้มากขึ้น ซึ่งจะเสริมประสบการณ์ ใช้งานที่ดีให้กับลูกค้าโดยเฉพาะในพื้นที่ที่มี ความต้องการใช้งานสูง ในปี 2554 เอไอเอสมี EBITDA เท่ากับ 56,622 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 9.5% แม้บริษัทจะลงทุนขยายความจุการใช้งานอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ทั้งบน เทคโนโลยี 2G และ 3G มากขึ้นหรือมีกิจกรรมรีแบรนด์ของบริษัทก็ตาม ในขณะที่อัตราทำ�กำ�ไร EBITDA margin ลดลงจากการเติบโตของ ธุรกิจการขายอุปกรณ์ซึ่งมีอัตรากำ�ไรที่ต่ำ�กว่าธุรกิจให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทั้งนี้หากไม่รวมรายการพิเศษแล้ว อัตรากำ�ไร EBITDA margin จากธุรกิจให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยังคงทรงตัว เอไอเอสมีกำ�ไรสุทธิในปีที่ผ่านมาเท่ากับ 22,218 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8.3% หลัง จากหักรายการปรับปรุงสินทรัพย์ภาษีรอการตัดบัญชีจ�ำ นวน 2,840 ล้านบาท โดยกำ�ไรสุทธิก่อนรายการพิเศษของเอไอเอสเท่ากับ 26,600 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 21% ซึ่งเป็นผลให้เอไอเอสมีกระแสเงินสด 51,000 ล้านบาทและมีความคล่องตัวสำ�หรับการลงทุนต่างๆในอนาคต ในปี 2555 นี้ อุตสาหกรรมโทรคมนาคมภายใต้การกำ�กับดูแลขององค์กรอิสระอย่างสำ�นักงานกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) กำ�ลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านจากระบบสัญญาร่วมการงานแบบสร้าง-โอน-ดำ�เนินการ ในปัจจุบันไปสู่ระบบใบ อนุญาตในอนาคต ทำ�ให้ผู้ ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในปัจจุบันสามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่องหลังจากครบอายุสัญญาร่วมการงาน ระบบใบอนุญาตจะสร้างสภาพการแข่งขันอย่างเท่าเทียมและในขณะเดียวกันจะนำ�ไปสู่การลงทุนในเทคโนโลยีใหม่ด้วย
เหตุการณ์สำ�คัญ บันทึกการด้อยค่าความนิยมของดีพีซีมูลค่า 1,542 ล้านบาทในรอบปี 2554 ในไตรมาส 4/2554 บริษัทได้บันทึกการด้อยค่าความนิยมของบริษัทย่อยดีพีซีซึ่งดำ�เนินธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่บนคลื่น 1,800MHz เป็น จำ�นวน 384 ล้านบาท ทำ�ให้ค่าความนิยมของดีพีซีเท่ากับศูนย์ สำ�หรับในรอบปี 2554 บริษัทได้บันทึกการด้อยค่าความนิยมของบริษัทย่อย ดีพีซีเป็นจำ�นวน 1,542 ล้านบาทในงบกำ�ไรขาดทุน ซึ่งรายการดังกล่าวไม่สามารถนำ�ไปหักภาษีได้ ไม่กระทบต่อกระแสเงินสดและไม่สามารถ บันทึกกลับคืนได้ ซึ่งการบันทึกการด้อยค่าครั้งนี้ทำ�ให้บริษัทไม่มีค่าความนิยมของดีพีชีคงเหลืออีกต่อไป การลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2554 คณะรัฐมนตรีได้มีมติลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจากอัตราร้อยละ 30 เป็น 23 สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้น สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และอัตราร้อยละ 20 สำ�หรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็นต้นไป จึงเป็นผลให้ นิติบุคคลต้องคำ�นวณสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินรอการตัดบัญชีที่บันทึกในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ สิ้นปี 2554 ตาม อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลใหม่ที่ประกาศใช้ กลุ่มบริษัทจึงได้บันทึกสินทรัพย์ภาษีเงินรอการตัดบัญชีของกลุ่มบริษัทที่บันทึกในงบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ สิ้นปี 2554 ลดลง 2,840 ล้านบาทและ 2,637 ล้านบาท ตามลำ�ดับ โดยสินทรัพย์ภาษีเงินรอการตัดบัญชีที่ ลดลงดังกล่าวจะถูกบันทึกในงบกำ�ไรขาดทุนในรายการค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
ผลประกอบการ รายได้ ในปี 2554 ตลาดบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่องทั้งจากผู้ ใช้งานอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่และผู้ ใช้งานในพื้นที่ชนบทแม้อัตรา การเข้าถึงบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากรจะสูงกว่า 100% แล้วก็ตาม ส่งผลให้เอไอเอสมีจำ�นวนเลขหมายที่ให้บริการสูงถึง 33.5 ล้าน เลขหมายเพิ่มขึ้น 2.3 ล้านเลขหมายจากปีที่แล้วซึ่งมีอยู่ 31.2 ล้านเลขหมาย โดยที่อัตราผู้ ใช้บริการที่ออกจากระบบของกลุ่มลูกค้าระบบเหมา จ่ายรายเดือนลดลงมาอยู่ที่ 1.5% ณ สิ้นไตรมาส 4/2554 ดีขึ้นกว่าช่วงเดียวกันของปีที่แล้วซึ่งอยู่ที่ 1.8% ในขณะที่อัตราผู้ ใช้บริการที่ออก
136 อินทัช
จากระบบของกลุ่มลูกค้าระบบเติมเงินลดลงเพียงเล็กน้อย โดยความสำ�เร็จดังกล่าวมาจากนโยบายการจัดจำ�หน่ายสินค้าและการขยายระยะ เวลาการตัดการให้บริการหลังจากการเหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่เมื่อช่วงปลายเดือนกันยายน 2554 เอไอเอสมีรายได้รวมทัง้ สิน้ 126,437 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 13.6% จากการเติบโตของปริมาณใช้งานบริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ละยอดขายอุปกรณ์ ในส่วนรายได้จากการให้บริการไม่รวม IC เติบโต 12% จากปี 2553 โดยเติบโตทั้งบริการเสียงและบริการข้อมูล ทั้งตลาดกรุงเทพฯ และภูมิภาค ส่งผลให้รายได้จากการให้บริการระบบเติมเงินต่อเลขหมาย (ARPU) อยู่ที่ระดับ 203 บาทต่อเดือน เพิ่มขึ้น 4.1%ในขณะที่รายได้จากการ ให้บริการระบบเหมาจ่ายรายเดือนต่อเลขหมาย (ARPU) อยู่ที่ระดับ 691 บาทต่อเดือน เพิ่มขึ้น 5% ส่วนจำ�นวนนาทีที่โทรออก (MOU) เฉลี่ย ของทั้งกลุ่มลูกค้าระบบเติมเงินและระบบเหมาจ่ายรายเดือนเพิ่มขึ้น 10% จากโปรโมชั่นที่เน้นโทรออกทุกเครือข่ายซึ่งเป็นผลให้รายรับค่าเชื่อม โยงโครงข่ายสุทธิลดลงมาอยู่ที่ระดับ 451 ล้านบาทจากเดิมที่ระดับ 601 ในปี 2553 รายได้จากการให้บริการเสียง ในปี 2554 สภาวะการแข่งขันในตลาดบริการเสียงค่อนข้างทรงตัว เอไอเอสมีรายได้จากการให้บริการเสียง 71,429 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8.3% และในฐานะที่เอไอเอสมีโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีพื้นที่ให้บริการครอบคลุมและมีความน่าเชื่อถือที่สุดในประเทศไทย จึงส่งผลให้เอไอเอส รักษาความเป็นผู้นำ�ในตลาดทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดไว้ ได้ เอไอเอสมีการสร้างสรรค์โปรโมชั่นในการให้บริการเสียงที่หลากหลาย ตอบ สนองความต้องการของลูกค้าในแต่ละพื้นที่และสอดคล้องตามพฤติกรรมการใช้งานของลูกค้าที่มีความแตกต่างกัน จึงทำ�ให้รายได้จากการให้ บริการเสียงของกลุ่มลูกค้าระบบเติมเงินเพิ่มขึ้น 10.6% ส่วนในกลุ่มลูกค้าระบบเหมาจ่ายรายเดือนนั้น เอไอเอสใช้จุดแข็งด้านโครงข่ายการให้ บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพ และมีโปรโมชัน่ ทีล่ กู ค้าสามารถเลือกออกแบบได้เองทำ�ให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้ากลุม่ นี้ได้เป็นอย่างดี นอกจาก นี้เอไอเอสยังสร้างฐานลูกค้าที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องจากการปรับปรุงนโยบายการจัดจำ�หน่าย จึงเป็นผลให้เอไอเอสมีรายได้จากการให้ บริการเสียงของกลุ่มลูกค้าระบบเหมาจ่ายรายเดือนเพิ่มขึ้น 2.1% อย่างไรก็ตาม ในปี 2555 เอไอเอสคาดว่าอัตราการเติบโตในตลาดการให้ บริการเสียงจะชะลอตัวลงเนื่องจากการเติบโตของตลาดต่างจังหวัดถึงแม้จะยังมีอยู่แต่ก็เป็นสัดส่วนที่น้อย เนื่องจากอัตราการเข้าถึงบริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากรโดยรวมที่สูงกว่า 100% แล้ว รายได้จากการให้บริการข้อมูล การใช้บริการข้อมูลผ่านโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยังคงได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งจากกระแสความนิยมในสังคมออนไลน์และ อุปกรณ์เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ต่างๆ ทั้งสมาร์ทโฟนและแอร์การ์ด ทำ�ให้มีลูกค้าจำ�นวนกว่า 9 ล้านเลขหมายที่ใช้บริการอินเทอร์เน็ต เคลื่อนที่ ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นจากปีที่แล้ว 39% การเติบโตดังกล่าวส่งผลให้เอไอเอสมีรายได้จากการให้บริการข้อมูล 19,736 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 31% และคิดเป็นสัดส่วน 20% ของรายได้จากการให้บริการไม่รวม IC ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดิมที่มีสัดส่วนอยู่ที่ 17% ในปี 2553 จากความต้องการใช้ งานอินเทอร์เน็ตเป็นจำ�นวนมากนี้เอง ในช่วงกลางปี 2554 เอไอเอสจึงได้เปิดตัวโครงข่ายการให้บริการด้านข้อมูลที่ใช้งานได้อย่างต่อเนื่องทั่ว ประเทศไทยผ่านเทคโนโลยี 3G, EDGE+ และ WiFi จึงเป็นผลให้รายได้จากบริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ในรอบครึ่งหลังของปี 2554 เพิ่มขึ้น 76% เทียบกับระดับ 64% ในรอบครึ่งปีแรก นอกจากนี้ เอไอเอสได้ออกโปรโมชั่นการใช้บริการข้อมูลตอบสนองกลุ่มทั้งกลุ่มลูกค้าที่ใช้สมาร์ท โฟน รวมไปถึงกลุ่มลูกค้าที่ยังไม่ได้ ใช้สมาร์ทโฟนด้วย เช่น การเปิดตัวบริการให้ลูกค้าสามารถใช้งานสังคมออนไลน์ยอดนิยมได้อย่างไม่จำ�กัด ผ่านโปรแกรมโอเปร่ามินิ เอไอเอสคาดว่าแนวโน้มของรายได้จากบริการข้อมูลยังคงเติบโตได้อย่างต่อเนือ่ งโดยมาจากรายได้บริการอินเทอร์เน็ต เคลื่อนที่ (หรือรายได้ Non-messaging ซึ่งคำ�นวณจากรายได้จากการให้บริการข้อมูลหักด้วยบริการ SMS และบริการเสียงเรียกสาย) ที่ใน ปี 2554 เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 14.6% ของรายได้จากการให้บริการไม่รวม IC เทียบกับปีที่ผ่านมาซึ่งอยู่ที่ระดับ 11.3% รายได้จากการขาย ตลาดอุปกรณ์โทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถเติบโตได้ดีตามการเจริญเติบโตของบริการข้อมูล โดยรายได้จากการขายอุปกรณ์เพิ่มขึ้นทั้งในกลุ่ม
137 รายงาน ประจำ�ปี 2554
อุปกรณ์สมาร์ทโฟนและอุปกรณ์ทั่วไป โดยในปี 2554 เอไอเอสได้จัดจำ�หน่ายอุปกรณ์สมาร์ทดีไวซ์ชั้นนำ� อาทิเช่น ซัมซุงกาแลกซี่ เอส, ซัมซุง กาแลกซี่ แทป 10.1, ไอโฟน 4เอส รวมทั้งแอร์การ์ดรุ่นต่างๆ ซึ่งเป็นไปตามกลยุทธ์ Quality DNAs ในการนำ�เสนออุปกรณ์คุณภาพให้ลูกค้า จากแผนการดำ�เนินงานดังกล่าวทำ�ให้เอไอเอสมีรายได้จากการขายเพิ่มขึ้น 41% นอกจากนี้ การเติบของอุปกรณ์ที่ไม่ใช้สมาร์ทโฟนยังคง เติบโตได้ดีในตลาดภูมิภาคซึ่งส่วนใหญ่ของอุปกรณ์ประเภทนี้สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ได้เช่นกัน จึงถือเป็นการขยายฐานลูกค้า อินเทอร์เน็ตเคลือ่ นทีล่ งไปในกลุม่ ตลาดกลางถึงตลาดล่างด้วย สภาวะการในตลาดอุปกรณ์โทรศัพท์เคลือ่ นทีม่ กี ารแข่งขันทีส่ งู มากขึน้ จึงทำ�ให้ อัตรากำ�ไรจากการขายอุปกรณ์อย่างเช่นแบล็คเบอร์รีล่ ดลงจากการปรับนโยบายการขายโดยบริษทั RIM ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตอุปกรณ์ดงั กล่าว ทีเ่ ริม่ มีการปรับเปลี่ยนตั้งแต่ครึ่งหลังของปี 2553 ดังนั้นอัตรากำ�ไรจากการขายจึงลดลงมาอยู่ที่ 11.9% จากเดิมซึ่งอยู่ที่ระดับ 14.7% ในปีที่แล้ว รายได้จากบริการต่างประเทศ รายได้จากบริการโทรออกต่างประเทศ เติบโต 10% จากกิจกรรมทางการตลาดต่างๆ ทำ�ให้มีจำ�นวนผู้ ใช้งานและปริมาณการใช้งานเพิ่มขึ้น ในขณะที่รายได้จากบริการข้ามแดนอัตโนมัติ ลดลง 6.3% จากการแข่งขันด้านราคาในตลาดโลก ต้นทุนและค่าใช้จ่าย ต้นทุนการให้บริการไม่รวม IC ในปี 2554 เอไอเอสมีโครงการที่รองรับความต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่และรักษาคุณภาพการให้บริการหลักๆได้แก่ โครงการ 3G900MHz และโครงการ EDGE+ ทั่วประเทศไทย จึงเป็นผลให้ต้นทุนการให้การให้บริการไม่รวม IC เพิ่มสูงขึ้น โดยส่วนแบ่งรายได้เพิ่มขึ้น 14% จากปริมาณการโรมมิ่งบนโครงข่ายของดีพีซีที่เพิ่มสูงขึ้นในช่วงการเปิดโครงข่าย 3G-900MHz และการเพิ่มขึ้นของอัตราส่วนแบ่งรายได้ของ ดีพีซีที่เพิ่มขึ้นจาก 25% เป็น 30% ในขณะที่ต้นทุนโครงข่ายเพิ่มขึ้น 8.4% จากจำ�นวนสถานีฐานที่เพิ่มขึ้นมาที่ระดับ 17,000 สถานีจาก เดิมที่มีอยู่ 15,800 สถานีในปี 2553 ส่วนค่าซ่อมบำ�รุงโครงข่าย เพิ่มขึ้น 7.8% จากโปรแกรมการซ่อมบำ�รุงรักษาเชิงป้องกันและมาตรการ ป้องกันต่างๆในช่วงที่เกิดอุทกภัยในไตรมาส 4/2554 เพื่อให้มั่นใจได้ว่าโครงข่ายของเอไอเอสสามารถให้บริการได้อย่างต่อเนื่อง ต้นทุนการ ให้บริการอื่นๆ เท่ากับ 3,758 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 32% จากค่าใช้จ่ายด้านศูนย์บริการลูกค้า ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับโครงการ 3G-900MHz รวม ถึงการบันทึกกลับรายการบัญชีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงข่ายจำ�นวน 360 ล้านบาทในไตรมาส 2/2553 ทั้งนี้หากไม่รวมผลของการบันทึกกลับ รายการบัญชีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงข่ายดังกล่าวแล้ว ต้นทุนการให้บริการอื่นๆ จะเพิ่มขึ้น 17.4% เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว อย่างไรก็ดี ต้นทุนการ ให้บริการโดยรวมยังคงทรงตัวจากปีที่แล้วเนื่องจากค่าตัดจำ�หน่ายโครงข่ายลดลง 7.5% โดยค่าตัดจำ�หน่ายโครงข่ายมีแนวโน้มที่จะลดลง ต่อเนือ่ งในปี 2555 เนือ่ งจากค่าตัดจำ�หน่ายโครงข่ายของสินทรัพย์ทีล่ งทุนใหม่มมี ลู ค่าน้อยกว่ามูลค่าสินทรัพย์ทีต่ ดั จำ�หน่ายหมด และสัญญา ร่วมการงานของดีพีซีและเอไอเอสที่จะหมดอายุในปี 2556 และปี 2558 ตามลำ�ดับ ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ในปี 2554 เอไอเอสทำ�การรีแบรนด์หรือเปลี่ยนโฉมของบริษัทใหม่เพื่อตอบรับกับความต้องการของลูกค้าที่แตกต่างกันได้ดีขึ้นกว่าเดิม ซึ่ง จากกิจกรรมดังกล่าวทำ�ให้ค่าใช้จ่ายการตลาดเพิ่มขึ้น 22% อย่างไรก็ดีค่าใช้จ่ายในการตลาดยังมีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากสภาวะการแข่งขันในตลาดที่ทรงตัวและความได้เปรียบของเอไอเอสจากการมีฐานลูกค้าที่ใหญ่กว่าคู่แข่ง โดยมีสัดส่วนค่าใช้จ่ายการ ตลาดคิดเป็น 2.2% ของรายได้รวมและทรงตัวจากปี 2553 ที่ระดับ 2.1% ของรายได้รวม ทั้งนี้ จากเหตุการณ์อุทกภัยในไตรมาส 4/2554 เอไอเอสมีมาตรการช่วยเหลือต่างๆ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้กับลูกค้า พนักงานและบุคคลทั่วไปเป็นจำ�นวนเงินกว่า 210 ล้านบาท นอกจากนี้ เอไอเอสได้มีการยืดเวลาการชำ�ระค่าบริการสำ�หรับกลุ่มลูกค้าเหมาจ่ายรายเดือนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์อุทกภัย จึงเป็น ผลให้ค่าใช้จ่ายการตั้งสำ�รองหนี้สูญเพิ่มขึ้น 3.8% อย่างไรก็ดี อัตราค่าใช้จ่ายในการตั้งสำ�รองหนี้สูญต่อรายได้จากลูกค้าระบบเหมาจ่ายราย เดือนกลับลดลงมาอยูท่ ี่ 2.5% จากระดับ 2.6% เมือ่ ปี 2553 ทัง้ นีก้ ลุม่ ลูกค้าระบบเหมาจ่ายรายเดือนเริม่ กลับมาชำ�ระค่าบริการตามปกติตัง้ แต่
138 อินทัช
เดือนธันวาคม 2554 แล้ว ส่วนค่าใช้จ่ายในการบริหาร เพิ่มขึ้น 11% จากค่าใช้จ่ายพนักงานที่สูงขึ้นและรวมไปถึงการจ่ายเงินรางวัลพิเศษให้ พนักงาน การช่วยเหลือและบริจาคเงินและสิ่งของในช่วงเกิดเหตุการณ์อุทกภัย กำ�ไร เอไอเอสมี EBITDA เท่ากับ 56,623 เพิ่มขึ้น 9.5% จากรายได้ที่เติบโตโดยเฉพาะจากบริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ ถึงแม้จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น จากการบันทึกกลับรายการบัญชีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงข่ายจำ�นวน 360 ล้านบาทในไตรมาส 2/2553 จากกิจกรรมรีแบรนด์และค่าใช้จ่าย พนักงานก็ตาม อย่างไรก็ดี EBITDA margin ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 44.8% จากเดิมซึ่งอยู่ที่ระดับ 46.5% ในปี 2553 โดยมีสาเหตุจากสัดส่วน รายได้จากการขายอุปกรณ์ที่สูงขึ้น โดยธุรกิจการขายอุปกรณ์มีอัตรากำ�ไรที่ต่ำ�กว่าธุรกิจบริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ รวมทั้งจากการเพิ่มขึ้น ของค่าใช้จ่ายส่วนแบ่งรายได้จากปริมาณการโรมมิ่งบนโครงข่ายของดีพีซีที่เพิ่มสูงขึ้นในช่วงการเปิดโครงข่าย 3G-900MHz และรายการ บัญชีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงข่ายจำ�นวน 360 ล้านบาท ส่วนกำ�ไรสุทธิของเอไอเอสในปี 2554 เท่ากับ 22,218 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8.3% จาก การเติบโตของกำ�ไร EBITDA และรายได้จากดอกเบี้ยรวมถึงค่าตัดจำ�หน่ายโครงข่ายที่ลดลงแม้ว่าในไตรมาส 4/2554 เอไอเอสต้องรับรู้การ ปรับปรุงสินทรัพย์ภาษีเงินรอการตัดบัญชีจ�ำ นวน 2,840 ล้านบาท ซึ่งเป็นผลจากการปรับลดภาษีเงินได้นิติบุคคลของรัฐบาลที่จะเริ่มในปี 2555 ทั้งนี้เมื่อหักผลกระทบจากการบันทึกการด้อยค่าความนิยมของดีพีซีและการปรับปรุงสินทรัพย์ภาษีเงินรอการตัดบัญชีดังกล่าวแล้ว กำ�ไรสุทธิก่อนรายการพิเศษจะเท่ากับ 26,600 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 21% เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว ฐานะการเงินและกระแสเงินสด เนื่องจากเอไอเอสมองว่าจะมีการประมูลใบอนุญาตคลื่นความถี่ใหม่ส�ำ หรับเทคโนโลยีใหม่ในไม่ช้านี้ บริษัทจึงต้องพิจารณาการลงทุนเพิ่มเติม บนสัญญาร่วมการงานที่ใกล้หมดอายุอย่างระมัดระวัง โดยบริษัทยังคงคำ�นึงถึงเป้าหมายในการรักษาความเป็นผู้นำ�ในตลาดและการรักษา ส่วนแบ่งรายได้ ในปี 2554 เอไอเอสจึงใช้เงินลงทุน 5,700 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้น 18% จากปีที่แล้ว โดยส่วนใหญ่ใช้ลงทุนในบริการด้านข้อมูล เช่น โครงการ 3G-900MHz และการขยายความจุของของการให้บริการด้านข้อมูล ซึ่งการที่เงินลงทุนมีระดับต่ำ�กว่าที่คาดการณ์ ในตอนต้น ที่คาดว่าจะใช้เม็ดเงินถึง 10,000 ล้านบาทนั้น เกิดจากความล่าช้าในบางโครงการ ในส่วนของระดับเงินสด เอไอเอสมีเงินสด ณ สิ้นปี 2554 ที่ ระดับ 21,887 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากระดับ 12,168 ล้านบาทเมื่อปี 2553 โดยเป็นผลจากการเติบโตของ EBITDA อย่างไรก็ดี สินทรัพย์รวม ของบริษัทยังคงลดลงจากระดับ 97,347 ล้านบาทในปี 2553 มาที่ระดับ 86,672 ล้านบาทเนื่องจากค่าตัดจำ�หน่ายโครงข่ายของสินทรัพย์ ที่ลงทุนใหม่มีมูลค่าน้อยกว่ามูลค่าสินทรัพย์ที่ตัดจำ�หน่ายหมดรวมทั้งมีการปรับปรุงสินทรัพย์ภาษีเงินรอการตัดบัญชีจากการปรับอัตรา ภาษีเงินได้นิติบุคคลใหม่ด้วย และเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมกับการลงทุนที่กำ�ลังจะมาถึง เอไอเอสได้ทำ�การจ่ายคืนเงินกู้และหุ้นกู้เป็นจำ�นวนเงิน 13,978 ล้านบาท และทำ�การกู้เงินบางส่วนจำ�นวน 1,200 ล้านในระหว่างปี 2554 จึงทำ�ให้หนี้ที่มีภาระดอกเบี้ยลดลงมาอยู่ที่ระดับ 22,374 ล้านบาทจากระดับ 35,139 ล้านบาทในปี 2553 ในขณะที่ต้นทุนกู้ยืมเฉลี่ยลดลงมาอยู่ที่ระดับ 4.5% จากระดับ 4.8% เมื่อปี 2553 นอกจากนี้เอไอเอสบริหาร จัดการสถานะทางการเงินให้มีสภาพคล่องในระดับสูง โดยมีอัตราส่วน current ratio เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 1.12 จากระดับ 0.74 เมื่อปี 2553 โดยในปี 2555 นี้ บริษัทมีหนี้สินครบกำ�หนดชำ�ระได้แก่ หุ้นกู้จำ�นวน 5,000 ล้านบาทและเงินกู้จำ�นวน 493 ล้านบาท เอไอเอสมีส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ 39,464 ล้านบาทลดลงจากระดับ 41,191 ล้านบาทเนื่องจากกำ�ไรสะสมที่ยังไม่ได้จัดสรรลดลงหลังการ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ทำ�ให้อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นและอัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อ EBITDA ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 0.01 อัตราส่วนหนี้สินต่อทุนที่ต่ำ�จะทำ�ให้บริษัทมีความคล่องตัวในการกู้ยืมเพื่อการลงทุนในอนาคต
139 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ในปี 2554 เอไอเอสมีกระแสเงินสดจากการดำ�เนินงาน เท่ากับ 48,216 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 7.5% จากรายได้ที่เติบโตและการบริหารจัดการ ต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยกระแสเงินสดส่วนใหญ่ได้ ใช้ ไปในการจ่ายเงินปันผลให้ผูถ้ อื หุน้ จำ�นวน 24,103 ล้านบาทและจ่ายคืนเงินกูจ้ �ำ นวน 14,050 ล้านบาท ในขณะที่ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนจำ�นวน 9,388 ล้านบาท โดย ณ สิ้นปี 2554 บริษัทมีเงินสดเพิ่มขึ้น 7,909 ล้านบาท บริษัท มีความเชื่อมั่นว่า ด้วยระดับกระแสเงินสดจากการดำ�เนินงานในปัจจุบัน จะช่วยให้บริษัทมีความแข็งแกร่งในการเข้าร่วมประมูลใบอนุญาตคลื่น ความถี่ใหม่ที่กำ�ลังมาถึงรวมทั้งสามารถรักษานโยบายผลตอบแทนให้กับผู้ถือหุ้นได้ สรุปผลประกอบการเชิงการเงิน ตาราง 1 – รายได้การบริการ รายได้จากบริการเสียง ระบบเหมาจ่ายรายเดือน (เสียง) ระบบเติมเงิน (เสียง) รายได้จากบริการข้อมูล รายได้โรมมิ่งต่างประเทศ อื่นๆ (โทรต่างประเทศ, อื่นๆ) รวมรายได้จากการให้บริการไม่รวม IC ตาราง 2 – รายได้การขาย รายได้จากการขาย ต้นทุนการขาย สุทธิจากการขาย อัตรากำ�ไรจากการขาย (%) ตาราง 3 – ค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (IC) รายรับค่า IC รายจ่ายค่า IC สุทธิ รับ/(จ่าย)
ปี 2553 65,942 75.3% 17,493 20.0% 48,449 55.4% 15,040 17.2% 2,703 3.1% 3,831 4.4% 87,516 100.0%
(ล้านบาท) / (% ของรายได้การให้บริการไม่รวม IC) ปี 2554 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 71,429 73.0% 5,487 8.3% 17,859 18.2% 366 2.1% 53,570 54.7% 5,121 10.6% 19,736 20.2% 4,696 31.2% 2,533 2.6% -170 -6.3% 4,212 4.3% 381 9.9% 97,911 100.0% 10,395 11.9%
(ล้านบาท) / (% ของรายได้รวม) ปี 2553 ปี 2554 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 9,349 8.4% 13,180 10.4% 3,831 41.0% 7,974 7.2% 11,613 9.2% 3,639 45.6% 1,375 1.2% 1,567 1.2% 192 14.0% 14.7% 11.9% (ล้านบาท) / (% ของรายได้รวม) ปี 2553 ปี 2554 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 14,474 13.0% 15,346 12.1% 872 6.0% 13,873 12.5% 14,895 11.8% 1,022 7.4% 601 0.5% 451 0.4% - 150 -24.9%
140 อินทัช
ตาราง 4 – ต้นทุนการให้บริการไม่รวม IC ค่าตัดจำ�หน่ายโครงข่าย ต้นทุนโครงข่าย ค่าซ่อมบำ�รุงโครงข่าย ต้นทุนการให้บริการอื่นๆ รวมต้นทุนการให้บริการไม่รวม IC ส่วนแบ่งรายได้
(ล้านบาท) / (% ของรายได้รวม) ปี 2553 ปี 2554 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 18,395 16.5% 17,017 13.5% -1,378 -7.5% 2,752 2.5% 2,984 2.4% 232 8.4% 1,376 1.2% 1,484 1.2% 108 7.8% 2,840 2.6% 3,758 3.0% 918 32.3% 25,363 22.8% 25,243 20.0% -120 -0.5% 21,553 19.4% 24,469 19.4% 2,916 13.5%
ตาราง 5 – ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าใช้จ่ายการตลาด ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายการตั้งสำ�รองหนี้สูญ ค่าเสื่อมราคา รวมค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร %ค่าใช้จ่ายตั้งสำ�รองหนี้สูญต่อรายได้จากระบบเหมา จ่ายรายเดือน ตาราง 6 – EBITDA กำ�ไรจากการดำ�เนินงาน ค่าเสื่อมราคาที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ ค่าตัดจำ�หน่ายสินทรัพย์โครงข่าย (กำ�ไร)/จาดทุนจากการขายสินทรัพย์ ค่าตอบแทนผู้บริหาร ค่าใช้จ่ายการเงินอื่นๆ EBITDA
ปี 2553 2,324 6,712 589 214 9,840
2.1% 6.0% 0.5% 0.2% 8.8%
2.6%
2.5%
(ล้านบาท) / (% ของรายได้รวม) ปี 2553 ปี 2554 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 32,736 29.4% 39,100 30.9% 6,363 19.4% 2,694 2.4% 2,511 2.0% -184 -6.8% 16,366 14.7% 15,164 12.0% -1,202 -7.3% 84 0.1% -3 0.0% -87 -103.3% -114 -0.1% -116 -0.1% -2 1.7% -47 0.0% -32 0.0% 14 -30.3% 51,720 46.5% 56,623 44.8% 4,903 9.5%
ตาราง 7 – ค่าใช้จ่ายทางการเงิน ค่าใช้จ่ายทางการเงิน
(ล้านบาท) / (% ของรายได้รวม) ปี 2554 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 2,826 2.2% 502 21.6% 7,476 5.9% 764 11.4% 611 0.5% 22 3.8% 203 0.2% -11 -5.0% 11,118 8.8% 1,278 13.0%
ปี 2553 1,753 1.6%
(ล้านบาท) / (% ของรายได้รวม) ปี 2554 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 1,666 1.3% -87 -5.0%
141 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ตาราง 8 – กำ�ไร (ล้านบาท) กำ�ไรสุทธิ บวก: การด้อยค่าความนิยมของดีพีซี บวก: การปรับปรุงสินทรัพย์ภาษีรอการตัดบัญชี กำ�ไรสุทธิก่อนรายการพิเศษ ตาราง 9 – ฐานะการเงิน เงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่นๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ ค่าความนิยม สินทรัพย์ ไม่มีตัวตนอื่น สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี อื่นๆ รวมสินทรัพย์ เจ้าหนี้การค้า ส่วนของเงินกู้ถึงกำ�หนดชำ�ระใน 1ปี ผลประโยชน์ตอบแทนค้างจ่าย อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้ที่มีภาระดอกเบี้ย รวมหนี้สิน กำ�ไรสะสมยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนผู้ถือหุ้น
รายการบันทึก ขาดทุนจากการด้อยค่า ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
ปี 2553 20,514 1,560 0 22,074
ปี 2554 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 22,218 1,704 8.3% 1,542 2,840 26,600 4,526 20.5%
(ล้านบาท) / (% ของสินทรัพย์รวม) ปี 2553 ปี 2554 12,618 13.0% 21,887 25.3% 4,219 4.3% 727 0.8% 5,660 5.8% 7,037 8.1% 1,127 1.2% 1,087 1.3% 2,329 2.4% 2,440 2.8% 25,953 26.7% 33,178 38.3% 55,265 56.8% 44,121 50.9% 1,577 1.6% 35 0.0% 2,764 2.8% 2,275 2.6% 9,933 10.2% 6,422 7.4% 1,856 1.9% 642 0.7% 97,347 100.0% 86,672 100.0% 2,472 2.5% 3,520 4.1% 15,883 16.3% 5,469 6.3% 3,328 3.4% 4,593 5.3% 13,603 14.0% 16,152 18.6% 35,285 36.2% 29,734 34.3% 35,139 36.1% 22,374 25.8% 56,157 57.7% 47,209 54.5% 15,073 15.5% 13,246 15.3% 41,191 42.3% 39,464 45.5%
142 อินทัช
ตาราง 10 – อัตราส่วนทางการเงินที่สำ�คัญ 2010 0.58 0.55 0.44 1.36 0.74 19.18 2.06 39%
หนี้สินรวมต่อสินทรัพย์รวม เงินกู้สุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เงินกู้สุทธิต่อ EBITDA หนี้สินรวมต่อส่วนของผู้ถือหุ้น Current ratio Interest coverage DSCR กำ�ไรต่อส่วนผู้ถือหุ้น - ROE (%) ตาราง 11 – ตารางการจ่ายคืนหนี้ 2554 ไตรมาส 1/2554 ไตรมาส 2/2555 ไตรมาส 3/2555 ไตรมาส 4/2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 ตาราง 12 – แหล่งที่มาและการใช้ ไปของเงินทุนในรอบปี 2554 แหล่งที่มาของเงินทุน กระแสเงินสดจากการดำ�เนินงานก่อนหัก ส่วนเปลี่ยนแปลงเงินทุนหมุนเวียน 57,604 ดอกเบี้ยรับ 620 เงินรับจากการขายสินทรัพย์และอุปกรณ์ 12 เงินรับจากหุ้นทุนและส่วนเกินทุน 189
หุ้นกู้ 4,000 5,000 8,000 2,500 -
2011 0.54 0.01 0.01 1.20 1.12 23.94 5.58 66% (ล้านบาท) เงินกู้ระยะยาว 9,978 247 247 493 2,939 1,093 1,093 493 247
(ล้านบาท) การใช้ ไปของเงินทุน การลงทุนในโครงข่ายและสินทรัพย์ถาวร ชำ�ระต้นทุนทางการเงินและค่าเช่าทางการเงิน ส่วนเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน ชำ�ระคืนเงินกู้ระยะยาว
5,707 1,803 9,388 14,050
143 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ตาราง 12 – แหล่งที่มาและการใช้ ไปของเงินทุนในรอบปี 2554 แหล่งที่มาของเงินทุน การเปลี่ยนแปลงในเงินลงทุนระยะสั้น/ยาวสุทธิ 3,494 เงินรับจากการกู้ยืมระยะยาว
1,200
รวม
63,119
(ล้านบาท) การใช้ ไปของเงินทุน เงินปันผลจ่าย จ่ายเงินลดทุนของบริษัทย่อยให้ ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม เงินสดเพิ่มขึ้น รวม
24,103 159 7,909 63,119
สรุปผลการดำ�เนินงานเทียบกับมุมมองบริษัทในปี 2554 ปี 2554 รายได้การให้บริการไม่รวมค่าเชือ่ มโยงโครงข่าย รายได้จากการให้บริการข้อมูล EBITDA margin เงินลงทุนโครงข่าย (รวมงบลงทุนใน 3G บนคลืน่ ความถี่ย่าน 900 MHz)
มุมมอง เลขหลักเดียวในช่วงสูง 25-30% 45%
ผลการดำ�เนินงาน +11.9% 31% 44.8%
10,000 ล้านบาท
5,700 ล้านบาท
รายได้จากการให้บริการไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่ายเติบโต 11.9% สูงกว่าที่คาดการณ์ ไว้ เนื่องจากการการเติบโตของบริการเสียงที่ดีกว่า คาดการณ์ บริษทั ได้คาดการณ์การเติบโตรายได้ทีเ่ ลขหลักเดียวในช่วงสูง (high-single digit) โดยคาดว่ารายได้จากบริการข้อมูลจะเป็นปัจจัย ผลักดันรายได้ ขณะที่รายได้จากบริการเสียงจะเติบโตไม่สูงนักเนื่องจากตลาดดังกล่าวค่อนข้างอิ่มตัว ด้วยอัตราเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ต่อจำ�นวนประชากรที่สูงกว่า 100% อย่างไรก็ตาม ในปี 2554 กลยุทธ์ทางการตลาดที่ได้ผลตอบรับอย่างดีเยี่ยมประกอบกับการฟื้นตัวของ เศรษฐกิจ ส่งผลให้บริการเสียงได้เติบโตได้ดีถึง 8% โดยเฉพาะประเภทเติมเงินทั้งในกรุงเทพและตลาดต่างจังหวัด นอกจากนี้ในช่วงกลางปีเอไอ เอสได้เปิดให้บริการ 3G บนคลืน่ ความถีเ่ ดิมเพือ่ ตอบสนองความต้องการใช้งานโมบายอินเทอร์เน็ตทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้รายได้จาก การให้บริการข้อมูลในปี 2554 เติบโต 31% ใกล้เคียงกับเกณฑ์ ในช่วงสูงของ 25% – 30% ตามที่บริษัทคาดการณ์ ขณะที่รายได้จากการขาย อุปกรณ์ยังคงเติบโตได้ดี ทั้งสมาร์ทโฟน แอร์การ์ด แท็บเล็ต และฟีเจอร์โฟน โดยเพิ่มขึ้น 40% จากปี 2553 อย่างไรก็ตามการเติบโตดังกล่าว ยังต่ำ�กว่าคาดการณ์ที่ 50% เนื่องจากเหตุการณ์อุทกภัยในช่วงปลายปี 2554 ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อลูกค้าในการเข้าถึงช่องทางการจัดจำ�หน่าย EBITDA margin เท่ากับ 44.8% อยู่ในระดับใกล้เคียงกับที่บริษัทได้คาดการณ์ ไว้ที่ 45% จากการขยายตัวของธุรกิจจำ�หน่ายอุปกรณ์สื่อสาร ขณะที่รายได้เติบโตอย่างแข็งแกร่งและการควบคุมค่าใช้จ่ายที่มีประสิทธิภาพ แม้จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นจากกิจกรรมรีแบรนด์และค่าใช้จ่ายโครง ข่ายการให้บริการ 3G โดยในปี 2554 บริษัทมีค่าใช้จ่ายทางการตลาดคิดเป็น 2.2% ของรายได้รวม อยู่ในเกณฑ์คาดการณ์ที่ช่วง 2 – 2.5% เนื่องจากการแข่งขันด้านกิจกรรมทางการตลาดยังไม่รุนแรงนัก เงินลงทุนโครงข่าย เท่ากับ 5,700 ล้านบาท ต่ำ�กว่าระดับ 10,000 ล้านบาท ที่บริษัทคาดการณ์ ไว้ เนื่องจากอุทกภัยในช่วงเดือนพฤจิกายน ส่งผลให้บางโครงการเกิดความล่าช้าและทำ�ให้รอบของการจ่ายเงินค่าลงทุนเลื่อนออกไป
144 อินทัช
มุมมองของผู้บริหารต่อแนวโน้มและกลยุทธ์ในปี 2555 รายได้จากการให้บริการไม่รวมค่าเชื่อมโยงโครงข่าย รายได้จากการให้บริการข้อมูล รายได้จากการขายอุปกรณ์ EBITDA margin เงินลงทุนในโครงข่าย
5-6% 25% 10%+ (เติบโตสิบกว่าเปอร์เซ็นต์) 44% 8,000 ล้านบาท
เอไอเอสประมาณการรายได้จากการให้บริการไม่รวม IC จะเติบโตในระดับ 5-6% โดยมาจากความต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ของ ผู้บริโภคที่ยังคงมีอยู่สูงและการแข่งขันในตลาดการให้บริการเสียงที่จะยังคงทรงตัวต่อเนื่อง ความต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่นั้นยัง คงมาจากทั้งการเติบโตของจำ�นวนผู้ ใช้งานสมาร์ทโฟน กระแสความนิยมใช้งานสังคมออนไลน์ และข้อจำ�กัดในการเข้าถึงบริการอินเทอร์เน็ต ผ่านโครงข่ายโทรศัพท์พื้นฐาน เอไอเอสเชื่อว่าผู้ ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่างๆ จะพยายามรักษาระดับการเติบโตของตลาดบริการข้อมูลไว้ โดยขยายการให้บริการ 3G มากขึ้นและเน้นการขายอุปกรณ์สมาร์ทดีไวซ์ที่รองรับการใช้งานเทคโนโลยี 3G ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์อย่างสมาร์ท โฟน แท็ปเล๊ต และแอร์การ์ด โดยเอไอเอสจะมุ่งเน้นการขายอุปกรณ์สมาร์ทโฟนโดยใช้กลยุทธ์ทางการตลาดและนำ�เสนออุปกรณ์ที่หลากหลาย ครอบคลุมทุกกลุ่มลูกค้า และเอไอเอสคาดว่าจะมีรายได้จากการขายเพิ่มขึ้นสิบกว่าเปอร์เซ็นต์ และประมาณการว่า 50% ของอุปกรณ์ที่ขาย ใหม่ในปี 2555 นี้จะเป็นอุปกรณ์ที่รองรับ 3G ในขณะที่ 30% ของอุปกรณ์ที่ขายใหม่จะเป็นอุปกรณ์สมาร์ทโฟน (โทรศัพท์ที่รองรับเทคโนโลยี 3G บางรุ่นอาจไม่ใช่สมาร์ทโฟน) ส่วนการแข่งขันในตลาดบริการข้อมูลนั้นคาดว่าผู้ ให้บริการแต่ละรายจะพยายามทำ�ตลาดประชาสัมพันธ์ ใน เรือ่ งของพืน้ ทีใ่ ห้บริการและความเร็ว ส่วนการแข่งขันด้านราคาในตลาดบริการข้อมูลจะยังไม่รนุ แรงเนือ่ งจากมีความต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ต เคลื่อนที่สูงมากในขณะที่พื้นที่และความจุในการให้บริการยังคงมีอย่างจำ�กัด โดยเอไอเอสจะมุ่งเน้นในการนำ�เสนอในด้านคุณภาพของบริการ เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีโดยเฉพาะในบริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้าและเอไอเอสจะมั่นคงใน ระยะยาว สำ�หรับสภาพการแข่งขันในตลาดบริการเสียงนั้น เอไอเอสคาดการณ์ว่าระดับการแข่งขันจะยังคงทรงตัวจากปีที่แล้วโดยผู้ ให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ต่างๆ จะพยายามรักษาส่วนแบ่งการตลาดในเชิงรายได้เนื่องจากตลาดบริการเสียงมีการเติบโตที่ไม่สูงมาก โดยเอไอเอสจะ ใช้ความได้เปรียบจากการมีโครงข่ายที่ครอบคลุมมากที่สุดในประเทศและมีช่องทางการจัดจำ�หน่ายในระดับท้องถิ่นจำ�นวนมากในการสร้าง ฐานลูกค้าที่มีคุณภาพทั้งลูกค้าที่ใช้บริการเสียงและบริการข้อมูล รายได้จากบริการข้อมูลคาดว่าจะเติบโต 25% จากการเติบโตของการใช้งานอุปกรณ์สมาร์ทดีไวซ์และบริการ 3G โดยเอไอเอสจะยังคงใช้ปรัชญา Quality DNAs (คุณภาพทั้งในด้านอุปกรณ์ โครงข่าย แอพลิเคชั่นและบริการ) ในการส่งมอบบริการที่มีคุณภาพให้กับลูกค้าโดยจะมีรูปแบบที่ เฉพาะเจาะจงในแต่ละกลุ่มลูกค้ามากขึ้น ในด้านอุปกรณ์นั้น เอไอเอสจะคัดสรรอุปกรณ์สมาร์ทดีไวซ์มาผนวกกับแพ็คเกจบริการข้อมูลที่เหมาะ สมแล้วนำ�เสนอให้กับลูกค้าแต่ละกลุ่ม และเอไอเอสจะพยายามสร้างฐานลูกค้าใหม่ให้มาใช้บริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ผ่านโครงข่ายบริการ ข้อมูลที่มีความต่อเนื่องทั่วประเทศไทยของเอไอเอสด้วยการสร้างสรรค์รูปแบบของโปรโมชั่นที่หลากหลายตอบสนองความต้องการลูกค้าใน แต่ละกลุ่ม สำ�หรับในด้านโครงข่ายนั้น เอไอเอสจะเสริมโครงข่ายบริการข้อมูลที่ใช้งานได้อย่างต่อเนื่องให้ดียิ่งขึ้นด้วยการเพิ่มปริมาณความ จุของโครงข่าย 3G-900MHz และมีโครงการร่วมมือกับพันธมิตรต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เอไอเอสจะติดตั้งสถานีฐาน 3G-900MHz เพิ่มขึ้นอีก 2,000 สถานีฐานในพื้นที่สำ�คัญที่มีความต้องการใช้งานอินเทอร์เน็ตเป็นจำ�นวนมาก เพื่อให้มั่นใจได้ว่าบริการ 3G ของเอไอเอสจะมีคุณภาพ และมีความต่อเนื่องมากกว่าเดิม เอไอเอสจะร่วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจในการขยายการให้บริการอินเทอร์เน็ตผ่านโครงข่าย WiFi โดย เฉพาะในพื้นที่ศูนย์การค้าและพื้นที่สำ�คัญซึ่งจะช่วยเสริมประสบการณ์ ใช้งานได้ดียิ่งขึ้น ในด้านของแอพพลิเคชั่นนั้น เอไอเอสจะนำ�เสนอแอพ พลิเคชั่นและเนื้อหาใหม่ๆ ที่ตอบสนองทั้งกลุ่มลูกค้าสมาร์ทโฟนและกลุ่มลูกค้าทั่วไป อย่างเนื้อหาในรูปแบบดิจิตัลที่ใช้ ในชีวิตประจำ�วันเช่น
145 รายงาน ประจำ�ปี 2554
อีบุ๊ค หรือเพลง เป็นต้น ในด้านบริการซึ่งถือเป็นจุดแข็งของเอไอเอสนั้น จะมีการเสริมในหลายด้านให้ดียิ่งขึ้น โดยการสร้างประสบการณ์ที่เหนือ กว่าในทุกจุดที่ลูกค้ามีการติดต่อกับเอไอเอสไม่ว่าจะเริ่มตั้งแต่ร้านค้าของเอไอเอสไปจนถึงบริการหลังการขาย ลูกค้าสามารถทดลองใช้งานอุ ปกรณ์สมาร์ทดีไวซ์เครื่องจริงพร้อมคำ�แนะนำ�จากพนักงานก่อนที่จะตัดสินใจซื้ออุปกรณ์นั้น เอไอเอสจะปรับปรุงระบบสนับสนุนการให้บริการ ให้ทันสมัยมากขึ้นเพื่อเพิ่มความเร็วในการให้บริการและสามารถนำ�เสนอบริการที่ถูกต้องตรงความต้องการของลูกค้าได้แบบรายบุคคล และ ด้วยปรัชญา Quality DNAs นี้ เอไอเอสเชื่อมั่นว่าจะสามารถส่งมอบประสบการณ์คุณภาพและสามารถความสัมพันธ์ระหว่างแบรนด์เอไอเอ สกับลูกค้าได้ ในระยะยาวต่อไป จากการทีเ่ อไอเอสจะมุง่ เน้นตลาดอุปกรณ์สมาร์ทดีไวซ์มากขึน้ จึงทำ�ให้เป้าหมาย EBITDA margin อยูท่ ีร่ ะดับ 44% ซึง่ ลดลงจากระดับ 44.8% ในปี 2554 การลดลงของระดับ EBITDA margin ดังกล่าวเกิดจากสัดส่วนทีเ่ พิม่ ขึน้ ของรายได้จากธุรกิจขายอุปกรณ์ทมี่ อี ตั รากำ�ไรต่�ำ กว่าธุรกิจ บริการโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ส่วนอัตรากำ�ไรในธุรกิจบริการโทรศัพท์เคลือ่ นทีจ่ ะยังคงทรงตัว เอไอเอสยังคงบริหารจัดการต้นทุนให้มปี ระสิทธิภาพ จากประโยชน์ ในเชิงขนาดที่เอไอเอสมีเหนือคู่แข่งและการบริหารงานอย่างรัดกุม และถึงแม้เอไอเอสจะยังมีกิจกรรมรีแบรนด์ต่อในปี 2555 แต่ค่าใช้จ่ายการตลาดจะยังคงรักษาไว้ ให้อยู่ในช่วง 2-2.5% ของรายได้รวม ส่วนรายรับค่าเชื่อมโยงโครงข่ายสุทธิจะยังมีแนวโน้มลดลงต่อไป โดยเอไอเอสจะยังคงเป็นผูร้ บั สุทธิจากค้าเชือ่ มโยงโครงข่าย อย่างไรก็ตามรายรับสุทธิจากค่าเชือ่ มโยงโครงข่ายคาดว่าจะมีแนวโน้มลดลงในอนาคต เอไอเอสคาดว่าจะใช้เงินลงทุน 8,000 ล้านบาทเพื่อเสริมความแข็งแกร่งของบริการ 3G-900MHz และขยายความจุในการให้บริการด้านข้อมูล โดยภายหลังจากเอไอเอสเปิดให้บริการ 3G-900MHz ในเดือนกรกฎาคม 2554 รวมทั้งทำ�การพัฒนาโครงข่ายให้เป็น EDGE+ ทั้วประเทศไทย ทำ�ให้ผู้บริโภคเห็นประโยชน์ของการใช้บริการอินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่มากขึ้น และทำ�ให้มีปริมาณการใช้งานมากขึ้นตามไปด้วย เอไอเอสจึงเตรียม เสริมโครงข่ายข้อมูลที่ใช้งานได้ต่อเนื่องและมีคุณภาพโดยจะทำ�การติดตั้งสถานีฐาน 3G-900MHz เพิ่มอีก 2,000 สถานีในพื้นที่กรุงเทพและ ปริมณฑล รวมถึงในจังหวัดสำ�คัญที่ผู้บริโภคมีอุปกรณ์ที่รองรับเทคโนโลยี 3G บนคลื่น 900MHz และมีความต้องการใช้งานเป็นจำ�นวนมาก โดยคาดว่าโครงการการติดตั้งสถานีฐาน 3G-900MHz เพิ่มเติมนี้จะแล้วเสร็จในไตรมาส 3 ของปี 2555 นอกจากนี้เงินลงทุนดังกล่าวจะใช้ ในการปรับปรุงจุดให้บริการต่างๆ ของเอไอเอส ซึ่งถือว่าเป็นจุดที่มีความสำ�คัญในการสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้า เอไอเอสจะปรับปรุง ร้าน AIS Shop ให้สอดคล้องกับแนวทาง Your World Your World ที่เอไอเอสต้องการมอบบริการให้ลูกค้าได้ตรงตามความต้องการมาก ที่สุด สำ�หรับค่าตัดจำ�หน่ายโครงข่ายนั้น ยังคงมีแนวโน้มลดลงเนื่องจากสินทรัพย์ส่วนใหญ่ได้ถูกตัดจำ�หน่ายครบแล้วในขณะที่เงินลงทุนใหม่ ยังอยู่ในระดับต่ำ� เอไอเอสคาดว่าค่าตัดจำ�หน่ายโครงข่ายในปี 2555 จะลดลง 7% เอไอเอสได้มีการวางแผนโครงสร้างเงินทุน เพื่อให้บริษัทมีความพร้อมต่อการลงทุนในอนาคตมากที่สุด รวมถึงให้บริษัทสามารถรักษาอัตรา การจ่ายเงินปันผลที่ระดับ 100% ของกำ�ไรสุทธิไว้ ได้ ทั้งนี้หลังจากมีการจัดตั้ง กสทช. และเมื่อมีความคืบหน้าในเชิงนโยบายการกำ�กับดูแล เอไอเอสจะต้องเตรียมความพร้อมสำ�หรับการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมที่จะเกิดขึ้นโดยบริหารสถานะทางการเงินให้เข้มแข็งมี ความพร้อมในการสอดรับกับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นอาทิเช่น การประมูลใบอนุญาตคลื่นความถี่ (ทั้งคลื่นความถี่ 2.1GHz, 1,800MHz และ 900MHz) รวมไปถึงการขยายโครงข่ายใหม่บนเทคโนโลยีใหม่ และเพื่อให้เอไอเอสยังคงรักษาความเป็นผู้นำ�ทั้งในยุค 3G หรือในอนาคตต่อไป บริษัทจึงรักษาสัดส่วนหนี้สินต่อทุนไว้ ในระดับต่ำ�และรักษาประสิทธิภาพด้านต้นทุนเพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นสำ�หรับการกู้ยืมเงินในอนาคต รวมทั้งรักษาความได้เปรียบในการแข่งขันและสามารถรับมือต่อสภาพการแข่งขันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
146 อินทัช
สรุปตัวเลขการดำ�เนินงาน ไตรมาส จำ�นวนผู้ ใช้บริการ 4/2552 จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ 2,835,800 จีเอสเอ็ม 1800 78,900 ระบบเหมาจ่ายรายเดือน 2,914,700 ระบบเติมเงิน 25,858,200 รวมจำ�นวนผู้ ใช้บริการ 28,772,900 ผู้ ใช้บริการที่เพิ่มขึ้น (Net additions) ระบบเหมาจ่ายรายเดือน 80,100 ระบบเติมเงิน 410,500 รวมผู้ ใช้บริการที่เพิ่มขึ้น 490,600 Churn rate (%) ระบบเหมาจ่ายรายเดือน 2.2% ระบบเติมเงิน 5.2% ค่าเฉลี่ย 4.9% ส่วนแบ่งตลาดของจำ�นวนผู้ ใช้บริการ ระบบเหมาจ่ายรายเดือน 42% ระบบเติมเงิน 44% รวม 44% ARPU ไม่รวม IC (บาท) จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ 660 จีเอสเอ็ม 1800 623 ระบบเหมาจ่ายรายเดือน 659 ระบบเติมเงิน 192 ค่าเฉลี่ย 239 ARPU รวม IC (บาท) จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ 619 จีเอสเอ็ม 1800 604 ระบบเหมาจ่ายรายเดือน 619 ระบบเติมเงิน 198 ค่าเฉลี่ย 240
ไตรมาส 1/2553 2,878,500 78,300 2,956,800 26,552,400 29,509,200
ไตรมาส 2/2553 2,898,800 78,400 2,977,200 27,030,500 30,007,700
ไตรมาส 3/2553 2,928,100 76,400 3,004,500 27,497,600 30,502,100
ไตรมาส 4/2553 2,976,500 76,100 3,052,600 28,148,100 31,200,700
ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส 1/2554 2/2554 3/2554 4/2554 3,027,500 3,056,200 3,116,200 3,193,600 76,100 86,500 95,700 98,000 3,103,600 3,142,700 3,211,900 3,291,600 28,847,700 29,342,300 29,552,000 30,168,300 31,951,300 32,485,000 32,763,900 33,459,900
42,100 694,200 736,300
20,400 478,100 498,500
27,300 467,100 494,400
48,100 650,500 698,600
51,000 699,600 750,600
39,100 494,600 533,700
69,200 209,700 278,900
79,700 616,300 696,000
2.3% 4.7% 4.4%
2.2% 4.7% 4.5%
2.1% 4.3% 4.1%
1.8% 4.4% 4.2%
1.6% 4.4% 4.1%
1.7% 4.7% 4.4%
1.6% 5.0% 4.7%
1.5% 4.3% 4.1%
43% 44% 44%
43% 44% 44%
43% 44% 44%
43% 44% 44%
43% 44% 44%
43% 44% 44%
43% 44% 44%
N/A N/A N/A
648 610 647 193 239
645 596 643 185 231
645 594 644 184 230
660 584 658 195 241
655 544 652 197 241
661 496 656 195 239
673 459 667 193 239
698 454 691 203 251
608 592 608 198 239
605 578 605 190 231
614 576 613 192 234
624 574 623 201 243
618 535 616 203 243
621 482 617 200 240
632 442 626 199 240
655 437 649 209 252
147 รายงาน ประจำ�ปี 2554
MOU (จำ�นวนนาทีที่โทรออก) จีเอสเอ็ม แอดวานซ์ จีเอสเอ็ม 1800 ระบบเหมาจ่ายรายเดือน ระบบเติมเงิน ค่าเฉลี่ย
535 492 534 255 283
ข้อปฎิเสธความรับผิดชอบ
524 483 523 263 289
509 476 508 273 297
522 387 518 280 304
532 496 532 292 316
527 486 526 304 326
530 479 529 299 322
529 463 527 300 322
588 499 585 323 349
ติดต่อนักลงทุนสัมพันธ์เอไอเอส http://investor.ais.co.th investor@ais.co.th Tel: 02 299 5014
ในเอกสารฉบับนี้อาจจะมีข้อมูลบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการคาดการณ์ ในอนาคตโดยใช้ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในหลายด้านซึ่งจะขึ้นอยู่กับความเสี่ยงและความไม่แน่นอน ต่างๆ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวรวมถึง แผนธุรกิจ กลยุทธ์ และความเชื่อของบริษัทฯ รวมทั้งข้อมูลอื่นที่ไม่ใช่ข้อมูลที่เกิดขึ้นในอดีต ตัวอย่างของคำ�ที่ใช้ ในการคาดการณ์ ใน อนาคต เช่น อาจจะ, จะ, คาดว่า, ตั้งใจว่า, ประมาณ, เชื่อว่า, ยังคง, วางแผนว่า หรือคำ�ใดๆ ที่มีความหมายทำ�นองเดียวกัน เป็นต้น แม้ว่าการคาดการณ์ดังกล่าวจะถูกจัดทำ�ขึ้นจากสมมุติฐานและความเชื่อของฝ่ายบริหาร โดยอาศัยข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบันเป็นพื้นฐานก็ตามสมมุติฐานเหล่านี้ยัง คงมีความเสี่ยงและความไม่แน่นอนต่างๆ ซึ่งอาจจะทำ�ให้ผลงาน ผลการดำ�เนินงาน ความสำ�เร็จที่เกิดขึ้นจริงแตกต่างจากที่บริษัทฯ คาดการณ์ ไว้ ในอนาคต ดังนั้น ผู้ ใช้ข้อมูลดังกล่าวจึงควรระมัดระวังในการใช้ข้อมูลข้างต้น อีกทั้งบริษัท และผู้บริหาร/พนักงาน ไม่อาจควบคุมหรือรับรองความเกี่ยวข้อง ระยะเวลาที่จะเกิดขึ้น หรือ ความถูกต้องของข้อมูลดังกล่าวได้
การคำ�นวณรายได้ต่อเลขหมายต่อเดือน เพื่อให้การประกาศตัวเลขการดำ�เนินงานเป็นไปตามหลักสากล บริษัทจึงมีการจัดทำ�ตัวเลขรายได้ต่อเลขหมายต่อเดือนใหม่ (ARPU) เพื่อ สะท้อนถึงรายได้ที่เกิดจากการให้บริการบนโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ บริษัทมีความเห็นว่าการปรับปรุงนี้ช่วยให้ตัวเลขการดำ�เนินงานมี ความโปร่งใสมากขึ้นและแสดงถึงรายได้จากการให้บริการได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ บริษัทยังคงไว้ซึ่งหลักการ Conservative ในการบันทึก รายได้แบบสุทธิ รายได้ที่นำ�มาคำ�นวณ ARPU นั้นเป็นรายได้จากงบการเงินรวมตามมาตรฐานบัญชีของไทย
148 อินทัช
ARPU ไม่รวม IC
นิยาม
ส่วน ประกอบ รายได้
ARPU รวม IC
รายได้รวมจากการให้บริการทั้งหมดยกเว้นรายได้จากเอไอ รายได้รวมจากการให้บริการทั้งหมดยกเว้นรายได้จากเอไอ เอ็น หารด้วยจำ�นวนลูกค้าเฉลีย่ ระหว่างต้นงวดและปลายงวด เอ็น หารด้วยจำ�นวนลูกค้าเฉลี่ยระหว่างต้นงวดและปลายงวด = รายได้จากการให้บริการทัง้ หมด - รายได้จากเอไอเอ็น - รายรับ = รายได้จากการให้บริการทั้งหมด - รายได้จากเอไอเอ็น ค่า IC (จำ�นวนลูกค้าต้นงวด +จำ�นวนลูกค้าปลายงวด) / 2 - รายรับค่า IC + รายรับุสุทธิค่า IC (จำ�นวนลูกค้าต้นงวด +จำ�นวนลูกค้าปลายงวด) / 2 บริการเสียง บริการเสียง บริการเสริม (call management, SMS, MMS, บริการเสริม (call management, SMS, MMS, data) data) บริการโรมมิ่งต่างประเทศ บริการโรมมิ่งต่างประเทศ บริการโทรออกต่างประเทศผ่าน กสท. ทีโอที บริการโทรออกต่างประเทศผ่าน กสท. ทีโอที บริการอื่นๆ บริการอื่นๆ รายรับสุทธิค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (IC) รายรับสุทธิค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (IC) บริการโทรออกต่างประเทศผ่านเอไอเอ็น (บริษัทในเครือ ของเอไอเอส) บริการโทรออกต่างประเทศผ่านเอไอเอ็น (บริษัทใน เครือของเอไอเอส) ทุกรายการข้างต้นเป็นการบันทึกแบบสุทธิจากส่วนราย ได้ที่ต้องแบ่งให้แก่บุคคลที่สามและค่าคอมมิชชั่น
ทุกรายการข้างต้นเป็นการบันทึกแบบสุทธิจากส่วนรายได้ที่ ต้องแบ่งให้แก่บุคคลที่สามและค่าคอมมิชชั่น
เริ่มตั้งแต่ไตรมาส 1/2551 เป็นต้นไป บริษัทจะประกาศตัวเลข ARPU ตามคำ�นิยามแบบใหม่เท่านั้น และจะทำ�การยกเลิกการประกาศตัวเลข ARPU ตามนิยามเดิม
149 รายงาน ประจำ�ปี 2554
คำ�ศัพท์และความหมาย ข้อมูลการดำ�เนินงาน
จำ�นวนผู้ ใช้บริการ (Subscriber) จำ�นวน churn ของลูกค้าระบบเหมาจ่ายรายเดือน จำ�นวน churn ของลูกค้าระบบเติมเงิน จำ�นวนผู้ ใช้บริการเพิ่มขึ้นสุทธิ(Net additions) ARPU ไม่รวม IC ARPU รวม IC MOU Churn rate บริการเสียง (Voice) บริการข้ามแดนอัตโนมัติ (International roaming) บริการโทรต่างประเทศ (IDD) บริการด้านข้อมูล Non-voice (data)
ข้อมูลเชิงการเงิน EBITDA margin
จำ�นวนหมายเลขที่จดทะเบียน ณ สิ้นงวด ไม่รวมถึงหมายเลขที่มีสถานะเป็น churn จำ�นวนผู้ ใช้บริการที่มีสถานะการค้างชำ�ระเกิน 45 วันนับจากวันครบกำ�หนดชำ�ระ จำ�นวนผู้ ใช้บริการที่ไม่มีการเติมเงินภายใน 37 วันหลังจากวันที่ยอดคงเหลือหมดอายุ ผลต่างระหว่างจำ�นวนผู้ ใช้บริการ ณ สิ้นงวด กับจำ�นวนผู้ ใช้บริการ ณ ต้นงวด รายได้รวมจากการให้บริการทั้งหมดยกเว้นรายได้จากเอไอเอ็น หารด้วยจำ�นวนลูกค้าเฉลี่ยระหว่างต้นงวดและปลายงวด ซึ่งรวม ถึงรายได้จากบริการเสียง บริการเสริมต่างๆ บริการโรมมิ่งต่างประเทศ บริการโทรออกต่างประเทศ และบริการอื่นๆ รวมรายรับหรือรายจ่ายสุทธิจากค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (รายรับ IC หัก รายจ่าย IC) จำ�นวนนาทีที่เรียกเก็บเงินจากการโทรออกของลูกค้า ซึ่งเกิดจากการใช้บริการเสียง การโทรออกต่างประเทศ และ SMS หารด้วย จำ�นวนลูกค้าเฉลี่ยระหว่างต้นงวดและปลายงวด จำ�นวนผู้ ใช้บริการที่ยกเลิกบริการระหว่างงวด หารด้วยผลรวมของจำ�นวนผู้จดทะเบียนใหม่ระหว่างงวดและจำ�นวนผู้ ใช้บริการ ณ ต้นงวด บริการเสียงทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ ภายในและภายนอกประเทศซึง่ เกิดขึน้ จากกลุม่ ลูกค้าระบบเหมาจ่ายรายเดือน ระบบเติมเงิน และลูกค้าองค์กร บริการที่ชาวต่างประเทศที่ใช้โทรศัพท์มือถือของผู้ ให้บริการต่างประเทศมาใช้เครือข่ายของบริษัท บริการโทรออกต่างประเทศ รายได้จากบริการ SMS, MMS, GPRS, content, enterprise data, mobile advertising, WAP, JAVA, เสียงรอสาย
กำ�ไรจากการดำ�เนินงานก่อนหักค่าเสื่อมราคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สินทรัพย์ภายใต้สัญญาสัมปทาน โปรแกรม คอมพิวเตอร์ สิทธิในสัมปทาน ค่าความนิยม และค่าเผื่อการด้อยค่า คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้รวม Interest Coverage ดอกเบี้ยจ่ายหารด้วยกำ�ไรจากการดำ�เนินงาน DSCR EBITDA หลังหักภาษี หารด้วย ยอดชำ�ระคืนเงินกู้ระหว่างงวด รวมถึงเงินกู้ระยะสั้น ส่วนที่ครบกำ�หนดชำ�ระในหนึ่งปี และเงินกู้ ระยะยาว และดอกเบี้ยจ่ายระหว่างงวด หนี้สุทธิต่อ EBITDA (Net debt / EBITDA) เงินกู้ระยะสั้น เงินกู้ระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ย หักด้วยเงินสด หารด้วย EBITDA หนี้สุทธิต่อทุน (Net Debt / Equity) เงินกู้ระยะสั้น เงินกู้ระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ย หักด้วยเงินสด หารด้วย ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้นงวด หนี้ต่อทุน (Interest-bearing Debt to Equity) เงินกู้ระยะสั้น เงินกู้ระยะยาว ที่มีภาระดอกเบี้ย หารด้วย ส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้นงวด หนี้สินรวมต่อทุน (Total Liabilities to Equity) หนี้สินรวมหารด้วยส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้นงวด อัตราส่วนหนี้สิน (Debt ratio) หนี้สินรวมหารด้วยสินทรัพย์รวม Free cash flow to EV (EBITDA – เงินลงทุนโครงข่าย capex – ภาษี) / (มูลค่าตลาด + มูลค่าทางบัญชีของหนี้สิน) กระแสเงินสดหลังหักเงินลงทุน นิยามจนถึงปี 2552: กระแสเงินสดหลังหักเงินลงทุน = กระแสเงินสดจากการดำ�เนินงานหลังหักเงินทุนหมุนเวียน - เงินลงทุนโครงข่าย; (Free cash flow) นิยามตั้งแต่ปี 2553 เป็นต้นไป: กระแสเงินสดหลังหักเงินลงทุน = EBITDA – เงินลงทุนโครงข่าย ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงข่าย (Network OPEX) ต้นทุนการให้บริการไม่รวมค่าตัดจำ�หน่ายและค่าเสื่อมราคาและค่าเชื่อมโยงโครงข่าย (IC) ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงาน (Cash OPEX) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับโครงข่าย + ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร โดยไม่รวมค่าตัดจำ�หน่ายและค่าเสื่อมราคา อัตราผลตอบแทนต่อส่วนผู้ถือหุ้น (ROE) % กำ�ไรสุทธิก่อนรายการพิเศษปรับเป็นรายปี/ส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ย
150 อินทัช
ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี 1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี ดังนี้ ผู้สอบบัญชีของบริษัท สังกัด KPMG
(หน่วย : ล้านบาท) ผู้สอบบัญชีอื่นสังกัด KPMG และกิจการที่เกี่ยวข้องกับ KPMG
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ไทยคม จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
2.19 4.08
5.12
บริษัท ไอทีวี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
0.58
0.08
-
0.54
รวมค่าสอบบัญชี
6.85
5.74
Out of pocket expenses
0.26
0.13
รวมค่าสอบบัญชีและ out of pocket expenses
7.11
5.87
บริษัท
บริษัทย่อยอื่น
หมายเหตุ : KPMG หมายถึง สำ�นักงาน บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด
2. ค่าบริการอื่น (Non-audit fee) ในปี 2554 บริษัทและบริษัทย่อยจ่ายค่าบริการวิชาชีพสำ �หรับโครงการปรับเปลี่ยนงบการเงินไปสู่มาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ ค่าบริการตรวจสอบรายงานรายได้และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และค่าบริการให้คำ�ปรึกษาการดำ�เนินธุรกิจในต่างประเทศ ให้แก่ KPMG รวมจำ�นวน 0.50 ล้านบาท และกิจการที่เกี่ยวข้องกับ KPMG รวมจำ�นวนเงิน 5.58 ล้านบาท โดยมีค่าบริการดังกล่าวที่ต้องจ่ายในอนาคตอันเกิดจาก การตกลงที่ให้บริการยังไม่แล้วเสร็จในรอบปี 2554 ให้แก่ KPMG และกิจการที่เกี่ยวข้องกับ KPMG รวมจำ�นวน 0.50 ล้านบาท และจำ�นวน 4.32 ล้านบาท ตามลำ�ดับ
151 รายงาน ประจำ�ปี 2554
รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย รวมถึงข้อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจำ�ปี งบการเงินดังกล่าวจัดทำ�ขึ้นตามหลักการ บัญชีที่รับรองทั่วไป โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย่างสม่ำ�เสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังและประมาณการที่ ดีที่สุดในการจัดทำ� รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลที่สำ�คัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ถือหุ้นและ นักลงทุนทั่วไปอย่างโปร่งใส คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบบริหารความเสี่ยง และให้มีและดำ�รงรักษาไว้ซึ่งระบบควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อให้ มั่นใจได้อย่างมีเหตุผลว่าข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วนและเพียงพอที่จะดำ�รงรักษาไว้ซึ่งทรัพย์สิน ตลอดจนเพื่อไม่ให้เกิดการทุจริต หรือการดำ�เนินการที่ผิดปกติอย่างมีสาระสำ�คัญ ในการนีค้ ณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ทำ�หน้าทีส่ อบทานนโยบายการบัญชีและคุณภาพของรายงานทางการเงิน สอบทานระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลรายการระหว่าง กัน โดยความเห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจำ �ปี 2554 ซึ่งแสดงไว้ ใน รายงานประจำ�ปีแล้ว งบการเงินของบริษัทและงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อยได้รับการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด ในการตรวจสอบนั้น ทางคณะกรรมการบริษัทได้สนับสนุนข้อมูลและเอกสารต่างๆ เพื่อให้ผู้สอบบัญชีสามารถตรวจสอบ และแสดงความเห็นได้ตามมาตรฐานการสอบบัญชี โดยความเห็นของผู้สอบบัญชีได้ปรากฏในรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งแสดงไว้ ในรายงาน ประจำ�ปีแล้ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยู่ในระดับที่น่าพอใจและสามารถสร้างความเชื่อมั่นอย่าง มีเหตุผลได้ว่างบการเงินของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และ บริษัทย่อย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีความเชื่อถือได้ โดยถือปฏิบัติตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และปฏิบัติถูกต้อง ตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
(ดร.วิรัช อภิเมธีธำ�รง) ประธานคณะกรรมการบริษัท
(นายสมประสงค์ บุญยะชัย) ประธานคณะกรรมการบริหาร
152 อินทัช
รายงานของผู ชีรบั อนุญ ญชีาตรับอนุญาต รายงานของผูส อบบั้สญอบบั เสนอ ผูถ ือหุน ของบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบแสดงฐานะการเงินรวมและงบแสดงฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบเฉพาะกําไรขาดทุนรวมและงบเฉพาะกําไรขาดทุนเฉพาะบริษัท งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เฉพาะบริษัท งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุนเฉพาะบริษัท และ งบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของ บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย และของเฉพาะบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน)ตามลําดับ ซึ่งผูบริหารของกิจการ เปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองและครบถวนของขอมูลในงบการเงินเหลานี้ สวนขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดง ความเห็นตองบการเงินดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกําหนดใหขาพเจาตองวางแผนและปฏิบัติงาน เพื่อใหไดความเชื่อมั่นอยางมีเหตุผลวา งบการเงินแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบ รวมถึงการใชวิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ทั้งที่เปนจํานวนเงินและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การประเมิน ความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใชและประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เปนสาระสําคัญ ซึ่งผูบริหาร เปนผูจัดทําขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นําเสนอในงบการเงินโดยรวม ขาพเจาเชื่อวา การตรวจสอบดังกลาวใหขอสรุปที่เปนเกณฑอยางเหมาะสมในการแสดงความเห็นของขาพเจา ขาพเจาเห็นวา งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทขางตนนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเฉพาะบริษัทและกระแสเงินสดรวมและ กระแสเงินสดเฉพาะบริษัท สําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกันของแตละปของ บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัท ยอย และของเฉพาะบริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ โดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ตามที่อธิบายไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 2 และ 3 บริษัทไดใชมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุง ใหม ซึ่งมีผ ลบั งคับ ใช ตั้งแตวัน ที่ 1 มกราคม 2554 งบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะบริษัท สํา หรับ ปสิ้น สุด วัน ที่ 31 ธันวาคม 2553 ไดปรับปรุงใหมแลว
153 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 2.2 และ 34 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ไอทีวี มีหนี้สินหมุนเวียนสูงกวา สินทรัพยหมุนเวียนจํานวน 3,898 ลานบาทและมีขาดทุนสะสมเกินทุนจํานวน 3,898 ลานบาท และการที่ ไอทีวี ถูกเพิก ถอนสัญญาเขารวมงานและดําเนินการสถานีวิทยุโทรทัศนระบบ ยู เอช เอฟ (“สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ”) โดยสํานักงาน ปลัดฯ เนื่องจากไอทีวียังมิไดชําระคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางจํานวน 2,210 ลานบาท รวมทั้งดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 15 ตอปของคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางทั้งหมดและคาปรับจากการปรับเปลี่ยนผังรายการจํานวน 97,760 ลานบาท ตามที่สํานักงานปลัดฯเรียกรอง โดยเหตุที่ไอทีวียังคงมีขอโตแยงทางกฎหมายตอขอเรียกรองดังกลาว ผลจากการถูกเพิก ถอนสัญญาอนุญาตใหดําเนินการทําใหไอทีวี ตองหยุดดําเนินกิจการและตองสงมอบทรัพยสินตามสัญญาอนุญาตให ดําเนินการใหกับสํานักงานปลัดฯ ไอทีวีไดดําเนินการนําขอพิพาทเกี่ยวกับคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางจํานวน 2,210 ลานบาท ดอกเบี้ยลาชา และคาปรับจากการปรับเปลี่ยนผังรายการเขาสูกระบวนการอนุญาโตตุลาการ สถานการณดังกลาวเปนความไมแนนอนที่มีสาระสําคัญซึ่งอาจเปนเหตุใหเกิดขอสงสัยอยางมากเกี่ยวกับความสามารถใน การดําเนินงานตอเนื่องของไอทีวี ขาพเจาไดเสนอรายงานการสอบบัญชีแบบไมแสดงความเห็นตองบการเงินของไอทีวี สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 เนื่องจากเรื่องสําคัญตามที่กลาวขางตน สินทรัพย และหนี้สินของไอทีวี ที่รวมอยูในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 คิดเปนรอยละ 2.04 (2553: 2.37) และ รอยละ 19.2 (2553: รอยละ 28.33) ของสินทรัพยรวมและหนี้สินรวมในงบการเงิน ตามลําดับ และเงินลงทุนในไอทีวี ในงบการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ไมมีมูลคาตามบัญชี
(วินิจ ศิลามงคล) ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3378 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 14 กุมภาพันธ 2555
154 อินทัช
บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน บริ ษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วั นที่ 31 ธันวาคม 2554 งบแสดงฐานะการเงิ น ณและวัน2553 ที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม สินทรัพย
หมายเหตุ
2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553
2554
2553
(ปรับปรุงใหม)
(ปรับปรุงใหม)
(บาท) สินทรัพยหมุนเวียน 7 8 9
11,436,559,716
2,489,672,568
8,442,694,924
1,070,372,447
2,516,994,607
1,845,526,825
1,377,179,866
756,698,740
1,987,556,141
1,769,396,184
19,433,915
15,242,698
6 10
82,108,638
1,382,554
-
30,000,000
242,734,611
416,534,653
-
-
16,265,953,713
6,522,512,784
9,839,308,705
1,872,313,885
-
-
3,694,940,468
3,694,940,468
16,977,470,395
18,039,342,525
8,382,315,318
8,807,455,529
25,000,000
25,000,000
25,000,000
25,000,000
6,668,280,524
5,317,833,876
32,176,950
24,406,612
12,828,228,105
14,177,096,096
-
-
1,217,241,726
1,253,421,346
4,252,250
7,025,161
846,188,384
1,174,346,261
-
-
698,681,932
663,462,841
3,805,983
948,080
รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน
39,261,091,066
40,650,502,945
12,142,490,969
12,559,775,850
รวมสินทรัพย
55,527,044,779
47,173,015,729
21,981,799,674
14,432,089,735
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้เงินทดรองจายและเงินใหกูยืม แกกิจการที่เกี่ยวของกัน สินคาคงเหลือ รวมสินทรัพยหมุนเวียน
สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทรวม เงินลงทุนระยะยาว อาคารและอุปกรณ
11 11 8 13
อาคารและอุปกรณภายใตสัญญา อนุญาตใหดําเนินการ สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
14 15 16
155 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ณงบแสดงฐานะการเงิ วันที่ 31 ธันวาคม 2554น และ ณ วั2553 นที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม หนี้สินและสวนของผูถือหุน
หมายเหตุ
2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553
2554
2553
(ปรับปรุงใหม)
(ปรับปรุงใหม)
(บาท) หนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น
18
1,757,321,141
1,733,752,786
79,450,917
84,325,579
เงินปนผลคางจาย
7,502,986,495
-
7,502,986,495
-
เจาหนี้ - อุปกรณ
465,593,431
920,779,639
-
-
6
81,722,822
3,045,672
4,974,863
4,226,013
17
4,627,159,881
856,342,983
631,954
475,107
264,616,590
205,457,499
-
-
5,023,160,387
4,589,742,578
-
-
146,268,255
133,293,397
-
-
19,868,829,002
8,442,414,554
7,588,044,229
89,026,699
5,652,998,801
7,548,869,308
1,545,004
2,263,425
232,111,092
216,844,256
38,331,083
39,035,566
119,535,340
130,806,517
-
-
327,955,400
114,721,586
-
-
6,332,600,633
8,011,241,667
39,876,087
41,298,991
26,201,429,635
16,453,656,221
7,627,920,316
130,325,690
เจาหนี้และเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งป ผลประโยชนตอบแทนตามสัญญาอนุญาต ใหดําเนินการคางจาย สํารองเผื่อสวนตางของคาอนุญาตใหดําเนินการ คางจายและดอกเบี้ย
34.2
ภาษีเงินไดนิติบุคคลคางจาย รวมหนี้สินหมุนเวียน
หนี้สินไมหมุนเวียน เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน หนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
17 19 16
156 อินทัช
บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย งบแสดงฐานะการเงิน
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบแสดงฐานะการเงิ น ณและวัน2553 ที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม หนี้สินและสวนของผูถือหุน
หมายเหตุ
2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553
2554
2553
(ปรับปรุงใหม)
(ปรับปรุงใหม)
(บาท) สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน
20
ทุนจดทะเบียน - หุนสามัญ
5,000,000,000
5,000,000,000
5,000,000,000
5,000,000,000
ทุนที่ออกและชําระแลว - หุนสามัญ
3,206,420,305
3,201,083,769
3,206,420,305
3,201,083,769
10,341,569,221
10,197,776,579
10,341,569,221
10,197,776,579
500,000,000
500,000,000
500,000,000
500,000,000
3,006,338,536
4,075,445,759
305,757,355
404,096,704
4,104,580,421
4,167,971,123
132,477
(1,193,007)
21,158,908,483
22,142,277,230
14,353,879,358
14,301,764,045
8,166,706,661
8,577,082,278
-
-
รวมสวนของผูถือหุน
29,325,615,144
30,719,359,508
14,353,879,358
14,301,764,045
รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน
55,527,044,779
47,173,015,729
21,981,799,674
14,432,089,735
-
-
-
-
สวนเกินทุน สวนเกินมูลคาหุนสามัญ
20 , 21
กําไรสะสม จัดสรรแลว สํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน รวมสวนของบริษัทใหญ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
157 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบเฉพาะกํ าไรขาดทุ น น สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบเฉพาะกำ �ไรขาดทุ สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบการเงินรวม
หมายเหตุ
2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
2553 (ปรับปรุงใหม)
(ปรับปรุงใหม)
(บาท) รายได
24
รายไดจากการขายและการใหบริการ
8,648,958,434
7,966,815,871
-
-
-
-
10,268,429,765
21,908,217,278
7,263,825,147
-
7,499,188,788
-
243,544,610
165,218,750
55,493,759
28,621,772
สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม
10,069,139,005
9,195,909,560
-
-
รวมรายได
26,225,467,196
17,327,944,181
17,823,112,312
21,936,839,050
6,129,512,277
6,520,932,196
-
-
620,810,252
493,925,091
-
-
433,417,808
433,417,808
-
-
173,017,932
244,172,437
-
-
1,592,789,336
1,493,942,103
205,076,306
195,132,514
84,842,990
90,077,573
-
-
152,767,145
137,004,226
85,870,000
88,923,661
9,187,157,740
9,413,471,434
290,946,306
284,056,175
17,038,309,456
7,914,472,747
17,532,166,006
21,652,782,875
รายไดเงินปนผล กําไรจากการขายเงินลงทุนบางสวนในบริษัทรวม รายไดอื่น
คาใชจาย
11 ข) 25
24
ตนทุนขายและตนทุนการใหบริการ ผลประโยชนตอบแทนตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ขาดทุนจากสํารองเผื่อดอกเบี้ยของสวนตาง ของสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ
34.2
คาใชจายในการขาย คาใชจายในการบริหาร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ คาตอบแทนผูบริหาร
6
รวมคาใชจาย กําไรกอนตนทุนทางการเงินและภาษีเงินได ตนทุนทางการเงิน
(482,175,707)
กําไรกอนภาษีเงินได
(498,946,900)
(2,087,381)
(2,111,961)
16,556,133,749
7,415,525,847
17,530,078,625
21,650,670,914
(487,077,047) 16,069,056,702
124,016,557 7,539,542,404
17,530,078,625
21,650,670,914
สวนที่เปนของบริษัทใหญ
16,559,310,751
8,015,694,421
17,530,078,625
21,650,670,914
สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
(490,254,049) 16,069,056,702
(476,152,017) 7,539,542,404
17,530,078,625
21,650,670,914
ขั้นพื้นฐาน
5.17
2.50
5.47
6.76
ปรับลด
5.17
2.50
5.47
6.76
รายได(คาใชจาย)ภาษีเงินได กําไรสําหรับป
28
การแบงปนกําไร (ขาดทุน)
กําไรตอหุน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
30
158 อินทัช
บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
งบกํ นเบ็นดเบ็ เสร็ดจเสร็จ สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบกำา�ไรขาดทุ ไรขาดทุ สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบการเงินรวม
หมายเหตุ
2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
2553 (ปรับปรุงใหม)
(ปรับปรุงใหม)
(บาท) กําไรสําหรับป
16,069,056,702
7,539,542,404
17,530,078,625
21,650,670,914
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - สุทธิจากภาษีเงินได ผลตางจากการแปลงคางบการเงินตางประเทศ
23 134,623,212
(148,953,170)
-
-
1,704,641
(9,048,085)
1,325,484
(1,121,180)
506,902
(647,085)
-
-
136,834,755
(158,648,340)
1,325,484
(1,121,180)
16,205,891,457
7,380,894,064
17,531,404,109
21,649,549,734
16,616,267,074
7,946,563,304
17,531,404,109
21,649,549,734
(410,375,617)
(565,669,240)
-
-
17,531,404,109
21,649,549,734
การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมสุทธิ ของเงินลงทุนเผื่อขาย สวนแบงกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นจากบริษัทรวม กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป - สุทธิจากภาษีเงินได กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป การแบงปนกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สวนที่เปนของบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
16,205,891,457
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
7,380,894,064
23
3
3,201,083,769
-
-
-
-
-
17,165
3,201,066,604
-
3,201,066,604
ชําระแลว
ที่ออกและ
ทุนเรือนหุน
หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นเป็่งของงบการเงิ นส่วนหนึ่งนของงบการเงิ นนี้ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นเปนสวนหนึ นี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป
กําไร(ขาดทุน)สําหรับป
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป
บริษัทยอยและบริษัทรวมที่ยังไมเกิดขึ้นจริง
สวนเกินจากการลดสัดสวนการลงทุนใน
เงินปนผล
ทุนเรือนหุนที่ออกเพิ่ม
การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสําหรับป
- ปรับปรุงใหม
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553
นโยบายการบัญชี
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
- ตามที่รายงานไวเดิม
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553
หมายเหตุ
สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน
บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย
10,197,776,579
-
-
-
-
-
472,656
10,197,303,923
-
10,197,303,923
มูลคาหุน
สวนเกิน
500,000,000
-
-
-
-
-
-
500,000,000
-
500,000,000
ตามกฎหมาย
สํารอง จัดสรร
ยังไมได
4,075,445,759
8,015,694,421
-
8,015,694,421
-
(21,671,113,808)
-
17,730,865,146
(216,033,937)
17,946,899,083
กําไรสะสม
4,288,827,900
-
-
-
112,345,365
-
-
4,176,482,535
-
4,176,482,535
ที่ยังไมเกิดขึ้น
การลงทุน
ลดสัดสวน
สวนเกินจากการ
(59,469,097)
(59,469,097)
-
-
-
-
(58,841,624)
-
(58,841,624)
(บาท)
งบการเงิน
การแปลงคา
ผลตางจาก
สวนแบง
(1,898,971)
(9,014,935)
(9,014,935)
-
-
-
-
7,115,964
-
7,115,964
เผื่อขาย
ของเงินลงทุน
(647,085)
(647,085)
(647,085)
-
-
-
-
-
-
-
จากบริษัทรวม
เบ็ดเสร็จอื่น
ในมูลคายุติธรรม กําไรขาดทุน
การเปลี่ยนแปลง
องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน
งบการเงินรวม
(118,310,721)
สวนของบริษัทใหญ
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น สำ�หรับแต่ละปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
รวม
4,167,971,123
(69,131,117)
(69,131,117)
-
112,345,365
-
-
4,124,756,875
-
4,124,756,875
ผูถือหุน
ของสวนของ
องคประกอบอื่น
22,142,277,230
7,946,563,304
(69,131,117)
8,015,694,421
112,345,365
(21,671,113,808)
489,821
35,753,992,548
(216,033,937)
35,970,026,485
ของบริษัทใหญ
ผูถือหุน
รวมสวนของ
สวนไดเสีย
8,577,082,278
(565,669,240)
(89,517,223)
(476,152,017)
-
-
-
9,142,751,518
(69,521,577)
9,212,273,095
ควบคุม
ที่ไมมีอํานาจ
รวม
30,719,359,508
7,380,894,064
(158,648,340)
7,539,542,404
112,345,365
(21,671,113,808)
489,821
44,896,744,066
(285,555,514)
45,182,299,580
สวนของผูถือหุน
159 รายงาน ประจำ�ปี 2554
23
20 31
3
3,206,420,305
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
-
-
-
-
5,336,536
3,201,083,769
-
3,201,083,769
ชําระแลว
ที่ออกและ
ทุนเรือนหุน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป
กําไร(ขาดทุน)สําหรับป
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป
บริษัทยอยและบริษัทรวมที่ยังไมเกิดขึ้นจริง
สวนเกินจากการลดสัดสวนการลงทุนใน
เงินปนผล
ทุนเรือนหุนที่ออกเพิ่ม
การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสําหรับป
- ปรับปรุงใหม
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554
นโยบายการบัญชี
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
- ตามที่รายงานไวเดิม
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554
หมายเหตุ
สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน
10,341,569,221
-
-
-
-
143,792,642
10,197,776,579
-
10,197,776,579
มูลคาหุน
สวนเกิน
500,000,000
-
-
-
-
-
500,000,000
-
500,000,000
ตามกฎหมาย
สํารอง จัดสรร
ยังไมได
16,559,310,751 3,006,338,536
-
16,559,310,751
-
(17,628,417,974)
-
4,075,445,759
(232,263,360)
4,307,709,119
กําไรสะสม
(186,864,770) 4,168,480,875
-
(186,864,770)
66,517,745
-
-
4,288,827,900
-
4,288,827,900
ที่ยังไมเกิดขึ้น
การลงทุน
ลดสัดสวน
สวนเกินจากการ
(บาท)
งบการเงิน
การแปลงคา
ผลตางจาก
54,923,251 (63,387,470)
54,923,251
-
-
-
-
(118,310,721)
-
สวนแบง
1,526,170 (372,801)
1,526,170
-
-
-
-
(1,898,971)
-
(1,898,971)
เผื่อขาย
ของเงินลงทุน
506,902 (140,183)
506,902
-
-
-
-
(647,085)
-
(647,085)
จากบริษัทรวม
เบ็ดเสร็จอื่น
ในมูลคายุติธรรม กําไรขาดทุน
การเปลี่ยนแปลง
องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน
งบการเงินรวม
(118,310,721)
สวนของบริษัทใหญ
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น สำ�หรับแต่ละปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย
160 อินทัช
รวม
(129,908,447) 4,104,580,421
56,956,323
(186,864,770)
66,517,745
-
-
4,167,971,123
-
4,167,971,123
ผูถือหุน
ของสวนของ
องคประกอบอื่น
16,429,402,304 21,158,908,483
56,956,323
16,372,445,981
66,517,745
(17,628,417,974)
149,129,178
22,142,277,230
(232,263,360)
22,374,540,590
ของบริษัทใหญ
ผูถือหุน
รวมสวนของ
สวนไดเสีย
(410,375,617) 8,166,706,661
79,878,432
(490,254,049)
-
-
-
8,577,082,278
(78,556,132)
8,655,638,410
ควบคุม
ที่ไมมีอํานาจ
รวม
16,019,026,687 29,325,615,144
136,834,755
15,882,191,932
66,517,745
(17,628,417,974)
149,129,178
30,719,359,508
(310,819,492)
31,030,179,000
สวนของผูถือหุน
หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ สวนหนึ ่งของงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ นเป็นส่เปวนนหนึ ่งของงบการเงิ นนี้ นนี้
รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป
กําไรสําหรับป
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป
เงินปนผล
ทุนเรือนหุนที่ออกเพิ่ม
การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสําหรับป
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 - ปรับปรุงใหม
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
- ตามที่รายงานไวเดิม
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2553
สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
23
3
หมายเหตุ
3,201,083,769
-
-
-
17,165
3,201,066,604
-
3,201,066,604
ชําระแลว
ทุนที่ออกและ
10,197,776,579
-
-
-
472,656
10,197,303,923
-
10,197,303,923
มูลคาหุน
สวนเกิน
500,000,000
-
-
-
-
500,000,000
-
21,650,670,914 404,096,704
-
21,650,670,914
(21,671,113,808)
-
424,539,598
(35,558,278)
460,097,876
(บาท)
จัดสรร
ยังไมได
งบการเงินเฉพาะกิจการ
กําไรสะสม
500,000,000
ตามกฎหมาย
สํารอง
งบแสดงการเปลี ่ยนแปลงในส่ วนของผู้ถือหุ้น สำ�หรับแต่ละปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบแสดงการเปลี ่ยนแปลงสวนของผู ถือหุน
บริษัท ชิน คอร ากัด (มหาชน) อย บริษปอเรชั ัท ชิ่นนจํคอร์ ปอเรชั่นและบริ จำ�กัษดัทย(มหาชน) และบริษัทย่อย
(1,121,180) (1,193,007)
(1,121,180)
-
-
-
(71,827)
-
(71,827)
เผื่อขาย
(1,121,180) (1,193,007)
(1,121,180)
-
-
-
(71,827)
-
(71,827)
ของผูถือหุน
ของสวน
องคประกอบอื่น
ในมูลคายุติธรรม ของเงินลงทุน
รวม
การเปลี่ยนแปลง
องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน
21,649,549,734 14,301,764,045
(1,121,180)
21,650,670,914
(21,671,113,808)
489,821
14,322,838,298
(35,558,278)
14,358,396,576
สวนของผูถือหุน
รวม
161 รายงาน ประจำ�ปี 2554
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับป
กําไรสําหรับป
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับป
เงินปนผล
ทุนเรือนหุนที่ออกเพิ่ม
การเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนสําหรับป
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 - ปรับปรุงใหม
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
- ตามที่รายงานไวเดิม
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554
สําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน
23
20 31
3
หมายเหตุ
3,206,420,305
-
-
-
5,336,536
3,201,083,769
-
3,201,083,769
ชําระแลว
ทุนที่ออกและ
10,341,569,221
-
-
-
143,792,642
10,197,776,579
-
10,197,776,579
มูลคาหุน
สวนเกิน
500,000,000
-
-
-
-
500,000,000
-
17,530,078,625 305,757,355
-
17,530,078,625
(17,628,417,974)
-
404,096,704
(39,986,311)
444,083,015
(บาท)
จัดสรร
ยังไมได
งบการเงินเฉพาะกิจการ
กําไรสะสม
500,000,000
ตามกฎหมาย
สํารอง
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย บริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทวยนของผู อย งบแสดงการเปลี ่ยนแปลงในส่ ้ถือหุ้น สำ�หรับแต่ละปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
162 อินทัช
1,325,484 132,477
1,325,484
-
-
-
(1,193,007)
-
(1,193,007)
เผื่อขาย
ของเงินลงทุน
ในมูลคายุติธรรม
การเปลี่ยนแปลง
1,325,484 132,477
1,325,484
-
-
-
(1,193,007)
-
(1,193,007)
ของผูถือหุน
ของสวน
องคประกอบอื่น
รวม
องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน
17,531,404,109 14,353,879,358
1,325,484
17,530,078,625
(17,628,417,974)
149,129,178
14,301,764,045
(39,986,311)
14,341,750,356
สวนของผูถือหุน
รวม
163 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย
บริงบกระแสเงิ ษัท ชินนคอร์ สด ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงิ นสด สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม
หมายเหตุ
2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553
2554
2553
(ปรับปรุงใหม)
(ปรับปรุงใหม)
(บาท) กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับปที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ
16,559,310,751
8,015,694,421
17,530,078,625
21,650,670,914
2,640,062,787
2,619,234,075
13,590,597
14,493,931
17,400,639
16,406,863
2,485,357
2,366,571
รายไดดอกเบี้ย
(135,600,916)
(88,172,943)
(41,350,995)
(28,382,547)
คาใชจายดอกเบี้ย
468,921,199
485,775,944
1,955,963
1,966,304
487,077,047
(124,016,557)
-
-
(10,069,139,005)
(9,195,909,560)
-
-
รายการปรับปรุง คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย ตนทุนบริการปจจุบันของพนักงาน
ภาษีเงินได
13, 14, 15 19
28
สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม เงินปนผลรับ
-
-
(10,268,429,765)
(21,908,217,278)
(7,263,825,147)
-
(7,499,188,788)
-
433,417,809
433,417,809
-
-
ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง
39,746,326
96,094,206
-
-
หนี้สงสัยจะสูญ
43,183,064
41,469,861
-
-
คาเผื่อสินคาเสื่อมสภาพ
28,507,449
25,736,123
-
-
6,139,008
6,139,009
-
-
(490,254,049)
(476,152,017)
-
-
4,078,223
(3,588,815)
7,207,248
6,681,978
2,769,025,185
1,852,128,419
(253,651,758)
(260,420,127)
ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น
(212,157,534)
116,429,065
(3,838,498)
(6,944,225)
สินคาคงเหลือ
213,427,335
2,507,593
-
-
สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น
(35,219,092)
(21,655,765)
(2,857,904)
1,478,708
เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น
25,178,354
208,499,354
(5,701,994)
38,440,843
59,159,091
(440,596,959)
-
-
หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น
196,210,669
(20,419,103)
(3,189,840)
-
รับดอกเบี้ย
118,128,379
103,676,330
32,908,364
33,804,931
10,353,482,075
21,992,269,595
10,268,429,765
21,908,217,278
(223,804,477)
(210,378,697)
-
-
10,032,098,135
21,714,577,408
กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนบางสวนในบริษัทรวม
11 ข)
ขาดทุนจากสํารองเผื่อดอกเบี้ยของสวนตางของ สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ
คาตัดจําหนายคาใชจายในการจัดหาเงินกูยืม ขาดทุนสําหรับปที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม อื่นๆ
การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน
ผลประโยชนตอบแทนตามสัญญาอนุญาต ใหดําเนินการคางจาย
รับเงินปนผล จายภาษีเงินได กระแสเงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดําเนินงาน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
13,263,429,985
23,582,459,832
164 อินทัช
บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทยอย
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบกระแสเงินสด
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
งบการเงินรวม
หมายเหตุ
2554
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2553
2554
2553
(ปรับปรุงใหม)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน
(ปรับปรุงใหม)
(บาท)
ซื้ออาคารและอุปกรณ
(2,411,212,653)
(682,977,303)
(17,866,016)
(3,628,598)
(101,188,165)
(13,932,740)
(119,690)
(1,204,274)
(1,942,429)
-
-
-
(669,941,585)
262,334,484
(619,155,642)
164,394,292
(78,416,397)
(280,168)
30,000,000
(30,000,000)
7,924,329,000
-
7,924,329,000
-
68,979,056
8,475,058
42,991
244,393
4,730,606,827
(426,380,669)
7,317,230,643
129,805,813
เงินสดรับจากการกูยืมระยะสั้น
2,156,217,186
-
-
-
เงินสดรับจากการกูยืมระยะยาว
1,624,601,573
116,070,247
-
-
77,317,196
-
-
-
เงินสดรับจากการเพิ่มทุน
149,129,179
489,820
149,129,179
489,820
จายคืนเงินกูยืมระยะสั้น
(2,410,762,804)
(80,869,123)
-
-
ซื้อสินทรัพยไมมีตัวตนอื่น จายสุทธิเพื่อลงทุนในอาคารและอุปกรณภายใตสัญญา อนุญาตใหดําเนินการ เงินลงทุนชั่วคราว(เพิ่มขึ้น)ลดลง เงินใหกูยืมและเงินทดรองจายแกกิจการที่เกี่ยวของกัน (เพิ่มขึ้น)ลดลง เงินรับสุทธิจากการจําหนายเงินลงทุนบางสวนในบริษัทรวม เงินรับสุทธิจากการจําหนายอุปกรณ เงินสดสุทธิไดมาจาก(ใชไปใน)กิจกรรมลงทุน
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน
เงินสดรับจากการกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน
จายคืนเงินกูยืมระยะยาว
(64,306,964)
(353,029,621)
(556,514)
(367,533)
(448,202,669)
(465,566,904)
(147,486)
(144,467)
เงินปนผลจาย
(10,125,431,480)
(21,671,113,808)
(10,125,431,480)
(21,671,113,808)
เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน
(9,041,438,783)
(22,454,019,389)
(9,977,006,301)
(21,671,135,988)
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้นสุทธิ
8,952,598,029
702,059,774
7,372,322,477
173,247,233
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนป
2,489,672,568
1,791,391,958
1,070,372,447
897,125,214
(5,710,881) 11,436,559,716
(3,779,164) 2,489,672,568
8,442,694,924
1,070,372,447
-
-
-
-
77,092,712
73,525,857
741,449
134,071
9,326,913
26,075,455
2,176,958
2,738,532
จายดอกเบี้ย
ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราตางประเทศ คงเหลือสิ้นป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันสิ้นป
7
รายการที่ไมใชเงินสด ซื้ออาคารและอุปกรณ และสินทรัพยไมมีตัวตน โดยที่ยังไมไดชําระเงิน ซื้ออาคารและอุปกรณภายใตสัญญาเชาทางการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
ชินปคอร กัด (มหาชน) บริษัทบริชินษทั คอร์ อเรชัป่นอเรชั จำ�กัน่ ดจํา(มหาชน) และบริและบริ ษัทย่ษอยทั ยอย ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น สำ�นหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 หมายเหตุ
สารบัญ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38
ขอมูลทั่วไป เกณฑการจัดทํางบการเงิน ผลกระทบของกลุมอินทัชจากการเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการบัญชี ผลกระทบของกลุมอินทัชจากการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล นโยบายการบัญชีที่สําคัญ รายการที่เกิดขึ้นและยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนอื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สินคาคงเหลือ เงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการที่ควบคุมรวมกัน และบริษัทรวม ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของกิจการที่ควบคุมรวมกัน และบริษัทรวม อาคารและอุปกรณ อาคารและอุปกรณภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ สินทรัพยไมมีตัวตน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น หนี้สินผลประโยชนระยะยาวพนักงาน ทุนเรือนหุน สวนเกินมูลคาหุน และใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ สวนเกินทุนและสํารองตามกฏหมาย การบริหารจัดการสวนทุน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน รายไดอื่น คาใชจายตามลักษณะ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน ภาษีเงินได สิทธิประโยชนตามบัตรสงเสริมการลงทุน กําไรตอหุน เงินปนผล เครื่องมือทางการเงิน ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหนา เหตุการณสําคัญ ขอพิพาททางการคา และคดีความที่สําคัญของกลุมอินทัช หนังสือค้ําประกันจากธนาคาร การจัดประเภทรายการใหม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ยังไมไดใช เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลาที่รายงาน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
165 รายงาน ประจำ�ปี 2554
166 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้ งบการเงินนี้ไดรับอนุมัติใหออกงบการเงินจากคณะกรรมการเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ 2555 1
ขอมูลทัว่ ไป บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) “บริษัท” เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นในประเทศไทย และที่อยูจดทะเบียนตั้งอยูเลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 บริษัทจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (“ตลท.”) เมื่อเดือน สิงหาคม 2533 ณ วัวันที่ 31 วาคม 2554 2554 ทุนทุเรืนอเรืนหุ อนหุ นของบริ วนใหญ ือโดยบริ โฮลดิ (“ซีดดาร์าร””) ) ร้รออยละ ยละ 44.80 31 ธัธันนวาคม ้นของบริ ษัทษส่ัทวสนใหญ่ ถือถโดยบริ ษัทษซีัทดซีาร์ดารโฮลดิ ้งส์้งจำจํ�ากักัดด(“ซี (2553:ร (2553:ร้อยละ ยละ54.43) 54.43)และบริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส์จํจำา�กักัดด(“แอสเพน”) (“แอสเพน”)รร้ออยละ ยละ41.62 41.62แอสเพน เป เป็นบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศ ไทยและเป็นบริษัทยย่อยทางอ ยทางอ้อมของ Temasek Holdings ไทยและเป Holdings(Pte) (Pte)Ltd. Ltd.(“เทมาเส็ (“เทมาเส็กก”)”)ซีดซีารร์ ดารเป็เปนนบริ บริษษัทัททีที่จ่จดทะเบี ดทะเบียยนในประเทศไทย นในประเทศไทย ธนาคารไทยพาณิชชยย์จํจำา�กักัดด(มหาชน) (มหาชน) รร้ออยละ ยละ5.8 5.8 บริ บริษษัทัท กุกุหหลาบแก ลาบแก้ววจํจำา�กักัดด(“กุ (“กุหหลาบแก ลาบแก้วว”)”)รร้ออยละ ยละ45.2 45.2 และ ซึ่งถือหุน้ โดย ธนาคารไทยพาณิ บริษัท ไซเพลส ไซเพรส โฮลดิ้งส์จํจำา�กักัดด(“ไซเพลส”) (“ไซเพรส”) ซึซึ่ง่งเปเป็นนบริ บริษษัทัทยย่ออยของเทมาเส็ ยของเทมาเส็ก ร้รอยละ 49.0 กุหลาบแก้ ว ถื อ หุ น ้ โดยผู ถ ้ อ ื หุ ลาบแก ้น หลักสี่ รายซึ่ง่งได ได้แแกก่ ไซเพลส ไซเพรส รร้ออยละ ยละ29.9 29.9 คุคุณ ธกุลลรร้ออยละ ยละ68.0 68.0คุณคุพงส ณพงส์ สารสิ ร้อยละ ศุภเดช สารสิ น รอนยละ 1.3 1.3 และคุและคุ ณศุภณเดช พูน รายซึ ณสุสุรรินินทร์ ทร อุอุปปพัพัททธกุ พู น พิ พ ฒ ั น์ ร้ อ ยละ 0.8 พิพัฒน รอยละ 0.8 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2554 บริษัทไดมีหนังสือแจงตอ ตลท. ถึงการเปลี่ยนแปลงสัญลักษณ (Logo) ของบริษัท เนื่องจากกลุม ชิน คอรปอเรชั่น ไดกาวขามจากกลุมธุรกิจโทรคมนาคม สูการเปนกลุมธุรกิจที่มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้นในปจจุบัน จาก องคกรที่ใหความสําคัญกับความกาวหนาทางเทคโนโลยี สูการเปนองคกรที่มุงสรางความพึงพอใจสูงสุดแกลูกคา บริษัทจึง เปลี่ยนเครื่องหมายการคา จาก “SHIN” เปน "INTOUCH" (อินทัช) โดยมองเห็นวาถึงเวลาที่จะเปลี่ยนจากสัญลักษณลูกโลก เดิมที่ใชมากวา 20 ป สูสัญลักษณใหมที่มาจากรอยยิ้ม สามารถสะทอนความเปนมิตรไดดียิ่งขึ้น ใกลชิดและสัมผัสไดงายขึ้น เพื่อใหสอดคลองกับสัญลักษณใหมของบริษัท นอกจากนั้นบริษัทไดเปลี่ยนแปลงชื่อยอหลักทรัพยของบริษัทที่ใชในระบบการซื้อขายใน ตลท. (Trade Name) จากชื่อยอ หลักทรัพยเดิม SHIN เปนชื่อยอหลักทรัพยใหม INTUCH โดย ตลท. ไดกําหนดใหใชชื่อยอหลักทรัพย INTUCH มีผลใน ระบบการซื้อขายใน ตลท. เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2554 รายการคาที่เกิดขึ้นระหวางกันในบริษัท บริษัทยอย กิจการที่ควบคุมรวมกัน และบริษัทรวม (รวมกันเรียก“กลุมอินทัช”) รวมทั้งผูบริหารและกิจการที่เกี่ยวของกันอื่นของบริษัท ตลอดจนรายการกับ ซีดาร แอสเพน และกลุมบริษัท เทมาเส็ก จะ แสดงเปนรายการกับกิจการที่เกี่ยวของกัน กลุมอินทัชประกอบธุรกิจหลักในธุรกิจดาวเทียม ธุรกิจอินเทอรเน็ต กิจการดานการสื่อสารโทรคมนาคม ธุรกิจสื่อและโฆษณา
167 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 รายละเอียดของบริษัทยอย กิจการที่ควบคุมรวมกัน และบริษัทรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังนี้ บริษทั บริษทั ยอย ไทยคม จำากั�กัดด(มหาชน) (มหาชน) บริษัทไทยคมจํ และกลุมบริษัท (“ไทยคม”)
ลักษณะธุรกิจ
ประเทศที่ กิจการจัดตัง้
สัดสวนการถือหุน 2554 2553
(รอยละ)
ดําเนินการใหบริการวงจรดาวเทียมเพื่อการ สื่อสารทั้งภายในและตางประเทศ จัดจําหนาย อุปกรณรับสัญญาณดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร) บริการเนื้อหาสําหรับเครือขาย บรอดแบนดและจัดจําหนายอุปกรณรับ สัญญาณโทรทัศน บริการระบบโทรศัพทบริการ เสริมบนโทรศัพทเคลื่อนที่ และบริการดาน วิศวกรรมพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารและ อิเลคโทรนิค
ไทย
41.14
41.14
บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) และกลุมบริษัท (“ไอทีวี”)
ปจจุบันไอทีวีไดหยุดดําเนินธุรกิจ (หมายเหตุ 33 และ 34) ซึ่งเดิมเคยดําเนินกิจการสถานีโทรทัศน ภายใตสัญญารวมงานและดําเนินการ สถานี โทรทัศนระบบ ยู เอช เอฟ ที่ไดรับจากสํานัก ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี
ไทย
52.92
52.92
บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนดเซอรวิส จํากัด (“ไอทีเอเอส”)
ประกอบธุรกิจใหบริการโปรแกรมคอมพิวเตอร และบริการอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
ไทย
99.99
99.99
บริษัท แมทชบอกซ จํากัด (“แมทชบอกซ”)
ประกอบธุรกิจใหบริการดานโฆษณา และรับจาง ผลิตสื่อโฆษณาทางวิทยุ และโทรทัศน
ไทย
99.96
99.96
168 บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิหมายเหตุ นทัช ประกอบงบการเงิน
ละปสปนิ้ อเรชั สุดวั่นนจำที�่ 31 นวาคม 2554 สําษหรััท บชิแต บริ น คอร์ กัด ธั(มหาชน) และบริและ ษัทย่2553 อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษทั
ลักษณะธุรกิจ
บริษทั รวม บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส เปนผูดําเนินงานและใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ จํากัด (มหาชน) และกลุมบริษัท ระบบ 900 เมกะเฮิรตซ และระบบ 1800 (“เอไอเอส”) เมกะเฮิรตซสื่อสารขอมูลผานสายโทรศัพท ดวยระบบ Datakit Virtual Circuit Switch ศูนยการบริการทางโทรศัพท ใหบริการอินเทอรเน็ตความเร็วสูง อินเทอรเน็ตระหวางประเทศ บริการเสียง และโทรทัศนผา นเครือขายอินเทอรเน็ต จัดจําหนายบัตรเงินสด ใหบริการชําระคาสินคา หรือบริการผานโทรศัพทเคลื่อนที่ ใหบริการโทรศัพทระหวางประเทศ จัดจําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) และกลุมบริษัท (“ซีเอสแอล”)
ใหบริการศูนยขอมูลอินเทอรเน็ต บริการอินเทอรเน็ต และบริการรับ - สง สัญญาณผานดาวเทียมเพื่อ การสื่อสาร ทั้งภายในประเทศ และตางประเทศ จัดพิมพ และโฆษณาสมุดรายนามผูใชโทรศัพท ฉบับธุรกิจ บริการโฆษณาบนอินเทอรเน็ต ธุรกิจสิ่งพิมพประเภทโฆษณายอย และ บริการเสริมบนโทรศัพทเคลื่อนที่
ประเทศที่ กิจการจัดตัง้
สัดสวนการถือหุน 2554 2553
(รอยละ)
ไทย
40.45
42.55
ไทย
42.07
42.19
กลุมอินทัช ไดรับอนุญาตใหดําเนินการตาง ๆ จากหนวยงานของรัฐ และหนวยงานภายใตการกํากับดูแลของรัฐทั้งในประเทศ และตางประเทศ ใหเปนผูใหบริการวงจรดาวเทียม ผูใหบริการอินเทอรเน็ต การดําเนินงานเกี่ยวกับสถานีวิทยุโทรทัศน และ บริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบเซลลูลารในประเทศไทยและประเทศกัมพูชา และบริการโทรคมนาคมในประเทศลาว เปนตน โดยมีอายุอนุญาตใหดําเนินการตาง ๆ ตั้งแต 10 - 35 ป ภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการตางๆ บริษัทในกลุม อินทัช ที่ไดรับอนุญาตใหดําเนินการจะตองจายผลประโยชนตอบแทนแกหนวยงานของรัฐ และหนวยงานภายใตการกํากับ ดูแลของรัฐที่เกี่ยวของในอัตรารอยละของรายไดหรือเงินขั้นต่ําที่ระบุในแตละสัญญาที่เกี่ยวของแลวแตจํานวนใดจะสูงกวา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวนเงินขั้นต่ําที่ระบุในสัญญา คงเหลือเปนจํานวน 731 ลานบาทในงบการเงินรวม ทั้งนี้ไมรวมไอ ทีวีเนื่องจากอยูระหวางกรณีพิพาทในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 33 และ 34 นอกจากนี้สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ บางฉบับยังระบุใหกลุมบริษัทดังกลาวตองจัดหาอาคารและอุปกรณเพื่อดําเนินการและสงมอบอาคารและอุปกรณที่จัดหามา ภายใตสัญญาขางตนใหเปนกรรมสิทธิ์ของหนวยงานของรัฐและหนวยงานภายใตการกํากับดูแลของรัฐที่เกี่ยวของภายใน เวลาที่กําหนดไวในสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ
169 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สั ญ ญาอนุ ญ าตให ดํา เนิ น การที่ บ ริ ษั ท ย อ ย กิ จ การที่ ค วบคุ ม ร ว มกั น และบริ ษั ท ร ว มถื อ ครองสิ ท ธิ อ ยู ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2554 มี ดั ง นี้ ประเภทของ สัญญาอนุญาตใหดาํ เนินการ บริษทั ยอย ธุรกิจดาวเทียม ใบอนุญาตการประกอบกิจการ โทรคมนาคม แบบที่หนึ่ง บริการดานสถานีวิทยุ และโทรทัศน ระบบยูเอชเอฟ ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง กิจการทีค่ วบคุมรวมกัน ระบบโทรศัพทพื้นฐาน โทรศัพท เคลื่อนที่ โทรศัพทตางประเทศ และบริการดานอินเทอรเน็ต ระบบโทรศัพทเคลื่อนที่เซลลูลาร บริษทั รวม ระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ 900-MHz เซลลูลาร ระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ 1800-MHz เซลลูลาร โทรศัพททางไกลตางประเทศ ระบบสื่อสารขอมูล Datakit Virtual Circuit Switch บริการรับสงสัญญาณโทรทัศน และอินเทอรเน็ตผานดาวเทียม ใบอนุญาตการใหบริการอินเทอรเน็ต แบบที่หนึ่ง สอง และสาม
ประเทศ
ถือครองโดย
ไทย ไทย
บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน)
ไทย
บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน)
ไทย
บริษัท ดีทีวี เซอรวิส จํากัด
ประเทศลาว Lao Telecommunications Company Limited กัมพูชา
วันทีส่ นิ้ สุดอายุ อนุญาตใหดาํ เนินการ กันยายน 2564 สิงหาคม 2559 กรกฎาคม 2568 (อยูระหวางกรณีพิพาท หมายเหตุประกอบ งบการเงินขอ 33 และ 34) ตุลาคม 2557
2564
Mfone Company Limited
มีนาคม 2571
บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด
กันยายน 2558
กรกฎาคม 2569 กันยายน 2565
ไทย
บริษัท เอ ไอ เอ็น โกลบอลคอม จํากัด บริษัท แอดวานซ ดาตาเนทเวิรค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน)
ไทย
บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน)
ไทย ไทย ไทย ไทย
กันยายน 2556
สิงหาคม 2559 เมษายน 2555 ถึง ธันวาคม 2565
170 อิบริ นทัชษท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ 2
เกณฑการจัดทํางบการเงิน
2.1 เกณฑในการจัดทํางบการเงิน งบการเงินนี้นําเสนอเพื่อวัตถุประสงคเพื่อใชรายงานในประเทศไทย และจัดทําเปนภาษาไทย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษได จัดทําขึ้นเพื่อความสะดวกของผูอานงบการเงินที่ไมคุนเคยกับภาษาไทย งบการเงินนี้แสดงหนวยเงินตราเปนเงินบาทและมีการปดเศษในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพื่อใหแสดงเปนหลักลานบาท เวนแตที่ระบุไวเปนอยางอื่น งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยถือหลักเกณฑการบันทึกตามราคาทุนเดิม ยกเวนที่กลาวไวใน นโยบายการบัญชี งบการเงินนี้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีของประเทศไทย (“มาตรฐานการบัญชี”) และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ของประเทศไทย (“มาตรฐานการรายงานทางการเงิน”) รวมถึงการตีความและแนวปฏิบัติทางการบัญชีที่ประกาศใชโดยสภา วิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ (“สภาวิชาชีพบัญชีฯ”) ในการจัด ทํางบการเงินใหเปนไปตามมาตรฐานการบั ญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ผูบ ริห ารต องใชก าร ประมาณการและขอสมมติฐาน ซึ่งมีผลกระทบตอการกําหนดนโยบายการบัญชีและการรายงานจํานวนเงิ นที่เกี่ยวกับ สินทรัพย หนี้สิน รายไดและคาใชจาย การประมาณและขอสมมติฐานมาจากประสบการณในอดีต และปจจัยตางๆ รวมถึง การประเมินผลกระทบที่สําคัญตอผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของกลุมอินทัชอันเนื่องมาจากสภาพเศรษฐกิจ ผลที่ เกิดขึ้นจริงจึงอาจแตกตางจากที่ประมาณไว ทั้งนี้การประมาณการและขอสมมติฐานที่ใชในการจัดทํางบการเงินจะไดรับการ ทบทวนอยางสม่ําเสมอ ขอมูลเกี่ยวกับประมาณการและขอสมมติฐานที่สําคัญในการกําหนดนโยบายการบัญชี และมีผลกระทบสําคัญตอการรับรู จํานวนเงินในงบการเงินซึ่งประกอบดวยหมายเหตุประกอบงบการเงินตอไปนี้
คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชําระหนี้และการคาดการณเกี่ยวกับการชําระหนี้ใน อนาคตของลูกหนี้ (หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 9)
มูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับคืนจากสินคาคงเหลือประมาณจากราคาที่คาดวาจะขายไดหักดวยคาใชจายที่เกี่ยวของ
(หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 10)
การประมาณอายุการใชงานของสินทรัพย เชน อาคาร และอุปกรณ รวมถึงอาคารและอุปกรณภายใตสัญญา อนุญาตใหดําเนินการ และทรัพยสินไมมีตัวตน ประมาณตามอายุการใหประโยชนของสินทรัพย หรือตามอายุ สัญญาที่เกี่ยวของ ในกรณีที่อายุสัญญาที่เกี่ยวของสั้นกวา (หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 13, 14 และ 15)
การประเมินมูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับคืนจาก อาคาร และอุปกรณ รวมถึงอาคารและอุปกรณภายใตสัญญา อนุญาตใหดําเนินการ และทรัพยสินไมมีตัวตน รวมถึงคาความนิยม ประเมินจากมูลคาปจจุบันสุทธิของกระแสเงิน สดที่ คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตจากการใชสินทรัพ ยอยา งตอเนื่อง หรือจํานวนที่คาดว าจะไดรับจากการขาย สินทรัพยหักดวยตนทุนจากการจําหนายสินทรัพยนั้นแลวแตจํานวนใดจะสูงกวา (หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ
13, 14 และ 15)
การจัดประเภทของสัญญาเชา กลุมอินทัชจัดประเภทสัญญาเชาสินทรัพยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความ เปนเจาของสวนใหญไดโอนไปใหกับผูเชาถือเปนสัญญาเชาการเงิน สวนสัญญาเชาซึ่งผูใหเชาเปนผูรับความเสี่ยงและ ผลตอบแทนของความเปนเจาของเปนสวนใหญ ถือเปนสัญญาเชาดําเนินงาน (หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 13)
อนุญาตใหดําเนินการ และทรัพยสินไมมีตัวตน ประมาณตามอายุการใหประโยชนของสินทรัพย หรือตามอายุ สัญญาที่เกี่ยวของ ในกรณีที่อายุสัญญาที่เกี่ยวของสั้นกวา (หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 13, 14 และ 15)
การประเมินมูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับคืนจาก อาคาร และอุปกรณ รวมถึงอาคารและอุปกรณภายใตสัญญา อนุญาตใหดําเนินการ และทรัพยสินไมมีตัวตน รวมถึงคาความนิยม ประเมินจากมูลคาปจจุบันสุทธิของกระแสเงิน สดที่ คาดว าจะเกิดขึ้นในอนาคตจากการใชสินทรัพ ยอยา งตอเนื่อง หรือจํานวนที่คาดวาจะไดรับจากการขาย สินทรัพยหักดวยตนทุนจากการจําหนายสินทรัพยนั้นแลวแตจํานวนใดจะสูงกวา (หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ
13, 14 และ 15)
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย การจัดประเภทของสัญญาเชา กลุมอินทัชจัดประเภทสัญญาเชาสินทรัพยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความ น วนใหญไดโอนไปใหกับผูเชาถือเปนสัญญาเชาการเงิน สวนสัญญาเชาซึ่งผูใหเชาเปนผูรับความเสี่ยงและ หมายเหตุประกอบงบการเงิ เปนเจาของส วันที่ 31 ธันวาคม 2554นและ 2553 นสวนใหญ ถือเปนสัญญาเชาดําเนินงาน (หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 13) สําหรับแตละปสนิ้ สุดผลตอบแทนของความเป เจาของเป
การใชประโยชนสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีซึ่งเปนผลจากขาดทุนทางภาษีเงินได จะบันทึกตอเมื่อมีความเปนไป ไดคอนขางแนนอนวาจะมีกําไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตเพียงพอกับการใชประโยชนจากสินทรัพยภาษีเงินไดรอการ ตัดบัญชีดังกลาว (หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 4 และ 16)
ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น จะถูกรับรูเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากลุมอินทัชตอง สูญเสียทรัพยากรออกไป โดยใชมูลคาที่คาดวาจะจายชําระในปจจุบัน ณ วันที่ในรายงาน (หมายเหตุประกอบงบ
การเงินขอ 33 และ 34)
การวัดมูลคามูลคายุติธรรม ของตราสารอนุพันธุทางการเงิน กลุมอินทัชบันทึกมูลคายุติธรรมของสัญญาซื้อขาย เงินตราตางประเทศลวงหนาถือตามราคาตลาดของสัญญาลวงหนา ณ วันที่รายงาน สวนมูลคายุติธรรมของ สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ และอัตราดอกเบี้ยถือตามราคาอางอิงของ นายหนา ณ วันที่ในรายงาน
(หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 32)
2.2 ฐานะการเงินของบริษทั ไอทีวี จํากัด (มหาชน) และกลุม บริษทั (“ไอทีว”ี ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ไอทีวีมีหนี้สินหมุนเวียนสูงกวาสินทรัพยหมุนเวียนจํานวน 3,898 ลานบาท และขาดทุนสะสมเกินทุน จํานวน 3,898 ลานบาท (วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ไอทีวีมีหนี้สินหมุนเวียนสูงกวาสินทรัพยหมุนเวียนจํานวน 3,476 ลานบาท และขาดทุนสะสมเกินทุนจํานวน 3,476 ลานบาท) และตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 32 จากผลคําตัดสินของ ศาลปกครองสูงสุดเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2549 ในการเพิกถอนคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ สํานักงานปลัดสํานัก นายกรัฐมนตรี (“สปน.”) ผูใหการอนุญาตดําเนินการแกไอทีวีไดเรียกรองใหไอทีวีจายชําระคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตาง ตามสัญญาเขารวมงานฯ เปนเงินทั้งสิ้น 2,210 ลานบาท รวมทั้งดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 15 ตอปของคาอนุญาตใหดําเนินการ สวนตางทั้งหมดและคาปรับในการปรับเปลี่ยนผังรายการจํานวน 97,760 ลานบาท ซึ่งไอทีวีไมไดชําระคาอนุญาตให ดําเนินการสวนตาง รวมทั้งดอกเบี้ยและคาปรับดังกลาว โดยเหตุที่ไอทีวียังคงมีขอโตแยงทางกฎหมายตอขอเรียกรองดังกลาว และเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2550 สปน. ไดเพิกถอนสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ของไอทีวีทําใหไอทีวีตองหยุดดําเนินกิจการตั้งแต วันนั้นเปนตนมา และเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2550 สปน. ยังไดเรียกรองเกี่ยวกับมูลคาทรัพยสินที่สงมอบไมครบจํานวน 656 ลานบาท พรอมดอกเบี้ย และดําเนินการตามขั้นตอนของอนุญาโตตุลาการในเรื่องเกี่ยวกับคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตาง ดอกเบี้ยลาชาและคาปรับในการปรับเปลี่ยนผังรายการจํานวน 97,760 ลานบาท และมูลคาทรัพยสินที่สงมอบไมครบพรอม ดอกเบี้ ย สถานการณ ดั ง กล า วเป น ความไม แ น น อนที่ มี ส าระสํ า คั ญ ซึ่ ง อาจเป น เหตุ ใ ห เ กิ ด ข อสงสั ยอย างมากเกี่ ยวกั บ ความสามารถในการดําเนินงานตอเนื่อง ตั้งแตวันที่ 10 มีนาคม 2554 ตลท. ไดแจงใหไอทีวีทราบวาไอทีวีอยูใน กลุม Non-Performing Group (“NPG”) ระยะที่ 1 ตามประกาศการปรับปรุงแนวทางการดําเนินการกับบริษัทจดทะเบียนที่มีการดําเนินงานหรือฐานะการเงินที่เขาขายอาจถูก เพิกถอน โดยประกาศดังกลาวไดกําหนดระยะเวลาใหไอทีวีดําเนินการแกไขเหตุแหงการเพิกถอนภายในระยะเวลา 3 ป (กําหนด 3 ระยะ ๆ ละ 1 ป) เริ่มตั้งแตวันที่ 10 มีนาคม 2554 ทั้งนี้ไอทีวีสามารถยื่นคําขอขยายระยะเวลาฟนฟูกิจการได 1 ครั้ง ระยะเวลาไมเกิน 1 ป (กําหนดระยะเวลาสูงสุดในการฟนฟูกิจการไมเกิน 4 ป) โดยไอทีวีตองมีคุณสมบัติครบทุกขอ ดังนี้ 1. 2. 3. 4.
มีสวนของผูถือหุน ไมต่ํากวา 20 ลานบาท หรือมีกําไรจากการดําเนินธุรกิจหลัก 1 ป มีธุรกิจหลักดําเนินการอยางตอเนื่องชัดเจน มีแนวทางแกไขเหตุเพิกถอนชัดเจน คุณสมบัติอื่นๆ ครบถวน เชน ผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุม ไมเปนบุคคลที่มีลักษณะตองหาม เปนตน
171 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ดอกเบี้ ย สถานการณ ดั ง กล า วเป น ความไม แ น น อนที่ มี ส าระสํ า คั ญ ซึ่ ง อาจเป น เหตุ ใ ห เ กิ ด ข อสงสั ยอย างมากเกี่ ยวกั บ ความสามารถในการดําเนินงานตอเนื่อง ตั้งแตวันที่ 10 มีนาคม 2554 ตลท. ไดแจงใหไอทีวีทราบวาไอทีวีอยูใน กลุม Non-Performing Group (“NPG”) ระยะที่ 1 ตามประกาศการปรับปรุงแนวทางการดําเนินการกับบริษัทจดทะเบียนที่มีการดําเนินงานหรือฐานะการเงินที่เขาขายอาจถูก เพิกถอน โดยประกาศดังกลาวไดกําหนดระยะเวลาใหไอทีวีดําเนินการแกไขเหตุแหงการเพิกถอนภายในระยะเวลา 3 ป (กําหนด บริษัท ชิ3น คอร์ ษัทมีย่นอาคม ย 2554 ทั้งนี้ไอทีวีสามารถยื่นคําขอขยายระยะเวลาฟนฟูกิจการได 1 ครั้ง เริ่มตั้งแตและบริ วันที่ 10 ระยะปอเรชั ๆ ละ่น จำ1�ปกั)ด (มหาชน) หมายเหตุระยะเวลาไม ประกอบงบการเงิ น สำ � หรั บ แต่ ล ะปี ส น ้ ิ สุ ด วั น ที่ 31 ธันนวาคม 2554เกิและ เกิน 1 ป (กําหนดระยะเวลาสูงสุดในการฟ ฟูกิจการไม น 42553 ป) โดยไอทีวีตองมีคุณสมบัติครบทุกขอ ดังนี้ 172 อินทัช
1. มีสวนของผูถือหุน ไมต่ํากวา 20 ลานบาท หรือมีกําไรจากการดําเนินธุรกิจหลัก 1 ป 2. มีธุรกิจหลักดําเนินการอยางตอเนื่องชัดเจน 3. มีแนวทางแกไขเหตุเพิกถอนชัดเจน 4. ปอเรชั คุณสมบั ๆ ครบถวและบริ น เชนษผูทั บยริอหยารหรือผูมีอํานาจควบคุม ไมเปนบุคคลที่มีลักษณะตองหาม เปนตน บริษทั ชิน คอร น่ จําตกัิอดื่น(มหาชน) หมายเหตุประกอบงบการเงิน หากไอทีวีไมสามารถดําเนินการแกไขใหมีคุณสมบัติตามประกาศดังกลาว ภายในระยะเวลาที่กําหนด ตลท. จะเสนอ สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 คณะกรรมการ ตลท. เพื่อพิจารณาอนุมัติการเพิกถอนหลักทรัพยตอไป งบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอยไดรวมงบการเงินของไอทีวีซึ่งจัดทําบนพื้นฐานของความสามารถในการดําเนินงาน อยางตอเนื่อง ทั้งนี้การจัดทํางบการเงินรวมตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไปกําหนดใหรวมสินทรัพยทุกรายการของไอ ทีวีจํานวน 1,131 ลานบาท คิดเปนรอยละ 2.04 ของสินทรัพยรวมในงบการเงินรวม (วันที่ 31 ธันวาคม 2553: 1,122 ลาน บาท คิดเปนรอยละ 2.37) และหนี้สินทุกรายการของไอทีวีจํานวน 5,028 ลานบาท คิดเปนรอยละ 19.2 ของหนี้สินรวมในงบ การเงินรวม (วันที่ 31 ธันวาคม 2553: 4,598 ลานบาท คิดเปนรอยละ 28.33) รวมถึงผลขาดทุนเกินทุนของไอทีวี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวน 3,898 ลานบาท (วันที่ 31 ธันวาคม 2553: 3,476 ลานบาท) โดยรับรูเต็มจํานวนในงบการเงิน รวมของบริษัท อยางไรก็ตาม หากไอทีวีตองรับรูผลขาดทุนตามที่ถูกเรียกรอง บริษัทจะมีภาระหนี้สินตามกฎหมายจํากัดเพียงไมเกินมูลคา หุนของไอทีวีที่บริษัทไดชําระแลว ในกรณีที่ไอทีวีไมสามารถดําเนินงานอยางตอเนื่องได และบริษัทไมสนับสนุนดานการเงินตอ ไอทีวี หนี้สินสุทธิรวมของบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 จะลดลงเปนจํานวน 3,898 ลานบาทและ 3,476 ลาน บาท ตามลําดับ กําไรสะสมรวมและสวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 จะเพิ่มขึ้นเปนจํานวน 3,898 ลานบาท และ 3,476 ลานบาท ตามลําดับ 3
ผลกระทบของกลุม อินทัชจากการเปลีย่ นแปลงของมาตรฐานการบัญชี ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชไดถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ออกและปรับปรุงใหมตามที่ได กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 2 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซึ่งมีผลใหนโยบายการบัญชีของกลุม อินทัชเปลี่ยนแปลงจากนโยบายการบัญชีที่ใชในการจัดทํางบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 โดยกลุมอินทัช มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีที่สําคัญดังตอไปนี้ -
การนําเสนองบการเงิน การบัญชีเกี่ยวกับการรวมธุรกิจ การบัญชีเกี่ยวกับการไดมาซึ่งสวนไดเสียที่ไมมีอาํ นาจควบคุม การบัญชีเกี่ยวกับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ การบัญชีเกี่ยวกับตนทุนการกูยืม การบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชนของพนักงาน การบัญชีเกี่ยวกับการจายโดยใหหุนเปนเกณฑ
สําหรับรายละเอียดของนโยบายการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหมที่ถือปฏิบัติ และผลกระทบตองบการเงินของกลุมอินทัช ได กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3.1 ถึง 3.8 ดังตอไปนี้
3.1 การนําเสนองบการเงิน ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชไดปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนําเสนอ งบการเงิน ซึ่งภายใตขอกําหนดของมาตรฐานที่ปรับปรุงใหม กําหนดใหงบการเงินประกอบดวย
-
การบัญชีเกี่ยวกับการไดมาซึ่งสวนไดเสียที่ไมมีอาํ นาจควบคุม การบัญชีเกี่ยวกับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ การบัญชีเกี่ยวกับตนทุนการกูยืม การบัญชีเกี่ยวกับผลประโยชนของพนักงาน การบัญชีเกี่ยวกับการจายโดยใหหุนเปนเกณฑ
173 รายงาน ประจำ�ปี สําหรับรายละเอียดของนโยบายการบัญชีที่ออกและปรับปรุงใหมที่ถือปฏิบัติ และผลกระทบตองบการเงินของกลุมอินทัช2554 ได
กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3.1 ถึง 3.8 ดังตอไปนี้
3.1 การนําเสนองบการเงิน ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชไดปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนําเสนอ งบการเงิน ซึ่งภายใตขอกําหนดของมาตรฐานที่ปรับปรุงใหม กําหนดใหงบการเงินประกอบดวย - งบแสดงฐานะการเงิน - งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ - งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน งบกระแสเงิ บริษทั ชิ- น คอร ปอเรชัน่ นจํสด ากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย - หมายเหตุประกอบงบการเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน แตลมะป ที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 สําหรับกลุ อินสทันิ้ ชสุเลืดอวันกแสดงงบกํ าไรขาดทุ นเบ็และ ดเสร็ จ แยกเปนสองงบ คือ งบเฉพาะกําไรขาดทุน และงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ทั้งนี้เปนผลใหกลุมอินทัชแสดงการเปลี่ยนแปลงรายการกับสวนของผูถือหุนทั้งหมดในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือ หุน และแสดงการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดที่ไมใชรายการกับสวนของผูถือหุนในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ทั้งนี้ภายใตมาตรฐาน การบัญชีฉบับเดิมการเปลี่ยนแปลงดังกลาวทั้งหมดจะแสดงในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของผูถือหุน ขอมูลเปรียบเทียบไดมีการนําเสนอใหมเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐานฉบับปรับปรุงใหม ซึ่งแสดงในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินขอ 36 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีดังกลาวมีผลกระทบตอการนําเสนองบการเงินเทานั้น โดยไมมี ผลกระทบตอกําไรสุทธิหรือกําไรตอหุน
3.2 การบัญชีเกีย่ วกับการรวมธุรกิจ ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชไดปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การ รวมธุรกิจ และมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ นโยบายการ บัญชีใหมไดถือปฏิบัติโดยใชวิธีเปลี่ยนทันทีตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 ตามวิธีปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลงที่ระบุในมาตรฐาน ฉบับปรับปรุง แตอยางไรก็ตามกลุมอินทัชไมมีการรวมธุรกิจในระหวางป 2554 ดังนั้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับปรับปรุงใหมทั้งสองฉบับไมมีผลกระทบตอกําไรหรือกําไรตอหุนสําหรับป 2554
การซื้อกิจการในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 การรวมธุรกิจบันทึกบัญชีโดยใชวิธีซื้อ ณ วันที่ซื้อซึ่งเปนวันที่โอนอํานาจควบคุมใหกลุมอินทัช สําหรับการซื้อกิจการในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชวัดมูลคาคาความนิยม ณ วันซื้อ โดย -
มูลคายุติธรรมของสิ่งที่โอนให บวก มูลคายุติธรรมของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในบริษัทของผูถูกซื้อ บวก มูลคายุติธรรมของสวนไดเสียที่มีอยู ณ วันซื้อ หากการรวมธุรกิจแบบเปนขั้นๆ หัก มูลคาสุทธิ (โดยทั่วไปคือมูลคายุติธรรม) ของสินทรัพยที่ไดมาที่ระบุไดและหนี้สินทีร่ ับมา
เมื่อผลรวมสุทธิขางตนเปนยอดติดลบ กําไรจากการตอรองราคาซื้อจะถูกรับรูทันทีในกําไรหรือขาดทุน สิ่งตอบแทนที่โอนใหไมรวมรายการที่เกิดขึ้นระหวางกลุมอินทัชและผูถูกซื้อที่มีอยูกอนการรวมธุรกิจ
การรวมธุรกิจบันทึกบัญชีโดยใชวิธีซื้อ ณ วันที่ซื้อซึ่งเปนวันที่โอนอํานาจควบคุมใหกลุมอินทัช สําหรับการซื้อกิจการในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชวัดมูลคาคาความนิยม ณ วันซื้อ โดย 174 อินทัช
- มูลคายุติธรรมของสิ่งที่โอนให บวก - มูลคายุติธรรมของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในบริษัทของผูถูกซื้อ บวก บริษัท ชิ-น คอร์ จำ�กัด (มหาชน) ย่อวัยนซื้อ หากการรวมธุรกิจแบบเปนขั้นๆ หัก มูลปคอเรชั ายุต่นิธรรมของส วนไดเสีและบริ ยที่มีอษยูัท ณ หมายเหตุ- ประกอบงบการเงิ น สำ � หรั บ แต่ ล ะปี ส น ้ ิ สุ ด วันของสิ ที่ 31 นธัทรั นวาคม มูลคาสุทธิ (โดยทั่วไปคือมูลคายุติธรรม) พยที่ไ2554 ดมาทีและ ่ระบุไ2553 ดและหนี้สินทีร่ ับมา
เมื่อผลรวมสุทธิขางตนเปนยอดติดลบ กําไรจากการตอรองราคาซื้อจะถูกรับรูทันทีในกําไรหรือขาดทุน สิ่งตอบแทนที่โอนใหไมรวมรายการที่เกิดขึ้นระหวางกลุมอินทัชและผูถูกซื้อที่มีอยูกอนการรวมธุรกิจ ตนทุนที่เกี่ยวของกับการซื้อ นอกเหนือจากตนทุนในการจดทะเบียนและออกตราสารหนี้หรือตราสารทุน ซึ่งเปนคาใชจายที่ เกิดขึ้นจากการรวมธุรกิจ กลุมอินทัชบันทึกตนทุนดังกลาวเปนคาใชจายเมื่อเกิดขึ้น สิ่งตอบแทนที่เปนสินทรัพยหรือหนี้สินที่คาดวาจะตองจายรับรูดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่ซื้อ กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงใน มูลคายุติธรรมภายหลังวันที่ซื้อ หากสิ่งตอบแทนที่คาดวาจะตองจายจัดประเภทเปนสวนของผูถือหุน จะไมมีการวัดมูลคาใหม และจะบันทึกการจายชําระในภายหลังไวในสวนของผูถือหุน นอกเหนือจากกรณีดังกลาวจะรับรูในกําไรหรือขาดทุนหรือใน กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
การซื้อกิจการระหวางวันที่ 1 มกราคม 2551 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ้อกิปจอเรชั การระหว นที่ 1 มกราคม บริษทั ชิการซื น คอร น่ จํากัาดงวั(มหาชน) และบริษ2551 ทั ยอยถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาความนิยม ไดแก สวนที่เกินระหวางตนทุนการ ซื้อปและส วนไดเสียของกลุ ระกอบงบการเงิ น มอินทัชที่รับรูจากการไดมาซึ่ง สินทรัพย หนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นของกิจการผูถูกซื้อ (ทั่วไปเปน หมายเหตุ มูลคายุติธรรม) และไมมีการตัดจําหนายคาความนิยม แตใหทดสอบการดอยคา สําหรับกําไรจากการตอรองราคาซื้อ (ตาม แตละปสนิ้ สุดวับนเดิทีม่ 31เรียธักว นวาคม 2554 และ สําหรับมาตรฐานฉบั า คาความนิ ยมติ2553 ดลบ) จะถูกรับรูทันทีในกําไรหรือขาดทุน ตนทุนในการทํารายการ นอกเหนือจากตนทุนในการจดทะเบียนและออกตราสารหนี้หรือตราสารทุน ซึ่งเปนคาใชจายที่เกิดขึ้น จากการรวมธุรกิจ กลุมอินทัชถือเปนสวนหนึ่งของตนทุนการซื้อกิจการ
การซื้อกิจการกอนวันที่ 1 มกราคม 2551 การซื้อกิจการกอนวันที่ 1 มกราคม 2551 คาความนิยมวัดมูลคาโดยวิธีเชนเดียวกับการซื้อกิจการระหวางวันที่ 1 มกราคม 2551 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 อยางไรก็ตามคาความนิยมและคาความนิยมติดลบ ถูกตัดจําหนายตามระยะเวลาที่คาดวา จะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจเปนเวลาไมเกิน 20 ป เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2551 กลุมอินทัชไดถือปฎิบัติตามมาตรฐานการ บัญชี ฉบับที่ 43 เดิม (ปรับปรุง 2550) โดยกลุมอินทัชไดหยุดตัดจําหนายคาความนิยม แตใชวิธีการทดสอบการดอยคาแทน คาความนิยมติดลบที่ยกมาในงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ถูกตัดรายการโดยการปรับปรุงกับกําไรสะสมที่ยังไมได จัดสรร ณ วันที่ 1 มกราคม 2551
การปนสวนผลขาดทุนของบริษัทยอยใหแกสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม (เดิมคือ ผูถือหุนสวนนอย) ที่เกิดขึ้นในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2554 ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชไดปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับการปนสวนผลขาดทุนใหแกสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในบริษัทยอย แมวา บริษทั ยอยนั้นมีผลขาดทุนเกินกวาทุน นโยบายการบัญชีใหมไดมีการถือปฏิบัติโดยวิธีเปลี่ยนทันทีตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 ตามแนวปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลง ของมาตรฐานฉบับปรับปรุงดังกลาว โดยในระหวางป 2554 กลุมอินทัชไดปนสวนผลขาดทุนในไอทีวีใหแกสวนไดเสียที่ไมมี อํานาจควบคุม ดังนั้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหมดังกลาวมีผลใหกําไรสวนที่เปนของบริษัทใหญ และกําไรตอหุนในงบเฉพาะกําไรขาดทุนรวม สําหรับป 2554 เพิ่มขึ้น ซึ่งแสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 3.8
การปนสวนผลขาดทุนของบริษัทยอยใหแกผูถือหุนสวนนอยที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 1 มกราคม 2554
ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชไดปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงิน รวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับการปนสวนผลขาดทุนใหแกสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในบริษัทยอย แมวา บริษทั ยอยนั้นมีผลขาดทุนเกินกวาทุน 175
นโยบายการบัญชีใหมไดมีการถือปฏิบัติโดยวิธีเปลี่ยนทันทีตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 ตามแนวปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลงรายงาน ของมาตรฐานฉบับปรับปรุงดังกลาว โดยในระหวางป 2554 กลุมอินทัชไดปนสวนผลขาดทุนในไอทีวีใหแกสวนไดเสียประจำ ที่ไม�ปีมี 2554 อํานาจควบคุม ดังนั้นการถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหมดังกลาวมีผลใหกําไรสวนที่เปนของบริษัทใหญ และกําไรตอหุนในงบเฉพาะกําไรขาดทุนรวม สําหรับป 2554 เพิ่มขึ้น ซึ่งแสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 3.8
การปนสวนผลขาดทุนของบริษัทยอยใหแกผูถือหุนสวนนอยที่เกิดขึ้นกอนวันที่ 1 มกราคม 2554 กอนวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชไมไดปนสวนขาดทุนเกินทุนของไอทีวีใหแกผูถือหุนสวนนอย ซึ่งเปนไปตามขอกําหนด ในมาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมกอนการปรับปรุง
3.3 การบัญชีเกีย่ วกับการไดมาซึ่งสวนไดเสียทีไ่ มมอี าํ นาจควบคุม ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชไดปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง งบการเงินรวม และงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับการซื้อสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในบริษัทยอย ภายใตนโยบายการบัญชีใหม การไดมาซึ่งสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมบันทึกบัญชีโดยถือวาเปนรายการกับสวนของผูถือ หุนในฐานะของผูถือหุน ดังนั้นจึงไมมีคาความนิยมเกิดขึ้นจากรายการดังกลาว รายการปรับปรุงสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจ ควบคุมขึ้นอยูกับสัดสวนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในสินทรัพยสุทธิของบริษัทยอย นโยบายการบัญชีใหมไดมีการ ถือปฏิบัติโดยวิธีเปลี่ยนทันทีตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 ตามแนวปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานฉบับปรับปรุง ดังกลาว บริษทั ชิกนอคอร น่ จํากัด2554 (มหาชน) นวันปทีอเรชั ่ 1 มกราคม กลุมและบริ อินทัชษรับทั รูยคอายความนิยมที่เกิดจากการไดมาซึ่งสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมในบริษัทยอย ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ ซึ่งปแสดงเป นสวนเกินนของตนทุนเงินลงทุนสวนที่ลงทุนเพิ่มที่มากกวามูลคาตามบัญชีของสวนไดเสียในสินทรัพยสุทธิที่ไดมา แตลวัะป วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับณ นทีส่เกินิ้ ดสุดรายการ
3.4
การบัญชีเกี่ยวกับทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชไดปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ ในการระบุและบันทึกบัญชีตนทุนและคาเสื่อมราคาของ อาคารและอุปกรณ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ และมี ผลกระทบตอกลุมอินทัช ดังนี้ ประมาณการตนทุนการรื้อถอน การขนยาย และการบูรณะสภาพของสินทรัพย ตองถือเปนตนทุนของสินทรัพยและมีการ คิดคาเสื่อมราคาประจําป การกําหนดคาเสื่อมราคา ตองพิจารณาแตละสวนประกอบแยกตางหากจากกันเมื่อแตละสวนประกอบนั้นมีสาระสําคัญ มู ล ค า คงเหลือ ของที่ ดิ น อาคาร และอุป กรณ ต อ งมีก ารประมาณด วยมู ล ค า ที่ กิ จ การคาดว า จะได รั บ ในป จจุ บั น จาก สินทรัพยนั้นหากมีอายุและสภาพที่คาดวาจะไดรับในปจจุบันเมื่อสิ้นสุดอายุการใชประโยชน นอกจากนี้ตองมีการสอบทาน มูลคาคงเหลือและอายุการใหประโยชนอยางนอยทุกสิ้นปบัญชี การเปลี่ยนแปลงดังกลาวถือปฏิบัติโดยวิธีเปลี่ยนทันทีตามที่กําหนดในวิธีปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานฉบับ ปรับปรุงใหมดังกลาว ยกเวนการพิจารณาตนทุนการรื้อถอน การขนยาย และการบูรณะสถานที่ซึ่งถือปฏิบัติโดยวิธีปรับ ยอนหลัง การเปลี่ยนแปลงดังกลาวไมมีผลกระทบที่มีสาระสําคัญตอกําไรสุทธิและกําไรตอหุน สําหรับป 2554 และ 2553
3.5 การบัญชีเกีย่ วกับตนทุนการกูย มื ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ตนทุนการกูยืม ภายใตมาตรฐานฉบับปรับปรุง ตนทุนการกูยืมที่เกี่ยวของโดยตรงกับการไดมา การกอสรางหรือการผลิตสินทรัพยที่เขา เงื่อนไขตองบันทึกเปนสวนหนึ่งของราคาทุนของสินทรัพยนั้น แตตามมาตรฐานฉบับเดิมตองบันทึกเปนคาใชจายในงวดเมื่อ เกิดขึ้น แตมีแนวทางที่อาจเลือกปฏิบัติที่จะถือรวมเปนราคาทุนของสินทรัพย
176 อินทัช
การเปลี่ยนแปลงดังกลาวถือปฏิบัติโดยวิธีเปลี่ยนทันทีตามที่กําหนดในวิธีปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานฉบับ ปรับปรุงใหมดังกลาว ยกเวนการพิจารณาตนทุนการรื้อถอน การขนยาย และการบูรณะสถานที่ซึ่งถือปฏิบัติโดยวิธีปรับ ยอนหลัง การเปลี่ยนแปลงดังกลาวไมมีผลกระทบที่มีสาระสําคัญตอกําไรสุทธิและกําไรตอหุน สําหรับป 2554 และ 2553
3.5 การบัญชีเกีย่ วกับตนทุนการกูย มื
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุตั้งปแต ระกอบงบการเงิ น สำ2554 �หรับกลุ แต่มละปี นทีบ่ 31 ธันวาคม 2554 และญ2553 วันที่ 1 มกราคม อินสทัิ้นชสุถืดอวัปฏิ ัติตามมาตรฐานการบั ชี ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง ตนทุนการกูยืม ภายใตมาตรฐานฉบับปรับปรุง ตนทุนการกูยืมที่เกี่ยวของโดยตรงกับการไดมา การกอสรางหรือการผลิตสินทรัพยที่เขา เงื่อนไขตองบันทึกเปนสวนหนึ่งของราคาทุนของสินทรัพยนั้น แตตามมาตรฐานฉบับเดิมตองบันทึกเปนคาใชจายในงวดเมื่อ เกิดขึ้น แตมีแนวทางที่อาจเลือกปฏิบัติที่จะถือรวมเปนราคาทุนของสินทรัพย นโยบายการบัญชีภายใตมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 23 เดิม กลุมอินทัชบันทึกตนทุนการกูยืมที่เกี่ยวของโดยตรงกับการ ไดมา การกอสรางหรือการผลิตสินทรัพยที่เขาเงื่อนไขเปนสวนหนึ่งของราคาทุนของสินทรัพย ดังนั้นการถือปฏิบัติตาม มาตรฐานฉบับปรับปรุงใหมจึงไมมีผลกระทบตอกําไรสุทธิและกําไรตอหุน
3.6 การบัญชีเกีย่ วกับผลประโยชนของพนักงาน ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชไดปฏิบัติตามมาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชนพนักงาน ภายใตนโยบายการบัญชีใหม ภาระผูกพันของกลุมอินทัชเกี่ยวกับผลประโยชนหลังออกจากงานที่ตองชดเชยตามกฎหมาย แรงงานไดบันทึกในงบการเงิน ดวยวิธีคิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไวซึ่งคํานวณโดยใชหลักคณิตศาสตรประกันภัย สําหรับกอนวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชรับรูการจายชดเชยตามกฎหมายแรงงานเปนคาใชจายเมื่อจายชําระ บริษทั ชิการเปลี น คอรป่ยอเรชั น่ จํากัด (มหาชน) ญ และบริ ยอบยัติโดยวิธีปรับยอนหลังงบการเงินสําหรับป 2553 ของกลุมอินทัช ซึ่งแสดง นแปลงนโยบายการบั ชีไดถษือทั ปฏิ น นสําหรับป 2554 ผลกระทบตองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัท แสดงในหมายเหตุประกอบ หมายเหตุ เปรีปยระกอบงบการเงิ บเทียบกับงบการเงิ แตละปสนิ้ นสุระหว ดวันาทีงกาล ่ 31 ธัขนอวาคม สําหรับงบการเงิ 3.8 2554 และ 2553
3.7 การบัญชีเกีย่ วกับการจายโดยใชหนุ เปนเกณฑ ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 เรื่อง การจายโดยใชหุน เปนเกณฑ ภายใตมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 2 การจายโดยใชหุนเปนเกณฑใหเปนผลตอบแทนแกพนักงานหรือผูบริหาร ตองรับรูเปนคาใชจายพนักงานหรือผูบริหาร การถือปฏิบัติดังกลาวทําใหสวนของผูถือหุนเพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลาที่พนักงาน ไดรับสิทธิในการซื้อหุนสามัญของบริษัทดังกลาวอยางไมมีเงื่อนไข จํานวนที่รับรูเปนคาใชจายจะถูกปรับปรุงดวยจํานวนของ ผลตอบแทน ซึ่งสัมพันธกับระยะเวลาการทํางานและการไดรับสิทธิที่ไมใชเงื่อนไขทางการตลาดที่คาดวาจะเขาเงื่อนไข จํานวน ซึ่งรับรูเปนคาใชจายขึ้นอยูกับจํานวนผลตอบแทนที่เขาเงื่อนไขระยะเวลาที่ทํางาน และเงื่อนไขของผลงานที่ไมเกี่ยวของกับ เงื่อนไขทางการตลาด ณ วันที่ไดรับสิทธิในการซื้อหุนสามัญของบริษัท สําหรับการจายโดยใชหุนเปนเกณฑที่มีเงื่อนไขการ ไดรับสิทธิที่ไมใชเงื่อนไขการบริการหรือผลงาน มูลคายุติธรรมของการจายโดยใชหุนเปนเกณฑ ณ วันที่ใหสิทธิในการซื้อหุน สามัญของบริษัทไดวัดมูลคาเกี่ยวกับเงื่อนไขดังกลาวและไมมีการปรับปรุงสําหรับผลตางระหวางการคาดการณกับผลที่ เกิดขึ้นจริง กลุมอินทัชไมไดถือปฏิบัติตามนโยบายการบัญชีที่กลาวขางตนสําหรับการจายโดยใชหุนเปนเกณฑที่ใหสิทธิในการซื้อหุน สามัญของบริษัท กอนวันที่ 1 มกราคม 2554 ซึ่งเปนไปตามการปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 2 การถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 ไมมีผลกระทบตอกําไรสุทธิและกําไรตอหุน สําหรับป 2554 เพราะกลุมอินทัชไมไดมีการปรับปรุงเงื่อนไขในการใชสิทธิดังกลาว รวมทั้งไมมีการออกสิทธิในการซื้อหุน สามัญของกลุมอินทัชเพิ่มเติมในป 2554
177 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
3.8 การปรับปรุงงบการเงินจากการถือปฏิบตั ิตามนโยบายการบัญชีใหม การปรั บ ปรุง ย อนหลัง งบการเงิ น จากการถื อ ปฏิ บัติ ต ามนโยบายการบั ญ ชีใ หม ซึ่ง มี ผ ลกระทบจากการบัญ ชีเ กี่ ยวกั บ ผลประโยชนของพนักงาน (กอนการจัดประเภทรายการใหม) ดังนี้ งบการเงินรวม ตามที่ได รายงาน ไวเดิม
รายการ ปรับปรุง
งบการเงินเฉพาะกิจการ ปรับปรุง ใหม
ตามที่ได รายงาน ไวเดิม
รายการ ปรับปรุง
ปรับปรุง ใหม
(ลานบาท) รายการในงบแสดงฐานะการเงินทีม่ ผี ลกระทบจากการปรับปรุงยอนหลัง ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 สินทรัพย เงินลงทุนในบริษัทรวม สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี หนีส้ นิ หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินผลประโยชนระยะยาว ของพนักงาน สวนของผูถอื หุน กําไรสะสมยังไมไดจัดสรร สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
30,740 868
(126) 53
30,614 921
-
-
-
784
9
793
46
1
47
-
204
204
-
35
35
17,947 9,212
(216) (69)
17,731 9,143
460 -
(36) -
424 -
18,180 1,118
(141) 56
18,039 1,174
-
-
-
938
9
947
82
1
83
-
217
217
-
39
39
4,307 8,656
(232) (79)
4,075 8,577
444 -
(40) -
404 -
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพย เงินลงทุนในบริษัทรวม สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี หนีส้ นิ หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินผลประโยชนระยะยาว ของพนักงาน สวนของผูถอื หุน กําไรสะสมยังไมไดจัดสรร สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
178 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม ตามที่ได รายงาน ไวเดิม
รายการ ปรับปรุง
งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามที่ได รายงาน ไวเดิม
ปรับปรุง ใหม
รายการ ปรับปรุง
ปรับปรุง ใหม
(ลานบาท) รายการในงบเฉพาะกําไรขาดทุนทีม่ ผี ลกระทบจากการปรับปรุงยอนหลัง สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 สวนแบงกําไรจากเงินลงทุน ในบริษัทรวม คาใชจายในการบริหาร ตนทุนทางการเงิน ภาษีเงินได กําไรสุทธิสาํ หรับป การแบงปนกําไร(ขาดทุน) สวนที่เปนของบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมี อํานาจควบคุม กําไรตอหุน (บาท) ขั้นพื้นฐาน ปรับลด
9,210 1,491 (489) 121 7,564
(14) 3 (10) 3 (24)
9,196 1,494 (499) 124 7,540
193 21,655
2 (2) (4)
195 (2) 21,651
8,032
(16)
8,016
21,655
(4)
21,651
(468) 7,564
(8) (24)
(476) 7,540
21,655
(4)
21,651
2.51 2.51
(0.1) (0.1)
2.50 2.50
6.76 6.76
8,032 476 (121)
(16) 16 10 (3)
8,016 16 486 (124)
21,655 -
(4) 2 2 -
21,651 2 2 -
(9,210)
14
(9,196)
-
-
-
(468) 98 (6)
(8) 1 (14)
(476) 99 (20)
-
-
-
23,582
-
23,582
21,715
-
21,715
-
6.76 6.76
รายการในงบกระแสเงินสดทีม่ ผี ลกระทบจากการปรับปรุงยอนหลัง สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับปสวนที่เปนของ บริษัทใหญ ตนทุนบริการปจจุบันของพนักงาน คาใชจายดอกเบี้ย ภาษีเงินได สวนแบงกําไรจากเงินลงทุน ในบริษัทรวม ขาดทุนสําหรับปสวนที่เปนของ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิไดมาจาก กิจกรรมดําเนินงาน
179 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
การเปลี่ยนแปลงของงบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 (กอนการจัดประเภทรายการใหมและผลกระทบจาก การลดอั ตราภาษีเงิ นได นิติบุ คคล) จากการถือ ปฏิบัติ ต ามนโยบายการบั ญชี ใ หม ซึ่ งมีผ ลกระทบจากการบัญ ชีเกี่ ยวกั บ ผลประโยชนของพนักงาน การบัญชีเกี่ยวกับการปนสวนผลขาดทุนในไอทีวีใหแกสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม และการ บัญชีเกี่ยวกับการไดมาซึ่งสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ดังนี้ กอนการ ถือปฏิบัติ
งบการเงินรวม การเปลี่ยน แปลง
หลังการ ถือปฏิบัติ
งบการเงินเฉพาะกิจการ การเปลี่ยน หลังการ แปลง ถือปฏิบัติ
กอนการ ถือปฏิบัติ
(ลานบาท) รายการในงบแสดงฐานะการเงินทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพย เงินลงทุนในบริษัทรวม คาความนิยม สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี หนีส้ นิ หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินผลประโยชนระยะยาว ของพนักงาน สวนของผูถอื หุน กําไรสะสมยังไมไดจัดสรร องคประกอบอื่นของสวนของผูถือหุน สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
18,357 2 1,132
(158) (2) 65
18,199 1,197
-
-
-
991
16
1,007
74
1
75
-
233
233
-
38
38
4,428 8,673
(64) 2 (291)
4,364 2 8,382
353 -
(44) -
309 -
180 บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิหมายเหตุ นทัช ประกอบงบการเงิน
ละปสปนิ้ อเรชั สุดวั่นนจำที�่ 31 นวาคม 2554 สําษหรััท บชิแต บริ น คอร์ กัด ธั(มหาชน) และบริและ ษัทย่2553 อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 กอนการ ถือปฏิบัติ
งบการเงินรวม การเปลี่ยน แปลง
งบการเงินเฉพาะกิจการ กอนการ การเปลี่ยน หลังการ ถือปฏิบัติ แปลง ถือปฏิบัติ
หลังการ ถือปฏิบัติ
(ลานบาท) รายการในงบเฉพาะกําไรขาดทุนทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 สวนแบงกําไรจากเงินลงทุน ในบริษัทรวม คาใชจายในการบริหาร ตนทุนทางการเงิน ภาษีเงินได กําไรสุทธิสาํ หรับป การแบงปนกําไร(ขาดทุน) สวนที่เปนของบริษัทใหญ
- ผลประโยชนของพนักงาน - การปนสวนผลขาดทุนในไอทีวี สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมี อํานาจควบคุม
- ผลประโยชนของพนักงาน - การปนสวนผลขาดทุนในไอทีวี
กําไรตอหุน (บาท) ขั้นพื้นฐาน
- ผลประโยชนของพนักงาน - การปนสวนผลขาดทุนในไอทีวี ปรับลด
- ผลประโยชนของพนักงาน - การปนสวนผลขาดทุนในไอทีวี
11,308 1,568 (467) (145) 17,500
(17) 22 (15) 9 (45)
11,291 1,590 (482) (136) 17,455
198 17,538
2 (2) (4)
200 (2) 17,534
17,749 -
168
17,917 -
17,538 -
(4) -
17,534 -
(59) 17,687
(213)
(272) 17,642
17,538
(4)
17,534
5.54 5.54 -
0.05
5.59 5.59 -
5.47 5.47 -
-
5.47 5.47 -
(31) 199 (14) (199) (45)
(0.01) 0.06 0.05
(0.01) 0.06
(4)
181 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
กอนการ ถือปฏิบัติ
งบการเงินรวม การเปลี่ยน แปลง
งบการเงินเฉพาะกิจการ กอนการ การเปลี่ยน หลังการ ถือปฏิบัติ แปลง ถือปฏิบัติ
หลังการ ถือปฏิบัติ
(ลานบาท) รายการในงบกระแสเงินสดทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสําหรับปสวนที่เปนของ บริษัทใหญ 17,749 ตนทุนบริการปจจุบันของพนักงาน คาใชจายดอกเบี้ย 454 ภาษีเงินได 145 สวนแบงกําไรจากเงินลงทุน ในบริษัทรวม (11,308) ขาดทุนสําหรับปสวนที่เปนของ สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม (59) หนี้สินหมุนเวียนอื่น 56 บริษเงิทั นชิสดสุ น คอร ป อเรชั น ่ จํ า กั ด (มหาชน) และบริ ษทั ยอย ทธิไดมาจาก ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ กิจกรรมดํ าเนินงาน น 13,263
168 17 15 (9)
17,917 17 469 136
17,538 -
(4) 2 2 -
17,534 2 2 -
17
(11,291)
-
-
-
(213) 5
(272) 61
-
-
-
-
13,263
10,032
-
10,032
สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 4
ผลกระทบของกลุม อินทัชจากการเปลีย่ นแปลงอัตราภาษีเงินไดนติ ิบคุ คล เมื่อวันที 11 ตุลาคม 2554 คณะรัฐมนตรีไดมีมติเปลี่ยนแปลงอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลเปนอัตรารอยละ 23 สําหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และอัตรารอยละ 20 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 เปนตนไป ตอมาไดมีพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการลดอัตราและยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ 530) พ.ศ. 2554 เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2554 กําหนดใหลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลเปนอัตรารอยละ 23 สําหรับ รอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 และอัตรารอยละ 20 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556-2557 อยางไรก็ตามสภาวิชาชีพบัญชีฯ ไดพิจารณาในเรื่องนี้แลว มีความเห็นวา อัตราภาษีที่คาดไดคอนขางแนที่ควร นํามาใชในการวัดมูลคาของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ควรเปนอัตรารอยละตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบ กลาวคืออัตรารอยละ 23 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 และรอยละ 20 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2556 เปน ตนไป ทั้งนี้การลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลดังกลาวมีผลใหราคาตามบัญชีของสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีของกลุมอินทัชมี มูลคาลดลง ซึ่งมีผลกระทบตองบการเงินรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ดังนี้ (งบการเงินเฉพาะกิจการไมมี ผลกระทบ) กอนลดอัตราภาษี
รายการในงบแสดงฐานะการเงินทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง
งบการเงินรวม ผลกระทบจาก การลดอัตราภาษี
(ลานบาท)
หลังลดอัตราภาษี
182 อินทัช
2556-2557 อยางไรก็ตามสภาวิชาชีพบัญชีฯ ไดพิจารณาในเรื่องนี้แลว มีความเห็นวา อัตราภาษีที่คาดไดคอนขางแนที่ควร นํามาใชในการวัดมูลคาของสินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ควรเปนอัตรารอยละตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบ กลาวคืออัตรารอยละ 23 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2555 และรอยละ 20 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2556 เปน ตนไป
ทั้งนี้การลดอัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลดังกลาวมีผลใหราคาตามบัญชีของสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีของกลุมอินทัชมี บริษัท ชิมูนลคอร์ ปอเรชัซึ่น่งมีจำ�ผกัลกระทบต ด (มหาชน)องบการเงิ และบริษัทนย่รวมสํ อย าหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ดังนี้ (งบการเงินเฉพาะกิจการไมมี คาลดลง หมายเหตุผลกระทบ) ประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม ผลกระทบจาก การลดอัตราภาษี
หลังลดอัตราภาษี
18,199 1,197
(1,222) (351)
16,977 846
4,364 8,382
(1,358) (215)
3,006 8,167
สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทรวม คาใชจายภาษีเงินได กําไรสุทธิสําหรับป
11,291 (136) 17,642
(1,222) (351) (1,573)
10,069 (487) 16,069
การแบงปนกําไร(ขาดทุน) สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
17,917 (272)
(1,358) (218)
16,559 (490)
5.59 5.59
(0.42) (0.42)
5.17 5.17
กอนลดอัตราภาษี
(ลานบาท)
รายการในงบแสดงฐานะการเงินทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพย เงินลงทุนในบริษัทรวม สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สวนของผูถือหุน กําไรสะสมยังไมไดจัดสรร สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม
รายการในงบเฉพาะกําไรขาดทุนทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554
กําไรตอหุน (บาท) บริษทั ชินขัคอร อเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย ้นพื้นปฐาน ประกอบงบการเงิ น หมายเหตุปรั บลด สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 5
นโยบายการบัญชีทสี่ าํ คัญ
(ก)
เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมประกอบดวยงบการเงินของบริษัท บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน และสวนไดเสียของกลุมอินทัชใน บริษัทรวม
บริษัทยอย บริษัทยอยเปน กิจการที่อยูภายใตการควบคุมของกลุม อิน ทัช การควบคุมเกิดขึ้นเมื่อกลุม อินทัชมี อํานาจควบคุมทั้ง ทางตรงหรือทางออมในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการนั้น เพื่อไดมาซึ่งประโยชนจาก กิจกรรมของบริษัทยอย งบการเงินของบริษัทยอยไดรวมอยูในงบการเงินรวม นับแตวันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การ ควบคุมสิ้นสุดลง
สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 5
นโยบายการบัญชีทสี่ าํ คัญ
(ก)
เกณฑในการจัดทํางบการเงินรวม
183 รายงาน ประจำ�ปี งบการเงินรวมประกอบดวยงบการเงินของบริษัท บริษัทยอย และกิจการที่ควบคุมรวมกัน และสวนไดเสียของกลุมอินทัช2554 ใน
บริษัทรวม
บริษัทยอย บริษัทยอยเปน กิจการที่อยูภายใตการควบคุมของกลุม อิน ทัช การควบคุมเกิ ดขึ้นเมื่อกลุม อินทัชมี อํานาจควบคุมทั้ง ทางตรงหรือทางออมในการกําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการนั้น เพื่อไดมาซึ่งประโยชนจาก กิจกรรมของบริษัทยอย งบการเงินของบริษัทยอยไดรวมอยูในงบการเงินรวม นับแตวันที่มีการควบคุมจนถึงวันที่การ ควบคุมสิ้นสุดลง นโยบายการบัญชีของบริษัทยอยไดใชนโยบายเดียวกันกับของกลุมอินทัช กอนวันที่ 1 มกราคม 2554 กลุมอินทัชไมไดปนสวนขาดทุนเกินทุนของบริษัทยอย ไปยังสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 ผลขาดทุนในบริษัทยอยจะตองถูกปนสวนไปยังสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมแมวาการปน สวนดังกลาวจะทําใหสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม
กิจการที่ควบคุมรวมกัน กิจการที่ควบคุมรวมกัน เปนกิจการที่กลุมอินทัชมีสวนรวมในการควบคุมกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจตามที่ตกลงไวในสัญญา งบการเงินรวมของกลุมอินทัชไดรวมสินทรัพย หนี้สิน รายได และคาใชจาย ของกิจการที่ควบคุมรวมกัน โดยใชวิธีรวมตาม สัดสวน และนําเฉพาะสวนที่เปนของกลุมอินทัช มารวมกับรายการชนิดเดียวกันตามเกณฑแตละบรรทัด นับแตวันที่มีการ รวมควบคุมจนถึงวันที่การรวมควบคุมสิ้นสุดลง
การสูญเสียอํานาจควบคุม เมื่อมีการสูญเสียอํานาจควบคุม กลุมอินทัชตัดรายการสินทรัพยและหนี้สินในบริษัทยอย สวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม และสวนประกอบอื่นในสวนของเจาของที่เกี่ยวของกับบริษัทยอยนั้น กําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการสูญเสียอํานาจ ควบคุมในบริษัทยอยรับรูในกําไรหรือขาดทุน สวนไดเสียในบริษัทยอยเดิมที่ยังคงเหลืออยูใหวัดมูลคาดวยมูลคายุติธรรม ณ วันที่สูญเสียอํานาจควบคุม และจัดประเภทเงินลงทุนเปนเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียหรือเปนสินทรัพยทางการเงินเผื่อขาย ขึ้นอยูกับระดับของอิทธิพลที่คงเหลืออยู
บริษัทรวม บริษัทรวมเปนกิจการที่กลุมอินทัชมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญโดยมีอํานาจเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบาย ทางการเงินและการดําเนินงานแตไมถึงระดับที่จะควบคุมนโยบายดังกลาว เงินลงทุนในบริษัทรวมบันทึกในงบการเงินรวมโดยใชวิธีสวนไดเสีย และรับรูรายการเริ่มแรกดวยราคาทุน รวมถึงตนทุนที่ เกี่ยวของกับการซื้อที่เกิดจากการทํารายการดังกลาว
184 อิบริ นทัชษท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ งบการเงินรวมของกลุมอินทัชไดรวมสวนแบงรายได คาใชจายและการเคลื่อนไหวของสวนของเจาของของบริษัทรวมภาย หลังจากการปรับปรุงนโยบายการบัญชีใหเปนนโยบายเดียวกันกับของกลุมอินทัช นับจากวันที่มีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญ จนถึงวันที่การมีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญสิ้นสุดลง เมื่อผลขาดทุนที่กลุมอินทัชไดรับปนสวนจากบริษัทรวมมีจํานวนเกิน กวาเงินลงทุนในบริษัทรวม เงินลงทุนจะถูกทอนลงจนเปนศูนยและหยุดรับรูสวนผลขาดทุน เวนแตกรณีที่กลุมอินทัชมีภาระ ผูกพันตามกฎหมายหรืออนุมานหรือยินยอมที่จะชําระภาระผูกพันของบริษัทรวม
การตัดรายการในงบการเงินรวม ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหวางกิจการในกลุม รวมถึงรายไดหรือคาใชจายที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมาจากรายการ ระหวางกิจการในกลุม ถูกตัดรายการในการจัดทํางบการเงินรวม กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริงซึ่งเปนผลมาจากรายการกับบริษัท รวมถูกตัดรายการกับเงินลงทุนเทาที่กลุมอินทัชมีสวนไดเสียในกิจการที่ถูกลงทุนนั้น ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจริงถูกตัด รายการในลักษณะเดียวกับกําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจริง แตเทาที่เมื่อไมมีหลักฐานการดอยคาเกิดขึ้น
การรวมธุรกิจ
การรวมธุรกิจของกลุมอินทัช ไดกลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3.2 การรวมธุรกิจของกิจการหรือการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกันบันทึกบัญชีโดยใชวิธีเสมือนวาเปนวิธีการรวมสวน ไดเสียและตามแนวปฎิบัติที่ออกโดยสภาวิชาชีพบัญชีฯ ในระหวางป 2552
การซื้อกิจการและการวัดมูลคาคาความนิยม การซื้อกิจการและการวัดมูลคาคาความนิยมของกลุมอินทัชไดกลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3.2
การปนสวนผลขาดทุนของบริษัทยอยใหแกสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม (เดิมคือ ผูถือหุนสวนนอย) การปนสวนผลขาดทุนของบริษัทยอยใหแกสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของกลุมอินทัชไดกลาวไวในหมายเหตุประกอบงบ การเงินขอ 3.2
การไดมาซึ่งสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม การไดมาซึ่งสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุมของกลุมอินทัชไดกลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3.3
กําไร (ขาดทุน) จากการลดสัดสวนการลงทุน กําไร (ขาดทุน) จากการลดสัดสวนเงินลงทุนในบริษัทที่กลุมอินทัชลงทุน เนื่องจากบริษัทดังกลาวไดขายหุนใหแกบุคคลภายนอก จะบันทึกเปนสวนเกินจากการลดสัดสวนเงินลงทุนในสวนของผูถือหุนในงบแสดงฐานะการเงินรวม
(ข)
เงินตราตางประเทศ รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ กลุมอินทัชแปลงคารายการที่เปนเงินตราตางประเทศใหเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ที่เกิดรายการ
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
185 รายงาน ประจำ�ปี 2554
สินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ ณ วันที่รายงาน แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน รายการกําไรและรายการขาดทุนที่เกิดจากการรับหรือจายชําระที่เปนเงินตราตางประเทศ และที่เกิดจากการแปลง คาสินทรัพยและหนี้สินที่เปนตัวเงินดังกลาว ไดบันทึกไวในงบเฉพาะกําไรขาดทุน สินทรัพยและหนี้สินที่ไมเปนตัวเงินซึ่งเกิดจากรายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศซึ่งบันทึกตามเกณฑราคาทุนเดิม แปลงคา เปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ
กิจการในตางประเทศ รายการในงบเฉพาะกําไรขาดทุนและงบกระแสเงินสดของกิจการในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยนถัว เฉลี่ยในระหวางป รายการในงบแสดงฐานะการเงินของกิจการในตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน คาความนิยมและรายการปรับปรุงมูลคายุติธรรมที่เกิดจากการซื้อกิจการในตางประเทศ แปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตรา แลกเปลี่ยน ณ วันที่รายงาน ผลตางจากการแปลงคาที่เกิดจากการแปลงคาของเงินลงทุนสุทธิในกิจการในตางประเทศ บันทึกในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และ แสดงเปนรายการผลตางจากการแปลงคางบการเงินในสวนของผูถือหุน จนกวาจะมีการจําหนายหนวยงานตางประเทศนั้น ออกไป ผลสะสมของผลตางจากการแปลงคาทั้งหมดดังกลาวใหถือเปนสวนหนึ่งของรายการกําไรหรือขาดทุนจากการจําหนาย หนวยงานตางประเทศนั้น
(ค) เครื่องมือทางการเงิน เครื่องมือทางการเงินที่แสดงอยูในงบแสดงฐานะการเงินไดรวมยอดเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา ลูกหนี้และเจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้การคา สัญญาเชาการเงิน เงินกูยืม และตราสารอนุพันธทาง การเงิน ซึ่งนโยบายการบัญชีเฉพาะสําหรับแตละรายการไดเปดเผยแยกตามแตละรายการดังกลาว กลุมอินทัชไดใชเครื่องมือทางการเงิน เพื่อลดความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศและอัตรา ดอกเบี้ยโดยเครื่องมือทางการเงินที่สําคัญมีดังนี้
ตราสารอนุพันธทางการเงิน ตราสารอนุพันธทางการเงินรับรูเริ่มแรกในราคามูลคายุติธรรม ณ วันทําสัญญา และจะปรับปรุงภายหลังดวยมูลคา ยุติธรรมผลตางของมูลคายุติธรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจะรับรูทันทีในงบเฉพาะกําไรขาดทุน
การประมาณมูลคายุติธรรม กลุมอินทัชบันทึกมูลคายุติธรรมของสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาถือตามราคาตลาดของสัญญาลวงหนา ณ วันที่รายงาน สวนมูลคายุติธรรมของสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ และอัตราดอกเบี้ยถือตามราคาอางอิงของ นายหนา ณ วันที่รายงาน
186 อิบริ นทัษ ชท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชินปคอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ หรับแต่2554 ละปีสและ ิ้นสุ2553 ดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ะปสนิ้ สุดวันที่ 31นธัสำน�วาคม สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ
(ง)
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดประกอบดวย ยอดเงินสดและเงินฝากธนาคารประเภทเผื่อเรียกและเงินลงทุนระยะสั้นที่มี สภาพคลองสูงในการเปลี่ยนมือ และมีระยะเวลาครบกําหนดเริ่มแรกภายใน 3 เดือนหรือนอยกวา
(จ)
ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่นแสดงในราคาตามใบแจงหนี้หักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญประเมินโดยการวิเคราะหประวัติการชําระหนี้และการคาดการณเกี่ยวกับการชําระหนี้ในอนาคตของ ลูกคา ลูกหนี้จะถูกตัดจําหนายบัญชีเมื่อทราบวาเปนหนี้สูญ หนี้สูญที่เกิดขึ้นและหนี้สงสัยจะสูญจะรับรูไวในงบเฉพาะกําไร ขาดทุนโดยถือเปนสวนหนึ่งของคาใชจายในการบริหาร
(ฉ)
สินคาคงเหลือ สินคาคงเหลือแสดงในราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแตราคาใดจะต่ํากวา ราคาทุนของสินคาคํานวณตามวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก ยกเวนงานระหวางทําแสดงราคาโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ตนทุนในการซื้อ ประกอบดวย ราคาซื้อและคาใชจายทางตรงที่เกี่ยวของกับการซื้อสินคานั้น เชน คาภาษีอากร คาขนสง หักดวยสวนลดและเงิน ที่ไดรับคืนจากการซื้อสินคา ตนทุนของสินคาสําเร็จรูปและงานระหวางทําประกอบดวยคาวัตถุดิบ คาแรงทางตรง คาใชจายอื่น ทางตรง และคาโสหุยในการผลิต ซึ่งปนสวนตามเกณฑการดําเนินงานตามปกติ แตไมรวมตนทุนการกูยืม มูลคาสุทธิที่คาดวาจะไดรับเปนประมาณราคาที่จะขายไดจากการดําเนินธุรกิจปกติหักดวยคาใชจายที่จําเปนในการขาย
(ช)
เงินลงทุน เงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการที่ควบคุมรวมกัน และบริษัทรวม เงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการที่ควบคุมรวมกัน และบริษัทรวม ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทบันทึกบัญชีโดยใชวิธี ราคาทุน สวนการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทรวมในงบการเงินรวมใชวิธีสวนไดเสีย
เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนอื่น เงินลงทุนในหลักทรัพยในความตองการของตลาดที่จัดประเภทเปนหลักทรัพยเผื่อขายแสดงในงบแสดงฐานะการเงินดวย มูลคายุติธรรม มูลคายุติธรรมของ เงินลงทุนในหลักทรัพยในความตองการของตลาดคํานวณโดยอางอิงจากราคาเสนอซื้อ ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ขณะปดทําการ ณ วันที่รายงาน ราคาตามบัญชีที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงของหลักทรัพยเผื่อ ขายไดบันทึกเปนกําไรหรือขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นและแสดงภายใตสวนของผูถือหุน เงินลงทุนในหลักทรัพยที่ไมอยูในความตองการของตลาดที่จัดประเภทเปนเงินลงทุนทั่วไป แสดงในงบแสดงฐานะการเงินดวย ราคาทุน โดยเงินลงทุนทั่วไปรวมถึง เงินลงทุนชั่วคราว หมายถึง เงินฝากธนาคารประเภทฝากประจํา ตั๋วแลกเงินและตั๋ว สัญญาใชเงินที่มีระยะเวลาถึงกําหนดเริ่มแรกมากกวา 3 เดือนแตไมเกิน 12 เดือน เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด แสดงในราคาทุนตัดจําหนาย
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
187 รายงาน ประจำ�ปี 2554
กลุมอินทัชจะทดสอบการดอยคาของเงินลงทุนเมื่อมีขอบงชี้วาเงินลงทุนนั้นอาจมีการดอยคาเกิดขึ้น กลุมอินทัชจะรับรูขาดทุน จากการดอยคา ถาราคาตามบัญชีของเงินลงทุนสูงกวามูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน และรายการขาดทุนจากการดอยคาจะ บันทึกรวมอยูในงบเฉพาะกําไรขาดทุน ในการจําหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางสิ่งตอบแทนสุทธิที่ไดรับจากการจําหนายกับราคาตามบัญชีของเงินลงทุนนั้นจะ บันทึกในงบเฉพาะกําไรขาดทุนทันที เมื่อเงินลงทุนในตราสารหนี้หรือเงินลงทุนในตราสารทุนมีการจําหนายเพียงบางสวน ราคาตามบัญชีของเงินลงทุนที่จําหนายคํานวณโดยใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักจากจํานวนหลักทรัพยที่จําหนาย
(ซ)
อาคารและอุปกรณ อาคารและอุปกรณรับรูเมื่อเริ่มแรกตามราคาทุน หลังจากนั้นแสดงดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการ ดอยคา ราคาทุน รวมถึงตนทุนทางตรงที่เกี่ยวของกับการไดมาของสินทรัพย ตนทุนของการกอสรางสินทรัพยที่กลุมอินทัชกอสราง เอง รวมถึงตนทุนของวัสดุ แรงงานทางตรง และตนทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดหาสินทรัพยเพื่อใหสินทรัพยนั้นอยู ในสภาพที่พรอมจะใชงานไดตามความประสงค ตนทุนในการรื้อถอน การขนยาย การบูรณะสถานที่ตั้งของสินทรัพย และ ตนทุนการกูยืมของเงินกูที่ใชในการกอสรางสินทรัพยใหเสร็จสมบูรณหรือเตรียมสินทรัพยใหอยูในสภาพพรอมที่จะใชไดตาม ประสงค ตนทุนการกูยืมประกอบดวย ดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและจากเงินกูยืมทั้งระยะสั้นและระยะยาว จํานวนที่ ตัดบัญชีของสวนลดที่เกี่ยวกับการกูยืมและจํานวนที่ตัดบัญชีของรายจายที่เกี่ยวกับการจัดการกูยืม รวมทั้งภาษีที่เกี่ยวของ สวนประกอบของอาคารและอุปกรณ แตละรายการที่มีอายุการใหประโยชนไมเทากัน บันทึกแตละสวนประกอบที่มีนัยสําคัญ แยกตางหากจากกัน ตนทุนในการเปลี่ยนแทนสวนประกอบจะรับรูเปนสวนหนึ่งของมูลคาตามบัญชีของรายการที่ดิน อาคารและอุปกรณ ถามี ความเปนไปไดคอนขางแนที่กลุมอินทัชจะไดรับประโยชนเชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากรายการนั้น และสามารถวัดมูลคาตนทุน ของรายการนั้นไดอยางนาเชื่อถือ ชิ้นสวนที่ถูกเปลี่ยนแทนจะถูกตัดจําหนายตามมูลคาตามบัญชี ตนทุนที่เกิดขึ้นในการซอม บํารุงที่ดิน อาคารและอุปกรณที่เกิดขึ้นเปนประจําจะรับรูในกําไรหรือขาดทุนเมื่อเกิดขึ้น คาซอมแซมและคาบํารุงรักษา จะรับรูในงบเฉพาะกําไรขาดทุนในระหวางปบัญชีที่เกิดรายการขึ้น มูลคาคงเหลือของอาคารและอุปกรณ ประมาณดวยมูลคาที่คาดวาจะไดรับในปจจุบันจากสินทรัพยนั้น หากมีอายุและสภาพ ที่คาดวาจะไดรับในปจจุบันเมื่อสิ้นสุดอายุการใชประโยชน และมีการสอบทานมูลคาคงเหลือและอายุการใหประโยชนอยาง นอยทุกสิ้นปบัญชี คาเสื่อมราคาคํานวณโดยวิธีเสนตรง ตามอายุการใชงานที่ประมาณไว หรืออายุสัญญาเชาในกรณีที่อายุสัญญาเชาสั้นกวา ดังตอไปนี้ ป สิทธิการเชาที่ดนิ อาคารและสวนปรับปรุง 5 - 30 เครื่องตกแตง ติดตั้งและอุปกรณ 5 - 10 ยานพาหนะ (รวมยานพาหนะภายใตสัญญาเชาการเงิน) 5 คอมพิวเตอรและอุปกรณ 2 - 10 กลุมอินทัชไมคิดคาเสื่อมราคาสําหรับสินทรัพยที่อยูระหวางการกอสราง
188
บริ ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย - ษท อิหมายเหตุ นทัช ประกอบงบการเงิน ษัทบชิแตนลคอร์ �กัธัดน(มหาชน) และบริ ัทย่อย ะปสนิ้ ปสุอเรชั ดวัน่นที่จำ31 วาคม 2554 และษ2553 สํบริาหรั
หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 กํ า ไรและขาดทุ น จากการจํ า หนา ยอาคารและอุ ป กรณจะคํา นวณจากผลตา งของราคาเงิ น สดกั บ มู ล ค า ตามบั ญ ชี ข อง สินทรัพยและบันทึกเปนกําไรขาดทุนจากการดําเนินงาน
(ฌ) อาคารและอุปกรณภายใตสญ ั ญาอนุญาตใหดาํ เนินการ อาคารและอุปกรณภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการประกอบดวย ดาวเทียม ระบบควบคุมและสั่งการดาวเทียมและสถานี ควบคุมดาวเทียม รวมทั้งอุปกรณตาง ๆ ที่สงมอบกรรมสิทธิ์ใหแกหนวยงานของรัฐ คาตัดจําหนายคํานวณโดยวิธีเสนตรง ตลอดอายุการใชงานโดยประมาณของสินทรัพยหรืออายุที่เหลือของสัญญาอนุญาตใหดําเนินการแลวแตระยะเวลาใดจะสั้น กวา ซึ่งสินทรัพยดังกลาวมีอายุการตัดจําหนายตั้งแต 5 ปถึง 27.5 ป อุปกรณภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการจะไมมี การตีราคาใหม แตจะมีการทบทวนราคาตามบัญชีในแตละป และปรับปรุงเมื่อเกิดการดอยคาขึ้น
(ญ) สินทรัพยไมมีตวั ตน คาความนิยม การวัดมูลคาคาความนิยมจากการรวมธุรกิจของกลุมอินทัชไดกลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3.2 ภายหลังจากการรับรูเมื่อรวมธุรกิจ คาความนิยมจะถูกวัดมูลคาดวยราคาทุนหักขาดทุนจากการดอยคา
สินทรัพยไมมีตัวตนอื่น สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ ที่กลุมอินทัชซื้อมาและมีอายุการใชงานจํากัด แสดงในราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและขาดทุน จากการดอยคา สินทรัพยไมมีตัวตนอื่น หมายถึง คาใชจายรอตัดบัญชี คาพัฒนาเทคโนโลยีของดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร) คาโปรแกรม คอมพิ ว เตอร ที่ ใ ช ห รื อ ให บ ริ ก ารภายในกลุ ม อิ น ทั ช ต น ทุ น ค า โปรแกรมคอมพิ ว เตอร แ ละอุ ป กรณ ที่ ใ ห บ ริ ก ารแก ลู ก ค า ตางประเทศในการใชบริการเชาสัญญาณดาวเทียมและสิทธิในการดําเนินงาน รายจายที่เกิดขึ้นเพื่อใหไดมาซึ่งสิทธิบัตร เครื่องหมายทางการคาและใบอนุญาต สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นดังกลาว ยกเวนคาใชจายรอตัดบัญชี ตัดจําหนายตามวิธี เสนตรงตลอดอายุประมาณการใหประโยชนของสินทรัพยที่เกี่ยวของโดยมีระยะเวลาตัดจําหนายระหวาง 3 - 15.75 ป สําหรับคาใชจายรอตัดบัญชี ไดแก สิทธิในการใชอุปกรณ และตนทุนอุปกรณที่จัดหาใหแกลูกคาบางรายในการใหบริการ วงจรดาวเทียมในตางประเทศ สิทธิในการใชอุปกรณมีกําหนดตัดจายโดยวิธีเสนตรงภายในระยะเวลา 5 ป และตนทุนอุปกรณ ที่จัดหาใหแกลูกคาบางรายในการใหบริการวงจรดาวเทียมในตางประเทศซึ่งจะโอนกรรมสิทธิ์ใหแกลูกคาเมื่อสิ้นสุดสัญญา และตัดจายโดยวิธีเสนตรงตามระยะเวลาของสัญญาการใหบริการลูกคาแตละราย รายจายการวิจัยรับรูเปนคาใชจายเมื่อเกิดขึ้น ตนทุนที่เกิดขึ้นของโครงการเพื่อการพัฒนา (ซึ่งเกี่ยวของกับการออกแบบและ การทดสอบผลิตภัณฑใหม หรือที่ป รับปรุงผลิตภั ณฑ ) รั บ รูเ ป นสิ นทรัพ ยไ ม มีตัว ตนเมื่ อมีค วามเปน ไปไดคอ นขา งแน วา โครงการนั้นจะประสบความสําเร็จในการประเมินความเปนไปไดทั้งทางพาณิชยกรรมและทางเทคโนโลยี และบันทึกในจํานวน ไมเกินตนทุนที่สามารถวัดมูลคาไดอยางนาเชื่อถือ สวนรายจายการพัฒนาอื่นรับรูเปนคาใชจายเมื่อเกิดขึ้น ตนทุนการ พัฒนาที่ไดรับรูเปนคาใชจายไปแลวในปกอนไมสามารถรับรูเปนสินทรัพยในปถัดไป การทยอยตัดจําหนายตนทุนการพัฒนา ที่บั นทึ กเปน สินทรัพย จะเริ่ม ตน ตั้งแต เมื่ อเริ่มใชในการผลิตเพื่ อ พาณิชยกรรมโดยตัด จํา หน ายด วยวิธี เส นตรงตลอด ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชนของการพัฒนานั้นโดยตองไมเกิน 20 ป วิธีการตัดจําหนาย ระยะเวลาที่คาดวาจะไดรับประโยชน และมูลคาคงเหลือ จะไดรับการทบทวนทุกสิ้นปบัญชี
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
(ฎ)
189 รายงาน ประจำ�ปี 2554
การดอยคา มูลคาสินทรัพยตามบัญชีของกลุมอินทัชไดรับการประเมิน ณ ทุกวันที่ในรายงานวา มีขอบงชี้เรื่องการดอยคาหรือไม ใน กรณีที่มีขอบงชี้จะทําการประมาณมูลคาสินทรัพยที่คาดวาจะไดรับคืน คาความนิยม สินทรัพยไมมีตัวตนอื่นๆ ที่มีอายุการใชงานไมทราบแนนอน และสินทรัพยที่ไมมีตัวตนซึ่งยังไมพรอมใช จะมี การทดสอบการดอยคาทุกป โดยไมคํานึงวาจะมีขอบงชี้ของการดอยคาเกิดขึ้นหรือไม ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกรับรูในงบเฉพาะกําไรขาดทุน เมื่อมูลคาตามบัญชีของหนวยสินทรัพยที่กอใหเกิดเงินสดสูงกวา มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน
การคํานวณมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืน มูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนของสินทรัพยหมายถึงราคาขายสุทธิของสินทรัพย หรือมูลคาจากการใชของสินทรัพยแลวแต มูลคาใดจะสูงกวา มูลคาจากการใชของสินทรัพยประเมินจากประมาณการกระแสเงินสดสุทธิที่จะไดรับในอนาคตและคิดลด เปนมูลคาปจจุบันโดยใชอัตราคิดลดกอนภาษีเงินได เพื่อใหสะทอนมูลคาที่อาจประเมินไดในตลาดปจจุบัน ซึ่งแปรไปตามเวลา และความเสี่ยงที่มีตอสินทรัพย
การกลับรายการดอยคา ขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยจะถูกกลับรายการ เมื่อมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนเพิ่มขึ้นในภายหลัง และการเพิ่มขึ้น นั้นสัมพันธโดยตรงกับขาดทุนจากการดอยคาที่เคยรับรู ขาดทุนจากการดอยคาจะถูกกลับรายการไมเกินกวาจํานวนของ การดอยคาที่เคยรับรู สําหรับขาดทุนจากการดอยคาของคาความนิยมจะไมมีการปรับปรุงกลับรายการ
(ฏ)
สัญญาเชาระยะยาว สัญญาเชาระยะยาว - กรณีที่กลุมอินทัชเปนผูเชา สัญญาเชาสินทรัพยที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสวนใหญไดโอนไปใหกับผูเชาถือเปนสัญญาเชา การเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุน ณ วันทําสัญญาเชาดวยมูลคายุติธรรมสุทธิของสินทรัพยที่เชา หรือมูลคาปจจุบันสุทธิของจํานวนเงินขั้นต่ํา ที่ตองจายตามสัญญาเชาแลวแตจํานวนใดจะต่ํากวาโดยจํานวนเงินงวดที่ตองจาย ในแตละงวดจะปนสวนระหวางหนี้สินและคาใชจายทางการเงินเพื่อใหไดอัตราดอกเบี้ยคงที่ตอหนี้สินคงคางอยู ภาระผูกพันตาม สัญญาเชาหักคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้สิน สวนดอกเบี้ยจายจะบันทึกในงบเฉพาะกําไรขาดทุนตลอดอายุของ สัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคาเสื่อมราคาตามอายุการใชงานโดยประมาณของสินทรัพยนั้น หรือตามอายุของสัญญาเชา แลวแตระยะเวลาใดจะนอยกวา อยางไรก็ตาม หากแนใจไดตามสมควรวาผูเชาจะเปนเจาของ อาคารและอุปกรณ ณ วันสิ้นสุดแหงสัญญาเชา คาเสื่อมราคาจะคิดจากอายุการใชงานโดยประมาณของสินทรัพยนั้น สัญญาเชาสินทรัพยซึ่งผูใหเชาเปนผูรับความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของเปนสวนใหญ ถือเปนสัญญาเชา ดําเนินงาน เงินที่ตองจายภายใตสัญญาเชาดังกลาว (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ไดรับจากผูใหเชา) จะบันทึกในงบเฉพาะ กําไรขาดทุน โดยใชวิธีเสนตรงตลอดอายุของสัญญาเชานั้น คาใชจายที่เกิดขึ้นจากการยกเลิกสัญญาเชาดําเนินงานกอนหมดอายุการเชา เชน เงินเพิ่มที่ตองจายใหแกผูใหเชา จะบันทึก เปนคาใชจายในรอบระยะเวลาบัญชีที่การยกเลิกนั้นเกิดขึ้น
190 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
สัญญาเชาระยะยาว - กรณีที่กลุมอินทัชเปนผูใหเชา สินทรัพยที่ใหเชาตามสัญญาเชาดําเนินงานรวมแสดงอยูในอาคาร และอุปกรณในงบแสดงฐานะการเงิน และตัดคาเสื่อมราคา ตลอดอายุการใหประโยชนของสินทรัพยดวยเกณฑเดียวกันกับที่ใชกับรายการอาคารและอุปกรณซึ่งมีลักษณะคลายคลึงกัน ของกลุมอินทัช รายไดคาเชารับรูดวยวิธีเสนตรงตลอดระยะเวลาการใหเชา
(ฐ)
เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่นแสดงในราคาทุน
(ฑ)
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยบันทึกเริ่มแรกในมูลคายุติธรรมหักคาใชจายที่เกี่ยวกับการเกิดหนี้สิน ภายหลังจากการบันทึกหนี้สิน ที่มีภาระดอกเบี้ยจะบันทึกตอมาโดยวิธีราคาทุนตัดจําหนาย ผลตางระหวางยอดหนี้เริ่มแรกและยอดหนี้เมื่อครบกําหนดไถ ถอน จะบันทึกในงบเฉพาะกําไรขาดทุนตลอดอายุการกูยืมโดยใชวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง
(ฒ) ผลประโยชนของพนักงาน ผลประโยชนระยะสั้น ภาระผูกพันเกี่ยวกับผลประโยชนระยะสั้น วัดมูลคาโดยมิไดคิดลดกระแสเงินสด โดยรับรูเปนคาใชจายเมื่อพนักงานทํางานให และรับรูหนี้สินดวยมูลคาที่คาดวาจะจายชําระ
ผลประโยชนระยะยาว ผลประโยชนหลังออกจากงาน – โครงการผลประโยชนที่กําหนดไว ภาระผูกพันเกี่ยวกับผลประโยชนหลังออกจากงานที่ตองชดเชยตามกฎหมายแรงงาน กลุมอินทัชรับรูในงบการเงิน ดวยวิธี คิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไวซึ่งคํานวณโดยใชหลักคณิตศาสตรประกันภัย ผลประโยชนหลังออกจากงาน – โครงการสมทบเงินที่กําหนดไว กลุมอินทัชจัดใหมีกองทุนสํารองเลี้ยงชีพซึ่งเปนลักษณะของแผนการจายสมทบตามที่ไดกําหนดการจายสมทบไวแลว สินทรัพยของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไดแยกออกไปจากสินทรัพยของกลุมอินทัชและไดรับการบริหารโดยผูจัดการกองทุน ภายนอก กองทุนสํารองเลี้ยงชีพดังกลาวไดรับเงินสะสมเขากองทุนจากพนักงานและเงินสมทบจากกลุมอินทัช เงินจายสมทบ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในงบเฉพาะกําไรขาดทุนสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น
(ณ) การจายโดยใชหนุ เปนเกณฑ กอนวันที่ 1 มกราคม 2554 ใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญที่จัดสรรใหแกกรรมการและพนักงานของกลุมอินทัชจะรับรูใน งบการเงินเมื่อมีการใชสิทธิ ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2554 นโยบายบัญชีเกี่ยวกับการจายโดยใชหุนเปนเกณฑของกลุมอินทัชไดกลาวไวในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินขอ 3.7
คิดลดแตละหนวยที่ประมาณการไวซึ่งคํานวณโดยใชหลักคณิตศาสตรประกันภัย ผลประโยชนหลังออกจากงาน – โครงการสมทบเงินที่กําหนดไว 191
กลุมอินทัชจัดใหมีกองทุนสํารองเลี้ยงชีพซึ่งเปนลักษณะของแผนการจายสมทบตามที่ไดกําหนดการจายสมทบไวแลวรายงาน สินทรัพยของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไดแยกออกไปจากสินทรัพยของกลุมอินทัชและไดรับการบริหารโดยผูจัดการกองทุ ประจำ�นปี 2554 ภายนอก กองทุนสํารองเลี้ยงชีพดังกลาวไดรับเงินสะสมเขากองทุนจากพนักงานและเงินสมทบจากกลุมอินทัช เงินจายสมทบ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในงบเฉพาะกําไรขาดทุนสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น
(ณ) การจายโดยใชหนุ เปนเกณฑ กอนวันที่ 1 มกราคม 2554 ใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญที่จัดสรรใหแกกรรมการและพนักงานของกลุมอินทัชจะรับรูใน งบการเงินเมื่อมีการใชสิทธิ บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย น 2554 นโยบายบัญชีเกี่ยวกับการจายโดยใชหุนเปนเกณฑของกลุมอินทัชไดกลาวไวในหมายเหตุ หมายเหตุ ตั้งปแตระกอบงบการเงิ วันที่ 1 มกราคม ละปสนิ้ สุดวันทีน่ 31 นวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแต ประกอบงบการเงิ ขอธั3.7
(ด)
ประมาณการหนีส้ นิ ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น จะถูกรับรูเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากลุมอินทัชตองสูญเสีย ทรัพยากรออกไป โดยใชมูลคาที่คาดวาจะจายชําระในปจจุบัน ณ วันที่รายงาน ประมาณการคาประกันความเสียหายจะบันทึกเมื่อไดขายสินคาหรือใหบริการแกลูกคาแลว ประมาณการคาใชจายพิจารณา จากประวัติการจายคาประกันความเสียหาย และปจจัยตางๆ ที่อาจเกี่ยวของกับความนาจะเปนที่จะเกิดความเสียหาย ดังกลาว
(ต)
รายได การรับรูรายได รายไดจากการขายรับรูเมื่อไดโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของสินคาที่มีนัยสําคัญไปใหกับผูซื้อ และ รายไดจากการใหบริการรับรูเมื่อมีการใหบริการ รายไดตามสัญญาใหบริการระยะยาว รับรูตามอัตรารอยละของงานที่เสร็จ ทั้งนี้จะไมรับรูรายไดถายังมีการควบคุมหรือบริหารสินคาที่ขายไปแลว หรือมีความไมแนนอนที่มีนัยสําคัญในการไดรับ ประโยชนเชิงเศรษฐกิจจากการขายหรือการใหบริการ หรือไมอาจวัดมูลคาของจํานวนรายไดและตนทุนที่เกิดขึ้นไดอยาง นาเชื่อถือ หรือมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนที่จะตองรับคืนสินคา รายไดและตนทุนขายอุปกรณเกตเวยพรอมติดตั้งรับรูดวยวิธีอางอิงกับขั้นความสําเร็จของงาน ขั้นความสําเร็จของงานวัด ดวยอัตราสวนของตนทุนของมูลคางานที่ทําเสร็จจนถึงปจจุบันคิดเทียบกับประมาณการตนทุนของมูลคางานทั้งหมด รายการขาดทุนที่คาดวาจะเกิดขึ้นจะรับรูเปนคาใชจายทันทีเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนที่ตนทุนมูลคางานทั้งหมดจะมี มูลคาเกินกวารายไดจากคางานทั้งหมด รายไดจากการใหบริการวงจรดาวเทียมและบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจดาวเทียม บริการอินเทอรเน็ตและบริการอื่นที่ เกี่ยวของกับธุรกิจอินเทอรเน็ต และบริการโทรศัพท รับรูเมื่อใหบริการแกลูกคา รายไดจากการใหเชาอุปกรณรับรูรายไดภายในระยะเวลาและอัตราที่กําหนดในสัญญาเชา รายไดจากการผลิตสื่อโฆษณารับรูเปนรายไดเมื่องานสําเร็จ สวนรายไดจากสื่อโฆษณารับรูเมื่อไดใหบริการแกลูกคา รายไดดอกเบี้ยรับรูตามเกณฑคงคาง เวนแตจะมีความไมแนนอนในการรับชําระ เงินปนผลรับจะบันทึกเปนรายไดในงบเฉพาะกําไรขาดทุนในวันที่กลุมอินทัชมีสิทธิไดรับเงินปนผล รายจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานบันทึกในงบเฉพาะกําไรขาดทุนโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงตลอดอายุสัญญาเชา
รายไดจากการใหบริการรับรูเมื่อมีการใหบริการ รายไดตามสัญญาใหบริการระยะยาว รับรูตามอัตรารอยละของงานที่เสร็จ ทั้งนี้จะไมรับรูรายไดถายังมีการควบคุมหรือบริหารสินคาที่ขายไปแลว หรือมีความไมแนนอนที่มีนัยสําคัญในการไดรับ ประโยชนเชิงเศรษฐกิจจากการขายหรือการใหบริการ หรือไมอาจวัดมูลคาของจํานวนรายไดและตนทุนที่เกิดขึ้นไดอยาง น าเชื่อถือ หรือมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนที่จะตองรับคืนสินคา 192 รายไดและตนทุนขายอุปกรณเกตเวยพรอมติดตั้งรับรูดวยวิธีอางอิงกับขั้นความสําเร็จของงาน ขั้นความสําเร็จของงานวัด อินทัช ดวยอัตราสวนของตนทุนของมูลคางานที่ทําเสร็จจนถึงปจจุบันคิดเทียบกับประมาณการตนทุนของมูลคางานทั้งหมด บริษัท ชิรายการขาดทุ น คอร์ปอเรชั่นนจำที�่คกัาดว ด (มหาชน) าจะเกิดและบริ ขึ้นจะรัษบัทรูย่เปอนยคาใชจายทันทีเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนที่ตนทุนมูลคางานทั้งหมดจะมี หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น สำ � หรั บ แต่ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มูลคาเกินกวารายไดจากคางานทัล้งะปีหมด รายไดจากการใหบริการวงจรดาวเทียมและบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจดาวเทียม บริการอินเทอรเน็ตและบริการอื่นที่ เกี่ยวของกับธุรกิจอินเทอรเน็ต และบริการโทรศัพท รับรูเมื่อใหบริการแกลูกคา รายไดจากการใหเชาอุปกรณรับรูรายไดภายในระยะเวลาและอัตราที่กําหนดในสัญญาเชา รายไดจากการผลิตสื่อโฆษณารับรูเปนรายไดเมื่องานสําเร็จ สวนรายไดจากสื่อโฆษณารับรูเมื่อไดใหบริการแกลูกคา รายไดดอกเบี้ยรับรูตามเกณฑคงคาง เวนแตจะมีความไมแนนอนในการรับชําระ เงินปนผลรับจะบันทึกเปนรายไดในงบเฉพาะกําไรขาดทุนในวันที่กลุมอินทัชมีสิทธิไดรับเงินปนผล รายจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานบันทึกในงบเฉพาะกําไรขาดทุนโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงตลอดอายุสัญญาเชา
(ถ)
ตนทุนทางการเงิน
ตนทุนทางการเงินประกอบดวยดอกเบี้ยจายของเงินกูยืมและประมาณการหนี้สินสวนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากเวลาที่ผานไป และสิ่ง ตอบแทนที่คาดวาจะตองจาย ขาดทุนจากการจําหนายสินทรัพยทางการเงินที่ถือไวเพื่อขาย ขาดทุนจากมูลคายุติธรรมของ สินทรัพยทางการเงินที่รับรูในกําไรหรือขาดทุน หรือขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยทางการเงิน (นอกเหนือลูกหนี้ การคา) และขาดทุนจากเครื่องมือปองกันความเสี่ยง รับรูในกําไรหรือขาดทุน บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุ ตนปทุระกอบงบการเงิ นการกูยืมที่ไมไนดเกี่ยวกับการไดมา การกอสรางหรือ การผลิตสินทรัพยที่เขาเงื่อนไข รับรูในกําไรหรือขาดทุน โดยใชวิธี ะปสนิ้ สุด้ยวัทีน่แทีท่ 31 สําหรับอัแตตลราดอกเบี จริงธันวาคม 2554 และ 2553
(ท)
ภาษีเงินได ภาษีเงินไดจากกําไรหรือขาดทุนสําหรับป ประกอบดวยภาษีเงินไดในงวดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดรับ รูในงบกําไรขาดทุน เวนแตในสวนที่เกี่ยวกับรายการที่เกี่ยวของในการรวมธุรกิจ หรือ รายการที่รับรูโดยตรงในสวนของผูถือ หุนหรือกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
ภาษีเงินไดปจจุบัน ภาษีเงินไดปจจุบันไดแกภาษีที่คาดวาจะจายชําระโดยคํานวณจากกําไรประจําปที่ตองเสียภาษี โดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใช ณ วันที่รายงาน
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี กลุมอินทัชบันทึกบัญชีภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีโดยวิธีหนี้สินตามงบแสดงฐานะการเงิน โดยคํานวณจากผลแตกตาง ชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สินกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินเหลานั้น โดยใชอัตรา ภาษีที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันที่รายงาน สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะบันทึกตอเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากําไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตจะมี จํานวนเพียงพอกับการใชประโยชนจากสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีดังกลาว ทั้งนี้สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัด บัญชีจะถูกปรับลดลงเทาที่ประโยชนทางภาษีจะมีโอกาสถูกใชจริง
ภาษีเงินไดปจจุบันไดแกภาษีที่คาดวาจะจายชําระโดยคํานวณจากกําไรประจําปที่ตองเสียภาษี โดยใชอัตราภาษีที่ประกาศใช ณ วันที่รายงาน
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี
193 รายงาน กลุมอินทัชบันทึกบัญชีภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีโดยวิธีหนี้สินตามงบแสดงฐานะการเงิน โดยคํานวณจากผลแตกต ประจำา�งปี ชั่วคราวที่เกิดขึ้นระหวางฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สินกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สินเหลานั้น โดยใชอัต2554 รา
ภาษีที่ประกาศใชหรือที่คาดวามีผลบังคับใช ณ วันที่รายงาน
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีจะบันทึกตอเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนนอนวากําไรเพื่อเสียภาษีในอนาคตจะมี จํานวนเพียงพอกับการใชประโยชนจากสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีดังกลาว ทั้งนี้สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัด บัญชีจะถูกปรับลดลงเทาที่ประโยชนทางภาษีจะมีโอกาสถูกใชจริง 6
รายการทีเ่ กิดขึน้ และยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ไดแก บุคคลและหรือกิจการที่มีอํานาจควบคุม หรือถูกควบคุมไมวาจะเปนโดยทางตรงหรือ ทางออม ซึ่งกระทําผานบริษัทที่ทําหนาที่ถือหุน บริษัทยอย และกิจการที่เปนบริษัทยอยในเครือเดียวกัน นอกจากนี้กิจการที่ เกี่ยวของกันยังรวมความถึงบริษัทรวมและบุคคลที่มีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญกับกิจการไมวาจะเปนโดยตรงหรือ ทางออม ผูบริหารสําคัญของกิจการรวมตลอดทั้งสมาชิกในครอบครัวที่ใกลชิดกับบุคคลดังกลาวซึ่งมีอํานาจชักจูง หรืออาจ ถูกชักจูงใหปฏิบัติตามบุคคลดังกลาว และกิจการที่เกี่ยวของกับบุคคลขางตน ในการพิจารณาความสัมพันธระหวางบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวของกันแตละรายการ บริษัทคํานึงถึงเนื้อหาของความสัมพันธมากกวารูปแบบทางกฎหมาย กลุมอินทัชไดดําเนินการคาตามปกติกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน โดยที่กลุมอินทัชไดคิดราคาซื้อ/ขายสินคาและบริการกับบริษัท ที่เกี่ยวของกัน ตามราคาที่เทียบเทากับราคาที่คิดกับบุคคลภายนอก โดยมีเงื่อนไขตางๆ ตามปกติธุรกิจ
194 อิบริ นทัษช ท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
บริ ษัท ชินปคอร์ ปอเรชั่น จำ�นกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ �หรับ2554 แต่ละปีและ สิ้น2553 สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31นธันสำวาคม รายการที่สําคัญสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 กับกิจการที่เกี่ยวของกัน สรุปไดดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 รายไดจากการขายและบริการ รวมถึงเงินปนผลรับ บริษทั ยอย เงินปนผลรับ รายไดดอกเบี้ย กิจการทีค่ วบคุมรวมกัน รายไดจากการใหเชาและอื่น ๆ บริษทั รวม รายไดคาบริการคอมพิวเตอร รายไดคาโฆษณา (รายไดรวม 2554 : 1,233 ลานบาท 2553 : 944 ลานบาท) รายไดจากการใหเชาและอื่น ๆ เงินปนผลรับ กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน รายไดจากการใหเชา ขายเงินลงทุนบางสวนในบริษัทรวม
(ลานบาท)
-
-
45 1 46
46 46
13
38
-
-
73 336
80 325
-
-
72 10,353 10,834
76 21,992 22,473
10,223 10,223
21,862 21,862
1 7,924 7,925
1 1
-
-
งบการเงินรวม 2554 2553 การซือ้ สินคาและบริการ รวมถึงเงินปนผลจาย บริษทั ยอย คาบริการคอมพิวเตอร คาโฆษณาและอืน่ ๆ
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
(ลานบาท)
-
-
3 15 18
3 13 16
กิจการทีค่ วบคุมรวมกัน คาเชาและคาใชจายอื่น
4
4
-
-
บริษทั รวม คาเชาและคาใชจายอื่น
30
23
1
1
195 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม 2554 2553
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
(ลานบาท)
กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน คาที่ปรึกษาและคาใชจายอื่น
1
23
-
-
กรรมการบริษทั เงินปนผลจาย
5
-
5
-
15,779
20,829
15,779
20,829
ผูถ ือหุน ใหญของบริษทั เงินปนผลจาย
ยอดคงเหลือกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังนี้ 2554 ลูกหนีก้ ารคาและตัว๋ เงินรับ - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัทรวม รวม
งบการเงินรวม 2553
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
41 394 435
30 240 270
-
-
รายไดคา งรับ - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัทรวม รวม
15 15
1 23 24
-
-
ลูกหนีเ้ งินทดรองจายและเงินใหกยู ืมแก กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทที่เกี่ยวของกัน รวม
82 82
1 1
-
1
-
-
-
54
55
7
8
ลูกหนีอ้ นื่ - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน กิจการที่ควบคุมรวมกัน เงินลงทุนระยะสัน้ ในหุน กูก ิจการ ทีเ่ กีย่ วของกันผานกองทุนสวนบุคคลทีบ่ ริหารโดย บริษทั จัดการกองทุนอิสระ บริษัทรวม
30
-
30
196 อิบริ นทัชษท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ รายการเคลื่อนไหวระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับเงินใหกูยืมแกบริษัทยอย มีดังนี้ งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
(ลานบาท)
ณ วันที่ 1 มกราคม ใหกู รับชําระ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
30 (30) -
30 30
เงินใหกูยืมเปนเงินใหกูยืมที่ไมมีหลักประกันใหแกบริษัทยอยรายหนึ่ง โดยคิดอัตราดอกเบี้ยคงที่ ซึ่งคํานวณจากอัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจําสามเดือน เฉลี่ยของธนาคารใหญสามธนาคาร บวกเพิ่มรอยละ 1.0 ตอป รายการเคลื่อนไหวสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับเงินใหกูยืมแกกิจการที่ควบคุมรวมกัน (ซึ่ง แสดงรวมเปนสวนหนึ่งของลูกหนี้เงินทดรองจายและเงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน) มีดังนี้ 2554 ณ วันที่ 1 มกราคม ใหกู กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินรวม
(ลานบาท)
77 2 79
2553 -
เงินใหกูยืมเปนเงินใหกูยืมแกกิจการที่ควบคุมรวมกันแหงหนึ่ง โดยคิดอัตราดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 3.04 - 3.55 ตอป และมี กําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม งบการเงินรวม 2554 2553 เจาหนีก้ ารคาและตัว๋ เงินจาย - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน บริษัทรวม เจาหนีแ้ ละเงินกูยมื - กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน บริษัทยอย กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัทรวม กิจการที่เกี่ยวของกัน รวม
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
6
12
-
-
1 1 80 82
3 3
4 1 5
4 4
197 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 งบการเงินรวม 2554 2553
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
เจาหนีอ้ นื่ – กิจการทีเ่ กีย่ วของกัน บริษัทยอย กิจการที่ควบคุมรวมกัน บริษัทรวม กิจการที่เกี่ยวของกัน รวม
1 1 1 3
2 2
2 2
1 1
หนีส้ นิ ไมหมุนเวียนอืน่ - กิจการทีเ่ กี่ยวของกัน บริษัทรวม
5
5
-
-
รายการเคลื่อนไหวสําหรับแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับเงินกูยืมจากกิจการอื่นที่เกี่ยวของกัน (ซึ่ง แสดงรวมเปนสวนหนึ่งของเจาหนี้และเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน) มีดังนี้ 2554 ณ วันที่ 1 มกราคม กูยืม ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง ณ วันที่ 31 ธันวาคม
77 2 79
งบการเงินรวม
(ลานบาท)
2553 -
เงินกูยืมเปนเงินกูยืมจากกิจการที่ควบคุมรวมกันแหงหนึ่ง โดยคิดอัตราดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 3.04 - 3.55 ตอป และมี กําหนดชําระคืนเมื่อทวงถาม
198 อิบริ นทัชษท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 วาคม สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 คาตอบแทนผูบริหาร คาตอบแทนกรรมการและผูบริหารสําคัญสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สรุปไดดังนี้
สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม ผลประโยชนระยะสัน้ คาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทนผูบริหารสําคัญ รวมคาตอบแทนผูบ ริหาร ผลประโยชนระยะยาว ตนทุนบริการปจจุบัน - ที่อยูรวมใน คาใชจายในการบริหาร ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน- ที่อยูรวมใน ตนทุนทางการเงิน รวมผลประโยชนระยะยาวของผูบ ริหาร รวม
งบการเงินรวม 2554 2553
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
32 121 153
29 108 137
17 69 86
15 74 89
2
2
1
1
1 3
1 3
1 2
1 2
156
140
88
91
ใบสําคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน สามัญจัดสรรใหแกกรรมการ (หมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 20) คาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทนกรรมการประกอบดวย คาตอบแทนรายเดือน โบนัส และเบี้ยประชุมซึ่งจายใหประธานกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการที่ไมเปนผูบริหาร คาตอบแทนกรรมการดังกลาวไดรับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําปของบริษัทและ กลุมอินทัช ภาระผูกพันและสัญญาสําคัญทีท่ าํ กับบุคคลหรือกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ภาระผูกพันที่สําคัญอื่นๆ ที่มีตอกิจการที่เกี่ยวของกันมีดังนี้ 1. บริษัทและบริษัทรวมบางแหงไดทําสัญญากับบริษัทยอยรายหนึ่ง โดยบริษัทยอยมีภาระผูกพันในการใหบริการบํารุงรักษา ระบบคอมพิวเตอรเพื่อประมวลผลทางบัญชี เปนระยะเวลาประมาณ 1 ป ถึง 5 ปโดยสามารถตอสัญญาได บริษัทและบริษัท รวม มีภาระผูกพันตอบริษัทยอยที่จะตองชําระคาบริการดังกลาวตามสัญญาเปนจํานวนเงินรวมประมาณ 55 ลานบาทตอป (2553: ประมาณ 49 ลานบาทตอป) ในงบการเงินรวม และประมาณ 2 ลานบาทตอป (2553: ประมาณ 2 ลานบาทตอป) ในงบ การเงินเฉพาะกิจการ 2. บริษัทยอยไดทําสัญญากับบริษัทรวมแหงหนึ่ง โดยบริษัทรวมมีภาระผูกพันในการใหบริการ Uplink สัญญาณดาวเทียม เปนระยะเวลาประมาณ 5 ป โดยบริษัทยอยมีภาระผูกพันตอบริษัทรวมที่จะตองชําระคาบริการดังกลาวตามสัญญาอีกเปน จํานวนเงินรวมประมาณ 8 ลานบาท (2553: ประมาณ 17 ลานบาท)
199 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
3. บริษัทยอยไดทําสัญญากับกิจการที่ควบคุมรวมกันแหงหนึ่ง โดยกิจการที่ควบคุมรวมกันมีภาระผูกพันในการใหดําเนินการ ดูแล บํารุงรักษาสถานีควบคุมเครือขายภาคพื้นดิน (IPSTAR Gateway) ในประเทศกัมพูชาใหดําเนินการปกติ เปนระยะเวลา ประมาณ 5 ป โดยบริษัทยอยมีภาระผูกพันตอกิจการที่ควบคุมรวมกันที่จะตองชําระคาบริการดังกลาวตามสัญญาอีกเปน จํานวนเงินรวมประมาณ 0.2 ลานดอลลารสหรัฐ (2553: ประมาณ 0.4 ลานดอลลารสหรัฐ) 4. บริษัทยอยไดทําสัญญาในการดําเนินธุรกิจทางดานดาวเทียมและใหคําปรึกษากับบริษัทรวม โดยบริษัทยอยมีภาระผูกพันใน การใหบริการเชาชองสัญญาณดาวเทียม (Transponder) ใหบริการดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร) และใหคําปรึกษา บริษัท รวมมีภาระผูกพันตอบริษัทยอยที่จะตองชําระคาบริการดังกลาวตามสัญญาอีกเปนจํานวนเงินรวมประมาณ 0.6 ลาน ดอลลารสหรัฐ และ 8 ลานบาท (2553: ประมาณ 2.5 ลานดอลลารสหรัฐ และ 8 ลานบาท) บางสัญญาชําระคาบริการตาม จํานวนที่ใชจริงในอัตราที่ตกลงกันไวในสัญญา บางสัญญาขึ้นอยูกับการติดตั้งอุปกรณรับสงสัญญาณปลายทางตาม อัตราที่ตกลงกันไวในสัญญา ภาระผูกพันสําหรับกิจการทีเ่ กีย่ วของกัน ไทยคมไดออกหนังสือรับรองเพื่อแสดงความมั่นใจทางการเงิน (Letter of Comfort) ใหแกธนาคารตางๆ ของบริษัทยอยและ บริษัทยอยของกิจการที่ควบคุมรวมกัน ภายใตหนังสือดังกลาวไทยคมตองปฏิบัติตามเงื่อนไขในการรักษาสัดสวนการถือหุน ในบริษัทยอยและบริษัทยอยของกิจการที่ควบคุมรวมกันในอัตราสวนตามที่ระบุไวในสัญญาจนกวาบริษัทยอยและบริษัทยอย ของกิจการที่ควบคุมรวมกันดังกลาวจะชําระหนี้ทั้งหมดใหแกธนาคารแลว นอกจากนี้ไทยคมไดใหคํายืนยันแกธนาคารผูให กูยืมเงินของบริษัทยอยและบริษัทยอยของกิจการที่ควบคุมรวมกันเหลานี้วาไทยคมจะใหการสนับสนุนทางการเงินที่จําเปนแก บริษัทยอยและบริษัทยอยของกิจการที่ควบคุมรวมกัน เพื่อใหไดความมั่นใจวาบริษัทยอยและบริษัทยอยของกิจการที่ควบคุม รวมกันจะมีความสามารถในการจายชําระหนี้ภายใตสัญญาเงินกูตางๆ ที่บริษัทยอยและบริษัทยอยของกิจการที่ควบคุม รวมกันทําไวกับธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ภาระผูกพันจากการออกหนังสือรับรองเพื่อแสดงความมั่นใจทางการเงิน (Letter of Comfort) ใหแกธนาคารตางๆ เปนจํานวนเงิน 2 ลานดอลลารสหรัฐ (2553 : 8 ลานดอลลารสหรัฐ) และภาระผูกพันดังกลาวที่มีแก บริษัทยอยไดสิ้นสุดลงแลว 7
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด งบการเงินรวม 2554 2553 เงินสดในมือ เงินฝากกระแสรายวันและเงินฝากออมทรัพย เงินฝากประจํา เงินลงทุนในตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใชเงิน และเงินลงทุนในหุนกู รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
(ลานบาท)
160 1,415
67 1,055
103
141
9,862 11,437
1,368 2,490
8,340 8,443
929 1,070
เงินฝากธนาคาร เงินฝากประจํา ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใชเงิน และเงินลงทุนในหุนกู มีอัตราดอกเบี้ยแทจริงถัวเฉลี่ยถวง น้ําหนักรอยละ 2.8 ตอป (2553 : รอยละ 1.7 ตอป) ในงบการเงินรวม และรอยละ 3.2 ตอป (2553 : รอยละ 1.7 ตอป) ในงบ การเงินเฉพาะกิจการ
200 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 8
เงินลงทุนอืน่ งบการเงินรวม 2554 2553
เงินลงทุนชั่วคราว
ตั๋วแลกเงิน เงินฝากประจํา ตราสารหนี้ที่เปนหลักทรัพยเผื่อขาย ขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจากหลักทรัพยเผื่อขาย รวม
876 1 1,640 2,517
(ลานบาท)
250 1 1,597 (3) 1,845
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 856 521 1,377
250 507 (1) 756
เงินลงทุนระยะยาว
เงินลงทุนในบริษัทอื่น 25 25 25 25 รวม 2,542 1,870 1,402 781 สวนเงินลงทุนในตั๋วแลกเงิน และเงินฝากประจํา มีอัตราดอกเบี้ยแทจริงถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักในงบการเงินรวมและในงบการเงิน เฉพาะกิจการ รอยละ 3.8 ตอป (2553: รอยละ 1.8 ตอป) ผลตอบแทนเฉลี่ยจากเงินลงทุนชั่วคราวในหลักทรัพยเผื่อขาย มีอัตรารอยละ 3.0 ตอป ในงบการเงินรวม (2553: รอยละ 2.4 ตอป) และมีอัตรารอยละ 3.4 ตอป ในงบการเงินเฉพาะกิจการ (2553: รอยละ 1.4 ตอป) 9
ลูกหนีก้ ารคาและลูกหนีอ้ นื่ งบการเงินรวม 2554 2553 ลูกหนีก้ ารคา ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับ รายไดคางรับ หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนีอ้ นื่ รวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
(ลานบาท)
1,698 159 (282) 1,575
1,544 148 (303) 1,389
-
-
413
380
19
15
1,988
1,769
19
15
201 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
หมายเหตุ ลูกหนีก้ ารคาและตัว๋ เงินรับ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการอื่น ๆ รวม รายไดคา งรับ บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือกิจการอื่น ๆ รวม
2554
งบการเงินรวม
(ลานบาท)
2553
6
435 1,263 1,698
270 1,274 1,544
6
15 144 159
24 124 148
1,857 (282) 1,575
1,692 (303) 1,389
รวมลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ การวิเคราะหอายุของลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับมีดังนี้
งบการเงินรวม 2553
2554 ยังไมครบกําหนดชําระ เกินกําหนดชําระ : นอยกวา 3 เดือน 3 - 6 เดือน 6 - 12 เดือน มากกวา 12 เดือน
หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สุทธิ
(ลานบาท)
858
739
281 106 114 339 1,698 (282) 1,416
264 101 89 351 1,544 (303) 1,241
ลูกหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ประกอบดวย งบการเงินรวม 2554 2553 คาใชจายลวงหนา ภาษีเงินไดรอขอคืน เงินจายลวงหนา เงินมัดจํา ดอกเบี้ยคางรับและรายไดคางรับอื่น ลูกหนี้อื่น อื่นๆ รวม
114 38 30 74 36 70 51 413
(ลานบาท)
128 43 52 38 13 59 47 380
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 4 2 10 3 19
2 7 3 2 1 15
202 อิบริ นทัชษท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 10
สินคาคงเหลือ 2554 วัตถุดิบ งานระหวางทํา สินคาสําเร็จรูป สินคาระหวางทาง
(ลานบาท)
49 8 253 8 318 (75) 243
หัก คาเผื่อสินคาลาสมัย สุทธิ 11
งบการเงินรวม
2553 73 12 397 11 493 (76) 417
เงินลงทุนในบริษทั ยอย กิจการทีค่ วบคุมรวมกัน และบริษทั รวม งบการเงินรวม 2554 2553
เงินลงทุนในบริษทั ยอย ณ วันที่ 1 มกราคม ณ วันที่ 31 ธันวาคม
เงินลงทุนในบริษทั รวม
ณ วันที่ 1 มกราคม – ตามที่รายงานไวเดิม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ณ วันที่ 1 มกราคม – ปรับปรุงใหม สวนแบงผลกําไรสุทธิจากการลงทุน ตามวิธสี วนไดเสีย เงินปนผลรับ สวนเกินจากการลดสัดสวนการลงทุนที่ยังไมเกิดขึ้น ขายเงินลงทุนบางสวนในบริษัทรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
-
-
3,695 3,695
3,695 3,695
18,180 (141) 18,039
30,740 (127) 30,613
8,807 -
8,807 -
10,069 (10,353) 69 (847) 16,977
9,196 (21,992) 222 18,039
(425) 8,382
8,807
รวม
บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน)
บริษทั รวม
บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอรวิส จํากัด บริษัท แมทชบอกซ จํากัด
บริษทั ยอย
บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) รวม
บริษทั รวม
10 9 11,532
99.99 99.99 99.96 99.96
2,973 2,973 14,505
5,480 6,033
40.45 42.55
2,973 149 3,122
2,970 2,970 14,502
10 9 11,532
5,480 6,033
8,382 8,382 15,374
10 72 6,992
3,613 3,297
8,807 1,481 10,288
8,807 8,807 15,799
10 72 6,992
3,613 3,297
(3,297)
(3,297)
(3,297)
(3,297)
(3,297)
17,796 243 18,039
8,382 8,382 12,077
10 72 3,695
3,613 -
8,807 8,807 12,502
10 72 3,695
3,613 -
วิธีราคาทุน - สุทธิ 2554 2553
16,707 270 16,977
(3,297)
(ลานบาท)
การดอยคา 2554 2553
งบการเงินเฉพาะกิจการ
8,382 1,481 9,863
วิธีสวนไดเสีย 2554 2553 ปรับปรุงใหม
(ลานบาท)
งบการเงินรวม วิธีราคาทุน 2554 2553
วิธีราคาทุน 2554 2553
2,970 148 3,118
ทุนชําระแลว 2554 2553
ทุนชําระแลว 2554 2553
42.55 42.19
41.14 41.14 52.92 52.92
(รอยละ)
สัดสวนความ เปนเจาของ 2554 2553
40.45 42.07
(รอยละ)
สัดสวนความเปนเจาของ 2554 2553
เงินลงทุนในบริษัทยอย และบริษัทรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 และเงินปนผลรับสําหรับปสิ้นสุดวันเดียวกัน มีดังนี้
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
21,862 130 21,992
10,223 10,223 10,268
45 45
-
-
21,862 21,862 21,908
46 46
เงินปนผลรับสําหรับป 2554 2553
10,223 130 10,353
เงินปนผลรับสําหรับป 2554 2553
203 รายงาน ประจำ�ปี 2554
204 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 รายการสําคัญที่เกิดขึ้นในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ของกลุมอินทัช มีดังนี้ ก)
การเพิม่ ทุนหุน สามัญของบริษทั รวมจากการใชสทิ ธิ ESOP ใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญที่ออกใหกรรมการและพนักงาน (ESOP) ของ เอไอเอส และ ซีเอสแอล ไดถูกใชสิทธิ เปนหุนสามัญ และไดจดทะเบียนเพิ่มทุนหุนสามัญใหมดังกลาวกับกระทรวงพาณิชยในระหวางเดือนมกราคม ถึง ธันวาคม 2554 มีดังนี้ บริษทั
หนวยที่ ใชสทิ ธิ
(พันหนวย)
ทุนทีอ่ อกและชําระแลว เพิม่ ขึน้ จาก
(ลานบาท)
เปน
สวนเกินมูลคาหุน เพิม่ ขึน้ จาก
(ลานบาท)
เอไอเอส 2,215 2,970 2,973 22,173 ซีเอสแอล 1,065 148 149 459 *สัดสวนการลงทุนของบริษัทกอนการขายเงินลงทุนบางสวนในเอไอเอส
สัดสวนการลงทุน ของบริษทั ลดลง
(รอยละ)
เปน
จาก
เปน
22,372 462
42.55 42.19
42.50* 42.07
ข) การขายเงินลงทุนบางสวนในเอไอเอส ในเดือนธันวาคม 2554 บริษัทไดขายเงินลงทุนบางสวนในเอไอเอส จํานวน 61 ลานหุน หรือคิดเปนรอยละ 2.05 ของ ทุนชําระแลวของ เอไอเอส ใหแก Singtel Strategic Investments Pte Ltd. ในราคา 130 บาทตอหุน คิดเปนมูลคา รวมทั้งสิ้น 7,930 ลานบาท ทําใหบริษัทมีกําไรจากการขายเงินลงทุนหลังคาใชจายที่เกี่ยวของในงบการเงินรวมและงบ การเงินเฉพาะกิจการ จํานวน 7,264 ลานบาท และ 7,499 ลานบาท ตามลําดับ ภายหลังจากการขายหุนในครั้งนี้บริษัทยังคงสัดสวนในการถือหุนรอยละ 40.45 ของทุนชําระแลวของเอไอเอส และการ ขายหุนในครั้งนี้ไมมีผลตอการเปลี่ยนแปลงในอํานาจการควบคุมและการดําเนินงานของเอไอเอส แตอยางใด
205 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ค)
การประกาศจายเงินปนผลของบริษัทยอย กิจการที่ควบคุมรวมกัน และบริษัทรวม ในระหวางป 2554 บริษัทยอย กิจการที่ควบคุมรวมกัน และบริษัทรวมบางแหงไดรับอนุมัติใหจายเงินปนผลดังนี้
บริษทั
สกุลเงิน
เงินปนผลสําหรับผลการดําเนินงานป 2553 ไอทีเอเอส (บริษัทยอย) (บาท) บริษัท ไอพีสตาร ออสเตรเลีย (ดอลลาร พีทีวาย จํากัด (“ไอพีเอ”) (บริษัทยอย) ออสเตรเลีย) แอลทีซี (กิจการที่ควบคุมรวมกัน) (ดอลลารสหรัฐ) เอไอเอส (บริษัทรวม) (บาท) ซีเอสแอล (บริษัทรวม) (บาท)
อัตรา เงินปนผลระหวางกาล เงินปนผล ทีจ่ า ยแลวในป 2553
(ตอหุน)
(ตอหุน )
เงินปนผลทีจ่ า ย ในป 2554 (ตอหุน) จํานวนเงินรวม
(ลาน)
25.00
-
25.00
25
0.58 0.41 6.92 0.50
0.25 3.00 0.25
0.58 0.16 3.92 0.16
4 15 11,649 15
-
20.00 4.17 0.27
20 12,396 160
เงินปนผลระหวางกาลสําหรับผลการดําเนินงานป 2554 ไอทีเอเอส (บริษัทยอย) (บาท) 20.00 เอไอเอส (บริษัทรวม) (บาท) 4.17 ซีเอสแอล (บริษัทรวม) (บาท) 0.27 12 ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของกิจการทีค่ วบคุมรวมกัน และบริษทั รวม
เงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกัน Shenington Investment Pte Limited (“เชน”) เชน เปนเงินลงทุนในกิจการที่ควบคุมรวมกันของไทยคมและ บริษัท เอเชีย โมบายส โฮลดิ้งส พีทอี ี จํากัด (“เอเอ็มเอช”) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สัดสวนการถือหุนใน เชน ของไทยคมและ เอเอ็มเอช เปนรอยละ 51 และ รอยละ 49 ตามลําดับ
206 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 รายการดังที่ไดแสดงตอไปนี้ เปนสวนแบงของกลุมอินทัชในสินทรัพย หนี้สิน รายไดและผลการดําเนินงานของกิจการที่ ควบคุมรวมกัน ที่รวมในงบการเงินรวมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 Shenington Investment Pte Limited และบริษทั ยอย 2554 2553 ปรับปรุงใหม
(ลานบาท)
งบแสดงฐานะการเงินรวม สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน สินทรัพย-สุทธิ
318 3,871 (2,245) (472) 1,472
428 4,128 (2,287) (416) 1,853
งบเฉพาะกําไรขาดทุนรวม รายได ขาดทุนสุทธิสาํ หรับปรวม
1,237 (478)
1,524 (377)
เงินลงทุนในบริษัทรวม ขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทรวม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 2554
เอไอเอส
2553 ปรับปรุงใหม
2554
ซีเอสแอล
(ลานบาท)
2553 ปรับปรุงใหม
งบแสดงฐานะการเงินรวม สินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน สินทรัพย-สุทธิ ราคาตลาดของบริษทั รวม
33,178 53,494 (29,734) (17,474) 39,464 417,720
25,953 71,394 (35,285) (20,871) 41,191 252,456
860 1,149 (720) (154) 1,135 3,326
751 1,280 (693) (229) 1,109 3,142
งบเฉพาะกําไรขาดทุนรวม รายได กําไรสุทธิสาํ หรับป
126,437 22,218
111,339 20,513
2,841 335
2,701 396
207 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 13 อาคาร และอุปกรณ
อาคารและ สวนปรับปรุง อาคาร
เครื่องตกแตง ติดตั้ง และอุปกรณ
งบการเงินรวม ยานพาหนะ และยานพาหนะ ภายใตสัญญา คอมพิวเตอร เชาการเงิน และอุปกรณ
สินทรัพย ระหวาง กอสราง
รวม
(ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม หัก สํารองคาเผื่อการดอยคาของ สินทรัพย ราคาตามบัญชี รายการระหวางปสนิ้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซื้อสินทรัพย โอนสินทรัพย - สุทธิ จําหนายสินทรัพย - สุทธิ ตัดจําหนายสินทรัพย - สุทธิ คาเสื่อมราคา ปรับปรุงการแปลงคาเงินตรา ตางประเทศ ราคาตามบัญชีปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม หัก สํารองคาเผื่อการดอยคาของ สินทรัพย ราคาตามบัญชี
481 (193)
9,005 (4,285)
139 (81)
304 (235)
1,016 -
10,945 (4,794)
288
(37) 4,683
58
69
1,016
(37) 6,114
6 (8) (2) (42)
263 587 (2) (13) (1,042)
34 (1) (1) (23)
23 (31)
408 (590) (3) -
734 (11) (3) (19) (1,138)
242
(280) 4,196
(1) 66
(1) 60
(77) 754
(359) 5,318
479 (237)
9,261 (5,036)
149 (83)
315 (255)
754 -
10,958 (5,611)
242
(29) 4,196
66
60
754
(29) 5,318
208 อินทัษชท บริ ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
บริษัท ชินปคอร์ ปอเรชั่น จำ�นกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ �หรับ2554 แต่ละปีและ สิ้น2553 สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 นธันสำวาคม
อาคารและ สวนปรับปรุง อาคาร
เครื่องตกแตง ติดตั้ง และอุปกรณ
งบการเงินรวม ยานพาหนะ และยานพาหนะ ภายใตสัญญา คอมพิวเตอร เชาการเงิน และอุปกรณ
สินทรัพย ระหวาง กอสราง
รวม
(ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม หัก สํารองคาเผื่อการดอยคาของ สินทรัพย ราคาตามบัญชี รายการระหวางปสนิ้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซื้อสินทรัพย โอนสินทรัพย - สุทธิ จําหนายสินทรัพย - สุทธิ ตัดจําหนายสินทรัพย - สุทธิ คาเสื่อมราคา ปรับปรุงการแปลงคาเงินตรา ตางประเทศ ราคาตามบัญชีปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม หัก สํารองคาเผื่อการดอยคาของ สินทรัพย ราคาตามบัญชี
479 (237)
9,261 (5,036)
149 (83)
315 (255)
754 -
10,958 (5,611)
242
(29) 4,196
66
60
754
(29) 5,318
19 3 (45)
403 803 (38) (26) (1,045)
20 (3) (24)
51 3 (35)
1,927 (877) (1) -
2,420 (68) (38) (30) (1,149)
12 231
175 4,468
1 60
1 80
26 1,829
215 6,668
514 (283)
10,566 (6,070)
162 (102)
357 (277)
1,829 -
13,428 (6,732)
231
(28) 4,468
60
80
1,829
(28) 6,668
ตนทุนการกูยืมซึ่งเกิดจากการกูยืมเพื่อสรางสินทรัพยระหวางกอสรางสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวน 11 ลานบาท ไดถูกรวมอยูในตนทุนการซื้อสินทรัพยระหวางป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 อาคารและอุปกรณไดรวมสินทรัพยระหวางกอสรางของโครงการดาวเทียมไทยคม 6 จํานวน 1,721 ลานบาท โดยที่ดาวเทียมไทยคม 6 มีกําหนดการที่จะเริ่มใหบริการภายในป 2556 ภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ กิจการดาวเทียมสื่อสารกับกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (“กระทรวงเทคโนโลยีฯ”) ไทยคมจะตองโอน กรรมสิทธิ์ในดาวเทียมไทยคม 6 ใหแกกระทรวงเทคโนโลยีฯ เมื่อการกอสรางและการติดตั้งแลวเสร็จ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 อาคารและอุปกรณไดรวมสินทรัพยภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการของเอ็มโฟน จํานวน เงินประมาณ 1,998 ลานบาท (ตามสัดสวนการลงทุน) (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 : 2,318 ลานบาท) เอ็มโฟนจะตองโอน กรรมสิทธิ์ของสินทรัพยดังกลาวใหแกรัฐบาลของประเทศกัมพูชา เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาอนุญาตใหดําเนินการในวันที่ 4 มีนาคม 2571 ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 33 จ)
209 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
อาคารและ สวนปรับปรุง อาคาร
เครื่อง ตกแตง ติดตั้ง และอุปกรณ
งบการเงินเฉพาะกิจการ ยานพาหนะ และยานพาหนะ ภายใตสัญญา คอมพิวเตอร เชาการเงิน และอุปกรณ
สินทรัพย ระหวาง กอสราง
รวม
(ลานบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี
16 (7) 9
26 (20) 6
15 (7) 8
43 (37) 6
-
100 (71) 29
รายการระหวางปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซื้อสินทรัพย โอนสินทรัพย - สุทธิ คาเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายป
(3) 6
(2) 4
3 (3) 8
3 (3) 6
1 (1) -
7 (1) (11) 24
ณ วันที่ 31ธันวาคม 2553 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี
17 (11) 6
25 (21) 4
18 (10) 8
43 (37) 6
-
103 (79) 24
รายการระหวางปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซื้อสินทรัพย โอนสินทรัพย - สุทธิ จําหนายสินทรัพย - สุทธิ คาเสื่อมราคา ราคาตามบัญชีปลายป
1 (3) 4
6 (1) (2) 7
11 (3) 16
2 (3) 5
-
20 (1) (11) 32
ณ วันที่ 31ธันวาคม 2554 ราคาทุน หัก คาเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี
17 (13) 4
29 (22) 7
29 (13) 16
45 (40) 5
-
120 (88) 32
210 อิบริ นทัชษท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 14
อาคารและอุปกรณภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ งบการเงินรวม อุปกรณดาวเทียม
(ลานบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี
26,566 (11,038) 15,528
รายการระหวางปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 การตัดจําหนาย-สุทธิ คาตัดจําหนาย ราคาตามบัญชีปลายป
(1,351) 14,177
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี
21,138 (6,961) 14,177
รายการระหวางปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซื้อ คาตัดจําหนาย ราคาตามบัญชีปลายป
2 (1,351) 12,828
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี
21,140 (8,312) 12,828
211 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 15
สินทรัพยไมมีตวั ตน คาความนิยม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม หัก สํารองคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย ราคาตามบัญชี รายการระหวางปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซื้อสินทรัพย ตัดจําหนายสินทรัพย - สุทธิ คาตัดจําหนาย ปรับปรุงการแปลงคาเงินตราตางประเทศ ราคาตามบัญชีปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม หัก สํารองคาเผือ่ การดอยคาของสินทรัพย ราคาตามบัญชี รายการระหวางปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซื้อสินทรัพย จําหนายเงินลงทุนในบริษัทยอย คาตัดจําหนาย ปรับปรุงการแปลงคาเงินตราตางประเทศ ราคาตามบัญชีปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม หัก สํารองคาเผือ่ การดอยคาของสินทรัพย ราคาตามบัญชี
งบการเงินรวม อื่น ๆ
(ลานบาท)
รวม
1,249 (1,105) 144
2,049 (812) 1,237
3,298 (812) (1,105) 1,381
144
16 (4) (130) (10) 1,109
16 (4) (130) (10) 1,253
1,249 (1,105) 144
2,047 (938) 1,109
3,296 (938) (1,105) 1,253
(2) 142
102 (140) 4 1,075
102 (2) (140) 4 1,217
1,247 (1,105) 142
2,158 (1,083) 1,075
3,405 (1,083) (1,105) 1,217
212 อิบริ นทัชษท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี รายการระหวางปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ซื้อสินทรัพย คาตัดจําหนาย ราคาตามบัญชีปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี รายการระหวางปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ซื้อสินทรัพย คาตัดจําหนาย ราคาตามบัญชีปลายป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ราคาทุน หัก คาตัดจําหนายสะสม ราคาตามบัญชี
(ลานบาท)
60 (51) 9 1 (3) 7 60 (53) 7 (3) 4 60 (56) 4
213 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 16
ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยและหนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีภายหลังจากการนํามาหักกลบกันตามความเหมาะสม ไดแสดงรวมไวในงบ แสดงฐานะการเงินโดยมีรายละเอียดดังนี้ 2554 สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี หนี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี รวม
งบการเงินรวม
2553 ปรับปรุงใหม
(ลานบาท)
846 (120) 726
1,174 (131) 1,043
ภาษีเงินไดรอตัดบัญชีคํานวณจากผลแตกตางชั่วคราวทั้งจํานวนตามวิธีหนี้สินตามงบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชีซึ่งเปนผลจากผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดจะรับรูไมเกินจํานวนที่มีความเปนไปไดคอนขางแน วาจะมีกําไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใชประโยชนทางภาษีนั้น กลุมอินทัชมีรายการขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใชยกไป เพื่อหักกลบกับกําไรทางภาษีในอนาคตจํานวน 5,606 ลานบาท ( 2553 : 12,670 ลานบาท) ซึ่งรับรูเปนสินทรัพยภาษีเงินไดรอ ตัดบัญชีในจํานวนที่คาดวาจะใชได เปนจํานวน 632 ลานบาท (2553 : 1,004 ลานบาท)
(ลานบาท)
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ยอดคงเหลือตนป รายการที่บันทึกในงบเฉพาะกําไรขาดทุน ผลกระทบจากการลดอัตราภาษี ที่บันทึกในงบเฉพาะกําไรขาดทุน รายการที่บันทึกในสวนของผูถือหุน ยอดคงเหลือปลายป
สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ยอดคงเหลือตนป – ตามที่รายงานไวเดิม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี ยอดคงเหลือตนป – ปรับปรุงใหม รายการที่บันทึกในงบเฉพาะกําไรขาดทุน รายการที่บันทึกในสวนของผูถือหุน ยอดคงเหลือปลายป
(351) 632
1 18
ขาดทุน สะสมยกมา
คาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ 1,004 (21)
748 256 1,004
26 (4) 22
22 (5)
748
26
12 (4)
10 (26)
คาเสื่อมราคา / คาตัดจําหนาย
11 (1) 10
11 28 4 32
28
19 7 (2) 24
19
12
17 (5)
33
32 1
(ลานบาท)
1 25
24 -
งบการเงินรวม สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 คาเผื่อสินคา ตนทุน เสื่อมสภาพ เงินมัดจํารับ ทางการเงิน
15 2 17
15
2 55
7 46
รายได รับลวงหนา
7 7
7
(11) 75
58 28
อื่นๆ
53 67 (4) (5) 58
14
(351) 5 846
1,174 18
รวม
53 921 265 (12) 1,174
868
การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี และหนี้สินภาษีเงินไดรอตัดบัญชี (กอนรายการหักกลบลบกันของยอดดุลที่มีกับหนวยงานเก็บภาษีเดียวกัน) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 2554 ประกอบดวย งบการเงินรวม สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาเผื่อหนี้ ขาดทุน คาเสื่อมราคา / คาเผื่อสินคา ตนทุน รายได สงสัยจะสูญ สะสมยกมา คาตัดจําหนาย เสื่อมสภาพ เงินมัดจํารับ ทางการเงิน รับลวงหนา อื่นๆ รวม
ัท ชินปอเรชั คอร์น่ ปอเรชั จำ�กัด (มหาชน) บริษทั บริ ชินษคอร จํากัด่น(มหาชน) และบริษทัและบริ ยอย ษัทย่อย หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น สำ � หรั บ แต่ ล ะปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
214 อินทัช 214 อินทัช
หนีส้ นิ ภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ยอดคงเหลือตนป รายการที่บันทึกในงบเฉพาะกําไรขาดทุน รายการที่บันทึกในสวนของผูถือหุน ยอดคงเหลือปลายป
หนีส้ นิ ภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ยอดคงเหลือตนป รายการที่บันทึกในงบเฉพาะกําไรขาดทุน รายการที่บันทึกในสวนของผูถือหุน ยอดคงเหลือปลายป
(131) (7) (138)
คาตัดจําหนายสินทรัพยภายใต สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ
(146) 1 14 (131)
คาตัดจําหนายสินทรัพยภายใต สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน บริลษะปัท สชินิ้ นสุคอร์ �กัด (มหาชน) สําหรับแต ดวันปทีอเรชั ่ 31 ธั่นนจำวาคม 2554 และและบริ 2553ษัทย่อย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
(ลานบาท)
24 (22) 2
(2) 1 (1)
2 2 4
งบการเงินรวม สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 คาเสื่อมราคา/ ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยน คาตัดจําหนาย เงินตราตางประเทศ
(3) 1 (2)
(ลานบาท)
งบการเงินรวม สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 คาเสื่อมราคา/ ผลตางจากอัตราแลกเปลี่ยน คาตัดจําหนาย เงินตราตางประเทศ
14 1 15
อื่นๆ
(21) 21 -
อื่นๆ
(131) 17 (6) (120)
รวม
(146) 2 13 (131)
รวม
215 รายงาน ประจำ�ปี 2554
215 รายงาน ประจำ�ปี 2554
216 อิบริ นทัชษท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม 17 หนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบี้ย งบการเงินรวม 2554 2553
หนีส้ นิ หมุนเวียน
สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป สวนของหุนกูที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หนี้สินตามสัญญาเชาการเงินที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป
หนีส้ นิ ไมหมุนเวียน
เงินกูยืมระยะยาว หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน รวม
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
1,323 3,297
849 -
-
-
7 4,627
7 856
1 1
1 1
1,935 3,693 25 5,653
538 6,984 27 7,549
1 1
2 2
10,280
8,405
2
3
การเปลี่ยนแปลงเงินกูยืมสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 ณ วันที่ 1 มกราคม เงินกูเพิ่ม จายคืนเงินกูยืม คาใชจายในการจัดหาเงินกูยืมตัดจําหนาย เพิ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสถานะ เจาหนี้ - อุปกรณ ปรับปรุงการแปลงคาเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
8,405 3,785 (2,473) 6
8,794 142 (434) 6
3 (1) -
3 -
460 97 10,280
16 (119) 8,405
2
3
217 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 หุน กูร ะยะยาว
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 หุนกูระยะยาวเปนหุนกูของไทยคมจํานวน 2 ชุด วงเงิน 7,000 ลานบาท มูลคาหนวย ละ 1,000 ซึ่งเปนหุนกูชนิดระบุชื่อผูถือไมมีหลักประกัน ไมดอยสิทธิและมีผูแทนผูถือหุนกูมีรายละเอียดดังนี้ อัตรา กําหนดชําระ วันที่จําหนาย จํานวนหนวย จํานวนเงิน ดอกเบี้ยตอป จายดอกเบี้ย
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 2553
กําหนดชําระคืนเงินตน
(ลาน) (ลานบาท) 6 พ.ย.2552 6 พ.ย 2552
3.3 3.7
3,300 3,700
(ลานบาท) รอยละ 5.25 รอยละ 6.15
ทุกไตรมาส ทุกไตรมาส
ครบกําหนดไถถอนทั้งจํานวน ในวันที่ 6 พ.ย. 2555 ครบกําหนดไถถอนทั้งจํานวน ในวันที่ 6 พ.ย. 2557
รวมหุนกู หัก ตนทุนในการออกหุนกู สุทธิ
3,300
3,300
3,700 7,000 (10) 6,990
3,700 7,000 (16) 6,984
ไทยคมมีขอจํากัดที่ตองปฏิบัติตาม รวมทั้งการรักษาอัตราสวนทางการเงินที่กําหนดไวในขอกําหนดวาดวยสิทธิและหนาที่ ของผูออกหุนกูและผูถือหุนกู อัตราดอกเบี้ยของเงินกูยืมของกลุมอินทัชและบริษัท แสดงไดดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 รวมเงินกูย มื อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ยลอยตัว
7,048 3,232 10,280
7,049 1,356 8,405
งบการเงินรวม 2554 2553 อัตราดอกเบี้ยถัวเฉลีย่ ถวงน้าํ หนัก เงินกูยืมระยะยาว หุนกู หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน
2.77 5.73 3.87
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 2 2
(รอยละ)
2.63 5.73 4.12
3 3
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 6.38
6.38
218 อิบริ นทัชษท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม เงินกูยืมระยะยาว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 มีกําหนดชําระคืนดังตอไปนี้ ชําระคืนในป
เงินกูยืม
2555 2556 2557 เปนตนไป รวม
งบการเงินรวม หนี้สินตามสัญญา เชาการเงิน
4,620 134 5,494 10,248
7 7 18 32
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินกูยืม หนี้สินตามสัญญา เชาการเงิน -
1 1 2
วงเงินกูยมื ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554ไทยคมมีวงเงินกูยืมระยะสั้นที่ยังไมใชจากธนาคารหลายแหงเปนจํานวนเงินรวม 798 ลานบาท และ 26 ลานดอลลารสหรัฐ (2553: 799 ลานบาท และ 26 ลานดอลลารสหรัฐ)
สัญญาเงินกูร ะยะยาวสําหรับโครงการดาวเทียมไทยคม 6 ไทยคมไดลงนามในสัญญาเงินกูระยะยาวกับธนาคารแหงหนึ่งในประเทศ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2554 จํานวน 137 ลาน ดอลลารสหรัฐ เพื่อสนับสนุนการลงทุนในโครงการดาวเทียมไทยคม 6 สัญญาเงินกูมีระยะเวลา 10 ป เงินกูยืมตามสัญญามี อัตราดอกเบี้ยเงินกูลอยตัวโดยอางอิงกับธนาคาร ณ ตลาดลอนดอน (London Inter-Bank Offered Rate) (“LIBOR”) ทั้งนี้ไทยคมตองปฏิบัติตามเงื่อนไขสัญญาเงินกูในการดํารงอัตราสวนทางการเงินการจายเงินปนผล การค้ําประกัน และการ ขายหรือโอนสินทรัพย
มูลคายุตธิ รรม ราคาตามบัญชีของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา เจาหนี้การคาและเงินกูยืมระยะสั้น มีมูลคาใกลเคียงกับ มูลคายุติธรรม เนื่องจากมีระยะเวลาครบกําหนดที่สั้น มูลคายุติธรรมของเงินกูยืมระยะยาวคํานวณโดยใชวิธีคิดลดกระแสเงิน สดรับ โดยใชอัตราดอกเบี้ยสวนเพิ่มของเงินกูยืมของกลุมอินทัชที่มีลักษณะคลายคลึงกัน ดังนี้
มูลคา ตามบัญชี เงินกูยืมระยะยาว (ไมรวมหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน)
5,628
2554
งบการเงินรวม มูลคา ยุติธรรม
มูลคา ตามบัญชี
(ลานบาท)
5,695
7,522
2553
มูลคา ยุติธรรม 7,573
219 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 18
เจาหนีก้ ารคาและเจาหนีอ้ นื่
หมายเหตุ เจาหนีก้ ารคา กิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลภายนอก รวม
6
งบการเงินรวม 2554 2553
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
6 745 751
12 775 787
-
1 1
เจาหนีอ้ นื่
1,006
947
79
83
รวม
1,757
1,734
79
84
เจาหนี้อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ประกอบดวย งบการเงินรวม 2554 2553 คาใชจายคางจาย รายไดรอตัดบัญชีและเงินรับลวงหนา เจาหนี้อื่น ภาษีคางจาย เงินมัดจํารับจากลูกคา ประมาณการคาประกันความเสียหาย อื่นๆ รวม 19
447 329 42 68 33 36 51 1,006
(ลานบาท)
415 349 47 60 26 14 36 947
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 69 9 1 79
57 5 19 2 83
หนีส้ นิ ผลประโยชนระยะยาวพนักงาน กลุม อิน ทัช ถือปฏิบัติต ามมาตรฐานการบัญ ชี ฉบับ ที่ 19 เรื่อ งผลประโยชนพ นักงาน ซึ่งมีผ ลบัง คับ ใชตั้งแตวัน ที่ 1 มกราคม 2554 ผลกระทบตองบการเงินไดเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3.8 ภาระผูกพันตามงบแสดงฐานะการเงิน มีดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 มูลคาปจจุบันของภาระผูกพัน ที่ไมไดจัดใหมกี องทุน
232
(ลานบาท)
217
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 38
39
220 อินทัษชท บริ ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริษัท ชินปคอร์ ปอเรชั่น จำ�นกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ �หรับ2554 แต่ละปีและ สิ้น2553 สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 นธันสำวาคม การเปลี่ยนแปลงในมูลคาปจจุบันของหนี้สินผลประโยชนระยะยาวพนักงาน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 ณ วันที่ 1 มกราคม ผลประโยชนจายโดยโครงการ ตนทุนบริการปจจุบันและดอกเบี้ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม
217 (17) 32 232
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
204 (14) 27 217
39 (5) 4 38
35 4 39
คาใชจายที่รับรูในงบเฉพาะกําไรขาดทุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553
ตนทุนบริการปจจุบัน 17 17 2 2 ดอกเบี้ยจากภาระผูกพัน 15 10 2 2 รวม 32 27 4 4 ขอสมมุติหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตรประกันภัย สําหรับป 2553-2555 ที่ใช ณ วันสิ้นรอบ ระยะเวลาที่รายงาน มีดังนี้
ประมาณการอัตราคิดลด (เฉลี่ย) ประมาณการอัตราการเพิ่มขึ้นของ เงินเดือนในอนาคต (เฉลี่ย) 20
รอยละ
งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2554 2553 5.0 5.0
งบการเงินเฉพาะกิจการ 31 ธันวาคม 2554 2553 5.0 5.0
รอยละ
6.0
6.0
6.0
6.0
ทุนเรือนหุน สวนเกินมูลคาหุน และใบสําคัญแสดงสิทธิซอื้ หุน สามัญ
ทุนเรือนหุน และสวนเกินมูลคาหุน การเปลี่ยนแปลงทุนเรือนหุนแสดงไดดังนี้ ทุนจด ทะเบียน ณ วันที่ 1 มกราคม 2553 ออกหุนเพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 ออกหุนเพิ่มทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554
ทุนที่ออกและเรียกชําระเต็มมูลคาแลว สวนเกิน จํานวนหุน หุนสามัญ มูลคาหุน
(ลานหุน)
5,000 5,000 5,000
3,201 3,201 5 3,206
3,201 3,201 5 3,206
(ลานบาท) 10,198 10,198 144 10,342
รวม 13,399 13,399 149 13,548
221 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
ใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุน สามัญที่จดั สรรใหแกกรรมการและพนักงานของบริษทั (ESOP) บริษัทไดออกใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญที่จัดสรรใหแกกรรมการและพนักงานของบริษัทและบริษัทยอย 5 โครงการ โดยเปนใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ชนิดระบุชื่อผูถือและโอนเปลี่ยนมือไมได ไมมีราคาเสนอขายและมีอายุไมเกิน 5 ป โดยอัตราการใช สิทธิและราคาการใชสิทธิ มีดังนี้ ราคาการใชสทิ ธิ
จํานวนที่ ออก
วันที่ออก (ลานหนวย) รอยละ* ( บาท/หนวย ) ESOP Grant I 27 มีนาคม 2545 29.00 0.99 Grant II 30 พฤษภาคม 2546 18.08 0.61 Grant III 31 พฤษภาคม 2547 13.66 0.46 Grant IV 31 พฤษภาคม 2548 16.00 0.54 Grant V 31 กรกฎาคม 2549 14.09 0.47 * รอยละของทุนที่ออกและชําระแลว (คิดกอนหุนสามัญปรับลด) ณ วันที่ออก
กําหนดการใชสทิ ธิ เริ่ม สิ้นสุด หมดอายุเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2550 หมดอายุเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2551 หมดอายุเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2552 หมดอายุเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2553 หมดอายุเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2554
การเปลี่ยนแปลงใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญแสดงไดดังนี้ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ณ วันที่ ใชสิทธิ หมดอายุ ณ วันที่ 1 มกราคม 2554 ระหวางป ระหวางป 31 ธันวาคม 2554 ESOP - Grant V - กรรมการ - พนักงาน รวม 21
(ลานหนวย)
2 3 5
(2) (2) (4)
(1) (1)
-
สวนเกินทุนและสํารองตามกฎหมาย
สวนเกินมูลคาหุน ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขายหุนสูงกวามูลคา หุนที่จดทะเบียนไว บริษัทตองนําคาหุนสวนเกินนี้ตั้งเปนทุนสํารอง (“สวนเกินมูลคาหุน”) สวนเกินมูลคาหุนนี้จะนําไปจายเปน เงินปนผลไมได
สํารองตามกฎหมาย ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรทุนสํารอง (“สํารอง ตามกฎหมาย”) อยางนอยรอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสํารองดังกลาวมี จํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน เงินสํารองนี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได
222 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 22
การบริหารจัดการสวนทุน วัตถุประสงคในการบริหารจัดการทุนของบริษัทเพื่อสรางผลตอบแทนที่เหมาะสมตอผูถือหุนและเปนประโยขนตอผูมีสวนได เสียอื่น ตลอดจนเพื่อดํารงไวซึ่งโครงสรางของทุนที่เหมาะสมเพื่อใหมีความสอดคลองและสามารถสนับสนุนแผนการบริหาร เงินลงทุนหรือโอกาสในการลงทุนตางๆ อันจะเปนการสรางมูลคา และเสริมความมั่นคงทางการเงินใหกับกลุมอินทัช
23
กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ องคประกอบของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 แสดงไดดังนี้ 2554 ผลตางจากการแปลงคางบการเงินตางประเทศ การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขาย กําไร(ขาดทุน)ที่เกิดขึ้นระหวางป หัก การปรับปรุงการจัดประเภทใหมสําหรับ (กําไร)ขาดทุนที่รวมอยูในงบเฉพาะกําไรขาดทุน สวนแบงกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของบริษัทรวม ภาษีเงินไดที่เกี่ยวของกับองคประกอบของ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สําหรับป – สุทธิจากภาษีเงินได
2553
(ลานบาท)
135 14
(149) (3)
(13)
1 1
(6)
(9) (1)
137 2554
การเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมของเงินลงทุนเผื่อขาย กําไรที่เกิดขึ้นระหวางป หัก การปรับปรุงการจัดประเภทใหมสําหรับ (กําไร)ขาดทุนที่รวมอยูในงบเฉพาะกําไรขาดทุน ภาษีเงินไดที่เกี่ยวของกับองคประกอบของ กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ สําหรับป – สุทธิจากภาษีเงินได
งบการเงินรวม
งบการเงินเฉพาะกิจการ
(ลานบาท)
14 (13)
(159) 2553
5 1 1
(6)
(1) (1)
223 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ผลกระทบทางภาษีเงินไดที่เกี่ยวของกับแตละองคประกอบของกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น แสดงไดดังนี้
จํานวน กอนภาษี ผลตางจากการแปลงคา งบการเงินตางประเทศ การเปลี่ยนแปลงในมูลคา ยุติธรรมของเงินลงทุน เผื่อขาย สวนแบงกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จอื่นของบริษัทรวม รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่
การเปลี่ยนแปลงในมูลคา ยุติธรรมของเงินลงทุน เผื่อขาย รวมกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่
2554 รายได (คาใชจาย) ภาษี
งบการเงินรวม จํานวน สุทธิหลัง ภาษี
จํานวน กอนภาษี
(ลานบาท)
2553 รายได (คาใชจาย) ภาษี
จํานวน สุทธิหลัง ภาษี
135
-
135
(149)
-
(149)
1
-
1
(9)
-
(9)
1 137
-
1 137
(1) (159)
-
(1) (159)
จํานวน กอนภาษี
2554 รายได (คาใชจาย) ภาษี
1 1
-
งบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวน สุทธิหลัง ภาษี
จํานวน กอนภาษี
1 1
(1) (1)
(ลานบาท)
2553 รายได (คาใชจาย) ภาษี
-
จํานวน สุทธิหลัง ภาษี
(1) (1)
224 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 24
ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน กลุมอินทัชไดจําแนกตามสวนงานเปนธุรกิจหลักไดดังนี้ การสื่อสารโทรคมนาคมไรสาย ในประเทศ
ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ จําหนายโทรศัพทเคลื่อนที่ ใหเชาอุปกรณ และอุปกรณเสริมในประเทศไทย
ธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจ ตางประเทศ
ใหบริการวงจรดาวเทียมและธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง ใหบริการรับสงสัญญาณ ผานดาวเทียม จําหนายและใหบริการที่เกี่ยวเนื่องกับสื่อ ใหบริการ อินเทอรเน็ต และใหบริการระบบโทรศัพทในประเทศลาว และประเทศกัมพูชา
ธุรกิจสื่อและโฆษณา
ใหบริการสถานีวิทยุโทรทัศน (หยุดดําเนินธุรกิจ เนื่องจากถูกบอกเลิก สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ เมื่อเดือนมีนาคม 2550) และใหบริการ ในธุรกิจโฆษณากับบริษัทในกลุมและบุคคลภายนอก
ธุรกิจของกิจการและอื่นๆ
ธุรกิจของกิจการและอื่นๆ เปนธุรกิจเกี่ยวกับกิจกรรมพื้นฐาน เพื่อสงเสริม การพัฒนาและเสริมกําลังทางธุรกิจระหวางกลุมอินทัช กําหนดเปาหมายทางการเงินและการดําเนินงานของกลุมอินทัช รวมทั้งการชวยเหลือสนับสนุนบริษัทในกลุมใหไดมาซึ่งแหลงเงินทุน ภายใตเงื่อนไขที่เหมาะสมและรวมถึงการสนับสนุนดาน เทคโนโลยีสารสนเทศ
225 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงานธุรกิจ
สื่อสาร โทรคมนาคม ไรสาย
งบการเงินรวม – ปรับปรุงใหม สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 ดาวเทียม ธุรกิจของ ปรับปรุง และธุรกิจ สื่อและ กิจการ รายการบัญชี ตางประเทศ โฆษณา และอื่น ๆ ระหวางกัน
กลุมอินทัช
(ลานบาท) รายได สวนแบงกําไรจากเงินลงทุน ในบริษัทรวม ตนทุนขายและบริการ คาใชจายในการขายและบริหาร กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงาน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายไดอื่น กําไร (ขาดทุน) กอนตนทุน ทางการเงินและภาษี ตนทุนทางการเงิน ภาษีเงินได ขาดทุนของสวนไดเสีย ที่ไมมีอํานาจควบคุม กําไร (ขาดทุน) สุทธิ
-
6,700
1,104
266
(103)
7,967
9,042 9,042 -
154 (5,850) (1,474) (470) (90) 107
(1,006) (579) (481) 28
(217) (300) (251) 30
59 44 -
9,196 (7,014) (2,309) 7,840 (90) 165
9,042 -
(453) (495) 136
(453) (1) (4)
(221) (3) (8)
-
7,915 (499) 124
9,042
476 (336)
(458)
(232)
-
476 8,016
17,796 17,796
25,522 243 25,765
1,549 1,549
2,140 2,140
(77) (77)
29,134 18,039 47,173
หนี้สินแยกตามสวนงาน เงินกูยืม หนีส้ นิ รวมของกลุม อินทัช
-
2,932 8,398 11,330
4,960 2 4,962
230 5 235
(73) (73)
8,049 8,405 16,454
คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย คาเสือ่ มราคาและคาตัดจําหนาย
-
1,113 1,473 2,586
5 5
20 8 28
-
1,138 1,481 2,619
ขอมูลอืน่ สินทรัพยแยกตามสวนงาน เงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย สินทรัพยรวมของกลุม อินทัช
226 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
สื่อสาร โทรคมนาคม ไรสาย
งบการเงินรวม สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ดาวเทียม ธุรกิจของ ปรับปรุง และธุรกิจ สื่อและ กิจการ รายการบัญชี ตางประเทศ โฆษณา และอื่น ๆ ระหวางกัน
กลุมอินทัช
(ลานบาท) รายได สวนแบงกําไรจากเงินลงทุน ในบริษัทรวม ตนทุนขายและบริการ คาใชจายในการขายและบริหาร กําไร(ขาดทุน)จากการดําเนินงาน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ กําไรจากการขาย เงินลงทุนบางสวนในบริษัทรวม รายไดอื่น กําไร (ขาดทุน) กอนตนทุน ทางการเงินและภาษี ตนทุนทางการเงิน ภาษีเงินได ขาดทุนของสวนไดเสีย ที่ไมมีอํานาจควบคุม กําไร (ขาดทุน) สุทธิ
-
7,254
1,305
126
(36)
8,649
9,912 9,912 -
157 (5,473) (1,529) 409 (85)
(1,187) (548) (430) -
(95) (305) (274) -
5 30 (1) -
10,069 (6,750) (2,352) 9,616 (85)
-
150
36
7,264 57
-
7,264 243
9,912 -
474 (479) (483)
(394) (1) -
7,047 (2) (4)
(1) -
17,038 (482) (487)
9,912
291 (197)
199 (196)
7,041
(1)
490 16,559
16,707 16,707
26,849 271 27,120
1,692 1,692
10,027 10,027
(19) (19)
38,549 16,978 55,527
หนี้สินแยกตามสวนงาน เงินกูยืม หนีส้ นิ รวมของกลุม อินทัช
-
2,762 10,277 13,039
5,499 5,499
7,674 3 7,677
(14) (14)
15,921 10,280 26,201
คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย คาเสือ่ มราคาและคาตัดจําหนาย
-
1,126 1,483 2,609
4 4
19 8 27
-
1,149 1,491 2,640
ขอมูลอืน่ สินทรัพยแยกตามสวนงาน เงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย สินทรัพยรวมของกลุม อินทัช
227 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับสายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจตางประเทศสามารถแสดงขอมูลจําแนกตามสวนงานธุรกิจเพิ่มเติมแบบยอไดดังนี้
บริการ ธุรกิจ ดาวเทียม
งบการเงินรวม สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 – ปรับปรุงใหม บริการ บริการ ปรับปรุง อินเทอรเน็ต ระบบ รายการ และสื่อ โทรศัพท อื่น ๆ บัญชี
งบการ เงินรวม
(ลานบาท) รายได สวนแบงกําไรในบริษัทรวม ตนทุนและคาใชจายตามสวนงาน ผลการดําเนินงานตามสวนงาน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายไดอื่น ขาดทุนกอนตนทุนทางการเงินและภาษี ตนทุนทางการเงิน ขาดทุนจากการดําเนินงาน ภาษีเงินได ขาดทุนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ขาดทุนสุทธิ
4,627 (4,977) (350)
643 154 (648) 149
1,467 (1,672) (205)
(61) (61)
(37) 34 (3)
6,700 154 (7,324) (470) (90) 107 (453) (495) (948) 136 476 (336)
21,090
272
4,399
23
(262)
25,522 243 25,765
หนี้สินจําแนกตามสวนงาน เงินกูยืม รวมหนีส้ นิ
1,334
123
1,577
6
(108)
2,932 8,398 11,330
คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย รวมคาเสือ่ มราคาและคาตัดจําหนาย
431 1,470 1,901
23 3 26
659 659
ขอมูลอืน่ สินทรัพยจําแนกตามสวนงาน บริษัทรวม รวมสินทรัพย
-
-
1,113 1,473 2,586
228 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
บริการ ธุรกิจ ดาวเทียม
งบการเงินรวม สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริการ บริการ ปรับปรุง อินเทอรเน็ต ระบบ รายการ และสื่อ โทรศัพท อื่น ๆ บัญชี
งบการ เงินรวม
(ลานบาท) รายได สวนแบงกําไรในบริษัทรวม ตนทุนและคาใชจายตามสวนงาน ผลการดําเนินงานตามสวนงาน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ รายไดอื่น ขาดทุนกอนตนทุนทางการเงินและภาษี ตนทุนทางการเงิน ขาดทุนจากการดําเนินงาน ภาษีเงินได ขาดทุนของสวนไดเสียที่ไมมีอํานาจควบคุม ขาดทุนสุทธิ
5,738 (4,993) 745
393 157 (438) 112
1,182 (1,589) (407)
(51) (51)
(59) 69 10
7,254 157 (7,002) 409 (85) 150 474 (479) (5) (483) 291 (197)
22,831
265
3,997
1
(245)
26,849 271 27,120
หนี้สินจําแนกตามสวนงาน เงินกูยืม รวมหนีส้ นิ
1,674
140
1,014
1
(67)
2,762 10,277 13,039
คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย รวมคาเสือ่ มราคาและคาตัดจําหนาย
413 1,481 1,894
15 2 17
698 698
ขอมูลอืน่ สินทรัพยจําแนกตามสวนงาน บริษัทรวม รวมสินทรัพย
-
-
1,126 1,483 2,609
229 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงานภูมิศาสตร
สํา หรับรายไดและผลการดํา เนิ นงานรวมจากสวนงานในงบการเงินรวมสามารถแสดงขอมูลจําแนกตามสวนงานทาง ภูมิศาสตรเพิ่มเติมแบบยอสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ไดดังนี้
2554
รายได
2553 ปรับปรุงใหม
ผลการดําเนินงาน ตามสวนงาน 2554 2553 ปรับปรุงใหม
สินทรัพย * 2554 2553
(ลานบาท)
ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา ประเทศลาว ประเทศออสเตรเลีย ประเทศจีน ประเทศอินเดีย ประเทศญี่ปุน ประเทศอื่นๆ
14,120 13,085 10,525 9,440 16,062 15,703 800 1,014 (408) (318) 2,095 2,420 616 672 74 156 1,600 1,553 1,088 1,050 346 106 222 190 15 31 (474) (459) 41 94 304 148 (176) (324) 227 242 877 315 246 (37) 158 133 898 848 (517) (724) 308 413 18,718 17,163 9,616 7,840 20,713 20,748 * ประกอบดวย อาคารและอุปกรณ อาคารและอุปกรณภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ และสินทรัพยไมมีตัวตน
25
รายไดอนื่ งบการเงินรวม 2554 2553 รายไดดอกเบี้ย กําไรจากการจําหนายอุปกรณ รายไดอื่นๆ รวม
135 30 79 244
(ลานบาท)
88 6 71 165
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 54 1 55
28 28
230 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 26
คาใชจา ยตามลักษณะ คาใชจายตามลักษณะที่รวมอยูในตนทุนการขายและการใหบริการ คาใชจายในการขาย และคาใชจายในการบริหาร สามารถ นํามาแยกตามลักษณะไดดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 คาเสื่อมราคา คาตัดจําหนาย คาใชจายพนักงาน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ คาตัดจําหนายคาใชจายในการจัดหาเงินกูยืม
27
1,149 1,491 1,302 85 6
(ลานบาท)
1,138 1,481 1,283 90 6
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 11 3 147 -
11 3 158 -
กองทุนสํารองเลีย้ งชีพพนักงาน กลุมอินทัชไดจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงานตามความในพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ 2530 และเขาเปน กองทุนจดทะเบียนโดยไดรับอนุมัติจากกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2533 และไดจดทะเบียนแกไขชื่อของกองทุน เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2536 ตามระเบียบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน พนักงานตองจายเงินสะสมเขากองทุนในอัตรา รอยละ 3 - 7 ของเงินเดือน และกลุมอินทัชจายสมทบเขากองทุนนี้ตามอัตราที่ขึ้นอยูกับอายุงานของพนักงาน กลุมอินทัชได แตงตั้งผูจัดการกองทุนรับอนุญาตแหงหนึ่ง เพื่อบริหารกองทุนใหเปนไปตามขอกําหนดของกฎกระทรวงฉบับที่ 2 (2532) ออกตามความในพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ 2530 กลุมอินทัชจายสมทบเขากองทุนสํารองเลี้ยงชีพ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวน 33 ลานบาท ในงบการเงิน รวม (2553 : 28 ลานบาท) และจํานวน 5 ลานบาท ในงบการเงินเฉพาะกิจการ (2553 : 5 ลานบาท)
28
ภาษีเงินได การกระทบยอดภาษีเงินไดสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม มีดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 ปรับปรุงใหม ภาษีเงินไดในปปจ จุบัน (รายได)คาใชจายภาษีเงินได
180 307 487
(ลานบาท)
143 (267) (124)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 -
-
231 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
การกระทบยอดระหวางคาใชจายภาษีเงินไดกับผลคูณของกําไรทางบัญชีกับอัตราภาษีที่ใชสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 มีรายละเอียดดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 ปรับปรุงใหม กําไรกอนภาษี อัตราภาษี ผลคูณของกําไรทางบัญชีกับอัตราภาษีที่ใช สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง อัตราภาษีเงินไดนิติบุคคล ผลกระทบจากกําไรระหวางกิจการที่เกี่ยวของกัน ผลกระทบทางภาษีในตางประเทศเนื่องจาก เกณฑการคํานวณภาษีที่แตกตางกัน ขาดทุนทางภาษีในปปจจุบันที่ไมไดรับรูเปน สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ขาดทุนทางภาษีในปกอนที่ไมไดรบั รูเปน สินทรัพยภาษีเงินไดรอตัดบัญชี ผลกระทบจากรายไดที่ไดรับยกเวนภาษี-เงินปนผล ผลกระทบจากคาใชจายที่ไมสามารถหักภาษีได และรายไดและคาใชจายที่รับรูตางงวดกัน ระหวางบัญชีและภาษี ภาษีเงินไดทบี่ นั ทึก 29
(ลานบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ 2554 2553 ปรับปรุงใหม
16,556 รอยละ 30 4,967 (3,021)
7,416 รอยละ 30 2,225 (2,759)
17,530 รอยละ 30 5,259 -
21,651 รอยละ 30 6,495 -
351 (5)
(62)
-
-
(6)
(27)
-
-
198
241
71
77
(2,187) -
-
(2,250) (3,080)
(6,572)
190 487
258 (124)
-
-
สิทธิประโยชนตามบัตรสงเสริมการลงทุน บริษัทยอยแหงหนึ่งไดรับการสงเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนภายใตพระราชบัญญัติสงเสริมการ ลงทุน 2520 สําหรับกิจการบริการโทรคมนาคมเฉพาะรายไดในสวนที่ไดรับจากตางประเทศของดาวเทียมไทยคม 3 สิทธิ ประโยชนที่สําคัญ ไดแกการไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการ สงเสริมเปนระยะเวลา 8 ป นับแต วันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการนั้น โดยเริ่มตั้งแตเดือนธันวาคม 2540 ทั้งนี้บริษัท ยอยตองปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและขอกําหนดตางๆ สําหรับธุรกิจที่รับการสงเสริม เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2546 บริษัทยอยไดรับการสงเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการสงเสริมการลงทุนภายใต พระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน 2520 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน (ฉบับที่ 3) 2544 สําหรับ กิจการบริการโทรคมนาคมเฉพาะรายไดในสวนที่ไดรับจากตางประเทศของโครงการดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร) สิทธิ ประโยชนที่สําคัญไดแกการไดรับยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับกําไรสุทธิที่ไดจากการประกอบกิจการที่ได รับการ สงเสริมเปนระยะเวลา 8 ป นับแตวันที่เริ่มมีรายไดจากการประกอบกิจการที่ไดรับการสงเสริมนั้น ทั้งนี้บริษัทยอยตองปฏิบัติ ตามเงื่อนไขและขอกําหนดตางๆ สําหรับธุรกิจที่ไดรับการสงเสริมในป 2554 บริษัทยอยมีรายไดในสวนที่ไดรับสิทธิประโยชน จํานวน 1,040 ลานบาท (2553 : 538 ลานบาท)
232 อิบริ นทัชษท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 30
กําไรตอหุน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรสําหรับปที่เปนของหุนสามัญดวยจํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักที่ ชําระแลวและออกจําหนายแลวระหวางป สําหรับกําไรตอหุนปรับลด จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยที่ออกและชําระแลวไดปรับปรุงดวยจํานวนหุนสามัญเทียบเทาปรับลด ซึ่งคํานวณดวยจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่บริษัทตองออกเพื่อแปลงหุนสามัญเทียบเทาปรับลดทั้งสิ้นใหเปน หุนสามัญ โดยสมมติวาบริษัทจะนําเงินที่ไดรับจากการใชสิทธิไปซื้อหุนสามัญจากบุคคลภายนอกคืนมาดวยมูลคายุติธรรม เพื่อนําหุนสามัญดังกลาวมาใชในการแปลงหุนในการนี้ โดยหุนสามัญเทียบเทาปรับลดไดแกใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญ สวนที่ราคาตามสิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ดังกลาวมีมูลคาต่ํากวาราคาตลาดเฉลี่ยของหุนสามัญในระหวางปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ใบสําคัญแสดงสิทธิซื้อหุนสามัญที่ออกใหกรรมการและพนักงาน (ESOP) ของบริษัทยอยและบริษัทรวมไมมีผลอยางเปน สาระสําคัญตอการคํานวณกําไรตอหุนปรับลด กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานและกําไรตอหุนปรับลดสามารถแสดงไดดังนี้ งบการเงินรวม สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม กําไรสุทธิ จํานวนหุนถัวเฉลี่ย สวนที่เปนของบริษัทใหญ ถวงน้ําหนัก 2554 2553 2554 2553 ปรับปรุงใหม กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน ผลกระทบของหุนสามัญ เทียบเทาปรับลด กําไรตอหุน ปรับลด
(ลานบาท)
(ลานหุน)
16,559
8,016
3,204
3,201
5.17
16,559
8,016
3,204
3,201
5.17
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม กําไรสุทธิ จํานวนหุนถัวเฉลี่ย สวนที่เปนของบริษัทใหญ ถวงน้ําหนัก 2554 2553 2554 2553 ปรับปรุงใหม กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน ผลกระทบของหุนสามัญ เทียบเทาปรับลด กําไรตอหุน ปรับลด
กําไรตอหุน 2554 2553 ปรับปรุงใหม
(ลานบาท)
(ลานหุน)
(บาท)
2.50 2.50
กําไรตอหุน 2554 2553 ปรับปรุงใหม
17,530
21,651
3,204
3,201
5.47
17,530
21,651
3,204
3,201
5.47
(บาท)
6.76 6.76
233 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 31
เงินปนผล ที่ประชุมสามัญผูถือหุนของบริษัทและที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท มีมติอนุมัติใหจายเงินปนผลและเงินปนผลระหวางกาล ดังนี้
มติที่ประชุมสามัญผูถือหุน มติที่ประชุมคณะกรรมการ มติที่ประชุมคณะกรรมการ 32
วันทีป่ ระชุม
สําหรับป ผลการดําเนินงาน
อัตราการ จายเงินปนผล
เงินปนผล รวม
(บาท/หุน )
(ลานบาท)
1 เม.ย. 2554 11 ส.ค. 2554 26 ธ.ค. 2554
1 ม.ค. – 31 มี.ค. 2554 1 เม.ย. – 10 ส.ค. 2554 11 ส.ค. – 25 ธ.ค. 2554
1.53 1.63 2.34
4,899 5,226 7,503
เครื่องมือทางการเงิน กลุมอินทัชตองเผชิญกับความเสี่ยงทางการเงินที่สําคัญไดแก ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยและความเสี่ยงจากอัตรา แลกเปลี่ยน กลุมอินทัชไดกูยืมเงินเพื่อใชในการดําเนินงานซึ่งตองจายอัตราดอกเบี้ยทั้งแบบคงที่และแบบลอยตัว รวมทั้งมี รายการขาย รายการซื้อและการกูยืมบางสวน ที่เปนเงินตราตางประเทศ ดังนั้นฝายบริหารของกลุมอินทัชจึงทํารายการตรา สารอนุพันธเพื่อปองกันความเสี่ยงที่อาจเกิดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยนดังกลาว กลุมอินทัชใชตราสารอนุพันธเพื่อลดความไมแนนอนของกระแสเงินสดในอนาคตที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตรา ดอกเบี้ยและอัตราแลกเปลี่ยน และเพื่อชวยในการบริหารสภาพคลองของเงินสด กลยุทธที่ใชในการปองกันความเสี่ยงไดแก ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยไดปองกันโดยการทําสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยกับธนาคารที่ใหกูยืม สวนความเสี่ยงจาก อัตราแลกเปลี่ยนที่จะเกิดขึ้นจากการซื้อขายในอนาคตไดปองกันโดยการทําสัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาและสิทธิ ในการซื้อขายอัตราแลกเปลี่ยนลวงหนา ทั้งนี้เพื่อปองกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนในอนาคตของรายการขาย รายการซื้อ และการกูยืมและการชําระคืนเงินกู การตัดสินใจที่จะรับระดับความเสี่ยงขึ้นอยูกับนโยบายของกลุมอินทัช ซึ่งกําหนดระดับความ เสี่ยงที่สามารถรองรับไดตามประเภทของรายการและคูคา กลุมอินทัชไมอนุญาตใหมีการใชเครื่องมือทางการเงินที่มีลักษณะเปนทางการคาเพื่อเก็งกําไร การทําตราสารอนุพันธทุก ประเภทตองไดรับการอนุมัติจากผูบริหารกอนทําสัญญา ผูบริหารฝา ยการเงิน มีหนาที่รับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยงจากเงินตราตางประเทศและอัตราดอกเบี้ย รายงาน ผูบริหารประกอบดวย รายละเอียดของตนทุน และราคาตลาดของเครื่องมือทางการเงินทั้งหมด รวมถึงสัญญาซื้อขายเงินตรา ตางประเทศลวงหนา และสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศและอัตราดอกเบี้ยที่ยังคงคางอยู ในสวนของการลงทุน กลุม อินทัชไดมีการกําหนดนโยบายในการลงทุนระยะสั้น ซึ่งมีการกําหนดความเสี่ยงในระดับที่สามารถรับไดตามประเภทของ สถาบันการเงิน
234 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 กลุมอินทัชมีสินทรัพยและหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศภายหลังจากการทํา สัญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนาสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ และอัตราดอกเบี้ย และสัญญาสิทธิเลือก ซื้อขายเงินตราตางประเทศ ดังนี้
เงินตรา ตางประเทศ
2554
(หนวย : ลาน)
งบการเงินรวม
(ลานบาท)
เงินตรา ตางประเทศ
2553
(หนวย : ลาน)
(ลานบาท)
สินทรัพย ดอลลารสหรัฐ ดอลลารออสเตรเลีย กีบ รูปอินเดีย เยน รูเปย รวม
57 23 24,703 445 78 43
1,784 741 96 238 32 141 3,032
28 19 20,733 444 52 93
853 564 77 277 19 1,790
หนีส้ นิ ดอลลารสหรัฐ ดอลลารออสเตรเลีย กีบ ดอลลารสิงคโปร รูปอินเดีย เยน รูเปย รวม
170 10 153,749 45 90
5,417 328 615 29 337 6,726
90 7 123,422 46 2 45
2,714 219 469 3 33 1 3,439
สินทรัพยที่เปนเงินตราตางประเทศสวนใหญเปน เงินฝากธนาคาร และลูกหนี้การคา สวนหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศสวน ใหญเปนเจาหนี้การคา เจาหนี้-อุปกรณ และเงินกูยืม
ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อของกลุมอินทัชมีลักษณะที่ไมมีการกระจุกตัวอยางมีนัยสําคัญ กลุมอินทัชมีนโยบายที่จะทําให แนใจไดวา กลุมอินทัชจะขายสินคาและใหบริการแกลูกคาที่มีประวัติสินเชื่อที่อยูในระดับที่มีความเหมาะสม คูสัญญาใน อนุพันธทางการเงินและรายการเงินสดเปนสถาบันการเงินที่มีคุณภาพและมีความนาเชื่อถืออยูในระดับสูง
ความเสี่ยงจากสภาพคลอง กลุมอินทัช มีการควบคุมความเสี่ยงจากการขาดสภาพคลองโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดให เพียงพอตอการดําเนินงานของกลุมอินทัช รวมทั้งจัดหาวงเงินสินเชื่อระยะสั้นจากธนาคารตางๆ เพื่อสํารองในกรณีที่มี
สินทรัพยที่เปนเงินตราตางประเทศสวนใหญเปน เงินฝากธนาคาร และลูกหนี้การคา สวนหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศสวน ใหญเปนเจาหนี้การคา เจาหนี้-อุปกรณ และเงินกูยืม
ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ
235 รายงาน ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อของกลุมอินทัชมีลักษณะที่ไมมีการกระจุกตัวอยางมีนัยสําคัญ กลุมอินทัชมีนโยบายที่จะทํประจำ าให�ปี 2554 แนใจไดวา กลุมอินทัชจะขายสินคาและใหบริการแกลูกคาที่มีประวัติสินเชื่อที่อยูในระดับที่มีความเหมาะสม คูสัญญาใน
อนุพันธทางการเงินและรายการเงินสดเปนสถาบันการเงินที่มีคุณภาพและมีความนาเชื่อถืออยูในระดับสูง
ความเสี่ยงจากสภาพคลอง บริษทั ชิกลุ น คอร จํากัด (มหาชน) ษทั ยอย มอินปทัอเรชั ช มีกน่ ารควบคุ มความเสีและบริ ่ยงจากการขาดสภาพคล องโดยการรักษาระดับของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดให ป ระกอบงบการเงิ น หมายเหตุ เพียงพอตอการดําเนินงานของกลุมอินทัช รวมทั้งจัดหาวงเงินสินเชื่อระยะสั้นจากธนาคารตางๆ เพื่อสํารองในกรณีที่มี สําหรับแต ละปสานิ้ เปสุนดวัและเพื นที่ 31่อลดผลกระทบจากความผั ธันวาคม 2554 และ 2553นผวนของกระแสเงินสด ความจํ
ความเสี่ยงจากมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน มูลคายุติธรรม หมายถึง จํานวนเงินที่ผูซื้อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพยหรือชําระหนี้สินกัน ในขณะที่ทั้งสองฝายมี ความรอบรูและเต็มใจในการแลกเปลี่ยนกัน และสามารถตอรองราคากันไดอยางเปนอิสระในลักษณะของผูที่ไมมีความ เกี่ยวของกัน ราคาตามบัญชีของเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เงินให กูยืมระยะสั้นและเงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของกัน เจาหนี้การคา เจาหนี้อื่น - อุปกรณ เจาหนี้กิจการที่เกี่ยวของกัน เงิน กูยืมระยะสั้น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น และหนี้สินหมุนเวียนอื่น มีมูลคาใกลเคียงกับมูลคายุติธรรมเนื่องจากมีระยะเวลาครบ กําหนดที่สั้น มูลคายุติธรรมของเงินกูยืมระยะยาวไดแสดงไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 17 33
ภาระผูกพันและหนีส้ นิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ในภายหนา ก)
ภาระผูกพันจากสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกอนถูกบอกเลิกสัญญาดําเนินการของบริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) (“ไอทีวี”) เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2550 ไอทีวีไดรับหนังสือแจงบอกเลิกสัญญาอนุญาตใหดําเนินการจาก สปน. ซึ่งการแจงบอกเลิก สัญญานี้เปนผลใหมีขอพิพาทเกิดขึ้นขณะนี้อยูระหวางดําเนินคดี ตางๆ ดังนี้ 1.
กรณีที่ไอทีวีเปนโจทก ฟอง สปน. (จําเลย) ในคดีขอพิพาทสถาบันอนุญาโตตุลาการที่ 46/2550 กรณีที่ สปน. ฯ บอกเลิกสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ โดยมิชอบดวยขอกฎหมายและขอสัญญาและปฏิบัติหนาที่โดยไมชอบ ทําใหไอทีวีไดรับความเสียหายรวมทั้งเปนโจทก (ผูเสนอขอพิพาท) ตอสถาบันอนุญาโตตุลาการคดีที่ 1/2550 เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2550 โดยไอทีวีไดรองขอใหคณะอนุญาโตตุลาการวินิจฉัยชี้ขาดเรื่องภาระการชําระคาปรับ จากการปรับผังรายการและคาดอกเบี้ยที่ สปน. เรียกรองใหชําระจํานวนกวาแสนลานบาท ปจจุบันขอพิพาททั้ง 2 คดีดังกลาวอยูระหวางการดําเนินกระบวนพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ
2.
กรณีที่ไอทีวีเปนจําเลย โดย สปน. เปนโจทกฟองเรียกรองใหไอทีวีชําระหนี้คาปรับคาอนุญาตใหดําเนินการ ส ว นต า ง ค า ดอกเบี้ ย และมู ล ค า ทรั พ ย สิ น ที่ ไ อที วี ส ง มอบไม ค รบรวมกว า แสนล า นบาทในคดี ดํ า เลขที่ 640/2550 ซึ่งตอมาเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2550 ศาลปกครองสูงสุดไดมีคําสั่งใหจําหนายคดีที่อางถึงเพื่อให คูสัญญาไปดําเนินการทางอนุญาโตตุลาการในคดีขอพิพาทเลขที่ 1/2550 และ 46/2550 ตอไป
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับผลของคําพิพากษาที่เกิดขึ้นจริงซึ่งอาจแตกตางไปจากจํานวนที่ไดประมาณไวในงบการเงินอันอาจมี ผลกระทบตอจํานวนเงินที่เกี่ยวกับรายได คาใชจาย สินทรัพย และหนี้สิน และการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสินทรัพยและ ภาระหนี้สินที่อาจเปลี่ยนแปลงได
236 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ข)
ภาระผูกพันตามหนังสือสัญญาผูถ ือหุน กลุมอินทัชไดลงนามสัญญาผูถือหุนหรือสัญญาหลักกับผูรวมทุนและกับหนวยงานของรัฐ และหนวยงานภายใตการ กํากับดูแลของรัฐบาลไทย และรัฐบาลตางประเทศดังนี้ Singapore Telecommunications Limited (“Singtel”) ตามสัญญาผูถือหุนที่บริษัททํากับ Singtel เกี่ยวของกับสิทธิในการมีสวนรวมในการบริหารและควบคุม เอไอเอส สัญญาดังกลาวไดกลาวถึงการแกปญหาในกรณีที่มีความขัดแยงระหวางผูถือหุน โดยในกรณีที่เปนการโตแยงในเรื่อง ที่มีความสําคัญและไมสามารถตกลงกันได ใหผูถือหุนฝายที่ตองการขายเสนอขายหุนใหแกผูถือหุนอีกฝายหนึ่งเพื่อ ทําการซื้อ หากผูซื้อไมตองการซื้อหุน เอไอเอส ของผูเสนอขายแลว ฝายผูเสนอขายตองซื้อหุนของอีกฝายหนึ่ง ทั้งนี้ ณ ปจจุบันยังไมมีเหตุการณดังกลาวเกิดขึ้น รัฐบาลของประเทศลาว Lao Telecommunications Company Limited (“แอลทีซี”) เปนกิจการที่ควบคุมรวมกันทางออมของไทยคมได กอตั้งขึ้นตามสัญญารวมทุนลงวันที่ 8 ตุลาคม 2539 ระหวางรัฐบาลของประเทศลาว และบริษัท ชินวัตร คอมพิวเตอร แอนด คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (มหาชน) (ชื่อเดิมของบริษัท) ภายใตสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ดังกลาว แอลทีซี ไดรับสิทธิในการใหบริการทางดานโทรคมนาคมในประเทศลาว เปนระยะเวลา 25 ป และไดรับสิทธิ ในการใหบริการทางดานโทรศัพทพื้นฐาน โทรศัพทเคลื่อนที่ บริการโทรศัพทระหวางประเทศ อินเทอรเน็ตและ โทรศัพทติดตามตัว ปจจุบัน เชน ซึ่งเปนกิจการที่ควบคุมรวมกันของไทยคมที่ไทยคมถือหุนรอยละ 51 เปนผูถือหุน ในอัตรารอยละ 49 ของทุนจดทะเบียนของ แอลทีซี ตามสัญญารวมทุนเมื่อครบกําหนด 25 ป (2564) ไทยคมจะตอง โอนหุนของ แอลทีซี ที่ถืออยูทั้งหมดใหแกรัฐบาลของประเทศลาวโดยไมคิดคาตอบแทน ตามขอตกลงเบื้องตนของ สัญญารวมทุน แอลทีซี ตองลงทุนในโครงการที่ไดรับสิทธิตามที่ระบุในสัญญารวมทุนขางตนในประเทศลาวเปน จํานวนเงินไมต่ํากวา 400 ลานดอลลารสหรัฐ ภายในระยะเวลา 25 ป โดยกําหนดการลงทุนเปนงวดตามที่กําหนดใน สัญญารวมทุนขางตน ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2554 แอลทีซี มียอดเงินที่จะตองลงทุนเพิ่มอีกประมาณ 67 ลา น ดอลลารสหรัฐ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553: 81 ลานดอลลารสหรัฐ)
ค)
ภาระผูกพันรายจายฝายทุน กลุมอินทัชมีรายจายฝายทุนที่ถือเปนภาระผูกพัน แตยังไมไดรับรูในงบการเงินรวม (บริษัท : ไมมี) ดังตอไปนี้ งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 2554 2553 สกุลเงิน (หลักลาน) โครงการไทยคม 4 ดอลลารสหรัฐ 26 โครงการไทยคม 6 ดอลลารสหรัฐ 73 โครงการ 120 องศาตะวันออก ดอลลารสหรัฐ 171 ระบบเครือขายโทรศัพท ดอลลารสหรัฐ 8 12 รวม ดอลลารสหรัฐ 252 12 รวมเปนเงินบาททั้งสิ้น 8,022 381
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ง)
237 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ภาระผูกพันจากสิทธิการซื้อหุน คืนของไทยคม เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม 2546 ไทยคมและ Codespace Inc. ไดลงนามในสัญญาบันทึกความจํา (Memorandum of Agreement) โดยใหสิทธิแก Codespace Inc. ในการจําหนายหุนของไอพีสตาร คืนแกไทยคมจํานวน 2.2 ลานหุน โดยจะตองแจงการเสนอขายหุนดังกลาวใหแกไทยคม เปนรายแรก ในกรณีราคาเสนอขายตอหุนสูงกวามูลคาที่ มากกวาระหวาง 1 ดอลลารสหรัฐ หรือมูลคาตลาดยุติธรรม ณ วันเสนอขายไทยคมมีสิทธิปฏิเสธการซื้อหุน ดังกลาว และในกรณีราคาเสนอขายตอหุนเทากับมูลคาที่มากกวาระหวาง 1 ดอลลารสหรัฐ หรือมูลคาตลาด ยุติธรรม ณ วันเสนอขายไทยคมจะตองรับซื้อหุนดังกลาวจาก Codespace Inc.ไทยคมเชื่อวา Codespace Inc.จะ ไมจําหนายหุนดังกลาวคืนแกไทยคม เนื่องจากผลจากการศึกษาความเปนไปไดทางการเงินของไทยคม พบวามูลคา หุนของไอพีสตารจะสูงกวา 1 ดอลลารสหรัฐ ดังนั้นกลุมอินทัชจึงไมบันทึกหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการซื้อหุนคืนใน งบการเงินนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวนหุนภายใตสิทธิการซื้อหุนคืนคงเหลือ 0.08 ลานหุน (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 : 0.12 ลานหุน)
จ)
ภาระผูกพันจากสัญญาอนุญาตใหดาํ เนินการ บริษัทยอยและกิจการที่ควบคุมรวมกันบางแหงไดรับอนุญาตใหดําเนินการจากหนวยงานของรัฐ และหนวยงาน ภายใตการกํากับดูแลของรัฐบาลทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อดําเนินธุรกิจการบริการทางดานดาวเทียม การ ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับวิทยุ โทรทัศน บริการดานอินเทอรเน็ต และทางดานโทรศัพทเคลื่อนที่ภายใตเงื่อนไขของ สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ บริษัทเหลานี้มีภาระผูกพันตอหนวยงานของรัฐและหนวยงานภายใตการกํากับดูแล ของรัฐบาลทางดานตางๆ รวมทั้ง ภาระผูกพันตอการจัดซื้อ ติดตั้ง และบํารุงรักษาอุปกรณของระบบงาน และภาระ ผูกพันที่จะตองจายคาธรรมเนียมรายปตอหนวยงานของรัฐ และหนวยงานภายใตการกํากับดูแลของรัฐบาล ที่ เกี่ยวของโดยคํานวณจากสัดสวนรอยละของรายได หรือเงินขั้นต่ําที่กําหนดไวในแตละสัญญาแลวแตจํานวนใดจะสูง กวา กลุมอินทัชจะรับรูภาระเหลานี้ในงวดบัญชีที่เกิดคาใชจายดังกลาวขึ้น ไทยคม ไทยคมไดรับสิทธิจากกระทรวงคมนาคมใหดําเนินการโครงการดาวเทียมสื่อสารโดยใหไทยคมมีสิทธิในการบริหาร กิจการและการใหบริการวงจรดาวเทียมเพื่อการสื่อสารทั้งภายในและตางประเทศ และมีสิทธิเก็บคาใชวงจรดาวเทียม จากผูใชวงจรดาวเทียมเปนระยะเวลา 30 ป ตามสัญญาลงวันที่ 11 กันยายน 2534 ซึ่งไดมีการแกไข ลงวันที่ 22 มีนาคม 2535 ซึ่งปจจุบันสัญญาดังกลาวอยูภายใตการดูแลของกระทรวงเทคโนโลยีฯ ภายใตสัญญาดังกลาวขางตนไทยคมจะตองจายผลประโยชนตอบแทนแกกระทรวงเทคโนโลยีฯ ในอัตรารอยละของ รายได คาบริการที่ไทยคมไดรับหรืออยางนอยเทากับเงินขั้นต่ําที่ระบุไวในสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ตนทุน คาอนุญาตใหดําเนินการขั้นต่ําคงเหลือ 731 ลานบาท (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 : 806 ลานบาท)นอกจากนี้ ภายใตสัญญาดังกลาวขางตนไทยคมยอมใหดาวเทียมทุกดวงและสถานีควบคุมดาวเทียมรวมทั้งอุปกรณตางๆ ที่ จัดตั้งขึ้นตามสัญญาฉบับนี้ตกเปนกรรมสิทธิ์ของกระทรวงเทคโนโลยีฯ เมื่อไดดําเนินการกอสรางและติดตั้ง เรียบรอยแลว Mfone Company Limited (“เอ็มโฟน”) เอ็มโฟนเปนกิจการที่ควบคุมรวมกันทางออมของไทยคมที่ตั้งอยูในประเทศกัมพูชาไดรับอนุญาตใหดําเนินการจาก กระทรวงไปรษณียและคมนาคมของประเทศกัมพูชา ใหดําเนินธุรกิจใหบริการระบบโทรศัพทภายในประเทศกัมพูชา ภายใตสัญญาวันที่ 4 มีนาคม 2536 และสัญญาฉบับแกไขฉบับ ลงวันที่ 4 มีนาคม 2540 เปนระยะเวลา 35 ป เมื่อ ครบอายุอนุญาตใหดําเนินการในป 2571 เอ็มโฟน ตองโอนสินทรัพยทั้งหมดใหแกรัฐบาลของประเทศกัมพูชา (หมาย เหตุ 13)
238 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ฉ)
ภาระผูกพันตามสัญญาเชาดําเนินงาน - กรณีที่กลุมอินทัชเปนผูเชา ณ วันที่ 31 ธันวาคม จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายในอนาคตตามสัญญาเชาดําเนินงานที่ไมสามารถยกเลิกได (บริษัท : ไมมี) ดังนี้ งบการเงินรวม 2554 2553 ไมเกิน 1 ป เกินกวา 1 ปแตไมเกิน 5 ป เกินกวา 5 ป รวม
ช)
(ลานบาท)
248 460 167 875
272 376 89 737
ภาระผูกพันจากสัญญา “Financing and Project Agreement” แอลทีซี ซึ่งเปนกิจการที่ควบคุมรวมกันทางออมของไทยคม ไดลงนามในสัญญา “Financing and Project Agreement” รวมกับรัฐบาลของประเทศลาว และองคการแหงหนึ่งในประเทศเยอรมัน (KfW, Frankfurt am Main) เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2547 สําหรับการจัดซื้อ ติดตั้ง และ คาที่ปรึกษาของโครงการเครือขายโทรศัพททางไกลชนบท ระยะที่ 6 โดยมีมูลคาโครงการรวมไมเกิน 6.5 ลานยูโร (ประมาณ 267 ลานบาท) โดย แอลทีซี จะตองรับโอนสินทรัพย ดังกลาวเมื่อโครงการแลวเสร็จในรูปแบบของการกูยืมเงินจากรัฐบาลของประเทศลาว ในราคารอยละ 30 ของมูลคา อุปกรณโครงการซึ่งไมรวมคาที่ปรึกษาของโครงการ โดยมีอัตราดอกเบี้ยของเงินกู 4% ตอป แอลทีซี ไดบันทึก สินทรัพยโครงการและเงินกูยืมที่เกี่ยวกับโครงการดังกลาวเปนจํานวนเงิน 70 ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 แอลทีซี ไดจายชําระคืนเงินกูยืมสําหรับ เฟส 4 และ 5 เปนจํานวนเงิน 22 ลานบาท
34
เหตุการณสาํ คัญ ขอพิพาททางการคา และคดีความทีส่ าํ คัญของกลุม อินทัช
34.1 คําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ตามที่ไดมีคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2553 ซึ่งมี สวนที่เกี่ยวของกับบริษัทและบริษัทในกลุมอยูหลายประการนั้น บริษัทเห็นวาผลของคําพิพากษาฎีกานั้นจํากัดอยูแตเฉพาะ ในประเด็นที่วาทรัพยสินบางสวนของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองเปนทรัพยสินที่ไดมาโดยไมสมควร สืบเนื่องมาจากการ ปฏิบัติหนาที่หรือใชอํานาจในตําแหนงหนาที่เทานั้น มิไดมีผลใหบริษัทและบริษัทในกลุมตองไปดําเนินการใดๆ เนื่องจากมิใช คูความในคดี บริษัทและบริษัทในกลุมไดปฏิบัติการทุกอยางใหเปนไปตามกฎหมายและตามสัญญาดวยความสุจริตตลอดมา ซึ่งบริษัทและบริษัทในกลุมมีสิทธิโดยชอบตามกฎหมายและสัญญาที่จะพิสูจนขอเท็จจริงและความสุจริตของตนตอไปในการ ดําเนินการใดๆ ของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ ซึ่งจะตองเปนไปตามกระบวนการทางกฎหมายและหลักการยุติธรรม
34.2 คดีความทางกฎหมายขอพิพาทระหวาง ไอทีวีกับ สปน. เกี่ยวกับสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ไอทีวีมีคดีความทางกฎหมายจากการประกอบกิจการสถานีโทรทัศน โดยเกิดขึ้นในชวงกอนถูกบอกเลิกสัญญาอนุญาตให ดําเนินการ อันไดแก คดีที่เกี่ยวกับการนําเสนอขาวเเละคดีการคา ตามความเห็นของกรรมการหลังจากที่ไดรับคําปรึกษา ดานกฎหมายอยางเหมาะสมผลของคดีความดังกลาวจะไมทําใหไอทีวีเกิดผลเสียหายอยางเปนสาระสําคัญ และไอทีวีไมได บันทึกตั้งสํารองไวในงบการเงินนี้สําหรับคดีความดังกลาว
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
239 รายงาน ประจำ�ปี 2554
1) ความคืบหนากรณีพิพาทระหวางไอทีวีกับ สปน. จนถึงปจจุบันไอทีวียื่นขอพิพาทตอคณะอนุญาโตตุลาการ 2 คดี ดังนี้ 1. คดีหมายเลขดําที่ 1/2550ไอทีวีไดยื่นขอพิพาทเรื่องคาปรับจากการปรับผังรายการและดอกเบี้ยในสัญญาอนุญาตให ดําเนินการสวนตางตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ 2. คดีหมายเลขดําที่ 46/2550ไอทีวียื่นเสนอขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการใหคณะอนุญาโตตุลาการมีคําวินิจฉัย ชี้ขาดกรณี สปน. ใชสิทธิบอกเลิกสัญญาอนุญาตใหดําเนินการไมชอบดวยกฎหมายและขอสัญญาและความไมถูกตอง ในการเรียกรองใหไอทีวีชําระคาสวนตาง ดอกเบี้ยคาปรับมูลคาทรัพยสินที่สงมอบไมครบ และเรียกคาเสียหายจาก สปน. สําหรั บขอ พิพ าททั้ ง 2 คดี อยู ร ะหวา งการดํา เนิ น กระบวนพิจ ารณาของสถาบั น อนุญ าโตตุล าการ โดยเปดเผยลํ าดั บ เหตุการณสําคัญของกรณีพิพาทระหวางไอทีวีกับ สปน. จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 แลว ิ าทระหวางไอทีวกี บั สปน. 2) ลําดับเหตุการณสาํ คัญของกรณีพพ วันที่ 30 มกราคม 2547 คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคําวินิจฉัยชี้ขาดขอพิพาทระหวาง ไอทีวีกับ สปน. เกี่ยวกับสัญญา อนุญาตใหดําเนินการมีสาระสําคัญดังตอไปนี้ 1. ให สปน.ชดเชยความเสียหายโดยชําระเงินใหแกไอทีวีจํานวน 20 ลานบาท 2.
ใหปรับลดผลประโยชนตอบแทนตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ โดยใหเปรียบเทียบระหวางจํานวนเงินที่คํานวณได ตามอัตรารอยละ 6.50 (ซึ่งปรับลดจากที่กําหนดไวเดิม อัตรารอยละ 44) ของรายไดกอนหักคาใชจาย และภาษีใดๆ กับเงินประกันผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ําปละ 230 ลานบาท (ซึ่งปรับลดจากที่กําหนดไวในสัญญาอนุญาตให ดําเนินการคือปที่ 8 จํานวน 800 ลานบาทปที่ 9 จํานวน 900 ลานบาท และตั้งแตปที่ 10–30 ปละ 1,000 ลานบาท) จํานวนใดมากกวาใหชําระตามจํานวนที่มากกวานั้นโดยเริ่มตั้งแตวันที่ 3 กรกฎาคม 2545 เปนตนไป
3. ให สปน.คืนเงินผลประโยชนตอบแทนขั้นต่ําบางสวนจากจํานวน 800 ลานบาท ที่ไอทีวีไดชําระโดยมีเงื่อนไขในระหวาง พิจารณาขอพิพาทนี้เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2546 โดยคืนใหแกไอทีวีจํานวน 570 ลานบาท 4. ใหไอทีวีสามารถออกอากาศชวงเวลา PrimeTime (ชวงเวลาระหวาง 19.00 น.ถึง 21.30 น.)ไดโดยไมถูกจํากัดเฉพาะ รายการขาวสารคดีและสาระประโยชนแตไอทีวีจะตองเสนอรายการขาวสารคดีและสาระประโยชนไมนอยกวารอยละ 50 ของเวลาออกอากาศทั้งหมด ทั้งนี้ภายใตขอบังคับของกฎระเบียบที่ทางราชการออกใชบังคับแกสถานีวิทยุโทรทัศนโดย ทั่วๆ ไป วันที่ 27 เมษายน 2547 อนุญาโตตุลาการดังกลาว
สปน.ไดยื่นคํารองตอศาลปกครองกลาง (ชั้นตน) เพื่อขอใหเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะ
วันที่ 9 พฤษภาคม 2549 ศาลปกครองกลางไดมีคําพิพากษาใหเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการทั้งฉบับ วันที่ 7 มิถุนายน 2549 ไอทีวีไดยื่นอุทธรณคําพิพากษาของศาลปกครองกลางตอศาลปกครองสูงสุด
240 อินทัษชท บริ ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
บริษัท ชินปคอร์ ปอเรชั่น จำ�นกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ �หรับ2554 แต่ละปีและ สิ้น2553 สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 นธันสำวาคม วันที่ 13 ธันวาคม 2549 ศาลปกครองสูงสุดไดมีคําพิพากษายืนตามคําพิพากษาของศาลปกครองกลางที่เพิกถอนคําชี้ ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการลงวันที่ 30 มกราคม 2547 ทั้งฉบับซึ่งมีผลทําใหไอทีวีตองกลับไปผูกพันตามเงื่อนไขของ สัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ตอไปโดยมีสาระสําคัญดังนี้ 1. ดําเนินการปรับผังรายการใหเปนไปตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ขอ 11 ที่กําหนดใหรายการขาวสารคดีและ สารประโยชนจะตองออกอากาศรวมกันไมต่ํากวารอยละ 70 ของเวลาออกอากาศทั้งหมดและระยะเวลาระหวางเวลา 19.00 น. - 21.30 น.จะตองใชสําหรับรายการประเภทนี้เทานั้น 2.
ปฏิบัติตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ขอ 5 ในเรื่องการชําระคาอนุญาตใหดําเนินการให สปน.ในอัตรารอยละ 44 ของ รายไดโดยมีอัตราขั้นต่ํา 1,000 ลานบาทตอป
วันที่ 14 ธันวาคม 2549 สปน.ไดมีหนังสือฉบับลงวันที่ 14 ธันวาคม 2549 ขอใหไอทีวีดําเนินการดังตอไปนี้ 1. ใหไอทีวีดําเนินการปรับผังรายการใหเปนไปตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ขอ 11 2. ใหไอทีวีชําระเงินสวนตางของคาอนุญาตใหดําเนินการขั้นต่ําตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ สําหรับปที่ 9 (งวดที่7) จํานวน 670 ลานบาท ปที่ 10 (งวดที่ 8) จํานวน 770 ลานบาท และปที่ 11 (งวดที่ 9) จํานวน 770 ลานบาทรวมเปนเงิน ทั้งสิ้น 2,210 ลานบาท พรอมดวยดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 15 ตอปโดยคํานวณเปนรายวันตามจํานวนวันที่ชําระลาชา 3. ใหไอทีวีชําระคาปรับในอัตรารอยละ 10 ของคาอนุญาตใหดําเนินการที่ สปน. จะไดรับในป นั้น ๆ โดยคิดเปนรายวัน ตามสัญญาเขารวมงานฯขอ 11 วรรคสองจากกรณีที่ไอทีวีดําเนินการเรื่องผังรายการไมเปนไปตามขอ 11 วรรคหนึ่ง ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2547 จนถึงวันที่ 13 ธันวาคม 2549 ซึ่ง สปน. ไดเรียกรองมาเปนจํานวนเงิน 97,760 ลานบาท (ไอทีวีไดดําเนินการปรับผังรายการตามคําพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดตั้งแตวันที่ 14 ธันวาคม 2549) ทั้งนี้ สปน.แจงวาหากไอทีวไี มชําระเงินจํานวนดังกลาวภายใน 45 วันนับตั้งแตไดรับหนังสือแจง (วันที่ 15 ธันวาคม 2549) สปน. จะดําเนินการตามขอกําหนดในสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ และขอกฎหมายตอไป วันที่ 21 ธันวาคม 2549ไอทีวีไดมีหนังสือถึง สปน. โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 1. ไอทีวีไดดําเนินการปรับผังรายการใหเปนไปตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ขอ 11 เรียบรอยแลวตั้งแตวันที่ 14 ธันวาคม 2549 เปนตนมา 2. ไอทีวีมิไดผิดนัดชําระคาอนุญาตใหดําเนินการตามที่อางถึง เนื่องจากไอทีวีไดชําระคาอนุญาตใหดําเนินการรายป จํานวน 230 ลานบาท ตามคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการซึ่งคําชี้ขาดดังกลาวมีผลผูกพันคูสัญญาทั้งสองฝาย ตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ขอ 15 ดังนั้นไอทีวีจึงไมมีภาระดอกเบี้ยของคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตาง ดังกลาว ในชวงระยะเวลา ตั้งแตอนุญาโตตุลาการชี้ขาดจนถึงวันที่ศาลปกครองสูงสุดมีคําพิพากษา 3. ไอทีวีไมเห็นพองกับ สปน. กรณีที่ตองจายคาปรับจํานวน 97,760 ลานบาท และการกําหนดใหไอทีวีชําระคาปรับ ดังกลาวภายใน 45 วันดวยเหตุผลดังนี้ 3.1
ไอทีวีมิไดปฏิบัติผิดสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ เนื่องจากไอทีวีไดปฏิบัติตามสัญญาอนุญาตให ดําเนินการ ขอ 15 ซึ่งกําหนดวา “ใหคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการมีผลผูกพันคูสัญญาทั้งสองฝาย” ดังนั้นการ ดําเนินการปรับผังรายการตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2547 จนถึงวันที่ 13 ธันวาคม 2549 ซึ่งเปนวันที่ศาล ปกครองสูงสุดมีคําพิพากษา และขอ 30 วรรคทายของขอบังคับสํานักงานศาลยุติธรรมและมาตรา 70 วรรค
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
241 รายงาน ประจำ�ปี 2554
2 แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง 2542 ดังนั้นการดําเนินการของไอทีวี จึงเปนการกระทําโดยชอบตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ และกฎหมายแลว 3.2
เพื่อใหสอดคลองกับกระบวนการนําขอพิพาทเสนอตอคณะอนุญาโตตุลาการและใหวินิจฉัย ชี้ขาดตามที่ กลาวมาในขอ 3.1 หากปรากฏวาไอทีวีเปนฝายผิดสัญญา สิทธิของ สปน. ในการบอกเลิกสัญญาอนุญาตให ดําเนินการ จะมีขึ้นหลังจากกระบวนการยุติขอพิพาทไดถึงที่สุดแลว
3.3
ศาลปกครองไดจัดทําเอกสาร “ขาวศาลปกครอง” ครั้งที่ 78/2549 ฉบับลงวันที่ 13 ธันวาคม 2549 ระบุถึง คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดคดีของไอทีวีโดยมีขอความตอนหนึ่งระบุวา“กรณีเกี่ยวกับคาปรับคูสัญญา ตองวากลาวกันเองหากตกลงไมไดตองเสนอขอพิพาทตามวิธีการที่ระบุไวในสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ”
3.4
ดอกเบี้ยและคาปรับจากการดําเนินการปรับผังรายการนั้นยังไมมีขอยุติเนื่องจากไมใชประเด็นพิพาทที่เขาสู การพิจารณาพิพากษาของศาลปกครองสูงสุด ดังนั้นหากคูสัญญามีขอขัดแยงและไมสามารถทําความตกลง กันไดก็จะตองเสนอขอพิพาทตอคณะอนุญาโตตุลาการโดยเปนไปตามสัญญอนุญาตใหดําเนินการ ขอ 15 ซึ่ง กําหนดวา “หากมีขอพิพาทหรือขอขัดแยงใดๆ อันเกี่ยวเนื่องกับสัญญาระหวางสปน. กับผูเขารวมงาน (ไอทีวี) คู สั ญ ญาตกลงแต ง ตั้ ง คณะอนุ ญ าโตตุ ล าการทํ า การวิ นิ จ ฉั ย ชี้ ข าดข อ พิ พ าทโดยคํ า ตั ด สิ น ของคณะ อนุญาโตตุลาการเปนที่สุดและผูกพันคูสัญญาทั้งสองฝาย”
ไอทีวีและที่ปรึกษากฎหมายของไอทีวีเห็นวาการคํานวณคาปรับจากการปรับผังรายการตามวิธีของ สปน. ดังกลาวขางตน ไมถูกตองตามเจตนารมณของสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ซึ่งหากไอทีวีเขาขายจะตองเสียคาปรับการคิดคํานวณคาปรับ ควรจะเปนจํานวนเงินในอัตราไมเกินกวา 274,000 บาทตอวันมิใช 100 ลานบาทตอวันตามที่ สปน. กลาวอางดังนั้นไมวา กรณีจะเปนอยางไรหากจะมีภาระคาปรับ โดยนับตั้งแตวันที่ไอทีวีปฏิบัติตามคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการจนถึงวันที่ ศาลปกครองสูงสุดมีคําตัดสินตามที่ สปน. กลาวอาง (ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2547 จนถึงวันที่ 13 ธันวาคม 2549) การ คิดคํานวณคาปรับในชวงเวลาดังกลาวจึงไมควรจะเกินไปกวาจํานวน 268 ลานบาท มิใช 97,760 ลานบาท ตามวิธีคํานวณ ที่ สปน. เรียกรองใหชําระและนํามาใชเปนเหตุบอกเลิกสัญญาแตอยางใด สําหรับกรณีที่ สปน. เรียกรองดอกเบี้ยของคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางไอทีวีและที่ปรึกษากฎหมายของไอทีวีมี ความเห็นวาในชวงระหวางระยะเวลาที่ไอทีวีไดปฏิบัติตามคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการไอทีวีไมมีหนาที่ในการตอง ชําระ และไอทีวีไมไดผิดนัดการชําระคาอนุญาตใหดําเนินการแตอยางใด เนื่องจากไอทีวีไดชําระคาอนุญาตใหดําเนินการราย ปจํานวน 230 ลานบาท ตามคําชี้ขาดคณะอนุญาโตตุลาการซึ่งผูกพันทั้งสองฝายแลวตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ขอ 15 ในชวงเวลาที่คําชี้ขาดยังมีผลบังคับใชอยูโดยที่ไอทีวีมิไดผิดนัดชําระคาอนุญาตใหดําเนินการและ/หรือชําระคา อนุญาตใหดําเนินการใหแก สปน. ลาชา อีกทั้ง สปน. ยังไมเคยใชสิทธิเรียกรองทางศาลในการขอคุมครองเพื่อระงับมิใหไอ ทีวีปฏิบัติตามคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการในชวงเวลาดังกลาวแตประการใด ดังนั้นไอทีวีจึงไมมีภาระดอกเบี้ยของคา อนุญาตใหดําเนินการสวนตาง และ สปน. ไมมีสิทธิเรียกรองดอกเบี้ยของคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางในระหวางที่คําชี้ ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการยังคงมีผลผูกพันทางกฎหมายอยู อีกทั้งคําพิพากษาของศาลปกครองกลางที่มีคําสั่งให เพิกถอนคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการยังไมมีผลบังคับเนื่องจากยังอยูในระหวางที่ไอทีวียื่นอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุด และศาลปกครองสูงสุดยังไมมีคําพิพากษาในขณะนั้น วันที่ 4 มกราคม 2550 ไอทีวีไดยื่นขอพิพาทเรื่องคาปรับจากการปรับผังรายการและดอกเบี้ยในคาอนุญาตใหดําเนินการสวน ตางตอสถาบันอนุญาโตตุลาการเปนคดีหมายเลขดําที่ 1/2550 สวนเรื่องคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางจํานวน 2,210 ลาน บาทนั้นไอทีวีมีความเห็นวาเพื่อใหการดําเนินการตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการเปนไปโดยราบรื่น และเพื่อเปนการ ประนีประนอมมิให สปน. บอกเลิกสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ อันจะมีผลกระทบตอกิจการของไอทีวีไอทีวีจึงไดตัดสินใจเสนอ เงื่อนไขการประนีประนอมโดยเสนอแนวทางการจายเงิน 2,210 ลานบาท โดยมีเงื่อนไขให สปน. เขารวมดําเนินการตาม กระบวนการอนุ ญาโตตุลาการเพื่ อให คณะอนุ ญาโตตุ ลาการมี คําวิ นิ จฉั ยชี้ ขาดกรณี คาปรั บและดอกเบี้ยค าอนุ ญาตให
242 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัษช ท
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตลปะป สนิ้ สุดวันที่ 31นธันสำวาคม หมายเหตุ ระกอบงบการเงิ �หรับ2554 แต่ละปีและ สิ้น2553 สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ดําเนินการสวนตางซึ่ง สปน. ไดปฏิเสธเงื่อนไขแนวทางการชําระเงินคาอนุญาตใหดําเนินการดังกลาวเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2550 วันที่ 2 กุมภาพันธ 2550 ไอทีวีไดมีหนังสือขอความเปนธรรมตอ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีโดยเสนอแนวทางการประนีประนอมใน การแกปญหาขอพิพาทโดยเสนอให สปน. รับชําระเงินคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางจํานวน 2,210 ลานบาท และให ดําเนินการตามกระบวนการอนุญาโตตุลาการกรณีคาปรับและดอกเบี้ย วันที่ 13 กุมภาพันธ 2550 สปน. ไดมีหนังสือปฏิเสธขอเสนอของไอทีวีดังกลาว ดังนั้นนับแตวันที่ สปน. มีหนังสือปฏิเสธขอเสนอ ของไอทีวี ไอทีวจี ึงไมมีภาระผูกพันใดๆ ในขอเสนอของไอทีวีที่มตี อ สปน. อีกตอไป ทั้งนี้เปนไปตามมาตรา 357 แหงประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย ตอมาศาลปกครองกลางไดมีคาํ สั่งใหจําหนายคดีหมายเลขดําที่ 640/2550 ลงวันที่ 22 มิถุนายน 2550 โดยศาลไดวินิจฉัยวาประเด็นที่ สปน. อางวาไอทีวียอมรับวาเปนหนี้คา อนุญาตใหดาํ เนินการคางชําระอยูจํานวน 2,210 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยรับฟงไมไดวา ไอทีวียอมรับสภาพหนี้เพราะเปนขอเสนอทางเลือกในการแกปญ หาหลายแนวทางซึ่งยังไม เปนที่ยุติซึ่งถือเปนขอพิพาทที่ตองนําเขาสูกระบวนการอนุญาโตตุลาการ วันที่ 20 กุมภาพันธ 2550 ไอทีวีไดยื่นคํารองขอใหศาลปกครองกลางมีคําสั่งกําหนดมาตรการหรือวิธีการคุมครองเพื่อ บรรเทาทุกขชั่วคราวตอศาลปกครองกลาง และคํารองขอใหศาลปกครองกลางพิจารณาเปนกรณีฉุกเฉินใน 2 ประเด็นดังนี้ 1. ไอทีวีขอใหศาลปกครองกลางมีคําสั่งระงับการใชสิทธิบอกเลิกสัญญาอนุญาตใหดําเนินการของ สปน. ในกรณีที่ไอทีวียัง มิได ชําระคาปรับจากการปรับผังรายการและดอกเบี้ยในค าสวนตางจํานวนประมาณหนึ่งแสนลานบาทจนกวาคณะ อนุญาโตตุลาการจะไดมีคําชี้ขาดและขอพิพาทดังกลาวถึงที่สุดตามกฎหมาย 2. ไอทีวีขอใหศาลปกครองกลางมีคําสั่งกําหนดระยะเวลาเพื่อใหไอทีวีชําระคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางจํานวน 2,210 ลานบาท ใหแก สปน. ภายใน 30 วัน นับแตวันที่ศาลไดมีคําสั่งในเรื่องนี้ วันที่ 21 กุมภาพันธ 2550 ศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งไมรับคํารองขอใหศาลกําหนดมาตรการหรือวิธีการคุมครองเพื่อ บรรเทาทุกขชั่วคราวและคํารองขอไตสวนฉุกเฉินที่ไอทีวีไดยื่นตอศาลปกครองกลาง โดยมีขอวินิจฉัยวา การที่ สปน. จะใชสิทธิ บอกเลิกสัญญาอนุญาตใหดําเนินการนั้น หากไอทีวีเห็นวาการบอกเลิกสัญญาไมชอบก็ยอมมีสิทธิเรียกคาเสียหายจากการ บอกเลิกสัญญาดังกลาวได สวนกรณีที่ สปน. เรียกใหผูรอง (ไอทีวี) ชําระคาปรับและดอกเบี้ยคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตาง รวมทั้งขอใหศาลกําหนดระยะเวลาเพื่อใหไอทีวีสามารถชําระคาอนุญาตใหดําเนินการจํานวน 2,210 ลานบาท ใหแก สปน. ภายใน 30 วัน นับแตวันที่ศาลไดมีคําสั่งนั้นศาลเห็นวาเปนกรณีระหวางไอทีวีและ สปน. ที่จะเจรจาตกลงกันและหากไอทีวีเห็นวา ไมตองชําระหรือขอผอนผันการชําระหนี้ก็เปนสิทธิที่ดําเนินการไปตามขั้นตอนของสัญญาและกระบวนการตามกฎหมายตอไป จึงไมมีเหตุอันสมควรที่ศาลจะมีคําสั่งกําหนดมาตรการหรือวิธีการคุมครองประโยชนของไอทีวีขณะดําเนินการ ซึ่งคําสั่งศาล ปกครองกลางดังกลาวใหถือเปนที่สุดโดยไอทีวไี มอาจอุทธรณคําสั่งดังกลาวได วันที่ 7 มีนาคม 2550 สปน. มีหนังสือบอกเลิกสัญญาอนุญาตใหดําเนินการและแจงใหไอทีวีดําเนินการชําระหนี้และสงมอบ ทรัพยสินที่ไอทีวีมีไวใชในการดําเนินกิจการตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ คืนใหแก สปน. ภายในเวลาที่ สปน. กําหนดตาม มติของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2550 ซึ่งการบอกเลิกสัญญาดังกลาวเปนเหตุใหไอทีวีจําเปนตองหยุดการดําเนิน ธุรกิจสถานีโทรทัศนในระบบยูเอชเอฟ วันที่ 28 มีนาคม 2550 ไอทีวีไดมีหนังสือถึง สปน. โดยไดโตแยงวาการบอกเลิกสัญญาอนุญาตใหดําเนินการของ สปน. และ เรียกรองใหไอทีวีตองชําระหนี้จํานวนกวาแสนลานบาทใหแก สปน. ซึ่ง สปน. นํามาเปนเหตุบอกเลิกสัญญานั้นไมชอบดวย กฎหมายและขอสัญญาเนื่องจากไอทีวีมิไดกระทําการใดๆ ซึ่งเปนการผิดสัญญาอนุญาตใหดําเนินการไอทีวีมิไดเห็นดวยกับการ บอกเลิกสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ อันเปนการกระทําอันไมชอบดังกลาว และโดยที่การบอกเลิกสัญญาของ สปน. เปนการ กระทําซึ่งเปนเหตุใหกิจการของไอทีวีไดรับความเสียหาย สปน. จึงตองรับผิดแกไอทีวีและไอทีวีไดสงวนสิทธิในการดําเนินการ ตามกฎหมายตอไป
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
243 รายงาน ประจำ�ปี 2554
วันที่ 30 มีนาคม 2550 สปน. ไดยื่นฟองตอศาลปกครองกลางคดีหมายเลขดําที่ 640/2550 เรียกรองใหไอทีวชี ําระหนี้คา อนุญาตใหดําเนินการสวนตางจํานวน 2,210 ลานบาท และคาอนุญาตใหดําเนินการงวดที่ 12 จํานวน 677 ลานบาท (นับจาก วันที่คณะอนุญาโตตุลาการมีคาํ ชี้ขาดจนถึงวันที่ 7 มีนาคม 2550) คาดอกเบี้ยของคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางจํานวน 562 ลานบาท (นับจากวันที่คณะอนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาดจนถึงวันที่ฟองคดีวันที่ 30 มีนาคม 2550) คาปรับผังรายการ จํานวน 97,760 ลานบาท และมูลคาทรัพยสนิ สงมอบไมครบจํานวน 656 ลานบาทพรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 ตอปของ มูลคาทรัพยสินที่สงมอบไมครบนับแตวันฟองจนกวาจะชําระเงินเสร็จสิ้นซึ่งกรณีมูลคาทรัพยสินทีส่ งมอบไมครบเปนประเด็น ใหมที่ สปน. ไมเคยเรียกรองใหไอทีวีชําระหนี้มากอนรวมเปนเงินทั้งสิ้น 101,865 ลานบาท วันที่ 8 พฤษภาคม 2550 ไอทีวยี ื่นคําฟองคดีตอ ศาลปกครองกลางเปนคดีหมายเลขดําที่ 910/2550 กรณี สปน. ไมนําขอ 5 วรรคสี่ เสนอคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบกอนลงนามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ จนเปนเหตุให ไอทีวีไดรับความเสียหาย โดยเรียกคาเสียหาย 119,252 ลานบาท วันที่ 9 พฤษภาคม 2550 ไอทีวียื่นเสนอขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการเปนคดีหมายเลขดําที่ 46/2550 ใหคณะ อนุญาโตตุลาการมีคําวินิจฉัยชี้ขาดกรณี สปน. ใชสิทธิบอกเลิกสัญญาอนุญาตใหดาํ เนินการไมชอบดวยกฎหมายและขอ สัญญาและความไมถูกตองในการเรียกรองใหไอทีวชี ําระคาสวนตาง ดอกเบี้ยคาปรับมูลคาทรัพยสนิ ที่สงมอบไมครบ และเรียก คาเสียหายจาก สปน. วันที่ 30 พฤษภาคม 2550 คดีหมายเลขดําที่ 910/2550 ซึ่งไอทีวีเปนผูฟองคดี ประเด็นที่ สปน. ไมนําขอ 5 วรรคสี่ เสนอ คณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบ ศาลปกครองกลางมีคําสั่งไมรับคําฟองไวพิจารณาเนื่องจากเกินกวาอายุความ (10 ป ) วันที่ 22 มิถนุ ายน 2550 ศาลปกครองกลางไดมีคาํ สั่งใหจําหนายคดีหมายเลขดําที่ 640/2550 ที่ สปน. เปนผูฟองคดีเรียกรอง ใหไอทีวีชําระคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางดอกเบี้ยคาปรับผังรายการมูลคาทรัพยสินที่สงมอบไมครบเพื่อใหคสู ญ ั ญาไป ดําเนินการทางอนุญาโตตุลาการตามที่กาํ หนดไวในสัญญารวมงานฯ ตอมาเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2550 สปน. ไดยื่นอุทธรณ คําสั่งศาลปกครองกลางดังกลาวตอศาลปกครองสูงสุดและยื่นคํารองขอคุมครองชัว่ คราวกอนมีการพิพากษาใหหยุด กระบวนการอนุญาโตตุลาการเพื่อรอคําสั่งศาลปกครองสูงสุด วันที่ 11 กรกฎาคม 2550 ไอทีวี ยื่นอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุดกรณีศาลปกครองกลางมีคําสั่งไมรับฟองคดีหมายเลขดําที่ 910/2550 เพราะเหตุขาดอายุความ (คดีหมายเลขดําที่ 910/2550 เปนคดีที่ไอทีวีเปนผูฟองคดีประเด็นที่ สปน. ไมนําขอ 5 วรรค สี่ เสนอคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบจนเปนเหตุใหไอทีวีไดรับความเสียหาย โดยเรียกคาเสียหาย 119,252 ลานบาท) วันที่ 24 กรกฎาคม 2550 สปน. ไดยื่นอุทธรณคําสั่งของศาลปกครองกลางที่ตัดสินใหจําหนายคดีหมายเลขดําที่ 640/2550 ตอศาลปกครองสูงสุดและยื่นคํารองขอคุมครองชั่วคราวใหหยุดกระบวนการอนุญาโตตุลาการเพื่อรอคําสั่งของศาลปกครอง สูงสุด วันที่ 29 ตุลาคม 2550 ไอทีวีไดยื่นคํารองขอใหศาลปกครองกลางมีคําสั่งกําหนดมาตรการคุมครองเพื่อบรรเทาทุกขชั่วคราว กอนการพิพากษาเพื่อมิใหรางพระราชบัญญัติองคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทยมีผลใชบังคับ ซึ่ง คณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติดังกลาวเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2550 โดยจะนําเสนอสภานิติบัญญัติ แหงชาติในวันที่ 31 ตุลาคม 2550 โดยไอทีวีไดใหเหตุผลในคํารองวา หากรางพระราชบัญญัติดังกลาวผานการพิจารณาและมี ผลบังคับใชเปนกฎหมายแลวจะมีผลใหคําวินิจฉัยของคณะอนุญาโตตุลาการหรือคําพิพากษาของศาลปกครองในขอพิพาท หรือคดีระหวางไอทีวกี ับ สปน. ที่เกิดขึ้นหลังจากวันที่ 31 ตุลาคม 2550 ที่เกี่ยวกับขอเรียกรองคาเสียหายขอหนึ่งของไอทีวีซึ่งไอ ทีวีไดเรียกรอง ให สปน. ชดใชคาเสียหายใหไอทีวีโดยการอนุญาตใหไอทีวีกลับเขาดําเนินการสถานีโทรทัศนระบบ ยู เอช เอฟ โดยใชคลื่นความถี่และทรัพยสินอุปกรณเครือขายเดิมตอไปจนครบตามกําหนดระยะเวลาในสัญญาอนุญาตใหดําเนินการเดิม ไมอาจมีผลบังคับไดอีกตอไป เนื่องจากบรรดาทรัพยสินตางๆ รวมถึง สิทธิหนาที่ และภาระผูกพันของไอทีวตี ามสัญญาอนุญาต ใหดําเนินการ จะตกเปนของรัฐตามบทเฉพาะกาล มาตรา 56 แหงรางพระราชบัญญัติดังกลาวไอทีวีจึงขอใหศาลปกครองกลาง พิ จ ารณาไต ส วนฉุ ก เฉิ น และมี คํ า สั่ ง ให ร ะงั บ หรื อ หามาตรการหยุ ด ดํ า เนิ น การหรื อ หยุ ด การเสนอร า งกฎหมายร า ง
244 อินทัษชท บริ ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริษัท ชินปคอร์ ปอเรชั่น จำ�นกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สํหมายเหตุ าหรับแตลปะป สนิ้ สุดวันที่ 31 นธันสำวาคม ระกอบงบการเงิ �หรับ2554 แต่ละปีและ สิ้น2553 สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 พระราชบัญญัติองคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทยใหสภานิติบัญญัติแหงชาติพิจารณา โดยเรงดวน ตามแตวิธีการที่ศาลปกครองกลางจะเห็นสมควรจนกวาคดีจะถึงที่สุดหรือศาลปกครองกลางจะมีคําสั่งเปนอยางอื่น วันที่ 30 ตุลาคม 2550 ศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งไมรับคํารองขอคุมครองฉุกเฉินของไอทีวีโดยใหเหตุผลวาการพิจารณาราง พระราชบัญญัติดังกลาวเปนการกระทําในหนาที่ของสมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติซึ่งเปนการใชอํานาจทางนิติบัญญัติตาม รัฐธรรมนูญ มิใชการใชอํานาจทางปกครอง จึงไมมีเหตุผลอันควรและเพียงพอที่ศาลจะมีคําสั่งระงับการดําเนินการของสภานิติ บัญญัติแหงชาติได และปจจุบันขอพิพาทนั้นอยูในระหวางการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการจึงไมมีเหตุผลสมควรที่ศาล ปกครองกลางจะมีคําสั่งกําหนดมาตรการคุมครองตามที่ไอทีวีรองขอมาได วันที่ 31 ตุลาคม 2550 รางพระราชบัญญัติองคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทยดังกลาวไดผานการ อนุมัติจากสภานิติบัญญัติแหงชาติและอยูระหวางการเตรียมการประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหมีผลบังคับใชเปนกฎหมาย ตอไป อยางไรก็ตามไอทีวียังคงมีคดีความฟองรองกับ สปน. ที่ยังดําเนินตอไปในกระบวนการยุติธรรมและขอเรียกรอง คาเสียหายขออื่น ๆ ที่เรียกรองให สปน. ชดเชยคาเสียหายโดยชําระคืนเปนเงินสดใหแกไอทีวียังคงมีผลทางกฎหมายอยูหากศาล มีคําพิพากษาชี้ขาดตามที่ไอทีวีเรียกรอง วันที่ 14 พฤศจิกายน 2550 คดีหมายเลขดําที่ 910/2550 ที่บริษัทฟองกรณี สปน. ไมนําขอ 5 วรรคสี่ เสนอคณะรัฐมนตรี เห็นชอบกอนลงนามสัญญาโดยเรียกคาเสียหาย 119,252 ลานบาท เขารวมงานฯ ศาลปกครองสูงสุดไดมีคําสั่งเชนเดียวกับศาล ปกครองกลางโดยไมรับพิจารณาคําอุทธรณในคดีดังกลาวเพราะเหตุขาดอายุความ (10 ป ) วันที่ 19 ธันวาคม 2550 ศาลปกครองสูงสุดไดมีคําสั่งยืนตามคําสั่งของศาลปกครองกลาง โดยศาลปกครองสูงสุดมีคําสั่งให จําหนายคดีที่อางถึงเพื่อใหคูสัญญาไปดําเนินการทางอนุญาโตตุลาการตอไป ดังนั้นขอพิพาทสถาบันอนุญาโตตุลาการที่ 1/2550 ซึ่งไอทีวีไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการเมื่อวันที่ 4 มกราคม 2550 (กอนถูกบอกเลิกสัญญา อนุญาตใหดําเนินการ) เพื่อขอใหคณะอนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาดเรื่องคาปรับผังรายการและดอกเบี้ยของคาอนุญาตให ดํ า เนิ น การส วนต างและข อพิ พ าทสถาบั นอนุ ญาโตตุ ล าการที่ 46/2550 ซึ่ ง ไอที วี ไ ด ยื่ น คํ า เสนอข อพิ พ าทต อ สถาบั น อนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2550 (หลังถูกบอกเลิกสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ) ในกรณีที่ สปน. บอกเลิก สัญญาไมชอบดวยขอกฎหมายและขอสัญญาและปฏิบัติหนาที่โดยไมชอบทําใหไอทีวีไดรับความเสียหายซึ่งปจจุบันขอพิพาททั้ง 2 คดีดังกลาวอยูระหวางการดําเนินกระบวนพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการจึงตองดําเนินการตามกระบวนการ อนุญาโตตุลาการตอไป วันที่ 15 มกราคม 2551 พระราชบัญญัติองคการกระจายเสียงและแพรภาพสาธารณะแหงประเทศไทยไดมีการประกาศในราช กิจจานุเบกษาโดยมีผลบังคับใชเปนกฎหมายตั้งแตวันที่ 15 มกราคม 2551 เปนตนไป ซึ่งจะมีผลใหคําวินิจฉัยของคณะอนุญาต โตตุลาการหรือคําพิพากษาของศาลปกครองในขอพิพาทหรือคดีระหวางไอทีวีกับ สปน. ที่เกิดขึ้นที่เกี่ยวกับขอเรียกรอง คาเสียหายขอหนึ่งของไอทีวีซึ่ง ไอทีวีไดเรียกรอง ให สปน. ชดใชคาเสียหายให ไอทีวีและ/หรือขอใหไอทีวีกลับเขาดําเนินการ สถานีโทรทัศน ระบบ ยู เอช เอฟ โดยใชคลื่นความถี่และทรัพยสินอุปกรณเครือขายเดิมตอไปจนครบตามกําหนดระยะเวลาใน สัญญาอนุญาตใหดําเนินการอาจจะไมมีผลบังคับได เนื่องจากบรรดา กิจการ อํานาจหนาที่ ทรัพยสิน งบประมาณ หนี้ สิทธิ คลื่น และภาระผูกพัน ของไอทีวีตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ จะตกเปนของรัฐตามบทเฉพาะกาล มาตรา 57 แหง พระราชบัญญัติดังกลาว อยางไรก็ตามไอทีวียังคงมีคดีความฟองรองกับ สปน. ที่ยังดําเนินตอไปในกระบวนการยุติธรรมและ ขอเรียกรองคาเสียหายขออื่นๆ ที่เรียกรองให สปน. ชดเชยคาเสียหายโดยชําระคืนเปนเงินสดรวมถึงการชดเชยความเสียหาย โดยวิธีอื่นๆ ใหแกไอทีวียังคงมีผลทางกฎหมายอยูหากศาลมีคําพิพากษาชี้ขาดตามที่ไอทีวีเรียกรอง วันที่ 3 มีนาคม 2551 ไอทีวียื่นคํารองขอตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ เพื่อรวมการพิจารณาคดีหมายเลขดําที่ 1/2550 และ คดี หมายเลขดําที่ 46/2550 ขณะนี้อยูในระหวางการพิจารณาของสถาบันอนุญาโตตุลาการ วันที่ 7 มีนาคม 2551 ไอทีวไี ดยื่นคํารองแตงตั้งอนุญาโตตุลาการซึง่ เปนตัวแทนของฝายไอทีวีทั้ง 2 คดีและไดรับอนุมัตแิ ลว
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
245 รายงาน ประจำ�ปี 2554
10 มิถุนายน 2553 ไอทีวีไดวางเงินประกันคดีหมายเลขดําที่ 46/2550 จํานวน 5 ลานบาท ตามทุนทรัพยที่แตละฝายที่เรียกรอง โดยคิดคํานวณจากฐานทุนทรัพยที่ไอทีวีเรียกรองจํานวน 22 ลานบาท สําหรับคดีหมายเลขดําที่ 1/2550 ไมมีทุนทรัพย ไดวาง เทากับขั้นต่ํา อัตราที่กําหนดไวสําหรับคดีที่ไมมีทุนทรัพย คือ 20,000 บาทตอครั้ง โดยขอวาง 5 ครั้ง รวมเปนเงิน 100,000 บาท 24 พฤศจิกายน 2554 ไอทีวีไดเรงรัดกระบวนการพิจารณาคดีตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ โดยขอคัดคานการที่สถาบัน อนุญาโตตุลาการจะอนุญาตการขอขยายระยะเวลาวางเงินประกันคาปวยการอนุญาโตตุลาการออกไป เนื่องจากเห็นวา สปน. มี เจตนาประวิงเวลา โดยขอขยายระยะเวลาวางเงินประกันมาแลวมากถึง 23 ครั้ง เปนเวลายาวนานถึง 2 ปเศษ จึงไมมีเหตุผล สมควรที่จะอนุญาตใหขยายเวลาออกไปอีก 2 ธันวาคม 2554 สปน. ไดยื่นคํารองขอขยายเวลาวางเงินประกัน (ครั้งที่ 24) โดยอางถึงหนังสือขอขยายเวลาวางเงินประกัน (ครั้งที่ 23) ที่ นร.1306/7334 ลงวันที่ 22 กันยายน 2554 ซึ่งสปน. ไดขอขยายเวลาวางเงินประกันออกไป อีก 60 วัน นับจาก วันที่ 28 กันยายน 2554 21 ธันวาคม 2554 สถาบันอนุญาโตตุลาการนัดหมายคูพิพาท มาเจรจาไกลเกลี่ยทําความตกลงกัน โดยมีมติที่เสนอใหทั้งสอง ฝายพิจารณา คือ การชะลอการดําเนินคดี 1/2550 ออกไปกอนเพื่อรอผลของคดี 46/2550 เนื่องจากเปนประเด็นที่เกี่ยวโยงกัน กับ คดี 46/2550 และคดี 46/2550 มีเนื้อหาครอบคลุมประเด็นการตีความคาปรับในคดี 1/2550ดวย อีกทั้งการรวมคดีทั้งสอง เปนไปไดยาก โดยยังคงมีขอโตแยงเรื่องอัตราการวางเงินคาปวยการ อีกทั้งสองฝายไมประสงคขอถอนคําเสนอขอพิพาท 1/2550 นอกจากนี้เพื่อใหขอพิพาทในคดี 46/2550 ดําเนินกระบวนการตอไปได จึงเสนอใหทั้งสองฝายไปพิจารณาการวางเงิน ประกันคาปวยการในคดี 46/2550 ฝายละ 10 ลานบาท 30 ธันวาคม 2554 สปน. มีหนังสือขอชะลอการดําเนินคดี 1/2550 ออกไปกอนเพื่อรอผลคดี 46/2550 ตามที่สถาบัน อนุญาโตตุลาการเสนอมา 17 มกราคม 2555 ไอทีวีไดมีหนังสือขอชะลอการดําเนินคดีหมายเลขดําที่ 1/2550 เพื่อรอผลของคดีหมายเลขดําที่ 46/2550 ตามที่สถาบันอนุญาโตตุลาการ เสนอมา ตอมาสถาบันอนุญาโตตุลาการไดมีคําสั่งใหชะลอการดําเนินคดีหมายเลขดําที่ 1/2550 ตามที่ไอทีวีและ สปน. เสนอไป และในวันเดียวกัน สปน.ไดวางเงินคาปวยการอนุญาโตตุลาการของคดีหมายเลขดําที่ 1/2550 จํานวน 100,000 บาท และวางเงินคาปวยการอนุญาโตตุลาการของคดีหมายเลขดําที่ 46/2550 จํานวน 10 ลานบาท พรอมทั้งวางเงินคาใชจายของทั้งสองคดี คดีละ 15,000 บาท 20 มกราคม 2555 ไอทีวีไดวางเงินคาปวยการอนุญาโตตุลาการของคดีหมายเลขดําที่ 46/2550 เพิ่มอีก 5 ลานบาท รวมเปน 10 ลานบาท ตามที่สถาบันอนุญาโตตุลาการแจงมา โดยสรุปไอทีวียังอยูระหวางรอผลการพิจารณาจากสถาบันอนุญาโตตุลาการชี้ขาดเรื่องภาระหนี้ตางๆ ดังกลาว ตามคดีขอ พิพาทหมายเลขดําที่ 1/2550 และเรียกรองคาเสียหายที่เกิดขึ้นจากการถูกบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบตามคดีหมายเลขดํา ที่ 46/2550 ทั้งนี้ขึ้นอยูกับผลคําพิพากษาของศาลซึ่งไมอาจคาดการณผลได
246 อินทัษชท บริ ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริษัท ชินปคอร์ ปอเรชั่น จำ�นกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ �หรับ2554 แต่ละปีและ สิ้น2553 สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 นธันสำวาคม 3) หนีส้ นิ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ และการบันทึกบัญชีกรณีขอ พิพาทระหวางไอทีวกี บั สปน. ตามที่ศาลปกครองสูงสุดไดพิพากษาใหเพิกถอนคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2549 และจากการที่มี กรณีพิพาทระหวางไอทีวีและ สปน. ดังนั้นหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากกรณีพิพาทมีดังนี้ 1.
กรณีคาปรับในการปรับเปลี่ยนผังรายการ ไอทีวียังมิไดบันทึกบัญชีคาปรับในการปรับเปลี่ยนผังรายการดังกลาว เนื่องจากตามที่ สปน. ไดยื่นฟองคดีตอศาล ปกครองกลางเปนคดีหมายเลขดําที่ 640/2550 เรียกรองให ไอทีวีชําระคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางดอกเบี้ย คาปรับและมูลคาทรัพยสินที่สงไมครบ และศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งใหจําหนายคดีเพื่อใหคูสัญญาไปดําเนินการ ทางอนุญาโตตุลาการ ในกรณีหมายเลขดําเลขที่ 1/2550 ซึ่งเปนกรณีที่ไอทีวีจะตองรอคําวินิจฉัยชี้ขาดของคณะ อนุญาโตตุลาการและกระบวนการยุติธรรมใหเปนที่สุดกอน
2.
กรณีคา สัญญาอนุญาตใหดาํ เนินการสวนตางปที่ 9 ปที่ 10 และปที่ 11 จํานวน 2,210 ลานบาท และดอกเบี้ยจายของคา สัญญาอนุญาตใหดําเนินการดังกลาวรอยละ 15 งบการเงินรวมตั้งแตไตรมาส 4/2549 ไดบันทึกสํารองเผื่อคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางจํานวน 2,210 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยรอยละ 15 นับตั้งแตวันที่ศาลปกครองสูงสุดมีคําตัดสินเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2549 เนื่องจากไอทีวีไดยื่นขอเสนอชําระเงินดังกลาวโดยมีเงื่อนไขเพื่อการประนีประนอมมิใหมี การบอกเลิกสัญญาเกิดขึ้นและมีเงื่อนไขเสนอขอใหนําคาปรับและดอกเบี้ยเขาสูกระบวนการอนุญาโตตุลาการตาม สัญ ญาอนุ ญาตใหดํ าเนินการ ตอมาในไตรมาสที่ 1/2550 สปน. ไดปฏิ เสธที่ จะรับเงื่อนไขการชําระเงิน จํา นวน ดังกลาว จึงถือไดวาขอเสนอของไอทีวียังไมเปนที่ตกลงกันทั้งสองฝาย จึงไมอาจถือไดวาไอทีวียอมรับสภาพหนี้คา อนุญาตใหดําเนินการสวนตางจํานวน 2,210 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยของคาอนุญาตใหดําเนินการจํานวนดังกลาว แตอยางใด อีกทั้งในเวลาตอมาศาลปกครองกลางไดพิพากษาตัดสินจําหนายคดีหมายเลขดําที่ 640/2550 ซึ่ง สปน. เรียกรองใหชําระคาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางดอกเบี้ย คาปรับ และมูลคาทรัพยสินที่สงไมครบเพื่อใหนําขอ พิพาทเขาดําเนินการตามกระบวนการอนุญาโตตุลาการและกระบวนการยุติธรรมตามสัญญาเขารวมงานฯ
3.
มูลคาทรัพยสินที่สงมอบไมครบ มูลคาทรัพยสินที่สงมอบไมครบจํานวน 656 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.50 ตอปของมูลคาที่สงมอบ ไมครบนับแตวันฟองจนกวาจะชําระเงิน เนื่องจาก สปน. ไมเคยเรียกรองใหไอทีวีชําระหนี้จํานวนดังกลาวมากอนไอทีวี จึงไมมีภาระผูกพันในการสงมอบตามมูลคาดังกลาว อีกทั้งศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งใหจําหนายคดีดังกลาวแลว ไอทีวีจึงยังไมบันทึกรายการดังกลาวในงบการเงิน เนื่องจากมูลคาที่ตองสงมอบตามที่ สปน. กลาวอางนั้นเปนเพียง ประมาณการธุรกิจ (ซึ่งมีทั้งประมาณการรายรับ รายจาย กําไร ภาษี และมูลคาทรัพยสินการลงทุน เปนตน) ซึ่ง ขอตกลงในสัญญาอนุญาตใหดําเนินการในเรื่องที่เกี่ยวกับทรัพยสินกําหนดไวแตเพียงวา ผูเขารวมงานจะตองจัดหา ทรัพยสินมาเพื่อดําเนินการสถานีโทรทัศนระบบ ยู เอช เอฟ ใหครอบคลุมประชากรรอยละ 96.72 ของจํานวน ประชากรทั้งประเทศ โดยมิไดกําหนดเงื่อนไขมูลคาทรัพยสินที่ตองจัดหาแตประการใด โดยไอทีวีไดจัดหาทรัพยสิน ครอบคลุมจํานวนประชากรดังกลาวเปนที่เรียบรอยแลวจึงไมมีหนาที่หรือภาระผูกพันใดๆ ที่ตองจัดหาทรัพยสินหรือ ชดใชมูลคาทรัพยสินใหแก สปน. อีกแตอยางใด ไอทีวียังอยูระหวางรอผลการพิจารณาจากสถาบันอนุญาโตตุลาการชี้ขาดเรื่องภาระหนี้ดังกลาว ตามคดีขอพิพาท หมายเลขดําที่ 1/2550 และเรียกรองคาเสียหายที่เกิดขึ้นจากการถูกบอกเลิกสัญญาโดยมิชอบตามคดีหมายเลขดํา ที่ 46/2550 ทั้งนี้ขึ้นอยูกับผลคําพิพากษาของศาลซึ่งไมอาจคาดการณผลได
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
247 รายงาน ประจำ�ปี 2554
อยางไรก็ตามไอทีวีไดบันทึกสํารองเผื่อคาสัญญาอนุญาตใหดําเนินการสวนตางจํานวน 2,891 ลานบาท และ ดอกเบี้ยลาชาของคาอนุญาตใหดําเนินการ นับตั้งแตวันที่ศาลปกครองสูงสุดมีคําตัดสินเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะ อนุญาโตตุลาการ จํานวน 2,132 ลานบาท ไวในงบการเงินนี้แลว ซึ่งเปนขาดทุนจากสํารองเผื่อดอกเบี้ยของสวนตาง ของคาอนุญาตใหดําเนินการสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 จํานวน 433 ลานบาท ( 2553: 433 ลานบาท )
34.3 การประเมินภาษีเงินไดที่ประเทศอินเดีย ไทยคมและเจาพนักงานประเมินภาษีของประเทศอินเดีย มีความเห็นที่แตกตางกันเกี่ยวกับประเภทรายได และภาระ ภาษีสําหรับรายไดจากการใหบริการชองสัญญาณดาวเทียม โดยเจาพนักงานประเมินภาษีมีความเห็นวารายไดของ ไทยคมจากการใหบริการชองสัญญาณดาวเทียมใหกับผูใชบริการที่มีถิ่นที่อยูและไมมีถิ่นที่อยูในประเทศอินเดียแต สามารถรั บ ชมและเข า ใจได โ ดยผู รั บ ชมในประเทศอิ น เดี ย เป น รายได ป ระเภทค า สิ ท ธิ ห รื อ Royalty ตาม พระราชบัญญัติภาษีเงินไดของประเทศอินเดีย และอนุสัญญาเพื่อหลีกเลี่ยงการเก็บภาษีซอนระหวางประเทศไทยกับ ประเทศอินเดีย รายไดดังกลาวของไทยคมจึงตองถูกหักภาษี ณ ที่จายในอัตรารอยละ 15 ไทยคมไมเห็นดวยกับ ความเห็นดังกลาว โดยไทยคมมีความเห็นวารายไดจากการใหบริการชองสัญญาณดาวเทียมเปนรายไดจากการทํา ธุรกิจ (business income) เมื่อไทยคมไมมีสถานประกอบการถาวรในประเทศอินเดีย รายไดดังกลาวจึงไมตองเสีย ภาษีในประเทศอินเดีย แต ก รมสรรพากรของประเทศอิ น เดี ย ยื น ยั น ความเห็ น เดิ ม และได ทํ า การประเมิ น ภาษี เ งิ น ได เงิ น เพิ่ ม ภาษี เ พื่ อ การศึกษาและดอกเบี้ย จากรายไดที่ไทยคมไดรับจากผูใชบริการของไทยคม สําหรับปประเมิน 2541-2542 ถึง 2550-2551 (วันที่ 1 เมษายน 2540 ถึง วันที่ 31 มีนาคม 2550) เปนจํานวนเงินรวม 780 ลานรูป (ประมาณ 459 ลานบาท) เบี้ยปรับและดอกเบี้ยที่เกี่ยวของกับเบี้ยปรับเปนจํานวนเงินรวม 566 ลานรูป (ประมาณ 334 ลานบาท) ทั้งนี้ไทยคมไดนําใบภาษีหัก ณ ที่จาย ที่ผูใชบริการในประเทศอินเดียไดหักภาษี ณ ที่จายไวจนถึงปประเมิน 25502551 เปนเงินจํานวนสุทธิ 488 ลานรูป (ประมาณ 287 ลานบาท) ซึ่งบางสวนเปนภาษีหัก ณ ที่จายที่ลูกคาเปน ผูรับผิดชอบจายแทนไทยคม วางเปนหลักประกันสําหรับภาษีเงินได เงินเพิ่ม ภาษีเพื่อการศึกษาและดอกเบี้ย รวมถึง เบี้ยปรับและดอกเบี้ยที่เกี่ยวของกับเบี้ยปรับ และไทยคมยังไดวางเงินประกันเพิ่มเติมเปนเงินจํานวน 460 ลานรูป (ประมาณ 271 ลานบาท) โดยไทยคมไดแสดงเงินประกันดังกลาวเปนสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นในงบแสดงฐานะ การเงิน เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2554 Income Tax Appellate Tribunal (“ITAT”) ไดมีคําตัดสินวา รายไดของไทยคมจากการ ใหบริการชองสัญญาณดาวเทียมในประเทศอินเดียไมถือวาเปนคาสิทธิ (Royalty) เมื่อไทยคมไมมีสถานประกอบการ ถาวรในประเทศอินเดีย รายไดดังกลาวไมตองเสียภาษีในประเทศอินเดีย สําหรับเบี้ยปรับและดอกเบี้ยที่เกี่ยวของกับ เบี้ยปรับที่กรมสรรพากรของประเทศอินเดียไดทําการเรียกเก็บจากไทยคมใหถือวาไมมีผลและ ITAT ไดมีคําสั่งให ยกเลิกการเรียกเก็บเบี้ยปรับสําหรับปประเมินภาษี 2541-2542, 2542-2543, 2543-2544, 2544-2545 และ 2545-2546 ที่กรมสรรพากรของประเทศอินเดียเรียกเก็บจากไทยคม และ กรมสรรพากรของประเทศอินเดียไมได ยื่นอุทธรณคําตัดสินในเรื่องเบี้ยปรับสําหรับปประเมินภาษีดังกลาวตอศาล High Court ดังนั้น คําตัดสินของ ITAT ในเรื่องของเบี้ยปรับจึงถือเปนที่สุด และเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2554 กรมสรรพากรของประเทศอินเดียไดแจงคืน หลักประกันที่ไทยคมไดวางไวสําหรับเบี้ยปรับและดอกเบี้ยที่เกี่ยวของกับเบี้ยปรับสําหรับปประเมิน 2541-2542 ถึง 2544-2545 เปนจํานวนเงิน 162 ลานรูป (ประมาณ 96 ลานบาท) จากคําตัดสินของ ITAT ขางตน บริษัทอยูระหวางการดําเนินการขอคืนเงินประกัน และภาษีหัก ณ ที่จายสวนที่เหลือ จากกรมสรรพากรของประเทศอินเดีย โดยภาษี หัก ณ ที่จายสวนที่ลูกคารับผิดชอบจายแทนบริษัท บริษัทจะสงคืน ลูกคา ภายหลังคดีตัดสินถึงที่สุดโดย Supreme Court
248 อินทัษชท บริ ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
บริษัท ชินปคอร์ ปอเรชั่น จำ�นกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ �หรับ2554 แต่ละปีและ สิ้น2553 สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 นธันสำวาคม เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2554 กรมสรรพากรของประเทศอินเดียไดยื่นอุทธรณคําพิพากษาของ High Court ซึ่ง พิพากษาวารายไดจากการใหบริการชองสัญญาณดาวเทียมไมถือเปนรายไดประเภทคาสิทธิตอ Supreme Court แลว ขณะนี้เรื่องอยูในระหวางการพิจารณาของศาล Supreme Court หากไทยคมถูกตัดสินถึงที่สุดโดย Supreme Court วาไทยคมมีภาระตองเสียภาษีในประเทศอินเดีย ภาษีเงินไดรวม ดอกเบี้ยที่ถูกประเมินแลวจํานวน 780 ลานรูป (ประมาณ 459 ลานบาท) จะถูกบันทึกเปนคาใชจายแตไทยคมไมตอง จายชําระ เพราะไทยคมไดถูกหักภาษี ณ ที่จายและไดวางเงินประกันในสวนภาษีเงินไดไวครบถวนแลว
34.4 เหตุการณสําคัญขอพิพาททางการคา และคดีความที่สําคัญของ เอไอเอส และ บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (“ดีพีซี”) เอไอเอส
1) ความเห็นของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเกี่ยวกับการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ตามที่กระทรวงเทคโนโลยีฯ ไดมีหนังสือถึงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาขอความเห็นเกี่ยวกับการแกไขเพิ่มเติมสัญญา อนุญาตใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระหวางบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (“ทีโอที”) ซึ่งในขณะที่มีสถานะเปนองคการโทรศัพท แหงประเทศไทย กับ เอไอเอส ภายหลังจากวันที่พระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการ ของรัฐ 2535 ใชบังคับวาไดดําเนินการถูกตองตามพระราชบัญญัติดังกลาวหรือไม และหากการแกไขเพิ่มเติมสัญญา อนุญาตใหดําเนินการไมถูกตองตามพระราชบัญญัติดังกลาว จะมีแนวทางการปฏิบัติตอไปอยางไร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไดมีบันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่อง การบังคับใชพระราชบัญญัติวาดวยการ ใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ 2535 (กรณีสัญญาอนุญาตใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระหวางทีโอทีกับ เอไอเอส) เรื่อง เสร็จที่ 291/2550 ใหความเห็นดังนี้ * “… ทีโอทีเขาเปนคูสัญญาในเรื่องนี้เปนการกระทําแทนรัฐ โดยอาศัยอํานาจหนาที่ตามกฎหมายวาดวยองคการโทรศัพทแหง ประเทศไทย สัญญาอนุญาตฯ ที่เกิดขึ้นจึงเปนสัญญาระหวางรัฐกับเอกชนเพื่อมอบหมายใหเอกชนดําเนินการใหบริการ สาธารณะแทนรัฐ รัฐจึงมีหนาที่ปฏิบัติตามขอกําหนดในสัญญาดังกลาว แตเมื่อการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ตามกรณีขอหารือดําเนินการไมถูกตองตามพระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชน เขารวมงานฯ ซึ่งมีผลใชบังคับในขณะที่มีการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ เนื่องจากมิไดเสนอเรื่องการแกไขเพิ่มเติมให คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 พิจารณา และเสนอใหคณะรัฐมนตรีซึ่งเปนองคกรที่มีอํานาจพิจารณาเห็นชอบกับ การแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ตามนัยแหงพระราชบัญญัติดังกลาวดังที่ไดวินิจฉัยขางตน การแกไขเพิ่มเติมสัญญา อนุญาตฯ โดย ทีโอที เปนคูสัญญา จึงกระทําไปโดยไมมีอํานาจตามกฎหมาย อยางไรก็ดี กระบวนการแกไขเพิ่มเติมสัญญา อันเปนนิติกรรมทางปกครอง สามารถแยกออกจากขอตกลงตอทายสัญญา อนุญาตฯ ที่ทําขึ้นได และขอตกลงตอทาย สัญญาอนุญ าตฯ ที่ทําขึ้น นั้น ยั งคงมีผลอยู ตราบเท าที่ ยังไมมีก ารเพิก ถอนหรือสิ้น ผลโดยเงื่อนเวลาหรือเหตุอื่น หาก คณะรัฐมนตรีซึ่งเปน ผูมีอํานาจตามกฎหมายไดพิจารณาถึ งเหตุแหงการเพิ กถอน ผลกระทบและความเหมาะสม โดย คํานึงถึงประโยชนของรัฐและประโยชนสาธารณะแลววา การดําเนินการที่ไมถูกตองนั้นมีความเสียหายอันสมควรจะตองเพิก ถอนขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทําขึ้น คณะรัฐมนตรีก็ชอบที่จะเพิกถอนขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตฯ แตถา คณะรัฐมนตรีพิจารณาแลวมีเหตุผลความจําเปนเพื่อประโยชนของรัฐหรือประโยชนสาธารณะและเพื่อความตอเนื่องของ การใหบริการสาธารณะ คณะรัฐมนตรีก็อาจใชดุลพินิจพิจารณาใหความเห็นชอบใหมีการดําเนินการแกไขเพิ่มเติมสัญญา อนุญาตฯ ดังกลาวไดตามความเหมาะสม โดยหนวยงานเจาของโครงการและคณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 เปน ผูดําเนินการเสนอขอเท็จจริง เหตุผลและความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี”
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
249 รายงาน ประจำ�ปี 2554
*ขอความขางตนเฉพาะในเครื่องหมาย “...” เปนเพียงขอความที่คัดลอกมาบางสวนจากบันทึกความเห็นของสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 291/2550 ทั้งนี้ คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 ไดเสนอความเห็นกรณีการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ของเอไอเอส ตอ รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีฯ แลว
2) กรณีการนําภาษีสรรพสามิตมาหักออกจากเงินสวนแบงรายไดระหวาง เอไอเอส กับ ทีโอที เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 ทีโอทีไดยื่นคําเสนอขอพิพาทหมายเลขดําที่ 9/2551 ตอสถาบันอนุญาโตตุลาการสํานักระงับ ขอพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เพื่อเรียกรองให เอไอเอส ชําระเงินสวนแบงรายไดเพิ่มเติมอีกประมาณ 31,463 ลานบาท ตามสั ญญาอนุญาตใหดําเนินกิจการบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 1.25 ตอเดือนของเงิน ดังกลาว นับตั้งแตวันที่ 10 มกราคม 2550 อันเปนวันผิดนัดจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น จํานวนเงินที่ ทีโอที เรียกรองดังกลาวเปนจํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่ เอไอเอส ไดนําสงตั้งแตวันที่ 28 มกราคม 2546 ถึงวันที่ 26 กุมภาพันธ 2550 และนํามาหักออกจากสวนแบงรายได ซึ่งเปนการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2546 ถูกตองครบถวนแลว และมีการปฏิบัติเชนเดียวกันทั้งอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ อีกทั้งทีโอที ได เคยมีหนังสือตอบ เลขที่ ทศท. บย./843 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2546 โดยระบุวา เอไอเอส ไดปฏิบัติถูกตองตามมติ คณะรัฐมนตรีแลว และ เอไอเอส มีภาระเทาเดิมตามอัตรารอยละที่กําหนดไวในสัญญา ซึ่งการดําเนินการยื่นแบบชําระภาษี สรรพสามิตดังกลาว ไมมีผลกระทบตอขอสัญญาแตประการใด เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคําชี้ขาดใหยกคําเสนอขอพิพาทของ ทีโอที โดยใหเหตุผลสรุปได วา เอไอเอส มิไดเปนผูผิดสัญญา โดย เอไอเอส ไดชําระหนี้ผลประโยชนตอบแทนเสร็จสิ้นและหนี้ทั้งหมดไดระงับไปแลว ทีโอที จึงไมมีสิทธิเรียกรองให เอไอเอส ชําระหนี้ซ้ํา เพื่อเรียกสวนที่อางวาขาดไป เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2554 ทีโอที ไดยื่นคํารองขอเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการตอศาลปกครองกลางเปน คดีหมายเลขดําที่ 1918/2554
3) กรณี ทีโอที มีหนังสือแจงใหชําระเงินสวนแบงรายไดเพิ่มเติมกรณีการปรับลดสวนแบงรายไดบริการบัตรเติมเงิน และการหัก คาใชจายการใชเครือขายรวม กรณีที่ ทีโอที ไดมีหนังสือลงวันที่ 31 มกราคม 2554 แจงให เอไอเอส ชําระเงินสวนแบงรายไดเพิ่มเติมในกรณีการปรับลด สวนแบงรายไดบริการบัตรเติมเงิน (บัตรพรีเพด) จํานวน 29,534 ลานบาท การหักคาใชจายการใชเครือขายรวม (ROAMING) จํานวน 7,462 ลานบาท และการหักคาภาษีสรรพสามิตออกจากสวนแบงรายไดและภาษีมูลคาเพิ่ม เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม จํานวนเงินรวม 36,817 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 ตอปใหแก ทีโอที ภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ 2554 นั้น เอไอเอส ไดมีหนังสือโตแยงคัดคานขอเรียกรองขางตนของทีโอที เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2554 ดวยเหตุผลดังนี้ 1) กรณีการปรับลดสวนแบงรายไดบริการบัตรเติมเงิน (บัตรพรีเพด) และการหักคาใชจาย การใชเครือขายรวม (Roaming) 1.1) ตามหนังสือเรียกรองของทีโอทีขางตน ทีโอทีไดกลาวอางบางสวนของคําพิพากษาศาลฎีกาแผนกคดีอาญา ของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง คดีหมายเลขแดงที่ อม. 1/2553 (“คําพิพากษาฯ”) เปนเหตุเรียกรองให เอ ไอเอส ชําระเงินดังกลาว แตความจริงแลว คําพิพากษาดังกลาวหาไดมีผลผูกพัน เอไอเอส แตอยางใดไม เนื่องจาก ทั้งทีโอที และ เอไอเอส ตางมิไดเปนคูความในคดี
250 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย -บริษท อิหมายเหตุ นทัช ประกอบงบการเงิน
บริ น คอร์ กัด ธั(มหาชน) และบริและ ษัทย่2553 อย สําษหรััท บชิแต ละปสปนิ้ อเรชั สุดวั่นนจำที�่ 31 นวาคม 2554 หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำ�หรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 1.2) ศาลดั ง กล า วหาได วิ นิ จ ฉั ย ให เ พิ ก ถอนข อ ตกลงต อ ท า ยสั ญ ญาอนุ ญ าตให ดํ า เนิ น กิ จ การบริ ก าร โทรศัพทเคลื่อนที่ครั้งที่ 6 กรณีบริการบัตรเติมเงิน (บัตรพรีเพด) และครั้งที่ 7 กรณีการใชเครือขายรวม (Roaming) แตอยางใดไม รวมทั้ง มิไดวินิจฉัยวา เอไอเอส กระทําผิดโดยไมปฏิบัติตามขอสัญญา หรือ วินิจฉัยใหขอตกลงตอทายสัญญาทั้งสองฉบับ ไมมีผลผูกพันระหวางทีโอทีและ เอไอเอส แตอยางใด 1.3) ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตฯ ทั้งสองฉบับยังคงมีผลใชบังคับและผูกพันคูสัญญาใหตองปฏิบัติตาม ตอไป อีกทั้ง การปฏิบัติในชวงหลายปที่ผานมา เอไอเอส ไดปฏิบัติตามขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตฯ ทั้งสองฉบับอยางครบถวนและถูกตองมาโดยตลอด ดังนั้น เอไอเอส จึงไมมีหนาที่ตองชําระเงินสวนแบง รายไดและเงินอื่นใดตามที่ทีโอทีเรียกรองมา 1.4) เจตนารมณและเหตุผลในการทําบันทึกขอตกลงตอทายสัญญาทั้งสองฉบับ มีหลักฐานปรากฏอยางชัดแจง ทั้งที่ ทีโอที หรือหนวยงานทางราชการอื่นวา เปนการกระทําเพื่อประโยชนสาธารณะเพื่อทําใหผูใชบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ไดรับบริการในราคาที่ถูกลง และ ทีโอทีก็ไดรับสวนแบงรายไดเพิ่มเติมสูงขึ้นเปนอยางมาก จากการนี้ 2) กรณีการนําภาษีสรรพสามิตมาหักออกจากเงินสวนแบงรายได 2.1) นโยบายของรัฐบาลที่ตองการใชภาษีสรรพสามิตเปนเครื่องมือในการจัดแบงเงินรายไดตามสัญญาบางสวน ไปเปนภาษีสรรพสามิต เพื่อเตรียมการแปรสภาพองคการโทรศัพทในขณะนั้นเปนบริษัท มหาชนในตลาด หลักทรัพย โดยมีหลักการสําคัญวา รัฐไมไดรับความเสียหายใด โดยรัฐยังคงไดรับสวนแบงรายไดเทาเดิม ผูประกอบการไมมีภาระเพิ่ม ผูใชบริการไมตองจายคาบริการเพิ่ม ดังนั้น เมื่อรวมภาษีสรรพสามิตและสวน แบ ง รายได ( ที่ หั ก ภาษี ส รรพสามิ ต แล ว ) รั ฐ (คื อ กระทรวงการคลั ง (กรมสรรพสามิ ต ) และที โ อที ซึ่ ง กระทรวงการคลังถือหุนรอยละ 100) จึงยังคงมีรายไดเทาเดิม ไมมีความเสียหายใด 2.2) ทีโอที มีหนาที่ตองปฏิบัติตามนโยบายของรัฐ และ มติคณะรัฐมนตรีที่ออกมาโดยชอบดวยกฎหมาย และใช กับผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ทุกราย ที่กําหนดใหผูใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ทุกรายหักคาภาษี สรรพสามิตออกจากสวนแบงรายไดกอนนําสงใหคูสัญญา ซึ่งทีโอทีเปนฝายแจงให เอไอเอส เปนผูปฎิบัติใน การชําระภาษีสรรพสามิตแลวนําไปหักออกจากสวนแบงรายไดใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรี และ เอไอเอส ไดปฏิบัติตามที่แจงมานั้นโดยสุจริต 2.3) ศาลดังกลาวมิไดวินิจฉัยวามติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับภาษีสรรพสามิตดังกลาวไมชอบดวยกฎหมาย และ มิไดเพิกถอนหรือยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีดังกลาวแตอยางใด 2.4) ในระหวางป 2546 ถึงป 2550 ซึ่งมีการนําภาษีสรรพสามิตมาหักออกจากเงินสวนแบงรายไดนั้น ทีโอที ไม เคยเรียกรองให เอไอเอส ชําระเงินจํานวนดังกลาว แตไดยืนยันความถูกตองวาไดรับสวนแบงรายได ครบถวนตามสัญญาแลว ดวยการออกใบเสร็จรั บเงินและใบกํ ากับภาษี และคืนหนังสือค้ํา ประกั นของ ธนาคารที่ออกเพื่อประกันการชําระเงินสวนแบงรายไดมาโดยตลอด 2.5) สวนภาษีมูลคาเพิ่ม เบี้ยปรับ และเงินเพิ่ม ที่ทีโอทีเรียกรองนั้น เอไอเอส ไมมีหนาที่ตองชําระ เนื่องจาก หาก จะมีภาษีหรือภาระดังกลาวเกิดขึ้นจริงแลว ก็เปนหนาที่ความรับผิดของทีโอทีในฐานะผูมีเงินไดตามประมวล รัษฎากร อีกทั้ง ทีโอทีเองก็เปนฝายโตแยงกรมสรรพากรวา กรมสรรพากรไมอาจประเมินเรียกเก็บภาษี ดังกลาวได
251 รายงาน ประจำ�ปี 2554
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
2.6) การเรียกรองของทีโอทีในกรณีดังกลาวนี้ เปนการเรียกรองซ้ําซอนกับเงินจํานวนเดียวกันที่ ทีโอที ได เรียกรองในเรื่องภาษีสรรพสามิตไวแลว ดวยวิธีการอนุญาโตตุลาการ ณ สถาบันอนุญาโตตุลาการ ตั้งแต วันที่ 22 มกราคม 2551 โดยขณะนี้ขอพิพาทอยูในระหวางการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ ดังนั้นผูบริหารของ เอไอเอส เชื่อวา กรณีดังกลาวไมนาจะมีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตองบการเงินของ เอไอเอส เนื่องจาก เอไอเอส ไมมีหนาที่ตองชําระเงินสวนแบงรายไดและเงินอื่นใดตามที่ ทีโอที เรียกรองมา เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2554 เอไอเอส ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทหมายเลขดําที่ 8/2554 ตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานัก ระงับขอพิพาทสํานักงานศาลยุติธรรม เพื่อใหมีคําชี้ขาดวาขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตฯ ครั้งที่ 6 และครั้งที่ 7 มีผล ผูกพัน เอไอเอส และทีโอที และทีโอทีไมมีสิทธิเรียกรองให เอไอเอส ชําระเงินผลประโยชนตอบแทนพรอมดอกเบี้ยและ ภาษีมูลคาเพิ่มตามหนังสือฉบับดังกลาว ขณะนี้ขอพิพาทดังกลาวอยูในขั้นตอนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ ตอมาเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2554 ทีโอทีไดสงหนังสือลงวันที่ 22 สิงหาคม 2554 แจง เอไอเอส วา ขอยกเลิกการเรียกรอง ดังกลาว โดย ทีโอที ใหเหตุผลวา พบขอเท็จจริงที่คลาดเคลื่อน และยังยืนยันดวยวา เมื่อตนยังมิไดดําเนินการใดๆ ตาม หนังสือดังกลาว ยอมถือไดวา ขอตกลงตอทายสัญญาอนุญาตฯ ครั้งที่ 6 และครั้งที่ 7 คงมีผลบังคับอยู จากขอเท็จจริงดังกลาวขางตน ยอมประจักษวา ไมมีขอพิพาทที่ทําให เอไอเอส จําตองดําเนินการในชั้นอนุญาโตตุลาการตอ ทีโอทีตามที่เรียกรองอีกตอไป ดังนั้นในวันที่ 3 ตุลาคม 2554 เอไอเอส จึงไดยื่นคํารองขอถอนคําเสนอขอพิพาทหมายเลขดํา ที่ 8/2554 และสถาบันอนุญาโตตุลาการไดมีหนังสือ ลงวันที่ 6 ตุลาคม 2554 แจงคําสั่งอนุญาตใหถอนคําเสนอขอพิพาท ดังกลาว
4) สัญญาการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม ตามพระราชบัญญัติการประกอบการกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 และประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 เอไอเอส ไดทําสัญญาการเชื่อมตอโครงขาย โทรคมนาคมกับผูรับใบอนุญาตรายอื่น โดยไดผานการเห็นชอบจากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ ดังนี้ 1) 2) 3) 4)
ผูประกอบการ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ทรู มูฟ จํากัด บริษัท ดิจิตอลโฟน จํากัด บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน)
ระยะเวลาการมีผลบังคับใช 30 พฤศจิกายน 2549 เปนตนไป 16 มกราคม 2550 เปนตนไป 1 มิถุนายน 2552 เปนตนไป 7 เมษายน 2553 เปนตนไป
เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2550 ทีโอที ไดยื่นคําฟองคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติตอศาลปกครองกลาง เพื่อขอ เพิกถอนประกาศฯ ดังกลาว (วันที่ 15 กันยายน 2553 ศาลปกครองกลางไดมีคําพิพากษายกฟองกรณี ทีโอที ยื่นฟองขอ เพิกถอนประกาศของ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 และ ทีโอที ไดยื่นอุทธรณตอศาล ปกครองสูงสุดแลว) และเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2551 ทีโอที ไดมีหนังสือแจงให เอไอเอส ทราบวา เอไอเอส ควรรอใหศาลมีคํา พิพากษาเพื่อยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติตอไป และหาก เอไอเอส ดําเนินการตามประกาศคณะกรรมการกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติกอนศาลปกครองมีคําพิพากษาถึงที่สุด ทีโอทีจะไมรับรู และ เอไอเอส จะตองเปนผูรับผิดชอบในการ ดําเนินการดังกลาว
252 อินทัษชท บริ ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
บริษัท ชินปคอร์ ปอเรชั่น จำ�นกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ �หรับ2554 แต่ละปีและ สิ้น2553 สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 นธันสำวาคม อยางไรก็ตาม เอไอเอส ไดพิจารณาหนังสือของ ทีโอที ดังกลาวและกฎหมายที่เกี่ยวของประกอบกับความเห็นของที่ปรึกษา กฎหมาย ผูบริหารของเอไอเอสเห็นวา การไมปฏิบัติตามสัญญาการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมขางตน อาจถือไดวาเปน การขัดตอประกาศ กทช. วาดวยการใชและเชื่อมตอโครงขายฯ เอไอเอสจึงไดตัดสินใจปฏิบัติตามสัญญาการเชื่อมตอ โครงขาย ซึ่งเปนไปตามบทบัญญัติแหงกฎหมายที่มีผลใชบังคับอยูในปจจุบัน โดยออกใบแจงหนี้เพื่อเรียกเก็บคาเชื่อมตอ โครงขายจากคูสัญญา ในวันที่ 30 ธันวาคม 2551 เอไอเอสไดนําสงเงินผลประโยชนตอบแทนจากการเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมตั้งแตเดือน กุมภาพันธ 2550 ถึงเดือนมิถุนายน 2551 จํานวนเงิน 761 ลานบาท ซึ่งคํานวณจากรายไดสุทธิตามอัตราและวิธีคิด คํานวณของเอไอเอสใหแกทีโอที ซึ่งตอมาไดมีการจัดตั้งคณะทํางานเจรจาเกี่ยวกับอัตราผลประโยชนตอบแทนจากคา เชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมระหวางเอไอเอสกับทีโอที แตก็ไมสามารถมีขอยุติรวมกันได เนื่องจากทีโอทีตองการใหเอไอเอส ชําระเงินสวนแบงรายไดจากคาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมที่เอไอเอสไดรับทั้งจํานวนตามอัตรารอยละที่กําหนดไวใน สัญญาอนุญาตฯ โดยมิใหเอไอเอสนําคาเชื่อมตอโครงขายโทรคมนาคมที่เอไอเอสถูกผูประกอบการรายอื่นเรียกเก็บมาหัก ออกกอน ในวันที่ 26 มกราคม 2554 ทีโอที จึงไดมีหนังสือแจงใหเอไอเอสชําระเงินผลประโยชนจากรายไดคาเชื่อมตอ โครงขายโทรคมนาคมของปดําเนินการที่ 17 – 20 เปนเงินรวม 17,803 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 1.25 ตอ เดือน แตเอไอเอส ไมเห็นดวยโดยไดมีหนังสือโตแยงคัดคานไปยังทีโอที และเอไอเอสไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบั น อนุ ญ าโตตุ ล าการเป น ข อ พิพ าทหมายเลขดํ า ที่ 19/2554แล ว เมื่ อ วั น ที่ 9 มี น าคม 2554 เพื่ อ ให ค ณะ อนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาดวา ทีโอทีไมมีสิทธิเรียกรองเงินผลประโยชนตอบแทนดังกลาว ดีพีซี
1) ความเห็นของสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเกี่ยวกับการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ตามที่กระทรวงเทคโนโลยีฯ ไดมีหนังสือถึงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอความเห็นเกี่ยวกับการแกไขเพิ่มเติมสัญญา อนุญาตใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ระหวาง กสท. กับ ดีพีซี (บริษัทยอยของ เอไอเอส) ภายหลังจากวันที่พระราชบัญญัติวา ดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ 2535 ใชบังคับไดดําเนินการถูกตองตามพระราชบัญญัติ ดังกลาวหรือไม และหากการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ดําเนินการไมถูกตองตามพระราชบัญญัติดังกลาว จะมีแนว ทางการปฏิบัติตอไปอยางไร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นเรื่องการบังคับใชพระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือ ดํา เนิ น การในกิจการของรั ฐ 2535 กรณี สั ญญาอนุ ญ าตให บ ริก ารโทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ กสท. กั บ ดี พี ซี โดยจากบั น ทึ ก สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 294/2550 ใหความเห็นโดยสรุปวา ** “...............การที่ บมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซส คอมมูนิเคชั่น (“ดีแทค”) โอนสิทธิและหนาที่ตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร ใหแก ดีพีซี และ ดีพีซี กับ กสท. ไดมีการทําสัญญาระหวางกันในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 วา กสท. ไดอนุญาตใหสิทธิเอกชนรายใหมในการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร โดย กสท. และ ดีพีซี เปนคูสัญญาและไมถือวาเปนสวนหนึ่งของโครงการดําเนินการใชบริการวิทยุคมนาคมฯ ที่ กสท. อนุญาตใหแก ดีแทค แตอยางใด ดีพีซี จึงเปนคูสัญญาที่อยูภายใตการดูแลกํากับของ กสท. และจายคาตอบแทนใหแก กสท. ดีพีซี ในฐานะที่เปน เอกชนผูเขารวมงาน หรือดําเนินงานในกิจการของรัฐจึงตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติใหเอกชนเขารวมงานฯ เนื่องจาก กสท. ไดมีการกําหนดขอบเขตของโครงการและเอกชนผูดําเนินการใหบริการเปนการเฉพาะเจาะจง รวมทั้งไดมีการใหบริการ โครงการไปแลว จึงไมมีกรณีที่จะตองประกาศเชิญชวนเอกชนเขารวมงาน หรือดําเนินการในกิจการของรัฐและการคัดเลือก เอกชนดวยวิธีประมูลตามที่บัญญัติไวในหมวด 3 การดําเนินโครงการ แตเปนการที่ตองนําบทบัญญัติในหมวด 3 นี้มาใช บังคับโดยอนุโลมเทาที่ไมขัดตอสภาพแหงขอเท็จจริง โดย กสท. ตองดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการตาม พรบ. มาตรา 13 เพื่ อ ดํ า เนิ น การตามมาตรา 21 คื อ ให ค ณะกรรมการนํ า ผลการคั ด เลื อ กพร อ มเหตุ ผ ล ประเด็ น ที่ เ จรจาต อ รองเรื่ อ ง ผลประโยชนของรัฐ รางสัญญาและเอกสารทั้งหมดเสนอตอรัฐมนตรีกระทรวงเจาสังกัดเพื่อนําเสนอคณะรัฐมนตรี พิจารณาภายในเกาสิบวันนับจากวันที่คณะกรรมการตัดสินโดยอนุโลมตอไป
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
253 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ดังนั้นการดําเนินการจึงอยูในอํานาจและหนาที่ของคณะกรรมการตามมาตรา 13 ที่จะพิจารณาตามที่เห็นสมควรได และ ดี พีซี ผูไดรับโอนสิทธิและหนาที่จากบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) ตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ ใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร ระหวาง กสท. กับบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซส คอมมู-นิเคชั่น จํากัด (มหาชน) แลว ดีพีซี ยอ มเป น ผู มี สิ ท ธิ ดํ า เนิ น การใหบ ริ ก ารวิ ท ยุโ ทรคมนาคมฯ ได ต ามสิ ท ธิ แ ละหน า ที่ ที่ ไ ด รั บ โอน แม ว า สั ญ ญาอนุ ญ าตให ดําเนินการระหวาง กสท. กับ ดีพีซี ที่ทําขึ้นใหมมิไดดําเนินการหรือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขา รวมงานฯ แตอยางไรก็ตาม สัญญาที่ทําขึ้นนั้นยังคงมีผลอยูตราบเทาที่ยังไมมีการเพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลา หรือ เหตุอื่น ดังนั้น กสท. และ ดีพีซี จึงยังตองมีภาระหนาที่ในการปฏิบัติตามสัญญาที่ไดกระทําไวแลว” ** ขอความขางตนเฉพาะในเครื่องหมาย “...” เปนเพียงขอความที่คัดลอกมาบางสวนจากบันทึกความเห็นของสํานักงาน คณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 294/2550 ทั้งนี้ คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 13 ไดเสนอความเห็นกรณีการแกไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ของ ดีพีซี ตอ รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีฯ แลว
2) กรณีการนําภาษีสรรพสามิตมาหักออกจากเงินสวนแบงรายไดระหวาง ดีพีซี กับ กสท. เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 กสท. ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทหมายเลขดําที่ 3/2551 ตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับขอ พิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เพื่อเรียกรองให ดีพีซี ชําระเงินสวนแบงรายไดเพิ่มเติมอีกประมาณ 2,449 ลานบาท ตาม สัญญาอนุญาตใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร พรอมเรียกเบี้ยปรับในอัตรารอยละ 1.25 ตอเดือนของ จํานวนเงินที่คางชําระในแตละป นับจากวันผิดนัดจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น ซึ่งคํานวณถึง เดือนธันวาคม 2550 คิดเปนเบี้ยปรับ ทั้งสิ้น 1,500 ลานบาท รวมเปนเงินประมาณ 3,949 ลานบาท ตอมาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2551 กสท. ไดยื่นคํารองขอแกไขจํานวนทุนทรัพยรวมเบี้ยปรับลดลงเหลือ 3,410 ลานบาท ซึ่ง คํานวณจากเงินสวนแบงรายไดคางชําระถึงเดือนมกราคม 2551 เปนเบี้ยปรับจํานวน 790 ลานบาท และภาษีมูลคาเพิ่ม 171 ลานบาท จํานวนเงินสวนแบงรายไดที่ กสท. เรียกรองดังกลาวเปนจํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่ ดีพีซี ไดนําสงตั้งแต วันที่ 16 กันยายน 2546 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2550 และไดนํามาหักออกจากสวนแบงรายได ซึ่งเปนการปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2546 ถูกตองครบถวนแลว และมีการปฏิบัติเชนเดียวกันทั้งอุตสาหกรรมโทรศัพทเคลื่อนที่ อีกทั้ง กสท. เคยมีหนังสือ เลขที่ กสท. 603 (กต.) 739 แจงให ดีพีซี ปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีดังกลาว เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการไดมีคําชี้ขาดใหยกคําเสนอขอพิพาทของ กสท. โดยใหเหตุผลสรุปไดวา ดี พีซี มิไดเปนผูผิดสัญญา โดย ดีพีซี ไดชําระหนี้ผลประโยชนตอบแทนเสร็จสิ้นและหนี้ทั้งหมดไดระงับไปแลว กสท. จึงไมมีสิทธิ เรียกรองให ดีพีซี ชําระหนี้ซ้ํา เพื่อเรียกสวนที่อางวาขาดไป รวมถึงเบี้ยปรับและภาษีมูลคาเพิ่มตามที่อางมา เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2554 กสท. ไดยื่นคํารองขอเพิกถอนคําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการตอศาลปกครองกลางเปนคดี หมายเลขดําที่ 1259/2554 ขณะนี้คดีดังกลาวอยูในขั้นตอนการพิจารณาของศาลปกครองกลาง
3) กรณีการนําคาเชื่อมโยงโครงขายมาหักออกจากเงินสวนแบงรายได (Access Charge) ระหวาง ดีพีซี กับ กสท. ตามมติในที่ประชุมรวมกันระหวาง ทีโอที กสท. ดีพีซี และ บริษัท ทรู มูฟ จํากัด (“ทรูมูฟ”) โดยมีรัฐมนตรีวาการกระทรวง เทคโนโลยีฯ เปนประธาน เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2547 วาเพื่อใหมีความเทาเทียมในการแขงขันของผูประกอบการทั้ง 3 ราย ทีโอที ยินยอมใหลดคาเชื่อมโยงโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่จากสวนแบงรายไดที่ ทีโอที ไดรับจาก กสท. จํานวน 22 บาท/เลข หมาย/เดือน ใหแก ดีพีซี และ ทรูมูฟ ตั้งแตปการดําเนินการปที่ 6 เชนเดียวกับที่ ทีโอที ใหสวนลดกับดีแทค
254 อิบริ นทัชษท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ตอมาเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2549 ทีโอที มีหนังสือแจง กสท. วาไมสามารถลดคาเชื่อมโยงโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ใหแก ดีพีซี และ ทรูมูฟ ได และเรียกรองให กสท. ชําระคาเชื่อมโยงโครงขายในสวนที่ ดีพีซี และ ทรูมูฟ ไดหักไวเปนสวนลดคา เชื่อมโยงโครงขายให ทีโอที จนครบถวน พรอมดอกเบี้ยตามอัตราที่กฎหมายกําหนด นับแตวันครบกําหนดชําระจนถึงวันที่ ชําระครบถวน เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2551 กสท. ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับขอพิพาท สํานักงาน ศาลยุติธรรม ขอพิพาทหมายเลขดําที่ 68/2551 เรียกรองให ดีพีซี ชําระคาเชื่อมโยงโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ ดีพีซี ไดหัก ไวจํานวน 154 ลานบาท (ผลประโยชนตอบแทนสวนเพิ่มของปดําเนินการที่ 7-10) พรอมภาษีมูลคาเพิ่มและเบี้ยปรับในอัตรา รอยละ 1.25 ตอเดือนของเงินตนดังกลาว นับแตวันพนกําหนดชําระเงินของปดําเนินงานในแตละปตั้งแตปที่ 7 ถึงปที่ 10 จนกวาจะชําระเสร็จสิ้น เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2552 กสท. ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับขอพิพาท สํานักงานศาล ยุติธรรม ขอพิพาทหมายเลขดําที่ 96/2552 เรียกรองให ดีพีซี ชําระคาเชื่อมโยงโครงขายโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ ดีพีซี ไดหักไว จํานวน 22 ลานบาท (ผลประโยชนตอบแทนสวนเพิ่มของปดําเนินการที่ 11) พรอมเบี้ยปรับในอัตรารอยละ 1.25 ตอเดือน ซึ่ง คํานวณถึงวันที่ 15 ตุลาคม 2552 รวมเปนจํานวนเงินที่เรียกรองทั้งสิ้น 26 ลานบาท ขณะนี้ขอพิพาทดังกลาวอยูในขั้นตอนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ ซึ่ง ดีพีซี ไดคํานวณสวนแบงรายไดตามขอ เรียกรองดังกลาวแลวมียอดคางเพียง 138 ลานบาท ซึ่ง ดีพีซี ไดบันทึกเปนสวนแบงรายไดคางจายไวในงบการเงินแลว แต ไมไดบันทึกภาษีมูลคาเพิ่มและเบี้ยปรับจากการผิดนัดชําระ ผูบริหารของ เอไอเอส เชื่อวา ผลของขอพิพาทดังกลาวนาจะ คลี่คลายไปในทางที่ดีและไมนาจะมีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตองบการเงินรวมของ เอไอเอส เนื่องจาก ดีพีซี ไดปฏิบัติ ถูกตองตามกฎหมายและขอสัญญาที่เกี่ยวของทุกประการแลว
4) กรณีคาเชื่อมโยงโครงขาย (Access Charge) ระหวาง ดีพีซี, กสท. และ ทีโอที เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 ทีโอที ไดยื่นฟอง กสท. เปนผูถูกฟองคดีที่ 1 และ ดีพีซี เปนผูถูกฟองคดีที่ 2 คดีหมายเลขดําที่ 1099/2554 ตอศาลปกครองกลาง เรียกรองให กสท. และ ดีพีซี รวมกันชําระคาเชื่อมโยงโครงขายที่ กสท และ ดีพีซี ยุติการ ชําระตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2552 และที่ไดหักเปนสวนลดไวในอัตรา 22 บาทตอเลขหมายรวมเปนเงินจํานวน 2,436 ลาน บาทพรอมภาษีมูลคาเพิ่ม และดอกเบี้ยซึ่งคํานวณถึงวันที่ 9 พฤษภาคม 2554 รวมเปนเงินที่เรียกรองทั้งสิ้นจํานวน 2,954 ลานบาท และเรียกดอกเบี้ยนับจากวันฟองจนกวาจะชําระเสร็จสิ้น ซึ่งประกอบดวย 4.1) คาเชื่อมโยงโครงขายซึ่งดีพีซีตองชําระใหแกทีโอที โดยคํานวณจากจํานวนเลขหมายที่ดีพีซีมีการใหบริการใน แตละเดือนในอัตรา 200 บาทตอเลขหมาย เปนเงินรวม 432 ลานบาท 4.2) คาเชื่อมโยงโครงขายซึ่ง กสท. ตองชําระใหแก ทีโอที โดยคํานวณจากครึ่งหนึ่งของจํานวนเงินสวนแบงรายได ที่ กสท. ไดรับจากดีพีซี เปนเงินรวม 2,331 ลานบาท 4.3) คาเชื่อมโยงโครงขายซึ่ง กสท. ชําระใหแกทีโอทีไมครบถวนเนื่องจาก กสท. และดีพีซีนําสวนลดคาเชื่อมโยง โครงขายในอัตรา 22 บาทตอเลขหมายตอเดือน มาหักออกกอน เปนเงินรวม 191 ลานบาทซึ่งเงินสวนหนึ่ง นั้น เปนจํานวนเดียวกับที่ กสท. เรียกรองคาเชื่อมโยงโครงขาย 22 บาทตอเลขหมายตอเดือน ที่ดีพีซี หัก ออกจากเงินสวนแบงรายไดตามขอพิพาทที่ 68/2551 ขางตน แตแตกตางกันที่จํานวนปที่เรียกรองและการ คํานวณดอกเบี้ย
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
255 รายงาน ประจำ�ปี 2554
ขณะนี้คดีดังกลาวอยูในระหวางการพิจารณาของศาลปกครอง ทั้งนี้กระบวนการศาลปกครองกลางอาจใชระยะเวลาในการ พิจารณาหลายป โดยฝายบริหารของเอไอเอสเชื่อวาผลของขอพิพาทและคดีดังกลาวนาจะคลี่คลายไปในทางที่ดีและไมนาจะ มีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตองบการเงินรวมของเอไอเอส เนื่องจาก ดีพีซี ไดปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายและขอสัญญาที่ เกี่ยวของทุกประการแลว
5) กรณีสงมอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) พรอมอุปกรณแหลงจายกําลังงาน ระหวาง ดีพีซี กับ กสท. เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ 2552 กสท. ไดเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ ตามขอพิพาท หมายเลขดําที่ 8/2552 เพื่อเรียกรองให ดีพีซี สงมอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จํานวน 3,343 ตน พรอมอุปกรณแหลงจายกําลังงาน จํานวน 2,653 เครื่อง ตามสัญญาใหดําเนินการใหบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร หากไมสามารถสงมอบไดให ดีพีซี ชดใชเงินเปนจํานวน 2,230 ลานบาท ซึ่ง ดีพีซี เห็นวา เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) พรอม อุปกรณแหลงจายกําลังงานมิใชเครื่องหรืออุปกรณตามที่กําหนดไวในสัญญา ขณะนี้ขอพิพาทดังกลาวอยูในขั้นตอนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ โดยฝายบริหารของ เอไอเอส เชื่อวาผลของขอ พิพาทดังกลาวนาจะคลี่คลายไปในทางที่ดีและไมนาจะมีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตองบการเงินรวมของ เอไอเอส เนื่องจาก ดีพีซี ไดปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายและขอสัญญาที่เกี่ยวของทุกประการแลว
6) กรณีปรับลดอัตราคาใชเครือขายรวม (Roaming) ระหวาง ดีพีซี กับ กสท. ตามที่ กสท. ไดอนุมัติให ดีพีซี (บริษัทยอยของ เอไอเอส) ปรับลดอัตราคาใชเครือขายรวม (Roaming) จาก 2.10 บาทตอ นาที เหลืออัตรานาทีละ 1.10 บาท เพื่อใหสอดคลองกับอัตราคาใชบริการที่ลดต่ําลงเรื่อยๆ เปนเวลา 3 เดือนเริ่มตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2549 เปนตนไปและ ดีพีซี ไดมีหนังสือขยายระยะเวลาตอไปอีกคราวละ 3 เดือน ซึ่ง กสท. ไดอนุมัติเรื่อยมา จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2550 โดยหลังจากนั้น กสท . มิไดมีหนังสือตอบปฏิเสธให ดีพีซี ทราบแตอยางใด จนกระทั่งในวันที่ 24 มีนาคม 2551 กสท. ไดมีหนังสือแจงให ดีพีซี ใชอัตราคาใชเครือขายรวมในอัตรานาทีละ 2.10 บาท ตั้งแต 1 เมษายน 2550 เปนตนไป ในวันที่ 8 พฤษภาคม 2551 ดีพีซี จึงไดมีหนังสือขอให กสท. พิจารณาทบทวนการปรับอัตราคาใชเครือขาย รวม โดยคํานึงถึงสภาวะการแขงขันของโทรศัพทเคลื่อนที่ในปจจุบันที่มีอัตราคาใชบริการในตลาดที่ต่ํากวาอัตราคาใช เครือขายรวมที่กําหนดมาก ซึ่งทําให ดีพีซี ไมสามารถใหบริการเครือขายรวมกับผูประกอบการที่มาขอใชบริการได และใน ระหวางรอการพิจารณา ดีพีซี จะใชอัตราคาใชเครือขายรวมในนาทีละ 1.10 บาท ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่ไดรับอนุมัติ และถือปฏิบัติมา ซึ่งตอมาเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2552 กสท.ไดมีหนังสืออนุมัติให ดีพีซี ใชอัตราคาใชเครือขายรวมในอัตรา นาทีละ 1.10 บาท ในชวงวันที่ 1 มกราคม 2552 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2552 นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2552 ดีพีซี และเอไอเอสไดทําสัญญาการใหใชโครงขายโทรคมนาคม (Roaming) โดยใชอัตรา 1.10 บาทตอนาที และไดรับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติแลว เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2553 กสท. ไดยื่นเสนอขอพิพาทตอสํานักระงับขอพิพาท สถาบันอนุญาโตตุลาการ ตาม ขอ พิพาทหมายเลขดําที่ 62/2553 เพื่อเรียกรองให ดีพีซี ชําระผลประโยชนตอบแทนสวนเพิ่มของปดําเนินการที่ 10 - 12 ที่เกิด จากการที่ ดีพีซี ปรับลดอัตราคาใชเครือขายรวมจากอัตรานาทีละ 2.10 บาท ลงเหลือ 1.10 บาท ในชวงระหวางวันที่ 1 เมษายน 2550 - 31 ธันวาคม 2551 เปนเงินรวม 1,636 ลานบาท พรอมเบี้ยปรับที่คํานวณถึงเดือน มีนาคม 2553 เปน จํานวน 364 ลานบาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น 2,000 ลานบาท และเรียกเบี้ยปรับในอัตรารอยละ 1.25 ตอเดือน นับแตเดือน เมษายน 2553 จนกวาจะชําระเสร็จสิ้น โดยอางวา กสท. ไดอนุมัติการปรับลดอัตราคาใชเครือขายรวมดังกลาวจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2550 เทานั้น
256 บริ ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อินทัษชท
ระกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริษัท ชินปคอร์ ปอเรชั่น จำ�นกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย สํหมายเหตุ าหรับแตลปะป สนิ้ สุดวันที่ 31 นธันสำวาคม ระกอบงบการเงิ �หรับ2554 แต่ละปีและ สิ้น2553 สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2554 กสท. ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับขอพิพาท สํานักงาน ศาลยุติธรรม ขอพิพาทหมายเลขดําที่ 89/2554 เรียกรองให ดีพีซี ชําระผลประโยชนตอบแทนสวนเพิ่มของปดําเนินการที่ 12 ที่เกิดจากการที่ ดีพีซี ปรับลดอัตราคาใชเครือขายรวมจากอัตรานาทีละ 2.10 บาท ลงเหลือ 1.10 บาทในชวงระหวาง วันที่ 1 เมษายน 2552 - 15 มิถุนายน 2552 เพิ่มเติม จํานวน 113 ลานบาท พรอมเบี้ยปรับในอัตรารอยละ 1.25 ตอเดือน ของเงินตนดังกลาว นับตั้งแต 1 เมษายน 2552 จนกวาจะชําระเสร็จสิ้น ขณะนี้ขอพิพาทดังกลาวอยูในขั้นตอนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้กระบวนการอนุญาโตตุลาการดังกลาวอาจ ใชระยะเวลาในการพิจารณาหลายป แตอยางไรก็ตามผูบริหารของเอไอเอสเชื่อวาคําวินิจฉัยชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ เกี่ยวกับขอพิพาทดังกลาวไมนาจะมีผลกระทบใด ๆ ตองบการเงินรวมของเอไอเอส เนื่องจาก ดีพีซี ไดปฏิบัติถูกตองตาม กฎหมายและขอสัญญาที่เกี่ยวของทุกประการแลว
7) กรณีความเสียหายเนื่องจากไมสามารถเรียกเก็บเงินคาบริการโทรศัพทระหวางประเทศ ระหวาง ดีพซี ี กับ กสท.
เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2554 กสท. ไดยื่นคําเสนอขอพิพาทหมายเลขดําที่ 32/2554 ตอสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับ ขอพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เพื่อเรียกรองให ดีพีซี ชําระเงินจํานวน 33 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 15 ตอ ปของเงินตนดังกลาว รวมเปนเงินทั้งสิ้น 35 ลานบาท โดย กสท กลาวอางวา ดีพีซี ผิดสัญญาใหดําเนินการ เนื่องจาก สัญญาเชาใชบริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลารระหวาง ดีพีซี กับผูใชบริการ ในระหวางป 2540-2546 จํานวน 1,209 เลข หมาย มีการปลอมแปลงเอกสาร/ลายมือชื่อ เปนเหตุให กสท ไดรับความเสียหายเนื่องจากไมสามารถเรียกเก็บคาใชบริการ ระหวางประเทศได เมื่อเลขหมายดังกลาวมีการใชบริการโทรศัพทระหวางประเทศของ กสท. ขณะนี้ขอพิพาทดังกลาวอยูในขั้นตอนของอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้กระบวนการอนุญาโตตุลาการอาจใชระยะเวลาในการ พิจารณาหลายป โดยฝายบริหารของ เอไอเอส เชื่อวาผลของขอพิพาทดังกลาวนาจะคลี่คลายไปในทางที่ดีและไมนาจะมี ผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตองบการเงินรวมของ เอไอเอส เนื่องจาก ดีพีซี ไดปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายและขอสัญญาที่ เกี่ยวของทุกประการแลว บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (“เอไอเอ็น”)
กรณีการสงทราฟฟคการใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศผานเครื่องหมาย + ระหวาง เอไอเอ็น กับ กสท. เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2551 กสท. ไดยื่นฟอง เอไอเอส เปนจําเลยที่ 1 และ เอไอเอ็น ซึ่งเปนบริษัทยอยของ เอไอเอส เปนจําเลยที่ 2 คดีหมายเลขดําที่ 1245/2551 ตอศาลแพง เพื่อเรียกรองใหรวมกันชดใชคาเสียหาย พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 ตอปจนถึงวันฟองรวมเปนเงิน 130 ลานบาท โดยอางวาความเสียหายดังกลาวเกิดจากกรณีที่ เอไอเอส กับ เอไอเอ็น เปลี่ยนแปลงการสงทราฟฟคการใหบริการโทรศัพททางไกลระหวางประเทศ ในชวงเวลาวันที่ 1 ถึง 27 มีนาคม 2550 ที่ ผูใชบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของ เอไอเอส ใชบริการผานเครื่องหมาย “+”จากเดิมที่เปน 001 ของ กสท. มาเปน 005 ของ เอ ไอเอ็น โดยไมแจงใหผูใชบริการทราบกอน ตอมาเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2551 กสท. ไดยื่นคํารองขอแกไขเพิ่มเติมฟองในสวนของคาเสียหาย 583 ลานบาท (รวม ดอกเบี้ย) โดยอางวาการกระทําดังกลาวเปนเหตุให กสท.ไดรับความเสียหายเปนระยะเวลาตอเนื่องเรื่อยมาจนถึงวันที่ 7 มีนาคม 2551 ตอมาวันที่ 19 พฤศจิกายน 2551 กสท. ไดยื่นคํารองขอใหศาลมีคําสั่งคุมครองชั่วคราวหามไมให เอไอเอส และ เอไอเอ็น ทําการโยกยายทราฟฟค 001 หรือเครื่องหมาย “+” ของ กสท. ไปยังทราฟฟค 005 ของ เอไอเอ็น ซึ่งศาลไดมี คําสั่งยกคํารองขอคุมครองชั่วคราวของ กสท. เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2552 และ กสท.ไดยื่นอุทธรณคําสั่งยกคํารองขอ คุมครองชั่วคราวดังกลาวในวันที่ 20 มีนาคม 2552 เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2552 ศาลแพงไดมีคําพิพากษายกฟอง กสท. เนื่องจากขอเท็จจริงรับฟงไมไดวา กสท. มีสิทธิในการ ใชเครื่องหมาย + ในการใหบริการโทรศัพท ระหวางประเทศแตผูเดียวหรือมีสิทธิหวงหามมิให เอไอเอส และ เอไอเอ็น ซึ่งเปนผู ใหบริการโทรศัพทรายอื่นใชเครื่องหมาย + และรับฟงไมไดวาการที่ เอไอเอส กระทําการแปลงสัญญาณโทรศัพทที่ใชผาน
บริษทั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับแตละปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553
257 รายงาน ประจำ�ปี 2554
เครื่องหมาย + เปนผานรหัสหมายเลข 005 ของ เอไอเอ็น เปนการทําใหผูใชบริการโทรศัพทระหวางประเทศเขาใจผิดวาเปน การใชบริการผานรหัสหมายเลข 001 ของ กสท. การกระทําของ เอไอเอส ดังกลาวจึงมิไดเปนการกระทําอันเปนการละเมิด สิทธิใดๆของ กสท. สําหรับ เอไอเอ็น ที่ กสท. ฟองอางวารวมกระทําละเมิดกับ เอไอเอส นั้น จึงมิไดกระทําการละเมิดตอ กสท. ตามฟองดวยอยางไรก็ตาม กสท. ไดยื่นอุทธรณคําพิพากษาดังกลาวเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2553 ขณะนี้คดีดังกลาวอยูใน ขั้นตอนการพิจารณาของศาลอุทธรณ
34.5 การถูกเรียกเขาเปนผูถูกฟองคดีรวมของไทยคม และบริษัท เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2550 นายสุพงษ ลิ้มธนากุล ไดยื่นฟอง กทช. สํานักงาน กทช. และกระทรวงเทคโนโลยีฯ ตอศาล ปกครองกลาง โดยอางเหตุเรื่องเจาหนาที่รัฐและหนวยงานทางปกครองละเลยตอการปฏิบัติหนาที่ในการตรวจสอบไทยคม วาประกอบกิจการโทรคมนาคมโดยฝาฝนกฎหมายหรือไม หลังจากที่มีการโอนขายหุนของบริษัท ใหแกผูถือหุนรายใหม ศาลปกครองกลางไดมีคําสั่งลงวันที่ 8 เมษายน 2552 และวันที่ 20 กรกฎาคม 2553 เรียกใหไทยคม และบริษัทเขามาเปนผู ถูกฟองคดีรวมโดยกําหนดใหไทยคม เปนผูถูกฟองคดีที่ 4 และบริษัทเปนผูถูกฟองคดีที่ 5 ตามลําดับทั้งนี้เพื่อเปดโอกาสให ไทยคม และบริษัทไดยื่นคําใหการแกคําฟองรวมทั้งพยานหลักฐาน ตอศาลปกครองกลางซึ่งไทยคมและบริษัทไดดําเนินการ ไปแล ว เมื่ อ เดื อ น กรกฎาคม 2552 และกั น ยายน 2553 ตามลํ า ดั บ โดยเมื่ อ วั น ที่ 10 มิ ถุ น ายน 2554 ศาลปกครองกลางไดมีคําพิพากษายกฟอง และเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2554 นายสุพงษ ลิ้มธนากุล ไดยื่นอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุดซึ่งคดีอยูระหวางการพิจารณา ของศาลปกครองสูงสุด โดยเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2554 ไทยคมและบริษัทไดยื่นคําใหการแกอุทธรณตอศาลปกครองสูงสุด ฝา ยบริห ารมีค วามเห็ น วา ทั้ งไทยคมและบริษัทจะไมไ ดรั บ ผลกระทบจากคดีดังกลา ว เนื่องจากเปน การยื่น ฟอง กทช. สํานักงาน กทช. และกระทรวงเทคโนโลยีฯ ในการละเลยตอการปฏิบัติหนาที่ และไมนาจะเปนเหตุที่กระทรวงเทคโนโลยีฯ จะ บอกเลิกสัญญาอนุญาตใหดําเนินการกับไทยคมได เนื่องจากไทยคมไดดําเนินการถูกตองตามสัญญาอนุญาตใหดําเนินการ
34.6 คดีฟองรองอื่น บริษัทยอยแหงหนึ่งมีคดีความอยูในศาลแรงงานกลาง ทั้งนี้ที่ปรึกษากฏหมายของบริษัทยอยมีความเห็นวาบริษัทยอยได ดําเนินการและปฏิบัติภายใตกรอบตามกฎหมายที่กําหนด ดังนั้นไมคาดวาผลของคดีจะกอใหเกิดผลเสียหายอยางเปน สาระสําคัญตองบการเงินรวมของกลุมบริษัท
34.7 ผลกระทบจากเหตุการณอุทกภัย ในไตรมาส 4 ป 2554 ไดเกิดอุทกภัยอยางรายแรงในประเทศไทย ทําใหบางบริษัทในกลุมอินทัชไดรับความเสียหายอยางไมมี นัยสําคัญ อยางไรก็ตามกลุมอินทัชไดทําประกันภัยคุมครองความเสียหายที่เกิดจากภัยพิบัติสําหรับทรัพยสินของกลุม อินทัช ซึ่งความเสียหายจากเหตุการณดังกลาวไมมีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตองบการเงินของกลุมอินทัช 35
หนังสือค้าํ ประกันจากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กลุมอินทัชมีภาระผูกพันกับธนาคาร จากการที่ธนาคารไดออกหนังสือค้ําประกันสัญญาเชาดาวเทียม คาธรรมเนียมศุลกากร การใชไฟฟา และรายการอื่น ๆ ที่เปนการดําเนินงานตามปกติเปนจํานวนเงินประมาณ 781 ลานบาท และ 3 ลานดอลลารสหรัฐ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 : 717 ลานบาท และ 2 ลานดอลลารสหรัฐ) ในงบการเงินรวม
258 อิบริ นทัชษท ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม 36
การจัดประเภทรายการใหม รายการบางรายการในงบการเงินป 2553 ไดมีการจัดประเภทรายการใหมเพื่อใหสอดคลองกับการนําเสนอในงบการเงินป 2554 การจัดประเภทรายการเหลานี้เปนไปตามการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ซึ่งเปนผลจากการการใชมาตรฐานการรายงานทาง การเงินที่ออกและปรับปรุงใหม ดังที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 3 การจัดประเภทรายการหลังการปรับปรุงงบ การเงินใหมที่มีสาระสําคัญเปนดังนี้
กอนจัด ประเภท ใหม
งบการเงินรวม จัด ประเภท ใหม
งบแสดงฐานะการเงิน สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 สินทรัพยหมุนเวียน ลูกหนี้การคา ตั๋วเงินรับ และรายไดคา งรับ ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทยอย กิจการที่ ควบคุมรวมกัน และบริษัทรวม เงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทรวม รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน หนีส้ นิ หมุนเวียน เจาหนี้การคาและตั๋วเงินจาย เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนีส้ นิ หมุนเวียน
2553 หลังจัด ประเภท ใหม
งบการเงินเฉพาะกิจการ กอนจัด จัด หลังจัด ประเภท ประเภท ประเภท ใหม ใหม ใหม
(ลานบาท)
1,390 379 6,553
(1,390) 1,769 (379) -
1,769 6,553
15 1,872
15 (15) -
15 1,872
18,039 40,651
(18,039) 18,039 -
18,039 40,651
12,502 12,560
(12,502) 3,695 8,807 -
3,695 8,807 12,560
787 947 8,442
(787) 1,734 (947) -
1,734 8,442
1 83 89
(1) 84 (83) -
84 89
อรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ยปออเรชั ยปอเรชั ษชิทั น ชิคอร นษทั คอร ด (มหาชน) และบริ บริษบริทั และบริ น่ จํน่ ากัจํดากั(มหาชน) และบริ ษทั ษยทอั ยยอย ระกอบงบการเงิน ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น น หมายเหตุ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม สํ2554 าบหรัแตบลและ แตะปลส2553 ะปนิ้ สุสนดิ้ สุวันดทีวัน่ 31 ที่ 31 ธันวาคม 2554 2553 สําหรั ธันวาคม 2554 และและ 2553
อหุน กการลดสัดสวน ในบริษัทยอยและ มที่ยงั ไมเกิดขึ้นจริง การปรับมูลคา ที่ยังไมเกิดขึ้นจริง การ บการเงิน บอื่นของ ผูถือหุน งบริษทั ใหญ
กอนจัด ประเภท ใหม
งบการเงินรวม จัด ประเภท ใหม
259 รายงาน ประจำ�ปี 2554
2553 2553 2553 งบการเงิ งบการเงิ นรวม นเฉพาะกิจการ งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ งบการเงิ นรวม งบการเงิ นเฉพาะกิ จการ หลักงอจันจั หลั กดอดนจัด กอนจั กจัอดดนจัด จัดดจัด หลัจัดงหลั จัดงจัด กองนจั จัดจัด หลังหลั จัดงจัด ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ประเภท ใหม ใหม ใหม ใหม ใหมใหม ใหมใหม ใหมใหม ใหมใหม ใหมใหม ใหมใหม
(ลานบาท)
สวนของผู สวนของผู ถ ือหุถ นือหุน สวนเกิ นจากการลดสั สวนเกิ นจากการลดสั ดสดวนสวน การลงทุ นในบริ ยอยและ การลงทุ นในบริ ษัทษยอัทยและ 4,289 -4,289 รวมที ขึ้นงจริง (4,289) บริษบริ ัทษรวัทมที ่ยงั ไม่ยงั เกิไม(4,289) ดเกิขึ้นดจริ 4,289 (4,289) ขาดทุ นจากการปรั ขาดทุ นจากการปรั บมูบลมูคลา คา (3) -(3) (3) (1)3 3 นลงทุ ่ยังเกิไมดเกิขึ้นดจริ ขึ้น3งจริง เงินเงิลงทุ นทีน่ยังทีไม างจากการ ผลตผลต างจากการ (118) -(118) - 118 แปลงค างบการเงิ แปลงค างบการเงิ น น 118 (118) 118 ประกอบอื ่นของ องคองค ประกอบอื ่นของ - ถือหุถนือหุน4,168 4,168 - สวนของผู 4,168 สวนของผู 4,168 22,142 รวมส วนของบริ ทั ใหญ22,142 14,357 - รวมส วนของบริ ษทั ษใหญ 22,142 22,142
านบาท) (ลา(ลนบาท)
-- -
-- -
- -
- -
1- -
- (1) (1)
1 1
- -
-- -
-- -
- -
- -
4,168 4,168 (1) 22,142 22,142
(1)- 14,357 14,357 14,357
(1) (1) - -
(1) (1) 14,357 14,357
รฐานการรายงานทางการเงิ ย่ ังมาตรฐานการรายงานทางการเงิ ไมไดใช ย่ ังไดไมใชไดใช 37 37นทีมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นทีนย่ ทีังไม
อินทัชยังไมไดถือปฏิบัติตามมาตรฐานการบั ญ บิตปรุ งใหมดังตอไปนีญ้ เนื มาตรฐานการบั ทอี่อไปนี อก ยังไชีดไมทถไี่อดืออกและปรั ถือปฏิ ามมาตรฐานการบั ทอกและปรั ี่ออกและปรั งใหม ่องจาก มาตรฐานการบั กลุกลุ มอิมนอิทันชยัทังชไม ปฏิ บัตบิตัตามมาตรฐานการบั ชีญท่อี่อชีงจาก บปรุบงปรุ ใหม ดังญ ตดอังชีตไปนี ้ เนื่อ้ เนืงจาก มาตรฐานการบั ญชีญที่อชีทอกี่ออก ปรับปรุงใหมกําหนดใหถือปฏิบัตและปรั ิกับและปรั งบการเงิ นงสํใหม ากหรั ชีับทงบการเงิ ี่เริ่มในหรื วับนรอบระยะเวลาบั ที่ 1 มกราคมญ2556 กบํารอบระยะเวลาบั หนดให ถือปฏิ สํหลั าบหรังรอบระยะเวลาบั ริ่มในหรื ่ 1 มกราคม 2556 บปรุบงปรุ ใหม ําหนดให ถือปฏิ บัตบิกัตบญิกงบการเงิ นสํนาอหรั ชีญที่เชีริท่มี่เในหรื อหลัองหลั วันงทีวัน่ 1ทีมกราคม 2556
าตรฐานการบัญชีฉบับที่ 20 เรื่องมาตรฐานการบั การบั ญชีสําหรัญ บเงิชีญ นฉอุบัชีดฉบหนุ นทีจากรั บาล และการเป มูดลหนุ ่ยนวกั ความ มาตรฐานการบั บัทีบ่ 20 ่ 20 ง การบั สําบดหรัเงิเผยข บนเงิอุดนออุหนุ จากรั ฐบาล และการเป ดเผยข บความ เรื่อเรืงฐ่อการบั ญชีญสําชีหรั นเกีจากรั ฐบบาล และการเป ดเผยข อมูลอมูเกีล่ยเกีวกั่ยบวกัความ ชวยเหลือจากรัฐบาล ชวยเหลื อจากรั ฐบาล ชวยเหลื อจากรั ฐบาล
าตรฐานการบัญชีฉบับที่ 21 (ปรับมาตรฐานการบั ปรุมาตรฐานการบั ง 2552) เรื่อญ ง ผลกระทบจากการเปลี ่ยงนแปลงของอั ราแลกเปลี่ยนเงินตรา ที่ 21 2552) งตผลกระทบจากการเปลี ่ยนแปลงของอั ตราแลกเปลี นตรา ชีญฉบัชีฉบบัทีบ่ 21 (ปรั(ปรั บปรุบงปรุ2552) เรื่อเรืง ่อผลกระทบจากการเปลี ่ยนแปลงของอั ตราแลกเปลี ่ยนเงิ่ยนเงิ นตรา ตางประเทศ ตางประเทศ ตางประเทศ
รฐานการบัญชีฉบับที่ 20 กํามาตรฐานการบั มาตรฐานการบั บ่ 20 ที่ 20กําดหนดวิ กํเผยข าหนดวิ ัตางบั ิทบางบั ชีหนุ และการเป เผยข นจากรั ฐบาลและความ ธอีปมูธฏิลีปบเกีฏิัต่ยบิทวกั ดเผยข อมูอลมูเกีล่ยเกีวกั่ยบวกัเงิบนเงิอุนดอุหนุดหนุ นจากรั ฐบาลและความ หนดวิ ธีปฏิบัติทญ างบัชีญฉญบัชีชีฉบแบัทีละการเป เงิญนชีญ อุแดละการเป นจากรั ฐดบาลและความ เหลือจากรัฐบาลในรูปแบบอื่น ชวยเหลื ชวยเหลื อจากรั ฐบาลในรู ปแบบอื อจากรั ฐบาลในรู ปแบบอื ่น ่น
รฐานการบัญชีฉบับที่ 21 กํามาตรฐานการบั หนดให กิจการตญอชีงกํ ลกํเงิานหนดให ในการดํ เนิอนงกํ งาน และวั ดผลการดํ งานและ มาตรฐานการบั ญฉาบัชีหนดสกุ ฉบบัทีบ่ 21 ที่ 21 กํทีา่ใชหนดให กิจาการต อางกํหนดสกุ าหนดสกุ ่ใเนิชในนการดํ นงาน และวั ดผลการดํ นงานและ กิจการต ลเงิลนเงิทีน่ใชทีาในการดํ าเนิานเนิงาน และวั ดผลการดํ าเนิานเนิงานและ ะการเงินในสกุลเงินที่ใชในการดํฐานะการเงิ าฐานะการเงิ เนินงาน นและได กลําเงิหนดวิ เปนนงาน สกุ ลและได เงินกทีําหนดวิ ่กใชํานหนดวิ ําเสนองบการเงิ นในสกุ ลนเงิทีน่ใชทีธในการดํ ่ใีกชารแปลงค ในการดํ ีการแปลงค านเปสกุนสกุ นําเสนองบการเงิ น ในกรณี ในสกุ าเนิานาเนิงาน และได ธีกธารแปลงค านเปในกรณี ลเงิทลนี่ เงิทีน่ใชทีน่ใําชเสนองบการเงิ น ในกรณี ที่ ที่ องบการเงินที่มิใชสกุลเงินที่ใชในการดํ า เนิ น งาน เสนองบการเงิ ่ใชในการดํ นงาน เสนองบการเงิ นทีน่มทีิใช่มสิใกุชสลกุเงิลนเงิทีน่ใชทีในการดํ าเนิานเนิงาน
หารคาดวา มาตรฐานการรายงานทางการเงิ ทีา่อมาตรฐานการรายงานทางการเงิ อกและปรับปรุงใหมขางตนจะไมนมทีนีผ่อทีอกและปรั ลกระทบที ีสบาระสํ าขคัาญ อจะไม ฐานะ ริหารคาดว ่ออกและปรั งใหม ขาตนงต นจะไม ีผลกระทบที ีสาระสํ าคัตญอตฐานะ อฐานะ ผูบผูริหบารคาดว านมาตรฐานการรายงานทางการเงิ บ่มปรุ งปรุ ใหม งต มีผมลกระทบที ่มีส่มาระสํ าคัญ งินและผลการดําเนินงานของกลุการเงิ มการเงิ อินนทัและผลการดํ ชนในงวดที ่ถือาปฏิ ัตนิ งานของกลุ และผลการดํ ทัชในงวดที ่ถือปฏิ เนิานบเนิงานของกลุ มอินมทัอินชในงวดที ่ถือปฏิ บัตบิ ัติ
260 ั ชิน คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษทั ยอย อิบริ นทัชษท
ประกอบงบการเงิ หมายเหตุ บริ ษัท ชิน คอร์ ปอเรชั่น จำ�กันด (มหาชน) และบริษัทย่อย สําหรับแตปลระกอบงบการเงิ ะปสนิ้ สุดวันที่ 31 วาคม หมายเหตุ น ธัสำน�หรั บแต่2554 ละปีสิ้นและ สุด2553 วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 38
เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลาทีร่ ายงาน
การเสนอจายเงินปนผล การเสนอจายเงินปนผลของบริษัทรวม ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทของบริษัท เอไอเอส และ ซีเอสแอล ไดอนุมัติใหเสนอการจายเงินปนผลจากผลการดําเนินงานป 2554 ใหที่ประชุมสามัญผูถือหุนอนุมัติ ดังนี้
บริษทั เอไอเอส ซีเอสแอล
วันทีป่ ระชุม 9 กุมภาพันธ 2555 10 กุมภาพันธ 2555
เงินปนผล
เงินปนผล ระหวางกาล ที่จา ยแลวใน ป 2554
(บาท / หุน)
(บาท / หุน)
8.43 0.54
4.17 0.27
4.26 0.27
(บาท / หุน)
เงินปนผล ที่จะจาย
จํานวนเงิน
(ลานบาท)
12,665 160
การเสนอจายเงินปนผลของบริษัท เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท มีมติใหจายเงินปนผลระหวางกาลสําหรับงวดตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2555 ถึง 29 มีนาคม 2555 ใหแกผูถือหุนของบริษัท ในอัตราหุนละ 1.58 บาท คิดเปนเงินปนผลประมาณ 5,066 ลานบาท ทั้งนี้เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของ เอไอเอส มีมติใหเรียกประชุมผูถือหุนสามัญประจําป 2555 ในวันที่ 28 มีนาคม 2555 โดยมีวาระการจายเงินปนผลเพิ่มเติมสําหรับผลประกอบการงวดครึ่งปหลังของป 2554 ในอัตรา 4.26 บาท/หุน ซึ่งบริษัทจะสามารถรับรูเงินปนผลจาก เอไอเอส เปนรายได เมื่อที่ประชุมผูถือหุนสามัญของ เอไอเอส มีมติอนุมัติ โดย บริษัทจะไดรับเงินปนผลเปนจํานวนประมาณ 5,124 ลานบาท (1,203 ลานหุน หุนละ 4.26 บาท) ดังนั้นการจายเงินปนผลระหวาง กาลดังกลาวจึงขึ้นอยูกับมติการอนุมัติการจายเงินปนผลของที่ประชุมผูถือหุนสามัญประจําป 2555 ของ เอไอเอส บริษัทจะนําเสนอใหที่ประชุมผูถือหุนสามัญประจําป 2555 ของบริษัทพิจารณาอนุมัติตอไป
ข อมูลของบุคคลอ างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย บริษัท ศูนย รับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จำกัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย ชั้น 7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท : (66) 2229 2800 โทรสาร : (66) 2359 1259 เว็บไซต www.tsd.co.th ผู สอบบัญชี นายวินิจ ศิลามงคล ผู สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3378 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ชั้น 50-51 เอ็มไพร ทาวเวอร 195 ถนนสาทรใต กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท : (66) 2677 2000 โทรสาร : (66) 2677 2222 เว็บไซต www.kpmg.co.th
INTUNE WITH YOUR WORLD
เลขที่ 414 อาคารอินทัช ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท : (66) 2299 5050 โทรสาร : (66) 2271 1058 www.intouchcompany.com