Intouch 2012 Annual Report th

Page 1


สารบัญ

02 ผลการดำ�เนินงาน ที่สำ�คัญ

012 016 018 020 กิจกรรมเพื่อสังคม สารจากประธาน รายงานคณะกรรมการ คณะกรรมการ ของอินทัช คณะกรรมการและ ตรวจสอบ และผู้บริหาร ประธานเจ้าหน้าที่ ประจำ�ปี 2555 บริหาร

022 032 034 036 037 รายละเอียดเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลง รายละเอียดเกี่ยวกับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ โครงสร้างการถือหุ้น ผู้บริหารและผู้มีอำ�นาจ การถือหลักทรัพย์ กรรมการของ กลุ่มอินทัช ควบคุมของบริษัท ของคณะกรรมการ บริษัทย่อย ประจำ�ปี 2555

040 051 054 059 073 ข้อมูลทั่วไปของบริษัท พัฒนาการและ ลักษณะ ปัจจัยเสี่ยง การจัดการและ และบริษัทในเครือ การเปลี่ยนแปลง การประกอบธุรกิจ การกำ�กับดูแลกิจการ ที่สำ�คัญ

100 105 125 126 128 รายการระหว่างกัน คำ�อธิบายและ รายงานความ รายงานของ งบการเงิน การวิเคราะห์ รับผิดชอบของ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และหมายเหตุ ผลการดำ�เนินงาน คณะกรรมการต่อ ประกอบงบการเงิน รายงานทางการเงิน


รายงานประจําป 2555

01

“We are the leading and sustainable value creation asset management company in telecom and media” MISSION

We strive to deliver sustainable growth and long-term value to shareholders by investing and managing telecom and media businesses We actively explore new business opportunities in telecom and media We commit to good corporate governance practices We focus on contribution to society through our integrated CSV We uphold corporate core values that focus on integrity, teamwork, innovation, people excellence and social responsibility (I-TIES)


02

อินทัช

ผลการดําเนินงานที่สําคัญ บริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทย อย ข อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม

ผลการดําเนินงาน (งบการเงินรวม) รายได จากการขายและการให บริการ ส วนแบ งผลกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร วม รายได รวม กําไรขั้นต น กําไรสําหรับป ที่เป นของผู ถือหุ นบริษัทใหญ สินทรัพย รวม หนี้สินรวม ส วนของบริษัทใหญ

2555

2554 นําเสนอใหม

2553 นําเสนอใหม

8,545 14,337 23,134 2,879 13,787 48,056 17,509 22,543

8,019 10,069 25,595 2,233 16,559 55,527 26,201 21,159

7,125 9,196 16,486 1,206 8,016 47,173 16,454 22,142

60% 63% 27% 0.78 4.30 7.03 3.78

65% 76% 32% 1.24 5.17 6.60 5.50

49% 28% 15% 0.74 2.50 6.92 6.77

3,206.42

3,206.42

3,201.08

อัตราส วนทางการเงิน (งบการเงินรวม) อัตรากําไรสุทธิต อรายได รวม อัตราผลตอบแทนต อส วนของผู ถือหุ น อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย รวม อัตราส วนหนี้สินรวมต อส วนของผู ถือหุ น (เท า) กําไรสุทธิต อหุ นขั้นพื้นฐาน (บาท) มูลค าตามบัญชีต อหุ น (บาท) อัตราการจ ายเงินป นผลต อหุ น (บาท) จํานวนหุ น (ล านหุ น) (มูลค าที่ตราไว 1 บาท ต อหุ น)

ล านบาท

นโยบายการจ ายเงินป นผล : คณะกรรมการบริษัท อาจพิจารณาการจ ายเงินป นผลประจําป ของบริษัท โดยจะต องได รับความเห็นชอบจากที่ประชุม ผู ถือหุ น เว นแต เป นการจ ายเงินป นผลระหว างกาลซึ่งคณะกรรมการบริษัทมีอํานาจอนุมัติให จ ายเงินป นผลได เป นครั้งคราว เมื่อเห็นว าบริษัทมีผล กําไรสมควรจะทําเช นนั้นแล วให รายงานให ที่ประชุมผู ถือหุ นทราบในการประชุมคราวต อไป ป จจุบันบริษัทมีนโยบายที่จะจ ายเงินป นผลโดยพิจารณา จากงบการเงินเฉพาะบริษัทไม น อยกว าร อยละ 40 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี หากไม มีเหตุจําเป นอื่นใดและการจ ายเงินป นผลนั้นไม มีผลกระทบต อ การดําเนินงานปกติของบริษัทอย างมีนัยสําคัญ

สินทรัพย รวม (ล านบาท)

2555 2554 2553

หนี้สินรวม (ล านบาท)

2555 2554 2553

ส วนของบริษัทใหญ (ล านบาท)

2555 2554 2553

48,056 47,173 17,509 16,454

26,201

22,543 21,159 22,142

55,527


Breakthrough 3

Regulatory Breakthrough

Technology Breakthrough

Consumer Behavior Breakthrough

Factors

4

Telecommunication

Media

Information Technology

Digital Content

Aspects

5 Projects

3G on 2.1GHz Under License from NBTC

Satellite Service Under License from NBTC

Investment in Venture Capital projects

Capturing the Growth of Cloud Computing

Exploring the opportunities in Digital Terrestrial Television

บริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (อินทัช) มุ งเน นการลงทุนในกลุ มธุรกิจโทรคมนาคมและสื่อ ด วยการบริหารสินทรัพย ที่ เ ข า ไปลงทุ น ให มี ผ ลตอบแทนสู ง สุ ด กั บ ผู ถื อ หุ น ทั้ ง ในรู ป ของเงิ น ป น ผลและการเติ บ โตของธุ ร กิ จ โดยยึ ด หลั ก ธรรมาภิ บ าล ความโปร งใสและตรวจสอบได มาตลอดระยะเวลากว า 20 ป และเรายังคงยึดหลักดังกล าวในการดําเนินธุรกิจต อไป ในป ที่ผ านมา อินทัชได เล็งเห็นป จจัย 3 ประการ ที่เป นโอกาสสําหรับกลุ มบริษัทที่จะก าวต อไปในอนาคตอันได แก Regulatory breakthrough Technology breakthrough และ Consumer behavior breakthrough จากทั้ง 3 ป จจัยดังกล าว ทําให กลุ มอินทัชได เล็งเห็นศักยภาพในการดําเนินธุรกิจใน 4 ด านที่ดําเนินการอยู ในป จจุบันและมี ความเกี่ยวข องกัน ได แก กลุ มธุรกิจที่เกี่ยวข องกับ Telecom, Media, IT และ Digital content ทางกลุ มอินทัชจึงได เข าดําเนินการใน 5 เรือ่ ง ได แก การเป นผู ให บริการโทรศัพท เคลือ่ นทีใ่ นยุคที่ 3 บนคลืน่ ความถี่ 2.1GHz ภายใต ใบอนุญาตจาก กสทช. การดําเนินธุรกิจ ดาวเทียมภายใต ใบอนุญาตจาก กสทช. โครงการร วมลงทุน Cloud Computing และการแพร ภาพโทรทัศน ผ านระบบดิจิตอล


04

อินทัช

Regulatory Breakthrough


กลุม อินทัชดําเนินธุรกิจภายใต สญ ั ญามาเป นระยะเวลากว า 20 ป ทัง้ สายธุรกิจสือ่ สารโทรคมนาคมไร สายและ รายงานประจํ รา ราย า งาน ายงาน าานนประ ปรระะจา จจําป ป 2255 2555 5555 0055 สายธุรกิจดาวเทียมและต างประเทศ ทั้งนี้กิจการโทรคมนาคมของประเทศไทยได มีพัฒนาการมาโดยลําดับ โดยมีพระราชบัญญัตอิ งค กรจัดสรรคลืน่ ความถีแ่ ละกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคมเกิดขึ้นในป 2543 (ปรับปรุงเพิ่มเติมป 2553) จนกระทั่งมีคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแห งชาติ (กสทช.) เกิดขึ้นในป 2554 ทั้งนี้มีการออกและปรับปรุง ด านกฎระเบียบ ประกาศต างๆ ทําให ผู ประกอบการสามารถขยายการลงทุนออกไปได กว างไกลมากยิ่งขึ้น โดยอินทัชได ก าวออกจากการทําธุรกิจในรูปแบบสัญญาที่เคยมีมากับภาครัฐ มาอยู ภายใต รูปแบบของ ใบอนุญาตที่อยู ภายใต การกํากับดูแลของ กสทช. ซึ่งมีความชัดเจนทําให วางแผนทางธุรกิจได และเกิด ความคล องตัวในการบริหารกิจการ สร างรายได และสร างการเติบโตให กับประเทศชาติได มากขึ้น


06

อินทัช

Technology Breakthrough


รายงานประจํ รายงาน ราย งานประ ประจํจําป 255 25555

0077

กลุ มอินทัชเน นการลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวข องกับเทคโนโลยีมาโดยตลอด ดังเช นการเปลี่ยนเทคโนโลยีโทรศัพท เคลือ่ นทีจ่ ากยุคที่ 2 เป นยุคที่ 3 ในป จจุบนั และเป นยุคที่ 4 ในอนาคตอันใกล จากการสือ่ สารเพียงเฉพาะเสียงใน อดีต มาเป นการสือ่ สารด วยข อมูลในป จจุบนั และการสือ่ สารด านข อมูลด วยปริมาณและความเร็วไม มากในอดีต เปลี่ยนมาเป นการส งข อมูลด วยปริมาณมากและความเร็วสูงในป จจุบัน ในส วนของการแพร ภาพทางโทรทัศน ได มีการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการส งสัญญาณภาพจากระบบอะนาล็อกมาเป นระบบดิจิตอล รวมทั้งความ ละเอียดของภาพมีการพัฒนาขึ้นจากโทรทัศน ความชัดเจนมาตรฐาน มาเป นโทรทัศน ความคมชัดสูงอีกด วย


08

อินทัช

Consumer Behavior Breakthrough


รายงานประจํ รายงาน นประจํ​ําป 255 25555

0099

จากการเปลีย่ นแปลงในเรือ่ งกฎระเบียบและเทคโนโลยี ทําให เกิดวิธกี ารบริโภคแบบใหม และพฤติกรรม การบริโภคทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ลูกค าและผู ใช บริการมีการยอมรับและเรียนรู ในเทคโนโลยีใหม ๆ ได อย าง รวดเร็วตามกระแสการเปลี่ยนแปลง ซึ่งก อให เกิดการพัฒนา และทวีความต องการใช เทคโนโลยีมาก ยิ่งขึ้น อันจะก อให เกิดโอกาสทางธุรกิจได อย างไม มีที่สิ้นสุด ทั้งในเรื่องของสินค าและบริการที่มีความ หลากหลายมากขึ้น อันเป นที่มาของรายได ที่เพิ่มขึ้นของกลุ มอินทัช


010

อินทัช

Breakthrough : 5 Projects

1

กลุ มธุรกิจสื่อสารและ โทรคมนาคมไร สาย

กลุม ธุรกิจสือ่ สารและโทรคมนาคมไร สายภายใต เอไอเอส เคลื่อนตัวไปสู การเป นผู ให บริการโทรศัพท เคลื่อนที่ในยุคที่ 3 บนคลื่นความถี่ 2.1GHz ภายใต ใบอนุญาตจาก กสทช. โดย เอไอเอสได รับใบอนุญาตในการประกอบธุรกิจดังกล าวเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2555 ซึ่งจะทําให เอไอเอสมีความมั่นคงในการดําเนินธุรกิจต อ ไปอีก 15 ป ตามอายุของใบอนุญาต โดยเราได เตรียมความพร อมไว แล วใน ทุกๆ ด าน นอกจากนี้ในอนาคตหาก กสทช. มีการเป ดประมูลใบอนุญาต การดําเนินธุรกิจบนคลืน่ อืน่ ๆ ทางเอไอเอสก็ยงั มีความสนใจทีจ่ ะร วมประมูล เพื่อเป นการต อยอดธุรกิจได ต อไปในอนาคต

2

กลุ มธุรกิจดาวเทียมภายใต ไทยคม

กลุ มธุรกิจดาวเทียมภายใต ไทยคม ขณะนี้ ดาวเทียมไทยคม 6 อยู ระหว างการสร าง และจะ ยิงขึ้นสู วงโคจรในป 2556 นอกจากนี้เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2555 ไทยคมยังได รับใบอนุญาต ประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ 3 เป นระยะเวลา 20 ป จาก กสทช. สําหรับการยิงดาวเทียมไทยคม 7 โดยคาดว าไทยคมจะสามารถยิงดาวเทียมไทยคม 7 ขึน้ สูว งโคจรในป 2557 ภายใต ใบอนุญาตดังกล าว ขณะเดียวกัน ดาวเทียมดวงอื่นๆ ก็อยู ในช วงของการศึกษาและการดําเนินงานอีกด วย


รายงานประจําป 2555

3

011

Venture Capital Projects

เมื่อเดือนพฤษภาคม 2555 อินทัช ได เป ดตัวโครงการร วมลงทุน (Venture Capital Projects) ในชื่อ InVent เพื่อเป นการสนับสนุนเงินลงทุนให กับเอสเอ็มอี ที่มีศักยภาพในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคมและสื่อ ตลอดจนธุรกิจอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับกลุม อินทัช โดยอินทัชประสบความสําเร็จในการร วมลงทุนในโครงการแรกกับ บริษัท อุ คบี จํากัด ในสัดส วนการถือหุ นร อยละ 25 ด วยเงินลงทุนประมาณ 57 ล านบาท ทั้งนี้ อุ คบีเป นผู พัฒนา Digital Publication Platform ซึ่งเป นระบบที่ให บริการแก เจ าของ content ใน การนําหนังสือต างๆ มาจัดรูปแบบให เหมาะสมกับการจําหน ายในรูปแบบ digital หรือที่เรียกว า e-book หรือ e-magazine นอกจากนีย้ งั มีธรุ กิจอีกหลายรายทีเ่ รากําลังศึกษาอยู สิง่ เหล านีจ้ ะช วย ส งเสริมให อินทัชเติบโตได อีกในอนาคต

4

Cloud Computing

Cloud Computing เป นอีกบริการหนึ่งที่อินทัชเห็นว าจะ ได รับความนิยมในอนาคต โดยบริการดังกล าวได ดําเนินการ ภายใต บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) หรือ ซีเอสแอล เนื่องจากป จจุบัน ซีเอสแอล ได ให บริการทางด าน Internet Data Center อยู แล ว ซึ่งการให บริการ Cloud Computing จะเป นการ ต อยอดธุรกิจและขยายฐานลูกค าได ต อไปในอนาคต

5

การแพร ภาพโทรทัศน จากระบบอะนาล็อกเป นระบบดิจิตอล

จากนโยบายของ กสทช. ทีจ่ ะเปลีย่ นการแพร ภาพโทรทัศน จากระบบอะนาล็อก เป นระบบดิจติ อล และคาดว าจะมีความชัดเจนในเรือ่ งของกฎระเบียบและรูปแบบการ ประมูลใบอนุญาตประเภทต างๆ ในป 2556 อินทัช เล็งเห็นโอกาสในการเติบโตจาก นโยบายดังกล าว และอยู ในช วงของการศึกษาความเป นไปได และความเหมาะสมของการ ลงทุน โดยยึดหลักการดูแลผลประโยชน สูงสุดให กับผู มีส วนได เสียในทุกๆ กลุ ม


012

อินทัช

กิจกรรมเพื่อสังคมของอินทัช อินทัช หรือ บริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เชื่อมั่นว าการที่องค กรจะประสบความสําเร็จและเติบโตได อย างมั่นคง และยัง่ ยืนในอนาคตนัน้ จะต องมีการพัฒนาองค กรให มี “ความดี” อยูใ นตัว ซึง่ ความดีนเี้ กิดจากการทีบ่ ริษทั ฯ ดําเนินธุรกิจ ตามหลักธรรมาภิบาล มีจริยธรรม คุณธรรม ปฏิบัติตามกฎหมายควบคู ไปกับการให ความสําคัญกับการแสดงความ รับผิดชอบต อสังคม ที่ยกระดับเป นการสร างสรรค คุณค า (Creating Shared Value) ที่ประสานความสามารถทางการ แข งขันของธุรกิจกับความต องการของสังคมร วมกัน เพื่อสร างความไว วางใจและเชื่อใจซึ่งกันและกันให เกิดขึ้น ซึ่งจะส งผล ให ธุรกิจกับสังคมสามารถอยู ร วมกันอย างเกื้อกูลและพัฒนาเติบโตไปด วยกันอย างยั่งยืน โครงการปลูกข าวเพื่อสุขภาพโดยอินทัช ช วยส งเสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตและเพิ่มมูลค าข าวแก ชาวนาไทย ข าวเป นแหล งอาหารทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ของคนไทย ข าวทีบ่ ริโภค กันภายในประเทศส วนใหญ มาจากการเพาะปลูกของชาวนา ไทย ผู ที่ได ชื่อว าเป น “กระดูกสันหลังของชาติ” ที่ถือว ามี ความสําคัญในการผลิตภาคการเกษตรเป นอันดับต นๆ แต ป จจุบันชาวนาได ปรับเปลี่ยนการทํานาแบบพื้นบ านมา เป นการทํานาด วยเทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม เน นการ ใช ปุ ยเคมีและยาฆ าแมลงจํานวนมาก เพื่อให ได ผลผลิตต อ ไร สูงและสามารถปลูกได ตลอดทั้งป ตอบสนองต อความ ต องการของตลาด ดังนั้นการใช สารเคมีในการเพาะปลูก จึงส งผลต อสุขภาพของชาวนา ทําให มีค าใช จ ายและต นทุน ในการผลิตที่สูงขึ้น ด วยเหตุนี้ทางอินทัช จึงจัดทําโครงการ “ปลูกข าวเพื่อ สุขภาพโดยอินทัช” ณ ศูนย การเรียนรู พันธุ ข าวชุมชนบ าน ดักคะนน ต.ธรรมามูล อ.เมือง จ.ชัยนาท ซึง่ สมเด็จพระเทพ รั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงพระกรุ ณ า โปรดเกล าฯ เสด็จพระราชดําเนินทรงเยีย่ มชมภายในศูนย ฯ ทอดพระเนตรแปลงนาและการทํานาข าวไรซ เบอร รี่ การปลูก พืชผักแบบลอยนํา้ และการสีขา ว ทีท่ างโครงการแคมป สนุกคิด กับอินทัช ได จัดทําโครงการไว ตั้งแต ป พ.ศ. 2552 ในชื่อ “สถานีทดลองพันธุ ข าว” ต อมาในป พ.ศ. 2554 ได พัฒนา เป น “ศูนย การเรียนรูพ นั ธุข า วชุมชนบ านดักคะนน” นับเป น พระมหากรุณาธิคุณอย างหาที่สุดมิได และเป นความภาค ภูมิใจอย างยิ่งของผู บริหารและพนักงานอินทัชทุกคน โครงการปลูกข าวเพื่อสุขภาพโดยอินทัช จัดทําขึ้นเพื่อส ง เสริมการปลูกข าวที่มีคุณค าทางโภชนาการ และไม ใช สาร เคมี ช วยเพิ่มมูลค าข าว เป นข าวที่ให คุณค าทางโภชนาการ สูง ช วยลดต นทุนในการทํานา และพัฒนาคุณภาพชีวิต ชาวนาตามหลั ก การพึ่ ง พาตนเอง อั น จะนํ า ไปสู ค วาม

เข มแข็งและเศรษฐกิจที่ดีขึ้นของชุมชนตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ งเน นการสนับสนุนองค ความรู และกระบวนการ “ปลูกข าวเพื่อสุขภาพ” ซึ่งสามารถขยาย ผลองค ความรู จากการปฏิบัติดังกล าวสู สังคมวงกว าง เป าหมายในการดําเนินโครงการ แบ งเป น 3 ระยะ ระยะแรก จะส งเสริมและพัฒนากลุ มแกนนําชาวนาในพื้นที่ให ปลูก ข าวเพื่อสุขภาพ คือ ข าวที่มีคุณค าทางโภชนาการสูงโดย ไม ใช สารเคมี เพื่อให ชาวบ านมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งใน ด านสุขภาพ รายได ครอบครัว รวมทั้งสิ่งแวดล อมในชุมชน ระยะที่สอง เพิ่มพื้นที่ปลูกและเพิ่มจํานวนชาวนาให หันมา ปลูกข าวเพือ่ สุขภาพมากขึน้ อีกทัง้ พัฒนาการจัดการทาง การตลาดให เกิดเป นรูปธรรม เพือ่ เตรียมความพร อมสูร ะยะ ที่สาม คือ รวมกลุ มเป นวิสาหกิจชุมชนที่สามารถพึ่งพา ตนเอง ช วยเหลือเกือ้ กูลกันในชุมชนท องถิน่ ก อให เกิดความ เข มแข็งอย างยั่งยืน ป จจุบันมีชาวนาเข าร วมโครงการฯ รวม 9 ครอบครัว บน พื้นที่นา 60 ไร และเลือกปลูกข าวพันธุ ไรซ เบอร รี่ ซึ่งเป น ข าวหอมมะลิสายพันธุ ที่ได มาจากการผสมข ามสายพันธุ ระหว างข าวเจ าหอมนิลกับข าวขาวดอกมะลิ 105 ลักษณะ เม็ดยาว สีม วงเข ม มีกลิ่นหอม เป นเอกลักษณ และเป น ข าวที่มีคุณค าทางโภชนาการสูง คือ มีโปรตีนเป น 2 เท า ของข าวหอมมะลิ 105 และมีสารต านอนุมูลอิสระสูง ดัชนี นํ้าตาลตํ่า-ปานกลาง ช วยลดภาวะเสี่ยงต อการเกิดมะเร็ง หัวใจและหลอดเลือด ชาวนาที่เข าร วมโครงการ นอกจากจะมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้นแล ว ยังสามารถต อยอดและขยาย ผลองค ความรู ในเรือ่ งดังกล าวสูช มุ ชนอืน่ ๆ อินทัช พร อมที่ จะสนับสนุนและส งเสริมให ชาวนาไทยสามารถยืนอยูไ ด ดว ย ตนเอง และช วยให ชมุ ชนมีความเข มแข็งอย างยัง่ ยืน ซึง่ นับว า เป นการสร างคุณค าเพิม่ ร วมกันในการดําเนินธุรกิจ เพือ่ ให ชุมชนและสังคม เติบโตและพัฒนาไปพร อมๆ กัน


รายงานประจําป 2555

013

1

2

3

1-2/ โครงการปลูกข าวเพื่อสุขภาพโดย น อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู โรงเรียนและชุมชน ในโครงการแคมป สนุกคิดกับอินทัช อินทัช โครงการแคมป สนุกคิดกับอินทัช ดําเนินการอย างต อเนื่องเป นป ที่ 12 เพื่อเป ดโอกาสในการเรียนรู และคิดอย างสร างสรรค เสริมสร างการมีจติ สาธารณะ พร อมทัง้ สามารถดําเนินชีวติ ตามวิถพ ี อเพียง 3/ ศูนย พัฒนาทักษะยุวเกษตรกร โดยได นอ มนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป นแนวทางการดําเนินโครงการในแนวคิด “เยาวชน เศรษฐกิจพอเพียงบ านท าหมื่นราม ตามแนวพระราชดําริ จ.พิษณุโลก พอดี โรงเรียนพอเพียง” ด วยการเป ดโอกาสให นักศึกษา นักเรียน โรงเรียน และชุมชน ร วมกันจัด ทําศูนย การเรียนรู เศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนและชุมชน ตัวอย างของศูนย การเรียนรู เศรษฐกิจ พอเพียงของโรงเรียนและชุมชน ที่ได ดําเนินการในป พ.ศ. 2555

“ศูนย พฒ ั นาทักษะยุวเกษตรกรเศรษฐกิจพอเพียงบ านท าหมืน่ รามตามแนวพระราชดําริ” โรงเรียนวัด ท าหมืน่ ราม อ.วังทอง จ.พิษณุโลก มีแนวคิดจากการส งเสริมให เยาวชนได เรียนรูแ ละฝ กฝนทักษะด าน เกษตรกรรม มีความภาคภูมใิ จในคุณค าของเกษตรกร สามารถสร างรายได เลีย้ งตนเองและครอบครัว นอกจากนี้ยังช วยให ชุมชนรักและร วมดูแลสิ่งแวดล อม โดยเฉพาะส งเสริมให ทําไร นาสวนผสมทดแทน การปลูกพืชเชิงเดี่ยว หรือการปลูกพืชชนิดเดียวกันทั้งหมดในพื้นที่เดียวกันซํ้าๆ เพื่อหวังผลผลิตใน ปริมาณมากๆ รวมถึงลดการใช สารเคมีที่ทําให ดินเสื่อมสภาพเร็ว และก อให เกิดอันตรายต อผู ใช ด วย นอกจากนีผ้ ลผลิตที่ได รบั จากการเกษตรกรรมดังกล าวสามารถนําไปเป นอาหารกลางวันในโรงเรียน แปรรูปและจําหน ายเพื่อสร างรายได รวมทั้งผลิตปุ ยหมักชีวภาพจากวัสดุในท องถิ่นเพื่อใช ในแปลง เกษตรของโรงเรียนและแบ งป นสู ชุมชน


014

อินทัช

5

4

“ศูนย การเรียนรูก ารปลูกหม อนบ านชมภูพาน” โรงเรียนบ านชมภูพาน อ.ภูพาน จ.สกลนคร จัดทําขึ้นเพื่อให นักเรียนและชุมชนได เรียนรู ถึง กระบวนการปลูกหม อน คุณประโยชน และการแปรรูปผลผลิตจาก หม อนเป นผลิตภัณฑ ชนิดต างๆ เป นการอนุรักษ วิถีการปลูกหม อน ซึ่งเป นอาชีพดั้งเดิมของชุมชน และเผยแพร แลกเปลี่ยนองค ความรู ดังกล าวสู ชุมชนอื่นๆ “ศูนย การเรียนรู กระจูดชุมชนประดู เรียงเพื่อการอนุรักษ และพัฒนา ผลิตภัณฑ ” โรงเรียนวัดประดูเ รียง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง จัดทําขึน้ เพือ่ เป นแหล งรวบรวมองค ความรู คุณประโยชน ของกระจูด การพัฒนาและ การแปรรูปกระจูดเป นผลิตภัณฑ ชนิดต างๆ ทีส่ ามารถจัดจําหน ายให กบั ผู มาเยี่ยมชมศูนย การเรียนรู ฯ โดยเป นการสร างอาชีพเสริม เป นงาน หัตถกรรมทีส่ ร างรายได ให กบั ชุมชน รวมถึงเป นการอนุรกั ษ อาชีพพืน้ ถิน่ วิถชี วี ติ และภูมปิ ญ ญาท องถิน่ ให คงอยู รวมถึงเผยแพร แลกเปลีย่ นองค ความรูด งั กล าวสูช มุ ชนอืน่ “ศูนย การเรียนรู มรดกพื้นบ านประแส” โรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม อ.แกลง จ.ระยอง จัดทําขึ้นเพื่อรวบรวม และอนุรักษ วิถีชีวิต ประเพณี ภูมิป ญญาดั้งเดิมของชุมชนชาวประแส เช น การทอดผ าป ากลางนํ้า และการประกวดเทพีนาวา ฯลฯ ให เยาวชนคนรุ นใหม ได เรียนรู และ ร วมกันอนุรักษ โดยเฉพาะแหล งท องเที่ยวซึ่งเป นสถานที่สําคัญและ มีคณ ุ ค าของชุมชน ซึง่ กําลังจะถูกลืมไปตามการเปลีย่ นแปลงของสภาพ เศรษฐกิจและสังคมสมัยใหม ขณะเดียวกันยังเป นการสร างอาชีพเสริม ให กับชุมชนด วย โดยจะมียุววิทยากรซึ่งเป นนักเรียนของโรงเรียน เป น ผู ให ข อมูล และมีมัคคุเทศก ชาวประแสนําชมสถานที่สําคัญต างๆ ด วย รถสามล อนําเที่ยวของชุมชน ป จจุบันมีโครงการต างๆ ตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ หลากหลาย ทั้งมิติทางด านการเกษตร สังคม ศิลปวัฒนธรรม และ เทคโนโลยีที่ตั้งอยู บนพื้นฐานการพึ่งพาตนเอง และส งเสริมให เกิดการ พัฒนาอย างยั่งยืน

6

“ความรักที่มีต อแม ” กับโครงการจินตนาการ สืบสาน วรรณกรรมไทย กับอินทัช “ความรักที่มีต อแม ” คือ หัวข อการประกวดวาดภาพจากวรรณกรรม ไทย ในโครงการจิ น ตนาการ สื บ สาน วรรณกรรมไทยกั บ อิ น ทั ช ป ที่ 6 เพื่อร วมเฉลิมพระเกียรติและน อมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของสมเด็จพระนางเจ าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสทรงเจริญ พระชนมพรรษา 80 พรรษา และเพื่อให เยาวชนได ร วมแสดงความรัก ความกตัญู และเทิดทูนพระคุณแม ในขณะเดียวกัน อีกทั้งยังกระตุ น ให เยาวชนรักภาษาและวรรณกรรมไทย สามารถนําข อคิดที่ได จากการ อ านมาประยุกต ใช ในการดําเนินชีวิตได อย างเหมาะสม ศาสตราจารย เ กี ย รติ คุ ณ คุ ณ หญิ ง ไขศรี ศรี อ รุ ณ กรรมการและ เลขานุการ มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา กล าวว า “โครงการ จินตนาการ สืบสาน วรรณกรรมไทยกับอินทัช มีส วนช วยสืบทอด วรรณกรรมไทย ซึ่งเป นภูมิป ญญา เป นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ ที่เราต องรักษาไว และยังได ร วมกันต อยอด คือ นักเรียน นักศึกษา ได ใช ความคิด ได ค นคว าและนําเสนอสิ่งที่อ านออกมาเป นผลงาน ศิลปะ และนําข อคิดที่ ได จากการอ านมาใช ในชีวิตประจําวัน จึงเป น โครงการที่ ได รับการตอบรับเป นอย างดี เพราะเด็กๆ ได ทําหลายๆ อย าง ได เรียนรู ได อ าน ได คิด และได เขียน ซึ่งล วนเป นสิ่งดีๆ ในชีวิต และที่ สํ า คั ญ คื อ ได ทํ า บุ ญ กั บ มู ล นิ ธิ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด า เพื่อสนับสนุนการศึกษาของนักเรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพย อีกด วย” คุณหญิงไขศรีกล าว 5 ป กับการปลูกป า รักษาแหล งนํ้ากับอินทัช ตลอด 5 ป (พ.ศ. 2551 – 2555) ของการดําเนินโครงการ ปลูกป า รักษาแหล งนํ้ากับอินทัช ได บ มเพาะให เยาวชน และชุมชนรู รักษาสภาพ แวดล อ ม และตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของทรั พ ยากรธรรมชาติ อย างต อเนื่อง เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ าอยู หัว และสมเด็จพระนางเจ าฯ พระบรมราชินีนาถ ด วยการน อมนําแนว พระราชดํ า ริ ด า นการอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ในเรื่ อ งของ


รายงานประจําป 2555

7

015

8

ป าและนํ้า โดยเฉพาะ “การปลูกป าในใจคน” และ “ปลูกป า 3 อย าง ประโยชน 4 อย าง”มาปฏิบัติ 4/ ศูนย การเรียนรู การปลูกหม อน บ านชมภูพาน จ.สกลนคร ให เป นรูปธรรม ด วยการร วมกับเยาวชน ประชาชน และหน วยงานภาครัฐ ปลูกป า ขยายพันธุ สัตว นํ้าปล อยคืนสู ระบบนิเวศ และเรียนรู โครงการตามแนวพระราชดําริในศูนย ศึกษาการพัฒนา 5/ ศูนย การเรียนรู กระจูดชุมชนประดู อันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ 5 แห ง คือศูนย ศกึ ษาการพัฒนาอ าวคุง กระเบนอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ เรียงเพื่อการอนุรักษ และพัฒนา จ.จันทบุรี ศูนย ศึกษาการพัฒนาภูพานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.สกลนคร ศูนย ศึกษาการ ผลิตภัณฑ จ.พัทลุง พัฒนาเขาหินซ อนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.ฉะเชิงเทรา ศูนย ศึกษาการพัฒนาห วยทราย นย การเรียนรู มรดกพื้นบ านประแส อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.เพชรบุรี และศูนย ศึกษาการพัฒนาห วยฮ องไคร อันเนื่องมาจาก 6/ ศูจ.ระยอง พระราชดําริ จ.เชียงใหม

7/ “ความรักที่มีต อแม ” กับโครงการ จินตนาการ สืบสาน วรรณกรรมไทย ในป พ.ศ. 2555 ทางโครงการปลูกป า รักษาแหล งนํา้ กับอินทัช ยังคงเน นแนวทาง “การทํางานอย าง กั บอินทัช มีสว นร วม” และ “การปลูกป าในใจคน” โดยทํางานต อเนือ่ งกับกองทัพเรือ และศูนย ศกึ ษาการพัฒนา อ าวคุ งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.จันทบุรี ปลูกป าชายเลนใน จ.ตราด และจันทบุรี รวม 8/ 5 ป กับการปลูกป า รักษาแหล งนํ้ากับ 31,000 ต น โดยพื้นที่แรก ปลูกที่ บ านคลองนา อ.เมือง จ.ตราด โดยปลูกต นจาก จํานวน 5,000 อินทัช

ต น เพื่อเป นแหล งอาหาร แหล งเพาะพันธุ และที่อยู อาศัยของสัตว นํ้า เป นแนวป องกันการกัดเซาะและ พังทลายของตลิง่ รวมถึงการใช ประโยชน จากต นจากทีห่ ลากหลาย เช น ใช ใบจากมาเป นตับมุงหลังคาบ าน ลูกจากนํามาทําขนมและประกอบอาหาร เป นต น พร อมทัง้ จัดทําป ายความรูพ นั ธุ ไม ในป าชายเลน เพือ่ เป นแหล งเรียนรู ให กบั เยาวชนและชุมชนได ศกึ ษา รวมถึงการมอบทุนสนับสนุนกองทุนฟ น ฟูปา ชายเลน แก กลุม อนุรกั ษ ปา ชายเลนบ านคลองนา พีน้ ทีท่ สี่ อง ปลูกต นโกงกาง ต นประสักแดง และต นโปรงแดง จํานวน 26,000 ต น ณ บ านท าใต อ.ท าใหม และแหลมแม นกแก ว อ.นายายอาม จ.จันทบุรี พร อมสนับสนุน โรงเพาะพันธุป มู า ให แก ชมุ ชนแหลมแม นกแก ว เพือ่ แก ปญ หาปริมาณของปูมา ทีล่ ดลง โดยโรงเพาะพันธุป มู า จะเป นศูนย กลางรับบริจาคแม ปมู า ทีม่ ไี ข มาเพาะพันธุ และอนุบาลก อนจะปล อยคืนสูท ะเล เพือ่ เพิม่ จํานวน ปูมา ให คนื สูธ รรมชาติมากขึน้ รวมทัง้ พัฒนาโรงเพาะพันธุป มู า ให เป นแหล งเรียนรู เพือ่ สร างจิตสํานึกให กบั ประชาชน เยาวชนให เห็นความสําคัญของการจัดการทรัพยากรชายฝ ง อย างยัง่ ยืน นอกจากนี้ อินทัชได สนับสนุนทุนให กบั 10 โรงเรียนในพืน้ ทีเ่ พือ่ ใช ในการพัฒนาโครงการอนุรกั ษ สงิ่ แวดล อม จากการเรียนรู และทํางานร วมกับองค กรภาคี โรงเรียน และชุมชนต างๆ ในท องถิน่ ตลอดระยะเวลา 5 ป ทําให เห็นความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเยาวชนและประชาชนในการตระหนักถึงป ญหาวิกฤตทาง สิ่งแวดล อม และร วมกันหาแนวทางอนุรักษ และฟ นฟูผืนป า และแหล งนํ้าให กลับมาอุดมสมบูรณ เป น มรดกทางธรรมชาติสําหรับคนรุ นหลังสืบต อไป อินทัช ร วมช วยเหลือสังคมไทยอย างต อเนื่อง เพื่อให ธุรกิจและสังคมเติบโต ก าวหน าไปด วยกันอย าง มั่นคงและยั่งยืน


016

อินทัช

สารจากประธานคณะกรรมการและ ประธานเจ าหน าที่บริหาร

เรียน ท านผู ถือหุ น

ป 2555 เป นอีกป หนึ่ง ที่บริษัทและบริษัทในกลุ มอินทัช ประสบความสําเร็จและสามารถบรรลุเป าหมายและวัตถุประสงค สําคัญทางธุรกิจ ที่จะช วยให บริษัทก าวเข าสู การดําเนินงานในสถานะใหม จากการที่บริษัทเริ่มลงทุนในธุรกิจร วมลงทุน การเปลี่ยนแปลงด านกฎระเบียบด าน Digital Terrestrial Television ซึ่งเป นการเป ดโอกาสในการลงทุนในธุรกิจใหม ของ บริษัท การได รับใบอนุญาต 3G ของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) และการได รับใบอนุญาต ในการประกอบธุรกิจดาวเทียม ของบริษทั ไทยคม จํากัด (มหาชน) (ไทยคม) การบรรลุวตั ถุประสงค ดงั กล าวเป นการสร าง รากฐานในการดําเนินธุรกิจของบริษัทไปในอนาคตอย างน อยอีก 15 – 20 ป สําหรับผลการดําเนินงาน บริษทั มีกาํ ไรสุทธิจาํ นวน 13,787 ล านบาท และสามารถสร างผลตอบแทนโดยรวมให กบั ผูถ อื หุน ของบริษัท (Total Shareholders Return) ได ในอัตราร อยละ 69 ซึ่งป นอัตราที่สูงมาก เนื่องจากบริษัทจ ายเงินป นผล จํานวน 3.78 บาทต อหุ น และราคาหุ นของบริษัทได ปรับตัวสูงขึ้น โดยมีราคาป ด ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2555 ที่หุ นละ 69 บาท (ราคาป ด ณ 30 ธันวาคม 2554 หุ นละ 43 บาท) และ บริษัท ซีดาร โฮลดิ้งส จํากัด ผู ถือหุ นใหญ ของบริษัท ได ดําเนิน การขายหุน ให กบั นักลงทุนสถาบัน รายย อย และบริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร จํากัด เพิม่ เติม ซึง่ ณ วันที่ 9 มกราคม 2556 บริษทั ซีดาร โฮลดิ้งส จํากัด ถือหุ นในบริษัทเพียงร อยละ 13.35 เท านั้น ซึ่งทําให บริษัทมีการกระจายผู ถือหุ นรายย อยที่สูงขึ้น และทําให หุ นของบริษัทมีสภาพคล องในตลาดที่สูงขึ้นเป นอันมาก ในด านการลงทุน บริษทั ยังคงมุง เน นลงทุนในธุรกิจโทรคมนาคมและสือ่ ในประเทศไทยเป นหลัก โดยในสายธุรกิจโทรคมนาคม ไร สายนัน้ เอไอเอส ยังคงเป นผูน าํ ตลาดทัง้ ส วนแบ งของรายได จํานวนผู ใช บริการ เอไอเอสกําลังเร งรัดการขยายเครือข าย 3G บนคลืน่ ความถี่ 2100 MHz เพือ่ ให สามารถตอบสนองความต องการใช ขอ มูล แอพพลิเคชัน่ ใหม ๆ และบริการด านเสียง ให กับลูกค าและผู ใช บริการ บริษัทเชื่อว าอุตสาหกรรมโทรคมนาคมยังสามารถเติบโตได อีก ถึงแม จะมีอัตราส วนจํานวน หมายเลขโทรศัพท เคลื่อนที่ต อจํานวนประชากรรวมที่สูงกว าร อยละ 100 สําหรับธุรกิจในสายดาวเทียมและโทรคมนาคมในต างประเทศโดยบริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) (ไทยคม) เป นผู ให บริการ ดาวเทียมแบบทัว่ ไปและดาวเทียมบรอดแบนด ป 2555 ไทยคมมีผลการดําเนินงานโดยรวมมีกาํ ไรและสามารถจ ายเงินป นผล ให กบั ผูถ อื หุน ได ในอัตราหุน ละ 0.40 บาท แนวโน มธุรกิจดาวเทียมอยูใ นทิศทางทีด่ เี นือ่ งจากการขยายตัวของธุรกิจโทรทัศน


ผ านดาวเทียม และอยู ในระหว างการเข าสู ตลาดหลักในประเทศจีนและอินเดีย นอกจากนี้ ยังคาดว าจะ บริษัทมีกําไรสุทธิจํานวน 13,787 ล านบาท และสามารถสร างผลตอบแทนโดยรวมให กับ สามารถยิงดาวเทียมไทยคม 6 ซึ่งอยู ในระหว างการก อสร างได ในป 2556 สําหรับกิจกรรมเพื่อสังคม พันธกิจสําคัญอีกด านหนึ่ง นอกจากโครงการด านเยาวชน อาทิ แคมป สนุกคิดกับอินทัช โครงการจินตนาการ สืบสาน วรรณกรรมไทยกับอินทัช ที่ได ดําเนินการต อเนื่อง เป นประจําทุกป แล ว บริษทั ยังได รเิ ริม่ โครงการ “ปลูกข าวเพือ่ สุขภาพโดยอินทัช” โดยส งเสริมการปลูก ข าวทีม่ คี ณ ุ ค าทางโภชนาการ ไม ใช สารเคมี ช วยเพิม่ มูลค าข าว พัฒนาคุณภาพชีวติ ชาวนาให ดขี นึ้ โดย น อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ าอยูห วั มาเป นแนวทาง เพือ่ ให ชาวนา พึ่งพาตนเอง สร างความเข มแข็งให กับชุมชน และมีการพัฒนาอย างยั่งยืนต อไป บริษทั ขอขอบพระคุณท านผูถ อื หุน สถาบันการเงิน พันธมิตรทางธุรกิจ ผูบ ริหาร และพนักงาน สําหรับ ความช วยเหลือในทุกด านเสมอมา บริษัทขอให คํามั่นที่จะยึดหลักธรรมาภิบาล มีความเป นกลาง โปร งใส ตรวจสอบได ดําเนินธุรกิจตามขั้นตอนที่ถูกต องตามกฎหมาย อีกทั้งรักษาประโยชน สูงสุด ของผูม สี ว นได เสียทุกกลุม อย างเป นธรรม และพร อมเป นส วนหนึง่ ในการสนับสนุนนโยบายภาครัฐด าน การพัฒนาอุตสาหกรรมโทรคมนาคมให เจริญก าวหน าต อไป บริษทั เชือ่ มัน่ ในทักษะและประสบการณ ในธุรกิจโทรคมนาคมที่ได สร างสมมาอย างต อเนือ่ ง ประกอบกับนโยบายหลักทีจ่ ะมุง เน นการลงทุนใน ธุรกิจหลักคือธุรกิจโทรคมนาคมและสื่อ ซึ่งเป นธุรกิจที่กลุ มบริษัทมีประสบการณ และมีความชํานาญ บริษทั เชือ่ มัน่ ว าองค ประกอบเหล านีจ้ ะช วยสร างความเจริญเติบโตอย างยัง่ ยืนให กบั ธุรกิจในกลุม บริษทั

ดร.วิรัช อภิเมธีธํารง ประธานคณะกรรมการ

นายสมประสงค บุญยะชัย ประธานเจ าหน าที่บริหาร

ผู ถือหุ นของบริษัท (Total Shareholders Return) ได ในอัตรา

69%


018

อินทัช

รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ประจําป 2555 เรียน ท านผู ถือหุ นบริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด วยกรรมการอิสระ จํานวน 3 ท าน โดยมีนายสมชาย ศุภธาดา เป นประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ นายวิทิต ลีนุตพงษ และนาย ชลาลักษณ บุนนาค เป นกรรมการตรวจสอบ และมีนาย วิชยั กิตติวทิ ยากุล หัวหน าหน วยงานตรวจสอบภายในทํา หน าที่เป นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการ ตรวจสอบทุกท านมีคุณสมบัติครบถ วนตามหลักเกณฑ ของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย ทัง้ นี้ คณะกรรมการ ตรวจสอบได ปฏิบัติหน าที่ภายใต ขอบเขตหน าที่และความ รับผิดชอบตามกฎบัตรที่อนุมัติโดยคณะกรรมการบริษัท ซึ่งรายละเอียดของกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ สามารถดูได ที่ www.intouchcompany.com ในรอบป บัญชี 2555 คณะกรรมการตรวจสอบได ประชุม ร วมกับฝ ายบริหาร ผู ตรวจสอบภายใน และผู สอบบัญชี รวม 6 ครั้ง ตลอดจนมีการประชุมร วมกับผู สอบบัญชีโดย ไม มีฝ ายบริหารของบริษัทเข าร วมประชุมด วย 1 ครั้ง ซึ่ง กรรมการตรวจสอบทุกท านเข าร วมประชุมครบทุกครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบได รายงานผลการปฏิบัติหน าที่ และข อเสนอแนะต างๆ ดังกล าวต อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให มีการดําเนินการในเรื่องที่เห็นสมควรเป นประจํา ทุกไตรมาสซึ่งสามารถสรุปสาระสําคัญของการปฏิบัติ หน าที่ได ดังนี้ / งบการเงิน: คณะกรรมการตรวจสอบได สอบทานงบ การเงินประจําไตรมาสและประจําป 2555 รวมทั้งการ เป ดเผยข อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินของ บริษทั ซึง่ ได ผา นการสอบทานและตรวจสอบโดยผูส อบ บัญชีตลอดจนได หารือร วมกับฝ ายบริหารและผู สอบ บัญชีเพือ่ พิจารณาถึงนโยบายการบัญชีทสี่ าํ คัญ การ ประมาณการและการใช ดุลยพินิจต างๆ เพื่อใช ในการ จัดทํางบการเงิน ทั้งนี้ ฝ ายบริหารเป นผู รับผิดชอบใน การจัดทํางบการเงินและการควบคุมภายในที่จําเป น ในการจัดทํางบการเงิน ในขณะที่ผู สอบบัญชีเป นผู รับ ผิดชอบในการแสดงความเห็นต องบการเงินดังกล าว

/ การบริหารความเสี่ยงและระบบควบคุมภายใน: คณะ กรรมการตรวจสอบได สอบทานการบริหารความเสีย่ ง รวมถึงมาตรการต างๆ ในการจัดการกับความเสี่ยง สําคัญต างๆ ให อยู ในระดับที่ยอมรับได เพื่อให บริษัท สามารถบรรลุวัตถุประสงค ตามเป าหมายที่กําหนด ทั้งนี้ บริษัทได เป ดเผยความเสี่ยงสําคัญต างๆ ไว ภาย ใต หัวข อป จจัยความเสี่ยงในรายงานประจําป 2555 คณะกรรมการตรวจสอบได สอบทานผลการประเมิน ระบบการควบคุมภายในตามแนวทางที่กําหนดโดย คณะกรรมการกํ า กั บ ตลาดทุ น ซึ่ ง จั ด ทํ า โดยฝ า ย บริ ห าร รวมทั้ ง ได ส อบทานผลการสอบทานระบบ ควบคุมภายในของหน วยงานตรวจสอบภายในและของ ผู สอบบัญชี ตลอดจนแนวทางแก ไขข อบกพร องของ ฝ ายบริหารในเรื่องที่ต องได รับการปรับปรุง นอกจาก นี้ ยังได พิจารณาและอนุมัติให ว าจ างผู เชี่ยวชาญจาก ภายนอก เพื่อร วมกับหน วยงานตรวจสอบภายใน วางแผนและตรวจสอบระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของ บริษัท / งานตรวจสอบภายใน: คณะกรรมการตรวจสอบได พิจารณาอนุมตั ขิ อบเขตและแผนการตรวจสอบภายใน ประจําป 2555 และได ตดิ ตามผลการตรวจสอบภายใน และความคืบหน าของการดําเนินงานเป นประจําทุก ไตรมาส นอกจากนี้ยังได สอบทานความเป นอิสระและ ความพอเพียงของทรัพยากรต างๆ ต อการปฏิบตั งิ าน ของหน วยงานตรวจสอบภายใน รวมทั้งได ประเมินผล การปฏิบตั งิ านของหัวหน าหน วยงานตรวจสอบภายใน / การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย: คณะกรรมการตรวจสอบได สอบทานการปฏิบัติตามกฎหมายว าด วยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ข อกําหนดของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยและกฎหมายที่เกี่ยวข องกับธุรกิจของ บริษัท / การกํากับดูแลกิจการ: คณะกรรมการตรวจสอบได สอบทานและปรับปรุงนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และจรรยาบรรณของบริษทั ให สอดคล องกับแนวปฏิบตั ิ ทีด่ แี ละข อกําหนดของหน วยงานกํากับดูแลตลอดจนมี ความเหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจของบริษัท


รายงานประจําป 2555

/ การรับแจ งข อมูลการกระทําผิดและการทุจริต (Whistleblowing): คณะกรรมการตรวจสอบได สอบทานรายงานการรับแจ งข อมูลการกระทําผิดและการทุจริต ซึง่ ได รบั การรายงานผ านช องทาง ต างๆ ตามนโยบายการให ข อมูลการกระทําผิดและการทุจริตของบริษัท โดยในป 2555 ไม มีการ ร องเรียนเกี่ยวกับการกระทําผิดและการทุจริตใดๆ ของบริษัท / ผู สอบบัญชี: คณะกรรมการตรวจสอบได พิจารณาความเป นอิสระ ผลงาน ประสบการณ คุณสมบัติของผู สอบบัญชีและความเหมาะสมของค าสอบบัญชีตลอดจนพิจารณาให มีการ หมุนเวียนผู สอบบัญชีและได เสนอให คณะกรรมการบริษัทเพื่อขออนุมัติที่ประชุมผู ถือหุ นแต งตั้ง ผู สอบบัญชีจากบริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด เป นผู สอบบัญชีของบริษัทประจําป 2556 รวมทั้งได กําหนดนโยบายในการคัดเลือกผู สอบบัญชีร วมกับคณะกรรมการตรวจสอบ ของบริษัทในกลุ ม นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังได สอบทานความเป นอิสระของผู สอบบัญชีในการให บริการงานสอบบัญชีและงานบริการอื่นที่มิใช การสอบบัญชี เพื่อให มั่นใจว าความเป นอิสระของ ผู สอบบัญชีจะไม ถูกบั่นทอน / รายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน: คณะกรรมการตรวจสอบได สอบทานความสมเหตุสมผลและเป นประโยชน สูงสุดต อบริษทั ของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย งทางผลประโยชน รวม ทั้งการเป ดเผยข อมูลดังกล าวให ถูกต องและครบถ วนตามกฎหมายและข อกําหนดของหน วยงาน กํากับดูแลและตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย / การประเมินผลการปฏิบัติงานตนเอง: คณะกรรมการตรวจสอบได สอบทานและประเมินผลการ ปฏิบัติงานของตนเองประจําป โดยได เปรียบเทียบกับแนวทางปฏิบัติที่ดีและกฎบัตรซึ่งผลของการ ประเมินดังกล าวคณะกรรมการตรวจสอบได ปฏิบัติหน าที่อย างมีประสิทธิภาพและเป นไปตาม ขอบเขตหน าที่ที่กําหนดไว ในกฎบัตร โดยสรุปคณะกรรมการตรวจสอบเชื่อว า ในป 2555 คณะกรรมการตรวจสอบได ปฏิบัติหน าที่ตาม ขอบเขตหน าที่ที่ ได รับมอบหมายอย างครบถ วน ด วยความรอบคอบและมีความเป นอิสระ คณะ กรรมการตรวจสอบเห็นว าบริษัทมีการจัดทํางบการเงินอย างถูกต องตามที่ควรในสาระสําคัญตาม หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป มีการเป ดเผยสารสนเทศอย างเพียงพอ ครบถ วนและเชื่อถือได มีระบบ การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่เพียงพอและมีประสิทธิผล นอกจากนี้บริษัทได ปฏิบัติ ตามกฎหมายและระเบียบทีเ่ กีย่ วข องโดยไม มขี อ บกพร องทีส่ าํ คัญและมีการกํากับดูแลกิจการทีด่ ตี ลอด ป ที่ผ านมา

นายสมชาย ศุภธาดา ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 15 กุมภาพันธ 2556

019


020

อินทัช

คณะกรรมการ

1

3

2

4

6

1 / ดร.วิรัช อภิเมธีธํารง 4 / นายวิทิต ลีนุตพงษ 7 / นายประเสริฐ บุญสัมพันธ

5

8

7

2 / นายสมชาย ศุภธาดา 5 / นายชลาลักษณ บุนนาค 8 / นายสมประสงค บุญยะชัย

3 / นายบุน สวอน ฟู 6 / นายบดินทร อัศวาณิชย


รายงานประจําป 2555

021

คณะกรรมการบริหาร

1

2

3

4

1 / นายสมประสงค บุญยะชัย 2 / นายวิกรม ศรีประทักษ * 4 / นางศุภจี สุธรรมพันธ ุ 5 / นางสุวิมล แก วคูณ *ลาออกจากตําเเหน งกรรมการบริหาร มีผลตั้งเเต 1 มกราคม 2556

5

3 / นายวิเชียร เมฆตระการ

คณะผู บริหาร

2

1

1 / นางศุภจี สุธรรมพันธ ุ

2 / นายเอนก พนาอภิชน

3

3 / นายวิชัย กิตติวิทยากุล

4

4 / นายคิมห สิริทวีชัย


022

อินทัช

รายละเอียดเกีย่ วกับผูบ ริหารและ ผูม อี าํ นาจควบคุมของบริษทั ดร.วิรัช อภิเมธีธํารง

อายุ 69 ป ตําแหน ง ประธานคณะกรรมการ และกรรมการผู มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท สัดส วนการถือหุ น 1) ไม มี

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาเอก การเงิน University of Illinois, USA การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน DAP: Directors Accreditation Program รุ น 2/2546 กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ ทํางาน 2550 - ป จจุบัน ประธานคณะกรรมการ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น 2547 - ป จจุบัน กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. บางกอก เชน ฮอสป ตอล กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. หลักทรัพย เอเซีย พลัส 2546 - ป จจุบัน กรรมการ บจ. ทริสเรทติ้ง กรรมการ บจ. ทริส คอร ปอเรชั่น 2538 - ป จจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. เมโทรซิสเต็มส คอร ปอเรชั่น 2536 - ป จจุบัน กรรมการ บมจ. ศุภาลัย 2531 - ป จจุบัน ประธาน สํานักงานสอบบัญชี ดร. วิรัช แอนด แอสโซซิเอทส 2550 - 2554 กรรมการตรวจสอบ บมจ. ไทย อะโกร เอ็นเนอร ยี่ 2544 - 2554 กรรมการอิสระ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น 2547 - 2553 กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. แคลิฟอร เนีย ว าว เอ็กซ พีเรียนซ 2550 - 2552 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ ธนาคารเอไอจี เพื่อรายย อย จํากัด (มหาชน) 2549 - 2550 ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น ประวัติการทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ที่ผ านมา ไม มี


รายงานประจําป 2555

นายสมชาย ศุภธาดา

023

อายุ 53 ป ตําแหน ง กรรมการอิสระ และประธานคณะกรรมการตรวจสอบ สัดส วนการถือหุ น 1) ไม มี

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท Professional Accounting University of Texas at Austin, USA การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน DCP: Directors Certification Program รุ น 100/2551 กรรมการบริษัทไทย (IOD) DAP: Directors Accreditation Program รุ น 56/2549 ประสบการณ ทํางาน ป จจุบัน

ผู ช วยศาสตราจารย ประจําภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กรรมการคณะกรรมการกํากับมาตรฐานวิชาการ หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย และมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 2553 - ป จจุบัน ห วหน าภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2550 - ป จจุบัน กรรมการอิสระและประธานคณะกรรมการตรวจสอบ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น 2549 - 2550 กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น

ประวัติการทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ที่ผ านมา ไม มี

นายบุน สวอน ฟู

อายุ 57 ป ตําแหน ง กรรมการ ประธานคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ ประธานคณะกรรมการ พัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน ประธานคณะกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร และกรรมการผู มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท สัดส วนการถือหุ น 1) ไม มี

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ, NUS การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน ไม มี กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ ทํางาน 2555 - ป จจุบัน กรรมการ, China National Offshore Oil Corporation กรรมการ, Singbridge Holdings Pte Ltd. 2554 - ป จจุบัน กรรมการ, Allgrace Investment Management Private Limited ประธานกรรมการ, Global Investments Ltd. กรรมการ, MIH Holdings Ltd. กรรมการ, Dongfeng Motor Corporation กรรมการ, Sino-Singapore Guangzhou Knowledge City Investment and Development Co., Ltd. ที่ปรึกษา, Chartis Singapore Insurance Pte. Ltd.


024

อินทัช

2553 - ป จจุบัน ประธานกรรมการ, Perennial China Retail Trust Management Pte Ltd. กรรมการ, Ascendos Investments Ltd. 2552 - ป จจุบัน กรรมการ, Singbridge International Singapore Pte Ltd. 2551 - ป จจุบัน ที่ปรึกษาอาวุโส, Temasek Holdings (Private) Ltd. อาจารย พิเศษ, Nanyang Technological University 2550 - ป จจุบัน กรรมการ, บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น 2548 - ป จจุบัน ที่ปรึกษา, Singapore Technologies Engineering Ltd. 2550 - 2555 กรรมการ, Cypress Holdings Ltd. กรรมการ, Aspen Holdings Ltd. 2551 - 2554 กรรมการ, China-Singapore Suzhou Industrial Park Devt Co., Ltd. 2550 - 2552 ประธานคณะกรรมการบริษัท, Nothacker Pte Ltd. กรรมการ, Motorola Inc. 2549 - 2552 กรรมการ, Singapore Utilities International Pte Ltd. 2548 - 2552 ประธานกรรมการ, Singapore Computer Systems Ltd. 2547 - 2552 กรรมการ, Keppel Amfels Inc. ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ทีผ่ า นมา ไม มี

นายวิทิต ลีนุตพงษ

อายุ 57 ป ตําแหน ง กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ กรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน และกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร สัดส วนการถือหุ น 1) ไม มี

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ University of Southern California, USA การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน SFE: Successful Formulation & Execution of Strategy รุ น 3/2552 กรรมการบริษัทไทย (IOD) RCC: Role of the Compensation Committee รุ นที่ 7/2551 ACP: Audit Committee Program รุ น 5/2548 DCP: Directors Certification Program รุ น 16/2545 ประสบการณ ทํางาน 2548 - ป จจุบัน ประธานคณะกรรมการบริหาร บจ. ไทยยานยนตร กรรมการ บมจ. สหไทยสตีลไพพ กรรมการ หอศิลป สมเด็จพระนางเจ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรรมการ มูลนิธิธนาคารกรุงเทพ 2544 - ป จจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น 2545 - 2553 กรรมการ หอการค าเยอรมัน-ไทย 2548 - 2552 กรรมการ บจ. ยนตรกิจ โฟส คสวาเก น มาร เก็ตติ้ง รองประธานคณะกรรมการ ยนตรกิจ กรุ ป 2542 - 2552 กรรมการ บจ. เวิร ลคลาส เร นท อะคาร ประวัติการทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ที่ผ านมา ไม มี


รายงานประจําป 2555

นายชลาลักษณ บุนนาค

025

อายุ 65 ป ตําแหน ง กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ สัดส วนการถือหุ น 1) ไม มี

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท Industrial Administration, Carnegie-Mellon University, USA ปริญญาโท Civil Engineering, Oklahoma State University, USA การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน DAP: Directors Accreditation Program รุ น 5/2546 กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ ทํางาน 2554 - ป จจุบัน 2552 - ป จจุบัน 2550 - ป จจุบัน 2548 - ป จจุบัน 2548 - 2554 2548 - 2553

กรรมการและประธานเจ าหน าที่บริหาร บจก. สยามสินธร ที่ปรึกษา บจก.อมตะ ซิตี้ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น ที่ปรึกษา บจก. ทุนลดาวัลย กรรมการ บจก. สยามไอซิน กรรมการ บจก. ไทยโตไกคาร บอนโปรดักท ประธานคณะกรรมการ บจก. สยามเลมเมอร ซ ที่ปรึกษาฝ ายจัดการ บมจ. ปูนซิเมนต ไทย ที่ปรึกษา บจก. เหล็กสยามยามาโตะ กรรมการ บจก. สยามมิชลินกรุ ป

ประวัติการทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ที่ผ านมา ไม มี

นายบดินทร อัศวาณิชย

อายุ 68 ป ตําแหน ง กรรมการ และกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ สัดส วนการถือหุ น 1) 0.0009%

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด Master of Law (General) New York University, USA Master of Comparative Jurisprudence, New York University, USA การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน ไม มี กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ ทํางาน 2555 - ป จจุบัน อนุกรรมการปฏิรูปกฎหมายด านการขนส ง ในคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย กรรมการเฉพาะเรื่องด านกฎหมายเอกชนและธุรกิจ ในคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย กรรมการ มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร 2554 - ป จจุบัน ที่ปรึกษา กรรมการผู จัดการใหญ บมจ. ปูนซีเมนต ไทย 2553 - ป จจุบัน กรรมการ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น 2551 - ป จจุบนั รองผู จัดการใหญ กลุ มงานกฎหมาย บมจ. ธนาคารไทยพาณิชย


026

อินทัช

2549 - ป จจุบัน รองประธานอาวุโส สภาอุตสาหกรรมแห งประเทศไทย รองประธาน มูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห ง ประเทศไทย 2548 - ป จจุบัน ที่ปรึกษาฝ ายกฎหมาย มูลนิธิคืนช างสู ธรรมชาติ 2545 - ป จจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ธนาคารไทยพาณิชย 2544 - ป จจุบัน กรรมการ บจก. กฎหมายเอสซีจี 2546 - 2555 กรรมการอํานวยการ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร 2550 - 2553 ที่ปรึกษาฝ ายจัดการ บมจ. ปูนซิเมนต ไทย ประวัติการทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ที่ผ านมา ไม มี

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ 2)

อายุ 60 ป ตําแหน ง กรรมการอิสระ กรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร และกรรมการพัฒนา ความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน สัดส วนการถือหุ น1) 0.0006%

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาวิศวกรรมศาสตร ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี ปริญญาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปริญญาศิลปศาสตร ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Utah State University, USA การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน RCP: Role of the Chairman Program รุ น 27/2555 กรรมการบริษัทไทย (IOD) DAP: Directors Accreditation Program รุ น 26/2547 ประสบการณ ทํางาน ม.ค. 2556 - กรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน ป จจุบัน บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น 2555 - ป จจุบัน ประธานกรรมการ บมจ. โทรีเซนไทย เอเยนต ซีส ประธานกรรมการ บมจ. เมอร เมด มาริไทม กรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น 2554 - ป จจุบัน กรรมการอิสระ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น กรรมการ บมจ. ธนาคาร กรุงไทย ประธานกรรมการ บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ประธาน องค กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย างยั่งยืน 2549 - ป จจุบัน ประธานกรรมการ/กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ไออาร พีซี 2548 - 2555 ประธานกรรมการ บมจ. ไทยลู บเบส 2550 - 2554 กรรมการ บมจ. ปตท. อะโรเมติกส และการกลั่น 2548 - 2554 ประธานกรรมการ/รองประธานกรรมการ/ กรรมการ บมจ. ปตท. เคมิคอล


รายงานประจําป 2555

2546 - 2554 2543 - 2554 2547 - 2553 2549 - 2551

027

กรรมการ/ ประธานเจ าหน าที่บริหารและกรรมการผู จัดการใหญ บมจ. ปตท. ประธานกรรมการ/กรรมการ บมจ. ปตท. สํารวจและผลิตป โตรเลียม กรรมการ บมจ. ไทยออยล สมาชิกสภานิติบัญญัติ สภานิติบัญญัติแห งชาติ

ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ทีผ่ า นมา ไม มี

นายสมประสงค บุญยะชัย

อายุ 57 ป ตําแหน ง กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ กรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน กรรมการทบทวนกลยุทธ และ โครงสร างองค กร กรรมการผู มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท และ รักษาการกรรมการผู อํานวยการ สัดส วนการถือหุ น 1) 0.0351%

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีแห งเอเชีย การผ านหลักสูตรอบรม ของสมาคมส งเสริมสถาบัน RCP: Role of the Chairman Program รุ น 21/2552 กรรมการบริษัทไทย (IOD) DCP: Directors Certification Program รุ น 65/2548 DAP: Directors Accreditation Program รุ น 30/2547 ประสบการณ ทํางาน 2553 - ป จจุบัน รักษาการกรรมการผู อํานวยการ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น 2551 - ป จจุบัน ประธานคณะกรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น รองประธานคณะกรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส 2550 - ป จจุบัน กรรมการ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น 2549 - ป จจุบัน กรรมการ บมจ. ไทยคม 2547 - ป จจุบัน กรรมการ บจ. โรงพยาบาลพระรามเก า 2545 - ป จจุบัน กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บมจ. เพาเวอร ไลน เอ็นจิเนียริง่ 2552 - 2554 ประธานคณะกรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม 2543 - 2551 กรรมการบริหาร บมจ. ชินแซทเทลไลท 2542 - 2551 ประธานคณะกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส 2537 - 2551 กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส 2547 - 2550 กรรมการบริหาร บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไอทีวี ประวัติการทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ที่ผ านมา ไม มี


028

อินทัช

นายวิกรม ศรีประทักษ 3)

อายุ 60 ป ตําแหน ง กรรมการบริหาร และกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร สัดส วนการถือหุ น 1) ไม มี

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน DCP: Directors Certification Program รุ น 104/2551 กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ ทํางาน 2552 - 2555 2550 - 2555 2550 - 2552 2545 - 2552

รองประธานคณะกรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น กรรมการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส กรรมการบริหารและหัวหน าคณะเจ าหน าที่ผู บริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส (รักษาการ) หัวหน าคณะผู บริหารด านเทคโนโลยี บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส

ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ทีผ่ า นมา ไม มี

นายวิเชียร เมฆตระการ 4)

อายุ 58 ป ตําแหน ง กรรมการบริหาร และกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร สัดส วนการถือหุ น 1) 0.0002%

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี วิศวกรรมไฟฟ า (เกียรตินิยม) California Polytechnic University, USA การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน DCP: Directors Certification Program รุ น 107/2551 กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ ทํางาน ม.ค. 2556 ป จจุบัน 2554 - ป จจุบัน 2552 - ป จจุบัน 2553 - 2555 2549 - 2552 ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ทีผ่ า นมา ไม มี

กรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น ประธานเจ าหน าที่บริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส รักษาการหัวหน าคณะผู บริหารด านการตลาด บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส กรรมการผู อํานวยการ บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส


รายงานประจําป 2555

นางศุภจี สุธรรมพันธ ุ

029

อายุ 48 ป ตําแหน ง กรรมการบริหาร กรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร และ ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อโฆษณาและธุรกิจใหม สัดส วนการถือหุ น 1) ไม มี

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท MBA, International Finance and International Accounting Northrop University, USA การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน DCP: Directors Certification Program รุ น 89/2550 กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ ทํางาน 2555 - ป จจุบัน 2554 - ป จจุบัน

ประธานคณะกรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม กรรมการบริหาร กรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร และประธานกรรมการบริหารสายธุรกิจสื่อโฆษณาและธุรกิจใหม บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น กรรมการและประธานเจ าหน าที่บริหาร บมจ. ไทยคม กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหาร ประธานคณะกรรมการ กําหนดค าตอบแทน และกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส ส.ค. - ธ.ค. 2554 กรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม 2553 - 2554 General Manager, Global Technology Services, IBM ASEAN 2552 - 2553 Client Advocacy Executive, Chairman’s Office, IBM Headquarters 2550 - 2552 Vice President, General Business, IBM ASEAN 2546 - 2550 Country General Manager, IBM Thailand Co., Ltd.

ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ทีผ่ า นมา ไม มี

นางสุวิมล แก วคูณ

อายุ 57 ป ตําแหน ง กรรมการบริหาร สัดส วนการถือหุ น 1) ไม มี

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ เอเซียนอินสติติวท ออฟแมเนจเม นท ประเทศฟิลิปป นส การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน DCP: Directors Certification Program รุ น 102/2551 กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ ทํางาน ม.ค. 2556 ป จจุบัน 2550 - ป จจุบัน 2550 - 2555 2545 - 2549 ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ทีผ่ า นมา ไม มี

หัวหน าคณะผู บริหารด านการพัฒนาองค กร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส กรรมการบริหาร บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น หัวหน าคณะผู บริหารด านการบริการลูกค า บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส หัวหน าคณะผู บริหารด านการบริการลูกค าและธุรกิจเครื่องลูกข าย บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส


030

อินทัช

นายเอนก พนาอภิชน

อายุ 47 ป ตําแหน ง รองกรรมการผู อํานวยการ สายงานการเงินและบัญชี สัดส วนการถือหุ น 1) 0.0081%

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน DCP: Directors Certification Program รุ น 111/2551 กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ ทํางาน 2553 - ป จจุบัน

รองกรรมการผู อํานวยการ สายงานการเงินและบัญชี บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น กรรมการและกรรมการบริหาร บมจ. ไทยคม ก.พ. - ก.ย. 2554 รักษาการหัวหน าคณะผู บริหารด านการเงิน บมจ. ไทยคม 2547 - 2553 ผู ช วยกรรมการผู อํานวยการ ส วนงานการเงินและบัญชี บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น

ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ทีผ่ า นมา ไม มี

นายวิชัย กิตติวิทยากุล

อายุ 51 ป ตําแหน ง เลขานุการบริษัท และผู ช วยกรรมการผู อํานวยการอาวุโส ส วนงานเลขานุการบริษัทและตรวจสอบภายใน สัดส วนการถือหุ น 1) 0.0000%

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน DCP: Directors Certification Program รุ น 104/2551 กรรมการบริษัทไทย (IOD) Company Secretary Program ป 2548 Board & CEO Assessment Program ป 2546 Effective Audit Committee ป 2545 Board Practices ป 2545 Board Composition and Relations ป 2545 Board Policy ป 2545 ประสบการณ ทํางาน 2554 - ป จจุบัน

2551 - ป จจุบัน 2547 - 2554 2550 - 2552 2546 - 2551 ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ทีผ่ า นมา ไม มี

ผู ช วยกรรมการผู อํานวยการอาวุโส ส วนงานเลขานุการบริษัท และตรวจสอบภายใน บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น กรรมการวิชาชีพบัญชีด านการศึกษาและเทคโนโลยีการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชี เลขานุการบริษัท บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น ผู ช วยกรรมการผู อํานวยการ ส วนงานเลขานุการบริษัท และตรวจสอบภายใน บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น นายกสมาคม สมาคมผู ตรวจสอบภายในแห งประเทศไทย (สตท.) เลขานุการคณะกรรมการบริษัท บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น


รายงานประจําป 2555

นายคิมห สิริทวีชัย

031

อายุ 44 ป ตําแหน ง ผู ช วยกรรมการผู อํานวยการอาวุโสส วนงานบริหารการลงทุน สัดส วนการถือหุ น 1) ไม มี

ความสัมพันธ ทางครอบครัวระหว างผู บริหาร ไม มี คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การผ านหลักสูตรอบรมของสมาคมส งเสริมสถาบัน DCP: Directors Certification Program รุ น 116/2552 กรรมการบริษัทไทย (IOD) ประสบการณ ทํางาน 2554 - ป จจุบัน 2553 - ป จจุบัน 2551 - 2554 2550 - 2551 2547 - 2550

ผู ช วยกรรมการผู อํานวยการอาวุโส ส วนงานบริหารการลงทุน บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น กรรมการบริหาร บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส ผู ช วยกรรมการผู อํานวยการ ส วนงานบริหารการลงทุน บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น ผู อํานวยการ สํานักบริหารการลงทุน บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น ผู อํานวยการ สํานักพัฒนาธุรกิจใหม บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น

ประวัตกิ ารทําผิดทางกฎหมายในระยะ 10 ป ทีผ่ า นมา ไม มี หมายเหตุ

1) 2)

3) 4)

สัดส วนการถือหุ นนับรวมจํานวนหุ นของคู สมรสและบุตรที่ยังไม บรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ได รับการแต งตั้งเป นกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร และกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน มีผลตั้งแต 15 สิงหาคม 2555 และ 25 มกราคม 2556 ตามลําดับ ได ลาออกจากการเป นกรรมการบริหารและกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร มีผลตั้งแต 1 มกราคม 2556 ได รับการแต งตั้งเป นกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กรแทนนายวิกรม ศรีประทักษ มีผลตั้งแต 25 มกราคม 2556


032

อินทัช

การเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย ของ คณะกรรมการประจําป 2555 รายชื่อ

ดร.วิรัช อภิเมธีธํารง

ตําแหน ง

บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส บมจ. ไทยคม หุ นสามัญ หุ นสามัญ หุ นกู หุ นสามัญ หุ นกู 2555 2554 2555 2554 2555 2554 2555 2554 2555 2554 - 1,000 1,000 -

ประธานคณะ กรรมการ นายสมชาย ศุภธาดา กรรมการอิสระ และประธานคณะ กรรมการตรวจสอบ นายชลาลักษณ บุนนาค กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ นายวิทิต ลีนุตพงษ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ นายบุน สวอน ฟู กรรมการ 30,000 10,000 นายบดินทร อัศวาณิชย กรรมการ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ กรรมการอิสระ 20,000 นายสมประสงค บุญยะชัย กรรมการ 1,126,459 1,126,459 ข อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 รวมการถือหุ นของภรรยาและบุตรที่ยังไม บรรลุนิติภาวะ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

- 20,000 - 50,000 2,000 2,000 -


รายงานประจําป 2555

รายชื่อ

ดร.วิรัช อภิเมธีธํารง นายสมชาย ศุภธาดา นายชลาลักษณ บุนนาค นายวิทิต ลีนุตพงษ นายบุน สวอน ฟู นายบดินทร อัศวาณิชย นายประเสริฐ บุญสัมพันธ นายสมประสงค บุญยะชัย

ตําแหน ง

ประธานคณะ กรรมการ กรรมการอิสระ และประธานคณะ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการ

บมจ. ไอทีวี 1) หุ นสามัญ 2555 2554 -

033

บจก. แมทช บอกซ บจก. ไอ.ที. แอพพลิเคชัน่ ส แอนด เซอร วสิ หุ นสามัญ หุ นสามัญ 2555 2554 2555 2554 -

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

260

260

4

3

ข อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 รวมการถือหุ นของภรรยาและบุตรที่ยังไม บรรลุนิติภาวะ หมายเหตุ 1) ณ วันที่ 8 มีนาคม 2550 ITV ไม ได ดําเนินธุรกิจ เนื่องจากไม มีใบอนุญาตประกอบกิจการ


อินทัช

รายชื่อบริษัท THAICOM DTV รายชื่อกรรมการ 1. นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา X 2. ศจ.หิรัญ รดีศรี / 3. นางชรินทร วงศ ภูธร / 4. รศ.สําเรียง เมฆเกรียงไกร / 5. นายยอง ลํา ซุง /, // 6. นายสมประสงค บุญยะชัย / 7. นางศุภจี สุธรรมพันธุ /, // X 8. นายเอนก พนาอภิชน /, // 9. นายไชยยันต พึ่งเกียรติไพโรจน / 10. ดร.นงลักษณ พินัยนิติศาสตร // / 11. นายไพบูลย ภานุวัฒนวงศ // / 12. นายอนันต แก วร วมวงศ / 13. นายวุฒิ อัศวเสริมเจริญ / 14. นายเอกชัย ภัคดุรงค 15. นายสลิล จารุจินดา 16. นางแน งน อย ณ ระนอง 17. Mr. Stephen Geoffrey Miller 18. Mr. Sio Tat Hiang 19. Dr. Nasser Marafih 20. Mr. Alvin Oei Yew Kiong 21. Mr. Mark D. Thompson 22. Mr. William L. Snell 23. Mr. Teh Kwang Hwee 24. Mr. York Shin Lim Voon Kee 25. Mr. Tommy Lo Seen Chong 26. นายจิโรจน ศรีนามวงศ -

X, // /, // / / / / // -

/ / / / / -

/ / / / -

SHEN IPSTAR

TCB

/ / -

IPA

/ / / / / -

/ / / -

STAR SPACE

/ / / / / -

IPI

/ / / / / -

IPG

/ /

X / / -

/ / -

CDN MFONE1) IPN

-

ITV

/ / -

MB

/ / -

ITAS

-

AM

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทย อย (ทั้งทางตรงและทางอ อม)

034


-

-

-

-

-

/ -

-

-

-

-

/ / -

/ / / / -

รายชื่อ

AM CDN DTV IPA IPG IPI IPN IPSTAR ITAS

บริษัท อาร ตแวร มีเดีย จํากัด บริษัท แคมโบเดียน ดีทีวี เน็ตเวิร ค จํากัด บริษัท ดีทีวี เซอร วิส จํากัด บริษัท ไอพีสตาร ออสเตรเลีย พีทีวาย จํากัด บริษัท ไอพีสตาร โกลเบิล เซอร วิส จํากัด บริษัท ไอพีสตาร อินเตอร เนชั่นแนล พีทีอี จํากัด บริษัท ไอพีสตาร นิวซีแลนด จํากัด บริษัท ไอพีสตาร จํากัด บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอร วิส จํากัด

ITV MB MFONE SHEN SPACE STAR TCB THAICOM

/ -

/ /

/

/ / -

035

ข อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

X / / / / / / -

บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) บริษัท แมทช บอกซ จํากัด บริษัท เอ็มโฟน จํากัด บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเม นท ส พีทีอี ลิมิเต็ด สเปซโคด แอล แอล ซี บริษัท สตาร นิวเคลียส จํากัด บริษัท ทีซี บรอดคาสติ้ง จํากัด บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน)

X = ประธานกรรมการ / = กรรมการ // = กรรมการบริหาร หมายเหตุ 1) บจก. เอ็มโฟนได ยื่นคําร องต อศาลในกรุงพนมเปญ เพื่อขอเข าสู กระบวนการล มละลายตามกฎหมายของประเทศกัมพูชา เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2556

27. นายเมฆินทร เพ็ชรพลาย 28. นายคมสัน เสรีภาพงษ 29. Mr. Kek Soon Eng 30. Mr. Ly Sam An 31. Mr. Pal Vudhica 32. Ms. Le May Phoeung 33. ดร.สุพจน ชินวีระพันธุ 34. นายสมคิด หวังเชิดชูวงศ 35. นายวิชกรพุฒิ รัตนวิเชียร 36. นายสุเมธี อินทร หนู 37. นายสมบูรณ วงษ วานิช 38. นายณิทธิมน หัสดินทร ณ อยุธยา 39. นางรัตนาพร นามมนตรี 40. นายวุฒิพร เดี่ยวพานิช 41. นายวิกรม ศรีประทักษ 42. นายสรรค ชัย เตียวประเสริฐกุล

รายงานประจําป 2555


036

อินทัช

ผู ถือหุ นรายใหญ รายชื่อผู ถือหุ นรายใหญ 10 รายแรก รายชื่อผู ถือหุ นรายใหญ 10 รายแรก ณ วันที่ 30 สิงหาคม 25551) จัดทําโดยบริษัท ศูนย รับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด ปรากฏดังนี้ รายชื่อผู ถือหุ น 2) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. หมายเหตุ

บริษัท แอสเพน โฮลดิ้งส จํากัด บริษัท ซีดาร โฮลดิ้งส จํากัด 3) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด 5) CHASE NOMINEES LIMITED 28 LITTLEDOWN NOMINEES LIMITED นายประชา ดํารงค สุทธิพงศ HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD CHASE NOMINEES LIMITED กองทุนเป ด ไทยพาณิชย หุ นระยะยาวป นผล 70/30 CHASE NOMINEES LIMITED 1

จํานวนหุ นสามัญ

สัดส วนการถือหุ น (%)

1,334,354,825 428,049,239 171,750,706 24,599,700 24,352,900 21,143,500 21,118,800 18,524,800 13,977,100 12,579,500

41.62 13.354) 5.36 0.77 0.76 0.66 0.66 0.58 0.44 0.39

วันป ดสมุดทะเบียนผู ถือหุ นครั้งล าสุด จัดทําโดย บริษัท ศูนย รับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด (นายทะเบียนหลักทรัพย ) ผู ลงทุนสามารถดูข อมูลจาก www.set.or.th ก อนการประชุมสามัญผู ถือหุ นประจําป 2556 3) บริษัท ซีดาร โฮลดิ้งส จํากัด เป นบริษัทที่จดทะเบียนในประเทศไทยซึ่งถือหุ นโดย ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ร อยละ 5.78 บริษัท กุหลาบแก ว จํากัด (กุหลาบแก ว) ร อยละ 45.22 และบริษัท ไซเพรส โฮลดิ้งส จํากัด (ไซเพรส) ร อยละ 48.99 4) ข อมูลการถือหุ น ณ วันที่ 9 มกราคม 2556 จากแบบรายงาน 246-2 ของบริษัท ซีดาร โฮลดิ้งส จํากัด ต อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และ ตลาดหลักทรัพย 5) สามารถดูข อมูลนักลงทุนในบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ได ในเว็บไซต www.set.or.th 1) 2)


р╕гр╕▓р╕вр╕Зр╕▓р╕Щр╕Ыр╕гр╕░р╕Ир╣Нр╕▓р╕Ы┬В 2555

037

C ' .'─Х6 6' ;1/<─Х )<─Ф%18 5


038

อินทัช

โครงสร้างการถือหุ้นกลุ่มอินทัช ณ วันที่ 3 มกราคม 2556

บร�ษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) 1), 2)

บร�ษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร ว�ส จำกัด (มหาชน) 2) บร�ษัท ดิจ�ตอล โฟน จำกัด

40.45%

บร�ษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) 2)

41.14%

98.55%

บร�ษัท แอดวานซ ดาต าเน็ทเวอร ค คอมมิวนิเคชั่นส จำกัด 51.00%

บร�ษัท ดีทีว� เซอร ว�ส จำกัด บร�ษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จำกัด (มหาชน) 2), 3)

99.99% 42.07%

บร�ษัท ไวร เลส ดีไวซ ซัพพลาย จำกัด

99.99%

บร�ษัท แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จำกัด

99.99%

บร�ษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จำกัด (มหาชน) 99.99%

บร�ษัท แอดวานซ เอ็มเปย จำกัด

99.99%

บร�ษัท เอดี เวนเจอร จำกัด (มหาชน)

บร�ษัท แอดวานซ เมจ�คการ ด จำกัด

99.99%

บร�ษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จำกัด

99.99%

บร�ษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอร ค จำกัด

99.99%

บร�ษัท แอดวานซ ไวร เลส เน็ทเวอร ค จำกัด

99.99%

บร�ษัท โมบาย บรอดแบนด บิสซิเนส จำกัด 5)

99.99%

บร�ษัท แอดวานซ โมบาย บรอดแบนด จำกัด 5) 99.99% บร�ษัท ไมโม เทค จำกัด

99.99%

บร�ษัท แฟกซ ไลท จำกัด

99.97%

บร�ษัท แอดวานซ อินเทอร เน็ต เรโวลูชั่น จำกัด

99.99%

บร�ษัท แอดวานซ บรอดแบนด เน็ทเวอร ค จำกัด

99.97%

บร�ษัท ศูนย ให บร�การคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จำกัด 20.00% บร�ดจ โมบาย พ�ทีอี แอลทีดี

10.00%

บร�ษัท ทีซี บรอดคาสติ�ง จำกัด

99.99% 99.99%


รายงานประจำ�ปี 2555

บร�ษัท ไอทีว� จำกัด (มหาชน) 2) บร�ษัท อาร ตแวร มีเดีย จำกัด บร�ษัท เชนนิงตัน อินเวสเม นท ส พ�ทีอี ลิมิเต็ด 1) บร�ษัท เอ็มโฟน จำกัด 4) บร�ษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จำกัด บร�ษัท ไอพ�สตาร จำกัด บร�ษัท ไอพ�สตาร นิวซีแลนด จำกัด

2) 3)

4) 5)

100.00% 49.00%

บร�ษัท สตาร นิวเคลียส จำกัด

100%

บร�ษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอร ว�ส จำกัด

99.99%

บร�ษัท อุ คบี จำกัด

25.03%

70.00%

บร�ษัท ไอพ�สตาร อินเตอร เนชั่นแนล พ�ทีอี จำกัด

100%

บร�ษัท ไอพ�สตาร โกลเบิล เซอร ว�ส จำกัด

100%

บร�ษัท แคมโบเดียน ดีทีว� เน็ตเว�ร ค จำกัด

100%

99.99% 99.96%

100% 100%

52.92%

บร�ษัท แมทช บอกซ จำกัด

99.68%

บร�ษัท ไอพ�สตาร ออสเตรเลีย พ�ทีวาย จำกัด

สเปซโคด แอล แอล ซี

1)

51.00%

039

Holding Company บร�ษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ ขายเง�นลงทุนที่ถืออยู ทั้งหมดใน บจก. วัฏฏะ คลาสสิฟายด ส (วัฏฏะ) จำนวน 120,000 หุ น ให แก นายสมบูรณ อิชยาวรกุล เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2555 ซึ่งเป นเหตุให วัฏฏะสิ�นสภาพการเป นบร�ษัทย อยของบมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ บจก. เอ็มโฟน ได ยื่นคำร องต อศาลในกรุงพนมเปญ เพ�่อขอเข าสู กระบวนการล มละลาย ตามกฎหมายของประเทศกัมพ�ชา เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2556 เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ 2556 มติที่ประชุมคณะกรรมการบมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร ว�ส อนุมัติการยกเลิกบร�ษัทย อย 2 บร�ษัท ได แก บจก. โมบาย บรอดแบนด บิสซิเนส และ บจก. แอดวานซ โมบาย บรอดแบรนด ป จจ�บันอยู ระหว างการดำเนินการตามกระบวนการ ทางกฎหมายและชำระบัญชี


040

อินทัช

ข อมูลทั่วไปของบริษัทและบริษัทในเครือ ข อมูลทั่วไปของบริษัท บริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (อินทัช)

ชื่อย อในตลาดหลักทรัพย ฯ INTUCH ประเภทธุรกิจ ประกอบธุรกิจด านการลงทุนโดยการเข าถือหุ นและเข าไปบริหารงานในบริษัทต างๆ ซึ่งดําเนินธุรกิจด านสื่อสาร โทรคมนาคมไร สาย ธุรกิจดาวเทียมและต างประเทศ และธุรกิจสื่อและโฆษณา เว็บไซต www.intouchcompany.com เลขทะเบียนบริษัท 0107535000257 ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 5000 โทรสาร : (66) 2271 1058 ทุนจดทะเบียน 5,000,000,000 หุ น ทุนชําระแล ว 3,206,420,305 หุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 1 บาท ทุนชําระแล ว 3,206,420,305 บาท

ข อมูลทั่วไปของบริษัทในเครือ บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส)

ชื่อย อในตลาดหลักทรัพย ฯ ADVANC ประเภทธุรกิจ ให บริการโทรศัพท เคลื่อนที่ในย านความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ 1800 เมกะเฮิรตซ ในระบบดิจิตอล GSM 1800 และ 2.1 กิกะเฮิรตซ ในระบบดิจิตอล UMTS (Universal Mobile Telecommunication System) เว็บไซต www.ais.co.th เลขทะเบียนบริษัท 0107535000265 ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5165 ทุนจดทะเบียน 4,997,459,800 หุ น ทุนชําระแล ว 2,973,095,330 หุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 1 บาท ทุนชําระแล ว 2,973,095,330 บาท สัดส วนการถือหุ นของอินทัช 40.45%


รายงานประจําป 2555

041

บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) (ไทยคม)

ชื่อย อในตลาดหลักทรัพย ฯ THCOM ประเภทธุรกิจ ดําเนินธุรกิจการสื่อสารดาวเทียมและบริการที่เกี่ยวเนื่อง ธุรกิจโทรศัพท ในต างประเทศ ธุรกิจอินเทอร เน็ตและ สื่อ และธุรกิจสื่อโฆษณาผ านสมุดรายนามผู ใช โทรศัพท เว็บไซต www.thaicom.net เลขทะเบียนบริษัท 0107536000897 ที่ตั้งสํานักงาน สํานักงานใหญ เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร สํานักงานสาขาที่ 1 เลขที่ 41/103 ถนนรัตนาธิเบศร ตําบลบางกระสอ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี โทรศัพท : (66) 2591 0736 โทรสาร : (66) 2591 0705 สํานักงานสาขาที่ 2 เลขที่ 50 หมู ที่ 1 ตําบลบ อเงิน อําเภอลาดหลุมแก ว จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท : (66) 2599 3000 โทรสาร : (66) 2599 3000 ต อ 712 ทุนจดทะเบียน 1,132,082,300 หุ น ทุนชําระแล ว 1,095,937,540 หุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 5 บาท ทุนชําระแล ว 5,479,687,700 บาท สัดส วนการถือหุ นของอินทัช 41.14%

บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) (ไอทีวี)

ชื่อย อในตลาดหลักทรัพย ฯ ITV ประเภทธุรกิจ เคยดําเนินธุรกิจด านสถานีวิทยุโทรทัศน ระบบ UHF ภายใต ชื่อ “สถานีโทรทัศน ไอทีวี” จนกระทั่งวันที่ 7 มีนาคม 2550 สปน. ได บอกเลิกสัญญาเข าร วมงานและดําเนินกิจการสถานีวทิ ยุโทรทัศน ระบบ UHF ของไอทีวี โดยให มผี ล บังคับทันที ป จจุบนั การบอกเลิกสัญญาเข าร วมงานฯ ของ สปน. ยังเป นประเด็นข อพิพาททีอ่ ยูร ะหว างการดําเนิน กระบวนการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการในสถาบันอนุญาโตตุลาการ *เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2552 หลักทรัพย ไอทีวีได ถูกย ายหลักทรัพย เข าหมวด Non-Performing Group (NPG) และ SET ประกาศชื่อ หลักทรัพย ไอทีวีเป นบริษัทที่อยู ในกลุ ม NPG ระยะที่ 1 เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2554 และ NPG ระยะที่ 2 เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2555

เลขทะเบียนบริษัท 0107541000042 ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 1010 อาคารชินวัตรทาวเวอร 3 ชั้น 6 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2791 1795-6 โทรสาร : (66) 2791 1797 ทุนจดทะเบียน 1,560,000,000 หุ น ทุนชําระแล ว 1,206,697,400 หุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 5 บาท ทุนชําระแล ว 6,033,487,000 บาท สัดส วนการถือหุ นของอินทัช 52.92%


042

อินทัช

บริษัท แมทช บอกซ จํากัด (เอ็มบี)

ประเภทธุรกิจ ให บริการด านโฆษณาและรับจ างผลิตสื่อโฆษณาทางวิทยุและโทรทัศน เว็บไซต www.matchbox.co.th ที่ตั้งสํานักงาน สํานักงานใหญ เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 5600 โทรสาร : (66) 2299 5661 สํานักงานสาขาเลขที่ 408/41 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 5600 โทรสาร : (66) 2615 3052 ทุนจดทะเบียน 900,000 หุ น ทุนชําระแล ว 900,000 หุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 10 บาท ทุนชําระแล ว 9,000,000 บาท สัดส วนการถือหุ นของอินทัช 99.96%

บริษัท ไอ.ที. แอพพลิเคชั่นส แอนด เซอร วิส จํากัด (ไอทีเอเอส)

ประเภทธุรกิจ ให บริการระบบคอมพิวเตอร เว็บไซต www.itas.co.th ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 388 อาคาร บี (อาคารเอส พี) ชั้น 3 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2273 0760 โทรสาร : (66) 2273 0191 ทุนจดทะเบียน 1,000,000 หุ น ทุนชําระแล ว 1,000,000 หุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 10 บาท ทุนชําระแล ว 10,000,000 บาท สัดส วนการถือหุ นของอินทัช 99.99%

บริษัท อุ คบี จํากัด (อุ คบี)

ประเภทธุรกิจ ให บริการและพัฒนาช องทางการนําเสนอสิ่งตีพิมพ ดิจิตอลและหนังสืออิเล็กทรอนิกส เว็บไซต www.ookbee.com ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 1104/207-209 หมูบ า นโนเบิลพัฒนาการ ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2187 2701-8 โทรสาร : (66) 2187 2700 ทุนจดทะเบียน 133,400 หุ น ทุนชําระแล ว 133,400 หุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 10 บาท ทุนชําระแล ว 1,334,000 บาท สัดส วนการถือหุ นของอินทัช 25.03%


รายงานประจําป 2555

043

บริษัทในเครือสายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร สาย บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5455 ประเภทธุรกิจ ให บริการโทรศัพท เคลื่อนที่ระบบ GSM 1800 เมกะเฮิรตซ ทุนจดทะเบียน 365.55 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 10 บาท ทุนชําระแล ว 3,655.47 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 98.55%

บริษัท แอดวานซ ดาต าเน็ทเวอร ค คอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (เอดีซี)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 408/157 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 38 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2270 1900 โทรสาร : (66) 2270 1860 เว็บไซต www.adc.co.th ประเภทธุรกิจ ให บริการสื่อสารข อมูลผ านเครือข ายสายโทรศัพท และสาย Optical Fiber ทุนจดทะเบียน 95.75 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 10 บาท ทุนชําระแล ว 957.52 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของดีพีซี 51.00%

บริษัท ไวร เลส ดีไวซ ซัพพลาย จํากัด (ดับบลิวดีเอส)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 5777 โทรสาร : (66) 2299 5200 ประเภทธุรกิจ นําเข าและจัดจําหน ายโทรศัพท เคลื่อนที่และอุปกรณ โทรคมนาคม ทุนจดทะเบียน 0.50 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 100 บาท ทุนชําระแล ว 50 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 99.99%

บริษัท แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด (เอซีซี)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5959 ประเภทธุรกิจ ให บริการข อมูลทางโทรศัพท ทุนจดทะเบียน 27.20 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 10 บาท ทุนชําระแล ว 272 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 99.99%


044

อินทัช

บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (เอเอ็มพี)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2687 4808 โทรสาร : (66) 2687 4788 ประเภทธุรกิจ ให บริการชําระค าสินค าและบริการผ านโทรศัพท เคลื่อนที่แทนการใช เงินสด หรือบัตรเครดิต ทุนจดทะเบียน 30 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 10 บาท ทุนชําระแล ว 300 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 99.99%

บริษัท แอดวานซ เมจิคการ ด จํากัด (เอเอ็มซี)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2615 3330 ประเภทธุรกิจ จําหน ายบัตรแทนเงินสด (Cash Card) ทุนจดทะเบียน 25 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 10 บาท ทุนชําระแล ว 250 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 99.99%

บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 408/127 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 29 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2278 7030 เว็บไซต www.ain.co.th ประเภทธุรกิจ ให บริการโทรศัพท ระหว างประเทศ ทุนจดทะเบียน 2 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 100 บาท ทุนชําระแล ว 100 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 99.99%

บริษัท ซุปเปอร บรอดแบนด เน็ทเวอร ค จํากัด (เอสบีเอ็น)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2619 8777 เว็บไซต www.sbn.co.th ประเภทธุรกิจ ให บริการโทรคมนาคมและบริการโครงข ายโทรคมนาคม เช น บริการอินเทอร เน็ต (ISP) บริการอินเทอร เน็ต ระหว างประเทศ และบริการชุมสายอินเทอร เน็ต (International & National Internet Gateway) บริการโครงข าย โทรคมนาคมระหว างประเทศ (IPLC & IP VPN) บริการเสียงผ านเครือข ายอินเทอร เน็ต (Voice over IP) และบริการ โทรทัศน ผ านเครือข ายอินเทอร เน็ต (IP Television) ทุนจดทะเบียน 3 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 100 บาท ทุนชําระแล ว 300 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 99.99%


รายงานประจําป 2555

045

บริษัท แอดวานซ ไวร เลส เน็ทเวอร ค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2687 4986 ประเภทธุรกิจ ให บริการโทรคมนาคม บริการโครงข ายโทรคมนาคม และบริการระบบคอมพิวเตอร ป จจุบันได รับใบอนุญาตให บริการอินเทอร เน็ต (ISP) แบบที่ 1 ใบอนุญาตให บริการโทรคมนาคมแบบที่ 3 และใบอนุญาตให ใช คลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ จาก กสทช. ทุนจดทะเบียน 3.50 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 100 บาท ทุนชําระแล ว 350 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 99.99%

บริษัท ไมโม เทค จํากัด (เอ็มเอ็มที)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5165 ประเภทธุรกิจ พัฒนาระบบข อมูลสารสนเทศ (IT) และบริการรวบรวมข อมูลบนโทรศัพท เคลื่อนที่ (Content Aggregator) ทุนจดทะเบียน 0.50 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 100 บาท ทุนชําระแล ว 50 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 99.99%

บริษัท แฟกซ ไลท จํากัด (เอฟเอ็กซ แอล)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 1291/1 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5165 ประเภทธุรกิจ จัดหา และ/หรือ ให เช า ที่ดิน อาคาร และสิ่งอํานวยความสะดวกต างๆ ที่จําเป นต อการประกอบธุรกิจโทรคมนาคม ทุนจดทะเบียน 0.01 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 100 บาท ทุนชําระแล ว 1 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 99.97%

บริษัท แอดวานซ อินเทอร เน็ต เรโวลูชั่น จํากัด (เอไออาร )

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2299 6000 โทรสาร : (66) 2299 5200 ประเภทธุรกิจ ให บริการอินเทอร เน็ต ทุนจดทะเบียน 24 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 10 บาท ทุนชําระแล ว 240 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 99.99%

บริษัท แอดวานซ บรอดแบนด เน็ทเวอร ค จํากัด (เอบีเอ็น) ที่ตั้งสํานักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค าที่ตราไว ต อหุ น ทุนชําระแล ว สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส

เลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ป จจุบันยังไม ได เริ่มดําเนินธุรกิจ 0.01 ล านหุ น 100 บาท 1 ล านบาท 99.97%


046

อินทัช

บริษัท ศูนย ให บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท จํากัด (ซีแอลเอช)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 10/97 ชัน้ 6 โครงการเดอะเทรนดี้ ซอยสุขมุ วิท 13 (แสงจันทร ) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2646 2523 โทรสาร : (66) 2168 7744 ประเภทธุรกิจ ศูนย ให บริการระบบสารสนเทศและฐานข อมูลกลาง ประสานงานการโอนย ายผู ให บริการโทรคมนาคมเพื่อการ คงสิทธิเลขหมายโทรศัพท ทุนจดทะเบียน 0.02 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 100 บาท ทุนชําระแล ว 2 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 20.00%

บริดจ โมบาย พีทีอี แอลทีดี (บีเอ็มบี)

ที่ตั้งสํานักงาน 750 Chai Chee Road, #03-02/03, Technopark @ Chai Chee, Singapore 469000 โทรศัพท : (65) 6424 6270 โทรสาร : (65) 6745 9453 ประเภทธุรกิจ ให บริการเกีย่ วกับเครือข ายโทรศัพท เคลือ่ นทีใ่ นภาคพืน้ เอเชีย-แปซิฟกิ เพือ่ ให บริการเครือข ายโทรคมนาคมระหว างประเทศ ทุนจดทะเบียน 23 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 1 ดอลลาร สหรัฐ ทุนชําระแล ว 23 ล านดอลลาร สหรัฐ สัดส วนการถือหุ นของเอไอเอส 10.00%

บริษัท โมบาย บรอดแบนด บิสซิเนส จํากัด (เอ็มบีบี) ที่ตั้งสํานักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค าที่ตราไว ต อหุ น ทุนชําระแล ว สัดส วนการถือหุน ของเอดับบลิวเอ็น

เลขที่ 408/60 อาคารพหลโยธินเพลส ชั้น 15 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร อยู ระหว างการเลิกบริษัทและชําระบัญชี 1.20 ล านหุ น 100 บาท 120 ล านบาท 99.99%

บริษัท แอดวานซ โมบาย บรอดแบนด จํากัด (เอเอ็มบี) ที่ตั้งสํานักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค าที่ตราไว ต อหุ น ทุนชําระแล ว สัดส วนการถือหุ นของเอ็มบีบี

เลขที่ 404 อาคารพหลโยธินเซ็นเตอร ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร อยู ระหว างการเลิกบริษัทและชําระบัญชี 1 ล านหุ น 100 บาท 100 ล านบาท 99.99%

บริษัทในเครือสายธุรกิจดาวเทียมและต างประเทศ บริษัท ดีทีวี เซอร วิส จํากัด (ดีทีวี)

ที่ตั้งสํานักงาน สํานักงานใหญ เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร สํานักงานสาขาเลขที่ 50 หมู ที่ 1 ตําบลบ อเงิน อําเภอลาดหลุมแก ว จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท : (66) 2950 5005 เว็บไซต www.dtvservice.net ประเภทธุรกิจ บริการจําหน ายอุปกรณ จานรับสัญญานดาวเทียม บริการให คําปรึกษาและติดตั้งระบบสําหรับเครือข าย บรอดแบนด แบบครบวงจร (System Integration) และให บริการอินเทอร เน็ต ทุนจดทะเบียน 39.88 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 10 บาท ทุนชําระแล ว 398.79 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของไทยคม 99.99%


รายงานประจําป 2555

047

บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) (ซีเอสแอล)

ชื่อย อในตลาดหลักทรัพย ฯ CSL ที่ตั้งสํานักงาน สํานักงานใหญ เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร สํานักงานสาขาเลขที่ 90 อาคารไซเบอร เวิร ลด ทาวเวอร เอ ชั้น 17-20 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห วยขวาง เขตห วยขวาง กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2263 8000 โทรสาร : (66) 2263 8132 เว็บไซต www.csloxinfo.com ประเภทธุรกิจ ให บริการอินเทอร เน็ต คอมพิวเตอร และการสื่อสารที่ตอบสนองความต องการของลูกค าองค กรธุรกิจ ทุนจดทะเบียน 597,009,143 หุ น ทุนชําระแล ว 594,514,769 หุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 0.25 บาท ทุนชําระแล ว 148,628,692.25 บาท สัดส วนการถือหุ นของดีทีวี 42.07%

บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด (มหาชน) (ทีเอ็มซี)

ที่ตั้งสํานักงาน สํานักงานใหญ เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร สํานักงานสาขาที่ 1 เลขที่ 2028 ถนนริมทางรถไฟสายปากน้ํา แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร สํานักงานสาขาที่ 2 เลขที่ 1126/2 อาคารวานิช 2 ชั้น 25-28 ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2262 8888 โทรสาร : (66) 2262 8899 เว็บไซต www.teleinfomedia.net ประเภทธุรกิจ นําเสนอสื่อโฆษณาแบบผสมผสานผ านสิ่งพิมพ เว็บไซต คอมพิวเตอร และโทรศัพท มือถือ สําหรับผู ใช บริการ รายบุคคลและภาคธุรกิจ ทุนจดทะเบียน 15.65 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 10 บาท ทุนชําระแล ว 156.54 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของซีเอสแอล 99.99%

บริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด (มหาชน) (เอดีวี)

ที่ตั้งสํานักงาน สํานักงานใหญ เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร สํานักงานสาขาที่ 1 เลขที่ 1126/2 อาคารวานิช 2 ห องชุดเลขที่ 2101 ชั้น 21 ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2262 8888 โทรสาร : (66) 2262 8899 สํานักงานสาขาที่ 2 เลขที่ 154/1 อาคารราชสีมาเซ็นเตอร ชัน้ 3 ถนนมนัส ตําบลในเมือง อําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา สํานักงานสาขาที่ 3 เลขที่ 79/3-4-5 ชั้น 2, 3 และ 4 ถนนกลางเมือง ตําบลในเมือง อําเภอเมืองขอนแก น จังหวัด ขอนแก น ประเภทธุรกิจ ให บริการข อมูลข าวสารและสาระความบันเทิงผ านระบบโทรศัพท เคลื่อนที่ (Mobile Content Provider) และเครือ ข ายอินเทอร เน็ต (Community Portal) และธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข องกับธุรกิจอินเทอร เน็ต ทุนจดทะเบียน 1.07 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 10 บาท ทุนชําระแล ว 10.75 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของซีเอสแอล 99.99%


048

อินทัช

บริษัท ทีซี บรอดคาสติ้ง จํากัด (ทีซีบี) ที่ตั้งสํานักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค าที่ตราไว ต อหุ น ทุนชําระแล ว สัดส วนการถือหุ นของไทยคม

เลขที่ 414 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ป จจุบันยังไม ได เริ่มดําเนินธุรกิจ (จดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2555) 0.10 ล านหุ น 10 บาท 0.25 ล านบาท 99.99%

บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเม นท ส พีทีอี ลิมิเต็ด (เชน)

ที่ตั้งสํานักงาน 8 Marina Boulevard #05-02, Marina Bay Financial Centre, Singapore 018981 โทรศัพท : (65) 6338 1888 โทรสาร : (65) 6337 5100 ประเภทธุรกิจ ประกอบธุรกิจหลักในการลงทุนด านการสื่อสารโทรคมนาคมในต างประเทศ ทุนจดทะเบียน 14.66 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 1 ดอลลาร สิงคโปร ทุนชําระแล ว 14.66 ล านดอลลาร สิงคโปร สัดส วนการถือหุ นของไทยคม 51.00%

บริษัท เอ็มโฟน จํากัด (เอ็มโฟน)

ที่ตั้งสํานักงาน 721 Preah Monivong Blvd., Boeng Keng Kang 3, Chamkar Mon, Phnom Penh, Kingdom of Cambodia โทรศัพท : (855) 023 303 333 โทรสาร : (855) 023 361 111 เว็บไซต www.mfone.com.kh ประเภทธุรกิจ ให บริการอินเทอร เน็ตและโทรศัพท เคลื่อนที่ในประเทศกัมพูชา

ทุนจดทะเบียน มูลค าที่ตราไว ต อหุ น ทุนชําระแล ว สัดส วนการถือหุ นของเชน

*เมือ่ วันที่ 9 มกราคม 2556 เอ็มโฟนได ยนื่ คําร องต อศาลในกรุงพนมเปญ เพือ่ ขอเข าสูก ระบวนการล มละลาย ตามกฎหมายของประเทศ กัมพูชา

24 ล านหุ น 1 ดอลลาร สหรัฐ 24 ล านดอลลาร สหรัฐ 100%

บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (แอลทีซี)

ที่ตั้งสํานักงาน Lanexang Avenue 0100, Vientiane, Lao People’s Democratic Republic โทรศัพท : (856) 2121 6465-6 โทรสาร : (856) 2121 9690 ประเภทธุรกิจ ให บริการอินเทอร เน็ต ให บริการโทรศัพท เคลื่อนที่ (Cellular Phone) และ 3G โทรศัพท โครงข ายพื้นฐาน (Public Switched Telephone Network (PSTN)) บริการโทรศัพท พนื้ ฐานไร สายระบบ CDMA-450 โทรศัพท สาธารณะ บริการโทรข ามแดนอัตโนมัติ (International Roaming Service) บริการโทรศัพท ต างประเทศแบบ VOIP รวมถึง บริการเสริม (Value added service) สําหรับโทรศัพท เคลื่อนที่ในประเทศลาว ทุนจดทะเบียน 96.84 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 1 ดอลลาร สหรัฐ ทุนชําระแล ว 96.84 ล านดอลลาร สหรัฐ สัดส วนการถือหุ นของเชน 49.00%


รายงานประจําป 2555

049

บริษัท ไอพีสตาร จํากัด (ไอพีสตาร ) ที่ตั้งสํานักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค าที่ตราไว ต อหุ น ทุนชําระแล ว สัดส วนการถือหุ นของไทยคม

Trident Chambers, P.O. Box 146, Road Town, Tortola, British Virgin Islands จัดจําหน ายช องสัญญาณดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) 200 ล านหุ น 0.01 ดอลลาร สหรัฐ 2 ล านดอลลาร สหรัฐ 99.96%

บริษัท ไอพีสตาร นิวซีแลนด จํากัด (ไอพีเอ็น)

ที่ตั้งสํานักงาน C/- Clendons Barristers & Solicitors Level 1, Levy Building, Corner of Commerce & Customs Sts, Auckland, New Zealand ประเภทธุรกิจ ให บริการไอพีสตาร ในประเทศนิวซีแลนด ทุนจดทะเบียน 8.51 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 1 ดอลลาร นิวซีแลนด ทุนชําระแล ว 8.51 ล านดอลลาร นิวซีแลนด สัดส วนการถือหุ นของไอพีสตาร 100%

บริษัท ไอพีสตาร ออสเตรเลีย พีทีวาย จํากัด (ไอพีเอ)

ที่ตั้งสํานักงาน 5 George Place, Artarmon, NSW 2064, Australia โทรศัพท : (612) 8458 0500 โทรสาร : (612) 8006 5592 ประเภทธุรกิจ ให บริการไอพีสตาร ในประเทศออสเตรเลีย ทุนจดทะเบียน 6.95 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 1 ดอลลาร ออสเตรเลีย ทุนชําระแล ว 6.95 ล านดอลลาร ออสเตรเลีย สัดส วนการถือหุ นของไทยคม 100%

บริษัท สตาร นิวเคลียส จํากัด (สตาร ) ที่ตั้งสํานักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค าที่ตราไว ต อหุ น ทุนชําระแล ว สัดส วนการถือหุ นของไทยคม

สเปซโคด แอล แอล ซี (สเปซ)

ที่ตั้งสํานักงาน ประเภทธุรกิจ ทุนจดทะเบียน มูลค าที่ตราไว ต อหุ น ทุนชําระแล ว สัดส วนการถือหุ นของไทยคม

Trident Chambers, P.O. Box 146, Road Town, Tortola, British Virgin Islands ให บริการด านวิศวกรรมพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส 0.05 ล านหุ น 1 ดอลลาร สหรัฐ 10 ดอลลาร สหรัฐ 100% 8695 Zumwalt Road, Monmouth, OR 97365 USA ให บริการด านวิศวกรรมพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส 4.29 ล านดอลลาร สหรัฐ 70.00%


050

อินทัช

บริษัท ไอพีสตาร อินเตอร เนชั่นแนล พีทีอี จํากัด (ไอพี ไอ)

ที่ตั้งสํานักงาน 8 Marina Boulevard #05-02, Marina Bay Financial Centre, Singapore 018981 โทรศัพท : (65) 6338 1888 โทรสาร : (65) 6337 5100 ประเภทธุรกิจ จัดจําหน ายช องสัญญาณดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) ทุนจดทะเบียน 0.02 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 1 ดอลลาร สิงคโปร ทุนชําระแล ว 20,000 ดอลลาร สิงคโปร สัดส วนการถือหุ นของไทยคม 100%

บริษัท ไอพีสตาร โกลเบิล เซอร วิส จํากัด (ไอพีจี)

ที่ตั้งสํานักงาน Intercontinental Trust Limited, Suite 802, St. James Court, St. Denis Street, Port Louis, Mauritius โทรศัพท : (230) 213 9800 โทรสาร : (230) 210 9168 ประเภทธุรกิจ จัดจําหน ายช องสัญญาณดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) ทุนจดทะเบียน 0.02 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 1 ดอลลาร สหรัฐ ทุนชําระแล ว 20,000 ดอลลาร สหรัฐ สัดส วนการถือหุ นของไทยคม 100%

บริษัท แคมโบเดียน ดีทีวี เน็ตเวิร ค จํากัด (ซีดีเอ็น)

ที่ตั้งสํานักงาน 9A, Street 271, Tomnup Teuk, Chamkar Mon, Phnom Penh, Kingdom of Cambodia โทรศัพท : (855) 023 305 990 โทรสาร : (855) 023 994 669 เว็บไซต www.cdn.com.kh ประเภทธุรกิจ จัดจําหน ายอุปกรณ รับสัญญาณโทรทัศน ผ านดาวเทียม ทุนจดทะเบียน 0.001 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 2,400,000 เรียล ทุนชําระแล ว 2,400 ล านเรียล หรือเทียบเท า 0.60 ล านดอลลาร สหรัฐ สัดส วนการถือหุ นของไทยคม 100%

บริษัทในเครือสายธุรกิจสื่อและโฆษณา บริษัท อาร ตแวร มีเดีย จํากัด (เอเอ็ม)

ที่ตั้งสํานักงาน เลขที่ 1010 อาคารชินวัตรทาวเวอร 3 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โทรศัพท : (66) 2791 1000 โทรสาร : (66) 2791 1010 ประเภทธุรกิจ ป จจุบันหยุดการดําเนินงาน ทุนจดทะเบียน 0.25 ล านหุ น มูลค าที่ตราไว ต อหุ น 100 บาท ทุนชําระแล ว 25 ล านบาท สัดส วนการถือหุ นของไอทีวี 99.99%

หมายเหตุ ข อมูลทุนจดทะเบียน ทุนชําระแล ว และสัดส วนการถือหุ น ณ วันที่ 3 มกราคม 2556


รายงานประจําป 2555

051

พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญก อนป 2555 ป 2526 ป 2533

ป 2534 ป 2536 ป 2537 ป 2540 ป 2542 ป 2543

ป 2544

ป 2545 ป 2546

/ จดทะเบียนจัดตั้งบริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร เซอร วิส แอนด อินเวสเมนท จํากัด วัตถุประสงค หลักคือ จําหน ายและให เช า คอมพิวเตอร ขนาดกลางและขนาดใหญ (เปลี่ยนเป นบริษัท ชินวัตรคอมพิวเตอร จํากัด ในป 2527 และเปลี่ยนเป นบริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (บริษัท) ในป 2544) / บริษัท เข าเป นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย / บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จํากัด (เอไอเอส) ได รับอนุญาตจาก องค การโทรศัพท แห งประเทศไทย (ป จจุบัน คือ บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) ให ดาํ เนินการติดตัง้ และให บริการโทรศัพท เคลือ่ นทีร่ ะบบเซลลูลาร 900 ตามสัญญาร วมการ งานแบบบีทีโอ (BTO: Build-Transfer-Operate) เป นระยะเวลา 20 ป ต อมาในป พ.ศ. 2539 ได ขยายเวลาของสัญญาร วมการ งานเป น 25 ป สิ้นสุดป 2558 / บริษัท ชินวัตรแซทเทลไลท จํากัด ได รับอนุญาตจากกระทรวงคมนาคมให เป นผู จัดสร าง จัดส ง และให บริการดาวเทียมสื่อสาร แห งชาติโดยมีอายุ 30 ป คุ มครองสิทธิภายในเวลา 8 ป / เอไอเอส เข าเป นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย และต อมาจดทะเบียนเป นบริษัทมหาชน ในป 2535 / ดาวเทียมไทยคม 1 ได ถูกส งเข าวงโคจรเป นผลสําเร็จ / บริษัท ชินวัตรแซทเทลไลท จํากัด ได แปรสภาพเป นบริษัทมหาชน / บริษัท ชินวัตรแซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) เข าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย (เปลี่ยนเป นบริษัท ชิน แซทเทลไลท จํากัด (มหาชน) ในป 2542 และเปลี่ยนเป นบริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) (ไทยคม) ในป 2551) / ดาวเทียมไทยคม 2 ได ถูกส งเข าวงโคจรเป นผลสําเร็จ / ดาวเทียมไทยคม 3 ได ถูกส งเข าวงโคจรเป นผลสําเร็จ / Singapore Telecom International Pte. Ltd. เข าร วมลงทุนในเอไอเอส ทําให สัดส วนการลงทุนของบริษัทในเอไอเอส ลดลง เหลือประมาณร อยละ 42 / บริษทั เข าลงทุนในบริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ผู ให บริการเครือข ายโทรศัพท เคลือ่ นทีร่ ะบบดิจติ อล GSM ย านความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ โดยเข าซือ้ หุน ดีพซี ี จากบริษทั สามารถคอร ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ในสัดส วนร อยละ 45.59 และต อมาเข าซือ้ หุน เพิม่ ทุนในดีพีซี ทําให สัดส วนการถือหุ นเพิ่มขึ้นเป นร อยละ 47.55 / บริษัทเข าลงทุนในบริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) (ไอทีวี) ในสัดส วนร อยละ 39 โดยซื้อหุ นเพิ่มทุนของ ไอทีวี / มีการจัดโครงสร างการถือหุน ในสายธุรกิจโทรคมนาคมไร สาย โดยให เอไอเอส เข าถือหุน ดีพซี โี ดยตรงในสัดส วนร อยละ 98.17 ซึง่ เป นสัดส วนที่เพิ่มขึ้นหลังจากที่ได มีการซื้อหุ นดีพีซี จาก TMI Mauritius Limited ที่ถืออยู ทั้งหมด / บริษัทและเอไอเอส เปลี่ยนแปลงมูลค าที่ตราไว จาก 10 บาทต อหุ นเป น 1 บาทต อหุ น / บริษทั ซือ้ หุน ไอทีวี เพิม่ จากธนาคารไทยพาณิชย และซือ้ หุน ไอทีวี ผ านการทําคําเสนอซือ้ หลักทรัพย ทงั้ หมดของไอทีวี ทําให สดั ส วน การลงทุนของบริษัท ในไอทีวี เพิ่มเป นร อยละ 77.48 / ไอทีวเี ข าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย โดยออกหุน สามัญออกขายให นกั ลงทุนเป นการทัว่ ไปเป นครัง้ แรก พร อม กันนี้ บริษัทนําหุ นไอทีวีที่ถืออยู บางส วนเสนอขายพร อมกัน ทําให สัดส วนการลงทุนของบริษัท ในไอทีวี ลดลงเป นร อยละ 55.53 / บริษัทเข าลงทุนในสองธุรกิจใหม โดยร วมกับ AirAsia Sdn. Bhd. จากประเทศมาเลเซีย ก อตั้งบริษัท ไทยแอร เอเชีย จํากัด (ทีเอเอ) ในสัดส วนร อยละ 50 และ 49 ตามลําดับ เพื่อให บริการสายการบินราคาประหยัดในประเทศไทย และร วมกับธนาคารดีบีเอส จากประเทศสิงคโปร ก อตั้งบริษัท แคปป ตอล โอเค จํากัด (โอเค) ในสัดส วนร อยละ 60 และ 40 ตามลําดับ เพื่อดําเนินธุรกิจการให สินเชื่อส วนบุคคล โดยทั้งสองธุรกิจเริ่มให บริการในป 2547


052 ป 2547

ป 2548

ป 2549

ป 2550

ป 2551

ป 2553

อินทัช

/ มีการจัดโครงสร างการถือหุ นในบริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด (ทีเอ็มซี) โดยให บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) (ซีเอส แอล) เข าซื้อหุ นทีเอ็มซี จากบริษัทในสัดส วนร อยละ 38.25 และซื้อหุ นทีเอ็มซี จาก Singtel Interactive Pte. Ltd. ในสัดส วนร อยละ 25 ทําให ซีเอสแอล เข าถือหุ นในทีเอ็มซี ในสัดส วนร อยละ 63.25 เพื่อดําเนินธุรกิจที่เกื้อหนุนกัน และสร างมูลค าเพิ่มทางด านการ บริการจากความแข็งแกร งของฐานข อมูลของทีเอ็มซี / ซีเอสแอลเข าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย โดยเสนอขายหุ นสามัญเพิ่มทุนต อประชาชนเป นครั้งแรก / ไทยคมเพิม่ ทุนโดยการเสนอขายหุน สามัญเพิม่ ทุนแก นกั ลงทุนสถาบันและนักลงทุนรายย อยรวม 208 ล านหุน ในราคาหุน ละ 15.30 บาท รวม 3,182 ล านบาท ซึ่งทําให สัดส วนการลงทุนของบริษัทในไทยคม ลดลงเป นร อยละ 41.34 / ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) ได ถูกส งเข าวงโคจร ซึ่งเป นดาวเทียมบรอดแบนด ดวงแรกของภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก และเริ่มให บริการอย างเต็มรูปแบบแก ทีโอที ซึ่งเป นผู ให บริการหลักในประเทศไทย / ไอทีวี ร วมกับพันธมิตรญี่ปุ น คือ CA Mobile Ltd. และ Mitsui & Co., Ltd. (Mitsui) ร วมกันจัดตั้ง บริษัท มีเดีย คอนเน็คซ จํากัด (เอ็มซี) เพือ่ ประกอบธุรกิจผลิตเนือ้ หาและสือ่ โฆษณาบนโทรศัพท เคลือ่ นที่ โดยมีสดั ส วนการถือหุน ร อยละ 60, 25 และ 15 ตามลําดับ ต อมาในป 2549 มีการเปลีย่ นสัดส วนการถือหุน ในเอ็มซีโดยคงเหลือไอทีวี และ Mitsui ถือหุน ในสัดส วนร อยละ 60 และ 40 ตามลําดับ / ซีเอสแอลซื้อหุ นทีเอ็มซีที่เหลือจากทีโอที ในสัดส วนร อยละ 36.75 ทําให ซีเอสแอลเข าถือหุ นทั้งหมดในทีเอ็มซี / ดาวเทียมไทยคม 5 ได ถูกส งเข าวงโคจรเป นผลสําเร็จ และได ดําเนินการปลดระวางดาวเทียมไทยคม 3 ออกจากวงโคจรค างฟ า ตําแหน งที่ 50.5 องศาตะวันออกไปสู อวกาศ เนื่องจากระบบพลังงานไฟฟ าของดาวเทียมไม เพียงพอต อการให บริการ / บริษัท ซื้อหุ นโอเค ที่ธนาคารดีบีเอสถืออยู ทั้งหมด ทําให สัดส วนการถือหุ นของบริษัท ในโอเค เพิ่มขึ้นเป นร อยละ 99.99 / จัดโครงสร างการถือหุ นในทีเอเอ โดยขายหุ นทีเอเอที่บริษัทถืออยู ทั้งหมด ให กับบริษัท เอเชีย เอวิเอชั่น จํากัด (เอเอ) ซึ่งเป นบริษัท ที่บริษัทถือหุ นอยู ในสัดส วนร อยละ 49 ทําให สัดส วนการลงทุนทางอ อมของบริษัทในทีเอเอลดลงเหลือร อยละ 24.50 / จัดโครงสร างการถือหุ นในบริษัท เอดี เวนเจอร จํากัด (เอดีวี) ซึ่งเป นผู ถือหุ นใน บริษัท ชินนี่ดอทคอม จํากัด ซึ่งให บริการข อมูล ข าวสารและสาระความบันเทิงสําหรับผู ใช โทรศัพท เคลื่อนที่ (Mobile Contents) และบริการเว็บท า hunsa.com โดยซีเอสแอลเข า ซื้อหุ นเอดีวีจากบริษัทและกลุ ม Mitsubishi ทําให ซีเอสแอล เข าถือหุ นทั้งหมดในเอดีวี / ตามมติคณะรัฐมนตรีในวันที่ 6 มีนาคม 2550 ที่อนุมัติให ระงับการออกอากาศของไอทีวี โดยสํานักปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ได มหี นังสือมายังไอทีวี ในวันที่ 7 มีนาคม 2550 เพือ่ บอกเลิกสัญญาเข าร วมงานฯ กับไอทีวี โดยอ างเหตุวา ไอทีวี ไม ดาํ เนิน การชําระหนี้ตามที่ สปน. เรียกร อง และขอให ส งมอบทรัพย สินที่ไอทีวี มีไว ใช ในการดําเนินกิจการตามสัญญาเข าร วมงานฯ คืนให แก สปน. ซึง่ การบอกเลิกสัญญาดังกล าวเป นเหตุให ไอทีวี จําเป นต องหยุดดําเนินธุรกิจสถานีวทิ ยุโทรทัศน ระบบ ยู เอช เอฟ อย างไร ก็ตามไอทีวี ยังคงดําเนินคดีฟ องร องกับ สปน. ต อไปตามกระบวนการระงับข อพิพาทตามสัญญาฯ และข อเรียกร องค าเสียหาย ข ออื่นๆ ที่เรียกร องให สปน. ชดเชยความเสียหายโดยชําระคืนเป นเงินสดให แก ไอทีวี โดยคดีความระหว างไอทีวี และ สปน.อยู ใน กระบวนการระงับข อพิพาทที่สถาบันอนุญาโตตุลาการ / บริษัท ซื้อหุ น บริษัท เพย เม นท โซลูชั่น จํากัด (พีเอส) ในสัดส วนร อยละ 99.99 จากโอเค / บริษัท ขายหุ นโอเค ที่ถืออยู ทั้งหมดให กับ บริษัท เอแคป แอ ดไวเซอรี่ จํากัด (มหาชน) และ ORIX Corporation / บริษัท ขายหุ นที่ถืออยู ทั้งหมดในเอเอ ในสัดส วนร อยละ 49 ให กับกลุ มผู บริหารระดับสูงของทีเอเอ / ไทยคมขายหุ นบริษัท เชนนิงตัน อินเวสท เมนท ส พีทีอี จํากัด (เชน) ในสัดส วนร อยละ 49 ให แก Asia Mobile Holdings Pte. Ltd. ทําให สัดส วนการลงทุนของไทยคมในเชน ลดลงเหลือร อยละ 51 / บริษัท ขายหุ นที่ถืออยู ทั้งหมดในพีเอส / เอไอเอสซื้อหุ นของบริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (เอเอ็มพี) ส วนที่ NTT DoCoMo Co., Ltd. ถืออยู ทั้งหมด ทําให สัดส วนการ ลงทุนของเอไอเอส ในเอเอ็มพี เพิ่มขึ้นเป นร อยละ 99.99 / เอไอเอสขายหุน ของบริษทั แอดวานซ ดาต าเน็ทเวอร ค คอมมิวนิเคชัน่ ส จํากัด ซึง่ เป นบริษทั ย อยทีเ่ อไอเอส ถือหุน ในสัดส วนร อยละ 51 ให ดพ ี ซี ี ซึง่ เป นบริษทั ย อยที่ เอไอเอส ถือหุน ในสัดส วนร อยละ 98.55 เพือ่ เป นการปรับโครงสร างของสายธุรกิจ ให มปี ระสิทธิภาพ สูงสุด รวมทั้งเป นการผนวกจุดแข็งของการสื่อสารข อมูลผ านระบบเครือข ายอินเทอร เน็ต กับเครือข ายบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ / ซีเอสแอล ลดทุนจดทะเบียนของบริษัท โดยการลดมูลค าหุ นที่ตราไว เดิม 1 บาทต อหุ น เป น 0.25 บาทต อหุ น / ไทยคมได ทําการปลดระวางดาวเทียมไทยคม 1A และดาวเทียมไทยคม 2 ออกจากวงโคจร หลังจากครบกําหนดอายุการใช งาน


รายงานประจําป 2555

ป 2554

053

/ บริษัท เปลี่ยนเครื่องหมายการค าจาก “SHIN” เป น “INTOUCH” (อินทัช) โดยเปลี่ยนจากสัญลักษณ ลูกโลกเดิมที่ใช มากว า 20 ป สู สัญลักษณ ใหม ที่สามารถสะท อนความเป นมิตรได ดียิ่งขึ้น ใกล ชิด และสัมผัสได ง ายขึ้น / ไทยคมได รบั ความเห็นชอบจากกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการสร างดาวเทียมไทยคม 6 ซึง่ คาดว าจะสามารถ นําขึ้นสู วงโครจรได ในช วงกลางป 2556 อันจะส งผลให มีลูกค าและบริการเพิ่มมากขึ้นได อย างต อเนื่องในอนาคต / ไทยคมได มกี ารลงนามข อตกลงความร วมมือกับ Asia Satellite Telecommunications Co., Ltd. ในการจัดหาดาวเทียมชัว่ คราว ไปไว ยงั ตําแหน งวงโคจรที่ 120 องศาตะวันออก หลังจากนัน้ จะจัดส งดาวเทียมดวงใหม ขึน้ สูว งโคจรในป 2557 ความร วมมือระหว าง สองบริษทั ในครัง้ นี้ จะช วยรักษาสิทธิข์ องประเทศไทยในตําแหน งวงโคจรที่ 120 องศาตะวันออก และจะทําให มชี อ งสัญญาณเพิม่ เติม สําหรับให บริการช องสัญญาณโทรทัศน โทรคมนาคมและบรอดแบนด ทั่วภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกอีกด วย / บริษัท ขายเงินลงทุนในเอไอเอส บางส วนจํานวน 61 ล านหุ น หรือคิดเป นร อยละ 2.05 ของทุนชําระแล วของเอไอเอส ให แก Singtel Strategic Investments Pte. Ltd. ซึง่ เป นหนึง่ ในผูถ อื หุน เดิมของเอไอเอส ในราคา 130 บาทต อหุน คิดเป นมูลค ารวมทัง้ สิน้ 7,930 ล านบาท ทัง้ นี้ ภายหลังจากการจําหน ายหุน ดังกล าว บริษทั ยังคงเป นผูถ อื หุน ใหญ ของเอไอเอส คิดเป นร อยละ 40.45 ของทุนชําระ แล วของเอไอเอส และการขายหุ นในครั้งนี้ไม มีผลต อการเปลี่ยนแปลงในอํานาจควบคุมและการดําเนินงานของเอไอเอสแต อย างใด

พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในป 2555 ป 2555

/ บริษัท เป ดตัวโครงการร วมลงทุนภายใต ชื่อ อินเว นท (InVent) ซึ่งนับเป นปรากฏการณ ใหม ครั้งแรกของวงการธุรกิจไทย กับ การร วมลงทุนในรูปแบบคอร ปอเรท เวนเจอร แคปป ตอล (Corporate Venture Capital) ด วยการสนับสนุนเงินลงทุนให กับกลุ ม ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย อมของไทย (Small and Medium Enterprises - SMEs) ทีม่ ศี กั ยภาพในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคม และสื่อ ซึ่งจะช วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข งขันในเวทีโลก พร อมรับการเป ดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) ในป 2558 ขณะเดียวกันยังเป นการขยายการลงทุนที่จะทําให กลุ มอินทัชเติบโตมาก ขึ้นอีกด วย / บริษัท เข าลงทุนในบริษัทร วมลงทุนรายแรกในโครงการอินเว นท คือ บริษัท อุ คบี จํากัด (Ookbee) ซึ่งเป นผู นําตลาดทางด านช อง ทางการนําเสนอสิ่งตีพิมพ ดิจิตอล (Digital Publication Platform) โดยถือหุ นในสัดส วนร อยละ 25 คิดเป นเงินลงทุนทั้งสิ้น 57 ล านบาท โดยการร วมลงทุนในครั้งนี้สามารถตอบโจทย ไม เฉพาะในส วนของการสนับสนุนด านเงินลงทุนเท านั้น แต ยังสามารถ ขยายความร วมมือไปยังธุรกิจอื่นๆ ในกลุ มอินทัชด วย / บริษัทแอดวานซ ไวร เลส เน็ทเวอร ค ซึ่งเป นบริษัทย อยที่ เอไอเอส ถือหุ นอยู ร อยละ 99.99 ได รับใบอนุญาตให ใช คลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ จากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแห งชาติ (กสทช.) / ไทยคมได รับใบอนุญาตให เป นผู ประกอบกิจการโทรคมนาคมประเภทที่สามจาก กสทช. เพื่อประกอบกิจการดาวเทียมไทยคม 7 ซึ่งถือเป นดาวเทียมดวงแรกของบริษัทในระบบไลเซนส โดยใบอนุญาตดังกล าวมีระยะเวลา 20 ป


054

อินทัช

ลักษณะการประกอบธุรกิจ ภาพรวมการประกอบธุรกิจสายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม เครือข ายด วยเทคโนโลยี “EDGE+” ทีค่ รอบคลุมทัว่ ประเทศ ซึง่ เหนือกว า EDGE ทั่วไปด วยความเร็วสูงสุด 296 กิโลบิตต อวินาที ไร สาย บริษทั แอดวานซ อินโฟร เซอร วสิ จํากัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส ตอกย้าํ ความเป นผู นําธุรกิจในด านการสื่อสารโทรคมนาคมแบบไร สาย ด วย ส วนแบ งทางการตลาดในเชิงรายได ที่สูงกว าร อยละ 54 ในป 2555 และ นําเสนอบริการคุณภาพให แก ลูกค าประมาณ 36 ล านเลขหมาย หรือ ร อยละ 44 ของจํานวนผู ใช บริการในประเทศไทย เรายังคงนําเสนอบริการ ที่เป นเลิศยาวนานกว า 22 ป ให กับสังคมไทยด วยเครือข ายคุณภาพ ที่ครอบคลุมกว าร อยละ 97 ของประเทศ ทั้งนี้เอไอเอสได ทําสัญญาร วมการงานอายุ 25 ป แบบสร าง-โอน กรรมสิทธิ์-ดําเนินงาน กับบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ในป 2533 เพื่อให บริการโทรศัพท เคลื่อนที่บนคลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ ด วย เทคโนโลยี GSM และ 3G รวมถึงจ ายผลตอบแทนในรูปแบบของส วนแบ ง รายได จากการบริการให แก ทีโอที บริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ซึง่ เป นบริษทั ในเครือ ให บริการโทรศัพท เคลือ่ นทีบ่ นคลืน่ ความถีย่ า น 1800 เมกะเฮิรตซ ภายใต สญ ั ญาร วมการ งานแบบสร าง-โอนกรรมสิทธิ์-ดําเนินงานอายุ 16 ป กับบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ กสท ซึง่ เริม่ ในป 2540 ดีพซี มี สี ญ ั ญา ในการเชือ่ มโยงเครือข ายกับเอไอเอสเพือ่ ให ทงั้ ผู ใช งานโทรศัพท เคลือ่ นที่ ทั้งสองเครือข ายสามารถใช บริการได ครอบคลุมทั่วประเทศ บริษัท แอดวานซ ไวร เลส เน็ทเวอร ค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) ซึ่งเป น บริษัทย อยของเอไอเอส ซึ่งได รับใบอนุญาตจากคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแห งชาติ (กสทช.) ในเดือนธันวาคม 2555 ที่ผ านมา จากการประมูลคลื่นความถี่ย าน 2.1 กิกะเฮิรตซ เพื่อให บริการ 3G เต็มรูปแบบซึ่งจะเริ่มในป 2556 นี้ ในป ที่ ผ า นมาเอไอเอสต อ ยอดประสบการณ ก ารเชื่ อ มต อ บริ ก าร อินเทอร เน็ตเคลือ่ นทีแ่ ก ลกู ค าด วยการขยายโครงข ายบริการข อมูลเพือ่ รองรับการใช งานด านบริการข อมูลที่สูงขึ้น ตอบสนองแนวทางการใช ชีวิตของคนไทยที่เปลี่ยนแปลงไป โดยให ลูกค าเชื่อมต ออินเทอร เน็ตได อย างต อเนือ่ งผ านเครือข ายคุณภาพ 3G, WiFi และ EDGE+ ในป ทผี่ า น มา เอไอเอสยังคงมุง เน นคุณภาพของบริการเพือ่ ให ลกู ค ามีประสบการณ เชือ่ มต ออินเทอร เน็ตทีด่ ยี งิ่ ขึน้ โดยได เพิม่ จํานวนสถานีฐาน 3G บนคลืน่ 900 เมกะเฮิรตซ เป น 3,500 สถานี จากเดิม 1,884 สถานีฐานในป ทแี่ ล ว ครอบคลุมพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ และอีก 17 จังหวัด ผนวกกับความร วมมือกับ บริษัท จัสมิน อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) พันธมิตรทางธุรกิจใน การร วมให บริการไวไฟทีค่ วามเร็วสูงสุดถึง 6 เมกะบิตต อวินาที ผ านจุด เชือ่ มต อจํานวนกว า 50,000 จุดทัว่ ประเทศ รวมถึงคงความแตกต างของ

บริษัทร วมทุน บริดจ โมบาย พีทีอี แอลทีดี (บีเอ็มบี) ให บริการโทรข าม แดนอัตโนมัตทิ เี่ ชือ่ มต อกว า 214 ประเทศทัว่ โลก โดยเอไอเอสได เข าร วม กลุ ม Bridge Alliance เป นพันธมิตรร วมกับ 11 เครือข ายผู ให บริการ โทรศัพท เคลื่อนที่ชั้นนําทั่วภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ซึ่งให บริการและสิทธิ ประโยชน ที่เหนือกว ากับลูกค า บริษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จํากัด (เอไอเอ็น) ให บริการโทรทางไกล ต างประเทศผ านรหัส 005 หรือ 00500 เพื่อให ลูกค าสามารถสื่อสาร แบบไร พรมแดนครอบคลุม 240 ประเทศปลายทางทั่วโลก บริษทั แอดวานซ คอนแท็คเซ็นเตอร จํากัด (เอซีซ)ี หรือศูนย บริการลูกค า คอลเซ็นเตอร เป นป จจัยสําคัญในการสร างความแตกต างที่เหนือกว า ให กับเอไอเอส โดยเน นการสร างความสัมพันธ กับลูกค าเป นหลักนอก เหนือจากบริการก อนหรือหลังการขายหรือตอบป ญหาทั่วไป เช น เรื่อง การชําระค าบริการ หรือสอบถามข อมูลบริการ เอไอเอสคอลเซ็นเตอร ยังมีบทบาทสําคัญในการช วยแนะนํากิจกรรมทางการตลาด แนะนํา สินค าและบริการให ทั้งลูกค าป จจุบันและลูกค าใหม นอกจากบริการ คอลเซ็นเตอร ผ านโทรศัพท แล ว เอไอเอสได อํานวยความสะดวกให แก ลูกค าด วยบริการออนไลน จาก “iCall” (บริการผ านแชทหรือคุย ผ านกล องพร อมภาพและเสียง) และขยายสู เครือข ายสังคมออนไลน เพื่อให บริการที่ตรงกลุ มและรวดเร็วยิ่งขึ้นผ านเครือข ายยอดนิยม เช น เว็บบอร ดพันทิป facebook และ twitter นอกจากนี้ เอไอเอสยังใส ใจ ในความต องการของลูกค าผูบ กพร อง โดยพัฒนา “iSign” ซึง่ เป นบริการ ถามตอบผ านทางเว็บแคมโดยใช ภาษามือเพือ่ อํานวยความสะดวกให แก ลูกค าผู บกพร องทางการได ยินโดยเฉพาะ ป จจุบนั ลูกค ามีการใช สมาร ทโฟน แท็บเล็ต และแอร การ ดมากขึน้ เอไอเอส จึงได เตรียมพนักงานซึง่ มีความเชีย่ วชาญด านเทคโนโลยี หรือ “Device guru” จํานวนกว า 694 คน ซึง่ พร อมให ความรูแ ละแนะนําวิธแี ก ไขป ญหา ทางเทคนิคให แก ลกู ค า พร อมให บริการลูกค าผ านทางศูนย บริการลูกค า เอไอเอส ศูนย บริการลูกค าเซเรเนด และคอลเซ็นเตอร ลูกค าเอไอเอส ยังสามารถทํารายการต างๆ ผ านทางระบบออนไลน “eService” ได ดว ย ตนเอง เช น ตรวจสอบยอดเงิน หรือปริมาณการใช งาน เปลีย่ นโปรโมชัน่ รวมไปถึงชําระค าบริการ นอกจากนี้ เอไอเอสยังพัฒนาบริการเอ็มเปย (mPAY) ผ าน บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด (เอเอ็มพี) ให ลูกค าสามารถทําธุรกรรมต างๆ ผ านโทรศัพท เคลื่อนที่ช วยให ชีวิตประจําวันสะดวกยิ่งขึ้น เช น ชําระค า บริการโทรศัพท เคลื่อนที่ ซื้อสินค าออนไลน เติมเงินค าโทร เติมเงินเกม ออนไลน เป นต น


รายงานประจําป 2555

บริษัท ไวร เลส ดีไวซ ซัพพลาย จํากัด (ดับบลิวดีเอส) ดําเนินธุรกิจจัด จําหน ายโทรศัพท เคลื่อนที่และอุปกรณ โทรคมนาคม ซิมการ ดและบัตร เติมเงิน ผ านตัวแทนจําหน ายกว า 950 สาขาทั่วประเทศ โดยในฐานะ ที่เอไอเอสเป นผู นําตลาดโทรคมนาคมไทย นอกจากจะมีโครงข ายและ บริการคุณภาพเพือ่ รองรับการเติบโตของตลาดแล ว ยังให ความสําคัญ อย างมากกับช องทางจัดจําหน าย โดยเล็งเห็นว าการช วยให ลกู ค าเข าถึง อุปกรณ สอื่ สารได อย างทัว่ ถึงเป นป จจัยสําคัญทีช่ ว ยส งเสริมการเติบโต ของตลาดบริการข อมูลซึง่ ป จจุบนั มีความต องการเชือ่ มต ออินเทอร เน็ต เคลื่อนที่มากขึ้น

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข งขัน ณ สิ้นป 2555 จํานวนเลขหมายโทรศัพท เคลื่อนที่ต อประชากรของ ประเทศไทยเพิ่มขึ้นมาอยู ที่ร อยละ 118 จากจํานวนผู ใช บริการราย ใหม โดยเฉพาะในตลาดต างจังหวัด และผู ใช อุปกรณ สื่อสารด านข อมูล เช น แท็บเล็ต การเติบโตของอุตสาหกรรมบริการโทรศัพท เคลื่อนที่โดย ส วนใหญ ยังคงมาจากบริการสื่อสารด านข อมูลซึ่งเติบโตร อยละ 33 ใน ขณะทีก่ ารแข งขันในตลาดโดยรวมอยูท บี่ ริการสือ่ สารด านข อมูลเช นกัน สืบเนื่องจากกระแสนิยมของสมาร ทโฟน รวมทั้งความต องการใช งาน เทคโนโลยี 3G ที่มีอยู สูงในท องตลาด ส วนบริการสื่อสารด านเสียงในป ทีผ่ า นมาเติบโตร อยละ 5 จากการเติบโตของเศรษฐกิจในประเทศในระดับ มหภาค ซึง่ สะท อนออกมาในรูปของการเติบโตทัง้ จํานวนผู ใช บริการโดย เฉพาะในตลาดต างจังหวัดและปริมาณการใช งานโดยรวม บริการสือ่ สารด านข อมูลมีการเติบโตอย างต อเนือ่ ง จากการเติบโตอย าง รวดเร็วของตลาดโทรศัพท สมาร ทโฟน ซึ่งเป นผลมาจากผู ผลิตเครื่อง อุปกรณ โทรศัพท เคลื่อนที่ได นําเสนอสมาร ทโฟนราคาระดับกลางและ ระดับล าง รวมถึงแท็บเล็ตและอุปกรณ การเชื่อมต อประเภทใหม ๆ เข าสู ตลาดมากขึน้ ประกอบกับกระแสความนิยมของเครือข ายสังคมออนไลน เช น Facebook, Twitter ได เพิม่ ขึน้ อย างรวดเร็วในเขตเมืองและเริม่ ขยาย ตัวในพื้นที่ต างจังหวัด ผู ให บริการต างปรับเปลี่ยนกลยุทธ โดยร วมมือ กับพันธมิตรที่เป นผู ผลิตสมาร ทโฟน เช น iPhone, Samsung, HTC ในการนําเสนอเครื่องสมาร ทโฟนรุ นพิเศษหรือการเป ดตัวสมาร ทโฟน รุ นใหม เป นรายแรก รวมทั้งมีการนําเสนอแพ็กเกจที่เหมาะสมกับการใช งานสมาร ทโฟนและอุปกรณ เชื่อมต อแต ละประเภท เช น แพ็กเกจสําหรับ การโทรและเชื่อมต อเน็ต แพ็กเกจเฉพาะการโทร และแพ็กเกจเฉพาะการ เชื่อมต อเน็ต ทั้งในรูปแบบแพ็กแกจหลักและแพ็กเกจเสริม จากแนวโน มการเปลีย่ นแปลงดังกล าวในช วงป ทผี่ า นมา ทําให ผู ให บริการ แต ละรายต างตั้งเป าหมายการเป นผู นําในบริการอินเทอร เน็ตไร สาย ความเร็วสูงเพือ่ ตอบสนองความต องการของผูบ ริโภคได อย างครบวงจร โดยขยายการลงทุนในการพัฒนาโครงข าย 3G บนคลื่นความถี่ที่ผู ให บริการแต ละรายมีอยู ระหว างรอการเป ดให ประมูลใบอนุญาตให บริการ 3G บนคลืน่ 2.1 กิกะเฮิรตซ ซงึ่ เป นคลืน่ มาตรฐานสําหรับเทคโนโลยี 3G

055

แนวโน มตลาดโทรศัพท เคลื่อนที่ในป 2556 ในป 2556 บริการด านข อมูลยังคงเป นบริการหลักในการสร างการ เติบโตในอุตสาหกรรมต อไปและแนวโน มการแข งขันในตลาดบริการด าน ข อมูลจะเพิม่ สูงขึน้ ตามไปด วย ในขณะทีบ่ ริการเสียงจะยังคงเติบโตได อยู แต ในอัตราทีล่ ดลงเนือ่ งจากสภาวะตลาดบริการเสียงทีอ่ มิ่ ตัวมากขึน้ ทัง้ ในจํานวนผู ใช งานและปริมาณการใช จากการเป ดประมูลใบอนุญาตให ใช คลื่นความถี่ย าน 2.1 กิกะเฮิรตซ ใน ช วงปลายป 2555 ผู ให บริการทั้งสามรายใหญ ในตลาดต างประมูลได คลื่นความถี่มารายละ 15 เมกะเฮิรตซ ซึ่งจะทําให อุตสาหกรรมสามารถ พัฒนาโครงข ายและความจุเพิม่ เติมเพือ่ เน นบริการด านข อมูล โดยคาด การณ ว าผู ให บริการแต ละรายจะเริ่มเป ดให บริการ 3G บนคลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ ภายในป 2556 และคาดว าจะส งผลให การเติบโตและ การแข งขันในตลาดบริการด านข อมูลเพิม่ สูงขึน้ นอกจากนี้ การพัฒนา แอพพลิเคชั่นรูปแบบใหม ๆ ที่เน นด านความบันเทิงและความคล องตัว ในชีวิตประจําวัน และการทําธุรกรรมต างๆ ผ านโทรศัพท เคลื่อนที่จะมี แนวโน มเพิ่มสูงขึ้น ทําให ผู ให บริการต างดําเนินกลยุทธ เพื่อขยายฐาน ลูกค าโดยร วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อนําเสนอบริการครบวงจร ที่ผสมผสานทั้งแพ็กเกจการใช งานด านข อมูลที่หลากหลายและเครื่อง สมาร ทโฟนไปสู ลูกค าโดยตรง

ภาพรวมการประกอบธุรกิจสายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจ ต างประเทศ บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) หรือ ไทยคม เป นผู ให บริการธุรกิจ การสื่อสารผ านดาวเทียมเพียงผู เดียวในประเทศไทย ที่ตอบสนอง ความต องการของผู บริโภคผ านดาวเทียมที่มีอยู ป จจุบัน 2 ดวง ได แก ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) และดาวเทียมไทยคม 5 (แบบทั่วไป) รวม ทัง้ ให บริการธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง ได แก ธุรกิจโทรศัพท ในต างประเทศ ธุรกิจ อินเทอร เน็ตและสือ่ และธุรกิจสือ่ โฆษณาผ านสมุดรายนามผู ใช โทรศัพท

สายธุรกิจดาวเทียมและบริการเกี่ยวเนื่อง ไทยคม ก อตัง้ ขึน้ ใน ป 2534 โดยทําสัญญาดําเนินการดาวเทียมสือ่ สาร ภายในประเทศจากกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร เป น ระยะเวลา 30 ป สิ้นสุดป 2564 ป จจุบัน บริษัทได จัดส งดาวเทียมขึ้นสู วงโคจรแล วทั้งสิ้นจํานวน 5 ดวง โดยขณะนี้ มีดาวเทียมจํานวน 2 ดวง ที่ยังใช งานอยู คือ ดาวเที ย มไทยคม 5 หรื อ ดาวเที ย มแบบทั่ ว ไป ทํ า หน า ที่ ใ นการรั บ สัญญาณจากสถานีภาคพื้นดิน (สถานีส งสัญญาณ) ขยายสัญญาณ ให มกี าํ ลังแรงขึน้ และส งสัญญาณกลับมายังสถานีภาคพืน้ ดินอีกแห งหนึง่ (สถานีรบั สัญญาณ) ณ ตําแหน งใดๆ ภายใต พนื้ ทีค่ รอบคลุม (Footprint) ของดาวเทียม ในความถีท่ แี่ ตกต างไปจากความถีท่ ใี่ ช ในการส งสัญญาณ เพื่อให ผู ใช บริการ อาทิ ผู ประกอบการโทรคมนาคม ผู ให บริการด าน การสือ่ สาร และผูป ระกอบการช องรายการโทรทัศน ได รบั ประโยชน จาก


056

อินทัช

พืน้ ทีค่ รอบคลุมบริเวณกว างของดาวเทียม ทัง้ ในระดับประเทศและระดับ ภูมภิ าค เมือ่ เปรียบเทียบกับการติดตัง้ เครือข ายโทรคมนาคมภาคพืน้ ดิน จํานวนมากเพือ่ ขยายพืน้ ทีค่ รอบคลุมในการให บริการ เช น เคเบิลใยแก ว นําแสง หรือเครือข ายสัญญาณคลื่นไมโครเวฟ เป นต น ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) เป นดาวเทียมประเภทบรอดแบนด ที่ ให บริการครอบคลุม 14 ประเทศทั่วเอเชีย-แปซิฟิก โดยไทยคมเริ่ม ดําเนินกิจกรรมทางการตลาดของบริการไอพีสตาร ตั้งแต ป 2544 ที่ใช เทคโนโลยีการกระจายคลื่นแบบรังผึ้ง ทําให สามารถนําความถี่กลับมา ใช ได ใหม อย างมีประสิทธิภาพ ด วยความสามารถในการรับส งข อมูลได ถึง 45 Gbps – เทียบเท ากับดาวเทียมแบบทั่วไป 20 ดวง เทคโนโลยีนี้ ทําให ไทยคมสามารถให บริการแก ผู ใช งานอินเทอร เน็ตความเร็วสูงหลาย ล านราย ตั้งแต ผู ใช ทั่วไปจนถึงกลุ มลูกค าองค กร รวมทั้งผู ให บริการ อินเทอร เน็ตและระบบโทรคมนาคม

โครงการดาวเทียมดวงใหม ดาวเทียมไทยคม 6 และ ไทยคม 7 จะขึ้นสู วงโคจรภายในป 2556 และ 2557 ตามลําดับ โดยทีด่ าวเทียมดวงใหม ทงั้ สองดวงจะสามารถรองรับ ปริมาณความต องการใช งานดาวเทียมสื่อสารในภูมิภาคเอเชียและ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นในอนาคต ดาวเทียมไทยคม 6 มีช องสัญญาณดาวเทียมรวมทั้งสิ้น 26 ช อง สัญญาณ แบ งออกเป นช องสัญญาณในย านความถี่ซีแบนด (C-band) 18 ช องสัญญาณ และช องสัญญาณในย านความถีเ่ คยูแบนด (Ku-band) 8 ช องสัญญาณ จะถูกส งขึน้ สูว งโคจร ณ ตําแหน ง 78.5 องศาตะวันออก ซึ่งเป นตําแหน งเดียวกันกับดาวเทียมไทยคม 5 นอกจากให บริการใน ภูมิภาคเอเชียแล ว ไทยคม 6 ยังให บริการแก ลูกค าในทวีปแอฟริกา ทั้งบริการเผยแพร ภาพสัญญาณโทรทัศน ผ านดาวเทียมและบริการ โทรคมนาคมต างๆ ภายใต ชื่อ แอฟริคอม 1 (AFRICOM 1) ดาวเทียมไทยคม 7 จะถูกส งขึน้ สูว งโคจร ณ ตําแหน ง 120 องศาตะวันออก โดยบริษัทจะเป นเจ าของจํานวนช องสัญญาณดาวเทียมในย านความถี่ ซีแบนด (C-band) รวมไม เกิน 14 ช องสัญญาณและมีพื้นที่ให บริการ ในภูมิภาคเอเชียและออสเตรเลีย นอกจากนี้ ดาวเทียมไทยคม 7 ยังเป น ดาวเทียมดวงแรกของบริษทั ทีใ่ ห บริการภายใต ใบอนุญาตเป นระยะเวลา 20 ป จาก กสทช. ซึง่ จะช วยให บริษทั เพิม่ ขีดความสามารถของการแข งขัน ในตลาดเนื่องจากมีการจ ายค าใบอนุญาตลดลง

สายธุรกิจโทรศัพท ไทยคมเป นผู ให บริการธุรกิจโทรศัพท ผา นบริษทั เชนนิงตัน อินเวสเม นท ส พีทอี ี จํากัด (เชนนิงตัน) ซึง่ เป นบริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจหลักโดยการถือหุน ใน บริษัท เอ็มโฟน จํากัด และ บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จํากัด บริษัท เอ็มโฟน จํากัด (เอ็มโฟน) ได รับสัมปทานจากรัฐบาลกัมพูชาใน การดําเนินกิจการโทรศัพท ในประเทศกัมพูชาเป นเวลา 35 ป สิ้นสุด

ป 2571 เพื่อให บริการโทรศัพท พื้นฐานภายใต ระบบ ซีดีเอ็มเอ 450 และโทรศัพท เคลื่อนที่ระบบจีเอสเอ็ม 900/1800 เมกะเฮิรตซ รวมทั้ง บริการเครือข าย 3G 2100 เมกะเฮิรตซ ต อมามีการขยายธุรกิจบริการ อินเทอร เน็ตในประเทศ และบริการเสียงผ านเครือข ายอินเทอร เน็ต ซึง่ เป น บริ ก ารโทรศั พ ท ต า งประเทศราคาประหยั ด สํ า หรั บ ลู ก ค า โทรศั พ ท เคลือ่ นทีแ่ ละลูกค าโทรศัพท พนื้ ฐานโดยผ านอินเทอร เน็ต (เอ็มโฟน ได ยนื่ คําร องต อศาลในกรุงพนมเปญเพือ่ ขอเข าสูก ระบวนการล มละลายตาม กฎหมายของประเทศกัมพูชา เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2556) บริษัท ลาว เทเลคอมมิวนิเคชั่นส จํากัด (แอลทีซี) เป นกิจการร วมค ากับ รัฐบาลของประเทศลาว ได รับสิทธิในการดําเนินธุรกิจโทรคมนาคม ในประเทศลาวเป นเวลา 25 ป สิ้นสุดป 2564 เพื่อให บริการโทรศัพท พื้นฐานระบบพีเอสทีเอ็น และซีดีเอ็มเอ 450 โทรศัพท เคลื่อนที่ระบบ จีเอสเอ็ม 900/1800 เมกะเฮิรตซ บริการเครือข าย 3G โทรศัพท ระหว าง ประเทศ และบริการเครือข ายอินเทอร เน็ต

สายธุรกิจอินเทอร เน็ตและสื่อ ไทยคมจําหน ายอุปกรณ ชุดรับสัญญาณดาวเทียม ซึ่งประกอบด วย จานดาวเทียมและเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม Ku-band ผ านบริษัท ดีทีวี เซอร วิส จํากัด (ดีทีวี) เพื่อรับสัญญาณดาวเทียมไทยคม 5 ดีทีวี เป นจานดาวเทียมขนาดเล็ก สะดวกในการติดตั้ง โดยจําหน ายทั้งแบบ ครบชุด และเฉพาะกล อง ผู ซ้อื สามารถรับชมรายการโทรทัศน ได ชัดเจน โดยเน นบริการที่ช องฟรีทีวีทั่วไป โทรทัศน เพื่อการศึกษา รวมทั้งช อง สาระและบันเทิงอื่นๆ บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) (ซีเอสแอล) ให บริการรับส ง สัญญาณโทรทัศน ผา นดาวเทียม และบริการอินเทอร เน็ตผ านดาวเทียม ภายใต สัญญาที่ทํากับ กสท ที่อนุญาตให ซีเอสแอล สามารถให บริการ รับส งสัญญาณโทรทัศน และสัญญาณบริการอินเทอร เน็ตผ านดาวเทียม เป นระยะเวลา 22 ป สิ้นสุดป 2559 ป จจุบัน ซีเอสแอล มีบริการหลักคือ บริการอินเทอร เน็ตผ านสายวงจรเช า บริการอินเทอร เน็ตความเร็วสูง ผ านสายโทรศัพท (เอดีเอสแอล) บริการอินเทอร เน็ตความเร็วสูงผ าน ดาวเทียม (ไอพีสตาร ) บริการอินเทอร เน็ตผ านสายโทรศัพท บริการ ศูนย ข อมูลอินเทอร เน็ต (ไอดีซี) บริการเสริมพิเศษ บริการโทรศัพท ผ า นทางอิ น เทอร เ น็ ต แก ลู ก ค า ประเภทองค ก ร และบริ ก ารรั บ -ส ง สัญญาณผ านดาวเทียม

สายธุรกิจสื่อโฆษณาผ านสมุดรายนามผู ใช โทรศัพท สําหรับธุรกิจสื่อโฆษณาผ านสมุดหน าเหลือง ไทยคมได มีการลงทุนใน ธุรกิจดังกล าวผ าน บริษัท เทเลอินโฟ มีเดีย จํากัด (มหาชน) (ทีเอ็มซี) ซึ่งเป นบริษัทย อยของซีเอสแอล โดยทีเอ็มซีเป นผู จัดพิมพ และเผยแพร สมุดรายนามผู ใช โทรศัพท ทงั้ หน าเหลืองและหน าขาว และในรูปแบบอืน่ ๆ นอกจากนี้ ยังให บริการข อมูลรายชือ่ ผู ใช โทรศัพท รวมทัง้ บริการข อมูล และสาระบันเทิงผ านการสอบถามข อมูลทางโทรศัพท ทีห่ มายเลข 1188 หรือบริการ 1900 222 xxx


รายงานประจําป 2555

057

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข งขันดาวเทียมแบบทั่วไป

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข งขันดาวเทียมบรอดแบนด

ไทยคมวางกลยุทธ เพือ่ เป น “Hot Bird” หรือดาวเทียมที่ได รบั ความนิยม สูง ทั้งในด านจํานวนฐานผู ชมและจํานวนช องรายการโทรทัศน ที่อยู บน ดาวเทียมไทยคม ณ ตําแหน ง 78.5 องศาตะวันออก และเป นผู นําในการ ให บริการแพร สัญญาณโทรทัศน ผ านดาวเทียมในทวีปเอเชีย ป จจุบัน ในประเทศไทยมีจํานวนครัวเรือนที่รับชมช องรายการทีวีดาวเทียมและ เคเบิลทีวีประมาณ 14 ล านครัวเรือน ในจํานวนนี้มีครัวเรือนที่ติดตั้ง จานรั บ สั ญ ญาณโทรทั ศ น ผ า นดาวเที ย มจากดาวเที ย มไทยคม 5 มากกว า 11 ล านครัวเรือน และส วนที่เหลือจะรับชมรายการโทรทัศน ดังกล าวผ านเครือข ายเคเบิลทีวี สําหรับตลาดต างประเทศ ไทยคม ยังคงเป นผู นําส วนแบ งจํานวนฐานผู ชมในอินโดจีน

ในตลาดบรอดแบนด ทวั่ โลก การใช อนิ เทอร เน็ตบรอดแบนด แบบ Digital Subscriber Line (DSL) ยังคงเป นเทคโนโลยีทนี่ ยิ มใช มากทีส่ ดุ ถึงแม วา สัดส วนทางการตลาดจะลดลงจากร อยละ 63.2 ในไตรมาสแรกของป 2554 เป นร อยละ 60.4 ในไตรมาสแรกของป 2555 สัญญาณดาวเทียม และโทรศัพท เคลือ่ นทีเ่ ป นตัวหลักในการใช บริการเชือ่ มต อบรอดแบนด ซึง่ มีจาํ นวนผู ใช บริการทีเ่ พิม่ ขึน้ ในสัดส วนทางการตลาดถึงร อยละ 1.9 และ จุดนีเ้ องทําให คาดการณ วา ผูบ ริโภคจะมีอตั ราการใช บริการอินเทอร เน็ต บรอดแบนด แบบ DSL ลดลงและจะเริ่มหันไปใช ผลิตภัณฑ ที่ให บริการ แบนด วิธที่เร็วขึ้น ซึ่งในป จจุบันมีพร อมให บริการ อีกทั้งแนวโน มของ ผลิตภัณฑ นี้มีเพิ่มขึ้นอย างรวดเร็วมากอีกด วย

ภายในทศวรรษข างหน า ตลาดการให บริการดาวเทียมสื่อสารในย าน ความถี่ C-band จะถูกขับเคลื่อนด วยการเติบโตของภาคบริการแพร กระจายช องรายการโทรทัศน ผ านดาวเทียม (Video Distribution) ใน ขณะที่ภาคบริการแพร สัญญาณโทรทัศน ผ านดาวเทียมถึงบ านผู รับ โดยตรง (Direct-to-Home, DTH) จะเป นแรงผลักดันให ปริมาณความ ต องการใช งานดาวเทียมสื่อสารในย านความถี่ Ku-band เพิ่มสูงขึ้น โดยทีก่ ารให บริการโทรทัศน แบบบอกรับสมาชิก (Pay TV) และการเติบโต ของจํานวนช องรายการโทรทัศน ผ านดาวเทียมจะเป นป จจัยสําคัญใน ความสําเร็จของทั้งสองภาคบริการดังกล าว

ดาวเทียมบรอดแบนด หรือดาวเทียมแบบ High Throughput Satellite (HTS) คือ การนําการให บริการอินเทอร เน็ตบรอดแบนด ไปใช เป น หลักเพื่อให บริการอินเทอร เน็ตความเร็วสูง (จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุด หนึ่ง) ไปยังพื้นที่ที่ไม มีสัญญาณการให บริการ หรือพื้นที่ที่ห างไกลจาก เทคโนโลยี ผู ให บริการสามารถให บริการเทียบเท ากับบริการภาคพืน้ ดิน ในแง ของราคาที่เท าๆ กัน และคุณภาพของการบริการ นอกจากนี้ HTS ยังสามารถให บริการในภาครัฐบาล และบริษัทต างๆ รวมถึงการนําไป ประยุกต ใช ในอุตสาหกรรมอีกด วย โดยเฉพาะอย างยิ่งผู ประกอบการ ด านเครือข ายโทรศัพท เคลื่อนที่ที่มีความต องการที่จะให บริการเพิ่ม ขึ้นสําหรับพื้นที่ห างไกลแหล งชุมชน อ างอิงจากการทําวิจัยของบริษัท Northern Sky Research ในหัวข อการประเมินปริมาณอุปทานและ อุปสงค ฉบับที่ 9 เดือนกันยายน ป 2554 ไทยคมได กลายเป นผูน าํ ตลาด โลกของการเช าซือ้ ของ HTS ในป 2554 โดยมีการเพิม่ ขึน้ จากร อยละ 18 ของส วนแบ งการตลาดในป 2553 เป นร อยละ 24 ในป 2554 ในอนาคต ตลาดการเช าซือ้ ของ HTS คาดว าจะถูกผลักดันให มกี ารใช งานทีเ่ พิม่ ขึน้ จากความต องการทีเ่ พิม่ ขึน้ ของการใช บริการบรอดแบนด รวมถึงความ ต องการใช งานขององค กรต างๆ อีกด วย

ในระยะ 2-3 ป ทผี่ า นมา อุตสาหกรรมดาวเทียมในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ ประสบกั บ ภาวะขาดแคลนช อ งสั ญ ญาณดาวเที ย มในย า นความถี่ Standard C-band และ Ku-band ส งผลให ราคาตลาดของค าใช บริการ เช าช องสัญญาณดาวเทียมเพิ่มสูงขึ้น โดยมีการคาดการณ ว าบริการ แพร สั ญ ญาณโทรทั ศ น ผ า นดาวเที ย มถึ ง บ า นผู รั บ โดยตรง (DTH) บริการโทรทัศน ความละเอียดสูง (High Definition Television, HDTV และ Ultra High Definition, Ultra HD) และบริการโทรทัศน ระบบ 3 มิติ (3D Video Format) จะเป นป จจัยสําคัญในการผลักดันการเติบโตของ อุตสาหกรรมดาวเทียมในภูมิภาคเอเซีย-แปซิฟิกต อไปในอีก 3-4 ป ข างหน า ในป 2556 ไทยคมเน นกลยุทธ ในการแสวงหาพันธมิตรทางธุรกิจรวมถึง ช องรายการที่มีความดึงดูดมากระจายสัญญาณบนดาวเทียมไทยคม นอกจากนี้บริษัทยังได ลงทุนในอุปกรณ เทคโนโลยีใหม ๆ เช น MPEG4/ DVB-S2 และ บริการโทรทัศน ความละเอียดสูง (HDTV) สําหรับรองรับ ความต องการในอนาคต คู แข งที่สําคัญในภูมิภาคนี้ได แก ดาวเทียมของประเทศฮ องกง มาเลเซีย ลักเซมเบิร ก และเวียดนาม อย างไรก็ตาม ไทยคมเป นหนึ่งในผู ประกอบ การดาวเทียมหลักในภูมิภาคจึงเชื่อว าการแข งขันดังกล าวจะไม ส งผล กระทบต อบริษัทมากนัก เนื่องจากชื่อเสียงและความสัมพันธ อันดีกับ ลูกค าทีม่ มี ายาวนาน ประกอบกับการคัดสรรกลุม ลูกค าและช องรายการ โทรทัศน ผา นดาวเทียมทีม่ คี ณ ุ ภาพมาออกอากาศบนดาวเทียมไทยคม ทําให เป นที่ต องการของผู ใช บริการรายใหม

ภู มิ ภ าคเอเซี ย -แปซิ ฟิ ก นั บ เป น ผู นํ า ของโลกในด า นระบบโครงข า ย โทรคมนาคมและด านการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นั่นแสดงให เห็นถึงการเติบโตอย างต อเนื่องในกลุ มโทรศัพท เคลื่อนที่ โดยมี 5 ผู นํา ตลาดโลกอยู ที่ประเทศจีน อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ น และ ฟิลปิ ป นส ประเทศเหล านีม้ ผี ู ใช บริการโทรศัพท เคลือ่ นทีค่ ดิ เป นสัดส วน มากกว าร อยละ 46 ของผู ใช บริการโทรศัพท เคลื่อนที่ทั่วโลก ในส วนของผู ใช บริการบรอดแบนด ทั่วโลกมีการประมาณการจํานวนผู ใช บริการเพิม่ สูงถึง 612.6 ล านคน ซึง่ ภูมภิ าคเอเซีย-แปซิฟกิ มีจาํ นวนผู ใช บริการคิดเป นสัดส วนร อยละ 42.8 ของผู ใช บริการบรอดแบนด ทวั่ โลก ตามมาด วยยุโรป ร อยละ 29.4 อเมริกา ร อยละ 24.6 และตะวันออกกลาง และแอฟริกา ร อยละ 3.2 ทั้งนี้ จํานวนของผู ใช บริการบรอดแบนด ใน ภูมิภาคเอเซีย-แปซิฟิกเพิ่มขึ้นประมาณร อยละ 16 จากไตรมาสแรกของ ป 2554 เป น 262.1 ล านคน ในไตรมาสแรกของป 2555 ซึ่งจํานวนผู ใช บริการที่เพิ่มขึ้นสุทธิมาจากประเทศจีน ญี่ปุ น อินเดีย และออสเตรเลีย (www.point-topic.com)


058

อินทัช

เพือ่ ทีจ่ ะทําความเข าใจถึงลูกค าในประเทศต างๆ และเพือ่ ตอบสนองความ ต องการของพวกเขาได อย างตรงจุด ไทยคมได มกี ารแบ งส วนการตลาด อย างชัดเจน นั่นรวมถึง Backhaul Telco, Enterprise, โครงการของ รัฐบาล และการให บริการเพื่อประโยชน สาธารณะ (Universal Service Obligation) อีกทัง้ การจัดการภัยพิบตั แิ ละตลาดค าปลีกด วย โดยทําการ มุง เน นไปกลุม ตลาดเฉพาะในแต ละประเทศ และจะเสนอแนวทางต างๆ เพือ่ ตอบสนองความต องการของลูกค า เพือ่ ทีจ่ ะกระตุน การใช งานแบนด วธิ ให มากขึ้นอีกด วย

ภาพรวมการประกอบธุรกิจสายธุรกิจสื่อและโฆษณา บริษทั ไอทีวี จํากัด (มหาชน) (ไอทีว)ี เคยประกอบธุรกิจสถานีวทิ ยุโทรทัศน ระบบ ยู เอช เอฟ และบริษทั แมทช บอกซ จํากัด (แมทช บอกซ ) ประกอบธุรกิจ ให บริการด านออกแบบความคิดสร างสรรค และสือ่ โฆษณาแบบครบวงจร ไอทีวี เคยประกอบธุรกิจสถานีวิทยุโทรทัศน ระบบ ยู เอช เอฟ ภายใต ชื่อ “สถานีโทรทัศน ไอทีวี” โดยไอทีวี ได รับสัญญาเข าร วมงานและดําเนิน สถานีวิทยุโทรทัศน ระบบยู เอช เอฟ ในลักษณะบีทีโอ จากสํานักงาน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี (สปน.) เป นระยะเวลา 30 ป สิ้นสุดวันที่ 3 กรกฎาคม 2568 โดยไอทีวีจะต องจ ายผลประโยชน ตอบแทนแก สปน. ในอัตราที่ระบุไว ในสัญญาเข าร วมงานฯ เป นร อยละของรายได ทั้งหมด ของไอทีวี หรือเป นจํานวนเงินขัน้ ต่าํ ทัง้ สิน้ 25,200 ล านบาท ตลอดอายุ สัมปทาน อย างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2550 สปน. มีหนังสือบอก เลิกสัญญาเข าร วมงานฯ กับไอทีวี โดยอ างเหตุผลว าไอทีวีไม ดาํ เนินการ ชําระหนีต้ ามทีส่ ปน. เรียกร องและขอให สง มอบทรัพย สนิ ที่ไอทีวมี ไี ว ใช ใน การดําเนินกิจการตามสัญญาเข าร วมงานฯ คืนแก สปน. ซึง่ การบอกเลิก สัญญาดังกล าวเป นเหตุให ไอทีวจี าํ เป นต องหยุดดําเนินธุรกิจสถานีวทิ ยุ โทรทัศน ระบบยู เอช เอฟ ต อมา ทั้งสองฝ ายได นําข อพิพาทดังกล าวเข า สู กระบวนการระงับข อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ แมทช บอกซ ประกอบธุรกิจโฆษณา รวมทั้งจัดซื้อสื่อโฆษณาทุกประเภท และรับจ างผลิตชิ้นงานและวัสดุโฆษณาผ านทางโทรทัศน หนังสือพิมพ วิทยุ ป าย และเว็บไซต นอกจากนี้ แมทช บอกซ ยังมีบริการด านการ จัดกิจกรรม เพื่อให ผู บริโภคกลุ มเป าหมายนั้นเกิดประสบการณ ที่ชวน จดจํา มีทัศนคติที่ดี และสร างความประทับใจในคุณภาพของสินค าหรือ บริการ จากการวิจัยของ นีลเส็น มีเดีย รีเสิร ช (Nielsen Media Research) ในป 2555 พบว ามูลค าการใช จ ายโฆษณาโดยรวมมีจํานวน 117,760 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป ที่แล วร อยละ 12.4 เนื่องจากอัตราค าโฆษณา ทางสือ่ โทรทัศน ปรับเพิม่ ขึน้ ในป 2555 การใช เม็ดเงินโฆษณาทีส่ งู ขึน้ ของ สื่อโฆษณาภายในร านค า (in store) และโรงภาพยนตร ประกอบกับการ ชะลอตัวการใช เม็ดเงินโฆษณาจากป ญหาอุทกภัยในช วงปลายป 2554

โครงการร วมลงทุนอินเว นท อินทัชได เป ดตัวโครงการอินเว นท ไปเมือ่ วันที่ 29 พฤษภาคม 2555 โดย โครงการอินเว นท กอ ตัง้ ขึน้ มาเพือ่ เป นการส งเสริมกลุม ธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย อมทีม่ ศี กั ยภาพในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศ โทรคมนาคม และสื่อ ตลอดจนธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับกลุ มอินทัช ที่จะช วยเพิ่มขีด ความสามารถในการแข งขัน รวมทัง้ ก อให เกิด Synergy กลับกลุม อินทัช และเป นการขยายการลงทุนที่จะทําให กลุ มอินทัชมีการเติบโตมากยิ่งขึ้น อินทัชได เข าลงทุนผ านโครงการอินเว นท ในบริษัทแรก คือ บริษัท อุ คบี จํากัด (อุ คบี) โดยการซื้อหุ นสามัญเพิ่มทุนจํานวน 33,400 หุ น หรือคิด เป นร อยละ 25.03 ของทุนชําระแล วของอุค บี ภายในวงเงินจํานวน 57.48 ล านบาท ซึ่งเป นราคาอ างอิงจากวิธีกระแสเงินสดคิดลด (Discounted Cash Flow) โดยอินทัชชําระเป นเงินสดทั้งจํานวน อุ คบี ดําเนินธุรกิจให บริการและพัฒนาช องทางการนําเสนอสิ่งตีพิมพ ดิจิตอล (Digital Publication Platform) ซึ่งเป นระบบที่ให บริการแก เจ าของ content ในการนํา magazine หนังสือพิมพ และหนังสือต างๆ มาจัดรูปแบบให เหมาะสมกับการจําหน ายในรูปแบบดิจิตอล หรือที่เรียก กันว า e-book หรือ e-magazine และนอกจากช วยจัดทําแล ว อุ คบี ยัง เป นผู จัดจําหน ายและบริหารร านหนังสือ e-book อีกด วย


รายงานประจําป 2555

059

ป จจัยเสี่ยง ป จจุบัน บริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (บริษัท หรือ อินทัช) ประกอบธุรกิจโดยการลงทุนในธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร สาย ธุรกิจ ดาวเทียมและธุรกิจต างประเทศ และธุรกิจสื่อและโฆษณา ทั้งนี้ในการ ประกอบธุรกิจดังกล าวย อมมีความเสี่ยงต างๆ จากป จจัยทั้งภายใน และภายนอกที่อาจส งผลกระทบต อฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ของบริษัท บริษทั จัดให มกี ระบวนการบริหารความเสีย่ งและได แต งตัง้ คณะกรรมการ บริ ห ารความเสี่ ย ง ซึ่ ง ประกอบด ว ยผู บ ริ ห ารจากหน ว ยงานต า งๆ ทําหน าที่กําหนดนโยบายและประเมินความเสี่ยง โดยระบุป จจัยที่อาจ ส งผลให บริษัทไม สามารถบรรลุวัตถุประสงค ที่กําหนดไว และพิจารณา ประเมินผลกระทบ โอกาสที่เกิดขึ้น เพื่อกําหนดมาตรการจัดการความ เสี่ยงให อยู ในระดับที่บริษัทยอมรับได ทั้งนี้คณะกรรมการบริหารความ เสี่ยงได รายงานผลการประเมินความเสี่ยงให คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาสอบ ทานอย างน อยป ละครั้ง ณ ป จจุบนั บริษทั มีปจ จัยเสีย่ งทีส่ าํ คัญบางประการ อันอาจส งผลกระทบ ต อผลประกอบการ ฐานะการเงินหรือผลการดําเนินธุรกิจของบริษัท ในอนาคตได ตามรายละเอียดทีแ่ สดงไว ดา นล าง อย างไรก็ตามนอกเหนือ จากป จจัยความเสี่ยงที่ปรากฏในรายงานฉบับนี้ อาจมีป จจัยเสี่ยงอื่นๆ ซึ่งบริษัทไม อาจทราบได ในขณะนี้หรือเป นป จจัยเสี่ยงที่บริษัทพิจารณา ในขณะนี้ว าไม เป นสาระสําคัญ แต อาจเป นป จจัยเสี่ยงที่มีความสําคัญ ในอนาคตได (ผูล งทุนสามารถศึกษาป จจัยเสีย่ งของ บริษทั แอดวานซ อินโฟร เซอร วสิ จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) และบริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) ได จากแบบแสดงรายการข อมูลประจําป ของแต ละบริษัท)

1/ ความเสี่ยงของบริษัท 1.1 ความเสี่ยงจากการที่บริษัทเป นบริษัทที่ประกอบธุรกิจโดยการ ถือหุน ในบริษทั อืน่ (Holding Company) และการดํารงอยูข องบริษทั ขึ้นอยู กับเงินป นผลที่ได จากหุ นที่บริษัทถืออยู ในฐานะทีเ่ ป นบริษทั ทีป่ ระกอบธุรกิจโดยการถือหุน ในบริษทั อืน่ การดํารง อยู ของบริษัทจึงขึ้นอยู กับเงินป นผลที่ ได รับจากบริษัทย อยและบริษัท ในเครือ ซึง่ จํานวนเงินป นผลทีส่ ามารถจ ายได ขนึ้ อยูก บั ผลประกอบการ และกระแสเงินสดของบริษทั เหล านัน้ หากผลประกอบการของบริษทั ย อย และบริษทั ในเครือไม เป นไปตามเป าหมาย จะมีผลทําให บริษทั ดังกล าวจ าย เงินป นผลไม ได ตามที่คาดการณ ไว

นอกจากนี้ ความสามารถของบริษัทย อยและบริษัทในเครือของบริษัท ในการจ ายเงินป นผลให กบั ผูถ อื หุน ซึง่ รวมถึงบริษทั เป นไปตามกฎหมาย ทีบ่ งั คับใช และอาจรวมถึงข อจํากัดอืน่ ๆ ซึง่ ระบุในตราสารหนี้ และสัญญา สินเชื่อของบริษัทดังกล าว ดังนั้นเพื่อเป นการลดความเสี่ยงในเรื่องดังกล าว บริษัทจึงได กําหนด ให แต ละบริษัทในกลุ มจัดทําแผนธุรกิจ (Business Plan) เพื่อกําหนด เป า หมายทางธุ ร กิ จ ในป ถั ด ไป รวมถึ ง เสนอแผนดํ า เนิ น การและ งบประมาณประจําป ซึ่งจะต องผ านการพิจารณาและได รับอนุมัติจาก คณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการบริษทั นอกจากนีค้ ณะกรรมการ บริหารยังมีการประชุมเพือ่ พิจารณาติดตามผลการดําเนินงานของแต ละ สายธุรกิจเป นประจําทุกเดือน ทั้งในส วนของสภาพการแข งขัน กลยุทธ ทางการตลาด การบริหารการเงิน และความคืบหน าของแผนการทาง ธุรกิจ อันจะช วยให บริษัทสามารถวางแผนจัดการความเสี่ยงที่อาจจะ เกิดขึ้นได อย างทันท วงที 1.2 ความเสี่ยงจากการที่กลุ มอินทัชมีการขยายการลงทุน กลุ มอินทัชยังมีการขยายการลงทุนอย างต อเนื่อง เพื่อเพิ่มขีดความ สามารถในการให บริการ รวมทั้งเพิ่มสินค าและบริการใหม ๆ ที่จะนํา เสนอต อลูกค า ในกรณีทบี่ ริษทั ย อยและบริษทั ร วมไม สามารถจัดหาแหล ง เงินทุนอื่น เพื่อสนับสนุนการขยายการลงทุนได บริษัทในฐานะผู ถือหุ น จึงมีความเสี่ยงที่ต องหาแหล งเงินทุนให กับบริษัทดังกล าว เช น การเพิ่ม ทุน เป นต น นอกจากนี้บริษัทอาจมีการขยายการลงทุนในธุรกิจใหม ซึ่ง อาจได รับผลตอบแทนไม เป นไปตามที่คาดหรือต องจัดหาแหล งเงินทุน เพื่อสนับสนุนการลงทุนดังกล าว อย างไรก็ตามบริษทั มีสถานะทางการเงินทีเ่ ข มแข็ง รวมทัง้ มีกระแสเงินสด รับอย างต อเนือ่ ง จากเงินป นผลจากบริษทั ย อยและบริษทั ร วม จึงคาดว า หากบริษัทมีความจําเป นที่จะต องให การสนับสนุนเงินทุนแก บริษัทย อย และบริษัทร วม หรือสนับสนุนการลงทุนของบริษัทเอง เพื่อเป นแหล งเงิน ทุนสําหรับโครงการใหม จะไม กระทบต อสภาพคล องและกระแสเงินสด ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทลดความเสี่ยงโดยกําหนดขั้นตอนการขออนุมัติการ ลงทุนในโครงการใดๆ ทีม่ สี าระสําคัญของบริษทั ในกลุม ก อนทีจ่ ะดําเนิน การ เพื่อให มั่นใจว าการลงทุนในโครงการต างๆ มีผลตอบแทนจากการ ลงทุนในอัตราที่เหมาะสมและคุ มค า รวมทั้งกลุ มอินทัชมีนโยบายอย าง ต อเนื่องในการดูแลรักษาและบริหารความสัมพันธ กับนักลงทุนและ สถาบันการเงินทั้งในและต างประเทศ เพื่อเป นการสนับสนุนโครงการ ขยายการลงทุนของบริษทั ในกลุม ในกรณีทมี่ คี วามต องการแหล งเงินทุน เพื่อสนับสนุนโครงการต างๆ ไม ว าจะเป นเงินเพิ่มทุนหรือเงินกู


060

อินทัช

1.3 ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต างประเทศและดอกเบี้ย เนื่องจากลักษณะธุรกิจการสื่อสารโทรคมนาคมและธุรกิจสื่อสารผ าน ดาวเทียม เกีย่ วข องโดยตรงกับเทคโนโลยีจากต างประเทศ ซึง่ มีคา ใช จา ย และเงินกู บางส วนในสกุลเงินตราต างประเทศ ทําให กลุ มอินทัชมีความ เสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย กลุ มอินทัช มีนโยบายในการป องกันความเสี่ยง โดยจะพิจารณาจาก ฐานะสุทธิของรายการที่เป นเงินตราต างประเทศ โครงสร างรายได รวมทั้งกระแสเงินสดของแต ละบริษัท โดยกลุ มอินทัชได ติดตามสภาวะ ความเปลี่ยนแปลงของป จจัยที่ส งผลกระทบต ออัตราแลกเปลี่ยนเงิน ตราต างประเทศอย างใกล ชิดและได ใช เครื่องมือทางการเงินต างๆ ที่เห็น ว าเหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต างประเทศที่อาจมีขึ้น สําหรับความเสี่ยงด านอัตราดอกเบี้ย ได มีการติดตามสภาวะความ เปลี่ ย นแปลงของป จ จั ย ที่ จ ะส ง ผลกระทบต อ อั ต ราดอกเบี้ ย อย า ง สม่ํ า เสมอและได ทํ า การบริ ห ารให ส อดคล อ งกั บ สถานการณ ต า งๆ ตลอดมา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัทและบริษัทย อยมีสินทรัพย และหนี้สิน ทีเ่ ป นเงินตราต างประเทศเทียบเป นเงินบาทจํานวน 1,310 ล านบาท และ 3,791 ล านบาทตามลําดับ (ภายหลังจากการทําสัญญาซือ้ ขายเงินตรา ต างประเทศล วงหน า สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต างประเทศและอัตรา ดอกเบีย้ และสัญญาสิทธิเลือกซือ้ ขายเงินตราต างประเทศ (รายละเอียด ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข อ 31) 1.4 ความเสีย่ งจากผลกระทบทางอ อมจากสถานการณ ทางการเงินของ โลกและความไม แน นอนของการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ (Economic Recession) เศรษฐกิจไทยในป 2555 ได รบั ผลกระทบจากภาคการส งออกทีช่ ะลอตัว ลง อันเกิดจากภาวะเศรษฐกิจต างประเทศตกต่าํ และผลกระทบจากภาวะ อุทกภัยในประเทศในช วงปลายป 2554 อย างไรก็ดีภาครัฐได มีนโยบาย กระตุน เศรษฐกิจและกําลังซือ้ ภายในประเทศเพือ่ ลดผลกระทบจากป จจัย ลบต างๆ ที่กล าวข างต น จึงทําให เศรษฐกิจไทยยังสามารถรักษาอัตรา การเจริญเติบโตไว ได ในระดับที่เหมาะสม อย างไรก็ดแี ม ภาวะเศรษฐกิจในต างประเทศมีแนวโน มทีอ่ าจปรับตัวดีขนึ้ ในป 2556 จากมาตรการต างๆ ที่รัฐบาลแต ละประเทศประกาศใช เพื่อกระตุ นเศรษฐกิจ แต ก็ยังคงมีความไม แน นอนสูง ทําให การใช จ าย ภาคครัวเรือนและภาคธุรกิจยังคงเป นไปอย างระมัดระวัง ซึ่งอาจกระทบ ต อรายได ของบริษัทในกลุ มจากทั้งป จจัยภายนอกและภายในดังกล าว ข างต น อีกทั้งมาตรการที่รัฐบาลในต างประเทศประกาศใช เพื่อกระตุ น เศรษฐกิจ อาจส งผลทางอ อมให มีการเคลื่อนย ายเงินทุนอย างรวดเร็ว

ซึ่งอาจส งผลให อัตราแลกเปลี่ยนมีความผันผวน และธนาคารต างๆ จะ เพิ่มความระมัดระวังในการปล อยสินเชื่อ จึงอาจกระทบต อการจัดหา แหล งเงินทุนและต นทุนทางการเงินของบริษทั และบริษทั ในกลุม หากมีการ ขยายการลงทุนและต องจัดหาแหล งเงินทุนเพิ่มในอนาคต อย างไรก็ตามกลุ มอินทัชได ดําเนินการบริหารความเสี่ยงด านสภาพ คล องอย างรัดกุม โดยจัดให มีวงเงินกู ระยะสั้น เพื่อใช สําหรับ working capital และได กู เงินล วงหน าหรือลงนามในสัญญากู เงินกับธนาคาร ไว ล วงหน าสําหรับการลงทุนในโครงการต างๆ ที่มีความชัดเจนแล ว รวมทัง้ จัดให มแี หล งเงินทุนทีห่ ลากหลาย และการดํารงเงินสดสํารองส วน เกินให เพียงพอต อการดําเนินธุรกิจและการลงทุน รวมทั้งยังได มีการ ป องกันความเสีย่ งด านอัตราดอกเบีย้ และอัตราแลกเปลีย่ นอย างเหมาะสม 1.5 ความเสีย่ งจากการตรวจสอบของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สารเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ าม สัญญาดําเนินกิจการดาวเทียม สื่อสารภายในประเทศ ในกรณีดาวเทียมสํารอง การลดสัดส วนการถือครองหุ น และเงินค า สินไหมทดแทนนั้น บริษัทและไทยคมได มีหนังสือถึงกระทรวงฯ ชี้แจงว า บริษัทและไทยคมได ดาํ เนินการถูกต องตามที่กําหนดไว ในสัญญาฯ และ การดําเนินการของบริษัทและไทยคมก็ ได รับการอนุมัติจากกระทรวงฯ ก อนทุกครั้ง ทั้งนี้บริษัทได เข าชี้แจงความเป นมาและหาแนวทางที่เป นประโยชน ในการ ดําเนินการตามสัญญาฯ ต อกระทรวงฯ แล ว แต หากกลายเป นข อพิพาท ระหว างกัน ก็จะต องนําเข าสู กระบวนการระงับข อพิพาทที่ตกลงกันไว ใน สัญญาฯ ต อไป

2/ สายธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร สายภายในประเทศ 2.1 ความเสีย่ งต อคุณภาพการให บริการทีเ่ กิดจากความล าช าของการ ออกใบอนุญาตให ใช คลื่นความถี่ 2.1 กิกะเฮิรตซ จากความล าช าของการออกใบอนุญาต 2.1 กิกะเฮิรตซ ส งผลให เกิด ความล าช าต อแผนดําเนินการเป ดให บริการระบบ 3G บนคลื่นความถี่ 2.1 กิ ก ะเฮิ ร ตซ ซึ่ ง อาจส ง ผลกระทบต อ โอกาสและความได เ ปรี ย บ ในการแข งขัน รวมถึงอาจส งผลกระทบต อคุณภาพของสัญญาณในการ ให บริการลูกค าระบบ 2G บนคลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ และ 1800 เมกะเฮิรตซ ด วยสาเหตุดังต อไปนี้ 1/ ป จจุบันเอไอเอสได จัดสรรแบนด วิธบางส วนในคลื่นความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ มาให บริการโทรศัพท เคลื่อนที่ระบบ 3G ประกอบกับ จํานวนลูกค าทีเ่ พิม่ ขึน้ อาจทําให เกิดข อจํากัดในการใช งานของลูกค า ในระบบ 2G 2/ ป จจุบันเอไอเอสมีการใช บริการโครงข ายร วม (Roaming) บน


รายงานประจําป 2555

คลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ เพื่อการให บริการลูกค า แต เนื่อง ด วยสัญญาร วมการงานคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ ที่บริษัท ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ได รบั จาก บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท) กําลังจะสิ้นสุดลงในเดือนกันยายน พ.ศ. 2556 และป จ จุ บั น ยั ง ไม มี ค วามแน น อนในเรื่ อ งดั ง กล า ว อาจส ง ผลให เอไอเอสมีคลื่นความถี่ที่ไม เพียงพอต อการรองรับปริมาณการใช งานของลูกค า ทั้งนี้เอไอเอสได มีการบริหารจัดการความเสี่ยงดังกล าว โดยใช งบลงทุน เพือ่ พัฒนาและขยายคุณภาพของเครือข ายการให บริการในคลืน่ ความถี่ 900 เมกะเฮิรตซ ท่มี ีอยู รวมทั้งศึกษาแนวทางในการใช คลื่นความถี่ 900 และ 1800 เมกะเฮิรตซ ต อไป และขณะนี้ดีพีซีได เสนอแผนธุรกิจในการ บริหารจัดการการใช งานคลื่นความถี่ 1800 เมกะเฮิรตซ ต อบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ภายหลังจากสิ้นสุดสัญญาร วมการงาน 2.2 สั ญ ญาร ว มการงานระหว า งรั ฐ กั บ เอกชนที่ กํ า หนดในพระราช บัญญัติว าด วยการให เอกชนเข าร วมงานหรือดําเนินการในกิจการ ของรัฐ พ.ศ. 2535 2.2.1 การแก ไขเพิ่มเติมสัญญาร วมการงาน ระหว าง เอไอเอส กับ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) (ทีโอที) ตามที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได มีหนังสือถึง สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอความเห็นเกี่ยวกับการแก ไขเพิ่ม เติมสัญญาอนุญาตให บริการโทรศัพท เคลือ่ นทีร่ ะหว างทีโอที ซึง่ ในขณะ นั้นมีสถานะเป นองค การโทรศัพท แห งประเทศไทยกับเอไอเอส ภายหลัง จากวันที่พระราชบัญญัติว าด วยการให เอกชนเข าร วมงานหรือดําเนิน การในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ใช บังคับแล วว าได ดําเนินการถูกต อง ตามพระราชบัญญัติดังกล าวหรือไม และหากการแก ไขเพิ่มเติมสัญญา อนุญาตฯ ดําเนินการไม ถูกต องตามพระราชบัญญัติดังกล าว จะมี แนวทางการปฏิบัติต อไปอย างไร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได มบี นั ทึกสํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาเรื่องการบังคับใช พระราชบัญญัติว าด วยการให เอกชนเข า ร วมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 (กรณีสัญญา อนุญาตให บริการโทรศัพท เคลือ่ นทีร่ ะหว างทีโอทีกบั เอไอเอส) เรือ่ งเสร็จ ที่ 291/2550 ให ความเห็นดังนี้

061

การไม ถู ก ต อ งตามพระราชบั ญ ญั ติ ว า ด ว ยการให เ อกชนเข า ร ว ม งานฯ ซึ่งมีผลใช บังคับในขณะที่มีการแก ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ เนื่องจากมิได เสนอเรื่องการแก ไขเพิ่มเติมให คณะกรรมการประสานงาน ตามมาตรา 22 พิจารณาและเสนอให คณะรัฐมนตรี ซึ่งเป นองค กรที่มี อํานาจพิจารณาเห็นชอบกับการแก ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ตาม นัยแห งพระราชบัญญัตดิ งั กล าวดังที่ได วนิ จิ ฉัยข างต น การแก ไขเพิม่ เติม สัญญาอนุญาตฯ โดยทีโอทีเป นคู สัญญา จึงกระทําไปโดยไม มีอํานาจ ตามกฎหมาย อย า งไรก็ ดี ก ระบวนการแก ไ ขเพิ่ ม เติ ม สั ญ ญาอั น เป น นิ ติ ก รรมทาง ปกครอง สามารถแยกออกจากข อตกลงต อท ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ ทําขึ้นได และข อตกลงต อท ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทําขึ้นนั้นยังคงมีผล อยูต ราบเท าทีย่ งั ไม มกี ารเพิกถอนหรือสิน้ ผลโดยเงือ่ นเวลาหรือเหตุอนื่ หากคณะรัฐมนตรีซงึ่ เป นผูม อี าํ นาจตามกฎหมายได พจิ ารณาถึงเหตุแห ง การเพิกถอน ผลกระทบ และความเหมาะสม โดยคํานึงถึงประโยชน ของ รัฐและประโยชน สาธารณะแล วว า การดําเนินการที่ไม ถกู ต องนัน้ มีความ เสียหายอันสมควรจะต องเพิกถอนข อตกลงต อท ายสัญญาอนุญาตฯ ที่ทําขึ้น คณะรัฐมนตรีก็ชอบที่จะเพิกถอนข อตกลงต อท ายสัญญา อนุญาตฯ แต ถ าคณะรัฐมนตรีพิจารณาแล วมีเหตุผลความจําเป นเพื่อ ประโยชน ของรัฐหรือประโยชน สาธารณะและเพื่อความต อเนื่องของการ ให บริการสาธารณะ คณะรัฐมนตรีก็อาจใช ดุลพินิจพิจารณาให ความ เห็นชอบให มีการดําเนินการแก ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ดังกล าวได ตามความเหมาะสม โดยหน วยงานเจ าของโครงการและคณะกรรมการ ประสานงานตามมาตรา 22 เป นผู ดําเนินการเสนอข อเท็จจริง เหตุผล และความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี” ทัง้ นี้ คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 22 ได เสนอความเห็นกรณี การแก ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ของเอไอเอสต อรัฐมนตรีว าการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแล ว เอไอเอสมีความเชื่อมั่นในหลักการและเหตุผลของการแก ไขเพิ่มเติม สัญญา เอไอเอสได ปฏิบัติตามสัญญาร วมการงานและข อกฎหมายที่ เกีย่ วข องทุกประการตลอดจนตัง้ อยูใ นหลักธรรมาภิบาล จึงเชือ่ ว าไม นา จะมีการเปลีย่ นแปลงทีม่ ผี ลกระทบต อเอไอเอสอย างมีนยั สําคัญ อย างไร ก็ตาม เอไอเอสมิอาจคาดการณ ถึงผลการพิจารณากรณีดังกล าวของ ทางภาครัฐและคณะรัฐมนตรีได หากการแก ไขสัญญาร วมการงานของ เอไอเอสถูกเพิกถอน อาจมีผลให อายุสัญญาร วมการงานสั้นลงและ/ หรืออาจมีต นทุนในส วนแบ งรายได ของบริการโทรศัพท เคลื่อนที่แบบ เติมเงินที่สูงขึ้น เป นต น

“…ทีโอทีเข าเป นคู สัญญาในเรื่องนี้เป นการกระทําแทนรัฐโดยอาศัย อํานาจหน าที่ตามกฎหมายว าด วยองค การโทรศัพท แห งประเทศไทย สั ญ ญาอนุ ญ าตฯ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จึ ง เป น สั ญ ญาระหว า งรั ฐ กั บ เอกชน 2.2.2 สัญญาร วมการงาน ระหว าง บริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) เพื่อมอบหมายให เอกชนดําเนินการให บริการสาธารณะแทนรัฐ รัฐจึง ซึ่งเป นบริษัทย อยของเอไอเอส กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม มีหน าที่ปฏิบัติตามข อกําหนดในสัญญาดังกล าว จํากัด (มหาชน) (กสท)

แต เมื่อการแก ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ตามกรณีข อหารือดําเนิน ตามที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได มีหนังสือถึง


062

อินทัช

สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ขอความเห็นเกี่ยวกับการแก ไขเพิ่ม เติมสัญญาอนุญาตให บริการโทรศัพท เคลื่อนที่ระหว าง กสท กับ ดีพีซี ภายหลังจากวันทีพ ่ ระราชบัญญัตวิ า ด วยการให เอกชนเข าร วมงานหรือ ดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ใช บังคับแล วว าได ดําเนินการ ถูกต องตามพระราชบัญญัติดังกล าวหรือไม และหากการแก ไขเพิ่มเติม สัญญาอนุญาตฯ ดําเนินการไม ถูกต องตามพระราชบัญญัติดังกล าว จะมีแนวทางการปฏิบัติต อไปอย างไร สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีความเห็นเรือ่ งการบังคับใช พระราช บัญญัติว าด วยการให เอกชนเข าร วมงานหรือดําเนินการในกิจการของ รัฐ พ.ศ. 2535 กรณีสัญญาอนุญาตให บริการโทรศัพท เคลื่อนที่ กสท กับ ดีพซี ี โดยจากบันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรือ่ งเสร็จที่ 294/2550 ให ความเห็นโดยสรุปว า “...การที่ บมจ. โทเทิ่ล แอ็คเซส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) โอนสิทธิและ หน าทีต่ ามสัญญาให ดาํ เนินการให บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร ให แก ดีพีซี และดีพีซี กับ กสท ได มีการทําสัญญาระหว างกันในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2539 ว า กสท ได อนุญาตให สิทธิเอกชนรายใหม ใน การให บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร โดย กสท และ ดีพีซี เป นคู สัญญาและไม ถอื ว าเป นส วนหนึง่ ของโครงการดําเนินการใช บริการวิทยุ คมนาคมฯ ที่ กสท อนุญาตให แก ดีแทค แต อย างใด ดีพซี จี งึ เป นคูส ญ ั ญา ทีอ่ ยูภ ายใต การดูแลกํากับของ กสท และจ ายค าตอบแทนให แก กสท ดีพซี ี ในฐานะที่เป นเอกชนผู เข าร วมงาน หรือดําเนินงานในกิจการของรัฐจึง ต องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติให เอกชนเข าร วมงานฯ เนื่องจาก กสท ได มีการกําหนดขอบเขตของโครงการและเอกชนผู ดําเนินการให บริการ เป นการเฉพาะเจาะจง รวมทั้งได มีการให บริการโครงการไปแล ว จึงไม มี กรณีที่จะต องประกาศเชิญชวนเอกชนเข าร วมงาน หรือดําเนินการใน กิจการของรัฐและการคัดเลือกเอกชนด วยวิธปี ระมูลตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว ใน หมวด 3 การดําเนินโครงการ แต เป นการที่ต องนําบทบัญญัติในหมวด 3 นี้มาใช บังคับโดยอนุโลมเท าที่ไม ขัดต อสภาพแห งข อเท็จจริง โดย กสท ต องดําเนินการแต งตัง้ คณะกรรมการตาม พ.ร.บ. มาตรา 13 เพือ่ ดําเนิน การตามมาตรา 21 คือให คณะกรรมการนําผลการคัดเลือกพร อม เหตุผล ประเด็นที่เจรจาต อรองเรื่องผลประโยชน ของรัฐ ร างสัญญา และเอกสารทั้งหมดเสนอต อรัฐมนตรีกระทรวงเจ าสังกัดเพื่อนําเสนอ คณะรัฐมนตรีพิจารณาภายในเก าสิบวันนับจากวันที่คณะกรรมการ ตัดสินโดยอนุโลมต อไป ดังนั้นการดําเนินการจึงอยู ในอํานาจและหน าที่ของคณะกรรมการตาม มาตรา 13 ที่จะพิจารณาตามที่เห็นสมควรได และดีพีซี ผู ได รับโอนสิทธิ และหน าทีจ่ าก ดีแทค ตามสัญญาให ดาํ เนินการให บริการวิทยุคมนาคม ระบบเซลลูลาร ระหว าง กสท กับ ดีแทคแล ว ดีพซี ยี อ มเป นผูม สี ทิ ธิดาํ เนิน การให บริการวิทยุคมนาคมฯ ได ตามสิทธิและหน าที่ที่ได รับโอน แม ว า สัญญาให ดาํ เนินการระหว าง กสท กับ ดีพซี ี ทีท่ าํ ขึน้ ใหม มไิ ด ดาํ เนินการ หรือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติว าด วยการให เอกชนเข าร วมงานฯ แต อย างไรก็ตาม สัญญาที่ทําขึ้นนั้นยังคงมีผลอยู ตราบเท าที่ยังไม มีการ

เพิกถอนหรือสิ้นผลโดยเงื่อนเวลา หรือเหตุอื่น ดังนั้น กสท และ ดีพีซี จึงยังต องมีภาระหน าที่ในการปฏิบัติตามสัญญาที่ได กระทําไว แล ว” ทั้งนี้คณะกรรมการประสานงานตามมาตรา 13 ได เสนอความเห็น กรณีการแก ไขเพิ่มเติมสัญญาอนุญาตฯ ของดีพีซีต อรัฐมนตรีว าการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแล ว เอไอเอสมีความเชื่อมั่นในหลักการและเหตุผลของการแก ไขเพิ่มเติม สั ญ ญา ดี พี ซี ไ ด ป ฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญาร ว มการงานและข อ กฎหมายที่ เกีย่ วข องทุกประการ ตลอดจนตัง้ อยูใ นหลักธรรมาภิบาล จึงเชือ่ ว าไม นา จะมีการเปลีย่ นแปลงทีม่ ผี ลกระทบต อเอไอเอสอย างมีนยั สําคัญ อย างไร ก็ตาม เอไอเอสมิอาจคาดการณ ถงึ ผลการพิจารณากรณีดงั กล าวของ ทางภาครัฐและคณะรัฐมนตรีได หากการแก ไขสัญญาร วมการงานของ ดีพซี ถี กู เพิกถอนอาจมีผลให อายุสญ ั ญาร วมการงานสัน้ ลง และส วนแบ ง รายได ที่ต องชําระเพิ่มเติม 2.3 ข อพิพาทอันเนื่องจากภาษีสรรพสามิต (Excise Tax) 2.3.1 บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2551 บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ได ยื่นคํา เสนอข อพิพาทหมายเลขดําที่ 9/2551 ต อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับข อพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เรียกร องให เอไอเอสชําระ ค าผลประโยชน ตอบแทนเพิ่มจํานวน 31,463 ล านบาท โดยเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได มีมติ เป นเอกฉันท ช้ีขาดให ยกคําเสนอข อพิพาททั้งหมด โดยให เหตุผลสรุป ได ว า เอไอเอสได ชําระหนี้โดยชอบด วยกฎหมายแล วจึงไม เป นฝ ายผิด สัญญา ไม ตอ งชําระเงินค าผลประโยชน ตอบแทนเพิม่ เติมใดๆ ให แก บริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) ทีโอทีได ยื่นคําร องขอเพิกถอนคําชี้ขาดดังกล าวต อศาลปกครองกลาง แล ว ขณะนี้คดีอยู ระหว างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ซึ่ง กระบวนการพิจารณาคดีนี้อาจใช เวลาพิจารณาหลายป แต อย างไร ก็ตามผู บริหารของเอไอเอสเชื่อว าผลของคดีน าจะคลี่คลายไปในทางที่ ดี เนือ่ งจากเงินส วนแบ งรายได ตามทีท่ โี อทีเรียกร องดังกล าวเป นจํานวน เดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่เอไอเอสได นําส งไปแล ว 2.3.2 บริ ษั ท ดิ จิ ต อล โฟน จํ า กั ด ซึ่ ง เป น บริ ษั ท ย อ ยของบริ ษั ท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 กสท ได ย่นื คําเสนอข อพิพาทหมายเลขดําที่ 3/2551 ต อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับข อพิพาท สํานักงาน


รายงานประจําป 2555

ศาลยุติธรรม เพื่อเรียกร องให ดีพีซีซึ่งเป นบริษัทย อยของเอไอเอส ชําระ เงินส วนแบ งรายได เพิ่มเติมอีกจํานวน 2,449 ล านบาท ตามสัญญา ให ดําเนินการให บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร พร อมเรียกเบี้ย ปรับในอัตราร อยละ 1.25 ต อเดือนของจํานวนเงินที่ค างชําระในแต ละป นับตั้งแต วันผิดนัดจนกว าจะชําระเสร็จสิ้นรวมเป นเงินทั้งหมดจํานวน 3,410 ล านบาท ซึ่งจํานวนเงินส วนแบ งรายได ดังกล าวเป นจํานวน เดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่ดีพีซีได นําส งตั้งแต 16 กันยายน 2546 ถึงวันที่ 15 กันยายน 2550 และได นํามาหักออกจากส วนแบ งรายได อันเป นการปฏิบตั ติ ามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ 11 กุมภาพันธ 2546 ถูกต องครบถ วนแล ว และมีการปฏิบัติเช นเดียวกันทั้งอุตสาหกรรม โทรศัพท เคลื่อนที่ โดยในวันที่ 1 มีนาคม 2554 คณะอนุญาโตตุลาการได มีคําชี้ขาดให ยกคําเสนอข อพิพาททัง้ หมด ของ กสท โดยให เหตุผลสรุปได วา การชําระ หนี้เดิมเสร็จสิ้นและระงับไปแล ว กสท ไม อาจกลับมาเรียกร องส วนที่อ าง ว าขาดไปได อีก ดีพีซีจึงไม เป นผู ผิดสัญญา กสท ไม มีสิทธิเรียกร องให ดีพีซีชําระหนี้ซ้ําอีก อีกทั้งไม มสี ิทธิเรียกเบี้ยปรับรวมทั้งภาษีมูลค าเพิ่ม ตามที่เรียกร องมา กสท ได ยื่นคําร องขอเพิกถอนคําชี้ขาดดังกล าวต อศาลปกครองกลาง แล ว ขณะนี้คดีอยู ระหว างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ซึ่ง กระบวนการพิจารณาคดีนี้อาจใช เวลาพิจารณาหลายป แต อย างไร ก็ตามผู บริหารของเอไอเอสเชื่อว าผลของคดีน าจะคลี่คลายไปในทาง ที่ดี เนื่องจากเงินส วนแบ งรายได ตามที่ กสท เรียกร องดังกล าวเป น จํานวนเดียวกันกับภาษีสรรพสามิตที่ดีพีซีได นําส งไปแล ว 2.4 ข อพิพาทกรณีเงินผลประโยชน ตอนแทนจากรายได คา เชือ่ มต อโครง ข ายโทรคมนาคม (Interconnection Charge) ตามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบการกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2554 และประกาศคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห งชาติว าด วยการใช และเชื่อมต อโครงข ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 ได กําหนดให เอไอเอสมี หน าทีท่ าํ สัญญาการเชือ่ มต อโครงข ายโทรคมนาคมกับผูร บั ใบอนุญาต รายอื่น แต ทีโอทีซึ่งเป นผู ให อนุญาตได มีหนังสือแจ งให เอไอเอสทราบว า เอไอเอสมิใช ผู รับใบอนุญาตที่มีโครงข ายโทรคมนาคมตามกฎหมาย จึงไม มีสิทธิเข าทําสัญญาเชื่อมต อโครงข ายโทรคมนาคมตามประกาศ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห งชาติว าด วยการใช และเชื่อมต อ โครงข ายโทรคมนาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งเอไอเอสได พิจารณาประกอบกับ ความเห็นของทีป่ รึกษากฎหมายแล ว ผูบ ริหารของเอไอเอสเห็นว าการไม ปฏิบตั ติ ามสัญญาการเชือ่ มต อโครงข ายโทรคมนาคมข างต น อาจถือได ว าเป นการขัดต อประกาศ กทช. ว าด วยการใช และเชื่อมต อโครงข ายฯ เอไอเอสจึงได ตดั สินใจปฏิบตั ติ ามสัญญาการเชือ่ มต อโครงข าย ซึง่ เป นไป ตามบทบัญญัติแห งกฎหมายที่มีผลใช บังคับอยู ในป จจุบัน โดยออกใบ แจ งหนี้เพื่อเรียกเก็บค าเชื่อมต อโครงข ายจากคู สัญญา และจะนําส งเงิน ผลประโยชน ตอบแทนจากการเชือ่ มต อโครงข ายโทรคมนาคม ซึง่ คํานวณ

063

จากรายได สุทธิตามอัตราและวิธีคิดคํานวณของเอไอเอสให แก ทีโอที แต ทีโอทีตอ งการให เอไอเอส ชําระเงินส วนแบ งรายได จากค าเชือ่ มต อโครงข าย โทรคมนาคมที่เอไอเอสได รับทั้งจํานวนตามอัตราร อยละที่กําหนดไว ใน สัญญาอนุญาตฯ โดยมิให เอไอเอสนําค าเชือ่ มต อโครงข ายโทรคมนาคม ทีเ่ อไอเอสถูกผูป ระกอบการรายอืน่ เรียกเก็บมาหักออกก อน ในวันที่ 26 มกราคม 2554 ทีโอทีจึงได มีหนังสือแจ งให เอไอเอสชําระเงิน ผลประโยชน จากรายได ค าเชื่อมต อโครงข ายโทรคมนาคมของป ดําเนิน การที่ 17-20 เป นเงินรวม 17,803 ล านบาท พร อมดอกเบี้ยในอัตรา ร อยละ 1.25 ต อเดือน แต เอไอเอสไม เห็นด วยโดยได มหี นังสือโต แย งคัดค าน ไปยังทีโอที และเอไอเอสได เสนอข อพิพาทต อสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักระงับข อพิพาท สํานักงานศาลยุตธิ รรม เมือ่ วันที่ 9 มีนาคม 2554 เป นข อพิพาทหมายเลขดําที่ 19/2554 เพื่อให คณะอนุญาโตตุลาการมี คําชี้ขาดว า ทีโอทีไม มีสิทธิเรียกร องเงินผลประโยชน ตอบแทนดังกล าว ขณะนี้ข อพิพาทอยู ระหว างการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ ซึง่ อาจใช เวลาการพิจารณาระยะเวลาหลายป แต อย างไรก็ตามผูบ ริหาร ของเอไอเอสเชื่อว าคําวินิจฉัยชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการน าจะ คลี่คลายไปในทางที่ดี เนื่องจากเป นการดําเนินการตามที่กฎหมาย กําหนด 2.5 ข อพิพาทระหว างบริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ซึง่ เป นบริษทั ย อย ของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท) กรณีการปรับลดอัตรา ค า Roaming ระหว าง ดีพีซี และ เอไอเอส เมื่ อ วั น ที่ 7 เมษายน 2553 ดี พี ซี ไ ด เ สนอข อ พิ พ าทต อ สถาบั น อนุญาโตตุลาการ สํานักระงับข อพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เป น ข อพิพาทหมายเลขดําที่ 27/2553 เรียกร องให คณะอนุญาโตตุลาการ มีคําชี้ขาดบังคับให กสท เพิกถอนการกล าวหาว า ดีพีซีเป นฝ ายผิด สัญญา เนือ่ งจากการทําสัญญาการใช โครงข ายระหว าง เอไอเอส-ดีพซี ี โดยไม ได รับความยินยอมจาก กสท และจะแจ งเลิกสัญญา ตามหนังสือ วันที่ 6 มกราคม 2553 พร อมทัง้ ให กสท ชดใช คา เสียหายแก ผเู รียกร อง เป นเงิน 50 ล านบาท เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2553 กสท ได เสนอข อพิพาทต อสถาบัน อนุญาโตตุลาการ สํานักระงับข อพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เป น ข อพิพาทหมายเลขดําที่ 62/2553 เรียกร องให ดีพีซีชําระผลประโยชน ตอบแทนส วนเพิ่มป ดําเนินการที่ 10-12 ที่เกิดจากการที่ดีพีซีปรับ ลดอัตราค า Roaming ระหว างดีพีซี – เอไอเอส จาก 2.10 บาท ลงเหลือ 1.10 บาท โดยมิได รับอนุมัติจาก กสท ก อน ในช วงระหว าง วันที่ 1 เมษายน 2550 – 31 ธันวาคม 2551 เป นเงินรวม 1,640 ล านบาท พร อมเบี้ยปรับที่คํานวณถึงเดือนมีนาคม 2553 เป นจํานวน 365 ล าน บาท รวมเป นเงิน 2,000 ล านบาท และเรียกเบี้ยปรับในอัตรา 1.25 ต อ เดือน นับแต เดือนเมษายน 2553 เป นต นไป


064

อินทัช

เมื่ อ วั น ที่ 12 กั น ยายน 2554 กสท ได เ สนอข อ พิ พ าทต อ สถาบั น อนุญาโตตุลาการ สํานักระงับข อพิพาท สํานักงานศาลยุติธรรม เป น ข อพิพาทหมายเลขดําที่ 89/2554 เพิ่มเติมในส วนป ดําเนินการที่ 12 (1 เมษายน 2552-15 มิถุนายน 2552) เป นเงินจํานวน 113 ล านบาท ต อ มาสถาบั น อนุ ญ าโตตุ ล าการได มี คํ า สั่ ง ให ร วมพิ จ ารณาทั้ ง 3 ข อพิพาทเข าด วยกัน ขณะนีข้ อ พิพาทดังกล าวอยูร ะหว างการพิจารณา ของคณะอนุญาโตตุลาการ ซึ่งอาจใช เวลาการพิจารณาเป นระยะเวลา หลายป แต อย างไรก็ตามผู บริหารของเอไอเอสเชื่อว าคําวินิจฉัยชี้ขาด ของคณะอนุญาโตตุลาการน าจะคลีค่ ลายไปในทางทีด่ ี เนือ่ งจากดีพซี ไี ด มีหนังสือแจ งการใช อัตราค า Roaming ในอัตรานาทีละ 1.10 บาท ต อ กสท เรื่อยมานับตั้งแต เดือนกรกฎาคม 2549 เป นต นมา ซึ่ง กสท ได มี หนังสือตอบอนุมัตินับตั้งแต เวลาดังกล าวเรื่อยมาจนถึงเดือนมีนาคม 2550 และยังได มีหนังสืออนุมัติในช วงเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม 2552 ให อกี ส วนในช วงระยะเวลาทีเ่ ป นข อพิพาทนัน้ กสท ก็มไิ ด มหี นังสือ ตอบปฏิเสธหรือคัดค านมายังดีพีซีแต อย างใด อีกทั้งค า Roaming ใน อัตรานาทีละ 1.10 บาท นี้ เป นไปตามสภาวะของตลาดที่อัตราค าใช บริการได ลดต่ําลงกว าอัตราค าใช เครือข ายร วมเดิม นอกจากนี้ดีพีซี ยังได ทาํ สัญญาการให ใช โครงข ายโทรคมนาคม (Roaming) กับเอไอเอส โดยใช อตั รา 1.10 บาทต อนาที ซึง่ ได รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห งชาติแล ว 2.6 ข อพิพาทระหว างบริษัท ดิจิตอล โฟน จํากัด (ดีพีซี) ซึ่งเป นบริษัท ย อยของบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จํากัด (มหาชน) กับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) (กสท) กรณีกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง และอุปกรณ แหล งจ ายกําลังงาน กสท ได เ สนอข อ พิ พ าทต อ สถาบั น อนุ ญ าโตตุ ล าการ สํ า นั ก ระงั บ ข อพิพาท สํานักงานศาลยุตธิ รรม เป นข อพิพาทหมายเลขดําที่ 8/2552 เมือ่ วันที่ 3 กุมภาพันธ 2552 เรียกร องให ดพ ี ซี สี ง มอบและโอนกรรมสิทธิ์ เสาอากาศ/เสาสูง (Tower) จํานวน 3,343 ต น พร อมอุปกรณ แหล ง จ ายกําลังงาน (Power Supply) จํานวน 2,653 เครื่อง ตามสัญญาให ดําเนินการให บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร หากไม สามารถส ง มอบได ให ชดใช เงินจํานวน 2,230 ล านบาท ซึ่งดีพีซีเห็นว าเสาอากาศ/ เสาสูง (Tower) พร อมอุปกรณ แหล งจ ายกําลังงาน (Power Supply) มิใช เครื่องหรืออุปกรณ ตามที่กําหนดไว ในสัญญาข อ 2.1 ที่ดีพีซีจะมี หน าทีจ่ ดั หาและส งมอบตามสัญญา ขณะนีข้ อ พิพาทดังกล าวอยูร ะหว าง การพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ ในวันที่ 18 กรกฎาคม 2555 คณะอนุญาโตตุลาการได มมี ติเป นเอกฉันท วินิจฉัยชี้ขาดให ยกคําเสนอข อพิพาททั้งหมดของ กสท โดยให เหตุผล สรุปได ว าสิทธิของ กสท ในอันจะเรียกร องให ดีพีซีส งมอบทรัพย สิน อันเป นวัตถุแห งสัญญานั้น ต องเป นไปตามสัญญาให ดําเนินการให บริการวิทยุคมนาคมระบบเซลลูลาร ข อ 12 กล าวคือ ภายหลัง 60 วัน นับแต วันสิ้นสุดแห งสัญญานี้ ดังนั้นการที่ กสท ทําคําเสนอข อพิพาท

จึงนับว าเป นการใช สิทธิเรียกร องก อนครบกําหนดระยะเวลาที่อาจให สิทธิตามสัญญาได กสท ได ยื่ น คํ า ร อ งขอเพิ ก ถอนคํ า ชี้ ข าดดั ง กล า วต อ ศาลปกครอง กลางแล ว ขณะนี้คดีอยู ระหว างการพิจารณาของศาลปกครองกลาง ซึ่งกระบวนการพิจารณาคดีนี้อาจใช เวลาพิจารณาหลายป แต อย างไร ก็ตามผูบ ริหารของเอไอเอส เชือ่ ว าผลของคดีนา จะคลีค่ ลายไปในทางทีด่ ี 2.7 การกําหนดอัตราขั้นสูงของค าบริการโทรคมนาคมสําหรับบริการ ประเภทเสียงภายในประเทศ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2555 เอไอเอสได ยื่นฟ องคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแห งชาติต อศาล ปกครองกลาง คดีหมายเลขดําที่ 1067/2555 เพื่อขอให ศาลปกครอง กลางมีคาํ พิพากษาให เพิกถอนประกาศ เรือ่ ง อัตราขัน้ สูงของค าบริการ โทรคมนาคมสําหรับบริการประเภทเสียงภายในประเทศ พ.ศ. 2555 ทีใ่ ห เรียกเก็บค าบริการประเภทเสียงภายในประเทศได ไม เกิน 0.99 บาท/นาที โดยมีผลบังคับใช เฉพาะกับผู มีอํานาจเหนือตลาดอย างมีนัยสําคัญ (ซึ่ง เมือ่ วันที่ 30 กันยายน 2553 คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห งชาติ ได มคี าํ สัง่ กําหนดให เอไอเอสเป นผูม อี าํ นาจเหนือตลาดอย างมีนยั สําคัญ ในตลาดค าปลีกบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ภายในประเทศ และบริการ โครงข ายโทรศัพท เคลื่อนที่ภายในประเทศ ตามคําสั่งคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห งชาติที่ 32/2553)

3/ สายธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจต างประเทศ 3.1 ความเสี่ยงจากธุรกิจบริการสื่อสารดาวเทียม 3.1.1 ความเสี่ยงจากการที่ดาวเทียมอาจเกิดความเสียหายหรือ เกิดความบกพร องในขณะที่อยู ในวงโคจร (In-Orbit Failure) ดาวเทียมเป นงานสร างทางวิศวกรรมขั้นสูง และเมื่อมีการส งดาวเทียม เข าสู วงโคจรแล ว ดาวเทียมอาจได รับความเสียหายจากการขัดข อง ของระบบการทํางานของดาวเทียม พายุสุริยะ หรือการชนกันระหว าง ดาวเทียมกับวัตถุตา งๆ ในอวกาศ เป นต น ซึง่ อาจส งผลให ดาวเทียมได รบั ความเสียหาย ทําให ความสามารถในการให บริการถ ายทอดสัญญาณ ลดลงชั่วคราวหรือถาวร หรือเกิดความเสียหายทั้งหมด ซึ่งอาจก อให เกิดผลกระทบต อการให บริการ และอาจทําให สูญเสียลูกค าที่มีอยู ใน ป จจุบนั และ/หรือ สูญเสียโอกาสในการหาลูกค าใหม ในระหว างการจัดหา ดาวเทียมดวงใหม มาให บริการแทน อย างไรก็ดีผู จัดสร างดาวเทียมได ออกแบบให ดาวเทียมมีคณ ุ ลักษณะทีส่ ามารถทนทานต อสภาพแวดล อม บนอวกาศทีเ่ ลวร าย ซึง่ ทําให ดาวเทียมมีความน าเชือ่ ถือ (Reliability) สูง เทียบเท ามาตรฐานสากล ถึงแม ว าความเสียหายขั้นรุนแรงจนอาจทําให ดาวเทียมหมดสภาพการใช งานจะมีความเป นไปได น อยมาก แต ไทยคม ก็ ได จดั เตรียมแผนการเพือ่ รองรับผลเสียหายอันอาจจะเกิดขึน้ กับลูกค า


รายงานประจําป 2555

หากเกิดความเสียหายขัน้ รุนแรงขึน้ กับดาวเทียมดวงใดดวงหนึง่ จนหมด สภาพการใช งาน โดยสามารถดําเนินการให ผ ูใช บริการส วนหนึง่ ย ายมาใช ช องสัญญาณทีย่ งั คงว างอยูใ นดาวเทียมไทยคมทีเ่ หลือ นอกจากนี้ไทยคม ยังได มีการเจรจาร วมกับผู ให บริการรายอื่นในการเช าช องสัญญาณ จากดาวเทียมอื่นชั่วคราว เพื่อให ผู ใช บริการสามารถโอนการใช งานไป ได ในระหว างที่ไทยคมเร งดําเนินการสร างดาวเทียมขึ้นเพื่อทดแทน ซึ่ง โดยทัว่ ไปจะใช ระยะเวลาประมาณ 24 - 30 เดือน ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั ขนาดและ ความซับซ อนของดาวเทียม ไทยคมได ตระหนักถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับดาวเทียมขณะที่อยู ใน วงโคจรค างฟ า ดังนั้นเพื่อป องกันความเสี่ยงภัยดังกล าวที่อาจเกิดขึ้น ไทยคมจึงได จัดทําประกันภัยดาวเทียมเพื่อคุ มครองความเสี่ยงภัย ทุกชนิด (All Risks) (เป นข อกําหนดตามสัญญาดําเนินกิจการดาวเทียม สื่อสารภายในประเทศ) โดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่ อ สารและไทยคมเป น ผู รั บ ผลประโยชน ร ว มกั น กรมธรรม ป ระกั น ภัยที่จัดทํานั้นเป นแบบ Full Coverage with Partial Loss ซึ่งเป น กรมธรรม ป ต อป (รายละเอียดระยะเวลาการเอาประกันดังที่แสดงไว ใน ตารางมูลค าวงเงินประกันภัย) กล าวคือ ไทยคมสามารถเรียกร อง ค าเสียหายในทันทีทดี่ าวเทียมได รบั ความเสียหายเพียงบางส วน ในการ เรียกร องค าสินไหมทดแทนจากบริษัทผู รับประกันภัย ไทยคมจะต องยื่น หนังสือแจ งความเสียหาย (Notice of Loss) และหนังสือพิสูจน ความ เสียหาย (Proof of Loss) ให บริษทั ผูร บั ประกันภัยและเมือ่ บรรลุขอ ตกลง ไทยคมจึงจะได รับเงินค าสินไหมทดแทน มูลค าประกันภัยดังกล าวมีมูลค าเท ากับมูลค าทางบัญชีของดาวเทียม ณ ระยะเวลาที่ทําประกันภัย อย างไรก็ตาม มูลค าประกันภัยดังกล าว ไม ครอบคลุมผลเสียหายจากการสูญเสียรายได อันสืบเนื่องมาจาก การเสียหายของดาวเทียม ซึ่งอาจส งผลกระทบต อผลประกอบการของ ไทยคม ตารางมูลค าวงเงินประกันภัย วงเงินประกัน โครงการดาวเทียม (ล านดอลลาร สหรัฐฯ) ไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) 163.72 ไทยคม 5

59.39

ระยะเวลา สิงหาคม 2555 – สิงหาคม 2556 พฤษภาคม 2555 – พฤษภาคม 2556

อนึ่ ง กรมธรรม ป ระกั น ภั ย ของกิ จ การดาวเที ย มจะไม ค รอบคลุ ม เหตุการณ ต อไปนี้ 1/ ภาวะสงคราม การคุกคาม หรือการป องกัน หรือการกระทําอันนํา ไปสู สงครามโดยรัฐบาล หรือการใช กําลังทางทหาร

065

2/ อุปกรณ ตอ ต านดาวเทียม หรืออุปกรณ เกีย่ วข องกับระเบิดปรมาณู หรือนิวเคลียร 3/ การก อกบฏ การก อความไม สงบ การจลาจล การนัดหยุดงาน การปฏิวัติ สงครามกลางเมือง การก อการร าย 4/ การยึดทรัพย โดยหน วยงานรัฐบาล 5/ ปฏิกริ ยิ าตอบสนองของนิวเคลียร กัมมันตภาพรังสีของนิวเคลียร ที่ ตกค าง โดยทางตรงหรือทางอ อมอันทําให เกิดการสูญเสีย/เสียหาย ต อดาวเทียม ยกเว นกัมมันตภาพรังสีที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 6/ คลื่นกระแสไฟฟ า หรือคลื่นความถี่รบกวน 7/ ความตัง้ ใจ หรือเจตนาในการกระทําของผูเ อาประกันหรือผูม อี าํ นาจ ในการกระทํา อันก อให เกิดการสูญเสียหรือเสียหายของดาวเทียม 3.1.2 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีทางด านการส งสัญญาณวิทยุ/โทรทัศน (Broadcasting) และโทรคมนาคม (Telecommunication) เป นไปอย าง รวดเร็ว ซึ่งหากไทยคมไม มีการปรับตัวทั้งในเรื่องของการให บริการและ การพัฒนาเทคโนโลยีใหม ๆ ที่จะนํามาใช ในการดําเนินงาน ไทยคมจะ ประสบกับความเสีย่ งจากการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยี ไทยคมจึงต อง ติดตามการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่เกี่ยวข องกับไทยคมอย างใกล ชิด ทั้งในส วนของฮาร ดแวร ซอฟแวร รวมถึงเทคโนโลยีทางด านไอที ในส ว นของเทคโนโลยี ข องดาวเที ย มที่ มี ก ารใช ง านในป จ จุ บั น การ เปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีจะเป นการเปลีย่ นแปลงในระยะยาว เนือ่ งจาก ใช ร ะยะเวลาในการพั ฒ นา ไทยคมจึ ง มี แ นวทางที่ จ ะติ ด ตามการ เปลีย่ นแปลงเทคโนโลยีของดาวเทียมไปพร อมๆ กับการเลือกใช เทคโนโลยี และอุปกรณ บนดาวเทียมที่มีมาตรฐาน มีความน าเชื่อถือ และสามารถ แข ง ขั น กั บ ผู ป ระกอบการดาวเที ย มรายอื่ น ได ทั้ ง นี้ ค วามเชื่ อ ถื อ ได (Reliability) ของดาวเทียมถือเป นป จจัยสําคัญอย างยิ่งในการดําเนิน ธุรกิจและการให บริการแก ลูกค า ในด านการส งสัญญาณวิทยุ/โทรทัศน และโทรคมนาคม (Broadcasting and Telecommunications) ไทยคมมี ก ารติ ด ตามการพั ฒ นา เทคโนโลยีด านการส งสัญญาณวิทยุ โทรทัศน และจะพิจารณานํา เทคโนโลยี ที่ มี คุ ณ ภาพสู ง ขึ้ น มาใช ใ นการดํ า เนิ น งานเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพในการให บริการแก ลูกค า นอกจากนี้ในส วนเทคโนโลยีของดาวเทียม Broadband Satellite นั้น ป จจุบนั ไทยคมได มนี โยบาย Open Platform โดยให อปุ กรณ ภาคพืน้ ดิน ของผูผ ลิตรายอืน่ สามารถทํางานร วมกับดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) ได เพือ่ ให ลกู ค าสามารถเลือกใช ระบบและอุปกรณ ภาคพืน้ ดินทีเ่ หมาะสม กับความต องการของลูกค ามากที่สุด โดยไทยคมจะตรวจสอบและ คัดเลือกระบบและอุปกรณ ภาคพืน้ ดินทีม่ ปี ระสิทธิภาพและความเชือ่ ถือ ได สูง ซึ่งเป นไปตามแผนธุรกิจของดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร )


066

อินทัช

3.1.3 ความเสี่ยงจากอายุการใช งานของดาวเทียมสั้นลง ดาวเทียมทุกดวงมีอายุการใช งานจํากัด โดยเฉลี่ยประมาณ 12-16 ป แต ยงั มีปจ จัยอืน่ ๆ ทีม่ ผี ลให ดาวเทียมมีอายุการใช งานเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ หรือ ลดลง เช น คุณภาพของโครงสร าง ความแข็งแกร ง และความทนทาน ของอุปกรณ ต างๆ จรวดที่ใช ส งดาวเทียม ประสิทธิภาพในการจัดส ง ดาวเทียมขึ้นสู วงโคจร ตลอดทั้งปริมาณการใช เชื้อเพลิงของดาวเทียม และทักษะความสามารถในการควบคุมดาวเทียมในสภาวการณ ต างๆ ดังนั้นไทยคมอาจสูญเสียลูกค าและรายได หากดาวเทียมของไทยคม มีอายุการใช งานสั้นกว าที่ได คาดการณ ไว และไทยคมไม สามารถจัดหา หรือส งดาวเทียมดวงใหม แทนได ทันเวลา วิศวกรดาวเทียมของบริษัท จะทําการประเมินอายุดาวเทียมที่เหลือ และถ าดาวเทียมใกล หมดอายุ ก็จะแจ งหน วยงานที่เกี่ยวข องเพื่อพิจารณาเรื่องงบประมาณ แหล งเงิน ทุน และผลตอบแทนจากการลงทุน ในการจัดหาดาวเทียมมาทดแทน ดาวเทียมที่กําลังจะหมดอายุลง นอกจากนี้ เพือ่ ให เกิดความมัน่ ใจในการจัดการความเสีย่ งจากการทีอ่ ายุ การใช งานของดาวเทียมสัน้ ลง ไทยคมได ดาํ เนินการจัดการด านบุคลากร และกระบวนการปฏิบัติงาน และดําเนินการทําประกันภัยตามแนวทางใน ข อ 3.1.1 อีกด วย 3.1.4 ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงในกฎหมาย ระเบียบ ข อบังคับ และนโยบายของรัฐบาล ไทยคมก อตัง้ และจดทะเบียนในประเทศไทยและดําเนินการให บริการด าน โทรคมนาคมผ านดาวเทียมภายใต สัญญาดําเนินกิจการดาวเทียม สื่อสารภายในประเทศ ซึ่งไทยคมอาจจะมีความเสี่ยงในการดําเนิน ธุรกิจจากการแข งขันทีส่ งู ขึน้ อันเกิดจากการเปลีย่ นแปลงกฎระเบียบและ หลักเกณฑ ในการประกอบกิจการโทรคมนาคมผ านดาวเทียมสื่อสาร และนโยบายของรั ฐ บาลในด า นการเป ด เสรี ภ าคอุ ต สาหกรรม โทรคมนาคม นอกจากนีก้ ารเปลีย่ นแปลงในกฎหมาย ระเบียบ ข อบังคับ และนโยบายของรัฐบาลในเรื่องอื่นๆ นั้น อาจจะส งผลกระทบอย างมี นัยสําคัญต อการดําเนินงานของไทยคมทั้งทางตรงและทางอ อม สัญญาดําเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศมีอายุสัญญา จนถึงป พ.ศ. 2564 การเปลี่ยนแปลงในกฎหมายระเบียบ ข อบังคับและ นโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข อง อาจมีผลให ไม สามารถต ออายุการ ให บริการภายใต สัญญาฯ เดิมได ภายหลังจากสัญญาฯ หมดอายุลง และไทยคมจะดําเนินการเพื่อให ได รับอนุญาตในการดําเนินธุรกิจต อไป ภายหลังจากสัญญาฯ หมดอายุ นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงดังกล าว อาจจะทํ า ให เ กิ ด ผู ป ระกอบการรายใหม ที่ เ ป น คู แ ข ง ทางการค า ของ ไทยคมได ในอนาคต ทั้ ง นี้ เ มื่ อ วั น ที่ 26 มิ ถุ น ายน 2555 ไทยคมได รั บ ใบอนุ ญ าตให เ ป น ผูป ระกอบกิจการโทรคมนาคมประเภททีส่ าม1 จาก กสทช. เพือ่ ให บริการ ช องสัญญาณดาวเทียม โดยใบอนุญาตดังกล าวมีอายุ 20 ป ซึง่ ไทยคม

จะต อ งดํ า เนิ น การตามข อ กํ า หนดของการอนุ ญ าตดั ง กล า วต อ ไป รวมถึงจะต องติดตามความเปลี่ยนแปลงหรือข อกําหนดอื่นๆ ที่อาจจะมี เพิ่มเติมขึ้นในอนาคต นอกจากการอนุญาตในส วนของกิจการโทรคมนาคม (Telecommunications) แล ว ไทยคมยั ง จะต อ งติ ด ตามความเปลี่ ย นแปลงและ ข อ กํ า หนดต า งๆ ของการอนุ ญ าตในกิ จ การวิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งและ กิจการโทรทัศน (Broadcasting) ซึง่ อาจจะมีผลกระทบต อการให บริการ โทรทัศน ผ านดาวเทียมของไทยคมด วย 3.1.5 ความเสีย่ งด านกฎหมายและข อกําหนดในแต ละประเทศที่ไทยคม เข าไปประกอบธุรกิจ ในป จจุบันกระแสโลกาภิวัตน ซึ่งสนับสนุนให มีการเป ดเสรีทางเศรษฐกิจ และการค าได ช วยให ไทยคมสามารถเข าไปประกอบธุรกิจให บริการ โทรคมนาคมผ านดาวเทียมในประเทศต างๆ ได กว างขวางยิง่ ขึน้ อย างไร ก็ตามการเข าไปประกอบธุรกิจในแต ละประเทศนั้น ไทยคมจะต องปฏิบัติ ให สอดคล องกับกฎระเบียบ กฎเกณฑ นโยบายหรือข อตกลงระหว าง ประเทศ รวมทัง้ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข องกับการประกอบธุรกิจโทรคมนาคม ผ านดาวเทียมของประเทศนั้นๆ ด วย เนือ่ งจากอุตสาหกรรมสือ่ สารโทรคมนาคมผ านดาวเทียมอยูภ ายใต การ ควบคุมที่เข มงวด การแก ไขกฎหมายต างๆ ที่เกี่ยวข องกับการประกอบ ธุรกิจโทรคมนาคมในแต ละประเทศ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงในนโยบาย ของรัฐบาลของประเทศต างๆ ในการสนับสนุนหรืออุดหนุนอุตสาหกรรม โทรคมนาคมดาวเทียม อาจส งผลให ไทยคมไม สามารถได รับหรือดํารง ไว ซึ่งการอนุญาตในการประกอบธุรกิจหรือการดําเนินการให เป นไป ตามกลยุทธ ทางธุรกิจของไทยคม นอกจากนี้การแก ไขเปลี่ยนแปลง นโยบายหรือกฎเกณฑ ในข อตกลงระหว างประเทศของ ITU ข อตกลง ในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ และประเทศอืน่ ที่ไทยคมให บริการอาจก อให เกิด ผลกระทบอย างมีนัยสําคัญต อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการดําเนิน งาน และโอกาสทางธุรกิจของไทยคม โดยเฉพาะอย างยิ่งหากการแก ไข เปลีย่ นแปลงดังกล าวส งผลให ตน ทุนในการดําเนินงานเพิม่ สูงขึน้ หรือเพิม่ ข อจํากัดในการประกอบธุรกิจของไทยคม นอกจากป จจัยที่ได กล าวมา ข างต นไทยคมยังมีความเสีย่ งทางภาษีทอี่ าจเกิดขึน้ จากการตีความและ กฎหมายที่เกี่ยวกับภาษีอากรของแต ละประเทศที่แตกต างกัน ทั้งนี้ในการประกอบธุรกิจในต างประเทศ ไทยคมได ใช ความระมัดระวัง อย างมาก ในอันที่จะปฏิบัติตามกฎหมายของแต ละประเทศที่ ไทยคม เข าไปประกอบธุรกิจให บริการอยู รวมถึงนโยบายหรือกฎเกณฑ ใน 1

ใบอนุญาตแบบที่สาม ได แก ใบอนุญาตสําหรับผู ประกอบกิจการโทรคมนาคมที่ มีโครงข ายเป นของตนเอง ซึ่งเป นการประกอบกิจการที่มีวัตถุประสงค ในการให บริการแก บุคคลทั่วไปจํานวนมาก หรืออาจมีผลกระทบโดยนัยสําคัญต อการ แข งขันโดยเสรีอย างเป นธรรม หรืออาจกระทบต อประโยชน สาธารณะ หรือมีเหตุ จําเป นต องคุ มครองผู บริโภคเป นพิเศษ


รายงานประจําป 2555

ข อตกลงระหว างประเทศและของประเทศอืน่ ที่ไทยคมให บริการ และในกรณี ทีจ่ าํ เป นไทยคมจะขอคําปรึกษาจากสํานักงานกฎหมายในประเทศต างๆ เหล านัน้ ซึง่ มีความเชีย่ วชาญเฉพาะด านในเรือ่ งดังกล าว เพือ่ ให คาํ แนะนํา และ/หรือเพื่อช วยดําเนินการให ไทยคม สามารถดําเนินการและปฏิบัติ ตามข อบังคับต างๆ ได อย างถูกต องครบถ วน 3.1.6 ความเสี่ยงจากการที่รายได หลักของไทยคมขึ้นอยู กับการให บริการแก ลูกค าหลักเพียงน อยราย รายได หลักของไทยคมขึ้นอยู กับการให บริการแก ลูกค าหลักเพียงน อย ราย ซึ่งส วนใหญ เป นผู ประกอบธุรกิจการสื่อสารโทรคมนาคมและการ สื่อสารโทรทัศน โดยในป 2555 ไทยคมมีรายได จากการให บริการแก ลูกค ารายใหญ สุดสามรายแรกคิดเป นร อยละ 28 ของรายได จากการ ขายและบริการตามงบการเงินรวมของไทยคม หากลูกค าหลักรายใดรายหนึง่ ประสบป ญหาด านการเงิน หรือได รบั การ ติดต อจากผูป ระกอบการดาวเทียมรายอืน่ ลูกค าหลักรายดังกล าวอาจ ยกเลิกสัญญา หรือไม ตอ สัญญากับไทยคม ซึง่ อาจก อให เกิดผลกระทบ ในทางลบต อผลประกอบการของไทยคม เนื่องจากไทยคมต องใช เวลา ในการหาลูกค ารายใหม มาทดแทน อย างไรก็ตามที่ผ านมาลูกค าหลัก ของไทยคมได ชําระค าบริการอย างสม่ําเสมอ โดยเฉพาะลูกค าด านการ สื่อสารโทรทัศน เนื่องมาจากลูกค ามีความจําเป นต องใช บริการช อง สัญญาณดาวเทียมเพื่อออกอากาศรายการโทรทัศน อย างต อเนื่อง นอกจากนี้การเปลี่ยนไปใช ดาวเทียมดวงอื่นจะทําให มีต นทุนและความ ยุ งยากในการปรับเปลี่ยนแนวรับของจานดาวเทียม ซึ่งเป นข อจํากัด ประการสําคัญหากลูกค าจะเปลีย่ นไปใช ดาวเทียมของผู ให บริการรายอืน่ ไทยคมได ลงนามในสัญญาให บริการระยะยาวกับลูกค าหลัก โดยเน น คุณภาพการให บริการทีด่ ี รวมทัง้ การนําเสนอรูปแบบบริการทางเทคนิค และทางธุรกิจที่มีความยืดหยุ นสามารถตอบสนองความต องการของ ลูกค า เพื่อช วยให ธุรกิจของลูกค าเติบโต นอกจากนี้ไทยคมได รักษา ความสัมพันธ ทดี่ กี บั ลูกค าอย างสม่าํ เสมอ เพือ่ สร างความพึงพอใจและ ความร วมมืออันดีระหว างกัน 3.1.7 ความเสี่ยงด านการตลาดของบริการดาวเทียม ในธุรกิจดาวเทียมทั่วไป (Conventional Satellite) ไทยคมคาดว าจะมี ความเสี่ยงด านการตลาดอยู ในระดับต่ํา เนื่องจากป จจุบันมีลูกค าใช บริการดาวเทียมไทยคม 5 เต็มปริมาณช องสัญญาณดาวเทียม ในขณะ ที่ยังคงมีความต องการใช บริการดาวเทียมด านการสื่อสารโทรทัศน สูงในภูมิภาค ส งผลให ณ สิ้นป 2555 มีลูกค าจองการใช งานล วงหน า ดาวเทียมไทยคม 6 แล วกว าร อยละ 38 ของปริมาณช องสัญญาณ ดาวเทียมทั้งหมด โดยที่ไทยคมคาดว าจะยังคงมีลูกค าเข ามาจองการ ใช งานล วงหน าดาวเทียมไทยคม 6 และดาวเทียมไทยคม 7 เพิ่มขึ้นอย าง ต อเนื่องในป 2556 ในขณะที่การเติบโตในธุรกิจ Broadband Satellite

067

หรือดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) จะขึ้นอยู กับการเติบโตของความ ต องการสําหรับการสื่อสารด วย Internet Protocol (IP) และการใช งาน อินเทอร เน็ตความเร็วสูง ในกรณีที่ความต องการดังกล าวไม ได เพิ่ม ขึ้นอย างต อเนื่อง อาจมีผลกระทบต อผลประกอบการและกระแสเงินสด ของไทยคมหรือความสามารถในการชําระหนี้ของไทยคมในอนาคต อย างไรก็ตามไทยคมเน นดําเนินกลยุทธ ทสี่ าํ คัญ เช น การแบ งส วนตลาด การเป ดให บริการสําหรับอุปกรณ ของผูผ ลิตรายอืน่ สามารถทํางานร วม กับดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) และการให บริการแบบครบวงจร เพือ่ ช วยกระตุ นปริมาณความต องการดังกล าวในแต ละประเทศ 3.1.8 ความเสี่ยงจากการแข งขันที่สําคัญจากผู ประกอบการธุรกิจ ดาวเทียมรายอื่น ผู ประกอบธุรกิจด านโครงข ายภาคพื้นดิน ป จจุบันไทยคมเป นผู ประกอบธุรกิจดาวเทียมเพียงแห งเดียวในประเทศ ในขณะทีด่ าวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) เป นดาวเทียมบรอดแบนด เพียง รายเดียวที่ให บริการในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก อย างไรก็ดีอาจมีการ ออกใบอนุญาตในการประกอบกิจการดาวเทียมให กับผู ประกอบการ รายอื่นในอนาคต คู แข งรายใหญ ในภูมิภาคของไทยคม ได แก AsiaSat, Intelsat, Apstar, SES Astra, ABS และ Measat ซึ่งผู ประกอบการ ดังกล าวบางรายมีพื้นที่ให บริการกว างกว าและมีแหล งเงินทุนมากกว า ไทยคม นอกจากนี้ในอนาคตอาจจะมีดาวเทียมบรอดแบนด ดวงใหม เข า มาให บริการในภูมภิ าค ป จจัยดังกล าวจะทําให การแข งขันในการประกอบ ธุรกิจเข มข นขึน้ ซึง่ อาจก อให เกิดข อจํากัดในการกําหนดราคาค าบริการ และอาจก อให เกิดผลกระทบต อธุรกิจของไทยคม อนึ่งไทยคมยังแข งขันกับผู ดําเนินการธุรกิจเครือข ายภาคพื้นดินและ เครือข ายไร สาย เช น เคเบิลใยแก วนําแสง DSL เครือข าย WiMAX เครือข าย 4G LTE เครือข ายโทรทัศน ภาคพื้นดินทั้งในระบบอะนาล็อก และดิจิตอล เครือข ายเคเบิลทีวี และอื่นๆ การให บริการโดยใช เครือข าย ภาคพื้นดินในเขตชุมชนเมืองที่มีการพัฒนาและวางระบบเครือข าย ภาคพื้นดินแล วนั้น จะมีค าบริการที่ต่ํากว าการให บริการสื่อสารผ าน ดาวเทียม อาจจะส งผลให ลูกค าผู รับบริการของไทยคมเปลี่ยนไปใช บริการของผู ประกอบการดังกล าว และอาจทําให ไทยคมประสบป ญหา ในการรั ก ษาหรื อ หาลู ก ค า เพิ่ ม เติ ม อย า งไรก็ ต ามบริ ก ารสื่ อ สาร ผ านดาวเทียมสามารถให บริการด วยค าบริการที่ต่ํากว าและเข าถึงได รวดเร็วกว า สําหรับการให บริการแก ลูกค าที่อยู ห างไกลและอยู กระจาย กันเป นบริเวณกว าง รวมทัง้ การสือ่ สารในภาวะฉุกเฉินต างๆ นอกจากนัน้ บริการสื่อสารผ านดาวเทียมยังช วยเสริมการขยายเครือข ายภาค พื้นดินในการเชื่อมต อเครือข ายภาคพื้นดินในแต ละภูมิภาค รวมถึงการ เป นระบบสํารองของเครือข ายภาคพื้นดินอีกด วย ตัวอย างเช น สถานี โทรทัศน ภาคพืน้ ดินในระบบดิจติ อล อาจใช บริการสือ่ สารผ านดาวเทียม ในการขยายและเชื่อมต อเครือข ายภาคพื้นดินให ครอบคลุมพื้นที่ให บริการทั่วประเทศ เป นต น


068

อินทัช

3.1.9 ความเสี่ยงจากการที่ถูกกล าวหาว าปฏิบัติผิดสัญญาดําเนิน กิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ

3.1.10 ความเสี่ยงจากความไม ชัดเจนในการตีความให ปฏิบัติตาม สัญญาดําเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ

ตามที่ ไ ทยคมดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ดาวเที ย มภายใต สั ญ ญาดํ า เนิ น กิ จ การ ดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ ไทยคมอาจถูกยกเลิกสัญญาได หาก มีการปฏิบัติผิดข อสัญญาข อใดข อหนึ่งซึ่งอาจส งผลกระทบในทางลบ อย างมีนัยสําคัญต อธุรกิจ ฐานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และ โอกาสทางธุรกิจ สืบเนื่องจากความจําเป นที่ไทยคมต องทําการเพิ่มทุน โดยออกหุน ใหม เพือ่ จําหน ายแก บคุ คลทัว่ ไปเมือ่ ป 2548 ซึง่ ทําให สดั ส วน การถือหุน ของ บมจ. ชิน คอร ปอเรชัน่ ลดลงน อยกว าร อยละ 51 (ซึง่ เป น ั ญาดําเนินกิจการดาวเทียมสือ่ สารภายในประเทศกําหนด สัดส วนทีส่ ญ ให บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น ต องดํารงไว )

3.1.10.1 ข อกําหนดที่เกี่ยวข องกับดาวเทียมสํารอง

ไทยคมจึงได เจรจากับกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (กระทรวงฯ) ในเรือ่ งนีแ้ ละได แก ไขสัญญาดําเนินกิจการดาวเทียมสือ่ สาร ภายในประเทศในป 2547 เพือ่ ลดข อกําหนดสัดส วนการถือหุน ของ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น ในไทยคมจากเดิมร อยละ 51 เหลือเพียงร อยละ 40 และ กระทรวงฯ ได ส งเรื่องให สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อนําเสนอ คณะรัฐมนตรีพิจารณา แต เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ได แจ งกลับมาว า เรือ่ งนี้ไม จาํ เป นต องเสนอคณะรัฐมนตรีพจิ ารณา ต อมาได มกี ารตีความ เกีย่ วกับสัญญาดําเนินกิจการอืน่ ว า ตามพระราชบัญญัตกิ ารให เอกชน เข าร วมงานในกิจการของรัฐ การแก ไขสัญญาอนุญาตให ดาํ เนินกิจการ จะต องได รบั ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี การแก ไขสัญญาอนุญาต ให ดําเนินกิจการเพื่อลดสัดส วนการถือหุ นของ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น อาจเป นโมฆะ และไทยคมอาจปฏิบตั ผิ ดิ ข อสัญญาเดิมก อนทีจ่ ะมีการแก ไข กระทรวงฯ ได ขอให คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาให ความเห็น ในเรื่องนี้แล ว ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกาได แจ งว าเนื่องจากประเด็นที่ กระทรวงฯ ขอหารือมานัน้ เป นเรือ่ งทีอ่ ยูใ นระหว างการพิจารณาของศาล ฎีกาแผนกคดีอาญาของผู ดํารงตําแหน งทางการเมือง ที่อัยการสูงสุด เป นโจทก ยื่นฟ อง พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร คณะกรรมการกฤษฎีกา จึงไม ให ความเห็นและไม รับไว พิจารณา หลังจากที่ศาลฎีกาฯ ได มีคําตัดสินเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2553 แล ว กระทรวงฯ ได เสนอเรื่องให คณะกรรมการประสานงานฯ พิจารณา ซึ่งคณะกรรมการประสานงานฯ (โดยเสียงข างมาก) ได มีความเห็นให กระทรวงฯ เสนอเรื่องนี้ให คณะรัฐมนตรีพิจารณามีมติให ไทยคมแก ไข โดยให บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น ดําเนินการให มีสัดส วนการถือหุ นไม น อย กว าร อยละ 51 เช นเดิม เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 กระทรวงฯ ได ส งหนังสือถึงไทยคม ให ไทยคม ปฏิบัติตามแนวทางตามความเห็นของคณะกรรมการประสานงานฯ ซึ่งไทยคมได มีหนังสือถึงกระทรวงเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ชี้แจงว า ไทยคมได ดําเนินการถูกต องตามที่กําหนดไว ในสัญญา และการดําเนิน การของไทยคมก็ ได รบั การอนุมตั จิ ากกระทรวงก อนทุกครัง้ หากกระทรวงฯ เห็นว าไทยคมกระทําการไม ชอบด วยสัญญาหรือกฎหมายในเรื่องใด ขอให แจ งให ไทยคม โดยเมือ่ ไทยคมได รบั ทราบเหตุดงั กล าว ไทยคมยินดี จะพิจารณาร วมกันดําเนินการเพื่อให เกิดประโยชน แก ทุกฝ ายต อไป

ภายใต สัญญาดําเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ ไทยคม มีหน าที่จัดให มีดาวเทียมสํารองสําหรับดาวเทียมหลักทุกดวงที่ไทยคม ได จัดส งขึ้นสู วงโคจรแล ว เนื่องจากดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) ซึ่ง ไทยคมได ขออนุมัติส งเข าสู วงโคจรเป นดาวเทียมสํารอง ไม ได มีราย ละเอียดลักษณะเฉพาะ (Specification) เหมือนกับดาวเทียมไทยคม 3 ทุกประการ ทําให มีข อสงสัยว าดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) สามารถ เป น ดาวเที ย มสํ า รองของดาวเที ย มไทยคม 3 ได ห รื อ ไม กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (กระทรวงฯ) ได ขอให คณะกรรมการ กฤษฎีกาพิจารณาให ความเห็นในเรื่องนี้ ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกาได แจ งว า เนื่องจากประเด็นที่กระทรวงฯ ขอหารือมานั้นเป นเรื่องที่อยู ใน ระหว างการพิจารณาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูด าํ รงตําแหน ง ทางการเมืองทีอ่ ยั การสูงสุดเป นโจทย ยนื่ ฟ อง พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร คณะกรรมการกฤษฎีกาจึงไม ให ความเห็นและไม รับไว พิจารณา หลังจากที่ศาลฎีกาฯ ได มีคําตัดสินเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2553 แล วว าดาวเทียมไทย 4 (ไอพีสตาร ) ไม สามารถเป นดาวเทียมสํารอง ของดาวเทียมไทยคม 3 ได และดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) เป น ดาวเทียมที่มีคุณสมบัติและวัตถุประสงค เพื่อให บริการต างประเทศเป น สําคัญ จึงไม ใช ดาวเทียมตามสัญญาดําเนินกิจการดาวเทียมสื่อสาร ภายในประเทศ กระทรวงฯ ได เสนอเรือ่ งให คณะกรรมการประสานงานฯ พิจารณา ซึง่ คณะกรรมการประสานงานฯ ได มคี วามเห็นว า กระทรวงฯ ควรแจ งให ไทยคม ดําเนินการจัดให มีดาวเทียมสํารองของดาวเทียม ไทยคม 3 ให เป นไปตามสัญญาดําเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายใน ประเทศ และควรเสนอคณะรัฐมนตรีให พจิ ารณาแนวทางดําเนินการเรือ่ ง ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) เพื่อให เกิดความเป นธรรมแก ทั้งไทยคม และกระทรวงฯ และให สอดคล องกับคําพิพากษาของศาลฎีกา เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 กระทรวงฯ ได ส งหนังสือถึงไทยคม ให ไทยคม ปฏิบัติตามแนวทางตามความเห็นของคณะกรรมการประสานงานฯ ซึ่งไทยคมได มีหนังสือถึงกระทรวงเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ชี้แจงว า ไทยคมได ดําเนินการถูกต องตามที่กําหนดไว ในสัญญา และการดําเนิน การของไทยคมได รบั การอนุมตั จิ ากกระทรวงก อนทุกครัง้ หากกระทรวงฯ เห็นว าไทยคมกระทําการไม ชอบด วยสัญญาหรือกฎหมายในเรื่องใด ขอให แจ งให ไทยคม โดยเมือ่ ไทยคมได รบั ทราบเหตุดงั กล าว ไทยคมยินดี จะพิจารณาร วมกันดําเนินการเพื่อให เกิดประโยชน แก ทุกฝ ายต อไป ต อ มาไทยคมได มี ห นั ง สื อ ขอความเห็ น ชอบจากกระทรวงฯ ในการ จัดสร างและจัดส งดาวเทียมไทยคม 6 เพื่อเป นดาวเทียมสํารองเพิ่มเติม ของดาวเทียมไทยคม 3 และกระทรวงฯ ก็ ได ให ความเห็นชอบให ไทยคมจัด สร างและจัดส งดาวเทียมไทยคม 6 สําหรับดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) นั้น กระทรวงฯ อยู ในระหว างการพิจารณา และไทยคมได ดําเนินการ ติดตามประสานงานกับกระทรวงฯ อย างต อเนื่อง


รายงานประจําป 2555

3.1.10.2 ข อกําหนดเกี่ยวกับการประกันภัย จากการที่ดาวเทียมไทยคม 3 ได รับความเสียหายนั้น ไทยคมได รับ ค าสินไหมทดแทนประมาณ 33.0 ล านดอลลาร สหรัฐฯ ซึ่งไทยคมได นํา ฝากเงินจํานวนดังกล าวไว ในบัญชีรักษาทรัพย สิน (Escrow Account) ซึ่งอยู นอกประเทศไทย และไทยคมได ใช เงินค าสินไหมทดแทนทั้งจํานวน เพื่อเป นค าใช จ ายบางส วน สําหรับการก อสร างและการจัดส งดาวเทียม ไทยคม 5 และสําหรับการเช าช องสัญญาณจากดาวเทียมอื่นเป นการ ชั่ ว คราว อย า งไรก็ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ วิ ธี ก ารงบประมาณ พ.ศ. 2502 กําหนดว าบรรดาเงินที่หน วยงานราชการได รับจะต องนําส งให แก กระทรวงการคลัง เนื่องจากตามกรมธรรม ประกันภัย กระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (กระทรวงฯ) เป นผูร บั ผลประโยชน ร วมกับไทยคม จึงมีข อสงสัยว าการนําฝากเงินค าสินไหมทดแทนไว ใน บัญชีรักษาทรัพย สิน (Escrow Account) ซึ่งอยู นอกประเทศไทย อาจ เป นการปฏิบัติที่ไม เป นไปตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติวิธีการ งบประมาณ พ.ศ. 2502 กระทรวงฯ ได ขอให คณะกรรมการกฤษฎีกา พิจารณาให ความเห็นในเรื่องนี้ ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกาได แจ งว า เนื่องจากประเด็นที่กระทรวงฯ ขอหารือมานั้นเป นเรื่องที่อยู ในระหว าง การพิจารณาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูด าํ รงตําแหน งทางการ เมื อ งที่ อั ย การสู ง สุ ด เป น โจทก ยื่ น ฟ อ ง พ.ต.ท.ดร.ทั ก ษิ ณ ชิ น วั ต ร คณะกรรมการกฤษฎีกาจึงไม ให ความเห็นและไม รับไว พิจารณา หลังจากที่ศาลฎีกาฯ ได มีคําตัดสินเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2553 ว า การอนุมัติให ไทยคมนําเงินค าสินไหมทดแทนความเสียหายของ ดาวเทียมไทยคม 3 บางส วนจํานวน 6.7 ล านดอลลาร สหรัฐฯ ไปเช า ช องสัญญาณดาวเทียมของต างประเทศมาให บริการก อนมีการจัด สร างดาวเทียมไทยคม 5 นั้นเป นการกระทําที่ไม ชอบ กระทรวงฯ ได เสนอเรือ่ งนีใ้ ห คณะกรรมการประสานงานฯ พิจารณา ซึง่ คณะกรรมการ ประสานงานฯ ได มีความเห็นว า กระทรวงฯ ควรแจ งให ไทยคมส งคืนเงิน จํานวน 6.7 ล านดอลลาร สหรัฐฯ ที่ไทยคมนําไปใช เช าช องสัญญาณ ดาวเทียมของต างประเทศมาให บริการให กระทรวงฯ และหากไทยคม ประสงค จะได รับเงินจํานวนดังกล าวเพื่อนําไปใช เป นส วนหนึ่งของค าจัด สร างและจัดส งดาวเทียมไทยคม 5 ซึ่งมาทดแทนดาวเทียมไทยคม 3 ที่ เสียหายจนไม สามารถใช งานได และปลดระวางไปแล ว ก็ให ไทยคมทําเรือ่ ง เข ามาที่กระทรวงฯ เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 กระทรวงฯ ได ส งหนังสือถึงไทยคม ให ไทยคม ปฏิบัติตามแนวทางตามความเห็นของคณะกรรมการประสานงานฯ ซึ่ง ไทยคมได มหี นังสือถึงกระทรวงเมือ่ วันที่ 14 มีนาคม 2554 ชีแ้ จงว าไทยคม ได ดาํ เนินการถูกต องตามทีก่ าํ หนดไว ในสัญญาและการดําเนินการของ ไทยคมได รบั การอนุมตั จิ ากกระทรวงก อนทุกครัง้ หากกระทรวงฯ เห็นว า ไทยคมกระทําการไม ชอบด วยสัญญาหรือกฎหมายในเรือ่ งใดขอให แจ งให ไทยคม โดยเมือ่ ไทยคมได รบั ทราบเหตุดงั กล าว ไทยคมยินดีจะพิจารณา ร วมกันดําเนินการเพือ่ ให เกิดประโยชน แก ทกุ ฝ ายต อไป ขณะนีเ้ รือ่ งอยูใ น ระหว างการพิจารณาของกระทรวงฯ และไทยคมได ดําเนินการติดตาม ประสานงานกับกระทรวงฯ อย างต อเนื่อง

069

รายละเอียดและขั้นตอนการดําเนินการของกระทรวงฯ ในเรื่องการลด สัดส วนการถือหุน ของ บมจ. ชิน คอร ปอเรชัน่ ในไทยคม จากไม นอ ยกว า ร อยละ 51 เป นไม น อยกว าร อยละ 40 ในข อ 3.1.9 เรื่องข อกําหนดเกี่ยว กับดาวเทียมสํารอง และข อกําหนดเกีย่ วกับการประกันภัยในข อ 3.1.10 ปรากฏภายใต หวั ข อ “การดําเนินการทีอ่ าจเกิดขึน้ จากหน วยงานของรัฐ อันเนื่องมาจากคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู ดํารง ตําแหน งทางการเมือง ในคดียึดทรัพย ของอดีตนายกรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 26 กุมภาพันธ 2553” 3.1.10.3 การดําเนินการที่อาจเกิดขึ้นจากหน วยงานของรัฐอันเนื่อง มาจากคําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู ดํารงตําแหน งทางการเมือง ในคดียดึ ทรัพย ของอดีตนายก รัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2553 คําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู ดํารงตําแหน งทางการ เมืองเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2553 มีส วนที่เกี่ยวข องกับไทยคมอยู บางประการ แต ในทุกประการนัน้ คําพิพากษาก็จาํ กัดผลอยูแ ต เฉพาะใน ประเด็นทีว่ า ทรัพย สนิ บางส วนของผูด าํ รงตําแหน งทางการเมืองนัน้ เป น ทรัพย สินที่ได มาโดยไม สมควร สืบเนื่องมาจากการปฏิบัติหน าที่หรือใช อํานาจในตําแหน งหน าทีเ่ ท านัน้ โดยคําพิพากษาของศาลฎีกามิได มกี าร วินิจฉัยถึงผลหรือความสมบูรณ หรือไม สมบูรณ ของของสิ่งต างๆ ที่ได เกิดขึ้นหรือได ดําเนินการไปแล วนั้น และมิได มีคําสั่งให ไทยคมหรือหน วย งานราชการที่เกี่ยวข องต องไปดําเนินการใดๆ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (กระทรวงฯ) ได แต งตั้ง คณะกรรมการสอบสวนข อเท็จจริงขึ้นมาเพื่อทําการพิจารณาว าจาก คําพิพากษาของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู ดํารงตําแหน งทางการ เมื อ ง ไทยคมได ก ระทํ า การอั น ไม เ ป น ไปตามสั ญ ญาดํ า เนิ น กิ จ การ ดาวเทียมสือ่ สารภายในประเทศหรือไม เพียงใด คณะกรรมการสอบสวน ข อเท็จจริงได มีความเห็นสรุปได ว า 1/ ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) ไม ใช ดาวเทียมสํารองของดาวเทียม ไทยคม 3 ดังนัน้ ไทยคมจะต องจัดให มดี าวเทียมสํารองของดาวเทียม ไทยคม 3 2/ ดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) มีคณ ุ สมบัตแิ ละวัตถุประสงค เพือ่ ให บริการต างประเทศเป นหลัก จึงไม ใช ดาวเทียมตามสัญญาดําเนิน กิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ 3/ การลดสัดส วนการถือหุ นของ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น ในไทยคม จากร อยละ 51 เป นไม น อยกว าร อยละ 40 นั้นไม ชอบ เพราะเป นการ แก ไขสัญญาดําเนินกิจการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศในสาระ สําคัญ ซึ่งจําเป นจะต องได รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี 4/ การอนุมัติให ไทยคมนําเงินค าสินไหมทดแทนความเสียหายของ ดาวเทียมไทยคม 3 บางส วน จํานวน 6.7 ล านดอลลาร สหรัฐฯ ไปเช าช องสัญญาณดาวเทียมของต างประเทศมาให บริการ ก อนมี การจัดสร างดาวเทียมไทยคม 5 นั้นเป นการกระทําที่ไม ชอบ


070

อินทัช

รัฐมนตรีว าการกระทรวงฯ ได มีคําสั่งให คณะกรรมการประสานงานฯ พิ จ ารณาความเห็ น ของคณะกรรมการสอบสวนข อ เท็ จ จริ ง ซึ่ ง คณะกรรมการประสานงานฯ พิจารณาความเห็นของคณะกรรมการ สอบสวนข อเท็จจริง ซึ่งคณะกรรมการประสานงานฯ โดยเสียงข าง มาก (ประกอบด วยผู แทนจากภาครัฐ) ก็เห็นด วยกับความเห็นของ คณะกรรมการสอบสวนข อเท็จจริงและมีข อเสนอว า 1/ กระทรวงฯ ควรแจ งให ไทยคมดําเนินการจัดให มดี าวเทียมสํารองของ ดาวเทียมไทยคม 3 ให เป นไปตามสัญญาดําเนินกิจการดาวเทียม สื่อสารภายในประเทศ 2/ กระทรวงฯ ควรเสนอคณะรัฐมนตรีให พจิ ารณาแนวทางดําเนินการ เรื่องดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) เพื่อให เกิดความเป นธรรม แก ทั้งไทยคมและกระทรวงฯ และให สอดคล องกับคําพิพากษาของ ศาลฎีกาฯ 3/ กระทรวงฯ ควรนําเสนอการแก ไขสัญญาดําเนินกิจการดาวเทียม สื่อสารภายในประเทศ เพื่อลดสัดส วนการถือหุ นของ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น ในไทยคมจากไม น อยกว าร อยละ 51 เป นไม น อยกว า ร อยละ 40 ให คณะรัฐมนตรีพิจารณา 4/ กระทรวงฯ ควรแจ งให ไทยคมส งคืนเงินจํานวน 6.7 ล านดอลลาร สหรัฐฯ ที่ไทยคมนําไปใช เช าช องสัญญาณดาวเทียมของต างประเทศ มาให บริการให กระทรวงฯ และหากไทยคมประสงค จะได รบั เงินจํานวน ดังกล าวเพือ่ นําไปใช เป นส วนหนึง่ ของค าจัดสร างและจัดส งดาวเทียม ไทยคม 5 ซึง่ มาทดแทนดาวเทียมไทยคม 3 ทีเ่ สียหายจนไม สามารถ ใช งานได และปลดระวางไปแล ว ก็ให ไทยคมทําเรือ่ งเข ามาทีก่ ระทรวงฯ คณะกรรมการประสานงานฯ ได เสนอความเห็นต อรัฐมนตรีว าการ กระทรวงฯ ไปตั้งแต วันที่ 7 กรกฎาคม 2553 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2554 กระทรวงฯ ได ส งหนังสือถึงไทยคม ให ไทยคม ปฏิบัติตามแนวทางตามความเห็นของคณะกรรมการประสานงานฯ ซึ่ง ไทยคมได มหี นังสือถึงกระทรวงเมือ่ วันที่ 14 มีนาคม 2554 ชีแ้ จงว าไทยคม ได ดาํ เนินการถูกต องตามทีก่ าํ หนดไว ในสัญญา และการดําเนินการของ ไทยคมได รบั การอนุมตั จิ ากกระทรวงก อนทุกครัง้ หากกระทรวงฯ เห็นว า ไทยคมกระทําการไม ชอบด วยสัญญาหรือกฎหมายในเรื่องใด ขอให แจ ง ไทยคม โดยเมือ่ ไทยคมได รบั ทราบเหตุดงั กล าว ไทยคมยินดีจะพิจารณา ร วมกันดําเนินการ เพื่อให เกิดประโยชน แก ทุกฝ ายต อไป อย างไรก็ตาม ไทยคมเชื่อว าสิ่งที่ไทยคมได ดําเนินการไปทั้งหมดก็เป น ไปตามหลักปฏิบัติภายใต กฎหมายหรือสัญญาที่มีอยู ด วยความสุจริต ส วนหน วยงานราชการที่เกี่ยวข องจะดําเนินการในเรื่องนี้ต อไปอย างไร หรือไม นั้น ขณะนี้ยังไม มีข อสรุปใดๆ มายังไทยคม แต ทีมงานกฎหมาย ของไทยคมได ศึกษาเรื่องนี้แล วและเห็นว าการดําเนินการใดๆ ต อไปของ ผูท เี่ กีย่ วข องในส วนทีอ่ าจจะมีผลกระทบต อไทยคมนัน้ จะต องเป นไปตาม กระบวนการทางสัญญา กฎหมาย และหลักความยุติธรรม มีขั้นมีตอน ไม สามารถดําเนินการใดๆ ไปโดยรวบรัดหรือกระทําโดยพลการแต เพียง ฝ ายเดียว ซึง่ ไทยคมมีสทิ ธิโดยชอบตามกฎหมายและสัญญาทีจ่ ะพิสจู น

ข อเท็จจริงและความสุจริตในส วนของตน อันจะเป นผลให เกิดความเป น ธรรมแก ผู สุจริตทุกฝ ายที่เกี่ยวข อง ขณะนี้อยู ในระหว างการพิจารณา ของกระทรวงฯ และหน วยราชอื่นที่เกี่ยวข อง อย างไรก็ตาม ไทยคมได ดําเนินการติดตามประสานงานกับกระทรวงฯ อย างต อเนื่อง 3.1.10.4 ความเสี่ยงจากคดีความที่ ไทยคมมิได เป นคู กรณีอาจส ง ผลให มีการเพิกถอนสัญญาอนุญาตให ดําเนินการธุรกิจ ดาวเทียม เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2550 นายสุพงษ ลิ้มธนากุล ได ยื่นฟ อง กทช. และกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ิอสาร (กระทรวงฯ) ต อศาล ปกครองกลาง โดยอ างเหตุเรือ่ งเจ าหน าทีร่ ฐั และหน วยงานทางปกครอง ละเลยต อการปฏิบัติหน าที่ในการตรวจสอบไทยคม ว าประกอบกิจการ โทรคมนาคมโดยฝ าฝ นกฎหมายหรือไม หลังจากที่มีการโอนขายหุ น ของ บมจ. ชิน คอร ปอเรชั่น ให แก ผู ถือหุ นรายใหม ศาลปกครองกลางได มี คํ า สั่ ง ลงวั น ที่ 28 เมษายน 2552 เรี ย กให ไทยคมเข ามาเป นผู ถูกฟ องคดีร วม โดยกําหนดให ไทยคมเป นผู ถูกฟ อง คดีที่ 4 และไทยคมได ยื่นคําให การแก คําฟ อง รวมทั้งพยานหลักฐานต อ ศาลปกครองกลางไปแล วเมื่อเดือนกรกฎาคม 2552 และเมื่อวันที่ 10 มิถนุ ายน 2554 ศาลปกครองกลางได ตดั สินคดีดงั กล าว โดยพิพากษา ให ยกฟ อง เนื่องจากไทยคมไม ใช คนต างด าวตามพระราชบัญญัติการ ประกอบธุรกิจของคนต างด าว พ.ศ. 2542 การทีก่ ระทรวงฯ ไม ได ยกเลิก สัญญาสัมปทานกับไทยคม ไม ถือว าเป นการละเลยไม ปฏิบัติหน าที่แต อย างใด ซึ่งนายสุพงษ ฯ ได ยื่นอุทธรณ คําพิพากษาศาลปกครองกลาง ต อศาลปกครองสูงสุด เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2554 ซึ่งไทยคมได ยื่นคํา แก อุทธรณ ต อศาลปกครองสูงสุดไปแล วเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2554 ที่ ผ านมา ขณะนีเ้ รือ่ งอยูใ นระหว างการดําเนินการของศาลปกครองสูงสุด 3.2 ความเสี่ยงจากธุรกิจบริการสื่อสารทางโทรศัพท 3.2.1 ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข องกับสถานการณ การตลาดและการแข งขัน ไทยคมประกอบธุรกิจให บริการสื่อสารทางโทรศัพท ในประเทศลาว ซึ่ง ป จจุบันผู ใช โทรศัพท ในประเทศยังมีจํานวนน อยเมื่อเทียบกับจํานวน ประชากรทั้งหมด ทําให ธุรกิจบริการสื่อสารทางโทรศัพท มีโอกาสที่จะ สร างฐานลูกค าเพิ่มขึ้นจากลูกค ารายใหม ๆ ประกอบกับประเทศลาว มีแนวโน มที่เศรษฐกิจจะขยายตัวอย างต อเนื่องในอนาคต ซึ่งเป นผลดี จากการเข ามาลงทุนของต างชาติ ธุรกิจสื่อสารและโทรคมนาคมจึงมี โอกาสที่จะได รับผลบวกจากการเติบโตของเศรษฐกิจของประเทศไป ด วย ส งผลให การแข งขันในธุรกิจให บริการสื่อสารทางโทรศัพท โดย เฉพาะตลาดโทรศัพท แบบเคลื่อนที่ในประเทศลาว มีแนวโน มที่จะแข งขัน กันรุนแรงมากขึ้น ซึ่งป จจุบันมีผู ให บริการระบบโทรศัพท เคลื่อนที่ใน ประเทศลาว จํานวน 4 ราย ธุรกิจให บริการสื่อสารทางโทรศัพท ช วงที่ผ านมาในประเทศลาว มีการ


รายงานประจําป 2555

พัฒนาเทคโนโลยีสอื่ สารอย างรวดเร็ว โดยมีการนําเทคโนโลยีทที่ นั สมัย และมีคุณภาพมาให บริการกับลูกค า ดังนั้นผู ประกอบการที่ไม สามารถ ตอบสนองต อการแข งขันได อย างรวดเร็ว อาจได รับผลกระทบทางลบ กับการประกอบธุรกิจ ไทยคมได ตระหนักถึงภาวะการแข งขันที่อาจรุนแรงมากขึ้น และได มุ ง พัฒนาขยายเครือข ายและพื้นที่การให บริการ รวมทั้งคุณภาพของการ ให บริการลูกค า ตลอดจนกลยุทธ ทางการตลาดใหม ๆ อย างต อเนื่อง เพื่อเตรียมพร อมกับสถานการณ การแข งขันในอนาคต

071

ดอกเบี้ยของทรัพย สินที่ส งมอบไม ครบในอัตราร อยละ 7.5 ต อป ของ มู ล ค า ทรั พ ย สิ น ที่ ส ง มอบไม ค รบนั บ จากวั น ที่ สํ า นั ก งานปลั ด สํ า นั ก นายกรัฐมนตรียนื่ ฟ องไอทีวี ซึง่ หากคณะอนุญาโตตุลาการมีวนิ จิ ฉัยให ไอทีวีต องรับภาระค าใช จ ายตามที่สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี เรียกร องและมีจํานวนเงินเกินกว าเงินสดหรือทรัพย สินเทียบเท าเงินสด จํานวน 1,130 ล านบาท ที่ปรากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 อาจทําให ไอทีวีประสบป ญหาทางการเงินได

3.2.2 ความเสี่ ย งที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การต อ สั ญ ญาเป น ผู ใ ห บ ริ ก าร โทรคมนาคมในประเทศลาว

4.2 ความเสี่ยงตามประกาศของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย เรื่อง การปรับปรุงแนวทางการดําเนินการกับบริษัทจดทะเบียนที่มีการ ดําเนินงานหรือฐานะการเงินที่เข าข ายอาจถูกเพิกถอน ฉบับวันที่ 26 มกราคม 2554

การประกอบธุรกิจให บริการสื่อสารทางโทรศัพท ในประเทศลาว จะ ครบกําหนดสัญญาในป พ.ศ. 2564 หากไทยคมไม สามารถเจรจาขอ ต อสัญญากับหน วยงานของรัฐบาลได เมื่อครบสัญญา ไทยคมจะต อง โอนหุ นส วนของไทยคมในกิจการร วมค าให แก รัฐบาลของลาวโดยไม คิด ค าตอบแทนใดๆ ซึ่งหากเกิดเหตุการณ ดังกล าวขึ้น ไทยคมจะสูญเสีย รายได จากการให บริการสื่อสารทางโทรศัพท ไป และย อมมีผลกระทบ กับผลการดําเนินงานของไทยคม อย างไรก็ตามไทยคมมีความเชื่อ มั่นว าด วยศักยภาพ ความพร อม และประสบการณ ในธุรกิจสื่อสาร โทรคมนาคมจะส งเสริมให ไทยคมสามารถต อสัญญาดําเนินการเป น ผู ให บริการสื่อสารทางโทรศัพท ในประเทศลาวต อไปได

จากเหตุการณ ในวันที่ 7 มีนาคม 2550 เป นต นมา เป นเหตุให ไอทีวี จําเป นต องหยุดดําเนินธุรกิจสถานีโทรทัศน ไอทีวี ซึง่ ทําให ไอทีวตี อ งขาด รายได จากการประกอบธุรกิจสถานีโทรทัศน ไป และเป นเหตุให นับแต วันที่ 9 มีนาคม 2550 เป นต นมา ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยได ประกาศให หุ นของไอทีวีเป นหลักทรัพย ที่เข าข ายอาจถูกเพิกถอนหลัก ทรัพย ตามข อบังคับตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย เรื่อง การเพิก ถอนหลักทรัพย จดทะเบียน พ.ศ. 2542 พร อมทั้งขึ้นเครื่องหมาย NC (Non-Compliance) และ SP (Suspension) ห ามซือ้ หรือขายหลักทรัพย ของไอทีวี จนกว าไอทีวีจะสามารถแก ไขฟื้นฟูกิจการเพื่อให เหตุแห งการ เพิกถอนหมดไป

4/ สายธุรกิจสื่อและโฆษณา

เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2552 ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยได ย าย หลักทรัพย ของไอทีวี ไปอยู หมวด NPG (Non-performing Group) จนกว าไอทีวีจะสามารถแก ไขผลการดําเนินงานให หลุดพ นจากเหตุแห ง การเพิกถอนได

4.1 ความเสีย่ งจากคดีความระหว างไอทีวกี บั สํานักงานปลัดสํานักนายก รัฐมนตรี (สปน) แม ว าไอทีวีจะได ปฏิบัติตามคําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการโดยสุจริต เป นไปตามข อกฎหมายและข อสัญญา ซึ่งถือว าคําชี้ขาดมีผลผูกพัน คู สัญญาทั้ง 2 ฝ ายโดยทันที แต หากไอทีวีแพ ในคดีพิพาทที่มีอยู กับ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ไอทีวีอาจมีภาระหนี้สินที่อาจจะ เกิดขึ้นจากกรณีของค าตอบแทนส วนต างงวดวันที่ 3 กรกฎาคม 2547 จนถึง 7 มีนาคม 2550 จํานวน 2,891 ล านบาท ดอกเบีย้ ของค าตอบแทน ส วนต าง ร อยละ15 คํานวณนับตั้งแต ศาลปกครองสูงสุดมีคําชี้ขาด วันที่ 14 ธันวาคม 2549 จนถึงวันที่ในงบการเงินสิ้นสุด ณ 31 ธันวาคม 2555 เป นเงินจํานวน 2,566 ล านบาท (ซึง่ ไอทีวีได ตงั้ สํารองภาระหนีส้ นิ อันอาจเกิดจากการแพ คดีไว ในบัญชีงบการเงินของไอทีวีแล วตั้งแต งบการเงินงวดไตรมาส ที่ 4 ป 2549 เป นต นมา) นอกจากนี้หากคณะอนุญาโตตุลาการมีคําวินิจฉัยให ไอทีวีต องชําระ ค าปรับจากการปรับผังรายการในป 2547 โดยคํานวณจากวันที่ 31 มกราคม 2547 จนถึงวันที่ 14 ธันวาคม 2549 ตามจํานวนที่สํานักงาน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเรียกร อง ซึง่ มีจาํ นวนสูงมากถึง 97,760 ล าน บาท รวมถึงมูลค าทรัพย สินที่ส งมอบไม ครบจํานวน 656 ล านบาทและ

เมือ่ วันที่ 19 มกราคม 2554 ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยได ประกาศ การปรับปรุงแนวทางการดําเนินการกับบริษทั จดทะเบียนทีม่ กี ารดําเนิน งานหรือฐานะการเงินที่เข าข ายอาจถูกเพิกถอน ประกาศมีผลบังคับ ใช ตั้งแต วันที่ 26 มกราคม 2554 โดยแนวทางดังกล าวได กําหนดระยะ เวลาให ไอทีวีดําเนินการแก ไขเหตุแห งการเพิกถอนภายในระยะเวลา 3 ป (กําหนด 3 ระยะๆ ละ 1 ป ) เริ่มตั้งแต วันที่ 10 มีนาคม 2554 ทั้งนี้ ไอทีวี สามารถยืน่ คําขอขยายระยะเวลาฟืน้ ฟูกจิ การได 1 ครัง้ ระยะเวลาไม เกิน 1 ป (กําหนดระยะเวลาสูงสุดในการฟื้นฟูกิจการไม เกิน 4 ป ) โดยไอทีวี ต องมีคุณสมบัติครบทุกข อ ดังนี้ 1/ มีส วนของผู ถือหุ น ไม ต่ํากว า 20 ล านบาท หรือมีกําไรจากการ ดําเนินธุรกิจหลัก 1 ป 2/ มีธุรกิจหลักดําเนินการอย างต อเนื่องชัดเจน 3/ มีแนวทางแก ไขเหตุเพิกถอนชัดเจน 4/ คุณสมบัติอื่นๆ ครบถ วน เช น ผู บริหารหรือผู มีอํานาจควบคุม ไม เป นบุคคลที่มีลักษณะต องห าม เป นต น


072

อินทัช

นอกจากนี้ ไอทีวียังมีคดีความที่ยังอยู ในกระบวนการพิจารณาของ อนุญาโตตุลาการ และอาจต องใช ระยะเวลานานจนกว ากระบวนการ ยุ ติ ธ รรมจะถึ ง ที่ สุ ด และผลของคดี ค วามดั ง กล า วอาจส ง ผลที่ เ ป น สาระสําคัญต อสถานะการเงินและการดําเนินธุรกิจต อไปในระยะยาว รวมถึงสถานะงบการเงินของไอทีวี ณ 31 ธันวาคม 2555 ไอทีวีมีส วน ของผู ถือหุ นติดลบอยู 4,321 ล านบาท อีกทั้งมีภาระค าใช จ ายทาง บัญชีในการสํารองเผื่อค าดอกเบี้ยอันอาจเกิดขึ้น ในกรณีที่ ไอทีวีแพ คดีในอัตราร อยละ 15 ต อป ของค าอนุญาตให ดําเนินการส วนต าง รวม 2,891 ล านบาท คิดเป นจํานวนเงินป ละประมาณ 434 ล านบาท หรือ ไตรมาสละประมาณ 109 ล านบาท ซึ่งตามเงื่อนไขในการดําเนิน การแก ไขเหตุแห งการเพิกถอนภายในระยะเวลา 3 ป ตามเกณฑ ข างต น ของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย ไอทีวีจะต องหาธุรกิจใหม ที่สร าง ผลกําไรสะสมได เพิ่มขึ้นอย างน อย 4,621 ล านบาทหรือหาวิธีอื่นใดเพื่อ ทําให ส วนของผู ถือหุ นในงบแสดงฐานะการเงินเป นบวกไม ต่ํากว า 300 ล านบาท และนอกจากนัน้ ไอทีวตี อ งสามารถทํากําไรจากการดําเนินงาน ในธุรกิจหลักไม น อยกว า 30 ล านบาทหรือมีกําไรสุทธิในงวด 466 ล าน บาท ในระยะเวลา 1 ป (ในกรณีที่ผลกําไรไม ต อเนื่อง) จึงจะพ นจากเหตุ แห งการเพิกถอนหลักทรัพย แห งประเทศไทย ทั้งนี้หากไอทีวี ไม สามารถดําเนินการแก ไขให มีคุณสมบัติตามแนวทาง ดังกล าวภายในระยะเวลาที่กําหนด ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยจะ เสนอคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย เพื่อพิจารณา อนุมตั กิ ารเพิกถอนหลักทรัพย ตอ ไป ซึง่ อาจจะทําให ไอทีวพ ี น สภาพจาก การเป นบริษัทจดทะเบียน และหลักทรัพย ของไอทีวี ไม สามารถทําการ ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยได อีกต อไป


รายงานประจําป 2555

การจัดการและการกํากับดูแลกิจการ โครงสร างองค กร

4 ''% 6' 'è-5 4 ''% 6'"5 6 +6%A ě =ĕ 7 B)4 7/ Ĕ6 1 B

4 ''% 6' 'è/6'

4 ''% 6'.''/6B)4 7 5 =B) 8 6'

'4 6 4 ''% 6' 'è/6'

4 ''% 6' + )&< Ę B)4C ' .'ĕ6 1 Ę '

4 ''% 6' 'è/6' +6%A.9I&

4 ''% 6' '+ .1

'4 6 4 ''% 6' 'è/6' .6& <' 8 .;I1C - 6B)4 <' 8 D/%Ĕ ''% 6' =ĕ17 +& 6'

A) 6 < 6' 'è-5 '+ .1 $6&D

"5 6 <' 8

'è/6' 6') <

5g 9

6'A è

A C C)&9 B)4.6'. A ,

5 ) < .5%"5 Ę

Compliance

8 ''%.5%"5 Ę

'5"&6 ' < )

/%6&

โครงสร างผู บริหารสี่รายแรก '4 6 4 ''% 6' 'è/6' 6&.% '4. Ę <g&4 5&

'4 6 4 ''% 6' 'è/6' .6& <' 8 .;I1C - 6B)4 <' 8 D/%Ĕ 6 ,<$ é .< ''%"5 <Ę

''% 6' =ĕ17 +& 6' 6&.% '4. Ę <g&4 5& }'5 -6 6'~

'1 ''% 6' =ĕ17 +& 6' .6& 6 6'A è B)4 5g 9 6&A1 " 61$8

=ĕ Ĕ+& ''% 6' =ĕ17 +& 6'16+<C. .Ĕ+ 6 'è/6' 6') < 6& 8%/Ę .8'è +é 5&

=ĕ Ĕ+& ''% 6' =ĕ17 +& 6'16+<C. .Ĕ+ 6 A) 6 < 6' 'è-5 B)4 '+ .1 $6&D 6&+è 5& 8 8+è &6 <)

073


074

อินทัช

โครงสร างการจัดการ 1) คณะกรรมการบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการบริษัทประกอบด วยกรรมการ ดังนี้ 1/ 2/ 3/ 4/ 5/ 6/ 7/ 8/

ชื่อ-นามสกุล ดร.วิรัช อภิเมธีธํารง นายวิทิต ลีนุตพงษ นายสมชาย ศุภธาดา นายชลาลักษณ บุนนาค นายประเสริฐ บุญสัมพันธ นายบุน สวอน ฟู นายบดินทร อัศวาณิชย นายสมประสงค บุญยะชัย

ตําแหน ง ประธานคณะกรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการที่ไม เป นผู บริหาร กรรมการที่ไม เป นผู บริหาร กรรมการบริหาร

วันที่ดํารงตําแหน ง 7 พฤศจิกายน 2544 16 ตุลาคม 2543 30 มิถุนายน 2549 14 สิงหาคม 2550 26 ธันวาคม 2554 26 กันยายน 2550 11 สิงหาคม 2553 25 เมษายน 2550

เลขานุการคณะกรรมการบริษัท : นายวิชัย กิตติวิทยากุล

2) หน าที่และความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริษัทมีหน าที่และความรับผิดชอบที่สําคัญ ดังนี้ / ต องปฏิบัติหน าที่ให เป นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และข อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผู ถือหุ นด วยความซื่อสัตย สุจริต และ ระมัดระวังรักษาผลประโยชน ของบริษัท / กําหนดวิสยั ทัศน นโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษทั และกํากับดูแลให ฝา ยบริหารดําเนินการให เป นไปตามนโยบายทีก่ าํ หนดไว อย าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค าสูงสุดให แก บริษัทและผู ถือหุ น / พิจารณาอนุมัติรายการที่สําคัญ เช น โครงการลงทุนธุรกิจใหม การซื้อขายทรัพย สิน ฯลฯ และการดําเนินการใดๆ ที่กฎหมายกําหนด / พิจารณาอนุมตั แิ ละ/หรือให ความเห็นชอบต อรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั และบริษทั ย อยให เป นไปตามประกาศ ข อกําหนด และแนวทางปฏิบตั ิ ที่เกี่ยวข องของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย / ประเมินผลงานของประธานคณะกรรมการบริหารและกรรมการบริหารอย างสม่ําเสมอและกําหนดค าตอบแทน / รับผิดชอบต อผลประกอบการและการปฏิบัติงานของฝ ายบริหาร โดยให มีความตั้งใจและความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน / จัดให มีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชีที่เชื่อถือได รวมทั้งดูแลให มีกระบวนการในการประเมินความเหมาะสมของการ ควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การบริหารจัดการความเสี่ยง การรายงานทางการเงินและการ ติดตามผล / ดูแลไม ให เกิดป ญหาความขัดแย งทางผลประโยชน ระหว างผู มีส วนได เสียของบริษัท / กํากับดูแลกิจการให มีการปฏิบัติงานอย างมีจริยธรรม / ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัท และประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกล าวเป นประจําอย างน อยป ละ 1 ครั้ง / รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูก บั รายงานของผูส อบบัญชีไว ในรายงานประจําป และครอบคลุม ในเรื่องสําคัญๆ ตามนโยบายเรื่องข อพึงปฏิบัติที่ดีสําหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย

3) กรรมการผู มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท กรรมการผู มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัทมีดังนี้ “นายบุน สวอน ฟู หรือ นายวิรัช อภิเมธีธํารง หรือ นายสมประสงค บุญยะชัย กรรมการสองใน สามคนนี้ลงลายมือชื่อร วมกัน และประทับตราสําคัญของบริษัท"


รายงานประจําป 2555

075

4) การสรรหาและแต งตั้งกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ มีหน าที่ในการสรรหากรรมการเพื่อเสนอให คณะกรรมการบริษัทอนุมัติและ/หรือเสนอขออนุมัติ แต งตั้งต อที่ประชุมผู ถือหุ น ในการสรรหาคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ อาจใช วิธีการให คณะกรรมการบริษัทเสนอชื่อเพื่อ คัดกรอง รวมทั้งใช ที่ปรึกษาภายนอกช วยคัดกรองผู ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ในการคัดเลือกกรรมการบริษัทนั้นจะพิจารณาความเหมาะสม ของโครงสร างคณะกรรมการบริษัท ความเชี่ยวชาญของคณะกรรมการบริษัท รวมถึงแนวทางในการดําเนินธุรกิจในอนาคต เพื่อพิจารณาว า คณะกรรมการบริษทั ยังขาดความเชีย่ วชาญในด านใด แล วจึงค อยคัดเลือกบุคคลทีม่ คี วามเหมาะสมทีส่ ดุ เสนอให คณะกรรมการบริษทั หรือทีป่ ระชุม ผู ถือหุ นพิจารณาแต งตั้ง (แล วแต กรณี) ตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดอยู ในข อบังคับของบริษัท (ผู ที่สนใจสามารถดูข อบังคับของบริษัทได ที่ www.intouchcompany.com) สรุปได ดังนี้ 1) ในการประชุมสามัญประจําป ทุกครั้ง กรรมการต องพ นจากตําแหน งตามวาระเป นจํานวน 1 ใน 3 ถ าจํานวนกรรมการที่จะแบ งออกให ตรงเป น 3 ส วนไม ได ก็ ให ออกโดยจํานวนที่ใกล ที่สุดกับส วน 1 ใน 3 โดยกรรมการที่จะต องออกจากตําแหน งในป แรกและป ที่ 2 ภายหลังจดทะเบียนบริษัท นัน้ ให ใช วธิ จี บั ฉลากกันว าผู ใดจะออก ส วนป หลังๆ ต อไป ให กรรมการทีอ่ ยูใ นตําแหน งนานทีส่ ดุ นัน้ เป นผูอ อกจากตําแหน ง และกรรมการทีอ่ อก ตามวาระนี้อาจถูกเลือกเข ามาดํารงตําแหน งใหม ก็ ได 2) ให ที่ประชุมผู ถือหุ นเลือกตั้งกรรมการตามหลักเกณฑ และวิธีการดังต อไปนี้ 2.1 ผู ถือหุ นคนหนึ่งมีคะแนนเสียงเท ากับจํานวนหุ นที่ถือ 2.2 ผู ถือหุ นแต ละคนจะใช คะแนนเสียงที่มีอยู ทั้งหมดตามข อ 2.1 เพื่อที่จะเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเป นกรรมการก็ ได ในกรณีที่ เลือกตั้งบุคคลหลายคนเป นกรรมการจะแบ งคะแนนเสียงให แก ผู ใดมากน อยเพียงใดไม ได 2.3 บุคคลซึ่งได รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป นผู ได รับการเลือกตั้งเป นกรรมการเท าจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้ง ในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได รับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท ากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งใน ครั้งนั้น ให ผู เป นประธานเป นผู ออกเสียงชี้ขาด 3) ในกรณีที่ตําแหน งกรรมการว างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากออกตามวาระ ให คณะกรรมการมีมติด วยคะแนนไม น อยกว า 3 ใน 4 ของกรรมการ ที่เหลืออยู เลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซึ่งมีคุณสมบัติและไม มีลักษณะต องห ามตามมาตรา 68 และ 75 แห งพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และกฎหมายที่เกี่ยวข องอื่นๆ เข าเป นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว นแต วาระของกรรมการจะเหลือ น อยกว า 2 เดือน ทั้งนี้บุคคลซึ่งเข าเป นกรรมการแทนดังกล าวจะอยู ในตําแหน งกรรมการได เพียงวาระที่ยังเหลืออยู ของกรรมการที่ตนแทน

5) นิยามของกรรมการอิสระ กรรมการอิสระ หมายถึง บุคคลทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ รบถ วนและมีความเป นอิสระตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั ได กาํ หนดไว ในนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ของบริษัท และสอดคล องกับหลักเกณฑ ของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนกล าวคือ 5.1) ถือหุ นไม เกินร อยละ 0.5 ของจํานวนหุ นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทย อย บริษัทร วม ผู ถือหุ นรายใหญ หรือผู มี อํานาจควบคุมของบริษัท ทั้งนี้ ให นับรวมการถือหุ นของผู ที่เกี่ยวข องของกรรมการอิสระรายนั้นๆ ด วย 5.2) ไม เป นหรือเคยเป นกรรมการทีม่ สี ว นร วมบริหารงาน ลูกจ าง พนักงาน ทีป่ รึกษาที่ได เงินเดือนประจํา หรือผูม อี าํ นาจควบคุมของบริษทั บริษทั ใหญ บริษัทย อย บริษัทร วม บริษัทย อยลําดับเดียวกัน ผู ถือหุ นรายใหญ หรือผู มีอํานาจควบคุมของบริษัท เว นแต จะได พ นจากการมีลักษณะ ดังกล าวมาแล วไม นอ ยกว า 2 ป กอ นวันที่ได รบั การแต งตัง้ เป นกรรมการอิสระ ทัง้ นี้ ลักษณะต องห ามดังกล าวไม รวมถึงกรณีทกี่ รรมการอิสระ เคยเป นข าราชการ หรือที่ปรึกษา ของส วนราชการซึ่งเป นผู ถือหุ นรายใหญ หรือผู มีอํานาจควบคุมของบริษัท 5.3) ไม เป นบุคคลที่มีความสัมพันธ ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เป น บิดามารดา คู สมรส พี่น องและบุตร รวมทัง้ คูส มรสของบุตรของผูบ ริหาร ผูถ อื หุน รายใหญ ผูม อี าํ นาจควบคุม หรือบุคคลทีจ่ ะได รบั การเสนอให เป นผูบ ริหารหรือผูม อี าํ นาจควบคุม ของบริษัทหรือบริษัทย อย 5.4) ไม มีหรือเคยมีความสัมพันธ ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทย อย บริษัทร วม ผู ถือหุ นรายใหญ หรือผู มีอํานาจควบคุมของบริษัท ใน ลักษณะทีอ่ าจเป นการขัดขวางการใช วจิ ารณญาณอย างอิสระของตน รวมทัง้ ไม เป นหรือเคยเป นผูถ อื หุน ทีม่ นี ยั หรือผูม อี าํ นาจควบคุมของผู ที่มีความสัมพันธ ทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทย อย บริษัทร วม ผู ถือหุ นรายใหญ หรือผู มีอํานาจควบคุมของบริษัท เว นแต จะได พ น จากการมีลักษณะดังกล าวมาแล วไม น อยกว า 2 ป ก อนวันที่ได รับการแต งตั้งเป นกรรมการอิสระ


076

5.5)

5.6)

5.7) 5.8) 5.9)

อินทัช

ความสัมพันธ ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทํารายการทางการค าที่กระทําเป นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช าหรือให เช า อสังหาริมทรัพย รายการเกี่ยวกับสินทรัพย หรือบริการ หรือการให หรือรับความช วยเหลือทางการเงิน ด วยการรับหรือให กู ยืม ค้ําประกัน การให สินทรัพย เป นหลักประกันหนี้สิน รวมถึงพฤติการณ อื่นทํานองเดียวกัน ซึ่งเป นผลให บริษัทหรือคู สัญญามีภาระหนี้ที่ต องชําระต ออีก ฝ ายหนึ่ง ตั้งแต ร อยละ 3 ของสินทรัพย ที่มีตัวตนสุทธิของบริษัทหรือตั้งแต 20 ล านบาทขึ้นไป แล วแต จํานวนใดจะต่ํากว า ทั้งนี้ การคํานวณ ภาระหนีด้ งั กล าวให เป นไปตามวิธกี ารคํานวณมูลค าของรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว าด วยหลักเกณฑ ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต ในการพิจารณาภาระหนี้ดังกล าว ให นับรวมภาระหนี้ที่เกิดขึ้นในระหว าง 1 ป ก อนวันที่มีความ สัมพันธ ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน ไม เป นหรือเคยเป นผู สอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทย อย บริษัทร วม ผู ถือหุ นรายใหญ หรือผู มีอํานาจควบคุมบริษัท และไม เป นผู ถือ หุน ทีม่ นี ยั ผูม อี าํ นาจควบคุม หรือหุน ส วนของสํานักงานสอบบัญชี ซึง่ มีผสู อบบัญชีของบริษทั บริษทั ใหญ บริษทั ย อย บริษทั ร วม ผูถ อื หุน ราย ใหญ หรือผู มีอํานาจควบคุมของบริษัทสังกัดอยู เว นแต จะได พ นจากการมีลักษณะดังกล าวมาแล วไม น อยกว า 2 ป ก อนวันที่ได รับการแต งตั้ง เป นกรรมการอิสระ ไม เป นหรือเคยเป นผู ให บริการทางวิชาชีพใดๆ ซึง่ รวมถึงการให บริการเป นทีป่ รึกษากฎหมายหรือทีป่ รึกษาทางการเงิน ซึง่ ได รบั ค าบริการเกิน กว า 2 ล านบาทต อป จากบริษัท บริษัทใหญ บริษัทย อย บริษัทร วม ผู ถือหุ นรายใหญ หรือผู มีอํานาจควบคุมของบริษัท และไม เป นผู ถือหุ นที่มี นัย ผู มีอํานาจควบคุมหรือหุ นส วนของผู ให บริการทางวิชาชีพนั้นด วย เว นแต จะได พ นจากการมีลักษณะดังกล าวมาแล วไม น อยกว า 2 ป ก อน วันที่ได รับการแต งตั้งเป นกรรมการอิสระ ไม เป นกรรมการที่ได รับการแต งตั้งขึ้นเพื่อเป นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู ถือหุ นรายใหญ หรือผู ถือหุ นซึ่งเป นผู ที่เกี่ยวข องกับผู ถือหุ น รายใหญ ไม ประกอบกิจการที่มีสภาพอย างเดียวกันและเป นการแข งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย อย หรือไม เป นหุ นส วนที่มีนัยในห างหุ น ส วน หรือเป นกรรมการที่มีส วนร วมบริหารงาน ลูกจ าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจํา หรือถือหุ นเกินร อยละ1 ของจํานวนหุ นที่มี สิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย างเดียวกันและเป นการแข งขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทย อย ไม มีลักษณะอื่นใดที่ทําให ไม สามารถให ความเห็นอย างเป นอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท

ภายหลังได รับการแต งตั้งเป นกรรมการอิสระที่มีลักษณะเป นไปตามข อ 5.1 ถึง 5.9 แล ว กรรมการอิสระอาจได รับมอบหมายจากคณะกรรมการ บริษัท ให ตัดสินใจในการดําเนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทย อย บริษัทร วม บริษทั ย อยลําดับเดียวกัน ผู ถือหุ นรายใหญ หรือผู มีอํานาจ ควบคุมของบริษัท โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค คณะ (Collective Decision) ได

6) คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษัท ได แต งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบตั้งแต 5 พฤษภาคม 2541 ประกอบด วยกรรมการอิสระจํานวน 3 ท าน และมีคุณสมบัติ ครบถ วนตามที่กําหนดโดยคณะกรรมการกํากับตลาดทุนและตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย ณ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด วยกรรมการ ดังต อไปนี้ ชื่อ-นามสกุล 1/ นายสมชาย ศุภธาดา 2/ นายวิทิต ลีนุตพงษ 3/ นายชลาลักษณ บุนนาค

ตําแหน ง ประธาน กรรมการ กรรมการ

นายสมชาย ศุภธาดา เป นผู ช วยศาสตราจารย และดํารงตําแหน งหัวหน าภาควิชาการบัญชี ประจําภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร และ การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เป นผู มีความรู มีประสบการณ การทํางานเป นที่ปรึกษาด านมาตรฐานการบัญชีมาเป นระยะเวลากว า 14 ป ซึ่งมีความสามารถอย างเพียงพอที่จะสอบทานความน าเชื่อถือของงบการเงินได นายวิทิต ลีนุตพงษ และนายชลาลักษณ บุนนาค เป นผู ที่มีความรู และประสบการณ ด านการบริหาร การเงินและการลงทุน คณะกรรมการตรวจสอบ มีหน าที่และความรับผิดชอบที่สําคัญ ดังนี้ / สอบทานให บริษัทมีรายงานทางการเงินถูกต องตามที่ควร ตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป และมีการเป ดเผยอย างเพียงพอ / สอบทานให บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล


รายงานประจําป 2555

077

/ สอบทานให บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว าด วยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ข อกําหนดของตลาดหลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวข องกับ ธุรกิจของบริษัท / พิจารณา คัดเลือก เสนอแต งตั้งบุคคลซึ่งมีความเป นอิสระเพื่อทําหน าที่เป นผู สอบบัญชีของบริษัท และเสนอค าตอบแทนของบุคคลดังกล าว รวมทั้งเข าร วมประชุมกับผู สอบบัญชีโดยไม มีฝ ายจัดการเข าร วมประชุมด วยอย างน อยป ละ 1 ครั้ง / สอบทานความเป นอิสระของผู สอบบัญชีและกําหนดนโยบายการรับบริการอื่นที่มิใช การสอบบัญชีจากสํานักงานสอบบัญชีเดียวกัน / พิจารณาทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการและเสนอขออนุมัติเปลี่ยนแปลงใดๆ ต อคณะกรรมการบริษัท / พิจารณาสอบทานรายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย งทางผลประโยชน ให เป นไปตามกฎหมายและข อกําหนดของ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน ทั้งนี้ เพื่อให มั่นใจว ารายการดังกล าวสมเหตุสมผลและเป นประโยชน สูงสุดต อบริษัท / สอบทานให บริษทั มีระบบการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล / พิจารณาความเป นอิสระของหน วยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนให ความเห็นชอบในการพิจารณาแต งตั้งโยกย าย เลิกจ างและการพิจารณา ผลการปฏิบัติงาน ความดีความชอบหัวหน าหน วยงานตรวจสอบภายใน / สอบทานและให ความเห็นต อแผนตรวจสอบภายใน การปฏิบัติงานของสํานักงานตรวจสอบภายใน และประสานงานกับผู สอบบัญชี / จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเป ดเผยไว ในรายงานประจําป ของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล าวต องลงนามโดยประธาน คณะกรรมการตรวจสอบและต องประกอบด วยข อมูลอย างน อยดังต อไปนี้ - ความเห็นเกี่ยวกับความถูกต อง ครบถ วน เป นที่เชื่อถือได ของรายงานทางการเงินของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว าด วยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ข อกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่ เกี่ยวข องกับธุรกิจของบริษัท - ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผู สอบบัญชี - ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย งทางผลประโยชน - จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและการเข าร วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต ละท าน - ความเห็นหรือข อสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบได รับจากการปฏิบัติหน าที่ตามกฎบัตร (Charter) - รายการอืน่ ทีเ่ ห็นว าผูถ อื หุน และผูล งทุนทัว่ ไปควรทราบภายใต ขอบเขตหน าทีแ่ ละความรับผิดชอบที่ได รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั / ดําเนินการตรวจสอบพฤติการณ อนั ควรสงสัยว ากรรมการ ผูจ ดั การหรือบุคคลซึง่ รับผิดชอบในการดําเนินงานของบริษทั ได กระทําความผิด ตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ซึง่ ผูส อบบัญชีได ตรวจพบและรายงานให ทราบ และให คณะกรรมการ ตรวจสอบรายงานผลการตรวจสอบในเบือ้ งต นให แก คณะกรรมการบริษทั สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย และ ผู สอบบัญชีทราบภายใน 30 วัน นับแต วันที่ได รับแจ งจากผู สอบบัญชี ทั้งนี้ พฤติการณ อันควรสงสัยที่ต องแจ งและวิธีการเพื่อให ได มาซึ่งข อเท็จ จริงเกี่ยวกับพฤติการณ ดังกล าว ให เป นไปตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด / ในการปฏิบัติหน าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีข อสงสัยว า มีรายการหรือการกระทําดังต อไปนี้ ซึ่งอาจมีผลกระทบอย างมี นัยสําคัญต อฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัท ให คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต อคณะกรรมการของบริษัทเพื่อดําเนินการ ปรับปรุงแก ไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร - รายการที่เกิดความขัดแย งทางผลประโยชน - การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพร องที่สําคัญในระบบควบคุมภายใน - การฝ าฝ นกฎหมายว าด วยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย ข อกําหนดของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยหรือกฎหมายที่เกี่ยวข องกับ ธุรกิจของบริษัท หากคณะกรรมการของบริษทั หรือผูบ ริหารไม ดาํ เนินการให มกี ารปรับปรุงแก ไขภายในเวลาตามทีก่ าํ หนด กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึง่ อาจรายงานว ามีรายการหรือการกระทํานั้นต อสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย หรือตลาดหลักทรัพย แห ง ประเทศไทย / รายงานผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบให คณะกรรมการบริษัททราบอย างน อย ป ละ 4 ครั้ง / ในการปฏิบัติงานตามขอบเขตอํานาจหน าที่ ให คณะกรรมการตรวจสอบมีอํานาจเชิญให ฝ ายจัดการ ผู บริหาร หรือพนักงานของบริษัท ที่เกี่ยวข องมาให ความเห็น ร วมประชุมหรือ ส งเอกสารตามที่เห็นว าเกี่ยวข องจําเป น / ให มีอํานาจว าจ างที่ปรึกษา หรือบุคคลภายนอกตามระเบียบของบริษัท มาให ความเห็นหรือคําปรึกษาในกรณีจําเป น / พิจารณาทบทวนขอบเขตและประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการตรวจสอบเป นประจําทุกป / พิจารณาทบทวนและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบและเสนอต อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ เปลี่ยนแปลงเป นประจําทุกป / ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายด วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ


078

อินทัช

ในป 2555 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมจํานวน 6 ครั้ง ได ปฏิบัติหน าที่ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย ซึ่งรายละเอียดการปฏิบัติ งานและความเห็นปรากฏอยู ในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ

7) คณะกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน คณะกรรมการพัฒนาความเป นผูน าํ และกําหนดค าตอบแทน ประกอบด วยกรรมการ 3 ท าน โดยกรรมการส วนใหญ เป นกรรมการที่ไม เป นผูบ ริหาร ณ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทนประกอบด วยกรรมการ ดังต อไปนี้ 1/ 2/ 3/ 4/

ชื่อ-นามสกุล นายบุน สวอน ฟู นายวิทิต ลีนุตพงษ นายสมประสงค บุญยะชัย นายประเสริฐ บุญสัมพันธ *

ตําแหน ง ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ

* ได รับการแต งตั้งเป นกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน มีผลตั้งแต 25 มกราคม 2556

คณะกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน มีหน าที่และความรับผิดชอบที่สําคัญ ดังนี้ / กําหนดค าตอบแทนทีจ่ าํ เป นและเหมาะสมทัง้ ทีเ่ ป นตัวเงินและมิใช ตวั เงิน เพือ่ จูงใจและรักษากรรมการ กรรมการชุดย อยและผูบ ริหารระดับสูงของ บริษัท ในแต ละป / จัดทําหลักเกณฑ และนโยบายในการกําหนดค าตอบแทนของคณะกรรมการบริษทั และผูบ ริหารระดับสูงเพือ่ เสนอให คณะกรรมการบริษทั พิจารณา อนุมัติและ/หรือนําเสนอต อที่ประชุมผู ถือหุ นอนุมัติตามแต กรณี / พิจารณาสอบทานและอนุมตั ผิ ลการดําเนินงานของบริษทั เพือ่ ใช ประกอบการพิจารณาอนุมตั จิ า ยเงินโบนัสประจําป ตามผลตัวชีว้ ดั การปฏิบตั ิ งานและพิจารณาปรับเพิ่มเงินเดือนประจําป / พิจารณาและอนุมัติโครงการค าตอบแทนระยะยาว และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข อง / พิจารณาและอนุมัติผลการประเมินการปฏิบัติงานเพื่อกําหนดเงินโบนัสประจําป และการปรับขึ้นเงินเดือนประจําป ให แก ประธานคณะกรรมการ บริหารของบริษัท และบริษัทย อย รวมทั้งบุคคลซึ่งรายงานขึ้นตรงต อประธานคณะกรรมการบริหารดังกล าว / พิจารณาและอนุมัติการจ ายเงินโบนัสประจําป ให กับกรรมการของบริษัท / รายงานนโยบายด านค าตอบแทนกรรมการ หลักการ/เหตุผลและวัตถุประสงค ของนโยบายเป ดเผยไว ในรายงานประจําป / ร วมกับประธานคณะกรรมการบริหารของบริษัท ประเมินและกําหนดผู สืบทอดตําแหน งประธานคณะกรรมการบริหารของบริษัทและบริษัท ย อย รวมทั้งบุคคลซึ่งรายงานขึ้นตรงต อประธานคณะกรรมการบริหารดังกล าว และรายงานแผนการสืบทอดตําแหน งของผู บริหารระดับสูงให คณะกรรมการบริษัทรับทราบเป นประจําทุกป / ร วมกับประธานคณะกรรมการบริหารของบริษัท จัดทํานโยบายแผนการสืบทอดตําแหน งสําหรับตําแหน งประธานคณะกรรมการบริหารของ บริษัทและบริษทั ย อย รวมทั้งบุคคลซึ่งรายงานขึ้นตรงต อประธานคณะกรรมการบริหารดังกล าว / ทําหน าที่ดูแลกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของประธานคณะกรรมการบริหารและผู บริหารระดับสูง / ว าจ างทีป่ รึกษาหรือบุคคลทีม่ คี วามเป นอิสระ เพือ่ ให ความเห็นหรือคําแนะนําตามความจําเป น โดยเฉพาะอย างยิง่ ในด านการพัฒนาความเป น ผู นํา / คณะกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทนรับผิดชอบต อคณะกรรมการบริษัทและมีหน าที่ให คําชี้แจงตอบคําถามใดๆ เกี่ยวกับค าตอบแทนในที่ประชุมผู ถือหุ น / พิจารณาทบทวนและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรและเสนอต อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติเปลี่ยนแปลง / รายงานผลการปฏิบัติงานที่สําคัญให คณะกรรมการบริษัทรับทราบเป นประจํา รวมทั้งประเด็นสําคัญต างๆ ที่คณะกรรมการบริษัทควร ได รับทราบ / มีอํานาจเชิญฝ ายจัดการ ผู บริหาร หรือบุคคลใดที่เกี่ยวข องของบริษัทมาให ความเห็น เข าร วมประชุมหรือให ข อมูลที่เกี่ยวข อง / ดําเนินการอื่นใดหรือตามอํานาจและความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายหน าที่ให เป นคราวๆ ไป


รายงานประจําป 2555

079

ในป 2555 คณะกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน ได ประชุมจํานวน 4 ครั้ง เพื่อทําหน าที่ตามที่ ได รับมอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัท

8) คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการประกอบไปด วยกรรมการ 4 ท าน โดยกรรมการส วนใหญ เป นกรรมการที่ไม เป นผู บริหาร ณ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ ประกอบด วยกรรมการ ดังต อไปนี้ 1/ 2/ 3/ 4/

ชื่อ-นามสกุล นายบุน สวอน ฟู นายวิทิต ลีนุตพงษ นายสมประสงค บุญยะชัย นายบดินทร อัศวาณิชย

ตําแหน ง ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ

คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ มีหน าที่และความรับผิดชอบที่สําคัญ ดังนี้ / พิจารณาทบทวนเกณฑ คุณสมบัติของบุคคลที่จะมาดํารงตําแหน งเป นกรรมการของบริษัท ซึ่งได กําหนดไว ในนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ของบริษัท เป นประจําทุกป / พิจารณาทบทวนและให คาํ เสนอแนะแก คณะกรรมการบริษทั เกีย่ วกับ ขนาด โครงสร าง องค ประกอบ วาระการดํารงตําแหน ง กระบวนการทํางาน และแนวปฏิบัติของคณะกรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการ / พิจารณาสรรรหา ประเมิน คัดเลือก บุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเข าดํารงตําแหน งเป นกรรมการบริษัท / พิจารณาบุคคลที่จะมาดํารงตําแหน งเป นกรรมการ ตามที่เสนอโดยผู ถือหุ นของบริษัท / พิจารณาเสนอบุคคลทีจ่ ะมาดํารงตําแหน งกรรมการบริษทั เพือ่ ให คณะกรรมการบริษทั พิจารณาเสนอขออนุมตั แิ ต งตัง้ ต อทีป่ ระชุมผูถ อื หุน หรือ ให คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติแต งตั้งเป นกรรมการบริษัทแทนตําแหน งที่ว างลงหรือเพิ่มตําแหน งกรรมการบริษัทใหม / พิจารณาเสนออนุมตั แิ ต งตัง้ บุคคลทีจ่ ะดํารงตําแหน งเป นกรรมการและประธานคณะอนุกรรมการใน คณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการ ชุดต างๆ ต อคณะกรรมการบริษัท / พิจารณาเสนอชื่อบุคคลของบริษัท ที่จะไปดํารงตําแหน งเป นกรรมการในบริษัทย อย บริษัทร วม และบริษัทร วมค าของบริษัท / พิจารณาทบทวนเกณฑ คุณสมบัติของกรรมการอิสระและเสนอขออนุมัติเปลี่ยนแปลงใดๆ ต อคณะกรรมการบริษัท / รับผิดชอบดูแลการปฐมนิเทศกรรมการใหม / พิจารณาทบทวนและให คําเสนอแนะแก คณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาความรู อย างต อเนื่องแก กรรมการบริษัท / ว าจ างที่ปรึกษาหรือบุคคลที่มีความเป นอิสระ เพื่อให ความเห็นหรือคําแนะนําตามความจําเป นตามระเบียบข อบังคับของบริษัท / ดูแลการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําป ของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการแต ละชุด (รวมทั้งประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของคณะ กรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ) และกรรมการแต ละคน ตลอดจนทําหน าที่สอบทานผลการประเมินของคณะอนุกรรมการแต ละชุดและ รายงานผลต อคณะกรรมการบริษัท / สนับสนุนและให คําแนะนําต อคณะกรรมการตรวจสอบในการพิจารณาทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการและเสนอขออนุมัติเปลี่ยนแปลง ใดๆ ต อคณะกรรมการบริษัท / พิจารณาสอบทานและเสนอต อคณะกรรมการบริษัท เกี่ยวกับการขอยกเว นการปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่เกี่ยวข องกับกรรมการบริษัทและ ผู บริหารระดับสูง / ร วมกับประธานคณะกรรมการบริษทั และประธานคณะกรรมการบริหารประเมินและกําหนดผูส บื ทอดตําแหน งประธานคณะกรรมการบริษทั และ กรรมการ และรายงานผลของแผนการสืบทอดตําแหน งให คณะกรรมการบริษัทเป นประจําทุกป / พิจารณาทบทวนและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรและเสนอต อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติเปลี่ยนแปลง / รายงานผลการปฏิบัติงานที่สําคัญให คณะกรรมการบริษัทรับทราบเป นประจํา รวมทั้งประเด็นสําคัญต างๆ ที่คณะกรรมการบริษัทควรได รับ ทราบ / ปฏิบัติหน าที่อื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายและตามที่กฎหมายกําหนด หรือตามความจําเป นและเหมาะสมเพื่อให มั่นใจว า คณะกรรมการบริษัทได ทําหน าที่เป นไปอย างมีประสิทธิผล มีการกํากับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งมีการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และจรรยาบรรณ อย างมีประสิทธิผล


080

อินทัช

ในป 2555 คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ ได ประชุมจํานวน 1 ครั้ง เพื่อทําหน าที่ตามที่ได รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

9) คณะกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร คณะกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กรประกอบด วยกรรมการหรือผู ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมจํานวน 7 ท าน ตามที่คณะกรรมการ บริษัทแต งตั้ง ณ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กรประกอบด วยกรรมการ ดังต อไปนี้ 1/ 2/ 3/ 4/ 5/ 6/ 7/ 8/

ชื่อ-นามสกุล นายบุน สวอน ฟู นายวิทิต ลีนุตพงษ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ * นายสมประสงค บุญยะชัย Mr. Yong Lum Sung นายวิกรม ศรีประทักษ ** นางศุภจี สุธรรมพันธุ นายวิเชียร เมฆตระการ **

ตําแหน ง ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

* ได รับการแต งตั้งเป นกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร มีผลตั้งแต 15 สิงหาคม 2555 ** ได ลาออกจากการเป นกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร มีผลตั้งแต 1 มกราคม 2556 และได แต งตั้ง นายวิเชียร เมฆตระการ เป นกรรมการทบทวน กลยุทธ และโครงสร างองค กรแทน มีผลตั้งแต 25 มกราคม 2556 คณะกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร มีหน าที่และความรับผิดชอบที่สําคัญ ดังนี้ / กําหนดทิศทางและกลยุทธ ของบริษัทและบริษัทในกลุ มร วมกับฝ ายบริหาร / สอบทานทิศทางกลยุทธ ของบริษัทในกลุ มแต ละบริษัทเป นประจําทุกป เพื่อใช จัดทําแผนธุรกิจประจําป สําหรับเสนอให คณะกรรมการบริษัท / สอบทานผลการปฏิบัติงานกลางป ของบริษัทในกลุ มแต ละบริษัทและพิจารณาเสนอขออนุมัติแก ไขเปลี่ยนแปลงทิศทางกลยุทธ ที่สําคัญ ตามความจําเป นต อคณะกรรมการบริษัท / ศึกษาการเคลื่อนเชิงกลยุทธ หรือแนวคิดธุรกิจใหม ตามที่คณะกรรมการบริหารของบริษัทในกลุ มเสนอ / กําหนดโครงสร างองค กร รวมทั้งกําหนดทรัพยากรต างๆ ที่จําเป นต องใช ในการสนับสนุนทิศทางและกลยุทธ ของบริษัท และบริษัทในกลุ ม / ประสานงานกับคณะกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน เพื่อให มั่นใจว าขอบเขตการทํางานสอดคล องกับทิศทางกลยุทธ ของกลุ มบริษัท / ดูแลและกําหนดนโยบายธุรกิจใหม สําหรับบริษัทและบริษัทในกลุ ม / แสวงหาและประเมินโอกาสในการลงทุนใหม ๆ สําหรับธุรกิจและก อให เกิดการผนึกกําลังภายในกลุ มบริษัท / ว าจ างที่ปรึกษาหรือบุคคลที่มีความเป นอิสระ เพื่อให ความเห็นหรือคําแนะนําตามความจําเป น / เข าร วมงานการประชุม งานแสดงนิทรรศการ หรือเข าเยี่ยมชมกิจการในต างประเทศ ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและธุรกิจที่เกี่ยวข อง เพื่อเรียนรู และ ติดตามความก าวหน าของเทคโนโลยี ผลิตภัณฑ หรือบริการใหม เป นระยะๆ / พิจารณาทบทวนและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรและเสนอต อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติเปลี่ยนแปลง / รายงานผลการปฏิบัติงานที่สําคัญให คณะกรรมการบริษัทรับทราบเป นประจํา รวมทั้งประเด็นสําคัญต างๆ ที่คณะกรรมการบริษัทควร ได รับทราบ / มีอํานาจเชิญฝ ายจัดการ ผู บริหาร หรือบุคคลใดที่เกี่ยวข องของบริษัท มาให ความเห็น เข าร วมประชุมหรือให ข อมูลที่เกี่ยวข อง / ดําเนินการอื่นใด หรือตามอํานาจและความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายหน าที่ให เป นคราวๆ ไป ในป 2555 คณะกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร ได ประชุมจํานวน 3 ครัง้ เพือ่ ทําหน าทีต่ ามที่ได รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั


รายงานประจําป 2555

081

10) คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร ประกอบด วยกรรมการทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละประสบการณ ตามหลักเกณฑ ทคี่ ณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการกําหนด และได รับอนุมัติการแต งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด วยกรรมการ ดังต อไปนี้ 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

ชื่อ-นามสกุล นายสมประสงค บุญยะชัย นางศุภจี สุธรรมพันธุ นายวิกรม ศรีประทักษ * นางสุวิมล แก วคูณ นายวิเชียร เมฆตระการ

ตําแหน ง ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

* ได ลาออกจากการเป นกรรมการบริหาร มีผลตั้งแต 1 มกราคม 2556

คณะกรรมการบริหาร มีหน าที่และความรับผิดชอบที่สําคัญ ดังนี้ / ให ขอ เสนอแนะเกีย่ วกับทิศทางกลยุทธ โครงสร างการบริหารงาน แผนธุรกิจและงบประมาณประจําป ของบริษทั ต อคณะกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กรเพื่อพิจารณา / บริหารธุรกิจของบริษัท ให บรรลุตามวัตถุประสงค และเป าหมายที่ได วางไว / กํากับและติดตามผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของบริษทั และบริษทั ในกลุม และรายงานผลการดําเนินงานและฐานะการเงินให แก กรรมการ บริษัทรับทราบเป นประจําทุกเดือน / แสวงหาและประเมินโอกาสในการลงทุนในธุรกิจใหม / พิจารณาและให ความเห็นแก คณะกรรมการบริษัทเกี่ยวกับนโยบายการจ ายเงินป นผลของบริษัท / พิจารณาสอบทานและอนุมัติรายการเกี่ยวกับการลงทุนและจําหน ายทรัพย สิน การบริหารทรัพยากรบุคคล การเงินและการบริหารเงิน การบริหารงานทั่วไป และรายการอื่นใด ที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัท ภายในขอบเขตอํานาจที่ได รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท / กํากับดูแลและบริหารเงินลงทุนของบริษัท รวมถึงพิจารณาให แนวทางในเรื่องที่สําคัญของบริษัทในกลุ มก อนที่จะมีการพิจารณาเรื่องดังกล าว ในคณะกรรมการบริหารของแต ละธุรกิจ / พิจารณาและให ความเห็นต อเรือ่ งทีต่ อ งผ านการอนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ยกเว นในกิจกรรมใดๆ ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ได มอบหมาย ให คณะอนุกรรมการชุดอื่นเป นผู ดําเนินการไว แล ว / พิจารณาและสอบทานการบริหารความเสี่ยงและระบบการควบคุมภายในของบริษัท / คณะกรรมการบริหารอาจมอบอํานาจช วงให ผู บริหารหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีอํานาจในการดําเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่อง ตามทีค่ ณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควรได การอนุมตั ริ ายการของคณะกรรมการบริหารและ/หรือการมอบอํานาจช วงต องไม เป นการ อนุมตั ริ ายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย งทางผลประโยชน หรือรายการทีค่ ณะกรรมการบริหารมีสว นได เสียตามทีก่ าํ หนด ในข อบังคับของบริษทั และประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน การอนุมตั ริ ายการใดๆ ต องเป นไปตามนโยบายและขัน้ ตอนตามทีก่ าํ หนด โดยคณะกรรมการบริษัทและหน วยงานกํากับดูแล / ว าจ างที่ปรึกษาหรือบุคคลที่มีความเป นอิสระ เพื่อให ความเห็นหรือคําแนะนําตามความจําเป น / มีอํานาจเชิญฝ ายจัดการ ผู บริหาร หรือบุคคลใดที่เกี่ยวข องของบริษัทมาให ความเห็น เข าร วมประชุมหรือให ข อมูลที่เกี่ยวข องตามที่จําเป น / รายงานผลการปฏิบตั งิ านทีส่ าํ คัญของคณะกรรมการบริหาร ให คณะกรรมการบริษทั รับทราบเป นประจําทุกไตรมาส ในวาระการรายงานของ ประธานคณะกรรมการบริหาร / ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของตนเองและประเมินความเพียงพอของกฎบัตรคณะกรรมการบริหารเป นประจําทุกป ซึง่ อาจทําพร อมกับการประเมิน ผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษทั และคณะอนุกรรมการชุดอืน่ โดยอยูภ ายใต การดูแลของคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ / ดําเนินการอื่นๆ ใด หรือ ตามอํานาจและความรับผิดชอบ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายหน าที่ให เป นคราวๆ ไป ในป 2555 คณะกรรมการบริหารได ประชุมจํานวน 18 ครั้ง เพื่อทําหน าที่ตามที่ได รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท


082

อินทัช

11) เลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัทได มีมติอนุมัติจัดตั้งสํานักเลขานุการบริษัทขึ้น เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2551 และป จจุบันมี นายวิชัย กิตติวิทยากุล ดํารง ตําแหน งเลขานุการบริษัท ซึ่งเป นผู มีประสบการณ และคุณสมบัติเหมาะสม มีความรู และความเข าใจลักษณะธุรกิจของบริษัท ตลอดจนมีความรู ทาง ด านกฎหมายและกฎระเบียบต างๆ ที่เกี่ยวข องกับธุรกิจของบริษัทเป นอย างดี ทั้งนี้ เลขานุการบริษัทจะรายงานตรงต อทั้งคณะกรรมการบริษัท คณะอนุกรรมการชุดต างๆ และฝ ายบริหาร โดยมีหน าที่และความรับผิดชอบใน เรื่องดังต อไปนี้ / ดูแลและจัดการเรื่องการประชุมคณะกรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการ / จัดประชุมผู ถือหุ นและจัดทํารายงานการประชุม / จัดเก็บเอกสารและรายงานที่เกี่ยวข อง / ดูแลให คณะกรรมการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข องกับธุรกิจของบริษัท / ดูแลและให คําปรึกษาเรื่องการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการบริษัท / ดูแลเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข องกับคณะกรรมการบริษัท ฝ ายบริหาร และผู ถือหุ น / ติดตามให มีการดําเนินการตามมติที่ประชุมของคณะกรรมการบริษัท มติที่ประชุมผู ถือหุ น / ดําเนินการอื่นๆ ตามที่พระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่4) พ.ศ. 2551 กฎหมาย และข อบังคับอื่นๆ ที่เกี่ยวข อง รวมทั้ง ประกาศและข อกําหนดของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน

12) ผู บริหาร ณ 31 ธันวาคม 2555 บริษัท มีผู บริหาร 4 รายแรก ตามคํานิยามของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน จํานวน 5 คน ดังนี้ นายสมประสงค บุญยะชัย นางศุภจี สุธรรมพันธุ นายเอนก พนาอภิชน นายวิชัย กิตติวิทยากุล นายคิมห สิริทวีชัย

ประธานคณะกรรมการบริหารและรักษาการกรรมการผู อํานวยการ ประธานกรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อโฆษณาและธุรกิจใหม รองกรรมการผู อํานวยการ สายงานการเงินและบัญชี ผู ช วยกรรมการผู อํานวยการอาวุโสส วนงานเลขานุการบริษัทและตรวจสอบภายใน ผู ช วยกรรมการผู อํานวยการอาวุโสส วนงานบริหารการลงทุน

13) ค าตอบแทนกรรมการและผู บริหารของบริษัท / ค าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ในการประชุมผู ถือหุ นสามัญประจําป 2555 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2555 ผู ถือหุ นได มีมติอนุมัติกําหนดค าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทและ คณะอนุกรรมการชุดต างๆ ในวงเงินไม เกิน 24 ล านบาท โดยค าตอบแทนคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย อยต างๆ ประกอบด วย ค าตอบแทนรายเดือน เบี้ยประชุม ค าตอบแทนรายป (โบนัส) ดังนี้ / ประธานคณะกรรมการบริษัท จะได รับค าตอบแทนรายเดือน เดือนละ 300,000 บาท และโบนัสประจําป เท านั้น และจะไม ได รับเบี้ยประชุมในการ ประชุมคณะกรรมการบริษัทอีก ในกรณีที่ประธานคณะกรรมการไปดํารงตําแหน งประธานกรรมการหรือกรรมการในคณะอนุกรรมการอื่น จะไม ได รับค าตอบแทนรายเดือนและเบี้ยประชุมใดๆ / กรรมการบริษัทจะได รับค าตอบแทนรายเดือน เดือนละ 75,000 บาท และโบนัสประจําป รวมทั้งได รับค าเบี้ยประชุมในการประชุมคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการอื่นๆ ครั้งละ 25,000 บาท / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ จะได รับค าตอบแทนรายเดือนเพิ่มอีก เดือนละ 25,000 บาท ประธานคณะอนุกรรมการอื่นๆ จะได รับ ค าตอบแทนรายเดือนเพิ่มอีก เดือนละ 10,000 บาท / กรรมการบริษัทที่เป นผู บริหารของบริษัท จะไม ได รับค าตอบแทนในฐานะกรรมการ


รายงานประจําป 2555

คณะกรรมการบริษัท ประธาน กรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ ประธาน กรรมการ คณะอนุกรรมการอื่นๆ ประธาน กรรมการ

ค าตอบแทนป 2555 (บาท) เบี้ยประชุม

รายเดือน

083

โบนัส

300,000 75,000

25,000

ü ü

25,000 -

25,000 25,000

ü ü

10,000 -

25,000 25,000

ü ü

บริษัทจ ายค าตอบแทนกรรมการและอนุกรรมการป 2555 จํานวนรวม 19,735,000 บาท (รวมเงินโบนัสค างจ าย ซึ่งจ ายจริงในเดือนกุมภาพันธ 2556 จํานวน 8,900,000 บาท) เพิ่มขึ้น 3,060,205 บาท หรือคิดเป นร อยละ 18.35 เมื่อเปรียบเทียบกับป 2554 ที่มีจํานวน 16,674,795 บาท โดยมีรายละเอียดการจ ายเป นรายบุคคล ดังนี้ รายชื่อ 1/ ดร.วิรัช อภิเมธีธํารง 2/ นายสมชาย ศุภธาดา 3/ นายวิทิต ลีนุตพงษ

4/ นายชลาลักษณ บุนนาค 5/ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ 6/ นายบุน สวอน ฟู

7/ นายบดินทร อัศวาณิชย อนุกรรมการ 8/ Mr. Yong Lum Sung รวม

ตําแหน ง ประธานคณะกรรมการบริษัท กรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ กรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน กรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษัท กรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร กรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ ประธานคณะกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน ประธานคณะกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร กรรมการบริษัท กรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ กรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร

* แจ งความประสงค ไม รับค าตอบแทนในฐานะกรรมการบริษัท มีผลตั้งแต 1 มกราคม 2554

หน วย : บาท ค าตอบแทนประจําป 2555 4,900,000 2,875,000 3,575,000

2,475,000 2,350,000 3,485,000

0* 75,000 19,735,000


084

อินทัช

/ ค าตอบแทนรวมของผู บริหาร ค าตอบแทนที่เป นตัวเงินของผู บริหาร ตามนิยามของสํานักงาน ก.ล.ต. รวมจํานวน 6 ราย เป นเงิน 68.74 ล านบาท ซึ่งประกอบด วยเงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ และผลตอบแทนอื่นๆ ของผู บริหารของบริษัท

14) ค าตอบแทนรวมของกรรมการและผู บริหารของบริษัทย อยที่เป นธุรกิจหลัก 14.1 บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) / ค าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท เอไอเอสจ ายค าตอบแทนกรรมการป 2555 จํานวนรวม 14,581,452 บาท (รวมเงินโบนัสค างจ าย ซึ่งจ ายจริงในเดือนกุมภาพันธ 2556 จํานวน 6,600,000 บาท) เพิ่มขึ้น 1,324,349 บาท หรือคิดเป นร อยละ 9.99 เมื่อเปรียบเทียบกับป 2554 ที่มีจํานวน 13,257,103 บาท โดยมีรายละเอียด การจ ายเป นรายบุคคล ดังนี้ รายชื่อ 1/ ดร.ไพบูลย ลิมปพยอม 2/ นายอวิรุทธ วงศ พุทธพิทักษ 3/ นางทัศนีย มโนรถ 4/ นายสุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์ 5/ นายอึ้ง ชิง-วาห 6/ นายมนต ชัย หนูสง * รวม

ตําแหน ง ประธานคณะกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ ประธานคณะกรรมการกําหนดค าตอบแทน กรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการกําหนดค าตอบแทน กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการบริษัท

หน วย : บาท ค าตอบแทนประจําป 2555 2,950,000 3,675,000 2,325,000 2,350,000 2,100,000 1,181,452 14,581,452

* ได รับการแต งตั้งเป นกรรมการบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จํากัด (มหาชน) มีผลตั้งแต 28 มีนาคม 2555

/ ค าตอบแทนรวมของผู บริหาร ค าตอบแทนทีเ่ ป นตัวเงินของผูบ ริหาร ตามนิยามของสํานักงาน ก.ล.ต. รวม 8 ราย เป นจํานวนเงิน 135.74 ล านบาท ซึง่ ประกอบด วยเงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพและผลตอบแทนอื่นๆ ของผู บริหารของเอไอเอส


รายงานประจําป 2555

085

14.2 บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) (ไทยคม) / ค าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ไทยคมจ ายค าตอบแทนกรรมการป 2555 จํานวนรวม 9,470,000 บาท (รวมเงินโบนัสค างจ าย ซึ่งจ ายจริงในเดือนกุมภาพันธ 2556 จํานวน 2,840,000 บาท) เพิ่มขึ้น 470,000 บาท หรือคิดเป นร อยละ 5.22 เมื่อเปรียบเทียบกับป 2554 ที่มีจํานวน 9,000,000 บาท โดยมีรายละเอียดการ จ ายเป นรายบุคคล ดังนี้ รายชื่อ 1/ นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา 2/ ศาสตราจารย หิรัญ รดีศรี 3/ นางชรินทร วงศ ภูธร

4/ นายสําเรียง เมฆเกรียงไกร

5/ Mr. Yong Lum Sung 6/ นายไชยยันต พึ่งเกียรติไพโรจน * รวม

ตําแหน ง ประธานคณะกรรมการบริษัท กรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา ประธานคณะกรรมการกําหนดค าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการบรรษัทภิบาลและสรรหา กรรมการกําหนดค าตอบแทน กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร กรรมการบริษัท

หน วย : บาท ค าตอบแทนประจําป 2555 2,200,000 1,850,000 1,805,000

1,500,000

1,385,000 730,000 9,470,000

* ได รับการแต งตั้งเป นกรรมการบริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) มีผลตั้งแต 29 มีนาคม 2555

/ ค าตอบแทนรวมของผู บริหาร ค าตอบแทนที่เป นตัวเงินของผู บริหาร ตามนิยามของสํานักงาน ก.ล.ต. รวม 7 ราย จํานวน 56.76 ล านบาท ซึ่งประกอบด วยเงินเดือน โบนัส และกองทุนสํารองเลี้ยงชีพและผลตอบแทนอื่นๆ ของผู บริหารของไทยคม


086

อินทัช

14.3 บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) (ไอทีวี) / ค าตอบแทนคณะกรรมการบริษัท ไอทีวีจ ายค าตอบแทนกรรมการป 2555 จํานวนรวม 4,8000,000 บาท เท ากับป 2554 โดยมีรายละเอียดการจ ายเป นรายบุคคล ดังนี้ รายชื่อ 1/ นายสมคิด หวังเชิดชูวงศ 2/ นายวิชกรพุฒิ รัตนวิเชียร 3/ นายณิทธิมน หัสดินทร ณ อยุธยา 4/ นายสุเมธี อินทร หนู 5/ นายสมบูรณ วงษ วานิช 6/ นางรัตนาพร นามมนตรี 7/ นายวุฒิพร เดี่ยวพานิช รวม

ตําแหน ง ประธานคณะกรรมการบริษัท กรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ เลขานุการคณะกรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท กรรมการบริษัท

หน วย : บาท ค าตอบแทนประจําป 2555 960,000 600,000 840,000 600,000 600,000 600,000 600,000 4,800,000

/ ค าตอบแทนของผู บริหารและผู รับจ างบริหารจัดการ เนื่องด วยไอทีวีไม ได ประกอบกิจการใดๆ จึงไม มีการจ ายค าตอบแทนผู บริหาร อย างไรก็ตาม ไอทีวีมีการจ ายค าตอบแทนให กับที่ปรึกษากฎหมาย ทนายความ บริหารจัดการงานบัญชี การเงิน และที่ปรึกษาทางการเงิน ในป 2555 รวมมูลค า 22.02 ล านบาท

การกํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance) นโยบายการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษทั เชือ่ มัน่ ว าการกํากับดูแลธุรกิจตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี (Good Corporate Governance) อันประกอบด วยกรรมการ และผู บริหารที่มีภาวะผู นํา วิสัยทัศน และความรับผิดชอบ มีโครงสร างการบริหารงานที่มีกลไกการควบคุมและการถ วงดุลอํานาจเพื่อให การบริหาร งานเป นไปอย างโปร งใส เป นธรรม สามารถตรวจสอบได คํานึงถึงสิทธิความเท าเทียมกันของผู ถือหุ นและความรับผิดชอบต อผู มีส วนได เสีย อันเป น รากฐานทีส่ าํ คัญต อการเจริญเติบโตทีย่ งั่ ยืนนัน้ จะช วยสามารถเพิม่ มูลค าและผลตอบแทนแก ผถู อื หุน ของบริษทั ได ในระยะยาว ตลอดจนเป นทีย่ อมรับ ของสังคมไทยและสร างความเชื่อมั่นให กับผู ที่เกี่ยวข อง คณะกรรมการบริษทั ได อนุมตั นิ โยบายการกํากับดูแลกิจการเป นลายลักษณ อกั ษร โดยมีหลักการและแนวปฏิบตั ทิ สี่ อดคล องกับหลักการการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย ซึ่งได ถือปฏิบัติมาตั้งแต วันที่ 13 พฤศจิกายน 2545 ซึ่งได ปรับปรุงล าสุดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2555 ทั้งนี้ได มีการสื่อสารให คณะกรรมการ ผู บริหาร และพนักงานของบริษัท ได รับทราบและถือปฏิบัติอย างต อเนื่อง


รายงานประจําป 2555

087

นโยบายดังกล าวแบ งออกเป น 5 หมวดครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้

คณะกรรมการ บริษัท

จรรยาบรรณ

การกํากับ ดูแลกิจการ

การเป ดเผย สารสนเทศ และความโปร งใส

สิทธิและ ความเท าเทียมกัน ของผู ถือหุ นและ บทบาทต อผู มีส วน ได เสีย

การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน

(ผู ที่สนใจสามารถศึกษาเพิ่มเติมและดาวน โหลดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ได ที่ www.intouchcompany.com) การปฏิบัติตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ในป 2555 คณะกรรมการบริษัทได นําแนวปฏิบัติต างๆ ของการกํากับดูแลกิจการมาใช ในการบริหารจัดการตามหน าที่ความรับผิดชอบที่ได รับ มอบหมาย รวมทั้งได ส งเสริมการกํากับดูแลกิจการที่สําคัญในหลายๆ ด านเพื่อประโยชน สูงสุดของบริษัทและผู ถือหุ น ทั้งนี้ มีรายละเอียดของ การปฏิบัติแบ งเป น 5 หมวด ดังนี้

หมวดที่ 1 คณะกรรมการบริษัท 1.1) องค ประกอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทประกอบด วยกรรมการที่มีความรู ความสามารถและประสบการณ ในสาขาต างๆ ของธุรกิจ ณ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการประกอบด วยกรรมการจํานวน 8 คน ดังนี้ / กรรมการอิสระ จํานวน 4 คน (ซึ่งคิดเป นสัดส วน 4 ใน 8 หรือร อยละ 50 ของจํานวนกรรมการทั้งคณะ) / กรรมการที่ไม เป นผู บริหาร จํานวน 3 คน / กรรมการที่เป นผู บริหาร จํานวน 1 คน ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัท (โดยคําแนะนําของคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ) จะพิจารณาทบทวนจํานวน องค ประกอบ และความ เชี่ยวชาญของคณะกรรมการบริษัทให มีความเหมาะสมและสอดคล องกับทิศทางและการดําเนินธุรกิจของบริษัทเป นประจําทุกป เพื่อให มั่นใจว า สามารถทําหน าที่พิจารณา ตัดสินใจใดๆ ได อย างรอบคอบ คํานึงถึงผลประโยชน ของบริษัทอย างสูงสุด คณะกรรมการบริษทั เชือ่ มัน่ ว า ด วยองค ประกอบ ประสบการณ และขนาดของคณะกรรมการบริษทั ดังกล าว มีความเหมาะสมและคล องตัว สามารถ ดูแลติดตามและบริหารงานต างๆ ของบริษัทในอนาคตได เป นอย างดี


088

อินทัช

1.2) การแยกตําแหน งประธานคณะกรรมการบริษัทและประธานคณะกรรมการบริหาร บริษัทถือเป นนโยบายสําคัญในการแบ งแยกตําแหน งประธานคณะกรรมการบริษัทและประธานคณะกรรมการบริหารไม ให เป นบุคคลเดียวกัน ประธานคณะกรรมการบริษทั เป นผูน าํ และมีหน าทีร่ บั ผิดชอบในการกํากับดูแลการปฏิบตั งิ านใดๆ ของคณะกรรมการบริษทั ประธานคณะกรรมการ บริหารมีหน าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการบริษัท ตามแผนธุรกิจ กลยุทธ และนโยบายของบริษัท ทั้งนี้เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2554 ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทได แต งตั้งให ดร.วิรัช อภิเมธีธํารง ประธานคณะกรรมการบริษัท เป นกรรมการผู มีอํานาจลงนาม ซึ่งมีผลให ดร.วิรัช ขาดคุณสมบัติเป นกรรมการอิสระตั้งแต นั้นมา 1.3) วาระการดํารงตําแหน ง นโยบายของบริษทั ป จจุบนั ได กาํ หนดให กรรมการแต ละท านมีวาระการดํารงตําแหน งของกรรมการแต ละคนตามข อบังคับของบริษทั โดยไม ได มกี าร จํากัดคุณสมบัติในเรื่องอายุของกรรมการและไม ได จํากัดจํานวนครั้งสูงสุดของกรรมการที่ถูกแต งตั้งกลับเข ามาเป นกรรมการใหม ไว สําหรับการดํารงตําแหน งของกรรมการอิสระ นัน้ คณะกรรมการบริษทั กําหนดเป นนโยบายว ากรรมการอิสระอาจขาดความเป นอิสระเมือ่ ได ปฏิบตั ิ งานเป นระยะเวลา 9 ป หรือ 3 วาระติดต อกัน ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทจะพิจารณาทบทวนขยายระยะเวลาได ครั้งละ 1 ป โดยในป 2555 ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทได มีมติอนุมัติให ขยายระยะเวลาการดํารงตําแหน งกรรมการอิสระของนายวิทิต ลีนุตพงษ ออกไปอีก 1 ป 1.4) อํานาจดําเนินการของบริษัท คณะกรรมการบริษัทได แยกอํานาจของคณะกรรมบริษัทและฝ ายบริหารอย างชัดเจน รวมทั้งได กําหนดตารางการใช อํานาจดําเนินการภายในของ บริษัท พร อมวงเงิน เพื่อกระจายอํานาจให ฝ ายบริหารระดับต างๆ สามารถปฏิบัติงาน และตัดสินใจในงานภายในบริษัทได อย างมีประสิทธิภาพ มีความคล องตัว และมีระบบการควบคุมที่เหมาะสม ซึ่งได แยกอํานาจดําเนินการภายในไว 4 ประเภท ดังนี้ 1/ 2/ 3/ 4/

การลงทุนและการจัดการ การบริหารทรัพยากรบุคคล การเงินและการบริหารเงิน การบริหารงานธุรการทั่วไปและค าใช จ าย

1.5) คณะอนุกรรมการ ณ 31 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการบริษัทได แต งตั้งคณะอนุกรรมการจํานวน 5 คณะ เพื่อทําหน าที่ช วยศึกษาในรายละเอียดและกลั่นกรองงาน และเพื่อแบ งเบาภาระของคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1/ 2/ 3/ 4/ 5/

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร คณะกรรมการบริหาร

ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการทั้ง 5 คณะมีนโยบายและกรอบการทํางานไว อย างชัดเจนเกี่ยวกับหน าที่และความรับผิดชอบ การดําเนินการประชุมและการ รายงานต อคณะกรรมการบริษัท ในป 2555 สมาชิกส วนใหญ ของคณะกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทน และคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแลกิจการ รวมถึงประธานคณะกรรมการของคณะอนุกรรมการอีก 2 ชุด ไม ได เป นกรรมการอิสระ ซึ่งไม สอดคล องกับหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของ ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย เนือ่ งจากคณะกรรมการบริษทั เห็นว าองค ประกอบของคณะอนุกรรมการทัง้ สองชุดดังกล าว มีความเหมาะสมกับ ธุรกิจและโครงสร างการควบคุมของบริษัทในป จจุบัน


รายงานประจําป 2555

089

1.6) การดํารงตําแหน งกรรมการในบริษัทอื่น ตามแนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยได กําหนดให กรรมการรายใดรายหนึ่ง ควรดํารงตําแหน งกรรมการ บริษัทจดทะเบียนไม เกิน 5 บริษัท อย างไรก็ตาม นโยบายบริษัท ป จจุบันไม ได จํากัดจํานวนบริษัทที่กรรมการแต ละคนดํารงตําแหน งไว เนื่องจากคณะกรรมการสรรหาและกํากับดูแล กิจการจะพิจารณาเสนอแต งตั้งบุคคลเข าดํารงตําแหน งกรรมการของบริษัท โดยพิจารณาถึงความรู ความสามารถ และมีเวลาอย างเพียงพอที่จะ ปฏิบัติหน าที่ให แก บริษัท 1.7) แผนการสืบทอดตําแหน งผู บริหารระดับสูง คณะกรรมการบริษทั ได เล็งเห็นถึงความจําเป นและความสําคัญของการสืบทอดตําแหน งของผูบ ริหารระดับสูงโดยเฉพาะอย างยิง่ ในตําแหน งประธาน คณะกรรมการบริหารของบริษัท โดยมอบหมายให คณะกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทนร วมกับประธานคณะกรรมการ บริหาร ดําเนินการจัดทําแผนการสืบทอดตําแหน งประธานคณะกรรมการบริหารและบุคคลซึ่งรายงานขึ้นตรงต อประธานคณะกรรมการบริหาร ในตําแหน งผูบ ริหารระดับสูง บริษทั ได จดั ทําแผนสืบทอดตําแหน งรองรับผูบ ริหารตัง้ แต ระดับผูอ าํ นวยการฝ ายขึน้ ไปโดยได ระบุตวั บุคคลทีจ่ ะทําหน าที่ แทน ในกรณีทยี่ งั ไม มตี วั บุคคลทีส่ ามารถรองรับได ทนั ทีได จดั ให มรี ะบบพัฒนาบุคลากรในลําดับรองลงมาเพือ่ เตรียมความพร อม รวมทัง้ สรรหาจาก ภายนอก ทั้งนี้ เพื่อรักษาความเชื่อมั่นให กับนักลงทุน องค กร ตลอดจนพนักงาน ว าในการดําเนินงานของบริษัทจะได รับการสานต ออย างทันท วงที 1.8) การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั ทีม่ ปี ระสิทธิผล (Board Effectiveness) ถือเป นป จจัยสําคัญต อความสําเร็จของบริษทั ดังนัน้ คณะกรรมการบริษทั จึงได กาํ หนด เป นนโยบายให มกี ารประเมินผลการปฏิบตั งิ านเป นประจําทุกป โดยมีวตั ถุประสงค สาํ คัญเพือ่ ช วยให คณะกรรมการบริษทั และกรรมการแต ละท านได สอบทานผลการปฏิบตั งิ านของตนเองในป ทผี่ า นมา ตลอดจนได ชว ยปรับปรุงในการทําหน าทีข่ องทัง้ คณะกรรมการบริษทั และกรรมการมีประสิทธิผล มากยิ่งขึ้น จึงได ทําการประเมินใน 2 รูปแบบ คือ / การประเมินผลการปฏิบตั งิ านตนเองของคณะกรรมการบริษทั โดยรวม ประกอบด วย 8 หัวข อ ได แก การกําหนดทิศทางและกลยุทธ (Strategic Direction) การติดตามผลการดําเนินงานและกํากับดูแลกิจการ (Monitoring and Supervision) ความรับผิดชอบต อหน าที่ (Accountability) การปฏิบตั งิ านเป นทีม (Teamwork) โครงสร างของคณะกรรมการบริษทั (Structure) นโยบายของคณะกรรมการบริษทั (Policy) การจัดเตรียม และดําเนินการประชุม (Meeting) และการอบรมและพัฒนาคณะกรรมการบริษัท (Training and Development) / การประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองของกรรมการรายบุคคล ประกอบด วย 8 หัวข อ ได แก ความคิดเชิงกลยุทธ และความเป นผู นํา (Strategic Thought and Leadership) การกํากับดูแลกิจการ (Corporate Governance) ความรู ความสามารถ (Competence) ความเป นอิสระ (Independence) ความพร อมในการเป นกรรมการ (Preparedness as a Director) คุณสมบัติ (Personal Attributes) ความตระหนักถึง ผู มีส วนได เสีย (Awareness of Stakeholders) และความคิดริเริ่ม (Innovation) ในป 2555 คณะกรรมการบริษัทได มีการประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งสองรูปแบบ แล วเห็นว า มีผลการปฏิบัติงานอยู ในเกณฑ ดี และเสนอให จัด กิจกรรมการพบปะระหว างผู บริหารระดับสูงกับคณะกรรมการบริษัทเพื่อสร างความคุ นเคย รวมทั้งจัดหาหลักสูตรที่ช วยเพิ่มพูนทักษะความรู ความเชี่ยวชาญให กับคณะกรรมการบริษัท 1.9) การพัฒนาความรู บริษทั ได จดั ทําคูม อื ให แก กรรมการบริษทั โดยได สรุปกฎหมาย หลักเกณฑ ข อบังคับทีเ่ กีย่ วข องกับกรรมการบริษทั เพือ่ ให กรรมการได รบั ทราบบทบาท หน าที่และแนวปฏิบัติในตําแหน งหน าที่กรรมการทั้งหมด สําหรับกรรมการที่ได รับแต งตั้งใหม บริษัทได จัดให มีการปฐมนิเทศและมอบหมายให บุคคล ไปรายงานข อมูลพืน้ ฐาน แนวปฏิบตั ติ า งๆ ของบริษทั รวมทัง้ ความรู ในด านธุรกิจของบริษทั ในกลุม นอกจากนีบ้ ริษทั ได สนับสนุนให กรรมการบริษทั ได เข าร วมสัมมนาและหลักสูตรอบรมต างๆ โดยเฉพาะทีจ่ ดั โดยสมาคมส งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) เพือ่ ประโยชน ตอ การปฏิบตั หิ น าที่


090

อินทัช

ในป 2555 บริษัทได จัดสัมมนาโดยเชิญวิทยากรจากภายนอกมาบรรยายเพื่อให ความรู เพิ่มเติมแก กรรมการบริษัทในเรื่องที่เป นประเด็นอุบัติใหม (Emerging Issues) และเรื่องที่เกี่ยวข องกับธุรกิจของบริษัทในกลุ ม รวมถึงการทําหน าที่ของคณะกรรมการ นอกจากนี้ ยังได จัดให มีการศึกษา ดูงานการดําเนินงานของ Singapore Telecommunication Limited (SingTel) ที่ประเทศสิงคโปร เพื่อเพิ่มวิสัยทัศน และความรู ในเชิงธุกิจ 1.10) การประชุมคณะกรรมการ กําหนดและวาระการประชุม คณะกรรมการบริษทั กําหนดให มปี ระชุมวาระปกติอย างน อย 7 ครัง้ ต อป และได กาํ หนดวันเวลาประชุมไว ลว งหน าตลอดทัง้ ป เพือ่ ให กรรมการจัดเวลา เข าร วมประชุมได ทุกครั้งเพื่อรักษาผลประโยชน ของบริษัท ทั้งนี้ อาจมีการประชุมวาระพิเศษเพิ่มตามความจําเป น ในการจัดประชุมคณะกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการบริษัทโดยการหารือร วมกับประธานคณะกรรมการบริหารจะเป นผู ดูแลให ความ เห็นชอบวาระการประชุม เลขานุการคณะกรรมการบริษัททําหน าที่จัดส งหนังสือเชิญประชุมพร อมระเบียบวาระการประชุมและเอกสารประกอบ การประชุมไปให กรรมการล วงหน าไม น อยกว า 7 วัน เพื่อให กรรมการได มีเวลาศึกษามาก อนล วงหน า ในการประชุมแต ละครัง้ จะใช เวลาประมาณ 2-3 ชัว่ โมง ประธานคณะกรรมการบริษทั จะทําหน าทีด่ แู ลและจัดสรรเวลาแต ละวาระให อย างเพียงพอสําหรับ กรรมการที่จะอภิปรายและการแสดงความคิดเห็นอย างเป นอิสระในประเด็นที่สําคัญ โดยคํานึงถึงผลประโยชน ของผู ถือหุ นและผู มีส วนเกี่ยวข อง อย างเป นธรรม รวมทั้งให ฝ ายบริหารที่เกี่ยวข องนําเสนอข อมูลประกอบการอภิปรายป ญหาสําคัญ เลขานุการคณะกรรมการบริษัทเข าร วมในการประชุมคณะกรรมการบริษัททุกครั้ง ทําหน าที่ให คําแนะนําด านกฎหมาย ขั้นตอน กฎเกณฑ ต างๆ ที่คณะกรรมการต องปฏิบัติ ดูแลประสานงานให มีการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ รวมทั้งทําหน าที่จดบันทึกและจัดทํารายงานการประชุม จัดเก็บรายงานการประชุมของคณะกรรมการบริษัทที่ผ านการรับรองจากคณะกรรมการบริษัทและเอกสารประกอบการประชุมเพื่อพร อมสําหรับ การตรวจสอบจากคณะกรรมการ ผู ถือหุ น และผู ที่เกี่ยวข อง รายละเอียดการเข าประชุมของกรรมการและอนุกรรมการชุดย อยต างๆ แต ละท านในป 2555 มีดังนี้ (จํานวนครั้งการเข าประชุม/จํานวนครั้งประชุมทั้งหมด)

ชื่อ-นามสกุล กรรมการป จจุบัน 1/ ดร.วิรัช อภิเมธีธํารง 2/ นายสมชาย ศุภธาดา 3/ นายวิทิต ลีนุตพงษ 4/ นายชลาลักษณ บุนนาค 5/ นายประเสริฐ บุญสัมพันธ 6/ นาย บุน สวอน ฟู 7/ นายบดินทร อัศวาณิชย 8/ นายสมประสงค บุญยะชัย อนุกรรมการ 9/ Mr. Yong Lum Sung

คณะกรรมการ การประชุม พัฒนาความ ทบทวน สามัญผู ถือ สรรหาและ เป นผู นําและ กลยุทธ และ หุ นประจําป คณะกรรม กํากับดูแล กําหนด โครงสร าง 2555 การบริษัท ตรวจสอบ กิจการ ค าตอบแทน องค กร บริหาร อื่น ๆ เข า เข า ไม เข า เข า เข า ไม เข า เข า เข า

9/9 9/9 8/9 9/9 8/9 8/9 8/9 9/9

6/6 6/6 6/6

1/1

1/1 1/1 1/1

4/4

3/3

1/1

4/4

2/2 * 3/3

1/1

4/4

3/3 3/3

18/18

1/1


รายงานประจําป 2555

ชื่อ-นามสกุล

091

คณะกรรมการ การประชุม พัฒนาความ ทบทวน สามัญผู ถือ สรรหาและ เป นผู นําและ กลยุทธ และ หุ นประจําป คณะกรรม กํากับดูแล กําหนด โครงสร าง 2555 การบริษัท ตรวจสอบ กิจการ ค าตอบแทน องค กร บริหาร อื่น ๆ

10/ นางสุวิมล แก วคูณ 11/ นายวิเชียร เมฆตระการ 12/ นางศุภจี สุธรรมพันธุ อนุกรรมการที่ลาออกในป 2555 13/ นายวิกรม ศรีประทักษ

3/3

17/18 17/18 17/18

2/3

15/18

* นายประเสริฐ บุญสัมพันธ ได รับการแต งตั้งเป นกรรมการทบทวนกลยุทธ และโครงสร างองค กร มีผลตั้งแต 15 สิงหาคม 2555

การประชุมของกรรมการที่ไม เป นผู บริหาร บริษัทได กําหนดให เฉพาะกรรมการที่ไม เป นผู บริหาร ได ประชุมระหว างกันเองเป นประจําอย างน อยป ละ 1 ครั้ง เพื่อให กรรมการที่ไม เป นผู บริหารได แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพิจารณาประเด็นต างๆ ทั้งที่เกี่ยวกับธุรกิจของบริษัท และเรื่องที่อยู ในความสนใจ 1.11) การเข าถึงสารสนเทศ กรรมการของบริษัท มีอิสระในการเข าถึงและติดต อสื่อสารกับฝ ายบริหาร และเลขานุการบริษัทได โดยตรงหากต องการข อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ผลการดําเนินงานของบริษัท และข อมูลอื่นๆ นอกเหนือจากที่ได รับจากการประชุมตามวาระปกติเป นประจําทุกไตรมาส นอกจากนี้ บริษทั ยังได จดั ทํารายงานการวิเคราะห หลักทรัพย ของบริษทั และบริษทั ในกลุม และบริษทั คูแ ข งทีอ่ ยูใ นอุตสาหกรรมเดียวกันให กบั กรรมการ บริษัทเพื่อที่จะได รับทราบถึงการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญอย างทันเวลาเป นประจําทุกเดือน 1.12) ค าตอบแทนกรรมการและผู บริหาร บริษัทได กําหนดนโยบายค าตอบแทนกรรมการและผู บริหารไว อย างชัดเจน และมีคณะกรรมการพัฒนาความเป นผู นําและกําหนดค าตอบแทนเป น ผู พิจารณากลั่นกรอง และเสนอค าตอบแทนของกรรมการในแต ละป ให คณะกรรมการบริษัทและผู ถือหุ นพิจารณาอนุมัติค าตอบแทนของกรรมการ และผู บริหารของบริษัทจะสอดคล องกับหน าที่ความรับผิดชอบ และเมื่อเปรียบเทียบค าตอบแทนกับอุตสาหกรรมเดียวกันแล ว ค าตอบแทนดังกล าว อยู ในระดับที่เหมาะสม และเพียงพอที่จะจูงใจและรักษากรรมการที่มีคุณภาพไว รายละเอียดค าตอบแทนเป ดเผยอยู ในหัวข อค าตอบแทนกรรมการ และผู บริหาร

หมวดที่ 2 สิทธิ ความเท าเทียมของผู ถือหุ นและบทบาทต อผู มีส วนได เสีย 2.1) สิทธิและความเท าเทียมของผู ถือหุ น บริษัทเคารพในสิทธิพื้นฐานและถือปฏิบัติต อผู ถือหุ นทุกรายอย างเท าเทียมกัน ไม ว าผู ถือหุ นนั้นจะเป นรายย อยหรือชาวต างชาติ นักลงทุนสถาบัน หรือผู ถือหุ นรายใหญ โดยผู ถือหุ นทุกรายมีสิทธิและความเท าเทียมกัน ดังนี้ 1/ สิทธิในการได รับใบหุ น โอนหุ น และสิทธิในการรับทราบข อมูล ผลการดําเนินงาน นโยบายการบริหารงาน อย างสม่ําเสมอและทันเวลา 2/ สิทธิในการรับส วนแบ งกําไรร วมกันอย างเท าเทียม 3/ สิทธิในการเข าร วมประชุมผูถ อื หุน แสดงความเห็น ให ขอ เสนอแนะ และร วมพิจารณาตัดสินใจในการเปลีย่ นแปลงทีส่ าํ คัญต างๆ เช น การแก ไข ข อบังคับบริษัท การแต งตั้งคณะกรรมการบริษัท การแต งตั้งผู สอบบัญชี การออกหุ นเพิ่มทุน


092

อินทัช

4/ สิทธิในการรับทราบข อมูลการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน 5/ สิทธิในการแต งตั้งกรรมการบริษัท 6/ สิทธิในการขายหุ นคืนให กับบริษัท เฉพาะกรณีที่ไม เห็นด วยกับมติของที่ประชุมผู ถือหุ นซึ่งแก ไขข อบังคับของบริษัท เกี่ยวกับสิทธิในการ ออกเสียงลงคะแนนและสิทธิในการรับเงินป นผล ซึ่งผู ถือหุ นเห็นว าตนไม ได รับความเป นธรรม ทัง้ นี้ ผูถ อื หุน ทุกรายยังได รบั สิทธิอย างเท าเทียมตามทีก่ าํ หนดไว ในข อบังคับบริษทั และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข องและเพือ่ เป นการให ความมัน่ ใจว า ผูถ อื หุน ทุกรายจะได สทิ ธิอย างเท าเทียมกัน บริษทั ได จดั ให มกี ระบวนการประชุมผูถ อื หุน ทีโ่ ปร งใสและมีประสิทธิภาพ มีมาตรการดูแลการใช ข อมูลภายใน มีการควบคุมและดูแลการทํารายการระหว างกัน รวมทั้งมีการเป ดเผยข อมูลที่เพียงพอ นอกจากนี้แล ว บริษัทได เป ดโอกาสผู ให ถือหุ นส วนน อยสามารถเสนอวาระการประชุม เพื่อให ที่ประชุมผู ถือหุ นพิจารณาก อนวันประชุมผู ถือหุ น ประจําป รวมทั้งกําหนดวิธีการสําหรับให ผู ถือหุ นส วนน อยสามารถเสนอชื่อกรรมการบริษัทที่เป นตัวแทนผู ถือหุ น ซึ่งเป นไปตามหลักการ ที่ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยเสนอแนะและจะเป นประโยชน กับผู ถือหุ นอย างแท จริง การประชุมผู ถือหุ น คณะกรรมการบริษัทจัดให มีการประชุมผู ถือหุ นเป นการประชุมสามัญประจําป 1 ครั้ง ภายใน 4 เดือน นับแต วันสิ้นสุดรอบป บัญชีของบริษัท และ อาจเรียกประชุมวิสามัญผู ถือหุ นเป นกรณีไป หากมีความจําเป นเร งด วนต องเสนอวาระเป นกรณีพิเศษซึ่งเป นเรื่องที่กระทบต อผลประโยชน ของ ผู ถือหุ นหรือเกี่ยวกับข อบังคับตามกฎหมาย คณะกรรมการบริษทั มีนโยบายจัดประชุมผูถ อื หุน อย างมีประสิทธิภาพและโปร งใส มีขอ มูลให แก ผถู อื หุน เพือ่ ประกอบการตัดสินใจในแต ละวาระอย าง เพียงพอ ดําเนินการประชุมเป นไปตามแนวทางการประชุมผู ถือหุ นที่ดีและตามที่กฎหมายกําหนด เริ่มตั้งแต การเรียกประชุม การจัดส งหนังสือเชิญ ประชุมและแจ งวาระการประชุมพร อมความเห็นของคณะกรรมการบริษทั ล วงหน าตามกฎหมายกําหนดทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ขัน้ ตอนในการ ดําเนินการประชุม การจัดทําและส งรายงานการประชุม บริษัทเป ดเผยวาระการประชุมและเอกสารประกอบการประชุมไว ในเว็บไซต ของบริษัทล วงหน า เพื่อให ผู ถือหุ นสามารถเข าถึงและศึกษาได เป นการ ล วงหน า 30 วันก อนการประชุม โดยในป 2555 บริษัทได นําเอกสารประกอบการประชุมขึ้นเว็บไซต ของบริษัทในวันที่ 29 กุมภาพันธ 2555 และจัด ส งให ผู ถือหุ นในวันที่ 9 มีนาคม 2555 บริษัทได อํานวยความสะดวกแก ผู ถือหุ นทุกท านโดยนําระบบ Bar Code มาใช ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียงในที่ประชุม เพื่อให เกิดความ รวดเร็วและถูกต องทุกครั้งในการประชุม บริษัทได ถือปฏิบัติให มีการแถลงให ผู ถือหุ นได รับทราบสิทธิตามข อบังคับของบริษัท วิธีการในการดําเนิน การประชุม วิธกี ารใช สทิ ธิลงคะแนนและสิทธิในการแสดงความเห็นรวมทัง้ การตัง้ คําถามใดๆ ต อทีป่ ระชุมตามระเบียบวาระการประชุมและเรือ่ งทีเ่ สนอ ประธานคณะกรรมการบริษัท ประธานคณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการ ผู สอบบัญชีและผู บริหารได เข าร วมประชุมเพื่อให ข อมูล ตอบข อ ซักถามตามวาระต างๆ ทั้งนี้ ประธานที่ประชุมได จัดสรรเวลาให อย างเหมาะสม เพียงพอและส งเสริมให ผู ถือหุ นมีโอกาสแสดงความเห็นและซักถามใน ที่ประชุมอย างเท าเทียมกัน นอกจากนี้ การจัดประชุมทุกครั้งบริษัทมีนโยบายให มีการแต งตั้งกรรมการอิสระอย างน อย 1 คน เป นผู รับมอบฉันทะออกเสียงแทนผู ถือหุ น ที่ไม สะดวกเข าร วมประชุมและแจ งไว ในหนังสือนัดประชุม บริษัทกําหนดให จัดทํารายงานการประชุมผู ถือหุ นให แล วเสร็จภายใน 14 วันและมีรายละเอียดเพียงพอ รวมทั้งคําถามและคําตอบที่เกิดขึ้น ในทีป่ ระชุม สําหรับผูถ อื หุน ทีม่ ไิ ด มาร วมประชุมสามารถตรวจสอบรายงานการประชุมได จากเว็บไซต ของบริษทั หากผูถ อื หุน ต องการสอบถามข อมูล หรือต องการตั้งคําถามในการประชุมผู ถือหุ นล วงหน าสามารถส งคําถามมาที่เลขานุการบริษัท ในป 2555 บริษัทมีการประชุมสามัญผู ถือหุ นประจําป 2555 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2555 มีผู ถือหุ นที่เข าร วมประชุมด วยตนเองและผู ถือหุ น ที่เข าร วมประชุมโดยการรับมอบฉันทะ รวมทั้งสิ้นจํานวน 1,595 ราย หรือคิดเป นร อยละ 87.55 จากจํานวนหุ นที่จําหน ายได แล วทั้งหมด ทั้งนี้ มีผู ถือหุ นที่มอบฉันทะให กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระของบริษัทจํานวน 459 ราย คิดเป นร อยละ 84.21 ของจํานวนหุ นที่จําหน ายได แล ว ทั้งหมดของบริษัท ในการประชุมดังกล าวกรรมการบริษัทได เข าร วมประชุมทั้งคณะ ยกเว น นาย บุน สวอน ฟู และ นายวิทิต ลีนุตพงษ ทั้งนี้ รายงานการประชุมผู ถือหุ น ได เป ดเผยอยู ในเว็บไซต ของบริษัท www.intouchcompany.com


รายงานประจําป 2555

093

2.2) ผู มีส วนได เสีย 2.2.1) การดูแลสิทธิของผู มีส วนได เสีย บริษัทเคารพสิทธิของผู มีส วนได ส วนเสียต างๆ และได กําหนดเป น แนวปฏิบัติไว ในจรรยาบรรณ ตลอดจนนโยบายความรับผิดชอบสังคมและ สิ่งแวดล อม ของบริษัท เพื่อให เกิดความมั่นใจว าสิทธิตามกฎหมายที่เกี่ยวข องใดๆ ของผู มีส วนได ส วนเสีย ทั้งผู ถือหุ น พนักงาน ผู บริหาร ลูกค า คูค า เจ าหนี้ ตลอดจนสาธารณชนและสังคมจะได รบั การดูแล และได เสริมสร างความร วมมือกันระหว างผูม สี ว นได สว นเสียในกลุม ต างๆ ตามบทบาท และหน าที่ ทั้งนี้ เพื่อให กิจการของบริษัทดําเนินไปด วยดี มีความมั่นคงและตอบสนองผลประโยชน ที่เป นธรรมแก ทุกฝ าย

ผู ถือหุ น

พนักงาน

คู ค าและเจ าหนี้

อินทัช ลูกค า

สังคมและสิ่งแวดล อม

คู แข ง

ผู ถือหุ น พนักงาน

ลูกค า

บริษทั มุง มัน่ เป นตัวแทนทีด่ ขี องผูถ อื หุน ในการดําเนินธุรกิจเพือ่ สร างความพึงพอใจสูงสุดให กบั ผูถ อื หุน โดยคํานึงถึงการเจริญเติบโต ของมูลค าบริษัทในระยะยาว ด วยผลตอบแทนที่ดีและต อเนื่อง การดําเนินการเป ดเผยข อมูลอย างโปร งใสและเชื่อถือได ต อผู ถือหุ น พนักงานเป นทรัพยากรอันมีค าสูงสุดและเป นป จจัยสําคัญสู ความสําเร็จของบริษัท จึงได มุ งพัฒนาเสริมสร างวัฒนธรรมและ บรรยากาศการทํางานที่ดี รวมทั้งส งเสริมการทํางานเป นทีม ปฏิบัติต อพนักงานด วยความสุภาพและให ความเคารพต อความ เป นป จเจกชน การว าจ าง แต งตั้งและโยกย ายพนักงานจะพิจารณาบนพื้นฐานของคุณธรรมและการใช ทรัพยากรบุคคลให เกิด ประโยชน สูงสุดแก บริษัท บริษทั มีความรับผิดชอบในการดูแลรักษาสภาพแวดล อมการทํางานให มคี วามปลอดภัยต อชีวติ และทรัพย สนิ ของพนักงานอยูเ สมอ และยึดมั่นปฏิบัติตามกฎหมายว าด วยแรงงานอย างเคร งครัด บริษัทมีความมุ งมั่นในการสร างความพึงพอใจและความมั่นใจให กับลูกค าที่จะได รับผลิตภัณฑ และบริการที่ดีมีคุณภาพ ในระดับ ราคาที่เหมาะสม รวมทั้งรักษาสัมพันธภาพที่ดี จึงได กําหนดแนวทางปฏิบัติไว ดังต อไปนี้ สินค าและบริการ ผลิตสินค าและบริการที่มีคุณภาพ โดยมุ งมั่นที่จะยกระดับมาตรฐานให สูงขึ้นอย างต อเนื่องและจริงจัง เป ดเผยข าวสารข อมูล เกี่ยวกับสินค าและบริการอย างครบถ วน ถูกต อง และไม บิดเบือนข อเท็จจริง


094

อินทัช

การรักษาข อมูลของลูกค า กรรมการ ผู บริหาร และพนักงานทุกระดับจะไม เป ดเผยข อมูลของลูกค า โดยไม ได รับอนุญาตจากลูกค าหรือจากผู มีอํานาจของ กลุ มบริษัทก อน เว นแต เป นข อมูลที่ต องเป ดเผยต อบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข องตามบทบังคับของกฎหมาย คู แข ง บริษัทสนับสนุนและส งเสริมนโยบายการแข งขันทางการค าอย างเสรีและเป นธรรม ไม ผูกขาด หรือกําหนดให คู ค าต องขายสินค า ของบริษัทเท านั้น และไม มีนโยบายในการแข งขันทางการค าโดยใช วิธีการใดๆ ให ได มาซึ่งข อมูลของคู แข งขันอย างผิดกฎหมายและ ขัดต อจริยธรรม สังคมและ บริษทั ในฐานะเป นบริษทั ไทย ตระหนักและมีจติ สํานึกในบุญคุณของประเทศและเป นส วนหนึง่ ของสังคม ซึง่ ต องรับผิดชอบช วยเหลือ สิ่งแวดล อม สังคม สนับสนุนกิจกรรมของท องถิ่นที่บริษัทมีการดําเนินธุรกิจ บริษัทมีนโยบายผลิตสินค าและให บริการใดๆ ที่เป นมิตรต อสิ่งแวดล อมโดยคํานึงถึงการใช ทรัพยากรอย างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการปฏิบัติตามกฎหมายสิ่งแวดล อม ทั้งนี้บริษัทส งเสริมกิจกรรมการดูแลรักษาธรรมชาติและอนุรักษ พลังงาน และจัดให มีการให ความรู และฝ กอบรมพนักงานเกี่ยวกับสิ่งแวดล อม รวมทั้งมีนโยบายที่จะคัดเลือกและส งเสริมการใช ผลิตภัณฑ ที่เป นมิตร กับสิ่งแวดล อม คู ค าและเจ าหนี้ การดําเนินธุรกิจกับคู ค าใดๆ ต องไม นํามาซึ่งความเสื่อมเสียต อชื่อเสียงของบริษัท หรือขัดต อกฎหมายใดๆ มีการคํานึงถึงความ เสมอภาคในการดําเนินธุรกิจและผลประโยชน ร วมกันกับคู ค า การคัดเลือกคู ค าต องทําอย างยุติธรรม ทั้งนี้ บริษัทถือว าคู ค าเป น ป จจัยสําคัญในการร วมสร าง Value Chain ให กับลูกค า บริษัทยึดมั่นในสัญญาและถือปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต อเจ าหนี้เป นสําคัญ ในการชําระคืน เงินต น ดอกเบี้ย และการดูแลหลักประกัน ต างๆ 2.2.2) ช องทางในการติดต อคณะกรรมการและเลขานุการบริษัท ผูม สี ว นได เสียสามารถติดต อสือ่ สารในการแสดงความคิดเห็นต างๆ รวมถึง แจ งเบาะแสในกรณีทพ ี่ บเห็น หรือไม ได รบั ความเป นธรรมจากการกระทํา ที่ไม ชอบด วยกฎหมาย หรือจรรยาบรรณของบริษัท หรือร องเรียนในเรื่องที่อาจทําให เกิดความเสียหายต อบริษัท โดยสามารถแจ งเป นลายลักษณ อักษรส งมาที่ คณะกรรมการตรวจสอบหรือคณะกรรมการบริษัท ตามที่อยู ดังนี้ บริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ส วนงานเลขานุการบริษัท 414 ชั้น 13 อาคารอินทัช ถนนพหลโยธิน สามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 หรืออีเมลดังนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ อีเมล AuditCommittee@intouchcompany.com คณะกรรมการบริษัทผ านเลขานุการบริษัท อีเมล companysecretary@intouchcompany.com ทั้งนี้ ข อคําถาม /ข อร องเรียน / ข อเสนอแนะต างๆ จะส งต อให หน วยงานที่เกี่ยวข องดําเนินการ เพื่อให มีการแก ไข ปรับปรุง สรุปผล เพื่อรายงานต อ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทต อไป

หมวดที่ 3 การเป ดเผยสารสนเทศและความโปร งใส บริษทั ได ให ความสําคัญต อการเป ดเผยสารสนเทศทางการเงินและไม ใช การเงินต างๆ ของบริษทั และตระหนักดีวา สารสนเทศดังกล าวนัน้ มีผลกระทบ สําคัญต อการตัดสินใจของผูถ อื หุน นักลงทุน รวมทัง้ ผูม สี ว นได สว นเสีย เช น เจ าหนี้ คูค า ฯลฯ ดังนัน้ บริษทั ถือเป นนโยบายมาอย างต อเนือ่ งในอันที่ จะเป ดเผยสารสนเทศอย างถูกต อง เพียงพอ ทันเวลา โปร งใส และเท าเทียมกัน โดยเป ดเผยสารสนเทศผ านระบบของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย และเว็บไซต ของบริษัท ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และได ปรับปรุงให ทันสมัยเป นป จจุบันอย างสม่ําเสมอ ซึ่งประกอบด วยสารสนเทศที่สําคัญ เช น


รายงานประจําป 2555

/ / / / / / / / / /

095

โครงสร างการลงทุนของบริษัท โครงสร างองค กร ขอบเขต อํานาจ หน าที่ของคณะกรรมการบริษัทและคณะอนุกรรมการชุดย อยต างๆ ข อบังคับของบริษัท นโยบายการกํากับดูแลกิจการ รายงานประจําป / แบบแสดงรายการข อมูลประจําป (แบบ 56-1) ผลการดําเนินงานรวมถึงคําอธิบายและการวิเคราะห ของฝ ายบริหาร รายงานการประชุมและเอกสารประกอบการเข าร วมประชุมสามัญผู ถือหุ นประจําป เอกสารประกอบการนําเสนอข อมูลแก นักลงทุนและนักวิเคราะห กิจกรรมด านความรับผิดชอบต อสังคมที่สําคัญ

ทั้งนี้บริษัทได จัดทําและใช บังคับนโยบายการเป ดเผยสารสนเทศ เพื่อช วยให บริษัทสามารถปฏิบัติตามภาระหน าที่ในการรายงานสารสนเทศตามที่ กฎหมายกําหนดไว ตลอดจนช วยส งเสริมความเชื่อมั่นของผู ลงทุนเกี่ยวกับความเชื่อถือได และซื่อตรงของบริษัท บริษัทได จัดตั้งฝ ายนักลงทุนสัมพันธ (Investor Relations) ตั้งแต ป 2538 เพื่อทําหน าที่สื่อสาร ประชาสัมพันธ ข อมูลที่เป นประโยชน ให ผู ถือหุ นและ ชีแ้ จงกรณีทมี่ ขี า วลือหรือข าวสารใดที่ไม ถกู ต องตามข อเท็จจริงแก นกั ลงทุนผ านช องทางต างๆ เช น การประชุมร วมกับนักวิเคราะห การทํา Newsletter การเยี่ยมชมกิจการของนักลงทุนและนักวิเคราะห การตอบคําถามทางโทรศัพท และอีเมล การเผยแพร ผ านสื่อต างๆ และผ านเว็บไซต ของบริษัท และ ยังได จัดทํานโยบาย คู มือ สําหรับกิจกรรม นักลงทุนสัมพันธ ทั้งนี้ เพื่อให เกิดความมั่นใจว าได ปฏิบัติตามระเบียบ ข อบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวข อง อย างครบถ วน กิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ ที่ได จัดขึ้นอย างต อเนื่องในป 2555 ประกอบไปด วย / / / / / /

การเข าพบโดยนักลงทุนและนักวิเคราะห (55 ครั้ง) เข าร วมงานบริษัทจดทะเบียนพบปะนักลงทุน (Opportunity Day) 4 ครั้ง จัดทํา Newsletter รายงานผลการดําเนินงานของบริษัท รวมทั้งกิจกรรมทางสังคมต างๆ ให ผู ถือหุ นทราบ เป นประจําทุกไตรมาส Non-deal roadshow 10 ครั้ง ประชุมกับนักลงทุนสถาบันในประเทศ 3 ครั้ง Half Year Analyst Meeting ชี้แจงผลการดําเนินงาน แนวทางและกลยุทธ ในการดําเนินงานในรอบครึ่งป และตอบข อซักถาม

นอกจากนี้ ได มีการเป ดเผยสารสนเทศต างๆ บนเว็บไซต ของบริษัท เพื่อให ผู มีส วนได เสียกลุ มอื่นๆ ได รับรู ข อมูลอย างเท าเทียมและทั่วถึง ผูส นใจสามารถติดต อขอข อมูลต างๆ จาก นางสาวทมยันตี คงพูลศิลป สํานักนักลงทุนสัมพันธ ของบริษทั ได ทโี่ ทรศัพท หมายเลข (66) 2299 5050 หรือ ส งอีเมล: investor@intouchcompany.com หรือค นหาข อมูลได ที่ www.intouchcompany.com

หมวดที่ 4 การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน 4.1) การบริหารความเสี่ยง บริษทั ได กาํ หนดนโยบายให การบริหารความเสีย่ งเป นส วนหนึง่ ของการดําเนินธุรกิจของบริษทั ตัง้ แต ป 2545 และมีคณะกรรมการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Committee) และหน วยงานบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Unit) ทําหน าทีใ่ นการจัดทํานโยบาย วางระบบ และประเมิน ความเสีย่ งต างๆ ทัง้ ทีเ่ กิดจากป จจัยภายในและป จจัยภายนอก รวมทัง้ กําหนดแนวทางในการบริหารและจัดการความเสีย่ งให อยูใ นระดับทีย่ อมรับได เพื่อให การดําเนินธุรกิจสามารถเพิ่มมูลค าและผลตอบแทนแก ผู ถือหุ นของบริษัทในระยะยาว บริษัทได กําหนดให พนักงาน ผู บริหาร และทุกหน วยงานเป นเจ าของความเสี่ยงและมีความรับผิดชอบที่จะประเมิน บริหาร และจัดการความเสี่ยง ที่รับผิดชอบให มีระดับความเสี่ยงที่เหลืออยู ในระดับที่ยอมรับได (Acceptable Residual Risk) ตลอดจนมีการสื่อสาร จัดฝ กอบรม สัมมนา เชิงปฏิบัติการแก พนักงาน ให ตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารความเสี่ยง


096

อินทัช

นอกจากนี้ คณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการตรวจสอบ ยังทําหน าที่ในการติดตามการดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงเป นระยะๆ รวมถึงรายงานให คณะกรรมการบริษัทพิจารณาและรับทราบ 4.2) การควบคุมภายใน คณะกรรมการบริษัทและผู บริหารมีหน าที่และความรับผิดชอบโดยตรงในการจัดให มีและรักษาไว ซึ่งระบบควบคุมภายใน รวมทั้งดําเนินการทบทวน ความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมอย างสม่าํ เสมอ เพือ่ ปกป องเงินลงทุนของผูถ อื หุน และทรัพย สนิ ของบริษทั การควบคุมภายในจะครอบคลุม ถึงการควบคุมทางการเงิน การดําเนินงาน การกํากับดูแลการปฏิบัติงานให เป นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข อง และการบริหารความเสี่ยง ระบบการควบคุมภายในที่บริษัทได จัดไว อย างมีประสิทธิภาพ จะช วยให บริษัทมีความมั่นใจอย างสมเหตุสมผล (Reasonable Assurance) ที่จะ สามารถบรรลุวัตถุประสงค และเป าหมายที่วางไว ในเรื่อง ดังนี้ / / / / /

ระบบข อมูลและรายงานทางการเงินมีความถูกต อง เชื่อถือได ได มีการปฏิบัติตามกฎระเบียบ นโยบาย กระบวนการทํางานของบริษัท และกฎหมายที่เกี่ยวข อง ทรัพย สินของบริษัทมีอยู จริงและได มีการควบคุม ดูแล จัดเก็บ รักษา เป นอย างดี การดําเนินงานของบริษัทเป นไปอย างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการใช ทรัพยากรอย างประหยัด วัตถุประสงค กลยุทธ ของบริษัทได มีการบรรลุและดําเนินงานอย างมีประสิทธิผล

นอกจากนี้ การมีระบบควบคุมภายในที่ดีจะช วยให บริษัทรับทราบรายการผิดปกติและเป นสัญญาณเตือนภัยล วงหน า (Early Warning System) รวมทั้งช วยลดความเสี่ยงให อยู ในระดับที่ยอมรับได ระบบการควบคุมภายในที่บริษัทกําหนดขึ้นสอดคล องกับแนวทางการจัดระบบการควบคุมภายในที่กําหนดโดย The Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission (COSO) ซึ่งสามารถสรุปตามองค ประกอบของการควบคุมแต ละด านดังนี้ 1. ด านองค กรและสภาพแวดล อม (Organization & Control Environment) บริษัทได จัดให มีโครงสร างองค กรและสภาพแวดล อมที่ดีซึ่งเป นรากฐานที่สําคัญของการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผล โดยบริษัทมีการกําหนด วิสยั ทัศน เป าหมาย กลยุทธ งบประมาณ รวมทัง้ กําหนดหลักเกณฑ ในการวัดผลทีช่ ดั เจนในการดําเนินงาน และปรับโครงสร างองค กรให สอดคล อง กับแผนธุรกิจเป นประจําต อเนื่อง มีการปรับปรุงระบบการกํากับดูแลกิจการ สรรหาบุคลากรที่มีคุณภาพและพัฒนาอย างต อเนื่อง มีนโยบายและ ระเบียบในการปฏิบัติงานที่ครอบคลุมธุรกรรมทางด านการเงิน จัดซื้อ การบริหารความเสี่ยง และด านอื่นอย างครบถ วน บริษัทมีจรรยาบรรณที่เป นลายลักษณ อักษรเพื่อเป นแนวทางให กรรมการ ผู บริหาร พนักงานปฏิบัติงานอย างมีจริยธรรมและดูแลผู มีส วนได เสีย อย างเป นธรรม 2. ด านการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) บริษทั กําหนดให ทกุ หน วยงานประเมินและพิจารณาความเสีย่ งในการทําธุรกรรมต างๆ และบริษทั ได จดั ให มรี ะบบการบริหารความเสีย่ งในระดับองค กร ตั้งแต ป 2545 โดยมีหน วยงานบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและคณะกรรมการตรวจสอบทําหน าที่กํากับดูแล 3. ด านการควบคุมการปฏิบัติงานของผู บริหาร (Management Control) บริษัทได กําหนดให มีการแบ งแยกหน าที่งาน เพื่อให เกิดระบบการควบคุมระหว างกัน กําหนดอํานาจหน าที่ในการอนุมัติรายการและวงเงินเป น ลายลักษณ อักษร และได จัดทําแนวทางการดูแลรายการที่เกี่ยวโยงและรายการระหว างกันให เป นไปตามกฎหมาย 4. ด านระบบสารสนเทศและสื่อสารข อมูล (Information & Communication) บริษัทจัดให มีระบบข อมูลเพื่อการตัดสินอย างพอเพียงโดยมีหน วยงานที่รวบรวม วิเคราะห และจัดเก็บในระบบคลังข อมูลของบริษัท ระบบข อมูลใน องค กรมีการสือ่ สารทัง้ สองทางอย างมีประสิทธิภาพ ในระดับคณะกรรมการบริษทั ได มกี ารจัดเตรียมข อมูลและเอกสารอย างเพียงพอต อการตัดสินใจ


รายงานประจําป 2555

097

5. ด านระบบการติดตาม (Monitoring) บริษัทจัดให มีระบบการติดตามโดยผู บริหารและคณะกรรมการบริษัท เพื่อให การดําเนินงานเป นไปตามแผนที่วางไว และหน วยงานตรวจสอบภายใน ทําหน าที่ติดตามและประเมินผลระบบการควบคุมอย างอิสระและรายงานผลพร อมข อเสนอแนะให ฝ ายบริหารดําเนินการแก ไข ในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 2/2556 เมือ่ วันที่ 15 กุมภาพันธ 2556 ซึง่ มีคณะกรรมการตรวจสอบเข าร วมประชุมด วย คณะกรรมการ บริษทั ได ประเมินระบบการควบคุมภายในของบริษทั ตามแบบประเมินทีจ่ ดั ทําขึน้ โดยคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ทัง้ 5 ด าน คือ องค กรและสภาพ แวดล อม การบริหารความเสีย่ ง การควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝ ายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข อมูล และระบบการติดตาม แล วเห็นว า บริษทั มีระบบการควบคุมภายในทีด่ เี พียงพอและมีประสิทธิผล ทัง้ นี้ ไม พบข อบกพร องทีม่ สี าระสําคัญเกีย่ วกับระบบควบคุมภายใน นอกจากนี้ ยังได จัดให มรี ะบบการติดตามควบคุมดูแลการดําเนินงานของบริษทั และบริษทั ย อยทีเ่ พียงพอและมีประสิทธิผล ซึง่ ช วยให บริษทั สามารถป องกันทรัพย สนิ จากการที่กรรมการหรือผู บริหารนําไปใช โดยมิชอบหรือโดยไม มีอํานาจ นอกจากนี้ผู สอบบัญชีภายนอกของบริษัท คือ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด เป นผู ตรวจสอบงบการเงินประจํางวดบัญชี 2555 ได ให ความเห็นว าไม พบข อบกพร องที่มีสาระสําคัญเกี่ยวกับระบบควบคุมภายในทางด านบัญชีการเงินของบริษัท 4.3) การตรวจสอบภายใน บริษัทได จัดตั้งส วนงานตรวจสอบภายในเป นหน วยงานอิสระหน วยงานหนึ่งในบริษัท โดยมีสายการบังคับบัญชารายงานตรง (Functionally) ต อ คณะกรรมการตรวจสอบและรายงานด านการบริหาร (Administratively) ต อประธานคณะกรรมการบริหาร ส วนงานตรวจสอบภายในมีหน าที่ ในการให คําปรึกษาและตรวจสอบ ประเมินระบบควบคุมภายใน ระบบบริหารความเสี่ยงและการกํากับดูแลกิจการ เพื่อให แน ใจว าระบบการบริหาร ความเสี่ยง ระบบควบคุมภายในและกระบวนการกํากับดูแลกิจการของบริษัทและบริษัทย อย ได จัดให มีขึ้นอย างพอเพียง มีประสิทธิภาพตรงตาม วัตถุประสงค ที่วางไว ส วนงานตรวจสอบภายในของบริษทั ได จดั ทําแผนการตรวจสอบประจําป โดยพิจารณาตามป จจัยเสีย่ ง (Risk based Approach) ซึง่ จะเน นความ เสีย่ งสําคัญต างๆ ทีจ่ ะมีผลกระทบต อการบรรลุวตั ถุประสงค ของบริษทั และความถูกต องของรายงานทางการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา สอบทานและอนุมตั แิ ผนการตรวจสอบประจําป ดงั กล าว และติดตามผลการตรวจสอบและผลการปฏิบตั งิ านของส วนงานตรวจสอบภายในเป นรายไตรมาส ส วนงานตรวจสอบภายในของบริษทั ได อา งอิงมาตรฐานสากลการปฏิบตั งิ านวิชาชีพการตรวจสอบภายในของสมาคมผูต รวจสอบภายใน เป นกรอบ ในการปฏิบัติหน าที่ มีความเป นอิสระและความเที่ยงธรรม ตลอดจนได รับการสนับสนุนในด านทรัพยากรต างๆ ที่จําเป นอย างเพียงพอ ป จจุบัน พนักงานทุกคนของส วนงานตรวจสอบภายในจะได รับการอบรมเกี่ยวกับทักษะและวิธีการตรวจสอบที่จําเป นทั้งด านการตรวจสอบการ ดําเนินงาน การตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย การตรวจสอบด านการเงิน การตรวจสอบระบบสารสนเทศ ซึ่งจะทําให สามารถปฏิบัติหน าที่ ได อย างมีประสิทธิภาพ

หมวดที่ 5 จรรยาบรรณ บริษัทได จัดทําจรรยาบรรณ ซึ่งเป นส วนหนึ่งของนโยบายการกํากับดูแลกิจการเพื่อเป นแนวทางและข อพึงปฏิบัติที่ดีให กรรมการ ผู บริหาร ตลอดจนพนักงานทุกๆ คนของบริษัทได ยึดมั่นปฏิบัติงาน ดําเนินธุรกิจบริษัทอย างซื่อสัตย มีจริยธรรม ทั้งนี้ จรรยาบรรณของบริษัท มีเนื้อหา ครอบคลุมในเรื่อง ดังนี้ / ความรับผิดชอบต อผู ถือหุ น / การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข อบังคับ / ความรับผิดชอบต อลูกค า / กิจกรรมทางการเมือง / ความรับผิดชอบต อคู ค าและเจ าหนี้ / ความขัดแย งทางผลประโยชน / ความรับผิดชอบต อสังคมและสิ่งแวดล อม / การปกป อง ดูแลรักษาทรัพย สินของบริษัท / ความรับผิดชอบต อพนักงาน / ทรัพย สินทางป ญญา / สิทธิมนุษยชน / การใช ข อมูลภายในและการซื้อขายหลักทรัพย ของกลุ มบริษัท / การแข งขันทางการค ากับคู แข งขัน / การให ข อมูลข าวสาร หรือให สัมภาษณ ต อสื่อมวลชน หรือต อสาธารณชน / การต อต านคอร รัปชั่น / รายการระหว างกันในกลุ มบริษัท


098

อินทัช

กรรมการ ผูบ ริหารและพนักงานของบริษทั มีหน าทีต่ อ งปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณอย างเคร งครัด การละเลยหรือฝ าฝ นใด ๆ จะได รบั การลงโทษหรือ เลิกจ างตามลักษณะแห งความผิดตามควรแก กรณี นอกจากนีผ้ บู งั คับบัญชาทุกระดับชัน้ มีหน าทีส่ อดส องและส งเสริมให ผู ใต บงั คับบัญชาปฏิบตั ติ าม จรรยาบรรณที่กําหนดและประพฤติตนเป นแบบอย างที่ดี 5.1) Whistle-Blower Policy บริษัทได กําหนดนโยบายและขั้นตอนต างๆ รวมทั้งได จัดทํา Ethics Hotline เพื่อสนับสนุน ให พนักงาน ผู บริหาร และกรรมการสามารถรายงาน การพบเห็นการทุจริตหรือการปฏิบัติที่อาจขัดต อจรรยาบรรณต อผู บังคับบัญชา หรือฝ ายทรัพยากรบุคคล หรือส วนงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการจรรยาบรรณและคณะกรรมการตรวจสอบแล วแต กรณี ทั้งนี้ ผู ที่รายงานข อมูลดังกล าวจะได รับการปกป องดูแลจากบริษัทอย างดี โดยในป 2555 ไม มีการร องเรียนเกี่ยวกับการกระทําผิดและการทุจริตใดๆ มายังคณะกรรมการจรรยาบรรณและคณะกรรมการตรวจสอบ 5.2) ความขัดแย งทางผลประโยชน คณะกรรมการบริษัทมีนโยบายในการดูแลรายการที่อาจจะเกิดความขัดแย งทางผลประโยชน (Conflict of Interest) ของผู ที่เกี่ยวข องต างๆ อาทิ กรรมการ ผู บริหาร ผู ถือหุ นรายใหญ หรือพนักงาน อย างรอบคอบ ซื่อสัตย สุจริต เพื่อให มั่นใจการกระทําหรือตัดสินใจใดๆ ต องทําไปเพื่อ มุ งประโยชน สูงสุดของบริษัท ไม ใช เพื่อประโยชน ส วนตน ครอบครัว พวกพ องหรือบุคคลใกล ชิด และให เกิดความเป นธรรม โปร งใส รวมทั้งมีการ เป ดเผยข อมูลในเรือ่ งดังกล าวอย างครบถ วน เพียงพอ โดยได กาํ หนดไว เป นส วนหนึง่ ของนโยบายการกํากับดูแลกิจการในด านจรรยาบรรณของบริษทั บริษัทได จัดทําหลักเกณฑ และวิธีการรายงานส วนได เสียของกรรมการและผู บริหาร โดยได กําหนดให กรรมการและผู บริหารทุกคนต องรายงาน ส วนได เสียของตนรวมทั้งผู ที่เกี่ยวข อง ซึ่งสํานักเลขานุการบริษัทจะจัดทําสําเนารายงานเสนอให ประธานคณะกรรมการบริษัทและประธาน คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ และนําเสนอให คณะกรรมการบริษัทรับทราบในการประชุมครั้งถัดไป 5.3) การดูแลเรื่องการใช ข อมูลภายใน บริษทั มีนโยบายในการดูแลปกป องข อมูลภายในทีเ่ ป นความลับและมีสาระสําคัญทีย่ งั ไม ได เป ดเผยต อสาธารณชน เพือ่ ไม ให บคุ คลภายในและผูท ี่ไม มี อํานาจในการเข าถึงข อมูลนําข อมูลไปใช เพือ่ ประโยชน สว นตน โดยได จดั ทํานโยบายการดูแลรักษาความปลอดภัยของข อมูล เพือ่ จัดชัน้ ความลับของ ข อมูล ตลอดจนกําหนดผู มีอํานาจที่จะเข าถึงข อมูลที่เป นความลับ เฉพาะที่มีความจําเป นและเกี่ยวข องต องการใช ข อมูลเท านั้น บริษทั ยังมีนโยบายให กรรมการและผูบ ริหารต องรายงานข อมูลการซือ้ ขายหลักทรัพย ของบริษทั ให ทราบทุกครัง้ และห ามซือ้ ขายหลักทรัพย ของกลุม บริษทั โดยใช ขอ มูลภายในของบริษทั ทีม่ สี าระสําคัญและยังไม ได เป ดเผยต อสาธารณชน เพือ่ ประโยชน ตนเองและผูอ นื่ รวมทัง้ กําหนดไว ในจรรยาบรรณ ให กรรมการ ผู บริหาร และพนักงานหลีกเลี่ยงหรืองดการซื้อขายหลักทรัพย ของกลุ มบริษัทในช วง 1 เดือน ก อนการเป ดเผยข อมูลแก สาธารณชน ส วนงานเลขานุการบริษทั ยังได รายงานสถานะการถือครองและการเปลีย่ นแปลงในหลักทรัพย ของบริษทั ของกรรมการและผูบ ริหารให ประธานคณะ กรรมการบริษัทและประธานคณะกรรมการตรวจสอบรับทราบ และนําเสนอให คณะกรรมการบริษัทรับทราบในการประชุมครั้งถัดไป การกระทําฝ าฝ นใดๆ บริษัทถือเป นการปฏิบัติขัดกับนโยบายและจรรยาบรรณมีโทษทางวินยั อย างร ายแรงและยังมีความผิดตามมาตรา 241 และ 242 แห งพระราชบัญญัติหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551


รายงานประจําป 2555

099

5.4) การต อต านการคอร รัปชั่น บริษทั ต อต านการคอร รปั ชัน่ ทุกรูปแบบ โดยไม มนี โยบายเสนอเงิน สิง่ จูงใจ ของกํานัล สิทธิประโยชน พเิ ศษ ในรูปแบบใดๆ ไม วา ทางตรงหรือผ านบุคคล ที่สามแก ลูกค า คู ค าของบริษัท หน วยงานภายนอกหรือเจ าหน าที่ของรัฐเพื่อให ได มาหรือคงไว ซึ่งประโยชน หรือความได เปรียบทางธุรกิจ รวมทั้ง ไม มีนโยบายจ ายเงินรางวัลหรือการจ ายเงินอื่นใดเพื่อเร งการดําเนินการ หรืออํานวยความสะดวก ในป 2555 บริษัทได เข าร วมลงนามในคําประกาศเจตนารมณ แนวร วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต อต านการทุจริต โดยจะร วมมือกับ ภาคประชาสังคม สื่อมวลชน และองค กรระหว างประเทศ เพื่อสร างมาตรฐานการประกอบธุรกิจที่ใสสะอาด ทั้งนี้ บริษัทอยู ระหว างการจัดทํา นโยบายการต อต านการคอร รัปชั่น และจะยื่นขอรับประกาศนียบัตรรับรองฐานะสมาชิกร วมปฏิบัติจากคณะกรรมการแนวร วมปฏิบัติของ ภาคเอกชนไทยในการต อต านการทุจริตในป 2556


100

อินทัช

รายการระหว างกัน ในระหว างป 2555 กลุ มอินทัช มีรายการระหว างกันกับบริษัทที่เกี่ยวข องกัน โดยคิดราคาซื้อ/ขาย สินค าและบริการกับบริษัทที่เกี่ยวข องกันตาม ราคาที่เทียบเท ากับราคาที่คิดกับบุคคลภายนอก โดยมีเงื่อนไขต างๆ ตามปกติธุรกิจ ซึ่งรายการเกี่ยวกับกิจการที่เกี่ยวข องกันนี้ บริษัท ได เป ดเผย ไว ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข อ 4 ในงบการเงินประจําป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 รายการระหว างกันที่สําคัญกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย ง ในป 2555 บริษัท บริษัทย อย และกิจการที่ควบคุมร วมกันมีรายการระหว างกันที่สําคัญกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย ง และความสมเหตุสมผลของ รายการระหว างกันมีรายละเอียดดังต อไปนี้ บุคคลที่อาจมี ความขัดแย ง / ความสัมพันธ กับบริษัท 1. บมจ. แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส และ กลุ มบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส (เอไอเอส) เอไอเอส เป นบริษัท ร วมของบริษัท และ มี Singtel Strategic Investments Pte. Ltd. (Singtel) เป นผู ถือหุ นใน เอไอเอสร อยละ 23.32 ทั้งนี้ Singtel เกี่ยวข อง กับกลุ มผู ถือหุ นราย ใหญ โดยมีผู ถือหุ นราย ใหญ ร วมกัน

ลักษณะรายการ ค าใช จ าย: กลุ มอินทัชใช บริการโทรศัพท มือถือและ บริการอื่นๆ จากเอไอเอส

มูลค ารายการระหว างกันที่มีสาระสําคัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2555 ของบริษัทและบริษัทย อย (ล านบาท) ไทยคม และ ความสมเหตุสมผลของการทํารายการ บริษัท บริษัทย อย บริษัทอื่นๆ รวม และนโยบายการกําหนดราคา 0.92

4.57

0.01

5.50

กลุ มอินทัชใช บริการโทรศัพท มือ ถือเพื่อดําเนินธุรกิจ โดยเครือข าย ของเอไอเอสครอบคลุมพื้นที่บริการ อย างทั่วถึง และเป นการดําเนินธุรกิจ ปกติ อัตราค าบริการเป นราคาตลาด เสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก กิจการที่ควบคุมร วมกัน (แอลทีซี) ใช บริการ International Roaming ซึ่ง เป นการดําเนินธุรกิจปกติ โดยคิด อัตราค าบริการเป นตามราคาตลาด เสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก

รายได : กลุ มอินทัชให บริการในการปรับปรุงและ พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร โฆษณา และให เช าทรานสปอนเดอร แก เอไอเอส ดังนี้ 1. รายได เงินป นผล

12,219

-

-

12,219

2. รายได ค าบริการระบบคอมพิวเตอร

-

-

95.74

95.74

3. ออกแบบเว็บไซต

-

0.68

-

0.68

บริษัทมีรายได เงินป นผล ซึ่งเป นไป ตามมติที่ประชุมผู ถือหุ นหรือที่ประชุม คณะกรรมการของเอไอเอสอนุมัติ บริษัทย อย (ไอทีเอเอส) ให บริการ โปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อประมวล ผลทางบัญชีซึ่งคิดค าบริการใกล เคียงกับราคาของบริษัทอื่นที่ให บริการในลักษณะเดียวกัน บริษทั ย อยของไทยคม (ดีทวี )ี ให บริการ ออกแบบเว็ บ ไซต ซึ่ ง เป น การดํ า เนิ น ธุรกิจปกติ โดยคิดค าบริการในอัตรา เดียวกันกับลูกค าทั่วไป


รายงานประจําป 2555

101

มูลค ารายการระหว างกันที่มีสาระสําคัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2555 ของบริษัทและบริษัทย อย (ล านบาท) บุคคลที่อาจมี ไทยคม และ ความสมเหตุสมผลของการทํารายการ ความขัดแย ง / บริษัท บริษัทย อย บริษัทอื่นๆ รวม และนโยบายการกําหนดราคา ความสัมพันธ กับบริษัท ลักษณะรายการ 4. รายได ค าโฆษณา 259.31 259.31 บริษัทย อย (เอ็มบี) ให บริการ ผลิตชิ้น งานและสื่อโฆษณาซึ่งเป นการดําเนิน ธุรกิจปกติ โดยคิดค าบริการตาม อัตราค าบริการเสมือนทํารายการ กับบุคคลภายนอก 5. รายได ค าเช าทรานสปอนเดอร และ 52.17 52.17 บริษัทย อย (ไทยคม) ให บริการเช า อื่นๆ ช องสัญญาณดาวเทียม ทั้งใน ด านดาวเทียมเพื่อรับส งสัญญาณ โทรทัศน และเพื่อการสื่อสาร ซึ่ง เป นการดําเนินธุรกิจปกติ โดยคิดค า บริการเสมือนทํารายการกับบุคคล ภายนอก 6. รายได ค าดอกเบี้ย 0.45 0.94 1.39 กลุ มอินทัชมีเงินลงทุนในหุ นกู ของ เอไอเอสผ านกองทุนส วนบุคคลที่ บริหารโดยบริษัทจัดการกองทุนอิสระ อัตราดอกเบี้ยที่ได รับเป นอัตราเดียว กับที่บุคคลภายนอกได รับ ค าใช จ าย: 2. บมจ. ซีเอส ล็อกซอินโฟ และกลุ ม กลุ มอินทัชใช บริการเชื่อมอินเทอร เน็ต บริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ ชนิดวงจรเช า (Leased Line) และลง (ซีเอสแอล) โฆษณาในสมุดหน าเหลืองดังนี้ ซีเอสแอลเป นบริษัท 1. ค าเช าและอื่นๆ 0.71 24.21 0.28 25.20 ซีเอสแอลให บริการรับส งสัญญาณ ร วมของบริษัท โทรทัศน และเชื่อมอินเทอร เน็ตประเภท ทางอ อม (ซีเอสแอลเป น วงจรเช า (Leased Line) ซึ่งเป นการ บริษัทร วมของไทยคม) ดําเนินธุรกิจปกติ อัตราค าบริการที่ โดยมี Singtel เรียกเก็บเป นราคาตลาด ถือหุ นร อยละ 14.14 2. ค าโฆษณา 0.13 0.09 0.22 กลุ มอินทัชลงโฆษณาในสมุดหน า ในซีเอสแอลทั้งนี้ Singtel เหลือง โดยมีอัตราค าบริการเสมือน เกีย่ วข องกันกับกลุม ผูถ อื ทํารายการกับบุคคลภายนอก หุ นรายใหญ โดยมีผู ถือ รายได : หุ นรายใหญ ร วมกัน กลุ มอินทัชให บริการในการปรับปรุงและ พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร โฆษณา และให เช าทรานสปอนเดอร ดังนี้ 1. รายได ค าบริการระบบคอมพิวเตอร 0.06 6.52 6.58 บริษัทย อย (ไอทีเอเอส) ให บริการ โปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อประมวล ผลทางบัญชีซึ่งคิดค าบริการใกล เคียงกับราคาของบริษัทอื่นที่ให บริการในลักษณะเดียวกัน บริษัทย อยของไทยคม (ดีทีวี) ให บริการ domain name โดยมีอัตรา ค าบริการเสมือนทํารายการกับ บุคคลภายนอก


102

อินทัช

บุคคลที่อาจมี ความขัดแย ง / ความสัมพันธ กับบริษัท

3.บริษัท เชนนิงตัน อินเวสเม นท ส พีทีอี จํากัด (เชน) ถือหุ นโดยไทยคม ร วมกันกับเอเอ็มเอช ในสัดส วนร อยละ 51:49 ตามลําดับ โดยเอเอ็ม เอชมีผู ถือหุ นรายใหญ ร วมกันกับบริษัท

4. บริษัท เอ็มโฟน จํากัด (เอ็มโฟน) ถือหุ นโดยเชนใน สัดส วน 100% ทั้งนี้เชน ถือหุ นโดยไทยคมและ เอเอ็มเอชในสัดส วน ร อยละ 51:49 ตาม ลําดับ โดยเอเอ็มเอชมี ผู ถือหุ นรายใหญ ร วมกันกับบริษัท (อยู ระหว างการเข าสู กระบวนการล มละลาย)

มูลค ารายการระหว างกันที่มีสาระสําคัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2555 ของบริษัทและบริษัทย อย (ล านบาท) ไทยคม และ ความสมเหตุสมผลของการทํารายการ บริษัท บริษัทย อย บริษัทอื่นๆ รวม และนโยบายการกําหนดราคา ลักษณะรายการ 2. รายได ค าโฆษณา 0.53 0.53 บริษัทย อย (เอ็มบี) ให บริการผลิตชิ้น งานและสื่อโฆษณาซึ่งเป นการดําเนิน ธุรกิจปกติ โดยคิดค าบริการตาม อัตราค าบริการเสมือนทํารายการ กับบุคคลภายนอก 3. รายได คา เช าช องสัญญาณดาวเทียม 11.66 11.66 บริษัทย อย (ไทยคม) ให บริการ เช าช องสัญญาณดาวเทียม ทั้งใน ด านดาวเทียมเพื่อรับส งสัญญาณ โทรทัศน และเพื่อการสื่อสาร ซึ่ง เป นการดําเนินธุรกิจปกติ โดยคิด ค าบริการเสมือนทํารายการกับ บุคคลภายนอก 4. รายได เงินป นผล 142.56 142.56 บริษัทย อยของไทยคม (ดีทีวี) มีรายได เงินป นผล ซึ่งเป นไปตามมติที่ประชุม ผู ถือหุ นหรือที่ประชุมคณะกรรมการ ซีเอสแอลอนุมัติ รายได : กลุ มอินทัชให คําปรึกษาทางธุรกิจและ 1.01 0.05 1.02 บริษัทย อย (ไทยคม) มีนโยบายในการ อื่นๆ กํากับดูแลบริษัทในเครือเพื่อให การ ควบคุมเป นประโยชน สูงสุด โดยเชน ต องจ ายค าที่ปรึกษาและบริหารงาน เป นรายเดือนโดยค าบริการกําหนด จากต นทุนของผู บริหารและพนักงาน ที่ให คําปรึกษาและบริหารงานเพื่อ สนับสนุนการดําเนินธุรกิจของบริษัท ย อย บริษัทย อย (ไอทีเอเอส) ให บริการ โปรแกรมคอมพิวเตอร เพื่อประมวล ผลทางบัญชีซึ่งคิดค าบริการใกล เคียงกับราคาของบริษัทอื่นที่ให บริการในลักษณะเดียวกัน รายได : กลุ มอินทัชให บริการเช าช องสัญญาณ 1.02 1.02 บริษัทย อย (ไทยคม) เป นผู ให บริการ ดาวเทียมและอื่นๆ เช าช องสัญญาณดาวเทียม และเป น ผู จําหน ายอุปกรณ ผู ใช ปลายทาง ไอพีสตาร ซึ่งเป นการดําเนินธุรกิจ ปกติ โดยคิดค าบริการตามสัญญา และเงื่อนไขทางการค าโดยปกติเช น เดียวกับบุคคลภายนอก ค าเผื่อหนี้สูญ 6.68 6.68 บริษัทย อย (เอ็มบี) ตั้งค าเผื่อหนี้สูญ ของเอ็มโฟน เนื่องจากเอ็มโฟน อยู ระหว างการเข าสู กระบวนการ ล มละลาย


รายงานประจําป 2555

บุคคลที่อาจมี ความขัดแย ง / ความสัมพันธ กับบริษัท 5. บริษัท ลาว เทเลคอม มิวนิเคชั่นส จํากัด (แอลทีซี) ถือหุ นโดยเชนใน สัดส วนร อยละ 49 ทั้งนี้ เชนถือหุ นโดยไทยคม และเอเอ็มเอชในสัดส วน ร อยละ 51:49 ตาม ลําดับ โดยเอเอ็มเอชมี ผู ถือหุ นรายใหญ ร วม กันกับบริษัท

ลักษณะรายการ ค าใช จ าย: กลุ ม อิ น ทั ช จ า ยค า International Roaming

รายได : กลุม อินทัชให เช าทรานสปอนเดอร และให บริการโฆษณา ดังนี้ 1. กลุ มอินทัชให บริการเช าช อง สัญญาณดาวเทียม

2. ลดหนี้ 6. บริษัท เอเชีย โมบายส โฮลดิงส พีทีอี จํากัด (เอเอ็มเอช) เอเอ็มเอชเป นบริษัท ที่เกี่ยวข องกันกับกลุ ม ผู ถือหุ น รายใหญ โดยมี ผู ถือหุ นรายใหญ ร วม กัน

7. บริษัท สตาร ฮับ พีทีอี จํากัด (สตาร ฮับ) สตาร ฮับ เป นบริษัท ที่เกี่ยวข องกันกับกลุ ม ผู ถือหุ นใหญ โดยมี ผู ถือหุ นใหญ ร วมกัน

103

มูลค ารายการระหว างกันที่มีสาระสําคัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2555 ของบริษัทและบริษัทย อย (ล านบาท) ไทยคม และ ความสมเหตุสมผลของการทํารายการ บริษัท บริษัทย อย บริษัทอื่นๆ รวม และนโยบายการกําหนดราคา -

0.04

-

0.04

กิจการที่ควบคุมร วมกัน (แอลทีซี) ใช บริการ International Roaming ซึ่ง เป นการดําเนินธุรกิจปกติ โดยคิด อัตราค าบริการเป นตามราคาตลาด เสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก

-

0.26

-

0.26

-

-

2.25

2.25

บริษัทย อย (ไทยคม) เป นผู ให บริการ เช าช องสัญญาณดาวเทียม และเป น ผู จําหน ายอุปกรณ ผู ใช ปลายทาง ไอพีสตาร ซึ่งเป นการดําเนินธุรกิจ ปกติ โดยคิดค าบริการตามสัญญา และเงื่อนไขทางการค าโดยปกติ เช นเดียวกับบุคคลภายนอก บริษัทย อย (เอ็มบี) ทําการ ลดหนี้ให กับแอลทีซี

เอเอ็มเอชให ความช วยเหลือทางการเงิน ค าใช จ าย: กลุ มอินทัชมีดอกเบี้ยจ าย

2.91

2.91

รายได : กลุ มอินทัชมีดอกเบี้ยรับ ค าใช จ าย: กลุ มอินทัชจ ายค า International Roaming

3.33

3.33

รายได : กลุ มอินทัชมีรายได จากค า International Roaming

-

0.13

0.18

-

0.13

0.18

กิจการที่ควบคุมร วมกัน (เชน) ได รับ การสนับสนุนทางการเงิน ในรูปแบบ ของ Shareholder Loan จาก เอเอ็มเอช (ตามสัดส วนการลงทุน) อัตราดอกเบี้ยถูกคํานวณจากต นทุน การกู ยืมที่เกิดขึ้นจริงบวกด วย ส วนต าง เสมือนทํารายการกับบุคคล ภายนอก

กิจการที่ควบคุมร วมกัน (เอ็มโฟน) ใช บริการ International Roaming ซึ่งเป นการดําเนินธุรกิจปกติ โดยคิด อัตราค าบริการเป นตามราคาตลาด เสมือนทํารายการกับบุคคลภายนอก กิจการที่ควบคุมร วมกัน (เอ็มโฟน) ให บริการ International Roaming ในประเทศกัมพูชาซึ่งเป นการดําเนิน ธุรกิจปกติ โดยคิดอัตราค าบริการ เป นตามราคาตลาด เสมือนทํา รายการกับบุคคลภายนอก


104

อินทัช

บุคคลที่อาจมี ความขัดแย ง / ความสัมพันธ กับบริษัท ลักษณะรายการ เงินป นผลจ าย 8. ซีดาร และ แอสเพน ซีดาร และแอสเพน เป นผู ถือหุ นรายใหญ ของบริษัท

มูลค ารายการระหว างกันที่มีสาระสําคัญสิ้นสุด 31 ธ.ค. 2555 ของบริษัทและบริษัทย อย (ล านบาท) ไทยคม และ ความสมเหตุสมผลของการทํารายการ บริษัท บริษัทย อย บริษัทอื่นๆ รวม และนโยบายการกําหนดราคา 9,061 9,061 เป นไปตามมติที่ประชุมผู ถือหุ นหรือที่ ประชุมคณะกรรมการบริษัทอนุมัติ

นโยบายและขั้นตอนของกลุ มอินทัชในการทํารายการระหว างกัน กลุ มอินทัช มีนโยบายเกี่ยวกับการทํารายการระหว างกัน โดยในกรณีที่กลุ มอินทัช มีรายการซื้อ/ขาย สินค าและบริการระหว างกัน ให ใช ราคาเช น เดียวกับที่คิดกับบุคคลภายนอก กรณีที่ไม มีราคาดังกล าว กลุ มอินทัช จะพิจารณาเปรียบเทียบราคาสินค าหรือบริการกับราคาภายนอก ภาย ใต เงื่อนไขที่เหมือนหรือคล ายคลึงกัน หรือในกรณีที่จําเป นอาจใช ประโยชน จากรายงานของผู ประเมินอิสระซึ่งแต งตั้งโดยบริษัท หรือบริษัทในกลุ ม มาทําการเปรียบเทียบราคาสําหรับรายการระหว างกัน ที่สําคัญ เพื่อให มั่นใจว าราคาดังกล าวสมเหตุสมผลและเพื่อประโยชน สูงสุดของกลุ มอิน ทัช ในการดําเนินการอนุมัติการทํารายการระหว างกันจะยึดแนวปฏิบัติเช นเดียวกับการทํารายการอื่นๆ ทั่วไป โดยจะกําหนดอํานาจของผู มีสิทธิ อนุมัติตามประเภทของรายการและวงเงินที่กําหนด โดยผู บริหารที่มีส วนได เสียในรายการดังกล าวจะไม เป นผู อนุมัติรายการดังกล าว นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังทําหน าที่เป นผู สอบทานการทํารายการระหว างกันที่สําคัญ และการเป ดเผยรายการระหว างกันทุกรายไตรมาส เพื่อ ดูแลไม ให เกิดความขัดแย งทางผลประโยชน ระหว างกัน หากบริษัทมีรายการระหว างกันอื่นๆ ที่เข าข ายตามข อกําหนดของตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย บริษัทมีนโยบายที่จะปฏิบัติตามข อกําหนด ดังกล าวอย างเคร งครัด นโยบายและแนวโน มในการทํารายการในอนาคต บริษทั ยังคงยึดนโยบายในการทํารายการในธุรกิจทีเ่ สริมซึง่ กันและกัน และถือความสมเหตุสมผลตลอดจนคํานึงถึงความเหมาะสมในเงือ่ นไขและราคา ที่เป นธรรมเป นหลักในการพิจารณาการทํารายการระหว างกัน


รายงานประจําป 2555

105

คําอธิบายและการวิเคราะห ผลการดําเนินงาน ภาพรวม สรุปผลการดําเนินงาน งบการเงินรวม สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 กลุ มอินทัชมีรายได รวม 23,134 ล านบาท และมีกําไรส วนที่เป นของบริษัทใหญ 13,787 ล านบาท โดยส วนใหญ มาจากส วนแบ งผลกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีส วนได เสียในเอไอเอส ซึ่งเป นบริษัทร วมและเป นบริษัทหลักในการดําเนินธุรกิจ โทรคมนาคมไร สายในประเทศของกลุ มอินทัช โดยมีส วนแบ งผลกําไรจากเงินลงทุนใน เอไอเอส สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 จํานวน 14,171 ล านบาท คิดเป นร อยละ 61.3 ของรายได รวม และร อยละ 102.8 ของกําไรส วนที่เป นของบริษัทใหญ รายได รวมของกลุ มอินทัชในป 2555 ลดลงจากป 2554 เนื่องจากในป 2554 กลุ มอินทัชมีกําไรจากการขายเงินลงทุนบางส วนในเอไอเอส จํานวน 7,264 ล านบาท อย างไรก็ตามหากไม รวมรายการดังกล าว รายได รวมของกลุม อินทัชในป 2555 เพิม่ ขึน้ จากป 2554 ส วนใหญ เป นผลจากการเพิม่ ขึ้นของส วนแบ งผลกําไรจากเงินลงทุนในเอไอเอส รายได จากธุรกิจดาวเทียม และรายได จากธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในประเทศลาว

การได รับสิทธิตามใบอนุญาตให ใช คลื่นความถี่ย าน 2.1GHz บริษัท แอดวานซ ไวร เลส เน็ทเวอร ค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) ซึ่งเป นบริษัทย อยของเอไอเอสได รับอนุญาตจากคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแห งชาติ (กสทช.) ให เป นผู ดําเนินการและให บริการโทรศัพท เคลื่อนที่ภายใต ช วงคลื่นความถี่วิทยุคมนาคม ระหว าง 1950MHz - 1965MHz และ 2140MHz - 2155MHz โดยเอดับบลิวเอ็นได รับสิทธิตามใบอนุญาตดังกล าว เริ่มตั้งแต วันที่ 7 ธันวาคม 2555 ถึง 6 ธันวาคม 2570

ดาวเทียมไทยคม 6 และไทยคม 7 ป จจุบนั ดาวเทียมไทยคม 6 และไทยคม 7 อยูร ะหว างการก อสร าง ซึง่ ดาวเทียมไทยคม 6 และไทยคม 7 จะสามารถรองรับปริมาณความต องการใช งาน ดาวเทียมสื่อสารในภูมิภาคเอเชียและแอฟริกาที่เพิ่มขึ้นในอนาคต โดยมีกําหนดขึ้นสู วงโคจรภายในป 2556 และ 2557 ตามลําดับ ทั้งนี้เมื่อวันที่ 26 มิถนุ ายน 2555 ไทยคมได รบั ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมแบบที่ 3 เป นระยะเวลา 20 ป จาก กสทช. สําหรับใช ดาํ เนินงานดาวเทียมไทยคม 7

การลงทุนในโครงการ InVent โครงการ InVent เป นโครงการลงทุนเพือ่ ส งเสริมกลุม ธุรกิจขนาดเล็กทีม่ ศี กั ยภาพในธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับกลุม อินทัช ซึง่ จะช วยเพิม่ ขีดความสามารถ ในการแข งขัน รวมทั้งก อให เกิด Synergy กับกลุ มอินทัช และเป นการขยายการลงทุนที่จะทําให กลุ มอินทัชเติบโตมากยิ่งขึ้น โดยเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2555 บริษัทได ลงทุนในบริษัท อุ คบี จํากัด (“อุ คบี”) ซึ่งดําเนินธุรกิจให บริการและพัฒนาช องทางการนําเสนอสิ่งตีพิมพ ดิจิตอลและหนังสืออิเล็กทรอนิกส โดยบริษัทซื้อหุ นสามัญเพิ่มทุน ร อยละ 25.03 ของทุนจดทะเบียนของอุ คบี ในราคารวม 57.48 ล านบาท และ บันทึกเงินลงทุนในอุ คบีเป นการลงทุนในบริษัทร วม

สินทรัพย ไม หมุนเวียนของส วนการดําเนินงานที่ยกเลิกและการดําเนินงานที่ยกเลิก เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2555 ที่ประชุมคณะกรรมการของไทยคมมีมติเห็นชอบการทําสัญญาขายหุ นในบริษัท เอ็มโฟน จํากัด (เอ็มโฟน) ซึ่งเป น บริษัทย อยของกิจการที่ควบคุมร วมกันของไทยคม ทั้งนี้สัญญาดังกล าวมีเงื่อนไขที่ผู ซื้อและผู ขายต องดําเนินการให เสร็จภายในระยะเวลา 60 วัน นับจากวันทําสัญญา อย างไรก็ตามเมื่อครบกําหนดระยะเวลา 60 วันฝ ายผู ซื้อได ขอยกเลิกสัญญาขายหุ นของเอ็มโฟน เนื่องจากผู ซื้อไม สามารถ ดําเนินการตามเงื่อนไขที่กําหนดไว ในสัญญาซื้อขายได


106

อินทัช

และเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2556 เอ็มโฟน ได ยื่นคําร องต อ Phnom-Penh Municipal Court (ศาล) เพื่อเข าสู กระบวนการล มละลาย โดยที่ปรึกษา ด านกฎหมายของกลุ มไทยคมมีความเห็นว า เมื่อเอ็มโฟนเข าสู กระบวนการล มละลายตามกฎหมายของประเทศกัมพูชา ศาลจะออกคําสั่งแต งตั้ง เจ าพนักงานพิทักษ ทรัพย มาเป นผู ควบคุมดูแลการจัดสรรสินทรัพย และการชําระหนี้สินทั้งหมดของเอ็มโฟน โดยในช วงเวลาระหว างวันที่ในงบการ เงินถึงวันที่ศาลจะออกคําสั่งแต งตั้งเจ าพนักงานพิทักษ ทรัพย เอ็มโฟนไม สามารถทําธุรกรรมในการจําหน ายไปซึ่งสินทรัพย หรือสร างภาระและ หนี้สินผูกพันได สินทรัพย และหนี้สินของเอ็มโฟน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ได ถูกแสดงเป นสินทรัพย ไม หมุนเวียนของส วนการดําเนินงานที่ยกเลิก และหนี้สินที่ เกีย่ วข องโดยตรงกับสินทรัพย ไม หมุนเวียนของส วนการดําเนินงานทีย่ กเลิกใน งบแสดงฐานะการเงินรวม และผลการดําเนินงานสําหรับป 2555 และ 2554 ของเอ็มโฟนได ถูกแสดงเป นการดําเนินงานที่ยกเลิกในงบการเงินรวมของกลุ มอินทัช

ข อมูลทั่วไป บริษัทประกอบธุรกิจโดยการเข าลงทุนในบริษัทต างๆ ซึ่งดําเนินธุรกิจหลักในธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมและธุรกิจสื่อและโฆษณา ทั้งนี้กลุ มอินทัชได จําแนกตามส วนงานเป นธุรกิจต างๆ ได แก ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมไร สายในประเทศ ดําเนินธุรกิจผ านบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอร วิส จํากัด (มหาชน) (เอไอเอส) ซึ่งเป นบริษัทร วม ธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจต างประเทศ ดําเนินธุรกิจผ านบริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) (ไทยคม) ซึ่งเป นบริษัท ย อย และกิจการทีค่ วบคุมร วมกันของไทยคม ซึง่ ดําเนินธุรกิจสือ่ สารโทรคมนาคมในประเทศลาวและประเทศกัมพูชา (เอ็มโฟน ซึง่ เป นบริษทั ทีด่ าํ เนิน ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในประเทศกัมพูชา อยู ระหว างการเข าสู กระบวนการล มละลาย) ธุรกิจสื่อและโฆษณา ดําเนินธุรกิจผ านบริษัทย อยของ บริษัท คือ บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) (ไอทีวี) และบริษัท แมทช บอกซ จํากัด (เอ็มบี) และดําเนินธุรกิจผ านบริษัทร วมของบริษัท คือ บริษัท อุ คบี จํากัด (อุ คบี) และธุรกิจอื่น ซึ่งส วนใหญ ดําเนินธุรกิจผ านบริษัท ดีทีวี เซอร วิส จํากัด (ดีทีวี) และบริษัท ซีเอส ล็อกซอินโฟ จํากัด (มหาชน) (ซีเอสแอล) ก อนวันที่ 7 มีนาคม 2550 ไอทีวี ซึ่งเป นบริษัทย อยของบริษัท ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับสถานีโทรทัศน และเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2550 สํานักงานปลัด สํานักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ได เพิกถอนสัญญาอนุญาตให ดําเนินการของไอทีวี ทําให ต องหยุดดําเนินกิจการสถานีโทรทัศน และผลจากการเพิก ถอนสัญญาอนุญาตให ดาํ เนินการดังกล าว ทําให ไม มรี ายได ของไอทีวใี นธุรกิจสือ่ และโฆษณาตัง้ แต วนั ทีห่ ยุดดําเนินกิจการสถานีโทรทัศน เป นต นมา โดยไอทีวอี ยูร ะหว างรอผลการพิจารณาจากสถาบันอนุญาโตตุลาการชี้ขาดในเรือ่ งดังกล าว ซึ่งผลของคําชี้ขาดไม อาจคาดการณ ได สําหรับกรณี พิพาทของไอทีวีได ระบุไว ในหมายเหตุประกอบงบการเงินของบริษัทแล ว

การวิเคราะห ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานเฉพาะของอินทัช (ตามวิธีราคาทุน) (ควรอ านควบคู กับงบการเงินฉบับเต็ม)

รายได เงินป นผล กําไรจากการขายเงินลงทุนบางส วนในเอไอเอส รายได อื่น รวมรายได รวมค าใช จ าย กําไรสําหรับป

สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554 ล านบาท % ล านบาท % 12,255 99.3% 10,268 57.6% 7,499 42.1% 88 0.7% 56 0.3% 12,343 100.0% 17,823 100.0% 330 2.7% 291 1.7% 12,010 97.3% 17,530 98.3%


107

รายงานประจําป 2555

ในป 2554 มี กํ า ไรจากการ ขายเงิ น ลงทุ น บางส ว นใน เอไอเอส หากไม ร วมกํ า ไร ดั ง กล า ว กํ า ไรในป 2555 เพิ่มขึ้นจากรายได เงินป นผล จากเอไอเอสที่เพิ่มมากขึ้น

กําไรของอินทัช กําไรสุทธิในป 2555 ของอินทัช เพิ่มขึ้นจํานวน 1,979 ล านบาท หรือคิดเป นร อยละ 19.7 เมื่อเทียบกับกําไรจาก การดําเนินงานตามปกติในป 2554 (ไม รวมกําไรจากการขายเงินลงทุนบางส วนในเอไอเอส) ส วนใหญ เป นผลจาก ในป 2555 อินทัชมีรายได เงินป นผลจากเอไอเอส ในอัตราหุ นละ 10.16 บาท เพิ่มขึ้นจากป 2554 ที่ได รับในอัตรา หุ นละ 8.09 บาท อย างไรก็ตาม หากนํากําไรจากการขายเงินลงทุนบางส วนในเอไอเอสมาพิจารณา กําไรสุทธิใน ป 2555 จะลดลงร อยละ 31.5 จากป 2554

ฐานะการเงินเฉพาะของอินทัช (ตามวิธีราคาทุน) (ควรอ านควบคู กับงบการเงินฉบับเต็ม)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ล านบาท %

สินทรัพย เงินสด รายการเทียบเท าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว สินทรัพย หมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัทย อยและบริษัทร วม สินทรัพย ไม หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย หนี้สิน เงินป นผลค างจ าย หนี้สินอื่น รวมหนี้สิน ส วนของผู ถือหุ น ทุนเรือนหุ น ส วนเกินมูลค าหุ นสามัญ สํารองตามกฎหมายและอื่นๆ กําไรสะสมยังไม ได จัดสรร รวมส วนของผู ถือหุ น รวมหนี้สินและส วนของผู ถือหุ น เงิ น สดลดลง เนื่ อ งจากในป 2554 มีเงินสดจากการขาย เงินลงทุนบางส วนใน เอไอเอส ซึ่ ง ได จ า ยเป น เงิ น ป น ผลใน เดือนมกราคม 2555

31 ธันวาคม 2554 ล านบาท %

2,178 15 12,135 57 14,385

15.1% 0.1% 84.4% 0.4% 100.0%

9,820 20 12,077 65 21,982

44.7% 0.1% 54.9% 0.3% 100.0%

141 141

1.0% 1.0%

7,503 125 7,628

34.1% 0.6% 34.7%

3,206 10,342 504 192 14,244 14,385

22.3% 71.9% 3.5% 1.3% 99.0% 100.0%

3,206 10,342 500 306 14,354 21,982

14.6% 47.0% 2.3% 1.4% 65.3% 100.0%

สินทรัพย

เงินสด รายการเทียบเท าเงินสดและเงินลงทุนชั่วคราว ณ สิ้นป 2555 มีจํานวน 2,178 ล านบาท ลดลงร อยละ 77.8 จากสิ้นป 2554 ส วนใหญ เป นผลจากเงินสด ณ สิ้นป 2554 ได รวมเงินสดจากการขายเงินลงทุนบางส วนใน เอไอเอส ซึ่งเงินจํานวนดังกล าวได จ ายเป นเงินป นผลให แก ผู ถือหุ นในเดือนมกราคม 2555

หนี้สินและส วนของผู ถือหุ น

หนี้สินรวม ณ สิ้นป 2555 ลดลงร อยละ 98.2 จากเงินป นผลค างจ ายที่ลดลง ส วนของผู ถือหุ น ณ สิ้นป 2555 ลดลงเล็กน อยจากสิ้นป 2554


108

อินทัช

ผลการดําเนินงานตามงบการเงินรวม พร อมสัดส วนต อรายได รวม

(ควรอ านควบคู กับงบการเงินรวมและหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมของบริษัท)

รายได รายได จากการขายและบริการ - ธุรกิจดาวเทียม - ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในประเทศลาว (ซึ่งไม รวมเอไอเอส) - ธุรกิจสื่อและโฆษณา - ธุรกิจอื่น* รวมรายได จากการขายและบริการ ส วนแบ งผลกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีส วนได เสีย - เอไอเอส (โทรคมนาคมภายในประเทศ) - อื่นๆ รวมส วนแบ งผลกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีส วนได เสีย กําไรจากการขายเงินลงทุนบางส วนในเอไอเอส กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต างประเทศ รายได อื่น รายได รวม ค าใช จ าย ต นทุนขายและต นทุนการให บริการ ผลประโยชน ตอบแทนตามสัญญาอนุญาตให ดําเนินการ ขาดทุนจากการสํารองเผือ่ ดอกเบีย้ ของส วนต างของสัญญาอนุญาตให ดาํ เนินการ ค าใช จ ายในการขาย ค าใช จ ายในการบริหาร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต างประเทศ ขาดทุนจากการด อยค าของสินทรัพย ของส วนการดําเนินงานที่ยกเลิก ค าตอบแทนผู บริหาร รวมค าใช จ าย กําไรก อนหักต นทุนทางการเงินและภาษีเงินได ต นทุนทางการเงิน ค าใช จ ายภาษีเงินได กําไรสําหรับป จากการดําเนินงานต อเนื่อง ขาดทุนสําหรับป จากการดําเนินงานที่ยกเลิกสุทธิจากภาษี กําไรสําหรับป

สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554 (นําเสนอใหม ) ล านบาท % ล านบาท %

6,316 700 1,192 337 8,545

27.3% 3.0% 5.1% 1.5% 36.9%

5,738 576 1,305 400 8,019

22.4% 2.3% 5.1% 1.6% 31.4%

14,171 165 14,336 20 233 23,134

61.3% 0.7% 62.0% 0.1% 1.0% 100.0%

9,912 157 10,069 7,264 243 25,595

38.7% 0.6% 39.3% 28.4% 0.9% 100.0%

4,920 747 433 137 1,591 175 159 8,162

21.3% 3.2% 1.9% 0.6% 6.9% 0.8% 0.7% 35.4%

5,188 597 433 164 1,478 85 153 8,098

20.3% 2.3% 1.7% 0.6% 5.8% 0.3% 0.6% 31.6%

14,972 (424) (353) 14,195 (508) 13,687

64.6% (1.8)% (1.5)% 61.3% (2.2)% 59.1%

17,497 (455) (506) 16,536 (467) 16,069

68.4% (1.8)% (2.0)% 64.6% (1.8)% 62.8%


109

รายงานประจําป 2555

สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554 (นําเสนอใหม ) ล านบาท % ล านบาท % การแบ งป นกําไร ส วนที่เป นของบริษัทใหญ ส วนที่เป นของส วนได เสียที่ไม มีอํานาจควบคุม กําไรสําหรับป

13,787 (100) 13,687

59.5% (0.4)% 59.1%

16,559 (490) 16,069

64.7% (1.9)% 62.8%

* รวมธุรกิจอินเทอร เน็ต ธุรกิจ Direct Satellite TV ธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศ และรายการระหว างกัน รายได จากการขายและบริการ เพิ่ ม ขึ้ น จากธุ ร กิ จ ดาวเที ย ม และธุรกิจโทรศัพท ในประเทศ ลาว ร า ย ไ ด จ า ก ด า ว เ ที ย ม Conventional เพิ่มขึ้นตาม การเติบโตของธุรกิจโทรทัศน ผ านดาวเทียม และรายได จาก ดาวเทียม IPSTAR เพิ่มขึ้น ตามปริมาณการใช งาน BW ในต างประเทศที่เพิ่มมากขึ้น

รายได จ ากธุ ร กิ จ โทรศั พ ท ในประเทศลาว เพิ่ ม ขึ้ น จาก ARPU ที่เพิ่มขึ้นหลังรัฐบาล ออกมาตรการควบคุมราคา การให บริการ

กําไรจากการดําเนินงานของ กลุ มเอไอเอส ในป 2555 เพิ่ม ขึ้นส วนใหญ เป นผลจากการ เพิ่ ม ขึ้ น ของรายได Mobile internet และ Voice

รายได จากการขายและการให บริการ รายได จากการขายและการให บริการเพิม่ ขึน้ ร อยละ 6.6 จากจํานวน 8,019 ล านบาท ในป 2554 เป นจํานวน 8,545 ล านบาท ในป นี้ โดยเพิม่ ขึน้ จากธุรกิจดาวเทียมและธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศลาว สุทธิกบั การลดลงในธุรกิจสือ่ และโฆษณาและธุรกิจอื่น ธุรกิจดาวเทียม รายได จากสายธุรกิจดาวเทียม เพิ่มขึ้นร อยละ 10.1 จากรายได จากดาวเทียมไทยคม 5 (Conventional) เพิ่ม ขึ้นจากการให เช าช องสัญญาณดาวเทียมแก ลูกค ากลุ มผู ประกอบการโทรทัศน ผ านดาวเทียม ซึ่งเติบโตขึ้นอย าง ต อเนื่อง รวมทั้งเพิ่มขึ้นจากรายได จากการให บริการเสริมต างๆ และรายได จากการให บริการดาวเทียมไทยคม 4 (ไอพีสตาร ) เพิ่มขึ้นจากปริมาณการใช งานแบนด วิธ (BW) ในประเทศออสเตรเลีย ญี่ปุ น มาเลเซีย อินเดีย เมียนมาร และนิวซีแลนด สุทธิกับการลดลงของรายได จากการขายอุปกรณ ผู ใช ปลายทางไอพีสตาร (UT) ซึ่งเป นผลมาจาก การมุ งเน นการเพิ่มยอดขายของแบนด วิธมากกว าการขาย UT โดยการเป ดให ระบบและ UT ของผู ผลิตรายอื่น สามารถทํางานร วมกับระบบไอพีสตาร ได รวมทัง้ ในป 2554 มีรายได จากการขายสถานีควบคุมเครือข ายภาคพืน้ ดิน ในประเทศญี่ปุ น และการขายอุปกรณ สําหรับสถานีควบคุมเครือข ายภาคพื้นดินในประเทศออสเตรเลีย ขณะที่ในป 2555 ไม มีรายได ดังกล าว ธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคมในประเทศลาว (ไม รวมเอไอเอส) ในป 2555 มีจํานวนผู ใช บริการโทรศัพท (รวมโทรศัพท เคลื่อนที่และโทรศัพท พื้นฐาน) 1.34 ล านราย เพิ่มขึ้นจาก ป 2554 ที่มีจํานวน 1.30 ล านราย โดยรายได จากธุรกิจโทรศัพท ในประเทศลาว เพิ่มขึ้นร อยละ 22.3 เนื่องจาก การควบคุมราคาการให บริการโดยกระทรวงไปรษณีย โทรคมนาคม และการสื่อสาร (MPTC) ของประเทศลาว และ จากการควบคุมราคาการให บริการดังกล าวทําให รายได เฉลี่ยจากการให บริการโทรศัพท เคลื่อนที่ต อเลขหมาย (Average revenue per usage (ARPU)) เพิ่มขึ้น ธุรกิจสื่อและโฆษณา รายได จากสายธุรกิจสื่อและโฆษณาลดลง ร อยละ 8.7 เนื่องจากการใช จ ายเพื่อการโฆษณาของลูกค าลดลง ธุรกิจอื่น รายได จากสายธุรกิจอืน่ ลดลงเล็กน อยจากป 2554 เนือ่ งจากการแข งขันกันด านราคาและช องรายการของผูป ระกอบ การในธุรกิจจานดาวเทียมในประเทศไทย โดย ณ สิ้นป 2555 มียอดจําหน ายอุปกรณ จานรับสัญญาณดาวเทียม ดีทีวีสะสมจํานวน 1.39 ล านชุด เพิ่มขึ้น 0.22 ล านชุด จากสิ้นป 2554 ส วนแบ งผลกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีส วนได เสีย (สําหรับคําอธิบายและการวิเคราะห ผลการดําเนินงานของ เอไอเอส โปรดดูหัวข อ คําอธิบายและการวิเคราะห ผลการดําเนินงานของเอไอเอส) ส วนแบ งผลกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีส วนได เสียของกลุ มอินทัช ซึ่งส วนใหญ เป นส วนแบ งผลกําไรจากเงินลงทุนใน กลุ มเอไอเอส ซึ่งเพิ่มขึ้นร อยละ 42.4 จากจํานวน 10,069 ล านบาท ในป 2554 เป นจํานวน 14,336 ล านบาท ใน ป 2555


110

อินทัช

กําไรสุทธิของกลุ มเอไอเอส สําหรับป 2555 มีจํานวน 34,883 ล านบาท เพิ่มขึ้นร อยละ 57.0 เมื่อเปรียบเทียบกับ กําไรสุทธิ จํานวน 22,218 ล านบาท ในป 2554 (กําไรสุทธิดังกล าวไม รวมผลกระทบจากการปรับมูลค ายุติธรรม ของ Derivatives และกําไรระหว างกัน ซึ่งบริษัทได ปรับปรุงเป นส วนหนึ่งของรายการส วนแบ งผลกําไรจากเงินลงทุน ตามวิธีส วนได เสียในงบการเงินรวมของบริษัท) ทั้งนี้กําไรสุทธิในป 2554 ได รวมผลขาดทุนจากการด อยค าของค า ความนิยมในเงินลงทุนใน DPC และผลกระทบจากการปรับปรุงราคาตามบัญชีของสินทรัพย ภาษีเงินได รอตัดบัญชี จากการลดอัตราภาษีเงินได นติ บิ คุ คล หากไม รวมรายการดังกล าว กําไรสุทธิจากการดําเนินงานปกติ (Normalized net profit) ในป 2554 จะมีจํานวน 26,600 ล านบาท กําไรสุทธิจากการดําเนินงานปกติในป 2555 เพิม่ ขึน้ ร อยละ 31.1 จากกําไรสุทธิจากการดําเนินงานปกติในป 2554 ส วนใหญ เป นผลจากการเติบโตของรายได การลดลงของต นทุนทางการเงินภายหลังการจ ายคืนเงินกูย มื ในป 2554 และการลดลงของภาษีเงินได นติ บิ คุ คล เนือ่ งจากอัตราภาษีทลี่ ดลง สุทธิกบั ต นทุนและค าใช จา ยในการบริหารทีเ่ พิม่ ขึน้ รายได จากการให บริการข อมูลเพิม่ ขึน้ ร อยละ 33 จากป 2554 โดยส วนใหญ เป นผลจากการเติบโตของความต องการ ใช งานบริการอินเทอร เน็ตเคลือ่ นที่ ส วนรายได จากการให บริการเสียงเพิม่ ขึน้ ร อยละ 5 ซึง่ เติบโตในตลาดต างจังหวัด ซึ่งเอไอเอสมีโครงข ายครอบคลุมทั่วประเทศ และสําหรับรายได จากการขายเพิ่มขึ้นร อยละ 34 เนื่องจากอุปกรณ สมาร ทดีไวซ ยังคงเป นที่นิยมอย างต อเนื่องและความต องการใช งานอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ที่เพิ่มขึ้น ต นทุนค าผลประโยชน ตอบแทนรายป และต นทุนขายเพิ่มขึ้นจากป 2554 ตามการเพิ่มขึ้นของรายได จากการให บริการและรายได จากการขาย สําหรับค าใช จ ายในการขายและบริหารที่เพิ่มขึ้น ซึ่งส วนใหญ เป นผลจากการตัด จําหน ายอุปกรณ ที่ล าสมัย ต นทุนขายและต นทุนการให ต นทุนขายและต นทุนการให บริการ บริการลดลง ส วนใหญ เป น ต นทุนขายและต นทุนการให บริการลดลงร อยละ 5.2 จากป 2554 ส วนใหญ ลดลงจากธุรกิจสื่อและโฆษณา ธุรกิจ ผลจากต นทุนในธุรกิจสื่อและ ดาวเทียม และธุรกิจอื่น สุทธิกับการเพิ่มขึ้นในธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศลาว โฆษณาที่ลดลงตามการลด ลงของรายได โดยต นทุนในธุรกิจสื่อและโฆษณา และธุรกิจอื่นลดลงตามการลดลงของรายได ส วนต นทุนในธุรกิจดาวเทียมลดลง ส วนใหญ ลดลงจากต นทุนดาวเทียมไอพีสตาร เนือ่ งจากต นทุนขาย UT ทีล่ ดลงตามการลดลงของรายได และการลด ลงของต นทุนค าเบีย้ ประกันภัยดาวเทียมบนวงโคจร สุทธิกบั การเพิม่ ขึน้ ของต นทุนค าดําเนินการสถานีควบคุมเครือ ข ายภาคพืน้ ดินในประเทศจีนและการเพิม่ ขึน้ ของต นทุนการให บริการดาวเทียมไทยคม 5 ตามการเพิม่ ขึน้ ของรายได

ผลประโยชน ต อบแทน ตาม สั ญ ญาอนุ ญ าตให ดํ า เนิ น การเพิ่ ม ขึ้ น ตามการเติ บ โต ของรายได ค าใช จ ายในการบริหาร ส วน ใหญ ล ดลงจากการกลั บ รายการค า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะ สูญ และค าเผื่อสินค าล าสมัย ที่ลดลง

สําหรับต นทุนในธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศลาวเพิ่มขึ้น ส วนใหญ เป นผลจากการเพิ่มขึ้นของค าเสื่อมราคาจาก การขยายโครงข ายโทรศัพท และการเพิ่มขึ้นของต นทุนการให บริการโทรข ามแดนอัตโนมัติ ผลประโยชน ตอบแทนตามสัญญาอนุญาตให ดําเนินการ ผลประโยชน ตอบแทนตามสัญญาอนุญาตให ดําเนินการเพิ่มขึ้นร อยละ 25.1 จากป 2554 ส วนใหญ เป นผลจาก การเพิ่มขึ้นของต นทุนค าอนุญาตให ดําเนินการของธุรกิจดาวเทียมตามการเพิ่มขึ้นของรายได จากการให บริการ ดาวเทียม และตามการเพิ่มขึ้นของอัตราผลประโยชน ตอบแทน ค าใช จ ายในการบริหาร ค าใช จา ยในการบริหาร เพิม่ ขึน้ ร อยละ 7.6 จากจํานวน 1,478 ล านบาท ในป 2554 เป นจํานวน 1,591 ล านบาท ในป 2555 ส วนใหญ เป นผลมาจากการเพิม่ ขึน้ ของค าใช จา ยพนักงานและค าใช จา ยทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการเข าสูก ระบวนการ ล มละลายของเอ็มโฟน สุทธิกบั การกลับรายการค าเผือ่ หนีส้ งสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้ และการลดลงของค าเผือ่ สินค า ล าสมัยในธุรกิจดาวเทียม ขาดทุนจากการด อยค าของสินทรัพย ของส วนการดําเนินงานที่ยกเลิก ไทยคมรับรูข าดทุนจากการด อยค าทีเ่ กีย่ วข องกับเอ็มโฟน ซึง่ ประกอบธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศกัมพูชา จํานวน 175 ล านบาท ในป 2555 ค าใช จ ายภาษีเงินได ค าใช จา ยภาษีเงินได ลดลงร อยละ 30.2 จากจํานวน 506 ล านบาท ในป 2554 เป นจํานวน 353 ล านบาท ในป 2555 ส วนใหญ เป นผลจากในป 2554 กลุ มอินทัชบันทึกผลกระทบจากการลดอัตราภาษีเงินได นิติบุคคล ซึ่งมีผลทําให มูลค าตามบัญชีของสินทรัพย ภาษีเงินได รอตัดบัญชีลดลงและต องบันทึกเป นค าใช จ ายภาษีเงินได เพิ่มขึ้น


111

รายงานประจําป 2555

ขาดทุนสําหรับป จากการดําเนินงานที่ยกเลิกสุทธิจากภาษี งบการเงินรวมสําหรับป 2555 และ 2554 ได แสดงผลการดําเนินงานของเอ็มโฟนอยู ภายใต หัวข อ ขาดทุนสําหรับป จากการดําเนินงานที่ยกเลิกสุทธิจากภาษี เพื่อนําเสนอการดําเนินงานที่ยกเลิกเป นรายการแยกต างหากจากการ ดําเนินงานต อเนื่อง เอ็มโฟนมีผลขาดทุนจากการดําเนินงานสุทธิจากภาษี จํานวน 508 ล านบาท (ตามสัดส วนการลงทุน) ในป 2555 เพิ่มขึ้น 41 ล านบาท หรือ 8.8% จากขาดทุนสุทธิจํานวน 467 ล านบาท ในป 2554 เนื่องจากจํานวนผู ใช บริการ โทรศัพท ในระบบลดลงจากการแข งขันที่สูงในตลาดโทรศัพท เคลื่อนที่ในประเทศกัมพูชา ขาดทุนส วนที่เป นของส วนได เสียทีไม มีอํานาจควบคุม กลุ มบริษัทมีส วนแบ งผลขาดทุนแก ส วนได เสียที่ไม มีอํานาจควบคุม ส วนใหญ ประกอบด วยส วนได เสียที่ไม มีอํานาจ ควบคุมในไทยคมและไอทีวี โดยในป 2555 มีส วนแบ งผลขาดทุนจํานวน 100 ล านบาท ลดลงร อยละ 79.6 จากป 2554 ที่มีจํานวน 490 ล านบาท ส วนแบ งผลขาดทุนของไอทีวีที่แบ งให แก ส วนได เสียที่ไม มีอํานาจควบคุม มีจํานวนประมาณป ละ 200 ล านบาท ขณะ ที่ส วนแบ งจากไทยคมในป 2555 เป นส วนแบ งกําไร เนื่องจากธุรกิจดาวเทียมมีผลการดําเนินงานเป นกําไร แม ว าจะ มีการรับรู ผลขาดทุนจากการด อยค าของสินทรัพย ของส วนการดําเนินงานที่ยกเลิก แต ส วนแบ งจากไทยคมในป 2554 เป นส วนแบ งขาดทุน เพราะมีผลการดําเนินงานขาดทุน

ฐานะการเงินตามงบการเงินรวม

(ควรอ านควบคู กับงบการเงินรวมและหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมของบริษัท)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555

2554

ล านบาท

%

ล านบาท

%

สินทรัพย เงินสด รายการเทียบเท าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว สินทรัพย หมุนเวียนอื่น สินทรัพย ไม หมุนเวียนของส วนการดําเนินงานที่ยกเลิก เงินลงทุนในบริษัทร วม อาคารและอุปกรณ อาคารและอุปกรณ ภายใต สัญญาอนุญาตให ดําเนินการ สินทรัพย ไม หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย

5,681 2,106 1,769 18,758 5,707 11,482 2,552 48,055

11.8% 4.4% 3.7% 39.0% 11.9% 23.9% 5.3% 100.0%

13,954 2,312 16,977 6,668 12,828 2,788 55,527

25.1% 4.2% 30.6% 12.0% 23.1% 5.0% 100.0%

หนี้สินและส วนของผู ถือหุ น เงินป นผลค างจ าย ส วนของเงินกู ยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนีส้ นิ ทีเ่ กีย่ วข องโดยตรงกับสินทรัพย ไม หมุนเวียนของส วนการดําเนินงานทีย่ กเลิก เงินกู ยืมระยะยาว หนี้สินไม หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สิน

116 7,811 1,769 7,047 766 17,509

0.2% 16.3% 3.7% 14.7% 1.6% 36.4%

7,503 4,627 7,739 5,653 679 26,201

13.5% 8.3% 14.0% 10.2% 1.2% 47.2%


112

อินทัช

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ล านบาท 22,543 8,003 30,546 48,055

ส วนของบริษัทใหญ ส วนได เสียที่ไม มีอํานาจควบคุม รวมส วนของผู ถือหุ น รวมหนี้สินและส วนของผู ถือหุ น เ งิ น ส ด ล ด ล ง ส ว น ใ ห ญ เนื่องจากในป 2554 มีเงินสด จากการขายเงิ น ลงทุ น บาง ส วนในเอไอเอส ซึ่งได จ ายเป น เงิ น ป น ผลในเดื อ นมกราคม 2555 นอกจากนี้ ใ นเดื อ น พฤศจิ ก ายน 2555 กลุ ม อินทัชมีการจ ายชําระ คืนหุน กู

2554 % 46.9% 16.7% 63.6% 100.0%

ล านบาท 21,159 8,167 29,326 55,527

% 38.1% 14.7% 52.8% 100.0%

สินทรัพย เงินสด รายการเทียบเท าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีจาํ นวน 5,681 ล านบาท ลดลง ร อยละ 59.3 จาก ณ สิ้นป 2554 ส วนใหญ เป นผลจากเงินสด ณ สิ้นป 2554 ได รวมเงินสดจากการขายเงินลงทุน บางส วนในเอไอเอส ซึง่ เงินจํานวนดังกล าวบริษทั ได จา ยเป นเงินป นผลให แก ผถู อื หุน ในเดือนมกราคม 2555 นอกจาก นี้ในเดือนพฤศจิกายน 2555 กลุ มอินทัชมีการจ ายชําระคืนหุ นกู ชุดที่ 1 ด วย ส วนเงินลงทุนในบริษัทร วมที่เพิ่มขึ้น ร อยละ 10.5 ส วนใหญ เป นจากผลการดําเนินงานสําหรับป 2555 สุทธิกบั การจ ายเงินป นผลระหว างกาลของบริษทั ร วม หนี้สินและส วนของผู ถือหุ น หนี้สินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ลดลงร อยละ 33.2 จากการชําระเงินป นผลค างจ ายในเดือนมกราคม 2555 และการจ ายชําระคืนหุ นกู ชุดที่ 1 จํานวน 3,300 ล านบาท ในเดือนพฤศจิกายน 2555 ส วนของผู ถือหุ น ลดลงจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 จากผลการดําเนินงานสําหรับป 2555 สุทธิกับการจ าย เงินป นผลระหว างกาลของบริษัท

กระแสเงินสดรวม*

(ควรอ านควบคู กับงบการเงินรวมและหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมของบริษัท)

เงินสดสุทธิได มาจากกิจกรรมดําเนินงาน เงินสดสุทธิได มาจาก(ใช ไปใน)กิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิใช ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสด รายการเทียบเท าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว เพิ่มขึ้น(ลดลง)-สุทธิ เงินสด รายการเทียบเท าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราวต นงวด ผลกระทบจากเงินสดและรายการเทียบเท าเงินสดในสินทรัพย ไม หมุนเวียนของส วนการดําเนินงานที่ยกเลิก ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตราต างประเทศคงเหลือสิ้นงวด เงินสดรายการเทียบเท าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราวปลายงวด * กระแสเงินสดรวม ประกอบด วย เงินสดและรายการเทียบเท าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว

สําหรับป สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555 2554 ล านบาท ล านบาท 15,800 13,265 (2,230) 5,401 (21,831) (9,041) (8,261) 13,954 (11) (2) 5,681

9,625 4,335 (6) 13,954


รายงานประจําป 2555

เ งิ น ส ด ล ด ล ง ส ว น ใ ห ญ เนื่องจากในป 2554มีเงินสด จากการขายเงิ น ลงทุ น บาง ส วนในเอไอเอส ซึ่งได จ ายเป น เงินป นผลใน เดือนมกราคม 2555 และการจ ายชําระคืนหุน กู ในเดือนพฤศจิกายน 2555

113

กระแสเงินสดรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 กลุ มอินทัชมีเงินสด รายการเทียบเท าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราวคงเหลือ 5,681 ล านบาท โดยลดลงจํานวน 8,261 ล านบาท จากสิ้นป 2554 (ไม รวมผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนของเงินตรา ต างประเทศคงเหลือสิ้นงวด) เงินสดสุทธิได มาจากกิจกรรมดําเนินงาน ในป 2555 กลุ มอินทัชมีกระแสเงินสดสุทธิได มาจากกิจกรรมดําเนินงาน จํานวน 15,800 ล านบาท เพิ่มขึ้น ร อยละ 19.1 เมื่อเทียบกับป 2554 ส วนใหญ เป นผลจากในงวดนี้กลุ มอินทัชมีเงินป นผลรับและกําไรจากการดําเนิน งานมากขึ้น เงินสดสุทธิได มาจาก(ใช ไปใน)กิจกรรมลงทุน ในป 2555 กระแสเงินสดสุทธิใช ไปในกิจกรรมลงทุน มีจาํ นวน 2,230 ล านบาท ขณะทีป่ 2554 มีกระแสเงินสดสุทธิได มาจากกิจกรรมลงทุน จํานวน 5,401 ล านบาท เนื่องจากในป 2554 กลุ มอินทัชมีเงินรับจากการขายเงินลงทุนบาง ส วนในเอไอเอส ซึ่งได จ ายเป นเงินป นผลให แก ผู ถือหุ นในเดือนมกราคม 2555 รวมทั้งในป 2555 มีการจ ายลงทุนใน อาคารและอุปกรณ ซึ่งรวมถึงการลงทุนในดาวเทียมไทยคม 6 เพิ่มขึ้นจากที่จ ายลงทุนในป 2554 เงินสดสุทธิใช ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน กระแสเงินสดสุทธิใช ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน จํานวน 21,831 ล านบาท เพิ่มขึ้นอย างมากจากป 2554 เนื่องจากมี เงินสดจ ายสําหรับเงินป นผลในป 2555 สูงกว าป 2554 และมีการจ ายชําระคืนเงินกู เพิ่มขึ้น

ป จจัยที่อาจมีผลต อฐานะการเงินหรือผลการดําเนินงานอย างมีนัยสําคัญในอนาคต สืบเนื่องจากบริษัทประกอบธุรกิจการลงทุนโดยการเข าถือหุ นในบริษัทอื่น ดังนั้นป จจัยที่อาจมีผลต อฐานะการเงินหรือผลการดําเนินงาน อย างมีนัยสําคัญของบริษัทที่เข าลงทุนจึงเป นป จจัยที่จะส งผลกระทบต อบริษัทด วย ทั้งนี้โปรดดูรายละเอียดในหัวข อดังกล าวได จากแบบแสดงรายการข อมูลประจําป 2555 ของเอไอเอสและไทยคม ในหัวข อฐานะการเงินและ ผลการดําเนินงาน

คําอธิบายและการวิเคราะห ผลการดําเนินงานของเอไอเอส ประจําป 2555

(ซึ่งเป นบริษัทร วมที่สําคัญที่บริษัทมีอิทธิพลอย างมีนัยสําคัญและใช วิธีส วนได เสีย (Equity method) ในการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทร วม)

บทวิเคราะห สําหรับผู บริหาร ในป 2555 ทีผ่ า นมาถือเป นป ทบี่ ริการอินเทอร เน็ตเคลือ่ นทีเ่ ติบโตได ดใี นอุตสาหกรรมโทรคมนาคมของไทย เป นผลจากราคาอุปกรณ สมาร ทดีไวซ ทีถ่ กู ลงและมีความหลากหลายมากขึน้ ในขณะทีก่ ารใช งานสังคมออนไลน ยงั คงเพิม่ สูงขึน้ แม วา การจัดสรรคลืน่ ความถี่ 2.1GHz จะเกิดความล าช า ก็ตาม แต เอไอเอสได ทาํ การแบ งคลืน่ ความถี่ 900MHz ทีม่ อี ยูอ ย างจํากัดออกมาบางส วนแล วนํามาพัฒนาให บริการด วยเทคโนโลยี 3G เพือ่ ตอบรับ กับการเติบโตของตลาดอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ โดยเอไอเอสมีฐานลูกค าที่สมัครใช บริการ 3G แล วกว า 4.5 ล านเลขหมาย และมีสถานีฐานให บริการ 3G จํานวน 3,500 สถานีในพืน้ ที่ 18 จังหวัด ซึง่ เป นป จจัยทีช่ ว ยให รายได จากการให บริการข อมูลเติบโต 33% ดีกว าประมาณการของบริษทั ซึง่ ตัง้ ไว ทีร่ ะดับ 30% และช วยเพิม่ สัดส วนรายได บริการข อมูลเพิม่ ขึน้ มาเป น 24% ของรายได บริการ จากระดับ 20% ในป กอ น นอกจากนี้ รายได จากการให บริการเสียงของบริษทั ยังเติบโต 5% จากป 2554 แต อตั ราการเติบโตชะลอตัวลงเนือ่ งจากสัดส วนผู ใช บริการโทรศัพท เคลือ่ นทีต่ อ ประชากรเพิม่ ขึน้ สูร ะดับ 120% และแสดงให เห็นว าแนวโน มการเติบโตของบริการเสียงในอนาคตน าจะชะลอตัวลงเช นกัน อย างไรก็ดี ด วยการดําเนินงานตามแนวทาง “Quality DNAs” ของบริษทั ทําให บริการอินเทอร เน็ตเคลือ่ นทีเ่ ติบโตได ดแี ม จะมีขอ จํากัดในด านปริมาณคลืน่ 900MHz ก็ตาม ในขณะทีบ่ ริษทั มีการ เติบโตของบริการเสียงทีเ่ หนือกว าคูแ ข งจากจุดแข็งด านโครงข ายโทรศัพท เคลือ่ นทีข่ องบริษทั ทีค่ รอบคลุมทัว่ ประเทศไทย ทําให รายได รวมของบริษทั ในป 2555 เติบโต 12% และแม บริษัทจะลงทุนพัฒนาโครงข ายให มีเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเพิ่มความสามารถในการรองรับการใช งานได มากขึ้น แต เอไอเอสยังคงบริหารจัดการต นทุนอย างรัดกุมทําให EBITDA ของบริษัทเติบโต 8.5% และกําไรสุทธิเติบโต 57% เหตุการณ สําคัญของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทยในป 2555 คือการออกใบอนุญาตให ใช คลื่นความถี่ 2.1GHz ในเดือนธันวาคมซึ่งเป นการนํา ความเปลี่ยนแปลงมาสู รูปแบบโครงสร างธุรกิจโทรคมนาคม โดยบริษัท แอดวานซ ไวร เลส เน็ทเวอร ค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) ซึ่งเป นบริษัทย อยที่


114

อินทัช

เอไอเอส ถือหุ นอยู ร อยละ 99.99 ได รับใบอนุญาตให ใช คลื่นความถี่ 2.1GHz จํานวน 2x15MHz โดยใบอนุญาตดังกล าวมีอายุ 15 ป การได รับ อนุญาตดังกล าวส งผลให รปู แบบโครงสร างธุรกิจเปลีย่ นแปลงจากระบบสัญญาร วมการงานทีด่ าํ เนินงานมากว า 20 ป เป นระบบใบอนุญาตซึง่ มีตน ทุน ค าธรรมเนียมทีล่ ดลง บริษทั ได กรรมสิทธิใ์ นสินทรัพย ทลี่ งทุน และมีเงือ่ นไขทีเ่ ท าเทียมกันกับผูร บั ใบอนุญาตทุกราย บริษทั ได เตรียมเงินลงทุนจํานวน 7 หมื่นล านบาทสําหรับป 2556 ถึงป 2558 ในการสร างโครงข าย 3G-2.1GHz ใหม และบํารุงรักษาโครงข าย 900MHz ที่มีอยู เดิม โดยบริษัทคาด ว ารายได จากการให บริการในป 2556 จะเติบโตประมาณ 6-8% จากการใช งานบริการข อมูลที่เพิ่มขึ้นอย างต อเนื่อง ขณะที่รายได จากบริการเสียง อ อนตัวลง บริษทั คาดการณ วา ค าใช จา ยในการดําเนินงานจะเพิม่ สูงขึน้ จากค าใช จา ยทางการตลาด ค าโรมมิง่ และค าเช าโครงข าย 900MHz ซึง่ จะส ง ผลให อัตรากําไร EBITDA Margin ลดลงมาที่ระดับ 41-42% ทั้งนี้ บริษัทจะใช กระแสเงินสดจากการดําเนินงานเพื่อการลงทุนข างต น อีกทั้งบริษัท ยังมีสถานะทางการเงินที่แข็งแกร งเพียงพอต อการรองรับนโยบายเงินป นผลของบริษัทต อไป

เหตุการณ สําคัญ บันทึกการด อยค าของเงินลงทุนในดีพีซีในงบการเงินเฉพาะกิจการ ในไตรมาส 4/2555 เอไอเอสได สอบทานมูลค าตามบัญชีของเงินลงทุนในบริษทั ดิจติ อล โฟน จํากัด (ดีพซี )ี ซึง่ เป นบริษทั ย อยของเอไอเอสทีใ่ ห บริการ โทรศัพท เคลื่อนที่ด วยเทคโนโลยี GSM บนคลื่น 1800MHz โดยเปรียบเทียบระหว างมูลค าตามบัญชีและมูลค าของกระแสเงินสดในอนาคต โดยมี สมมติฐานว าสัญญาอนุญาตให ดําเนินการของดีพีซีสิ้นสุดวันที่ 15 กันยายน 2556 โดยผลจากการสอบทานดังกล าวทําให บริษัททําการบันทึก ขาดทุนจากการด อยค าเป นจํานวนเงิน 2,475 ล านบาทซึ่งไม ใช รายการที่กระทบต อกระแสเงินสด และรายการดังกล าวกระทบต อกําไรสุทธิในงบ การเงินเฉพาะกิจการเท านั้น ไม กระทบต อกําไรสุทธิในงบรวม ทั้งนี้ เมื่อคํานวณจากกระแสเงินสดจากการคาดการณ ในอนาคตร วมกับเงินสดที่ ดีพีซีมีอยู แล ว มูลค าที่คาดว าจะได รับคืนของเงินลงทุนในดีพีซีอยู ที่ 4,479 ล านบาท บนงบการเงินเฉพาะกิจการ (รายละเอียดโปรดดูในหมายเหตุ ที่ 11 ของงบการเงินป 2555) การปรับภาระผูกพันผลประโยชน พนักงาน บริษัททําการปรับข อสมมติฐานตามหลักการคณิตศาสตร ประกันภัยที่ใช ในการคํานวณภาระผูกพันผลประโยชน พนักงาน อาทิ อัตราคิดลดและ อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินเดือนในอนาคต เพื่อให สอดคล องตามสถานการณ ป จจุบัน ซึ่งการปรับข อสมมติฐานดังกล าวทําให บริษัทบันทึกขาดทุน จากการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตร ประกันภัยโดยรับรู ในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ เป นจํานวน 723 ล านบาทในงบการเงินรวม และเป น จํานวน 417 ล านบาทในงบการเงินเฉพาะกิจการ (รายละเอียดโปรดดูในหมายเหตุที่ 21 ของงบการเงินป 2555) การตัดจําหน ายอุปกรณ ที่ล าสมัย ในไตรมาส 4/2555 บริษัททําการตัดจําหน ายอุปกรณ ที่ล าสมัยคิดเป นมูลค า 377 ล านบาทโดยบันทึกในค าใช จ ายในการบริหาร ทั้งนี้ บริษัทจะ ทําการตรวจนับและเช็คอุปกรณ เป นประจําถ าพบว าอุปกรณ ใดล าสมัยหรือไม ใช งานแล ว บริษัทจะทําการตัดจําหน ายอุปกรณ ดังกล าว

ผลประกอบการ สรุปผลการดําเนินงาน จํานวนผู ใช บริการของเอไอเอส ณ สิ้นป 2555 อยู ที่ 35.7 ล านเลขหมายเพิ่มขึ้น 2.3 ล านเลขหมาย โดยจํานวนผู ใช บริการที่เพิ่มขึ้นนี้มาจากผู ใช บริการที่ใช ซิมโทรศัพท เคลื่อนที่มากกว าหนึ่งเลขหมายเพื่อนําไปใช งานอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ซึ่งกําลังเติบโตและจากการเติบโตในตลาดต างจังหวัด เอไอเอสใช กลยุทธ ในการเพิ่มฐานลูกค าที่มีคุณภาพอย างต อเนื่องซึ่งส งผลให อัตราผู ใช บริการที่ออกจากระบบ (Churn rate) ของกลุ มลูกค าระบบ เหมาจ ายรายเดือนลดลงมาอยู ที่ 1.5% ในขณะที่ของกลุ มลูกค าระบบเติมเงินอยู ที่ 4.3% นอกจากนี้ แนวโน มการใช งานอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ที่ เติบโตทัง้ ในกลุม ลูกค าระบบเติมเงินและระบบเหมาจ ายรายเดือนยังช วยให รายได จากการให บริการต อเลขหมาย (ARPU) เพิม่ สูงขึน้ โดย ARPU ของ กลุ มลูกค าระบบเติมเงินขึ้นมาอยู ที่ 219 บาทต อเดือน หรือเพิ่มขึ้น 7.4% และมีจํานวนนาทีโทรออก (MOU) 330 นาทีต อเดือน หรือเพิ่มขึ้น 2.2% เนือ่ งจากลูกค ายังคงใช บริการเสียงอย างต อเนือ่ งและมีการใช งานอินเทอร เน็ตเคลือ่ นทีเ่ พิม่ ขึน้ พร อมกัน ในขณะทีก่ ลุม ลูกค าระบบเหมาจ ายรายเดือน นั้น มี ARPU ทรงตัวที่ 682 บาทต อเดือนแต จํานวนนาทีโทรออกลดลงเป น 538 นาทีต อเดือน หรือลดลง 8% ซึ่งเกิดจากการใช งานที่สูงในช วงเกิด มหาอุทกภัยเมื่อปลายป 2554 ทั้งนี้ หากไม รวมการใช งานที่เพิ่มขึ้นเป นพิเศษในช วงไตรมาส 4/2554 ดังกล าวแล ว ค าเฉลี่ยของ ARPU ในช วงสาม ไตรมาสแรกของป 2555 นั้นปรับสูงขึ้นจากป ก อนจาก 645 บาทต อเดือนเป น 673 บาทต อเดือน

รายได

ในป 2555 เอไอเอสมีรายได รวม 141,568 ล านบาท เพิ่มขึ้น 12% เมื่อเทียบกับป ที่แล วจากการเติบโตของการใช งานอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่และ การขายอุปกรณ โทรศัพท เคลื่อนที่ ประกอบด วย (1) รายได จากการให บริการไม รวมค าเชื่อมโยงโครงข ายจํานวน 108,355 ล านบาท เพิ่มขึ้น 11%


รายงานประจําป 2555

115

เมื่อเทียบกับป ที่แล วซึ่งดีกว าประมาณการของบริษัทเนื่องจากการเติบโตอย างต อเนื่องของทั้งบริการเสียงและบริการข อมูล และ (2) รายได จากการ ขายอุปกรณ โทรศัพท เคลื่อนที่จํานวน 17,695 ล านบาท หรือเพิ่มขึ้น 34% อันเป นผลจากความต องการใช งานอุปกรณ สมาร ทดีไวซ ที่เติบโตอย าง ต อเนื่อง โดยเฉพาะในไตรมาส 4/2555 ที่โทรศัพท ไอโฟน 5 เป ดตัว ได ช วยให รายได จากการขายอุปกรณ โทรศัพท เคลื่อนที่เพิ่มขึ้นถึง 85% รายได จากการให บริการเสียง ในป 2555 การแข งขันในตลาดบริการเสียงไม มกี ารเปลีย่ นแปลงมากนัก เอไอเอสมีรายได จากบริการเสียง 74,742 ล านบาท เพิม่ ขึน้ 5.4% เมือ่ เทียบ กับป ทแี่ ล ว โดยเติบโตทัง้ ในระบบเหมาจ ายรายเดือนและระบบเติมเงิน เป นผลจากโครงข ายของเอไอเอสทีค่ รอบคลุมทัว่ ประเทศไทยและกลยุทธ ของเอ ไอเอส ในการสร างบริการที่ออกแบบสําหรับลูกค าแต ละกลุ ม ทั้งนี้ รายได จากการให บริการเสียงในระบบเติมเงินเพิ่มขึ้น 4.6% โดยส วนใหญ เติบโต จากกลุ มลูกค าต างจังหวัด ในขณะที่รายได จากการให บริการเสียงในระบบเหมาจ ายรายเดือนเติบโต 7.6% เนื่องจากการเติบโตของฐานลูกค าที่ ต องการใช สมาร ทโฟนมากขึ้น อย างไรก็ดี การเติบโตของบริการเสียงในป 2555 ชะลอตัวจากป 2554 ที่เติบโต 8% อันแสดงให เห็นถึงแนวโน มการ เติบโตของตลาดบริการเสียงที่เริ่มชะลอตัวลง รายได จากการให บริการข อมูล บริการข อมูลเติบโตอย างต อเนื่องในป 2555 ทั้งจากการเติบโตของการใช งานอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ รวมทั้งจํานวนผู ใช งานอุปกรณ สมาร ทดีไวซ และสังคมออนไลน ที่มีจํานวนเพิ่มขึ้น เอไอเอสมีรายได จากการให บริการข อมูล 26,197 ล านบาท เพิ่มขึ้น 33% เมื่อเทียบกับป ที่แล ว โดยส วนใหญ มาจากรายได อินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ซึ่งเติบโตถึง 65% จํานวนผู ใช งานอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ของเอไอเอสเพิ่มขึ้นเป น 12.2 ล านเลขหมายหรือคิดเป น จํานวน 34% ของฐานลูกค าจากเดิมซึ่งอยู ที่ระดับ 27% ในป 2554 ทั้งนี้ ในจํานวนผู ใช งานอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ดังกล าวมีผู สมัครใช บริการ เอไอเอส 3G บนคลืน่ 900MHz จํานวนกว า 4.5 ล านเลขหมาย ทัง้ นี้ ในช วงป 2555 ทีผ่ า นมา มีจาํ นวนผู ใช อปุ กรณ สมาร ทดีไวซ เพิม่ มากขึน้ เนือ่ งจาก ราคาของอุปกรณ ที่ลดลงซึ่งลูกค าสามารถซื้อได ในราคาที่ต่ํากว า 4,000 บาทโดยป จจุบันกว า 17% ของลูกค าเอไอเอสใช งานสมาร ทดีไวซ อยู เอไอเอสได ตอบสนองต อแนวโน มที่เพิ่มขึ้นของจํานวนผู ใช งานและปริมาณการใช อินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ด วยการเสริมสร างประสบการณ ใช งาน ของลูกค าผ านการเพิ่มความจุในการให บริการ 3G บนคลื่น 900MHz รวมทั้งนําเสนอแอพพลิเคชั่นใหม ๆ ที่สอดคล องกับรูปแบบการดําเนินชีวิต ของลูกค าในยุคดิจิตอล เช น AIS Guide & Go, AIS Music Store และ AIS Bookstore เป นต น รายได จากบริการข ามแดนอัตโนมัติและอื่นๆ รายได จากบริการโทรออกต างประเทศและบริการอื่นๆ เท ากับ 4,611 ล านบาท เติบโต 9.5% จากกิจกรรมทางการตลาดที่ช วยเพิ่มทั้งจํานวนผู ใช และปริมาณการใช งานโทรออกต างประเทศ ในขณะที่รายได จากบริการข ามแดนอัตโนมัติลดลง 7% เนื่องจากรายได ในส วนของลูกค าต างประเทศ ที่เข ามาใช งานในประเทศไทยลดลง แม รายได จากลูกค าเอไอเอสที่ใช งานในต างประเทศโดยเฉพาะจากการใช บริการข อมูลที่เพิ่มสูงขึ้น เอไอเอส ได ตอบรับกับความต องการใช งานอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ในต างประเทศโดยนําเสนอบริการดาต าโรมมิ่งและแอพพลิเคชั่นข ามแดนอัตโนมัติ เช น แพ็กเกจบริการข ามแดนอัตโนมัติที่สมัครใช งานง าย หรือโซลูชั่นที่ป องกันการใช งานเกินกําหนดหรือใช งานโดยไม ตั้งใจในระหว างที่อยู ต างแดน รวมทั้งการส ง SMS เตือนลูกค าในต างประเทศ เป นต น รายได จากการขาย เอไอเอสมีรายได จากการขายอุปกรณ และโทรศัพท เคลื่อนที่ 17,695 ล านบาท เพิ่มขึ้น 34% เมื่อเทียบกับป ที่แล ว จากการขายอุปกรณ สมาร ทโฟน ได มากขึ้น เป นผลจากความต องการใช งานอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ของลูกค า ดังเห็นได จากการเป ดตัวโทรศัพท ไอโฟน 5 ในช วงไตรมาส 4/2555 ที่ ผ านมา เอไอเอสมุ งมั่นนําเสนออุปกรณ สมาร ทดีไวซ ที่ลูกค าสามารถเป นเจ าของได ง ายโดยนําเสนอผลิตภัณฑ ที่เหมาะสมกับลูกค าแต ละกลุ มด วย การผนวกด วยแพ็กเกจค าใช บริการที่ออกแบบมาเฉพาะ และมีบริการเสริมเช น AIS Bookstore อย างไรก็ดี อัตรากําไรจากการขายอุปกรณ ลดลง มาอยู ที่ 8.3% จากระดับ 11.9% ในป ที่แล วจากการแข งขันในตลาดที่ทําให เครื่องราคาถูกลง ค าเชื่อมโยงโครงข าย (IC) เอไอเอสมีรายได ค าเชื่อมโยงโครงข ายสุทธิเท ากับ 565 ล านบาท เพิ่มขึ้นจาก 451 ล านบาทในป ที่แล ว เนื่องจากคู แข งมีการนําเสนอโปรโมชั่นที่โทร ได ทุกเครือข ายมากขึ้น ส งผลให รายรับค าเชื่อมโยงโครงข ายเพิ่มขึ้น ในขณะที่ต นทุนค าเชื่อมโยงโครงข ายทรงตัว

ต นทุนและค าใช จ าย ต นทุนการให บริการไม รวมค า IC ในป 2555 ต นทุนการให บริการไม รวมค า IC อยู ที่ 25,219 ล านบาท ทรงตัวจากป ที่แล ว จากการลดลงของค าตัดจําหน ายโครงข ายซึ่งลดลง 12% มาอยูท ี่ 14,907 ล านบาทเนือ่ งจากสินทรัพย โครงข ายสัญญาร วมการงานจํานวนหนึง่ มีการตัดจําหน ายมูลค าหมดแล ว แม คา ใช จา ยด านโครงข าย


116

อินทัช

จะเพิ่มขึ้น 21% เป น 5,393 ล านบาทจากการที่เอไอเอสขยายโครงข าย 3G บนคลื่น 900MHz เพื่อเพิ่มความจุทั้งด านการบริการเสียงและข อมูล ก็ตาม ขณะที่ต นทุนการให บริการอื่นๆ เพิ่มขึ้น 31% จากป ก อนจากการขยายโครงข ายและการเริ่มตัดจําหน ายค าใบอนุญาตใช คลื่น 2.1GHz หลัง จากได รับใบอนุญาตดังกล าวอย างเป นทางการในเดือนธันวาคม 2555 ค าใช จ ายในการขายและบริหาร เอไอเอสมีค าใช จ ายในการขายและบริหาร 11,958 ล านบาท เพิ่มขึ้น 7.6% จากป ที่แล ว โดยส วนใหญ เพิ่มจากค าใช จ ายในการบริหารเนื่องจากการ ตัดจําหน ายอุปกรณ สนิ ทรัพย ทลี่ า สมัยมูลค า 377 ล านบาท ในขณะทีค่ า ใช จา ยทางการตลาดเพิม่ ขึน้ เล็กน อยจากป กอ น 2.3% มาอยูท รี่ ะดับ 2,890 ล านบาท เพือ่ เพิม่ การรับรูข องลูกค าต อบริการ 3G รวมถึงการจัดกิจกรรมเพือ่ สร างความสัมพันธ กบั ลูกค า อย างไรก็ตามค าใช จา ยทางการตลาด มีสัดส วนลดลงเป น 2% ของรายได รวม เทียบกับ 2.2% ในป 2554 ส วนค าใช จ ายในการตั้งสํารองหนี้สูญลดลง 11% เหลือ 543 ล านบาท หรือคิด เป น 2% ของรายได จากลูกค าระบบเหมาจ ายรายเดือน ลดลงจากระดับ 2.5% ในป ที่แล ว อันเป นผลจากความสําเร็จของกลยุทธ ในการรักษาฐาน ลูกค าที่มีคุณภาพ

กําไร การเติบโตของรายได จากการให บริการช วยผลักดันให EBITDA เพิ่มขึ้น 8.5% เป น 61,436 ล านบาท แม มีค าใช จ ายเพิ่มขึ้นจากการขยายความจุ โครงข ายเพื่อรองรับการใช งานบริการข อมูลที่สูงขึ้น อย างไรก็ตาม EBITDA margin ลดลงมาที่ระดับ 43.4% เทียบกับ 44.8% ในป ก อน เนื่องจาก สัดส วนรายได จากธุรกิจจําหน ายอุปกรณ โทรศัพท เคลือ่ นทีต่ อ รายได รวมเพิม่ สูงขึน้ อันเป นผลจากความนิยมใช งานสมาร ทโฟน แต ธรุ กิจจําหน าย อุปกรณ โทรศัพท เคลือ่ นทีม่ อี ตั รากําไรต่าํ กว าธุรกิจบริการ รวมทัง้ บริษทั ยังมีคา ใช จา ยทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการขยายความจุโครงข าย 900MHz ด วย ทัง้ นี้ ในป 2555 บริษัทมีกําไรสุทธิมูลค า 34,883 ล านบาท เพิ่มขึ้น 57% จากป ที่แล ว จาก EBITDA ที่เพิ่มขึ้นในขณะที่ค าตัดจําหน ายโครงข ายและต นทุน ทางการเงินลดลง (หลังจากชําระคืนหนี้ที่มีภาระดอกเบี้ยในป 2555 มูลค ากว า 5,500 ล านบาท) รวมทั้งอัตราภาษีนิติบุคคลที่ลดลงจาก 30% เป น 23% และไม มรี ายการพิเศษดังเช นในป 2554 ซึง่ รายการพิเศษดังกล าว ได แก การด อยค าความนิยมดีพซี จี าํ นวน 1,542 ล านบาท และการปรับภาษี เงินได รอการตัดบัญชีมลู ค า 2,840 ล านบาท ทัง้ นีแ้ ม EBITDA Margin จะลดลงจากป ทแี่ ล ว แต อตั รากําไรสุทธิเพิม่ ขึน้ เป น 24.6% จาก 17.6% จาก ค าตัดจําหน าย ต นทุนทางการเงิน และภาษีเงินได นิติบุคคลที่ลดลง ทั้งนี้หากยกเว นรายการพิเศษในป 2554 แล ว กําไรสุทธิก อนรายการพิเศษเพิ่ม ขึ้น 31% จากป ที่แล วโดยอยู ที่ 34,883 ล านบาท

ฐานะการเงินและกระแสเงินสด ณ สิ้นป 2555 บริษัทมีสินทรัพย รวมเพิ่มขึ้นเป น 100,968 ล านบาท จาก 86,672 ล านบาทเมื่อสิ้นป 2554 เนื่องจากบริษัทได รับใบอนุญาตให ใช คลื่น 2.1GHz รวมทั้งมีสินทรัพย หมุนเวียนในส วนของเงินสดและลูกหนี้การค าเพิ่มขึ้น บริษัทบันทึกสินทรัพย ใบอนุญาต 2.1GHz มูลค า 14,625 ล านบาท ในสินทรัพย ไม หมุนเวียน โดยมูลค าใบอนุญาตดังกล าวจะถูกแบ งตัดจําหน ายจนหมดภายในช วงเวลา 15 ป ตามอายุใบอนุญาต ขณะที่ เงินสดของบริษัทเพิ่มขึ้นจาก 21,887 ล านบาทในป ก อน เป น 23,531 ล านบาท ทั้งนี้โครงข ายตามสัญญาร วมการงานมีมูลค าลดลงอย างต อเนื่อง ตามสัญญาร วมการงานที่ใกล หมดอายุแม บริษัทได ลงทุนโครงข ายในป 2555 เพิ่มขึ้นก็ตาม หนีท้ มี่ ภี าระดอกเบีย้ อยูท ี่ 20,915 ล านบาท ลดลงจากป 2554 ทีร่ ะดับ 22,415 ล านบาท เนือ่ งจากในป 2555 บริษทั ชําระคืนเงินกูจ าํ นวนกว า 5,500 ล านบาท ในขณะทีเ่ บิกใช เงินกูจ าํ นวน 4,000 ล านบาท ทัง้ นี้ บริษทั ยังคงรักษาสภาพคล องดังเห็นได จากอัตราส วนสินทรัพย หมุนเวียนต อหนีส้ นิ หมุน เวียนอยูท รี่ ะดับ 1.05 เทียบกับระดับ 1.12 ในป 2554 และบริษทั ยังคงมีสถานะเงินสดสุทธิแม ในปลายป บริษทั ได ชาํ ระค าใบอนุญาต 2.1GHz งวดแรก จํานวนกว า 7,321 ล านบาทก็ตาม ในขณะทีส่ ว นของผูถ อื หุน เพิม่ ขึน้ จากระดับ 39,464 ล านบาท เป น 43,542 ล านบาท เนือ่ งจากมีกาํ ไรสุทธิเพิม่ ขึน้ ในป 2555 บริษัทมีกระแสเงินสดจากการดําเนินงาน 51,133 ล านบาท เพิ่มขึ้นจากป ที่แล ว 6% จาก EBITDA ที่เติบโตขึ้น ทั้งนี้ เอไอเอสลงทุนเพื่อ ขยายความจุของโครงข าย 3G บนคลื่น 900MHz โดยใช เงินลงทุนเป นจํานวน 9,598 ล านบาท เพิ่มขึ้นจาก 5,707 ล านบาทในป ก อน ซึ่งสูงกว าคาด การณ เดิมของบริษัทที่ 8,000 ล านบาทอันเป นผลจากการเร งลงทุนขยายโครงข าย 3G บนคลื่น 2.1GHz ภายหลังได รับใบอนุญาต โดยรวมแล ว บริษัทมีกระแสเงินสดหลังหักเงินลงทุน (EBITDA-CAPEX) ในป 2555 เพิ่มขึ้นจากป ก อน 1.8% โดยอยู ที่ระดับ 51,838 ล านบาท


รายงานประจําป 2555

117

สรุปผลประกอบการเชิงการเงิน ตาราง 1 – รายได การบริการ รายได จากบริการเสียง ระบบเหมาจ ายรายเดือน (เสียง) ระบบเติมเงิน (เสียง) รายได จากบริการข อมูล รายได จากบริการข ามแดนอัตโนมัติ อื่นๆ (โทรต างประเทศ, อื่นๆ) รวมรายได จากการให บริการไม รวม IC

ป 2554 70,944 72.5% 17,374 17.7% 53,570 54.7% 19,736 20.2% 3,019 3.1% 4,212 4.3% 97,911 100.0%

(ล านบาท)/(% ของรายได การให บริการไม รวม IC) ป 2555 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 74,742 69.0% 3,798 5.4% 18,698 17.3% 1,324 7.6% 56,044 51.7% 2,474 4.6% 26,197 24.2% 6,461 33% 2,805 2.6% -214 -7.1% 4,611 4.3% 398 9.5% 108,355 100.0% 10,444 11%

ป 2554 13,180 10.4% 11,613 9.2% 1,567 1.2% 11.9%

(ล านบาท)/(% ของรายได รวม) ป 2555 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 17,695 12.5% 4,515 34% 16,218 11.5% 4,605 40% 1,477 1.0% -90 -5.8% 8.3%

ป 2554 15,346 12.1% 14,895 11.8% 451 0.4%

(% ของรายได รวม) ป 2555 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 15,518 11.0% 172 1.1% 14,953 10.6% 58 0.4% 565 0.4% 114 25%

ป 2554 17,017 13.5% 4,468 3.5% 2,984 2.4% 1,484 1.2% 3,758 3.0% 25,243 20.0% 24,469 19.4%

(ล านบาท)/(% ของรายได รวม) ป 2555 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 14,907 10.5% -2,110 -12% 5,393 3.8% 924 21% 3,575 2.5% 591 20% 1,818 1.3% 333 22% 4,919 3.5% 1,161 31% 25,219 17.8% -25 -0.1% 27,580 19.5% 3,111 13%

ตาราง 2 – รายได การขาย รายได จากการขาย ต นทุนการขาย สุทธิจากการขาย อัตรากําไรจากการขาย (%) ตาราง 3 – ค าเชื่อมโยงโครงข าย (IC) รายรับค า IC รายจ ายค า IC สุทธิ รับ/(จ าย) ตาราง 4 – ต นทุนการให บริการไม รวม IC ค าตัดจําหน ายโครงข าย ค าใช จ ายในการบริหารโครงข าย ต นทุนโครงข าย ค าซ อมบํารุงโครงข าย ต นทุนการให บริการอื่นๆ รวมต นทุนการให บริการไม รวม IC ส วนแบ งรายได


118

อินทัช

ตาราง 5 – ค าใช จ ายในการขายและบริหาร ค าใช จ ายการตลาด ค าใช จ ายในการบริหาร ค าใช จ ายการตั้งสํารองหนี้สูญ ค าเสื่อมราคา รวมค าใช จ ายในการขายและบริหาร % ค าใช จ ายตั้งสํารองหนี้สูญต อรายได จากระบบ เหมาจ ายรายเดือน

ป 2554 2,826 7,476 611 203 11,118

2.2% 5.9% 0.5% 0.2% 8.8%

2.5%

2.0%

ตาราง 6 – EBITDA กําไรจากการดําเนินงาน ค าเสื่อมราคาที่ดิน อาคาร อุปกรณ ค าตัดจําหน ายสินทรัพย โครงข าย (กําไร)/จากทุนจากการขายสินทรัพย ค าตอบแทนผู บริหาร ค าใช จ ายการเงินอื่นๆ EBITDA

30.9% 2.0% 12.0% 0.0% -0.1% 0.0% 44.8%

(ล านบาท)/(% ของรายได รวม) ป 2555 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 45,640 32.2% 6,540 17% 2,183 1.5% -328 -13% 13,447 9.5% -1,717 -11% 364 0.3% 367 -153 -0.1% -37 32% -45 0.0% -12 38% 61,436 43.4% 4,813 8.5%

ป 2554 1,666 1.3%

(ล านบาท)/(% ของรายได รวม) ป 2555 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 1,093 0.8% 1,666 -34%

ป 2554 39,100 2,511 15,164 -3 -116 -32 56,623

ตาราง 7 – ค าใช จ ายทางการเงิน ค าใช จ ายทางการเงิน ตาราง 8 – กําไร (ล านบาท) กําไรสุทธิ บวก: การด อยค าความนิยมของดีพีซี บวก: การปรับปรุงสินทรัพย ภาษีรอการตัดบัญชี กําไรสุทธิก อนรายการพิเศษ

(ล านบาท)/(% ของรายได รวม) ป 2555 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 2,890 2.0% 64 2.3% 8,324 5.9% 847 11% 543 0.4% -69 -11% 201 0.1% -2 -1.1% 11,958 8.4% 840 7.6%

รายการบันทึก ขาดทุนจากการด อยค า ค าใช จ ายภาษีเงินได

ป 2554 22,218 1,542 2,840 26,600

ป 2555 เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง(%) 34,883 12,666 57% 0 0 34,883 8,283 31%

ตาราง 9 – ฐานะการเงิน (ล านบาท)/(% ของสินทรัพย รวม) เงินสด เงินลงทุนระยะสั้น ลูกหนี้การค า สินค าคงเหลือ สินทรัพย หมุนเวียนอื่นๆ รวมสินทรัพย หมุนเวียน

ป 2554 21,887 25.3% 727 0.8% 7,037 8.1% 1,087 1.3% 2,440 2.8% 33,178 38.3%

ป 2555 23,531 23.3% 1,340 1.3% 8,065 8.0% 1,427 1.4% 3,741 3.7% 38,103 37.7%


รายงานประจําป 2555

ค าใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ -สุทธิ สินทรัพย ไม มีตัวตนอื่น สินทรัพย ภาษีเงินได รอตัดบัญชี อื่นๆ รวมสินทรัพย เจ าหนี้การค า ส วนของเงินกู ถึงกําหนดชําระใน 1 ป ผลประโยชน ตอบแทนค างจ าย อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้ที่มีภาระดอกเบี้ย รวมหนี้สิน กําไรสะสมยังไม ได จัดสรร รวมส วนผู ถือหุ น ตาราง 10 – อัตราส วนทางการเงินที่สําคัญ หนี้สินรวมต อสินทรัพย รวม เงินกู สุทธิต อส วนของผู ถือหุ น เงินกู สุทธิต อ EBITDA หนี้สินรวมต อส วนของผู ถือหุ น อัตราส วนเงินทุนหมุนเวียน Interest coverage DSCR กําไรต อส วนผู ถือหุ น-ROE (%) ตาราง 11 – ตารางการจ ายคืนหนี้ 2555 ไตรมาส 1/2556 ไตรมาส 2/2556 ไตรมาส 3/2556 ไตรมาส 4/2556 2557 2558 2559 2560 2561

ป 2554 0.0% 44,121 50.9% 2,275 2.6% 6,422 7.4% 676 0.8% 86,672 100.0% 3,520 4.1% 5,469 6.3% 4,593 5.3% 16,152 18.6% 29,734 34.3% 22,415 25.9% 47,209 54.5% 13,246 15.3% 39,464 45.5%

119

ป 2555 14,577 14.4% 40,297 39.9% 2,033 2.0% 5,314 5.3% 644 0.6% 100,968 100.0% 7,341 7.3% 8,462 8.4% 4,855 4.8% 15,630 15.5% 36,288 35.9% 20,915 20.7% 57,426 56.9% 17,344 17.2% 43,542 43.1% ป 2554 ป 2555 0.54 0.57 0.01 เงินสดสุทธิ 0.01 เงินสดสุทธิ 1.2 1.3 1.12 1.05 23.9 43.5 5.6 4.5 66% 84% (ล านบาท) หุ นกู เงินกู ระยะยาว 5,000 493 4,000 247 4,000 247 2,500 2,939 2,399 3,093 1,187 247


120

อินทัช

ตาราง 12 –แหล งที่มาและการใช ไปของเงินทุนของป 2555 แหล งที่มาของเงินทุน กระแสเงินสดจากการดําเนินงานก อนส วนเปลี่ยนแปลง เงินทุนหมุนเวียน เงินรับจากการกู ยืมระยะยาว ดอกเบี้ยรับ เงินรับจากการขายสินทรัพย และอุปกรณ

(ล านบาท)

62,570 3,999 746 28

รวม

67,343

การใช ไปของเงินทุน เงินป นผลจ าย ภาษีเงินได การลงทุนในโครงข ายและสินทรัพย ถาวร ชําระค าใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม ชําระคืนเงินกู ระยะยาว เงินสดเพิ่มขึ้น ชําระต นทุนทางการเงินและค าเช าทางการเงิน การเปลี่ยนแปลงในเงินลงทุนระยะสั้น/ยาวสุทธิ ส วนเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน รวม

30,241 11,110 9,598 7,321 5,486 1,472 1,173 613 328 67,343

มุมมองของผู บริหารต อแนวโน มและกลยุทธ ในป 2556 รายได จากการให บริการ 6-8% เทียบกับป ที่แล ว รายได จากการบริการข อมูล 25-30% เทียบกับป ที่แล ว EBITDA margin 41-42% เงินลงทุนโครงข าย 70,000 ล านบาท ในช วง 3 ป (รวมค าบํารุงรักษาโครงข าย 2G 10%) พื้นที่ครอบคลุมของโครงข าย 3G-2.1GHz • ครอบคลุม 97% ของประชากรซึ่งเทียบเท ากับโครงข าย 900MHz ในป จจุบัน • เป ดให บริการครบทั้ง 77 จังหวัดทั่วประเทศไทยภายในป แรก • มีสถานีฐาน 3G บนคลื่น 2.1GHz กว า 20,000 สถานี ผู ใช บริการ 3G-2.1GHz 8-10 ล านเลขหมาย (40% ใช อุปกรณ สื่อสารที่รองรับบริการ 3G)

ใบอนุญาตประกอบกิจการบนคลื่นความถี่ 2.1GHz คณะกรรมกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแห งชาติ (กสทช.) ได ออกใบอนุญาตให ใช คลื่นความถี่ 2.1GHz เมื่อเดือน ธันวาคม 2555 ที่ผ านมา บริษัทย อยของเอไอเอสคือบริษัท แอดวานซ ไวร เลส เน็ทเวอร ค จํากัด (เอดับบลิวเอ็น) เป นหนึ่งในสามบริษัทที่ได รับใบ อนุญาตให ใช คลื่นความถี่ 2.1GHz จํานวน 2x15MHz โดยใบอนุญาตดังกล าวมีอายุ 15 ป และเอดับบลิวเอ็นชนะการประมูลใบอนุญาตมาในราคา 14,625 ล านบาท การได รบั ใบอนุญาตดังกล าวทําให เอไอเอสมีคลืน่ ความถีช่ ดุ ใหม ทจี่ ะนํามาให บริการ 3G อย างเต็มรูปแบบทัว่ ประเทศ และใบอนุญาต ใหม นี้ มีโครงสร างต นทุนทีแ่ ตกต างจากระบบสัญญาร วมการงานแบบสร าง-โอนกรรมสิทธิ-์ ดําเนินงาน บนคลืน่ 900/1800MHz ทีด่ าํ เนินการอยูใ น ป จจุบนั โดยในระบบใบอนุญาตจาก กสทช. นัน้ เอดับบลิวเอ็นมีหน าทีน่ าํ ส งค าธรรมเนียมรายป 5.75% ของรายได จากการบริการให กบั กสทช. ใน ขณะที่เอดับบลิวเอ็นมีกรรมสิทธิ์ในโครงข ายที่ลงทุน ซึ่งแตกต างจากระบบสัญญาร วมการงานที่บริษัทมีหน าที่แบ งรายได 20-30% ของรายได จาก การบริการและต องโอนกรรมสิทธิ์ในโครงข ายให กับทีโอทีหรือ กสท ซึ่งเป นรัฐวิสาหกิจ นอกจากนี้ ใบอนุญาตให ใช คลื่น 2.1GHz มีอายุไปอีก 15 ป ในขณะที่สัญญาร วมการงานของบริษัทบนคลื่น 900MHz และ 1800MHz จะหมดอายุในป 2558 และป 2556 ตามลําดับ ทั้งนี้ในระหว างที่สัญญา ร วมการงานยังมีผลใช บงั คับอยู บริษทั ยังคงให บริการโทรศัพท เคลือ่ นทีด่ ว ยเทคโนโลยี 2G บนคลืน่ 900/1800MHz ควบคูไ ปกับบริการเทคโนโลยี 3G บนคลืน่ 2.1GHz โดยจะผสมผสานจุดแข็งของทุกระบบเข าด วยกันเพือ่ สร างบริการทีม่ คี ณ ุ ภาพให กบั ลูกค าของเรา บริษทั คาดการณ วา กสทช. จะประกาศแนวทางในการจัดสรรคลื่นความถี่ก อนที่สัญญาร วมการงานจะหมดอายุ และบริษัทมีความต องการที่จะให บริการโทรคมนาคมบนคลื่น 900/1800 MHz ในระยะยาว

งบลงทุน 7 หมื่นล านบาทใน 3 ป ข างหน า บริษทั มีความมุง มัน่ ทีจ่ ะรักษาความเป นผูน าํ ในตลาดบริการโทรศัพท เคลือ่ นทีข่ องไทยและเตรียมความพร อมกับการหมดอายุของสัญญาร วมการ งานบนคลื่น 900MHz และ 1800MHz ซึ่งจะหมดอายุในป 2558 และ 2556 ตามลําดับ โดยบริษัทได วางแผนขยายโครงข าย 3G บนคลื่น 2.1GHz ให ครอบคลุม 97% ของประชากรภายใน 3 ป ซึ่งเร็วกว าเงื่อนไขของ กสทช. ที่ต องการให ครอบคลุมประชากร 80% ภายใน 4 ป และบริษัทมีแผนเป ด


รายงานประจําป 2555

121

ให บริการ 3G บนคลื่น 2.1GHz ครบทั้ง 77 จังหวัดภายในป แรก ทั้งนี้ภายในป 2558 คาดว าบริษัทจะมีจํานวนสถานีฐาน 3G บนคลื่น 2.1GHz โดย ประมาณ 20,000 สถานีภายในป 2558 ซึง่ ทําให โครงข าย 3G ใหม มคี วามครอบคลุมเทียบเท ากับโครงข าย 900MHz ในป จจุบนั แต ในเชิงความจุของ โครงข ายนัน้ จะเป นไปตามปริมาณการใช งานทีค่ าดการณ ไว บริษทั ได ประมาณการงบลงทุนเป นจํานวน 7 หมืน่ ล านบาทในช วง 3 ป ขา งหน าโดย90% ของเงินลงทุนเป นการขยายโครงข าย 3G บนคลืน่ 2.1GHz และเงินลงทุนส วนทีเ่ หลือจะใช สาํ หรับการบํารุงรักษาโครงข าย 900MHZ และ 1800MHz ทีเ่ อไอเอสมีสทิ ธิในการบริหารจัดการจนถึงป 2558 และ 2556 ตามลําดับ ทัง้ นีก้ ารลงทุนจะครอบคลุมถึงอุปกรณ ภาคสัญญาณ อุปกรณ โครงข าย หลัก รวมถึงบางส วนของโครงสร างพื้นฐานในโครงข ายโทรคมนาคม เช น เสา ระบบสายสัญญาณ และรวมไปถึงอุปกรณ และระบบไอที

การใช โครงสร างพื้นฐานร วมกับระบบ 2G ภายใต งบลงทุนข างต นนัน้ บริษทั มีความต องการจะสร างโครงข าย 3G บนคลืน่ 2.1GHz ใหม ให พงึ่ พิงกับโครงข ายอืน่ น อยทีส่ ดุ เนือ่ งจากบริษทั ต อง ส งมอบการครอบครองอุปกรณ โครงข าย 900MHz ตามสัญญาร วมการงานหลังป 2556 ในขณะเดียวกัน บริษัทย อมต องคํานึงถึงการขยายโครง ข ายใหม อย างรวดเร็วเพื่อสร างความได เปรียบในการแข งขัน ดังนั้นบริษัทจึงมีแผนการติดตั้งอุปกรณ บางส วนของโครงข าย 2.1GHz บนโครงสร าง พืน้ ฐานหรือเสาโทรคมนาคมของโครงข าย 900MHz รวมถึงมีการเช าระบบสายสัญญาณบางส วนเพิม่ เติม นอกจากนีบ้ ริษทั จะสร างเสาโทรคมนาคม ใหม บางส วนสําหรับโครงข าย 2.1GHz ด วย เนือ่ งจากคลืน่ 2.1GHz มีความครอบคลุมน อยกว าคลืน่ 900 และ 1800MHz ทัง้ นี้ ในการเช าใช โครงสร าง พื้นฐาน เช น เสาโทรคมนาคม สาธารณูปโภครวมทั้งระบบสายสัญญาณนั้น เอดับบลิวเอ็นซึ่งเป นบริษัทผู รับใบอนุญาตให ประกอบกิจการบนคลื่น 2.1GHz จะทําสัญญาเช ากับเอไอเอสในฐานะเป นผูม สี ทิ ธิใช ประโยชน ในโครงข ายไปจนถึงป 2556 โดยรายได จากการเช าทีเ่ อไอเอสได รบั จะแบ งให กบั ทีโอทีซึ่งเป นไปตามตามสัญญาร วมการงาน และภายหลังป 2556 เอดับบลิวเอ็นจะทําสัญญาเช าใช กับทีโอทีในฐานะเจ าของกรรมสิทธิ์ต อไป โดย บริษัทคาดว าจะสามารถหาข อสรุปในรูปแบบการเช ากับทีโอทีได เสร็จก อนสัญญาร วมการงานบนคลื่น 900MHz จะหมดอายุ

การโรมมิ่งระหว าง 2G และ 3G เพื่อสร างประสบการณ ใช งานที่ดีที่สุดของลูกค าบนระบบ 2.1GHz ในช วงที่โครงข าย 2.1GHz ยังครอบคลุมไม ทั่วถึงหรือลูกค ายังไม ได ใช งานผ าน อุปกรณ ทรี่ องรับเทคโนโลยี 3G ลูกค ากลุม นัน้ จะสามารถใช บริการอย างต อเนือ่ งโดยเชือ่ มต อกับโครงข าย 900MHz ทีม่ คี วามครอบคลุมทัว่ ประเทศ ได ผ านการโรมมิ่ง ซึ่งจะทําให เอดับบลิวเอ็นต องจ ายค าโรมมิ่งให กับเอไอเอสซึ่งค าโรมมิ่งดังกล าวจะถูกแบ งให กับทีโอทีตามสัญญาร วมการงานเช น เดียวกับการเช าโครงสร างพื้นฐานข างต น ทั้งนี้ ภายหลังสัญญาร วมการงานบนคลื่น 900MHz หมดอายุ เอดับบลิวเอ็นจะเจรจาอัตราค าโรมมิ่ง กับทีโอทีต อไป ซึ่งป จจัยสําคัญที่เป นตัวกําหนดค าใช จ ายในการโรมมิ่งอยู ที่อัตราค าโรมมิ่งและปริมาณการโรมมิ่ง โดยบริษัทคาดว าอัตราค าโรม มิ่งจะสอดคล องกับหลักเกณฑ ของ กสทช. ที่ได กําหนดอัตราอ างอิงของค าเชื่อมโยงโครงข ายไว ที่ 0.45 บาทต อนาที ในขณะที่ปริมาณการโรมมิ่ง ส วนใหญ จะขึ้นอยู กับความครอบคลุมของโครงข าย 3G บนคลื่น 2.1GHz และอัตราการเพิ่มขึ้นของจํานวนผู ใช อุปกรณ 3G โดยยิ่งจํานวนผู ใช อุปกรณ 3G และโครงข าย 3G มีความครอบคลุมมากขึ้น ปริมาณการโรมมิ่งจะลดลง

แนวโน มการเติบโตมาจากบริการอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ ในป 2556 บริษัทคาดว ารายได จากบริการโทรศัพท เคลื่อนที่จะเติบโต 6-8% จากบริการอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ในขณะที่การเติบโตในบริการเสียงจะ ชะลอตัวลง เอไอเอสจะสร างประสบการณ ใช งานด านข อมูลที่ดียิ่งขึ้นให กับลูกค าโดยใช คลื่นความถี่ 2.1GHz ที่ได รับการจัดสรรใหม รวมทั้งขยาย บริการอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ความเร็วสูงไปทั่วประเทศเพื่อตอบสนองความต องการของลูกค าได อย างทั่วถึง บริการ 3G บนคลื่น 2.1GHz จะเพิ่ม โอกาสในการเข าถึงข อมูลของประชากรในประเทศไทยซึ่งมีข อจํากัดด านโครงสร างพื้นฐานอินเทอร เน็ตแบบประจําที่ซึ่งส งผลให มีจํานวนประชากร ประมาณ 10% เท านั้นที่สามารถเข าถึงอินเทอร เน็ตผ านแบบประจําที่ และแม ว าประเทศไทยมีจํานวนเลขหมายที่ใช บริการโทรศัพท เคลื่อนที่สูงถึง 118% ของจํานวนประชากรแต การเข าถึงอินเทอร เน็ตผ านโครงข ายโทรศัพท เคลือ่ นทีย่ งั คงอยูใ นระดับต่าํ ไม วา จะในเขตตัวเมืองหรือภูมภิ าค บริษทั จึง เชือ่ ว าการมีโครงข าย 3G ทีค่ รอบคลุมทัว่ ประเทศจะช วยเพิม่ จํานวนเลขหมายผู ใช บริการโทรศัพท เคลือ่ นทีร่ วมทัง้ เพิม่ อัตราการเข าถึงอินเทอร เน็ต ของประชากรไทยให ทัดเทียมกับประเทศอื่นในภูมิภาคโดยเฉพาะในกลุ มลูกค าที่ใช งานอุปกรณ เช น สมาร ทโฟนและแท็บเล็ต ซึ่งใช บริการข อมูลเป น หลัก บริษัทคาดการณ ว ารายได จากบริการข อมูล (ซึ่งรวมบริการอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่ บริการข อความ บริการเนื้อหา และบริการเสริมอื่นๆ) จะ เติบโต 25-30% ในป 2556 บริษัทคาดการณ ว าการเติบโตของบริการเสียงจะชะลอตัวลงจากป ที่ผ านมาเนื่องจากตลาดบริการเสียงมีจํานวนผู ใช บริการที่สูงแล ว และส งผลให รายได จากบริการเสียงเติบโตประมาณ 2-3% ในป 2556 โดยบริการเสียงยังมีโอกาสเติบโตในกลุ มลูกค าระดับล างและกลุ มลูกค าในตลาดภูมิภาค โดยลูกค าเหล านี้จะมีการใช งานอินเทอร เน็ตเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นด วย


122

อินทัช

บริการ 3G ที่ตอบโจทย ความต องการของลูกค า ในช วงที่ตลาดโทรคมนาคมไทยกําลังก าวสู ยุคใหม เอไอเอสเชื่อมั่นว าคุณภาพยังคงเป นหัวใจหลักของการให บริการ เอไอเอสจึงยึดมั่นในปรัชญา “Quality DNAs” (Device, Network, Application, and Service) และเดินหน าส งมอบคุณภาพในทุกมิตขิ องการให บริการให แก ลกู ค าอย างต อเนือ่ ง ทัง้ ในด านอุปกรณ สอื่ สาร โครงข าย แอพพลิเคชัน่ และการบริการลูกค า เพือ่ ตอกย้าํ ความเป นผูน าํ ในตลาดโทรคมนาคมไทยของเอไอเอส โดยนอก เหนือจากการให บริการด วยโครงข ายคุณภาพทีเ่ ป นจุดเด นของเอไอเอสแล ว เอไอเอสมีแผนการจัดแคมเปญและกิจกรรมทางการตลาดเพือ่ เชิญชวน ให ลูกค าได สัมผัสประสบการณ 3G ที่เหนือกว าบนคลื่นความถี่ 2.1GHz นอกจากนี้เอไอเอสจะใช ช องทางการจัดจําหน ายที่แข็งแกร งซึ่งกระจายอยู ทัว่ ประเทศเป นสือ่ กลางในการส งมอบอุปกรณ สอื่ สารชัน้ นําทีร่ องรับเทคโนโลยี 3G ในราคาย อมเยาว สมู อื ผูบ ริโภคอย างทัว่ ถึง พร อมนําเสนอแพ็กเกจ การใช งาน แอพพลิเคชั่น และบริการที่ตอบรับการใช ชีวิตของลูกค าแต ละกลุ ม แพ็กเกจบริการในยุค 3G ที่มีการใช บริการข อมูลอย างแพร หลายนี้ จะเป นการผสมผสานบริการเสียงและบริการข อมูลเข าด วยกัน ขณะทีก่ ารคิดค าบริการการใช งานข อมูลคิดตามปริมาณการใช งาน (Volume base pricing) โดยมีนโยบายการจํากัดปริมาณการใช งานข อมูล (Fair usage policy) เพื่อให เหมาะสมกับการใช งานที่มักเชื่อมต อข อมูลตลอดเวลา ในป 2556 บริษัทตั้งเป าหมายจะมีลูกค าที่สมัครใช บริการ 3G บนคลื่น 2.1GHz จํานวน 8-10 ล านเลขหมาย อย างไรก็ตามคาดว าจะมีลูกค าบางส วน ประมาณร อยละ 40 ของลูกค า 3G บนคลื่น 2.1GHz ที่มีอุปกรณ สื่อสารรองรับเทคโนโลยี 3G

โครงสร างต นทุนใหม เมื่อลูกค าเลือกเปลี่ยนบริการจากเทคโนโลยี 2G บนระบบสัญญาร วมการงานมาใช เทคโนโลยี 3G บนคลื่นความถี่ 2.1GHz บนระบบใบอนุญาต จะส งผลให โครงสร างต นทุนเปลี่ยนแปลงไป ดังนี้ 1/ ส วนแบ งรายได ของสัญญาร วมการงาน (20-30%) จะเริ่มถูกทดแทนด วยค าธรรมเนียมใบอนุญาตรายป (5.75%) แปรตามจํานวนผู ใช บริการ 3G บนคลื่น 2.1GHz ที่ถืออุปกรณ สื่อสารที่รองรับเทคโนโลยี 3G 2/ ค าใช จ ายในการดําเนินงานจะเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะค าใช จ ายในการบริหารโครงข ายอันเป นผลจากการขยายสถานีฐานและโครงข าย 2.1GHz ซึ่ง ดําเนินควบคู ไปกับการให บริการโครงข าย 900/1800MHz รวมถึงการจัดกิจกรรมทางการตลาดต างๆ เพื่อผลักดันจํานวนผู ใช บริการบน คลื่น 2.1GHz ให เป นไปตามเป าหมายและสนับสนุนให มีการใช อุปกรณ ที่รองรับเทคโนโลยี 3G มากขึ้น โดยบริษัทคาดว าจะใช งบทางการตลาด คิดเป นร อยละ 2.5 ของรายได รวม 3/ การให บริการ 3G บนคลื่น 2.1GHz ยังคงพึ่งพิงโครงสร างพื้นฐานของโครงข าย 2G ทั้งการเช าใช อุปกรณ โครงข ายและการโรมมิ่ง เอไอเอสซึ่ง เป นผู ให บริการ 2G จะเก็บค าเช าใช โครงข ายและค าบริการโรมมิ่งจากบริษทั ทีใ่ ห บริการ 3G-2.1GHz และนํามาคิดเป นส วนแบ งรายได สง มอบให แก ทีโอทีตลอดระยะเวลาของสัญญาสัมปทาน บริษัทคาดว าส วนแบ งรายได จากค าเช าโครงข ายจะเพิ่มขึ้นตามการขยายสถานีฐาน 3G ที่ต อง พึ่งพิงโครงข าย 2G ขณะที่ส วนแบ งรายได จากบริการโรมมิ่งจะขึ้นอยู กับพื้นที่ครอบคลุมของโครงข าย 3G และสัดส วนผู ใช อุปกรณ ที่รองรับ เทคโนโลยี 3G โดยหากมีการใช อุปกรณ ที่รองรับเทคโนโลยี 3G มากขึ้นและมีโครงข าย 3G บนคลื่น 2.1GHz ที่ครอบคลุมมากขึ้น จะทําให ค าใช จ ายในการโรมมิ่งลดลง 4/ ค าตัดจําหน ายของใบอนุญาตให ใช คลืน่ ความถีย่ า น 2.1GHz จะถูกทยอยรับรู โดยวิธเี ส นตรง (Straight line basis) เป นระยะเวลา 15 ป ในขณะ ที่อุปกรณ โครงข าย 3G บนคลื่น 2.1GHz จะถูกทยอยตัดค าเสื่อมราคาตามอายุการใช งานของอุปกรณ ขณะที่ค าตัดจําหน ายของสินทรัพย ภายใต สัญญาร วมการงานของคลื่นความถี่ย าน 900MHz และ 1800MHz จะถูกทยอยรับรู จนครบจํานวนในป 2558 และ ป 2556 ตามลําดับ บริษัทคาดการณ ว า EBITDA margin ในป 2556 จะอ อนตัวลงอยู ที่ระดับ 41-42% เนื่องจากมีค าใช จ ายทางการตลาดที่เพิ่มขึ้น และส วนแบ ง รายได ที่สูงขึ้นเนื่องจากการโรมมิ่งและการเช าใช โครงข าย 900MHz

การบริหารโครงสร างเงินทุน: อัตราเงินป นผล 100% บริษทั มีเป าหมายคงนโยบายจ ายเงินป นผลทีอ่ ตั ราร อยละ 100 ของกําไรสุทธิ และพิจารณาจ ายเงินป นผลให แก ผถู อื หุน ป ละ 2 ครัง้ โดยอัตราเงินป นผล เป นไปตามกําไรสุทธิบนงบการเงินรวมและต องไม เกินกําไรสะสมที่ปรากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท บริษัทเชื่อว าด วยกระแสเงินสดจาก การดําเนินงานทีแ่ ข็งแกร งของบริษทั ประกอบกับหนีส้ นิ ทีอ่ ยูใ นระดับต่าํ จะช วยให บริษทั รักษานโยบายการจ ายป นผลดังกล าวได ทัง้ นี้ แหล งเงินทุนของ บริษทั สําหรับใช ขยายโครงข ายและชําระค าธรรมเนียมใบอนุญาตจะมาจากกระแสเงินสดจากการดําเนินงานและบริษทั สามารถกูย มื เงินจากภายนอก หากมีความจําเป นต องใช เงินทุนเพิ่มเติม ซึ่งบริษัทไม มีความกังวลในการเพิ่มระดับหนี้เนื่องจากเอไอเอสอยู ในสถานะเงินสดสุทธิและมีอันดับเครดิต ทางการเงินที่น าเชื่อถือ (ป จจุบัน S&P จัดอันดับเครดิตระยะยาวของเอไอเอสที่ระดับ A-) ทั้งนี้หากมีโอกาสทางธุรกิจหรือการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ซึ่งอาจมีผลกระทบต อการดําเนินงาน การลงทุน และโครงสร างเงินทุนในอนาคต บริษัทจะชี้แจงทิศทางใหม ต อกลุ มนักลงทุนทราบต อไป


รายงานประจําป 2555

123

สรุปตัวเลขการดําเนินงาน ไตรมาส จํานวนผู ใช บริการ 4/2553 จีเอสเอ็ม แอดวานซ 2,976,500 จีเอสเอ็ม 1800 76,100 ระบบเหมาจ ายรายเดือน 3,052,600 ระบบเติมเงิน 28,148,100 รวมจํานวนผู ใช บริการ 31,200,700 ผู ใช บริการที่เพิ่มขึ้น (Net additions) ระบบเหมาจ ายรายเดือน 48,100 ระบบเติมเงิน 650,500 รวมผู ใช บริการที่เพิ่มขึ้น 698,600 Churn rate (%) ระบบเหมาจ ายรายเดือน 1.8% ระบบเติมเงิน 4.4% ค าเฉลี่ย 4.2% ส วนแบ งตลาดของจํานวนผู ใช บริการ ระบบเหมาจ ายรายเดือน 43% ระบบเติมเงิน 44% รวม 44% ARPU ไม รวม IC (บาท) จีเอสเอ็ม แอดวานซ 647 จีเอสเอ็ม 1800 585 ระบบเหมาจ ายรายเดือน 645 ระบบเติมเงิน 197 ค าเฉลี่ย 241 ARPU รวม IC (บาท) จีเอสเอ็ม แอดวานซ 611 จีเอสเอ็ม 1800 576 ระบบเหมาจ ายรายเดือน 610 ระบบเติมเงิน 203 ค าเฉลี่ย 243 MOU (จํานวนนาทีที่โทรออก) จีเอสเอ็ม แอดวานซ 532 จีเอสเอ็ม 1800 496 ระบบเหมาจ ายรายเดือน 532 ระบบเติมเงิน 292 ค าเฉลี่ย 316

ไตรมาส 1/2554 3,027,500 76,100 3,103,600 28,847,700 31,951,300

ไตรมาส 2/2554 3,056,200 86,500 3,142,700 29,342,300 32,485,000

ไตรมาส 3/2554 3,116,200 95,700 3,211,900 29,552,000 32,763,900

ไตรมาส 4/2554 3,193,600 98,000 3,291,600 30,168,300 33,459,900

ไตรมาส 1/2555 3,288,500 96,400 3,384,900 30,752,700 34,137,600

ไตรมาส 2/2555 3,371,900 96,700 3,468,600 31,339,800 34,808,400

ไตรมาส 3/2555 3,452,000 94,300 3,546,300 31,777,600 35,323,900

ไตรมาส 4/2555 3,592,800 90,500 3,683,300 32,060,400 35,743,700

51,000 699,600 750,600

39,100 494,600 533,700

69,200 209,700 278,900

79,700 616,300 696,000

93,300 584,400 677,700

83,700 587,100 670,800

77,700 437,800 515,500

137,000 282,800 419,800

1.6% 4.4% 4.1%

1.7% 4.7% 4.4%

1.6% 5.0% 4.7%

1.5% 4.3% 4.1%

1.7% 4.4% 4.2%

1.6% 4.4% 4.1%

1.6% 4.3% 4.1%

1.5% 4.3% 4.0%

43% 44% 44%

43% 44% 44%

45% 44% 44%

45% 44% 44%

44% 44% 44%

43% 45% 45%

42% 45% 44%

n/a n/a n/a

649 545 646 198 242

645 497 641 196 239

652 461 647 195 239

694 454 687 204 251

678 431 670 207 253

681 417 673 203 250

683 402 676 201 248

690 402 682 219 267

612 536 610 204 244

606 484 602 202 240

611 445 606 201 240

651 437 644 209 252

638 415 632 213 254

643 401 637 208 251

648 384 640 206 250

657 388 650 225 268

527 484 526 301 323

530 479 529 299 322

529 463 527 300 322

588 499 585 323 349

573 486 570 334 358

552 484 550 322 345

547 478 545 324 346

540 482 538 330 351


124

อินทัช

ข อปฏิเสธความรับผิดชอบ ในเอกสารฉบับนี้อาจจะมีข อมูลบางส วนที่เกี่ยวข องกับการคาดการณ ในอนาคตโดยใช ป จจัยที่เกี่ยวข องในหลายด านซึ่งจะขึ้นอยู กับความเสี่ยงและ ความไม แน นอนต างๆ ซึ่งข อมูลดังกล าวรวมถึง แผนธุรกิจ กลยุทธ และความเชื่อของบริษัทฯ รวมทั้งข อมูลอื่นที่ไม ใช ข อมูลที่เกิดขึ้นในอดีต ตัวอย าง ของคําที่ใช ในการคาดการณ ในอนาคต เช น “อาจจะ” “จะ” “คาดว า” “ตั้งใจว า” “ประมาณ” “เชื่อว า” “ยังคง” “วางแผนว า” หรือคําใดๆ ที่มีความ หมายทํานองเดียวกัน เป นต น แม ว าการคาดการณ ดังกล าวจะถูกจัดทําขึ้นจากสมมติฐานและความเชื่อของฝ ายบริหาร โดยอาศัยข อมูลที่มีอยู ในป จจุบันเป นพื้นฐานก็ตาม สมมติฐานเหล านีย้ งั คงมีความเสีย่ งและความไม แน นอนต างๆ ซึง่ อาจจะทําให ผลงาน ผลการดําเนินงาน ความสําเร็จทีเ่ กิดขึน้ จริงแตกต างจากทีบ่ ริษทั คาดการณ ไว ในอนาคต ดังนั้นผู ใช ข อมูลดังกล าวจึงควรระมัดระวังในการใช ข อมูลข างต น อีกทั้งบริษัท และผู บริหาร/พนักงาน ไม อาจควบคุมหรือ รับรองความเกี่ยวข อง ระยะเวลาที่จะเกิดขึ้น หรือความถูกต องของข อมูลดังกล าวได

ค าตอบแทนของผู สอบบัญชี ค าตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) ในป 2555 บริษัทและบริษัทย อยจ ายค าตอบแทนจากการสอบบัญชี ดังนี้ บริษัท บริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) บริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) และบริษัทย อย บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) และบริษัทย อย บริษัทย อยอื่น รวมค าสอบบัญชี Out of pocket expenses รวมค าสอบบัญชีและ out of pocket expenses

ผู สอบบัญชี ของบริษัท สังกัด KPMG 2.17 4.01 0.58 6.76 0.21 6.97

(หน วย : ล านบาท) ผู สอบบัญชีอื่นสังกัด KPMG และกิจการที่เกี่ยวข องกับ KPMG 5.01 0.05 0.54 5.60 0.05 5.65

หมายเหตุ : KPMG หมายถึง สํานักงาน บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด ค าบริการอื่น (Non-audit fee) ในป 2555 บริษัทและบริษัทย อยจ ายค าบริการตรวจสอบระบบสารสนเทศ ค าบริการตรวจสอบรายงานรายได และข อมูลที่เกี่ยวข อง ค าบริการ วิชาชีพสําหรับโครงการปรับเปลี่ยนงบการเงินไปสู มาตรฐานการบัญชีระหว างประเทศ ค าบริการ Due deligence และค าบริการให คําปรึกษาการ ดําเนินธุรกิจในต างประเทศให แก KPMG รวมจํานวน 1.04 ล านบาท และกิจการที่เกี่ยวข องกับ KPMG รวมจํานวนเงิน 4.33 ล านบาท โดยไม มีค า บริการดังกล าวที่ต องจ ายในอนาคตอันเกิดจากการตกลงที่ให บริการยังไม แล วเสร็จในรอบป 2555 ให แก KPMG และกิจการที่เกี่ยวข องกับ KPMG


รายงานประจําป 2555

125

รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ต อรายงานทางการเงิน คณะกรรมการบริษัทเป นผู รับผิดชอบต องบการเงินของบริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทย อย รวมถึงข อมูลสารสนเทศทางการเงินที่ปรากฏในรายงานประจําป งบการเงินดังกล าวจัดทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่ รับรองทั่วไป โดยเลือกใช นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติอย างสม่ําเสมอ และใช ดุลยพินิจอย างระมัดระวังและประมาณการที่ดีที่สุดในการจัด ทํา รวมทัง้ มีการเป ดเผยข อมูลทีส่ าํ คัญอย างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพือ่ ให เป นประโยชน ตอ ผูถ อื หุน และนักลงทุนทัว่ ไปอย างโปร งใส คณะกรรมการบริษัทได จัดให มีระบบบริหารความเสี่ยง และให มีและดํารงรักษาไว ซึ่งระบบควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพื่อให มั่นใจได อย างมีเหตุผลว าข อมูลทางบัญชีมีความถูกต อง ครบถ วน และเพียงพอที่จะดํารงรักษาไว ซึ่งทรัพย สิน ตลอดจนเพื่อไม ให เกิดการทุจริตหรือการ ดําเนินการที่ผิดปกติอย างมีสาระสําคัญ ในการนีค้ ณะกรรมการบริษทั ได แต งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ เพือ่ ทําหน าทีส่ อบทานนโยบายการบัญชีและคุณภาพของรายงานทางการเงิน สอบทาน ระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนพิจารณาการเป ดเผยข อมูลรายการระหว างกัน โดยความ เห็นของคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจําป 2555 ซึ่งแสดงไว ในรายงานประจําป แล ว งบการเงินของบริษัทและงบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย อยได รับการตรวจสอบโดยผู สอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบ บัญชี จํากัด ในการตรวจสอบนั้น ทางคณะกรรมการบริษัทได สนับสนุนข อมูลและเอกสารต างๆ เพื่อให ผู สอบบัญชีสามารถตรวจสอบและแสดง ความเห็นได ตามมาตรฐานการสอบบัญชี โดยความเห็นของผู สอบบัญชีได ปรากฏในรายงานของผู สอบบัญชีซึ่งแสดงไว ในรายงานประจําป แล ว คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นว าระบบการควบคุมภายในของบริษัทโดยรวมอยู ในระดับที่น าพอใจและสามารถสร างความเชื่อมั่นอย างมีเหตุผล ได ว างบการเงินของบริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และงบการเงินรวมของบริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทย อย สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 มีความเชื่อถือได โดยถือปฏิบัติตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปและปฏิบัติถูกต องตามกฎหมายและกฎระเบียบ ที่เกี่ยวข อง

ดร.วิรัช อภิเมธีธํารง ประธานคณะกรรมการบริษัท

นายสมประสงค บุญยะชัย ประธานคณะกรรมการบริหาร


126

อินทัช

รายงานของผู สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ ผู ถือหุ นของบริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ข าพเจ าได ตรวจสอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) และบริษัทย อย และของเฉพาะบริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ ซึ่งประกอบด วยงบแสดงฐานะการเงินรวมและแสดงฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 งบกําไรขาดทุนรวมและงบเฉพาะกําไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมและงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเฉพาะกิจการ งบแสดง การเปลีย่ นแปลงส วนของผูถ อื หุน รวมและงบแสดงการเปลีย่ นแปลงส วนของผูถ อื หุน เฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะ กิจการ สําหรับป สิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญและหมายเหตุเรื่องอื่นๆ

ความรับผิดชอบของผู บริหารต องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ผู บริหารเป นผู รับผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเหล านี้โดยถูกต องตามที่ควรตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู บริหารพิจารณาว าจําเป นเพื่อให สามารถจัดทํางบการเงินรวมและงบการเงิน เฉพาะกิจการที่ปราศจากการแสดงข อมูลที่ขัดต อข อเท็จจริงอันเป นสาระสําคัญไม ว าจะเกิดจากการทุจริตหรือข อผิดพลาด

ความรับผิดชอบของผู สอบบัญชี ข าพเจ าเป นผู รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต องบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการดังกล าวจากผลการตรวจสอบของข าพเจ า ข าพเจ า ได ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกําหนดให ข าพเจ าปฏิบัติตามข อกําหนดด านจรรยาบรรณรวมถึงวางแผนและปฏิบัติงาน ตรวจสอบเพื่อให ได ความเชื่อมั่นอย างสมเหตุสมผลว างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการปราศจากการแสดงข อมูลที่ขัดต อข อเท็จจริงอัน เป นสาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใช วธิ กี ารตรวจสอบเพือ่ ให ได มาซึง่ หลักฐานการสอบบัญชีเกีย่ วกับจํานวนเงินและการเป ดเผยข อมูลในงบการเงิน วิธกี าร ตรวจสอบทีเ่ ลือกใช ขนึ้ อยูก บั ดุลยพินจิ ของผูส อบบัญชี ซึง่ รวมถึงการประเมินความเสีย่ งจากการแสดงข อมูลทีข่ ดั ต อข อเท็จจริงอันเป นสาระสําคัญ ของงบการเงิน ไม ว าจะเกิดจากการทุจริตหรือข อผิดพลาด ในการประเมินความเสี่ยงดังกล าว ผู สอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวข อง กับการจัดทําและการนําเสนองบการเงินโดยถูกต องตามที่ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ แต ไม ใช เพื่อ วัตถุประสงค ในการแสดงความเห็นต อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบาย การบัญชีทผี่ บู ริหารใช และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีทจี่ ดั ทําขึน้ โดยผูบ ริหาร รวมทัง้ การประเมินการนําเสนองบการเงินโดยรวม ข าพเจ าเชื่อว าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข าพเจ าได รับเพียงพอและเหมาะสมเพื่อใช เป นเกณฑ ในการแสดงความเห็นของข าพเจ า

ความเห็น ข าพเจ าเห็นว า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข างต นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั ชิน คอร ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย อย และของเฉพาะบริษัท ชิน คอร ปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ผลการดําเนินงาน รวมและผลการดําเนินงานเฉพาะกิจการ และกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับป สิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต องตามที่ควรใน สาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน


รายงานประจําป 2555

127

การเน นข อมูลและเหตุการณ 1) ตามที่กล าวไว ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข อ 2.2 และ 33 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 บริษัท ไอทีวี จํากัด (มหาชน) (“ไอทีวี”) มีหนี้สิน หมุนเวียนสูงกว าสินทรัพย หมุนเวียนจํานวน 4,321 ล านบาทและมีขาดทุนสะสมเกินทุนจํานวน 4,321 ล านบาท และการที่ไอทีวี ถูกเพิกถอน สัญญาเข าร วมงานและดําเนินการสถานีวิทยุโทรทัศน ระบบ ยู เอช เอฟ (“สัญญาอนุญาตให ดําเนินการ”) โดยสํานักงานปลัดฯ เนื่องจากไอทีวี ยังมิได ชําระค าอนุญาตให ดําเนินการส วนต างจํานวน 2,210 ล านบาท รวมทั้งดอกเบี้ยในอัตราร อยละ 15 ต อป ของค าอนุญาตให ดําเนินการ ส วนต างทั้งหมดและค าปรับจากการปรับเปลี่ยนผังรายการจํานวน 97,760 ล านบาท ตามที่สํานักงานปลัดฯเรียกร อง โดยเหตุที่ไอทีวียังคงมี ข อโต แย งทางกฎหมายต อข อเรียกร องดังกล าว ผลจากการถูกเพิกถอนสัญญาอนุญาตให ดําเนินการทําให ไอทีวี ต องหยุดดําเนินกิจการและ ต องส งมอบทรัพย สินตามสัญญาอนุญาตให ดําเนินการให กับสํานักงานปลัดฯ ไอทีวีได ดําเนินการนําข อพิพาทเกี่ยวกับค าอนุญาตให ดําเนิน การส วนต างจํานวน 2,210 ล านบาท ดอกเบี้ยล าช าและค าปรับจากการปรับเปลี่ยนผังรายการเข าสู กระบวนการอนุญาโตตุลาการ สถานการณ ดังกล าวเป นความไม แน นอนที่มีสาระสําคัญซึ่งอาจเป นเหตุให เกิดข อสงสัยอย างมากเกี่ยวกับความสามารถในการดําเนินงานต อ เนื่องของไอทีวี ข าพเจ าได เสนอรายงานการสอบบัญชีแบบไม แสดงความเห็นต องบการเงินของไอทีวีสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2555 เนื่องจากเรื่องสําคัญตามที่กล าวข างต น สินทรัพย และหนี้สินของไอทีวี ที่รวมอยู ในงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 คิดเป นร อยละ 2.36 และ ร อยละ 31.16 ของสินทรัพย รวมและหนี้สินรวมในงบการเงินตามลําดับ และเงินลงทุนในไอทีวี ในงบการเงินเฉพาะบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ไม มีมูลค าตามบัญชี 2) ข าพเจ าขอให สังเกตหมายเหตุประกอบงบการเงินข อ 9 ซึ่งอธิบายการดําเนินงานที่ยกเลิกของบริษัทลูกของบริษัทที่ควบคุมร วมกัน

นายวินิจ ศิลามงคล ผู สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3378 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด กรุงเทพมหานคร 15 กุมภาพันธ 2556


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1&

B. 6 4 6'A è +5 9I 5 +6 % B)4

6'A 8 '+% .8 '5"&Ę

/%6&A/ <

2555

6'A 8 A "64 8 6' 2554

2555

2554

( 6 ) .8 '5"&Ę/%< A+9& A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 .

5

2,532,464,836

11,436,559,716

164,576,959

8,442,694,924

A 8 ) < 5I+ '6+

6

3,130,564,716

2,516,994,607

2,013,077,013

1,377,179,866

)= / 9J 6' ĕ6B)4)= / 9J1;I

7

1,644,652,839

1,987,556,141

14,913,010

19,433,915

4

137,454,090

82,108,638

-

-

.8 ĕ6 A/);1

8

342,319,693

242,734,611

-

-

.8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8

9

1,769,143,585

-

-

-

9,556,599,759

16,265,953,713

2,192,566,982

9,839,308,705

)= / 9JA 8 '1 Ĕ6&B)4A 8 D/ĕ =ĕ&;% B Ĕ 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5

'+%.8 '5"&Ę/%< A+9&

.8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& A 8 ) < D '8-5 &Ĕ1&

10

-

-

3,694,940,468

3,694,940,468

A 8 ) < D '8-5 'Ĕ+%

10

18,758,429,064

16,977,470,395

8,439,796,727

8,382,315,318

A 8 ) < '4&4&6+

6

25,000,000

25,000,000

25,000,000

25,000,000

16 6'B)41< ' Ę

12

5,707,070,934

6,668,280,524

26,868,853

32,176,950

13

11,481,852,986

12,828,228,105

-

-

.8 '5"&ĘE%Ĕ%9 5+

14

1,098,522,991

1,217,241,726

1,620,489

4,252,250

.8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9

15

684,796,252

846,188,384

-

-

743,310,486

698,681,932

3,806,625

3,805,983

'+%.8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9&

38,498,982,713

39,261,091,066

12,192,033,162

12,142,490,969

'+%.8 '5"&Ę

48,055,582,472

55,527,044,779

14,384,600,144

21,981,799,674

16 6'B)41< ' Ę$6&D ĕ.5gg6 1 <g6 D/ĕ N6A 8 6'

.8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1;I

/%6&A/ < '4 1 6'A è A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A è 9J


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1&

B. 6 4 6'A è +5 9I 5 +6 % B)4

6'A 8 '+% / 9J.8 B)4.Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ

/%6&A/ <

2555

6'A 8 A "64 8 6' 2554

2555

2554

( 6 ) / 9J.8 /%< A+9& 17

1,797,562,366

1,757,321,141

84,842,394

79,450,917

A 8 ę ) ĕ6 Ĕ6&

-

7,502,986,495

-

7,502,986,495

A ĕ6/ 9J - 1< ' Ę

48,021,633

465,593,431

-

-

4

134,254,757

81,722,822

6,541,017

4,974,863

16

116,332,479

4,627,159,881

940,900

631,954

214,974,893

264,616,590

-

-

5,456,578,195

5,023,160,387

-

-

159,123,883

146,268,255

-

-

1,769,143,585

-

-

-

9,695,991,791

19,868,829,002

92,324,311

7,588,044,229

A ĕ6/ 9J 6' ĕ6B)4A ĕ6/ 9J1;I

A ĕ6/ 9JB)4A 8 =ĕ&;% 6 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 .Ĕ+ 1 A 8 =ĕ&;%'4&4&6+ 9I : N6/ N6'4 $6&D / :I Č ) '4C& Ę 1 B 6%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' ĕ6 Ĕ6& .N6'1 A ;I1.Ĕ+ Ĕ6 1 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' ĕ6 Ĕ6&B)4 1 A 9J&

33.2

$6-9A 8 E ĕ 8 8 < ) ĕ6 Ĕ6& / 9J.8 9IA 9I&+ ĕ1 C & ' 5 .8 '5"&Ę E%Ĕ/%< A+9& 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8

9

'+%/ 9J.8 /%< A+9&

/ 9J.8 E%Ĕ/%< A+9& A 8 =ĕ&;%'4&4&6+

16

7,047,177,373

5,652,998,801

1,453,057

1,545,004

$6'4 = "5 ) '4C& Ę" 5 6

18

371,856,741

232,111,092

47,121,445

38,331,083

/ 9J.8 $6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9

15

-

119,535,340

-

-

394,137,447

327,955,400

-

-

7,813,171,561

6,332,600,633

48,574,502

39,876,087

17,509,163,352

26,201,429,635

140,898,813

7,627,920,316

/ 9J.8 E%Ĕ/%< A+9& 1;I '+%/ 9J.8 E%Ĕ/%< A+9& '+%/ 9J.8

/%6&A/ < '4 1 6'A è A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A è 9J


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1&

B. 6 4 6'A è +5 9I 5 +6 % B)4

6'A 8 '+% / 9J.8 B)4.Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ

/%6&A/ <

2555

6'A 8 A "64 8 6' 2554

2555

2554

( 6 ) .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ < A';1 /<ĕ

19

< 4A 9& - /<ĕ .6%5g

5,000,000,000

5,000,000,000

5,000,000,000

5,000,000,000

< 9I11 B)4 N6'4B)ĕ+ - /<ĕ .6%5g

3,206,420,305

3,206,420,305

3,206,420,305

3,206,420,305

10,341,569,221

10,341,569,221

10,341,569,221

10,341,569,221

500,000,000

500,000,000

500,000,000

500,000,000

4,384,563,023

3,006,338,536

192,255,459

305,757,355

4,110,639,168

4,104,580,421

3,456,346

132,477

22,543,191,717

21,158,908,483

14,243,701,331

14,353,879,358

8,003,227,403

8,166,706,661

-

-

'+%.Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ

30,546,419,120

29,325,615,144

14,243,701,331

14,353,879,358

'+%/ 9J.8 B)4.Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ

48,055,582,472

55,527,044,779

14,384,600,144

21,981,799,674

.Ĕ+ A 8 < .Ĕ+ A 8 %=) Ĕ6/<ĕ .6%5g

19, 20

N6E'.4.% 5 .''B)ĕ+ .N6'1 6% /%6& &5 E%ĔE ĕ 5 .'' 1 Ę '4 1 1;I 1 .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ '+%.Ĕ+ 1 '8-5 D/gĔ .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <%

/%6&A/ < '4 1 6'A è A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A è 9J


†ˆ†

'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1&

A "64 N6E' 6 < +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰

6'A 8 '+%

/%6&A/ <

2555

6'A 8 A "64 8 6' 2554

2555

2554

( 6 ) '6&E ĕ '6&E ĕ 6 6' 6&B)4 6'D/ĕ '8 6' '6&E ĕA 8 ę ) N6E' 6 6' 6&A 8 ) < 6 .Ĕ+ D '8-5 'Ĕ+% '6&E ĕ1;I N6E' 6 15 '6B) A )9I& A 8 '6 Ĕ6 '4A , .Ĕ+ B Ĕ N6E' 6 A 8 ) < D '8-5 'Ĕ+% '+%'6&E ĕ

Ĕ6D ĕ Ĕ6& ĕ < 6&B)4 ĕ < 6'D/ĕ '8 6' ) '4C& Ę 1 B 6%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 6 < 6 .N6'1 A ;I1 1 A 9J& 1 .Ĕ+ Ĕ6

1 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' Ĕ6D ĕ Ĕ6&D 6' 6& Ĕ6D ĕ Ĕ6&D 6' '8/6' 6 < 6 15 '6B) A )9I& A 8 '6 Ĕ6 '4A , 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 1 .8 '5"&Ę 1

.Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8 Ĕ6 1 B =ĕ '8/6' '+% Ĕ6D ĕ Ĕ6& N6E' Ĕ1 ĕ < 6 6'A 8 B)4$6-9A 8 E ĕ ĕ < 6 6'A 8 N6E' Ĕ1 $6-9A 8 E ĕ Ĕ6D ĕ Ĕ6&$6-9A 8 E ĕ N6E'.N6/'5 Č 6 6' N6A 8 6 Ĕ1A ;I1

6 < .N6/'5 Č 6 6' N6A 8 6 9I& A)8 .< 8 6 $6-9 N6E'.N6/'5 Č

/%6&A/ < '4 1 6'A è A Ä› .Ä”+ / :I 1

6'A è 9J

23 10 24

8,544,817,475 233,487,638 19,554,466 14,336,542,304 23,134,401,883

8,018,850,870 7,263,825,147 243,203,928 10,069,139,005 25,595,018,950

12,254,547,780 88,319,786 12,342,867,566

10,268,429,765 7,499,188,788 55,493,759 17,823,112,312

4,919,647,309 746,595,329

5,188,432,708 596,988,870

-

-

433,417,808 137,338,571 1,591,153,552 -

433,417,808 164,071,242 1,477,732,032 84,950,917

241,295,976 -

205,076,306 -

175,273,209 159,065,772

152,486,891

88,479,516

85,870,000

8,162,491,550

8,098,080,468

329,775,492

290,946,306

14,971,910,333 (423,824,618) 14,548,085,715 (352,719,792) 14,195,365,923

17,496,938,482 (454,979,836) 17,041,958,646 (505,625,208) 16,536,333,438

12,013,092,074 (2,800,129) 12,010,291,945 12,010,291,945

17,532,166,006 (2,087,381) 17,530,078,625 17,530,078,625

(508,403,144) 13,686,962,779

(467,276,736) 16,069,056,702

12,010,291,945

17,530,078,625

23

33.2

4

27

9


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1&

A "64 N6E' 6 < +5 9I 5 +6 % B)4

6'A 8 '+%

/%6&A/ <

2555

6'A 8 A "64 8 6' 2554

2555

2554

( 6 ) 6'B Ĕ ę N6E' ( 6 < ) .Ĕ+ 9IA ě 1 '8-5 D/gĔ N6E'.N6/'5 Č 6 6' N6A 8 6 Ĕ1A ;I1

6 < .N6/'5 Č 6 6' N6A 8 6 9I& A)8

9

N6E'.N6/'5 Č.Ĕ+ 9IA ě 1 '8-5 D/gĔ .Ĕ+ 9IA ě 1 .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <% 6 < .N6/'5 Č 6 6' N6A 8 6 Ĕ1A ;I1

6 < .N6/'5 Č.Ĕ+ 9IA ě 1 .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <%

N6E'( 6 < ) Ĕ1/<ĕ 5J ";J 6 B)4 '5 ) 6 6' N6A 8 6 Ĕ1A ;I1

6 6' N6A 8 6 9I& A)8 .Ĕ+ 9IA ě 1 '8-5 D/gĔ

/%6&A/ < '4 1 6'A è A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A è 9J

29

14,295,142,450

17,026,587,487

12,010,291,945

17,530,078,625

(508,403,144) 13,786,739,306

(467,276,736) 16,559,310,751

12,010,291,945

17,530,078,625

(99,776,527)

(490,254,049)

-

-

(99,776,527) 13,686,962,779

(490,254,049) 16,069,056,702

12,010,291,945

17,530,078,625

4.46

5.31

3.75

5.47

(0.16)

(0.14)

-

-

4.30

5.17

3.75

5.47


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1&

N6E' 6 < A H A.'H +5 9I 5 +6 % B)4 <

6'A 8 '+%

/%6&A/ <

2555

6'A 8 A "64 8 6' 2554

2555

2554

( 6 ) 13,686,962,779

N6E'.N6/'5 Č

16,069,056,702

12,010,291,945

17,530,078,625

(8,746,504)

134,623,212

-

-

9,046,991

1,704,641

3,323,869

1,325,484

504,937

506,902

-

-

(349,096,500)

-

(3,640,021)

-

(348,291,076)

136,834,755

(316,152)

1,325,484

13,338,671,703

16,205,891,457

12,009,975,793

17,531,404,109

13,502,150,961

16,616,267,074

12,009,975,793

17,531,404,109

(163,479,258)

(410,375,617)

-

-

12,009,975,793

17,531,404,109

N6E' 6 < A H A.'H 1;I - .< 8 6 $6-9A 8 E ĕ

22

) Ĕ6 6 6'B ) Ĕ6 6'A 8 Ĕ6 '4A , 6'A )9I& B ) D %=) Ĕ6&< 8 ''%.< 8 1 A 8 ) < A ;I1 6& .Ĕ+ B Ĕ N6E' 6 < A H A.'H 1;I 6 '8-5 'Ĕ+% '5 '< ) 6 < 6 6' '4%6 6' 6%/)5 8 ,6. 'Ę '4 5 $5&.N6/'5 C ' 6' ) '4C& Ę" 5 6

18

N6E' 6 < A H A.'H 1;I .N6/'5 Č - .< 8 6 $6-9A 8 E ĕ N6E' 6 < A H A.'H .N6/'5 Č 6'B Ĕ ę N6E' 6 < A H A.'H .Ĕ+ 9IA ě 1 '8-5 D/gĔ .Ĕ+ 9IA ě 1 .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <%

13,338,671,703

/%6&A/ < '4 1 6'A è A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A è 9J

16,205,891,457


18 5

22

.Ĕ+ A 8

-

10,341,569,221

-

-

-

-

143,792,642

10,197,776,579

%=) Ĕ6/<ĕ

-

-

3,206,420,305

/%6&A/ < '4 1 6'A è A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A è 9J

&1 A/);1 +5 9I 31 5 +6 % 2554

'+% N6E' 6 < A H A.'H .N6/'5 Č

N6E' 6 < A H A.'H 1;I .N6/'5 Č

N6E'( 6 < ).N6/'5 Č

N6E' 6 < A H A.'H .N6/'5 Č

'8-5 &Ĕ1&B)4 '8-5 'Ĕ+% 9I&5 E%ĔA 8 :J '8

-

-

30

.Ĕ+ A 8 6 6') .5 .Ĕ+ 6') < D

5,336,536

19

< A';1 /<ĕ 9I11 A"8I%

3,201,083,769

N6'4B)ĕ+

9I11 B)4

A 8 ę )

6'A )9I& B ) D .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ .N6/'5 Č

&1 A/);1 +5 9I 1 % '6 % 2554

/%6&A/ <

< A';1 /<ĕ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1&

B. 6'A )9I& B ) .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

.N6'1

500,000,000

-

-

-

-

-

-

500,000,000

6% /%6&

5 .''

&5 E%ĔE ĕ

3,006,338,536

16,559,310,751

-

16,559,310,751

-

(17,628,417,974)

-

4,075,445,759

N6E'.4.%

4,168,480,875

(186,864,770)

-

(186,864,770)

66,517,745

-

-

4,288,827,900

9I&5 E%ĔA 8 :J

6') <

) .5 .Ĕ+

.Ĕ+ A 8 6 6' ) Ĕ6 6

( 6 )

(63,387,470)

54,923,251

54,923,251

-

-

-

-

(118,310,721)

6'A 8

(372,801)

1,526,170

1,526,170

-

-

-

-

(1,898,971)

A ;I1 6&

1 A 8 ) <

D %=) Ĕ6&< 8 ''%

6'A )9I& B )

(140,183)

506,902

506,902

-

-

-

-

(647,085)

6 '8-5 'Ĕ+%

A H A.'H 1;I

N6E' 6 <

.Ĕ+ B Ĕ

1 Ę '4 1 1;I 1 .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ

6'A 8 '+%

6'B ) Ĕ6

.Ĕ+ 1 '8-5 D/gĔ '+%

4,104,580,421

(129,908,447)

56,956,323

(186,864,770)

66,517,745

-

-

4,167,971,123

=ĕ ;1/<ĕ

1 .Ĕ+ 1

1 Ę '4 1 1;I

21,158,908,483

16,429,402,304

56,956,323

16,372,445,981

66,517,745

(17,628,417,974)

149,129,178

22,142,277,230

1 '8-5 D/gĔ

=ĕ ;1/<ĕ

'+%.Ĕ+ 1

8,166,706,661

(410,375,617)

79,878,432

(490,254,049)

-

-

-

8,577,082,278

+ <%

9IE%Ĕ%91N6 6

.Ĕ+ E ĕA.9& '+%

29,325,615,144

16,019,026,687

136,834,755

15,882,191,932

66,517,745

(17,628,417,974)

149,129,178

30,719,359,508

.Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ


18

22

30

3,206,420,305

10,341,569,221

-

-

-

-

-

-

10,341,569,221

%=) Ĕ6/<ĕ

.Ĕ+ A 8

-

-

-

-

-

3,206,420,305

N6'4B)ĕ+

/%6&A/ < '4 1 6'A è A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A è 9J

&1 A/);1 +5 9I 31 5 +6 % 2555

'+% N6E' 6 < A H A.'H .N6/'5 Č

.N6/'5 C ' 6' ) '4C& Ę" 5 6

6%/)5 8 ,6. 'Ę '4 5 $5&

'5 '< ) 6 < 6 6' '4%6 6'

N6E' 6 < A H A.'H 1;I .N6/'5 Č

N6E'( 6 < ).N6/'5 Č

N6E' 6 < A H A.'H .N6/'5 Č

'8-5 &Ĕ1&B)4 '8-5 'Ĕ+% 9I&5 E%ĔA 8 :J '8

.Ĕ+ A 8 6 6') .5 .Ĕ+ 6') < D

A 8 ę )

6'A )9I& B ) D .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ .N6/'5 Č

&1 A/);1 +5 9I 1 % '6 % 2555

/%6&A/ <

9I11 B)4

< A';1 /<ĕ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1&

B. 6'A )9I& B ) .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

500,000,000

-

-

-

-

-

-

500,000,000

6% /%6&

.N6'1

5 .''

&5 E%ĔE ĕ

4,384,563,023

13,498,378,307

(288,360,999)

-

13,786,739,306

-

(12,120,153,820)

3,006,338,536

N6E'.4.%

4,170,766,968

-

-

-

-

2,286,093

-

4,168,480,875

9I&5 E%ĔA 8 :J

6') <

) .5 .Ĕ+

.Ĕ+ A 8 6 6' ) Ĕ6 6

( 6 )

(66,473,283)

(3,085,813)

-

(3,085,813)

-

-

-

(63,387,470)

6'A 8

5,980,729

6,353,530

-

6,353,530

-

-

-

(372,801)

A ;I1 6&

1 A 8 ) <

D %=) Ĕ6&< 8 ''%

6'A )9I& B )

364,754

504,937

-

504,937

-

-

-

(140,183)

6 '8-5 'Ĕ+%

A H A.'H 1;I

N6E' 6 <

.Ĕ+ B Ĕ

1 Ę '4 1 1;I 1 .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ

6'A 8 '+%

6'B ) Ĕ6

.Ĕ+ 1 '8-5 D/gĔ '+%

4,110,639,168

3,772,654

-

3,772,654

-

2,286,093

-

4,104,580,421

=ĕ ;1/<ĕ

1 .Ĕ+ 1

1 Ę '4 1 1;I

22,543,191,717

13,502,150,961

(288,360,999)

3,772,654

13,786,739,306

2,286,093

(12,120,153,820)

21,158,908,483

1 '8-5 D/gĔ

=ĕ ;1/<ĕ

'+%.Ĕ+ 1

8,003,227,403

(163,479,258)

(60,735,501)

(2,967,230)

(99,776,527)

-

-

8,166,706,661

+ <%

9IE%Ĕ%91N6 6

.Ĕ+ E ĕA.9& '+%

30,546,419,120

13,338,671,703

(349,096,500)

805,424

13,686,962,779

2,286,093

(12,120,153,820)

29,325,615,144

.Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ

'6& 6 '4 N6 Č


18 5

/%6&A/ < '4 1 6'A è A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A è 9J

&1 A/);1 +5 9I 31 5 +6 % 2554

'+% N6E' 6 < A H A.'H .N6/'5 Č

N6E' 6 < A H A.'H 1;I .N6/'5 Č

N6E'.N6/'5 Č

22

10,341,569,221

-

3,206,420,305

-

-

-

143,792,642

10,197,776,579

%=) Ĕ6/<ĕ

.Ĕ+ A 8

-

-

-

30

A 8 ę )

N6E' 6 < A H A.'H .N6/'5 Č

5,336,536

3,201,083,769

N6'4B)ĕ+

19

/%6&A/ <

< 9I11 B)4

< A';1 /<ĕ 9I11 A"8I%

6'A )9I& B ) D .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ .N6/'5 Č

&1 A/);1 +5 9I 1 % '6 % 2554

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1&

B. 6'A )9I& B ) .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

500,000,000

-

-

-

-

-

500,000,000

6% /%6&

.N6'1

5 .''

&5 E%ĔE ĕ

305,757,355

17,530,078,625

-

17,530,078,625

(17,628,417,974)

-

404,096,704

( 6 )

N6E'.4.%

6'A 8 A "64 8 6' '+%

132,477

1,325,484

1,325,484

-

-

-

(1,193,007)

A ;I1 6&

1 A 8 ) <

132,477

1,325,484

1,325,484

-

-

-

(1,193,007)

1 =ĕ ;1/<ĕ

1 .Ĕ+

D %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 Ę '4 1 1;I

6'A )9I& B )

1 Ę '4 1 1;I 1 .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ

14,353,879,358

17,531,404,109

1,325,484

17,530,078,625

(17,628,417,974)

149,129,178

14,301,764,045

.Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ

'+%


/%6&A/ < '4 1 6'A è A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A è 9J

&1 A/);1 +5 9I 31 5 +6 % 2555

'+% N6E' 6 < A H A.'H .N6/'5 Č

.N6/'5 C ' 6' ) '4C& Ę" 5 6

6%/)5 8 ,6. 'Ę '4 5 $5&

'5 '< ) 6 < 6 6' '4%6 6'

N6E' 6 < A H A.'H 1;I .N6/'5 Č

N6E'.N6/'5 Č

N6E' 6 < A H A.'H .N6/'5 Č

A 8 ę )

6'A )9I& B ) D .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ .N6/'5 Č

&1 A/);1 +5 9I 1 % '6 % 2555

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1&

B. 6'A )9I& B ) .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

18

22

30

/%6&A/ <

10,341,569,221

-

3,206,420,305

-

-

-

-

10,341,569,221

%=) Ĕ6/<ĕ

.Ĕ+ A 8

-

-

-

-

3,206,420,305

N6'4B)ĕ+

< 9I11 B)4

500,000,000

-

-

-

-

-

500,000,000

6% /%6&

.N6'1

5 .''

&5 E%ĔE ĕ

192,255,459

12,006,651,924

(3,640,021)

-

12,010,291,945

(12,120,153,820)

305,757,355

( 6 )

N6E'.4.%

6'A 8 A "64 8 6' '+%

3,456,346

3,323,869

-

3,323,869

-

-

132,477

A ;I1 6&

1 A 8 ) <

3,456,346

3,323,869

-

3,323,869

-

-

132,477

1 =ĕ ;1/<ĕ

1 .Ĕ+

D %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 Ę '4 1 1;I

6'A )9I& B )

1 Ę '4 1 1;I 1 .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ

14,243,701,331

12,009,975,793

(3,640,021)

3,323,869

12,010,291,945

(12,120,153,820)

14,353,879,358

.Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ

'+%

'6& 6 '4 N6 Č


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1&

'4B.A è . .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

6'A 8 '+%

/%6&A/ <

2555

6'A 8 A "64 8 6' 2554

2555

2554

( 6 ) '4B.A 8 . 6 8 ''% N6A 8 6 13,786,739,306

16,559,310,751

12,010,291,945

17,530,078,625

2,591,731,026

2,640,062,787

15,436,383

13,590,597

20,220,484

17,400,639

2,930,541

2,485,357

'6&E ĕ 1 A 9J&

(210,073,495)

(135,600,916)

(62,884,885)

(41,350,995)

Ĕ6D ĕ Ĕ6& 1 A 9J&

423,373,022

468,921,199

2,330,588

1,955,963

328,796,950

487,077,047

-

-

(14,336,542,304)

(10,069,139,005)

-

-

-

-

(12,254,547,780)

(10,268,429,765)

-

(7,263,825,147)

-

(7,499,188,788)

433,417,808

433,417,809

-

-

(24,467,306)

39,746,326

-

-

5,703,925

43,183,064

-

-

N6A 8 6 9I& A)8

175,273,209

-

-

-

Ĕ6A ;I1.8 ĕ6A.;I1%.$6"

20,907,029

28,507,449

-

-

5,577,234

6,139,008

-

-

(99,776,527)

(490,254,049)

-

-

6,302,910

4,078,223

10,093,049

7,207,248

3,127,183,271

2,769,025,185

(276,350,159)

(253,651,758)

)= / 9J 6' ĕ6B)4)= / 9J1;I

300,199,325

(212,157,534)

(11,496,456)

(3,838,498)

.8 ĕ6 A/);1

(89,249,807)

213,427,335

-

-

.8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1;I

(117,772,366)

(35,219,092)

(642)

(2,857,904)

A ĕ6/ 9J 6' ĕ6B)4A ĕ6/ 9J1;I

234,403,140

25,178,354

4,582,513

(5,701,994)

(4,725,634)

59,159,091

-

-

48,478,021

196,210,669

2,219,800

(3,189,840)

206,053,433

118,128,379

68,744,209

32,908,364

12,362,110,914

10,353,482,075

12,254,547,780

10,268,429,765

(292,962,056)

(223,804,477)

-

-

12,042,247,045

10,032,098,135

N6E'.N6/'5 Č 9IA ě 1 =ĕ ;1/<ĕ '8-5 D/gĔ

'6& 6' '5 '<

Ĕ6A.;I1%'6 6B)4 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6& ĕ < '8 6'D 1 9 B)4 ę < 5 1 " 5 6

$6-9A 8 E ĕ

12, 13, 14 18

27

.Ĕ+ B Ĕ N6E' 6 A 8 ) < D '8-5 'Ĕ+% A 8 ę )'5 N6E' 6 6' N6/ Ĕ6&A 8 ) < 6 .Ĕ+ D '8-5 'Ĕ+%

10

6 < 6 .N6'1 A ;I1 1 A 9J& 1 .Ĕ+ Ĕ6 1

.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' ( N6E') 6 < 6 15 '6B) A )9I& 9I&5 E%ĔA 8 :J '8

/ 9J. .5& 4.=g 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 1 .8 '5"&Ę 1 .Ĕ+ 6'

Ĕ6 5 N6/ Ĕ6& Ĕ6D ĕ Ĕ6&D 6' 5 /6A 8 =ĕ&;% 6 < .N6/'5 Č 9IA ě 1 .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <% 1;I G

6'A )9I& B ) D .8 '5"&ĘB)4/ 9J.8 N6A 8 6

) '4C& Ę 1 B 6%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' ĕ6 Ĕ6& / 9J.8 E%Ĕ/%< A+9& 1;I '5 1 A 9J& '5 A 8 ę ) Ĕ6&$6-9A 8 E ĕ '4B.A 8 . .< 8E ĕ%6 6 8 ''% N6A 8 6

/%6&A/ < '4 1 6'A è A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A è 9J

15,773,718,241

13,263,429,985


†ˆŽ

'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1&

'4B.A è . .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰

6'A 8 '+%

/%6&A/ <

2555

6'A 8 A "64 8 6' 2554

2555

2554

( 6 ) '4B.A 8 . 6 8 ''%) < (57,481,410)

-

(57,481,410)

-

(2,085,138,249)

(2,411,212,653)

(6,293,204)

(17,866,016)

(31,895,851)

(101,188,165)

(139,742)

(119,690)

1 <g6 D/Ä• N6A 8 6'

(4,920,214)

(1,942,429)

-

-

A 8 ) < 5I+ '6+A"8I% :J

(604,523,117)

(669,941,585)

(632,573,278)

(619,155,642)

(59,796,358)

(78,416,397)

-

30,000,000

-

7,924,329,000

-

7,924,329,000

9,417,342

68,979,056

6,168

42,991

(2,834,337,857)

4,730,606,827

(696,481,466)

7,317,230,643

A 8 . '5 6 6' =Ä•&;%'4&4.5J

-

2,156,217,186

-

-

A 8 . '5 6 6' =Ä•&;%'4&4&6+

1,616,616,517

1,624,601,573

-

-

57,597,419

77,317,196

-

-

A 8 . Ĕ6&A";I1) < D '8-5 'Ĕ+% ;J116 6'B)41< ' Ę ;J1.8 '5"&ĘE%Ĕ%9 5+ 1;I Ĕ6&.< 8A";I1) < D 16 6'B)41< ' Ę$6&D ĕ.5gg6

A 8 D/ĕ =ĕ&;%B)4A 8 '1 Ĕ6&B Ĕ 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 (A"8I% :J )) )

A 8 '5 .< 8 6 6' N6/ Ĕ6&A 8 ) < 6 .Ĕ+ D '8-5 'Ĕ+% A 8 '5 .< 8 6 6' N6/ Ĕ6&1< ' Ę A 8 . .< 8E ĕ%6 6 (D ĕE D ) 8 ''%) <

'4B.A 8 . 6 8 ''% 5 /6A 8

A 8 . '5 6 6' =Ä•&;% 6 8 6' 9IA 9I&+ Ä•1 5 A 8 . '5 6 6'A"8I% <

-

149,129,179

-

149,129,179

Ĕ6& ; A 8 =ĕ&;%'4&4.5J

-

(2,410,762,804)

-

-

Ĕ6& ; A 8 =ĕ&;%'4&4&6+

(3,467,479,280)

(64,306,964)

(630,439)

(556,514)

(414,232,276)

(448,202,669)

(112,790)

(147,486)

A 8 ę ) Ĕ6&

(19,623,140,315)

(10,125,431,480)

(19,623,140,315)

(10,125,431,480)

A 8 . .< 8D Ä•E D 8 ''% 5 /6A 8

(21,830,637,935)

(9,041,438,783)

(19,623,883,544)

(9,977,006,301)

A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 . A"8I% :J () ) ) .< 8

(8,891,257,551)

8,952,598,029

(8,278,117,965)

7,372,322,477

A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 . +5 ĕ Č

11,436,559,716

2,489,672,568

8,442,694,924

1,070,372,447

(11,210,345)

-

-

-

(1,626,984)

(5,710,881)

-

-

Ĕ6& 1 A 9J&

) '4 6 A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 . D .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8 ) '4 6 15 '6B) A )9I& 1 A 8 '6 Ĕ6 '4A , A/);1.8J Č A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 . +5 .8J Č

5

2,532,464,836

11,436,559,716

164,576,959

8,442,694,924

-

-

-

-

27,702,229

77,092,712

898,771

741,449

5,829,778

9,326,913

2,393,957

2,176,958

'6& 6' 9IE%ĔD ĔA 8 . ;J116 6'B)41< ' Ę B)4.8 '5"&ĘE%Ĕ%9 5+ C & 9I&5 E%ĔE ĕ N6'4A 8 ;J116 6'B)41< ' Ę$6&D ĕ.5gg6A Ĕ6 6 6'A 8

/%6&A/ < '4 1 6'A è A Ä› .Ä”+ / :I 1

6'A è 9J


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 < /%6&A/ <

.6' 5g

1

ĕ1%=) 5I+E

2

A Ę 6' 5 N6 6'A 8

3

C& 6& 6' 5g 9 9I.N6 5g

4

'6& 6' 9IA 8 :J B)4&1 A/);1 5 < )/';1 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5

5

A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 .

6

A 8 ) < 1;I

7

)= / 9J 6' ĕ6B)4)= / 9J1;I

8

.8 ĕ6 A/);1

9

.8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8 B)4 6' N6A 8 6 9I& A)8

10

A 8 ) < D '8-5 &Ĕ1& 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 B)4 '8-5 'Ĕ+%

11

ĕ1%=) 6 6'A 8 C &.'< 1 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 B)4 '8-5 'Ĕ+%

12

16 6'B)41< ' Ę

13

16 6'B)41< ' Ę$6&D ĕ.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'

14

.8 '5"&ĘE%Ĕ%9 5+

15

$6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9

16

/ 9J.8 9I%9$6'4 1 A 9J&

17

A ĕ6/ 9J 6' ĕ6B)4A ĕ6/ 9J1;I

18

$6'4 = "5 ) '4C& Ę" 5 6

19

< A';1 /<ĕ B)4.Ĕ+ A 8 %=) Ĕ6/<ĕ

/%6&A/ < '4 1 6'A è A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A è 9J


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 < +6 % B)4 /%6&A/ <

.6' 5g

20

B)4.N66'1 6% /%6& '1 6% /%6& .Ĕ+ A 8 < < B)4.N

21

6' '8/6' 5 6'.Ĕ+ <

22

N6E' 6 < A H A.'H 1;I

23

ĕ1%=) 6 6'A 8 N6B 6%.Ĕ+ 6

24

'6&E ĕ1;I

25

Ĕ6D ĕ Ĕ6& 6%)5 - 4

26

1 < .N6'1 A)9J& 9"" 5 6

27

$6-9A 8 E ĕ

28

.8 8 '4C& Ę 6% 5 '.Ĕ A.'8% 6') <

29

N6E' Ĕ1/<ĕ

30

A 8 ę )

31

A ';I1 %;1 6 6'A 8

32

$6'4 = "5 B)4/ 9J.8 9I16 A 8 :J D $6&/ ĕ6

33

A/ < 6' Ę.N6 5g ĕ1"8"6 6 6' ĕ6 B)4 9 +6% 9I.N6 5g 1 )<Ĕ%18 5

34

/ 5 .;1 JN6 '4 5 6 6 6'

35

%6 ' 6 6''6& 6 6 6'A 8 9I&5 E%ĔE ĕD ĕ

36

6' N6A. 1D/%Ĕ

37

A/ < 6' Ę$6&/)5 '1 '4&4A+)6 9I'6& 6

/%6&A/ < '4 1 6'A è A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A è 9J

ãç


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 /%6&A/ < '4 1 6'A 8 A ě .Ĕ+ / :I 1

6'A 8 9J

6'A 8 9JE ĕ'5 1 <%5 8D/ĕ11 6'A 8 6 4 ''% 6'A%;I1+5 9I 15 <%$6"5 Ę 2556 1

ĕ1%=) 5+I E '8-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 (%/6 ) “ '8-5 ” A ě 8 8 < ) 9I 5 5J :J D '4A ,E & B)4 9I1&=Ĕ 4A 9& 5J 1&=ĔA) 9I 414 "/)C& 8 A "g6E '< A "3 10400 '8-5 4A 9& 5 )6 /)5 '5"&ĘB/Ĕ '4A ,E & (“ ) .”) A%;I1A ;1 .8 /6 % 2533

+5+5 9 I 5 C & 'è-5 9 9 6'Ę C2) 8 ù J .Ę N N66 5 5 }ä 9 6'Ę”å)~ 'ĕ'ĕ1&)4 &)4 } 'ĕ &)4 ~ 44.8) 31 5 +6 % < +6 % 2555 < A'ëA';1 /< ĕ 1 'è 1 '8-5 .Ĕ+ D/gĔ ;1C & '8 (“ 9 6'Ę 23.6 (2554: 'ĕ11&)4 B)4 'è- 5 B1.A" C2) 8 }äB1.A" å~ 'ĕ &)4 } 'ĕ &)4 ~ : .1 'è--5 5 A ěA ě '8 'è--5 5 9 9I I 4A 9 4A 9&& D '4A ,E & D '4A ,E & B)4 '8 B1.A" C2) 8 ù J .Ę N N66 5 5 (“B1.A" ”) 'ĕ11&)4 41.6 (2554: 'ĕ11&)4 41.6) :I

I 5 5J

J .1 '8 '6& 6' ĕ6 9IA 8 :J D )<Ĕ%18 5 /%6& : '6& 6' ĕ6 9IA 8 :J D '8-5 '8-5 &Ĕ1& 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 B)4 '8-5 'Ĕ+% '+% :

'6& 6''4/+Ĕ6 5 1 )<Ĕ%18 5 5 =ĕ '8/6'B)4 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 1;I 1 '8-5 )1 '6& 6' 5 9 6'Ę B1.A" B)4 )<Ĕ% =ĕ ;1/<ĕ 1 5J .1 '8-5 4B. A ě '6& 6' 5 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 )<Ĕ%18 5 '4 1 <' 8 /)5 D <' 8 6+A 9&% <' 8 18 A 1'ĘA H 8 6' ĕ6 6'.;I1.6'C ' % 6 % <' 8 .;I1B)4C - 6


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ '6&)4A19& 1 '8-5 &Ä”1& 8 6' 9I + <%'Ä”+% 5 B)4 '8-5 'Ä”+% +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 %9 5 9J '8- 5

)5 - 4 <' 8

'4A , 9I 8 6' 5 5 J

.5 .Ä”+ 6' ;1/< Ä• 2555 2554

('Ä•1&)4) '8- 5 &Ä”1& '8 E & % N66 5 5 (%/6 ) 'è- 5 E & % N }%/6 ~ B)4 )<Ä”% '8-5 (“E & %â€?)

N6A 8 6'D/ĕ '8 6'+ ' 6+A 9&%A";I1 6'.;I1.6' 5J $6&D B)4 Ĕ6 '4A , 5 N6/ Ĕ6&1< ' Ę'5 .5gg6 6+A 9&%E & % 4 (E1"9. 6'Ę) '8 6' A ;J1/6.N6/'5 A ';1 Ĕ6& '1 B Ę 5 N6/ Ĕ6& 1< ' Ę'5 .5gg6 C ' 5, Ę '8 6''4 C ',5" Ę '8 6'A.'8% C ',5" ĘA );I1 9I B)4 '8 6' ĕ6 +8,+ ''%"5 6A C C)&9 6'.;I1.6' B)418A) C ' 8 )H '1 8 .Ę

E &

41.14

41.14

'8-5 E1 9+9 N6 5 (%/6 ) B)4 )<Ĕ% '8-5 (“E1 9+9�)

ę < 5 E1 9+9E ĕ/&< N6A 8 <' 8 (/%6&A/ < 32 B)4 33) :I A 8%A & N6A 8 8 6'. 6 9C ' 5, Ę$6&D ĕ .5gg6'Ĕ+% 6 B)4 N6A 8 6'. 6 9C ' 5, Ę '4 &= A1 A1# 9IE ĕ'5 6 .N6 5 )5 .N6 5 6& '5 % '9

E &

52.92

52.92

'8-5 E1. 9. B1"")8A 5I .Ę B1 Ę B1 Ę A 1'Ę+è. N6 5 }äE1 9+8.A1A1.ĂĽ~ A 1'Ę N6 5 (“E1 9A1A1.â€?)

'4 1 <' 8 D/ĕ '8 6'C 'B '% 1%"8+A 1'Ę

E &

99.99

99.99

'8-5 B% Ę 1 Ę N6 5 (“B% Ę 1 Ę�)

'4 1 <' 8 D/Ä• '8 6' Ä•6 C - 6 B)4'5 Ä•6

)8 .;I1C - 6 6 +8 &< B)4C ' 5, Ę

E &

99.96

99.96

B)4 'è 6'1;I 9IA 9I&+A ;I1

B)4 '8 6'1;I 9IA 9I&+A ;I1

†‰ˆ


†‰‰

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ '8- 5

)5 - 4 <' 8

'4A , 9I 8 6' 5 5 J

.5 .Ä”+ 6' ;1/< Ä• 2555 2554

('ĕ1&)4) '8- 5 'Ĕ+% '8-5 B1 +6 Ę 18 C#'Ę A 1'Ę+8. N6 5 (%/6 ) B)4 )<Ĕ% '8-5 (“A1E1A1.�)

A ě =ĕ N6A 8 6 B)4D/ĕ '8 6'C ',5" ĘA );I1 9I '4 900 A% 4A28' Ę '4 1800 A% 4A28' Ę B)4 '4 2.1 8 4A28' Ę D/ĕ '8 6'.;I1.6' ĕ1%=) Ĕ6 .6&C ',5" Ę +ĕ &'4 Datakit Virtual Circuit Switch D/ĕ '8 6' ĕ1%=) 6 C ',5" Ę D/ĕ '8 6' 18 A 1'ĘA H Ĕ6 A ';1 Ĕ6&18 A 1'ĘA H '4/+Ĕ6

'4A , D/ĕ '8 6'A.9& B)4C ' 5, Ę18 A 1'ĘA H 5 N6/ Ĕ6& 5 'A 8 . D/ĕ '8 6' N6'4 Ĕ6.8 ĕ6/';1 '8 6' 6 18A)H '1 8 .ĘB)4 5 'A 8 . D/ĕ '8 6' C ',5" Ę'4/+Ĕ6 '4A , 5 N6/ Ĕ6& C ',5" ĘA );I1 9I D/ĕA Ĕ6B)4 '8 6'";J 9I 9I 8 B)4 16 6'B)4.8I 1N6 +& +6%.4 + Ĕ6 G N6A 8 6' "5 6'4 ĕ1%=).6'. A , B)4 '8 6''+ '+% ĕ1%=).N6/'5 '8 6'A.'8% C ',5" ĘA );I1 9I

E &

40.45

40.45

'8-5 9A1. )H1 18 C# N6 5 (%/6 ) B)4 )<Ĕ% '8-5 (“ 9A1.B1)�)

D/ĕ '8 6',= &Ę ĕ1%=)18 A 1'ĘA H '8 6'18 A 1'ĘA H B)4 '8 6''5 - .Ĕ .5gg6 Ĕ6 6+A 9&%A";I1 6'.;I1.6' 5J $6&D '4A , B)4 Ĕ6 '4A , 5 "8%"Ę B)4C - 6.%< '6& 6% =ĕD ĕC ',5" Ę 5 <' 8 '8 6'C - 6 18 A 1'ĘA H <' 8 .8 I "8%"Ę '4A$ C - 6&Ĕ1& B)4 '8 6'A.'8% C ',5" ĘA );I1 9I

E &

42.07

42.07

'8-5 1<Ė 9 N6 5 (“1<Ė 9�)

D/ĕ '8 6'B)4"5 6 Ĕ1 6 6' N6A. 1.8I 9"8%"Ę 8 8 1)B)4/ 5 .;118A)H '1 8 .Ę

E &

25.03

-


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ )<Ä”%18 5 E Ä•'5 1 <g6 D/Ä• N6A 8 6' Ä”6 G 6 / Ä”+& 6 1 '5 B)4/ Ä”+& 6 $6&D Ä• 6' N6 5 =B) 1 '5 5J D '4A ,B)4 Ä”6 '4A , D/Ä•A Ä› =Ä•D/Ä• '8 6'+ ' 6+A 9&% =Ä•D/Ä• '8 6'18 A 1'ĘA H 6' N6A 8 6 A 9I&+ 5 . 6 9+8 &<C ' 5, Ę B)4 '8 6'A ';1 Ä”6& C ',5" ĘA );I1 9ID '4A ,E &B)4 '4A , 5%"= 6 ( '8-5 9ID/Ä• '8 6'A ';1 Ä”6&C ',5" ĘA );I1 9ID '4A , 5%"= 61&=Ä”'4/+Ä”6 6'A Ä•6.=Ä” '4 + 6')Ä•%)4)6& 6%/%6&A/ < '4 1 6'A 8

6'A 8 ĕ ĕ11 9 9I 9)I 9) B)4 '8 6'C ' % 6 %D '4A ,)6+A ě ĕ C &%916&<1 <g6 D/ĕ N6A 8 6' Ĕ6 G 5J B Ĕ 10 - 35 Č $6&D ĕ.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'B)4D 1 <g6 Ĕ6 G '8-5 D )<Ĕ%18 5 9IE ĕ'5 1 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 4 ĕ1 Ĕ6& ) '4C& Ę 1 B /'; 1 Ĕ6 ''%A 9&%B Ĕ/ Ĕ+& 6 1 '5 B)4/ Ĕ+& 6 $6&D ĕ 6' N6 5 =B) 1 '5 9I A 9I&+ ĕ1 D 15 '6'ĕ1&)4 1 '6&E ĕ/';1A 8 5J IN6 9I'4 <D B Ĕ)4.5gg6 9IA 9I&+ ĕ1 B)ĕ+B Ĕ N6 + D 4.= +Ĕ6 /';1 6% 9I N6/ D D 1 <g6 +5 9I 31 5 +6 % 2555 N6 + A 8 5J IN6 9I'4 <D .5gg6 A/);1A ě N6 + 684 )ĕ6 6 D 6'A 8 '+% (2554: 747 )ĕ6 6 ) 5J 9JE%Ĕ'+%E1 9+9A ;I1 6 1&=Ĕ'4/+Ĕ6 ' 9"8"6 D /%6&A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 32 B)4 33 1 6 9J.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 6 5 &5 '4 <D/ĕ )<Ĕ% '8-5 5 )Ĕ6+ ĕ1 5 /616 6'B)41< ' ĘA";I1 N6A 8 6'B)4.Ĕ %1 16 6'B)41< ' Ę 9I 5 /6 %6$6&D ĕ.5gg6 ĕ6 ĕ D/ĕA ě ''%.8 8M 1 / Ĕ+& 6 1 '5 B)4/ Ĕ+& 6 $6&D ĕ 6' N6 5 =B) 1 '5 9IA 9I&+ ĕ1 $6&D A+)6 9I N6/ E+ĕD .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'

†‰Š


†‰‹

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ .5 g g61 < g 6 D/Ä• N6 A 8 6'B)4D 1 < g 6 9I '8 -5 &Ä” 1 & 8 6' 9I + < % 'Ä” + % 5 B)4 '8 -5 'Ä” + % ; 1 '1 .8 8 1 &=Ä” +5 9I 31 5 +6 % 2555 %9 5 9J '4A$ 1 .5gg61 <g6 D/Ä• 6N A 8 6'B)4D 1 <g6 '8- 5 &Ä”1& <' 8 6+A 9&% D 1 <g6 6' '4 1 8 6' C ' % 6 % B 9I/ :I

D 1 <g6 6' '4 1 8 6' C ' % 6 % B 9I.6% '8 6' ĕ6 . 6 9+8 &< B)4C ' 5, Ę '4 &=A1 A1#

D 1 <g6 6'D/ĕ '8 6'18 A 1'ĘA H B 9I/ :I

8 6' 9 I + <%'Ĕ+% 5 '4 C ',5" Ę";J 6 C ',5" Ę A );I1 9I C ',5" Ę Ĕ6 '4A , B)4 '8 6' ĕ6 18 A 1'ĘA H '4 C ',5" ĘA );I1 9IA ))=)6'Ę

'8- 5 'Ĕ+% '4 C ',5" ĘA );I1 9I 900 A% 4A28' Ę A ))=)6'Ę '4 C ',5" ĘA );I1 9I 1800 A% 4A28' Ę '4 C ',5" ĘA );I1 9I 2.1 8 4A28' Ę C ',5" Ę 6 E ) Ĕ6 '4A , '4 .;I1.6' ĕ1%=) Datakit Virtual Circuit Switch '8 6''5 .Ĕ .5gg6 C ' 5, Ę B)418 A 1'ĘA H Ĕ6 6+A 9&% D 1 <g6 6'D/ĕ '8 6'18 A 1'ĘA H B 9I/ :I .1 B)4.6%

'4A ,

;1 '1 C &

+5 9I. 8J .< 16&< 1 <g6 D/Ä• 6N A 8 6'

E & E &

'8-5 E & % N6 5 (%/6 ) '8-5 E & % N6 5 (%/6 )

5 &6& 2564 /6 %2559 2559 .8.8

/6 %

E &

'8-5 E & % N6 5 (%/6 )

6& 2575 2575 %8%8 < < 6&

E &

'8-5 E1 9+9 N6 5 (%/6 )

E &

'8-5 9 9+9 A 1'Ę+8. N6 5

)6+

Lao Telecommunications Company Limited

5%"= 6

E &

Mfone Company Limited

E &

'8-5 B1 +6 Ę 18 C#'Ę A 1'Ę+8. N6 5 (%/6 ) '8-5 8 8 1) C# N6 5 '8-5 B1 +6 Ę E+'ĘA). A H A+1'Ę N6 5 '8 A1 E1 A1H C ) 1) 1%6 5 N 6 5 'è-5 A1E1A1H C ) 1) 1% N A H A+1'Ę '8-5 B1 +6 Ę 6 Ä•6A A+8 'Ę 1%%8+ 8A 5I .Ę N6 5 '8-5 9A1. )H1 18 C# N6 5 (%/6 )

E &

'8-5 9A1. )H1 18 C# N6 5 (%/6 )

E & E & E & E &

' 6 % 2568 (1&=Ĕ'4/+Ĕ6 ' 9"8"6 6%/%6&A/ < '4 1

6'A 8 Ä•1 32 B)4 33) <)6 % 2557

2564

%9 6 % 2571 (1&=Ĕ'4/+Ĕ6 6'A ĕ6.=Ĕ '4 + 6')ĕ%)4)6& 6%/%6&A/ < '4 1

6'A 8 Ä•1 9)

5 &6& 2558 5 &6& 2556 5 +6 % 2570 ' 6 % 2569 5 &6& 2565 .8 /6 % 2559 A%-6& 2557 :

5 +6 % 2565


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 2

A Ę 6' 5 N6 6'A 8

2.1

A ĘD 6' 5 N6 6'A 8

6'A 8 9J N6A. 1A";I1+5 < '4. ĘA";I1D ĕ'6& 6 D '4A ,E & B)4 5 N6A ě $6-6E & 6'A 8 5 $6-615 (-E ĕ 5 N6 :J A";I1 +6%.4 + 1 =ĕ1Ĕ6 6'A 8 9IE%Ĕ <ĕ A & 5 $6-6E &

6'A 8 9JB. / Ĕ+&A 8 '6A ě A 8 6 B)4%9 6' ę A,-D /%6&A/ < '4 1 6'A 8 A";I1D/ĕB. A ě /)5 )ĕ6 6 A+ĕ B Ĕ 9I'4 < E+ĕA ě 1&Ĕ6 1;I 6'A 8 9JE ĕ 5 N6 :J C & ;1/)5 A Ę 6' 5 : 6%'6 6 < A 8% & A+ĕ 9I )Ĕ6+E+ĕD C& 6& 6' 5g 9

6'A 8 9J 5 N6 :J 6%%6 ' 6 6' 5g 9 1 '4A ,E & (“%6 ' 6 6' 5g 9”) B)4%6 ' 6 6''6& 6 6 6'A 8 1

'4A ,E & (“%6 ' 6 6''6& 6 6 6'A 8 ”) '+% : 6' 9 +6%B)4B + 8 5 8 6 6' 5g 9 9I '4 6,D ĕC &.$6+8 6 9" 5g 9D "'4 '%'6 = 5%$Ę (“.$6+8 6 9" 5g 93”) D 6' 5 N6 6'A 8 D/ĕA ě E 6%%6 ' 6 6' 5g 9 B)4%6 ' 6 6''6& 6 6 6'A 8 =ĕ '8/6' ĕ1 D ĕ 6' '4%6 6'B)4 ĕ1.%% 8 6 :I %9 ) '4 Ĕ1 6' N6/ C& 6& 6' 5g 9B)4 6''6& 6 N6 + A 8 9IA 9I&+ 5 .8 '5"&Ę / 9J.8 '6&E ĕB)4 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 6' '4%6 B)4 ĕ1.%% 8 6 %6 6 '4. 6' ĘD 1 9 B)4 ę 5& Ĕ6 G '+% : 6' '4A%8 ) '4 9I.N6 5g Ĕ1 ) 6' N6A 8 6 B)4 6 4 6'A 8 1 )<Ĕ%18 5 15 A ;I1 %6 6 .$6"A,'- 8 ) 9IA 8 :J '8 : 16 B Ĕ6 6 9I '4%6 E+ĕ 5J 9J 6' '4%6 6'B)4 ĕ1.%% 8 6 9ID ĕD 6' 5 N6 6'A 8 4E ĕ'5 6' + 1&Ĕ6 .%IN6A.%1 ĕ1%=)A 9I&+ 5 '4%6 6'B)4 ĕ1.%% 8 6 9I.N6 5gD 6' N6/ C& 6& 6' 5g 9 B)4%9 ) '4 .N6 5g Ĕ1 6''5 '=ĕ N6 + A 8 D 6'A 8 :I '4 1 ĕ+&/%6&A/ < '4 1 6'A 8 Ĕ1E 9J x

Ĕ6A ;I1/ 9J. .5& 4.=g '4A%8 C & 6'+8A '64/Ę '4+5 8 6' N6'4/ 9JB)4 6' 6 6' ĘA 9I&+ 5 6' N6'4/ 9JD 1 6 1

)= / 9J (/%6&A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 7)

x

%=) Ĕ6.< 8 9I 6 +Ĕ6 4E ĕ'5 ; 6 .8 ĕ6 A/);1 '4%6 6 '6 6 9I 6 +Ĕ6 4 6&E ĕ/5 ĕ+& Ĕ6D ĕ Ĕ6& 9IA 9I&+ ĕ1 (/%6&

A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 8) x

6' '4%6 16&< 6'D ĕ 6 1 .8 '5"&Ę A Ĕ 16 6' B)41< ' Ę '+% : 16 6'B)41< ' Ę$6&D ĕ.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' B)4 '5"&Ę.8 E%Ĕ%9 5+ '4%6 6%16&< 6'D/ĕ '4C& Ę 1 .8 '5"&Ę /';1 6%16&<.5gg6 9IA 9I&+ ĕ1 D ' 9 9I16&<.5gg6 9IA 9I&+ ĕ1 .5J +Ĕ6 (/%6&A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 12, 13 B)4 14)


†‰�

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰

2.2

x

6' '4A%8 %=) Ĕ6.< 8 9I 6 +Ĕ6 4E ĕ'5 ; 6 16 6' B)41< ' Ę '+% : 16 6'B)41< ' Ę$6&D ĕ.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' B)4 '5"&Ę.8 E%Ĕ%9 5+ '+% : Ĕ6 +6% 8&% '4A%8 6 %=) Ĕ6 ę < 5 .< 8 1 '4B.A 8 . 9I 6 +Ĕ6 4A 8 :J D 1 6 6 6'D ĕ.8 '5"&Ę1&Ĕ6 Ĕ1A ;I1 /';1 N6 + 9I 6 +Ĕ6 4E ĕ'5 6 6' 6&.8 '5"&Ę/5 ĕ+& ĕ < 6 6' N6/ Ĕ6&.8 '5"&Ę 5J B)ĕ+B Ĕ N6 + D 4.= +Ĕ6 (/%6&A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 12, 13 B)4 14)

x

.5gg6A Ĕ6.8 '5"&Ę 9I +6%A.9I& B)4 ) 1 B 1 +6%A ě A ĕ6 1 .Ĕ+ D/gĔE ĕC1 E D/ĕ 5 =ĕA Ĕ6 4 = 5 '4A$ A ě .5gg6A Ĕ6 6'A 8 .Ĕ+ .5gg6A Ĕ6 :I =ĕD/ĕA Ĕ6A ě =ĕ'5 +6%A.9I& B)4 ) 1 B 1 +6%A ě A ĕ6 1 A ě .Ĕ+ D/gĔ 4 = 5 '4A$ A ě .5gg6A Ĕ6 N6A 8 6 (/%6&A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 12)

x

.8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9 :I A ě ) 6 6 < 6 $6-9A 8 E ĕ 4 5 : Ĕ1A%;I1%9 +6%A ě E E ĕ Ĕ1 ĕ6 B Ĕ 1 +Ĕ6 4%9 N6E'A";I1A.9&$6-9D 1 6 A"9& "1 5 6'D ĕ '4C& Ę 6 .8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9 5 )Ĕ6+ 5 J 9J.8 '5"&Ę$6-9 A 8 E ĕ'1 5 5g 9 4 = 5 : A Ĕ6 9I '4C& Ę 6 $6-9 4%9C1 6. = D ĕ (/%6&A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 15)

x

'4%6 6'/ 9J.8 B)4/ 9J.8 9I16 4A 8 :J 4 = '5 '=ĕA%;I1%9 +6%A ě E E ĕ Ĕ1 ĕ6 B Ĕ 1 +Ĕ6 ĕ1 .=gA.9& '5"&6 '11 E C &D ĕ%=) Ĕ6 9I 6 +Ĕ6 4 Ĕ6& N6'4 +5 9ID '6& 6 (/%6&A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 32 B)4 33)

x

6' 5 : %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 .5gg6 ;J1 6&A 8 '6 Ĕ6 '4A ,)Ĕ+ / ĕ6 4 ;1 6%'6 6 )6 1 .5gg6)Ĕ+ / ĕ6 +5 9I '6& 6 .Ĕ+ 6' 5 : %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 .5gg6B) A )9I& A 8 '6 Ĕ6 '4A ,B)415 '6 1 A 9J& 4 ;1 6%'6 61ĕ6 18

1 6&/ Ä•6 +5 9ID '6& 6 (/%6&A/ < '4 1 6'A 8 Ä•1 31)

6 4 6'A 8 1 '8- 5 E1 9+9 N6 5 (%/6 ) B)4 )<%Ĕ '8- 5 (“E1 9+�9 ) +5 9I 31 5 +6 % 2555 E1 9+9%9/ 9J.8 /%< A+9& .= +Ĕ6.8 '5"&Ę/%< A+9& N6 + 4,321 )ĕ6 6 B)4 6 < .4.%A 8 < N6 + 4,321 )ĕ6 6 (2554: 3,898 )ĕ6 6 B)4 3,898 )ĕ6 6 ) B)4 6% 9I )Ĕ6+E+ĕD /%6&A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 32 ) B)4 ĕ1 33.2 6 ) N6 5 .8 1 ,6) '1 .= .< A%;I1+5 9I 13 5 +6 % 2549 D 6'A"8 1 N6 9J 6 1 1 <g6C <)6 6' .N6 5 6 )5 .N6 5 6& '5 % '9 (“. .�) =ĕD/ĕ 6'1 <g6 N6A 8 6'B ĔE1 9+9E ĕA'9& 'ĕ1 D/ĕE1 9+9 Ĕ6& N6'4 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 6% .5gg6A ĕ6'Ĕ+% 6 3 A ě A 8 5J .8J 2,210 )ĕ6 6 '+% 5J 1 A 9J&D 15 '6'ĕ1&)4 15 Ĕ1 Č 1 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 5J /% B)4 Ĕ6 '5 D 6' '5 A )9I& 5 '6& 6' N6 + 97,760 )ĕ6 6 :I E1 9+9E%ĔE ĕ N6'4 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 '+% 5J 1 A 9J& B)4 Ĕ6 '5 5 )Ĕ6+ C &A/ < 9IE1 9+9&5 %9 ĕ1C ĕB&ĕ 6 /%6& Ĕ1 ĕ1A'9& 'ĕ1 5 )Ĕ6+ B)4A%;I1+5 9I 7 %9 6 % 2550 . . E ĕA"8 1 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 1 E1 9+9 N6D/ĕE1 9+9 ĕ1 /&< N6A 8 8 6' 5J B Ĕ+5 5J A ě ĕ %6 B)4A%;I1+5 9I 30 %9 6 % 2550 . . &5

6 + 6 6 "'Ä• "'Ä•11% 1 A 9 % 1 A 9J& B)4 N B)4 N6A 8 6A 8 6' 6% 5 6' 6% 5J J 1 1

E Ä•A'9'ĂŠ& 'Ä•1 A 9

A 9I&I&+ 5 + 5 %=%=)) Ĕ Ĕ66 '5 '5""&Ę&Ę..8 8 9 9I.I.Ĕ %1 E%Ĕ Ĕ %1 E%Ĕ ' N ' N 6 + 656 ‹Š‹ )ĕ)ĕ6 6 1 <g6C <)6 6'D A';I1 A 9I&+ 5 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 1 A 9J&)Ĕ6 ĕ6B)4 Ĕ6 '5 D 6' '5 A )9I& 5 '6& 6' N6 + 97,760 )ĕ6 6 B)4%=) Ĕ6 '5"&Ę.8 9I.Ĕ %1 E%Ĕ ' "'ĕ1% 1 A 9J& . 6 6' Ę 5 )Ĕ6+A ě +6%E%ĔB Ĕ 1 9I%9.6'4.N6 5g :I 16 A ě A/ <D/ĕA 8 ĕ1. .5&1&Ĕ6 %6 A 9I&+ 5 +6%.6%6' D 6' N6A 8 6 Ĕ1A ;I1


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 5J B Ĕ+5 9I 10 %9 6 % 2554 B)4+5 9I 12 %9 6 % 2555 )6 /)5 '5"&ĘB/Ĕ '4A ,E & (“ ) .”) E ĕB ĕ D/ĕ E1 9+9 '6 +Ĕ6E1 9+91&=ĔD )<Ĕ% Non-Performing Group (“NPG”) '4&4 9I 1 B)4'4&4 9I 2 6%)N6 5 6% '4 6, 6' '5 '< B + 6 6' N6A 8 6' 5 '8-5 4A 9& 9I%9 6' N6A 8 6 /';1 6 4 6'A 8 9IA ĕ6 Ĕ6&16 = A"8 1 C & '4 6, 5 )Ĕ6+E ĕ N6/ '4&4A+)6D/ĕE1 9+9 N6A 8 6'B ĕE A/ < B/Ĕ 6'A"8 1 $6&D '4&4A+)6 3 Č ( N6/ 3 '4&4 G )4 1 Č) A'8I% 5J B Ĕ+5 9I 10 %9 6 % 2554 5J 9JE1 9+9.6%6' &;I N6 1 &6& '4&4A+)6#Ďĝ #= 8 6'E ĕ 1 '5J '4&4A+)6E%ĔA 8 1 Č ( N6/ '4&4A+)6.= .< D 6'#Ďĝ #= 8 6'E%ĔA 8 4 Č) C &E1 9+9 ĕ1 %9 < .% 5 8 ' < ĕ1 5 9J 1. 2. 3. 4.

%9.Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ E%Ĕ IN6 +Ĕ6 20 )ĕ6 6 /';1%9 N6E' 6 6' N6A 8 <' 8 /)5 1 Č %9 <' 8 /)5 N6A 8 6'1&Ĕ6 Ĕ1A ;I1 5 A %9B + 6 B ĕE A/ <A"8 1 5 A < .% 5 81;I G ' ĕ+ A Ĕ =ĕ '8/6'/';1 =ĕ%91N6 6 + <% E%ĔA ě < ) 9I%9)5 - 4 ĕ1 /ĕ6% A ě ĕ

/6 E1 9+9E%Ĕ.6%6' N6A 8 6'B ĕE D/ĕ%9 < .% 5 8 6% '4 6, 5 )Ĕ6+ $6&D '4&4A+)6 9I N6/ ) . 4A. 1 4 ''% 6' ) . A";I1"8 6' 61 <%5 8 6'A"8 1 /)5 '5"&Ę Ĕ1E

6'A 8 '+% 1 '8-5 B)4 '8-5 &Ĕ1&E ĕ'+% 6'A 8 1 E1 9+9 :I 5 N6 ";J 6 1 +6%.6%6' D 6' N6A 8 6 1&Ĕ6

Ĕ1A ;I1 5J 9J 6' 5 N6 6'A 8 '+% 6%/)5 6' 5g 9 9I'5 '1 C & 5I+E N6/ D/ĕ'+%.8 '5"&Ę < '6& 6' 1 E1 9+9 N6 + 1,136 )ĕ6 6 8 A ě 'ĕ1&)4 2.4 1 .8 '5"&Ę'+%D 6'A 8 '+% (2554: 1,131 )ĕ6 6 8 A ě 'ĕ1&)4 2.0) B)4/ 9J.8 < '6& 6' 1 E1 9+9 N6 + 5,457 )ĕ6 6 8 A ě 'ĕ1&)4 31.2 1 / 9J.8 '+%D 6'A 8 '+% (2554: 5,028 )ĕ6 6 8 A ě 'ĕ1& )4 19.2) '+% : ) 6 < A 8 < 1 E1 9+9 +5 9I 31 5 +6 % 2555 N6 + 4,321 )ĕ6 6 (2554: 3,898 )ĕ6 6 ) C &'5 '=ĕ A H% N6 + D 6'A 8 '+% 1 '8-5 1&Ĕ6 E' H 6% /6 E1 9+9 ĕ1 '5 '=ĕ ) 6 < 6% 9I = A'9& 'ĕ1 '8-5 4%9$6'4/ 9J.8 6% /%6& N6 5 A"9& E%ĔA 8 %=) Ĕ6/<ĕ 1 E1 9+9 9I '8-5 E ĕ N6'4B)ĕ+ D ' 9 9IE1 9+9E%Ĕ.6%6' N6A 8 6 1&Ĕ6 Ĕ1A ;I1 E ĕ B)4 '8-5 E%Ĕ. 5 . < ĕ6 6'A 8 Ĕ1E1 9+9 / 9J.8 .< 8 '+% 1 '8-5 +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 4) ) A ě N6 + 4,321 )ĕ6 6 B)4 3,898 )ĕ6 6 6%)N6 5 N6E'.4.% '+%B)4.Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ +5 +5 9 9I I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 4A"8I%ø : êJ A ě N6 + 4,321 )ĕ6 6 B)4 )ĕ 6 6 B)4 3,898 )ĕ6 6 5 +6 % B)4 4A"ô + )ĕ 6%)N6 5


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 3

C& 6& 6' 5g 9 .9I 6N 5g

( )

A ĘD 6' 5 N6 6'A 8 '+%

6'A 8 '+% '4 1 ĕ+& 6'A 8 1 '8-5 '8-5 &Ĕ1& B)4 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 B)4.Ĕ+ E ĕA.9& 1 )<Ĕ%18 5 D '8-5 'Ĕ+%

'8-5 &Ĕ1& '8-5 &Ĕ1&A ě 8 6' 9I1&=Ĕ$6&D ĕ 6' + <% 1 )<Ĕ%18 5 6' + <%A 8 :J A%;I1 )<Ĕ%18 5 %91N6 6 + <% 5J 6 ' /';1 6 1ĕ1%D 6' N6/ C& 6& 6 6'A 8 B)4 6' N6A 8 6 1 8 6' 5J A";I1E ĕ%6 :I '4C& Ę 6 8 ''% 1 '8-5 &Ĕ1&

6'A 8 1 '8-5 &Ĕ1&E ĕ'+%1&=ĔD 6'A 8 '+% 5 B Ĕ+5 9I%9 6' + <% : +5 9I 6' + <%.8J .< )

C& 6& 6' 5g 9 1 '8-5 &Ĕ1&E ĕD ĕ C& 6&A 9&+ 5 5 1 )<Ĕ%18 5 Ĕ1 +5 9I 1 % '6 % 2554 )<Ĕ%18 5 E%ĔE ĕ ę .Ĕ+ 6 < A 8 < 1 '8-5 &Ĕ1& E &5 .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <% (A 8% ;1 =ĕ ;1 /<ĕ .Ĕ+ ĕ1&) A+ĕ B Ĕ.Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <% 4%9$6'4 = "5 B)4%9 +6%.6%6' 9I 4) < A"8I%A 8%A";I1'1 '5 ) 6 < 5J E ĕ 5J B Ĕ+5 9I 1 % '6 % 2554 ) 6 < D '8-5 &Ĕ1& 4 ĕ1 = ę .Ĕ+ E &5 .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <%B%ĕ+Ĕ6 6' ę .Ĕ+ 5 )Ĕ6+ 4 N6D/ĕ.Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <%%9&1 A/);1 8 ) H 6%

8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 A ě 8 6' 9I )<Ĕ%18 5 %9.Ĕ+ 'Ĕ+%D 6' + <% 8 ''%A 8 A,'- 8 6% 9I ) E+ĕD .5gg6 6'A 8 '+% 1 )<Ĕ%18 5 E ĕ'+%.8 '5"&Ę / 9J.8 '6&E ĕ B)4 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 1 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 C &D ĕ+8 9'+% 6%.5 .Ĕ+ B)4 N6A "64 .Ĕ+ 9IA ě 1 )<Ĕ%18 5 %6'+% 5 '6& 6' '4A$ A 9&+ 5 6%A ĘB Ĕ)4 '' 5 5 B Ĕ+5 9I%9 6''Ĕ+% + <% : +5 9I 6''Ĕ+% + <%.8J .< )

6'.=gA.9&1N6 6 + <% A%;I1%9 6'.=gA.9&1N6 6 + <% )<Ĕ%18 5 4 5 '6& 6'.8 '5"&ĘB)4/ 9J.8 D '8-5 &Ĕ1& .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <% B)4 .Ĕ+ '4 1 1;I D .Ĕ+ 1 A ĕ6 1 9IA 9I&+ ĕ1 5 '8-5 &Ĕ1& 5J N6E'/';1 6 < 9IA 8 :J 6 6'.=gA.9&1N6 6 + <%D '8-5 &Ĕ1&'5 '=ĕD N6E'/';1 6 < .Ĕ+ E ĕA.9&D '8-5 &Ĕ1&A 8% 9I&5 A/);11&=ĔD/ĕ+5 %=) Ĕ6 ĕ+&%=) Ĕ6&< 8 ''% +5 9I.=gA.9&1N6 6 + <% B)4 5 '4A$ A 8 ) < A ě A 8 ) < 6%+8 9.Ĕ+ E ĕA.9&/';1A ě .8 '5"&Ę 6 6'A 8 A ;I1 6& :J 1&=Ĕ 5 '4 5 1 18 8") 9I A/);11&=Ĕ


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 '8-5 'Ĕ+% '8-5 'Ĕ+%A ě 8 6' 9I )<Ĕ%18 5 %918 8")1&Ĕ6 %9 5&.N6 5gC &%91N6 6 A ĕ6E %9.Ĕ+ 'Ĕ+%D 6' 5 .8 D A 9I&+ 5 C& 6& 6

6'A 8 B)4 6' N6A 8 6 B ĔE%Ĕ : '4 5 9I 4 + <% C& 6& 5 )Ĕ6+ A 8 ) < D '8-5 'Ĕ+% 5 : D 6'A 8 '+%C &D ĕ+8 9.Ĕ+ E ĕA.9& B)4'5 '=ĕ'6& 6'A'8I%B' ĕ+&'6 6 < '+% : ĕ < 9IA 9I&+ ĕ1 5 6' ;J1 9IA 8 6 6' N6'6& 6' 5 )Ĕ6+

6'A 8 '+% 1 )<Ĕ%18 5 E ĕ'+%.Ĕ+ B Ĕ '6&E ĕ Ĕ6D ĕ Ĕ6&B)4 6'A );I1 E/+ 1 .Ĕ+ 1 A ĕ6 1 1 '8-5 'Ĕ+%$6&/)5 6 6' '5 '< C& 6& 6' 5g 9D/ĕA ě C& 6&A 9&+ 5 5 1 )<Ĕ%18 5 5 6 +5 9I%918 8")1&Ĕ6 %9 5&.N6 5g : +5 9I 6'%918 8") 1&Ĕ6 %9 5&.N6 5g.8J .< ) A%;I1 ) 6 < 9I )<Ĕ%18 5 E ĕ'5 ę .Ĕ+ 6 '8-5 'Ĕ+%%9 N6 + A 8 +Ĕ6A 8 ) < D '8-5 'Ĕ+% A 8 ) < 4 = 1 ) A ě ,= &ĘB)4/&< '5 '=ĕ.Ĕ+ ) 6 < A+ĕ B Ĕ ' 9 9I )<Ĕ%18 5 %9$6'4 = "5 6% /%6&/';11 <%6 /';1&8 &1% 9I 4 N6'4$6'4 = "5 1 '8-5 'Ĕ+%

6' 5 '6& 6'D 6'A 8 '+% &1 A/);1B)4'6& 6' 5g 9'4/+Ĕ6 8 6'D )<Ĕ% '+% : '6&E ĕ/';1 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 9I&5 E%ĔA 8 :J '8 :I A ě )%6 6 '6& 6''4/+Ĕ6

8 6'D )<Ĕ% = 5 '6& 6'D 6' 5 N6 6'A 8 '+% N6E' 9I&5 E%ĔA 8 :J '8 :I A ě )%6 6 '6& 6' 5 '8-5 'Ĕ+% 4 = 5 '6& 6' 5 A 8 ) < D '8-5 'Ĕ+% 6%.5 .Ĕ+ 6') < D '8-5 'Ĕ+% 5J 6 < 9I&5 E%ĔA 8 :J '8 = 5 '6& 6'D )5 - 4A 9&+ 5 N6E' 9I&5 E%ĔA 8 :J '8 B ĔA Ĕ6 9IA%;I1E%Ĕ%9/)5 6 6' ĕ1& Ĕ6A 8 :J

6''+% <' 8 6''+% <' 8 1 8 6'/';1 6''+% <' 8 $6&D ĕ 6' + <%A 9&+ 5 5 : 5g 9C &D ĕ+8 9A.%;1 +Ĕ6A ě +8 9 6''+%.Ĕ+ E ĕA.9&B)4 6%B + 8 5 8 8 9I19I11 C &.$6+è 1 C &.$6+8 6 96 9"" 5 5gg 9 933 D '4/+Ĕ D '4/+Ĕ66 Č Č 2552 6%B + 8 6' ;J1 8 6'D /';1/)5 +5 9I 1 % '6 % 2554 6''+% <' 8 5 : 5g 9C &D ĕ+8 9 ;J1 +5 9I ;J1 :I A ě +5 9IC1 1N6 6 + <%D/ĕ )<Ĕ%18 5 C &+5 %=) Ĕ6 Ĕ6 +6% 8&% +5 ;J1 C & -

%=) Ĕ6&< 8 ''% 1 .8I 9IC1 D/ĕ +

-

%=) Ĕ6&< 8 ''% 1 .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <%D '8-5 1 =ĕ = ;J1 +

-

%=) Ĕ6&< 8 ''% 1 .Ĕ+ E ĕA.9& 9I%91&=Ĕ +5 ;J1 /6 6''+% <' 8 B A ě 5J G /5

-

%=) Ĕ6.< 8 (C & 5I+E ;1%=) Ĕ6&< 8 ''%) 1 .8 '5"&Ę 9IE ĕ%6 9I'4 <E ĕB)4/ 9J.8 9I'5 %6


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 A%;I1 )'+%.< 8 ĕ6 ĕ A ě &1 8 ) N6E' 6 6' Ĕ1'1 '6 6 ;J1 4 = '5 '=ĕ 5 9D N6E'/';1 6 < .8I 1 B 9IC1 D/ĕE%Ĕ'+%'6& 6' 9IA 8 :J '4/+Ĕ6 )<Ĕ%18 5 B)4 =ĕ = ;J1 9I%91&=Ĕ Ĕ1 6''+% <' 8 ĕ < 9IA 9I&+ ĕ1 5 6' ;J1 1 A/ ;1 6 ĕ < D 6' 4A 9& B)411 '6.6'/ 9J/';1 '6.6' < :I A ě Ĕ6D ĕ Ĕ6& 9IA 8 :J 6 6''+% <' 8 )<Ĕ%18 5 5 : ĕ < 5 )Ĕ6+A ě Ĕ6D ĕ Ĕ6&A%;I1A 8 :J .8I 1 B 9IA ě .8 '5"&Ę/';1/ 9J.8 9I 6 +Ĕ6 4 ĕ1 Ĕ6&'5 '=ĕ ĕ+&%=) Ĕ6&< 8 ''% +5 9I ;J1 ' 9 9I%9 6'A )9I& B ) D %=) Ĕ6 &< 8 ''%$6&/)5 +5 9I ;J1 /6 .8I 1 B 9I 6 +Ĕ6 4 ĕ1 Ĕ6& 5 '4A$ A ě .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ 4E%Ĕ%9 6'+5 %=) Ĕ6D/%ĔB)4 4 5 : 6' Ĕ6& N6'4D $6&/)5 E+ĕD .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ 1 A/ ;1 6 ' 9 5 )Ĕ6+ 4'5 '=ĕD N6E'/';1 6 < /';1D N6E' 6 < A H A.'H 1;I 6' ;J1 8 6''4/+Ĕ6 +5 9I 1 % '6 % 2551 : +5 9I 31 5 +6 % 2553 6' ;J1 8 6''4/+Ĕ6 +5 9I 1 % '6 % 2551 : +5 9I 31 5 +6 % 2553 Ĕ6 +6% 8&% E ĕB Ĕ .Ĕ+ 9IA 8 '4/+Ĕ6 ĕ < 6' ;J1B)4.Ĕ+ E ĕA.9& 1 )<Ĕ%18 5 9I'5 '=ĕ 6 6'E ĕ%6 :I .8 '5"&Ę / 9J.8 B)4/ 9J.8 9I16 A 8 :J 1 8 6' =ĕ = ;J1 ( 5I+E A ě %=) Ĕ6&< 8 ''%) B)4 E%Ĕ%9 6' 5 N6/ Ĕ6& Ĕ6 +6% 8&% B ĔD/ĕ .1 6' ĕ1& Ĕ6 .N6/'5 N6E' 6 6' Ĕ1'1 '6 6 ;J1 ( 6%%6 ' 6 5 A 8% A'9& +Ĕ6 Ĕ6 +6% 8&% 8 ) ) 4 = '5 '=ĕ 5 9D N6E'/';1 6 < ĕ < D 6' N6'6& 6' 1 A/ ;1 6 ĕ < D 6' 4A 9& B)411 '6.6'/ 9J/';1 '6.6' < :I A ě Ĕ6D ĕ Ĕ6& 9IA 8 :J 6 6' '+% <' 8 )<Ĕ%18 5 ;1A ě .Ĕ+ / :I 1 ĕ < 6' ;J1 8 6' 6' ;J1 8 6' Ĕ1 +5 9I 1 % '6 % 2551 6' ;J1 8 6' Ĕ1 +5 9I 1 % '6 % 2551 Ĕ6 +6% 8&%+5 %=) Ĕ6C &+8 9A Ĕ A 9&+ 5 6' ;J1 8 6''4/+Ĕ6 +5 9I 1 % '6 % 2551 :

+5 9I 31 5 +6 % 2553 1&Ĕ6 E' H 6% Ĕ6 +6% 8&%B)4 Ĕ6 +6% 8&% 8 ) = 5 N6/ Ĕ6& 6%'4&4A+)6 9I 6 +Ĕ6 4E ĕ'5 '4C& Ę A 8 A,'- 8 A ě A+)6E%ĔA 8 20 Č A%;I1+5 9I 1 % '6 % 2551 )<Ĕ%18 5 E ĕ ;1 8 8 5 5 8 8 9I16%%6 ' 6 6' 5 1 C &.$6+è 6 9" 5g 9 5 9I 43 A 8% ( '5 '< 2550) C & )<Ĕ%18 5 E ĕ/&< 5 N6/ Ĕ6& Ĕ6 +6% 8&% B ĔD ĕ+8 9 6' .1 6' ĕ1& Ĕ6B Ĕ6 +6% 8&% 8 ) 9I& %6D

6'A 8 +5 9I 31 5 +6 % 2550 = 5 '6& 6'C & 6' '5 '< 5 N6E'.4.% 9I&5 E%ĔE ĕ 5 .'' +5 9I 1 % '6 % 2551

6'E ĕ%6 :I .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <% 5J B Ĕ+5 9I 1 % '6 % 2554 )<Ĕ%18 5 E ĕ 8 5 8 6%%6 ' 6 6' 5g 9 5 9I 27 ( '5 '< 2552) A';I1 6'A 8 '+%B)4

6'A 8 A "64 8 6' .N6/'5 6' ;J1.Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <%D '8-5 &Ĕ1&


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 $6&D ĕ C& 6& 6' 5g 9D/%Ĕ 6'E ĕ%6 :I .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <% 5 : 5g 9C & ;1+Ĕ6A ě '6& 6' 5 .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ D 6 4 1 =ĕ ;1/<ĕ 5 5J : E%Ĕ%9 Ĕ6 +6% 8&%A 8 :J 6 '6& 6' 5 )Ĕ6+ '6& 6' '5 '< .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <% :J 1&=Ĕ 5 .5 .Ĕ+ 1 .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <%D .8 '5"&Ę.< 8 1 '8-5 &Ĕ1& C& 6& 6' 5g 9D/%ĔE ĕ%9 6' ;1 8 5 8C &+8 9A )9I& 5 9 5J B Ĕ+5 9I 1 % '6 % 2554 6%B + 8 5 8D Ĕ+ A )9I& B ) 1 %6 ' 6 5 '5 '< 5 )Ĕ6+ Ĕ1 +5 9I 1 % '6 % 2554 )<Ĕ%18 5 '5 '=ĕ Ĕ6 +6% 8&% 9IA 8 6 6'E ĕ%6 :I .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <%D '8-5 &Ĕ1& :I B.

A ě .Ĕ+ A 8 1 ĕ < A 8 ) < .Ĕ+ 9I) < A"8I% 9I%6 +Ĕ6%=) Ĕ6 6% 5g 9 1 .Ĕ+ E ĕA.9&D .8 '5"&Ę.< 8 9IE ĕ%6 +5 9IA 8 '6& 6'

N6E' ( 6 < ) 6 6') .5 .Ĕ+ 6') < N6E' ( 6 < ) 6 6') .5 .Ĕ+ A 8 ) < D '8-5 9I )<Ĕ%18 5 ) < A ;I1 6 '8-5 5 )Ĕ6+E ĕ 6&/<ĕ D/ĕB Ĕ < )$6& 1 4 5 : A ě .Ĕ+ A 8 6 6') .5 .Ĕ+ A 8 ) < D .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ D B. 6 4 6'A 8 '+%

( )

A 8 '6 Ĕ6 '4A , '6& 6' 5g 9 9IA ě A 8 '6 Ĕ6 '4A , )<Ĕ%18 5 B ) Ĕ6'6& 6' 9IA ě A 8 '6 Ĕ6 '4A ,D/ĕA ě A 8 6 C &D ĕ15 '6B) A )9I& +5 9I 9IA 8 '6& 6' .8 '5"&ĘB)4/ 9J.8 9IA ě 5+A 8 9IA ě . <)A 8 '6 Ĕ6 '4A , +5 9I'6& 6 B ) Ĕ6A ě A 8 6 C &D ĕ15 '6B) A )9I& +5 9I '6& 6 '6& 6' N6E'B)4'6& 6' 6 < 9IA 8 6 6''5 /';1 Ĕ6& N6'4 9IA ě A 8 '6 Ĕ6 '4A , B)4 9IA 8 6 6'B ) Ĕ6.8 '5"&ĘB)4 / 9J.8 9IA ě 5+A 8 5 )Ĕ6+ E ĕ 5 : E+ĕD A "64 N6E' 6 < .8 '5"&ĘB)4/ 9J.8 9IE%ĔA ě 5+A 8 :I A 8 6 '6& 6' 5g 9 9IA ě A 8 '6 Ĕ6 '4A , :I 5 : 6%A Ę'6 6 < A 8% B ) Ĕ6A ě A 8 6 C &D ĕ15 '6B) A )9I& +5 9IA 8 '6& 6'

8 6'D Ĕ6 '4A , '6& 6'D A "64 N6E' 6 < B)4 '4B.A 8 . 1 8 6'D Ĕ6 '4A ,B ) Ĕ6A ě A 8 6 C &D ĕ15 '6B) A )9I& 5+A )9I&D '4/+Ĕ6 Č '6& 6'D B. 6 4 6'A 8 1 8 6'D Ĕ6 '4A ,B ) Ĕ6A ě A 8 6 C &D ĕ15 '6B) A )9I& +5 9I'6& 6


†Š‰

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ Ä”6 +6% 8&%B)4'6& 6' '5 '< %=) Ä”6&< 8 ''% 9IA 8 6 6' ;J1 8 6'D Ä”6 '4A , B ) Ä”6A Ä› A 8 6 C &D Ä•15 '6B) A )9I& +5 9I'6& 6 ) Ä”6 6 6'B ) Ä”6A 8 ) < .< 8D 8 6'D Ä”6 '4A , 5 : D N6E' 6 < A H A.'H 1;I B)4B. A Ä› '6& 6' ) Ä”6 6 6' B ) Ä”6 6'A 8 D .Ä”+ 1 =Ä• ;1/<Ä• +Ä”6 4%9 6' N6/ Ä”6&A 8 ) < .< 8D 8 6'D Ä”6 '4A , 5J 11 E ).4.% 1 ) Ä”6 6 6'B ) Ä”6 5J /% 5 )Ä”6+D/Ä• ;1A Ä› .Ä”+ / :I 1 '6& 6' N6E'/';1 6 < 6 6' N6/ Ä”6&A 8 ) < .< 8D 8 6'D Ä”6 '4A , 5J

( )

A ';I1 %;1 6 6'A 8 A ';I1 %;1 6 6'A 8 9IB. 1&=ĔD B. 6 4 6'A 8 E ĕ'+%&1 A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 . A 8 ) < 5I+ '6+ )= / 9J 6' ĕ6 )= / 9JB)4A ĕ6/ 9J 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 A ĕ6/ 9J 6' ĕ6 .5gg6A Ĕ6 6'A 8 A 8 =ĕ&;% B)4 '6.6'1 <"5 Ę 6 6'A 8 :I C& 6& 6' 5g 9A "64.N6/'5 B Ĕ)4'6& 6'E ĕA ċ A &B& 6%B Ĕ)4'6& 6' 5 )Ĕ6+ )<Ĕ%18 5 E ĕD ĕA ';I1 %;1 6 6'A 8 A";I1) +6%A.9I& 6 6' 5 + 1 15 '6B) A )9I& A 8 '6 Ĕ6 '4A ,B)415 '6 1 A 9J& C &A ';I1 %;1 6 6'A 8 9I.N6 5g ;1 '6.6'1 <"5 Ę 6 6'A 8 :I '5 '=ĕA'8I%B' D '6 6%=) Ĕ6&< 8 ''% +5 N6.5gg6 B)4 4 '5 '< $6&/)5 ĕ+&%=) Ĕ6&< 8 ''% ) Ĕ6 1 %=) Ĕ6&< 8 ''% 9IA )9I& B ) E 4'5 '=ĕ 5 9D A "64 N6E' 6 <

6' '4%6 %=) Ĕ6&< 8 ''% )<Ĕ%18 5 5 : %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 .5gg6 ;J1 6&A 8 '6 Ĕ6 '4A ,)Ĕ+ / ĕ6 6%'6 6 )6 1 .5gg6)Ĕ+ / ĕ6 +5 9I'6& 6 .Ĕ+ %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 .5gg6B) A )9I& A 8 '6 Ĕ6 '4A , B)415 '6 1 A 9J& ;1 6%'6 61ĕ6 18 1 6&/ ĕ6 +5 9I'6& 6

( )

A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 . A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 . '4 1 ĕ+& &1 A 8 . B)4A 8 !6 6 6' '4A$ A ;I1A'9& B)4A 8 ) < '4&4.5J 9I%9.$6" )Ĕ1

.= D 6'A )9I& %;1 B)4%9'4&4A+)6 ' N6/ A'8I%B' $6&D 3 A ;1 /';1 ĕ1& +Ĕ6

( )

)= / 9J 6' ĕ6B)4)= / 9J1;I )= / 9J 6' ĕ6B)4)= / 9J1;I B. D '6 6 6%D B ĕ / 9J/5 Ĕ6A ;I1/ 9J. .5& 4.=g Ĕ6A ;I1/ 9J. .5& 4.=g '4A%8 C & 6'+8A '64/Ę '4+5 8 6' N6'4/ 9JB)4 6' 6 6' ĘA 9I&+ 5 6' N6'4/ 9JD 1 6 1 )= ĕ6 )= / 9J 4 = 5 N6/ Ĕ6& 5g 9A%;I1 '6 +Ĕ6A ě / 9J.=g / 9J.=g 9IA 8 :J B)4/ 9J. .5& 4.=g 4'5 '=ĕE+ĕD A "64 N6E' 6 < C & ;1A ě .Ĕ+ / :I 1 Ĕ6D ĕ Ĕ6&D 6' '8/6'


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 ( )

.8 ĕ6 A/);1 .8 ĕ6 A/);1B. D '6 6 < /';1%=) Ĕ6.< 8 9I 4E ĕ' 5 B)ĕ+B Ĕ'6 6D 4 I6N +Ĕ6

'6 6 < 1 .8 ĕ6 N N66 + 6%+8 + 6%+è 9 9 5+5+A )9 A )9I&I& Ĕ Ĕ++ J JN6N6/ 5 / 5 & A+ĕ 6 '4/+Ĕ6 N6B. '6 6C &+8 9A "64A 64 ĕ < D 6' ;J1 '4 1 ĕ+& '6 6 ;J1B)4 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 6 ' 9IA 9I&+ ĕ1 5 6' ;J1.8 ĕ6 5J A Ĕ Ĕ6$6-916 ' Ĕ6 .Ĕ /5 ĕ+&.Ĕ+ ) B)4A 8 9IE ĕ'5 ; 6 6' ;J1.8 ĕ6 ĕ < 1 .8 ĕ6.N6A'H '= B)4 6 '4/+Ĕ6 N6 '4 1 ĕ+& Ĕ6+5 < 8 Ĕ6B' 6 ' Ĕ6D ĕ Ĕ6&1;I 6 ' B)4 Ĕ6C./<ĕ& D 6' )8 :I ę .Ĕ+ 6%A Ę 6' N6A 8 6 6% 8 B ĔE%Ĕ'+% ĕ < 6' =ĕ&;% %=) Ĕ6.< 8 9I 6 +Ĕ6 4E ĕ'5 A ě '4%6 '6 6 9I 4 6&E ĕ 6 6' N6A 8 <' 8 8/5 ĕ+& Ĕ6D ĕ Ĕ6& 9I N6A ě D 6' 6&

( )

.8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 9I ;1E+ĕA";I1 6& .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& ( /';1 )<Ĕ%.8 '5"&Ę 9I& A)8 :I '4 1 ĕ+&.8 '5"&ĘB)4/ 9J.8 ) 9I 6 +Ĕ6%=) Ĕ6 6% 5g 9 9I 4E ĕ'5 ; .Ĕ+ D/gĔ%6 6 6' 6&%6 +Ĕ6%6 6 6'D ĕ.8 '5"&Ę 5J Ĕ1E 5 A ě '4A$ .8 '5"&Ę 9I ;1E+ĕA";I1 6& .8 '5"&Ę (/';1.Ĕ+ '4 1 1 )<Ĕ%.8 '5"&Ę 9I& A)8 ) +5 %=) Ĕ6 ĕ+& N6 + 9I IN6 +Ĕ6'4/+Ĕ6 %=) Ĕ6 6% 5g 9 5 %=) Ĕ6&< 8 ''%/5 ĕ < D 6' 6& ) 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6.N6/'5 )<Ĕ%.8 '5"&Ę 9I& A)8 N6E ę .Ĕ+ D/ĕ 5 Ĕ6 +6% 8&%A ě )N6 5 B' B)ĕ+ : ę .Ĕ+ D/ĕ 5 &1 A/);1 1

.8 '5"&ĘB)4/ 9J.8 6%.5 .Ĕ+ & A+ĕ E%Ĕ ę .Ĕ+ '6& 6' 6 < D/ĕ 5 .8 ĕ6 A/);1 .8 '5"&Ę 6 6'A 8 .8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9 B)41.5 /6'8% '5"&ĘA";I1 6') < ) 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6.N6/'5 6') %=) Ĕ6D '5J B' B)4 ) N6E'B)4 6 < 6 6' 6 6'+5 %=) Ĕ6D $6&/)5 '5 '=ĕD N6E'/';1 6 < ) N6E''5 '=ĕE%ĔA 8 &1 ) 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6.4.% 9IA &'5 '=ĕ

( )

A 8 ) < A 8 ) < D '8-5 &Ĕ1& 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 B)4 '8-5 'Ĕ+% A 8 ) < D '8-5 &Ĕ1& 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 B)4 '8-5 'Ĕ+% D 6'A 8 A "64 8 6' 5 : 5g 9C &D ĕ+8 9'6 6 < A 8 ) < D '8-5 &Ĕ1& 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 B)4 '8-5 'Ĕ+% D 6'A 8 '+% 5 : 5g 9 6% 9I )Ĕ6+E+ĕD /%6&A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 3 )

A 8 ) < D '6.6'/ 9JB)4 '6.6' < 1;I A 8 ) < D /)5 '5"&ĘD +6% ĕ1 6' 1 )6 9I 5 '4A$ A ě /)5 '5"&ĘA ;I1 6&B. D B. 6 4 6'A 8 ĕ+&%=) Ĕ6 &< 8 ''% %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 A 8 ) < D /)5 '5"&ĘD +6% ĕ1 6' 1 )6 N6 + C &1ĕ6 18 6 '6 6A. 1 ;J1D )6


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 /)5 '5"&ĘB/Ĕ '4A ,E & 4 ċ N6 6' +5 9I'6& 6 '6 6 6% 5g 9 9IA"8I% :J /';1) ) 1 /)5 '5"&ĘA ;I1 6&E ĕ 5 : A ě N6E'/';1 6 < 9I&5 E%ĔA 8 :J B)4B. $6&D ĕ.Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ A 8 ) < D /)5 '5"&Ę 9IE%Ĕ1&=ĔD +6% ĕ1 6' 1 )6 9I 5 '4A$ A ě A 8 ) < 5I+E B. D B. 6 4 6'A 8 ĕ+&'6 6 < C &A 8 ) < 5I+E '+% : A 8 ) < 5I+ '6+ /%6& : A 8 !6 6 6' '4A$ !6 '4 N6 5L+B) A 8 B)4 5L+.5gg6D ĕA 8 9I%9'4&4A+)6 : N6/ A'8I%B' %6 +Ĕ6 3 A ;1 B ĔE%ĔA 8 12 A ;1 A 8 ) < D '6.6'/ 9J 9I 4 ;1 ' N6/ B. D '6 6 < 5 N6/ Ĕ6& )<Ĕ%18 5 4 .1 6' ĕ1& Ĕ6 1 A 8 ) < A%;I1%9 ĕ1 Ĕ 9J+Ĕ6A 8 ) < 5J 16 %9 6' ĕ1& Ĕ6A 8 :J )<Ĕ%18 5 4'5 '=ĕ 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 ĕ6'6 6 6% 5g 9 1 A 8 ) < .= +Ĕ6%=) Ĕ6 9I 6 +Ĕ6 4E ĕ'5 ; B)4'6& 6' 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 4 5 : '+%1&=ĔD A "64 N6E' 6 < D 6' N6/ Ĕ6&A 8 ) < ) Ĕ6 '4/+Ĕ6 .8I 1 B .< 8 9IE ĕ'5 6 6' N6/ Ĕ6& 5 '6 6 6% 5g 9 1 A 8 ) < 5J 4 5 : D A "64 N6E' 6 < 5 9 A%;I1A 8 ) < D '6.6'/ 9J/';1A 8 ) < D '6.6' < %9 6' N6/ Ĕ6&A"9& 6 .Ĕ+ '6 6 6% 5g 9 1 A 8 ) < 9I N6/ Ĕ6& N6 + C &D ĕ+8 9 5+A )9I& Ĕ+ JN6/ 5 6 N6 + /)5 '5"&Ę 9I N6/ Ĕ6&

( )

16 6'B)41< ' Ę 16 6'B)41< ' Ę'5 '=ĕA%;I1A'8I%B' 6%'6 6 < /)5 6 5J B. ĕ+&'6 6 < /5 Ĕ6A.;I1%'6 6.4.%B)4 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 '6 6 < '+% : ĕ < 6 ' 9IA 9I&+ ĕ1 5 6'E ĕ%6 1 .8 '5"&Ę ĕ < 1 6' Ĕ1.'ĕ6 .8 '5"&Ę 9I )<Ĕ%18 5 Ĕ1.'ĕ6 A1

'+% : ĕ < 1 +5. < B'

6 6 ' B)4 ĕ < 6 ' 1;I G 9IA 9I&+ ĕ1 5 6' 5 /6.8 '5"&ĘA";I1D/ĕ.8 '5"&Ę 5J 1&=ĔD .$6" 9I "'ĕ1% 4D ĕ 6 E ĕ 6% +6% '4. Ę ĕ < D 6'';J1 1 6' &ĕ6& 6' =' 4. 6 9I 5J 1 .8 '5"&Ę B)4 ĕ < 6' =ĕ&;% 1

A 8 =ĕ 9ID ĕD 6' Ĕ1.'ĕ6 .8 '5"&ĘD/ĕA.'H .% =' Ę/';1A '9&%.8 '5"&ĘD/ĕ1&=ĔD .$6""'ĕ1% 9I 4D ĕE ĕ 6% '4. Ę ĕ < 6' =ĕ&;% '4 1 ĕ+& 1 A 9J& 9IA 8 6 A 8 A 8 A 8 5g 9 6 6'B)4 6 A 8 =ĕ&;% 5J '4&4.5J B)4'4&4&6+ N6 + 9I 5 5g 9 1 .Ĕ+ ) 9IA 9I&+ 5 6' =ĕ&;%B)4 N6 + 9I 5 5g 9 1 '6& Ĕ6& 9IA 9I&+ 5 6' 5 6' =ĕ&;% '+% 5J $6-9 9IA 9I&+ ĕ1

.Ĕ+ '4 1 1 16 6'B)41< ' Ę 9I%916&< 6'D/ĕ '4C& ĘE%ĔA Ĕ6 5 )<Ĕ%18 5 4 5 : B Ĕ)4.Ĕ+ '4 1 5 )Ĕ6+ 9I%9 5&.N6 5gB& Ĕ6 /6 6 5 ĕ < D 6'A )9I& B .Ĕ+ '4 1 1 16 6'B)41< ' Ę 4'5 '=ĕA ě .Ĕ+ / :I 1 %=) Ĕ6 6% 5g 9 1 '6& 6' 16 6'B)41< ' Ę ĕ6%9 +6%A ě E E ĕ Ĕ1 ĕ6 B Ĕ 9I )<Ĕ%18 5 4E ĕ'5 '4C& ĘA 8 A,'- 8 D 1 6 6 '6& 6' 5J B)4.6%6' +5 %=) Ĕ6 ĕ < 1


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ '6& 6' 5J E Ä•1&Ä”6 Ä”6A ;I1 ;1 .Ä”+ '4 1 9I = A )9I& B 4 = 5 N6/ Ä”6& 6%%=) Ä”6 6% 5g 9 Ä• < 9IA 8 :J 6 6' Ä”1%B % B)4 N6'< '5 -616 6'B)41< ' Ę 9IA 8 :J A Ä› '4 N6 4'5 '=Ä•D N6E'/';1 6 < A%;I1A 8 :J %=) Ä”6 A/);1 1 16 6'B)41< ' Ę '4%6 Ä•+&%=) Ä”6 9I 6 +Ä”6 4E Ä•'5 D Ä™ < 5 6 .8 '5"&Ę 5J /6 %916&<B)4.$6" 9I 6 +Ä”6 4E Ä•'5 D Ä™ < 5 A%;I1.8J .< 16&< 6'D Ä• '4C& Ę B)4%9 6'.1 6 %=) Ä”6 A/);1B)416&< 6'D/Ä• '4C& Ę1&Ä”6 Ä•1& < .8J ÄŒ 5g 9 Ä”6 A.;I 1 %'6 6 N 6 + C &+8 9 A .Ä• ' 6%16&< 6'D Ä• 6 9I '4%6 E+Ä• /'; 1 16&< .5 g g6A Ä” 6 D ' 9 9I 1 6&<.5 g g6A Ä” 6 .5J +Ä” 6 5 Ä”1E 9J

.8 8 6'A Ĕ6 9I 8 16 6'B)4.Ĕ+ '5 '<

A ';I1 B Ĕ 8 5J B)41< ' Ę &6 "6/ 4 ('+%&6 "6/ 4$6&D ĕ.5gg6A Ĕ6 6'A 8 ) 1%"8+A 1'ĘB)41< ' Ę

Č 5 - 30 5 - 10 5 2–5

N6E'B)4 6 < 6 6' N6/ Ĕ6&16 6'B)41< ' Ę 4 N6 + 6 ) Ĕ6 1 '6 6A 8 . 5 %=) Ĕ6 6% 5g 9 1 .8 '5"&Ę B)4 4 '5 '=ĕE+ĕD A "64 N6E' 6 <

(g)

16 6'B)41< ' Ę$6&D ĕ.g 5 g61 <g6 D/ĕ 6N A 8 6' 16 6'B)41< ' Ę$6&D ĕ.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' '4 1 ĕ+& 6+A 9&% '4 + <%B)4.5I 6' 6+A 9&%B)4. 6 9 + <% 6+A 9&% '+% 5J 1< ' Ę Ĕ6 G 9I.Ĕ %1 ''%.8 8MD/ĕB Ĕ/ Ĕ+& 6 1 '5 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6& N6 + C &+8 9A.ĕ ' )1 16&< 6'D ĕ

6 C & '4%6 1 .8 '5"&Ę/';116&< 9IA/);1 1 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'B)ĕ+B Ĕ'4&4A+)6D 4.5J +Ĕ6 :I .8 '5"&Ę 5 )Ĕ6+%9 16&< 6' 5 N6/ Ĕ6& 5J B Ĕ 5 Č : 27.5 Č 1< ' Ę$6&D ĕ.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 4E%Ĕ%9 6' 9'6 6D/%Ĕ B Ĕ 4%9 6' + '6 6 6% 5g 9D B Ĕ)4 Č B)4 '5 '< A%;I1A 8 6' ĕ1& Ĕ6 :J

( )

.8 '5"&ĘE%Ĕ% 9 +5 Ĕ6 +6% 8&% 6'+5 %=) Ĕ6 Ĕ6 +6% 8&% 6 6''+% <' 8 1 )<Ĕ%18 5 E ĕ )Ĕ6+E+ĕD /%6&A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 3 ( ) C &$6&/)5 6 6' '5 '=ĕA%;I1'+% <' 8 Ĕ6 +6% 8&% 4 = +5 %=) Ĕ6 ĕ+&'6 6 < /5 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6

†ŠŒ


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 .8 '5"&ĘE%Ĕ%9 5+ 1;I .8 '5"&ĘE%Ĕ%9 5+ 1;I G 9I )<Ĕ%18 5 ;J1%6B)4%916&< 6'D/ĕ '4C& Ę '6 E ĕB Ĕ 1 B. D '6 6 < /5 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&.4.%B)4 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 .8 '5"&ĘE%Ĕ%9 5+ 1;I /%6& : Ĕ6D ĕ Ĕ6&'1 5 5g 9 (E ĕB Ĕ .8 8D 6'D ĕ1< ' Ę B)4 ĕ < 1< ' Ę 9I 5 /6D/ĕB Ĕ)= ĕ6 6 '6&D 6'D/ĕ '8 6'+ ' 6+A 9&%D Ĕ6 '4A ,) Ĕ6"5 6A C C)&9 1 6+A 9&%E & % 4 (E1"9. 6'Ę) Ĕ6C 'B '% 1%"8+A 1'Ę 9ID ĕ /';1D/ĕ '8 6'$6&D )<Ĕ%18 5 ĕ < Ĕ6C 'B '% 1%"8+A 1'Ę '6& Ĕ6& 9IA 8 :J A";I1D/ĕE ĕ%6 :I .8 8 5 ' A ';I1 /%6& 6 6' ĕ6B)4 D 1 <g6 .8 '5"&ĘE%Ĕ%9 5+ 1;I 5 )Ĕ6+ 5 Ĕ6& 6%+8 9A.ĕ ' )1 16&< '4%6 6' 6'D/ĕ '4C& Ę 1 .8 '5"&Ę 9IA 9I&+ ĕ1

C &%9'4&4A+)6 5 N6/ Ĕ6&'4/+Ĕ6 3 - 15.75 Č .Ĕ+ ĕ < 1< ' Ę 9I 5 /6D/ĕB Ĕ)= ĕ6 6 '6&D 6'D/ĕ '8 6'+ ' 6+A 9&%D Ĕ6 '4A , 5 Ĕ6&C &+8 9A.ĕ ' 6%'4&4A+)6 1 .5gg6 6'D/ĕ '8 6')= ĕ6B Ĕ)4'6& '6& Ĕ6&D 5J 1 6'+8 5& E ĕB Ĕ 6'.N6'+ '+ .1 A";I1D/ĕE ĕ%6 :I +6%'=ĕ +6%A ĕ6D D/%Ĕ 6 ĕ6 +8 &6,6. 'Ę/';1 6 ĕ6 A 8 '5 '=ĕA ě Ĕ6D ĕ Ĕ6&D A "64 N6E' 6 < A%;I1A 8 :J ĕ < 9IA 8 :J 1 C ' 6'A";I1 6'"5 6 ( :I A 9I&+ ĕ1 5 6'11 B B)4 6' .1 )8 $5 ĘD/%Ĕ/';1 9I '5 '< )8 $5 Ę) '5 '=ĕA ě .8 '5"&ĘE%Ĕ%9 5+ A%;I1%9 +6%A ě E E ĕ Ĕ1 ĕ6 B Ĕ+Ĕ6C ' 6' 5J 4 '4. +6%.N6A'H D 6' '4A%8 +6%A ě E E ĕ 5J 6

"6 8 & ''%B)4 6 A C C)&9 B)4 5 : D N6 + E%ĔA 8 ĕ < 9I.6%6' +5 %=) Ĕ6E ĕ1&Ĕ6 Ĕ6A ;I1 ;1 .Ĕ+ '6& Ĕ6& 6'"5 61;I '5 '=ĕA ě Ĕ6D ĕ Ĕ6&A%;I1A 8 :J ĕ < 6'"5 6 9IE ĕ'5 '=ĕA ě Ĕ6D ĕ Ĕ6&E B)ĕ+D Č Ĕ1 E%Ĕ.6%6' '5 '=ĕA ě .8 '5"&ĘD Č 5 E 6' &1& 5 N6/ Ĕ6& ĕ < 6'"5 6 9I 5 : A ě .8 '5"&Ę 4A'8I% ĕ 5J B ĔA%;I1A'8I%D ĕD 6' )8 A";I1"6 8 & ''%C & 5 N6/ Ĕ6& ĕ+&+8 9 A.ĕ ' )1 '4&4A+)6 9I 6 +Ĕ6 4E ĕ'5 '4C& Ę 1 6'"5 6 5J C & ĕ1 E%ĔA 8 20 Č +8 9 6' 5 N6/ Ĕ6& '4&4A+)6 9I 6 +Ĕ6 4E ĕ'5 '4C& Ę B)4%=) Ĕ6 A/);1 4E ĕ'5 6' + < .8J Č 5g 9

( )

6' ĕ1& Ĕ6 %=) Ĕ6.8 '5"&Ę 6% 5g 9 1 )<Ĕ%18 5 E ĕ'5 6' '4A%8 < +5 9ID '6& 6 +Ĕ6 %9 ĕ1 Ĕ 9JA';I1 6' ĕ1& Ĕ6/';1E%Ĕ D ' 9 9I%9 ĕ1 Ĕ 9J 4 N6 6' '4%6 %=) Ĕ6 9I 6 +Ĕ6 4E ĕ'5 ; 6 .8 '5"&Ę 5J Ĕ6 +6% 8&% .8 '5"&ĘE%Ĕ%9 5+ 1;I G 9I%916&< 6'D/ĕ '4C& ĘE%Ĕ '6 B Ĕ 1 B)4.8 '5"&Ę 9IE%Ĕ%9 5+ :I &5 E%Ĕ"'ĕ1%D ĕ 4%9 6' .1 6' ĕ1& Ĕ6 < Č C &E%Ĕ N6 : +Ĕ6 4%9 ĕ1 Ĕ 9J 1 6' ĕ1& Ĕ6A 8 :J /';1E%Ĕ 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 4 = '5 '=ĕD A "64 N6E' 6 < A%;I1%=) Ĕ6 6% 5g 9 1 / Ĕ+&.8 '5"&Ę 9I Ĕ1D/ĕA 8 A 8 . .= +Ĕ6%=) Ĕ6 9I 6 +Ĕ6 4E ĕ'5 ;


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 6' N6 + %=) Ä”6 9I 6 +Ä”6 4E Ä•'5 ; %=) Ä”6 9I 6 +Ä”6 4E Ä•'5 ; 1 .8 '5"&Ę/%6& : '6 6 6&.< 8 1 .8 '5"&Ę /';1%=) Ä”6 6 6'D Ä• 1 .8 '5"&ĘB)Ä•+B Ä”%=) Ä”6D 4.=

+Ĕ6 %=) Ĕ6 6 6'D ĕ 1 .8 '5"&Ę '4A%8 6 '4%6 6' '4B.A 8 . .< 8 9I 4E ĕ'5 D 1 6 B)4 8 ) A ě %=) Ĕ6 ę < 5 C &D ĕ 15 '6 8 ) Ĕ1 $6-9A 8 E ĕ A";I1D/ĕ.4 ĕ1 %=) Ĕ6 9I16 '4A%8 E ĕD )6 ę < 5 :I B 'E 6%A+)6B)4 +6%A.9I& 9I%9 Ĕ1.8 '5"&Ę

6' )5 '6& 6' ĕ1& Ĕ6 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 1 .8 '5"&Ę 4 = )5 '6& 6' A%;I1%=) Ĕ6 9I 6 +Ĕ6 4E ĕ'5 ; A"8I% :J D $6&/)5 B)4 6'A"8I% :J 5J .5%"5 Ę C & ' 5 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 9IA &'5 '=ĕ 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 4 = )5 '6& 6'E%ĔA 8 +Ĕ6 N6 + 1 6' ĕ1& Ĕ6 9IA &'5 '=ĕ .N6/'5 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 1 Ĕ6 +6% 8&% 4E%Ĕ%9 6' '5 '< )5 '6& 6'

( )

.5gg6A Ä”6'4&4&6+ .5gg6A Ä”6'4&4&6+ - ' 9 9I )<Ä”%18 5 A Ä› =Ä•A Ä”6 .5gg6A Ä”6.8 '5"&Ę 9I +6%A.9I& B)4 ) 1 B 1 +6%A Ä› A Ä•6 1 .Ä”+ D/gÄ”E Ä•C1 E D/Ä• 5 =Ä•A Ä”6 ;1A Ä› .5gg6A Ä”6 6'A 8 .5gg6 A Ä”6 6'A 8 4 5 : A Ä› '6& Ä”6&!Ä?6& < +5 N6.5gg6A Ä”6 Ä•+&%=) Ä”6&< 8 ''%.< 8 1 .8 '5"&Ę 9IA Ä”6/';1%=) Ä”6 Ä™ < 5 .< 8 1

N6 + A 8 5J IN6 9I ĕ1 Ĕ6& 6%.5gg6A Ĕ6B)ĕ+B Ĕ N6 + D 4 I6N +Ĕ6C & N6 + A 8 + 9I ĕ1 Ĕ6&D B Ĕ)4 + 4 ę .Ĕ+ '4/+Ĕ6 / 9J.8 B)4 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 6 6'A 8 A";I1D/ĕE ĕ15 '6 1 A 9J& 9I Ĕ1/ 9J.8 ĕ6 1&=Ĕ $6'4 = "5 6%.5gg6A Ĕ6/5 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 6 6'A 8 4 5 : A ě / 9J.8 .Ĕ+ 1 A 9J& Ĕ6& 4 5 : D A "64 N6E' 6 < )1 16&< 1 .5gg6A Ĕ6 .8 '5"&Ę 9IE ĕ%6 6%.5gg6A Ĕ6 6'A 8 4 8 Ĕ6 A.;I1%'6 6 6%16&< 6'D ĕ 6 C & '4%6 1 .8 '5"&Ę 5J /';1 6%16&< 1 .5gg6A Ĕ6 B)ĕ+B Ĕ'4&4A+)6D 4 ĕ1& +Ĕ6 1&Ĕ6 E' H 6% /6 B ĔD E ĕ 6%.% +'+Ĕ6 =ĕA Ĕ6 4A ě A ĕ6 1 16 6'B)41< ' Ę +5 .8J .< B/Ĕ .5gg6A Ĕ6 Ĕ6A.;I1%'6 6 4 8 6 16&< 6'D ĕ

6 C & '4%6 1 .8 '5"&Ę 5J .5gg6A Ĕ6.8 '5"&Ę :I =ĕD/ĕA Ĕ6A ě =ĕ'5 +6%A.9I& B)4 ) 1 B 1 +6%A ě A ĕ6 1 A ě .Ĕ+ D/gĔ ;1A ě .5gg6A Ĕ6 N6A 8 6 A 8 9I ĕ1 Ĕ6&$6&D ĕ.5gg6A Ĕ6 5 )Ĕ6+ (.< 8 6 .8I 1 B = D 9IE ĕ'5 6 =ĕD/ĕA Ĕ6) 4 5 : D A "64 N6E' 6 < C &D ĕ+8 9 A.ĕ ' )1 16&< 1 .5gg6A Ĕ6 5J Ĕ6D ĕ Ĕ6& 9IA 8 :J 6 6'& A)8 .5gg6A Ĕ6 N6A 8 6 Ĕ1 /% 16&< 6'A Ĕ6 A Ĕ A 8 A"8I% 9I ĕ1 Ĕ6&D/ĕB Ĕ =ĕD/ĕA Ĕ6 4 5 : A ě Ĕ6D ĕ Ĕ6&D '1 '4&4A+)6 5g 9 9I 6'& A)8 5J A 8 :J

†ŠŽ


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 .5gg6A Ĕ6'4&4&6+ - ' 9 9I )<Ĕ%18 5 A ě =ĕD/ĕA Ĕ6 .8 '5"&Ę 9ID/ĕA Ĕ6 6%.5gg6A Ĕ6 N6A 8 6 '+%B. 1&=ĔD 16 6' B)41< ' ĘD B. 6 4 6'A 8 B)4 5 Ĕ6A.;I1%'6 6 )1 16&< 6'D/ĕ '4C& Ę 1 .8 '5"&Ę ĕ+&A ĘA 9&+ 5 5 9ID ĕ 5 '6& 6'16 6'B)41< ' Ę :I %9)5 - 4 )ĕ6& ): 5 1 )<Ĕ%18 5

( )

A ĕ6/ 9J 6' ĕ6B)4A ĕ6/ 9J1;I A ĕ6/ 9J 6' ĕ6B)4A ĕ6/ 9J1;I B. D '6 6 <

( )

/ 9J.8 9I%9$6'4 1 A 9J& / 9J.8 9I%9$6'4 1 A 9J& 5 : A'8I%B' D %=) Ĕ6&< 8 ''%/5 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 9IA 9I&+ 5 6'A 8 / 9J.8 $6&/)5 6 6' 5 : / 9J.8 9I%9$6'4 1 A 9J& 4 5 : Ĕ1%6C &+8 9'6 6 < 5 N6/ Ĕ6& Ĕ6D ĕ Ĕ6& 9IA 9I&+ 5 6'A 8 / 9J.8 4 5 : D A "64 N6E' 6 < )1 16&< 6' =ĕ&;%C &D ĕ+8 915 '6 1 A 9J& 9IB ĕ '8

( )

) '4C& Ę 1 " 5 6 ) '4C& Ę'4&4.5J $6'4 = "5 A 9I&+ 5 ) '4C& Ę'4&4.5J +5 %=) Ĕ6C &%8E ĕ 8 ) '4B.A 8 . C &'5 '=ĕA ě Ĕ6D ĕ Ĕ6&A%;I1" 5 6 N6 6 D/ĕ B)4'5 '=ĕ / 9J.8 ĕ+&%=) Ĕ6 9I 6 +Ĕ6 4 Ĕ6& N6'4

) '4C& Ę'4&4&6+ ) '4C& Ę/)5 11 6 6 – C ' 6' ) '4C& Ę 9I N6/ E+ĕ $6'4 = "5 A 9I&+ 5 ) '4C& Ę/)5 11 6 6 9I ĕ1 A & 6% /%6&B'

6 )<Ĕ%18 5 '5 '=ĕD 6'A 8 ĕ+&+8 9 8 ) B Ĕ)4 / Ĕ+& 9I '4%6 6'E+ĕ :I N6 + C &D ĕ/)5 8 ,6. 'Ę '4 5 $5& N6E' 6 < 6 6' '4%6 6' 6%/)5 6' 8 ,6. 'Ę '4 5 $5& 9IA 8 :J 4'5 '=ĕD N6E' 6 < A H A.'H 1;I 5J N6 + B)4 '5 '=ĕ Ĕ6D ĕ Ĕ6& 1 ) '4C& Ę" 5 6 D N6E'/';1 6 < ) '4C& Ę/)5 11 6 6 – C ' 6'.% A 8 9I N6/ E+ĕ


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 )<Ĕ%18 5 5 D/ĕ%9 1 < .N6'1 A)9J& 9" :I A ě )5 - 4 1 B 6' Ĕ6&.% 6% 9IE ĕ N6/ 6' Ĕ6&.% E+ĕB)ĕ+ .8 '5"&Ę 1

1 < .N6'1 A)9J& 9"E ĕB& 11 E 6 .8 '5"&Ę 1 )<Ĕ%18 5 B)4E ĕ'5 6' '8/6'C & =ĕ 5 6' 1 < $6& 1 1 < .N6'1

A)9J& 9" 5 )Ĕ6+E ĕ'5 A 8 .4.%A ĕ6 1 < 6 " 5 6 B)4A 8 .% 6 )<Ĕ%18 5 A 8 Ĕ6&.% 1 < .N6'1 A)9J& 9" 5 : A ě Ĕ6D ĕ Ĕ6&D A "64 N6E' 6 < .N6/'5 '1 '4&4A+)6 5g 9 9IA 8 '6& 6' 5J

( )

6' Ĕ6&C &D ĕ/ <ĕ A ě A Ę Ĕ1 +5 9I 1 % '6 % 2554 D .N6 5gB. .8 8 ;J1/<ĕ .6%5g 9I 5 .''D/ĕB Ĕ ''% 6'B)4" 5 6 1 )<Ĕ%18 5 4'5 '=ĕD 6'A 8 A%;I1%9 6'D ĕ.8 8 5J B Ĕ+5 9I 1 % '6 % 2554 6' Ĕ6&C &D ĕ/<ĕ A ě A ĘD/ĕA ě ) 1 B B Ĕ" 5 6 /';1 =ĕ '8/6' ĕ1 '5 '=ĕA ě Ĕ6D ĕ Ĕ6& 6'+5 %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 '6.6' < 9I11 D/ĕD/ĕ+5 %=) Ĕ6 +5 9ID/ĕ.8 8B Ĕ" 5 6 B)4 &1&'5 '=ĕA ě Ĕ6D ĕ Ĕ6&" 5 6 "'ĕ1%G E 8 5 8 6%A ;I1 E ) 6 /';1 '8 6' 9I ) 5 N6 + 9I'5 '=ĕA ě 5 6'A"8I% :J D .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ )1 '4&4A+)6 9I" 5 6 ĕ1 8 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 4 = '5 '< A";I1D/ĕ.4 ĕ1 : N6 + .8 8 ;J1/<ĕ 9IB ĕ '8 :I 11 D/ĕA%;I1A ĕ6A ;I1 E ) 6 /';1 6'D/ĕ '8 6' 9IE%ĔD ĔA ;I1 E A';I1

)6 < 6'+5 %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 N6 + 9I Ĕ6&D/ĕB Ĕ" 5 6 6 '6 6/<ĕ 9IA"8I% :J 9I N6'4 ĕ+&A 8 . '5 '=ĕA ě Ĕ6D ĕ Ĕ6&" 5 6 "'ĕ1%G E 8 5 8 6%A ;I1 E ) 6 /';1 '8 6' 9I ) 5 / 9J.8 = +5 %=) Ĕ6 5 6'A"8I% :J D .Ĕ+ 1 / 9J.8 )1 '4&4A+)6 9I" 5 6 ĕ1 8 D/%Ĕ < G +5 9ID '6& 6 B)4+5 9I Ĕ6& N6'4 6'A )9I& B ) D %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 / 9J.8 '5 '=ĕA ě Ĕ6D ĕ Ĕ6&" 5 6 D N6E'/';1 6 <

( )

'4%6 6'/ 9.J 8 '4%6 6'/ 9J.8 B)4/ 9J.8 9I16 4A 8 :J 4 = '5 '=ĕA%;I1%9 +6%A ě E E ĕ Ĕ1 ĕ6 B Ĕ 1 +Ĕ6 )<Ĕ%18 5 ĕ1 .=gA.9& '5"&6 ' 11 E C &D ĕ%=) Ĕ6 9I 6 +Ĕ6 4 Ĕ6& N6'4D ę < 5 +5 9I'6& 6 '4%6 6'/ 9J.8 "8 6' 6 6 6' 8 ) '4B.A 8 . 9I 4 Ĕ6& D 1 6 C &D ĕ15 '6 8 ) D )6 ę < 5 Ĕ1 N6 : : $6-9A 8 E ĕ A";I1D/ĕ.4 ĕ1 N6 + 9I16 '4A%8 E ĕD )6 ę < 5 :I B 'E 6%A+)6B)4 +6%A.9I& 9I%9 Ĕ1/ 9J.8 '4%6 6'/ 9J.8 .Ĕ+ 9IA"8I% :J A ;I1 6 A+)6 9I Ĕ6 E '5 '=ĕA ě ĕ < 6 6'A 8 '4%6 6' Ĕ6 '4 5 +6%A.9&/6& 4 5 : A%;I1E ĕ 6&.8 ĕ6/';1D/ĕ '8 6'B Ĕ)= ĕ6B)ĕ+ '4%6 6' Ĕ6D ĕ Ĕ6&"8 6' 6 6 '4+5 8 6' Ĕ6& Ĕ6 '4 5 +6%A.9&/6& B)4 ę 5& Ĕ6 G 9I16 A 9I&+ ĕ1 5 +6% Ĕ6 4A ě 9I 4A 8 +6%A.9&/6& 5 )Ĕ6+


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 ( )

'6&E ĕ 6''5 '=ĕ'6&E ĕ '6&E ĕ 6 6' 6&'5 '=ĕA%;I1E ĕC1 +6%A.9I& B)4 ) 1 B 1 +6%A ě A ĕ6 1 .8 ĕ6 9I%9 5&.N6 5gE D/ĕ 5 =ĕ ;J1 B)4'6&E ĕ 6 6' D/ĕ '8 6''5 '=ĕA%;I1%9 6'D/ĕ '8 6' '6&E ĕ 6%.5gg6D/ĕ '8 6''4&4&6+ '5 '=ĕ 6%15 '6'ĕ1&)4 1

6 9IA.'H 5J 9J 4E%Ĕ'5 '=ĕ'6&E ĕ ĕ6 &5 %9 6' + <%/';1 '8/6'.8 ĕ6 9I 6&E B)ĕ+ /';1%9 +6%E%ĔB Ĕ 1 9I%9 5&.N6 5gD 6'E ĕ'5 '4C& ĘA 8 A,'- 8 6 6' 6&/';1 6'D/ĕ '8 6' /';1E%Ĕ16 +5 %=) Ĕ6 1 N6 + '6&E ĕB)4 ĕ < 9IA 8 :J E ĕ1&Ĕ6 Ĕ6A ;I1 ;1 /';1%9 +6%A ě E E ĕ Ĕ1 ĕ6 B Ĕ 1 9I 4 ĕ1 '5 ; .8 ĕ6 '6&E ĕ 6 6' 6&1< ' ĘA A+&Ę"'ĕ1% 8 5J '5 '=ĕ ĕ+&+8 91ĕ6 18 5 5J +6%.N6A'H 1

6 5J +6%.N6A'H 1

6 +5 ĕ+& 15 '6.Ĕ+ 1 ĕ < 1 %=) Ĕ6 6 9I N6A.'H : ę < 5 8 A 9& 5 '4%6 6' ĕ < 1 %=) Ĕ6 6 5J /% '6& 6' 6 < 9I 6 +Ĕ6 4A 8 :J 4'5 '=ĕA ě Ĕ6D ĕ Ĕ6& 5 9A%;I1%9 +6%A ě E E ĕ Ĕ1 ĕ6 B Ĕ 9I ĕ < %=) Ĕ6 6 5J /% 4%9%=) Ĕ6A 8 +Ĕ6'6&E ĕ 6 Ĕ6

6 5J /% '6&E ĕ 6 6'D/ĕ '8 6'+ ' 6+A 9&%B)4 '8 6'1;I G 9IA 9I&+A ;I1 5 <' 8 6+A 9&% '8 6'18 A 1'ĘA H B)4 '8 6'1;I 9IA 9I&+ ĕ1

5 <' 8 18 A 1'ĘA H B)4 '8 6'C ',5" Ę '5 '=ĕA%;I1D/ĕ '8 6'B Ĕ)= ĕ6 B)4%9 +6%B Ĕ 1 D 6'E ĕ'5 '4C& ĘA 8 A,'- 8 6 6' D/ĕ '8 6' 5J '6&E ĕ 6 6'D/ĕA Ĕ61< ' Ę'5 '=ĕ'6&E ĕ$6&D '4&4A+)6B)415 '6 9I N6/ D .5gg6A Ĕ6 '6&E ĕ 6 6' )8 .;I1C - 6'5 '=ĕA ě '6&E ĕA%;I1 6 .N6A'H .Ĕ+ '6&E ĕ 6 .;I1C - 6'5 '=ĕA%;I1E ĕD/ĕ '8 6'B Ĕ)= ĕ6 '6&E ĕ 1 A 9J&'5 '=ĕ 6%A Ę ĕ6 A+ĕ B Ĕ 4%9 +6%E%ĔB Ĕ 1 D 6''5 N6'4 A 8 ę )'5 4 5 : A ě '6&E ĕA%;I1%9.8 8E ĕ'5 A 8 ę ) '6&E ĕ$6&D ĕ.5gg6A Ĕ6 N6A 8 6 5 : C &+8 915 '6 1 A 9J& 9IB ĕ '8 )1 16&<.5gg6A Ĕ6

( )

ĕ < 6 6'A 8 ĕ < 6 6'A 8 '4 1 ĕ+& 1 A 9J& Ĕ6& 1 A 8 =ĕ&;%B)4 '4%6 6'/ 9J.8 .Ĕ+ 9IA"8I% :J A ;I1 6 A+)6 9I Ĕ6 E B)4.8I 1 B 9I 6 +Ĕ6 4 ĕ1 Ĕ6&'5 '=ĕD N6E'/';1 6 <


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 ĕ < 6' =ĕ&;% 9IE%ĔE ĕA 9I&+ 5 6'E ĕ%6 6' Ĕ1.'ĕ6 /';1 6' )8 .8 '5"&Ę 9IA ĕ6A ;I1 E '5 '=ĕD N6E'/';1 6 < C &D ĕ+8 915 '6 1 A 9J& 9IB ĕ '8

( )

$6-9A 8 E ĕ $6-9A 8 E ĕ 6 N6E'/';1 6 < .N6/'5 Č '4 1 ĕ+&$6-9A 8 E ĕD + ę < 5 B)4'6&E ĕ/';1 Ĕ6D ĕ Ĕ6&$6-9A 8 E ĕ $6-9A 8 E ĕ'5 '=ĕD N6E' 6 < A+ĕ B ĔD .Ĕ+ 9IA 9I&+ 5 '6& 6' 9IA 9I&+ ĕ1 D 6''+% <' 8 /';1'6& 6' 9I'5 '=ĕC & ' D .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ /';1 N6E' 6 < A H A.'H 1;I

$6-9A 8 E ĕ ę < 5 $6-9A 8 E ĕ ę < 5 E ĕB Ĕ$6-9 9I 6 +Ĕ6 4 Ĕ6& N6'4C & N6 + 6 N6E' '4 N6 Č 9I ĕ1 A.9&$6-9 C &D ĕ15 '6$6-9 9I '4 6,D ĕ +5 9I '6& 6

$6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9 )<Ĕ%18 5 5 : 5g 9$6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9C &+8 9/ 9J.8 6% B. 6 4 6'A 8 C & N6 + 6 )B Ĕ6 5I+ '6+ 9I A 8 :J '4/+Ĕ6 6 $6-9 1 .8 '5"&ĘB)4/ 9J.8 5 %=) Ĕ6 6% 5g 9 1 .8 '5"&ĘB)4/ 9J.8 A/)Ĕ6 5J C &D ĕ15 '6$6-9 9I '4 6,D ĕ/';1 9I 6 +Ĕ6%9 ) 5 5 D ĕ +5 9I'6& 6 .8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9 4 5 : Ĕ1A%;I1%9 +6%A ě E E ĕ Ĕ1 ĕ6 B Ĕ 1 +Ĕ6 N6E'A";I1A.9&$6-9D 1 6 4%9 N6 + A"9& "1 5 6'D ĕ '4C& Ę 6 .8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9 5 )Ĕ6+ 5J 9J.8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9 4 = '5 ) )

A Ĕ6 9I '4C& Ę 6 $6-9 4%9C1 6. = D ĕ '8

4

'6& 6' 9AI 8 : J B)4&1 A/);1 5 < )/';1 8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 < )/';1 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 E ĕB Ĕ < )B)4/';1 8 6' 9I%91N6 6 + <% /';1 = + <%E%Ĕ+Ĕ6 4A ě C & 6 ' /';1 6 1ĕ1% :I '4 N6 Ĕ6 '8-5 9I N6/ ĕ6 9I ;1/<ĕ '8-5 &Ĕ1& B)4 8 6' 9IA ě '8-5 &Ĕ1&D A ';1A 9&+ 5 1 6 9J 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 &5 '+% +6% : '8-5 'Ĕ+%B)4 < ) 9I%918 8")1&Ĕ6 A ě .6'4.N6 5g 5 8 6'E%Ĕ+Ĕ6 4A ě C & ' /';1 6 1ĕ1% =ĕ '8/6'.N6 5g 1 8 6' '+% 5J .%6 8 D '1 '5+ 9ID )ĕ 8 5 < ) 5 )Ĕ6+ :I %91N6 6 5 = /';116 = 5 = D/ĕ 8 5 8 6% < ) 5 )Ĕ6+ B)4 8 6' 9I A 9I&+ ĕ1 5 < ) ĕ6 ĕ D 6'"8 6' 6 +6%.5%"5 Ę'4/+Ĕ6 < )/';1 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 B Ĕ)4'6& 6' '8-5 N6 : : A ;J1/6 1 +6%.5%"5 Ę%6 +Ĕ6'= B 6 /%6& )<Ĕ%18 5 E ĕ N6A 8 6' ĕ6 6% 8 5 '8-5 9IA 9I&+ ĕ1 5 C & 9I )<Ĕ%18 5 E ĕ 8 '6 6 ;J1/ 6&.8 ĕ6B)4 '8 6' 5 '8-5 9I A 9I&+ ĕ1 5 6%'6 6 9IA 9& A Ĕ6 5 '6 6 9I 8 5 < )$6& 1 C &%9A ;I1 E Ĕ6 G 6% 8 <' 8


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 '6& 6' 9I.N6 5g.N6/'5 B Ĕ)4 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 5 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 .'< E ĕ 5 9J

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) '6&E ĕ 6 6' 6&B)4 '8 6' '+% : A 8 ę )'5 '8- 5 &Ĕ1& A 8 ę )'5 '6&E ĕ 1 A 9J&

8 6' 9 I + <%'Ĕ+% 5 '6&E ĕ 6 6'D/ĕA Ĕ6B)41;I G '8- 5 'Ĕ+% '6&E ĕ Ĕ6 '8 6' 1%"8+A 1'Ę '6&E ĕ Ĕ6C - 6 ('6&E ĕ'+% 2555 : 996 )ĕ6 6 2554 : 1,233 )ĕ6 6 ) '6&E ĕ 6 6'D/ĕA Ĕ6B)41;I G A 8 ę )'5

8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 '6&E ĕ 6 6'D/ĕA Ĕ6 6&A 8 ) < 6 .Ĕ+ D '8-5 'Ĕ+%

-

-

35 35

45 1 46

3

13

-

-

104 259

73 336

-

-

64 12,362 12,789

72 10,353 10,834

12,220 12,220

10,223 10,223

-

1 7,924

-

-

-

7,925

-

-


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) 6' ;1J .8 ĕ6B)4 '8 6' '+% : A 8 ę ) Ĕ6& '8- 5 &Ĕ1& Ĕ6 '8 6' 1%"8+A 1'Ę Ĕ6C - 6B)41;I G

-

-

3 16 19

3 15 18

8 6' 9 I + <%'Ĕ+% 5 Ĕ6A Ĕ6B)4 Ĕ6D ĕ Ĕ6&1;I

5

4

-

-

'8- 5 'Ĕ+% Ĕ6A Ĕ6B)4 Ĕ6D ĕ Ĕ6&1;I

31

30

2

8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 Ĕ6 9I ': -6B)4 Ĕ6D ĕ 6Ĕ &1;I

3

1

-

-

''% 6' '8- 5 A 8 ę ) Ĕ6&

4

5

4

5

9,061

15,779

=ĕ 1; /< ĕ D/gĔ 1 '8- 5 A 8 ę ) Ĕ6&

9,061

15,779

1


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 &1 A/);1 5 < )/';1 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 %9 5 9J

6'A 8 '+% 2555

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

2554

()ĕ6 6 ) )= / 9 J 6' ĕ6B)4 5+L A 8 '5 - 8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 '8-5 'Ĕ+% '+% /5 Ĕ6A ;I1/ 9J. .5& 4.=g .< 8

32 224 256 (31) 225

41 394 435 435

-

-

'6&E ĕ 6ĕ '5 - 8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 '8-5 'Ĕ+%

19

15

-

-

)= / 9AJ 8 '1 Ĕ6&B)4A 8 D/ĕ &=ĕ %; B Ĕ 8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 '8-5 9IA 9I&+ ĕ1 5

137

82

-

-

4

1

-

-

12

54

12

7

)= / 91J ;I – 8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 A 8 ) < '4&4.5 J D /< ĕ = ĕ 8 6' 9IA 9&I + ĕ1 5 6Ĕ 1 < .Ĕ+ < ) 9 I '8/6'C & '8 '8- 5 - 5 5 5 6' 1 < 6' 1 < 18 .18'4.'4 '8-5 'Ĕ+%


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 '6& 6'A );I1 E/+'4/+Ĕ6 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 .N6/'5 A 8 D/ĕ =ĕ&;%B Ĕ '8-5 &Ĕ1& %9 5 9J

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) +5 9I 1 % '6 % '5 N6'4 +5 9I 31 5 +6 %

-

30 (30) -

A 8 D/ĕ =ĕ&;%A ě A 8 D/ĕ =ĕ&;% 9IE%Ĕ%9/)5 '4 5 D/ĕB Ĕ '8- 5 &Ĕ1&'6&/ : I C & 8 15 '6 1 A 9J& 9I :I N6 + 6 15 '6 1 A 9J&A 8 !6 '4 N6.6%A ;1 A )9I& 1 6 6'D/gĔ.6% 6 6' + A"8I%'ĕ1&)4 1.0 Ĕ1 Č '6& 6'A );I1 E/+.N6/'5 B Ĕ)4 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 .N6/'5 A 8 D/ĕ =ĕ&;%B Ĕ 8 6' 9AI 9I&+ ĕ1 5 ( :I B. '+% A ě .Ĕ+ / :I 1 )= / 9JA 8 '1 Ĕ6&B)4A 8 D/ĕ =ĕ&%; B Ĕ 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 ) %9 5 9J

6'A 8 '+% 2555

2554

()ĕ6 6 ) +5 9I 1 % '6 % D/ĕ =ĕ N6E'( 6 < ) 6 15 '6B) A )9I& 9I&5 E%ĔA 8 :J '8

+5 9I 31 5 +6 %

79 57 (4) 132

77 2 79

A 8 D/ĕ =ĕ&;%A ě A 8 D/ĕ =ĕ&;%B Ĕ 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 B/Ĕ / :I C & 8 15 '6 1 A 9J&D 15 '6'ĕ1&)4 3.25 – 3.81 Ĕ1 Č (2554: 'ĕ1&)4 3.04 - 3.55 Ĕ1 Č) B)4%9 N6/ N6'4 ; A%;I1 + 6%


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

6'A 8 '+% 2554 2553

6'A 8 A "64 8 6' 2554 2553

()ĕ6 6 ) A ĕ6/ 9 J 6' ĕ6B)4 5+L A 8 Ĕ6& – 8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 '8-5 'Ĕ+%

6

6

-

-

134 134

1 1 80 82

6 6

4 1 5

A ĕ6/ 91J ;I – 8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 '8-5 &Ĕ1& 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 '8-5 'Ĕ+% 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 '+%

2 4 6

1 1 1 3

2 2

2 2

/ 9.J 8 E%Ĕ/%< A+9& 1; I - 8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 '8-5 'Ĕ+%

3

5

-

A ĕ6/ 9BJ )4A 8 =&ĕ %; - 8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 '8-5 &Ĕ1& 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 '8-5 'Ĕ+% 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 '+%

-

'6& 6'A );I1 E/+.N6/'5 B Ĕ)4 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 .N6/'5 A 8 =ĕ&;% 6 8 6'1;I 9IA 9I&+ ĕ1 5 ( :I B. '+% A ě .Ĕ+ / :I 1 A ĕ6/ 9JB)4A 8 =ĕ&;% 6 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 ) %9 5 9J

6'A 8 '+% 2555 2554

()ĕ6 6 ) +5 9I 1 % '6 % =ĕ&;% ( N6E') 6 < 6 15 '6B) A )9I& 9I&5 E%ĔA 8 :J '8

+5 9I 31 5 +6 %

79 58 (4) 133

77 2 79

A 8 =ĕ&;%A ě A 8 =ĕ&;% 6 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 B/Ĕ / :I C & 8 15 '6 1 A 9J&D 15 '6'ĕ1&)4 3.25 – 3.81 Ĕ1 Č (2554: 'ĕ1&)4 3.04 3.55 Ĕ1 Č) B)4%9 N6/ N6'4 ; A%;I1 + 6%


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ Ä”6 1 B =Ä• '8/6' Ä”6 1 B ''% 6'B)4 =Ä• '8/6'.N6 5g.N6/'5 ÄŒ.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 .'< E Ä• 5 9J

.N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 %

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) ) '4C& Ę'4&4.5 J Ĕ6 1 B ''% 6' Ĕ6 1 B =ĕ '8/6'.N6 5g '+% Ĕ6 1 B =ĕ '8/6'

34 125 159

31 121 152

20 69 89

17 69 86

2

2

1

1

1 3

1 3

1 2

1 2

162

155

91

88

) '4C& Ę'4&4&6+ ĕ < '8 6' ę < 5 - 9I'+%1&=ĔD Ĕ6D ĕ Ĕ6&D 6' '8/6' 1 A 9J& 6 $6'4 = "5 - 9I'+%1&=ĔD ĕ < 6 6'A 8 '+% ) '4C& Ę'4&4&6+ 1 =ĕ '8/6' '+% Ĕ6 1 B ''% 6'

Ĕ6 1 B ''% 6' '4 1 ĕ+& Ĕ6 1 B '6&A ;1 C 5. B)4A 9J& '4 <% :I Ĕ6&D/ĕ '4 6 ''% 6' ''% 6'18.'4 ''% 6' 9IE%ĔA ě =ĕ '8/6' Ĕ6 1 B ''% 6' 5 )Ĕ6+E ĕ'5 1 <%5 8 6 9I '4 <%.6%5g =ĕ ;1/<ĕ '4 N6 Č 1 '8-5 B)4 )<Ĕ%18 5 $6'4 = "5 B)4.5gg6.N6 5g 9 I 6N 5 < )/';1 8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 $6'4 = "5 9I.N6 5g1;I G 9I%9 Ĕ1 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 %9 5 9J 1. '8-5 B)4 '8-5 'Ĕ+% 6 B/Ĕ E ĕ N6.5gg6 5 '8-5 &Ĕ1&'6&/ :I C & '8-5 &Ĕ1&%9$6'4 = "5 D 6'D/ĕ '8 6' N6'< '5 -6'4 1%"8+A 1'ĘA";I1 '4%+) ) 6 5g 9 C &.5gg6%9 N6/ 1 Č B)4 Ĕ116&<E ĕ19 '6+)4 1 Č =Ĕ.5gg6%9.8 8 1 A)8 .5gg6 E ĕC &B ĕ A ě / 5 .;1 1 )Ĕ6+)Ĕ+ / ĕ6A ě A+)6E%Ĕ ĕ1& +Ĕ6 3 A ;1 +5 9I 31 5 +6 % 2555 '8-5 B)4 '8-5 'Ĕ+%E%Ĕ%9$6'4 = "5 Ĕ1 '8-5 &Ĕ1& 9I 4 ĕ1 N6'4 Ĕ6 '8 6' 5 )Ĕ6+ A ;I1 6 ' N6/ .5gg6 (2554: E%Ĕ%9)

†‹Ž


†Œ…

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 2. '8-5 &Ä”1&E Ä• N6.5gg6 5 '8-5 'Ä”+%B/Ä” / :I C & '8-5 'Ä”+%%9$6'4 = "5 D 6'D/Ä• '8 6' Uplink .5gg6 6+A 9&%A Ä› '4&4A+)6 '4%6 5 ÄŒ C & '8-5 &Ä”1&%9$6'4 = "5 Ä”1 '8-5 'Ä”+% 9I 4 Ä•1 N6'4 Ä”6 '8 6' 5 )Ä”6+ 6%.5gg619 A Ä› N6 + A 8 '+% '4%6 41 )Ä•6 6 (2554: '4%6 8 )Ä•6 6 ) 3. '8-5 &Ä”1&E Ä• N6.5gg6 5 8 6' 9I + <%'Ä”+% 5 B/Ä” / :I C & 8 6' 9I + <%'Ä”+% 5 %9$6'4 = "5 D 6'D/Ä• N6A 8 6' =B) N6'< '5 -6. 6 9 + <%A ';1 Ä”6&$6 ";J 8 (IPSTAR Gateway) D '4A , 5%"= 6D/Ä• N6A 8 6' 8 A Ä› '4&4A+)6 '4%6 5 ÄŒ C & +5 9I 31 5 +6 % 2555 '8-5 &Ä”1&E%Ä”%9$6'4 = "5 Ä”1 8 6' 9I + <%'Ä”+% 5 9I 4 Ä•1 N6'4 Ä”6 '8 6' 5 )Ä”6+ A ;I1 6 '4%6 0.2 )Ä•6 1))6'Ę ' N6/ .5gg6 (2554: }‡ŠŠ‰Â? '4%6 …ƒ‡ )Ä• 6 1))6'Ę./'5 ./'5 ) 3~ 4. '8-5 &Ä”1&E Ä• N6.5gg6D 6' N6A 8 <' 8 6 Ä•6 6+A 9&%B)4D/Ä• N6 ': -6 5 '8-5 'Ä”+% C & '8-5 &Ä”1&%9$6'4 = "5 D 6' D/Ä• '8 6'A Ä”6 Ä”1 .5gg6 6+A 9&% (Transponder) D/Ä• '8 6' 6+A 9&%E & % 4 (E1"9. 6'Ę) B)4D/Ä• N6 ': -6 '8-5 'Ä”+%%9$6'4 = "5 Ä”1 '8-5 &Ä”1& 9I 4 Ä•1 N6'4 Ä”6 '8 6' 5 )Ä”6+ 6%.5gg619 A Ä› N6 + A 8 '+% '4%6 ˆ )Ä• 3 6)Ä• 1))6'Ę 6 1))6'Ę./'5 ./'5 3 (2554: (2554:

'4%6 1 )ĕ66 1))6'Ę 8 )ĕ6 6 ) '4%6 † )ĕ 1))6'Ę./'5 ./'5 B)4 3 B)4 � )ĕ 6 6 ~ 5. '8-5 &Ĕ 1&E ĕ N6.5gg6 5 '8-5 'Ĕ+%B/Ĕ / :I C & '8 -5 &Ĕ1&%9$6'4 = "5 D 6'D/ĕA Ĕ 61< ' Ę.;I1.6'.5gg6 6+A 9&% (Satellite Uplink Equipment) A ě '4&4A+)6 '4%6 3 Č 7 A ;1 C & '8-5 'Ĕ+%%9$6'4 = "5 Ĕ1 '8-5 &Ĕ1& 9I 4 ĕ1 N6'4 Ĕ6A Ĕ6 1< ' Ę 5 )Ĕ6+ 6%.5gg6A ě N6 + A 8 '+% '4%6 23 )ĕ6 6 (2554: E%Ĕ%9) $6'4 = "5 .N6/'5 8 6' 9AI 9&I + ĕ1 5 E & %E ĕ11 / 5 .;1'5 '1 A";I1B. +6%%5I D 6 6'A 8 (Letter of Comfort) D/ĕB Ĕ 6 6' Ĕ6 G 1 '8-5 &Ĕ1& 1 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 $6&D ĕ/ 5 .;1 5 )Ĕ6+E & % ĕ1 8 5 8 6%A ;I1 E D 6''5 -6.5 .Ĕ+ 6' ;1/<ĕ 6% 9I'4 <E+ĕD .5gg6 +Ĕ6 '8-5 &Ĕ1& 1 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 5 )Ĕ6+ 4 N6'4/ 9J 5J /% D/ĕB Ĕ 6 6'B)ĕ+ 1 6 9JE & %E ĕD/ĕ N6&; &5 B Ĕ 6 6' =ĕD/ĕ =ĕ&;%A 8 1 '8-5 &Ĕ1& 1 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 A/)Ĕ6 9J+Ĕ6 E & % 4D/ĕ 6'. 5 . < 6 6'A 8 9I N6A ě B Ĕ '8-5 &Ĕ1& 1 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 A";I1D/ĕE ĕ +6%%5I D +Ĕ6 '8-5 &Ĕ1& 1 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 4%9 +6%.6%6' D 6' Ĕ6& N6'4/ 9J$6&D ĕ.5gg6 A 8 =ĕ Ĕ6 G 9I '8-5 &Ĕ1& 1 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 N6E+ĕ 5 6 6' +5 9I 31 5 +6 % 2555 $6'4 = "5 6 6'11 / 5 .;1'5 '1 ĕ6 ĕ D/ĕB Ĕ 6 6' 1 '8-5 &Ĕ1& 1 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 (2554 : 2 )ĕ66 1))6'Ę 1))6'Ę./'5 3~) E ĕ.8J .< B)ĕ+ }‡ŠŠ‰� ‡ )ĕ


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 5

A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 .

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) A 8 . D %;1 A 8 !6 '4B.'6&+5 B)4A 8 !6 11% '5"&Ę A 8 !6 '4 N6 A 8 ) < D 5L+B) A 8 5L+.5gg6D ĕA 8 B)4A 8 ) < D /<ĕ =ĕ '+%

26 2,053

160 1,415

- 165

- 103

453 2,532

9,862 11,437

- 165

8,340 8,443

A 8 !6 6 6' A 8 !6 '4 N6 5L+B) A 8 5L+.5gg6D ĕA 8 B)4A 8 ) < D /<ĕ =ĕ %915 '6 1 A 9J&B ĕ '8 5+A )9I& Ĕ+ JN6/ 5 'ĕ1&)4 1.0 Ĕ1 Č (2554 : 'ĕ1&)4 2.8 Ĕ1 Č) D 6'A 8 '+% B)4'ĕ1&)4 0.5 Ĕ1 Č (2554 : 'ĕ1&)4 3.2 Ĕ1 Č) D 6'A 8 A "64 8 6' 6

A 8 ) < 1; I

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) A 8 ) < 5I+ '6+ 5L+B) A 8 A 8 !6 '4 N6 '6.6'/ 9J 9IA ě /)5 '5"&ĘA ;I1 6& '+%

865 2,266 3,131

876 1 1,640 2,517

863 1,150 2,013

856 521 1,377

25 3,156

25 2,542

25 2,038

25 1,402

A 8 ) < '4&4&6+ A 8 ) < D '8-5 1;I '+%

.Ĕ+ A 8 ) < D 5L+B) A 8 B)4A 8 !6 '4 N6 %915 '6 1 A 9J&B ĕ '8 5+A )9I& Ĕ+ JN6/ 5 D 6'A 8 '+%B)4D 6'A 8 A "64 8 6' 'ĕ1&)4 3.3 Ĕ1 Č (2554: 'ĕ1&)4 3.8 Ĕ1 Č) ) 1 B A )9I& 6 A 8 ) < 5I+ '6+D /)5 '5"&ĘA ;I1 6& %915 '6'ĕ1&)4 3.8 Ĕ1 Č D 6'A 8 '+% (2554: 'ĕ1&)4 3.0 Ĕ1 Č) B)4%915 '6'ĕ1&)4 3.7 Ĕ1 Č D 6'A 8 A "64 8 6' (2554: 'ĕ1&)4 3.4 Ĕ1 Č)


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 7

)= / 9 J 6' ĕ6B)4)= / 91J ;I

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) )= / 9 J 6' ĕ6 )= / 9J 6' ĕ6B)4 5L+A 8 '5 '6&E ĕ ĕ6 '5 /5 Ĕ6A ;I1/ 9J. .5& 4.=g

)= / 91J ;I '+%

1,250 198 (202) 1,246

1,698 159 (282) 1,575

-

-

399

413

15

19

1,645

1,988

15

19

6'A 8 '+%

/%6&A/ <

2555

2554

()ĕ6 6 ) )= / 9 J 6' ĕ6B)4 5+L A 8 '5 < )/';1 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 < )/';1 8 6'1;I G '+% '6&E ĕ 6ĕ '5 < )/';1 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 < )/';1 8 6'1;I G '+% '+%)= / 9 J 6' ĕ6B)4)= / 91J ;I /5 Ĕ6A ;I1/ 9J. .5& 4.=g .< 8

4

256 994 1,250

435 1,263 1,698

4

19 179 198

15 144 159

1,448 (202) 1,246

1,857 (282) 1,575


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 6'+8A '64/Ę16&< 1 )= / 9J 6' ĕ6B)4 5L+A 8 '5 %9 5 9J

6'A 8 '+% 2555

2554

()ĕ6 6 ) &5 E%Ĕ ' N6/ N6'4 A 8 N6/ N6'4 : ĕ1& +Ĕ6 3 A ;1 3 - 6 A ;1 6 - 12 A ;1 %6 +Ĕ6 12 A ;1

/5 Ĕ6A ;I1/ 9J. .5& 4.=g .< 8

597

858

288 139 56 170 1,250 (202) 1,048

281 106 114 339 1,698 (282) 1,416

)= / 9J1;I +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 '4 1 ĕ+&

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) Ĕ6D ĕ Ĕ6&)Ĕ+ / ĕ6 1 A 9J& ĕ6 '5 B)4'6&E ĕ 6ĕ '5 1;I A 8 Ĕ6&)Ĕ+ / ĕ6 A 8 %5 N6 )= / 9J1;I $6-9A 8 E ĕ'1 1 ; 1;I G '+%

119 36 49 91 3 51 50 399

114 36 30 74 70 38 51 413

6 4 2 3 15

4 10 2 3 19


†Œ‰

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 8

.8 Ä•6 A/);1

6'A 8 '+% 2555

2554

()Ä•6 6 ) +5 < 8

6 '4/+Ĕ6 N6 .8 ĕ6.N6A'H '= .8 ĕ6'4/+Ĕ6 6

/5 Ĕ6A ;I1.8 ĕ6)ĕ6.%5& .< 8 9

55 20 363 1 439 (97) 342

49 8 253 8 318 (75) 243

.8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9&I A)8 B)4 6' N6A 8 6 9&I A)8

†‡ "(, è 6& ‡ŠŠŠ 9 I '4 < % 4 ''% 6' 1 E & %%9 A/H 1 6' N .5gg6 6&/< A1H% NC# N 6 5% A%;I1+5 9I 12 "(, 8 6& 2555 9I '4 < % 4 ''% 6' 1 E & %%9 % 8A/H% 8 1 6' N 6.5g6g6 6&/< Ä• D '8Ä• D 'è -5 A1H-%5 C# 6 5 (“A1H }äA1H%C# ĂĽ~ : A Ä›- 5 'è&Ä”-1 5 & 1 8 &Ä”1& 1 8 6' 9 I + < 'Ä”+ % 5 1 E & % 1 E & % 5 g 5 g6 5 6+%9 1I E 9I =Ä• I ;J1 Ä•= 1B)4 J; B)4 =Ä• Ä•6& Ä• = 6& Ä•11 N N66A 8A 8 6'D/Ä• 6'D/Ä•AA.'H .'H C# â€?) :I A Ä› I '8 6' 9 I + < %'Ä”+%% 5 5J 9J. 95g.J g6 5

)Ä” )Ä” 6+%9 A ;I1A ĂŤ E 9 $6&D '4&4A+)6 ‹… +5 18 Ä”% 518 E Ä• 5 5E Ä• '4A$ .8 '5 " '5&ĘB")4/ 9 .J 8 1 A1H %C# $6&D '4&4A+)6 60 +5 5 5 6 +5 6 +5 N N66.5.5ggg6 C & +5 g6 C & +5 9 I 9ˆ… 5 I 30 5&6& ‡ŠŠŠ )< &6& 2555 %Ä” )< 5 '4A$ .8 &ĘB)4/ 9 J.8 1 A1H % A Ä› .8 '5 I ;1I E+Ä•;1AE+Ä• "áIA1"; 6& '= Ä• 6 < 6 6' Ä• 1& Ä” C# A Ä› .8 " '5&Ę E"%Ä”&Ę/E%<%Ä” /A+ĂŠ %< &A+9 9& 9 I1 6&B)4'5B)4'5 '=Ä• 6 < 6 6' Ä• 1& Ä”6 1 A è 6 1 A 8 ) < ) < A Ä›A Ä› A èA 8 '4%6 '4%6 ‡Š† 251 )Ä•)Ä•66 6 6 D 6'A è .N6/'5 + A Ä•6A ;1 .8J Ăš .< +5 9I 30 ˆ… 5 5 &6& ‡ŠŠŠ 1&Ä” 6'A 8 &6& 2555 1&Ä”66 E' H

E' H 6%A%; 6%A%;I1I1 ' N ' N66/ '4&4A+)6 ‹… +5 / '4&4A+)6 60 +5 !Ä?6& =Ä• ;J1E Ä• 1& A)8 1 A1H%%C# C# A ;

6 =Ä• =Ä• ;J1;J1E%Ä”E%Ä”..6%6' N 6%6' N66A 8A 8 6' 6%A ; 6' 6%A ĂŤI1I1 E 9 E 9I N6I / E+Ä• N6/ E+Ä•D .5D .5 g6 ; J1 6&E Ä• .5gg6 6&/<Ä• 1 A1H A ;I1I1 6 gg g6 ; J1 6&E Ä• A%;I1+5 9I 7ÂŒ % '6 % ‡ŠŠ‹ 9 % '6 % 2556 9 I '4 <% 4 ''% 6' 1 E & %%9% 8A/H 1 6% 9I!Ä?6& '8 & 'è/6' 1 8 6' 9I + <%'Ä”+% 5 :I A. 1D/Ä• N6A1H%C# A Ä• %"=% "Ä„6 A ;6 A ; I1 6 6 4 6'A 8 B)4 B)4) 6' N 6A 8 6A 8

6 1 A1H %C# '4 C# A Ä•66.=.=Ä” Ä” '4 + 6')Ä• '4 + 6')Ä•%%)4)6& 6% /%6& 1 '4A , 5 )4)6& 6% /%6& 1 '4A , 5 I1 6 6 4 6'A è ) 6' N 6 1 A1H %C#

A Ä› )D/Ä•)D/Ä• '4B.A 8 . E%Ä” A"9&A"Ăľ "1D 6' N 6A 86A 8 6 19 5 J 5E%Ä” J E%Ä”..6%6' N )<Ä”%%Ä” . $6+4 6 < 1&Ä” 61&Ä”

Ä”61 Ä” A ;1I A ; '4. $6+4 6 < 1I A Ä› '4B.A è . E%Ä” & "1D 6' N 6 19 6%6' N66'4/ 9 '4/ 9JE Ä•JE Ä• 6% N 6% N66/ A+)6 / A+)6 )< E & % : Phnom-Penh Municipal E & % ĂŞ 5 .8 D /&< 6'. 5 . < 6 6'A 8 6 6'A è B)4& A)8 B)4& A)8 .Ä”.Ä”++ 6 5 6 5

)Ä” )Ä”66++ : :I A1H%C# E Ä•&;I N6'Ä•1 Ä”1 ¼½ĂƒĂ„Ă‚Â‚ÂĽÂşĂƒ½ ¢ĂŠĂƒž¸žĂ…ψ Court (,6)) A%;I11+5+5 9 9I I 9ÂŽ % '6 % ‡ŠŠ‹ Ä™ % '6 % 2556 Ä™ < Ä€ 5 5 N N66'Ä•'Ä•11 1 A1H Â˜Ă„ĂŠĂ‡Ă‰ },6)~ A%;

1 A1H%%C# 1&= C# 1&=Ä”'4/+Ä” Ä”'4/+Ä”6 6'"8 6 6'"Ă´ 6' 6 1 ,6) 6' 6 1 ,6) 9I ': -6 Ä•6 /%6& 1 )<Ä”%E & %%9 +6%A/H +Ä”6 A%;I1A1H%C# A Ä•6.=Ä” '4 + 6')Ä•%)4)6& 6% /%6& 1 '4A , 5%"= 6 ,6) 411 N6.5I B Ä” 5J A Ä•6" 5 6 "8 5 -Ę '5"&Ę%6A Ä› =Ä• + <% =B) 6' 5 .''.8 '5"&ĘB)4 6' N6'4/ 9J.8 5J /% 1 A1H%C# C & D Ä”+ A+)6'4/+Ä”6 +5 9ID 6'A 8 : +5 9I,6) 411 N6.5I B Ä” 5J A Ä•6" 5 6 "8 5 -Ę '5"&Ę A1H%C# E%Ä”.6%6' N6 <' ''%D 6' N6/ Ä”6&E :I .8 '5"&Ę/';1.'Ä•6 $6'4B)4/ 9J.8 = "5 E Ä• +5 9I 31 5 +6 % 2555 )<Ä”%18 5 E%Ä”%9$6'4 JN6 '4 5 D/Ä• 5 A1H%C# : %8E Ä• 5 : $6'4/ 9J.8 9IA 8 6 6' JN6 '4 5 E+Ä•D 6'A 8 '+% Ä”6D Ä• Ä”6&1;I G 9IA 9I&+ Ä•1 5 : 6%A Ę Ä•6


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 .8 '5"&ĘB)4/ 9J.8 +5 9I 31 5 +6 % 2555 1 A1H%C# E ĕ = B. A ě .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8 B)4/ 9J.8 9IA 9I&+ ĕ1 C & ' 5 .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8 D B. 6 4 6'A 8 '+% 1 )<Ĕ%18 5 B)4 ) 6' N6A 8 6 1 A1H%C# E ĕ = B. A ě 6' N6A 8 6 9I& A)8 '6&)4A19& 1 .8 '5"&ĘB)4/ 9J.8 1 A1H%C# %9 5 Ĕ1E 9J

6'A 8 '+% 31 5 +6 % 2555

()ĕ6 6 ) .8 '5"&Ę A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 . )= / 9J 6' ĕ6B)4)= / 9J1;I .8 ĕ6 A/);1 16 6'B)41< ' Ę .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1;I /5 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8 / 9J.8 B)4.Ĕ+ 1 =ĕ ;1/<ĕ A ĕ6/ 9J 6' ĕ6B)4A ĕ6/ 9J1;I .Ĕ+ 1 A 8 =ĕ&;%'4&4&6+ 9I : N6/ N6'4$6&D / :I Č ) '4C& Ę 1 B 6%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' ĕ6 Ĕ6& / 9J.8 $6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9 / 9J.8 9IA 9I&+ ĕ1 C & ' 5 .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1

.Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8

11 150 7 1,606 66 (71) 1,769

203 1,431 45 90 1,769


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 ) 6' N6A 8 6 B)4 '4B.A 8 . 1 A1H%C#

6'A 8 '+% .N6/'5 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 %

2555

2554

()ĕ6 6 ) ) 6' N6A 8 6 1 6' N6A 8 6 9&I A)8 '6&E ĕ Ĕ6D ĕ Ĕ6& 6 < .N6/'5 Č 6 6' N6A 8 6 9&I A)8 $6-9A 8 E ĕ 6 < .N6/'5 Č 6 6' N6A 8 6 9&I A)8 .< 8 6 $6-9A 8 E ĕ

434 (966) (532) 24 (508)

) '4 6 ) 6' N6A 8 6 1 A1H%C# Ĕ1 N6E' Ĕ1/<ĕ 1 '8-5 6 < Ĕ1/<ĕ 5J ";J 6 B)4 '5 ) ( 6 )

(0.16)

630 (1,116) (486) 19 (467)

(0.14)

'4B.A 8 . '+% .N6/'5 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555

()ĕ6 6 ) '4B.A 8 . E ĕ%6 6 (D ĕE D ) 6' N6A 8 6 9&I A)8 A 8 . .< 8D ĕE D 8 ''% 6' N6A 8 6 A 8 . .< 8D ĕE D 8 ''%) < A 8 . .< 8E ĕ%6 6 8 ''% 5 /6A 8 A 8 . .< 8D ĕE D 6' N6A 8 6 9&I A)8

(89) (2) 50 (41)


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 10

A 8 ) < D '8- 5 &Ĕ1& 8 6' 9 I + <%'Ĕ+% 5 B)4 '8- 5 'Ĕ+%

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) A 8 ) < D '8- 5 &Ĕ1& +5 9I 1 % '6 % +5 9I 31 5 +6 %

-

-

3,695 3,695

3,695 3,695 3,695

16,977 58 14,336 (12,362) 1 2

18,039 10,069 (10,353) 69

8,382 58 -

8,807 -

(254) 18,758

(847) 16,977

8,440

(425) 8,382

A 8 ) < D '8- 5 'Ĕ+% +5 9I 1 % '6 % ;J1A 8 ) < .Ĕ+ B Ĕ ) N6E'.< 8 6 6') < 6%+8 9.Ĕ+ E ĕA.9& A 8 ę )'5 .Ĕ+ B Ĕ N6E' 6 < A H A.'H 1;I .Ĕ+ A 8 6 6') .5 .Ĕ+ 6') < 9I&5 E%ĔA 8 :J '5 '< ) 6 < 6 6' '4%6 6' 6%/)5 8 ,6. 'Ę '4 5 $5& .N6/'5 C ' 6' ) '4C& Ę" 5 6 6&A 8 ) < 6 .Ĕ+ D '8-5 'Ĕ+% +5 9I 31 5 +6 %


18 5

'8-5 B1 +6 Ę 18 C#'Ę A 1'Ę+8. N6 5 (%/6 ) '8-5 9A1. )H1 18 C# N6 5 (%/6 ) '8-5 1<Ė 9 N6 5 '+%

'8- 5 'Ĕ+% 40.45 42.07 25.03

('ĕ1&)4)

40.45 42.07 -

.5 .Ĕ+ +6%A ě A ĕ6 1

2555 2554

2,973 149 1 3,123

2,973 149 3,122

< N6'4B)ĕ+ 2555 2554

8,382 1,481 58 9,921

()ĕ6 6 )

8,382 1,481 9,863

6'A 8 '+% +8 9'6 6 < 2555 2554

A 8 ) < D '8-5 &Ĕ1& B)4 '8-5 'Ĕ+% +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 B)4A 8 ę )'5 .N6/'5 Č.8J .< +5 A 9&+ 5 %9 5 9J

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

18,425 274 59 18,758

16,707 270 16,977

+8 9.Ĕ+ E ĕA.9& 2555 2554

12,220 142 12,362

10,223 130 10,353

A 8 ę )'5 .N6/'5 Č 2555 2554


'+%

'8-5 B1 +6 Ę 18 C#'Ę A 1'Ę+8. N6 5 (%/6 ) '8-5 1<Ė 9 N6 5

'8- 5 'Ĕ+%

'8-5 E & % N6 5 (%/6 ) '8-5 E1 9+9 N6 5 (%/6 ) '8-5 E1. 9. B1"")8A 5I .Ę B1 Ę A 1'Ę+8. N6 5 '8-5 B% Ę 1 Ę N6 5

'8- 5 &Ĕ1&

40.45 -

99.99 99.96

99.99 99.96

40.45 25.03

41.14 52.92

41.14 52.92

('ĕ1&)4)

.5 .Ĕ+ +6% A ě A ĕ6 1

2555 2554

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

2,973 1 2,974 14,506

10 9 11,532

5,480 6,033

2,973 2,973 14,505

10 9 11,532

5,480 6,033

< N6'4B)ĕ+ 2555 2554

8,382 58 8,440 15,432

10 72 6,992

3,613 3,297

8,382 8,382 15,374

10 72 6,992

3,613 3,297

+8 9'6 6 < 2555 2554

(3,297)

(3,297)

(3,297)

(3,297)

(3,297)

(3,297)

()ĕ6 6 )

6' ĕ1& Ĕ6 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6'

8,382 58 8,440 12,135

10 72 3,695

3,613 -

8,382 8,382 12,077

10 72 3,695

3,613 -

+8 9'6 6 < - .< 8 2555 2554

12,220 12,220 12,255

20 15 35

-

10,223 10,223 10,268

45 45

-

A 8 ę )'5 .N6/'5 Č 2555 2554

'6& 6 '4 N6 Č


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 '6& 6'.N6 5g 9IA 8 :J D '4/+Ĕ6 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 1 )<Ĕ%18 5 %9 5 9J )

6'A"8%I < /< ĕ .6%5g 1 '8- 5 'Ĕ+% 6 6'D ĕ. 8 8 ESOP D .N6 5gB. .8 8 ;J1/<ĕ .6%5g 9I11 D/ĕ ''% 6'B)4" 5 6 (ESOP) 1 9A1.B1) E ĕ = D ĕ.8 8A ě /<ĕ .6%5g B)4E ĕ 4A 9& A"8I% < /<ĕ .6%5gD/%Ĕ 5 )Ĕ6+ 5 '4 '+ "6 8 &ĘD '4/+Ĕ6 A ;1 % '6 % : 5 +6 % 2555 %9 5 9J '8- 5

9A1.B1) )

/ Ĕ+& 9I D ĕ. 8 8

< 91I 1 B)4 N6'4B)ĕ+ A"8%I : J

.Ĕ+ A 8 %=) Ĕ6/< ĕ A"8%I : J

.5 .Ĕ+ 6') < 1 '8- 5 ) )

("5 / Ĕ+&)

()ĕ6 6 )

()ĕ6 6 )

('ĕ1&)4)

60

6 149

A ě 149

6 462

A ě 462

6 42.07

A ě 42.07

6' '4 6, Ĕ6&A 8 ę ) 1 '8-5 &Ĕ1& 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 B)4 '8-5 'Ĕ+% D '4/+Ĕ6 Č 2555 '8-5 &Ĕ1& 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 B)4 '8-5 'Ĕ+% 6 B/Ĕ E ĕ'5 1 <% 5 8D/ĕ Ĕ6&A 8 ę ) 5 9J

'8- 5

'8- 5 &Ĕ1& E1 9A1A1. A1H% 9 E1"9A1

'8- 5 'Ĕ+% A1E1A1. 6 ) 6' N6A 8 6 Č 2554 1 % '6 % – 30 %8 < 6& 2555 9A1.B1) 6 ) 6' N6A 8 6 Č 2554 1 % '6 % – 30 %8 < 6& 2555

15 '6 A 8 ę )

A 8 ę ) '4/+Ĕ6 6) 9 I 6Ĕ &B)ĕ+D Č 2554

( Ĕ1/<ĕ )

( Ĕ1/<ĕ )

( Ĕ1/<ĕ )

40 16.67 1.43

20 -

20 16.67 1.43

( 6 ) ( 6 )

8.43 5.90

4.17 -

4.26 5.90

12,665 17,540

( 6 ) ( 6 )

0.54 0.30

0.27 -

0.27 0.30

160 178

. <)A 8

( 6 ) ( 6 ) ( 1))6'Ę 11.A 'A)9&)

A 8 ę ) 9 I 6Ĕ & D Č 2555 N6 + A 8 '+%

()ĕ6 ) 20 15 10


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 )

6' ;J1/<ĕ .6%5g 1 '8-5 E1"9. 6'Ę 11.A 'A)9& "9 9+6& N6 5 (“E1"9A1”) A%;I1+5 9I 23 <%$6"5 Ę 2555 E & %E ĕ ;J1/<ĕ .6%5g 1 E1"9A1 6 '8-5 E1"9. 6'Ę N6 5 (“E1"9. 6'Ę”) ( :I A ě '8-5 &Ĕ1& 1 E & %) N6 + 6.95 )ĕ6 /<ĕ 8 A ě 'ĕ1&)4 100 1 < 4A 9& 1 E1"9A1 D '6 6'+% 31.97 )ĕ6 1))6'Ę./'5 3 A ě )D/ĕ. 6 4A 8 ) < D E1"9A1 A )9I& 6 '8-5 &Ĕ1& 6 1ĕ1%A ě '8-5 &Ĕ1& 6 ' 1 E & % 5J 9J 6' ;J1/<ĕ 5 )Ĕ6+ E%Ĕ%9 ) '4 Ĕ1 6'A 8 '+% 1 '8-5 B)4 6'A 8 '+% 1 E & %

)

6' 5 5J '8-5 9 9 '1 6. 8J N6 5 (“ 9 9 ”9 ) 9I '4 <% 4 ''% 6' 1 E & % A%;I1+5 9I 3 5 +6 % 2555 %9% 81 <%5 8D/ĕ 5 5J '8-5 9 9 '1 6. 8J N6 5 :I %9 < 4A 9& 1,000,000 6 B Ĕ 11 A ě /<ĕ .6%5g N6 + 100,000 /<ĕ G)4 10 6 B)4 < N6'4B)ĕ+ 250,000 6 E & %%9 .5 .Ĕ+ D 6' ;1'ĕ1&)4 99.99

)

6' ;J1/<ĕ .6%5g 1 '8-5 1<Ė 9 N6 5 (“1<Ė 9”) A%;I1+5 9I 25 5 &6& 2555 '8-5 E ĕ ;J1/<ĕ .6%5gA"8I% < 1 1<Ė 9 N6 + 33,400 /<ĕ 8 A ě 'ĕ1&)4 25.03 1 < 4A 9& 1 1<Ė 9 D '6 6'+% 57.48 )ĕ6 6 '8-5 5 : A 8 ) < D 1<Ė 9A ě A 8 ) < D '8-5 'Ĕ+%

)

6' N6/ Ĕ6&A 8 ) < D '8-5 +5 4 )6..8#6& Ę. N6 5 (“+5 4”) 9I 6' '4 <% 4 ''% 6' 1 9B1.A1) A%;I1+5 9I 10 .8 /6 % 2555 %9% 81 <%5 8D /)5 6'D/ĕ N6A 8 6' N6/ Ĕ6&A 8 ) < D +5 4 9I ;11&=Ĕ 5J /% N6 + 120,000 /<ĕ 8 A ě .5 .Ĕ+ 'ĕ1&)4 60 1 < 9I11 B)4 N6'4B)ĕ+ 5J 9JA";I1) $6'4 6 < 6 6' N6A 8 6 1&Ĕ6 Ĕ1A ;I1 D 1 6 9B1.A1)E ĕ N6'6& 6' N6/ Ĕ6&A 8 ) < D +5 4 D +5 9I 16 <)6 % 2555 :I A ě A/ <D/ĕ+5 4.8J .$6" 1 6'A ě '8-5 &Ĕ1& 1 9B1.A1)


†�‡

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 11

Ä•1%=) 6 6'A 8 C &.'< 1 8 6' 9 I + <%'Ä”+% 5 B)4 '8- 5 'Ä”+%

A 8 A 8) < ) < D 8 D 8 6' 9 6' 9I + < I + <%'Ĕ%+'Ĕ% 5 +% 5 Shenington Investment Pte Limited (“A �) A A ě 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 1 E & % B)4 '8-5 A1A 9& C% 6&.Ę C2) 8J .Ę "9 919 N6 5 (“A1A1H%A1 �) +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 .5 .Ĕ+ 6' ;1/<ĕ D A 1 E & %B)4A1A1H%A1 A ě 'ĕ1&)4 51 B)4 'ĕ1&)4 49 6%)N6 5 '6& 6' 5 9IE ĕB. Ĕ1E 9J A ě .Ĕ+ B Ĕ 1 )<Ĕ%18 5 D .8 '5"&Ę / 9J.8 '6&E ĕB)4 ) 6' N6A 8 6 1 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 9I'+%D 6'A 8 '+%.N6/'5 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 Shenington Investment Pte Limited B)4 '8- 5 &Ĕ1&B)4 8 6' 9 I + <%'Ĕ+% 5 2555 2554

()Ä•6 6 )

B. 6 4 6'A 8 '+% .8 '5"&Ę/%< A+9& .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& / 9J.8 /%< A+9& / 9J.8 E%Ĕ/%< A+9& .8 '5"&Ę-.< 8

170 1,793 (333) (2,252) (622)

318 3,871 (2,245) (472) 1,472

A "64 N6E' 6 < '+% '6&E Ä•

1,167

1,237

6 < .< 8.6N /'5 Č

(535)

(478)


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 A 8 ) < D '8-5 'Ĕ+% ĕ1%=) 6 6'A 8 C &.'< 1 '8- 5 'Ĕ+% .N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554

2555

1< Ė 9*

9A1.B1)

A1E1A1. 2554

2555

2554

2555

2554

()ĕ6 6 )

B. 6 4 6'A 8 '+% .8 '5"&Ę/%< A+9& .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& / 9J.8 /%< A+9& / 9J.8 E%Ĕ/%< A+9& .8 '5"&Ę-.< 8

38,066 62,949 (36,215) (21,138) 43,662

33,178 53,494 (29,734) (17,474) 39,464

959 1,175 (847) (150) 1,137

860 1,149 (720) (154) 1,135

51 18 (6) 63

-

'6 6 )6 1 '8- 5 'Ĕ+%

621,377

417,720

5,826

3,326

-

-

A "64 N6E' 6 < '+% '6&E ĕ

141,568

126,437

2,945

2,841

16

-

35,004

22,218

383

335

5

-

N6E'.< 8.6N /'5 Č

* ĕ1%=) 6 6'A 8 C &.'< .N6/'5 + 5J B Ĕ+5 9IA'8I%) < : +5 9I 31 5 +6 % 2555


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 12 16 6' B)41< ' Ę

16 6'B)4 .Ĕ+ '5 '<

16 6'

A ';I1 B Ĕ

8 5J

B)41< ' Ę

6'A 8 '+% &6 "6/ 4 B)4&6 "6/ 4 $6&D ĕ.g 5 g6 1%"8+A 1'Ę A Ĕ6 6'A 8 B)41< ' Ę

.8 '5"&Ę '4/+Ĕ6

Ĕ1.'ĕ6

'+%

()ĕ6 6 ) +5 9I 31 5 +6 % 2553 '6 6 < /5 Ĕ6A.;I1%'6 6.4.% /5 .N6'1 Ĕ6A 1;I 6' ĕ1& Ĕ6 1 .8 '5 '5""&Ę&Ę 1 .8 '6 6 6% 5g 9 '6& 6''4/+Ĕ6 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2554 ;J1.8 '5"&Ę C1 .8 '5"&Ę - .< 8 N6/ Ĕ6&.8 '5"&Ę - .< 8 5 N6/ Ĕ6&.8 '5"&Ę - .< 8 Ĕ6A.;I1%'6 6 '5 '< 6'B ) Ĕ6A 8 '6 Ĕ6 '4A , '6 6 6% 5g 9 )6& Č +5 9I 31 5 +6 % 2554 '6 6 < /5 Ĕ6A.;I1%'6 6.4.% /5 .N6'1 Ĕ6A 1;I 6' ĕ1& Ĕ6 1 .8 '5 '5""&Ę&Ę 1 .8 '6 6 6% 5g 9

479 (237)

9,261 (5,036)

149 (83)(83)

315 (255)

754 -

10,958 (5,611)

242

(29) 4,196

66

60

754

(29) 5,318

19 3 (45)

403 803 (38) (26) (1,045)

20 (3) (3) (24)

51 3 (35)

1,927 (877) (1) -

2,420 (68) (38) (30) (1,149)

12 231

175 4,468

1 60

1 80

26 1,829

215 6,668

514 (283)

10,566 (6,070)

162 (102) (102)

357 (277)

1,829 -

13,428 (6,732)

231

(28) 4,468

60

80

1,829

(28) 6,668


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

16 6'B)4 .Ĕ+ '5 '<

16 6'

A ';I1 B Ĕ

8 5J

B)41< ' Ę

6'A 8 '+% &6 "6/ 4 B)4&6 "6/ 4 $6&D ĕ.g 5 g6 1%"8+A 1'Ę A Ĕ6 6'A 8 B)41< ' Ę

.8 '5"&Ę '4/+Ĕ6

Ĕ1.'ĕ6

'+%

()ĕ6 6 ) +5 9I 31 5 +6 % 2554 '6 6 < /5 Ĕ6A.;I1%'6 6.4.% /5 .N6'1 Ĕ6A 1;I 6' ĕ1& Ĕ6 1 .8 '5 1 .8 '5 "&Ę"&Ę '6 6 6% 5g 9 '6& 6''4/+Ĕ6 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 ;J1.8 '5"&Ę C1 .8 '5"&Ę - .< 8 N6/ Ĕ6&.8 '5"&Ę - .< 8 5 N6/ Ĕ6&.8 '5"&Ę - .< 8 Ĕ6A.;I1%'6 6 '5 '< 6'B ) Ĕ6A 8 '6 Ĕ6 '4A , C1 E .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8 '6 6 6% 5g 9 )6& Č +5 9I 31 5 +6 % 2555 '6 6 < /5 Ĕ6A.;I1%'6 6.4.% /5 .N6'1 Ĕ6A 1;I 6' ĕ1& Ĕ6 1 .8 '5 1 .8 '5 "&Ę"&Ę '6 6 6% 5g 9

514 (283)

10,566 (6,070)

162 (102) (102)

357 (277)

1,829 -

13,428 (6,732)

231

(28) 4,468

60

80

1,829

(28) 6,668

76 65 (1) (3) (56)

183 48 (2) (6) (977)

17 1 (1) (2) (23)

18 1 (32)

1,659 (152) -

1,953 (37) (4) (11) (1,088)

(3)

(161)

(1)

(1)

(2)

(168)

(5) 304

(1,574) 1,979

(1) 50

(26) 40

3,334

(1,606) 5,707

595 (291)

5,665 (3,671)

145 (95)

292 (252)

3,334 -

10,031 (4,309)

304

(15) 1,979

50

40

3,334

(15) 5,707


†�‹

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ Ä• < 6' =Ä•&;% :I A 8 6 6' =Ä•&;%A";I1.'Ä•6 .8 '5"&Ę'4/+Ä”6 Ä”1.'Ä•6 .N6/'5 ÄŒ.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 N6 + 71 )Ä•6 6 (2554: 11 )Ä•6 6 ) E Ä• = '+%1&=Ä”D Ä• < 6' ;J1.8 '5"&Ę'4/+Ä”6 ÄŒ +5 9I 31 5 +6 % 2555 16 6'B)41< ' ĘE Ä•'+%.8 '5"&Ę'4/+Ä”6 Ä”1.'Ä•6 1 C ' 6' 6+A 9&%E & % 6 N6 + 3,267 )Ä•6 6 (2554: 1,721 )Ä•6 6 ) C & 9I 6+A 9&%E & % 6 %9 N6/ 6' 9I 4A'8I%D/Ä• '8 6'$6&D ÄŒ 2556 $6&D Ä•.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' 8 6' 6+A 9&%.;I1.6' 5 '4 '+ A C C)&9.6'. A ,B)4 6'.;I1.6' (“ '4 '+ A C C)&93â€?) E & % 4 Ä•1 C1 ''%.8 8MD 6+A 9&%E & % 6 D/Ä•B Ä” '4 '+ A C C)&93 A%;I1 6' Ä”1.'Ä•6 B)4 6' 8 5J B)Ä•+A.'H '6& 6'C1 E .8 '5"&ĘE%Ä”/%< A+9& 1 .Ä”+ 6' N6A 8 6 9I& A)8 N6 + 1,606 )Ä•6 6 ( 6%.5 .Ä”+ 6') < ) A Ä› 16 6' B)41< ' Ę 1 A1H%C# 9I = C1 E A Ä› .8 '5"&ĘE%Ä”/%< A+9& 1 .Ä”+ 6' N6A 8 6 9I& A)8 6% 9I )Ä”6+E+Ä•D /%6&A/ < '4 1 6'A 8 Ä•1 9 C &.Ä”+ / :I 1 16 6'B)41< ' Ę 5 )Ä”6+ '+%.8 '5"&Ę$6&D Ä•.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' 1 A1H%C# N6 + 1,551 )Ä•6 6 (2554 : 1,998 )Ä•6 6 ) :I A1H%C# Ä•1 C1 ''%.8 8MD/Ä•B Ä”'5 6) 1 '4A , 5%"= 6 A%;I1.8J .< '4&4A+)61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'D +5 9I 4 %9 6 % 2571 6% 9I )Ä”6+E+Ä•D /%6&A/ < '4 1 6'A 8 Ä•1 32 )


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

16 6'B)4 .Ĕ+ '5 '<

16 6'

A ';I1

B Ĕ

8 5J

B)41< ' Ę

6'A 8 A "64 8 6' &6 "6/ 4 B)4&6 "6/ 4 $6&D ĕ.g 5 g6 1%"8+A 1'Ę A Ĕ6 6'A 8 B)41< ' Ę

'+%

()ĕ6 6 ) +5 9I 31 5 +6 % 2553 '6 6 < /5 Ĕ6A.;I1%'6 6.4.% '6 6 6% 5g 9

17 (11) 6

25 (21) 4

18 (10) 8

43 (37) 6

103 (79) 24

'6& 6''4/+Ĕ6 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2554 ;J1.8 '5"&Ę N6/ Ĕ6&.8 '5"&Ę - .< 8 Ĕ6A.;I1%'6 6 '6 6 6% 5g 9 )6& Č

1 (3) 4

6 (1) (2) 7

11 (3) 16

2 (3) 5

20 (1) (11) 32

+5 9I 31 5 31 5 +6 % +6 %2554 2554 '6 6 < /5 Ĕ6A.;I1%'6 6.4.% '6 6 6% 5g 9

17 (13) 4

29 (22) 7

29 (13) 16

45 (40) 5

120 (88) 32

'6& 6''4/+Ĕ6 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 ;J1.8 '5"&Ę N6/ Ĕ6&.8 '5"&Ę - .< 8 Ĕ6A.;I1%'6 6 '6 6 6% 5g 9 )6& Č

(2) 2

(2) 5

4 (1) (5) 14

4 (3) 6

8 (1) (12) 27

31 5 +6 % +6 %2555 2554 +5 9I 31 5 '6 6 < /5 Ĕ6A.;I1%'6 6.4.% '6 6 6% 5g 9

17 (15) 2

29 (24) 5

32 (18) 14

49 (43) 6

127 (100) 27


†��

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 13

16 6'B)41< ' Ę$6&D ĕ.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'

6'A 8 '+% 1< ' Ę 6+A 9&%

()ĕ6 6 ) +5 9I 31 5 +6 % 2553 '6 6 < /5 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&.4.% '6 6 6% 5g 9

21,138 (6,961) 14,177

'6& 6''4/+Ĕ6 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2554 ;J1 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6& '6 6 6% 5g 9 )6& Č

2 (1,351) 12,828

+5 9I 31 5 +6 % 2554 '6 6 < /5 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&.4.% '6 6 6% 5g 9

21,140 (8,312) 12,828

'6& 6''4/+Ĕ6 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 ;J1 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6& '6 6 6% 5g 9 )6& Č

5 (1,351) 11,482

+5 9I 31 5 +6 % 2555 '6 6 < /5 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&.4.% '6 6 6% 5g 9

21,147 (9,665) 11,482


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 14

.8 '5"&ĘE%Ĕ% 9 +5

Ĕ6 +6% 8&%

6'A 8 '+% 1;I G

'+%

()ĕ6 6 ) +5 9I 31 5 +6 % 2553 '6 6 < /5 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&.4.% /5 .N6'1 Ĕ6A ;I1 6' ĕ1& Ĕ6 1 .8 '5"&Ę '6 6 6% 5g 9 '6& 6''4/+Ĕ6 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2554 ;J1.8 '5"&Ę N6/ Ĕ6&A 8 ) < D '8-5 &Ĕ1& Ĕ6 5 N6/ Ĕ6& '5 '< 6'B ) Ĕ6A 8 '6 Ĕ6 '4A , '6 6 6% 5g 9 )6& Č +5 9I 31 5 +6 % 2554 '6 6 < /5 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&.4.% /5 .N6'1 Ĕ6A ;I1 6' ĕ1& Ĕ6 1 .8 '5"&Ę '6 6 6% 5g 9 '6& 6''4/+Ĕ6 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 ;J1.8 '5"&Ę Ĕ6 5 N6/ Ĕ6& '5 '< 6'B ) Ĕ6A 8 '6 Ĕ6 '4A , '6 6 6% 5g 9 )6& Č +5 9I 31 5 +6 % 2555 '6 6 < /5 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&.4.% /5 .N6'1 Ĕ6A ;I1 6' ĕ1& Ĕ6 1 .8 '5"&Ę '6 6 6% 5g 9

1,249 (1,105) 144

2,047 (938) 1,109

3,296 (938) (1,105) 1,253

(2) 142

102 (140) 4 1,075

102 (2) (140) 4 1,217

1,247 (1,105) 142

2,158 (1,083) 1,075

3,405 (1,083) (1,105) 1,217

142

36 (152) (2) 957

36 (152) (2) 1,099

1,247 (1,105) 142

2,188 (1,231) 957

3,435 (1,231) (1,105) 1,099


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

6'A 8 A "64 8 6'

()ĕ6 6 ) +5 9I 31 5 +6 % 2553 '6 6 < /5 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&.4.% '6 6 6% 5g 9

60 (53) 7

'6& 6''4/+Ĕ6 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2554 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6& '6 6 6% 5g 9 )6& Č

(3) 4

+5 9I 31 5 +6 % 2554 '6 6 < /5 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&.4.% '6 6 6% 5g 9

60 (56) 4

'6& 6''4/+Ĕ6 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6& '6 6 6% 5g 9 )6& Č

(2) 2

+5 9I 31 5 +6 % 2555 '6 6 < /5 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&.4.% '6 6 6% 5g 9

60 (58) 2


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 15

$6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9 .8 '5"&ĘB)4/ 9J.8 $6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9$6&/)5 6 6' N6%6/5 ) 5 6% +6%A/%64.% E ĕB. '+%E+ĕD B. 6 4 6'A 8 C &%9'6&)4A19& 5 9J

6'A 8 '+% 2555

2554

()ĕ6 6 ) .8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9 / 9J.8 $6-9A 8 E ĕ'1 6' 5 5g 9 '+%

685 685

846 (120) 726

$6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9 N6 + 6 )B Ĕ6 5I+ '6+ 5J N6 + 6%+8 9/ 9J.8 6% B. 6 4 6'A 8 .8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9 :I A ě ) 6 ) 6 < 6 $6-9 9I&5 E%ĔE ĕ 4'5 '=ĕE%ĔA 8 N6 + 9I%9 +6%A ě E E ĕ Ĕ1 ĕ6 B Ĕ+Ĕ6 4%9 N6E' 6 $6-9D 1 6 A"9& "1 9I 4D ĕ '4C& Ę 6 $6-9 5J )<Ĕ%18 5 %9'6& 6' 6 < 6 $6-9 9I&5 E%ĔE ĕD ĕ& E A";I1/5 ) 5 N6E' 6 $6-9D 1 6 N6 + 4,090 )ĕ6 6 (2554 : 5,606 )ĕ6 6 ) :I '5 '=ĕA ě .8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9D N6 + 9I 6 +Ĕ6 4 D ĕE ĕ A ě N6 + 460 )ĕ6 6 (2554 : 632 )ĕ6 6 )


18 5

.8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9 &1 A/);1 ĕ Č '6& 6' 9I 5 : D A "64 N6E' 6 < ) '4 6 6') 15 '6$6-9 9I 5 : D A "64 N6E' 6 < '6& 6' 9I 5 : D .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/< ĕ &1 A/);1 )6& Č 977 18 (363) 632

1 18

6 < .4.%& %6

22 (5)

Ĕ6A ;I1/ 9J . .5& 4.=g

(15)

10 (25)

Ĕ6A.;I1%'6 6 / Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&

14

18 (4) 2 81

32 47

()ĕ6 6 )

1 24

23 -

6'A 8 '+% .N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2554 Ĕ6A ;I1.8 ĕ6 ĕ < A.;I1%.$6" A 8 %5 N6'5 6 6'A 8

7

7 -

'6&E ĕ '5 )Ĕ+ / ĕ6

85

85 -

1;I G

(363) 4 846

1,174 31

'+%

6'A )9I& B ) 1 .8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9 B)4/ 9J.8 $6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9 ( Ĕ1 '6& 6'/5 ) ) 5 1 &1 <) 9I%9 5 / Ĕ+& 6 A H $6-9A 9&+ 5 ) .N6/'5 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2554 B)4 2555 '4 1 ĕ+&

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4


.8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9 &1 A/);1 ĕ Č '6& 6' 9I 5 : D A "64 N6E' 6 < ) '4 6 '5 '< ) 6 < 6 6' '4%6 6' 6%/)5 8 ,6. 'Ę '4 5 $5&.N6/'5 C ' 6' ) '4C& Ę " 5 6 '6& 6' 9I 5 : D .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/< ĕ C1 E .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8 &1 A/);1 )6& Č 632 (172)

460

(13) 5

6 < .4.%& %6

18 -

Ĕ6A ;I1/ 9J . .5& 4.=g

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

(17)

-

(15) (2)

Ĕ6A.;I1%'6 6 / Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&

14

-

14 -

80

-

81 (1)

()ĕ6 6 )

(32) (8)

-

24 -

.N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 Ĕ6A ;I1.8 ĕ6 ĕ < A.;I1%.$6" A 8 %5 N6'5 6 6'A 8

90

(4)

7 87

'6&E ĕ '5 )Ĕ+ / ĕ6

61

23 1

85 (48)

1;I G

'6& 6 '4 N6 Č

(45) 685

23 (3)

846 (136)

'+%


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

Ĕ6A.;1I %'6 6/ Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&

6'A 8 '+% .N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2554 ) Ĕ6 6 15 '6 B) A )9I& A 8 '6 Ĕ6 '4A ,

'+%

()ĕ6 6 ) / 9.J 8 $6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9 &1 A/);1 ĕ Č '6& 6' 9I 5 : D A "64 N6E' 6 < '6& 6' 9I 5 : D .Ĕ+ 1 =ĕ ;1/< ĕ &1 A/);1 )6& Č

(133) 19 (6) (120)

(131) (131) 17 17 (6) (6) (120)

2 (2)

6'A 8 '+% .N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 Ĕ6A.;1I %'6 6/ Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&

/ 9.J 8 $6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9 &1 A/);1 ĕ Č C1 E / 9J.8 9IA 9I&+ ĕ1 C & ' 5 .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9&I A)8 &1 A/);1 )6& Č

(120) 120 -


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 16 / 9.J 8 9%I $9 6'4 1 A 9&J

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) / 9.J 8 /%< A+9& .Ĕ+ 1 A 8 =ĕ&;%'4&4&6+ 9I : N6/ N6'4 $6&D / :I Č .Ĕ+ 1 /<ĕ =ĕ 9I : N6/ N6'4$6&D / :I Č / 9J.8 6%.5gg6A Ĕ6 6'A 8 : N6/ N6'4 $6&D / :I Č

109 -

1,323 3,297

-

-

7 116

7 4,627

1 1

1 1

3,331 3,695 21 7,047 7,163

1,935 3,693 25 5,653 10,280

1 1 2

1 1 2

/ 9.J 8 E%Ĕ/%< A+9& A 8 =ĕ&;%'4&4&6+ /<ĕ =ĕ / 9J.8 6%.5gg6A Ĕ6 6'A 8 '+%

6'A )9I& B ) A 8 =ĕ&;%.N6/'5 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % %9 5 9J

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) +5 9I 1 % '6 % A 8 =ĕA"8I% Ĕ6& ; A 8 =ĕ&;% Ĕ6D ĕ Ĕ6&D 6' 5 /6A 8 =ĕ&;% 5 N6/ Ĕ6& A"8I% :J 6 6'A )9I& B ) . 6 4A ĕ6/ 9-J 1< ' Ę C1 E / 9J.8 9IA 9I&+ ĕ1 C & ' 5 .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8 '5 '< 6'B ) Ĕ6A 8 '6 Ĕ6 '4A , +5 9I 31 5 +6 %

10,280 1,617 (3,467) 6 282

8,405 3,785 (2,473) 6 460

2 1 (1) -

3 (1) -

(1,431) (124) 7,163

97 10,280

2

2

†ŽŠ


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 /<ĕ =ĕ'4&4&6+ +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 /<ĕ =ĕ'4&4&6+A ě /<ĕ =ĕ 1 E & % N6 + 2 < + A 8 7,000 )ĕ6 6 %=) Ĕ6/ Ĕ+&)4 1,000 :I A ě /<ĕ =ĕ 8 '4 < ;I1 =ĕ ;1E%Ĕ%9/)5 '4 5 E%Ĕ ĕ1&.8 8B)4%9 =ĕB =ĕ ;1/<ĕ =ĕ%9'6&)4A19& 5 9J 15 '6 N6/ N6'4 +5 9I N6/ Ĕ6& N6 + / Ĕ+& N6 + A 8 1 A 9J& Ĕ1 Č Ĕ6& 1 A 9J&

&1 A/);1 +5 9I 31 5 +6 % 2555 2554

N6/ N6'4 ; A 8 ĕ

()ĕ6 ) ()ĕ6 6 ) " & 6 ".&.2552 6 ".& 2552 " &

3.3 3.7

3,300 3,700

()ĕ6 6 ) 'ĕ1&)4 5.25 'ĕ1&)4 6.15

< E '%6. < E '%6.

' N6/ E Ĕ 1 5J N6 + D +5 9I 6 ".&. 2555 ' N6/ E Ĕ 1 5J N6 + D +5 9I 6 ".&. 2557

'+%/<ĕ =ĕ /5 ĕ < D 6'11 /<ĕ =ĕ .< 8

-

3,300

3,700 3,700 (5) 3,695

3,700 7,000 (10) 6,990

E & %%9 ĕ1 N6 5 9I ĕ1 8 5 8 6% '+% 5J 6''5 -615 '6.Ĕ+ 6 6'A 8 9I N6/ E+ĕD ĕ1 N6/ +Ĕ6 ĕ+&.8 8B)4/ ĕ6 9I 1 =ĕ11 /<ĕ =ĕB)4 =ĕ ;1/<ĕ =ĕ 15 '6 1 A 9J& 1 A 8 =ĕ&;% 1 )<%Ĕ 18 5 B)4 '8-5 B. E ĕ 5 9J

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) '+%A 8 =&ĕ %; 15 '6 1 A 9J& 9I 15 '6 1 A 9J&)1& 5+

4,184 2,979 7,163

7,048 3,232 10,280

2 2

2 2


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

('ĕ1&)4) 15 '6 1 A 9&J 5+A )9&I Ĕ+ J6N / 5 A 8 =ĕ&;%'4&4&6+ /<ĕ =ĕ / 9J.8 6%.5gg6A Ĕ6 6'A 8

2.77 5.73 3.87

3.24 6.15 3.53

5.75

6.38

A 8 =ĕ&;%'4&4&6+ +5 9I 31 5 +6 % 2555 %9 N6/ N6'4 ; 5 Ĕ1E 9J

N6'4 ; D Č

6'A 8 '+% A 8 =ĕ&;% / 9J.8 6%.5gg6 A Ĕ6 6'A 8

6'A 8 A "64 8 6' A 8 =ĕ&;% / 9J.8 6%.5gg6 A Ĕ6 6'A 8

()Ä•6 6 ) 2556 2557 2558 A Ä› Ä• E '+%

109 3,813 3,213 7,135

7 7 14 28

-

1 1 2

+ A 8 =&ĕ %; +5 9I 31 5 +6 % 2555 E & %%9+ A 8 =ĕ&;%'4&4.5J 9I&5 E%ĔD ĕ 6 6 6'/)6&B/Ĕ A ě N6 + A 8 '+% 1,468 )ĕ6 6 (2554:

799 )ĕ6 6 B)4 20 )ĕ6 1))6'Ę 1))6'Ę../'5/'5 3~) .5gg6A 8 ='ĕ 4&4&6+.N6/'5 C ' 6' 6+A 9&%E & % 6 E & %E ĕ) 6%D .5gg6A 8 =ĕ'4&4&6+ 5 6 6'B/Ĕ / :I D '4A , A%;I1+5 9I 29 .8 /6 % 2554 N6 + 137 )ĕ6 1))6'Ę 1))6'Ę../'5/'5 3 A";I1. 5 . < 6') < D C ' 6' 6+A 9&%E & % 6 .5gg6A 8 =ĕ%9'4&4A+)6 10 Č A 8 =ĕ&;% 6%.5gg6%915 '6 1 A 9J&A 8 =ĕ )1& 5+C &1ĕ6 18 5 6 6' )6 )1 1 (London Inter-Bank Offered Rate) (“LIBOR�) 5J 9JE & % ĕ1 8 5 8 6% A ;I1 E .5gg6A 8 =ĕD 6' N6' 15 '6.Ĕ+ 6 6'A 8 6' Ĕ6&A 8 ę ) 6' JN6 '4 5 B)4 6' 6&/';1C1 .8 '5"&Ę

†ŽŒ


†Ž�

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ %=) Ä”6&< 8 ''% %=) Ä”6&< 8 ''% 1 A 8 =Ä•&%; '4&4&6+ N6 + C &D Ä•+8 9 8 ) '4B.A 8 . '5 C &D Ä•15 '6 1 A 9J&.Ä”+ A"8I% 1 A 8 =Ä•&;% 1 )<Ä”%18 5 9I%9 )5 - 4 )Ä•6& ): 5 %=) Ä”6 6% 5g 9B)4%=) Ä”6&< 8 ''% 1 / 9J.8 9I%9$6'4 1 A 9J&%9 5 9J

6'A 8 '+% 2555 %=) Ĕ6 6% 5g 9

2554 %=) Ĕ6 &< 8 ''%

%=) Ĕ6 6% 5g 9

%=) Ĕ6 &< 8 ''%

()ĕ6 6 ) A 8 =ĕ&;%'4&4&6+ (E%Ĕ'+%/ 9J.8 6%.5gg6A Ĕ6 6'A 8 ) 17

7,026

7,063

5,628

5,695

A Ä•6/ 9 J 6' Ä•6B)4A Ä•6/ 91J ;I

/%6&A/ <

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()Ä•6 6 ) A Ä•6/ 9 J 6' Ä•6 8 6' 9IA 9I&+ Ä•1 5 < )$6& 1 '+%

4

6 454 460

6 745 751

-

-

A Ä•6/ 91J ;I

1,338

1,006

85

79

'+%

1,798

1,757

85

79


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 A ĕ6/ 9J1;I +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 '4 1 ĕ+&

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) Ĕ6D ĕ Ĕ6& ĕ6 Ĕ6& A H ĕ6 Ĕ6& Ĕ6/<ĕ =ĕ '6&E ĕ'1 5 5g 9B)4A 8 '5 )Ĕ+ / ĕ6 A ĕ6/ 9J1;I $6-9 ĕ6 Ĕ6& A 8 %5 N6'5 6 )= ĕ6 '4%6 6' Ĕ6 '4 5 +6%A.9&/6& 1;I G '+%

18

477 131 526 70 45 26 11 52 1,338

447 329 42 68 33 36 51 1,006

75 10

85

69 9 1 79

$6'4 = "5 ) '4C& Ę" 5 6 $6'4 = "5 6% B. 6 4 6'A 8 %9 5 9J

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) %=) Ĕ6 ę < 5 1 $6'4 = "5 9IE%ĔE ĕ 5 D/ĕ%9 1 <

372

232

47

38


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 6'A )9I& B ) D %=) Ĕ6 ę < 5 1 / 9J.8 ) '4C& Ę'4&4&6+" 5 6 .N6/'5 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 %9 5 9J

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) +5 9I 1 % '6 % ) '4C& Ę Ĕ6&C &C ' 6' ) 6 < 6 6' '4%6 6' 6%/)5 8 ,6. 'Ę '4 5 $5& .N6/'5 C ' 6' ) '4C& Ę" 5 6 ĕ < '8 6'D 1 9 ĕ < '8 6' ę < 5 B)4 1 A 9J& 6 $6'4 = "5 ( N6E') 6 < 6 15 '6B) A )9I& +5 9I 31 5 +6 %

232 (9)

217 (20)

38 -

39 (5)

118

-

4

-

33 (2) 372

32 3 232

5 47

4 38

Ĕ6D ĕ Ĕ6& 9I'5 '=ĕD A "64 N6E' 6 < .N6/'5 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 %9 5 9J

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) 20 13 33

ĕ < '8 6'D 1 9 B)4 ĕ < '8 6' ę < 5 1 A 9J& 6 $6'4 = "5 '+%

17 15 32

3 2 5

2 2 4

ĕ1.%%< 8/)5 D 6' '4%6 6' 6%/)5 6' 8 ,6. 'Ę '4 5 $5& 9ID ĕ +5 .8J '1 '4&4A+)6 9I'6& 6 %9 5 9J

'4%6 6'15 '6 8 ) (A )9&I ) '4%6 6'15 '6 6'A"8I% :J 1

A 8 A ;1 D 1 6 (A )9I&)

'ĕ1&)4

6'A 8 '+% 31 5 +6 % 2555 2554 3.7 - 3.9 5.0

6'A 8 A "64 8 6' 31 5 +6 % 2555 2554 3.7 5.0

'ĕ1&)4

7.5 – 15.0

7.5

6.0

6.0


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 19

< A';1 /< ĕ B)4.Ĕ+ A 8 %=) Ĕ6/< ĕ 6'A )9I& B ) < A';1 /<ĕ B)4.Ĕ+ A 8 %=) Ĕ6/<ĕ B. E ĕ 5 9J < 9I11 B)4A'9& N6'4A H%%=) Ĕ6B)ĕ+ .Ĕ+ A 8 N6 + /<ĕ /<ĕ .6%5g %=) Ĕ6/<ĕ

< 4A 9&

()Ä•6 /<Ä• ) +5 9I 1 % '6 % 2554 11 /<Ä• A"8I% < +5 9I 31 5 +6 % 2554 11 /<Ä• A"8I% < +5 9I 31 5 +6 % 2555 20

5,000 5,000 5,000

'+%

()Ä•6 6 ) 3,201 5 3,206 3,206

3,201 5 3,206 3,206

10,198 144 10,342 10,342

13,399 149 13,548 13,548

.Ä”+ A 8 < B)4.N6'1 6% /%6&

.Ĕ+ A 8 %=) Ĕ6/<ĕ 6% 5gg5 8B/Ĕ "'4'6 5gg5 8 '8-5 %/6 N6 5 ".,. 2535 %6 '6 51 D ' 9 9I '8-5 A. 1 6&/<ĕ .= +Ĕ6%=) Ĕ6/<ĕ 9I 4A 9& E+ĕ '8-5 ĕ1 N6 Ĕ6/<ĕ .Ĕ+ A 8 9J 5J A ě < .N6'1 (“.Ĕ+ A 8 %=) Ĕ6/<ĕ �) .Ĕ+ A 8 %=) Ĕ6/<ĕ 9J 4 N6E Ĕ6&A ě A 8 ę )E%ĔE ĕ

.N6'1 6% /%6& 6% 5gg5 8B/Ĕ "'4'6 5gg5 8 '8-5 %/6 N6 5 ".,. 2535 %6 '6 116 '8-5 4 ĕ1 5 .'' < .N6'1 (“.N6'1 6% /%6&�) 1&Ĕ6 ĕ1&'ĕ1&)4 5 1 N6E'.< 8 '4 N6 Č/)5 6 /5 6 < .4.%& %6 ( ĕ6%9) +Ĕ6.N6'1 5 )Ĕ6+%9 N6 + E%Ĕ ĕ1& +Ĕ6'ĕ1&)4 10 1 < 4A 9& A 8 .N6'1 9J 4 N6E Ĕ6&A ě A 8 ę )E%ĔE ĕ 21

6' '8/6' 5 6'.Ĕ+ < +5 < '4. ĘD 6' '8/6' 5 6' < 1 '8-5 A";I1.'ĕ6 ) 1 B 9IA/%64.% Ĕ1 =ĕ ;1/<ĕ B)4A ě '4C& Ę Ĕ1 =ĕ%9.Ĕ+ E ĕA.9&1;I )1 A";I1 N6' E+ĕ :I C ' .'ĕ6 1 < 9IA/%64.%A";I1D/ĕ%9 +6%.1 )ĕ1 B)4.6%6' . 5 . < B 6' '8/6'A 8 ) < /';1 C1 6.D 6') < Ĕ6 G 15 4A ě 6'.'ĕ6 %=) Ĕ6 B)4A.'8% +6%%5I 6 6'A 8 D/ĕ 5 )<Ĕ%18 5

‡…†


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 22

N6E' 6 < A H A.'H 1; I 1 Ę '4 1 1 N6E' 6 < A H A.'H 1;I .N6/'5 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 B. E ĕ 5 9J

6'A 8 '+% 2555

2554

()ĕ6 6 ) ) Ĕ6 6 6'B ) Ĕ6 6'A 8 Ĕ6 '4A , 6'A )9I& B ) D %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 A 8 ) < A ;I1 6& N6E'( 6 < ) 9IA 8 :J '4/+Ĕ6 Č /5 6' '5 '< 6' 5 '4A$ D/%Ĕ.N6/'5 ( N6E') 6 < 9'I +%1&=ĔD A "64 N6E' 6 < .Ĕ+ B Ĕ N6E' 6 < A H A.'H 1;I 1 '8-5 'Ĕ+% '5 '< ) 6 < 6 6' '4%6 6' 6%/)5 8 ,6. 'Ę '4 5 $5&.N6/'5 C ' 6' ) '4C& Ę" 5 6 $6-9A 8 E ĕ 9IA 9I&+ ĕ1 5 1 Ę '4 1 1

N6E' 6 < A H A.'H 1;I N6E' 6 < A H A.'H 1; I .N6/'5 Č–.< 8 6 $6-9A 8 E ĕ

(9) 34

135 14

(25)

9 1

(13)

1 1

(372)

-

2323 (348)

137

6'A 8 A "64 8 6' 2555

2554

()ĕ6 6 ) 6'A )9I& B ) D %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 A 8 ) < A ;I1 6& N6E' 9IA 8 :J '4/+Ĕ6 Č /5 6' '5 '< 6' 5 '4A$ D/%Ĕ.N6/'5 ( N6E') 6 < 9'I +%1&=ĔD A "64 N6E' 6 < '5 '< ) 6 < 6 6' '4%6 6' 6%/)5 8 ,6. 'Ę '4 5 $5&.N6/'5 C ' 6' ) '4C& Ę" 5 6 $6-9A 8 E ĕ 9IA 9I&+ ĕ1 5 1 Ę '4 1 1

N6E' 6 < A H A.'H 1;I N6E' 6 < A H A.'H 1; I .N6/'5 Č–.< 8 6 $6-9A 8 E ĕ

28 (25)

14 3

(13)

1

(3)(3)

-

-

1


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 ) '4 6 $6-9A 8 E ĕ 9IA 9I&+ ĕ1 5 B Ĕ)41 Ę '4 1 1 N6E' 6 < A H A.'H 1;I B. E ĕ 5 9J

6'A 8 '+%

N6 + Ĕ1 $6-9

2555 '6&E ĕ ( Ĕ6D ĕ 6Ĕ &) $6-9

N6 + .< 8/)5

$6-9

N6 + Ĕ1 $6-9

2554 '6&E ĕ ( Ĕ6D ĕ 6Ĕ &) $6-9

N6 + .< 8/)5

$6-9

()ĕ6 6 ) ) Ĕ6 6 6'B ) Ĕ6

6'A 8 Ĕ6 '4A , 6'A )9I& B ) D %=) Ĕ6 &< 8 ''% 1 A 8 ) < A ;I1 6& .Ĕ+ B Ĕ N6E' 6 < A H A.'H 1;I 1 '8-5 'Ĕ+% '5 '< ) 6 < 6 6' '4%6 6' 6%/)5 8 ,6. 'Ę '4 5 $5&.N6/'5 C ' 6' ) '4C& Ę" 5 6 '+% N6E' 6 < A H A.'H 1; I

(9)

-

(9)

135

-

135

9

-

9

1

-

1

1

-

1

1

-

1

(372) (371)

23 23

(349) (348)

137

-

137

6'A 8 A "64 8 6'

N6 + Ĕ1 $6-9

2555 '6&E ĕ ( Ĕ6D ĕ 6Ĕ &) $6-9

N6 + .< 8/)5

$6-9

N6 + Ĕ1 $6-9

2554 '6&E ĕ ( Ĕ6D ĕ 6Ĕ &) $6-9

N6 + .< 8/)5

$6-9

()ĕ6 6 ) 6'A )9I& B ) D %=) Ĕ6 &< 8 ''% 1 A 8 ) < A ;I1 6& '5 '< ) 6 < 6 6' '4%6 6' 6%/)5 8 ,6. 'Ę '4 5 $5&.N6/'5 C ' 6' ) '4C& Ę" 5 6 '+% N6E' 6 < A H A.'H 1; I

3

-

3

1

-

1

(3) -

-

(3) -

1

-

1


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 23 ĕ1%=) 6 6'A 8 N6B 6%.Ĕ+ 6 )<Ĕ%18 5 E ĕ N6B 6%.Ĕ+ 6 A ě <' 8 /)5 E ĕ 5 9J 6'.;I1.6'C ' % 6 %E'ĕ.6& D '4A ,

D/ĕ '8 6'C ',5" ĘA );I1 9I N6/ Ĕ6&C ',5" ĘA );I1 9I D/ĕA Ĕ61< ' ĘB)4 1< ' ĘA.'8%D '4A ,E &

<' 8 6+A 9&%B)4 <' 8 Ĕ6 '4A ,

D/ĕ '8 6'+ ' 6+A 9&%B)4 <' 8 9IA 9I&+A ;I1 D/ĕ '8 6''5 .Ĕ .5gg6 Ĕ6 6+A 9&% N6/ Ĕ6&B)4D/ĕ '8 6' 9IA 9I&+A ;I1 5 .;I1 D/ĕ '8 6' 18 A 1'ĘA H B)4D/ĕ '8 6''4 C ',5" ĘD '4A ,)6+B)4 '4A , 5%"= 6 ( '8-5 9ID/ĕ '8 6'A ';1 Ĕ6&C ',5" ĘA );I1 9ID '4A , 5%"= 6 1&=Ĕ'4/+Ĕ6 6'A ĕ6.=Ĕ '4 + 6')ĕ%)4)6& 6%/%6&A/ < '4 1

6'A 8 ĕ1 9I 9)

<' 8 .;I1B)4C - 6

D/ĕ '8 6'. 6 9+8 &<C ' 5, Ę (/&< N6A 8 <' 8 A ;I1 6 = 1 A)8 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' A%;I1A ;1 %9 6 % 2550) D/ĕ '8 6'D <' 8 C - 6 5 '8-5 D )<Ĕ%B)4 < )$6& 1 B)4D/ĕ '8 6'B)4 "5 6 Ĕ1 6 6' N6A. 1.8I 9"8%"Ę 8 8 1)B)4/ 5 .;118A)H '1 8 .Ę

<' 8 1 8 6'B)41;I G

<' 8 1 8 6'B)41;I G A ě <' 8 A 9I&+ 5 8 ''%";J 6 A";I1.Ĕ A.'8% 6'"5 6B)4A.'8% N6)5 6 <' 8 '4/+Ĕ6 )<Ĕ%18 5 N6/ A Đ6/%6& 6 6'A 8 B)4 6' N6A 8 6 1 )<Ĕ%18 5 '+% 5J 6' Ĕ+&A/);1. 5 . < '8-5 D )<Ĕ%D/ĕE ĕ%6 :I B/)Ĕ A 8 < $6&D ĕA ;I1 E 9IA/%64.% B)4'+% : 6'. 5 . < ĕ6 A C C)&9.6'. A ,


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 ĕ1%=) 6 6'A 8 N6B 6%.Ĕ+ 6 <' 8

.;I1.6' C ' % 6 % E'ĕ.6&

6+A 9&% B)4 <' 8 Ĕ6 '4A ,

6'A 8 '+% .N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2554 <' 8 1

'5 '<

.;I1B)4 8 6' '6& 6' 5g 9 C - 6 B)41;I G '4/+Ĕ6 5

)<Ĕ%18 5

()ĕ6 6 ) -

6,624

1,305

126

(36)

8,019

9,912 -

157 (4,508) (1,405)

(1,187) (548)

(95) (305)

5 30

10,069 (5,785) (2,228)

9,912 -

868 (85)

(430) -

(274) -

(1) -

10,075 (85)

-

150

36

7,264 57

-

7,264 243

9,912 -

933 (452) (502)

(394) (1) -

7,047 (2) (4)

(1) -

17,497 (455) (506)

9,912

(21)

(395)

7,041

(1)

16,536

-

(467)

-

-

-

(467)

9,912

291 (197)

199 (196)

7,041

(1)

490 16,559

ĕ1%=)1; I .8 '5"&ĘB& 6%.Ĕ+ 6 A 8 ) < 6%+8 9.+Ĕ E ĕA.9&

16,707

26,849 271

1,692 -

10,027 -

(19) -

38,549 16,978

.8 '5"&Ę'+% 1 )<%Ĕ 18 5

16,707

27,120

1,692

10,027

(19)

55,527

'6&E ĕ .Ĕ+ B Ĕ N6E' 6 A 8 ) < D '8-5 'Ĕ+% ĕ < 6&B)4 '8 6' Ĕ6D ĕ Ĕ6&D 6' 6&B)4 '8/6' N6E'( 6 < ) 6 6' N6A 8 6 6 < 6 15 '6B) A )9I& .< 8 N6E' 6 6' 6& A 8 ) < 6 .Ĕ+ D '8-5 'Ĕ+% '6&E ĕ1;I N6E' ( 6 < ) Ĕ1 ĕ < 6 6'A 8 B)4$6-9 ĕ < 6 6'A 8 $6-9A 8 E ĕ N6E' ( 6 < ) 6 6' N6A 8 6 Ĕ1A ;1I

6 < 6 6' N6A 8 6 9I& A)8 .< 8 6 $6-9 6 < 1 .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <% N6E' ( 6 < ) .< 8.6N /'5 Č

/ 9J.8 B& 6%.Ĕ+ 6 A 8 =ĕ&;%

-

2,762 10,277

5,499 -

7,674 3

(14) -

15,921 10,280

/ 9.J 8 '+% 1 )<%Ĕ 18 5

-

13,039

5,499

7,677

(14)

26,201

Ĕ6A.;I1%'6 6 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&

-

674 1,483

4 -

19 8

-

697 1,491

Ĕ6A.;1I %'6 6B)4 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&

-

2,157

4

27

-

2,188


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

.;I1.6' C ' % 6 % E'ĕ.6&

6+A 9&% B)4 <' 8 Ĕ6 '4A ,

6'A 8 '+% .N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 <' 8 1

'5 '<

.;I1B)4 8 6' '6& 6' 5g 9 C - 6 B)41;I G '4/+Ĕ6 5

)<Ĕ%18 5

()ĕ6 6 ) -

7,266

1,192

132

(45)

8,545

14,171 -

165 (4,484) (1,446)

(1,079) (575)

(103) (344)

45

14,336 (5,666) (2,320)

14,171 -

1,501 19

(462) -

(315) -

-

14,895 19

-

(175) 106

37

90

-

(175) 233

14,171 -

1,451 (420) (346)

(425) (1) (1)

(225) (3) (5)

-

14,972 (424) (352)

14,171

685

(427)

(233)

-

14,196

-

(509)

-

-

-

(509)

14,171

(102) 74

202 (225)

(233)

-

100 13,787

ĕ1%=)1; I .8 '5"&ĘB& 6%.Ĕ+ 6 A 8 ) < 6%+8 9.+Ĕ E ĕA.9&

18,425

25,440 274

1,483 59

2,386 -

(12) -

29,297 18,758

.8 '5"&Ę'+% 1 )<%Ĕ 18 5

18,425

25,714

1,542

2,386

(12)

48,055

'6&E ĕ .Ĕ+ B Ĕ N6E' 6 A 8 ) < D '8-5 'Ĕ+% ĕ < 6&B)4 '8 6' Ĕ6D ĕ Ĕ6&D 6' 6&B)4 '8/6' N6E' ( 6 < ) 6 6' N6A 8 6 N6E' 6 15 '6B) A )9&I .< 8 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 1 .8 '5"&Ę 1 .Ĕ+ 6' N6A 8 6 9I& A)8 '6&E ĕ1;I N6E' ( 6 < ) Ĕ1 ĕ < 6 6'A 8 B)4$6-9 ĕ < 6 6'A 8 $6-9A 8 E ĕ N6E' ( 6 < ) 6 6' N6A 8 6 Ĕ1A ;1I

6 < 6 6' N6A 8 6 9I& A)8 .< 8 6 $6-9 6 < 1 .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <% N6E' ( 6 < ) .< 8.6N /'5 Č

/ 9J.8 B& 6%.Ĕ+ 6 A 8 =ĕ&;%

-

4,411 7,161

5,732 -

211 2

(8) -

10,346 7,163

/ 9.J 8 '+% 1 )<%Ĕ 18 5

-

11,572

5,732

213

(8)

17,509

Ĕ6A.;I1%'6 6 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&

-

647 1,495

4 -

20 8

-

671 1,503

Ĕ6A.;1I %'6 6B)4 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&

-

2,142

4

28

-

2,174


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 .N6/'5 .6& <' 8 6+A 9&%B)4 <' 8 Ĕ6 '4A ,.6%6' B. ĕ1%=) N6B 6%.Ĕ+ 6 <' 8 A"8I%A 8%B &Ĕ1E ĕ 5 9J

6'A 8 '+% .N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2554

()ĕ6 6 )

'6&E ĕ .Ĕ+ B Ĕ N6E'D '8-5 'Ĕ+% ĕ < B)4 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 6%.Ĕ+ 6 ) 6' N6A 8 6 6%.Ĕ+ 6 6 < 6 15 '6B) A )9I& .< 8 '6&E ĕ1;I N6E' ( 6 < ) Ĕ1 ĕ < 6 6'A 8 B)4$6-9 ĕ < 6 6'A 8 N6E' ( 6 < ) 6 6' N6A 8 6 $6-9A 8 E ĕ 6 < 1 .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <% N6E' ( 6 < ) .< 8 ĕ1%=)1; I .8 '5"&Ę N6B 6%.Ĕ+ 6 '8-5 'Ĕ+% '+%.8 '5"&Ę

'8 6' <' 8 6+A 9&% 5,738 -

'8 6' 18 A 1'ĘA H B)4.;I1 368 157

'8 6' '4 C ',5" Ę 576 -

1;I G -

'5 '<

'6& 6' 5g 9 (58) -

'+%.Ĕ+ 6 9I N6A 8

6 1&=Ĕ 6,624 157

.Ĕ+ 6 9I/&< N6A 8 6 630 -

6' A 8 '+% 7,254 157

(4,993)

(418)

(512)

(52)

62

(5,913)

(1,089)

(7,002)

745

107

64

(52)

4

868

(459)

409

(85) 150

-

(85) 150

933 (452)

(459) (27)

474 (479)

481 (502)

(486) 19

(5) (483)

291 270

(467)

291 (197)

22,831

265

3,997

1

(245)

26,849

-

26,849 271 27,120

/ 9J.8 N6B 6%.Ĕ+ 6 A 8 =ĕ&;% '+%/ 9.J 8

1,674

140

1,014

1

(67)

2,762

-

2,762 10,277 13,039

Ĕ6A.;I1%'6 6 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6& '+% Ĕ6A.;1I %'6 6 B)4 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&

413 1,481

11 2

250 -

-

-

674 1,483

452 -

1,126 1,483

1,894

13

250

-

-

2,157

452

2,609


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

6'A 8 '+% .N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555

()ĕ6 6 )

'6&E ĕ .Ĕ+ B Ĕ N6E'D '8-5 'Ĕ+% ĕ < B)4 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 6%.Ĕ+ 6 ) 6' N6A 8 6 6%.Ĕ+ 6 N6E' ( 6 < ) 6 15 '6B) A )9I& .< 8 6 < 6 6' ĕ1& Ĕ6 '6&E ĕ1;I N6E' ( 6 < ) Ĕ1 ĕ < 6 6'A 8 B)4$6-9 ĕ < 6 6'A 8 N6E' ( 6 < ) 6 6' N6A 8 6 $6-9A 8 E ĕ 6 < 1 .Ĕ+ E ĕA.9& 9IE%Ĕ%91N6 6 + <% N6E' ( 6 < ) .< 8 ĕ1%=)1; I .8 '5"&Ę N6B 6%.Ĕ+ 6 '8-5 'Ĕ+% '+%.8 '5"&Ę

'8 6' <' 8 6+A 9&% 6,316 -

'8 6' 18 A 1'ĘA H B)4.;I1 289 165

'8 6' '4 C ',5" Ę 700 -

1;I G -

'5 '<

'6& 6' 5g 9 (39) -

'+%.Ĕ+ 6 9I N6A 8

6 1&=Ĕ 7,266 165

.Ĕ+ 6 9I/&< N6A 8 6 434 -

6' A 8 '+% 7,700 165

(4,980)

(366)

(573)

(121)

110

(5,930)

(952)

(6,882)

1,336

88

127

(121)

71

1,501

(518)

983

19 (175) 106

(1) 1

18 (175) 107

1,451 (420)

(518) (15)

933 (435)

1,031 (346)

(533) 24

498 (322)

(102) 583

(509)

(102) 74

22,406

266

1,413

17

(431)

23,671

1,769

25,440 274 25,714

/ 9J.8 N6B 6%.Ĕ+ 6 A 8 =ĕ&;% '+%/ 9.J 8

2,116

172

275

143

(64)

2,642

1,769

4,411 7,161 11,572

Ĕ6A.;I1%'6 6 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6& '+% Ĕ6A.;1I %'6 6 B)4 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6&

378 1,491

8 4

261 -

-

-

647 1,495

417 -

1,064 1,495

1,869

12

261

-

-

417

2,559

2,142


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ Ä•1%=) 6 6'A 8 N6B 6%.Ä”+ 6 $=%8,6. 'Ę .N6/'5 '6&E Ä•B)4 ) 6' N6A 8 6 '+% 6 .Ä”+ 6 D 6'A 8 '+%.6%6' B. Ä•1%=) N6B 6%.Ä”+ 6 6 $=%8,6. 'Ę A"8I%A 8%B &Ä”1.N6/'5 ÄŒ.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 E Ä• 5 9J

'6&E Ä• 2555

2554

) 6' N6A 8 6 6%.Ä”+ 6 2555 2554

.8 '5"&Ę* 2555

2554

()Ä•6 6 ) '4A ,E & '4A , 5%"= 6 '4A ,)6+ '4A ,11.A 'A)9& '4A , 9 '4A ,18 A 9& '4A ,g9I <Ä? '4A ,1;I G '+%.Ä”+ 6 9I N6A 8 6 1&=Ä” .Ä”+ 6 9I& A)8

18,253 753 1,082 16 317 833 1,193

13,490 616 1,088 15 304 877 1,068

15,599 141 388 (597) (195) 391 (314)

10,983 74 346 (474) (176) 246 (465)

16,164 1,374 229 24 163 103 230

16,063 2,095 1,600 222 41 227 158 307

22,447 434 22,881

17,458 630 18,088

15,413 (518) 14,895

10,534 (459) 10,075

18,287 1,606 19,893

20,713 20,713

* '4 1 ĕ+& 16 6'B)41< ' Ę 16 6'B)41< ' Ę$6&D ĕ.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' B)4.8 '5"&ĘE%Ĕ%9 5+ 24

'6&E Ä•1 ;I

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) '6&E ĕ 1 A 9J& N6E' 6 6' N6/ Ĕ6&1< ' Ę '6&E ĕ1;I G '+%

210 6 17 233

135 30 78 243

63 25 88

54 1 55

‡…Ž


‡†…

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 25

Ĕ6D ĕ 6Ĕ & 6%)5 - 4 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 6%)5 - 4 9I'+%1&=ĔD ĕ < 6' 6&B)4 6'D/ĕ '8 6' Ĕ6D ĕ Ĕ6&D 6' 6& B)4 Ĕ6D ĕ Ĕ6&D 6' '8/6' .6%6' N6%6B& 6%)5 - 4E ĕ 5 9J

6'A 8 '+% 2555

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

2554

()Ä•6 6 ) 671 1,503 1,245

Ĕ6A.;I1%'6 6 Ĕ6 5 N6/ Ĕ6& Ĕ6D ĕ Ĕ6&" 5 6 26

697 1,491 1,176

12 2 158

11 3 147

1 < .N6'1 A)9&J 9"" 5 6 )<Ĕ%18 5 E ĕ 5 5J 1 < .N6'1 A)9J& 9"" 5 6 6% +6%D "'4'6 5gg5 8 1 < .N6'1 A)9J& 9" 2530 B)4A ĕ6A ě 1 < 4A 9& C &E ĕ'5 1 <%5 8 6 '4 '+ 6' )5 A%;I1+5 9I 23 ' 6 % 2533 B)4E ĕ 4A 9& B ĕE ;I1 1 1 < A%;I1+5 9I 21 % '6 % 2536 6%'4A 9& 1 < .N6'1 A)9J& 9"" 5 6 " 5 6 ĕ1 Ĕ6&A 8 .4.%A ĕ6 1 < D 15 '6'ĕ1&)4 3 - 7 1 A 8 A ;1 B)4 )<Ĕ% 18 5 Ĕ6&.% A ĕ6 1 < 9J 6%15 '6 9I :J 1&=Ĕ 5 16&< 6 1 " 5 6 )<Ĕ%18 5 E ĕB Ĕ 5J =ĕ 5 6' 1 < '5 1 <g6 B/Ĕ / :I

A";I1 '8/6' 1 < D/ĕA ě E 6% ĕ1 N6/ 1 '4 '+ 5 9I 2 (2532) 11 6% +6%D "'4'6 5gg5 8 1 < .N6'1 A)9J& 9" 2530 )<Ĕ%18 5 Ĕ6&.% A ĕ6 1 < .N6'1 A)9J& 9" .N6/'5 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 N6 + 43 )ĕ6 6 D 6'A 8 '+% (2554 : 33 )ĕ6 6 ) B)4 N6 + 6 )ĕ6 6 D 6'A 8 A "64 8 6' (2554 : 5 )ĕ6 6 )

27

$6-9A 8 E ĕ 6' '4 &1 $6-9A 8 E ĕ.N6/'5 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % %9 5 9J

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) $6-9A 8 E ĕD Č ę < 5 Ĕ6D ĕ Ĕ6&$6-9A 8 E ĕ

217 136 353

175 331 506

-

-


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 6' '4 &1 '4/+Ĕ6 Ĕ6D ĕ Ĕ6&$6-9A 8 E ĕ 5 ) = 1 N6E' 6 5g 9 5 15 '6$6-9 9ID ĕ.N6/'5 Č.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 %9'6&)4A19& 5 9J

6'A 8 '+% 2555 2554

6'A 8 A "64 8 6' 2555 2554

()ĕ6 6 ) N6E' Ĕ1 $6-9 15 '6$6-9 ) = 1 N6E' 6 5g 9 5 15 '6$6-9 9ID ĕ .Ĕ+ B Ĕ N6E' 6 A 8 ) < 6%+8 .9 Ĕ+ E ĕA.9& ) '4 6 6'A )9I& B )

15 '6$6-9A 8 E ĕ 8 8 < ) ) '4 6 $6-9D Ĕ6 '4A ,A ;1I 6 A Ę 6' N6 + $6-9 9IB Ĕ6 5 6 < 6 $6-9D Č ę < 5 9IE%ĔE ĕ'5 '=ĕA ě .8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9 6 < 6 $6-9D Č Ĕ1 9IE%ĔE ĕ'5 '=ĕA ě .8 '5"&Ę$6-9A 8 E ĕ'1 5 5g 9 ) '4 6 '6&E ĕ 9IE ĕ'5 & A+ĕ $6-9-A 8 ę ) ) '4 6 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 9IE%Ĕ.6%6' /5 $6-9E ĕ B)4'6&E ĕB)4 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 9I'5 '=ĕ 6Ĕ

+ 5 '4/+Ĕ6 5g 9B)4$6-9 $6-9A 8 E ĕ 9I 5 :

28

14,548 'ĕ1&)4 23 3,346 (3,297)

17,042 'ĕ1&)4 30 5,113 (3,021)

12,010 'ĕ1&)4 23 2,762 -

17,530 'ĕ1&)4 30 5,259 -

(29)

363

-

-

153

(45)

-

-

162

209

56

71

(3) -

(2,197) -

(2,818)

(2,250) (3,080)

21 353

84 506

-

-

.8 8 '4C& Ę 6% 5 '.Ĕ A.'8% 6') < '8-5 &Ĕ1&B/Ĕ / :I E ĕ'5 6'.Ĕ A.'8% 6') < 6 4 ''% 6'.Ĕ A.'8% 6') < $6&D ĕ"'4'6 5gg5 8.Ĕ A.'8% 6') < 2520 .N6/'5 8 6' '8 6'C ' % 6 %A "64'6&E ĕD .Ĕ+ 9IE ĕ'5 6 Ĕ6 '4A , 1 6+A 9&%E & % 3 .8 8 '4C& Ę 9I.N6 5g E ĕB Ĕ 6'E ĕ'5 & A+ĕ $6-9A 8 E ĕ 8 8 < ).N6/'5 N6E'.< 8 9IE ĕ 6 6' '4 1 8 6' 9IE ĕ'5 6'.Ĕ A.'8%A ě '4&4A+)6 8 Č 5 B Ĕ +5 9I A'8I%%9'6&E ĕ 6 6' '4 1 8 6' 5J C &A'8I% 5J B ĔA ;1 5 +6 % 2540 5J 9J '8-5 &Ĕ1& ĕ1 8 5 8 6%A ;I1 E B)4 ĕ1 N6/ Ĕ6 G .N6/'5 <' 8 9I'5 6'.Ĕ A.'8%


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 A%;I1+5 9I 19 "(, 8 6& 2546 '8-5 &Ĕ1&E ĕ'5 6'.Ĕ A.'8% 6') < 6 4 ''% 6'.Ĕ A.'8% 6') < $6&D ĕ"'4'6 5gg5 8 .Ĕ A.'8% 6') < 2520 B ĕE A"8I%A 8%C &"'4'6 5gg5 8.Ĕ A.'8% 6') < ( 5 9I 3) 2544 .N6/'5 8 6' '8 6'C ' % 6 % A "64'6&E ĕD .Ĕ+ 9IE ĕ'5 6 Ĕ6 '4A , 1 C ' 6' 6+A 9&%E & % 4 (E1"9. 6'Ę) .8 8 '4C& Ę 9I.N6 5gE ĕB Ĕ 6'E ĕ'5 & A+ĕ $6-9A 8 E ĕ 8 8 < ).N6/'5 N6E'.< 8 9IE ĕ 6 6' '4 1 8 6' 9IE ĕ'5 6'.Ĕ A.'8%A ě '4&4A+)6 8 Č 5 B Ĕ+5 9IA'8I%%9'6&E ĕ 6 6' '4 1 8 6' 9IE ĕ'5 6'.Ĕ A.'8% 5J 5J 9J '8-5 &Ĕ1& ĕ1 8 5 8 6%A ;I1 E B)4 ĕ1 N6/ Ĕ6 G .N6/'5 <' 8 9IE ĕ'5 6' .Ĕ A.'8%D Č 2555 '8-5 &Ĕ1&%9'6&E ĕD .Ĕ+ 9IE ĕ'5 .8 8 '4C& Ę N6 + 1,347 )ĕ6 6 (2554 : 1,040 )ĕ6 6 ) 29

N6E' Ĕ1/< ĕ N6E' Ĕ1/<ĕ 5J ";J 6 N6 + C & 6'/6' N6E'.N6/'5 Č 9IA ě 1 /<ĕ .6%5g ĕ+& N6 + /<ĕ .6%5g 5+A )9I& Ĕ+ JN6/ 5 9I N6'4B)ĕ+B)4 11 N6/ Ĕ6&B)ĕ+'4/+Ĕ6 Č .N6/'5 N6E' Ĕ1/<ĕ '5 ) N6 + /<ĕ .6%5g 5+A )9I& 9I11 B)4 N6'4B)ĕ+E ĕ '5 '< ĕ+& N6 + /<ĕ .6%5gA 9& A Ĕ6 '5 ) :I N6 + ĕ+& N6 + 5+A )9I& Ĕ+ JN6/ 5 1 /<ĕ .6%5g 9I '8-5 ĕ1 11 A";I1B ) /< ĕ .6%5gA 9& A Ĕ6 '5 ) 5J .8J D/ĕA ě /<ĕ .6%5g C &.%% 8 +Ĕ6 '8-5 4 N6A 8 9IE ĕ'5 6 6'D ĕ.8 8E ;J1/<ĕ .6%5g 6 < )$6& 1 ; %6 ĕ+&%=) Ĕ6&< 8 ''% A";I1 N6/<ĕ .6%5g 5 )Ĕ6+%6D ĕ D 6'B ) /<ĕ D 6' 9J N6E' Ĕ1/<ĕ 5J ";J 6 B)4 N6E' Ĕ1/<ĕ '5 ) .6%6' B. E ĕ 5 9J

N6E'.Ĕ+ 9IA ě 1

'8-5 D/gĔ 2555 2554

()ĕ6 6 ) N6E' Ĕ1/<ĕ 5J ";J 6 ) '4 1 /<ĕ .6%5g A 9& A Ĕ6 '5 ) N6E' Ĕ1/< ĕ '5 )

6'A 8 '+% .N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % N6 + /<ĕ 5+A )9&I Ĕ+ JN6/ 5 2555 2554

N6E'.Ĕ+ 9IA ě 1

'8-5 D/gĔ Ĕ1/<ĕ 2555 2554

()ĕ6 /<ĕ )

( 6 )

13,787

16,559

3,206

3,204

4.30

5.17

13,787

16,559

3,206

3,204

4.30

5.17


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4

N6E'.Ĕ+ 9IA ě 1

'8-5 D/gĔ 2555 2554

()ĕ6 6 ) N6E' Ĕ1/<ĕ 5J ";J 6 ) '4 1 /<ĕ .6%5g A 9& A Ĕ6 '5 ) N6E' Ĕ1/< ĕ '5 )

30

6'A 8 A "64 8 6' .N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % N6 + /<ĕ 5+A )9&I Ĕ+ JN6/ 5 2555 2554

N6E'.Ĕ+ 9IA ě 1

'8-5 D/gĔ Ĕ1/<ĕ 2555 2554

()ĕ6 /<ĕ )

( 6 )

12,010

17,530

3,206

3,204

3.75

5.47

12,010

17,530

3,206

3,204

3.75

5.47

A 8 ę ) 9I '4 <%.6%5g =ĕ ;1/<ĕ 1 '8-5 B)4 9I '4 <% 4 ''% 6' 1 '8-5 %9% 81 <%5 8D/ĕ Ĕ6&A 8 ę )B)4A 8 ę )'4/+Ĕ6 6) 5 9J

+5 9 I '4 <%

% 8 9I '4 <%.6%5g =ĕ ;1/<ĕ % 8 9I '4 <% 4 ''% 6'

31

30 %9. . 2555 14 .. . 2555

Ĕ6&A 8 ę ) 6 + ) 6' N6A 8 6

1 %. . – 29 %9. . 2555 30 %9. . – 13 .. . 2555

15 '6 6' Ĕ6&A 8 ę )

A 8 ę ) '+%

( 6 //<ĕ )

()ĕ6 6 )

1.58 2.20

5,066 7,054

A ';1I %;1 6 6'A 8 )<Ĕ%18 5 %9 +6%A.9I& 6 6'A 8 9I.N6 5gE ĕB Ĕ +6%A.9I& 6 15 '6 1 A 9J&B)4 +6%A.9I& 6 15 '6B) A )9I& )<Ĕ%18 5 E ĕ =ĕ&;%A 8 A";I1D ĕD 6' N6A 8 6 :I ĕ1 Ĕ6&15 '6 1 A 9J& 5J B 9IB)4B )1& 5+ '+% 5J %9'6& 6' 6& '6& 6' ;J1B)4 6' =ĕ&;% 6 .Ĕ+ 9IA ě A 8 '6 Ĕ6 '4A , 5 5J !ď6& '8/6' 1 )<Ĕ%18 5 : N6'6& 6' '6.6'1 <"5 ĘA";I1 Đ1 5 +6%A.9I& 9I16 A 8 6 +6% 5 + 1 15 '6 1 A 9J&B)415 '6B) A )9I& 5 )Ĕ6+


‡†‰

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ )<Ä”%18 5 D Ä• '6.6'1 <"5 ĘA";I1) +6%E%Ä”B Ä” 1 1 '4B.A 8 . D 1 6 9IA 8 6 6'A )9I& B ) 1 15 '6 1 A 9J&B)4 15 '6B) A )9I& B)4A";I1 Ä”+&D 6' '8/6'.$6" )Ä”1 1 A 8 . )&< Ę 9ID Ä•D 6' Ä?1 5 +6%A.9I& E Ä•B Ä” 6' N6.5gg6B) A )9I& 15 '6 1 A 9J& 5 6 6'A";I1 Ä?1 5 +6%A.9I& 6 15 '6 1 A 9J& 6' N6.5gg6 ;J1 6&A 8 '6 Ä”6 '4A ,)Ä”+ / Ä•6B)4.8 8D 6' ;J1 6&15 '6B) A )9I& )Ä”+ / Ä•6 A";I1 Ä?1 5 +6%A.9I& 6 15 '6B) A )9I& D 1 6 1 '6& 6' 6& '6& 6' ;J1B)4 6' =Ä•&;%B)4 6' N6'4 ; A 8 =Ä• 6' 5 .8 D '5 '4 5 +6%A.9I& 9I'1 '5 E Ä• :J 1&=Ä” 5 C& 6& 1 )<Ä”%18 5 :I N6/ '4 5 +6%A.9I& 9I.6%6' '1 '5 E Ä• 6% '4A$ 1 '6& 6'B)4 =Ä” Ä•6 )<Ä”%18 5 E%Ä”1 <g6 D/Ä•%9 6'D Ä•A ';I1 %;1 6 6'A 8 9I%9)5 - 4A Ä› 6 6' Ä•6A";I1A H N6E' 6' N6 '6.6'1 <"5 Ę < '4A$ Ä•1

E Ä•'5 6'1 <%5 8 6 =Ä• '8/6' Ä”1 N6.5gg6 Ä•= '8/6'!Ä?6& 6'A 8 %9/ Ä•6 9I'5 8 1 D 6' '8/6' +6%A.9I& 6 A 8 '6 Ä”6 '4A ,B)415 '6 1 A 9J& '6& 6 =Ä• '8/6' '4 1 Ä•+& '6&)4A19& 1 Ä• < B)4'6 6 )6 1 A ';I1 %;1 6 6'A 8 5J /% '+% : .5gg6 ;J1 6&A 8 '6 Ä”6 '4A ,)Ä”+ / Ä•6 B)4.5gg6B) A )9I& A 8 '6 Ä”6 '4A ,B)415 '6 1 A 9J& 9I&5 Ä•6 1&=Ä” D .Ä”+ 1 6') < )<Ä”%18 5 E Ä•%9 6' N6/ C& 6& D 6') < '4&4.5J :I %9 6' N6/ +6%A.9I& D '4 5 9I.6%6' '5 E Ä• 6% '4A$ 1 . 6 5 6'A 8

+6%A.9I& ĕ6 6'D/ĕ.8 A ;I1 +6%A.9I& ĕ6 6'D/ĕ.8 A ;I1 1 )<Ĕ%18 5 E%Ĕ%9)5 - 4 6' '4 < 5+1&Ĕ6 %9 5&.N6 5g )<Ĕ%18 5 %9 C& 6& 9I 4 N6D/ĕB ĔD E ĕ+Ĕ6 )<Ĕ% 18 5 4 6&.8 ĕ6B)4D/ĕ '8 6'B Ĕ)= ĕ6 9I%9 '4+5 8.8 A ;I1 9I1&=ĔD '4 5 9I%9 +6%A/%64.% =Ĕ.5gg6D 1 <"5 Ę 6 6'A 8 B)4'6& 6' A 8 . A ě . 6 5 6'A 8 9I%9 < $6"B)4%9 +6% Ĕ6A ;I1 ;11&=ĔD '4 5 .=

+6%A.9I& 6 .$6" )Ĕ1

)<Ĕ%18 5 %9 6' + <% +6%A.9I& 6 6' 6 .$6" )Ĕ1 C & 6''5 -6'4 5 1 A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 . D/ĕA"9& "1 Ĕ1 6' N6A 8 6 1 )<Ĕ%18 5 '+% 5J 5 /6+ A 8 .8 A ;I1'4&4.5J 6 6 6' Ĕ6 G A";I1.N6'1 D ' 9 9I%9 +6% N6A ě B)4A";I1) ) '4 6 +6% 5 + 1 '4B.A 8 .


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 +6%A.9I& 6 15 '6B) A )9I& A 8 '6 Ĕ6 '4A , +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)4 2554 )<Ĕ%18 5 %9.8 '5"&ĘB)4/ 9J.8 9IA ě A 8 '6 Ĕ6 '4A ,$6&/)5 6 6' N6.5gg6 ;J1 6& A 8 '6 Ĕ 6 '4A ,)Ĕ + / ĕ 6 .5 g g6B) A )9I & A 8 '6 Ĕ 6 '4A , B)415 '6 1 A 9J & B)4.5 g g6.8 8 A ); 1 ;J 1 6&A 8 '6 Ĕ6 '4A , 5 9J

6'A 8 '+% 2555

2554

A 8 '6 Ĕ6 '4A ,

(/ Ĕ+& : )ĕ6 )

A 8 '6 Ĕ6 '4A ,

()ĕ6 6 )

(/ Ĕ+& : )ĕ6 )

()ĕ6 6 )

.8 '5"&Ę 1))6'Ę./'5 3 1))6'Ę.8 C 'Ę '= Č18 A 9& A& 1))6'Ę 8+ 9B) Ę '+%

29 2 428 327 2

878 46 222 116 48 1,310

22 445 588 2

679 238 238 49 1,204

/ 9.J 8 1))6'Ę./'5 3 1))6'Ę.8 C 'Ę '= Č18 A 9& A& 1))6'Ę 8+ 9B) Ę '+%

116 238 267 -

3,545 1 143 95 7 3,791

61 45 265 -

1,939 3 29 109 6 2,086

.8 '5"&Ę 9IA ě A 8 '6 Ĕ6 '4A ,.Ĕ+ D/gĔA ě A 8 !6 6 6'B)4)= / 9J 6' ĕ6 .Ĕ+ / 9J.8 9IA ě A 8 '6 Ĕ6 '4A ,.Ĕ+ D/gĔA ě A ĕ6/ 9J 6' ĕ6 A ĕ6/ 9J-1< ' Ę B)4A 8 =ĕ&;%


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 +6%A.9I& 6 %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 A ';I1 %;1 6 6'A 8 %=) Ĕ6&< 8 ''% /%6& : N6 + A 8 9I =ĕ ;J1B)4 =ĕ 6& ) B) A )9I& .8 '5"&Ę/';1 N6'4/ 9J.8 5 D 4 9I 5J .1 !ď6&%9 +6%'1 '=ĕ B)4A H%D D 6'B) A )9I& 5 B)4.6%6' Ĕ1'1 '6 6 5 E ĕ1&Ĕ6 A ě 18.'4D )5 - 4 1 =ĕ 9IE%Ĕ%9 +6%A 9I&+ ĕ1 5 '6 6 6% 5g 9 1 A 8 . B)4'6& 6'A 9& A Ĕ6A 8 . A 8 ) < 5I+ '6+ )= / 9J 6' ĕ6 )= / 9J 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 A 8 D/ĕ =ĕ&;%'4&4 .5J B)4A 8 '1 B Ĕ 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 A ĕ6/ 9J 6' ĕ6 A ĕ6/ 9J1;I - 1< ' Ę A ĕ6/ 9J 8 6' 9IA 9I&+ ĕ1 5 A 8 =ĕ&;%'4&4.5J .8 '5"&Ę /%< A+9& 1;I B)4/ 9J.8 /%< A+9& 1;I %9%=) Ĕ6D )ĕA 9& 5 %=) Ĕ6&< 8 ''%A ;I1 6 %9'4&4A+)6 ' N6/ 9I.5J %=) Ĕ6&< 8 ''% 1 A 8 =ĕ&;%'4&4&6+E ĕB. E+ĕD /%6&A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 16 32

$6'4 = "5 B)4/ 9.J 8 91I 6 A 8 : J D $6&/ ĕ6 )

$6'4 = "5 6 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' Ĕ1 = 1 A)8 .5gg6 N6A 8 6' 1 '8-5 E1 9+9 N6 5 (%/6 ) (“E1 9+9”) A%;I1+5 9I 7 %9 6 % 2550 E1 9+9E ĕ'5 / 5 .;1B ĕ 1 A)8 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 6 . . :I 6'B ĕ 1 A)8 .5gg6 9J A ě )D/ĕ%9 ĕ1"8"6 A 8 :J 4 9J1&=Ĕ'4/+Ĕ6 N6A 8 9 Ĕ6 G 5 9J 1.

' 9 9IE1 9+9A ě C Ę #Đ1 . . ( N6A)&) D 9 ĕ1"8"6 . 6 5 1 <g6C <)6 6' 9I 46/2550 ' 9 9I . .3 1 A)8 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' C &%8 1 ĕ+& ĕ1 /%6&B)4 ĕ1.5gg6B)4 8 5 8/ ĕ6 9IC &E%Ĕ 1 N6D/ĕE1 9+9 E ĕ'5 +6%A.9&/6&'+% 5J A ě C Ę ( =ĕA. 1 ĕ1"8"6 ) Ĕ1. 6 5 1 <g6C <)6 6' 9 9I 1/2550 A%;I1+5 9I 4 % '6 % 2550 C &E1 9+9E ĕ'ĕ1 1D/ĕ 41 <g6C <)6 6'+8 8 5& 9 J 6 A';I1 $6'4 6' N6'4 Ĕ6 '5 6 6' '5 5 '6& 6'B)4 Ĕ6 1 A 9J& 9I . . A'9& 'ĕ1 D/ĕ N6'4 N6 + +Ĕ6B. )ĕ6 6 ę < 5 ĕ1"8"6 5J 2 9 5 )Ĕ6+1&=Ĕ'4/+Ĕ6 6' N6A 8 '4 + "8 6' 6 1 . 6 5 1 <g6C <)6 6'

2.

' 9 E9I 1 9+A9 ě N6A)& C & . . A ě C Ę#Đ1 A'9& 'ĕ1 D/ĕE1 9+9 N6'4/ 9J 6Ĕ '5 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 Ĕ6 1 A 9J& B)4%=) Ĕ6 '5"&Ę.8 9IE1 9+9.Ĕ %1 E%Ĕ ' '+% +Ĕ6B. )ĕ6 6 D 9 N6A) 9I 640/2550 :I Ĕ1%6A%;I1+5 9I 19 5 +6 % 2550 ,6) '1 .= .< E ĕ%9 N 6 .5I D/ĕ N 6 / Ĕ 6 & 9 9I 1ĕ6 : A";I 1 D/ĕ =Ĕ.5 g g6E N6 A 8 6' 6

5 +6 % 1 <g6C <)6 6'D 9 ĕ1"8"6 A) 9I 1/2550 B)4 46/2550 Ĕ1E

5J 9J :J 1&=Ĕ 5 ) 1 N6"8"6 -6 9IA 8 :J '8 :I 16 B Ĕ6 E 6 N6 + 9IE ĕ '4%6 E+ĕD 6'A 8 15 16 %9 ) '4 Ĕ1 N6 + A 8 9IA 9I&+ 5 '6&E ĕ Ĕ6D ĕ Ĕ6& .8 '5"&Ę B)4/ 9J.8 B)4 6'A ċ A & ĕ1%=)A 9I&+ 5 .8 '5"&ĘB)4$6'4/ 9J.8 9I16 A )9I& B ) E ĕ


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ )

$6'4 = "5 6%/ 5 .;1.5gg6 =ĕ 1; /< ĕ )<Ĕ%18 5 E ĕ) 6%.5gg6 =ĕ ;1/<ĕ /';1.5gg6/)5 5 =ĕ'Ĕ+% < B)4 5 / Ĕ+& 6 1 '5 B)4/ Ĕ+& 6 $6&D ĕ 6' N6 5 =B) 1 '5 6)E & B)4'5 6) Ĕ6 '4A , 5 9J Singapore Telecommunications Limited (“.8 A )�) 6%.5 =Ĕ..Ĕ 5g 6%.5ggg6'4/+Ĕ g6'4/+Ĕ66

=Ä• =Ä• ;11; /</<Ä• Ä• 9 9I I '8'è--5 5 N N66 5 5 .8.8

A ) A ) = g 5 g6E ĕ g6E ĕ&&; ; &5&5 +Ĕ+Ĕ66 5 5J

J .1 !Ä? .1 !Ä?66&E%Ä” &E%Ä”%%9A9 6B)4E%Ä”E Ä• '4 N6 6' 6' 9 9I 4'Ä”+% 5 /'; % 6' N 6A 86A 8 6' /';1 1D 6' '8 /6' 5 6' < ' 8' 8 1 A1 /'ĂŤ11 '4 N '4 N66 6''Ä” 6''Ä”++% 5 % 5 D 6' + < D 6' + <%% 6'D Ä• 6'D Ä•..8 8 81 81 A.9 11 A.9& A"; & A"áI1 + < 1I + < % 6' N 6' /'ĂŤ D 6' 'è /6' 5 6' < 1 E1A1. 5J 9JD ' 9 9I% 9 %I9 +6% 5 B&Ä• B&Ä•

'4/+Ä” 6 6 =Ä• ;1 Ä•= /<1; Ä• /< Ä• B)4A Ä› A1E1A1. 5 9DJ ' 9 9 +6% 5

'4/+Ä” B)4A Ä› Ä• 1 Ä•C Ä• 1C Ä•B&Ä•B &Ä•D A';

D A'ĂŤI11I 9 9I%%I 9 9 +6%.N +6%.N66 5 5ggB)4E%Ä” B)4E%Ä”..6%6' ) 5 6%6' ) 5 E Ä• E Ä• D/Ä• =Ä• 1; /</<Ä• Ä• !Ä?!Ä?66& 9 A1E1A1.D/Ä•B Ä” =Ä• ;1/<Ä• 19 !Ä?6&/ :I A"á A";I1 N6 6' ;J1 /6 /6 =Ä• ;J1E%Ä” Ä•1 6' ;J1/<Ä• & 9I I Ä•1Ä•1 6' 6&/<

6' 6&/<Ä• Ä• A1E1A1.A. 1 6&/< A1E1A1.A. 1 6&/<Ä• Ä• A1E1A1.D/Ä• 6% 9 !Ä? 6!Ä?&/ : I 5I 5 J 9J J Ä™ < Ä€5 &55 &5E%Ä” %E%Ä”9A/ < 6' Ę 5 )Ä” 6+A 8 :J ĂŞJ 6% 9I I =Ä•A. 1 6&B)Ä• =Ä•A. 1 6&B)Ä•++!Ä? !Ä?6&6& =Ä•A. 1 6& Ä• =Ä•A. 1 6& Ä•1 ; 1 ;J1/<J1Ä• /< 1 19 Ä• 1 19 6&/ : 9J Ä™ %9A/ < 6' Ę 5 )Ä” 6+A 8 '5 6) 1 '4A ,)6+ Lao Telecommunications Company Limited (“B1) 9 9â€?) A Ä› 8 6' 9I + <%'Ä”+% 5 6 1Ä•1% 1 E & %E Ä• Ä”1 5J :J 6%.5gg6'Ä”+% < ) +5 9I 8 <)6 % 2539 '4/+Ä”6 '5 6) 1 '4A ,)6+ B)4 '8-5 8 +5 ' 1%"8+A 1'Ę B1 Ę 1%%8+ 8 A 5I .Ę N6 5 (%/6 ) ( ;I1A 8% 1 '8-5 ) $6&D Ä•.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' 5 )Ä”6+ B1) 9 9 E Ä•'5 .8 8D 6'D/Ä• '8 6' 6 Ä•66 C ' % 6 %D '4A ,)6+ C ' % 6 %D '4A ,)6+ A Ä› '4&4A+)6 '4&4A+)6 25‡Š ÄŒ ÄŒ B)4E Ä•'5 .8 8D 6'D/Ä• '8 6' 6 Ä•6 C ',5" Ę";J 6 C ',5" ĘA );I1 9I '8 6'C ',5" Ę'4/+Ä”6 '4A , 18 A 1'ĘA H B)4C ',5" Ę 8 6% 5+ Ä™ < 5 A A Ä” :I A Ä› 8 6' 9I + <% 'Ä”+% 5 1 E & % 9IE & % ;1/<Ä• 'Ä•1&)4 51 A Ä› =Ä• ;1/<Ä• D 15 '6'Ä•1&)4 49 1 < 4A 9& 1 B1) 9 9 6%.5gg6'Ä”+% / 25 ÄŒ }‡Š‹‰~ E & % 4 Ä• (2564)E & % 4 Ä•1 C1 /<Ä• 1 B1) 9 9 9I ;11&=Ä” 5J /% D/Ä•B Ä”'5 6) 1 '4A ,)6+C &E%Ä” 8 < A%;I1 ' N6/ ‡Š ÄŒ Ä”6 1 B 6% Ä•1 ) A ;J1 Ä• 1 .5gg6'Ä”+% < B1) 9 9 Ä•1 ) < D C ' 6' 9IE Ä•'5 .8 8 6% 9I'4 <D .5gg6'Ä”+% < Ä•6 Ä• D '4A ,)6+A Ä› N6 + A 8 E%Ä” IN6 +Ä”6 400 )Ä•6 1))6'Ę 1))6'Ę../'5/'5 3 $6&D '4&4A+)6 25 ÄŒ C & N6/ 6') < A Ä› + 6% 9I N6/ D .5gg6'Ä”+% < Ä•6 Ä• +5 9I 31 5 +6 % 2555 B1) 9 9 %9&1 A 8 9I 4 Ä•1 ) < A"8I%19 '4%6 97 1))6'Ę../'5 /'5 3 }‡ŠŠ‰Â? †…Ž )Ä• 6 1))6'Ę )Ä•6 1))6'Ę (2554: 109)Ä•6 1))6'Ę ./'5. /'5 ) 3~

‡†Œ


‡†�

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ )

$6'4 = "5 '6& Ä”6&!Ä?6& < )<Ä”%18 5 %9'6& Ä”6&!Ä?6& < 9I ;1A Ä› $6'4 = "5 B Ä”&5 E%Ä”E Ä•'5 '=Ä•D 6'A 8 '+% ( '8-5 : E%Ä”%9) 5 Ä”1E 9J

6'A 8 '+% 31 5 +6 % 2555 C ' 6'E & % 6 C ' 6' 120 1 ,6 4+5 11 '4 A ';1 Ĕ6&C ',5" Ę '+% '+%A ě A 8 6 5J .8J

)

. <)A 8 1))6'Ę./'5 /'5 3 /'5 3 1))6'Ę./'5 /'5 3 1))6'Ę./'5 1))6'Ę./'5 /'5 3

2554

(/)5 )Ä•6 ) 38 171 4 213

73 171 8 252

6,545

8,022

$6'4 = "5 6 .8 8 6' ;1J /< Ä• ; 1 E & % A%;I1+5 9I 23

6%D .5gg6 5 : +6% N6 (Memorandum ‡ˆ < <))6 % 6 % 2546 ‡Š‰‹ E & %B)4 E & %B)4 Codespace Â˜Ă„šºĂˆĂ…œ¸º Inc. ÂžĂƒ¸Âƒ E Ä•E Ä•)) 6%D .5 }¢ºĂ‚Ă„Ă‡ÂśĂƒšĂŠĂ‚ of Ă„Âť Agreement) C &D/Ä•.8 8B Ä” Codespace Inc. D 6' N6/ Ä”6&/<Ä• 1 E1"9. 6'Ę ; B Ä”E & % N6 + 2.2 )Ä•6 /<Ä• C & 4 Ä•1

'6&B' D ' 9''6 6A. 1 6& Ĕ 6 6A. 1 6& Ĕ11/</<ĕ ĕ .=.=

+Ĕ +Ĕ66%=%=)) Ĕ6 9I%6 +Ĕ6'4/+Ĕ6 †

1 B Ä• 6'A. 1 6&/<Ä• 5 )Ä”6+D/Ä• +D/Ä•BB Ä” Ä”EE & % & % A Ä›A Ä› '6&B' D ' 9 1))6'Ę 1))6'Ę../'5/'5 3 /';1%=) Ä”6 )6 &< 8 ''% +5 A. 1 6&E & %%9.8 8 8A. 6' ;J1/<Ä• 5 )Ä”6+ B)4D ' 9'6 6A. 1 6& Ä”1/<Ä• A Ä”6 5 %=) Ä”6 9I%6 +Ä”6'4/+Ä”6 1 1))6'Ę 1))6'Ę../'5/'5 3 /';1%=) Ä”6 )6 &< 8 ''% +5 A. 1 6&E & % 4 Ä•1 '5 ;J1/<Ä• 5 )Ä”6+ 6 Â˜Ă„šºĂˆĂ…œ¸º ÂžĂƒ¸Âƒ Codespace Inc.E & %A ;I1+Ä”6 Â˜Ă„šºĂˆĂ…œ¸º ÂžĂƒ¸Âƒ Codespace Inc. 4E%Ä” N6/ Ä”6&/<Ä• 5 )Ä”6+ ; B Ä”E & % A ;I1 6 ) 6 6',: -6 +6%A Ä› E E Ä• 6 6'A 8 1 E & % " +Ä”6%=) Ä”6/<Ä• 1 E1"9. 6'Ę 4.= +Ä”6 1 1))6'Ę 1))6'Ę../'5/'5 3 5 5J )<Ä”%18 5 : E%Ä” 5 : / 9J.8 9I16 4A 8 :J 6 6' ;J1/<Ä• ; D 6'A 8 9J +5 9I 31 5 +6 % 2555 N6 + /<Ä• $6&D Ä•.8 8 6' ;J1 /<Ä• ; A/);1 0.08 )Ä•6 /<Ä• (2554 : 0.08 )Ä•6 /<Ä• )

)

$6'4 = "5 6 .5gg61 <g6 D/ĕ 6N A 8 6' '8-5 &Ĕ1&B)4 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 6 B/Ĕ E ĕ'5 1 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 6 / Ĕ+& 6 1 '5 B)4/ Ĕ+& 6 $6&D ĕ 6' N6 5 =B) 1 '5 6) 5J D '4A ,B)4 Ĕ6 '4A ,A";I1 N6A 8 <' 8 6' '8 6' 6 ĕ6 6+A 9&% 6' N6A 8 6 9IA 9I&+ ĕ1

5 +8 &< C ' 5, Ę '8 6' ĕ6 18 A 1'ĘA H B)4 6 ĕ6 C ',5" ĘA );I1 9I$6&D ĕA ;I1 E 1 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' '8-5 A/)Ĕ6 9J%9$6'4 = "5 Ĕ1/ Ĕ+& 6 1 '5 B)4/ Ĕ+& 6 $6&D ĕ 6' N6 5 =B) 1 '5 6) 6 ĕ6 Ĕ6 G '+% 5J $6'4 = "5 Ĕ1 6' 5 ;J1 8 5J B)4 N6'< '5 -61< ' Ę 1 '4 6 B)4$6'4 = "5 9I 4 ĕ1 Ĕ6& Ĕ6 ''%A 9&%'6& Č Ĕ1 / Ĕ+& 6 1 '5 B)4/ Ĕ+& 6 $6&D ĕ 6' N6 5 =B) 1 '5 6) 9IA 9I&+ ĕ1 C & N6 + 6 .5 .Ĕ+ 'ĕ1&)4 1 '6&E ĕ /';1 A 8 5J IN6 9I N6/ E+ĕD B Ĕ)4.5gg6B)ĕ+B Ĕ N6 + D 4.= +Ĕ6 )<Ĕ%18 5 4'5 '=ĕ$6'4A/)Ĕ6 9JD + 5g 9 9IA 8 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 5 )Ĕ6+ :J


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ E & % E & %E Ä•'5 .8 8 6 '4 '+ % 6 %D/Ä• N6A 8 6'C ' 6' 6+A 9&%.;I1.6'C &D/Ä•E & %%9.8 8D 6' '8/6' 8 6'B)4 6'D/Ä• '8 6'+ ' 6+A 9&%A";I1 6'.;I1.6' 5J $6&D B)4 Ä”6 '4A , B)4%9.8 8A H Ä”6D Ä•+ ' 6+A 9&% 6 =Ä•D Ä•+ ' 6+A 9&%A Ä› '4&4A+)6 30 ÄŒ 6%.5gg6) +5 9I 11 5 &6& 2534 :I E Ä•%9 6'B Ä•E ) +5 9I 22 %9 6 % 2535 :I Ä™ < 5 .5gg6 5 )Ä”6+1&=Ä”$6&D Ä• 6' =B) 1 '4 '+ A C C)&93 $6&D Ä•.5gg6 5 )Ä”6+ Ä•6 Ä• E & % 4 Ä•1 Ä”6& ) '4C& Ę 1 B B Ä” '4 '+ A C C)&93 D 15 '6'Ä•1&)4 1 '6&E Ä• Ä”6 '8 6' 9IE & %E Ä•'5 /';11&Ä”6 Ä•1&A Ä”6 5 A 8 5J IN6 9I'4 <E+Ä•D .5gg6 +5 9I 31 5 +6 % 2555 Ä• < Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' 5J IN6 A/);1 684 )Ä•6 6 (2554 : 747 )Ä•6 6 ) 1 6 9J$6&D Ä•.5gg6 5 )Ä”6+ Ä•6 Ä• E & %&1%D/Ä• 6+A 9&% < + B)4. 6 9 + <% 6+A 9&%'+% 5J 1< ' Ę Ä”6 G 9I 5 5J :J 6%.5gg6 5 9J A Ä› ''%.8 8M 1

'4 '+ A C C)&93 A%;I1E ĕ N6A 8 6' Ĕ1.'ĕ6 B)4 8 5J A'9& 'ĕ1&B)ĕ+ )

$6'4 = "5 6%.5gg6A Ĕ6 N6A 8 6 - ' 9 9I )<Ĕ%18 5 A ě =ĕA Ĕ6 +5 9I 31 5 +6 % N6 + A 8 5J IN6 9I ĕ1 Ĕ6&D 1 6 6%.5gg6A Ĕ6 N6A 8 6 9IE%Ĕ.6%6' & A)8 E ĕ ( '8-5 : E%Ĕ%9) 5 9J

6'A 8 '+% 2555 2554

()ĕ6 6 ) E%ĔA 8 1 Č A 8 +Ĕ6 1 ČB ĔE%ĔA 8 5 Č A 8 +Ĕ6 5 Č '+% )

171 339 81 591

248 460 167 875

$6'4 = "5 6 .5gg6 “Financing and Project Agreement� B1) 9 9 :I A ě 8 6' 9I + <%'Ĕ+% 5 6 1ĕ1% 1 E & % E ĕ) 6%D .5gg6 “Financing and Project Agreement� 'Ĕ+% 5 '5 6) 1 '4A ,)6+ B)41 Ę 6'B/Ĕ / :I D '4A ,A&1'%5 (KfW, Frankfurt am Main) A%;I1+5 9I 25 <)6 % 2547 .N6/'5 6' 5 ;J1 8 5J B)4 Ĕ6 9I ': -6 1 C ' 6'A ';1 Ĕ6&C ',5" Ę 6 E ) '4&4 9I 6 C &%9%=) Ĕ6C ' 6' '+%E%ĔA 8 6.5 )ĕ6 &=C' ( '4%6 263 )ĕ6 6 ) C & B1) 9 9 4 ĕ1 '5 C1 .8 '5"&Ę 5 )Ĕ6+A%;I1C ' 6'B)ĕ+A.'H D '= B 1 6' =ĕ&;%A 8 6 '5 6) 1 '4A ,)6+ D '6 6'ĕ1&)4 30 1 %=) Ĕ61< ' ĘC ' 6' :I E%Ĕ'+% Ĕ6 9I ': -6 1

C ' 6' C &%915 '6 1 A 9J& 1 A 8 =ĕ 4% Ĕ1 Č +5 9I 31 5 +6 % 2555 B1) 9 9 E ĕ 5 : .8 '5"&ĘC ' 6'B)4A 8 =ĕ&;% 9IA 9I&+ 5 C ' 6' 5 )Ĕ6+A ě N6 + A 8 70 )ĕ6 6 (2554 : 70 )ĕ6 6 ) B)4E ĕ Ĕ6& N6'4 ; A 8 =ĕ&;%A ě N6 + A 8 '+% 14 )ĕ6 6 (2554 : 22 )ĕ6 6 )

‡†Ž


‡‡…

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 33

A/ < 6' Ę.6N 5g ĕ1"8"6 6 6' ĕ6 B)4 9 +6% 9.I 6N 5g 1 )<%Ĕ 18 5

33.1 N6"8"6 -6 1 ,6) 9 6B 916g6 1 =Ä• N6' N6B/ Ä” 6 6'A%;1

6% 9IE ĕ%9 N6"8"6 -6 1 ,6) 9 6B 916g6 1 =ĕ N6' N6B/ Ĕ 6 6'A%;1 A%;I1+5 9I 26 <%$6"5 Ę 2553 :I %9.Ĕ+ 9I A 9I&+ ĕ1 5 '8-5 B)4 '8-5 D )<Ĕ%1&=Ĕ/)6& '4 6' 5J '8-5 A/H +Ĕ6 ) 1 N6"8"6 -6 9 6 5J N6 5 1&=ĔB ĔA "64D '4A H 9I+Ĕ6 '5"&Ę.8 6 .Ĕ+ 1 =ĕ N6' N6B/ Ĕ 6 6'A%;1 A ě '5"&Ę.8 9IE ĕ%6C &E%Ĕ.% +' .; A ;I1 %6 6 6' 8 5 8/ ĕ6 9I/';1D ĕ1N6 6 D N6B/ Ĕ / ĕ6 9IA Ĕ6 5J %8E ĕ%9 )D/ĕ '8-5 B)4 '8-5 D )<Ĕ% ĕ1 E N6A 8 6'D G A ;I1 6 %8D Ĕ =Ĕ +6%D 9 '8-5 B)4 '8-5 D )<Ĕ% E ĕ 8 5 8 6' < 1&Ĕ6 D/ĕA ě E 6% /%6&B)4 6%.5gg6 ĕ+& +6%.< '8 )1 %6 :I '8-5 B)4 '8-5 D )<Ĕ%%9.8 8C & 1 6% /%6&B)4.5gg6 9I 4"8.= Ę ĕ1A H '8 B)4 +6%.< '8 1 Ĕ1E D 6' N6A 8 6'D G 1 / Ĕ+& 6 '6 6' 9IA 9I&+ ĕ1 :I

4 Ä•1 A Ä› E 6% '4 + 6' 6 /%6&B)4/)5 6'&< 8 ''%

33.2 9 +6% 6 /%6& ĕ1"8"6 '4/+Ĕ6 E1 9+9 5 . . A 9I&+ 5 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' E1 9+9%9 9 +6% 6 /%6& 6 6' '4 1 8 6'. 6 9C ' 5, Ę C &A 8 :J D Ĕ+ Ĕ1 = 1 A)8 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 15 E ĕB Ĕ 9 9IA 9I&+ 5 6' N6A. 1 Ĕ6+AA)4 9 6' ĕ6 6% +6%A/H 1 ''% 6'/)5 6 9IE ĕ'5 N6 ': -6 ĕ6 /%6&1&Ĕ6

A/%64.% ) 1 9 +6% 5 )Ĕ6+ 4E%Ĕ N6D/ĕE1 9+9A 8 )A.9&/6&1&Ĕ6 A ě .6'4.N6 5g B)4E1 9+9E%ĔE ĕ 5 : 5J .N6'1 E+ĕD 6'A 8 9J.N6/'5 9 +6% 5 )Ĕ6+ 1) +6% ; / ĕ6 ' 9"8"6 '4/+Ĕ6 E1 9+9 5 . . : ę < 5 E1 9+9&;I ĕ1"8"6 Ĕ1 41 <g6C <)6 6' 2 9 5 9J 1.

9 / %6&A) N 6 9I 1/2550E1 9 +9 E ĕ &;I ĕ 1 "8 " 6 A';I 1 Ĕ 6 '5 6 6' '5 5 '6& 6'B)4 1 A 9J & D .5 g g61 < g 6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 Ĕ1. 6 5 1 <g6C <)6 6'

2.

9/%6&A) N6 9I46/2550E1 9+9&;I A. 1 ĕ1"8"6 Ĕ1. 6 5 1 <g6C <)6 6'D/ĕ 41 <g6C <)6 6'%9 N6+8 8 5& 9J 6 ' 9 . . . ƒ D ĕ.8 8 1 A)8 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'E%Ĕ 1 ĕ+& /%6&B)4 ĕ1.5gg6B)4 +6%E%Ĕ = ĕ1 D 6' ' 9 A'9& 'ĕ1 D/ĕE1 9+9 N6'4 Ĕ6.Ĕ+ Ĕ6 1 A 9J& Ĕ6 '5 %=) Ĕ6 '5"&Ę.8 9I.Ĕ %1 E%Ĕ ' B)4A'9& Ĕ6A.9&/6& 6 . .

.N6/'5 ĕ1"8"6 5J 2 91&=Ĕ'4/+Ĕ6 6' N6A 8 '4 + "8 6' 6 1 . 6 5 1 <g6C <)6 6' C &A ċ A &)N6 5 A/ < 6' Ę.N6 5g 1 ' 9"8"6 '4/+Ĕ6 E1 9+9 5 . . : +5 9I 31 5 +6 % 2555 B)ĕ+


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 2) )N6 5 A/ < 6' Ę.6N 5g 1 ' 9"" 8 6 '4/+Ä”6 E1 9+ 9 5 . . +5 9I 30 % '6 % 2547 41 <g6C <)6 6'E Ä•%9 N6+8 8 5& 9J 6 Ä•1"8"6 '4/+Ä”6 E1 9+9 5 . . A 9I&+ 5 .5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'%9.6'4.N6 5g 5 Ä”1E 9J 1.

D/ĕ . . A & +6%A.9&/6&C & N6'4A 8 D/ĕB ĔE1 9+9 N6 + 20 )ĕ6 6

2.

D/ĕ '5 ) ) '4C& Ę 1 B 6%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' C &D/ĕA '9& A 9& '4/+Ĕ6 N6 + A 8 9I N6 + E ĕ 6%15 '6 'ĕ1 &)4 6.50 ( :I '5 ) 6 9I N6 / E+ĕ A 8 % 15 '6'ĕ 1 &)4 44) 1 '6&E ĕ Ĕ1 /5 Ĕ 6 D ĕ Ĕ6 & B)4$6-9 D G 5 A 8 '4 5 ) '4C& Ę 1 B 5J IN6 Č)4 230 )ĕ6 6 ( :I '5 ) 6 9I N6/ E+ĕD .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' ;1 Č 9I 8 N6 + 800 )ĕ6 6 Č 9I 9 N6 + 900 )ĕ6 6 B)4 5J B Ĕ Č 9I 10–30 Č)4 1,000 )ĕ6 6 ) N6 + D %6 +Ĕ6D/ĕ N6'4 6% N6 + 9I %6 +Ĕ6 5J C &A'8I% 5J B Ĕ+5 9I 3 ' 6 % 2545 A ě ĕ E

3.

D/ĕ . . ; A 8 ) '4C& Ę 1 B 5J IN6 6 .Ĕ+ 6 N6 + 800 )ĕ6 6 9IE1 9+9E ĕ N6'4C &%9A ;I1 E D '4/+Ĕ6 "8 6' 6 ĕ1"8"6 9JA%;I1+5 9I 3 ' 6 % 2546 C & ; D/ĕB ĔE1 9+9 N6 + 570 )ĕ6 6

4.

D/ĕE1 9+9.6%6' 11 16 6, Ĕ+ A+)6 PrimeTime ( Ĕ+ A+)6'4/+Ĕ6 19.00 . : 21.30 .) E ĕC &E%Ĕ = N6 5 A "64'6& 6' Ĕ6+.6' 9B)4.6'4 '4C& ĘB ĔE1 9+9 4 ĕ1 A. 1'6& 6' Ĕ6+.6' 9B)4.6'4 '4C& ĘE%Ĕ ĕ1& +Ĕ6'ĕ1&)4 50 1 A+)6 11 16 6, 5J /% 5J 9J$6&D ĕ ĕ1 5 5 1 '4A 9& 9I 6 '6 6'11 D ĕ 5 5 B Ĕ. 6 9+8 &<C ' 5, ĘC & 5I+G E

+5 9I 27 A%-6& 2547 . .E ĕ&;I N6'ĕ1 Ĕ1,6) '1 )6 ( 5J ĕ ) A";I1 1D/ĕA"8 1 N6 9J 6 1 41 <g6C <)6 6' 5 )Ĕ6+ +5 9I 9 "(-$6 % 2549 ,6) '1 )6 E ĕ%9 N6"8"6 -6D/ĕA"8 1 N6 9J 6 1 41 <g6C <)6 6' 5J 5 +5 9I 7 %8 < 6& 2549 E1 9+9E ĕ&;I 1< ' Ę N6"8"6 -6 1 ,6) '1 )6 Ĕ1,6) '1 .= .< +5 9I 13 5 +6 % 2549 ,6) '1 .= .< E ĕ%9 N6"8"6 -6&; 6% N6"8"6 -6 1 ,6) '1 )6 9IA"8 1 N6 9J 6 1 4 1 <g6C <)6 6') +5 9I 30 % '6 % 2547 5J 5 :I %9 ) N6D/ĕE1 9+9 ĕ1 )5 E = "5 6%A ;I1 E 1 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' Ĕ1E C &%9.6'4.N6 5g 5 9J 1. N6A 8 6' '5 5 '6& 6'D/ĕA ě E 6%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' ĕ1 11 9I N6/ D/ĕ'6& 6' Ĕ6+.6' 9B)4.6' '4C& Ę 4 ĕ1 11 16 6,'+% 5 E%Ĕ IN6 +Ĕ6'ĕ1&)4 70 1 A+)611 16 6, 5J /% B)4'4&4A+)6'4/+Ĕ6 A+)6 19.00 . - 21.30 . 4 ĕ1 D ĕ.N6/'5 '6& 6' '4A$ 9JA Ĕ6 5J

‡‡†


‡‡‡

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 2.

8 5 8 6%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' ĕ1 5 D A';I1 6' N6'4 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'D/ĕ . .D 15 '6'ĕ1&)4 44 1 '6&E ĕC & %915 '6 5J IN6 1,000 )ĕ6 6 Ĕ1 Č

+5 9I 14 5 +6 % 2549 . .E ĕ%9/ 5 .;1 5 ) +5 9I 14 5 +6 % 2549 1D/ĕE1 9+9 N6A 8 6' 5 Ĕ1E 9J 1.

D/Ä•E1 9+9 N6A 8 6' '5 5 '6& 6'D/Ä•A Ä› E 6%.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' Ä•1 11

2.

D/ĕE1 9+9 N6'4A 8 .Ĕ+ Ĕ6 1 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 5J IN6 6%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' .N6/'5 Č 9I 9 ( + 9I7) N6 + 670 )ĕ6 6 Č 9I 10 ( + 9I 8) N6 + 770 )ĕ6 6 B)4 Č 9I 11 ( + 9I 9) N6 + 770 )ĕ6 6 '+%A ě A 8 5J .8J 2,210 )ĕ6 6 "'ĕ1% ĕ+& 1 A 9J&D 15 '6'ĕ1&)4 15 Ĕ1 ČC & N6 + A ě '6&+5 6% N6 + +5 9I N6'4)Ĕ6 ĕ6

3.

D/ĕE1 9+9 N6'4 Ĕ6 '5 D 15 '6'ĕ1&)4 10 1 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 9I . . 4E ĕ'5 D Č 5J G C & 8 A ě '6&+5 6%.5gg6 A ĕ6'Ĕ+% 6 3 ĕ1 11 +'' .1 6 ' 9 9IE1 9+9 N6A 8 6'A';I1 5 '6& 6'E%ĔA ě E 6% ĕ1 11 +'' / :I 5J B Ĕ+5 9I 1 A%-6& 2547 : +5 9I 13 5 +6 % 2549 :I . . E ĕA'9& 'ĕ1 %6A ě N6 + A 8 97,760 )ĕ6 6 (E1 9+9E ĕ N6A 8 6' '5 5

'6& 6' 6% N6"8"6 -6 1 ,6) '1 .= .< 5J B Ä”+5 9I 14 5 +6 % 2549)

5J 9J . .B ĕ +Ĕ6/6 E1 9+9E%Ĕ N6'4A 8 N6 + 5 )Ĕ6+$6&D 45 +5 5 5J B ĔE ĕ'5 / 5 .;1B ĕ (+5 9I 15 5 +6 % 2549) . . 4 N6A 8 6' 6% ĕ1 N6/ D .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' B)4 ĕ1 /%6& Ĕ1E +5 9I 21 5 +6 % 2549 E1 9+9E ĕ%9/ 5 .;1 : . . C &%9.6'4.N6 5g 5 9J 1.

E1 9+9E Ä• N6A 8 6' '5 5 '6& 6'D/Ä•A Ä› E 6%.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' Ä•1 11 A'9& 'Ä•1&B)Ä•+ 5J B Ä”+5 9I 14 5 +6 % 2549 A Ä› Ä• %6

2.

E1 9+9%8E Ä• 8 5 N6'4 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' 6% 9I1Ä•6 : A ;I1 6 E1 9+9E Ä• N6'4 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6''6& ÄŒ N6 + 230 )Ä•6 6 6% N6 9J 6 1 41 <g6C <)6 6' :I N6 9J 6 5 )Ä”6+%9 ) = "5 =Ä”.5gg6 5J .1 !Ä?6& 6%.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' Ä•1 15 5 5J E1 9+9 : E%Ä”%9$6'4 1 A 9J& 1 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.Ä”+ Ä”6 5 )Ä”6+ D Ä”+ '4&4A+)6 5J B Ä” 1 <g6C <)6 6' 9J 6 : +5 9I,6) '1 .= .< %9 N6"8"6 -6

3.

E1 9+9E%ĔA/H "ĕ1 5 . . ' 9 9I ĕ1 Ĕ6& Ĕ6 '5 N6 + 97,760 )ĕ6 6 B)4 6' N6/ D/ĕE1 9+9 N6'4 Ĕ6 '5 5 )Ĕ6+$6&D 45 +5 ĕ+&A/ < ) 5 9J 3.1

E1 9+9%8E Ä• 8 5 8 8 .5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' A ;I1 6 E1 9+9E Ä• 8 5 8 6%.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' Ä•1 15 :I N6/ +Ä”6 “D/Ä• N6 9J 6 1 41 <g6C <)6 6'%9 ) = "5 =Ä”.5gg6 5J .1 !Ä?6&â€? 5 5J 6' N6A 8 6' '5 5

'6& 6' 5J B Ä”+5 9I 1 A%-6& 2547 : +5 9I 13 5 +6 % 2549 :I A Ä› +5 9I,6) '1 .= .< %9 N6"8"6 -6 B)4 Ä•1 30 +'' Ä•6& 1 Ä•1 5 5 .N6 5 6 ,6)&< 8 ''%B)4%6 '6 70 +'' 2 B/Ä” "'4'6 5gg5 8 5 5J ,6) '1


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ B)4+8 9"8 6' 6 9 '1 2542 5 5J 6' N6A 8 6' 1 E1 9+9 : A Ä› 6' '4 N6C & 1 6%.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' B)4 /%6&B)Ä•+ 3.2

A";I1D/Ä•.1 )Ä•1 5 '4 + 6' N6 Ä•1"8"6 A. 1 Ä”1 41 <g6C <)6 6'B)4D/Ä•+8 8 5& 9J 6 6% 9I )Ä”6+%6D Ä•1 3.1 /6 '6 +Ä”6E1 9+9A Ä› !Ä?6& 8 .5gg6 .8 8 1 . . D 6' 1 A)8 .5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' 4%9 :J /)5 6 '4 + 6'&< 8 Ä•1"8"6 E Ä• : 9I.< B)Ä•+

3.3

,6) '1 E ĕ 5 N6A1 .6' “ Ĕ6+,6) '1 � '5J 9I 78/2549 5 ) +5 9I 13 5 +6 % 2549 '4 < : N6 "8"6 -6,6) '1 .= .< 9 1 E1 9+9C &%9 ĕ1 +6% 1 / :I '4 <+Ĕ6“ ' 9A 9I&+ 5 Ĕ6 '5 =Ĕ.5gg6 ĕ1 +Ĕ6 )Ĕ6+ 5 A1 /6 ) E%ĔE ĕ ĕ1 A. 1 ĕ1"8"6 6%+8 9 6' 9I'4 <E+ĕD .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'�

3.4

1 A 9J&B)4 Ĕ6 '5 6 6' N6A 8 6' '5 5 '6& 6' 5J &5 E%Ĕ%9 ĕ1&< 8A ;I1 6 E%ĔD Ĕ '4A H "8"6 9IA ĕ6.=Ĕ 6' "8 6' 6"8"6 -6 1 ,6) '1 .= .< 5 5J /6 =Ĕ.5gg6%9 ĕ1 5 B&ĕ B)4E%Ĕ.6%6' N6 +6% ) 5 E ĕ H 15 :I N6/ +Ĕ6 4 ĕ1 A. 1 ĕ1"8"6 Ĕ1 41 <g6C <)6 6'C &A ě E 6%.5.5gg61 < g1 <gg6 D/ĕ ĕ11 †Š 6 D/ĕ N6N6A 8A 8 6' 6' ĕ “/6 %9 ĕ1"8"6 /';1 ĕ1 5 B&ĕ D G 15 A 9I&+A ;I1 5 .5gg6'4/+Ĕ6 . . 5 =ĕA ĕ6'Ĕ+% 6 (E1 9+9) =Ĕ.5gg6 )

B Ä” 5J 41 <g6C <)6 6' N6 6'+8 8 5& 9J 6 Ä•1"8"6 C & N6 5 .8 1 41 <g6C <)6 6'A Ä› 9I.< B)4 = "5 =Ä”.5gg6 5J .1 !Ä?6&â€?

E1 9+9B)4 9I ': -6 /%6& 1 E1 9+9A/H +Ĕ6 6' N6 + Ĕ6 '5 6 6' '5 5 '6& 6' 6%+8 9 1 . . 5 )Ĕ6+ ĕ6 ĕ E%Ĕ = ĕ1 6% A 6'% Ę 1 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' :I /6 E1 9+9A ĕ6 Ĕ6& 4 ĕ1 A.9& Ĕ6 '5 6' 8 N6 + Ĕ6 '5 +' 4A ě N6 + A 8 D 15 '6 E%ĔA 8 +Ĕ6 274,000 6 Ĕ1+5 %8D Ĕ 100 )ĕ6 6 Ĕ1+5 6% 9I . . )Ĕ6+1ĕ6 5 5J E%Ĕ+Ĕ6 ' 9 4A ě 1&Ĕ6 E'/6 4%9$6'4 Ĕ6 '5 C & 5 5J B Ĕ+5 9IE1 9+9 8 5 8 6% N6 9J 6 1 41 <g6C <)6 6' : +5 9I,6) '1 .= .< %9 N6 5 .8 6% 9I . . )Ĕ6+1ĕ6 ( 5J B Ĕ +5 9I 1 A%-6& 2547 : +5 9I 13 5 +6 % 2549) 6' 8 N6 + Ĕ6 '5 D Ĕ+ A+)6 5 )Ĕ6+ : E%Ĕ +' 4A 8 E +Ĕ6 N6 + 268 )ĕ6 6 %8D Ĕ 97,760 )ĕ6 6 6%+8 9 N6 + 9I . . A'9& 'ĕ1 D/ĕ N6'4B)4 N6%6D ĕA ě A/ < 1 A)8 .5gg6B Ĕ1&Ĕ6 D .N6/'5 ' 9 9I . . A'9& 'ĕ1 1 A 9J& 1 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 E1 9+9B)4 9I ': -6 /%6& 1 E1 9+9%9 +6%A/H +Ĕ6D Ĕ+

'4/+Ä”6 '4&4A+)6 9IE1 9+9E Ä• 8 5 8 6% N6 9 J 6 1 41 <g6C <)6 6'E1 9+9E%Ä”%9/ Ä•6 9ID 6' Ä•1 N6'4 B)4E1 9+9E%Ä”E Ä• 8 5 6' N6'4 Ä”6 1 <g6 D/Ä• N6A 8 6'B Ä”1&Ä”6 D A ;I1 6 E1 9+9E Ä• N6'4 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6''6& ÄŒ N6 + 230 )Ä•6 6 6% N6 9J 6 4 1 <g6C <)6 6' :I = "5 5J .1 !Ä?6&B)Ä•+ 6%.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' Ä•1 15 D Ä”+ A+)6 9I N6 9J 6 &5 %9 ) 5 5 D Ä•1&=Ä”C & 9IE1 9+9 %8E Ä• 8 5 N6'4 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'B)4//';1 N6'4 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'D/Ä•B Ä” . . )Ä”6 Ä•6 19 5J . . &5 E%Ä”A &D Ä•.8 8A'9& 'Ä•1

6 ,6)D 6' 1 <%ĕ '1 A";I1'4 5 %8D/ĕE1 9+9 8 5 8 6% N6 9J 6 1 1 <g6C <)6 6'D Ĕ+ A+)6 5 )Ĕ6+B Ĕ '4 6'D 5 5J E1 9+9 : E%Ĕ %9$6'4 1 A 9J& 1 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 B)4 . . E%Ĕ%9.8 8A'9& 'ĕ1 1 A 9J& 1 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 D '4/+Ĕ6 9I N6 9 J 6 1 41 <g6C <)6 6'&5 %9 ) = "5 6 /%6&1&=Ĕ 19 5J N6"8"6 -6 1 ,6) '1 )6 9I%9 N6.5I D/ĕA"8 1 N6 9J 6 1 1 <g6C <)6 6'&5 E%Ĕ%9 ) 5 5 A ;I1 6 &5 1&=ĔD '4/+Ĕ6 9IE1 9+9&;I 1< ' Ę Ĕ1,6) '1 .= .< B)4,6) '1

.= .< &5 E%Ä”%9 N6"8"6 -6D 4 5J

‡‡ˆ


‡‡‰

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ +5 9I 4 % '6 % 2550 E1 9+9E Ä•&;I Ä•1"8"6 A';I1 Ä”6 '5 6 6' '5 5 '6& 6'B)4 1 A 9J&D Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.Ä”+ Ä”6 Ä”1 . 6 5 1 <g6C <)6 6'A Ä› 9/%6&A) N6 9I 1/2550 .Ä”+ A';I1 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.Ä”+ Ä”6 N6 + 2,210 )Ä•6 6 5J E1 9+9%9 +6%A/H +Ä”6A";I1D/Ä• 6' N6A 8 6' 6%.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'A Ä› E C &'6 ';I B)4A";I1A Ä› 6' '4 9 '4 1%%8D/Ä• . . 1 A)8 .5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' 15 4%9 ) '4 Ä”1 8 6' 1 E1 9+9E1 9+9 : E Ä• 5 .8 D A. 1A ;I1 E 6' '4 9 '4 1%C &A. 1B + 6 6' Ä” 2,210 )Ä•)Ä•66 6 C &%9A ĂŤ ;I 1 E D/Ä• 6 6' Ä”66&A 8 &A è ‡ Â‡Â†Â… 6 C &%9 E D/Ä• . . . ƒ A Ä•6'Ä”+% N6A 8 6' 6% '4 + 6'1 <g6C <)6 6'A";I1D/Ä• 4 1 <g6C <)6 6'%9 N6+8 8 5& 9J 6 ' 9 Ä”6 '5 B)4 1 A 9J& Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.Ä”+ Ä”6 :I . . E Ä• 8A. A ;I1 E B + 6 6' N6'4A 8 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' 5 )Ä”6+A%;I1+5 9I 31 % '6 % 2550 +5 9I 2 <%$6"5 Ę 2550 E1 9+9E Ä•%9/ 5 .;1 1 +6%A Ä› ''% Ä”1 3" 3 6& '5 % '9C &A. 1B + 6 6' '4 9 '4 1%D 6' B Ä• Ä™g/6 Ä•1"8"6 C &A. 1D/Ä• . . '5 N6'4A 8 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.Ä”+ Ä”6 N6 + 2,210 )Ä•6 6 B)4D/Ä• N6A 8 6' 6% '4 + 6'1 <g6C <)6 6' ' 9 Ä”6 '5 B)4 1 A 9J& +5 9I 13 <%$6"5 Ę 2550 . . E Ä•%9/ 5 .;1 8A. Ä•1A. 1 1 E1 9+9 5 )Ä”6+ 5 5J 5 B Ä”+5 9I . . %9/ 5 .;1 8A. Ä•1A. 1 1 E1 9+9 E1 9+9 : E%Ä”%9$6'4 = "5 D G D Ä•1A. 1 1 E1 9+9 9I%9 Ä”1 . . 19 Ä”1E 5J 9JA Ä› E 6%%6 '6 357 B/Ä” '4%+) /%6&B"Ä” B)4"6 8 &Ę Ä”1%6,6) '1 )6 E Ä•%9 N6.5I D/Ä• N6/ Ä”6& 9/%6&A) N6 9I 640/2550 ) +5 9I 22 %8 < 6& 2550 C &,6)E Ä•+8 8 5&+Ä”6 '4A H 9I . . 1Ä•6 +Ä”6E1 9+9&1%'5 +Ä”6A Ä› / 9J Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' Ä•6 N6'41&=Ä” N6 + 2,210 )Ä•6 6 "'Ä•1% 1 A 9J&'5 #Ä™ E%Ä”E Ä•+Ä”6E1 9+9 &1%'5 .$6"/ 9J A"'64A Ä› Ä• 1A. 1 6 A); 1 D 6'B Ä• Ä™ g/6/)6&B + 6 :I &5 E%Ä” A Ä› 9I &< 8 :I ; 1A Ä› Ä• 1"8 "6 9I Ä• 1 N 6A Ä• 6.=Ä” '4 + 6'1 <g6C <)6 6' +5 9I 20 <%$6"5 Ę 2550 E1 9+9E Ä•&;I N6'Ä•1 1D/Ä•,6) '1 )6 %9 N6.5I N6/ %6 ' 6'/';1+8 9 6' <Ä•% '1 A";I1 ''A 6 < Ę 5I+ '6+ Ä”1,6) '1 )6 B)4 N6'Ä•1 1D/Ä•,6) '1 )6 "8 6' 6A Ä› ' 9 < A 8 D 2 '4A H 5 9J 1.

E1 9+9 1D/ĕ,6) '1 )6 %9 N6.5I '4 5 6'D ĕ.8 8 1 A)8 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 1 . . D ' 9 9IE1 9+9&5 %8E ĕ N6'4 Ĕ6 '5 6 6' '5 5 '6& 6'B)4 1 A 9J&D Ĕ6.Ĕ+ Ĕ6 N6 + '4%6 / :I B. )ĕ6 6 +Ĕ6 41 <g6C <)6 6' 4E ĕ%9 N6 9J 6 B)4 ĕ1"8"6 5 )Ĕ6+ : 9I.< 6% /%6&

2.

E1 9+9 1D/ĕ,6) '1 )6 %9 N6.5I N6/ '4&4A+)6A";I1D/ĕE1 9+9 N6'4 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 N6 + 2,210 )ĕ6 6 D/ĕB Ĕ . . $6&D 30 +5 5 B Ĕ+5 9I,6)E ĕ%9 N6.5I D A';I1 9J

+5 9I 21 <%$6"5 Ę 2550 ,6) '1 )6 E ĕ%9 N6.5I E%Ĕ'5 N6'ĕ1 1D/ĕ,6) N6/ %6 ' 6'/';1+8 9 6' <ĕ% '1 A";I1 ''A 6 < Ę 5I+ '6+B)4 N6'ĕ1 1E Ĕ.+ < A 8 9IE1 9+9E ĕ&;I Ĕ1,6) '1 )6 C &%9 ĕ1+8 8 5&+Ĕ6 6' 9I . . 4D ĕ.8 8 1 A)8 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 5J /6 E1 9+9A/H +Ĕ6 6' 1 A)8 .5gg6E%Ĕ 1 H&Ĕ1%%9.8 8A'9& Ĕ6A.9&/6& 6 6' 1 A)8 .5gg6 5 )Ĕ6+E ĕ .Ĕ+ ' 9 9I . . A'9& D/ĕ =ĕ'ĕ1 (E1 9+9) N6'4 Ĕ6 '5 B)4 1 A 9J& Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 '+% 5J 1D/ĕ,6) N6/ '4&4A+)6A";I1D/ĕE1 9+9 .6%6' N6'4 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' N6 + 2,210 )ĕ6 6 D/ĕB Ĕ . . $6&D 30 +5 5 B Ĕ+5 9I,6)E ĕ%9 N6.5I 5J ,6)A/H +Ĕ6A ě ' 9'4/+Ĕ6 E1 9+9B)4 . . 9I 4A ' 6 ) 5 B)4/6 E1 9+9A/H +Ĕ6E%Ĕ ĕ1 N6'4/';1 1 Ĕ1 5 6' N6'4/ 9J HA ě .8 8 9I N6A 8 6'E 6%


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 5J 1 1 .5gg6B)4 '4 + 6' 6% /%6& Ä”1E : E%Ä”%9A/ <15 .% +' 9I,6) 4%9 N6.5I N6/ %6 ' 6'/';1+8 9 6' <Ä•% '1

'4C& Ę 1 E1 9+9 4 N6A 8 6' :I N6.5I ,6) '1 )6 5 )Ä”6+D/Ä• ;1A Ä› 9I.< C &E1 9+9E%Ä”16 1< ' Ę N6.5I 5 )Ä”6+E Ä• I 7 %9 6 % äçç„ . ƒ %9 6 % 2550 . . /%9 5/ 5.; 1.; 1 A)8 1 1 A)8 .5 g .5g g61 < 6 D/Ä• 6'B)4B Ä• 6' N 6'4/ 9

%1 '5 9IE+1Ê +5+5 9 9 I † %9 g61 < gg 6 D/ĕ 6N A 8N6 A 8 6'B)4B ĕ

D/ĕ ED/ĕ1 9E1 9 + Ê +6N 9 A 8N6 A 8 6' N 6'4/ 9 BJ )4.ĔJB)4.Ĕ

%1 '5 "&Ę". 8&Ę 9.EI8 1 9 D Ä•D 6' N 8 6' 6%.5 gg61 < g6 D/Ä• 6' ;D/Ä• D/Ä• . . $6&D A+)6 9 I . ƒ N I . . N66/ 6%% 8 / 6%% 8 1 4'5 1 4'5 % 'ĂŠ % '9AA%;%;1I I1 %9 9E++Ä•9%D Ä•9E+Ä•D 6' N 6A 86 A 8 8 6' 6%.5 gg61 < g6 D/Ä• 6N A 8N6 A 8 6' ; B Ä”B Ä”. ƒ $6&D A+)6 9 +5+5 9 9 I ‹ %9 1 9++9 ĂŠ N66N A Ä›A Ä› Ä• Ä•11 /&<

/&< 6' N 6' N66A 8A 8 < <'' 8 8 . 6 9 . 6 9C ' 5 C ' 5,, Ę ĘD '4 &= D '4 &=A1 A1# A1 A1# I 6 %9 6 % ‡ŠŠ… : 6 % 2550 : I 6' 1 A)8 .5gg6 5 )Ĕ6+A ě A/ <D/ĕEE1 9

‡ %9%9 6 % äçç„ E1 9 g61 < gg 6 D/Ä• 6N A 8N6A 8 6' 1 . ƒ B)4A'ĂŠ & 'Ä•& 'Ä• 1 D/Ä• E1 9E1+ĂŠ 6 % 2550 E1 9++ĂŠE Ä•9E Ä•%%/9 9/ 5 5 .; .;11 : : . ƒ C &E Ä•

. . C &E Ä•C Ä•C Ä•B&Ä•B &Ä•+Ä” 6+Ä” 6' 1 A)8 6 6' 1 A)8 .5 g .5g g61 < 6 D/Ä• 6' 1 . . B)4A'9 1 D/Ä• +5+5 9 9I I 28 J N6J + +Ä” 6B. )Ä• g6 9 Ä•+19 NÄ•16 N'4/ 9 6'4/ 9 N6 + +Ä” 6B. )Ä•6 6 D/Ä• 6 6 D/Ä•B Ä”B Ä” . ƒ : . . I : . ƒ N I . . 6 N%6A Ä› 6%6A Ä› A/ < A/ < 1 A)8 1 A)8 .5.5ggg6 5 g6 5J J E%Ä”E%Ä” 1 Ä• 1 Ä•++& /%6&B)4 Ä• & /%6&B)4 Ä•1.5gg6 A ;I1 6 E1 9+9%8E Ä• '4 N6 6'D G :I A Ä› 6' 8 .5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'E1 9+9%8E Ä•A/H Ä•+& 5 6' 1 A)8 .5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' 15 A Ä› 6' '4 N615 E%Ä” 1 5 )Ä”6+ B)4C & 9I 6' 1 A)8 .5gg6 1 . . A Ä› 6' '4 N6 :I A Ä› A/ <D/Ä• 8 6' 1 E1 9+9 E Ä•'5 +6%A.9&/6& . . : Ä•1 '5 8 B Ä”E1 9+9B)4E1 9+9E Ä•. + .8 8D 6' N6A 8 6' 6% /%6& Ä”1E +5 9I 30 %9 6 % 2550 . . E Ä•&;I #Ä?1 Ä”1,6) '1 )6 9/%6&A) N6 9I 640/2550 A'9& 'Ä•1 D/Ä•E1 9+9 N6'4/ 9J Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.Ä”+ Ä”6 N6 + 2,210 )Ä•6 6 B)4 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' + 9I 12 N6 + 677 )Ä•6 6 ( 5 6 +5 9I 4 1 <g6C <)6 6'%9 N6 9J 6 : +5 9I 7 %9 6 % 2550) Ä”6 1 A 9J& 1 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.Ä”+ Ä”6 N6 + 562 )Ä•6 6 ( 5 6 +5 9I 41 <g6C <)6 6'%9 N6 9J 6 : +5 9I#Ä?1 9+5 9I 30 %9 6 % 2550) Ä”6 '5 5 '6& 6' N6 + 97,760 )Ä•6 6 B)4%=) Ä”6 '5"&Ę.8 .Ä” %1 E%Ä” ' N6 + 656 )Ä•6 6 "'Ä•1% 1 A 9J&D 15 '6'Ä•1&)4 7.5 Ä”1 ÄŒ 1 %=) Ä”6 '5"&Ę.8 9I.Ä” %1 E%Ä” ' 5 B Ä”+5 #Ä?1

+Ä”6 4 N6'4A 8 A.'H .8J :I ' 9%=) Ä”6 '5"&Ę.8 9I.Ä” %1 E%Ä” ' A Ä› '4A H D/%Ä” 9I . . E%Ä”A &A'9& 'Ä•1 D/Ä•E1 9+9 N6'4/ 9J%6 Ä”1 '+%A Ä› A 8 5J .8J 101,865 )Ä•6 6 +5 9I 8 "(-$6 % 2550 E1 9+9&;I N6#Ä?1 9 Ä”1,6) '1 )6 A Ä› 9/%6&A) N6 9I 910/2550 ' 9 . . E%Ä” N6 Ä•1 5 +'' .9I A. 1 4'5 % '9D/Ä• +6%A/H 1 Ä”1 ) 6%.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' A Ä› A/ <D/Ä• E1 9+9E Ä•'5 +6%A.9&/6& C &A'9& Ä”6A.9&/6& 119,252 )Ä•6 6 +5 9I 9 "(-$6 % 2550 E1 9+9&;I A. 1 Ä•1"8"6 Ä”1. 6 5 1 <g6C <)6 6'A Ä› 9/%6&A) N6 9I 46/2550 D/Ä• 41 <g6C <)6 6' %9 N6+8 8 5& 9J 6 ' 9 . . D Ä•.8 8 1 A)8 .5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'E%Ä” 1 Ä•+& /%6&B)4 Ä•1.5gg6B)4 +6%E%Ä” = Ä•1 D 6' A'9& 'Ä•1 D/Ä•E1 9+9 N6'4 Ä”6.Ä”+ Ä”6 1 A 9J& Ä”6 '5 %=) Ä”6 '5"&Ę.8 9I.Ä” %1 E%Ä” ' B)4A'9& Ä”6A.9&/6& 6 . . +5 9I 30 "(-$6 % 2550 9/%6&A) N6 9I 910/2550 :I E1 9+9A Ä› =Ä•#Ä?1 9 '4A H 9I . . E%Ä” N6 Ä•1 5 +'' .9I A. 1 4'5 % '9D/Ä• +6%A/H 1 ,6) '1 )6 %9 N6.5I E%Ä”'5 N6#Ä?1 E+Ä•"8 6' 6A ;I1 6 A 8 +Ä”616&< +6% (10 ÄŒ) +5 9I 22 %8 < 6& 2550 ,6) '1 )6 E Ä•%9 N6.5I D/Ä• N6/ Ä”6& 9/%6&A) N6 9I 640/2550 9I . . A Ä› =Ä•#Ä?1 9A'9& 'Ä•1 D/Ä•E1 9+9 N6'4 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.Ä”+ Ä”6 1 A 9J& Ä”6 '5 5 '6& 6'%=) Ä”6 '5"&Ę.8 9I.Ä” %1 E%Ä” ' A";I1D/Ä• =Ä”.5gg6E N6A 8 6' 6

1 <g6C <)6 6' 6% 9I N6/ E+ĕD .5gg6'Ĕ+% 6 3 Ĕ1%6A%;I1+5 9I 24 ' 6 % 2550 . . E ĕ&;I 1< ' Ę N6.5I ,6) '1 )6

‡‡Š


‡‡‹

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 5 )Ä”6+ Ä”1,6) '1 .= .< B)4&;I N6'Ä•1 1 <Ä•% '1 5I+ '6+ Ä”1 %9 6'"8"6 -6D/Ä•/&< '4 + 6'1 <g6C <)6 6'A";I1'1 N6.5I

,6) '1 .= .< +5 9I 11 ' 6 % 2550 E1 9+ĂŠ9& ;I 1< ' Ę Ä”1,6) '1 .= .< ' 9,6) '1 )6 %9 N6.5I E%Ä”'5 #Ä?1 9/%6&A) N6 9I 910/2550 A"'64A/ < 6 16&< +6% ( 9/%6&A) N6 9I 910/2550 A Ä› 9 9IE1 9+9A Ä› # =Ä• Ä?1 9 '4A H 9I . . E%Ä” N6 Ä•1 5 +'' .9I A. 1 4'5 % '9 D/Ä• +6%A/H 1 A Ä› A/ <D/Ä•E1 9+9E Ä•'5 +6%A.9&/6& C &A'9& Ä”6A.9&/6& 119,252 )Ä•6 6 ) +5 9I 24 ' 6 % 2550 . . E Ä•&;I 1< ' Ę N6.5I 1 ,6) '1 )6 9I 5 .8 D/Ä• N6/ Ä”6& 9/%6&A) N6 9I 640/2550 Ä”1,6) '1 .= .< B)4&;I N6'Ä•1 1 <Ä•% '1 5I+ '6+D/Ä•/&< '4 + 6'1 <g6C <)6 6'A";I1'1 N6.5I 1 ,6) '1 .= .< +5 9I 29 <)6 % 2550 E1 9+9E Ä•&;I N6'Ä•1 1D/Ä•,6) '1 )6 %9 N6.5I N6/ %6 ' 6' <Ä•% '1 A";I1 ''A 6 < Ę 5I+ '6+ Ä”1 6' "8"6 -6A";I1%8D/Ä•'Ä”6 "'4'6 5gg5 81 Ę 6' '4 6&A.9& B)4B"'Ä”$6".6 6' 4B/Ä” '4A ,E &%9 )D Ä• 5 5 :I 4'5 % '9E Ä•%9% 8 1 <%5 8/)5 6''Ä”6 "'4'6 5gg5 8 5 )Ä”6+A%;I1+5 9I 24 A%-6& 2550 C & 4 N6A. 1.$6 8 8 5gg5 8B/Ä” 6 8D +5 9I 31 <)6 % 2550 C &E1 9+9E Ä•D/Ä•A/ < )D N6'Ä•1 +Ä”6 /6 'Ä”6 "'4'6 5gg5 8 5 )Ä”6+ Ä”6 6'"8 6' 6B)4%9 ) 5 5 D Ä•A Ä› /%6&B)Ä•+ 4%9 )D/Ä• N6 +8 8 5& 1 41 <g6C <)6 6'/';1 N6"8"6 -6 1 ,6) '1 D Ä•1"8"6 /';1 9'4/+Ä”6 E1 9+9 5 . . 9IA 8 :J /)5 6 +5 9I 31 <)6 % 2550 9IA 9I&+ 5 Ä•1A'9& 'Ä•1 Ä”6A.9&/6& Ä•1/ :I 1 E1 9+9 :I E1 9+9E Ä•A'9& 'Ä•1 D/Ä• . . D Ä• Ä”6A.9&/6&D/Ä•E1 9+9C & 6'1 <g6 D/Ä• E1 9+9 )5 A Ä•6 N6A 8 6'. 6 9C ' 5, Ę'4 &= A1 A1# C &D Ä• );I +6% 9IB)4 '5"&Ę.8 1< ' ĘA ';1 Ä”6&A 8% Ä”1E ' 6% N6/ '4&4A+)6D .5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'A 8% E%Ä”16 %9 ) 5 5 E Ä•1 9 Ä”1E A ;I1 6 '' 6 '5"&Ę.8 Ä”6 G '+% : .8 8/ Ä•6 9I B)4$6'4 = "5 1 E1 9+9 6%.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' 4 A Ä› 1 '5 6% A "64 6) %6 '6 56 B/Ä” 'Ä”6 "'4'6 5gg5 8 5 )Ä”6+E1 9+9 : 1D/Ä•,6) '1 )6 "8 6' 6E Ä”.+ < A 8 B)4%9 N6.5I D/Ä•'4 5 /';1/6%6 ' 6'/&< N6A 8 6'/';1/&< 6'A. 1'Ä”6 /%6& 'Ä”6 "'4'6 5gg5 81 Ę 6' '4 6&A.9& B)4B"'Ä”$6".6 6' 4B/Ä” '4A ,E &D/Ä•.$6 8 8 5gg5 8B/Ä” 6 8"8 6' 6C &A'Ä” Ä”+ 6%B Ä” +8 9 6' 9I,6) '1 )6 4A/H .% +' +Ä”6 9 4 : 9I.< /';1,6) '1 )6 4%9 N6.5I A Ä› 1&Ä”6 1;I +5 9I 30 <)6 % 2550 ,6) '1 )6 E Ä•%9 N6.5I E%Ä”'5 N6'Ä• 1 1 <Ä•% '1 < A 8 1 E1 9 +9C &D/Ä•A/ < )+Ä”6 6'"8 6' 6'Ä”6

"'4'6 5 gg5 8 5 )Ĕ 6+A ě 6' '4 N 6D / ĕ 6 9I 1 .%6 8 .$6 8 8 5 gg5 8 B/Ĕ 6 8 :I A ě 6'D ĕ 1N 6 6 6 8 8 5 gg5 8 6% '5 ''% =g %8D Ĕ 6'D ĕ1N6 6 6 '1 : E%Ĕ%9A/ < )15 +'B)4A"9& "1 9I,6) 4%9 N6.5I '4 5 6' N6A 8 6' 1 .$6 8 8 5gg5 8 6 8EE ĕ ĕB)4 ę B)4 ę < Ā5 ĕ5 1 ĕ"81""ô6 5 "6 5 J 1&= ĔD '4/+Ĕ 6 6'"ô 6' 6 1 41 < g6C < )6 6' ê B/Ĕ 6 8 J 1&= ĔD '4/+Ĕ 6 6'"8 6' 6 1

41 < g6C < )6 6' :E%Ä” E%Ä”%9A%/ < 9A/ < ).% +' 9 ).% +' 9I,I,6) '1

6) '1

)6 4%9 N6.5I N6/ %6 ' 6' <Ä•% '1 6% 9IE1 9+9 'Ä•1 1%6E Ä• +5 9I 31 <)6 % 2550 'Ä”6 "'4'6 5gg5 81 Ę 6' '4 6&A.9& B)4B"'Ä”$6".6 6' 4B/Ä” '4A ,E & 5 )Ä”6+E Ä• Ä”6 6'1 <%5 8 6 .$6 8 8 5gg5 8B/Ä” 6 8B)41&=Ä”'4/+Ä”6 6'A '9&% 6' '4 6,D '6 8 6 <A -6D/Ä•%9 ) 5 5 D Ä•A Ä› /%6& Ä”1E 1&Ä”6 E' H 6%E1 9+9 &5 %9 9 +6%#Ä?1 'Ä•1 5 . . 9I&5 N6A 8 Ä”1E D '4 + 6'&< 8 ''%B)4 Ä•1A'9& 'Ä•1 Ä”6A.9&/6& Ä•11;I G 9IA'9& 'Ä•1 D/Ä• . . A & Ä”6A.9&/6&C & N6'4 ; A Ä› A 8 . D/Ä•B Ä”E1 9+9&5 %9 ) 6 /%6&1&=Ä”/6 ,6)%9 N6"8"6 -6 9J 6 6% 9IE1 9+9A'9& 'Ä•1


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ +5 9I 14 "(, 8 6& 2550 9/%6&A) N6 9I 910/2550 9I '8-5 #Ä?1 ' 9 . . E%Ä” N6 Ä•1 5 +'' .9I A. 1 4'5 % '9A/H 1 Ä”1 )

6%.5gg6C &A'9& Ĕ6A.9&/6& 119,252 )ĕ6 6 A ĕ6'Ĕ+% 6 3 ,6) '1 .= .< E ĕ%9 N6.5I A Ĕ A 9&+ 5 ,6) '1 )6 C &E%Ĕ'5 "8 6' 6 N61< ' ĘD 9 5 )Ĕ6+A"'64A/ < 6 16&< +6% (10 Č) +5 9I 19 5 +6 % 2550 ,6) '1 .= .< E ĕ%9 N6.5I &; 6% N6.5I 1 ,6) '1 )6 C &,6) '1 .= .< %9 N6.5I D/ĕ N6/ Ĕ6& 9 9I1ĕ6 : A";I1D/ĕ =Ĕ.5gg6E N6A 8 6' 6 1 <g6C <)6 6' Ĕ1E 5 5J ĕ1"8"6 . 6 5 1 <g6C <)6 6' 9I1/2550 :I E1 9+9E ĕ&;I N6 A. 1 ĕ1"8"6 Ĕ1. 6 5 1 <g6C <)6 6'A%;I1+5 9I 4 % '6 % 2550 ( Ĕ1 = 1 A)8 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6') A";I1 1D/ĕ 4 1 < g 6C < )6 6'%9 N 6 9J 6 A';I 1 Ĕ 6 '5 5 '6& 6'B)4 1 A 9J & 1 Ĕ 6 1 < g 6 D/ĕ N 6A 8 6'.Ĕ + Ĕ 6 B)4 ĕ 1"8 "6 . 6 5 1 <g6C <)6 6' 9I 46/2550 :I E1 9+9E ĕ&;I N6A. 1 ĕ1"8"6 Ĕ1. 6 5 1 <g6C <)6 6' A%;I1+5 9I 9 "(-$6 % 2550 (/)5 = 1 A)8 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6') D ' 9 9I . . 1 A)8 .5gg6E%Ĕ 1 ĕ+& ĕ1 /%6&B)4 ĕ1.5gg6B)4 8 5 8/ ĕ6 9IC &E%Ĕ 1 N6 D/ĕE1 9+9E ĕ'5 +6%A.9&/6& :I ę < 5 ĕ1"8"6 5J 2 9 5 )Ĕ6+1&=Ĕ'4/+Ĕ6 6' N6A 8 '4 + "8 6' 6 1 . 6 5 1 <g6C <)6 6' :

ĕ1 N6A 8 6' 6% '4 + 6'1 <g6C <)6 6' Ĕ1E +5 9I 15 % '6 % 2551 "'4'6 5gg5 81 Ę 6' '4 6&A.9& B)4B"'Ĕ$6".6 6' 4B/Ĕ '4A ,E &E ĕ%9 6' '4 6,D '6 8 6 <A -6C &%9 ) 5 5 D ĕA ě /%6& 5J B Ĕ+5 9I 15 % '6 % 2551 A ě ĕ E :I 4%9 )D/ĕ N6+8 8 5& 1 41 <g6 C <)6 6'/';1 N6"8"6 -6 1 ,6) '1 D ĕ1"8"6 /';1 9'4/+Ĕ6 E1 9+9 5 . . ĕ 1 ĕA'91&A'9 'ĕ& 'ĕ 1 Ĕ1 Ĕ 6A.96&A.9/6& ĕ 1/ : I 1 E1 9 . . 9IA 8 9 IA 8 : J : 9J IA 9 9I&A 9+ 5 I&+ 5 &/6& ĕ 1/ : I 1 E1 9 +9 +:I 9 E1:I

9+9E+ Ä• ĂŠ E Ä• A'9&A'ĂŠ 'Ä• D/Ä• . . E1 9 & 'Ä•1 1 D/Ä• . ƒ D Ä• Ä”6A.9&/6&D/Ä• E1 9+9B)4//';1 1D/Ä•E1 9+9 )5 A Ä•6 N6A 8 6'. 6 9C ' 5, Ę '4 &= A1 A1# C &D Ä• );I +6% 9IB)4 '5"&Ę.8 1< ' ĘA ';1 Ä”6&A 8% Ä”1E ' 6% N6/ '4&4A+)6D .5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'16 4E%Ä”%9 ) 5 5 E Ä• A ;I1 6 '' 6 8 6' 1N6 6 / Ä•6 9I '5"&Ę.8 '4%6 / 9J .8 8 );I B)4$6'4 = "5 1 E1 9+9 6%.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' 4 A Ä› 1 '5 6% A "64 6) %6 '6 57 B/Ä” "'4'6 5gg5 8 5 )Ä”6+ 1&Ä”6 E' H 6%E1 9+9&5 %9 9 +6%#Ä?1 'Ä•1 5 . . 9I&5

N6A 8 Ĕ1E D '4 + 6'&< 8 ''%B)4 ĕ1A'9& 'ĕ1 Ĕ6A.9&/6& ĕ11;I G 9IA'9& 'ĕ1 D/ĕ . . A & Ĕ6A.9&/6&C & N6'4 ; A ě A 8 . '+% : 6' A & +6%A.9&/6&C &+8 91;I G D/ĕB ĔE1 9+9&5 %9 ) 6 /%6&1&=Ĕ/6 ,6)%9 N6"8"6 -6 9J 6 6% 9IE1 9+9A'9& 'ĕ1

+5 9I 3 %9 6 % 2551 E1 9+9&;I N6'Ä•1 1 Ä”1. 6 5 1 <g6C <)6 6' A";I1'+% 6'"8 6' 6 9/%6&A) N6 9I 1/2550 B)4 9/%6&A) N6 9I 46/2550 4 9J1&=Ä”D '4/+Ä”6 6'"8 6' 6 1 . 6 5 1 <g6C <)6 6' +5 9I 7 %9 6 % 2551 E1 9+9E Ä•&;I N6'Ä•1 B Ä” 5J 1 <g6C <)6 6' :I A Ä› 5+B 1 !Ä?6&E1 9+9 5J 2 9B)4E Ä•'5 1 <%5 8B)Ä•+ 10 %8 < 6& 2553 E1 9+9E Ä•+6 A 8 '4 5 9/%6&A) N6 9I 46/2550 N6 + 5 )Ä•6 6 6% < '5"&Ę 9IB Ä”)4!Ä?6& 9IA'9& 'Ä•1 C & 8 N6 + 6 6 < '5"&Ę 9IE1 9+9A'9& 'Ä•1 N6 + 22 )Ä•6 6 .N6/'5 9/%6&A) N6 9I 1/2550 E%Ä”%9 < '5"&Ę E Ä•+6 A Ä”6 5 5J IN6 15 '6 9I N6/ E+Ä•.N6/'5 9 9IE%Ä”%9 < '5"&Ę ;1 20,000 6 Ä”1 '5J C & 1+6 5 '5J '+%A Ä› A 8 100,000 6

‡‡Œ


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 24 "(, 8 6& 2554 E1 9 +9 E ĕ A 'Ĕ '5 '4 + 6'"8 6' 6 9 Ĕ 1 . 6 5 1 < g 6C < ) 6 6' C & 1 5 ĕ 6 6' 9I . 6 5 1 <g6C <)6 6' 41 <g6 6' 1 &6&'4&4A+)6+6 A 8 '4 5 Ĕ6 ď+& 6'1 <g6C <)6 6'11 E A ;I1 6 A/H +Ĕ6 . . %9A 6 '4+8 A+)6 C & 1 &6&'4&4A+)6+6 A 8 '4 5 %6B)ĕ+%6 : 23 '5J A ě A+)6&6+ 6 : 2 ČA,- : E%Ĕ%9A/ < ).% +' 9I 41 <g6 D/ĕ &6&A+)611 E 19 2 5 +6 % 2554 . . E ĕ&;I N6'ĕ1 1 &6&A+)6+6 A 8 '4 5 ( '5J 9I 24) C &1ĕ6 : / 5 .;1 1 &6&A+)6+6 A 8 '4 5 ( '5J 9I 23) 9I '.1306/7334 ) +5 9I 22 5 &6& 2554 :I . . E ĕ 1 &6&A+)6+6 A 8 '4 5 11 E 19 60 +5 5 6 +5 9I 28 5 &6& 2554 21 5 +6 % 2554 . 6 5 1 <g6C <)6 6' 5 /%6& =Ĕ"8"6 %6A ' 6E )ĔA )9I& N6 +6% ) 5 C &%9% 8 9IA. 1D/ĕ 5J .1 !ď6& "8 6' 6 ;1 6' 4)1 6' N6A 8 9 1/2550 11 E Ĕ1 A";I1'1 ) 1 9 46/2550 A ;I1 6 A ě '4A H 9IA 9I&+C& 5 5 9 46/2550 B)4 9 46/2550 %9A ;J1/6 '1 )<% '4A H 6' 9 +6% Ĕ6 '5 D 9 1/2550 ĕ+& 19 5J 6''+% 9 5J .1 A ě E E ĕ&6 C & &5 %9 ĕ1C ĕB&ĕ A';I1 15 '6 6'+6 A 8 Ĕ6 ď+& 6' 19 5J .1 !ď6&E%Ĕ '4. Ę 1 1 N6A. 1 ĕ1"8"6 1/2550 1 6 9JA";I1D/ĕ ĕ1 "8"6 D 9 46/2550 N6A 8 '4 + 6' Ĕ1E E ĕ : A. 1D/ĕ 5J .1 !ď6&E "8 6' 6 6'+6 A 8 '4 5 Ĕ6 ď+& 6'D 9 46/2550 !ď6& )4 10 )ĕ6 6 30 5 +6 % 2554 . . %9/ 5 .;1 1 4)1 6' N6A 8 9 1/2550 11 E Ĕ1 A";I1'1 ) 9 46/2550 6% 9I. 6 5 1 <g6C <)6 6' A. 1%6 17 % '6 % 2555 E1 9+9E ĕ%9/ 5 .;1 1 4)1 6' N6A 8 9/%6&A) N6 9I 1/2550 A";I1'1 ) 1 9/%6&A) N6 9I 46/2550 6% 9I . 6 5 1 <g6C <)6 6' A. 1%6 Ĕ1%6. 6 5 1 <g6C <)6 6'E ĕ%9 N6.5I D/ĕ 4)1 6' N6A 8 9/%6&A) N6 9I 1/2550 6% 9IE1 9+9 B)4 . . A. 1E B)4D +5 A 9&+ 5 . .E ĕ+6 A 8 Ĕ6 ď+& 6'1 <g6C <)6 6' 1 9/%6&A) N6 9I 1/2550 N6 + 100,000 6 B)4+6 A 8 Ĕ6 ď+& 6'1 <g6C <)6 6' 1 9/%6&A) N6 9I 46/2550 N6 + 10 )ĕ6 6 "'ĕ1% 5J +6 A 8 Ĕ6D ĕ Ĕ6& 1 5J .1 9 9)4 15,000 6 20 % '6 % 2555 E1 9+9E ĕ+6 A 8 Ĕ6 ď+& 6'1 <g6C <)6 6' 1 9/%6&A) N6 9I 46/2550 A"8I%19 5 )ĕ6 6 '+%A ě 10 )ĕ6 6 6% 9I. 6 5 1 <g6C <)6 6'B ĕ %6 C &.'< E1 9+9&5 1&=Ĕ'4/+Ĕ6 '1 ) 6'"8 6' 6 6 . 6 5 1 <g6C <)6 6' 9J 6 A';I1 $6'4/ 9J Ĕ6 G 5 )Ĕ6+ 6% 9 ĕ1"8"6 /%6&A) N6 9I 1/2550 B)4A'9& 'ĕ1 Ĕ6A.9&/6& 9IA 8 :J 6 6' = 1 A)8 .5gg6C &%8 1 6% 9/%6&A) N6 9I 46/2550 5J 9J :J 1&=Ĕ 5 ) N6"8"6 -6 1 ,6) :I E%Ĕ16 6 6' Ę )E ĕ


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 3) / 9.J 8 91I 6 A 8 : J B)4 6' 5 : 5g 9 ' 9 1Ä• "8"6 '4/+Ä”6 E1 9+ 9 5 . . 6% 9I,6) '1 .= .< E Ä•"8"6 -6D/Ä•A"8 1 N6 9J 6 1 1 <g6C <)6 6'A%;I1+5 9I 13 5 +6 % 2549 B)4 6 6' 9I%9 ' 9"8"6 '4/+Ä”6 E1 9+9B)4 . . 5 5J / 9J.8 9I16 4A 8 :J 6 ' 9"8"6 %9 5 9J 1.

' 9 Ä”6 '5 D 6' '5 A )9I& 5 '6& 6' E1 9+9&5 %8E Ä• 5 : 5g 9 Ä”6 '5 D 6' '5 A )9I& 5 '6& 6' 5 )Ä”6+ A ;I1 6 6% 9I . . E Ä•&;I #Ä?1 9 Ä”1,6) '1

)6 A ě 9/%6&A) N6 9I 640/2550 A'9& 'ĕ1 D/ĕ E1 9+9 N6'4 Ĕ61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 1 A 9J& Ĕ6 '5 B)4%=) Ĕ6 '5"&Ę.8 9I.Ĕ E%Ĕ ' B)4,6) '1 )6 E ĕ%9 N6.5I D/ĕ N6/ Ĕ6& 9A";I1D/ĕ =Ĕ.5gg6E N6A 8 6' 6 1 <g6C <)6 6' D ' 9/%6&A) N6A) 9I 1/2550 :I A ě ' 9 9IE1 9+9 4 ĕ1 '1 N6+8 8 5& 9J 6 1 41 <g6C <)6 6'B)4 '4 + 6' &< 8 ''%D/ĕA ě 9I.< Ĕ1

2.

' 9 Ĕ6.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'.Ĕ+ Ĕ6 Č 9I 9 Č 9I 10 B)4 Č 9I 11 N6 + 2,210 )ĕ6 6 B)4 1 A 9J& Ĕ6& 1 Ĕ6.5gg6 1 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 5 )Ĕ6+'ĕ1&)4 15

6'A 8 '+% 5J B Ä”E '%6. 4/2549 E Ä• 5 : .N6'1 A ;I1 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.Ä”+ Ä”6 N6 + 2,210 )Ä•6 6 "'Ä•1% 1 A 9J&'Ä•1&)4 15 5 5J B Ä”+5 9I,6) '1 .= .< %9 N6 5 .8 A"8 1 N6 9J 6 1 41 <g6C <)6 6'A%;I1+5 9I 13 5 +6 % 2549 A ;I1 6 E1 9+9E Ä•&;I Ä•1A. 1 N6'4A 8 5 )Ä”6+C &%9A ;I1 E A";I1 6' '4 9 '4 1%%8D/Ä•%9 6' 1 A)8 .5gg6 A 8 :J B)4%9A ;I1 E A. 1 1D/Ä• N6 Ä”6 '5 B)4 1 A 9J&A Ä•6.=Ä” '4 + 6'1 <g6C <)6 6' 6%.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' Ä”1%6D E '%6. 9I 1/2550 . . E Ä• 8A. 9I 4'5 A ;I1 E 6' N6'4A 8 N6 + 5 )Ä”6+ : ;1E Ä•+Ä”6 Ä•1A. 1 1 E1 9+9&5 E%Ä”A Ä› 9I ) 5 5J .1 !Ä?6& : E%Ä”16 ;1E Ä•+Ä”6E1 9+9&1%'5 .$6"/ 9J Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.Ä”+ Ä”6 N6 + 2,210 )Ä•6 6 "'Ä•1% 1 A 9J& 1 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' N6 + 5 )Ä”6+B Ä”1&Ä”6 D 19 5J D A+)6 Ä”1%6,6) '1 )6 E Ä•"8"6 -6 5 .8 N6/ Ä”6& 9/%6&A) N6 9I 640/2550 :I . . A'9& 'Ä•1 D/Ä• N6'4 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.Ä”+ Ä”6 1 A 9J& Ä”6 '5 B)4%=) Ä”6 '5"&Ę.8 9I.Ä” E%Ä” ' A";I1D/Ä• N6 Ä•1"8"6 A Ä•6 N6A 8 6' 6% '4 + 6'1 <g6C <)6 6'B)4 '4 + 6'&< 8 ''% 6%.5gg6A Ä•6'Ä”+% 6 3

3.

%=) Ä”6 '5"&Ę.8 9I.Ä” %1 E%Ä” ' %=) Ä”6 '5"&Ę.8 9I.Ä” %1 E%Ä” ' N6 + 656 )Ä•6 6 "'Ä•1% 1 A 9J&D 15 '6'Ä•1&)4 7.50 Ä”1 ÄŒ 1 %=) Ä”6 9I.Ä” %1 E%Ä” ' 5 B Ä”+5 #Ä?1 +Ä”6 4 N6'4A 8 A ;I1 6 . . E%Ä”A &A'9& 'Ä•1 D/Ä•E1 9+9 N6'4/ 9J N6 + 5 )Ä”6+%6 Ä”1 E1 9+9 : E%Ä”%9$6'4 = "5 D 6'.Ä” %1 6%%=) Ä”6 5 )Ä”6+ 19 5J ,6) '1 )6 E Ä•%9 N6.5I D/Ä• N6/ Ä”6& 9 5 )Ä”6+B)Ä•+E1 9+9 : &5 E%Ä” 5 : '6& 6' 5 )Ä”6+D 6'A 8 A ;I1 6 %=) Ä”6 9I Ä•1 .Ä” %1 6% 9I . . )Ä”6+1Ä•6 5J A Ä› A"9& '4%6 6' <' 8 ( :I %9 5J

'4%6 6''6&'5 '6& Ĕ6& N6E' $6-9 B)4%=) Ĕ6 '5"&Ę.8 6') < A ě ĕ ) :I ĕ1 ) D .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' D A';I1 9IA 9I&+ 5 '5"&Ę.8 N6/ E+ĕB ĔA"9& +Ĕ6 =ĕA ĕ6'Ĕ+% 6 4 ĕ1 5 /6 '5"&Ę.8 %6A";I1 N6A 8 6'. 6 9C ' 5, Ę'4

‡‡Ž


‡ˆ…

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ &= A1 A1# D/Ä• '1 )<% '4 6 ''Ä•1&)4 96.72 1 N6 + '4 6 ' 5J '4A , C &%8E Ä• N6/ A ;I1 E %=) Ä”6 '5"&Ę.8 9I Ä•1 5 /6B Ä” '4 6'D C &E1 9+9E Ä• 5 /6 '5"&Ę.8 '1 )<% N6 + '4 6 ' 5 )Ä”6+A Ä› 9IA'9& 'Ä•1&B)Ä•+ : E%Ä”%9/ Ä•6 9I/';1 $6'4 = "5 D G 9I Ä•1 5 /6 '5"&Ę.8 /';1 D Ä•%=) Ä”6 '5"&Ę.8 D/Ä•B Ä” . . 19 B Ä”1&Ä”6 D E1 9+9&5 1&=Ä”'4/+Ä”6 '1 ) 6'"8 6' 6 6 . 6 5 1 <g6C <)6 6' 9J 6 A';1I $6'4/ 9J 5 )Ä”6+ 6% 9 Ä•1"8"6 /%6&A) N6 9I 1/2550 B)4A'9& 'Ä•1 Ä”6A.9&/6& 9IA 8 :J 6 6' = 1 A)8 .5gg6C &%8 1 6% 9/%6&A) N6 9I 46/2550 5J 9J :J 1&=Ä” 5 ) N6"8"6 -6 1 ,6) :I E%Ä”16 6 6' Ę )E Ä• 1&Ä”6 E' H 6%E1 9+9E Ä• 5 : .N6'1 A ;I1 Ä”6.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.Ä”+ Ä”6 N6 + 2,891 )Ä•6 6 B)4 1 A 9J&)Ä”6 Ä•6 1 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6' 5 5J B Ä”+5 9I,6) '1 .= .< %9 N6 5 .8 A"8 1 N6 9J 6 1 41 <g6C <)6 6' + 2,566 ‡ ÂŠÂ‹Â‹ )Ä•)Ä•6 6 N6 + 6 6 E+Ä•E+Ä•DD 6'A è 6'A 8 9JB)Ä•+ :I A Ä› 6 < 6 .N6'1 A ;I1 1 A 9J& 1 .Ä”+ Ä”6 1 Ä”61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'.N6/'5 ÄŒ.8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2555 N6 + 433 )Ä•6 6 (2554 : 433 )Ä•6 6 )

33.3 6' '4A%8 $6-9A 8 E ĕ 9I '4A ,18 A 9& E & %B)4A ĕ6" 5 6 '4A%8 $6-9 1 '4A ,18 A 9& %9 +6%A/H 9IB Ĕ6 5 A 9I&+ 5 '4A$ '6&E ĕ B)4$6'4$6-9.N6/'5 '6&E ĕ 6 6'D/ĕ '8 6' Ĕ1 .5gg6 6+A 9&% C &A ĕ6" 5 6 '4A%8 $6-9%9 +6%A/H +Ĕ6'6&E ĕ 1 E & % 6 6' D/ĕ '8 6' Ĕ1 .5gg6 6+A 9&%D/ĕ 5 =ĕD ĕ '8 6' 9I%9 8I 9I1&=ĔB)4E%Ĕ%9 8I 9I1&=ĔD '4A ,18 A 9&B Ĕ.6%6' '5 %B)4A ĕ6D E ĕ C & =ĕ'5 %D '4A ,18 A 9&A ě '6&E ĕ '4A$ Ĕ6.8 8/';1 Royalty 6%"'4'6 5gg5 8$6-9A 8 E ĕ 1 '4A ,18 A 9& B)4 1 <.5gg6A";I1/)9 A)9I& 6'A H $6-9 ĕ1 '4/+Ĕ6 '4A ,E & 5 '4A ,18 A 9& '6&E ĕ 5 )Ĕ6+ 1 E & % : ĕ1 = /5 $6-9 9I Ĕ6&D 15 '6'ĕ1&)4 15 E & %E%ĔA/H ĕ+& 5 +6%A/H 5 )Ĕ6+ C &E & %%9 +6%A/H +Ĕ6'6&E ĕ 6 6'D/ĕ '8 6' Ĕ1 .5gg6 6+A 9&%A ě '6&E ĕ 6 6' N6 <' 8 (Business income) A%;I1E & %E%Ĕ%9. 6 '4 1 6' 6+'D '4A , 18 A 9& '6&E ĕ 5 )Ĕ6+ : E%Ĕ ĕ1 A.9&$6-9D '4A ,18 A 9& B Ĕ '%.''"6 ' 1 '4A ,18 A 9&&; &5 +6%A/H A 8%B)4E ĕ N6 6' '4A%8 $6-9A 8 E ĕ A 8 A"8I% $6-9A";I1 6',: -6B)4 1 A 9J& 6 '6&E ĕ 9IE & %E ĕ'5 6 =ĕD ĕ '8 6' 1 E & % .N6/'5 Č '4A%8 2541-2542 : 2552-2553 (+5 9I 1 A%-6& 2540 : +5 9I 31 %9 6 % 2552) A ě N6 + A 8 '+% 805 )ĕ6 '= Č ( '4%6 450 )ĕ6 6 ) A 9J& '5 B)4 1 A 9J& 9I A 9I&+ ĕ1 5 A 9J& '5 A ě N6 + A 8 '+% 566 )ĕ6 '= Č ( '4%6 317 )ĕ6 6 ) 5J 9JE & %E ĕ N6D $6-9/5 9I Ĕ6& 9I =ĕD ĕ '8 6'D '4A ,18 A 9&E ĕ/5 $6-9 9I Ĕ6&E+ĕ : Č '4A%8 2552-2553 A ě A 8 N6 + .< 8 498 )ĕ6 '= Č ( '4%6 279 )ĕ6 6 ) :I 6 .Ĕ+ A ě $6-9/5 9I Ĕ6& 9I)= ĕ6A ě =ĕ'5 8 1 Ĕ6&B E & % +6 A ě /)5 '4 5 .N6/'5 $6-9A 8 E ĕ A 8 A"8I% $6-9A";I1 6',: -6B)4 1 A 9J& '+% : A 9J& '5 B)4 1 A 9J& 9IA 9I&+ ĕ1 5 A 9J& '5 B)4E & %&5 E ĕ+6 A 8 '4 5 A"8I%A 8%A ě A 8 N6 + 460 )ĕ6 '= Č ( '4%6 258 )ĕ6 6 ) C &E & %E ĕB. A 8 '4 5 5 )Ĕ6+A ě .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 1;I D B. 6 4 6'A 8


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ A%;I1+5 9I 4 %9 6 % 2554 Income Tax Appellate Tribunal (“ITATâ€?) E Ä•%9 N6 5 .8 +Ä”6 '6&E Ä• 1 E & % 6 6'D/Ä• '8 6' Ä”1 .5gg6 6+A 9&%D '4A ,18 A 9&E%Ä” ;1+Ä”6A Ä› Ä”6.8 8 (Royalty) A%;I1E & %E%Ä”%9. 6 '4 1 6' 6+'D '4A , 18 A 9& '6&E Ä• 5 )Ä”6+E%Ä” Ä•1 A.9&$6-9D '4A ,18 A 9& .N6/'5 A 9J& '5 B)4 1 A 9J& 9IA 9I&+ Ä•1 5 A 9J& '5 9I '%.''"6 ' 1 '4A ,18 A 9&E Ä• N6 6'A'9& A H 6 E & %D/Ä• ;1+Ä”6 E%Ä”%9 )B)4 ITAT E Ä•%9 N6.5I D/Ä•& A)8 6'A'9& A H A 9J& '5 .N6/'5 ÄŒ '4A%8 $6-9 2541-2542, 2542-2543, 2543-2544, 2544-2545 B)4 2545-2546 9I '%.''"6 ' 1 '4A ,18 A 9&A'9& A H 6 E & % B)4 '%.''"6 ' 1 '4A , 18 A 9&E%Ä”E Ä•&;I 1< ' Ę N6 5 .8 D A';I1 A 9J& '5 .N6/'5 ÄŒ '4A%8 $6-9 5 )Ä”6+ Ä”1,6) High Court 5 5J N6 5 .8 1

ITAT D A';I1 1 A 9J& '5 : ;1A ě 9I.< B)4A%;I1+5 9I 30 5 +6 % 2554 '%.''"6 ' 1 '4A ,18 A 9&E ĕB ĕ ; /)5 '4 5 9IE & %E ĕ+6 E+ĕ.N6/'5 A 9J& '5 B)4 1 A 9J& 9IA 9I&+ ĕ1 5 A 9J& '5 .N6/'5 Č '4A%8 2541-2542 : 25442545 A ě N6 + A 8 162 )ĕ6 '= Č ( '4%6 91 )ĕ6 6 ) 6 N6 5 .8 1 ITAT ĕ6 ĕ '8-5 1&=Ĕ'4/+Ĕ6 6' N6A 8 6' 1 ; A 8 '4 5 B)4$6-9/5 9I Ĕ6&.Ĕ+ 9IA/);1 6 '%.''"6 ' 1 '4A ,18 A 9 & C &$6-9 /5 9I Ĕ 6&.Ĕ + 9I)= ĕ 6'5 8 1 Ĕ6&B '8 -5 '8-5 4.Ĕ ; )= ĕ 6 $6&/)5 9 5 .8 : 9I.< C & Supreme Court A%;I1+5 9I 28 5 &6& 2554 '%.''"6 ' 1 '4A ,18 A 9&E ĕ&;I 1< ' Ę N6"8"6 -6 1 High Court :I "8"6 -6+Ĕ6 '6&E ĕ 6 6'D/ĕ '8 6' Ĕ1 .5gg6 6+A 9&%E%Ĕ ;1A ě '6&E ĕ '4A$ Ĕ6.8 8 Ĕ1 Supreme Court B)ĕ+ 4 9JA';I1 1&=ĔD '4/+Ĕ6 6'"8 6' 6 1 ,6) Supreme Court /6 E & % = 5 .8 : 9I.< C & Supreme Court +Ĕ6E & %%9$6'4 ĕ1 A.9&$6-9D '4A ,18 A 9& $6-9A 8 E ĕ'+% 1 A 9J& 9I = '4A%8 B)ĕ+ N6 + 805 )ĕ6 '= Č ( '4%6 450 )ĕ6 6 ) 4 = 5 : A ě Ĕ6D ĕ Ĕ6&B ĔE & %E ĕ = /5 $6-9 9I Ĕ6&B)4 E ĕ+6 A 8 '4 5 D .Ĕ+ 1 $6-9A 8 E ĕE+ĕ 6 .Ĕ+ B)ĕ+ C &&5 %9$6'4A ě N6 + A 8 8 )ĕ6 '= Č ( '4%6 4 )ĕ6 6 )

33.4 A/ < 6' Ę.N6 5g ĕ1"8"6 6 6' ĕ6 B)4 9 +6% 9I.N6 5g 1 )<Ĕ%A1E1A1. A1E1A1.

1) +6%A/H 1 .N6 5 6 4 ''% 6' (- 9 6A 9I&+ 5 6'B ĕE A"8I%A 8%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 6% 9I '4 '+ A C C)&93 E ĕ%9/ 5 .;1 : .N6 5 6 4 ''% 6' (- 9 6 1 +6%A/H A 9I&+ 5 6'B ĕE A"8I%A 8%.5gg61 <g6 D/ĕ '8 6'C ',5" ĘA );I1 9I'4/+Ĕ6 '8-5 9C1 9 N6 5 (%/6 ) (“ 9C1 9�) :I D 4 9I%9. 6 4A ě 1 Ę 6'C ',5" ĘB/Ĕ '4A ,E & 5 A1E1A1. $6&/)5 6 +5 9I"'4'6 5gg5 8+Ĕ6 ĕ+& 6'D/ĕA1 A ĕ6'Ĕ+% 6 /';1 N6A 8 6'D 8 6' 1 '5 2535 D ĕ 5 5 +Ĕ6E ĕ N6A 8 6' = ĕ1 6%"'4'6 5gg5 8 5 )Ĕ6+/';1E%Ĕ B)4/6 6'B ĕE A"8I%A 8%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'E%Ĕ = ĕ1 6% "'4'6 5gg5 8 5 )Ĕ6+ 4%9B + 6 6' 8 5 8 Ĕ1E 1&Ĕ6 E'

‡ˆ†


‡ˆ‡

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ .N6 5 6 4 ''% 6' (- 9 6E Ä•%9 5 : .N6 5 6 4 ''% 6' (- 9 6 A';I1 6' 5 5 D Ä•"'4'6 5gg5 8+Ä”6 Ä•+& 6'D/Ä•A1 A Ä•6'Ä”+% 6 /';1 N6A 8 6'D 8 6' 1 '5 2535 ( ' 9.5gg61 <g6 D/Ä• '8 6'C ',5" ĘA );I1 9I'4/+Ä”6 9C1 9 5 A1E1A1.) A';I1 A.'H 9I 291/2550 D/Ä• +6%A/H 5 9J * â€œâ€Ś 9C1 9A Ä•6A Ä› =Ä”.5gg6D A';I1 9JA Ä› 6' '4 N6B '5 C &16,5&1N6 6 / Ä•6 9I 6% /%6&+Ä”6 Ä•+&1 Ę 6'C ',5" ĘB/Ä” '4A ,E & .5gg61 <g6 3 9IA 8 :J : A Ä› .5gg6'4/+Ä”6 '5 5 A1 A";I1%1 /%6&D/Ä•A1 N6A 8 6'D/Ä• '8 6'.6 6' 4B '5 '5 : %9 / Ä•6 9I 8 5 8 6% Ä•1 N6/ D .5gg6 5 )Ä”6+ B Ä”A%;I1 6'B Ä•E A"8I%A 8%.5gg61 <g6 3 6% ' 9 Ä•1/6';1 N6A 8 6'E%Ä” = Ä•1 6%"'4'6 5gg5 8+Ä”6 Ä•+& 6'D/Ä•A1 A Ä•6 'Ä”+% 6 3 :I %9 )D Ä• 5 5 D 4 9I%9 6'B Ä•E A"8I%A 8%.5gg61 <g6 3 A ;I1 6 %8E Ä•A. 1A';I1 6'B Ä•E A"8I%A 8%D/Ä• 4 ''% 6' '4.6 6 6%%6 '6 22 "8 6' 6 B)4A. 1D/Ä• 4'5 % '9 :I A Ä› 1 Ę ' 9I%91N6 6 "8 6' 6A/H 1 5 6'B Ä•E A"8I%A 8%.5gg6 1 <g6 3 6% 5&B/Ä” "'4'6 5gg5 8 5 )Ä”6+ 5 9IE Ä•+8 8 5& Ä•6 Ä• 6'B Ä•E A"8I%A 8%.5gg61 <g6 3 C & 9C1 9 A Ä› =Ä”.5gg6 :

'4 N6E C &E%Ĕ%91N6 6 6% /%6& 1&Ĕ6 E' H 9 '4 + 6'B ĕE A"8I%A 8%.5gg615 A ě 8 8 ''% 6 '1 .6%6' B& 11 6 ĕ1 ) Ĕ1 ĕ6&.5gg6 1 <g6 3 9I N6 :J E ĕ B)4 ĕ1 ) Ĕ1 ĕ6&.5gg61 <g6 3 9I N6 :J 5J &5 %9 )1&=Ĕ '6 A Ĕ6 9I&5 E%Ĕ%9 6'A"8 1 /';1.8J )C &A ;I1 A+)6/';1A/ <1;I /6 4'5 % '9 :I A ě =ĕ%91N6 6 6% /%6&E ĕ"8 6' 6 : A/ <B/Ĕ 6'A"8 1 ) '4 B)4 +6%A/%64.% C & N6 : : '4C& Ę 1 '5 B)4 '4C& Ę.6 6' 4B)ĕ++Ĕ6 6' N6A 8 6' 9IE%Ĕ = ĕ1 5J %9 +6% A.9&/6&15 .% +' 4 ĕ1 A"8 1 ĕ1 ) Ĕ1 ĕ6&.5gg61 <g6 3 9I N6 :J 4'5 % '9 H 1 9I 4A"8 1 ĕ1 ) Ĕ1 ĕ6&.5gg6 1 <g6 3 B Ĕ ĕ6 4'5 % '9"8 6' 6B)ĕ+%9A/ < ) +6% N6A ě A";I1 '4C& Ę 1 '5 /';1 '4C& Ę.6 6' 4B)4A";I1 +6% Ĕ1A ;I1

1 6'D/ĕ '8 6'.6 6' 4 4'5 % '9 H16 D ĕ <)"8 8 "8 6' 6D/ĕ +6%A/H 1 D/ĕ%9 6' N6A 8 6'B ĕE A"8I%A 8%.5gg61 <g6 3 5 )Ĕ6+E ĕ 6% +6%A/%64.% C &/ Ĕ+& 6 A ĕ6 1 C ' 6'B)4 4 ''% 6' '4.6 6 6%%6 '6 22 A ě =ĕ N6A 8 6'A. 1 ĕ1A H '8 A/ < )B)4 +6%A/H A";I1 '4 1 6'"8 6' 6 1 4'5 % '9�

* ĕ1 +6% ĕ6 ĕ A "64D A ';I1 /%6& “...� A ě A"9& ĕ1 +6% 9I 5 )1 %6 6 .Ĕ+ 6 5 : +6%A/H 1 .N6 5 6 4 ''% 6' (- 9 6 A';I1 A.'H 9I 291/2550 5J 9J 4 ''% 6' '4.6 6 6%%6 '6 22 E ĕA. 1 +6%A/H ' 9 6'B ĕE A"8I%A 8%.5gg61 <g6 3 1 A1E1A1. Ĕ1 '5 % '9+Ĕ6 6' '4 '+ A C C)&93 B)ĕ+

2) ' 9 6' N6$6-9.''".6%8 %6/5 11 6 A 8 .Ĕ+ B Ĕ '6&E ĕ'4/+Ĕ6 A1E1A1. 5 9C1 9 A%;I1+5 9I 22 % '6 % 2551 9C1 9E ĕ&;I N6A. 1 ĕ1"8"6 /%6&A) N6 9I 9/2551 Ĕ1. 6 5 1 <g6C <)6 6'.N6 5 '4 5 ĕ1"8"6 .N6 5 6 ,6)&< 8 ''% A";I1A'9& 'ĕ1 D/ĕ A1E1A1. N6'4A 8 .Ĕ+ B Ĕ '6&E ĕA"8I%A 8%19 '4%6 31,463 )ĕ6 6 6%.5gg6 1 <g6 D/ĕ N6A 8 8 6' '8 6'C ',5" ĘA );I1 9I "'ĕ1% 1 A 9J&D 15 '6'ĕ1&)4 1.25 Ĕ1A ;1 1 A 8 5 )Ĕ6+ 5 5J B Ĕ+5 9I 10 % '6 % 2550 15 A ě +5 8 5 +Ĕ6 4 N6'4A.'H .8J


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ N6 + A 8 9I 9C1 9 A'9& 'Ä•1 5 )Ä”6+A Ä› N6 + A 9&+ 5 5 $6-9.''".6%8 9I A1E1A1. E Ä• N6.Ä” 5J B Ä”+5 9I 28 % '6 % 2546 :

+5 9I 26 <%$6"5 Ę 2550 B)4 N6%6/5 11 6 .Ĕ+ B Ĕ '6&E ĕ :I A ě 6' 8 5 8 6%% 8 4'5 % '9A%;I1+5 9I 11 <%$6"5 Ę 2546 = ĕ1 ' ĕ+ B)ĕ+ B)4%9 6' 8 5 8A Ĕ A 9&+ 5 5J 1< .6/ ''%C ',5" ĘA );I1 9I 19 5J 9C1 9 E ĕA &%9/ 5 .;1 1 A) 9I , . &./843 ) +5 9I 10 %9 6 % 2546 C &'4 <+Ĕ6 A1E1A1. E ĕ 8 5 8 = ĕ1 6%% 8 4'5 % '9B)ĕ+ B)4 A1E1A1. %9$6'4A Ĕ6A 8% 6%15 '6'ĕ1&)4 9I N6/ E+ĕD .5gg6 :I 6' N6A 8 6'&;I B N6'4$6-9.''".6%8 5 )Ĕ6+ E%Ĕ%9 ) '4 Ĕ1 ĕ1.5gg6B Ĕ '4 6'D A%;I1+5 9I 20 "(-$6 % 2554 41 <g6C <)6 6'E ĕ%9 N6 9J 6 D/ĕ& N6A. 1 ĕ1"8"6 1 9C1 9 C &D/ĕA/ < ).'< E ĕ+Ĕ6 A1E1 A1. %8E ĕA ě =ĕ 8 .5gg6 C & A1E1A1. E ĕ N6'4/ 9J ) '4C& Ę 1 B A.'H .8J B)4/ 9J 5J /% E ĕ'4 5 E B)ĕ+ 9C1 9 : E%Ĕ%9.8 8 A'9& 'ĕ1 D/ĕ A1E1A1. N6'4/ 9J JN6 A";I1A'9& .Ĕ+ 9I1ĕ6 +Ĕ6 6 E A%;I1+5 9I 22 5 &6& 2554 9C1 9 E ĕ&;I N6'ĕ1 1A"8 1 N6 9J 6 1 41 <g6C <)6 6' Ĕ1,6) '1 )6 A ě 9 /%6&A) N6 9I 1918/2554 4 9J 9 5 )Ĕ6+1&=ĔD 5J 1 6'"8 6' 6 1 ,6) '1 )6

3) .5gg6 6'A ;I1% Ĕ1C ' Ĕ6&C ' % 6 % 6%"'4'6 5gg5 8 6' '4 1 6' 8 6'C ' % 6 % ".,. 2544 B)4 '4 6, 4 ''% 6' 8 6'C ' % 6 %B/Ĕ 6 8 +Ĕ6 ĕ+& 6'D ĕB)4A ;I1% Ĕ1C ' Ĕ6&C ' % 6 % ".,. 2549 A1E1A1. E ĕ N6.5gg6 6'A ;I1% Ĕ1C ' Ĕ6&C ' % 6 % 5 =ĕ'5 D 1 <g6 '6&1;I C &E ĕ Ĕ6 6'A/H 1 6 4 ''% 6' 8 6'C ' % 6 %B/Ĕ 6 8 5 9J

1) 2) 3) 4)

Ä• = '4 1 6' '8-5 C A 8I) B1H A H. 1%%= 8A 5I N6 5 (%/6 ) '8-5 '= %=# N6 5 '8-5 8 8 1)C# N6 5 '8-5 . C ' % 6 % N6 5 (%/6 )

'4&4A+)6 6'%9 ) 5 5 D Ä• 30 "(, 8 6& 2549 A Ä› Ä• E 16 % '6 % 2550 A Ä› Ä• E 1 %8 < 6& 2552 A Ä› Ä• E 7 A%-6& 2553 A Ä› Ä• E

A%;I1+5 9I 31 .8 /6 % 2550 9C1 9 E Ä•&;I N6#Ä?1 4 ''% 6' 8 6'C ' % 6 %B/Ä” 6 8 Ä”1,6) '1 )6 A";I1 1A"8 1 '4 6,3 5 )Ä”6+ (+5 9I 15 5 &6& 2553 ,6) '1 )6 E Ä•%9 N6"8"6 -6& #Ä?1 ' 9 9C1 9 &;I #Ä?1 1A"8 1 '4 6, 1 . +Ä”6 Ä•+& 6'D Ä•B)4A ;I1% Ä”1C ' Ä”6&C ' % 6 % ".,. 2549 B)4 9C1 9 E Ä•&;I 1< ' Ę Ä”1,6) '1 .= .< B)Ä•+) B)4A%;I1 +5 9I 4 <%$6"5 Ę 2551 9C1 9 E Ä•%9/ 5 .;1B Ä• D/Ä• A1E1A1. '6 +Ä”6 A1E1A1. +''1D/Ä•,6)%9 N6"8"6 -6A";I1&: ;1A Ä› B + 6 D 6' 8 5 8 Ä”1E B)4/6 A1E1A1. N6A 8 6' 6% '4 6, 4 ''% 6' 8 6'C ' % 6 %B/Ä” 6 8 Ä”1 ,6) '1 %9 N6 "8"6 -6 : 9I.< 9C1 9 4E%Ä”'5 '=Ä• B)4 A1E1A1. 4 Ä•1 A Ä› =Ä•'5 8 1 D 6' N6A 8 6' 5 )Ä”6+

‡ˆˆ


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 A1E1A1.E ĕ"ô 8 6' 6/ 5 .;1 1 9C1 9 !ď6& '8 /6' 1 A1 A1E1A1.E ĕ 1 9 5 5 )Ĕ )Ĕ66+B)4 /%6& 9 +B)4 /%6& 9IA 9IA 9I&I&+ ĕ+ ĕ11 '4 1 5

'4 1 5 +6%A/H +6%A/H 1 9 1 9I I ': 'ê-6 /%6& -6 /%6& !ď 6& 'è /6' 1

E1A1.A/H +Ĕ 6 6'E%Ĕ 8 5 8 6%.5 g g6 6'A ; I 1 % Ĕ 1 C ' Ĕ 6 &C ' % 6 % ĕ 6

ĕ 16 ; 1 E ĕ + Ĕ 6 A ě 6' 5 Ĕ 1 '4 6, 4 ''% 6' A1E1A1.A/H +Ĕ6 6'E%Ĕ 8 5 8 6%.5gg6 6'A ;1I % Ĕ1C ' Ĕ6&C ' % 6 % ĕ6 ĕ 16 ;1E ĕ+6Ĕ A ě 6'C ' % 6 %B/Ĕ

6 8 6 8++Ĕ6Ĕ6 ĕ ĕ++& 6'D ĕ & 6'D ĕBB)4A ; )4A ;I1I1% Ĕ % Ĕ11C ' Ĕ C ' Ĕ66& A1E1A1. ê & A1E1A1. :

E ĕ E ĕ 5 5 .8.8 D 8 D 8 5 5 8 8 6%.5 6%.5g gg6 6'A ; g6 6'A ;I1I1% Ĕ % Ĕ11C ' Ĕ C ' Ĕ66& : & :I I

8 8 6'C ' % 6 %B/Ĕ E 6% 5g gg5 g5 8B8B/Ĕ/Ĕ

/%6& 9 /%6& 9I%I%9 9 )D ĕ A ěA ě E 6% 5 )D ĕ 5 5 5 5 1&= 1&=ĔDĔD ę ę < Ā 5 5 6%.5g gg61 < g61 <g g6 D/ĕ 6 D/ĕ 6N N6A 8 A 8 8 8 6' 'è 6' '8 6'C ',5 6'C ',5"" Ę ĘAA ); );1I I1 9 9 II 6NN6/ D/ĕ / D/ĕAA1E1A1. ĕ 1E1A1. ĕ11 Ĕ

Ĕ66&A è &A 8 ) '4C& Ę ) '4C& Ę 1 B D/ĕ 1 B D/ĕ C99C1 9 1 9AA ě ě '6& Č '6& Č 6%.5 C & Ĕ66&A ě &A ě N N66 + A è + A 8 5 5 J J I I6N N6 6% 9 6% 9.I I.g g6 N66/ D B Ĕ / D B Ĕ))4 Č 4 Č /'ë /';11D 15 D 15 '6'ĕ '6'ĕ11&)4 1 '6&E ĕ &)4 1 '6&E ĕ B)4 B)4 ) '4C& Ę ) '4C& Ę11 ;I ;I D 9 D 9AI IA1E1A1."ö 1E1A1.":

E ĕ E ĕ'' 55 D D C & Ĕ 5 5gg6 N '1 Č Ĕ Ĕ11 /5 /5 Ĕ Ĕ66D ĕD ĕ Ĕ6Ĕ 6&B)4 Ĕ &B)4 Ĕ66$6-9 $6-9DD G G 5 5J J .8.8ù J N N66 + E/ %6 +Ĕ A16 N66 + 5 + 5JJ 1&Ĕ '1 Č + E/ %6 +Ĕ66D/ĕ D/ĕ ;;11A16 N 1&Ĕ66 E' H

E' H 6% Ĕ 6% Ĕ66A ; A ;II11% Ĕ % Ĕ11C ' Ĕ C ' Ĕ66&& C ' % 6 %A ě '6& 6' 9 '6& 6' 9 I I 1ĕ ĕ1 8

8 5 5 8 8 6% /%6& B)4 9 6% /%6& B)4 9CC1 9 1 9 1ĕ ĕ1 6''1 N

6''1 N66"ô"8""6 -6 : 6 -6 :

9 9.II. << D A'ë D A';I1I1 1A"8 6 ,6) C ' % 6 %A ě

1A"ô 1 '4 6,3 1 '4 6,3 6 ,6) '6& 6' 9AI IA1E1A1. 6 +Ĕ 1E1A1. 6 +Ĕ66 4%9 4%9 6'A ' 6 ) A'ë 6'A ' 6 ) A';1I I1 +è

+8 9 9 6' N 6' N66 + + ) '4C& Ę ) '4C& Ę 1 B '6& Č 1 B '6& ČDD A+)6 Ĕ A+)6 Ĕ11%6 A";1II1D/ĕ D/ĕAA ě ě E 6% E 6% %6 A"÷ ê :

A ěA ě '6& 6' 9 '4+5

A1E1A1. ê A1E1A1. :

N N66 + Ĕ + Ĕ66 ) '4C& Ę ) '4C& Ę 1 B '6& Č 1 B '6& Č 6 '6&E ĕ 6 '6&E ĕ..< < 8 8 6% 9 6% 9I I 8 8 5 5 8D8D 6 A 9 6 A 9&&+ 5 + 5 5 5J J 1<1< .6/ ''% .6/ ''% /)5 +6%'4%5 +6%'4%5 '4+5 /)5 6'C ' % 6 % .Ĕ++ N N66 + + ) '4C& Ę ) '4C& Ę 1 B 9 1 B 9IAIA1E1A1. ĕ 1E1A1. ĕ11 Ĕ

Ĕ66&D/ĕ &D/ĕBB Ĕ Ĕ 9C9C1 9 1 9 5J 5J ê :JJ 1&= 8 8 6'C ' % 6 % .Ĕ 1&=ĔĔ 5 5 ) 6' 5 ) 6' 5 .8.8 6 ,6)D A'; 6 ,6)D A'ëI1I1 1

1 C &A1E1A1. 4 '5 '< A"8 1 '4 6,3 B)4 6'A ' 6 ) '4/+Ĕ 1 '4 6,3 B)4 6'A ' 6 ) '4/+Ĕ66 A1E1A1. 5

A1E1A1. 5 9 9CC1 9 A"ô 1 9DD $6&/)5 $6&/)5

C &A1E1A1. 4 '5 '<

'6& 6'D 6'A 8 '6& 6'D 6'A è D + 9 D + 9I I 6' 6' A ' 6 ) .8 J .< )

:

I ĕ = '8 / 6' 1 A1E1A1.%9 +6%%5 I D +Ĕ 6 4E%Ĕ A 8 Ĕ 6 D ĕ 6 Ĕ &%6 E +Ĕ 6 N 6 + 9 I 5 : E+ĕ 1 &Ĕ 6

%9 . 6'4.N 6 5 g A ' 6 ) .8ù .< ) :I =ĕ 'è/6' 1 A1E1A1.%9 +6%%5I D +Ĕ6 4E%ĔA 8 Ĕ6D ĕ Ĕ6&%6 E +Ĕ6 N6 + 9I 5 : E+ĕ1&Ĕ6 %9.6'4.N6 5g 1&Ĕ66 E' H

E' H 6% A1E1A1. E ĕ 6% A1E1A1. E ĕ""ô 8 6' 6/ 5 6' 6/ 5

.;.;11 1 9 1 9CC1 9 1 9 5 5

)Ĕ 1&Ĕ )Ĕ66+B)4 /%6& 9 +B)4 /%6& 9IAIA 9 9I&I&+ ĕ + ĕ11 '4 1 5

'4 1 5 +6%A/H +6%A/H 1 9 1 9I I ':'ê -6 /%6& -6 /%6& 6' 1 A1E1A1.A/H +Ĕ+Ĕ66 6'E%Ĕ 6'E%Ĕ 8 8 5 5 8 8 6%.5 6%.5g gg6 6'A ; g6 6'A ;1I I1% Ĕ % Ĕ11C ' Ĕ C ' Ĕ66&C ' % 6 % ĕ &C ' % 6 % ĕ66 ĕ

ĕ 16 ; 16 ;11E ĕ E ĕ++Ĕ6Ĕ6A ě A ě 6' 5 6' 5 Ĕ Ĕ11 '4 6, '4 6, =ĕ =ĕ 'è'8//6' 1 A1E1A1.A/H . +Ĕ66 ĕ ĕ++& 6'D ĕ & 6'D ĕBB)4A ; )4A ;1I I1% Ĕ % Ĕ11C ' Ĕ C ' Ĕ66& A1E1A1. ê & A1E1A1. :

E ĕE ĕ 5 5 .8.8 D 8 D 8 5 5 8 8 6%.5 6%.5g gg6 6'A ; g6 6'A ;1I I1% Ĕ % Ĕ11C ' Ĕ C ' Ĕ66& : & : I I A ě A ě E 6% 5 E 6% 5g gg5 g5 B88B/Ĕ/Ĕ

+Ĕ /%6& 9I%I%9 9 )D ĕ )D ĕ 5 5 5 5 1&= 1&=ĔDĔD ę ę Ā < 5 5 C &11 D B ĕ C &11 D B ĕ

/ 9 /%6& 9 / 9JAJA";"÷I1I1A'9A'é&& A H A H Ĕ Ĕ66A ;A ;I1I1% Ĕ % Ĕ11C ' Ĕ C ' Ĕ66& 6 = & 6 =Ĕ.Ĕ.5g5gg6 g6 <%%$6"5 $6"5 Ę Ę D +5 9 9I I 5 30 5 +6 % A1E1A1.E ĕ +6 % 2551 A1E1A1.E ĕ N6N6.Ĕ.Ĕ

A èA 8 ) '4C& Ę ) '4C& Ę 1 B 6 6'A ; 1 B 6 6'A ;I1I1% Ĕ % Ĕ11C ' Ĕ C ' Ĕ66&C ' % 6 % 5 &C ' % 6 % 5J J B Ĕ B ĔAA ; ;11 < D +5 2550 :

A ; A ;11 %8 %8 < < 6& N 6& 2551 N66 + A 8 761 )ĕ66 6 :I I N N66 + 6 '6&E ĕ : + A è )ĕ 6 : + 6 '6&E ĕ..< < 8 8 6%15 6%15 '6B)4+8 '6B)4+è 9 9 8 8 N N6 + 1 A1E1A1.D/ĕ 6 + 1 A1E1A1.D/ĕB ĔB Ĕ 9 6 6 A ' 6A 9 I&+ 5 15 15'6 '6) '4C& Ę 1 B 6 Ĕ 6A ;I16A ; % ĔI11% Ĕ C ' Ĕ 6&C ' % 6 %'4/+Ĕ 6 A1E1 9C1 9 C1 9 : I : ĔI Ĕ1%6E ĕ 1%6E ĕ%9 %6' 5 9 6' 5 5 J 5 4 N J 4 N 6 6 A ' 6A 9 I&+ 5 ) '4C& Ę 1 B 6 Ĕ 1C ' Ĕ 6&C ' % 6 %'4/+Ĕ 6

A1. 5 9 C 1 9 B Ĕ H E %Ĕ . 6%6' %9 ĕ 1 &< 8 ' Ĕ + % 5 E ĕ A ; I 1

6 9 C 1 9 ĕ 1

6'D/ĕ A 1E1A1. N 6 '4A 8 .Ĕ + B Ĕ

'6&E ĕ 6 Ĕ 6 A ; I 1 % Ĕ 1 C ' Ĕ 6 A1E1A1. 5 9C1 9 B Ĕ H E%Ĕ.6%6' %9 1ĕ &< '8 +Ĕ % 5 E ĕ A ;1I 6 9C1 9 1ĕ 6'D/ĕA1E1A1. N6'4A è .Ĕ+ B Ĕ '6&E ĕ 6 Ĕ6A ;1I % Ĕ1C ' Ĕ6&& C ' % 6 % 9I I A1E1A1.E ĕ A1E1A1.E ĕ 6 + 6%15 '6'ĕ 1&)4 9 N6/ E+ĕD .5 D .5ggg61 < g61 <gg6 3 C &%8 6 3 C &%8D/ĕD/ĕA1E1A1. N A1E1A1. N66 Ĕ Ĕ66A ;A ;I1I1% Ĕ % Ĕ11C ' Ĕ C ' Ĕ66&& C ' % 6 % 9 '5 ' 55 J 5 N6J N + 6%15 '6'ĕ 1&)4 9 I N6I / E+ĕ C ' % 6 % 9IAIA1E1A1. = 1E1A1. = =ĕ=ĕ '4 1 6''6&1; D +5 9I 926I % '6 % 9 % '6 % 2554 9C1 9C1 9 : E ĕ 9/ 5% 9/.; 51 B ĕ.; 1D/ĕB ĕA1E1 C ' % 6 % 9 '4 1 6''6&1;I I A'9A'é&& A H A H %6/5 %6/5 11 Ĕ 11 Ĕ11 D +5 ê% E ĕ

D/ĕ A1. N 6 '4A 8 ) '4C& Ę 6 '6&E ĕ Ĕ 6 A ; I 1 % Ĕ 1 C ' Ĕ 6 &C ' % 6 % 1 Č N 6 A 8 6' 9 I 17 – 20 A ě A 8 '+% 17,803 )ĕ 6 6 A1E1A1. N6'4A è ) '4C& Ę 6 '6&E ĕ Ĕ6A ;I1% Ĕ1C ' Ĕ6&C ' % 6 % 1 Č N6A 8 6' 9I à A ě A è '+% )ĕ6 6 "'ĕ11% 1 A 9 % 1 A 9J&J&D 15 D 15 '6'ĕ '6'ĕ11&)4 Ĕ &)4 1.25 Ĕ11A ;A ;11 B Ĕ B ĔAA1E1A1. E%Ĕ 1E1A1. E%ĔAA/H/H ĕ ĕ++&C &E ĕ &C &E ĕ%%9/9/ 5 5

.;.;11C ĕ C ĕBB&ĕ&ĕ

5 5 ĕ ĕ66 E &5 E &5

9 9CC1 9 1 9 B)4A1E1A1.E ĕ B)4A1E1A1.E ĕAA. 1 ĕ . 1 ĕ11 "'ĕ 6 Ĕ11.N.N66 5 5 '4 5 '4 5 ĕ ĕ11"ô"8""6 . 6 5 6 . 6 5 1 < 1 <g g6C < 6C <))6 6'A ě 6 6'A ě ĕ ĕ11"8 B)ĕ++ A%; A%;I11I +5+5 9 9I I 9 %9%9 6 % A"÷ 6 % 2554 A";1I I1D/ĕ D/ĕ "ô"8""6 Ĕ "ô""6 /%6&A) N 6 /%6&A) N66 9 9I I 19/2554 B)ĕ +1&=DĔĔD 5 5J J 1 1 41 <g g6C < 6C <))6 6'%9 6 6'%9 6N N6 9 9 J J 6 +Ĕ 6 +Ĕ66 9 9CC1 9 1 9EE%Ĕ%Ĕ%%.9 9. 88 8 8AA'é'9&& 'ĕ 'ĕ11 A 8 4 9 JJ 1ĕĕ1"ô"8" "6 5 6 5

)Ĕ )Ĕ66+1&= 41 <

A è ) '4C& Ę ) '4C& Ę 1 B 5 1 B 5

)Ĕ )Ĕ66++ 4 9 6'"8 6' 6 1 1 < 6' 6 1 1 <g g6C < 6C <))6 6' 6 6' 6'"ô


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ '8-5 8 8 1) C# N6 5 (“ 9"9 9â€?)

1) +6%A/H 1 .N6 5 6 4 ''% 6' (- 9 6A 9I&+ 5 6'B ĕE A"8I%A 8%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 6% 9I '4 '+ A C C)&93 E ĕ%9/ 5 .;1 : .N6 5 6 4 ''% 6' (- 9 6 1 +6%A/H A 9I&+ 5 6'B ĕE A"8I%A 8%.5gg61 <g6 D/ĕ '8 6'C ',5" ĘA );I1 9I'4/+Ĕ6 . . 5 9"9 9 ( '8-5 &Ĕ1& 1 A1E1A1.) $6&/)5 6 +5 9I"'4'6 5gg5 8+Ĕ6 ĕ+& 6'D/ĕA1 A ĕ6'Ĕ+% 6 /';1 N6A 8 6'D 8 6' 1 '5 2535 D ĕ 5 5 E ĕ N6A 8 6' = ĕ1 6%"'4'6 5gg5 8 5 )Ĕ6+/';1E%Ĕ B)4/6 6' B ĕE A"8I%A 8%.5gg61 <g6 3 N6A 8 6'E%Ĕ = ĕ1 6%"'4'6 5gg5 8 5 )Ĕ6+ 4%9B + 6 6' 8 5 8 Ĕ1E 1&Ĕ6 E' .N6 5 6 4 ''% 6' (- 9 6%9 +6%A/H A';I1 6' 5 5 D ĕ"'4'6 5gg5 8+Ĕ6 ĕ+& 6'D/ĕA1 A ĕ6'Ĕ+% 6 /';1 N6A 8 6'D 8 6' 1 '5 2535 ' 9.5gg61 <g6 D/ĕ '8 6'C ',5" ĘA );I1 9I . . 5 9"9 9 C & 6 5 : .N6 5 6 4 ''% 6' (- 9 6 A';I1 A.'H 9I 294/2550 D/ĕ +6%A/H C &.'< +Ĕ6

䃃ƒ 6' 9I % ƒC A 8I) B1H A . 1%%= 8A 5I }ä 9B ĂĽ~ C1 .8 8B)4/ J6 9I 6%.5gg61 <g6 D/J N6A 8 6'D/J '8 6'+8 &< % 6 %'4 A ))=)Ä”6'Ę D/Ä•B Ä” 9"Ăľ 9 B)4 9"Ăľ 9 5 . E Ä•%9 6' N6.5gg6'4/+Ä”6 5 D +5 9I †Ž "(, è 6& ‡ŠˆŽ +Ä”6 . E Ä• 1 <g6 D/Ä•.8 8A1 '6&D/%Ä”D 6'D/Ä• 'è 6'+è &< % 6 %'4 A ))=)Ä”6'Ę C & . B)4 9"Ăľ 9 A Ä› =Ä”.5gg6B)4E%Ä” ;1+Ä”6A Ä› .Ä”+ / :I 1 C ' 6' N6A 8 6'D Ä• 'è 6'+è &< % 6 %3 9I . 1 <g6 D/Ä•B Ä” 9B B Ä”1&Ä”6 D 9"Ăľ 9 ĂŞ A Ä› =Ä”.5gg6 9I1&=Ä”$6&D Ä• 6' =B) N6 5 1 . B)4 Ä”6& Ä”6 1 B D/Ä•B Ä” . 9"Ăľ 9 D 6 4 9IA Ä› A1 =Ä•A Ä•6'Ä”+% 6 /'ĂŤ1 N6A 8 6 D 8 6' 1 '5 ĂŞ Ä•1

8 5 8 6%"'4'6 5gg5 8D/Ä•A1 A Ä•6'Ä”+% 6 3 A ;I1 6 . E Ä•%9 6' N6/ 1 A 1 C ' 6'B)4A1 =Ä• N6A 8 6' D/Ä• 'è 6'A Ä› 6'A "64A 64 '+% 5 J E Ä•% 9 6'D/Ä• 'è 6'C ' 6'E B)Ä•+ ĂŞ E%Ä”% 9 ' 9 9I 4 Ä•1 '4 6,A 8g + A1 A Ä•6'Ä”+% 6 /'ĂŤ1 N6A 8 6'D 8 6' 1 '5 B)4 6' 5 A);1 A1 Ä•+&+è 9 '4%=) 6% 9I 5gg5 8E+Ä• D /%+ ˆ 6' N6A 8 C ' 6' B Ä”A Ä› 6' 9I Ä•1

N6 5gg5 8D /%+ ˆ 9J%6D Ä• 5 5 C &1 <C)%A Ä”6 9IE%Ä” 5 Ä”1.$6"B/Ä” Ä•1A H 'è C & . Ä•1 N6A 8 6'B Ä” 5J 4 ''% 6' 6% "' ƒ %6 '6 †ˆ A"áI1 N6A 8 6' 6%%6 '6 ‡† ;1D/Ä• 4 ''% 6' N6 ) 6' 5 A);1 "'Ä•1%A/ < ) '4A H 9IA ' 6 Ä”1'1

A'ĂŤI1 ) '4C& Ę 1 '5 'Ä”6 .5gg6B)4A1 .6' 5J /% A. 1 Ä”1'5 % 'ĂŠ '4 '+ A Ä•6.5 5 A"áI1 N6A. 1 4'5 % 'ĂŠ"Ă´ 6' 6 $6&D A Ä•6.8 +5 5 6 +5 9I 4 ''% 6' 5 .8 C &1 <C)% Ä”1E 5 5 J 6' N6A 8 6' ĂŞ 1&=DÄ” 1N6 6 B)4/ Ä•6 9 I 1 4 ''% 6' 6%%6 '6 †ˆ 9 I 4"Ă´ 6' 6 6% 9AI /H .% +'E Ä• B)4 9" Ăľ 9 =Ä• E Ä•' 5 C1 .8 8B)4/ Ä•6 9 I 6 'è- 5 C A 8)ø B1H A . 1%%= A8 5 I N6 5 }%/6 ~ 6%.5gg61 <g6 D/Ä• 6N A 8 6'D/Ä• 'è 6'+è &< % 6 % '4 A ))=)Ä”6'Ę '4/+Ä”6 . 5 'è-5 C A 8ø) B1H A . 1%%=‚ 8A 5I N6 5 }%/6 ~ B)Ä•+ 9"Ăľ 9 &Ä”1%A Ä› =Ä•%9.8 8 N6A 8 6' D/Ä• 'è 6'+è &<C ' % 6 %3 E Ä• 6%.8 8B)4/ Ä•6 9I 9IE Ä•'5 C1 B%Ä•+Ä”6.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6''4/+Ä”6 . 5 9"Ăľ 9 9I N6 ĂŞJ D/%Ä” %8E Ä• N6A 8 6'/'ĂŤ1 8 5 8 6%"'4'6 5gg5 8+Ä”6 Ä•+& 6'D/Ä•A1 A Ä•6'Ä”+% 6 3 B Ä”1&Ä”6 E' H 6% .5gg6 9I N6 ĂŞJ 5J &5 %9 )1&=Ä” '6 A Ä”6 9I&5 E%Ä”%9 6'A"Ă´ 1 /'ĂŤ1.8Ăš )C &A ĂŤI1 A+)6 /'ĂŤ1A/ <1;I 5 5J . B)4 9"Ăľ 9 ĂŞ &5 Ä•1 %9$6'4/ Ä•6 9ID 6' 8 5 8 6% .5gg6 9IE Ä• '4 N6E+Ä•B)Ä•+ĂĽ

‡ˆŠ


‡ˆ‹

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ Ä•1 +6% Ä•6 Ä• A "64D A 'ĂŤ1I /%6& äÌü A Ä› A"Ăľ& Ä•1 +6% 9 I 5 )1 %6 6 .Ä”+ 6 5 : +6%A/H 1 .N6 5 6 4 ''% 6' (- 9 6 A'ĂŤI1 A.'H 9I ‡Ž‰„‡ŠŠ… 5J 9J 4 ''% 6' '4.6 6 6%%6 '6 †ˆ E Ä•A. 1 +6%A/H ' 9 6'B Ä• E A"ôø%A 8%.5gg61 <g6 3 1 9"Ăľ 9 Ä”1 '5 % 'ĂŠ+Ä”6 6' '4 '+ A C C)&93 B)Ä•+ ‡~ ' 9 6' N6$6-9.''".6%8 %6/5 11 6 A è .Ä”+ B Ä” '6&E Ä•'4/+Ä”6 9"Ăľ 9 5 . A%;I1+5 9I ÂŽ % '6 % ‡ŠŠ† . E Ä•&;I N6A. 1 Ä•1"Ă´"6 /%6&A) N6 9I ˆ„‡ŠŠ† Ä”1. 6 5 1 <g6C <)6 6' .N6 5 '4 5 Ä•1"Ă´"6 .N6 5 6 ,6)&< 8 ''% A"áI1A'ĂŠ& 'Ä•1 D/Ä• 9"Ăľ 9 N6'4A è .Ä”+ B Ä” '6&E Ä•A"ôø%A 8%19 '4%6 ‡ Â‰Â‰ÂŽ )Ä•6 6 6%.5gg61 <g6 D/Ä• N6A 8 6'D/Ä• 'è 6'+è &< % 6 %'4 A ))=)Ä”6'Ę "'Ä•1%A'ĂŠ& A 9J& '5 D 15 '6'Ä•1&)4 †ƒ‡Š Ä”1A ;1 1 N6 + A è 9I Ä•6 N6'4D B Ä”)4 ÄŒ 5 6 +5 8 5 +Ä”6 4 N6'4A.'H .8Ăš :I N6 + : A ;1 5 +6 % ‡ŠŠ… 8 A Ä› A 9J& '5 5J .8Ăš † ÂŠÂ…Â… )Ä•6 6 '+%A Ä› A è '4%6 ˆ ÂŽÂ‰ÂŽ )Ä•6 6 Ä”1%6A%;I1+5 9I † <)6 % ‡ŠŠ† . E Ä•&;I N6'Ä•1 1B Ä• E N6 + < '5"&Ę'+%A 9J& '5 ) ) A/);1 ˆ Â‰Â†Â… )Ä•6 6 :I N6 + 6 A è .Ä”+ B Ä” '6&E Ä• Ä•6 N6'4 : A ;1 % '6 % ‡ŠŠ† A Ä› A 9J& '5 N6 + ŒŽ… )Ä•6 6 B)4$6-9%=) Ä”6A"ôø% †Œ† )Ä•6 6 N6 + A è .Ä”+ B Ä” '6&E Ä• 9I . A'ĂŠ& 'Ä•1 5 )Ä”6+A Ä› N6 + A 9&+ 5 5 $6-9.''".6%8 9I 9"Ăľ 9 E Ä• N6.Ä” 5J B Ä” +5 9I †‹ 5 &6& ‡Š‰‹ : +5 9I †Š 5 &6& ‡ŠŠ… B)4E Ä• N6%6/5 11 6 .Ä”+ B Ä” '6&E Ä• :I A Ä› 6' 8 5 8 6%% 8 4'5 % 'ĂŠA%;I1+5 9I †† <%$6"5 Ę ‡Š‰‹ = Ä•1 ' Ä•+ B)Ä•+ B)4%9 6' 8 5 8A Ä” A 9&+ 5 5J 1< .6/ ''%C ',5" ĘA );I1 9I 19 5J . A &%9/ 5 .;1 A) 9I . ‹…ˆ } ƒ~ ŒˆŽ B Ä• D/Ä• 9"Ăľ 9 8 5 8 6%% 8 4'5 % 'ĂŠ 5 )Ä”6+ A%;I1+5 9I † %9 6 % ‡ŠŠ‰ 41 <g6C <)6 6'E Ä•%9 N6 9J 6 D/Ä•& N6A. 1 Ä•1"Ă´"6 1 . C &D/Ä•A/ < ).'< E Ä•+Ä”6 9"Ăľ 9 %8E Ä• A Ä› =Ä• 8 .5gg6 C & 9"Ăľ 9 E Ä• N6'4/ 9J ) '4C& Ę 1 B A.'H .8Ăš B)4/ 9J 5J /% E Ä•'4 5 E B)Ä•+ . ĂŞ E%Ä”%9.8 8A'ĂŠ& 'Ä•1 D/Ä• 9"Ăľ 9 N6'4/ 9J JN6 A"áI1A'ĂŠ& .Ä”+ 9I1Ä•6 +Ä”6 6 E '+% : A 9J& '5 B)4$6-9%=) Ä”6A"ôø% 6% 9I1Ä•6 %6 A%;I1+5 9I ˆ %8 < 6& ‡ŠŠ‰ . E Ä•&;I N6'Ä•1 1A"Ă´ 1 N6 9J 6 1 41 <g6C <)6 6' Ä”1,6) '1 )6 A Ä› 9/%6&A) N6 9I †‡ŠŽ„‡ŠŠ‰ 4 9J 9 5 )Ä”6+1&=Ä”D 5J 1 6'"Ă´ 6' 6 1 ,6) '1 )6

ˆ~ ' 9 6' N6 Ä”6A ;I1%C& C ' Ä”6&%6/5 11 6 A è .Ä”+ B Ä” '6&E Ä• }–¸¸ºĂˆĂˆ ˜½œĂ‡ټ~ '4/+Ä”6 9"Ăľ 9 5 . 6%% 8D 9I '4 <%'Ä”+% 5 '4/+Ä”6 9C1 9 . 9"Ăľ 9 B)4 'è-5 '= %=# N6 5 }ä '=%=#ĂĽ~ C &%9'5 % 'ĂŠ+Ä”6 6' '4 '+ A C C)&93 A Ä› '4 6 A%;I1+5 9I †‰ % '6 % ‡Š‰Œ +Ä”6A"áI1D/Ä•%9 +6%A Ä”6A 9&%D 6'B Ä” 5 1 =Ä• '4 1 6' 5J ˆ '6& 9C1 9 &8 &1%D/Ä•) Ä”6 A ;I1%C& C ' Ä”6&C ',5" ĘA );I1 9I 6 .Ä”+ B Ä” '6&E Ä• 9I 9C1 9 E Ä•'5 6 . N6 + ‡‡ 6 „A) /%6&„A ;1 D/Ä•B Ä” 9"Ăľ 9 B)4 '=%=# 5J B Ä” ÄŒ 6' N6A 8 6' ÄŒ 9I ‹ A Ä” A 9&+ 5 9I 9C1 9 D/Ä•.Ä”+ ) 5 9B


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 Ĕ1%6A%;I1+5 9I <)6 % 9C1 9 %9/ 5 .;1B ĕ . +Ĕ6E%Ĕ.6%6' ) Ĕ6A ;I1%C& C ' Ĕ6&C ',5" ĘA );I1 9ID/ĕB Ĕ 9"õ 9 B)4 '=%=# E ĕ B)4A'é& 'ĕ1 D/ĕ . N6'4 Ĕ6A ;I1%C& C ' Ĕ6&D .Ĕ+ 9I 9"õ 9 B)4 '=%=# E ĕ/5 E+ĕA ě .Ĕ+ ) Ĕ6A ;I1%C& C ' Ĕ6&D/ĕ 9C1 9 ' ĕ+ "'ĕ1% 1 A 9J& 6%15 '6 9I /%6& N6/ 5 B Ĕ+5 ' N6/ N6'4 : +5 9I N6'4 ' ĕ+ A%;I1+5 9I ' 6 % . E ĕ&;I N6A. 1 ĕ1"ô"6 Ĕ1. 6 5 1 <g6C <)6 6' .N6 5 '4 5 ĕ1"ô"6 .N6 5 6 ,6) &< 8 ''% ĕ1"ô"6 /%6&A) N6 9I A'é& 'ĕ1 D/ĕ 9"õ 9 N6'4 Ĕ6A ;I1%C& C ' Ĕ6&C ',5" ĘA );I1 9I 9I 9"õ 9 E ĕ/5 E+ĕ N6 + )ĕ6 6 } ) '4C& Ę 1 B .Ĕ+ A"ôø% 1 Č N6A 8 6' 9I ~ "'ĕ1%$6-9%=) Ĕ6A"ôø%B)4A 9J& '5 D 15 '6'ĕ1&)4 Ĕ1A ;1 1 A è ĕ 5 )Ĕ6+ 5 B Ĕ+5 "ĕ N6/ N6'4A è 1 Č N6A 8 6 D B Ĕ)4 Č 5J B Ĕ Č 9I : Č 9I +Ĕ6 4 N6'4A.'H .8ù A%;I1+5 9I <)6 % . E ĕ&;I N6A. 1 ĕ1"ô"6 Ĕ1. 6 5 1 <g6C <)6 6' .N6 5 '4 5 ĕ1"ô"6 .N6 5 6 ,6)&< 8 ''% ĕ1"ô"6 /%6&A) N6 9I A'é& 'ĕ1 D/ĕ 9"õ 9 N6'4 Ĕ6A ;I1%C& C ' Ĕ6&C ',5" ĘA );I1 9I 9I 9"õ 9 E ĕ/5 E+ĕ N6 + )ĕ6 6 } ) '4C& Ę 1 B .Ĕ+ A"ôø% 1 Č N6A 8 6' 9I ~ "'ĕ1%A 9J& '5 D 15 '6'ĕ1&)4 Ĕ1A ;1 :I N6 + : +5 9I <)6 % '+%A ě N6 + A è 9IA'é& 'ĕ1 5J .8ù )ĕ6 6 A%;I1+5 9I %9 6 % 41 <g6C <)6 6'E ĕ%9 N6 9J 6 D/ĕ& N6A. 1 ĕ1"ô"6 5J .1 1 . C &D/ĕA/ < ).'< E ĕ+Ĕ6 . &5 %8E ĕ N6'4 Ĕ6.Ĕ+ ) Ĕ6A ;I1%C& C ' Ĕ6& N6 + 6 Ĕ1A) /%6&D/ĕB Ĕ 9C1 9 19 5J . E%Ĕ.6%6' N6.; E ĕ+Ĕ6 ¥ A ě =ĕ 8 .5gg6 B)4 N6'4 ) '4C& Ę 1 B E%Ĕ ' ĕ+ 5 5J . ê E%Ĕ%9.8 8A'é& 'ĕ1 D/ĕ ¥ N6'4A è D .Ĕ+ 9I 6 E '+% :

A 9J& '5 B)4$6-9%=) Ĕ6A"ôø% 6% 9I1ĕ6 %6 A%;I1+5 9I %8 < 6& . E ĕ&;I N6'ĕ1 1A"ô 1 N6 9J 6 1 41 <g6C <)6 6' Ĕ1,6) '1 )6 A ě 9 /%6&A) N6 9I 4 9J 9 5 )Ĕ6+1&=ĔD 5J 1 6'"ô 6' 6 1 ,6) '1 )6

~ ' 9 Ĕ6A ;I1%C& C ' Ĕ6& } ¸¸ºÈÈ ½¶Ç¼º~ '4/+Ĕ6 9"õ 9 . B)4 9C1 9 A%;I1+5 9I "(-$6 % 9C1 9 E ĕ&;I #Đ1 . A ě =ĕ = #Đ1 9 9I B)4 9"õ 9 A ě =ĕ = #Đ1 9 9I 9/%6&A) N6 9I Ĕ1,6) '1 )6 A'é& 'ĕ1 D/ĕ . B)4 9"õ 9 'Ĕ+% 5 N6'4 Ĕ6A ;I1%C& C ' Ĕ6& 9I . B)4 9"õ 9 &< 8 6' N6'4 5J B Ĕ +5 9I %8 < 6& B)4 9I E ĕ/5 A ě .Ĕ+ ) E+ĕ D 15 '6 6 Ĕ1A) /%6&'+%A ě A è N6 + )ĕ 6 6 "'ĕ1% $6-9%=) Ĕ6A"ôø% B)4 1 A 9J& :I N6 + : +5 9I "(-$6 % '+%A ě A è 9IA'é& 'ĕ1 5J .8ù N6 + )ĕ6 6 B)4A'é& 1 A 9J& 5 6 +5 #Đ1 +Ĕ6 4 N6'4A.'H .8ù :I '4 1 ĕ+& ~ Ĕ6A ;I1%C& C ' Ĕ6& :I 9"õ 9 ĕ1 N6'4D/ĕB Ĕ 9C1 9 C & N6 + 6 N6 + A) /%6& 9I 9"õ 9%9 6'D/ĕ 'è 6'D B Ĕ)4A ;1 D 15 '6 6 Ĕ1A) /%6& A ě A è '+% )ĕ6 6


‡ˆ�

18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 4.2) Ä”6A ;I1%C& C ' Ä”6& :I . . Ä•1 N6'4D/Ä•B Ä” 9C1 9 C & N6 + 6 ':I / :I 1 N6 + A 8 .Ä”+ B Ä” '6&E Ä• 9I . . E Ä•'5 6 9 "9 9 A Ä› A 8 '+% 2,331 )Ä•6 6 4.3) Ä”6A ;I1%C& C ' Ä”6& :I . . N6'4D/Ä•B Ä” 9C1 9E%Ä” ' Ä•+ A ;I1 6 . . B)4 9"9 9 N6.Ä”+ ) Ä”6A ;I1%C& C ' Ä”6&D 15 '6 22 6 Ä”1A) /%6& Ä”1A ;1 %6/5 11 Ä”1 A Ä› A 8 '+% 191 )Ä•6 6 :I A 8 .Ä”+ / :I 5J A Ä› N6 + A 9&+ 5 9I . . A'9& 'Ä•1

Ä”6A ;I1%C& C ' Ä”6& 22 6 Ä”1A) /%6& Ä”1A ;1 9I 9"9 9 /5 11 6 A 8 .Ä”+ B Ä” '6&E Ä• 6% Ä•1"8"6 9I 68/2551 Ä•6 Ä• B Ä” B Ä”6 5 9I N6 + ÄŒ 9IA'9& 'Ä•1 B)4 6' N6 + 1 A 9J& 4 9J 9 5 )Ä”6+1&=Ä”D '4/+Ä”6 6'"8 6' 6 1 ,6) '1 5J 9J '4 + 6',6) '1 )6 16 D Ä•'4&4A+)6D 6'"8 6' 6 /)6& ÄŒ C &!Ä?6& '8/6' 1 A1E1A1.A ;I1+Ä”6 ) 1 Ä•1"8"6 B)4 9 5 )Ä”6+ Ä”6 4 )9I )6&E D 6 9I 9B)4E%Ä” Ä”6 4%9 ) '4 1&Ä”6 %9 5&.N6 5g Ä”1 6'A 8 '+% 1 A1E1A1. A ;I1 6 9"9 9 E Ä• 8 5 8 = Ä•1 6% /%6&B)4 Ä•1.5gg6 9IA 9I&+ Ä•1 < '4 6'B)Ä•+

5) ' 9. Ĕ %1 B)4C1 ''%.8 8M A.616 6,/A.6.= (Tower) "'ĕ1%1< ' ĘB/)Ĕ Ĕ6& N6)5

6 '4/+Ĕ6 9"9 9 5 . . A%;I1+5 9I 3 <%$6"5 Ę 2552 . . E ĕA. 1 ĕ1"8"6 Ĕ1.N6 5 '4 5 ĕ1"8"6 . 6 5 1 <g6C <)6 6' 6% ĕ1"8"6 /%6&A) N6 9I 8/2552 A";I1A'9& 'ĕ1 D/ĕ 9"9 9 .Ĕ %1 B)4C1 ''%.8 8M A.616 6,/A.6.= (Tower) N6 + 3,343 ĕ "'ĕ1%1< ' ĘB/)Ĕ Ĕ6& N6)5

6 N6 + 2,653 A ';I1 6%.5gg6D/ĕ N6A 8 6'D/ĕ '8 6'+8 &< % 6 %'4 A ))=)Ĕ6'Ę /6 E%Ĕ.6%6' .Ĕ %1 E ĕD/ĕ 9"9 9 D ĕA 8 A ě N6 + 2,230 )ĕ6 6 :I 9"9 9 A/H +Ĕ6 A.616 6,/A.6.= (Tower) "'ĕ1%1< ' ĘB/)Ĕ Ĕ6& N6)5

6 %8D ĔA ';I1 /';1 1< ' Ę 6% 9I N6/ E+ĕD .5gg6 A%;I1+5 9I 18 ' 6 % 2555 41 <g6C <)6 6'E ĕ%9 N6 9J 6 D/ĕ& N6A. 1 ĕ1"8"6 1 CAT C &D/ĕA/ < ).'< E ĕ+Ĕ6 6' 9I CAT A'9& 'ĕ1 D/ĕ DPC .Ĕ %1 '5"&Ę.8 A ě 6'D ĕ.8 8A'9& 'ĕ1 Ĕ1 ' N6/ '4&4A+)6 9I16 D/ĕ.8 8 6%.5gg6E ĕ A%;I1+5 9I 25 <)6 % 2555 . . E ĕ& ;I N6'ĕ1 1A"8 1 N6 9J 6 1 41 <g6C <)6 6' Ĕ1,6) '1 )6 A ě 9/%6&A) N6 9I 2757/2555 4 9J 9 5 )Ĕ6+1&=ĔD 5J 1 6'"8 6' 6 1 ,6) '1 )6

6) ' 9 '5 ) 15 '6 Ĕ6D ĕA ';1 Ĕ6&'Ĕ+% (Roaming) '4/+Ĕ6 9"9 9 5 . . 6% 9I . . E ĕ1 <%5 8D/ĕ 9"9 9 ( '8-5 &Ĕ1& 1 A1E1A1.) '5 ) 15 '6 Ĕ6D ĕA ';1 Ĕ6&'Ĕ+% (Roaming) 6 2.10 6 Ĕ1 6 9 A/);1 15 '6 6 9)4 1.10 6 A";I1D/ĕ.1 )ĕ1 5 15 '6 Ĕ6D ĕ '8 6' 9I) IN6) A';I1&G A ě A+)6 3 A ;1 A'8I% 5J B Ĕ+5 9I 1 ' 6 % 2549 A ě ĕ E B)4 9"9 9 E ĕ%9/ 5 .;1 &6&'4&4A+)6 Ĕ1E 19 '6+)4 3 A ;1 :I . . E ĕ1 <%5 8A';I1&%6 : +5 9I 31 %9 6 % 2550 C & /)5 6 5J . . %8E ĕ%9/ 5 .;1 1 8A. D/ĕ 9"9 9 '6 B Ĕ1&Ĕ6 D '4 5I D +5 9I 24 %9 6 % 2551 . . E ĕ%9/ 5 .;1B ĕ D/ĕ 9 "9 9 D ĕ15 '6 Ĕ6D ĕA ';1 Ĕ6&'Ĕ+%D 15 '6 6 9)4 2.10 6 5J B Ĕ 1 A%-6& 2550 A ě ĕ E D +5 9I 8 "(-$6 % 2551 9"9 9 : E ĕ%9 / 5 .;1 1D/ĕ . . "8 6' 6 + 6' '5 15 '6 Ĕ6D ĕA ';1 Ĕ6&'Ĕ+% C & N6 : : .$6+4 6'B Ĕ 5 1 C ',5" ĘA );I1 9ID ę < 5 9I%915 '6 Ĕ6D ĕ '8 6'D )6 9I IN6 +Ĕ615 '6 Ĕ6D ĕA ';1 Ĕ6&'Ĕ+% 9I N6/ %6 :I N6D/ĕ 9"9 9 E%Ĕ.6%6' D/ĕ '8 6'A ';1 Ĕ6&'Ĕ+% 5


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ Ä•= '4 1 6' 9I%6 1D Ä• '8 6'E Ä• B)4D '4/+Ä”6 '1 6'"8 6' 6 9"9 9 4D Ä•15 '6 Ä”6D Ä•A ';1 Ä”6&'Ä”+%D 6 9)4 1.10 6 6% /)5 A ĘB)4A ;I1 E 9IE Ä•'5 1 <%5 8B)4 ;1 8 5 8%6 :I Ä”1%6A%;I1+5 9I 31 %9 6 % 2552 . .E Ä•%9/ 5 .;11 <%5 8D/Ä• 9"9 9 D Ä•15 '6 Ä”6D Ä• A ';1 Ä”6&'Ä”+%D 15 '6 6 9)4 1.10 6 D Ä”+ +5 9I 1 % '6 % 2552 : +5 9I 31 %9 6 % 2552 1 6 9J A%;I1+5 9I 16 %8 < 6& 2552 9"9 9 B)4A1E1A1.E Ä• N6.5gg6 6'D/Ä•D Ä•C ' Ä”6&C ' % 6 % (Roaming) C &D Ä•15 '6 1.10 6 Ä”1 6 9 B)4E Ä•'5 +6% A/H 1 6 4 ''% 6' 8 6'C ' % 6 %B/Ä” 6 8B)Ä•+ A%;I1+5 9I 15 ' 6 % 2553 . . E Ä• &;I A. 1 Ä•1 "8" 6 Ä”1.N6 5 '4 5 Ä• 1"8"6 . 6 5 1 <g 6C <)6 6' 6% Ä•1 "8"6 /%6&A) N6 9I 62/2553 A";I1A'9& 'Ä•1 D/Ä• 9"9 9 N6'4 ) '4C& Ę 1 B .Ä”+ A"8I% 1 ÄŒ N6A 8 6' 9I 10 - 12 9IA 8 6 6' 9I 9"9 9 '5 ) 15 '6 Ä”6D Ä•A ';1 Ä”6&'Ä”+% 6 15 '6 6 9)4 2.10 6 ) A/);1 1.10 6 D Ä”+ '4/+Ä”6 +5 9I 1 A%-6& 2550 - 31 5 +6 % 2551 A Ä› A 8 '+% 1,636 )Ä•6 6 "'Ä•1%A 9J& '5 9I N6 + : A ;1 %9 6 % 2553 A Ä› N6 + 364 )Ä•6 6 '+%A Ä› A 8 5J .8J 2,000 )Ä•6 6 B)4A'9& A 9J& '5 D 15 '6'Ä•1&)4 1.25 Ä”1A ;1 5 B Ä”A ;1 A%-6& 2553 +Ä”6 4 N6'4A.'H .8J C &1Ä•6 +Ä”6 . . E Ä•1 <%5 8 6' '5 ) 15 '6 Ä”6D Ä•A ';1 Ä”6&'Ä”+% 5 )Ä”6+ : +5 9I 31 %9 6 % 2550 A Ä”6 5J A%;I1+5 9I 12 5 &6& 2554 . . E Ä•&;I N6A. 1 Ä•1"8"6 Ä”1. 6 5 1 <g6C <)6 6' .N6 5 '4 5 Ä•1"8"6 .N6 5 6 ,6)&< 8 ''% Ä•1"8"6 /%6&A) N6 9I 89/2554 A'9& 'Ä•1 D/Ä• 9"9 9 N6'4 ) '4C& Ę 1 B .Ä”+ A"8I% 1 ÄŒ N6A 8 6' 9I 12 9IA 8 6 6' 9I 9"9 9 '5 ) 15 '6 Ä”6D Ä•A ';1 Ä”6&'Ä”+% 6 15 '6 6 9)4 2.10 6 ) A/);1 1.10 6 D Ä”+ '4/+Ä”6 +5 9I 1 A%-6& 2552 - 15 %8 < 6& 2552 A"8I%A 8% N6 + 113 )Ä•6 6 "'Ä•1%A 9J& '5 D 15 '6'Ä•1&)4 1.25 Ä”1A ;1 1 A 8 Ä• 5 )Ä”6+ 5 5J B Ä” 1 A%-6& 2552 +Ä”6 4 N6'4A.'H .8J 4 9J Ä•1"8"6 5 )Ä”6+1&=Ä”D 5J 1 6'"8 6' 6 1 1 <g6C <)6 6' 5J 9J '4 + 6'1 <g6C <)6 6' 5 )Ä”6+16 D Ä• '4&4A+)6D 6'"8 6' 6/)6& ÄŒ B Ä”1&Ä”6 E' H 6% =Ä• '8/6' 1 A1E1A1.A ;I1+Ä”6 N6+8 8 5& 9J 6 1 41 <g6C <)6 6'A 9I&+ 5 Ä•1 "8"6 5 )Ä”6+E%Ä” Ä”6 4%9 ) '4 D G Ä”1 6'A 8 '+% 1 A1E1A1. A ;I1 6 9"9 9 E Ä• 8 5 8 = Ä•1 6% /%6&B)4 Ä•1.5gg6 9I A 9I&+ Ä•1 < '4 6'B)Ä•+

7) ' 9 +6%A.9&/6&A ;I1 6 E%Ĕ.6%6' A'9& A H A 8 Ĕ6 '8 6'C ',5" Ę'4/+Ĕ6 '4A , '4/+Ĕ6 9"9 9 5 . . A%;I1+5 9I 8 A%-6& 2554 . . E ĕ&;I N6A. 1 ĕ1"8"6 /%6&A) N6 9I 32/2554 Ĕ1. 6 5 1 <g6C <)6 6' .N6 5 '4 5 ĕ1"8"6 .N6 5 6 ,6)&< 8 ''% A";I1A'9& 'ĕ1 D/ĕ 9"9 9 N6'4A 8 N6 + 33 )ĕ6 6 "'ĕ1% 1 A 9J&D 15 '6'ĕ1&)4 15 Ĕ1 Č 1 A 8 ĕ 5 )Ĕ6+ '+%A ě A 8 5J .8J 35 )ĕ6 6 C & . )Ĕ6+1ĕ6 +Ĕ6 9"9 9 8 .5gg6D/ĕ N6A 8 6' A ;I1 6 .5gg6A Ĕ6D ĕ '8 6'+8 &< % 6 %'4 A ))=)Ĕ6'Ę'4/+Ĕ6 9"9 9 5 =ĕD ĕ '8 6' D '4/+Ĕ6 Č 2540-2546 N6 + 1,209 A) /%6& %9 6' )1%B ) A1 .6'/ )6&%;1 ;I1 A ě A/ <D/ĕ . E ĕ'5 +6%A.9&/6&A ;I1 6 E%Ĕ.6%6' A'9& A H Ĕ6D ĕ '8 6''4/+Ĕ6 '4A ,E ĕ A%;I1A) /%6& 5 )Ĕ6+%9 6'D ĕ '8 6'C ',5" Ę'4/+Ĕ6 '4A , 1 . .

‡ˆŽ


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 4 9J ĕ1"8"6 5 )Ĕ6+1&=ĔD 5J 1 1 1 <g6C <)6 6' 5J 9J '4 + 6'1 <g6C <)6 6'16 D ĕ'4&4A+)6D 6'"8 6' 6 /)6& Č C &!ď6& '8/6' 1 A1E1A1. A ;I1+Ĕ6 ) 1 ĕ1"8"6 5 )Ĕ6+ Ĕ6 4 )9I )6&E D 6 9I 9B)4E%Ĕ Ĕ6 4%9 ) '4 1&Ĕ6 %9 5&.N6 5g Ĕ1 6'A 8 '+% 1 A1E1A1. A ;I1 6 9"9 9 E ĕ 8 5 8 = ĕ1 6% /%6&B)4 ĕ1.5gg6 9IA 9I&+ ĕ1 < '4 6'B)ĕ+

8) ' 9.Ĕ+ B Ĕ '6&E ĕ 6 Ĕ6A ;I1% Ĕ1C ' Ĕ6&C ' % 6 %'4/+Ĕ6 9"9 9 5 . . A%;I1+5 9I 24 .8 /6 % 2555 . . E ĕ&;I N6A. 1 ĕ1"8"6 /%6&A) N6 9I 110/2555 Ĕ1. 6 5 1 <g6C <)6 6' .N6 5 '4 5 ĕ1 "8"6 .N6 5 6 ,6)&< 8 ''% A";I1A'9& 'ĕ1 D/ĕ 9"9 9 N6'4 ) '4C& Ę 1 B .Ĕ+ A"8I% 1 Č N6A 8 6' 9I 10 – 14 N6 + 183 )ĕ6 6 "'ĕ1%A 9J& '5 D 15 '6'ĕ1&)4 1.25 Ĕ1A ;1 1 A 8 ĕ 5 )Ĕ6+ 5 B Ĕ+5 "ĕ N6/ N6'4A 8 1 Č N6A 8 6 D B Ĕ)4 Č +Ĕ6 4 N6'4A.'H .8J :I N6 + A 8 5 )Ĕ6+ . . N6 + ) '4C& Ę 1 B 6 '6&E ĕ Ĕ6A ;I1% Ĕ1C ' Ĕ6&C ' % 6 % 9I 9"9 9 E ĕ'5 6 =ĕ '4 1 6''6&1;I 5J N 6 + 6%15 '6'ĕ 1 &)4 9I N 6 / E+ĕ D .5 g g61 < g 6 3 C &E%Ĕ D /ĕ N 6 '6& Ĕ 6 & Ĕ 6 A ;I 1 % Ĕ 1 C ' Ĕ 6 & C ' % 6 % 9I 9"9 9 = =ĕ '4 1 6''6&1;I A'9& A H %6/5 11 4 9J ĕ1"8"6 5 )Ĕ6+1&=ĔD 5J 1 1 1 <g6C <)6 6' C &!ď6& '8/6' 1 A1E1A1.A ;I1+Ĕ6 ) 1 ĕ1"8"6 5 )Ĕ6+ Ĕ6 4 )9I )6&E D 6 9I 9B)4E%Ĕ Ĕ6 4%9 ) '4 1&Ĕ6 %9 5&.N6 5g Ĕ1 6'A 8 '+% 1 A1E1A1. A ;I1 6 9"9 9 E ĕ 8 5 8 = ĕ1 6% /%6&B)4 ĕ1.5gg6 9IA 9I&+ ĕ1 < '4 6'B)ĕ+ '8-5 A1E1A1H C ) 1) 1% N6 5 (“A1E1A1H ”)

' 9 6'.Ĕ '6##ċ 6'D/ĕ '8 6'C ',5" Ę 6 E )'4/+Ĕ6 '4A , Ĕ6 A ';I1 /%6& + '4/+Ĕ6 A1E1A1H 5 . . A%;I1+5 9I 7 %9 6 % 2551 . . E ĕ&;I #Đ1 A1E1A1. A ě N6A)& 9I 1 B)4 A1E1A1H :I A ě '8-5 &Ĕ1& 1 A1E1A1. A ě N6A)& 9I 2 9 /%6&A) N6 9I 1245/2551 Ĕ1,6)B"Ĕ A";I1A'9& 'ĕ1 D/ĕ'Ĕ+% 5 D ĕ Ĕ6A.9&/6& "'ĕ1% 1 A 9J&D 15 '6'ĕ1&)4 7.5 Ĕ1 Č : +5 #Đ1 '+%A ě A 8 130 )ĕ6 6 C &1ĕ6 +Ĕ6 +6%A.9&/6& 5 )Ĕ6+A 8 6 ' 9 9I A1E1A1. 5 A1E1A1H A )9I& B ) 6'.Ĕ '6##ċ 6'D/ĕ '8 6'C ',5" Ę 6 E )'4/+Ĕ6 '4A , D Ĕ+ A+)6+5 9I 1 : 27 %9 6 % 2550 9I =ĕD ĕ '8 6'C ',5" ĘA );I1 9I 1 A1E1A1. D ĕ '8 6' Ĕ6 A ';I1 /%6& “+” 6 A 8% 9IA ě 001 1 . . %6A ě 005 1 A1E1A1H C &E%ĔB ĕ D/ĕ =ĕD ĕ '8 6' '6 Ĕ1 Ĕ1%6A%;I1+5 9I 4 5 &6& 2551 . . E ĕ&;I N6'ĕ1 1B ĕE A"8I%A 8%#Đ1 D .Ĕ+ 1 Ĕ6A.9&/6& 583 )ĕ6 6 ('+% 1 A 9J&) C &1ĕ6

+Ĕ6 6' '4 N6 5 )Ĕ6+A ě A/ <D/ĕ . .E ĕ'5 +6%A.9&/6&A ě '4&4A+)6 Ĕ1A ;I1 A';I1&%6 : +5 9I 7 %9 6 % 2551 Ĕ1%6+5 9I 19 "(, 8 6& 2551 . . E ĕ&;I N6'ĕ1 1D/ĕ,6)%9 N6.5I <ĕ% '1 5I+ '6+/ĕ6%E%ĔD/ĕ A1E1A1. B)4 A1E1A1H N6 6'C& &ĕ6& '6##ċ 001 /';1A ';I1 /%6& “+” 1 . . E &5 '6##ċ 005 1 A1E1A1H :I ,6)E ĕ%9 N6.5I & N6'ĕ1 1 <ĕ% '1 5I+ '6+ 1 . . A%;I1+5 9I 26 <%$6"5 Ę 2552 B)4 . .E ĕ&;I 1< ' Ę N6.5I & N6'ĕ1 1 <ĕ% '1 5I+ '6+ 5 )Ĕ6+D +5 9I 20 %9 6 % 2552


'6& 6 '4 N6 Č

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 A%;I1+5 9I 17 5 +6 % 2552 ,6)B"Ĕ E ĕ%9 N6"8"6 -6& #Đ1 . . A ;I1 6 ĕ1A H '8 '5 #ę E%ĔE ĕ+Ĕ6 . . %9.8 8D 6'D ĕ A ';I1 /%6& + D 6'D/ĕ '8 6'C ',5" Ę '4/+Ĕ6 '4A ,B Ĕ =ĕA 9&+/';1%9.8 8/+ /ĕ6%%8D/ĕ A1E1A1. B)4 A1E1A1H :I A ě =ĕD/ĕ '8 6' C ',5" Ę'6&1;I D ĕA ';I1 /%6& + B)4'5 #ę E%ĔE ĕ+Ĕ6 6' 9I A1E1A1. '4 N6 6'B ) .5gg6 C ',5" Ę 9ID ĕ Ĕ6 A ';I1 /%6& + A ě Ĕ6 '/5./%6&A) 005 1 A1E1A1H A ě 6' N6D/ĕ =ĕD ĕ '8 6'C ',5" Ę'4/+Ĕ6 '4A ,A ĕ6D 8 +Ĕ6A ě 6'D ĕ '8 6' Ĕ6 '/5. /%6&A) 001 1 . . 6' '4 N6 1 A1E1A1. 5 )Ĕ6+ : %8E ĕA ě 6' '4 N615 A ě 6')4A%8 .8 8D G 1 . . .N6/'5 A1E1 A1H 9I . . #Đ1 1ĕ6 +Ĕ6'Ĕ+% '4 N6)4A%8 5 A1E1A1. 5J : %8E ĕ '4 N6 6')4A%8 Ĕ1 . . 6%#Đ1 ĕ+&1&Ĕ6 E' H 6% . . E ĕ&;I 1< ' Ę N6"8"6 -6 5 )Ĕ6+A%;I1+5 9I 10 %9 6 % 2553 4 9J 9 5 )Ĕ6+1&=ĔD 5J 1 6'"8 6' 6 1 ,6)1< ' Ę A%;I1+5 9I 16 .8 /6 % 2555 ,6)1< ' ĘE ĕ%9 N6.5I &; 6% N6.5I 1 ,6) 5J ĕ D/ĕ& N6'ĕ1 1 <ĕ% '1 5I+ '6+ 1 . . B)4 . . 9 6 N6.5I 5 )Ĕ6+A%;I1+5 9I 19 <)6 % 2555 A1E1A1.B)4 9"9 9

' 9$6-9A 8 E ĕ 8 8 < )/5 9I Ĕ6& '4/+Ĕ6 A1E1A1. 9"9 9 B)4 '%.''"6 ' '%.''"6 'E ĕ%9/ 5 .;1B ĕ D/ĕ N6.Ĕ $6-9A 8 E ĕ 8 8 < )/5 9I Ĕ6& 5 ) +5 9I 18 % '6 % 2556 D/ĕA1E1A1. B)4 9"9 9 Ĕ6& N6'4A 8 A"8I% N6 + A 8 128 )ĕ6 6 B)4 6 )ĕ6 6 6%)N6 5 6 ' 9 6'/5 $6-9A 8 E ĕ Ĕ6& 1 A 8 ) '4C& Ę 1 B C &E ĕ N6A 8 Ĕ6$6-9.''".6%8 9IE ĕ Ĕ6&E+ĕB)ĕ+%6/5 11 :I '%.''"6 '"8 6' 6+Ĕ6A 8 Ĕ6$6-9.''".6%8 ;1A ě .Ĕ+ / :I 1

Ĕ6 ) '4C& Ę 1 B 5 5J 6' 9IA1E1A1.B)4 9"9 9 %8E ĕ/5 B)4 N6.Ĕ $6-9 6 N6 + A 8 $6-9.''".6%8 9I N6%6/5 11 A ě 6' N 6 .Ĕ $6-9 9I E %Ĕ ' ĕ + ĕ 1 '5 8 N 6 '4A 8 A"8I % 6% N 6 + 5 )Ĕ 6 + A1E1A1.B)4 9 "9 9 A '9 & % 6' 4&;I 1< ' Ę 5 ĕ 6 Ĕ 1 4 ''% 6'"8 6' 61< ' Ę

33.5 6' = A'9& A ĕ6A ě =ĕ = #Đ1 9'Ĕ+% 1 E & % B)4 '8-5 A%;I1+5 9I 19 A%-6& 2550 6&.<" -Ę )8J% 6 <) E ĕ&;I #Đ1 . .N6 5 6 . B)4 '4 '+ A C C)&93 Ĕ1,6) '1 )6

C &1ĕ6 A/ <A';I1 A ĕ6/ ĕ6 9I'5 B)4/ Ĕ+& 6 6 '1 )4A)& Ĕ1 6' 8 5 8/ ĕ6 9ID 6' '+ .1 E & % +Ĕ6 '4 1 8 6' C ' % 6 %C &!ď6!Ď /%6&/';1E%Ĕ /)5 6 9I%9 6'C1 6&/<ĕ 1 '8-5 D/ĕB Ĕ =ĕ ;1/<ĕ '6&D/%Ĕ ,6) '1 )6 E ĕ%9 N6.5I ) +5 9I 8 A%-6& 2552 B)4+5 9I 20 ' 6 % 2553 A'9& D/ĕE & % B)4 '8-5 A ĕ6%6A ě =ĕ = #Đ1 9 'Ĕ+%C & N6/ D/ĕE & % A ě =ĕ = #Đ1 9 9I 4 B)4 '8-5 A ě =ĕ = #Đ1 9 9I 5 6%)N6 5 5J 9JA";I1A ċ C1 6.D/ĕE & % B)4 '8-5 E ĕ &;I N6D/ĕ 6'B ĕ N6#Đ1 '+% 5J "&6 /)5 6 Ĕ1,6) '1 )6 :I E & %B)4 '8-5 E ĕ N6A 8 6'E B)ĕ+A%;I1A ;1 ' 6 % 2552 B)4 5 &6& 2553 6%)N6 5 C &A%;I1+5 9I 10 %8 < 6& 2554 ,6) '1 )6 E ĕ%9 N6"8"6 -6& #Đ1

B)4A%;I1+5 9I 8 ' 6 % 2554 6&.<" -Ę )8J% 6 <) E ĕ&;I 1< ' Ę Ĕ1,6) '1 .= .< :I 91&=Ĕ'4/+Ĕ6 6'"8 6' 6 1 ,6) '1 .= .< C &A%;I1+5 9I 23 5 &6& 2554 E & %B)4 '8-5 E ĕ&;I N6D/ĕ 6'B ĕ1< ' Ę Ĕ1,6) '1 .= .<


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 !ď6& '8/6'%9 +6%A/H +Ĕ6 5J E & %B)4 '8-5 4E%ĔE ĕ'5 ) '4 6 9 5 )Ĕ6+ A ;I1 6 A ě 6'&;I #Đ1 . .N6 5 6 . B)4 '4 '+ A C C)&93 D 6')4A)& Ĕ1 6' 8 5 8/ ĕ6 9I B)4E%Ĕ Ĕ6 4A ě A/ < 9I '4 '+ A C C)&93 4 1 A)8 .5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' 5 E & %E ĕ A ;I1 6 E & %E ĕ N6A 8 6' = ĕ1 6%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6'

33.6 9#Đ1 'ĕ1 1;I /%6& '8-5 &Ĕ1&B/Ĕ / :I %9 9 +6%1&=ĔD ,6)B'

6 )6 5J 9J 9I ': -6 /%6& 1 '8 -5 &Ĕ1&%9 +6%A/H +Ĕ6 '8-5 &Ĕ1&E ĕ N6A 8 6'B)4 8 5 8$6&D ĕ '1 6% /%6& 9I N6/ 5 5J E%Ĕ 6 +Ĕ6 ) 1 9 4 Ĕ1D/ĕA 8 )A.9&/6&1&Ĕ6 A ě .6'4.N6 5g Ĕ1 6'A 8 '+% 1 )<Ĕ% '8-5 34

/ 5 .;1 J6N '4 5 6 6 6'

+5 5 5+6 % )< Ĕ%18Ĕ% 18 5 5%9 $%96'4 I 6 6'E ĕ +5 9I 31 +6 % 2555 )< $6'4= "5= "5 5 5 6 6' 6 6' 9 6 6' 6 6' 9 I 6 6'E ĕ11 / 5 11 / 5 .; 1.; J1 JN6 '4 5 N6 '4 5 .5.5ggg6A Ĕ g6A Ĕ66 6+A 9 6+A 9&&%% Ĕ6 ''%A 9 ''%A 9&&%,< %,<)) 6 ' 6 ' 6'D ĕ ##Đ66 B)4'6& 6'1; 6' N66A 8A 8 6 6% 8

6 6% 8AA ě ě N N66 + A 8 + A è '4%6 '4%6 )ĕ 6'D ĕEE##Đ B)4'6& 6'1;I I G 9 G 9IAIA ě ě 6' N 519 )ĕ66 6 B)4 6 B)4 2 )ĕ6 1))6'Ę./'5 3 } )ĕ 6 6 B)4 )ĕ 6 1))6'Ę /'5 3~ D 6'A è (2554 : 781 )ĕ6 6 B)4 3 )ĕ6 1))6'Ę ./'5 ).D 6'A 8 '+% '+% 35

%6 ' 6 6''6& 6 6 6'A 8 9&I 5 E%ĔE ĕD ĕ )<Ĕ%18 5 &5 E%ĔE ĕ ;1 8 5 8 6%%6 ' 6 6' 5g 9 9I11 B)4 '5 '< D/%Ĕ 5 Ĕ1E 9J A ;A ;I1I1 6 %6 ' 6 6' 5gg 9 9 9I19I11 B)4 1 B)4

6 %6 ' 6 6' 5 '5 '< D/%Ĕ N6/ D/ĕ ;1 8 5 8 5 6'A 8 .N6/'5 '1 '4&4A+)6 5g 9 9IA'8I%D /';1/)5 +5 9I 1 % '6 % 2556 %6 ' 6 6' 5g 9 5 9I 20 A';I1 6' 5g 9.N6/'5 A 8 1< / < 6 '5 6) B)4 6'A ċ A & ĕ1%=)A 9I&+ 5 +6% Ĕ+&A/);1 6 '5 6) '5 6) %6 ' 6 6' 5g 9 5 9I 21 ( '5 '< 2552) A';I1 ) '4 6 6'A )9I& B ) 1 15 '6B) A )9I& A 8 '6 Ĕ6 '4A , %6 ' 6 6' 5g 9 5 9I 20 N6/ +8 9 8 5 8 6 5g 9B)4 6'A ċ A & ĕ1%=)A 9I&+ 5 A 8 1< / < 6 '5 6)B)4 +6% Ĕ+&A/);1 6 '5 6)D '= B 1;I %6 ' 6 6' 5g 9 5 9I 21 N6/ D/ĕ 8 6' ĕ1 N6/ . <)A 8 9ID ĕD 6' N6A 8 6 B)4+5 ) 6' N6A 8 6 B)4 6 4 6'A 8 D . <)A 8 9ID ĕD 6' N6A 8 6 B)4E ĕ N6/ +8 9 6'B ) Ĕ6A ě . <)A 8 9ID ĕ N6A. 1 6'A 8 D ' 9 9IA. 1 6'A 8 9I%8D Ĕ. <) A 8 9ID ĕD 6' N6A 8 6 ĕ = '8/6' 6 +Ĕ6 %6 ' 6 6''6& 6 6 6'A 8 9I11 B)4 '5 '< D/%Ĕ 6ĕ ĕ 4E%Ĕ%9 ) '4 9I%9.6'4.N6 5g Ĕ1 6 4 6'A 8 B)4 ) 6' N6A 8 6 1 )<Ĕ%18 5 D + 9I ;1 8 5 8


'6& 6 '4 N6 Č ‡ŠŠŠ

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ä”1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ä”)4 ÄŒ.8Ăš .< +5 9I ˆ† 5 +6 % ‡ŠŠŠ B)4 ‡ŠŠ‰ 36

6' N6A. 1D/%Ĕ '6& 6' 6 '6& 6'D A "64 N6E' 6 < '+% Č 2554 E ĕ%9 6' N6A. 1D/%ĔA";I1D/ĕ.1 )ĕ1 5 6' N6A. 1D 6'A 8 Č 2555 :I A ě E 6%%6 '6 6 6''6& 6 6 6'A 8 5 9I 5 A';I1 .8 '5"&ĘE%Ĕ/%< A+9& 9I ;1E+ĕA";I1 6&B)4 6' N6A 8 6 9I& A)8 %6 ' 6 5 9I )Ĕ6+E+ĕD /%6&A/ < '4 1 6'A 8 ĕ1 9 6' N6A. 1D/%Ĕ 9I%9.6'4.N6 5gA ě 5 9J

A "64 N6E' 6 < '+% .N6/'5 Č. 8J .< +5 9I 31 5 +6 % 2554

Ĕ1 6' N6A. 1D/%Ĕ

6' N6 A. 1D/%Ä”

/)5 6' N6A. 1D/%Ä”

()Ä•6 6 ) '6&E Ä• '6&E Ä• 6 6' 6&B)4 6'D/Ä• '8 6' '+%'6&E Ä•

8,649 26,225

(630) (630)

8,019 25,595

6,129

(941)

5,188

621 173 1,593 9,187

(24) (9) (115) (1,089)

597 164 1,478 8,098

17,038 (482) 16,556 (487)

459 27 486 (19)

17,497 (455) 17,042 (506)

16,069

467

16,536

16,069

(467) -

(467) 16,069

Ĕ6D ĕ 6Ĕ & ĕ < 6&B)4 ĕ < 6'D/ĕ '8 6' ) '4C& Ę 1 B 6%.5gg61 <g6 D/ĕ N6A 8 6' Ĕ6D ĕ Ĕ6&D 6' 6& Ĕ6D ĕ Ĕ6&D 6' '8/6' '+% Ĕ6D ĕ 6Ĕ & N6E' Ĕ1 ĕ < 6 6'A 8 B)4$6-9A 8 E ĕ ĕ < 6 6'A 8 N6E' Ĕ1 $6-9A 8 E ĕ Ĕ6D ĕ Ĕ6&$6-9A 8 E ĕ N6E'.N6/'5 Č 6 6' N6A 8 6 Ĕ1A ;1I

6 < .N6/'5 Č 6 6' N6A 8 6 9I& A)8 .< 8 6 $6-9 N6E'.N6/'5 Č

‡‰ˆ


18 5

'è-5 8 1'Ę 1A' 5I N6 5 }%/6 ~ B)4 'è-5 &Ĕ1& /%6&A/ < '4 1 6'A è .N6/'5 B Ĕ)4 Č.8ù .< +5 9I 5 +6 % B)4 37

A/ < 6' Ę$6&/)5 '1 '4&4A+)6 9'I 6& 6

6'A. 1 Ĕ6&A 8 ę ) 6'A. 1 Ĕ6&A 8 ę ) 1 '8-5 'Ĕ+%B)4 '8-5 &Ĕ1& 9I '4 <% 4 ''% 6' '8-5 1 A1E1A1. 9A1.B1) B)4 E & % %9% 8D/ĕA. 1 6' Ĕ6&A 8 ę ) 6 ) 6' N6A 8 6 Č 2555 D/ĕ 9I '4 <%.6%5g =ĕ ;1/<ĕ 1 <%5 8 5 9J

'8- 5 A1E1A1. 9A1.B1) E & %

+5 9 I '4 <% 7 <%$6"5 Ę 2556 8 <%$6"5 Ę 2556 13 <%$6"5 Ę 2556

A 8 ę )

A 8 ę ) '4/+Ĕ6 6) 9 I 6Ĕ &B)ĕ+D Č 2555

A 8 ę ) 9 I 4 Ĕ6&

N6 + A 8

( 6 / /<ĕ )

( 6 / /<ĕ )

( 6 / /<ĕ )

()ĕ6 6 )

10.90 0.60 0.40

5.90 0.30 -

5.00 0.30 0.40

14,865 178 438

6'A. 1 Ĕ6&A 8 ę ) 1 '8-5 A%;I1+5 9I 15 <%$6"5 Ę 2556 9I '4 <% 4 ''% 6' 1 '8-5 %9% 8D/ĕ Ĕ6&A 8 ę )'4/+Ĕ6 6).N6/'5 + 5J B Ĕ+5 9I 1 % '6 % 2556 : 28 %9 6 % 2556 D/ĕB Ĕ =ĕ ;1/<ĕ 1 '8-5 D 15 '6/<ĕ )4 1.88 6 8 A ě A 8 ę ) '4%6 6,028 )ĕ6 6 C & '8-5 4 N6A. 1D/ĕ 9I '4 <% =ĕ ;1/<ĕ .6%5g '4 N6 Č 2556 1 '8-5 "8 6' 61 <%5 8 Ĕ1E 5J 9JA%;I1+5 9I 7 <%$6"5 Ę 2556 9I '4 <% 4 ''% 6' 1 A1E1A1. %9% 8D/ĕA'9& '4 <% =ĕ ;1/<ĕ .6%5g '4 N6 Č 2556 D +5 9I 27 %9 6 % 2556 C &%9+6'4 6' Ĕ6&A 8 ę )A"8I%A 8%.N6/'5 ) '4 1 6' + ': I Č/)5 1 Č 2555 D 15 '6 5.00 6 Ĕ1/<ĕ B)4 A%;I1+5 9I 13 <%$6"5 Ę 2556 9I '4 <% 4 ''% 6' 1 E & % %9% 8D/ĕA'9& '4 <% =ĕ ;1/<ĕ .6%5g '4 N6 Č 2556 D +5 9I 28 %9 6 % 2556 C &%9+6'4 6' Ĕ6&A 8 ę ).N6/'5 Č 2555 D 15 '6 0.40 6 Ĕ1/<ĕ '8-5 4'5 '=ĕA 8 ę ) 6 A1E1A1.B)4E & %A ě '6&E ĕ A%;I1 9I '4 <% =ĕ ;1/<ĕ .6%5g 1 A1E1A1.B)4E & %%9% 81 <%5 8 C & '8-5 4 E ĕ'5 A 8 ę )A ě N6 + '+% '4%6 6,194 )ĕ6 6 ( 6 A1E1A1. N6 + 1,203 )ĕ6 /<ĕ /<ĕ )4 5.00 6 B)4 6 E & % N6 + 451 )ĕ6 /<ĕ /<ĕ )4 0.40 6 ) 5 5J 6' Ĕ6&A 8 ę )'4/+Ĕ6 6) 5 )Ĕ6+ 1 '8-5 : :J 1&=Ĕ 5 % 8 6'1 <%5 8 6' Ĕ6& ę ) 1 9I '4 <% =ĕ ;1/<ĕ .6%5g '4 N6 Č 2556 1 A1E1A1.B)4E & %


ข้อมูลของบุคคลอ้างอิง นายทะเบียนหลักทรัพย์ : บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทรศัพท์ : (66) 2229 2800 โทรสาร : (66) 2359 1259 เว็บไซต์ www.tsd.co.th ผู้สอบบัญชี : นายวินิจ ศิลามงคล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3378 บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำ�กัด ชั้น 50-51 เอ็มไพร์ทาวเวอร์ 195 ถนนสาทรใต้ กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท์ : (66) 2677 2000 โทรสาร : (66) 2677 2222 เว็บไซต์ www.kpmg.co.th



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.