กระทรวงยุติธรรม
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. : 0 2141 5100 Fax : 0 2143 8246
กฎหมาย
สามัญประจำ�บ้าน
www.moj.go.th
กระทรวงยุติธรรม
กฎหมาย
สามัญประจำ�บ้าน
กระทรวงยุติธรรม
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน พิมพ์ครั้งที่ 1 50,000 เล่ม ปีที่พิมพ์ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2555 จัดพิมพ์ที่ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ (อาคาร A) ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ : 0-2141-5100 โทรสาร : 0-2143-8246 www.moj.go.th
ออกแบบและจัดพิมพ์โดย หจก.อรุณการพิมพ์ 99/2 ซ.พระศุลี ถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท์ 0-2282-6033-4 โทรสาร 0-2280-2187-8 กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
สารบัญ
หน้า
วิสัยทัศน์ พันธกิจ บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ตอนที่ 1 การแต่งกายกับกฎหมาย 1 ตอนที่ 2 การแต่งกายกับกฎหมาย 2 ตอนที่ 3 เครื่องแบบเครื่องหมายเจ้าพนักงาน 1 ตอนที่ 4 เครื่องแบบเครื่องหมายเจ้าพนักงาน 2 ตอนที่ 5 เครื่องแบบเครื่องหมายเจ้าพนักงาน 3 ตอนที่ 6 เครื่องแบบเครื่องหมายเจ้าพนักงาน 4 ตอนที่ 7 เครื่องแบบเครื่องหมายเจ้าพนักงาน 5 ตอนที่ 8 เครื่องแบบเครื่องหมายเจ้าพนักงาน 6 ตอนที่ 9 เครื่องแบบเครื่องหมายเจ้าพนักงาน 7 ตอนที่ 10 เครื่องแบบนักเรียน ตอนที่ 11 เครื่องแบบลูกเสือ ตอนที่ 12 เครื่องแบบ รด. ตอนที่ 13 เครื่องแบบชุดครุย ตอนที่ 14 เครื่องแบบมหาวิทยาลัย ตอนที่ 15 จีวรพระภิกษุ สามเณร ตอนที่ 16 เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 1 ตอนที่ 17 เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 2 ตอนที่ 18 เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 3 ตอนที่ 19 เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 4 ตอนที่ 20 เครื่องแต่งกายของผู้ขับขี่สาธารณะ 5 ตอนที่ 21 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 1
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
หน้า ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่
22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 2 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 3 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 4 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 5 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 6 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 7 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 8 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 9 พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 10 ตัวแทน หนุ่มลอตเตอรี่ พลเมืองดี 1 พลเมืองดี 2 พลเมืองดี 3 ต�ำรวจตรวจจับความเร็ว ไม่ซื่อ ชวดรางวัลและอาจติดคุก สังหาฯ มีค่าฝังไว้ ม.1328 และ ม.355 ปอ. สินบนจราจร กฎจราจร กฎเพื่อความปลอดภัย 1 กฎจราจร กฎเพื่อความปลอดภัย 2 แก๊งซิ่ง การแซงแบบปลอดภัย ห้ามแซงโดยเด็ดขาด ขับขี่มอเตอร์ไซค์อย่างปลอดภัย 1 ขับขี่มอเตอร์ไซค์อย่างปลอดภัย 2 ขับขี่มอเตอร์ไซค์อย่างปลอดภัย 3 จุดเสี่ยง
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48
กระทรวงยุติธรรม
หน้า ตอนที่ 49 ตอนที่ 50 ตอนที่ 51 ตอนที่ 52 ตอนที่ 53 ตอนที่ 54 ตอนที่ 55 ตอนที่ 56 ตอนที่ 57 ตอนที่ 58 ตอนที่ 59 ตอนที่ 60 ตอนที่ 61 ตอนที่ 62 ตอนที่ 63 ตอนที่ 64 ตอนที่ 65 ตอนที่ 66 ตอนที่ 67 ตอนที่ 68 ตอนที่ 69 ตอนที่ 70 ตอนที่ 71 ตอนที่ 72 ตอนที่ 73 ตอนที่ 74 ตอนที่ 75
ขับรถปลอดภัย ขับรถในเวลากลางคืน ปีใหม่ มีมารยาทขับรถ ถ้าง่วงนัก พักซะก่อนดีกว่า เปลี่ยนทัศนะการขับ ลดอุบัติเหตุ สังเกตคนติดยา เด็กอายุ 9 ปี กระท�ำผิด สั่งไม่ฟ้องเด็กท�ำผิด ปรับปรุงการกักขังแทนค่าปรับ 1 ปรับปรุงการกักขังแทนค่าปรับ 2 ผู้ซื้อบริการทางเพศ เผยแพร่สื่อลามก ภัยใกล้ตัว เด็กอายุไม่เกิน 13 ปี เด็กอายุไม่เกิน 15 ปี รุกล�้ำที่ดินข้างเคียง 1 รุกล�้ำที่ดินข้างเคียง 2 รุกล�้ำที่ดินข้างเคียง 3 อายุ 17 ปี แต่งงานได้ สินส่วนตัว 1 สินส่วนตัว 2 สินส่วนตัว 3 การจัดการสินส่วนตัว สินสมรส 1 สินสมรส 2 สินสมรส 3 การจัดการสินสมรส 1
49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
หน้า ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่ ตอนที่
76 การจัดการสินสมรส 2 77 ชื่อสกุลภายหลังคู่สมรสตาย 78 จดทะเบียนรับรองบุตร 1 79 จดทะเบียนรับรองบุตร 2 80 จดทะเบียนรับรองบุตร 3 81 รับผิดร่วมกับบุตร 1 82 รับผิดร่วมกับบุตร 2 83 ผู้ปกครอง 1 84 ผู้ปกครอง 2 85 ผู้ปกครอง 3 86 ชื่อสกุลของเด็กในอุปการะ 87 คุณสมบัติผู้ปกครอง 88 พรากผู้เยาว์ 89 บุตรบุญธรรม 90 ผู้รับบุตรบุญธรรม 91 เงื่อนไขการรับบุตรบุญธรรม 92 ฐานะบุตรบุญธรรม 93 ผู้รับบุตรบุญธรรมไม่มีสิทธิรับมรดก 94 ผู้รับบุตรบุญธรรมเรียกทรัพย์คืน 95 การจัดการสินทรัพย์ 96 การจัดการทรัพย์สินที่ต้องขอศาลก่อน 97 การจัดการทรัพย์สินบางอย่างต้องขอศาลก่อน 98 ค่าอุปการะเลี้ยงดู 99 ทายาทมี 2 ประเภท 100 ทายาท 1 101 ทายาท 2 102 ทายาทโดยธรรม 1
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99 100 101 102
กระทรวงยุติธรรม
หน้า ตอนที่ 103 ทายาทโดยธรรม 2 ตอนที่ 104 สิทธิใช้ชื่อสกุล ตอนที่ 105 ขายลูกกิน 1 ตอนที่ 106 ขายลูกกิน 2 ตอนที่ 107 ความผิดเกี่ยวกับเพศ ตอนที่ 108 ข่มขืน ตอนที่ 109 โทรมหญิง ตอนที่ 110 หญิงก็ผิดฐานข่มขืนได้ ตอนที่ 111 อนาจาร ตอนที่ 112 เอเย่นต์น้อย ๆ ตอนที่ 113 ภัยแท็กซี่ ตอนที่ 114 สามีข่มขืน ตอนที่ 115 ค้าประเวณี 1 ตอนที่ 116 ค้าประเวณี 2 ตอนที่ 117 ถูกบังคับไม่ผิด ตอนที่ 118 เร่ค้าประเวณี ตอนที่ 119 การเช่าบ้าน ตอนที่ 120 หลักฐานการเช่า 1 ตอนที่ 121 หลักฐานการเช่า 2 ตอนที่ 122 ผู้ให้เช่าเข้าตรวจทรัพย์สิน ตอนที่ 123 ผู้ให้เช่าตาย ตอนที่ 124 หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 1 ตอนที่ 125 หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 2 ตอนที่ 126 หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 3 ตอนที่ 127 หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 4
103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120 121 122 123 124 125 126 127
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
กระทรวงยุติธรรม วิสัยทัศน์ หลักประกันความยุติธรรมตามมาตรฐานสากล
พันธกิจ 1. บริหารจัดการการอ�ำนวยความยุตธิ รรมในสังคมด้วยความชอบธรรม 2. พัฒนาคุณภาพการด�ำเนินตามกฎหมาย พันธกรณีระหว่างประเทศ และมาตรฐานระบบงานยุติธรรม 3. วิจัยและพัฒนาระบบงานยุติธรรมและกฎหมาย 4. พัฒนากระบวนการยุติธรรมทางเลือก 5. บูรณาการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 6. ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ 7. บริหารจัดการระบบงานยุติธรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้วยความเป็นธรรม 8. ส่งเสริมการบูรณาการงานยุตธิ รรมและความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ทั้งในและต่างประเทศ 9. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์การให้มีขีดสมรรถนะสูง กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม 1. ส่วนราชการที่อยู่ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม
ส�ำนักงานรัฐมนตรี
มีภารกิจเกี่ยวกับราชการทางการเมือง เพื่อสนับสนุนภารกิจ ของรั ฐ มนตรี ประสานนโยบายระหว่ า งกระทรวง รวบรวมข้ อ มู ล และวิ เ คราะห์ ก ลั่ น กรองเรื่ อ งเสนอรั ฐ มนตรี รวมทั้ ง เสนอความเห็ น ประกอบการวิ นิ จ ฉั ย สั่ ง การของรั ฐ มนตรี ด� ำ เนิ น การพิ จ ารณา เรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียน หรือร้องขอความช่วยเหลือต่อรัฐมนตรี ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม มี ห น้ า ที่ จั ด ท� ำ และขั บ เคลื่ อ นนโยบายและยุ ท ธศาสตร์ ข อง กระทรวงยุติธรรม ตลอดจนเป็นศูนย์กลางในการประสานงานระหว่าง หน่วยงานในสังกัด รวมทัง้ สนับสนุนการด�ำเนินการของส�ำนักงานยุตธิ รรม จังหวัด และศูนย์บริการร่วมของกระทรวงยุติธรรม ในการให้บริการ ให้คำ� แนะน�ำ ค�ำปรึกษาทางด้านกฎหมายและรับเรื่องราวร้องทุกข์
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
กรมคุมประพฤติ ด�ำเนินการสืบสอบและพินิจ ควบคุมและสอดส่อง แก้ไข ฟื้นฟู และสงเคราะห์ ผู้กระท�ำผิดในชั้นก่อนฟ้อง ชั้นพิจารณาคดีของศาล และภายหลังที่ศาลมีค�ำพิพากษาที่กฎหมายก�ำหนด ด�ำเนินการฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามกฎหมายว่าด้วยการฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้ติดยาเสพติด ส่งเสริมและสนับสนุนเกี่ยวกับการด�ำเนินการแก้ไข ฟื้นฟู และสงเคราะห์ผกู้ ระท�ำผิดในชุมชน พัฒนาระบบรูปแบบ และวิธกี ารปฏิบตั ิ ต่อผู้กระท�ำผิดในชุมชน ตลอดจนเสริมสร้างสนับสนุน และประสานงาน ให้ชุมชนและภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในรูปแบบเครือข่าย ยุติธรรมชุมชนหรือรูปแบบอื่นในการป้องกันสังคมจากอาชญากรรม กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ มี ห น้ า ที่ แ ละภารกิ จ เกี่ ย วกั บ สิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพที่ ป ระชาชน พึงได้รบั ตามกฎหมาย จัดระบบการบริหารจัดการส่งเสริมและพัฒนาด้าน การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ พัฒนาระบบ มาตรการ และด�ำเนินการช่วยเหลือประชาชนทีต่ กเป็นเหยือ่ อาชญากรรม รวมทั้ ง ด� ำ เนิ น การช่ ว ยเหลื อ ทางการเงิ น แก่ ผู ้ เ สี ย หายและจ� ำ เลย ในคดีอาญา ซึ่งมิได้เป็นผู้กระท�ำผิดตามกฎหมายว่าด้วยค่าตอบแทน ผูเ้ สียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จา่ ยแก่จำ� เลยในคดีอาญา ส่งเสริมและ พัฒนากลไกการระงับข้อพิพาทในสังคม ด�ำเนินการคุ้มครองพยานตาม กฎหมายว่าด้วยการคุม้ ครองพยานในคดีอาญา ประสานงานคุม้ ครองสิทธิ และเสรีภาพกับภาครัฐ และภาคเอกชนทั้งในและต่างประเทศ กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
กรมบังคับคดี
ท�ำหน้าที่บังคับคดีแพ่ง คดีล้มละลาย และฟื้นฟูกิจการของ ลูกหนี้ การช�ำระบัญชี และการวางทรัพย์ตามค�ำสั่งศาล ศึกษาวิเคราะห์ วิจยั เพือ่ พัฒนาระบบการปฏิบตั งิ านของการบังคับคดีแพ่ง คดีลม้ ละลาย และการฟืน้ ฟูกจิ การของลูกหนี้ การช�ำระบัญชี การวางทรัพย์ ในแต่ละระบบ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมทั้งเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายเกี่ยวกับ การบัง คับ คดีให้ ป ระชาชนได้ เข้ า ใจอย่ า งทั่วถึง ไกล่เกลี่ย ข้อ พิพาท ในการบังคับคดี และส่งเสริมความร่วมมือการมีส่วนร่วมในการบังคับคดี ของภาครัฐและเอกชน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน พิทักษ์และคุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชนที่กระท�ำความผิด ส่งเสริมความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและชุมชน ก�ำกับการปกครอง บ�ำบัด แก้ไข ฟื้นฟู ป้องกัน พัฒนา และสงเคราะห์ ตลอดจนติดตาม ประเมินผลเด็กและเยาวชน ประสานความร่วมมือ และสร้างเครือข่าย กับชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชนทั้งภายในและต่างประเทศ เพื่อ การมีสว่ นร่วมและสนับสนุนกระบวนการยุตธิ รรมส�ำหรับเด็กและเยาวชน ศึกษาวิเคราะห์ และพัฒนากฎหมายการพิทักษ์คุ้มครองสิทธิเด็กและ เยาวชน รวมทั้งระบบและรูปแบบวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับงานคดีและ การปฏิบัติต่อเด็กและเยาวชน
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
กรมราชทัณฑ์ ท�ำหน้าที่ควบคุม ดูแลปฏิบัติต่อผู้กระท�ำผิดตามค�ำพิพากษา ภายใต้หลักอาชญาวิทยา ทัณฑวิทยา และข้อก�ำหนดขั้นต�่ำขององค์การ สหประชาชาติ โดยการให้การศึกษา ฝึกวิชาชีพ พัฒนาจิตใจ จัดสวัสดิการ สงเคราะห์ผตู้ อ้ งขัง เพือ่ ฟืน้ ฟู แก้ไข ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมให้เป็นพลเมือง ที่ดีของสังคม การสอบสวนคดีพิเศษ ท�ำหน้าที่ป้องกัน ปราบปราม และควบคุมอาชญากรรมพิเศษ ที่มีผลร้ายแรงต่อเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคงของประเทศ และความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยด�ำเนินการเฝ้าระวังตรวจสอบข้อเท็จจริง สืบสวน สอบสวน และด�ำเนินคดี และอ�ำนวยความยุตธิ รรมแก่ประชาชน ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม ด�ำเนินการด้านนโยบายและพัฒนากระบวนการยุติธรรม โดย การศึกษา วิจัย การประเมินผล การบังคับใช้กฎหมายเพื่อให้หน่วยงาน ในกระบวนการยุติธรรมมีทิศทางการด�ำเนินการ สามารถอ�ำนวยความ ยุตธิ รรมให้แก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องไปในทิศทาง เดียวกัน ตลอดจนประสานความร่วมมือด้านวิชาการและงานยุติธรรม ระหว่างหน่วยงานทั้งในและต่างประเทศ ตลอดจนจัดเวทีเปิดโอกาส ให้ประชาชนได้ร่วมแสดงความคิดเห็นอันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ ด�ำเนินการจัดท�ำและพัฒนาฐานข้อมูล สนับสนุนการป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรมพิเศษ บริหารจัดการพยานหลักฐานในทีเ่ กิดเหตุ พร้อมทัง้ สร้างเครือข่ายอย่างบูรณาการทัง้ ในและต่างประเทศ สร้างระบบ การตรวจพิ สู จ น์ ห ลั ก ฐานให้ เ ป็ น มาตรฐานสากล พั ฒ นากฎหมาย กฎระเบียบทีใ่ ช้ในการปฏิบตั งิ านนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ ให้บริการตรวจสถานที่ เกิดเหตุในเขตจังหวัดนนทบุรีและชันสูตรพิสูจน์พลิกศพ ใน ๔ พื้นที่ คือ นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา และนครนายก ตามที่พนักงาน สอบสวนร้องขอ และเป็นหน่วยกลางรับเรื่องราวร้องทุกข์จากผู้เสียหาย โดยด�ำเนินการร่วมกับกรมสอบสวนคดีพิเศษ เพื่อเป็นทางเลือกให้กับ ประชาชน ส่งเสริมบทบาทประสานความร่วมมือและเสริมความเข้าใจ ในกระบวนการยุติธรรมด้านนิติวิทยาศาสตร์ จัดตั้งศูนย์ตรวจพิสูจน์ บุคคลสูญหาย และศูนย์พันธุกรรมแห่งชาติ
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
2. ส่ ว นราชการในสั ง กั ด กระทรวงยุ ติ ธ รรมที่ ขึ้ น ตรงต่ อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ส�ำนักงาน ป.ป.ส.) มีภารกิจเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของ ประเทศอย่างบูรณาการ โดยการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติด ก�ำหนดและปรับยุทธศาสตร์ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ให้เหมาะกับสภาพการณ์ ก�ำกับ ติดตาม และประเมินผลการด�ำเนินงาน ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ด้านการปราบปรามและป้องกันยาเสพติด อ�ำนวยการให้มีการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด การตรวจสอบ ทรัพย์สินคดียาเสพติด เป็นหน่วยกลางในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ต่อต้านยาเสพติด การประสานความร่วมมือกับต่างประเทศ การพัฒนา บุคลากร ข้อมูล วิชาการ เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งการเสริมสร้าง ความเข้ม แข็ง และสนับ สนุนชุม ชน องค์ กรภาคเอกชน และองค์ก ร ภาคประชาชน ในการด�ำเนินการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด
ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในภาครัฐ (ส�ำนักงาน ป.ป.ท.)
ตรวจสอบและไต่สวนเพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริต ในภาครัฐ สร้างและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนของสังคม ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ พัฒนาบุคลากร ปรับปรุงโครงสร้าง ก�ำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานคุณธรรม และจริยธรรม กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
3. ส่ว นราชการที่ ไม่ สั ง กั ดกระทรวงยุ ติธรรมที่ ขึ้นตรงต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ส�ำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ส�ำนักงาน ปปง.)
มีหน้าที่ตรวจสอบธุรกรรมทางการเงินเกี่ยวกับการกระท�ำผิด ฐานฟอกเงิน ป้องกันและปราบปรามการกระท�ำผิดทีเ่ ข้าข่ายการฟอกเงิน ระหว่างองค์กรภาครัฐ เอกชน ทัง้ ระดับภูมภิ าคและนานาประเทศ รวมทัง้ มีเครือข่ายในรูปแบบสายลับ ปปง. เพื่อรับแจ้งเบาะแสการกระท�ำความ ผิดฐานฟอกเงิน
ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด (สยจ.)
เป็นตัวแทนของกระทรวงยุติธรรมระดับจังหวัด โดยมีภารกิจ 5 ด้าน ได้แก่ 1. เชื่ อ มโยงภารกิ จ ของกระทรวงยุ ติ ธ รรมกั บ ประชาชน เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้เข้าถึงความยุติธรรมได้โดยง่าย รวดเร็ว เสมอภาค และประหยัด ตามแนวทางกระบวนการยุติธรรมทางเลือก (ยุติธรรมชุมชนเชิงสมานฉันท์) 2. เป็นผูแ้ ทนกระทรวงยุตธิ รรมในการขับเคลือ่ นนโยบายและ ยุทธศาสตร์ นโยบายด้านกฎหมายและการยุตธิ รรม รวมทัง้ นโยบายและ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงยุตธิ รรมในระดับพืน้ ทีจ่ งั หวัด เชิงบูรณาการร่วม กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
3. ปฏิบัติหน้าที่แทนส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวง ยุติธรรม ที่ไม่มีหน่วยงานในสังกัดตามที่ได้รับมอบหมาย 4. ประสานงานในกระบวนการยุติธรรมระดับจังหวัด ตามที่ ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการพัฒนาบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ 5. ศู น ย์ บ ริ ก ารข้ อ มู ล งานบริ ห ารงานส่ ว นจั ง หวั ด สั ง กั ด กระทรวงยุติธรรม และรับเรื่องราวร้องทุกข์ของประชาชนด้านความ ยุติธรรม
ข้อมูลการติดต่อ ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด ภาคเหนือ 1. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดก�ำแพงเพชร ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร ชั้น 2 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร 62000 โทร. 0 5571 3940 1 โทรสาร 0 5571 3940 2. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดเชียงราย ศาลากลางจังหวัดเชียงราย (หลังใหม่) ชั้น 3 ต�ำบลริมกก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100 โทร. 0 5315 0190 โทรสาร 0 5317 7339 3.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดเชียงใหม่ อาคารช้ า งเผื อ กเรสซิ เ ดนท์ เลขที่ 25/1 ถนนช้ า งเผื อ ก ซอย 2 ต�ำบลศรีภมู ิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทร. 0 5323 1157 8 โทรสาร 0 5323 1158
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
4. 5.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดเชียงใหม่ สาขาฝาง ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดเชียงใหม่ สาขาฝาง อาคารเลขที่ 2/16 หมู่ที่ 14 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 50110 โทร. 0 5338 2148 โทรสาร 0 5338 2162 ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดตาก อาคารศาลากลางจังหวัดตาก ชั้น 2 (หลังเก่า) อ�ำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000 โทร. 0 5551 7391 โทรสาร 0 5551 6996
6. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดตาก สาขาแม่สอด เรือนจ�ำอ�ำเภอแม่สอด เลขที่ 2 ถนนราชทัณฑ์ อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63110 โทร. 0 5553 4387 โทรสาร 0 5553 4218 7.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดนครสวรรค์ อาคารจ�ำหน่ ายผลิต ภัณฑ์ เรือ นจ�ำกลางนครสวรรค์ เลขที่ 401 หมู่ 9 ถนนโกสีย์ใต้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 60000 โทร. 0 5637 1920 โทรสาร 0 5637 1921
8.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดน่าน เรือนจ�ำจังหวัดน่าน (ฝ่ายทัณฑปฏิบัติ) เลขที่ 28 ถนนผากอง ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน 55000 โทร. 0 5477 5820 โทรสาร 0 5477 5820
9. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดพะเยา อาคารศาลากลางจังหวัดพะเยา (หลังเก่า) ชัน้ 2 ต�ำบลบ้านต๋อม อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000 โทร. 0 5444 9705 โทรสาร 0 5444 9706
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
10. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดพิจิตร ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดพิจิตร บริเวณทางเข้าที่ว่าการอ�ำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร 66000 โทร. 0 5661 5743 โทรสาร 0 5661 5708 11. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดพิษณุโลก ส�ำนักงานเทศบาลนครพิษณุโลก (หลังเก่า) เลขที่ 83 ถนนบรมไตรโลกนาถ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทร. 0 5524 7074 5 โทรสาร 0 5524 7074 12. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดเพชรบูรณ์ ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดเพชรบูรณ์ เลขที่ 160 หมู่ที่ 5 ต�ำบลสะเดียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ 67000 โทร. 0 5672 6459 โทรสาร 0 5672 6459 13. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดแพร่ เรือนจ�ำจังหวัดแพร่ อาคารฝ่ายฝึกวิชาชีพ เลขที่ 20 ถนนไชยบูรณ์ ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ 54000 โทร. 0 5452 2528 โทรสาร 0 5452 1866 14. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน (หลังเก่า) ชั้น 2 ถนนขุนลุมประภาส ต�ำบลจองค�ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 58000 โทร. 0 5361 2080 โทรสาร 0 5361 2077 15. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดล�ำปาง อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ เรือนจ�ำกลางล�ำปาง เลขที่ 100 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลหัวเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำปาง 52000 โทร. 0 5422 7768 โทรสาร 0 5422 5478 กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
16. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดล�ำพูน ส�ำนักงานยุตธิ รรมจังหวัดล�ำพูน 159/7 หมู่ 10 ต�ำบลบ้านกลาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน 51000 โทร. 0 5352 5510 โทรสาร 0 5352 5510 17. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสุโขทัย ศาลากลางจังหวัดสุโขทัย อาคาร 1 ชั้น 1 ถนนนิกรเกษม ต�ำบลธานี อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย 64000 โทร. 0 5561 3483 โทรสาร 0 5561 3484 18. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดอุตรดิตถ์ อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดอุตรดิตถ์ เลขที่ 8 ถนนศรอัสนีย์ ต�ำบลท่าอิฐ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ 53000 โทร. 0 5583 0832 โทรสาร 0 5583 0833 19. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดอุทัยธานี เรือนจ�ำจังหวัดอุทัยธานี เลขที่ 23 ถนนศรีอุทัย ต� ำบลอุทัยใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุทยั ธานี 61000 โทร. 0 5657 1336 โทรสาร 0 5651 3805
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดกาฬสินธุ์ ศาลากลางจังหวัดกาฬสินธุ์ ชัน้ 2 ต�ำบลกาฬสินธุ์ อ�ำเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 46000 โทร. 0 4381 6403 โทรสาร 0 4381 6404 2.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดขอนแก่น ศาลากลางจังหวัดขอนแก่น ชั้น 5 (หลังใหม่) ถนนศูนย์ราชการ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000 โทร. 0 4324 3707 โทรสาร 0 4324 6771 กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
3.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดชัยภูมิ อาคารศาลาประชาคมจังหวัดชัยภูมิ ชั้น 1 ถนนบรรณาการ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 36000 โทร. 0 4481 3452 โทรสาร 0 4481 3453
4. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดนครพนม อาคารศูนย์ฟติ เนต (เรือนจ�ำเก่า) เลขที่ 394 ถนนอภิบาลบัญชา ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม 48000 โทร. 0 4251 1823 โทรสาร 0 4251 1832 5.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดนครราชสีมา เรือนจ�ำกลางนครราชสีมา เลขที่ 182 ถนนสรรพสิทธิ์ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทร. 0 4424 6950 โทรสาร 0 4424 6950
6.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดบุรีรัมย์ อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ราชทัณฑ์ เรือนจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ (ตรงข้าม ไปรษณีย์บุรีรัมย์) ต�ำบลอิสาณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31000 โทร. 0 4460 2309 โทรสาร 0 4460 2308
7.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดมหาสารคาม ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดมหาสารคาม เลขที่ 4 ถนนศรีสวัสดิด์ ำ� เนิน ต�ำบลตลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000 โทร. 0 4372 2077 โทรสาร 0 4372 2077
8.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดมุกดาหาร ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดมุกดาหาร ถนนพิทักษ์พนมเขต อ.เมือง จ.มุกดาหาร 49000 โทร. 0 4261 4401 โทรสาร 0 4261 4402 มหาดไทย 48745, 48746
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
9. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดยโสธร อาคารศาลากลางหลังใหม่ ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดยโสธร 35000 โทร. 0 4572 5180 โทรสาร 0 4572 5179 10. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดร้อยเอ็ด ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ชั้น 2 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด 45000 โทร. 0 4351 3233 โทรสาร 0 4351 3244 11. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดเลย ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองเลย ชั้น 1 หมู่ที่ 1 ถนนจรัสศรี ต�ำบลกุดป่อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเลย 42000 โทร. 0 4281 4737 โทรสาร 0 4281 4742 12. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดศรีสะเกษ ศาลากลางจังหวัด (หลังเก่า) ชัน้ 1 ถนนเทพา ต�ำบลเมืองเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 33000 โทร. 0 4564 3657 8 โทรสาร 0 4564 3658 13. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสกลนคร ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดสกลนคร ศูนย์ราชการจังหวัดสกลนคร ถนนศูนย์ราชการ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทร. 0 4271 3400 โทรสาร 0 4271 2037 14. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสุรินทร์ ทีว่ า่ การอ�ำเภอเมืองสุรนิ ทร์ (หลังเก่า) ชัน้ 2 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000 โทร. 0 4451 9020 โทรสาร 0 4451 9070 15. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสุรินทร์ สาขารัตนบุรี ส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดสุรินทร์ สาขารัตนบุรี เลขที่ 258 หมู่ที่ 12 ต�ำบลรัตนบุรี อ�ำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ 32130 โทร. 0 4459 9266 โทรสาร 0 4459 9266 กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
16. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดหนองคาย ศาลากลางจังหวัดหนองคาย ชัน้ 3 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลหนองกอมเกาะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000 โทร. 0 4241 3774 6 โทรสาร 0 4241 3775 17. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดหนองบัวล�ำภู อาคารส�ำนักงานบังคับคดี ชั้น 1 ศูนย์ราชการจังหวัด ต�ำบลล�ำภู อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล�ำภู 39000 โทร. 0 4237 8404 โทรสาร 0 4237 8405 18. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ส�ำนักงานยุตธิ รรมจังหวัดอ�ำนาจเจริญ อาคารศูนย์ราชการจังหวัด ชัน้ 3 ถนนชยางกูร ต�ำบลโนนหนามแท่ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ�ำนาจเจริญ 37000 โทร. 0 4552 3172 โทรสาร 0 4552 3171 19. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดอุดรธานี อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดอุดรธานี เลขที่ 75 ถนนหมากแข้ง ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 โทร. 0 4224 9345, 0 4224 9143 โทรสาร 0 4224 9345 20. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดอุบลราชธานี อาคารอเนกประสงค์ ชั้น 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี ถนนสุรศักดิ์ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทร. 0 4524 1708 โทรสาร 0 4524 1708 21. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดบึงกาฬ เรือนจ�ำกลางจังหวัดบึงกาฬ เลขที่ 177 หมู่ที่ 2 ถนนบึงกาฬ-พังโคน ต�ำบลโนนสมบูรณ์ อ�ำเภอเมืองบึงกาฬ จังหวัดบึงกาฬ 38000 โทร. 0 4202 3296 โทรสาร 0 4202 3314 กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ภาคกลาง 1.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดกาญจนบุรี ส�ำนักงานบังคับคดีจังหวัดกาญจนบุรี เลขที่ 200/16 หมู่ที่ 12 ถนนแม่นำ�้ แม่กลอง ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 โทร. 0 3456 4175 โทรสาร 0 3456 4254
2.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดจันทบุรี ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดจันทบุรี เลขที่ 13/1 ถนนท่าหลวง ต�ำบลวัดใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี 22000 โทร. 0 3930 2480 โทรสาร 0 3930 2479
3.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดฉะเชิงเทรา ส�ำนักงานยุตธิ รรมจังหวัดฉะเชิงเทรา อาคารองค์การบริหารส่วนจังหวัด ฉะเชิงเทรา (หลังเก่า) ชัน้ 3 ถนนยุทธด�ำเนิน ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000 โทร. 0 3851 4375 โทรสาร 0 3851 4375
4.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดชลบุรี ส�ำนักงานยุตธิ รรมจังหวัดชลบุรี เรือนจ�ำกลางชลบุรี เลขที่ 135/5 หมูท่ ี่ 2 ถนนพระยาสัจจา ต�ำบลบ้านสวน อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000 โทร. 0 3828 8932 โทรสาร 0 3828 8933
5.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดชัยนาท อาคารศาลาประชาคมจังหวัดชัยนาท ชั้น 2 ถนนพรหมประเสริฐ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท 17000 โทร. 0 5641 1928, 0 5641 1873 โทรสาร 0 5641 2103
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
6.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดตราด อาคารบูรณาการกระทรวงยุติธรรมจังหวัดตราด เลขที่ 1133 หมู่ที่ 1 ต�ำบลวังกระแจะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดตราด 23000 โทร. 0 3952 4031 2 โทรสาร 0 3952 4033
7.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดนครนายก ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดนครนายก เลขที่ 74/14 - 15 หมู่ที่ 7 ถนนสุวรรณศร ต�ำบลบ้านใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครนายก 26000 โทร. 0 3731 5002 โทรสาร 0 3731 5053
8.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดนครปฐม เรือนจ�ำกลางนครปฐม เลขที่ 5 ถนนหน้าพระ ต�ำบลพระปฐมเจดีย์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000 โทร. 0 3421 3169 โทรสาร 0 3421 3165
9.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดนนทบุรี องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี (ชั้น 2) ถนนรัตนาธิเบศร์ ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0 2589 0481 ต่อ 141 โทรสาร 0 2589 0481 ต่อ 141
10. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดปทุมธานี ศาลากลางจังหวัดปทุมธานี ชั้น 2 (หลังเก่า) อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทร. 0 2581 3990 โทรสาร 0 2581 3991 11. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ศาลากลางจังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ ชัน้ 2 (หลังเก่า) ต�ำบลประจวบคีรขี นั ธ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77000 โทร. 0 3260 1326 โทรสาร 0 3260 1258 กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
12. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดปราจีนบุรี ส�ำนักงานคุมประพฤติจงั หวัดปราจีนบุรี เลขที่ 702 ถนนปราจีนอนุสรณ์ ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี 25000 โทร. 0 3721 2088 โทรสาร 0 3721 1616 13. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทัณฑสถานบ�ำบัดพิเศษพระนครศรีอยุธยา ถนนศรีสรรเพชญ ต�ำบลประตูชยั อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 โทร. 0 3532 2200 โทรสาร 0 3532 4221 14. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดเพชรบุรี เรือนจ�ำกลางจังหวัดเพชรบุรี เลขที่ 69 ถนนหน้าเรือนจ�ำ ต�ำบลท่าราบ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000 โทร. 0 3240 2590 โทรสาร 0 3240 2591 15. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดระยอง สถานพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชนจังหวัดระยอง เลขที่ 144 หมูท่ ี่ 2 ถนนสุขุมวิท ต�ำบลเนินพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000 โทร. 0 3801 1701 โทรสาร 0 3801 1702 16. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดราชบุรี เรือนจ�ำกลางราชบุรี (หลังเก่า) ถนนมนตรีสุริยวงศ์ ต�ำบลหน้าเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000 โทร. 0 3232 6896 โทรสาร 0 3232 6897 17. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดลพบุรี อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ เรือนจ�ำกลางลพบุรี เลขที่ 88 ถนนพระปิยะ ต�ำบลทะเลชุบศร อ�ำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 15000 โทร. 0 3641 3991 2 โทรสาร 0 3641 3991 กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
18. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสมุทรปราการ ส�ำนักงานบังคับคดีจงั หวัดสมุทรปราการ เลขที่ 545/1 ชัน้ 2 ถนนสุขมุ วิท ต�ำบลปากน�้ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 10270 โทร. 0 2395 3882, 0 2395 3705 โทรสาร 0 2395 3882 19. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสมุทรสงคราม ศาลากลางจังหวัดสมุทรสงคราม ชั้น 2 (หลังเก่า) อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม 75000 โทร. 0 3471 8420 1 โทรสาร 0 3471 8421 20. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสมุทรสาคร ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสมุทรสาคร ชั้น 3 เลขที่ 923/588 ถนนท่าปรง ต�ำบลมหาชัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทร. 0 3442 5236 โทรสาร 0 3442 6236 21. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสระแก้ว ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดสระแก้ว อาคารหอประชุมชั้น 2 ศูนย์ราชการ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว 27000 โทร. 0 3742 5320 โทรสาร 0 3742 5321 22. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสระบุรี เรือนจ�ำจังหวัดสระบุรี เลขที่ 2 ซอย 17 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลปากเพรียว อ�ำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี 18000 โทร. 0 3621 3158 โทรสาร 0 3621 3159 23. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสิงห์บุรี ส�ำ นั ก งานคุ ม ประพฤติ จั ง หวั ด สิ ง ห์ บุ รี เลขที่ 356 ถนนธรรมโชติ ต�ำบลบางพุทรา อ�ำเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี 16000 โทร. 0 3652 3756 โทรสาร 0 3652 3755 กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
24. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสุพรรณบุรี อาคารบริษัทศรีพูนทรัพย์ เลขที่ 137 ถนนมาลัยแมน ต�ำบลรั้วใหญ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี 72000 โทร. 0 3552 4126 โทรสาร 0 3552 4127 25. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดอ่างทอง เรือนจ�ำจังหวัดอ่างทอง เลขที่ 47/25 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง 14000 โทร. 0 3561 5787 8 โทรสาร 0 3561 5787
ภาคใต้ 1.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดกระบี่ อาคารจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ เรือนจ�ำจังหวัดกระบี่ เลขที่ 65/17 ถนนกระบี่-เขาทอง ต�ำบลปากน�ำ้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ 81000 โทร. 0 7562 4551 โทรสาร 0 7562 4552
2. 3.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดชุมพร ศาลากลางจังหวัดชุมพร ชั้น 4 หมู่ที่ 1 ถนนไตรรัตน์ ต�ำบลนาชะอัง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86000 โทร. 0 7751 2164 โทรสาร 0 7751 2165 ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดตรัง อาคารพุทธคุณพาหุง ศาลากลางจังหวัดตรัง ถนนพระรามหก ต�ำบลทับเที่ยง อ�ำเภอเมือง จังหวัดตรัง 92000 โทร. 0 7521 4562 โทรสาร 0 7521 4773
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
4.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดนครศรีธรรมราช ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดนครศรีธรรมราช เลขที่ 259 ถนนเทวะบุรี ต�ำบลโพธิ์เสด็จ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000 โทร. 0 7534 4633 โทรสาร 0 7535 6139
5.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดนราธิวาส ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดนราธิวาส (อาคารพาณิชย์) เลขที่ 156 ถนนสุริยะประดิษฐ์ ต�ำบลบางนาค อ�ำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 96000 โทร. 0 7353 1234 5 โทรสาร 0 7353 1234
6. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดปัตตานี ส�ำนักงานยุตธิ รรมจังหวัดปัตตานี 49/7 ถนนกะลาพอ ต�ำบลจะบังติกอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000 โทร. 0 7333 4031 โทรสาร 0 7333 4032 7.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดพังงา ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดพังงา เลขที่ 4/2 ถนนเจริญราษฎร์ ต�ำบลท้ายช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพังงา 82000 โทร. 0 7641 3821 โทรสาร 0 7641 1413
8.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดพัทลุง ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดพัทลุง เลขที่ 25 ถนนช่วยทุกขราษฎร์ ต�ำบลคูหาสวรรค์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 93000 โทร. 0 7461 6241 โทรสาร 0 7461 7239
9.
ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดภูเก็ต สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดภูเก็ต เลขที่ 38/14 ถนนรัตนโกสินทร์ 200 ปี ต�ำบลตลาดเหนือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 โทร. 0 7621 5850 โทรสาร 0 7621 5850
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
10. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดยะลา อาคารศาลากลางจังหวัดยะลา (หลังเก่า) ชั้น 1 อ�ำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000 โทร. 0 7322 2624 โทรสาร 0 7322 2624 11. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดยะลา สาขาเบตง ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา สาขาเบตง ศาลาภิรมทัศน์ (ติดกับพิพิธภัณฑ์เมืองเบตง) ถนนคชฤทธิ์ ต�ำบลเบตง อ�ำเภอเบตง จังหวัดยะลา 95110 โทร. 08 6480 5654 โทรสาร 08 6480 5655 12. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดระนอง เรือนจ�ำจังหวัดระนอง เลขที่ 349 ถนนเรืองราษฎร์ ต�ำบลเขานิเวศน์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดระนอง 85000 โทร. 0 7782 5446 โทรสาร 0 7782 5445 13. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสงขลา ศาลากลางจังหวัดสงขลา (หลังเก่า) ถนนราชด�ำเนิน ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 โทร. 0 7430 7240 1 โทรสาร 0 7430 7241 14. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสตูล ศาลากลางจังหวัดสตูล (หลังใหม่) ชั้น 1 ถนนสตูลธานี ต�ำบลพิมาน อ�ำเภอเมือง จังหวัดสตูล 91000 โทร. 0 7472 3032 โทรสาร 0 7472 3032 15. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสุราษฎร์ธานี อาคารศาลากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี (หลังใหม่) ชั้น 2 ห้อง 2/8 ถนนดอนนก ต�ำบลตลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000 โทร. 0 7728 8652 โทรสาร 0 7728 8652 กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
16. ส�ำนักงานยุติธรรม จังหวัดสุราษฎร์ธานี สาขาเกาะสมุย อาคารบูรณาการกระทรวงยุตธิ รรมอ�ำเภอเกาะสมุย เลขที่ 95/30 หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลมะเร็ต อ�ำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84310 โทร. 0 7741 9199 โทรสาร 0 7741 8544
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 1
การแต่งกาย กับกฎหมาย 1 เรื่องแฟชั่นการแต่งกาย เสื้อผ้าหน้าผม ของวัยรุ่นก็เปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ ตามยุคสมัย ใครจะรู้ล่ะว่ายุคนี้สมัยนี้นิยมนุ่งน้อยห่มน้อย กั น เหลื อ เกิ น จ� ำ ได้ ว ่ า มี นั ก ร้ อ งดู โ อ้ คู ่ ห นึ่ ง นุ ่ ง กางเกงสั้ น เสื้ อ สายเดี่ ย ว เผลอแป๊ บ เดี ย ว กลายเป็นแฟชั่นของปัจจุบัน และพากันสั้นขึ้น ไปเรือ่ ย ๆ จนน่าเสียวไส้ อันทีจ่ ริง การแต่งกายนี้ เป็นสิทธิเสรีภาพของพวกเรา จะแต่งยังไงก็ได้ จะแต่งชายเป็นหญิง หรือหญิงเป็นชายก็ไม่ผิด กฎหมาย เจ้าหน้าที่ของรัฐจะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยว ขออย่างเดียว อย่าให้สั้นจนถึงขนาดเปิดเผย ของสงวนก็แล้วกัน มิเช่นนั้นเป็นความผิดฐาน กระท�ำการอันควรขายหน้าต่อธารก�ำนัลโดยเปลือย หรือเปิดเผยร่างกาย ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
1
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 2
การแต่งกาย กับกฎหมาย 2 เวลาที่เราอยู่ตัวคนเดียว เราก็มีสิทธิ เสรีภาพอย่างเต็มที่ ไม่มีข้อจ�ำกัดใด ๆ จะใส่ เสื้อผ้าสีใด ไม่ใส่สีใด หรือจะไม่ใส่เสื้อผ้าใด ๆ เลยก็ได้ แต่เมื่อเราอยู่ในสังคม เป็นสมาชิก ส่ ว นหนึ่ ง ของสั ง คม ก็ จ� ำ ต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม กฎเกณฑ์ กติกา มารยาทของสังคม อย่างเช่น เวลาไปงานศพ คงไม่มีใครใส่เสื้อสีแดงสด เข้าร่วมงาน แต่เผอิญหาก มีใครอุตริทำ� เช่นนัน้ ก็เพียงแต่ไม่ถูกธรรมเนียม ผิดมารยาทสังคม ไม่ถึงขนาดผิดกฎหมาย โดยปกติ กฎหมาย จะไม่เข้ามายุง่ เกีย่ วกับเครือ่ งแบบการแต่งกาย ของคน เว้นแต่คนคนนั้น ไม่ใส่เสื้อผ้าอาภรณ์ใด ๆ หรือใส่แบบกระมิด กระเมีย้ นเข้าขัน้ อนาจาร อย่างนีถ้ อื เป็นความผิด ปรับไม่เกินห้าร้อยบาท กับอีกกรณีหนึ่ง ซึ่งเป็นการแต่งกายเลียนแบบเครื่องหมายเครื่องแบบ ที่กฎหมายห้ามไว้ ดังจะได้อธิบายในตอนต่อไป
2
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 3
เครื่องแบบเครื่องหมาย เจ้าพนักงาน 1 แม้ เ ราจะมี สิ ท ธิ เ สรี ภ าพ ในเนื้อตัวร่างกาย จะแต่งองค์ ทรงเครื่ อ งอย่ า งใดก็ ไ ด้ แต่ การแต่งกายของเรานั้นก็ต้องอยู่ ในกรอบ ในระเบียบแบบแผน ของสังคม เป็นไปตามธรรมเนียม ประเพณี มารยาท เหมาะสมกับ กาลเทศะ และไม่ฝา่ ฝืนกฎหมาย เช่น ถ้าเราไม่ได้เป็นต�ำรวจ แต่นึกครึ้มอกครึ้มใจ ไปเอาเครื่องแบบ นายต�ำรวจมาใส่ เดินออกไปตามท้องถนน คอยสังเกตสังการรถทีแ่ ล่นไปมา และโบกให้รถหยุดรถจอด เช่นนี้แม้ว่าเราจะไม่ได้ไปหลอกลวง รีดไถ แต่ ก็ เ ป็ น การกระท� ำ ที่ ท� ำ ให้ บุ ค คลทั่ ว ไปที่ พ บเห็ น หลงเข้ า ใจผิ ด ว่ า เราเป็นต�ำรวจ เกรงอ�ำนาจแห่งกฎหมาย ต้องหยุดรถตามที่เราสั่ง เช่นนี้ ถือว่าเป็นความผิด ต้องระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
3
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 4
เครื่องแบบเครื่องหมาย เจ้าพนักงาน 2 เครื่ อ งแต่ ง กายที่ เ ป็ น เครื่ อ งแบบ ของเจ้าพนักงาน ไม่ว่าจะเป็น เจ้าหน้าที่ ต�ำรวจ เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยปกครอง นายอ�ำเภอ ปลัดอ�ำเภอ เจ้าหน้าที่เทศกิจ เจ้าหน้าที่ กรมสรรพสามิต เจ้าหน้าทีด่ เี อสไอ พูดง่าย ๆ ก็คอื เครือ่ งแบบเครือ่ งหมายของข้าราชการ เจ้าพนักงาน ไม่ใช่เสื้อผ้าอาภรณ์ปกติ ที่พวกเราประชาชนทั่วไป จะซื้อหามาใส่ เล่นได้ เพราะกฎหมายได้ก�ำหนดไว้ใน ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 146 ความว่า ผู้ใดไม่มีสิทธิที่จะสวม เครื่องแบบหรือประดับเครื่องหมายของเจ้าพนักงาน กระท�ำการเช่นนั้น เพือ่ ให้บคุ คลอืน่ เชือ่ ว่าตนมีสทิ ธิ เช่นนีเ้ ป็นความผิดต้องระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ เมื่อทราบความ เช่นนี้แล้ว จะแต่งกายอะไร ระวังกันไว้สักนิด
4
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 5
เครื่องแบบเครื่องหมาย เจ้าพนักงาน 3 ในตอนที่แล้ว ได้กล่าวถึงราย ละเอียดที่ว่า พวกเราที่เป็นประชาชน ทั่วไป ไม่ใช่ ข้าราชการ ทหาร ต�ำรวจ ไม่ใช่เจ้าพนักงานตามกฎหมาย ไม่มี สิ ท ธิ แ ต่ ง กาย ติ ด เครื่ อ งหมาย ใส่ เครื่องแบบ ของเจ้าหน้าที่เหล่านั้นได้ หากฝ่าฝืนไปแต่งเข้า ก็เสี่ยงต่อทั้ง โทษทั้งปรับ และจ�ำคุกสูงสุดถึง 1 ปี บางท่านอาจมีค�ำถามตามมาว่า หากจะไปงานปาร์ตี้ แต่งกายแฟนซี ประกวดประชันกัน แล้วเผอิญเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายที่ตั้งใจจะใส่เป็น เครื่องแบบเจ้าพนักงานที่มีกฎหมายห้ามไว้ เช่นนี้ จะมีความผิดไหม ค�ำตอบคือ ถ้าแต่งอยู่ในงาน คงไม่ผิด เพราะแขกผู้ร่วมงานทุกคน ก็รู้ดีอยู่แล้วว่าคุณไม่ใช่เจ้าพนักงาน และคุณก็ไม่ได้มีเจตนาหลอกลวง ให้คนหลงเชื่อว่า คุณเป็นเจ้าหน้าที่ผู้สวมเครื่องแบบดังกล่าว
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
5
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 6
เครื่องแบบเครื่องหมาย เจ้าพนักงาน 4 วันนี้มีอุทาหรณ์จากค�ำพิพากษาศาลฎีกา มาเล่ า สู ่ กั น ฟั ง นายแดงเป็ น พลต� ำ รวจสั ง กั ด สถานีต�ำรวจในเขตจังหวัดทางภาคตะวันออก นายแดงได้แต่งเครื่องแบบต�ำรวจ ประดับยศ สิบต�ำรวจโท เดินทางไปที่ร้านอาหารแห่งหนึ่ง จากนั้ น ได้ แ สดงตนเพื่ อ เรี ย กเงิ น จากเจ้ า ของ ร้านอาหาร เจ้าของร้านไม่ยอมจ่ายพร้อมทั้ง ได้แจ้งความด�ำเนินคดี ในชัน้ ศาล พลต�ำรวจแดง ต่ อ สู ้ ค ดี ว ่ า ตนเป็ น ต� ำ รวจจริ ง ก็ ย ่ อ มมี สิ ท ธิ แต่งเครื่องแบบต�ำรวจ ไม่ได้เป็นความผิดใด ๆ ส่ ว นการประดั บ ยศสิ บ ต� ำ รวจโทนั้ น หาใช่ ความผิดไม่ อย่างไรก็ดีศาลท่านมิได้เห็นพ้องกับสิ่งที่นายแดงกล่าวอ้าง จึ ง ตั ด สิ น ใจให้ น ายแดงมี ค วามผิ ด ฐานเป็ น ผู ้ ไ ม่ มี สิ ท ธิ ป ระดั บ ยศ สิ บ ต� ำ รวจโท แต่ ก ระท� ำ ให้ บุ ค คลอื่ น เชื่ อ ว่ า ตนมี สิ ท ธิ จึ ง พิ พ ากษา ให้จ�ำคุก 6 เดือน
6
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 7
เครื่องแบบเครื่องหมาย เจ้าพนักงาน 5 ทุ ก วั น นี้ เวลาขั บ รถ เดินทางไปที่ห้างสรรพสินค้า โรงแรม สถานที่ ส าธารณะ หลายแห่ ง พบเห็ น รปภ. หรื อ รั ก ษา ความปลอดภัย คอยโบกรถเข้าออกจาก สถานที่ แ ห่ ง นั้ น ก็ อ ดห่ ว งไม่ ไ ด้ เพราะ รปภ.บางท่านแต่งกายละม้ายคล้ายคลึง เจ้าหน้าทีต่ �ำรวจเสียจริง ๆ หมวกก็มตี ราโล่ เสื้ อ ก็ สี ก ากี มิ ห น� ำ ซ�้ ำ บางที ยั ง มี ก ารติ ด เครื่องหมายเหรียญตราต่าง ๆ อีกด้วย แม้จะเคยมีค�ำพิพากษาฎีกา ตัดสินว่า การเอาเพียงหมวกต�ำรวจมาใส่ ไม่ใช่เครื่องแบบยศ จึงไม่เป็น ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 146 แต่เท่าที่เคยพบเห็น ไม่ ไ ด้ มี แ ค่ ห มวก ดั ง นั้ น ขอเรี ย น รปภ.ทุ ก ท่ า น และบริ ษั ท รปภ. ทุกแห่งที่พนักงานในสังกัดแต่งกายคล้ายคลึงกับต� ำรวจ เปลี่ยนชุด เครื่อ งแต่ง กายใหม่ เสียที จะได้ ไ ม่ ต้ องเผชิญ ปัญ หาปวดหัวในภาย ภาคหน้า
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
7
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 8
เครื่องแบบเครื่องหมาย เจ้าพนักงาน 6 เครื่องแบบ เครื่องหมายเจ้าพนักงาน เช่น ต�ำรวจ นายอ�ำเภอ เทศกิจ ข้าราชการกรมกองต่าง ๆ ที่มีกฎหมายระบุให้เป็นพนักงาน เจ้าหน้าที่ เครื่องแบบ ส.ส. ส.ว. สมาชิกสภาจังหวัด สมาชิกสภา เทศบาล และสมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อืน่ ๆ เป็นเครือ่ งแต่งกาย ที่คนทั่วไป จะเอามาใส่เล่น ๆ มิได้ เสี่ยงต่อโทษจ�ำคุกสูงสุดถึง 1 ปี นอกจากนี้ แม้เป็นต�ำรวจ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่อยู่แล้ว แต่ประดับยศ ประดั บ เหรี ย ญตราต� ำ แหน่ ง หรื อ ประดั บ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ในชั้นยศ ในต�ำแหน่ง หรือในชั้นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สูงกว่า ยศ ต�ำแหน่งหรือเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่แท้จริง ที่ ต นมี สิ ท ธิ เช่ น นี้ หากกระท� ำ ไปเพื่ อ ให้ บุ ค คลอื่ น หลงเชื่ อ ก็ อ าจมี ค วามผิ ด ตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 146 ได้
8
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 9
เครื่องแบบเครื่องหมาย เจ้าพนักงาน 7 วั น นี้ มี อุ ท าหรณ์ จ ากค� ำ พิ พ ากษาฎี ก า มาเล่าสู่กันฟัง สตรีนางหนึ่งเที่ยวอวดอ้างตาม ทีต่ า่ ง ๆ ว่า ตนเป็นคุณหญิง ซึง่ ปกติแล้ว ผูค้ นทัว่ ไป จะใช้น�ำหน้านามว่า คุณหญิงได้ ก็ต่อเมื่อ ได้รับ พระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานเครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ์ ชั้ น จตุ ต ถ จุลจอมเกล้าขึ้นไป (จุ-ตุด-ถะ) แต่สตรีนางนี้ หาได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นดังกล่าวไม่ พฤติ ก รรมเพี ย งเท่ า นี้ แ ม้ เ ป็ น การหลอกลวง แต่กย็ งั คลุมเครือว่า จะเอาผิดได้หรือไม่ ตราบจน กระทั่ ง ได้ ห ลั ก ฐานชิ้ น ส� ำ คั ญ คื อ ภาพถ่ า ย ขนาดใหญ่ที่ตั้งโชว์ไว้ในห้องรับแขกเป็นภาพที่ คุณหญิงก�ำมะลอแต่งชุดไทย ประดับเครื่องราช อิสริยาภรณ์เต็มยศ เช่นนี้ ครบองค์ประกอบ ความผิดมาตรา 146 ประมวลกฎหมายอาญา จึงถูกศาลพิพากษา จ�ำคุก 6 เดือน และปรับอีก 4,500 บาท
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
9
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 10
เครื่องแบบนักเรียน ไม่เพียงแต่เครื่องหมายเครื่องแบบต�ำรวจ ทหาร ข้าราชการเท่านั้น ที่คนทั่วไปจะน�ำมา แต่ ง องค์ ท รงเครื่ อ งเล่ น ๆ ไม่ ไ ด้ เสี่ ย งต่ อ ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 146 เพราะแม้แต่เครื่องแบบนักเรียนเองก็มีกฎหมาย คุม้ ครองไว้ ดังนัน้ บุคคลใด ๆ ก็ตามทีไ่ ม่ใช่นกั เรียน ไม่ได้ลงทะเบียนเรียน หรือมีชื่อในระเบียนของ โรงเรียนใดโรงเรียนหนึ่ง ย่อมไม่มีสิทธิแต่งกาย ในเครือ่ งแบบนักเรียน หากทะลึง่ ไปแต่งเครือ่ งแบบ นักเรียน หรือแต่งชุดอื่น ๆ เลียนแบบเครื่องแบบ นักเรียน เพือ่ ให้บคุ คลอืน่ เข้าใจว่า ตนเป็นนักเรียน ทั้ง ๆ ที่ไม่ใช่ ไม่ว่าการแต่งกายดังกล่าว จะท�ำให้ได้รับทรัพย์สินเงินทอง มาหรื อ ไม่ ก็ เ ป็ น ความผิ ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ เ ครื่ อ งแบบนั ก เรี ย น พ.ศ. 2521 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท
10
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 11
เครื่องแบบลูกเสือ เครือ่ งแบบลูกเสือ ก็เป็นอีกหนึง่ ในหลาย ๆ เครื่องแบบที่มีกฎหมายคุ้มครองไว้โดยเฉพาะ อย่างทีเ่ รารูจ้ กั กัน เด็กและเยาวชนทีเ่ รียนลูกเสือ เรียกตรงตัวว่า ลูกเสือ ส่วนเด็กและเยาวชนหญิง เรียกว่า เนตรนารี บุคคลอื่น ๆ ที่เป็นลูกเสือ ทั้งต�ำแหน่งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการ ลูกเสือ อาสาสมัครลูกเสือ เรียกรวม ๆ กันว่า บุคลากรทางการลูกเสือ ทัง้ นี้ ตามพระราชบัญญัติ ลูกเสือ พ.ศ. 2521 ก�ำหนดไว้วา่ ผูใ้ ดแต่งเครือ่ งแบบ ลูกเสือ บุคลากรทางการลูกเสือ หรือประดับ เครือ่ งหมายลูกเสือโดยไม่มสี ทิ ธิ เพือ่ ให้บคุ คลอืน่ เข้าใจผิด ต้องระวางโทษจ�ำคุก ไม่เกิน 1 เดือน ปรั บ ไม่ เ กิ น 1,000 บาท หรื อ ทั้ ง จ� ำ ทั้ ง ปรั บ แต่หากไปปลอมเข็มลูกเสือสมนาคุณ หรือเข็มลูกเสือบ�ำเพ็ญประโยชน์ ด้วยละก็ โทษจะขยับขึ้นไปเป็นจ�ำคุกสูงสุดถึง 1 ปี
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
11
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 12
เครื่องแบบ รด. เวลาบ่าย ๆ เย็น ๆ ขับรถผ่านไปทาง ถนนวิ ภ าวดี รั ง สิ ต แถว ๆ ดิ น แดง จะพบ เด็กวัยรุ่น แต่งกายคล้าย ๆ ทหาร เรียกว่า เป็นนักศึกษาวิชาทหารหรือที่คุ้นหูก็คือ รด. เดิ น ออกจากโรงเรี ย น นั ก ศึ ก ษาดิ น แดง ศู น ย์ ก ลางก� ำ ลั ง ส� ำ รองซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ใ นบริ เ วณ ใกล้เคียง เครื่องแบบนักศึกษาวิชาทหารหรือ เครื่องแบบ รด.นี้ ก็เป็นอีกหนึ่งในเครื่องแบบ ที่มีกฎหมายคุ้มครองไว้เป็นการเฉพาะ ไม่ใช่ เครื่ อ งแต่ ง กายที่ ใ ครจะหยิ บ ฉวยมาแต่ ง กั น ได้ ง ่ า ย ๆ ถ้ า ไม่ ไ ด้ เ รี ย น รด. ไม่ ไ ด้ เ ป็ น นั ก ศึ ก ษาวิ ช าทหาร แต่ ท ะลึ่ ง ไปแต่ ง เครื่ อ ง แบบนักศึกษาวิชาทหาร ก็อาจต้องโทษจ�ำคุก ถึง 1 ปี ปรับสูงสุด 2,000 บาท และยิ่งถ้าไป แต่ ง ในช่ ว งที่ มี ก ารประกาศใช้ ก ฎอั ย การศึ ก ในช่วงสงคราม หรือแต่งเพื่อกระท�ำความผิดอาญาโทษจะหนักหนา เป็นเท่าทวีคูณ 12
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 13
เครื่องแบบชุดครุย หลายปีมาแล้ว ในช่วงมหาวิทยาลัย ต่าง ๆ จัดงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มีการถ่ายภาพหมู่บัณฑิต บัณฑิตถ่ายภาพ กั บ บรรดาเครื อ ญาติ ที่ ม าร่ ว มอวยพร เคยมี ค นที่ ไ ม่ ไ ด้ เ รี ย นในสถาบั น แห่ ง นั้ น แต่ ง เครื่ อ งแบบชุ ด ครุ ย มาร่ ว มถ่ า ยรู ป กั บ บัณฑิตคนอื่น ๆ ด้วย และก็ไปโพสต์ไว้ตาม เวบไซต์ ต ่ า ง ๆ เพื่ อ ประกาศว่ า ตนจบ ปริญญานี้ จากสถาบันแห่งนี้ แต่เดิมนั้น ถ้ า ไม่ ไ ด้ ท�ำ เพื่ อ หลอกลวงจะได้ ท รั พ ย์ สิ น เงินทองจากใคร แม้เป็นการโป้ปดมดเท็จ ก็ยากจะเอาผิดทางกฎหมายได้ อย่างไรก็ดี ด้วยเหตุที่มีการร้องเรียนไปยังมหาวิทยาลัย ต่าง ๆ หลายครั้ง ดังนั้นกฎหมายของหลาย มหาวิทยาลัยที่แก้ไขใหม่ อย่างเช่น มหาวิทยาลัยมหิดล จึงห้ามไว้ชัด และผู้ฝ่าฝืนไปแต่งชุดครุยวิทยฐานะโดยไม่มีสิทธิ ก็เสี่ยงต้องติดคุก ถึง 6 เดือน กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
13
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 14
เครื่องแบบมหาวิทยาลัย เครือ่ งแบบนิสติ นักศึกษา ของมหาวิทยาลัย ของรั ฐ หลายแห่ ง เป็ น เครื่ อ งแต่ ง กายที่ ส งวน ไว้ให้แต่นิสิต นักศึกษาของมหาวิทยาลัยแห่งนั้น เท่านั้น บุคคลอื่น ๆ ทั่วไปไม่อาจน�ำมาใส่ได้ ข้อห้ามนีร้ วมไปถึงชุดครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ ครุยประจ�ำต�ำแหน่ง และเครือ่ งแบบ เครือ่ งแต่งกาย เครื่ อ งหมายของพนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย ต่ า ง ๆ เหล่านั้นด้วย ยกตัวอย่างเช่น ผู้ที่ฝ่าฝืนไปแต่ง เครื่องแบบนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยที่ ตนไม่ได้ลงทะเบียนเรียนที่นั่น ถ้าการแต่งกาย ดั ง กล่ า วกระท� ำ ไปเพื่ อ ท� ำ ให้ บุ ค คลคนหลงผิ ด คิดว่าตนเป็นนักศึกษาของสถาบันแห่งนั้น ก็ย่อม มีความผิดตามกฎหมาย ต้องระวางโทษจ� ำคุก ไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจ�ำทั้งปรับ
14
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 15
จีวรพระภิกษุ สามเณร จีวรพระภิกษุ สามเณรนัน้ เป็นเครือ่ งนุง่ ห่มร่างกายอีกลักษณะหนึง่ ที่มีกฎหมายห้ามไว้เป็นการเฉพาะ ผู้ที่ไม่ได้อุปสมบทอย่างถูกต้อง ตามหลักพระพุทธศาสนา แม้จะได้โกนหัวนุ่งเหลืองห่มเหลืองก็ไม่อาจ ถื อ ว่ า เป็ น พระหรื อ สามเณรจริ ง ถ้ า หากการท�ำ ดั ง กล่ า วกระท� ำ ไป โดยรู้อยู่แล้วว่าตนไม่ใช่พระภิกษุ สามเณร แต่นุ่งเหลืองห่มเหลือง เพื่อให้บุคคลอื่นหลงเชื่อว่าตนเป็นพระ หรือสามเณร เช่นนี้ย่อมเป็นการ ฝ่าฝืนประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 208 อาจต้องระวางโทษไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ อนึ่งกฎหมายมาตรานี้ไม่ได้ คุ้มครองเฉพาะพระภิกษุ สามเณรในพระพุทธศาสนาเท่านั้น แต่ยังห้าม ไปถึงการแต่งกายเลียนแบบนักพรต นักบวชในศาสนาอื่น ๆ ด้วย
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
15
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 16
เครื่องแต่งกาย ของผู้ขับขี่สาธารณะ 1 การแต่งกายของเรานั้นเป็นสิทธิเสรีภาพ เราอยากจะแต่งองค์ ทรงเครื่องด้วยเสื้อผ้าอาภรณ์อย่างใดก็ได้ บางครั้งอาจผิดธรรมเนียม ฝืนมารยาทสังคมไปบ้าง ถ้าไม่ถงึ ขัน้ อนาจาร ไม่เป็นการแต่งกายเลียนแบบ เจ้าพนักงานพระภิกษุ สามเณร เพือ่ ให้คนอืน่ หลงเชือ่ ก็ยอ่ มกระท�ำได้โดย ไม่ผิดกฎหมาย อย่างไรก็ดีบุคคลที่ประกอบอาชีพบางอย่าง ซึ่งต้อง ติ ด ต่ อ สั ม พั น ธ์ กั น กั บ ประชาชนทั่ ว ไปเป็ น ประจ�ำ โดยมากมักเป็นงานบริการ ซึ่งบางครั้งก็มีมิจฉาชีพ แฝงตัว เข้าไปหาลู่ทางก่อเหตุร้าย อาชีพเหล่านั้น เช่น คนขับรถแท็กซี่ คนขับรถรับจ้างสาธารณะ รถโดยสารทัศนาจร หรือแม้แต่วินมอเตอร์ไซค์ ก็ จ ะมี ก ฎหมายก� ำ หนดเครื่ อ งแบบ การแต่งกายไว้เพื่อคุ้มครองผู้ที่โดยสาร ยวดยานพาหนะเหล่านัน้ และจะได้กล่าว ในตอนต่อ ๆ ไป
16
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 17
เครื่องแต่งกาย ของผู้ขับขี่สาธารณะ 2 เวลาทีท่ า่ นขึน้ โดยสารรถแท็กซี่ เคยสังเกตไหมว่าคนขับรถแท็กซีน่ นั้ จะสวมเครื่องแบบ ซึ่งปกติที่เราเห็นมักเป็นเสื้อเชิ้ตสีฟ้า มีชื่อปักไว้ที่ อกเสื้อด้านซ้าย สวมกางเกงขายาวสีเข้ม และสวมรองเท้าหุ้มส้นหุม้ ข้อ คนขับรถแท็กซีท่ า่ นใดแต่งกายตามนี้ ก็มั่นใจได้ว่าปฏิบัติตามกฎหมาย จราจรทางบก และประกาศส� ำ นั ก งานต� ำ รวจแห่ ง ชาติ แ ล้ ว ไม่ต้องกังวลว่าจะถูกจับถูกปรับสูงสุดถึง 500 บาท อย่างไร ก็ดีอันที่จริงประกาศดังกล่าวไม่ได้เจาะจงให้ใส่เสื้อ สีฟา้ เท่านัน้ แต่ระบุกว้าง ๆ ไว้เพียงว่า คนขับรถแท็กซี่ ต้องแต่งกายสะอาด สุภาพ ใส่เสื้อเชิ้ต คอพั บ ไม่ มี ล วดลาย จะแขนยาว แขนสั้ น ก็ ไ ด้ ข้ อ ส� ำ คั ญ ก็ คื อ ต้ อ งมี ชือ่ ตัว ชือ่ สกุลตัวใหญ่ ทีเ่ ห็นได้ชดั เจน ติดไว้ที่อกเสื้อด้านซ้าย
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
17
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 18
เครื่องแต่งกาย ของผู้ขับขี่สาธารณะ 3 การป้ อ งกั น และบรรเทาอาชญากรรม และความสะดวกแก่ การติดตามคุม้ ครองสิทธิแก่ผใู้ ช้บริการรถยนต์สาธารณะ ทัง้ รถเมล์ รถบัส รถสองแถว รถแท็กซี่ และรถอื่น ๆ ในท�ำนองเดียวกัน ประกาศตาม พระราชบัญญัติรถยนต์ และพระราชบัญญัติทางบก ก�ำหนดให้ผู้ขับขี่ ดังกล่าว ต้องสวมเครื่องแบบทุกครั้งในเวลาที่ขับรถออกรับจ้าง ออกให้ บริการผูโ้ ดยสาร โดยต้องสวมเสือ้ เชิต้ คอพับไม่มลี วดลาย แขนสั้น แขนยาวก็ได้ สอดไว้ในข้างในกางเกงขายาว ใส่รองเท้าหุ้มส้นสะอาดและสุภาพ และที่ส�ำคัญเสื้อ ด้ า นซ้ า ยต้ อ งมี ชื่ อ ตั ว และ ชือ่ สกุลของผู้ขบั ขีส่ าธารณะ ตัวอักษรดังกล่าวไม่นอ้ ยกว่า 150 เซนติ เ มตร ปรากฏ ให้เห็นเด่นชัด
18
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 19
เครื่องแต่งกาย ของผู้ขับขี่สาธารณะ 4 เครื่ อ งแต่ ง กายของผู ้ ขั บ ขี่ ร ถโดยสาร สาธารณะทัง้ หลาย จะมีกฎหมายก�ำกับไว้หลัก ๆ ก็ คื อ ประกาศส� ำ นั ก งานต� ำ รวจแห่ ง ชาติ ส�ำหรับรถแท็กซี่ และกฎกระทรวง ตามกฎหมายรถยนต์ ส� ำ หรั บ ตัวอย่าง เช่น มอเตอร์ไซค์รับจ้าง หรือวินมอเตอร์ไซค์ ต้องแต่งกาย สะอาด สุภาพ จะใส่เสื้อแขนยาว หรือ แขนสั้ น ก็ ไ ด้ ใส่ เ สื้ อ เชิ้ ต หรื อ เสื้ อ ยื ด ก็ไม่เป็นไร ไม่ได้บังคับให้ต้องใส่เสื้อเชิ้ต อย่ า งกรณี ค นขั บ รถแท็ ก ซี่ แต่ ทั้ ง นี้ วินมอเตอร์ไซค์ต้องใส่กางเกงขายาวทรงสุภาพ และต้องสวมรองเท้า หุ้มส้น หุ้มข้อเสมอ และที่สำ� คัญต้องใส่เสื้อกั๊กหรือเสื้อคลุม เท่าที่เห็น ในกรุงเทพฯ จะเป็นเสื้อสีส้มสกรีนเขตท้องที่ ชื่อวิน และหมายเลขก�ำกับ ไว้ตัวใหญ่ ๆ ด้านหลังเสื้อ
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
19
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 20
เครื่องแต่งกาย ของผู้ขับขี่สาธารณะ 5 เครื่ อ งแต่ ง กายของผู ้ ขั บ ขี่ ร ถโดยสารสาธารณะทั้ ง หลาย จะมีกฎหมายก�ำกับไว้ หลัก ๆ ก็คือประกาศส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ส�ำหรับกรณีรถแท็กซี่ และกฎกระทรวงตามกฎหมายรถยนต์ ส�ำหรับ ผู้ที่ขับขี่รถประเภทอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น คนขับรถบริการธุรกิจ และ คนขับรถบริการทัศนาจร ในขณะที่ขับรับจ้างต้องแต่งกายสะอาด สุภาพ ด้วยเสื้อเชิ้ตคอตั้ง หรือคอพับไม่มีลวดลาย จะเป็นเสื้อแขนยาว หรือ แขนสั้ น ก็ ไ ด้ ใ ส่ เ สื้ อ เข้ า ในกางเกง เว้ น แต่ แ บบของเสื้ อ ไม่ อ� ำ นวย ให้ท�ำเช่นนั้น กางเกงต้องเป็นกางเกงขายาวไม่มีลวดลายสีเดียวกันกับ เสื้อหรือสีอื่น ๆ ที่เข้มกว่ารองเท้าต้องเป็น รองเท้าหุ้มส้น แต่เหตุที่กฎหมายก�ำหนด เช่ น นี้ ก็ เ พื่ อ ความเป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ยและ ให้เป็นจุดสังเกตส�ำหรับ ผู้โดยสาร
20
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 21
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 1 ชื่อนั้นมีความส�ำคัญ เพราะถ้าไม่ ส�ำคัญแล้วเหตุไฉน เวลามีสมาชิกใหม่ ในครอบครัว จึงต้องวิ่งวุ่น หาต�ำรับต�ำรา การตั้งชื่อ พยัญชนะ ตัวนี้เป็นมงคล หรือ สระตัวนี้เป็นกาลกิณี ไม่เหมาะกับการ ตั้งชื่อผู้ที่เกิดในวันนี้ เดือนนี้ ปีนี้ บางท่าน ถึงขนาดต้องหาครูบาอาจารย์ หรือไม่ก็ หมอดู พระภิกษุผู้ช� ำนาญโหราศาสตร์ มาตัง้ ชือ่ ให้ ว่ากันว่าชือ่ ดีกม็ ชี ยั ไปกว่าครึง่ หรือหากจะพูดกันแบบสมัยใหม่ ชื่อเป็น ค� ำ เรี ย กขานให้ รู ้ ตั ว บุ ค คลที่ เ ราก� ำ ลั ง กล่าวถึง เพราะคนแต่ละคนเป็นผู้ทรงสิทธิ หน้าที่ตามกฎหมายเป็นเจ้าของทรัพย์สินเป็นสมาชิกของสังคม ดังนั้น เพื่อให้จ�ำแนกแยกแยะคนแต่ละคนออกจากกันได้ ทุกประเทศจึงมี กฎหมายว่าด้วยชื่อของบุคคล อย่างของไทยเราก็มีชื่อตัว ชื่อรอง และ ชื่อสกุล ตามที่กำ� หนดไว้ในพระราชบัญญัติชื่อบุคคลพุทธศักราช 2505
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
21
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 22
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 2 ก่อนที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 6 จะทรงพระกรุ ณ า โปรดเกล้ า โปรดกระหม่ อ มให้ ต ราพระราช บัญ ญัติข นานนามสกุ ล พุ ท ธศั ก ราช 2456 พี่น้องคนไทยในสมัยก่อน ๆ ถ้ารับราชการ มีบรรดาศักดิ์ จะเรียกขานกัน ตามราชทินนาม ทีไ่ ด้รบั พระราชทาน เช่น พระยาปัญจนึกพินาถ หรื อ ถ้ า เป็ น คนธรรมดาก็ จ ะเรี ย กขานกั น ตามชื่อ ถ้าชื่อซ�้ำกันก็จะอาศัยลักษณะเฉพาะ ของบุคคล หรือพื้นเพที่อยู่มาช่วยขยายความ ให้ ชั ด เจนว่ า หมายถึ ง ใคร เช่ น นายจั น ทร์ หนวดเขี้ยว นางนาคพระโขนง เป็นต้น แต่เมื่อ ผู้คนเพิ่มจ�ำนวน สังคมขยายวงกว้าง ก็จำ� เป็น จะต้องมีระบบเรียกขานให้ชัดเจน อันจะช่วย เป็นหลักฐานการสืบเชือ้ สาย นับพี่ นับน้อง นับญาติได้อย่างถูกต้อง และ นี่ก็เป็นเหตุผลที่มาของการตรากฎหมายขนานนามสกุล ในปี 2456
22
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 23
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 3 เมื่อประมาณ 99 ปีที่แล้ว ที่ ส ยามประเทศนั บ วั น จะมี แ ต่ ประชากรเพิ่มมากขึ้น ชื่อเสียง เรี ย งนามของผู ้ ค นก็ ซ�้ ำ ซ้ อ น ยากแก่ก ารจ� ำ แนกแยกแยะตัว บุคคล ทั้งยังยากต่อการนับญาติ การสืบเสาะเชื้อสายวงศ์ตระกูล พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 จึงทรง พระกรุ ณ าโปรดเกล้ า โปรด กระหม่อมให้ตราพระราชบัญญัติ ขนานนามสกุล พุทธศักราช 2456 ขึ้นใช้บังคับ พร้อมกันนั้น พระองค์ ก็ทรงพระราชทานนามสกุลให้บรรดาข้าราชบริพาร บุคคลต่าง ๆ ผู้ท�ำ คุณประโยชน์แก่ชาติ และผู้ประกอบสัมมาอาชีพทั้งหลายตลอดจน พสกนิกรทั่วไป รวม 6,464 นามสกุล เกิดเป็นธรรมเนียมประเพณี โดยมีกฎหมายรองรับ ให้พวกเราได้มีได้ใช้นามสกุลกันทั่วทุกตัวคน จวบจนปัจจุบัน กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
23
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 24
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 4 พระราชบัญญัตชิ อื่ บุคคลพุทธศักราช 2505 ได้ก�ำหนดไว้วา่ บุคคล ทุกคนที่มีสัญชาติไทย จะต้องมีชื่อตัว และชื่อสกุล สองชื่อนี้ ชื่อตัวคือ ชือ่ ประจ�ำบุคคล ชือ่ ของคนแต่ละคน และชือ่ สกุลก็คอื ชือ่ ประจ�ำวงศ์สกุล เทือกเถาเหล่ากอของบุคคลที่เป็นญาติพี่น้องกัน อย่างไรก็ดียังมีชื่ออีก ประเภทหนึ่งซึ่งแม้กฎหมายรับรองไว้ แต่อาจจะมีหรือไม่ก็ได้ นั่นก็คือ ชือ่ รอง หรือชือ่ ประกอบถัดจากชือ่ ตัว ซึง่ คนส่วนใหญ่ไม่นยิ มใช้ เท่าทีเ่ ห็น มักจะเป็นผูห้ ญิง ใช้นามสกุลเดิมของตนเป็นชือ่ รอง หลังจากทีจ่ ดทะเบียน สมรสและเลือกเปลี่ยนไปใช้นามสกุลของสามีแล้ว แต่ส�ำหรับชื่อเล่น ที่มีใช้กันอย่างแพร่หลาย ในบรรดาคน ในครอบครั ว หรื อ ในหมู ่ เ พื่ อ นสนิ ท นั้ น เป็นเพียงธรรมเนียมปฏิบัติทั่วไปไม่มี บัญญัติไว้ในกฎหมาย
24
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 25
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 5 เมือ่ ครอบครัวใดมีสมาชิก ใหม่ ผู ้ เ ป็ น พ่ อ เป็ น แม่ ก็ มั ก จะ เลือกสรรถ้อยค�ำที่มีความหมาย ดี ๆ เป็นมงคลและถูกโฉลกกับ สมาชิกตัวน้อย ๆ คนนั้นมาใช้ ตั้ ง เป็ น ชื่ อ ซึ่ ง จะว่ า ไปแล้ ว การตั้งชื่อ ทั้งชื่อตัว ชื่อรอง และ ชื่อสกุล จะตั้งกันอย่างไรก็ได้ เป็ น สิ ท ธิ เ สรี ภ าพของพวกเรา ทุ ก คน และแม้ ว ่ า จะแจ้ ง ชื่ อ ต่อ เจ้าหน้าที่ หรือแม้ แ ต่ ออก เอกสารเป็นทางการแล้ว ก็ยังสามารถเปลี่ยนชื่อได้เรื่อย ๆ โดยเสียค่า ธรรมเนียมตามกฎหมาย อย่างไรก็ดี เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย และรักษาไว้ซงึ่ ศีลธรรมอันดีงามของชนในชาติ พระราชบัญญัตชิ อื่ บุคคล พุทธศักราช 2505 จึงห้ามมิให้มีการใช้ชื่อตัวที่พ้องเสียง หรือมุ่งหมาย ให้คล้ายคลึงพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย และราชทินนาม อีกทั้ง ยังไม่มีคำ� หรือความหมายที่หยาบคายอีกด้วย กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
25
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 26
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 6 แม้ว่าการตั้งชื่อตัว ชื่อรอง หรือชื่อสกุล จะเป็นสิทธิเสรีภาพ ของเราอยากจะตั้งชื่ออย่างไรก็ได้ แม้จะมีความหมายในแง่ลบไม่เป็น สิริมงคลแก่ตัวเจ้าของชื่อ ก็อาจจะ กระท�ำได้ กระนั้นก็ดีกฎหมายชื่อ บุ ค คลก� ำ หนดกรอบบางอย่ า งไว้ ที่จะก้าวล่วงไม่ได้ นั่นก็คือชื่อตัว ชื่อรอง หรือชื่อสกุล จะพ้องเสียง หรื อ มุ ่ ง หมายให้ ค ล้ า ยคลึ ง กั บ พระปรมาภิ ไ ธยซึ่ ง ก็ คื อ พระนาม หรื อ ชื่ อ ขององค์ พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฏ หรือแผ่นทองจารึกพระนามพระมหา กษัตริยม์ ไิ ด้ จะคล้ายคลึงกับพระนามของพระราชินี และราชทินนามต่าง ๆ ที่พระมหากษัตริย์ทรงพระราชทานไว้ก็มิได้ รวมทั้งจะต้องไม่มีคำ� หรือ ความหมายหยาบคาย อาทิ จะน�ำเอาค�ำเรียกอวัยวะเพศ ไม่วา่ จะของชาย หรือของหญิงมาตั้งเป็นชื่อตัว ชื่อรอง หรือชื่อสกุลไม่ได้ 26
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 27
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 7 พระราชบั ญ ญั ติ ชื่ อ บุ ค คล พุทธศักราช 2505 ได้กำ� หนดหลักเกณฑ์ ข้ อ ห้ า มการตั้ ง ชื่ อ ตั ว ของบุ ค คล ต่าง ๆ ไว้แล้ว คือจะต้องไม่พ้องเสียง หรื อ มุ ่ ง หมายให้ ค ล้ า ยคลึ ง กั บ พระปรมาภิไธย พระนามของพระราชินี และราชทินนาม รวมทั้งต้องไม่มีค�ำ หรือความหมายที่หยาบคาย พ้นไป จากเงื่อนไขข้อห้ามต่าง ๆ แล้ว ต้อง ถือว่าการตัง้ ชือ่ บุคคลเป็นสิทธิเสรีภาพทีร่ ฐั ธรรมนูญรับรองไว้ ทีเ่ รียกเป็น การเฉพาะว่าสิทธิส่วนบุคคล ดังนั้นถ้าไม่เข้าด้วยข้อห้ามต่าง ๆ ดังกล่าว เราจะตั้งชื่อตัวของเราอย่างไรก็ได้ อาทิ แม้กายเป็นชาย แต่ชอบและ เลือกใช้ชื่อที่มีความหมายเป็นหญิงก็กระท�ำได้ ชื่อจะเป็นค�ำถอดเสียง จากภาษาต่างประเทศ มาสะกดตามตัวอักษรไทยก็กระท�ำได้ไม่จ�ำเป็น จะต้องเป็นชื่อที่มีความหมายในภาษาไทยเท่านั้น
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
27
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 28
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 8 รั ฐ ธร ร มนู ญได้ รับรองสิทธิสว่ นบุคคลของ พวกเราไว้ ซึง่ รวมไปถึงสิทธิ ในการเลือกใช้ชื่อตัว ชื่อรอง และชื่อสกุลของเราด้วย ดังนั้น พวกเราจึงมีสิทธิที่จะเลือกใช้ชื่อ อย่างไรก็ได้ ตราบเท่าที่ไม่เป็นการ ละเมิดเสรีภาพของบุคคลอื่น เช่น จะไปเอาชื่อ สกุลของคนอื่น มาใช้ โดยที่เจ้าของนามสกุลไม่ยินยอม ด้วยไม่ได้ และต้องไม่ขัดกับสิ่งที่ พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พุทธศักราช 2505 ห้ามไว้ พ้นไปจากเงื่อนไข ข้อห้ามต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว แม้อาจจะไม่เหมาะสม ดูไม่ดี ฟังไม่ไพเราะ ในสายตาของคนส่วนใหญ่ แต่ก็ไม่ใช่ข้อห้ามการตั้งชื่อ เช่น ที่มักจะมี คนเข้าใจผิดคิดว่าชื่อตัวต้องไม่เกิน 5 พยางค์ ชื่อต้องมีความหมายตรง กับเพศ หรือชื่อต้องเป็นค�ำที่มีความหมายในภาษาไทยเหล่านี้ไม่ได้ระบุ ห้ามไว้ในกฎหมาย จึงเป็นเสรีภาพที่เราเลือกใช้ได้ 28
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 29
พระราชบัญญัติชื่อบุคคล 9 ชื่อของบุคคลธรรมดา ที่กฎหมายรับรองนั้น ได้แก่ชื่อตัว ชื่อรอง และชือ่ สกุล ชือ่ รองนัน้ ก็คอื ชือ่ ประกอบถัดจากชือ่ ตัว ซึง่ แม้คนส่วนใหญ่ ไม่ค่อยนิยมใช้กนั นัก แต่กฎหมายก็ได้รบั รองไว้ และทุกคนสามารถใช้ได้ ภายใต้เงื่อนไขต่อไปนี้ หนึ่งต้องไม่พ้องหรือคล้ายคลึงกับพระปรมาภิไธย พระนามของพระราชินี และราชทินนาม สองต้องไม่มคี ำ� หรือความหมาย หยาบคาย และสามต้องไม่พ้องกับนามสกุลของบุคคลอื่น เว้นแต่เป็น กรณีคู่สมรส สามี หรือภรรยา อาจเลือกใช้นามสกุลของ อีกฝ่ายหนึ่งเป็นชื่อรองได้ หากได้รับความยินยอมจาก ฝ่ายทีเ่ ป็นเจ้าของนามสกุลนัน้ แล้ว หรือไม่เช่นนัน้ ก็เป็นกรณี ที่บุตรเลือกใช้นามสกุลเดิมของพ่อ หรือแม่ เป็นชื่อรอง นอกจากนี้ ผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทาน บรรดาศักดิ์ อาจใช้บรรดาศักดิด์ งั กล่าว เป็นชื่อรองของตนก็ได้
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
29
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 30
พระราชบัญญัตชิ อื่ บุคคล 10 เงือ่ นไขการใช้ชอื่ สกุล ซึง่ เบือ้ งต้น ก็เป็นแบบเดียวกับชื่อตัว และชื่อรอง คื อ ต้ อ งไม่ พ ้ อ งกั บ พระปรมาภิ ไ ธย พระนามของพระราชินี ต้องไม่มคี ำ� หรือ ความหมายหยาบคาย คล้าย ๆ กับ ราชทินนามของบุคคลอืน่ ทีไ่ ม่ใช่บพุ การี ของตน ตลอดจนต้องไม่ซำ�้ กับนามสกุล ที่ได้รับพระราชทาน หรือนามสกุลที่ได้ มีการจดทะเบียนไว้ก่อนหน้านั้นแล้ว และที่ส�ำคัญชื่อสกุลนั้นจะมีพยัญชนะ เกิ น กว่ า 10 ตั ว อั ก ษรไม่ ไ ด้ ย�้ ำ ว่ า กฎหมายนับเฉพาะพยัญชนะไม่ได้นับรวมสระ หรือวรรณยุกต์ด้วย แต่ ทั้ ง นี้ ก็ มี ข ้ อ ยกเว้ น ส� ำ หรั บ กรณี ที่ใ ช้ ร าชทิน นามเป็ น นามสกุ ล และ มีพยัญชนะเกินกว่า 10 ตัวอักษร ก็ให้ใช้เป็นชื่อสกุลได้
30
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 31
ตัวแทน ในตอนทีแ่ ล้วได้บอกว่า หนุม่ ผูโ้ ชคดีทถี่ กู รางวัลแจ๊กพอตหวยบนดิน หรือสลากพิเศษ แต่มีกรรมบังที่ตัวแทนผู้ขายสลากไม่ได้น�ำยอดซื้อส่ง กองสลาก ท� ำ ให้ เ วลามาขอขึ้ น เงิ น เบื้ อ งต้ น ก็ เ ลยถู ก ปฏิ เ สธไป แต่ในท้ายที่สุดกองสลากก็ยินดีจ่ายเงินรางวัลให้ ในเรื่องนี้ก็เป็นไปตาม หลักกฎหมายว่าด้วยตัวการตัวแทน ตัวแทนเป็นคนที่ถูกมอบหมายให้ ไปท� ำ สั ญ ญาแทน ตั ว การ ในที่นี้ ผู้ขายสลากพิเศษหรือ หวยบนดิน ไม่ว่าจะเป็นคนที่ ตั้งตู้กระจกอยู่หน้าร้านหรือคน ทีเ่ ดินเร่ขายตามท้องถนน ต่างก็ ถือว่าเป็นตัวแทนของส�ำนักงาน สลากกิ น แบ่ ง รั ฐ บาลหรื อ กองสลากซึ่งจัดว่าเป็นตัวการ เมื่ อ ตั ว แทนขายสลากออกไป ก็คล้าย ๆ กับว่ากองสลากเป็น ผูข้ ายเอง ดังนัน้ สัญญาซือ้ ขาย นี้จึงผูกพันกองสลาก กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
31
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 32
หนุ่มลอตเตอรี่ ต้ อ งขอแสดงความยิ น ดี กั บ หนุ ่ ม ผู ้ โ ชคดี ที่ ถู ก รางวัลแจ๊กพอตหวยบนดินหรือสลากพิเศษ แม้ใน ตอนแรก ๆ จะเกิดปัญหาเพราะตัวแทนผู้ขายสลาก ไม่ได้น�ำยอดซื้อส่งกองสลาก ท�ำให้เบื้องต้นปฏิเสธ การจ่ายเงิน แต่ในท้ายทีส่ ดุ ส�ำนักงานสลากกินแบ่ง รั ฐ บาลก็ ยิ น ดี จ ่ า ยเงิ น รางวั ล ให้ ต ามหลั ก กฎหมายว่ า ด้ ว ยตั ว การตั ว แทน ตั ว แทน ผูข้ ายสลากพิเศษหวยบนดินเมือ่ ขายสลาก ไปแล้ ว ในทางกฎหมายก็ ถื อ ว่ า สั ญ ญา ซื้อขายสลากผูกพัน ตัวการคือ ส�ำนักงาน สลากกิ น แบ่ ง คล้ า ย ๆ กั บ มี สั ญ ญา ระหว่างส�ำนักงานสลากกินแบ่งกับผู้ซื้อโดยตรง ส่วนการที่ตัวแทนผู้ขาย ไม่น�ำส่งยอดซื้อ และไม่ส่งเงินแก่สำ� นักงานก็เป็นเรื่องที่สำ� นักงานสลาก ต้องไปว่ากล่าวไล่เบี้ยกันเอาเอง
32
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 33
พลเมืองดี 1 แม้ว่าโดยทั่วไปประชาชนคนธรรมดาจะไม่มีอ�ำนาจจับกุมตัว ผูก้ ระท�ำความผิด แต่ถา้ เจ้าพนักงานร้องขอให้ประชาชนเข้ามาช่วยเหลือ จับ กุม ตัว ผู ้ ก ระท� ำ ความผิ ด ตามหมายจั บ ที่อ อกโดยศาล พลเมือ งดี ทั้งหลายก็สมควรให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ด้วย เป็นต้นว่าเจ้าหน้าที่ ต�ำรวจก�ำลังจะจับกุมคนร้ายชิงทรัพย์ตามที่ศาลท่านได้ออกหมายจับไว้ แต่ ค นร้ า ยใช้ ก� ำ ลั ง ต่ อ สู ้ แ ละวิ่ ง หลบหนี เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจก็เลยตะโกน บอกให้เราที่ก�ำลังเดินสวน กั บ ค น ร ้ า ย พ อ ดิ บ พ อ ดี ให้ ช ่ ว ยรวบตั ว คนร้ า ยไว้ อย่ า งนี้ เ ราท� ำ ได้ ไ ม่ ผิ ด กฎหมายและก็สมควรกระท�ำ อย่างยิ่งในฐานะพลเมืองดี แม้ว่าเราไม่มี หน้าที่ต้องท�ำตามค�ำร้องของต�ำรวจคนนั้น ก็ตาม
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
33
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 34
พลเมืองดี 2 โดยทั่วไปการจับกุมคนร้ายผู้กระท�ำผิดมาลงโทษตามกฎหมาย บ้านเมืองนั้น เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ แต่บางครั้งเราซึ่งเป็น ประชาชนธรรมดาก็สามารถช่วยแบ่งเบาภาระของต�ำรวจในการจับกุม คนร้ายได้เช่นกัน ถ้าหากว่าเราพบเห็นการกระท�ำความผิดอาญาต่อหน้า ต่อตา เช่น ขณะก�ำลังเดินตลาดพบเห็นคนร้ายวิ่งราวกระเป๋า หากจะรอ แจ้ ง ความให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ม า ติ ด ตามจั บ กุ ม เห็ น จะช้ า ไป ไม่ทันการณ์ ก็เลยช่วยเหลือ ผู ้ เ สี ย หายจั บ กุ ม ตั ว คนร้ า ย กรณีเช่นนี้สามารถท�ำได้ แต่ก็ ขอเตื อ นว่ า ก่ อ นจะท� ำ อะไร ดู ต าม้ า ตาเรื อ ให้ ดี อย่ า ให้ ความเป็นพลเมืองดีของเราไป ท�ำลายฉากถ่ายท�ำภาพยนตร์ หรื อ ถู ก แอบถ่ า ยไปออกที วี โดยไม่จำ� เป็น
34
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 35
พลเมืองดี 3 เคยน�ำเสนอไปแล้วว่าบางครัง้ ประชาชนก็สามารถจับกุมตัวคนร้าย ผู้กระท�ำความผิดอาญาได้ โดยถือว่าท�ำไปอย่างถูกตามกฎหมาย หาก เจ้ า หน้ า ที่ ร ้ อ งขอให้ ช ่ ว ยจั บ ผู ้ ร ้ า ยตามหมายจั บ หรื อ พบเห็ น คนร้ า ย ก�ำลังกระท�ำความผิดซึ่งหน้าต่อหน้าต่อตาเราและวันนี้ก็ถึงกรณีสุดท้าย นั่นก็คือประชาชนที่ได้ไปประกันตัวผู้ต้องหาหรือจ�ำเลยกับเจ้าหน้าที่ ต�ำรวจกับอัยการ หรือกับศาล หากพบเห็นว่าเขาก�ำลังจะหลบหนีและ ไม่ ส ามารถแจ้ ง เจ้ า หน้ า ที่ ได้ทันหรือเขาหลบหนีไปแล้ว บังเอิญเราพบเห็นตัวและหาก จะไปขอความช่วยเหลือจาก ต�ำรวจเห็นจะช้าไปไม่ทนั การณ์ กรณีเช่นนีเ้ ราสามารถจับกุมตัว ผู้ต้องหาหรือจ�ำเลยที่เราเป็น นายประกันได้
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
35
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 36
ต�ำรวจตรวจจับความเร็ว คนที่ขับรถเดินทางไปพักผ่อนยังต่างจังหวัดอาจจะสังเกตเห็น ความเข้มงวดของเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจในเรือ่ งกฎจราจร การตรวจแอลกอฮอล์ ผูข้ บั ขี่ การตรวจจับความเร็วรถยนต์ ล่าสุดต�ำรวจทางหลวงได้นำ� เทคโนโลยี กล้องตรวจจับความเร็วมาใช้ในเส้นทางหลักทั่วประเทศ รถคันไหนที่ขับ ด้วยความเร็วเกินก�ำหนดแต่ไม่ถูกจับในขณะนั้น ก็อย่าเพิ่งล�ำพองใจไป เพราะกล้องจะถ่ายภาพรถซึ่งใช้ความเร็วเกินกว่าที่กฎหมายก�ำหนด วิ่งผ่านโดยอัตโนมัติ จากนั้นต�ำรวจจะส่งภาพถ่ายดังกล่าวทั้งภาพรถ จุดเกิดเหตุวันเวลาที่เกิดเหตุความเร็วที่จุดนั้นส่งไปพร้อมใบสั่งตาม โครงการ “ส่งใบสั่งถึงบ้าน”
36
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 37
ไม่ซื่อ ชวดรางวัลและ อาจติดคุก เมือ่ พบเห็นทรัพย์สนิ มีคา่ ตกหล่น บนท้องถนนคนที่เก็บทรัพย์สินชิ้นนั้น ได้กม็ หี น้าทีน่ ำ� ทรัพย์ไปคืนให้แก่เจ้าของ หรือถ้าไม่ทราบก็ให้ไปแจ้งความและ ส่งมอบสิ่งของมีค่าอันนั้นไว้กับต�ำรวจ เพื่อจะได้ติดตามหาตัวเจ้าของที่แท้จริง มารับกลับคืนไป และในฐานะพลเมือง ดีก็ย่อมมีสิทธิได้รับก�ำเหน็จรางวัลบ้าง ตามสมควร อย่างไรก็ตามถ้าหากว่า เวลานัน้ เกิดความโลภ คิดไม่ซอื่ อยากได้ ทรัพย์สนิ มีคา่ นัน้ เป็นของตนเอง นอกจากจะผิดศีล 5 ผิดหลักธรรมค�ำสอน ของศาสนาต่าง ๆ แล้วยังชวดเงินรางวัลอีกด้วย และดีไม่ดีอาจต้องมี ความผิดอาญาในข้อหาลักทรัพย์เสี่ยงต่อคุกตะราง
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
37
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 38
สังหาฯ มีค่าฝังไว้ ม.1328 และ ม.355 ปอ. ส�ำหรับคนทีไ่ ปขุดเจอสิง่ ของมีคา่ เช่น ทองค�ำหรือเงินซ่อนหรือฝังไว้ ในสถานทีแ่ ห่งใดแห่งหนึง่ ซึง่ เป็นทีท่ างสาธารณะอยูใ่ นป่า อยูใ่ นถ�้ำ แต่คง ไม่ใช่ถำ�้ ลิเจียขุมทรัพย์ทองค�ำโกโบริ ซึง่ เคยเป็นข่าวฮือฮาเมือ่ หลายปีกอ่ น โดยที่ไม่มีใครสามารถอ้างได้ว่าตนเป็นเจ้าของสังหาริมทรัพย์มีค่าอันนั้น และคนที่พบเห็นสังหาริมทรัพย์สิ่งของมีค่าซึ่งซุกซ่อนอยู่นั้นมีหน้าที่แจ้ง ให้ทางการทราบ จะหยิบฉวยไปเป็นของตนเองไม่ได้ มิเช่นนั้นจะมี ความผิดข้อหายักยอกทรัพย์โทษจ�ำคุกถึงหนึง่ ปี ปรับมากถึงสองพันบาท อย่างไรก็ตามถ้าหากท่านเป็นพลเมืองดีแจ้งความและส่งมอบแก่ทางการ ท่านก็มีสิทธิได้รับรางวัลมากถึงหนึ่งในสามของมูลค่าทรัพย์อันนั้น
38
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 39
สินบนจราจร เวลาที่ผู้ขับขี่ยวดยานพาหนะบนท้องถนน บางคนกระท�ำผิดกฎ จราจรขับรถฝ่าไฟแดงบ้าง ขับขี่สวนเลนบ้าง หรือกลับรถในจุดที่ไม่ได้ อนุญาตไว้ แล้วถูกต�ำรวจจราจรจับกุม หลาย ๆ คนไม่อยากเสียเวลา ไม่ อ ยากเสีย ค่ า ปรั บ ก็ เ ลยพยายามอ้ า งถึ ง ผู ้ ใ หญ่ ห รือ บางคนก็เ สนอ เงินหลักสิบหลักร้อยแลกกับการต้องเสียค่าปรับหลายร้อยบาท หรือบางที ข้อเรียกร้องท�ำนองนีก้ ม็ าจากเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจเองก็มเี หมือนกัน พฤติกรรม เช่นนี้ถือเป็นการคอรัปชัน รับสินบน ผิดทั้งผู้ให้และผู้รับทั้งผู้ขับขี่ที่ จ่ า ยสตางค์ แ ละเจ้ า หน้ า ที่ผู ้ รั บ สิ น บนมี ค วามผิ ด ถึ ง ขั้ น ติ ด คุ ก ซึ่ ง โทษ หนักหนากว่าการผิดกฎจราจรเล็ก ๆ น้อย ๆ หลายเท่า และยังเป็น การสร้างวัฒนธรรมการคอรัปชันในสังคมไทย
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
39
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 40
กฎจราจร กฎเพื่อความปลอดภัย 1 กฎจราจรนั้นเป็นกฎเพื่อความปลอดภัย ไม่แต่เฉพาะตัวท่าน ผู้ขบั ขีเ่ ท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงผู้โดยสารและผู้สญ ั จรไปมาตามท้องถนน เช่น คนเดินเท้าอีกด้วย และหากลองสืบสาวถึงสาเหตุของการเกิดอุบัติภัย บนท้องถนน จะพบว่าส่วนหนึ่งมาจากการที่ผู้ขับขี่ไม่เคารพกฎจราจร ทัง้ ๆ ทีก่ ฎเกณฑ์ดงั กล่าวมุง่ คุม้ ครองตัวท่านเองเป็นต้นว่า การคาดเข็มขัด นิรภัย และการสวมหมวกกันน็อกทั้งตัวผู้ขับขี่และผู้โดยสาร ไม่ว่าจะเดิน ทางใกล้ไกลแค่ไหน จะขับช้าขับเร็วหรือไม่ไม่สำ� คัญ การคาดเข็มขัดนิรภัย หรือการสวมหมวกกันน็อกนั้นคงไม่ใช่เพราะเกรงจะถูกต�ำรวจจับหรือ ถูกปรับห้าร้อย แต่เพราะเมื่ออุบัติเหตุเกิดขึ้นจริง ๆ เข็มขัดนิรภัยและ หมวกกันน็อกที่จะท�ำให้ท่านรอดชีวิตได้
40
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 41
กฎจราจร กฎเพื่อความปลอดภัย 2 สาเหตุส�ำคัญประการหนึ่งของการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนก็คือ การที่ผู้ขับขี่ขับรถเร็วเกินกว่าที่กฎหมายก�ำหนด ซึ่งอัตราปกติต้องไม่เกิน 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แต่เอาเข้าจริง ๆ ก็มีการผ่อนผันกันเป็นไม่เกิน 110 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง อย่างไรก็ตาม นัน่ เป็นอัตราความเร็วปกติทวั่ ๆ ไป เพราะว่าในขณะที่ท่านขับขี่บนถนนท่านยังต้องคอยสังเกตเครื่องหมาย จราจรที่ติดตั้งอยู่ข้างทางด้วย เพราะในแต่ละจุดอาจจะมีเครื่องหมาย จ�ำกัดความเร็วที่แตกต่างกันออกไป เช่น ถ้ามีเครื่องหมายระบุตัวเลข 40 ก็คือ ในบริเวณนั้นต้องขับไม่เกิน 40 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง และที่ส�ำคัญอย่าลืมว่า ถึงที่หมาย ปลายทางอย่ า งปลอดภั ย คื อ สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ของการเดินทาง
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
41
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 42
แก๊งซิ่ง เป็นปัญหาในสังคมไทยทั้งในเมืองกรุงและหัวเมืองต่างจังหวัด มายาวนานพอสมควรแล้วกับเรื่องแก๊งซิ่งที่เป็นกลุ่มวัยรุ่นนัดหมาย แข่ง รถมอเตอร์ไซค์บนท้องถนนในเวลากลางค�ำ่ กลางคืน รบกวนผู้ที่สัญจร ไปมาบนท้องถนน ก่อนความเดือดร้อนร�ำคาญแก่ผู้ที่อยู่อาศัยในละแวก นั้นและหลาย ๆ ครั้ง ก็ก่อให้เกิดอุบัติเหตุกับผู้ที่ใช้รถใช้ถนนหลวงนี่ มี ค วามผิ ด อาญาโทษทั ณ ฑ์ ก็ ถึ ง ขั้ น จ� ำ คุ ก สามเดื อ นปรั บ สองพั น ถึ ง หนึง่ หมืน่ บาทหรือทัง้ จ�ำทัง้ ปรับ รวมทัง้ ศาลอาจจะสัง่ พักใบขับขีไ่ ม่นอ้ ยกว่า หนึ่งเดือน หรือหากท�ำซ�้ำแล้วซ�้ำเล่าไม่เข็ดหลาบ ศาลก็อาจสั่งเพิกถอน ใบอนุญาตขับขี่ของคนคนนั้นก็ได้
42
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 43
การแซงแบบปลอดภัย อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบนท้องถนนนั้น ส่วนหนึ่งเกิดขึ้นในขณะที่ผู้ขับขี่ พยายามจะเร่งเครื่องแซงรถคันอื่น ดังนั้น วิธีการแซงอย่างปลอดภัย อย่ า งแรกก็ คื อ ผู ้ ขั บ ขี่ ค วรให้ เ สี ย งสั ญ ญาณที่ ดั ง มากพอที่ จ ะท� ำ ให้ รถคันหน้าทราบว่าจะขอแซงแล้วนะ และถ้าเป็นกลางคืนก็ควรเปิดไฟสูง ไฟต�่ำสลับกัน จากนั้นก็เปิดไฟกะพริบทางขวา เพื่อให้รถคันหลังรู้ว่า เราก�ำลังจะแซง ต่อมาก็มองไปข้างหน้าดูซิว่ามีรถสวนมาหรือไม่ ถ้าไม่มี และผู ้ ขั บ ขี่ คั น หน้ า ให้ สั ญ ญาณมาว่ า ไปได้ แ ล้ ว ก็ ค ่ อ ยแซงขึ้ น ไป และที่ ส� ำ คั ญ อย่ า ลื ม มองกระจกหลั ง ว่ า ไม่ มี ร ถคั น หลั ง พยายาม จะแซงเราอยู่ ถ้าท�ำได้เช่นนี้ก็น่าจะปลอดภัยขึ้นอีกในระดับหนึ่ง
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
43
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 44
ห้ามแซงโดยเด็ดขาด อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นบนท้องถนนนั้น ส่วนหนึ่งเกิดขึ้นในขณะที่ผู้ขับขี่ พยายามจะเร่งเครื่องแซงรถคันอื่น เช่น ชนประสานงากับรถที่มีสวนมา หรือไม่อย่างนั้นก็ต้องหักหลบไปชนรถคันอื่นตกลงข้างทาง ซึ่งหากท่าน ต้องการจะลดความเสี่ยงเพื่อหลีกเลี่ยงเหตุการณ์เช่นนั้น ท่านจะต้อง ไม่แซงในสถานการณ์ดงั ต่อไปนี้ 1. เมือ่ ก�ำลังขับรถขึน้ ทางชัน ขึน้ สะพาน หรือเข้าใกล้ทางโค้ง 2. ถ้าเข้าใกล้บริเวณทางข้าม ทางร่วม ทางแยก วงเวียน ทางเดิน หรือทางรถไฟในระยะ 30 เมตร 3. ถ้าบนถนนมีหมอก ฝน ฝุ่น ควัน ท�ำให้มองไม่เห็นทางข้างหน้า หรือมองเห็นไม่ชัดในระยะ 60 เมตร และ ข้อ 4. เมื่อเข้าที่คับขันหรือเขตปลอดภัย หากไม่แซง ในที่เหล่านี้ก็น่าจะลดความเสี่ยงอุบัติเหตุบนท้องถนนลงได้
44
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 45
ขับขี่มอเตอร์ไซค์ อย่างปลอดภัย 1 กว่า 80% ของอุบัติภัยที่เกิดในท้องถนนกว่า 70,000 ครั้งนั้น เกิดขึ้นกับมอเตอร์ไซค์หรือจักรยานยนต์ ก็อย่างที่เขาว่ากัน มอเตอร์ไซค์ เป็นยานพาหนะที่นิยมมาก ๆ ทั้งในเมืองและชนบทห่างไกล จ�ำนวน กว่า 20 ล้านคน และผลการวิจัยก็บ่งชี้ว่าผู้ขับขี่มอเตอร์ไซค์ที่ประสบ อุบตั ภิ ยั ร้อยละ 85 - 90 เกิดในเวลากลางคืน หรือไม่กเ็ กิดในช่วงเวลาหัวค�ำ่ ครึ่งหนึ่งเกิดบนถนนทางตรง และอีกครึ่งหนึ่งเกิดขึ้นบริเวณทางแยก เช่น การชนท้าย และการเลี้ยวรถตัดหน้า ส่วนสาเหตุนั้นก็เพราะสาเหตุ ความคึกคะนองประลองความเร็ว ความประมาท และการดื่มสุรา และ ที่ท�ำให้ผู้ขับขี่ส่วนใหญ่จบชีวิตลงนั้น ก็เพราะ ไม่สวมหมวกกันน็อก
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
45
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 46
ขับขี่มอเตอร์ไซค์ อย่างปลอดภัย 2 80% ของอุบัติภัยที่เกิดขึ้นในท้องถนนกว่า 70,000 ครั้งนั้น เกิดขึ้น กับมอเตอร์ไซค์หรือจักรยานยนต์ ซึ่งเป็นพาหนะที่นิยมมาก ๆ ทั้งใน เมืองและชนบทห่างไกล สาเหตุส่วนใหญ่ที่ทำ� ให้เสียชีวิตก็คือ การขับขี่ โดยไม่สวมหมวกกันน็อก บางคนบอกว่าร�ำคาญ บอกว่าหนักหัว บางคน ก็ว่าขับขี่ไปใกล้ ๆ แค่นี้เอง หรือขับไม่เร็วคงไม่มีอันตราย แต่ที่ไหนได้ คิดง่าย ๆ จึงถึงแก่ความตาย ถ้าผู้ขับขี่และผู้ซ้อนท้ายสวมหมวกนิรภัย ที่ได้มาตรฐานอย่างถูกวิธีและสวมใส่ทุกครั้งที่ใช้รถ และไม่ขับขี่รถเร็ว เกินไปจนสามารถลดการตายจากอุบัติเหตุ บนท้ อ งถนนในคนไทยได้ ถึ ง ร้ อ ยละ 30 และป้องกันการบาดเจ็บต่อสมองได้เกือบ ร้อยละ 70
46
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 47
ขับขี่มอเตอร์ไซค์ อย่างปลอดภัย 3 ท่านที่ขับขี่รถจักรยานยนต์หรือมอเตอร์ไซค์นั้น ถ้าอยากขับขี่ อย่างปลอดภัย ไร้อุบัติเหตุ ก่อนอื่นก็ต้องตรวจและรักษาสภาพรถให้ดี อยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบเบรก และสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งที่ ขับขี่หรือโดยสารรถ และไม่ควรขับขี่รถเร็ว ๆ นอกจากนั้นการแต่งกาย ก็ส�ำคัญ เพราะจะช่วยป้องกันเวลาเกิดอุบัติเหตุ ไม่ให้ผิวหนังถลอกได้ หลีกเลี่ยงการขับขี่ในระยะกระชั้นชิดกับยานพาหนะอื่น ๆ และยิ่งต้อง ระวังบริเวณทางแยกและตรอกซอกซอยก่อนจะเลี้ยวให้ดูกระจกหลัง และให้สัญญาณไฟหรือมือทุก ๆ ครั้ง และที่ส�ำคัญงดดื่มสุรา สิ่งมึนเมา ก่อนการขับขี่
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
47
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 48
จุดเสี่ยง จุดเสี่ยงที่ว่านี้คือ จุดที่เคยเกิดอุบัติเหตุบ่อย ๆ และจุดล่อแหลม ต่ออุบตั เิ หตุ อันนีใ้ นความหมายของต�ำรวจทางหลวง เช่น ทางทีต่ รงยาว ๆ หรือเป็นทางลาดชันที่รถใช้ความเร็วสูงถือเป็นทางตรง ต�ำรวจทางหลวง ก็ถอื ว่าเป็นจุดเสีย่ ง เพราะว่ารถจะใช้ความเร็วสูง จุดเสีย่ งอีกประเภทหนึง่ คือ เส้นทางโค้งทีม่ แี หล่งชุมชน เนือ่ งจากมีตลาดนัดทีม่ คี นเป็นจ�ำนวนมาก อันนี้ก็เป็นจุดเสี่ยงและจุดเสี่ยงนี้เป็นจุดที่เกิดอุบัติเหตุซำ�้ ซาก
48
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 49
ขับรถปลอดภัย พอเข้าเทศกาลวันหยุดยาวทีไร อุบัติเหตุบนท้องถนนก็เกิดขึ้น มากมายทั้งบาดเจ็บและเสียชีวิต ไม่ว่ามีสาเหตุจากสภาพแวดล้อม ความประมาทของคนขับ หรือสภาพของยานพาหนะก็ตาม ใครขับรถ ไปเที่ยวต่างจังหวัด หรือเดินทางกลับบ้านต่างจังหวัดต้องระมัดระวัง ให้มาก ต้องคอยเช็กสภาพรถให้ดีอยู่เสมอ ตรวจดูสภาพเครื่อง เบรก ที่ปัดน�้ำฝน ลมยาง ไส้กรอง น�ำ้ มันเครื่อง ไฟหน้า ไฟเลี้ยว ฯลฯ ให้อยู่ ในสภาพสมบูรณ์ใช้งานได้ดี รวมถึงกระจกรถ หากกระจกรถสกปรก เปรอะเปื้อนไปด้วยคราบ ฝุ่นละออง จะท�ำให้ทัศนวิสัยในการขับขี่แย่ลง บางคนอาจจะคิดว่าเป็นเรือ่ งเล็กน้อย แต่กเ็ ป็นสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุ หลายต่อหลายครั้ง
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
49
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 50
ขับรถในเวลากลางคืน ท่านที่มักจะขับรถในเวลากลางคืน ท่านทราบหรือไม่ว่าอุบัติเหตุ มักจะเกิดในเวลากลางคืนมากกว่ากลางวันถึง 3 เท่า เพราะตาของคนเรา จะมองเห็นได้ในระยะใกล้และแคบมากขึ้น การคาดคะเนระยะห่างและ ความเร็วของรถคันอื่นก็ลดลงตามไปด้วย ดังนั้น การขับรถตอนกลางคืน จึงต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ และไฟหน้ารถก็เป็นอุปกรณ์ที่สำ� คัญมาก หากวิ่งสวนกันให้ใช้ไฟต�่ำถือเป็นมารยาทที่ส�ำคัญ เพราะหากใช้ไฟสูง คนที่ขับสวนมาจะมองไม่เห็นถนน หรือในกรณีที่รถสวนมาไม่ยอมลดไฟ ลงอย่ามองสูไ้ ฟโดยตรง ให้มองขอบถนนไว้เป็นเกณฑ์ในการกะระยะห่าง และที่สำ� คัญอย่าลืม ถ้าง่วงอย่าฝืน ให้หาปั๊มน�้ำมันหรือจุดตรวจจอดรถ นอนสักงีบแล้วค่อยเดินทางต่อ
50
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 51
ปีใหม่ มีมารยาทขับรถ อุบัติเหตุบนท้องถนนในหลาย ๆ ครั้ง ก็เกิดจากการขับรถโดย ไม่มมี ารยาท และต่างฝ่ายต่างไม่ยอมกันจนเกิดเรือ่ ง ตัวอย่างเช่น การขับรถ ปาดหน้าเพื่อขึ้นสะพานเข้าเลนเลี้ยวเลนกลับรถ ทั้ง ๆ ที่รถคันอื่นขับ ต่อแถวกันมาตั้งไกล ถ้าเราพบเห็นผู้ขับขี่เช่นนี้อย่าเก็บเป็นอารมณ์ ยอมให้เขาไปดีกว่าจะต้องมาเฉี่ยวชนกัน ดีไม่ดีอาจจะมีการทะเลาะ เบาะแว้งตามมาก็ได้ นอกจากนั้น พวกมอเตอร์ไซค์ รถ 2 ล้อนี่ก็สำ� คัญ ชอบขับปาดไปปาดมา หาช่องเล็กช่องน้อยไปข้างหน้า ยังไงก็ขอให้คดิ ว่า เขาน่ะเนื้อหุ้มเหล็ก แต่เราเหล็กหุ้มเนื้อ ยอม ๆ เขาหน่อย ดีกว่าจะมี อุบัติเหตุเสียทั้งเงิน เสียทั้งรถ เสียทั้งเวลา และยังเสียอารมณ์อีกด้วย
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
51
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 52
ถ้าง่วงนัก พักซะก่อนดีกว่า ท่ า นที่ เ ดิ น ทางกลั บ บ้ า นต่ า งจั ง หวั ด หรื อ ไปท่ อ งเที่ ย วไกล โดยใช้รถยนต์ ถ้าอยากเดินทางอย่างปลอดภัยไร้อุบัติเหตุ ท่านจะต้อง ไม่ขับรถในขณะง่วงนอนหรือเหนื่อยล้า ก่อนขับรถควรพักผ่อนให้เต็มที่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ขับรถไปต่างจังหวัดไกล ๆ เวลาง่วงนอนจะไม่สามารถ ควบคุมรถได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถือว่าขาดสติพอ ๆ กับเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ดังนั้น หากรู้สึกง่วงให้สลับกันขับกับเพื่อนที่นั่งมาด้วย หรือ ชวนกันคุยตลอดทาง หากเดินทางคนเดียวให้แวะพักตามสถานีบริการ น�้ำมัน กินขนมขบเคี้ยว หรือแวะดื่มน�้ำสักครู่ แต่หากง่วงจริง ๆ อย่าฝืน ให้พักงีบสัก 20 - 30 นาที แล้วค่อยเดินทางต่อ
52
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 53
เปลี่ยนทัศนะการขับ ลดอุบัติเหตุ ทุก ๆ ช่วงเทศกาลหยุดยาว การป้องกันอุบัติภัยบนท้องถนน ซึ่ ง การจะลดอุ บั ติ ภั ย ได้ นั้ น ต้ อ งเริ่ ม จากความมี วิ นั ย และการเคารพ กฎจราจร ซึ่งไม่ใช่ว่าจะเคารพกฎจราจรต่อหน้าต�ำรวจเท่านั้น หากแต่ ต้องกระท�ำสม�่ำเสมอจนกลายเป็นนิสัย ต่อมาก็คือ ต้องไม่ประมาท ไม่ใจร้อน และต้องค�ำนึงเสมอว่าชีวิตและร่างกายของเรานั้นส�ำคัญกว่า สิ่งอื่นใด และข้อสุดท้ายถ้ารู้ว่าตนเองเหนื่อยล้าขับไม่ไหวก็อย่าฝืน และ ที่ส�ำคัญหากเสพสุรา สิ่งมึนเมา ไม่ว่าจะมากน้อยแค่ไหน กรุณาอย่าเอา ชีวิตคนอื่น ๆ เข้าไปเสี่ยงร่วมกับท่าน
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
53
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 54
สังเกตคนติดยา ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามยาเสพติด มีข้อแนะน�ำในการ ระแวดระวังพิษภัยทีเ่ ข้ามาย่างกรายครอบครัว ของท่าน เพื่อให้พร้อมแก้ไขปัญหาแต่เนิ่น ๆ เริ่มจากการสังเกตคนในครอบครัวของท่าน โดยเฉพาะอย่างยิง่ เด็กวัยรุน่ ว่าเขามีพฤติกรรม เปลี่ยนไปหรือไม่ ใช้เงินสิ้นเปลืองมากขึ้น ผิ ด ปกติห รื อ เปล่ า เด็ ก จะเริ่ ม โกหกตั้ ง แต่ เรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ไปจนถึงเรื่องใหญ่ ๆ เช่น เอามือถือสิ่งของมีค่าที่พ่อแม่ให้ไปขาย แต่ โกหกว่าท�ำหายไป ใช้หอ้ งน�ำ้ นาน เกียจคร้าน ไม่รับผิดชอบ ร่างกายอ่อนแอ ผอมแห้งแรงน้อย ขาดความเป็นระเบียบ สกปรก เก็บตัว อารมณ์ฉุนเฉียว เอาแต่ใจ จนกระทั่งติดต่อสมาคม คนแปลกหน้า
54
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 55
เด็กอายุ 9 ปี กระท�ำผิด เวลาที่เด็กและเยาวชนไปกระท�ำความผิดอาญา เขาจะต้องรับ โทษทัณฑ์เหมือนเช่นผู้ใหญ่ หรือไม่ถ้าเด็กอายุไม่เกิน 7 ขวบ ไปกระท�ำ ความผิด เด็กผูน้ นั้ ไม่ตอ้ งรับโทษเลย แต่ถา้ เด็กโตกว่า 7 ขวบ แต่ยงั ไม่เกิน 14 ขวบ อย่างเช่น เด็กอายุ 9 ขวบ ไปขโมยลูกอมในร้านค้าซึ่งกลายเป็น ข่าวดัง เด็กคนนั้นแม้กระท�ำความผิดฐานลักทรัพย์ ก็ไม่ต้องรับโทษ เช่นเดียวกัน เพียงแต่ศาลอาจจะว่ากล่าวตักเตือนเด็กคนนัน้ หรือว่ากล่าว ตักเตือนพ่อแม่ผู้ปกครองที่ปล่อยปละละเลยไม่อบรมลูกหลานด้วยก็ได้ อาจจะมีการวางข้อก�ำหนดให้พ่อแม่ดูแลลูกเป็นพิเศษ หรืออาจให้ เจ้าหน้าที่เข้ามาช่วยดูแลความประพฤติของเด็กอีกทางหนึ่ง
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
55
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 56
สั่งไม่ฟ้องเด็กท�ำผิด กรณีเด็กวัย 9 ขวบ ไปขโมยลูกอมมูลค่าเพียงสามสิบกว่าบาทนั้น แม้ว่าจะเป็นความผิดอาญาฐานลักทรัพย์ แต่กฎหมายก็เปิดช่องให้ ไม่ต้องฟ้องร้องคดีต่อศาล หากผู้อ�ำนวยการสถานพินิจและคุ้มครอง เด็กและเยาวชนพิจารณาอายุ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษา อบรม สุขภาพ นิสัยของเด็ก ประวัติ ฐานะ อาชีพของพ่อแม่เด็ก และ พฤติการณ์ต่าง ๆ แล้วเห็นว่า เด็กอาจกลับตัวเป็นคนดีได้โดยไม่ต้อง ฟ้องร้อง แต่ให้อยู่ในการคุมประพฤติ ของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน เพื่อแก้ไขฟื้นฟูพฤติกรรม ผู้อ�ำนวยการสถานพินิจและคุ้มครอง เด็ ก และเยาวชน อาจจะเสนอ ความเห็นต่อพนักงานอัยการให้สั่ง ไม่ฟ้องคดีได้ เพราะความผิดฐาน ลักทรัพย์นี้มีอัตราโทษขั้นสูงไม่เกิน 5 ปี และหากอัยการเห็นชอบด้วย ค�ำสัง่ ไม่ฟอ้ งคดีของอัยการก็เป็นทีส่ ดุ
56
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 57
ปรับปรุง การกักขังแทนค่าปรับ 1 เมื่ อ ผู ้ ก ระท� ำ ความผิ ด ถู ก ศาล พิ พ ากษาให้ ต ้ อ งโทษปรั บ คนคนนั้ น ก็มหี น้าทีน่ ำ� เงินมาช�ำระค่าปรับตามทีศ่ าล ก�ำหนด แต่ถา้ ไม่มเี งินมาช�ำระค่าปรับ หรือ ช�ำระค่าปรับไม่ครบถ้วน ก็จะถูกกักขังแทน ค่าปรับในอัตราสองร้อยบาทต่อวัน เช่น ถูกปรับ 800 บาท น�ำเงินมาจ่ายแค่ 400 บาท เช่นนี้ก็ต้องถูกกักขังแทนค่าปรับเป็นเวลา 2 วัน ซึ่งแต่เดิมจะกักขังผู้ต้องกักขังแทน ค่าปรับเหล่านี้ไว้ที่ห้องขังในสถานีต�ำรวจ อย่างไรก็ตาม กฎหมายใหม่ ไม่ให้กักตัวในสถานีต�ำรวจ หรือสถานที่ควบคุมผู้ต้องหาของพนักงาน สอบสวนอีกต่อไป ท�ำให้ในปัจจุบนั กรมราชทัณฑ์จะเป็นผูด้ ำ� เนินการกักขัง ผู้ต้องกักขังแทนค่าปรับ
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
57
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 58
ปรับปรุง การกักขังแทนค่าปรับ 2 เมื่อผู้กระท�ำความผิดถูกศาลพิพากษาให้ต้องโทษปรับ คนคนนั้น ก็มีหน้าที่น�ำเงินมาช�ำระค่าปรับตามที่ศาลก�ำหนด แต่ถ้าไม่มีเงินมา ช�ำระค่าปรับ หรือช�ำระค่าปรับไม่ครบถ้วน ก็จะถูกกักขังแทนค่าปรับ ในอัตราสองร้อยบาทต่อวัน อย่างไรก็ตาม มาตรการอย่างหนึง่ ทีผ่ ตู้ อ้ งโทษ ปรับแต่ไม่มีเงินช�ำระไม่นิยมน�ำมาใช้ทั้ง ๆ ที่ดีกว่าการกักขังแทนค่าปรับ อย่างมาก นั่นก็คือ การท�ำงานบริการสังคม หรืองานสาธารณประโยชน์ แทนค่าปรับได้ ถ้าหากว่าผู้ต้อง โทษปรับไม่ใช่นิติบุคคล บริษัท ห้ า งร้ า นต่ า ง ๆ และโทษปรั บ ตามค�ำพิพากษาไม่เกิน 80,000 บาท ก็สามารถยืน่ ค�ำร้องต่อศาล ที่พิพากษาคดีขอท�ำงานบริการ สังคมแทนค่าปรับได้
58
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 59
ผู้ซื้อบริการทางเพศ ว่ากันว่า การค้าประเวณีเป็นอาชีพที่เก่าแก่ที่สุดในโลก มีขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการทางเพศอันเป็นสัญชาตญาณของมนุษย์ ซึ่งโดยธรรมชาติผู้ชายมักมีมากกว่าผู้หญิง และนี่เป็นสาเหตุว่าท�ำไม หญิงบริการจึงมีมากกว่าชาย ก็เป็นไปตามดีมานด์ ซับพลาย อุปสงค์ อุปทาน ด้วยเหตุนี้ บางคนถึงขนาดเสนอว่าถ้าต้องการขจัดการค้า ประเวณีให้หมดไป ท�ำไมไม่ก�ำหนดให้ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายบริการทางเพศ มีความผิดอาญา แต่ท่านทราบหรือไม่ เอาเข้าจริง ๆ แล้ว แม้ประเทศ ทีม่ กี ฎหมายในลักษณะเช่นนัน้ ก็มกี ารหลบ ๆ ซ่อน ๆ แฝงการค้าประเวณี ในรูปแบบอื่น แต่ส�ำหรับประเทศส่วนใหญ่ รวมทั้งประเทศไทยไม่ได้ ก�ำหนดว่าการซื้อบริการทางเพศเป็นความผิดอาญา
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
59
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 60
เผยแพร่สื่อลามก น่ า เป็ น ห่ ว งเด็ ก เยาวชนไทย ทุกวันนีจ้ ริง ๆ เพราะโพลล์หลายส�ำนัก ล้วนยืนยันตรงกันว่า เด็กและเยาวชน ไทยส่ ว นใหญ่ ห มกมุ ่ น ในเรื่ อ งเพศ ด้วยความอยากรู้อยากลอง และด้วย ความเจริญ ก้าวหน้ า ทางเทคโนโลยี อิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ ท� ำ ให้ เ ยาวชนไทย เข้าถึงสือ่ ลามกได้งา่ ยมาก บางเว็บไซต์ ก็ ก ลายเป็ น ที่ ห าเพื่ อ นเที่ ย ว คู ่ น อน กลายเป็นสือ่ กลางในการขายบริการทางเพศ งานนีก้ ต็ อ้ งขอแรงเจ้าหน้าที่ ช่วยกันกวดขัน ที่ส�ำคัญ ISP หรือผู้ให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทัง้ หลายต้องบล็อกเว็บไซต์เหล่านีท้ งั้ ของไทยของต่างประเทศ และส�ำหรับ เจ้าของเว็บไซต์ลามกถือว่ามีความผิดอาญา อาจต้องระวางโทษจ�ำคุก ถึง 3 ปี และปรับ 6,000 บาทด้วย
60
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 61
ภัยใกล้ตัว เห็นเป็นข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ เมือ่ ไม่นานมานีว้ า่ ตามสถานทีช่ อ็ ปปิง้ แหล่งท่องเทีย่ วทีว่ ยั รุน่ มักจะไปเดินเล่น เช่น บริเวณสยามสแควร์นั้น มีบางคน ท�ำตัวเป็นเอเย่นต์เข้าไปเสาะแสวงหา วัยรุ่นสาวที่หน้าตาดี แต่งตัวสายเดี่ยว กระโปรงสั้ น ดู เ ซ็ ก ซี่ ท่ า ทางดู อ อก จะติดหรูสกั หน่อย ชักชวนให้ไปท�ำงาน สบาย ๆ แต่รายได้ดี เพื่อจะได้มีเงิน ไปใช้จ่ายตามใจ ปรับเปลี่ยนเครื่องแต่งกาย เปลี่ยนมือถือเครื่องใหม่ เปลี่ยนกระเป๋าใบใหม่ได้เรื่อย ๆ พอเหยื่อเริ่มติดเบ็ด ซักถามความก็ ชัดเจนขึ้นว่า งานที่ว่านี้คือการเป็นเพื่อนเที่ยวเพื่อนคุยแก้เหงา และ บ่อยครั้งก็น�ำไปสู่การขายบริการทางเพศในที่สุด และส�ำหรับพฤติกรรม เช่นนี้ถือเป็นความผิดอาญา ฐานเป็นธุระจัดหาให้มีการค้าประเวณี
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
61
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 62
เด็กอายุไม่เกิน 13 ปี ทุ ก วั น นี้ ดู เ หมื อ นว่ า ปั ญ หาการล่ ว ง ละเมิดทางเพศต่อเด็ก ๆ นัน้ จะรุนแรงหนักข้อ ขึ้นเรื่อย ๆ ทั้ง ๆ ที่กฎหมายอาญาก็ก�ำหนด โทษไว้ สู ง มาก คื อ จ� ำ คุ ก ตั้ ง แต่ สี่ ถึ ง ยี่ สิ บ ปี ปรั บ ตั้ ง แต่ แ ปดพั น บาทถึ ง สี่ ห มื่ น บาท นั่นก็เป็นโทษที่ศาลอาจจะลงโทษแก่ผู้กระท�ำ ความผิ ด ฐานกระท� ำ ช� ำ เราเด็ ก อายุ ไ ม่ เ กิ น 15 ปี ที่ไม่ใช่ภรรยาหรือสามีของตน และ ไม่ ส นว่ า เด็ ก คนนั้ น จะยิ น ยอมพร้ อ มใจมี อะไรด้วยหรือไม่ก็ตาม ถ้าไปร่วมหลับนอน กับเด็กอายุต�่ำกว่า 15 ปี ถือว่ามีความผิด ทัง้ หมด และยิง่ ถ้าเด็กอายุนอ้ ยกว่านัน้ เป็นเด็กอายุไม่เกิน 13 ปี ผูก้ ระท�ำ ความผิดข้อหานี้ก็มีโอกาสได้ย้ายเข้าไปอยู่ในคุกยาวตลอดชีวิต
62
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 63
เด็กอายุไม่เกิน 15 ปี ไม่ ค ่ อ ยแน่ ใ จว่ า เหตุ ที่ มี ข ่ า ว การล่วงละเมิดทางเพศโดยบุคคล ในครอบครัวเดียวกัน โดยคนใกล้ชิด สนิทสนมกันขึน้ หน้าหนึง่ หนังสือพิมพ์ บ่อยครัง้ นัน้ เป็นเพราะว่าสภาพจิตใจ ของผู้คนในสังคมทุกวันนี้มันเสื่อม ถอยลง หรื อ เป็ น เรื่ อ งที่ มี ม านาน อยู ่ แ ล้ ว เพี ย งแค่ ไ ม่ มี ใ ครพู ด ถึ ง เพีย งแค่ ไ ม่ เ ป็ น ข่ า ว หรื อ เพี ย งแค่ ไม่มีเทคโนโลยีตีแผ่ความผิดปกติเหล่านี้ให้สังคมได้รับรู้เท่านั้น ยิ่งการมี เพศสัมพันธ์กับเด็ก ๆ ยิ่งนับวันก็ดูเหมือนว่าจะรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ ทั้ง ๆ ที่กฎหมายก็ห้ามการกระท�ำช�ำเราเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี ที่ไม่ใช่สามีหรือ ภรรยาของตน ไม่ว่าจะเป็นการข่มขืนบังคับใจหรือไม่ ไม่ว่าเด็กคนนั้น จะยินยอมพร้อมใจหรือไม่ก็ตาม ก็ถือว่าผู้นั้นกระท�ำความผิดทั้งสิ้น
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
63
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 64
รุกล�้ำที่ดินข้างเคียง 1 ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนในที่ดินซึ่งอยู่ในเขตหัวเมือง หรือ ในบริเวณทีม่ คี วามเจริญ และทีด่ นิ มีราคาสูง ๆ นัน้ ปกติกอ่ นการก่อสร้าง เจ้าของทีด่ นิ ต้องรังวัดสอบเขตทีด่ นิ ให้แน่นอนเสียก่อน เพือ่ ป้องกันไม่ให้มี การปลูกสร้างรุกล�้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่น แต่หากเป็นการปลูกสร้าง ในที่ดินซึ่งตั้งอยู่ในชนบทมักไม่ค่อยมีการรังวัดสอบเขตที่ดิน ท� ำให้ เมื่อก่อสร้างบ้านเรือนแล้วเกิดปัญหารุกล�้ำเข้าไปในที่ดินของผู้อื่นที่ อยู่ข้างเคียง และหากเกิดกรณีเช่นนี้ กฎหมายก็ก�ำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อสร้างความเป็นธรรมไว้แล้ว โดยยึดถือความสุจริตของการปลูกสร้าง นั้นเป็นส�ำคัญ
64
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 65
รุกล�้ำที่ดินข้างเคียง 2 เมื่อเกิดปัญหามีการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนรุกล�ำ้ เข้าไปในที่ดิน ข้างเคียงซึ่งเป็นของคนอื่นนั้น กฎหมายก็จะพิจารณาความรับผิดโดย ยึดถือความสุจริตของเจ้าของที่ดินผู้ปลูกสร้างเป็นส� ำคัญ ซึ่งถ้าหาก เป็นการปลูกสร้างรุกล�้ำเข้าไปในทีด่ นิ ข้างเคียงโดยสุจริต คือไม่รจู้ ริง ๆ ว่า ก�ำลังปลูกสร้างในที่ดินของคนอื่น เช่น อาจเป็นเพราะเจ้าหน้าที่รังวัด คลาดเคลื่อน บุคคลที่ปลูกสร้างโดยสุจริตก็ไม่รื้อถอนออกไป แต่ต้อง จ่ายเงินค่าใช้ทดี่ นิ ให้แก่เจ้าของทีด่ นิ ข้างเคียง จากนัน้ ก็ให้ไปจดทะเบียน ภาระจ�ำยอมที่ส�ำนักงานที่ดิน และเมื่ออาคารหลังนั้นพังทลายลงไป เจ้าของที่ดินก็เรียกให้เพิกถอนการจดทะเบียนภาระจ�ำยอมได้
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
65
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 66
รุกล�้ำที่ดินข้างเคียง 3 เมื่อเกิดปัญหามีการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนรุกล�ำ้ เข้าไปในที่ดิน ข้างเคียงของคนอื่น กฎหมายจะให้ความคุ้มครองโดยพิจารณาจาก ความสุจริตของเจ้าของที่ดินผู้ปลูกสร้าง ซึ่งถ้าหากเป็นการปลูกสร้าง รุกล�ำ้ เข้าไปในทีด่ นิ ข้างเคียงโดยไม่สจุ ริต เจ้าของทีด่ นิ ทีถ่ กู รุกล�้ำก็สามารถ เรียกให้ผ้ปู ลูกสร้างรุกล�้ำรือ้ ถอนเฉพาะส่วนทีร่ กุ ล�้ำออกไปได้ และยังต้อง ปรับสภาพทีด่ นิ ให้กลับสูส่ ภาพเดิมด้วย โดยค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ ในการรือ้ ถอน ผู้รกุ ล�ำ้ จะต้องจ่ายเองทัง้ สิน้ ส่วนปัญหาว่าปลูกสร้างรุกล�ำ้ โดยสุจริตหรือ ไม่นั้นตัดสินกันยาก แต่ก็มีข้อสังเกตว่าถ้าผู้ปลูกสร้างไม่ยอมรังวัดที่ดิน สอบแนวเขตก่อนปลูกสร้าง พูดง่าย ๆ ก็คือ ประมาทเลินเล่อ แล้วจะมา อ้างว่าตนเองสุจริตก็คงล�ำบาก
66
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 67
อายุ 17 ปี แต่งงานได้ ในสมั ย ก่ อ นคนไทยนิ ย มแต่ ง งานกั น ตั้ ง แต่ เ ยาว์ วั ย เด็ ก อายุ 14 - 15 ปี ก็สามารถแต่งงานกันได้แล้ว ต่อมาเมือ่ มีการประกาศใช้ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ก็มีการขยับปรับเกณฑ์อายุขั้นต�่ำเป็นชาย 17 ปี หญิง 15 ปี จนกระทั่งปัจจุบันกฎหมายได้ก�ำหนดอายุขั้นต�่ำ 17 ปี ทั้งชายและหญิงเท่ากัน อย่างไรก็ตาม หากมีเหตุจำ� เป็น เช่น หญิงอายุ ต�่ำกว่า 17 ปีเกิดตั้งครรภ์ อย่างนี้ก็สามารถร้องต่อศาลให้มีการสมรส ก่อนอายุครบ 17 ปีได้ ทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดนัน้ เป็นข้อกฎหมาย แต่ในความ เป็นจริง ณ ปัจจุบันดูเหมือนว่าอายุเฉลี่ยของการสมรสจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ คือ รอจนกว่าจะมีหลักฐานการงานทีม่ นั่ คง อายุ 30 เศษ ๆ จึงจะแต่งงาน มีครอบครัวกัน
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
67
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 68
สินส่วนตัว 1 สินส่วนตัวนั้นคือ ทรัพย์สินที่กฎหมายจัดว่าเป็นของสามีหรือ ของภรรยาคนใดคนหนึ่งเท่านั้น ไม่ใช่ของที่ทั้งคู่มีกรรมสิทธิ์ร่วมกัน คนละครึ่ง อย่างเช่น กรณีสินสมรส สินส่วนตัวนั้นปกติก็คือ ทรัพย์สิน ที่มีอยู่แล้วก่อนสมรส แต่ส�ำหรับทรัพย์สินบางอย่างที่แม้จะไม่ได้มา ในระหว่างสมรสแต่กไ็ ด้มาจากการรับมรดก หรือมาจากการให้โดยเสน่หา เหล่านีจ้ ดั ว่าเป็นสินส่วนตัว เป็นต้นว่า หลังจากทีแ่ คทและกานจดทะเบียน สมรสกัน แคทได้รับบ้านเป็นมรดกจากคุณอาที่เสียชีวิต หรือกานได้รับ รถเบนซ์คันใหม่มาจากคุณพ่อของกาน ทั้งบ้านของแคทและรถยนต์ของ กานได้มาจากมรดกและเป็นการให้โดยเสน่หา แม้ว่าจะได้มาภายหลัง การสมรส แต่ก็ถือว่าเป็นสินส่วนตัวไม่ใช่สินสมรส
68
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 69
สินส่วนตัว 2 ทรัพย์สินบางอย่าง เช่น ทรัพย์สินที่ได้มาจากมรดก หรือจาก การให้โดยเสน่หา แม้จะได้มาในระหว่างสมรส แต่กฎหมายก็จัดว่าเป็น สินส่วนตัวไม่ใช่สนิ สมรส พอฟังเช่นนี้ สมหญิงซึง่ เพิง่ จะถูกรางวัลทายผล ฟุตบอลโลก โดยการส่งไปรษณียบัตรไปทายผลและชิงรางวัลได้เงิน 3 ล้านมาหยก ๆ ก็เลยเกิดความสงสัยว่าเงิน 3 ล้านนี้ จัดว่าได้มาเพราะ การให้โดยเสน่หาหรือไม่ ถือเป็นสินส่วนตัวหรือไม่ ค�ำตอบก็คือ เป็นการ ได้มาเพราะชิงรางวัลมิใช่การให้โดยเสน่หา ดังนั้น เงิน 3 ล้านนี้จึงเป็น สินสมรสระหว่างสมหญิงกับสามี ทั้งคู่เป็นเจ้าของร่วมกัน แม้ว่าสามีจะ ทายผลไม่ถูกเลยก็ตาม
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
69
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 70
สินส่วนตัว 3 สินส่วนตัวนั้นคือ ทรัพย์สินที่กฎหมายจัดว่าเป็นของสามีหรือ ของภรรยาคนใดคนหนึ่งเท่านั้น ไม่ใช่ของที่ทั้งคู่มีกรรมสิทธิ์ร่วมกัน คนละครึ่ ง อย่ า งเช่ น กรณี สิ น ส่ ว นตั ว ได้ แ ก่ ทรั พ ย์ สิ น ที่ ส ามี ห รื อ ภรรยาที่มีอยู่ก่อนสมรส ข้าวของเครื่องใช้ส่วนตัว เสื้อผ้า เครื่องประดับ ตามควรทรัพย์สินที่ได้มาจากการรับมรดกหรือการให้โดยเสน่หา และ ประการสุดท้าย ทรัพย์ที่เคยให้กันไว้เป็นของหมั้น อันที่จริงของหมั้น เป็นของทีใ่ ห้แก่กนั ไว้เป็นสัญญาว่าจะสมรส เมือ่ สมรสแล้วก็ถอื ว่าครบถ้วน มาทวงของหมั้น ไม่ ไ ด้ จึ ง ถื อ ว่ า เป็ น ทรั พ ย์ สิน ของภรรยาที่มีอ ยู ่ แ ล้ ว ก่อนสมรส จัดว่าเป็นสินส่วนตัวประเภทหนึ่งของฝ่ายภรรยา
70
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 71
การจัดการสินส่วนตัว สินส่วนตัวของสามีก็เฉพาะสามีเท่านั้นที่เป็นเจ้าของ เฉพาะสามี เท่านัน้ ทีส่ ามารถจัดการทรัพย์สนิ ได้ ตามกฎหมายแล้วภรรยาไม่สามารถ เข้ามามีส่วนเกีย่ วข้องด้วยได้ เช่น ก่อนแต่งงานสมชายมีทดี่ นิ ทีเ่ ชียงใหม่ หลังจากแต่งงานแล้ว หากสมชายจะขาย ให้เช่า โอนให้หลวง สมชาย ก็สามารถกระท�ำได้เพียงล�ำพัง ไม่จ�ำเป็นต้องไปขอความยินยอมจาก ภรรยา ดังเช่นทรัพย์สินที่เป็นสินสมรส และก็มีอ�ำนาจฟ้องร้องคดีที่ เกีย่ วกับสินส่วนตัวได้โดยล�ำพัง ภรรยาไม่สามารถเข้ามามีสว่ นเกีย่ วข้องได้ แต่ที่ว่าไปนั้นก็เป็นข้อกฎหมาย แต่ในชีวิตจริงแบบไทย ๆ ลองสามี คนไหนตัดสินใจท�ำอะไรเอง ไม่ปรึกษาภรรยา ผู้บงั คับบัญชาประจ�ำบ้าน แล้วละก็ มีปัญหาแน่ ๆ
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
71
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 72
สินสมรส 1 มีอุทาหรณ์เกี่ยวกับสินสมรสมาเล่าสู่กันฟัง หลังจากสมชาย จดทะเบียนสมรสกับสมหญิงได้ประมาณ 3 ปี ก็เกิดเบื่อหน่ายเรื่อง ทางโลก ปลีกวิเวกไปบวชพระ จ�ำวัดในวัดป่า แต่ก็ไม่ได้หย่าร้างกับ สมหญิงให้ถกู ต้อง ระหว่างนัน้ สมหญิงท�ำมาค้าขึน้ ได้กำ� ไรมา 10 ล้านบาท และก็ได้พบรักกับหนุ่มใหญ่ จึงต้องการหย่าขาดกับสมชายและสมรส ใหม่ คราวนีก้ เ็ กิดปัญหาว่าเงิน 10 ล้านบาท ซึง่ ได้มาระหว่างพระสมชาย จ�ำวัดอยู่นั้นเป็นสินสมรสหรือไม่ ค�ำตอบก็คือ เงิน 10 ล้านบาท ถือเป็น สินสมรสเพราะได้มาระหว่างสมรส แม้ว่าทั้งคู่จะแยกกันอยู่ ในทาง กฎหมายเมื่ อ ไม่ ไ ด้ มี ก ารจดทะเบี ย นหย่ า ให้ ถู ก ต้ อ ง ก็ย่อมถือว่ายังเป็นสามีภรรยากัน
72
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 73
สินสมรส 2 โดยปกติเมื่อมีการยกทรัพย์สินให้แก่สามีหรือภรรยา หรือเป็น กรณีที่สามีหรือภรรยาได้รับมรดกตกทอดมา แม้รู้ว่าทรัพย์สินดังกล่าว จะได้มาระหว่างสมรส แต่กฎหมายก็ถอื ว่าทรัพย์สนิ ชิน้ นัน้ เป็นสินส่วนตัว ของสามีหรือภรรยาฝ่ายทีไ่ ด้รบั ไม่ใช่สนิ สมรสซึง่ ทัง้ คู่เป็นเจ้าของร่วมกัน เป็นต้นว่า สมหญิงได้รับมรดกที่ดิน 2 ไร่ ในระหว่างสมรส ที่ดินนั้น เป็นของสมหญิงแต่ผู้เดียว ไม่ใช่สินสมรส อย่างไรก็ตาม หากผู้ให้หรือ เจ้าของมรดกได้ระบุไว้ในหนังสือให้ หรือในพินัยกรรมว่าให้ทรัพย์สินนั้น เป็นสินสมรส เช่น พ่อของสมหญิงยกรถยนต์ให้แก่สมหญิงโดยท�ำเป็น หนังสือระบุว่า ให้เป็นรถของสมหญิงและสามี เช่นนี้ รถยนต์ก็ถือเป็น สินสมรสของทั้งคู่
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
73
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 74
สินสมรส 3 สินส่วนตัวนัน้ ปกติ ได้แก่ ทรัพย์สินที่คู่สมรส ได้ ม าในระหว่ า งสมรส รวมทั้ ง ดอกผลของสิ น ส่วนตัว กฎหมายก็จัดว่า เป็นสินสมรสประเภทหนึง่ เหมื อ นกั น เป็ น ต้ น ว่ า ก่ อ นแต่ ง งานสมหญิ ง มีบ้านหลังหนึ่ง ซึ่งหลังจากแต่งงานแล้วสมหญิง ย้ายไปอยู่กับสามี จึงได้ให้คนอื่นเช่าบ้านหลังนั้น ได้ ค ่ า เช่ า ปี ล ะ 100,000 บาท ในทางกฎหมาย บ้านหลังนีถ้ อื เป็นสินส่วนตัวของสมหญิง แต่สำ� หรับ เงินค่าเช่า 100,000 บาท ที่ได้มาในระหว่างสมรส ถือว่าเป็นสินสมรส ที่ทั้งสมหญิงและสามีเป็นเจ้าของร่วมกันคนละครึ่ง แต่ส�ำหรับค่าใช้จ่าย ต่าง ๆ เช่น ค่าซ่อมแซมบ้าน ค่าภาษีโรงเรือนเหล่านี้ สมหญิงสามารถ หักออกจากเงินส่วนในสินสมรสได้
74
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 75
การจัดการสินสมรส 1 โดยทั่ ว ไปสามี ห รื อ ภรรยา เพี ย งคนเดี ย วก็ ส ามารถจั ด การ ทรั พ ย์ สิ น ที่ เ ป็ น สิ น สมรส จะ จ�ำหน่าย จ่าย โอน ให้ยืม จัดการ อย่างไรก็ได้ ไม่จำ� เป็นต้องขอความ ยินยอมจากอีกฝ่ายหนึ่งเสียก่อน อย่ า งไรก็ ต าม การท� ำ สั ญ ญา บางอย่างซึ่งเกี่ยวพันกับสินสมรส หรื อ หากสิ น สมรสนั้ น เป็ น ทรั พ ย์ ทีม่ ีค่าจ�ำพวกอสังหาริมทรัพย์ เช่น ที่ดนิ อาคาร บ้านเรือน หากปล่อยให้ คูส่ มรสฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ จัดการไปได้โดยล�ำพัง ก็อาจจะเกิดความเสียหาย จนไม่ อ าจแก้ ไ ขกั น ในภายหลั ง ได้ ดั ง นั้ น กฎหมายจึง ก�ำ หนดไว้ ว ่ า การท�ำนิติกรรมสัญญาส�ำคัญ ๆ เช่น การขายที่ดินสินสมรส การจ�ำนอง การให้กยู้ มื เงิน จะต้องได้รบั ความยินยอมจากอีกฝ่ายเสียก่อน ซึง่ ติดตาม รายละเอียดต่าง ๆ ได้ในตอนต่อไป
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
75
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 76
การจัดการสินสมรส 2 การจั ด การสิ น สมรสนั้ น ปกติ ต ้ อ งถื อ ว่ า คู ่ ส มรสทั้ ง สามี และภรรยาสามารถจัดการได้โดย ล�ำพัง เว้นแต่เป็นสัญญาส�ำคัญ ๆ ที่เกี่ยวกับสินสมรส อาทิ การท�ำ สัญญาประนีประนอมยอมความ การมอบข้ อ พิ พ าทให้ อ นุ ญ าโต ตุ ล าการวิ นิ จ ฉั ย แทนการน�ำ คดี ไปฟ้องร้องต่อศาล หรือแม้แต่การน�ำทรัพย์สิน สินสมรสไปใช้เป็น หลักประกันตัวผู้ต้องหาหรือจ�ำเลยต่อพนักงานสอบสวน อัยการ หรือ ศาล สัญญาเหล่านี้ถือเป็นสัญญาส�ำคัญที่คู่สมรสจะขอความยินยอม จากอีกฝ่ายก่อนด� ำเนิน การ มิเ ช่ น นั้น อีก ฝ่ายอาจฟ้อ งร้อ งให้ศาล เพิกถอนสัญญาได้ แต่ที่สำ� คัญกว่ากฎหมายก็คือ คู่ชีวิตนั้นจ�ำเป็นต้อง ให้เกียรติและเคารพซึ่งกันและกัน การแอบไปท�ำสัญญาอะไรโดยล�ำพัง นั้นอาจกระทบต่อความสุขของชีวิตคู่ได้
76
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 77
ชื่อสกุลภายหลังคู่สมรสตาย กฎหมายไทยในปัจจุบนั เปิดโอกาสให้คสู่ ามีภรรยาสามารถเลือกใช้ นามสกุลได้อย่างเสรี จะเลือกใช้ของสามี ของภรรยา หรือต่างคนต่างใช้ นามสกุลของตนต่อไปก็ได้ อย่างไรก็ดี หากคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ ถึงแก่ ความตายเป็นเหตุให้การสมรสดังกล่าวสิน้ สุดลง ตัวอย่างเช่น นายสมชาย หอมจับจิต สมรสกับนางสาวสมหญิง หอมสุดใจ ทั้งคู่ตกลงร่วมกันใช้ นามสกุลของสามี สมหญิงจึงเปลีย่ นนามสกุลเป็นหอมจับจิต ตามนามสกุล ของสมชาย ต่อมาสมชายถึงแก่ความตาย เช่นนี้ สมหญิงมีสองทางเลือกคือ จะใช้นามสกุลหอมจับจิตของอดีตสามีต่อไปก็ได้ และใช้ได้ตลอดไป ตราบเท่าที่สมหญิงไม่ได้สมรสใหม่ หรือสมหญิงอาจจะเลือกเปลี่ยน กลับไปใช้นามสกุลเดิมของตนก่อนการสมรสก็ได้
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
77
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 78
จดทะเบียนรับรองบุตร 1 การที่ชายหญิงอยู่กินกันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรสนั้น ในทาง กฎหมายไม่ถือว่าทั้งคู่เป็นสามีภรรยากัน ดังนั้น บุตรที่เกิดมาย่อมเป็น บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของฝ่ายหญิง ไม่ถือว่าเป็นบุตรที่ชอบด้วย กฎหมายของฝ่ายชาย และล�ำพังการที่สามีไปแจ้งในสูติบัตร หรือระบุ ในทะเบี ย นบ้ า นว่ า เด็ ก ที่ เ กิ ด มาเป็ น บุ ต รของตน เพี ย งเท่ า นี้ ไ ม่ อ าจ ท�ำให้เด็กคนนั้นกลายเป็นบุตรที่ ชอบด้วยกฎหมายของฝ่ายชายได้ ทางออกหนึ่ ง ก็ คื อ ให้ บิ ด าไป จดทะเบียนรับรองบุตร ณ ทีว่ า่ การ อ�ำเภอ หรือทีท่ ำ� การเขต และถ้าให้ ดีกจ็ งู มือภรรยาและบุตรทัง้ สองคน ไปพร้อม ๆ กันเลย เพราะกฎหมาย จะก�ำหนดว่าบิดาจะจดทะเบียนรับ เด็กเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย ได้กต็ อ่ เมือ่ ได้รบั ความยินยอมจาก ตัวเด็กและมารดาเด็กด้วย
78
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 79
จดทะเบียนรับรองบุตร 2 การจดทะเบียนรับรองบุตรซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในกรณีที่บิดามารดา ของเด็กอยูก่ นิ กันโดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส มารดาของเด็กเป็นเมียน้อย ของคนทีเ่ ขามีคสู่ มรสโดยถูกต้องอยูแ่ ล้ว หรือการทีช่ ายหนุม่ ไปท�ำสาวท้อง แล้วไม่อยากแต่งงานอยู่กินฉันสามีภรรยา แต่ยังอยากแสดงความ รั บ ผิ ด ชอบในตั ว เด็ ก ที่ เ กิ ด มา ก็ ส ามารถจดทะเบี ย นรั บ รองบุ ต ร เพื่ อ ให้ ก ฎหมายรั บ รู ้ แ ละรั บ รอง สถานะความเป็ น พ่ อ ลู ก ได้ โดย ต้องให้ตัวเด็กและแม่เด็กยินยอม ด้วย ถ้าหากเด็กและแม่เด็กคัดค้าน หรือไม่แสดงความยินยอมออกมา อย่ า งชั ด แจ้ ง ให้ น ายทะเบี ย นรั บ รู ้ ก็ ไ ม่ มี ท างที่ จ ะจดทะเบี ย นรั บ รอง บุตรได้ เว้นเสียแต่ว่ามีค�ำพิพากษา ของศาลสั่งให้ชายผู้นั้นจดทะเบียน รับรองเด็กเป็นบุตรได้
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
79
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 80
จดทะเบียนรับรองบุตร 3 การจดทะเบียนรับรองบุตรซึ่งจะท�ำให้ชายผู้จดทะเบียนมีสถานะ เป็นบิดา และเด็กที่รับการจดทะเบียนมีสถานะเป็นบุตรที่ชอบด้วย กฎหมายของชายคนนั้ น จะเริ่ ม มี ผ ลทางกฎหมายนั บ แต่ วั น ที่ ไ ด้ จดทะเบี ย นกั บ เจ้ า พนั ก งานเป็ น ต้ น ไป ไม่ใช่มีผลย้อนหลังตั้งแต่วันที่เด็กคนนั้น เกิดมา โดยทั้งคู่ก็จะมีสิทธิหน้าที่ต่าง ๆ ในฐานะบิดากับบุตรต่อกันและกัน เช่น บุตรมีสิทธิใช้นามสกุลของบิดา มีสิทธิ ใช้สัญชาติไทยตามบิดา และตัวบิดาเอง ก็จะมีอำ� นาจปกครองบุตรเช่นกัน ทีส่ ำ� คัญ กฎหมายยังก�ำหนดต่อไปว่า เมื่อมีการ จดทะเบี ย นรั บ รองบุ ต รแล้ ว เกิ ด การ เปลี่ ย นใจจะมาถอนการจดทะเบี ย น รั บ รองบุ ต รในภายหลั ง มิ ไ ด้ เว้ น เสี ย แต่ว่าทั้งคู่ไม่ใช่พ่อลูกกันจริง ซึ่งก็ต้องมี การพิสูจน์ในชั้นศาลต่อไป
80
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 81
รับผิดร่วมกับบุตร 1 ทั้งกฎหมายและขนบธรรมเนียมไทย ต่างก�ำหนดให้บิดามารดา มีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดู ให้การศึกษาอบรม หรือแม้แต่ลงโทษบุตร ตามสมควรเพื่อว่ากล่าวสั่งสอนได้ หากบิดามารดาปล่อยปละละเลย ไม่อบรมบุตรผู้เยาว์ และเขาเกิดไปก่อความเสียหายกับผู้อนื่ บิดามารดา ย่อมหนีไม่พน้ ต้องรับผิดชอบ เป็นต้นว่า นายปืด๊ บุตรผูเ้ ยาว์ยงั ไม่มใี บขับขี่ แต่พ่อแม่ก็ปล่อยให้ขับรถไปมาตามท้องถนนโดยมิได้ห้ามปราม เมื่อปื๊ด ขับรถชนคนอื่นอันเป็นการกระท�ำละเมิด พ่อแม่ก็ต้องร่วมรับผิดชดใช้ ค่าเสียหายด้วย ยิ่งไปกว่านั้นหากปล่อยให้ปื๊ดเข้าแก๊งซิ่งเกะกะระราน ผูอ้ นื่ ย่อมถือว่าพ่อแม่ของปืด๊ มีความผิดตามพระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 เสี่ยงต่อโทษจ�ำคุกด้วย
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
81
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 82
รับผิดร่วมกับบุตร 2 บิดามารดานั้นมีหน้าที่ในการอุปการะเลี้ยงดูและสั่งสอนอบรม ให้บุตรเป็นคนดีของสังคม หากบุตรไปก่อความเดือดร้อนให้คนอื่น โดยบิดามารดาปล่อยปละละเลยไม่ท�ำหน้าที่นี้ละก็ บิดามารดาต้อง ร่วมรับผิดด้วย เป็นต้นว่า เฉลียวรักเด็กชายปื๊ดกับเด็กชายป๊อดลูกทั้ง สองของตนอย่างมาก อยากได้อะไรก็ตามใจไปหมด พอใกล้ชว่ งเทศกาล ออกพรรษา ปื๊ดกับป๊อดก็อ้อนวอนขอเล่นดอกไม้ไฟ เฉลียวก็ไปซื้อมาให้ ในระหว่างที่ปื๊ดกับป๊อดก�ำลังเล่นจรวดดอกไม้ไฟอย่างสนุกสนานอยู่ นัน้ เอง จรวดดอกหนึง่ ได้เกิดระเบิดพุง่ เข้าไปใส่สมหญิงเพือ่ นบ้านทีก่ �ำลัง ล้างจานอยู่เกิดเป็นแผลไฟไหม้บริเวณใบหน้า กรณีเช่นนี้ เฉลียวต้อง ร่วมรับผิดชดใช้ค่าเสียหายในฐานะละเมิดที่ปื๊ดกับป๊อดก่อขึ้นด้วย
82
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 83
ผู้ปกครอง 1 ในระหว่างที่คนเรายังเป็นผู้เยาว์ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ผู้ที่ปกครอง ดูแลเราปกติกค็ อื บิดามารดา แล้วท่านผูอ้ า่ นเคยสงสัยหรือไม่วา่ หากเกิด เหตุการณ์ที่ท�ำให้บิดามารดาไม่สามารถปกครองดูแลบุตรผู้เยาว์ได้ ใครจะมาท�ำหน้าทีต่ รงนีแ้ ทน เป็นต้นว่า ทัง้ บิดามารดาของผูเ้ ยาว์ไปเทีย่ ว ประเทศพม่า เกิดโชคร้ายต้องผจญกับพายุไต้ฝุ่นนากิส เสียชีวิตไปทั้ง สองคนเช่นนีย้ อ่ มไม่มคี นปกครองดูแลบุตรผูเ้ ยาว์ ทัง้ การอบรมเลีย้ งดู ให้ การศึกษา ก�ำหนดแหล่งที่อยู่หลับนอน ไปจนถึงการจัดการทรัพย์สิน ของผู้เยาว์ เมื่อเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้นจริง กฎหมายได้ก�ำหนด ให้ผเู้ ยาว์มผี ปู้ กครองแทนบิดา มารดา ซึ่ ง ปกติ มั ก จะเป็ น พี่ ป้า น้า อา ปู่ ย่า ตา ยาย เครือญาติ หรือบุคคลทีม่ คี วาม เกี่ยวพันกับตัวผู้เยาว์
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
83
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 84
ผู้ปกครอง 2 ถ้ า หากบิ ด ามารดาของ ผู ้ เ ยาว์ เ สี ย ชี วิ ต หรื อ เป็ น กรณี ที่บิดามารดาของผู้เยาว์ถูกถอน อ�ำนาจปกครองที่มีต่อบุตรผู้เยาว์ เพราะไม่ท�ำหน้าที่ปกครองดูแล ผู้เยาว์ ท�ำตัวส�ำมะเลเทเมา หรือ ประพฤติชั่วในประการอื่น ๆ ศาล ก็ จ ะตั้ ง ญาติ ค นใดคนหนึ่ ง ของ ผู้เยาว์ ท�ำหน้าที่เป็นผู้ปกครองผู้เยาว์ อ� ำนาจปกครองผู้เยาว์มีขึ้น เพื่อต้องการคุ้มครองผู้เยาว์ไม่ให้เสียเปรียบผู้อื่น เพราะผู้เยาว์ยังไม่ สามารถตัดสินใจในเรื่องส�ำคัญได้ด้วยตนเอง กฎหมายจึงก�ำหนดให้ ผูเ้ ยาว์ตอ้ งมีผปู้ กครอง แต่ความเป็นผูป้ กครองไม่ได้มอี ยูต่ ลอดไป เพราะ ความเป็นผู้ปกครองจะสิน้ สุดลงเมือ่ ผู้เยาว์บรรลุนติ ภิ าวะ หรือเมือ่ ผู้เยาว์ ถึงแก่ความตาย
84
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 85
ผู้ปกครอง 3 มีอุทาหรณ์มาเล่าสู่กันฟังคือ สมปองกับสมหญิงหย่าร้างกัน ตกลงให้บุตรอยู่ในความปกครองของสมหญิงแต่เพียงผู้เดียว โชคไม่ดี สมหญิงเกิดเสียชีวติ เช่นนีใ้ นทางกฎหมายอ�ำนาจปกครองก็กลับมาอยูท่ ี่ สมปองผู้เป็นบิดา อย่างไรก็ตาม เผอิญว่าสมปองกลายเป็นผู้ต้องขัง คดียาเสพติด ตอนนีอ้ ยูท่ เี่ รือนจ�ำบางขวาง บุตรผูเ้ ยาว์จงึ ต้องไปอาศัยอยู่ กับน้าสาว ในกรณีนี้น้าสาวก็สามารถร้องขอต่อศาลให้เพิกถอนอ�ำนาจ ปกครองบุตรผูเ้ ยาว์ของสมปองได้ และเมือ่ ผูเ้ ยาว์ไม่มผี ใู้ ช้อำ� นาจปกครอง เนือ่ งจากมารดาเสียชีวติ และบิดาก็ถกู ถอนอ�ำนาจปกครองไปแล้ว น้าสาว ก็สามารถร้องของต่อศาลขอแต่งตั้งตนเองเป็นผู้ปกครองผู้เยาว์ต่อไป
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
85
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 86
ชื่อสกุลของเด็กในอุปการะ เด็กบางคนเกิดมาอาภัพบ้าง ทั้งพ่อและแม่ต่างเสียชีวิตทั้งคู่ไม่มี ญาติอุปการะเลี้ยงดู บ้างก็ถูกพ่อแม่ทอดทิ้ง รัฐจึงมีหน้าที่ตามหลัก มนุษยธรรม น�ำเด็กเหล่านั้นไปอุปการะให้การศึกษาในสถานเลี้ยงเด็ก ก�ำพร้า บางครัง้ เด็กเหล่านีไ้ ม่มแี ม้แต่นามสกุล จะสืบเสาะหาญาติพนี่ อ้ ง ก็ไม่พบใคร ด้วยเหตุนี้ พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พ.ศ. 2505 จึงเปิดช่อง ให้ผู้อุปการะเลี้ยงดูเด็ก เจ้าของสถานพยาบาลสถานสงเคราะห์ หรือ สถานอุปการะเลี้ยงดูเด็ก สามารถจดทะเบียน ตั้ ง ชื่ อ สกุ ล ของเด็ ก ที่ อ ยู ่ ใ นความอุ ป การะหรื อ ความดูแลดังกล่าวได้ ในการนี้ อาจตั้งไว้หลาย นามสกุลก็ได้ และเมือ่ ใดก็ตามมีเด็กสัญชาติไทย ซึ่ ง ไม่ มี น ามสกุ ล เข้ า มาอยู ่ ใ นความดู แ ลของ สถานที่แห่งนั้น ก็สามารถเลือกก�ำหนดชื่อสกุล ให้แก่เด็กคนนั้นได้
86
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 87
คุณสมบัติผู้ปกครอง บุคคลทีจ่ ะเป็นผูป้ กครองคนอืน่ ได้นนั้ กฎหมายได้กำ� หนดคุณสมบัติไว้ด้วย ไม่ใช่ ใครก็ได้ที่จะเป็นผู้ปกครองของผู้เยาว์ได้ โดยง่าย บุคคลทีจ่ ะเป็นผูป้ กครองของผูเ้ ยาว์ ได้นั้น เบื้องต้นจะต้องบรรลุนิติภาวะแล้ว การตั้ ง ผู ้ ป กครองเพื่ อ ให้ ม าดู แ ลผู ้ เ ยาว์ ถ้าหากตัวเองเป็นผู้เยาว์อยู่ยงั เอาตัวไม่รอด จะไปดูแลคนอื่นได้อย่างไร ดังนั้น บุคคล ที่จะมาดูแลผู้เยาว์จึงจะต้องไม่เป็นผู้เยาว์ เสียเอง ส่วนข้อห้ามอืน่ ๆ ก็เช่น ต้องไม่เป็น คนไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความ สามารถ ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย หรือส�ำมะเลเทเมา มิเช่นนั้นแล้ว คงจะจัดการทรัพย์สินของผู้เยาว์ไม่ได้ รวมทั้งเป็นคนที่บิดามารดาที่ตาย ไปได้ระบุห้ามไว้ เป็นต้น
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
87
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 88
พรากผู้เยาว์ ผูป้ กครองมีอำ� นาจปกครอง ดูแลป้องกันผู้เยาว์ ให้ได้รับความ คุ้มครองและสวัสดิภาพที่ดี มิให้ มีอันตราย ดังนั้น ถ้าหากมีใคร พาผู ้ เ ยาว์ ที่ มี อ ายุ ไ ม่ เ กิ น 15 ปี ไปในที่ ท างต่ า ง ๆ โดยที่ บิ ด า มารดาหรือผู้ปกครองของผู้เยาว์ ไม่ทราบว่าไปไหนในช่วงเวลาใด เวลาหนึง่ การกระท�ำดังกล่าวย่อมเป็นการละเมิดต่ออ�ำนาจปกครองของ ผู้ปกครอง และแม้ว่าผู้เยาว์จะสมัครใจไปด้วย และมิได้มีการล่วงละเมิด ทางเพศ หรือกระท�ำช�ำเราต่อผู้เยาว์เลยก็ตาม แต่ก็ถือเป็นการพราก เด็ ก อายุ ไ ม่ เ กิ น 15 ปี จากผู ้ ป กครองโดยปราศจากเหตุ อั น สมควร อันเป็นการละเมิดต่อทั้งตัวผู้เยาว์และต่อตัวผู้ปกครอง อาจมีความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญาเสี่ยงต่อการติดคุก
88
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 89
บุตรบุญธรรม ท่านผูอ้ า่ นคงเคยได้ยนิ เรือ่ งการรับบุตรบุญธรรมมาบ้าง การรับบุตร บุญธรรมนั้นมีมาตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว เพราะความต้องการที่จะมีบุตร ของคนเราแตกต่างกัน บางคนมีบุตรไม่ตรงกับเพศที่ตนเองต้องการ เช่น ต้องการบุตรชายไว้สืบสกุล แต่กลับมีเฉพาะบุตรสาว หรือบางท่าน มีร่างกายไม่สมบูรณ์ไม่สามารถมีบุตรได้เลย เหล่านี้ท�ำให้เกิดความคิด ที่จะน�ำบุตรของผู้อื่นมาอุปการะเลี้ยงดูเป็นบุตรบุญธรรมของตนเอง ในตอนต่อ ๆ ไปจะได้สรุปสาระส�ำคัญของกฎหมายเกี่ยวกับผู้รับบุตร บุญธรรมให้ท่านผู้อ่านเป็นตอน ๆ ไป
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
89
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 90
ผู้รับบุตรบุญธรรม น่ า สงสารบางครอบครั ว ที่ มี ลูกมากและยากจน ส่งเสียเลี้ยงดู ลูกไม่ไหว จ�ำใจต้องยกเด็กให้เป็น บุตรบุญธรรมของคนอื่น กรณีเช่นนี้ ใครจะมีอำ� นาจปกครองเด็ก แน่นอนว่า เมื่อบิดามารดาได้ยกบุตรของตัวเอง ให้ไปเป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลอืน่ โดยถูกต้องตามกฎหมายแล้ว บิดา มารดาก็ จ ะหมดอ� ำ นาจปกครอง โดยปริ ย าย ผู ้ รั บ บุ ต รบุ ญ ธรรม นัน่ แหละทีจ่ ะเป็นผูม้ อี �ำนาจปกครอง เด็กคนนั้นแทน ส่วนตัวเด็กบุตรบุญธรรมก็จะมีสถานะเหมือนบุตรที่ชอบ ด้วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรมทุกประการ อ�ำนาจปกครองผู้เยาว์ ทีเ่ ป็นบุตรบุญธรรมก็เหมือนกับอ�ำนาจปกครองของบิดามารดา ซึง่ ก็จะมี ไปตลอดจนกว่าผู้เยาว์คนนั้นจะบรรลุนิติภาวะ
90
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 91
เงือ่ นไขการรับบุตรบุญธรรม การรับบุตรบุญธรรมมีเงื่อนไขหลายอย่าง ไม่เพียงแต่ผู้รับบุตร บุญธรรมจะต้องมีอายุ 25 ปีบริบูรณ์ และต้องมีอายุห่างจากผู้ที่จะเป็น บุตรบุญธรรมไม่น้อยกว่า 15 ปีแล้วเท่านั้น หากแต่การจดทะเบียนรับ บุตรบุญธรรมยังต้องได้รับความยินยอมจากบุคคลที่เกี่ยวข้องหลายคน ด้วย เป็นต้นว่าหากผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมมีอายุเกินกว่า 15 ปีบริบูรณ์ ซึ่งก็พอจะรู้ความสามารถตัดสินใจเรื่องต่าง ๆ ในชีวิตตนเองได้เช่นนี้ การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมก็จะต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าตัว เขาด้วย ว่าจะยอมไปเป็นบุตรบุญธรรมของคนอื่นหรือไม่ หรือยังอยาก ที่จะคงอยู่กับบิดามารดาโดยก�ำเนิดของตนเองต่อไป เป็นต้น
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
91
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 92
ฐานะบุตรบุญธรรม เมือ่ มีการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมแล้ว บุตรบุญธรรมก็มฐี านะ เหมือนกับบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของผู้รับบุตรบุญธรรมคนนั้น แต่ถ้า บุตรบุญธรรมมีบิดามารดาที่แท้จริงอยู่ หากว่าบิดามารดาเสียชีวิต ทิ้งมรดกไว้ คนที่เป็นบุตรบุญธรรมของคนอื่นก็ยังคงมีสิทธิไปรับมรดก ของบิดามารดาที่แท้จริง เพราะกฎหมายได้ก�ำหนดไว้ว่า บุตรบุญธรรม นั้นไม่สูญ เสียสิทธิหน้ า ที่ในครอบครัว ที่ได้ ถือ ก�ำ เนิดมา เพีย งแต่ว่า เมื่อมีการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมแล้ว อ�ำนาจปกครองของบิดา มารดาโดยก� ำ เนิ ด ก็ ห มดลงไป นั บ ตั้ ง แต่ วั น เวลาที่ เ ด็ ก คนนั้ น เป็ น บุตรบุญธรรมเท่านั้นเอง ดังนั้น ผู้ที่มาเป็นบุตรบุญธรรมก็สามารถ กลับไปรับมรดกเดิมของบิดามารดาที่แท้จริงได้
92
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 93
ผู้รับบุตรบุญธรรม ไม่มีสิทธิรับมรดก บุ ต รบุ ญ ธรรมก็ ถื อ ว่ า เป็ น บุ ต ร ที่ ช อบด้ ว ยกฎหมายของผู ้ รั บ บุ ต ร บุญธรรม ดังนั้น จึงมีสิทธิรับมรดกของ ผูร้ บั บุตรบุญธรรมได้ ในทางตรงกันข้าม ผู ้ รั บ บุ ต รบุ ญ ธรรมไม่ มี สิ ท ธิ รั บ มรดก ของบุตรบุญธรรม เพราะการรับบุตร บุญธรรมนั้นเป็นเรื่องของความเมตตา และความเสียสละ ผู้รับบุตรบุญธรรม ได้ รั บ ความสุ ข ทางใจจากการมี บุ ต ร บุญ ธรรมไปแล้ ว ไม่ ค วรหวั ง ผลจาก ประโยชน์ทรัพย์มรดกของตัวบุตรบุญธรรมอีก หากทางกฎหมายปล่อย ให้ผรู้ บั บุตรบุญธรรมสามารถรับมรดกจากบุตรบุญธรรมได้ ก็อาจจะท�ำให้ วัตถุประสงค์การรับบุตรบุญธรรมนัน้ เปลีย่ นแปลงจากความเมตตาสงสาร และความเสียสละ กลายเป็นการรับบุตรบุญธรรมเพื่อต้องการมรดก กฎหมายจึงได้ห้ามข้อนี้ไว้
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
93
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 94
ผู้รับบุตรบุญธรรม เรียกทรัพย์คืน บุตรบุญธรรมที่ไม่มีคู่สมรสและไม่มี ผู้สืบสันดาน หากได้ตายลงก่อนผู้รับบุตร บุญธรรม ตัวผูร้ บั บุตรบุญธรรมก็มสี ทิ ธิทจี่ ะ เรียกร้องเอาทรัพย์สินที่ได้เคยให้ไว้แก่บุตร บุญธรรมคนนั้นคืนจากกองมรดกของบุตร บุญธรรมได้ เป็นต้นว่า ผู้รับบุตรบุญธรรม ได้ ย กที่ ดิ น ย่ า นสี ล มให้ บุ ต รบุ ญ ธรรมที่ เป็นโสด ต่อมาบุตรบุญธรรมตายลงผู้รับ บุ ต รบุ ญ ธรรมก็ ส ามารถเรี ย กเอาที่ ดิ น แปลงนั้ น คื น ได้ แต่ ทั้ ง นี้ ต้ อ งภายหลั ง จากการช�ำระหนี้ของกองมรดกนั้นเสร็จสิ้นแล้ว เช่น ถ้าบุตรบุญธรรม มีหนี้อยู่ 10 ล้านบาท โดยมีที่ดินผืนนี้เป็นมรดกเพียงอย่างเดียว ก็ต้อง เอาที่ดินนี้ไปขายเอาเงินไปช� ำระหนี้ซะก่อน หากมีเงินเหลือเท่าไหร่ ผู้รับบุตรบุญธรรมจึงจะมาเรียกร้องเอาคืนจากกองมรดกได้ ในทาง ตรงกันข้าม หากบุตรบุญธรรมมีคู่สมรสหรือมีผู้สืบสันดานอยู่แล้ว กรณี เช่นนี้ ผู้รับบุตรบุญธรรมไม่สามารถเรียกร้องเอาที่ดินคืนได้
94
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 95
การจัดการสินทรัพย์ สิทธิหน้าที่ระหว่างบิดามารดากับบุตรที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่งคือ การจัดการทรัพย์สนิ ของบุตรในระหว่างทีบ่ ตุ รเป็นผูเ้ ยาว์ ไม่วา่ จะเป็นทีด่ นิ บ้าน เครื่องประดับ เงินทอง ข้าวของเครื่องใช้ของบุตร บิดามารดาย่อม มีอ�ำนาจบ�ำรุง สงวน รักษา ท�ำให้งอกเงย เพิ่มพูนได้ประโยชน์ยิ่งขึ้น รวมทัง้ จ�ำหน่าย จ่ายโอน หรือแม้แต่ฟอ้ งร้องต่อสูค้ ดีความต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับ ทรัพย์สินนั้นก็ได้ แต่ทั้งนี้ ต้องจัดการทรัพย์สินด้วยความระมัดระวัง เฉกเช่นวิญญูชนพึงกระท�ำเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของผูเ้ ยาว์นนั้ จะมาจัดการ ทรัพย์สินตามใจของตนอย่างไม่ระมัดระวังไม่ได้
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
95
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 96
การจัดการทรัพย์สิน ที่ต้องขอศาลก่อน บิ ด ามารดานั้ น มี อ� ำ นาจจั ด การทรั พ ย์ สิ น ของบุ ต รผู ้ เ ยาว์ ทั้ ง การจ�ำหน่ายจ่ายโอน บ�ำรุงรักษา หรือหาผลประโยชน์ได้โดยล�ำพัง แม้วา่ บุตรจะไม่รู้เห็นยินยอมด้วย สัญญาต่าง ๆ ที่ท�ำ ก็ผูกพันทรัพย์สินของ บุตรผูเ้ ยาว์ แต่ดอกผลจากการจัดการทรัพย์สนิ ดังกล่าวก็ถอื เป็นของบุตร และต้องน�ำมาใช้เพื่อผลประโยชน์ของบุตรผู้เยาว์เป็นหลัก อย่างไรก็ดี การจัดการทรัพย์สนิ บางอย่างมีความส�ำคัญมาก เป็นต้นว่า การขายทีด่ นิ ของบุตรผู้เยาว์ การเอาเงินของผู้เยาว์ไปให้คนอื่นกู้ อย่างนี้บิดามารดา จะท�ำไปโดยพลการไม่ได้ และแม้จะขอความยินยอมจากบุตรผู้เยาว์ ก็ไม่ได้ แต่จะต้องมาขออนุญาตจากศาลเท่านั้นจึงจะด�ำเนินการได้
96
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 97
การจัดการทรัพย์สินบาง อย่างต้องขอต่อศาลก่อน ผู้ปกครองมีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูให้การศึกษาแก่ผู้เยาว์ มีสถานะ เช่นเดียวกับบิดามารดา และยังเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ ในการให้ความยินยอมหากผู้เยาว์จะท�ำนิติกรรมต่าง ๆ อย่างไรก็ดี ในการจัดการเกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้เยาว์ที่ส�ำคัญ ๆ เช่น การขายที่ดิน ของผู้เยาว์ การน�ำไปให้บุคคลอื่นไปกู้ยืม หรือการน�ำบ้านของผู้เยาว์ ไปให้บุคคลอื่นเช่าเกิน 3 ปี เหล่านี้ กฎหมายก�ำหนดไว้ว่าผู้ปกครอง จะจัดการได้กต็ อ่ เมือ่ ได้รบั อนุญาตจากศาลก่อน จะฝ่าฝืนหรือท�ำเลยไม่ได้ และหากฝ่าฝืนจัดการไปโดยไม่ได้รับอนุญาต ก่อให้เกิดความเสียหาย แก่ทรัพย์สินของผู้เยาว์ หรือผู้ปกครองกระท�ำโดยทุจริตก็เป็นเหตุให้ถูก ถอนอ�ำนาจปกครองได้เช่นกัน
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
97
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 98
ค่าอุปการะเลี้ยงดู ค่ า อุ ป การะเลี้ ย งดู ที่ ก ฎหมายก� ำ หนดให้ บุคคลต่าง ๆ จ่ายให้แก่กันนั้น ไม่ได้จำ� กัดอยู่เฉพาะ ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการซื้ อ หาอาหารมาบริ โ ภคเท่ า นั้ น แต่ยงั ครอบคลุมไปถึงค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับทีอ่ ยูอ่ าศัย เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค ค่ารักษา พยาบาล ค่าเล่าเรียน ค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ด ประจ�ำวัน ที่พอเหมาะพอควรแก่ฐานะ ของบุคคลนั้น ๆ ด้วย ซึ่งปกติบุคคล ที่จะมีสิทธิได้รับค่าอุปการะเลี้ยงดูมีอยู่ ด้วยกัน 4 จ�ำพวก อันได้แก่ ระหว่างสามี กับภรรยา ระหว่างบิดามารดากับบุตร ระหว่ า งผู ้ ป กครองกั บ ผู ้ อ ยู ่ ใ นปกครอง และผู ้ รั บ บุ ต รบุ ญ ธรรมกั บ ตัวบุตรบุญธรรม ส่วนบุคคลอื่น ๆ แม้จะเป็นญาติแต่ก็ไม่มีหน้าที่ ตามกฎหมาย ต้องอุปการะเลี้ยงดูกันและกัน
98
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 99
ทายาทมี 2 ประเภท เมื่อบุคคลใดถึงแก่ความตาย สิทธิ ทรัพย์สิน และหนี้สินต่าง ๆ ทีเ่ ขามีกจ็ ะกลายเป็นทรัพย์มรดกตกทอดแก่ทายาทโดยทันที โดยสถานะ ความเป็นทายาทนี้มีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ ทายาทโดยผลของ กฎหมาย เรียกกันว่า ทายาทโดยธรรม อันได้แก่ ผู้สืบสันดาน คือ ลูก หลาน เหลน ลื้อ บิดามารดา พี่น้อง ทั้งที่พ่อแม่เดียวกัน และที่ต่างพ่อ หรือต่างแม่กัน ลุงป้า น้าอา ปู่ย่า ตายาย กับอีกประเภทหนึ่งคือ ทายาท ตามเจตนาของผูต้ าย หรือทีเ่ รียกกันว่า ผูร้ บั พินยั กรรม ทายาทในประเภท ที่สองนี้อาจจะเป็นใครก็ได้ที่เจ้ามรดกระบุชื่อไว้ในพินัยกรรมก่อนที่ เจ้ามรดกจะถึงแก่ความตาย โดยไม่ต้องค�ำนึงว่าผู้รับพินัยกรรมจะเป็น ญาติโกโหติกากับเจ้ามรดกหรือไม่ ไม่ใช่ประเด็นส�ำคัญ
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
99
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 100
ทายาท 1 เมื่อบุคคลใดถึงแก่ความตาย ทรัพย์สินของบุคคลนั้นก็จะกลาย มาเป็นมรดกตกทอดแก่ทายาท กฎหมายได้จ�ำแนกผู้เป็นทายาทที่มีสิทธิ รับมรดกของผู้ตายออกเป็น 2 ประเภท คือ ผู้เป็นทายาทตามกฎหมาย เรียกกันว่า ทายาทโดยธรรม และผูเ้ ป็นทายาทตามประสงค์ของเจ้ามรดก เรียกว่า ผู้รับพินัยกรรม ในระหว่างทายาท 2 ประเภทนี้ ต้องถือว่าผู้รับ พินยั กรรมมีสทิ ธิดกี ว่าทายาทโดยธรรม เป็นต้นว่า หากพินยั กรรมระบุยก แหวนเพชรให้แก่ใครคนคนนั้นก็จะได้ไป ทายาทโดยธรรมคนอื่น ๆ ไม่มี ส่วนแบ่งใด ๆ ในแหวนเพชรวงนี้ ยิ่งไปกว่านั้น หากเจ้ า ของมรดกท� ำ พิ นั ย กรรมยกทรั พ ย์ สิ น ทัง้ หมดให้แก่บคุ คลหนึง่ ทายาทโดยธรรมคนอืน่ ๆ ก็จะไม่มีสิทธิได้รับมรดกเลยแม้แต่น้อย
100
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 101
ทายาท 2 เมื่ อ บุ ค คลใดถึ ง แก่ ค วามตาย ทรั พ ย์ สิ น ของบุ ค คลนั้ น ก็ จ ะ กลายมาเป็นมรดกตกทอดแก่ทายาท ส่วนปัญหาว่าใครบ้างที่เป็น ทายาท และทายาทแต่ละคนจะมีสว่ นแบ่งเท่าใดนัน้ กฎหมายได้ก�ำหนด หลักเกณฑ์รายละเอียดไว้แล้ว หลักการง่าย ๆ ก็คอื ถ้าเจ้าของมรดกผูต้ าย ได้ท�ำพินัยกรรมไว้ การตกทอดของทรัพย์มรดกก็จะเป็นตามพินัยกรรม ถ้าพินัยกรรมระบุให้ยกทรัพย์สินทั้งหมดให้แก่ใครก็จะเป็นไปตามนั้น โดยไม่ต้องสนใจว่าผู้รับมรดกตามพินัยกรรมจะเป็น ญาติโกโหติกากับเจ้ามรดกผู้ตาย หรือไม่ อย่างไรก็ตาม ถ้าเป็นกรณี ที่ผู้ตายไม่ได้ทำ� พินัยกรรมไว้ หรือ ท�ำพินยั กรรมยกสินทรัพย์บางส่วน ให้แก่บางคน และไม่ได้บอกว่า ส่วนที่เหลือจะท�ำอย่างไร กรณี เช่นนี้ ทรัพย์สินที่มีเหลืออยู่ก็จะ ตกทอดแก่ทายาทตามกฎหมาย หรือทายาทโดยธรรม
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
101
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 102
ทายาทโดยธรรม 1 ทายาทโดยธรรมนั้นเป็นกลุ่มบุคคล ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ใ กล้ ชิ ด กั บ เจ้ า มรดก กฎหมายจึงก�ำหนดให้บุคคลเหล่านี้อาจ มีสิทธิรับมรดกของผู้ตาย ส่วนปัญหาว่า จะได้มรดกจริงหรือไม่ และจะได้ส่วนแบ่ง เท่าใด ยังคงมีหลักเกณฑ์ปลีกย่อยที่ต้อง พิจารณากันอีกมากมายทีเดียว เป็นต้นว่า ทายาทโดยธรรมประเภทญาติ กลุ่มญาติ ที่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิตใกล้ชิดว่า จะเป็นกลุม่ บุคคลทีไ่ ด้มรดก หรือทีเ่ รียกกัน ติดปากในบรรดานักกฎหมายว่า หลักญาติ ชิดตัดญาติหา่ ง ตัวอย่างเช่น นักกฎหมายจะระบุลำ� ดับชัน้ ญาติผสู้ บื สันดาน เช่น ลูกเจ้ามรดก และชั้นพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน เช่น น้องเจ้า มรดกไว้ แต่ก็ถือว่าผู้สืบสันดานมีสิทธิดีกว่า ดังนั้น หากลูกของผู้ตาย ยังคงมีชีวิตอยู่ น้องของผู้ตายจะไม่มีสิทธิได้รับมรดกในฐานะทายาท โดยธรรมเลย
102
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 103
ทายาทโดยธรรม 2 ทายาทโดยธรรมหรื อ กลุ ่ ม บุ ค คลที่ ก ฎหมายถื อ ว่ า อาจมี สิ ท ธิ รับมรดกของผูต้ าย แบ่งออกเป็น 2 จ�ำพวก คือ ทายาทโดยธรรมประเภท ญาติของเจ้ามรดก และทายาทโดยธรรมประเภทคู่สมรสของเจ้ามรดก ในหมูท่ ายาทโดยธรรมทีเ่ ป็นญาติ กฎหมายได้ก�ำหนดล�ำดับชัน้ ของญาติ ไว้ 6 ล�ำดับ คือ 1. ผู้สืบสันดาน อันได้แก่ ลูก หลาน เหลน ลื้อ 2. บิดา มารดา 3. พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 4. พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมแต่ มารดาเดียวกัน 5. ปู่ ย่า ตา ยาย 6. ลุง ป้า น้า อา ส�ำหรับญาติคนอื่น ๆ เช่น พ่อของปู่ หรือปูท่ วด แม่ยาย หรือแม่ของภรรยา ไม่วา่ ในความเป็นจริง จะใกล้ชิดสนิทสนมกับ เจ้ามรดกเพียงใด ก็ไม่ใช่ ทายาทโดยธรรมที่จะได้ รั บ มรดกโดยผลแห่ ง กฎหมาย
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
103
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 104
สิทธิใช้ชื่อสกุล บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายย่อมมีสิทธิที่จะใช้นามสกุลของบิดาหรือ มารดาของตนได้ โดยไม่ได้ตดั สิทธิทจี่ ะใช้นามสกุลของบุคคลอืน่ นอกจาก นามสกุลของบิดามารดา หรือจะตั้งนามสกุลใหม่เป็นของตนเองก็ได้ แต่ทกี่ ฎหมายก�ำหนดไว้เช่นนี้ ก็เพือ่ รับรองสิทธิของบุตรทีใ่ ช้นามสกุลของ บิดามารดา และแม้วา่ บุตรจะประพฤติตน ชัว่ ช้าสามานย์ประการใด บิดามารดาก็ไม่ สามารถห้ามการใช้นามสกุลของบุตรได้ เฉพาะบุตรด้วยกฎหมายเท่านั้นจึงมีสิทธิ ใช้นามสกุลของบิดา แต่หากบิดาไม่ปรากฏ ก็ มี สิ ท ธิ ใ ช้ น ามสกุ ล ของมารดา และ สิทธิ์นี้ก็มีอยู่ตลอดไป ภายหลังแม้บิดา จะหย่าขาดจากมารดาแล้ว แต่บุตรก็ยัง คงมี สิ ท ธิ ใ ช้ น ามสกุ ล ของบิ ด าต่ อ ไปได้ ดังเดิม
104
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 105
ขายลูกกิน 1 ได้รบั ฟังค�ำบอกเล่ามาจากปากคนทางเหนือคนหนึง่ ว่า ในหมูบ่ า้ น ของเขานั้นมีค่านิยมส่งลูกสาว อายุ 15 - 16 ปี มาหาเงินในกรุงเทพฯ ยอมล�ำบากกลืนน�้ำตา สละศักดิ์ศรีของลูกผู้หญิงเพื่อให้พ่อแม่สบาย ผ่านไป 7 - 8 ปี มีบ้านใหม่บ้านหลังใหญ่ มีรถเครื่องขี่ มีทีวี ตู้เย็น มีเฟอร์นิเจอร์ มีเงินใช้ พอลูกสาวแก่ตัวท�ำงานหาเงินไม่ได้แล้ว ก็กลับ มาอยู่ที่บ้านพร้อม ๆ กับโรคร้าย ที่รอค�ำ ๆ เดียว ค�ำว่า “ตาย” ดังนั้น กฎหมายป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี จึงมุง่ ทีจ่ ะหยุดพฤติกรรม และปรั บ เปลี่ ย นค่ า นิ ย มเหล่ า นี้ โดยได้ ก� ำ หนดว่ า บิดา มารดา ผูป้ กครองของคนทีม่ อี ายุไม่เกิน 18 ปี ไม่วา่ หญิงหรือชายที่รู้เห็นเป็นใจให้ นายหน้าเป็นธุระจัดหาชักชวน ให้ ค นคนนั้ น ไปค้ า ประเวณี มีความผิดถึงขั้นติดคุก
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
105
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 106
ขายลูกกิน 2 ใ น ต อ น ที่ แ ล ้ ว ไ ด ้ ย�้ ำ สภาพปั ญ หาสั ง คมไทยใน ทางเหนือที่บางส่วนมีค่านิยม ผิ ด ๆ ส่ ง ลู ก มาหาเงิ น ด้ ว ย การขายร่างกายในเมือง โดย กฎหมายได้ ก� ำ หนดให้ พ ่ อ แม่ ที่ รู ้ เ ห็ น เป็นใจยินยอมให้เอเย่นต์นายหน้าตกเขียวลูกหลาน ของตนที่ยังมีอายุไม่ถึง 18 ปี ชักพาให้ไปค้าประเวณี มีความผิดต้ องโทษจ�ำคุกตั้ง แต่สี่ปีถึง ยี่สิบปี และ ปรับตั้งแต่แปดหมื่นบาทถึงสี่แสนบาท แค่นั้นยังไม่พอ พ่ อ แม่ ที่ มี ลู ก ขายบริ ก ารทางเพศโดยที่ ต นก็ เ ห็ น ดี เ ห็ น งามด้ ว ยนั้ น ยังอาจถูกศาลสั่งเพิกถอนอ�ำนาจปกครองได้ น่าสลดใจจริง ๆ ส�ำหรับ คนบางคนที่เห็นเงินทองข้าวของส�ำคัญกว่าจิตใจของลูกในไส้ของตน เรือ่ งแบบนี้ ขอให้เจ้าหน้าทีเ่ อาจริงเอาจังกวดขันปราบปรามพ่อแม่ทขี่ าย ลูกกินให้หมดไปจากสังคมไทย
106
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 107
ความผิดเกี่ยวกับเพศ ข่าวอาชญากรรมในสมัยนี้ ฟั ง แล้ ว ท� ำ ให้ ส ลดหดหู ่ ใ จมาก ทีเดียว วันก่อนก็เด็กหญิงวัย 14 ปี ถูกท�ำร้ายร่างกายบาดเจ็บสาหัส และคนร้ า ยก็ ยั ง พยายามข่ ม ขื น อี ก ด้ ว ย มาวั น นี้ ก็ ค นใกล้ ชิ ด คน ในครอบครั ว กั น เองนั่ น แหละ ข่ ม ขื น หลานวัยแค่ 8 ขวบ ว่ากันว่า ถูกข่มขืนมากว่า 2 ปี ตั้งแต่อายุเพียงแค่ 6 ขวบเท่านั้น เพื่อป้องปราม พวกวิปริตจิตอกุศลทั้งหลาย และเตือนให้ทุกคน โดยเฉพาะเด็ ก และผู ้ ห ญิ ง ระแวดระวั ง ภั ย คุ ก คามทางเพศ จึ ง ขอ น�ำกฎหมายเกี่ยวกับการล่วงละเมิดทางเพศมาเล่าสู่กันฟัง เริ่มต้น จากความผิดฐานข่มขืนกระท�ำช�ำเราหญิงซึง่ มิใช่ภรรยาของตน ผู้กระท�ำ ความผิดมีโทษจ�ำคุก 4 - 20 ปี ปรับตั้งแต่ 8,000 - 40,000 บาท
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
107
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 108
ข่มขืน ในประมวลกฎหมายอาญา ความผิดฐานข่มขืนกระท�ำช�ำเรา นั้ น ก� ำ หนดไว้ ว ่ า คนที่ ไ ปข่ ม ขื น กระท� ำ ช� ำ เราหญิง ซึ่ง มิใ ช่ ภ รรยา ของตน เช่น ขู่เข็ญให้ร่วมหลับ นอนโดยการท�ำร้ายร่างกายมัดมือ มัดเท้าท�ำให้อยู่ในสภาวะจ�ำยอมไม่สามารถ ขัดขืนได้ หรือกลางคืนมืด ๆ ท�ำทีปลอมเป็น สามีเข้าไปร่วมหลับนอนด้วย จากนัน้ ก็ได้กระท�ำ ช�ำเราคือมีการร่วมประเวณีโดยที่ฝ่ายหญิงมิได้ ยินยอมพร้อมใจ เช่นนีถ้ อื ว่ามีความผิดฐานข่มขืนกระท�ำช�ำเรา ต้องระวาง โทษจ�ำคุกตั้งแต่ 4 ปี ถึง 20 ปี และปรับตั้งแต่ 8,000 บาท ถึง 40,000 บาท และที่สำ� คัญถ้าเป็นการข่มขืนโดยใช้อาวุธปืน ระเบิด หรือรุมโทรม หญิง พฤติกรรมอย่างนี้โทษจ�ำคุกขั้นต�ำ่ ก็ 10 ปี หรือไม่อย่างนั้นก็ต้อง ติดคุกตลอดชีวิต
108
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 109
โทรมหญิง เมือ่ ไม่นานมานีม้ แี ก๊งมอเตอร์ไซค์ซงิ่ ฉุดคร่าหญิงไปข่มขืน พอเห็น หญิงสาวหน้าตาดีขบั ขีจ่ กั รยานยนต์มาคนเดียว พวกคนดิบกลุม่ นีก้ จ็ ะขับ รถเข้าไปประกบ พอถึงทีเ่ ปลีย่ วก็ถบี ให้รถล้ม ฉุดเข้าป่าละเมาะข้างทาง แล้ว ก็ยัดเยียดความเป็นสามีให้แก่หญิงสาวผู้เคราะห์ร้าย แค่นั้นยังไม่พอ พวกมันยังตามเพื่อนมาร่วมก่อกรรมท�ำเวรกันอีกหลายคน พฤติกรรม การข่ ม ขื น กระท� ำ ช� ำ เราหญิง ซึ่ง มิใ ช่ ภ รรยาของตนโดย 2 คนขึ้ น ไป ผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนกันท�ำนัน้ เรียกว่า เป็นการโทรมหญิง ซึง่ โทษทัณฑ์ก็ จะหนักหนากว่าการข่มขืนกระท�ำช�ำเราเพียงคนเดียวคือ จ�ำคุก 15 - 20 ปี ปรับสามหมื่นถึงสี่หมื่นบาท หรือถ้าพฤติกรรมร้ายแรงมากก็ถึงขั้นจ�ำคุก ตลอดชีวิต
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
109
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 110
หญิงก็ผิดฐานข่มขืนได้ เมือ่ ไม่นานมานีส้ ามีใหม่ของย่าได้บงั คับหลานสาววัยเพียงแค่ 8 ปี ให้รว่ มประเวณี โดยทีย่ า่ อาจจะมีสว่ นรูเ้ ห็นเป็นใจในการกระท�ำนี้ หลาย ๆ ท่านที่เคยรู้มาว่าความผิดฐานข่มขืนกระท�ำช�ำเรานั้น ปกติผู้กระท�ำ ความผิดต้องเป็นผู้ชาย และผู้เสียหายก็ต้องเป็นผู้หญิงเท่านั้น มิเช่นนั้น แล้วจะไม่ผดิ ในข้อหานี้ แต่อาจเข้าข่ายความผิดข้อหาอืน่ ๆ เช่น อนาจารได้ ก็อาจจะเกิดค�ำถามขึ้นมาในใจว่า ย่าแท้ ๆ ที่รู้เห็นเป็นใจช่วยเหลือให้ ปู่เลี้ยงข่มขืนหลานในไส้ตัวเองนั้นจะมีความผิดฐานข่มขืนกระท�ำช�ำเรา หรือไม่ ซึ่งในเรื่องท�ำนองนี้เคยมีคดีขึ้นสู่ศาลฎีกาและศาลได้ตัดสินว่า ผู้หญิงที่ช่วยถอดเสื้อจับแขนจับขาถือเป็นตัวการร่วมในความผิดฐาน ข่มขืนกระท�ำช�ำเรา
110
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 111
อนาจาร ความผิดอาญาเกีย่ วกับการล่วงละเมิดทางเพศนัน้ มีอยูข่ อ้ หาหนึง่ ที่ใกล้เคียงกับความผิดฐานข่มขืนกระท�ำช�ำเรา และความผิดฐานกระท�ำ ช�ำเราเด็ก นัน่ ก็คอื ความผิดฐานอนาจาร การอนาจารนัน้ ได้แก่ การกระท�ำ ให้อับอายขายหน้าในทางเพศโดยกระท�ำต่อเนื้อตัวร่างกายโดยตรง เช่น การกอด จูบ ลูบ คล�ำ ตามเนื้อตัวร่างกาย เช่น จับหน้าอก สะโพก ขาอ่อน หรือบางคนเป็นโรคจิตวิตถาร ชอบให้คนอืน่ มาจับต้องของ ๆ ตน อย่างนี้ก็เป็นผิดอนาจารได้เหมือนกัน ข้อส�ำคัญก็คือ ต้องเป็นการขู่เข็ญ โดยเหยื่อผู้เคราะห์ร้ายมิได้สมัครใจยินยอม ซึ่งอาจเกิดจากการใช้กำ� ลัง การมอมเมาใช้ยาสลบ หรือท�ำให้เข้าใจผิดว่าเป็นคนอืน่ จึงเผลอใจยินยอม เช่นนี้ก็ถือว่าผิดอนาจารได้
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
111
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 112
เอเย่นต์น้อย ๆ ข่าวที่เริ่มจะปรากฏถี่ขึ้นในระยะนี้ เกี่ยวกับพฤติกรรมไม่ดีของวัย รุ่นไทยในทางเพศ ยิ่งมีการส�ำรวจวิจัยโดยส�ำนักโพลล์บ่อยครั้งขึ้นเท่าใด ผลที่ออกมาก็ยิ่งท�ำให้เศร้าใจมากขึ้น พวกสถิติตัวเลขเหล่านี้เป็นการสุ่ม ตัวอย่างย่อมมีความคลาดเคลื่อนอยู่บ้าง แต่สำ� หรับพฤติกรรมของวัยรุ่น ที่ว่ากันว่า มีเด็กบางคนตั้งตนเป็นเอเย่นต์ชักพาเพื่อน ๆ พี่ ๆ น้อง ๆ คนที่รู ้จักที่หน้า ตาดีหน่ อยเข้ า วงการขายบริก ารทางเพศ หาเงิน มา ตอบสนองความฟุ ้ ง เฟ้ อ ในทางวั ต ถุ พฤติ ก รรมเช่ น นี้ เ ป็ น ความผิ ด ตามกฎหมายป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี มีโทษถึงขั้นติดคุก และขอเตือนผ่านไปยังน้อง ๆ เหล่านี้ว่า ขอให้คิดถึงคุณค่าของตนเอง และจิตใจของพ่อแม่ด้วย
112
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 113
ภัยแท็กซี่ ข่าวพาดหัวหน้าหนึ่งหนังสือพิมพ์หลายฉบับ เคยมีข ่ า วที่เ ป็ น เรื่อ งสาวพริตตี้ถูก คนขับแท็ก ซี่ ใช้มดี จีช้ งิ ทรัพย์ มัดมือไขว้หลัง หวังพาไปข่มขืน แต่ ด ้ ว ยความใจเด็ ด ของเหยื่ อ ซึง่ โดดลงจากรถขณะติดไฟแดง จึง เอาตัวรอดไปแจ้งความจนติดตาม จับกุมคนขับแท็กซี่รายนี้ได้ในที่สุด ส่ ว นโจรที่ แ ฝงในคราบคนขั บ รถ แท็กซี่ก็โดนตั้งข้อหาไปหลายข้อ ทั้งชิงทรัพย์ในเวลากลางคืนโดยมีอาวุธทั้งหน่วงเหนี่ยว กักขัง ท� ำให้ เสียเสรีภาพ และทั้งพกพาอาวุธไปในที่ทางสาธารณะโดยไม่มีเหตุผล อันสมควร เอาแค่ ข ้ อหาแรกโทษขั้นต�่ำก็จ�ำ คุก 10 ปี และปรับอีก 20,000 บาท และนี่ก็เป็นอุทาหรณ์เตือนใจผู้ที่อาศัยรถแท็กซี่เป็นประจ�ำ โดยเฉพาะในยามค�่ำคืนให้ระแวดระวังภัยกันเป็นพิเศษ
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
113
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 114
สามีข่มขืน ครั้ ง ที่ ผ ่ า นมาเคยหยิ บ ยกความผิ ด ฐานข่ ม ขื น กระท� ำ ช� ำ เรา มาอธิบายว่า ผู้ใดข่มขืนกระท�ำช�ำเราหญิงอื่นซึ่งไม่ใช่ภรรยาของตน โดยการขู่เข็ญหรือใช้ก�ำลังท�ำร้าย มีความผิดตามประมวลกฎหมาย อาญามาตรา 276 ก็ เ ลยมี บ างท่ า นเกิ ด สงสั ย และสอบถามว่ า ถ้าสามีบังคับฝืนใจร่วมหลับนอนกับภรรยา ทั้ง ๆ ที่ภรรยามิได้ยินยอม พร้อมใจด้วยเช่นนี้สามีจะมีความผิดฐานข่มขืนนี้หรือไม่ ก็ตอบอย่าง ฟันธงตรง ๆ ได้เลยว่า ถ้าสามีผนู้ นั้ เป็นสามีทจี่ ดทะเบียนสมรสกับภรรยา โดยถูกต้องตามกฎหมาย ก็ไม่ผดิ ฐานข่มขืนกระท�ำช�ำเราตามมาตรา 276 แต่ทงั้ นี้ ก็ไม่ใช่วา่ จะพ้นผิดไปทุกข้อหาเพราะอาจจะมีความผิดฐานท�ำร้าย ร่างกายหรือความผิดต่อเสรีภาพได้
114
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 115
ค้าประเวณี 1 ท่ า นอาจจะเคยสงสั ย และตั้ ง ค� ำ ถามว่ า การค้ า ประเวณี นั้ น เป็นความผิดตามกฎหมายไทยหรือไม่ นักกฎหมายบางคนก็บอกว่าเป็น แต่บางคนกลับบอกว่าไม่ นั่นก็แล้วแต่มุมมองและการตีความกฎหมาย ของแต่ละคน แต่อย่างน้อยระบบกฎหมายแพ่งของไทยไม่ยอมรับการ ค้าประเวณีแน่ ๆ เช่น ถ้ามีการตกลงซื้อขายบริการทางเพศ ตกลงราคา กันเรียบร้อย แล้วต่อมามีฝา่ ยใดฝ่ายหนึง่ ผิดสัญญา ไม่วา่ จะเป็นฝ่ายผูซ้ อื้ หรื อ ฝ่ า ยผู ้ ข าย ก็ ไ ม่ ส ามารถน�ำ ข้ อ ตกลงหรื อ สั ญ ญาซื้ อ ขายบริ ก าร ทางเพศนั้นไปฟ้องคดีในศาลได้ เพราะถือว่าข้อตกลงดังกล่าวขัดต่อ ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ตกเป็นโมฆะเสียเปล่า ใช้การไม่ได้ตั้งแต่แรก
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
115
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 116
ค้าประเวณี 2 การตกลงซือ้ ขายบริการทางเพศหรือการค้าประเวณีนนั้ ถ้าฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งผิดข้อตกลง เช่น ไม่ยินยอมมีอะไรด้วย หรือไม่ยอมจ่ายสตางค์ ก็ไม่สามารถไปฟ้องร้องบังคับกันได้ นั่นก็เป็นมาตรการทางแพ่งที่ไม่ ยอมรับการค้าประเวณี และก็แน่นอนคงไม่มใี ครบ้าจีน้ ำ� เรือ่ งนีไ้ ปฟ้องร้อง ให้เสียชือ่ ตัวเอง แต่พอมาถึงกฎหมายอาญา หากจะถามว่าคนทีข่ ายบริการ ทางเพศไม่วา่ จะเป็นชายหรือหญิง หรือผูซ้ อื้ บริการทางเพศนัน้ มีความผิด อาญาหรือไม่ ในเบื้องต้นคงตอบว่ากฎหมายไม่ได้กำ� หนดว่าการกระท�ำ ดังกล่าวเป็นความผิด ดังนั้นจึงไม่สามารถเอาโทษได้ แต่อย่างไรก็ตาม ในเรื่องนี้ยังมีประเด็นปลีกย่อยให้ศึกษากันอีกเยอะในตอนต่อ ๆ ไป
116
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 117
ถูกบังคับไม่ผิด คนทีเ่ ข้าไปมัว่ สุมในสถานการค้าประเวณี เช่น ในซ่อง ในโรงน�้ำชา ในคลับ บาร์ตา่ ง ๆ เพือ่ ให้ตนหรือคนอืน่ ๆ ได้คา้ ประเวณียอ่ มมีความผิด อาจจะต้องระวางโทษจ�ำคุกไม่เกินหนึง่ เดือน หรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ อย่างไรก็ตาม ถ้าคนคนนั้นไม่ได้เต็มใจเข้าไปมั่วสุม เพือ่ ค้าประเวณี เช่น ถูกหลอกมาขายซ่อง ถูกบังคับให้คา้ ประเวณี หรือแม้แต่ ถูกบังคับให้เสพยาเสพติด แล้วใช้ยาเสพติดล่อจนต้องยอมค้าประเวณี กรณีเหล่านีย้ อ่ มถือว่าผูท้ มี่ วั่ สุมค้าประเวณีทไี่ ม่ได้เต็มใจนัน้ ไม่มคี วามผิด เพราะเขาเหล่ า นั้ น เป็ น ผู ้ เ สี ย หาย และที่ ส� ำ คั ญ คนที่ บั ง คั บ ให้ ผู ้ อื่ น ค้าประเวณีนั้นมีโทษถึงขั้นจ�ำคุก
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
117
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 118
เร่ค้าประเวณี โดยปกติแม้ว่าในสายตาของ กฎหมายจะไม่ ค ่ อ ยยอมรั บ การค้ า ประเวณีสักเท่าไหร่ ดังเช่นที่ก�ำหนด ให้ ก ารตกลงซื้ อ ขายเป็ น โมฆะไม่ สามารถฟ้องร้องบังคับกันได้ แต่ก็ ไม่ ถึ ง ขนาดก� ำ หนดว่ า การซื้ อ ขาย บริการทางเพศ ทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย มีความผิดอาญาต้องรับโทษไปเสีย ทุ ก กรณี เฉพาะผู ้ ข ายบริ ก ารทาง เพศไม่ ว ่ า จะเป็ น ชายหรื อ หญิ ง ที่ มี พฤติกรรมเข้าไปติดต่อ ชักชวน แนะน�ำตัว ติดตามรบเร้าให้คนอื่น ซื้อบริการทางเพศตามถนนหนทาง ที่สาธารณะ หรือที่อื่น ๆ โดย มีลกั ษณะเปิดเผยโจ่งแจ้งเป็นการน่าอับอาย หรือเป็นทีเ่ ดือดร้อนร�ำคาญ แก่ประชาชนทั่วไป ผู้ค้าประเวณีที่มีพฤติกรรมเช่นนี้จึงจะมีความผิด ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท
118
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 119
การเช่าบ้าน การเช่าจะเช่าไปร้อยปีก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ ไม่ได้ความเป็นเจ้าของ แต่เราในฐานะผูเ้ ช่ามีสทิ ธิทจี่ ะอยูอ่ าศัย และใช้ประโยชน์จากบ้านทีเ่ ช่าได้ และเมื่อเป็นสัญญาเช่าเราก็มีหน้าที่จะต้องจ่ายค่าเช่าตามที่ตกลงกัน ไว้ด้วย ซึ่งอาจจะตกลงจ่ายค่าเช่ากันเป็นรายวัน รายเดือน รายปี และ ที่ส�ำคัญต้องมีก�ำหนดระยะเวลาการเช่าไว้ให้แน่นอน เช่น 3 เดือน 1 ปี 5 ปี 20 ปี หรือแม้แต่ตลอดอายุของผู้เช่าหรือผู้ให้เช่าก็ได้
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
119
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 120
หลักฐานการเช่า 1 สัญญาเช่าเป็นสัญญาที่พบเห็นในชีวิตประจ�ำวันของเราบ่อยมาก เด็ก ๆ อาจจะเช่าการ์ตนู เช่าวิดโี อ ผูใ้ หญ่กเ็ ช่ารถยนต์ เช่าบ้าน ซึง่ ปกติแล้ว การเช่าสิ่งของต่าง ๆ ที่เคลื่อนย้ายเคลื่อนที่ได้ หรือที่กฎหมายเรียกว่า สังหาริมทรัพย์นั้น ปกติไม่จ�ำเป็นต้องท�ำหลักฐานเป็นหนังสือสัญญาเช่า ก็ได้ แต่เพือ่ ความปลอดภัยถ้าทรัพย์สนิ มีราคาค่างวดสูง ๆ ก็ขอแนะน�ำว่า ให้ทำ� สัญญาเช่าเป็นหนังสือจะดีกว่า เผือ่ ว่าภายหลังไม่แน่ใจว่าเคยตกลง กันไว้อย่างไร จะได้มีหลักฐานไม่ต้องทะเลาะกัน ที่ส�ำคัญถ้าเป็นการ เช่าบ้าน เช่าที่ดิน เช่าตึกแถว เช่าห้องพัก กฎหมายบังคับให้ทำ� หลักฐาน ของสัญญาเช่าเป็นหนังสือด้วย ไม่เช่นนั้นจะไม่สามารถน�ำไปฟ้องร้อง ให้ศาลบังคับตามสัญญาได้
120
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 121
หลักฐานการเช่า 2 โดยทัว่ ไปสัญญาเช่าทรัพย์ตา่ ง ๆ จะเช่าวิดโี อ เช่ารถ เช่าเครือ่ งบิน ตกลงกันปากเปล่าก็ใช้การได้ ไม่ต้องท�ำหนังสือสัญญาให้เสียเวลา แต่ ถ้าเป็นสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ เช่น เช่าบ้าน เช่าที่ดิน เช่าตึกแถว เช่าคอนโดฯ อย่างนี้จะต้องมีหลักฐานการเช่าเป็นหนังสือลงลายมือชื่อ ฝ่ายทีต่ อ้ งรับผิด ไม่เช่นนัน้ จะไม่สามารถฟ้องร้องบังคับศาลได้ อย่างน้อย ฉบับที่เราถือไว้นั้นจะต้องมีลายเซ็นของคู่สัญญาอีกฝ่าย เช่น ถ้าผู้ให้เช่า จะไปฟ้องเรียกค่าเช่าก็ต้องมีลายมือชื่อของผู้เช่า หรือถ้าผู้เช่าจะไปฟ้อง ผู้ให้เช่าที่ผิดสัญญามาไล่ที่ก่อนก�ำหนดอย่างนี้ ลายมือชื่อของผู้ให้เช่า ก็จ�ำเป็นจะต้องมีปรากฏในตัวสัญญาเช่า
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
121
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 122
ผู้ให้เช่าเข้าตรวจทรัพย์สิน การให้คนอื่นเช่าทรัพย์สินเจ้าของผู้ให้เช่าก็อยากจะไปตรวจตรา ดูว่าผู้เช่าเขาใช้สอยบ้านอย่างไร ได้บ�ำรุงรักษาซ่อมแซมความช�ำรุด เสียหายเล็ก ๆ น้อย ๆ ตามควรหรือไม่ กฎหมายก็เลยก�ำหนดให้ฝา่ ยผูเ้ ช่า ต้องอ�ำนวยความสะดวกให้ผู้ให้เช่า หรือตัวแทนของผู้ให้เช่า สามารถ เข้าตรวจตราดูความเรียบร้อยในวันเวลาที่เหมาะสมและสะดวกแก่ ทั้งสองฝ่าย
122
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 123
ผู้ให้เช่าตาย ถ้าเราไปเช่าทรัพย์สินของคนอื่น แล้วต่อมาผู้ให้เช่าได้เสียชีวิต ธรรมดาทรัพย์สนิ ชิน้ นัน้ ก็ยอ่ มเปลีย่ นมือไปเป็นของทายาท เราทีเ่ ป็นผูเ้ ช่า จะท�ำอย่างไร ตอบง่าย ๆ ก็คอื ถ้าเจ้าของทรัพย์ผใู้ ห้เช่าตายไป ทรัพย์นนั้ ไม่วา่ จะเป็นบ้าน ทีด่ นิ หรืออสังหาริมทรัพย์ เช่น ทีวี ตูเ้ ย็น ก็ยอ่ มตกทอด สูท่ ายาท และทายาทของผูใ้ ห้เช่าก็จะต้องรับพันธะผูกพันตามสัญญาเช่า ต่อไปจนครบอายุสญ ั ญา เช่น ท่านไปเช่าบ้านจากแดงจนถึงธันวาคม 2548 แต่เมือ่ ต้นเดือนมิถนุ ายน 2548 แดงประสบอุบตั เิ หตุเสียชีวติ เอกลูกของแดง ทีไ่ ด้รบั มรดกบ้านหลังนีม้ า ก็ตอ้ งยอมให้ทา่ นอยูต่ อ่ ไปจนครบสัญญาจนถึง เดือนธันวาคม 2548
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
123
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 124
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 1 ข่าวหน้าหนึ่งหนังสือพิมพ์หลายฉบับเคยน�ำเสนอข่าวเกี่ยวกับ การแจ้งความด�ำเนินคดี โดยบุคคลสองกลุ่มที่ต่างก็มีความจงรักภักดีต่อ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ต่อสถาบันพระมหากษัตริยอ์ นั เป็นทีเ่ คารพ สักการะของประชาชนคนไทยทุกคน ทั้งสองฝ่ายต่างกล่าวหากันว่า อีกฝ่ายหนึง่ หมิน่ พระบรมเดชานุภาพ ซึง่ พอมาตรวจค้นประมวลกฎหมาย อาญา กฎหมายหลักฉบับหนึ่งของไทยกลับไม่พบค�ำ ๆ นี้ และพอสืบค้น ลึกลงไปก็พบว่า ค�ำว่า หมิน่ พระบรมเดชานุภาพ นัน้ เป็นค�ำทีม่ กั จะใช้อา้ ง ถึงมาตรา 98 แห่งกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 117 อันเป็นกฎหมายเดิม ซึ่งปัจจุบันคือประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 นั่นเอง
124
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 125
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 2 ค�ำว่า หมิน่ พระบรมเดชานุภาพนัน้ ไม่ใช่ค�ำทีใ่ ช้ในตัวบทกฎหมาย หากแต่เป็นค�ำทีค่ นทัว่ ไป และแม้แต่นกั กฎหมายรูจ้ กั คุน้ เคย และใช้เรียก แทนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 ซึ่งบัญญัติไว้ว่า ผูใ้ ดหมิน่ ประมาท ดูหมิน่ หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ ต้องระวางโทษ จ�ำคุกตั้งแต่ 3 ปี ถึง 15 ปี และนี่ก็เป็นมาตรการส�ำคัญในการปกป้อง เทิดทูนสถาบันและองค์พระมหากษัตริย์อันเป็นที่เคารพยิ่งของพสกนิกร ชาวไทย ดังความที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ว่า องค์พระมหากษัตริย์ ทรงด�ำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใด จะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
125
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 126
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 3 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับต่างก็รับรองสถานะ อันเป็นที่เคารพสักการะของพระมหากษัตริย์ไว้ ดังเช่นในมาตรา 8 ของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบนั บัญญัตวิ า่ องค์พระมหากษัตริยท์ รงด�ำรงอยู่ ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือ ฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ และเช่นเดียวกัน หากมี ผู้ใดใส่ความ หมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้าย พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำ� เร็จราชการแทนพระองค์ ผูน้ นั้ ก็มคี วามผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันประชาชนทั่วไปหรือแม้แต่นักกฎหมายเองกลับเข้าใจมาตรานี้ คลาดเคลื่อนไป
126
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
กระทรวงยุติธรรม
ตอนที่ 127
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 4 ปัจจุบันคนทั่วไปยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับความผิด ฐานหมิน่ ประมาท ดูหมิน่ หรือแสดงความอาฆาตมาดร้ายพระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้ส�ำเร็จราชการแทนพระองค์ หรือที่เรียกกันว่า ความผิดฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ด้วยเหตุนี้ เมื่อมีพรรคการเมือง น�ำพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไปตีพิมพ์แจกจ่าย ประชาชน จะด้วยเหตุผลกลใดก็สุดแท้แต่ ก็มีการหยิบยกข้อหานี้ขึ้นมา กล่ า วหากั น เป็ น เรื่ อ งขึ้ น โรงพั ก จริ ง ๆ แล้ ว ผู ้ ที่ จ ะมี ค วามผิ ด ฐานนี้ ต้องกระท�ำการถึงขั้นหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรืออาฆาตมาดร้าย ดังนั้น การกระท�ำบางอย่างแม้อาจจะไม่เหมาะสมหรือมิบังควร แต่นั่นก็ไม่ได้ หมายความว่าจะเป็นความผิดอาญาเสมอไป
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
127
กระทรวงยุติธรรม
ที่ปรึกษา นายกิตติพงษ์ กิติยารักษ์ นายชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ นายสุวณา สุวรรณจูฑะ นายชาติชาย สุทธิกลม นางสุรีย์ประภา ตรัยเวช
ปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม รองปลัดกระทรวงยุติธรรม
บรรณาธิการบริหาร นายสัมภาษณ์ ชนานิยม นางสาวปทิตตา โฉมประดิษฐ์
ผู้อ�ำนวยการกองกลางกระทรวงยุติธรรม นักประชาสัมพันธ์ชำ� นาญการปฏิบตั หิ น้าที่ หัวหน้ากลุ่มงานประชาสัมพันธ์ กองกลาง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
คณะผู้จัดท�ำ นายกิตติพัทธ์ ศรีเจริญ นางสาวอัญชลี พงศ์เมธากุล นางสาวสิริพจน์ วิชชาภา
นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ นักประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
ผู้เขียนบท อาจารย์ณรงค์เดช สรุโฆษิต
กฎหมายสามัญประจ�ำบ้าน
ผู้ช่วยอธิการบดีและ อาจารย์ประจ�ำคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย